133
เตมิยชาดก (แสดงเนกขมั มบารมขี องพระโพธิสตั ว์) พระโพธสิ ตั วเ์ กิดเปน็ ราชกุมารพระนามว่า เตมิยะ เหน็
การลงโทษโจรตามพระบัญชาของพระราชบิดา ซ่ึงน่ากลวั มาก เช่น เฆ่ียนเป็นพันครัง้ เอาหอกอทง เอาหลาวเสียบ
เป็นต้น ก็สลดพระทัย ไม่อยากจะสืบราชสมบัติต่อจากพระราชบิดา จึงแสร้งเป็นคนพิการหูหนวกเป็นใบ้ พวก
ปุโรหติ แนะนำให้นำพระองค์ไปฝงั พระบิดาและพระมารดาคดั ค้านไม่สำเรจ็ ได้แตข่ อใหพ้ ระราชกมุ ารข้นึ ครองราช
(พอเป็นพิธี)สัก 7 วัน ตลอดเจ็ดวันนั้นพระราชกุมารก็ยังไม่ย่อมเอื้อนโอษฐ์แต่อย่างใด จนกระทั่งถูกพาข้ึนราชรถ
เพ่ือนำไปฝัง จึงตรัสแก่สารถีท่ีปากหลุม ถึงเหตุผลที่ทรงแสร้งทำเป็นคนใบ้ และบอกความประสงค์ว่าต้องการจะ
ออกบวช สารถีได้ทราบความจริงอย่างน้ันก็เล่ือมใสขอออกบวชด้วย ก่อนบวชก็ได้กลบั ไปทูลความจริงทั้งหมดแก่
พระบิดาและพระมารดาทงั้ สองพระองคไ์ ด้ไปทลู วิงวอนพระราชกุมารให้กลับไปครองราชสมบตั ิ แตก่ ็ถูกปฏิเสธและ
เมื่อได้ฟังคำสอนของพระโพธิสัตว์ก็เล่ือมใส ได้ออกผนวชตาม ต่อมาพระราชาองค์อ่ืนๆก็ชวนกันออกตามพระ
โพธสิ ัตว์เป็นจำนวนมาก ตอนหนึง่ พระโพธิสัตว์ตรสั แก่พระบดิ า เพื่อใหเ้ ห็นมรณภัยว่า118
“ย่ิงทอ เส้นด้ายก็ยิ่งหมดเปลือง ย่ิงทอ เส้นด้ายก็เหลือน้อยลง โยมทราบไหมว่า ชีวิตก็เหมือนเส้นด้าย
ของช่างหูก สายน้ำล้นฝ่ัง มีแต่จะหลากไป ไหลไป ไม่หวนกลับ อายขุ องปวงสตั ว์ก็เหมือนสายน้ำ ไหลไป ลับไป ไม่
หวนคืน ชีวิตทงั้ หลายเปรียบเหมือนต้นไม้รมิ ฝ่งั เม่อื น้ำหลากลน้ ฝัง่ กม็ ีแต่จะหักโค่นจมหายไปกบั สายน้ำ”
มหาชนกชาดก (แสดงวิริยบารมีของพระโพธิสัตว์) พระโพธิสัตว์เกิดเป็นราชกุมารพระนามว่า มหาชนก
คราวหนง่ึ เดนิ ทางขา้ มมหาสมุทรเพอื่ ไปค้าขายทส่ี ุวรรณภูมิ เรอื อปั ปางระหวา่ งเดินทาง พระโพธิสตั ว์เพยี รแวกวา่ ย
หาฝัง่ อยู่เจ็ดวัน จนในที่สดุ มณเี มขลา เทพธิดาแห่งมหาสมุทรมาช่วยชวี ติ ไวแ้ ละพาข้นึ ฝ่ังท่กี รุงมถิ ิลา ตอ่ มาได้เป็น
กษตั ริยค์ รองกรุงมิถลิ าน้ัน แตก่ ็ทรงสละราชสมบตั อิ อกผนวช ทรงบำเพ็ญฌานและไปบังเกิดเป็นพรหมในที่สดุ
ระหว่างโพธิสัตวว์ ่ายนำ้ เพือ่ ไปใหถ้ งึ ฝงั่ พระโพธสิ ัตวก์ ับเทพธดิ าพูดกนั ตอนหน่ึง ดังน้ี
เทพธิดา ฝัง่ อยู่ไหนก็ไม่รู้ ไมท่ ันถึงฝัง่ ท่านต้องตายก่อน
พระโพธสิ ัตว์ หน้าท่ีของลูกผู้ชาย เม่ือด้ำเต็มที่แล้ว ญาติมติ รและทวยเทพก็ว่าไม่ได้ ตัวเองก็จะไม่
เสยี ใจในภายหลัง
เทพธดิ า พยายามแล้วกถ็ ึงฝัง่ ไม่ได้ ความตายของท่านกไ็ ม่มคี วามหมาย
พระโพธิสตั ว์ เม่อื รู้วา่ เปน็ งานท่ีสุดวสิ ยั แล้วไมพ่ ยายามเอาชีวิตรอดกจ็ ะได้รู้ว่าเปน็ งานสุดวิสัยจริง
แต่บางคนมองไปท่ีเปา้ หมายของงานเท่านนั้ จำสำเรจ็ หรอื ไม่สำเร็จไม่คำนงึ แม่เทพธดิ า ท่านกไ็ ดเ้ ห็นกับตามใิ ชห่ รือ
คนอนื่ เขาจมน้ำตายกนั หมดแล้ว แตเ่ รายงั ไมล่ ะความเพียร จงึ ไดพ้ ดู คุยอย่กู บั ทา่ นไงล่ะ เราจะวา่ ยตอ่ ไปเทา่ ทีค่ วาม
เพยี รของลูกผ้ชู ายจะพึงม.ี .เปา้ หมายอย่ทู ่ฝี งั่
สุวณั ณสามชาดก(แสดงเมตตาบารมขี องพระโพธิสตั ว)์ พระโพธิสตั วเ์ กิดเป็นดาบสชอื่ สามะ เลยี้ งดูมารดา
บดิ าตาบอด ซ่ึงออกบวชเป็นดาบสทัง้ สอง วันหน่ึงพระราชาออกลา่ สัตวใ์ นป่าลึก ยิงศรไปถูกพระโพธิสัตว์ เม่ือร้วู ่า
พระโพธิสัตว์เป็นคนกตัญญูเลี้ยงดูมารดาบิดาตาบอดเพียงลำพังในป่าก็สำนึกผิด ก่อนสิ้นใจเพราะพิษศร พระ
โพธสิ ัตว์คร่ำครวญถึงแต่มารดาบิด เพราะจะไมม่ ีใครอย่เู ล้ียงดู พระราชารับปากว่าจะทำหนา้ ท่ีแทนใหอ้ ยา่ งดี เมื่อ
มารดาบิดาเห็นพระโพธสิ ัตวใ์ นรา่ งอันไร้วิญญาณ ก็ต้ังสัจจอธิษฐาน ขอให้ความดีท้ังหลายท้งั ปวงของพระโพธิสัตว์
118 เร่ืองเดียวกนั .
134
จงช่วยชุบชีวิตคืนมา ด้วยสัจจอธิษฐานน้ัน พระโพธิสัตว์ก็ฟ้ืนข้ึนมาดังเดิม ได้ส่ังสอนให้พระราชาต้ังอยู่ในศีล 5
ตงั้ แต่บดั นั้น กอ่ นจะสิ้นใจเพราะพษิ ศร พระโพธสิ ตั วร์ ำพนั ถงึ มารดาบิดาต่อพระราชาผูย้ ิงศรวา่
“ข้าพระองค์ไมเ่ ปน็ ทกุ ขเ์ พราะศรปัก ทุกขอ์ ยา่ งน้ีใครๆกอ็ าจเจอเขา้ แต่เปน็ ทกุ ข์ยง่ิ นักทีจ่ ะไม่ไดเ้ หน็ หนา้
มารดา ทุกข์ยงิ่ นกั ทจ่ี ะไม่ได้เหน็ หนา้ บดิ า มารดาและบดิ าจะรอ้ งไหโ้ หยหวนอย่างนา่ เวทนาท้งั วนั ทั้งคืน ท่านทง้ั สอง
จะผา่ ยผอมซบู จนชวี ิตหาไม่เหมือนแม่นำ้ สายนอ้ ยในหนา้ แลง้ ”
เนมิราชชาดก (แสดงอธิฐานบารมีของพระโพธิสัตว์) พระโพธิสัตว์เกิดเป็นพระราชาพระนามว่า เนมิราช
ทรงสืบราชประเพณีของบุรพกษัตริย์ในอดีต ท่ีล้วนพากันออกผนวชเม่ือเห็นเส้นพระเกศาเริ่มหงอกขาว พระ
โพธิสตั วไ์ ด้ส่ังสอนใหป้ ระชาชนเหน็ อานิสงคข์ องการให้ทานรกั ษาศีล และเจริญสมาธิ ประชาชนเหล่านนั้ เมอ่ื ไปเกิด
ในสวรรค์ก็ระลึกได้ถึงอุปการคุณของพระองค์ ได้ขอให้มาตลีเทพบุตรไปพาพระองค์เสด็จเย่ียมชนสวรรค์ มาตลี
เทพบุตรได้พาพระโพธิสัตว์ไปเยี่ยมชมทั้งนรกและสวรรค์ตามลำดับ เม่ือกลับสู่โลกมนุษย์ พระโพธิสัตว์ก็ยิง่ ส่ังสอน
ประชาชนให้ยึดม่ันในทานศีลเป็นต้น ส่วนพระองค์เองเมื่อพระเกศาเริ่มหงอกขาว ก็เสด็จออกผนวชตามราช
ประเพณี ทรงบำเพ็ญฌาน มงุ่ สู่พรหมโลกเป็นเป้าหมาย ความตอนหนึง่ หลังจากพระโพธสิ ัตว์ได้เยี่ยมชมนรกและ
สวรรคต์ ามลำดับแลว้ ท้าวสักกะจอมเทพชั้นดาวดงึ ส์ได้ตรัสเช้ือเชญิ พระโพธสิ ัตวใ์ ห้อยู่เสวยทิพยสมบตั ใิ นดาวดึงส์
พระโพธสิ ัตวท์ รงปฏเิ สธว่า
“ยานท่ยี มื เขามาขี่
ทรพั ยท์ ยี่ ืมเขามาใช้
กใ็ หป้ ระโยชนเ์ ท่าทเ่ี ปน็ ของยมื
หม่อมฉนั มีประสงคส์ ง่ิ ทค่ี นอ่นื เขาให้
บุญทีส่ ัง่ สมไวเ้ อง
เป็นทรพั ยส์ ่วนตนของหมอ่ มฉนั
หมอ่ มฉนั จะกลบั ไปโลกมนษุ ย์
จะกลบั ไปเพมิ่ บญุ ใหม้ ากขึ้น”
มโหสธชาดก (แสดงปัญญาบารมขี องพระโพธิสตั ว์) พระโพธิสตั วเ์ กิดเป็นบณั ฑติ ชอ่ื มโหสธ เป็นผ้มู ากด้วย
ปัญญาตงั้ แต่ยังเด็ก มีชื่อเสียงในทางปฏิภาณไหวพริบไมม่ ีใครเทียบได้ พระเจ้าวิเทหะแห่งมิถิลาจึงโปรดให้เขารับ
ราชการเปน็ บณั ฑติ ประจำราชสำนกั ตอ่ มาไดร้ บั ตำแหน่งเสนาบดี ได้อาสายกทัพไปรบกบั พระเจ้าจูฬนีแห่งกรงุ ปญั
จาละ พระเจ้าจูฬนีขอสงบศึกและชวนพระโพธิสัตว์ไปรับราชการอยู่กับพระองค์เมื่อพระเจ้าวิเทหะสวรรคต พระ
โพธสิ ตั ว์กต็ ัดสินใจไปอย่กู บั พระเจ้าจฬู นีตามคำเชอื้ เชญิ ระหวา่ งอยู่ประจำราชสำนกั ทั้งสองเมอื ง พระโพธสิ ัตว์ตอ้ ง
เผชิญกับความริษยาของกลุ่มอำนาจเก่ามากมาย แต่ก็เอาตัวรอดได้ด้วยปัญญาตลอดมา ท้ายสุดพระเจ้าจูฬนีได้
ประกาศยกยอ่ งพระโพธิสตั ว์ให้ประชาชนเห็นความสำคัญถึงขน้ั วา่ ทรงยอมสละชวี ติ พระมารดา พระมเหสี พระโอรส
พระสหาย ปุโรหิต และแม้กระท่ังชีวิตของพระองค์เองได้ แต่จะไม่ยอมสละพระโพธิสัตว์ให้แก่ผีเสื้อน้ำ (รากษส)
เปน็ อนั ขาด
ระหว่างการสูร้ บกบั พระเจ้าจูฬนี ตอนหน่ึงพระโพธิสัตวก์ ล่าวแก่พระเจ้าจฬู นวี า่
“สุนขั จิ้งจอกผตู้ ่ำชา้
เหน็ ดอกทองกวาวสีแดงในยามราตรี
คิดวา่ เป็นชน้ิ เนื้อ
กรูกนั ไปล้อมดอกทองกวาว
รงุ่ เช้าเหน็ ดอกทองกวาวอกี ที
ถงึ ไดร้ ู้ว่าไมใ่ ชช่ ิ้นเน้ือ
135
พากนั ผดิ หวัง
พระองคพ์ าไพร่พลรมุ ลอ้ มพระเจา้ วิเทหะ
ก็ไมต่ ่างอะไรกบั สนุ ัขจงิ้ จอก
ผิดหวงั ท่ีรวู้ า่ เป็นแค่ดอกทองกวาว”
ภรู ิทตั ตชาดก (แสดงศีลบารมีของพระโพธิสตั ว์)
พระโพธิสัตว์เกิดเป็นพญานาคช่ือ ภูริทัตตะ ปรารถนาที่จะไปเกิดในเทวโลกขึ้นไปอยู่รักษาอุโบสถศีลท่ี
จอมปลวกแหง่ หนงึ่ ในโลกมนษุ ย์ ถกู พราหมณ์หมองูจบั ไปเร่แสดงละครสตั วห์ าเงนิ แต่กย็ งั มั่นคงอยู่ในศีล ไมท่ ำร้าย
พราหมณ์ พระโพธิสัตวร์ อดชีวิตมาได้เพราะพชี่ าย นอ้ งชายมาชว่ ย พีช่ ายจะฆา่ พราหมณ์เพราะความเจ็บแคน้ สว่ น
น้องชายกลัวตกนรก ห้ามพี่ชายไว้ เพราะคิดวา่ พราหมณ์เป็นผู้ทรงไตรเพทเป็นนักสาธยายมนต์ พระโพธิสัตว์สอน
นอ้ งชายว่า พราหมณท์ ่ที ำความช่ัวเชน่ น้ันไม่ใช่พราหมณ์ท่ีแทจ้ ริง เขาปฏิบตั ิผิดไปจากลัทธิพราหมณ์อนั ดี คำสอน
ของพระโพธิสตั วต์ อนหน่ึง กล่าวถึงความหลงผดิ ในเรือ่ งพระพรหมผู้สรา้ งโลกว่า
“ผวิ ่า พระพรหมเปน็ เจา้ สร้างโลก
เป็นเจ้าชีวิต
ไฉนจึงทำใหโ้ ลกมที ุกข์
ไฉนจงึ ไมบ่ ันดาลให้โลกมีแต่สุข
ไฉนจงึ ชกั จงู โลกไปสคู่ วามพินาศ
ด้วยมายา ด้วยมุสา ด้วยความมวั เมา
ธรรมมีอยู่ ไฉนพระพรหมจงึ สำแดงอธรรมแกโ่ ลก”
จันทกุมารชาดก (แสดงขนั ตบิ ารมขี องพระโพธิสตั ว)์
พระโพธิสัตว์เกดิ เป็นพระราชโอรสพระนามวา่ จันทะ ชว่ ยประชาชนใหพ้ น้ คดที ่ีพราหมณ์ปโุ รหติ รบั สนิ บน
ตดั สนิ ไม่เปน็ ธรรม พราหมณ์ปุโรหิตคนนั้นผูกอาฆาตนพระโพธิสัตวด์ ้วยกรณีน้ัน ตอ่ มาคราวหนึ่ง พระราชา (ผ้เู ป็น
พระราชบิดาของพระโพธิสตั ว)์ ทรงฝันสวรรคช์ ้นั ดาวดึงส์ อยากจะรทู้ างไปส่สู วรรค์ จึงทรงถามพราหมณป์ ุโรหติ คน
นั้น พราหมณ์ปุโรหติ ได้โอกาสทจี่ ะแก้แค้นพระโพธิสัตว์ จึงช้ีทางไปสสู่ วรรค์แกพ่ ระราชา โดยให้บชู ายัญด้วยศรี ษะ
ของราชโอรสท้ัง 4 ราชธิดาทั้ง 4 ตลอดถงึ พระมเหสที ้ัง 4 และข้าราชบริพารคนอื่นๆอีกเป็นอันมาก พระราชาเป็น
คนเขลา เช่ือคำแนะนำของปุโรหิตทรงบัญชาให้จัดพิธีบูชายัญท่ีพระลานหลวง ระหว่างจะเริ่มพิธีบูชายัญ ร้องถึง
ท้าวสักกะทรงมาช่วยล้มพิธีกลางคัน และบอกทางไปสู่สวรรค์ท่ีถูกต้องให้ ประชาชนโกรธแค้นมาก ได้รุม
ประชาทัณฑ์ปุโรหติ คนน้นั และเนรเทศพระราชาออกจากพระนคร แล้วทลู เชิญพระโพธสิ ตั ว์ขึน้ ครองราชย์สบื ไป
เมือ่ จะถกู ตัดศีรษะบูชายญั ตามคำแนะนำของพราหมณป์ โุ รหิต พระโพธสิ ตั วไ์ ด้กราบทูลพระราชธิดาวา่
“ทางสู่สวรรค์
ผวิ า่ ไปถึงไดด้ ว้ ยฆา่ บตุ ร
ไยพราหมณ์ไม่ฆา่ บุตร
บชู ายัญเสยี เอง
ผิว่า คนฆ่าและถูกฆ่า
ตา่ งบริสุทธิด์ ว้ ยบูชายัญ
ไยเล่าพวกพราหมณ์ไม่ฆา่ ญาติ
ไม่ฆ่าบุตร
และไม่ฆา่ ตวั เองก่อนใครอ่นื ”
นารทชาดก (แสดงอุเบกขาบารมีของพระโพธิสัตว)์
136
พระโพธิสัตว์เกิดเป็นท้าวมหาพรหมช่ือ นารทะ ได้เห็นความพยายามของพระธิดาชื่อ รุจา ที่จะปลด
เปลื้องพระราชบิดาใหห้ ลุดพน้ จากมิจฉาทฏิ ฐิ คือความเหน็ ผดิ ตามคำสอนของพวกอาชวี กท่วี ่า นรกไมม่ ี สวรรคไ์ ม่มี
โลกหน้าไม่มี คุณของมารดาบิดาไม่มี บุญและบาปไม่มี สัตว์ท้ังหลายจะดีก็ดีเอง จะช่ัวก็ชั่วเอง ท่ีสุดแล้วก็จะ
บริสุทธ์ิเอง ทกุ ผทู้ กุ คน เมื่อมีความเห็นอย่างน้ัน พระราชบดิ ากป็ ล่อยกายปลอ่ ยใจให้อยู่กบั กามสุข หมกมุ่นอยู่กับ
การเสพสุราเมรัยไปวันๆ เม่ือพระธิดาชี้แจงแสดงเหตุผลให้เห็นกรรมและผลของกรรมต่างๆก็รับฟัง แต่ไม่ยอมเลิก
ละความเห็นผิดแต่อย่างใด พระธิดาจึงตั้งสัจจอธิษฐาน ขอให้สมณพราหมณ์หรือเทวดาหรือพรหมมาช่วย ท้าว
มหาพรหมโพธิสัตว์ทรงรับรู้ในสัจจอธิษฐานของพระธิดา จึงลงมาส่ังสอนให้พระราชาเห็นโทษของมิจฉาทิฏฐิ
ยังผลให้พระราชามที ิฏฐิอนั ชอบ ตั้งแตบ่ ัดนน้ั ทรงบำเพญ็ แตก่ ุศลจนตลอดพระชนมชีพ
คำสอนของพระโพธสิ ัตว์ตอนหนึง่ กลา่ วแก่พระราชาว่า
“ใจที่ฝกึ ดแี ล้ว
เหมอื นม้าทไ่ี ดฝ้ กึ อยู่เสมอ
นำทางชีวติ
ความอยากและความโลภเปน็ ทางคด
ความสำรวมเปน็ ทางตรง
ดรู ามหาบพติ ร
ปญั ญาคอื ปฏักท่มิ แทงม้า
พระองค์โลดแล่นไปตามรปู เสียง กลนิ่ รส
จติ เทา่ น้ันเป็นสารถี”
วิธุรชาดก (แสดงสัจจบารมีของพระโพธิสตั ว์)
พระโพธสิ ตั วเ์ กิดเป็นอำมาตย์ช่อื วิธรุ ะ เป็นบัณฑิตส่ังสอนธรรมประจำราชสำนกั กรงุ อินทปตั ถ์ มเหสขี อง
พญานาคได้ยินกิตติศัพท์ของพระโพธิสัตว์ อยากจะฟังธรรมจึงออกอุบายหลอกสามีว่า ตนแพ้ท้อง อยากกนิ หัวใจ
พระโพธิสัตว์ สามีได้เสนาบดีช่ือ ปุณณกยักษ์ อาสาไปเอาหัวใจของพระโพธิสัตว์มาให้ ปุณณกยักษ์ใช้วิธีท้าพนัน
เลน่ สกากบั พระเจ้ากรงุ อนิ ทปัตถ์ว่า ถา้ ตนแพ้จะยกลกู แก้ววิเศษให้ แต่ถา้ ตนชนะขอพระโพธสิ ตั วเ์ ป็นรางวัล ผลการ
เลน่ สกา ปณุ ณกยักษ์เปน็ ฝา่ ยชนะ จึงได้พระโพธสิ ตั วเ์ ป็นรางวัล ระหวา่ งพาพระโพธสิ ตั ว์เดินทาง ปณุ ณกยกั ษ์หาวิธี
ท่ีจะฆา่ พระโพธสิ ัตว์ เพือ่ ควักเอาหัวใจ แต่พระโพธิสตั ว์แสดงธรรมสอนให้เปน็ คนดี ยักษฟ์ ังแลว้ กเ็ ปล่ยี นใจไมค่ ดิ ฆา่
พระโพธิสัตว์ ได้พาพระโพธิสัตว์ไปมอบให้พญานาคตามตอ้ งการ พระโพธสิ ัตวไ์ ด้แสดงธรรมส่ังสอนพญานาค และ
มเหสเี ป็นทเ่ี ลอ่ื มใสยง่ิ และในท่ีสดุ ก็ ปุณณกยักษ์พาพระโพธิสัตวก์ ลบั สกู่ รุงอนิ ทปัตถ์ ดงั เดิม
ธรรมสำหรับคนดี (สาธุนรธรรม) ตอนหนึ่งพระโพธิสัตวก์ ลา่ วแกป่ ุณณกยักษ์ว่า
“แม้ชั่วคืนเดียว
ท่ีไดอ้ าศยั
ได้กินข้าวกนิ น้ำกับเขา
บคุ คลแม้แต่จะคดิ รา้ ยต่อเขา
กม็ ิบงั ควร
ผคู้ ดิ ร้ายตอ่ บุคคลเชน่ นน้ั
ไม่ต่างอะไรกบั เผามืออันเปียกชุม่
ของเขาเอง
เปน็ คนทำร้ายมติ ร
ทำนองเดยี วกัน
ไดน้ ่งั ได้นอนใต้ร่มไมใ้ ด
137
อยา่ หักรากกงิ่ ของต้นไม้นั้น
ด้วยวา่ คนทำรา้ ยมิตรเปน็ คนทราม”
เวสสนั ตรชาดก (แสดงทานบารมขี องพระโพธสิ ตั ว์)
พระโพธิสัตว์เกดิ เปน็ พระเวสสนั ดร พรอ้ มทีจ่ ะบรจิ าคอะไรกไ็ ด้ที่มีคนขอมา เม่ือข้ึนครองราชแลว้ มีคณะ
พราหมณ์มาทูลขอช้างเผือกซ่ึงเป็นช้างมงคลคู่บ้านคู่เมือง พระโพธสิ ัตว์ก็ประทานให้เขาไป ประชาชนไม่พอใจ ได้
ชุมนมุ ขับไล่ออกจากเมือง ระหวา่ งเดนิ ทางออกจากเมือง มคี นมาทูลขอราชรถและม้าทรง พระโพธิสตั ว์กใ็ ห้เปน็ ทาน
ไป และระหว่างท่ีเสดจ็ รอนแรมประทบั อยกู่ ลางป่า ชูชก(พราหมณข์ อทาน)ไปขอพระโอรสและพระธดิ า(ชาลแี ละกัณ
หา)เพื่อเอาไปเป็นทาสรับใช้ พระโพธิสัตว์ก็ประทานให้อีก วันรุ่งขึ้นท้าวสักกะแปลงกายเป็นพราหมณ์มาขอพระ
มเหสี(พระนางมัทร)ี พระโพธิสัตวก์ ็ยนิ ดีใหเ้ ป็นทาน แต่ในท่ีสุดพระองค์ก็ได้พระมเหสี พระโอรสและพระธดิ าคนื มา
และได้กลับไปครองราชบัลลังก์ดังเดิม ทรงปกครองแผ่นดินโดยธรรม ทรงบำเพ็ญมหาทานและรักษาอุโบสถศีล
ตลอดพระชนม์ชีพ สิ้นสุดพระชาติสุดท้ายน้ี พระโพธิสัตว์ทรงอุบัติในสวรรค์ชั้นดุสิต เม่ือตอนเรียกชาลีและกัณหา
เพ่ือมอบให้แกพ่ ราหมณ์ชูชกนน้ั พระโพธสิ ัตวม์ พี ระดำรัสตอนหนง่ึ วา่ “ชาลลี ูกรัก มาหาพอ่ เถดิ ช่วยกันเติมเต็มบารมี
แก่พ่อเถิด ช่วยชโลมดวงหทัยของพ่อให้เย็นเถิด เชื่อฟังคำพ่อเถิด กัณหาลูกรัก มาหาพ่อเถิด ทานบารมีเป็นท่ีรัก
ของพ่อ มาช่วยชโลมดวงหทัยของพ่อให้เย็นเถิด เจ้าท้ังสองเหมือนนาวา นาวากลางสาคร สาครน้ันคือภพ พ่อจัก
ข้ามให้พ้นไปจากชาติ(ความเกิด)จกั พ่วงพาชาวโลกท้งั ผองท้ังส่ำสัตว์ท้ังทวยเทพ ให้ขา้ มพ้นไปดว้ ยกัน เช่ือฟังคำพ่อ
เถดิ นะ่ ..ลกู รกั ”.
5.5 พุทธศาสนสุภาษติ กับการนำไปใชป้ ระโยชน์
ได้มีงานวิจัยเกี่ยวกับการนำพุทธศาสนสุภาษิตไปประยุกต์ใช้กับการดำเนินชีวิต โดยพระประจักษ์
อาภากโร (โฉมเรือง) (2556, หน้าบทคัดย่อ) ศึกษาเรื่อง “การประยุกต์ใช้หลักพุทธศาสนสุภาษิตในการ
ดำเนินชีวิตของสามเณร” มีวัตถุประสงค์119 3 ข้อ คือ 1) เพื่อศึกษาหลักพุทธศาสนสุภาษิตที่ประยุกต์ใช้ใน
สังคมไทย 2) เพื่อศกึ ษาการดำรงสมณเพศและจรยิ ธรรมของสามเณร 3) เพือ่ ประยุกตใ์ ชพ้ ทุ ธศาสนสุภาษิต
ในการดำรงสมณเพศของสามเณร การศกึ ษาวิจยั นีเ้ ป็นการวิจัยเชงิ คณุ ภาพ (Quantitative Research) โดย
ศึกษาเอกสารและงานวจิ ัยที่เกี่ยวข้อง วิเคราะห์ขอ้ มลู และนำเสนอผลการวจิ ัยโดยวิธเี ชงิ พรรณนา
ผลการวิจัยพบว่า 1.พระพุทธศาสนสุภาษิตที่ประยุกต์ใช้ในในสังคมไทย มีความสำคัญต่อชีวิต สังคม
การศึกษาพระพุทธศาสนสุภาษติ จะสะทอ้ นได้อย่างชัดเจนว่าพระพทุ ธศาสนาสอนเรอื่ งความจริงในธรรมชาตทิ ส่ี อน
ใหผ้ ู้เรยี นไดเ้ กิดปญั ญาโดยใช้เหตุผล ซ่งึ สามารถนำไปใชแ้ ก้ปัญหาในชวี ติ จรงิ ไดใ้ นสังคมไทย เปน็ ศาสตรแ์ ห่งศึกษา
เป็นศาสนาแห่งการปฏิบัติถูกต้องเป็นกระบวนการในการพัฒนาพฤติกรรมเชิงคุณธรรมจริยธรรม การเรียนรู้วิชา
พระพุทธศาสนาสามารถพัฒนาตนเองและสังคมให้เจริญก้าวหน้าและอยู่รวมกันได้อย่างสันติสุข ทง้ั เปน็ ประโยชน์
แกผ่ ู้เรยี นช่วยให้สามารถใชห้ ลักเหตผุ ลทางพระพุทธศาสนา ในการพิจารณาและวนิ ิจฉัยความถูกต้อง มที ศั นคตทิ ่ดี ี
สรา้ งสรรค์และเป็นประโยชน์ต่อการดำเนินชีวติ ของคนในสังคมไทย อยา่ งยงั่ ยืน
2.การดำรงสมณเพศและจริยธรรมของสามเณร เป็นกระบวนการท่ีเกิดข้ึนภายในองค์ประกอบ
จริยธรรม 3 ประการ เป็นอิสระจากกัน ความรู้สึก และพฤติกรรม และหลักความประพฤติ เป็นแนวทาง
แบบแผน หรือหลักการที่ว่าด้วยความดีงามซึ่งมีพื้นฐานมาจากหลักการของศาสนา มี 3 องค์ประกอบ คือ
119 พระประจักษ์ อาภากโร (โฉมเรือง). (2556). “การประยุกต์ใช้หลกั พทุ ธศาสนสภุ าษิตในการดำเนนิ ชีวิต
ของสามเณร”. พุทธศาสตรมหาบัณฑิต (พระพุทธศาสนา). บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช
วิทยาลัย. หนา้ บทคดั ย่อ.
138
องค์ประกอบด้านปัญญาสามารถแยกแยะสิ่งทีถ่ ูก องค์ประกอบทางด้านอารมณ์ความรู้สกึ และองคป์ ระกอบ
ทางดา้ นพฤตกิ รรม ภายใตค้ วามจรงิ 2 ระดบั คือ 1) ความจรงิ ระดบั สมมติ เรียกว่า สมมติสจั จะ 2) ความจริง
ระดับพ้นวิสยั โลก เรียกว่า ปรมตั ถสจั จะ
3.แนวทางการประยุกต์ใชพ้ ุทธศาสนสุภาษิตที่มีผลต่อการดำรงสมณเพศของสามเณร พบว่า พุทธ
ศาสนสภุ าษิตมีคุณค่าทางจริยธรรมในพระพุทธศาสนามาก และจริยธรรมของสามเณรน้ัน สามารถพจิ ารณา
ด้วยกรรม ซ่ึงหมายถงึ การกระทำ และการกระทำจะบง่ ช้ีเจตนา วา่ ดีหรือร้าย บริสทุ ธิห์ รอื ไมบ่ ริสทุ ธิ์ ซงึ่ กรรม
ในพุทธศาสนาเถรวาท มีรายละเอียดท่ีชัดเจน พระพุทธศาสนามองทั้งเจตนาของผู้กระทำและผลของการ
กระทำ น่ันกค็ ือ ถา้ สามเณรจะทำอะไรก็แล้วแต่ ถ้ามีเจตนาทเ่ี ป็นกุศลก็ถือได้ว่าดใี นระดบั หนึ่ง ท้ังนต้ี ้องดูผล
ของการกระทำด้วย นั่นคือเม่ือมีเจตนาที่เป็นกุศลแล้วกระทำ ถ้าผลออกมาเป็นประโยชน์ทั้งแก่ตนเองและ
ผู้อนื่ อกี ทงั้ ผรู้ ้ทู ้ังหลายสรรเสริญ นน่ั ถือไดว้ ่าเป็นการกระทำที่ดีงาม อันจะส่งผลต่อการประพฤตพิ รหมจรรย์
ของสามเณรตอ่ ไป
ในสื่ออิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ ท่ีสามารถเผยแผ่ข้อมูลได้ง่ายก็มี Blog หนึ่งที่ได้นำข้อมูลพุทธศาสน
สุภาษิตออกมาเผยให้ชาวโลกได้รู้ คือ120 เด็กดี. "พุทธศาสนสุภาษิตกับการประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน".
สืบค้นเมือ่ วนั ที่ 11 กันยายน 2561.เขา้ ถงึ ได้จาก https://my.dek-d.com/valences/blog/.
อตตฺ า หิ อตฺตโน นาโถ
อ่านว่า อดั ตาหิ อัดตะโน นาโถ
แปลวา่ ตนแลเปน็ ท่ีพ่งึ ของตน
ตนในที่น้ี หมายถึง กศุ ลกรรมทีเ่ ราได้ประพฤติปฏิบตั ิมา กุศลกรรม หรือความดเี ท่าน้ันจึงจะเป็นท่ี
พึ่งของเราได้เช่นบุคคลผู้ตั้งอยู่ในศีลธรรม หม่ันประกอบความดีมีชื่อเสียงเกียรติยศปรากฏเป็นที่นับถือของ
คนทว่ั ไป และเมื่อเวลาตายไปแล้วย่อมไปสสู่ ุคติ
ปมาโท มจฺจุโน ปทํ
อา่ นวา่ ปะมาโท มดั จุโน ปะทงั
แปลวา่ ความประมาทเปน็ หนทางแหง่ ความตาย
ความประมาท คือความเลินเล่อ ไม่มีสติสัมปชัญญะ หลงมัวเมาในทรัพย์สมบัติ ลาภ ยศ
สรรเสริญ สุข อันเป็นเหตุนำทุกข์มาให้ เพราะฉะนั้นจงอย่าประมาทจะทำส่ิงใดจงประกอบด้วย
สตสิ มั ปชัญญะเสมอ
กลยฺ าณการี กลยฺ าณํ ปาปการี จ ปาปกํ
อา่ นวา่ กนั ยานะการี กันยานัง ปาปะการี จะ ปาปะกงั
แปลว่า ทำดีได้ดี ทำช่ัวได้ชั่ว การทำความดี ย่อมได้รับผลแห่งการได้ทำความดีนั้นตอบแทน
ถึงแม้ผู้อ่ืนจะไม่รู้แต่ตัวเรา เองก็ย่อมรู้ และเกิดมีปิติสุขเพราะผลแห่งการได้ทำความดี ซึ่งตรงกันข้ามกับ
ความช่วั คือความชัว่ เมอ่ื ทำไปแล้วย่อมไดร้ ับความทุกข์ร้อนใจถงึ ผอู้ ืน่ ไมร่ ู้แต่เรา รู้เอง และกรรมท่บี ุคคล
ทำแล้วไมว่ า่ ดีหรอื ช่ัวยอ่ มตามใหผ้ ลอยา่ งแน่นอน
ปญฺญา โลกสมฺ ิ ปชฺโชโต
อา่ นวา่ ปนั ญา โลกัสมิ ปดั โชโต
แปลวา่ ปัญญาเปน็ แสงสว่างในโลก
120 เด็กดี. "พุทธศาสนสุภาษิตกับการประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน".สืบค้นเมื่อวันท่ี 11 กันยายน 2561.
เข้าถึงได้จาก https://my.dek-d.com/valences/blog/.
139
ปัญญา แปลว่าความรอบรู้ คือรู้ทางแห่งความเสื่อม รู้ทางแห่งความเจริญ ปัญญาจะเกิดมีข้ึนได้
โดยทาง 3 ทาง คือปัญญาสำเร็จด้วยการฟัง ปัญญาสำเร็จด้วย การนึกคิด ปัญญาสำเร็จได้ด้วยการ
อบรม ฉะน้นั บคุ คลผูม้ ีปญั ญาจงึ สามารถคดิ แก้ไขปัญหาต่าง ๆ ไดเ้ ป็นอยา่ งดี
อาโรคฺยา ปรมา ลาภา
อา่ นว่า อาโรคะยะปะระมา ลาพา
แปลว่า ความไมม่ โี รคเปน็ ลาภอย่างยิง่
โรค คือสิง่ ท่ีเกิดขึ้นแลว้ ทำให้เกิดเวทนามากบ้างน้อยบ้างตามกำลังของโรคน้ัน ๆ แบ่งออกเป็น 2
ชนิด คือโรคประจำสังขาร คือโรคท่ีจะต้องเกิดกับทุกคน เช่นโรคแก่ เจ็บ ตายและโรคจรมา คือโรคท่ี
เกิดประจำฤดบู ้าง โรคที่เกดิ ขึน้ เพราะกรรมบนั ดาลบ้าง โรคเหล่าน้ีเกดิ ขึ้นแล้วยอ่ มจะทำให้เกดิ ทุกขเ์ วทนา
อยา่ งแรงกล้ามากบ้างนอ้ ย บ้างตามกำลงั ของโรค บคุ คลทีไ่ มม่ โี รคจึงถอื ว่าเปน็ ลาภอย่างย่ิงทีเ่ ดยี ว
สวุ ชิ าโน ภวํ โหติ
อ่านว่า สุวิชาโน พะวงั โหติ
แปลวา่ ผู้รู้ดเี ปน็ ผูเ้ จรญิ
ผู้รู้ดี ได้แก่ ผู้รู้วิชาในทางใดทางหนึ่ง คือถ้าเป็นผู้รู้ดีในทางโลกก็สามารถท่ีจะนำความรู้มา
ประกอบการงานให้เจริญ รุ่งเรืองได้ ถ้าเป็นผู้รู้ดีในทางธรรมซ่ึงมุ่งท่ีจะ ละบาปบำเพ็ญบุญกุศล คือรู้จัก
การกระทำความดรี ู้จกั หลีกเล่ยี งความชัว่ เพื่อมงุ่ ปฏบิ ตั ธิ รรมกจ็ ะ สามารถบรรลุคณุ ธรรมขน้ั สูงได้
วริ เิ ยน ทุกขฺ มจเฺ จติ
อ่านวา่ วิริเยนะ ทกุ ขะมัดเจติ
แปลวา่ บคุ คลล่วงทกุ ข์ไดเ้ พราะความเพยี ร
ทกุ ข์ คอื สภาพท่ีบีบค้นั เบียดเบียนให้เกิดความไมส่ บายกายไม่สบายใจ การทจ่ี ะกำจัดทุกขเ์ หล่านั้น
ไดโ้ ดยราบคาบกด็ ้วยความเพียร คอื ขยันทำกิจการงานท่ตี นรบั ผิดชอบให้ดีทส่ี ดุ
สจจฺ ํ เว อมตา วาจา
อา่ นวา่ สัดจงั เว อะมะตา วาจา
แปลว่า วาจาจริงเป็นส่ิงไม่ตาย
การพูดความจริง ถูกต้องและทำตามที่พูดทำให้รอดพ้นจากคำด่าว่ารอดพ้นจากอันตรายรอดพ้น
จากความ พินาศและรอดพ้นจากความตาย ผลของการพูดความจริงจะได้รับความไว้วางใจความเชื่อถือ
ได้รับการช่วยเหลือ ได้รับเกียรติ ได้รับการยกย่อง อย่างน้อยผู้พูดเองมีความสบายใจไม่ต้องหวาดเกรงผู้อื่น
จะร้วู า่ ตวั เองเป็นคน พูดปด พดู ไมจ่ รงิ
อเวเรน จ สมฺมนฺติ
อา่ นวา่ อะเวเรนะ จะ สมั มันติ
แปลว่า เวรย่อมระงับดว้ ยการไม่จองเวร
เวร คือการจองล้างจองผลาญซึง่ กันและกนั ดังนั้นบุคคลผูจ้ องเวรจะมีใจผูกแค้นต่อ คเู่ วรของตนเอง
ปรารถนาจะให้เขาพินาศ เม่ือจองเวรต่อเขา เขาก็จะจองเวรตอบ มุ่งหวังท่ีจะเข้าห้ำห่ันกันไม่มีท่ีสิ้นสุด
แตถ่ า้ ท้ังสองฝ่ายพิจารณาเห็นโทษแลว้ หยดุ เสยี ทง้ั สองฝ่ายโดยมขี ันตแิ ละเมตตา เข้าช่วยเวรกร็ ะงับได้
มาตา มติ ตฺ ํ สเก ฆเร
อา่ นวา่ มาตา มดิ ตงั สะเก คะเร
แปลว่า มารดาเป็นมติ รในเรือนตน
มิตร คือบุคคลที่ร่วมใจกันมี 2 จำพวก คือมิตรดีเรียกว่า กัลยาณมิตร มิตรช่ัวเรียกว่า บาปมิตร
มติ รเป็นปจั จัยภายนอกที่แรงกล้าที่จะพาผู้คบหาให้ถึงความเจรญิ หรอื ความ เสอื่ มแตใ่ นท่ีน้ี หมายถึง มติ ร
140
ดี คือมารดาซง่ึ เปน็ มิตรคนแรกของบตุ รเพราะมนี ้ำใจเต็มไปดว้ ยพรหมวิหารทัง้ 4 คอื ท่านมเี มตตา กรุณา
มุทติ าและอเุ บกขาให้บตุ รทุกเมอ่ื
วนฺทโก ปฏิวนฺทนํ
อ่านว่า วันทะโก ปะติวนั ทะนัง
แปลว่า ผไู้ หวย้ อ่ มได้รับการไหว้ตอบ
การไหว้เป็นการแสดงความเคารพ บคุ คลท่คี วรไหว้แบง่ ออกเปน็ 3 จำพวก ผเู้ จรญิ ดว้ ยชาตกิ ำเนดิ
ผู้เจริญด้วยวัย คืออายุมากและผู้เจริญด้วยคุณ คือความดี เป็นผู้ควรไหว้และบุคคลผู้อ่อนน้อมถ่อมตน
ย่อมไหวผ้ ู้อนื่ เสมอจงึ ได้รบั การ ไหวต้ อบเชน่ กนั
อณิ าทานํ ทกุ ฺขํ โลเก
อา่ นวา่ อินาทานัง ทกุ ขงั โลเก
แปลวา่ การเปน็ หนี้เปน็ ทกุ ข์ในโลก
ทกุ ข์ ไดแ้ ก่ส่ิงเบียดเบียนให้เกิดความไม่สบายกายไม่สบายใจและเกิดข้นึ จาก ปัจจัยต่าง ๆ เช่น
คนทเ่ี ปน็ หน้ีจะกระวนกระวายใจเปน็ ทุกขร์ ่ำไปและเปน็ ทุกขใ์ นการ หาทรพั ย์สนิ มาคนื ให้ได้และอาจเป็นทกุ ข์
หนักถ้าไปหาทรัพยใ์ นทางมชิ อบ
ธมฺโม หเว รกขฺ ติ ธมฺมจารึ
อ่านว่า ทำโม หะเว รักขะติ ทำมะจารงิ
แปลว่า ธรรมแลยอ่ มรักษาผู้ประพฤติธรรม
ธรรม แปลว่า สภาพที่ทรงไว้ซ่ึงผู้ประพฤติดี บุคคลที่ปฏิบัติธรรมชอบทำแต่ความดีไม่ทำบาปไม่ทำช่ัว
ย่อมรกั ษาคุ้มครอง ป้องกันไม่ให้ทุกข์ยากลำบากให้มีแตค่ วามสุขความเจริญทง้ั โลกนแี้ ละโลกหนา้
อนจิ จฺ า วต สงขฺ ารา
อ่านว่า อะนดิ จา วะตะ สังขารา
แปลวา่ สงั ขารทัง้ หลายไม่เทยี่ งหนอ
สังขาร ได้แก่ สภาพอันเปน็ ปัจจัยปรงุ แต่งนนั้ แบง่ ออกเปน็ 2 อย่าง คือสังขารท่มี ีใจครองอยู่ เชน่
มนุษย์ สตั ว์เดรัจฉาน สังขารที่ไม่มีใจครอง เช่น ต้นไม้ บ้านเรอื น สังขารเหล่าน้ีย่อมเป็นอนิจจัง คือไม่
คงท่เี ท่ียงแท้แน่นอนย่อมเปล่ยี นแปลงไปตามสภาพเป็นธรรมดา
นิพฺพานํ ปรมํ สุขํ
อา่ นวา่ นบิ พานงั ปะระมัง สขุ ัง
แปลวา่ นพิ พานเปน็ สขุ อยา่ งย่งิ
นิพพาน แปลว่า ดับคือความดับสนิทแห่งกองทุกขเ์ ป็นผู้บริสุทธิ์หมดจดจากกิเลสตัณหาทั้งทาง
กาย วาจาและใจเป็นความสุขที่สงู สุดไมต่ อ้ งกลบั มาเวยี นว่ายตายเกดิ อีกต่อไป
สรุปความว่าคำสอนในพระพุทธศาสนามีองค์ 9 ประการ ท่ีเรียกว่า นวังคสัตถุศาสน์ ได้แก่ สุตตะ
เคยยะ เวยยากรณ คาถา อุทาน อิติวุตตกะ ชาดก อัพภูตธรรม และ เวทัลละ พุทธศาสนสุภาษิต ได้มาจาก
เนื้อหาที่ปรากฎอยู่ในคำสอนดังกล่าว ท่ีมีอยู่เป็นจำนวนมาก เป็นเนื้อความสั้น ๆ ที่ทรงคุณค่า ให้ข้อคดิ ข้อ
เตือนใจ ให้ผู้ที่ได้ศึกษาแล้ว มีความรู้ความเข้าใจ และยึดถือเป็นหลักธรรมประจำใจ เพื่อนำไปประพฤติ
ปฏบิ ัติ ในแนวทางท่ีถกู ที่ควร ตรงทาง อนั จะนำไปสู่ความสุข ความเจรญิ งอกงามในชวี ิตของตน แล้วยังเป็น
การเสรมิ สร้างสันตสิ ขุ ในสังคมโลกอกี ด้วย
141
คำถามทบทวนประจำบทที่ 5
5.1 พทุ ธศาสนสภุ าษิตมคี วามหมายว่าอยา่ งไรบา้ ง
5.2 พทุ ธศาสนสุภาษิตแบ่งออกเปน็ ก่ีประเภท
5.3 ในพุทธศาสนสภุ าษติ สอนเกย่ี วกับเร่อื งอะไรบา้ ง
5.4 พุทธศาสนสภุ าษติ สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้อยา่ งไรบา้ ง
142
เอกสารอ้างอิง
1. ภาษาไทย
ก. พระไตรปิฎก
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั . (2539). พระไตรปฎิ กภาษาไทย ฉบบั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร
: โรงพิมพม์ หาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั .
มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย. (2555). พระไตรปฎิ กและอรรถกถาแปล ของมหามกฏุ ราชวทิ ยาลยั . พิมพ์คร้ัง
ท่ี 6. นครปฐม : โรงพิมพม์ หามกฏุ ราชวิทยาลัย.
ข. หนงั สือท่วั ไป
กรมหมื่นวชริ ญาณวโรรส. (2477). พุทธศาสนสภุ าษติ เลม่ 1. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพม์ หามกุฏราชวิทยาลัย.
สรุ ิวตั ร จันทรโ์ สภา. (มปพ). พระพุทธศาสนา ม.1. พมิ พค์ รัง้ ที่ 1. กรงุ เทพฯ : อกั ษรเจรญิ ทศั น์.
แสง จันทร์งาม และคณะ. พระไตรปิฎกสำหรับผู้บวชใหม่และชาวพุทธท่ัวไป. พิมพ์ครั้งท่ี 2.
กรุงเทพมหานคร : เจรญิ วิทยก์ ารพิมพ์, 2553.
2. วทิ ยานพิ นธ์/รายงานการวจิ ัย
พระประจักษ์ อาภากโร (โฉมเรือง). (2556). “การประยุกต์ใช้หลักพุทธศาสนสุภาษิตในการดำเนนิ ชีวิตของ
สามเณร”. พุทธศาสตรมหาบัณฑิต(พระพุทธศาสนา). บัณฑิตวทิ ยาลัย : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลง
กรณราชวิทยาลยั .
3. ส่ืออเิ ล็กทรอนิกส์
เดก็ ดี. "พุทธศาสนสุภาษิตกับการประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวติ ประจำวนั ".สืบค้นเม่ือวันท่ี 11 กันยายน 2561.เข้าถงึ ได้
จาก https://my.dek-d.com/valences/blog/.
143
แผนบริหารการสอนประจำบทเรียน บทท่ี 6
1. ชื่อบท
แนวคดิ และหลกั การ วตั ถปุ ระสงคก์ ารบญั ญัตพิ ระวนิ ยั
2. เน้อื หาหวั ข้อหลัก
แนวคิดของการบญั ญัติพระวนิ ยั หลกั การบญั ญตั พิ ระวนิ ยั วตั ถปุ ระสงคข์ องการบญั ญตั ิพระวนิ ยั
ประโยชนก์ ารบญั ญัติพระวนิ ัย
3. วัตถปุ ระสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม
3.1 อธบิ ายและวเิ คราะห์ความเปน็ มาของพุทธศาสนสภุ าษติ ได้
3.2 อธบิ ายเปา้ หมาย ความหมายของพทุ ธศาสนสุภาษติ ได้
3.3 อธบิ ายและวิเคราะห์ประเภทของพุทธศาสนสุภาษติ ได้
3.4 อธบิ ายและวิเคราะห์พุทธศาสนสภุ าษติ
3.5 อธิบายและวเิ คราะหก์ บั การนำพุทธศาสนสภุ าษติ ไปใช้ประโยชน์ได้
4. กำหนดวธิ ีและกิจกรรม
4.1 ทำแบบประเมนิ ผลตนเองกอ่ นเรยี น
4.2 สอนแบบบรรยาย อภิปราย ซกั ถาม
4.3 มอบหมายงานเขียนผังมโนทศั น์ ทำ Concept Mapping
4.4 แบง่ กลมุ่ ค้นควา้ นำเสนอรายงานหนา้ ชน้ั
4.5 ทำแบบประเมนิ ผลตนเองหลังเรยี น
5. สือ่ การเรยี นการสอน
5.1 หนังสอื ตำรา วารสาร ผลงานทางวชิ าการ งานวจิ ัย
5.2 เอกสารประกอบการสอน
5.3 ใบงาน
5.4 พาวเวอรพ์ อยท์ (Power Point)
5.5 ส่ืออิเล็กทรอนิกส์
6. วิธกี ารวดั ผลทางการเรียนการสอน
6.1 แบบประเมินผลตนเองกอ่ นและหลงั เรยี น
6.2 ทดสอบความรูค้ วามเขา้ ใจ ทำแบบ Pre-Test
6.3 การตอบคำถาม / การสัมภาษณ์
6.4 การอภิปราย / ทำกจิ กรรมกลุ่ม และการมสี ว่ นร่วม
6.5 ประเมินผลจากการสอบประจำภาคการศกึ ษา
144
บทที่ 6 แนวคดิ และหลกั การ วตั ถุประสงคก์ ารบญั ญตั ิพระวนิ ยั
6.1 บทนำ
พระวินัย หมายถึง กฎระเบียบข้อบังคับ หรือขนมธรรมเนียมประเพณีท่ีจะต้องปฏิบัติให้เป็นไป
ในทางเดียวกันของหมู่ภิกษุสงฆ์ เพ่ือให้เกิดความเลื่อมใสแก่ผู้พบเห็น เพื่อมีอาจาระอันงามเป็นระเบียบ
เรียบร้อย อันจะนำไปสู่การประพฤติปฏิบัติชอบ เป็นการเอ้ือเฟื้อต่อการประพฤติธรรมทางจิตต่อไปหากจะ
เปรียบเทียบให้เด่นชัดข้ึนมา พระวินัยน้ีก็เปรียบกับกฎระเบียบหรือกฎเกณฑ์กติกาของสังคมหน่ึง ๆ ที่อยู่
ร่วมกันโดยมีกติกาตกลงกันไว้ ถ้าใครฝ่าฝืน ต้องถูกลงโทษตามกติกาท่ีตั้งไว้น้ัน หรือจะเปรียบเทียบกับ
กฏหมายบ้านเมืองของประเทศหนึ่ง ๆ ท่ีมีกฎหมายตราไว้สำหรับพลเมืองของประเทศน้ัน ๆ ได้ปฏิบัติ
ร่วมกนั ถา้ ใครฝ่าฝนื ก็มคี วามผดิ พระพุทธองค์ไดท้ รงบัญญตั ิพระวนิ ัย (สิกขาบท) ไว้ เปน็ กฎขอ้ บงั คับสำหรบั
พระสาวกไดป้ ฏบิ ตั ิ ซึง่ พระวินัยทที่ รงบัญญัตินั้นมีลักษณะใหญๆ่ 2 ประการ คือ
พุทธบัญญัติ คือ ข้อที่พระองค์บัญญัติไว้ห้ามมิให้ประพฤติ ถ้าภิกษุรูปใดฝ่าฝืนพุทธบัญญัติน้ี จะมี
โทษปรบั อาบตั ติ ้ังแตเ่ บาๆ จนถงึ มีโทษหนกั ท่ีสุด คือ ขาดจากความเป็นภิกษุเลยทีเดยี ว
อภสิ มาจาร คือ ขอ้ ปฏิบัติหรือขนมธรรมเนยี มทพี่ ระสงฆ์จะต้องประพฤติตามเพ่ือใหม้ ีอาจาระเปน็ ท่ี
น่าเลื่อมใสแก่ผู้พบเห็น เป็นระเบียบเก่ียวกับการปฏิบัติตน เกี่ยวกับความประพฤติเล็ก ๆ น้อย ๆ เช่น การ
ตดั ผม การตดั เล็บ การอาบน้ำ การนุ่งห่ม การยืน การเดิน การน่งั การนอน การฉนั ขบเคี้ยว เปน็ ต้น ซึ่งพระ
วินัยในส่วนนี้ไม่มีการปรับอาบัติไว้โดยตรง แต่ถ้าใครไม่เอื้อเฟ้ือตามวิธีปฏิบัตินี้ก็ปรับโทษเพียงอาบัติเบา ๆ
คือ ทุกกฏเท่าน้ัน
ลักษณะการบัญญัติพระวนิ ัย หรือสิกขาบทจากการที่มีพระภิกษุสงฆ์สาวกจำนวนมากท่ีมีศรัทธามา
อุปสมบทบรรพชาในพระพุทธศาสนา ซึ่งภิกษุสงฆ์เหล่าน้ีต่างก็มาจากตระกูลท่ีต่างกัน มีความประพฤติท่ี
ตา่ งกัน และมีความเช่ือทตี่ า่ งกัน เม่ือมาอยู่รวมกนั ยากนักทจี่ ะใหม้ ีความเป็นระเบียบได้ การบัญญัตพิ ระวินัย
กเ็ พ่ือวางกรอบระเบียบให้พระสงฆส์ าวกท้งั หลายได้ปฏิบัตเิ ปน็ แนวเดียวกัน เพ่ือปอ้ งกันความยุ่งยากวุ่นวาย
อนั อาจจะเกิดข้นึ ซ่งึ การบญั ญตั ิพระวินยั นีม้ ดี ้วยกัน 2 ประเภทคือ
มูลบัญญัติ หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า มาติกา คือสิกขาบทท่ีตั้งไว้เป็นบทแม่ การบัญญัติพระวินัยนี้
พระพุทธองค์มิได้ทรงบัญญัติไว้ล่วงหน้า ต่อเมื่อมีเหตุการณ์ความเสียหายน่าติเตียนของภิกษุบางรูปเกิดข้ึน
พระพุทธองค์จึงประชมุ พระสงฆ์สาวกทั้งหมด ไต่สวนมูลความผิดท่ีเกิดขึ้นว่าเกิดข้ึนจริงตามนั้นหรือไม่ และ
ชี้แจงให้เห็นโทษความเสียหายท่ีเกิดจากความประพฤติของภิกษุบางรูปน้ันแล้ว ทรงถือเอาข้อความผิดนั้น
เป็นต้นเหตุซ่ึงเรียกว่า อาทิกัมมิกะ ทรงบัญญัติห้ามภิกษุรูปอ่ืนประพฤติเช่นนั้นอีก ถ้าใครฝ่าฝืนประพฤติ
เช่นนั้นอีกจะต้องอาบตั ิ คือ ต้องโทษ และแม้สิกขาบทอื่น ๆ ก็ตาม พระพุทธองคก์ ็ทรงอาศัยเหตุเช่นนั้นเป็น
มลู บญั ญตั ใิ นการบญั ญัตสิ ิกขาบทแก่พระสาวกเชน่ กัน
อนุบัญญัติ : ข้อที่ทรงบัญญัติซ้ำเพิ่มเติมในภายหลังจากการท่ีพระพุทธองค์ทรงบัญญัติพระวินัย
เป็นมูลบัญญัติน้ัน อาจจะไม่ครอบคลุมความประพฤติในด้านอ่ืน ๆ ด้วย ซึ่งต่อมาภายหลังได้มีภิกษุที่
หลีกเลี่ยงการต้องพระวินัยเช่นนัน้ หันไปประพฤตอิ าจาระที่ใกล้เคียงกันให้เกดิ ความเสยี หายขึ้นอีก พระพุทธ
องค์ก็ทรงประชุมสงฆ์อีกคร้ัง และทรงช้ีแจงให้เห็นโทษของการประพฤติเช่นน้ันแล้ ว จึงได้ทรงบัญญัติ
สิกขาบทนนั้ เพิ่มเติมข้ึนอีก หรือบางคร้ังพระพุทธบัญญัติเดิมอาจมีความเคร่งตึงเกนิ ไปก็ทรงบัญญัติเพิ่มเติม
ผอ่ นผนั ลดหยอ่ นลงมาได้เพ่ือให้งา่ ยต่อการประพฤติ
ซ่ึงการบัญญัติสิกขาบทเพิ่มเติมภายหลังน้ีเรียกว่า อนุบัญญัติ คือ พระบัญญัติที่ทรงบัญญัติซ้ ำ
สิกขาบทเดิมที่เคยบัญญัติไว้ก่อนแล้ว เพ่ือเพ่ิมเติมให้มีผลครอบคลุมมากกว่าเดิม อานิสงส์แห่งการบัญญัติ
พระวินัย 10 ประการ พระพุทธองค์ได้ทรงชี้แจงต่อที่ประชุมพระสงฆ์สาวกว่า การบัญญัติพระวินัยน้ันมี
ประโยชน์ต่อพระสงฆ์จำนวนมาก ต่อพระศาสนาและต่อพระสาวกท่ีมีศลี เป็นท่ีรกั พระพุทธองค์ทรงชี้ให้เห็น
145
ประโยชน์ 10 ประการ ท่เี กิดจากการบญั ญตั พิ ระวนิ ยั ไวด้ งั น้ี เพื่อความรับว่าดีแหง่ สงฆ์ เพือ่ ความสำราญแห่ง
สงฆ์ เพื่อข่มบุคคลผู้แก้ยาก เพ่ืออยู่สำราญแห่งภิกษุผู้มีศีลเป็นที่รัก เพื่อป้องกันอาสวะอันจะบังเกิดใน
ปจั จุบัน เพอ่ื กำจัดอาสวะอันจกั มีในอนาคต เพื่อความเลอื่ มใสของชุมชนทยี่ ังไม่เลื่อมใส เพื่อความเล่ือมใสย่ิง
ของชุมชนที่เลื่อมใสแล้ว เพื่อความต้ังม่ันแห่งพระสัทธรรม เพื่อถือเอาตามพระวินัย (ยึดหลักพระวินัยเป็น
ปทัฏฐาน)
อาบตั ิ หมายถึง การตอ้ งโทษทางพระวินยั เพราะทำความผดิ ต่อพระพทุ ธบัญญัติ หรอื อภิสมาจารที่
พระพทุ ธเจา้ บัญญัตหิ ้ามมิให้ประพฤติ ผู้ฝ่าฝนื ต้องมีโทษตามทกี่ ำหนดไว้ในพระวนิ ัยแต่ละสิกขาบท ซึง่ มีการ
กำหนดโทษไว้ลดหลน่ั กันไปจากโทษ หรืออาบัตทิ ี่หนักท่ีสุดคอื ขาดจากความเป็นภกิ ษุ โทษอย่างกลางต้องอยู่
กรรมประพฤติมานัตจึงจะพ้นได้ และโทษอย่างเบาต้องประจานตนเองต่อหน้าภิกษุอ่ืนจึงจะพ้นได้ ซ่ึงการ
ลงโทษในทางพระวินยั ไม่มีความยงุ่ ยาก ไมต่ ้องสอบสวนหาผูก้ ระทำความผิด ยกเวน้ อาบตั ิปาราชิกและอาบตั ิ
สงั ฆาทิเสส เช่น การลักทรพั ย์ทีเ่ จา้ ของมไิ ด้ให้ เป็นตน้
6.2 แนวคิด หลกั การของการบญั ญัติพระวนิ ัย
หลักธรรมคำสอนของพระพทุ ธศาสนาประกอบดว้ ยหลกั 2 ประการหลกั ทเ่ี ปน็ คำสอนเพือ่ ใหป้ ฏบิ ตั ิ
ตามสมควรแก่ผู้ปฏิบัติเรียกว่าธรรมะ และส่วนที่เป็นคำสั่งห้ามปฏิบัติ เป็นข้อห้ามเรียกว่าวินัย หลักที่
พระพทุ ธเจา้ ทรงคน้ พบและนำมาประกาศและส่ังสอนจงึ หมายถึงธรรมวนิ ัยนน่ั เอง ดังทีพ่ ระองค์ตรสั ไว้ก่อนท่ี
จะปรินิพพานว่า ธรรมและวินัยที่พระองค์แสดงแล้ว บัญญัตแิ ลว้ แก่สงฆท์ ั้งปวงน้ันแหละ จักเป็นศาสดาเมื่อ
พระองค์ปรินิพพานแล้ว121 (ที. ม. 10/141/123.) พราะว่า พระวินัยเป็นหลักปฏิบัติที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับ
สังคม และสะท้อนถึงเจตนารมณ์ของพระพุทธศาสนาในด้านความสัมพันธ์ทางสังคมและความสัมพันธ์
ระหว่างมนุษยด์ ้วยกนั เพราะศีลเปน็ ระบบการควบคุมชีวิตด้านนอกท่ีเกี่ยวข้องสัมพนั ธ์กบั การแสดงออกทาง
กายและวาจา คำวา่ “ศลี ” มี 2 ระดับ ไดแ้ ก่ (1) ระดบั ทั่วไป ได้แก่ ระดบั ยังเป็นธรรม เป็นข้อแนะนำส่ังสอน
หรือหลักความประพฤติทีแสดงไว้และบัญญัติไว้ตามกฎธรรมดาแห่งความดีความชั่ว ผู้ท่ีรักษาศีลหรือล่วง
ละเมิดศีลย่อมจะได้รับผลดีหรือชั่วเองตามธรรมดาของเหตุปัจจัย (2) ระดับเฉพาะ เป็นระดับวินัย ซึ่งเป็น
แบบแผนข้อบังคับที่บัญญัตไิ ว้เป็นเหมือนประมวลกฎหมายสำหรับกำกับความประพฤติของสมาชิกในชุมชน
หนึ่ง โดยมีความสอดคล้องกับความมุ่งหมายของหมู่คณะหรือชุมชนนั้นโดยเฉพาะ ผู้ละเมิดบทบัญญัติท่ี
เรียกว่าวินัยจะมีความผิดตามอาญาของหมู่คณะ เม่ือคณะสงฆ์มีจำนวนมากขึ้นการปกครองเกิดความ
ยากลำบากเพราะการดูแลไม่ทั่วถึง พระพุทธเจ้าทรงเล็งเห็นภัยอันตรายที่จะเกิดข้ึนกับหมู่สงฆ์จึงได้บัญญัติ
ขอ้ ห้ามเรียกวา่ วินัย ซ่ึงเป็นท่ีควบคู่ไปกับธรรมะทเี่ ป็นคำสอน ส่วนวินัยจึงเป็นคำสงั่ ห้ามกระทำและคำสั่งท่ี
ให้กระทำเพ่ือหมู่คณะในพระพุทธศาสนาเรียกว่าบริษัทมี 4 กลุ่มคือ อุบาสก อุบาสิกา ภิกษุ ภิกษุณี การ
บญั ญัติวนิ ัยจึงมคี วามหนักเบาแตกตา่ งกันออกไป และข้อปฏิบตั ิมคี วามยากง่ายในการปฏิบัตไิ มเ่ ท่ากนั มเี หตุ
เกิด การบญั ญัติ หรอื สถานการณท์ ่ีไม่เหมือนกนั
ดังนั้น คำว่า “วินัย” หมายถึง (1) มีวินัยต่างๆ คือ ประกอบด้วยปาฏิโมกขุทเทศ 5 ประการ มี
หมวดอาบัติ 7 อย่าง (2) มีนัยพิเศษหมายถึงประกอบด้วยปฐมบัญญัติและอนุบัญญัติ และ(3) เป็นการฝึก
กายวาจา เพราะเป็นเครือ่ งห้ามพฤตกิ รรมทางกายและวาจา ดังข้อความทีป่ รากฏในอรรถกถาว่า บัณฑิตผู้รู้
อรรถแห่งพระวินัยทัง้ หลายกล่าวว่าวินัย เพราะมีนยั ตา่ งๆเพราะมีนยั พิเศษ และเพราะฝึกกายและวาจาอย่าง
น้ี122 (มหามกุฏราชวิทยาลัย. (2525, หน้า 43) เพราะว่า พระวินัยมีหลายหลาย มีความเป็นพิเศษ และเป็น
121 ที.ม. (ไทย) 10/141/123.
122 มหามกุฏราชวิทยาลัย. (2525). พระวินัย มหาวัคค์ ปฐมภาคและอรรถกถา แปลภาค 1.
(กรงุ เทพมหานคร : เฉลาญาการพมิ พ์). หนา้ 43.
146
เคร่ืองใช้สำหรับฝึกกายและวาจาให้อยู่ในสภาพที่เหมาะแก่การดำเนินชีวิต พระวินัยจึงเป็นกฎเบ้ืองต้น
สำหรับผู้ท่ีเข้าสู่ความเปน็ ภิกษโุ ดยการอปุ สมบท เป็นเหมือนกฎหมาย เป็นข้อห้ามไม่ใหป้ ฏิบัติ บ้านเมืองมี
กฎหมายเป็นข้อห้ามสำหรับให้ประชาชนต้ังอยู่ในความสงบเรียบร้อย เพื่อความสะดวกในการปกครอง
ทำนองเดียวกันศาสนาก็มีวินัยเป็นข้อห้ามเพ่ือความสงบเรียบร้อยของหมู่คณะเช่นกัน และจุดประสงค์ท่ี
นอกเหนือไปจากการเป็นข้อห้ามตามปกติแล้ว ยังใช้เป็นเครื่องฝึกกายและวาจาอีกด้วย ส่วนธรรมใช้เป็น
เครอื่ งฝึกจิต
การให้เหตุผลของพระพุทธเจ้าในการบัญญัติพระวินัย พระพุทธเจ้าได้ประกาศศาสนธรรมมาเป็น
เวลานานหลายปี แต่ก็ยงั ไม่ได้บญั ญัติวินยั แก่หมู่สงฆ์ ในเบือ้ งแรกส่งิ ทพี่ ระองคป์ ระกาศเรยี กวา่ พรหมจรรย์
ดังที่พระองค์ได้ตรัสแก่พระอรหันต์ 60 รูปก่อนจะส่งไปประศาสนาว่า “ภิกษุทั้งหลายพวกเธอจะเที่ยวไป
ประกาศพรหมจรรย์ เพ่อื ความสขุ ของมหาชนหมู่มาก”123 (วิ.มหา. (ไทย). 4/32/32.) เมื่อพระสารบี ตุ รได้ทูล
ถามเหตุปัจจัยแห่งการดำรงอยู่ของศาสนาในอดีต จึงได้กราบทูลให้พระพุทธเจ้าทรงบัญญัติพระวินัยและ
แสดงปาฏิโมกขแ์ กส่ าวก แตพ่ ระพุทธเจ้ายังไม่ทรงแสดงพระพุทธเจ้าทรงเหตผุ ลว่า “พระศาสนายังไม่บัญญตั ิ
สิกขาบท ยังไม่แสดงปาติโมกข์แก่สาวก ตลอดเวลาที่ธรรมอันเป็นท่ีต้ังแห่งอาสวะบาเหล่ายังไม่ปรากฏใน
สงฆ์ในศาสนานี้ ต่อเม่ือใดอาสวัฏฐานิยมธรรมบางเหล่าปรากฏในสงฆ์ในศาสนานี้ เมื่อน้ันพระศาสดาจึงจะ
บัญญตั ิสิกขาบทแสดงปาติโมกข์แกส่ าวก เพอื่ กำจัดอาสวฏั ฐนยิ มธรรมเหลา่ น้นั ”124 (ว.ิ มหา.(ไทย). 1/8/11.)
ดงั นั้น อาบตั ิแบ่งเป็น 7 หมวด คือ ปาราชิก สงั ฆาทิเสส ถุลลัจจัย ปาจิตตีย์ ปาฏิเทสนยี ะ ทกุ กฎ และทุพภ
ภาษิต เหตุที่ทำให้ภิกษุต้องอาบัติมี 6 ประการ คือ ไม่ละอาย ไม่รู้ว่าส่ิงน้ีเป็นอาบัติ สงสัยแล้วขืนทำลง
สำคญั ว่าควรในส่ิงทไี่ ม่ควร สำคัญวา่ ไมค่ วรในส่งิ ที่ควรลืมสติ ดงั น้ัน วิธีการท่ีทำใหพ้ ้นโทษจากอาบัตมิ ีความ
แตกต่างกัน คือ อาบัติหนักขาดจากความเป็นภิกษุและภิกษุณี อาบัติอย่างกลางต้องอยู่ปริวาสกรรม อาบัติ
อย่างเบาแสดงสารภาพความผิดตอ่ หนา้ สงฆห์ รอื ภิกษุหรือภกิ ษณุ ใี ดรูปหนงึ่
พระวินัยเป็นคำสอนเพ่ือฝึกกายและวาจาเป็นคำสั่งที่ควรปฏิบัติ ภิกษุมี 227 ข้อ ภิกษุณี 311 ข้อ
สามเณรมี 10 ข้อ อุบาสกอบุ าสกิ าผู้รกั ษาอุโบสถมี 8 ข้อ ส่วนอบุ าสกอบุ าสิกาท่ัวไปมี 5 ขอ้ การบัญญตั ิวนิ ัย
เป็นกฎที่ต้องปฏิบัติตาม เหตุผลทนี่ ำใชใ้ นการบญั ญัตเิ พอื่ ม่งุ ถงึ ความเปน็ ระเบยี บอนั ดีงามสำหรบั พุทธบรษิ ทั
การใชเ้ หตุผลในการบัญญัตสิ กิ ขาบทของพระพทุ ธเจ้า
การบัญญัตสิกขาบทแก่สงฆ์ การใช้เหตุผลในการบัญญัติสิกขาบทในการทำผิดมาจากสิ่งท่ีเป็นเหตุ
คอื อวิชชาทเี่ ป็นความไม่รู้ ดังน้ัน ผู้ที่ทำผิดคร้ังแรกท่ีทำให้เกิดการบัญญัติครั้งแรกหรอื ผู้ที่เป็นตน้ บญั ญัติไมม่ ี
ความผิด ส่วนผู้ท่ีทำผิดคนต่อไปจึงจะมีความผิด ก่อนจะบัญญัติสึกขาบทเพ่ือเป็นข้อปฏิบัติจะมีการประชุม
สงฆ์และสอบถามผู้ท่ีถูกกล่าวหา เม่ือผู้กระทำความผิดยอมรับในการบัญญัติพระวินั ย เพื่อให้
พระพุทธศาสนาดำรงอยู่โดยมุ่งถึงประโยชน์ ดังนี้ ได้แก่ (1) เพื่อความยอมรับว่าดีแห่งสงฆ์ (2) เพ่ือความ
สำราญแห่งสงฆ์ (3) เพ่ือข่มบุคคลผู้เก้อยาก (4) เพื่ออยู่สำราญแห่งภิกษุผู้มีศีลเป็นท่ีรัก (5) เพื่อป้องกันอา
สวะอันจะบังเกิดข้ึนในปัจจุบัน (6) เพื่อกำจัดอาสวะอันจักบังเกิดข้ึนในอนาคต (7) เพื่อความเล่ือมใสของ
ชมุ ชนท่ียงั ไม่เล่ือมใส (8) เพื่อความเลื่อมใสย่ิงของชมุ ชนท่ีเล่ือมใสแลว้ (9) เพ่ือความตั้งม่ันแห่งพระสัจธรรม
(10) เพื่อถือตามพระวินัย125 (วิ.มหา. (ไทย). 1/20/26.) การบัญญัติสิกขาบทเพื่อใช้เป็นข้อห้ามสำหรับ
พระภิกษุ เป็นหลักเกณฑ์ของการอยู่ร่วมกันของหมู่คณะ จึงเป็นสิ่งที่ทำให้พระพุทธศาสานามีความต้ังม่ัน
ยาวนาน เพราะเมอื่ ใดที่ภกิ ษทุ ำความผิดขนึ้ กม็ ีบทบญั ญตั ิไว้สำหรับคอยตรวจสอบและตัดสิน มีกระบวนการ
123 ว.ิ มหา. (ไทย). 4/32/32.
124 วิ.มหา. (ไทย). 1/8/11.
125 ว.ิ มหา. (ไทย). 1/20/26.
147
แหง่ การไต่สวน สอนสวน พจิ ารณาตรวจสอบ ปรับโทษสำหรับผู้ที่ทำความผดิ ทำใหค้ นช่วั ไม่ไดโ้ อกาสในการ
อาศัยเพศสมณะ (ชีวิตนักบวช) ทำความผิดต่อไป เป็นประโยชน์ก็จะพึงมีต่อพระศาสนาเพื่อการดำรงตั้งมั่น
ต่อไปในอนาคตอันยาวนาน การบัญญัติพระวินัยจึงมีเหตุมีผลครอบคลุมทั้งหมู่สงฆ์ ปัจเจกบุคคล ความ
บรสิ ุทธ์ิ ประชาชนและพระศาสนาเอง ตามความ หนักเบา ตามบทบญั ญัติ ดงั ตอ่ ไปน้ี
การบัญญัติปาราชิกสิกขาบท ปาราชิกเป็นอาบัตโิ ทษหนักที่สุด สำหรบั ภิกษมุ ี 4 สกิ ขาบท คือ ห้าม
เสพเมถุน ห้ามลกั ทรัพย์ หา้ มฆา่ มนุษย์ และห้ามอวดอุตตรมิ นุสยธรรม การเสพเมถุนท่ีห้ามเพราะไมใ่ ชว่ ิสัย
ของสมณะ เมถุนธรรมเป็นธรรมของคนคู่เป็นเร่ืองของคฤหัสถ์ผู้ครองเรือน ส่วนสมณะเป็นผู้ออกจากเรือน
บวชแล้วควรเว้นจากกิจของคฤหัสถ์ ส่วนการประพฤติพรหมจรรย์เป็นการดำเนินชีวิตเพ่ือเป็นท่ีสำรอกแห่ง
ราคะ เป็นที่สร่างแห่งความเมา เป็นท่ีดับสูญแห่งความระหาย เป็นที่หลุดถอนแห่งอาลัย เป็นท่ีเข้าไปตัด
แหง่ วัฏฏะ เป็นที่สง่ิ แห่งตัณหา เปน็ ท่ีสำรอกแห่งตัณหา126 (มหามกฏุ ราชวทิ ยาลัย. (2525, หน้า 391)
กล่าวสรุปได้ว่า ภิกษุรูปใดท่ีล่วงละเมิดสิกขาบท ย่อมจะผิดอย่างไม่มีเงื่อนไข ผู้ท่ีผิดอย่างไม่มี
เง่อื นไข ก็ย่อมจะเปน็ ผ้ไู มส่ มควรจะอย่ใู นฐานะการมีชวี ิตแบบบรรพชติ ต่อไป
การบัญญัติสังฆาทิเสสสกิ ขาบท สงั ฆาทเิ สสเป็นอาบัติมโี ทษขนาดกลาง จัดเป็นประโยคยืนยันเพยี ง
พางส่วน คอื แม้จะมีความผดิ ก็ผิดเพยี งบางส่วนยงั ใหโ้ อกาสแก้ไขปรบั ปรุงในโอกาสต่อไป โดยการลงโทษให้
อยู่ประพฤติวตั รเพื่อออกจากความผิดฐานละเมดิ อาบัติสังฆาทิเสส เพ่ือให้สำนกึ โทษจะไดไ้ ม่ผิดอกี ในโอกาส
ต่อไป ถ้าทำได้ตามบทลงโทษก็สามารถกลับมาอยู่ในฐานะเดิมได้ แต่การกระทำทั้งหมดต้องอยู่ในอำนาจ
ของสงฆ์ส่วนรวมต้ังแต่ 4 รูปข้ึนไป และต้องปฏิบัติตามกฎอย่างเคร่งครัด ต้ังแต่การประพฤติมานัต (การ
กำหนดโทษ) การอยู่ปริวาส (การลงโทษ) การให้อัพภาน (การประกาศพันโทษ) ซ่ึงมีกฎเกณฑ์ที่ละเอียด
หากภกิ ษรุ ูปใดทำผิดในสงั ฆาทิเสสตอ้ งทำตามกระบวนการตามเหตุปจั จัยและเงอื่ นไขแห่งความผิดน้นั ๆ เมื่อ
ปฏิบัติไดจ้ ึงจะพน้ โทษ เหตุผลในการบัญญตั ิสงั ฆาทเิ สสสิกขาบท เป็นการให้โอกาสแกผ่ ู้ทไ่ี มร่ ะมดั ระวังตนซึ่ง
ตามปกตยิ ่อมจะผิดพลาดบา้ ง เมือ่ ทำตามเงื่อนไขก็เปน็ อันพ้นทากลบั มาเป็นภิกษุเหมอื นเดมิ สังฆาทิเสสเป็น
การยืนยันบางส่วน ส่วนท่ียืนยันเป็นสิ่งที่ถูกต้อง แต่สิ่งที่ไม่ได้ยืนยันเป็นความผิด เพราะฉะน้ัน เมื่อทำ
ความผิดกผ็ ิดเพียงบางสว่ น ความเป็นสมณเพศยังเหลืออยู่ เพราะไม่ได้ผิดท้ังหมด ผิดเพียงบางส่วนเท่านั้น
ถา้ ทำตามเงอื่ นไขความผดิ บางส่วนก็จะกลบั คืนมา กลายเป็นความถูกต้องเหมือนเดิม
การบญั ญัตปิ าจิตตีย์สิกขาบท ปาฏิเทสนียสิกขาบท และเสถียรวัตรปาจติ ตีย์ ปาฏิเทสนียะ เป็นบัติ
โทษขนาดเบา เพราะก่อนท่ีจะบัญญัติสิกขาบทเหล่านี้ พระพุทธเจ้าทรงเล็งเห็นว่าภิกษุที่เป็นปุถุชนย่อมมี
โอกาสทำผิดกันได้ บางหมวดเป็นเรื่องส่วนบุคคลดังเช่นปาจิตรีย์หมวดมุสาวาทวรรค127 (วิ. มหา. (ไทย).
2/255/275.) บางอย่างเก่ียวข้องกับหมู่คณะโดยตรงเช่นในปาจิตตยี ์หมวดสหธรรมกิ วรรค128(วิ.มหา. (ไทย).
2/680/572.) บางอยา่ งเก่ยี วขอ้ งกับนกั บวชในศาสนาอ่ืนเช่นในปาจิตตียห์ มวด อเจลวรรค129 (วิ.มหา. (ไทย).
2/562/497.) บางอย่างเก่ียวข้องกับประชาชนทั่วไปเช่นในปาจิตตีย์หมวดภูตคาม130 (วิ. มหา. (ไทย).
2/354/347.) บางอย่างเก่ียวบ้องกับนางภิกษุณีดังเช่นในปาฏิเทสนียะ131 (วิ. มหา.(ไทย). 2/781/641.)
126 มหามกุฏราชวิทยาลัย. (2525). พระวินัย มหาวัคค์ ปฐมภาคและอรรถกถา แปลภาค 1. อ้างแล้ว,
หนา้ 391.
127 วิ.มหา. (ไทย). 2/255/275.
128 วิ.มหา. (ไทย).2/680/572.
129 วิ.มหา. (ไทย). 2/562/497.
130 วิ.มหา. (ไทย). 2/354/347.
131 วิ.มหา.(ไทย). 2/781/641.
148
บางอย่างเป็นเร่ืองของข้อที่ควรปฏิบัติดังเช่นเสชิยวัตรทั้งหมด ผู้ที่ละเมิดไม่ปฏิบัติตามสิกขาบทบัญญัติ
เหล่าน้ี เพียงแต่บอกสิ่งที่ตนได้กระทำลงไปต่อหน้าภิกษุรปู ใดรูปหนึ่ง แล้วให้คำสัญญาว่าจะไม่กระทำอีก ก็
เปน็ อันพันจากโทษเหลา่ น้นั ได้
การใช้เหตุผลในการอนุญาตให้ภิกษุณีอุปสมบท ภิกษุณีมีความเป็นมาที่ค่อนข้างจะยุ่งยาก การ
อนญุ าตใหส้ ตรีบวชกเ็ ป็นเร่ืองท่มี กี ารวางแผนไว้ก่อนแลว้ วา่ ให้บวชได้ แต่ไม่ได้หวงั จะได้ดำรงอยูน่ านต่อไป
ในอนาคต เป็นประโยคเง่ือนไขคือถ้าสตรีบวชจะต้องรับเงื่อนไขพิเศษเรียกว่าครุธรรม ซึ่งต่างไปจากภิกษุ
โดยท่ัวไปดังข้อความที่พระพุทธเจ้าทรงตรัสกับนางปชาบดีโคตมีว่า (1) ภิกษุณีอุปสมบทแล้วร้อยปี ต้อง
กราบไหว้ ลุกรับ ทำอัญชลีกรรม สามิจิกรรม แก่ภิกษุท่ีอุปสมบทในวันนั้น (2) ภิกษุณีต้องหวังธรรมสอง
ประการคือถามในวันอุโบสถ และเข้าไปฟังคำส่งั สอนจากภิกษุสงฆ์ทุกกึ่งเดือน (3) ภิกษุณีอยู่จำพรรษาแล้ว
ต้องปวารณาในสงฆ์สองฝ่าย (4) ภิกษุณีต้องธรรมท่ีหนักแล้ว ต้องประพฤติปักขมานัตในสงฆ์สองฝ่าย (5)
ภกิ ษุณีต้องแสวงหาอุปสัมปทาในสงฆ์สองฝ่ายเพ่ือสิกขมานาผู้มีสิกขาอันศกึ ษาแลว้ ใน ธรรม 6 ประการครบ
สองปแี ล้ว (6) ภิกษุณีไม่พงึ ด่า บรภิ าษภกิ ษุ โดยปริยายอย่างใดอย่างหน่งึ (7) ห้ามไม่ให้ภิกษุณีสอนภิกษุ (8)
อนุญาตให้ภิกษุให้สอนภิกษุณี ครุธรรมท้ัง 8 ประการนี้ ภิกษุณีต้องสักการะเคารพ นับถือ บูชา ไม่ละเมิด
ตลอดชวี ติ 132 (ว.ิ จลุ . (ไทย). 7/516/208.)
การอนุญาตให้ภิกษุณีบวชได้ แต่ต้องประพฤติธรรมที่ค่อนข้างจะหนัก 8ประการ ซึ่งเป็นเหตุผลท่ี
วางไว้เพ่ือท่ีจะให้ภิกษุณีรู้สำนึกว่าการบวชนั้นต้องใช้ความเพียรพยายามและความอดทนอย่างสูง ครุธรรม
เป็นหลักการสากลซึ่งเป็นไปตามการใช้เหตุผลทางตรรกะในทางนิรนัย ซ่ึงเป็นเหตุท่ีก่อให้เกิดผล ครุธรรม
เป็นเหตุท่ีนำไปสู่ผลคือการบวช ถ้าการปฏิบัติตาครุธรรมสำเร็จ การบวชจึงจะต้องมา แต่ถ้าการปฏิบัติไม่
สมบูรณ์ การบวชก็จะไม่มีซึ่งเปน็ ประโยคสันนษิ ฐานแบบมีเง่ือนไขคือ ถา้ ทำได้ตามครุธรรม การบวชจึงจะมี
ถ้าทำไม่ได้การบวชก็จะไม่มี เงื่อนไขสำหรบั การบวชเป็นภิกษุณีจึงอยู่ที่การประพฤติตามครุธรรม ในขณะท่ี
เงอื่ นไขของกรบวชเป็นภิกษุเช่นนี้ไม่มี การท่ีจะให้การอุปสมบทจะต้องเป็นไปตามเงือ่ นไข ซ่ึงเป็นเรอื่ งทตี่ ้อง
ใช้ความอดทนอย่างเย่ียมยอดจึงจะปฏิบัติตามได้ ถ้าผิดกฎเกณฑ์ข้อใดข้อหนึ่งก็ถือว่าไม่ผ่านการคัดเลือก
ดังนั้น แม้จะให้อุปสมบทภิกษุณีแต่ก็เป็นการกำหนอไว้ก่อนแล้วว่าต่อไปไม่นานภิกษุณีจะหมดไปจากพุทธ
ศาสนาเอง การที่พระพุทธเจ้ายอมให้สตรีอุปสมบท ถอื ว่า เปน็ การทำใหอ้ ายขุ องพระพุทธศาสนาสนั้ ลงอีก
ประการหนึ่งดังข้อความที่กล่าวว่า “ถ้าสตรีจักไม่ได้ออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิต ในธรรมวินัยท่ีตถาคต
ประกาศแล้ว พรหมจรรย์จักต้ังอยู่ได้นาน สัทธรรมจะพึงต้ังอยู่ไดตลอดพันปี ก็เพราะสตรีออกจากเรือน
บวชเป็นบรรพชิตในธรรมวนิ ัยท่ีตถาคตประกาศแลว้ บัดน้ีพรหมจรรย์จักไมต่ งั้ อย่ไู ดน้ าน สทั ธรรมจักตั้งอยไู่ ด้
เพียง 500 ปีเศษ เทา่ นัน้ ”133 (วิ.จุล. (ไทย). 7/518/210.)
การอนุญาตให้ภิกษุณีอุปสมบทจึงเป็นเหมือนเงื่อนไขที่ทำให้ศาสนามีอายุสั้นลงพระพุทธเจ้าแม้ทรง
ทราบก็ยังอนุญาตให้บวช ในเรื่องของการอนุญาตให้นางปชาบดีโคตมีบวชเป็นนางภิกษุณีนี้มีข้อที่น่าสนใจใน
ทางการใช้เหตุผล ดังนี้ “การบวชเป็นประโยคเงื่อนไขซึ่งเป็นไปตามกฎแห่งความมีเหตุผล (The Law of
Causality ) ซึ่งระบุว่าสงิ่ ใดสงิ่ หน่ึงที่มีอยู่หรอื อุบัติขึ้นมา ย่อมเป็นผลของเหตุใดเหตุหน่ึงหรือหลายเหตุรวมกัน สิ่ง
ใดสิ่งหนึ่งมีอยู่ สิ่งน้ันจะต้องมีเหตุให้มีอยู่เช่นนั้น ถ้ามีภิกษุณีในพระศาสนา การมีภิกษุณีเป็นสาเหตุของการท่ี
ศาสนามีอายุสั้นลง เหมือนตระกูลที่มีผู้หญิงมากกว่าผู้ชาย เช้ือสายย่อมค่อยๆ หายไป เพราะขาดผสู้ ืบตระกูล แต่
ความเส่ือมของภิกษุณีมอี ันตรายมาจากตัวภกิ ษุณีเอง และอันตรายที่เกิดจากภายนอก อนั อาศัยเหตุคือตัวภิกษุณี
นั้นเอง ภิกษุณีเป็นผู้หญิง ความเป็นผู้หญิงย่อมจะเป็นอันรายต่อการปฏิบัติธรรมเพราะความเป็นบรรพชิต
132 ว.ิ จลุ .(ไทย). 7/516/208.
133 ว.ิ จลุ . (ไทย). 7/518/210.
149
จะต้องอาศัยอยใู่ นป่าทีส่ งบเงยี บเพ่ือบำเพ็ญ สมณธรรม ปา่ ย่อมมีอันตรายแอบแฝงอย่ทู ั้งภัยท่ีเกิดจากป่าเอง
และภัยที่มากับความสงบคือบุรุษผู้ทุศีลย่อมจะหาช่องทางในการทำอันตรายต่อพรหมจรรย์ของนางภิกษุณี
ด้วย ดังที่ กรณีของนันทกมาณพข่มขืนนางอุบลวรรณเถวี”134 (คณะกรรมการแผนกตำรา. (2525, หน้า
215)
การบญั ญัตสกิ ขาบทแกภ่ กิ ษุณี135 ชนุ ประเสรฐิ ฐศภุ มาตรา (2505, หน้า 81) ตามสภาพสงั คมและ
ความเป็นจริงของธรรมชาติ ภิกษุณีเป็นเพศหญิงน่าจะมีขอ้ ปฏิบตั นิ ้อยกว่าภิกษุที่เป็นชาย แต่ทว่าสกิ ขาบทที่
พระพุทธเจ้าทรงบัญญัติไว้สำหรับภิกษุณีกลับมีมากกว่าภิกษุถึง 74 สิกขาบท (ภิกษุ 227 สิกขาบท ส่วน
ภิกษุณี 311 สิกขาบท) ย่งิ ปาราชิกสิกขาบทเพม่ิ ขน้ึ ถึง 4 สิกขาบทรวมเป็น 8 สิกขาบท โทษหนกั คือขาดจาก
สถานภาพการเป็นภิกษุณีมีจำนวนสิกขาบทท่ีมากข้ึน ย่อมเป็นเหตุผลเพียงพอท่ีจะทำให้การมีภิกษุณีเป็น
เง่ือนไขท่ีถูกกำหนดเพราะว่า สิกขาบทท่ีบัญญัติแก่ภิกษุณีมีส่วนที่เหมือนกันของภิกษุ โดยการอนุโลมตาม
สิกขาบทของภกิ ษุ
ปาราชกิ สิกขาบททแี่ ตกตา่ งไปจากภิกษุ คอื ภกิ ษุณมี ีความกำหนด ยินดีการลบู คลำการจกั ตอ้ ง การ
บีบของชายผู้มีความกำหนัดข้างบนต้ังแต่รากขวัญลงไป ข้างล้างต้ังแต่เข่าขึ้นมา เป็นปาราชิก หาสังวาสมิได้
คอื หมดสภาพการเปน็ ภกิ ษุณี
ภกิ ษณุ ีรวู้ า่ ภิกษุณอี นื่ ต้องอาบัตปิ าราชกิ ไมไ่ ด้กลา่ วโจทด้วยตนเอง ไม่บอกแก่หมคู่ ณะ เป็นปาราชิก
หาสังวาสมิไดค้ ือหมดสถานภาพการเป็นภกิ ษุณี
ภิกษุณีประพฤติตามภกิ ษุที่สงฆป์ ระกาศขบั ออกจากหมู่ ภิกษุณีน้ันถูกสงฆ์ตักเตือนเมื่อไมเ่ ชื่อฟงั จึง
สวดประกาศตักเตือนชี้แจง ถ้าสวดประกาศครบสามคร้ัง ยังไม่เลิก เป็นปาราชิก หาสังวาสมิได้คือหมด
สถานภาพการเป็นภิกษุณี
ภิกษุณีประพฤติตนไม่สมควรคือยินดีการจบั มอื การจบั ชายผ้าของบุรุษ ยนื พูด นดั หมาย ยนิ ดีตาม
นดั หมาย เข้าไปสทู่ ่ีมุงดว้ ยกันกับบุรุษ ทอดกายให้เขาเพอื่ เสพอสัทธรรมเป็นปาราชิก หาสงั วาสมิได้คือหมด
สถานภาพเปน็ ภกิ ษุณี
อีกส่ีข้อให้ถือปฏิบัติเหมือนภิกษุ การบัญญัติสิกขาบทแก่ภิกษุณีมากกว่าภิกษุดูเหมือนจะเป็นการ
ซ้ำเติมต่อภิกษุณีมากเกิดไป แต่เหตุผลที่ทรงบัญญัติอย่างน้ันเพราะความปลอดภัยของภิกษุณีเอง ผู้หญิงย่อม
อ่อนแอไม่เหมาะกับการปฏิบัติธรรมในป่าที่เต็มไปด้วยอันตราย และเพ่ือความอยู่นานแห่งพระพุทธศาสนา การ
บัญญัติสิกขาบทแก่ภิกษุณีจึงเป็นประโยคเง่ือนไข (Conditional proposition) ในทางตรรกะ ซ่ึงเป็นไปตรรกะ
ทีว่ า่ ถ้าอย่างน้นั ๆ กเ็ ป็นอยา่ งนๆี้ (If so and so, then such and such)
กล่าวสรุปได้ว่า การบัญญัติสิกขาบทแก่ภิกษุณีจึงเป็นไปตามเง่ือนไขท่ีว่า “ถ้าภิกษุณีอุปสมบท
พระพุทธศาสนาจะอยู่ไดไ้ ม่นาน หากอนุญาตให้ภกิ ษุณอี ุปสมบท พระพุทธศาสนาจะมีอายสุ ้ันเขา้ ”
เหตุผลน้ี จึงเป็นเหตุผลที่ทำให้พระพุทธเจ้าวางกฎไว้ สำหรับให้ภิกษุณีปฏิบัติมากกว่าภิกษุ เพื่อ
ภิกษุณีจะได้อยู่ไม่นาน เมื่อภิกษุณีอยู่ในพระพุทธศาสนาไม่นาน เพราะมีบัญญัติและข้อห้ามมาก ดังน้ัน
พระพุทธศาสนาจะอยู่ได้นาน เพื่อเห็นแก่อายุของพระพุทธศาสนา การอนุญาตให้ภิกษุณีอุปสมบทตาม
เง่อื นไข เพราะภกิ ษณุ ีรูปแรกมคี ุณตอ่ พระพุทธเจ้า เปน็ การทดแทนคณุ เฉพาะบคุ คล แตถ่ า้ จะอนุญาตสำหรับ
คนเดยี วกจ็ ะเปน็ การลำเอียงเกิดไป เม่ืออนุญาตคนหน่งึ คนอ่นื ก็ย่อมจะมสี ทิ ธเิ ท่าเทยี มกัน วิธที ี่เป็นหลักการ
สากลสำหรับภกิ ษจุ ึงเป็นไปตามเงอื่ นไข
134 คณะกรรมการแผนกตำรา. (2525). พระธัมมปทัฏฐกถา ภาค 3. กรุงเทพมหานคร : มหามกุฏราช
วิทยาลัย. หน้า 215.
135 ชุนประเสรฐิ ฐศุภมาตรา. (2505). ตรรกวทิ ยา. กรงุ เทพมหานคร : เขษมบคุ สโตร์. หน้า 81
150
แมส้ ิกขาบทจะมากก็จรงิ แตก่ ็ไม่ยากสำหรับผู้ทีม่ ีความตั้งใจ ดังจะเหน็ ได้ว่า ในสมัยพุทธกาลภกิ ษณุ ี
ทบี่ รรลุคุณวิเศษ และเปน็ กำลังสำคัญในการเผยแผ่พระพุทธศาสนาไม่นอ้ ยและที่ได้รบั การยอย่องว่าเป็นเลิศ
(เอตทัคคะ) ก็มีเป็นจำนวนมาก จำนวนของสิกขาบทจึงไม่ใช้ปัจจัยสำคัญในการบรรลุคุณวิเศษ ซ้ำกลับจะ
เป็นผลดตี ่อผู้ทม่ี ีความตัง้ ใจจรงิ ด้วยซ้ำไปและจะเป็นกำแพงคอยกน้ั ผูท้ ่ีมีจติ เปน็ อกุศลหวังจะอุปสมบทเข้ามา
เพ่อื ทำลายพระพุทธศาสนามากกวา่ ทีจ่ ะทำใหพ้ ระพทุ ธศาสนามัน่ คง
หลักการตัดสินธรรมวินัยและบทลงโทษผู้ทำผิด ถ้าภิกษุประพฤติผิดแล้วยอมรับผิดก็จะถูกลงโทษ
ตามหนักเบาของแต่ละสิกขาบท แต่ถ้าทำผดิ แลว้ ไมย่ อมรับผิด ก็จะมีขั้นตอนในการตัดสินตามกระบวนการที่
เรียกว่าอธิกรณสมถะ ประกอบด้วย (1) สัมมุขาวินัย (2) สติวินัย (3) อมุฬหวินัย (4) ปฏิญญากรณะ (5)
เยภุยยสิกา (6) ตัสสปาปิยสิกา (7) ติณวัตถารกะ เม่ือมเี ร่ืองทที่ ำให้ภกิ ษเุ กิดความเห็นท่ีแตกแยกกันเกี่ยวกับ
ความถูกต้องแห่งธรรมวินยั ในลักษณะท่ีว่า “ข้อนเ้ี ป็นธรรม ขอ้ นี้ไมเ่ ปน็ ธรรม ข้อน้ีเป็นวินัย ข้อนไ้ี ม่เป็นวินัย
ส่ิงน้ีพระตถาดคตตรัสไว้ ทรงประพฤติมา บัญญัติไว้ แต่สิ่งนี้พระตถาคตไม่ได้ตรัสไว้ ไม่ได้ทรงประพฤติ
ไม่ได้บัญญัติไวข้ ้อน้ีเป็นอาบัติ ข้อน้ีอาบัติเบา ข้อน้ีอาบัติส่วนเหลือ (อย่างกลาง ) ข้อน้ีอาบัติหยาบ ข้อน้ีไม่
เป็นอาบัติ” และ “ความบาดหมาง ความทะเลาะ ความแก่งแย่ง ความทุ่มเถียง ความกล่าวต่างกัน ความ
กล่าวประการอื่น การพูดเพ่ือความกลัดกลุ่มใจ ความหมายมั่นในเร่ืองนี้เรียกวา่ “วิวาทาธิกรณ์”136 (วิ. จุล.
(ไทย). 6/633/299.)
การมีความเห็นที่ไม่เหมือนกันจนกระท่ังนำไปสู่การทะเลาะวิวาท ซ่ึงจะทำให้เกิดความทิฏฐิที่
แตกต่าง และนำไปสู่การแบง่ แยกเปน็ หมคู่ ณะดงั กรณีของพระภิกษุในเมอื งโกสมั พีระหวา่ งภิกษุฝา่ ยวินัยและ
ฝ่ายธรรมะ ที่ทะเลาะกันด้วยเหตุเพียงเล็กน้อยคือน้ำชำระให้ห้องส้วม จนกลายเป็นเรอ่ื งของธรรมและวนิ ัย
จนทำให้พระพุทธเจ้าต้องเสด็จไปจำพรรษาที่ป่าปริเลยยกะ137 คณะกรรมการแผนกตำรา (2525, หน้า 49)
เร่ืองน้ีให้ตัดสินด้วย สัมมุชาวินัยและเยภุยยสิกาวินัย คือ ให้ตดั สินโดยการสอบถามต่อหน้าสงฆ์ โดยใช้เสียง
ขา้ งมาก
อนุวาทาธิกาณ์ เป็นการโจทก์กันของพวกภิกษุในเร่ืองของศิล อาจาระ ทิฏฐิ ดังพระดำรัสที่ตรัส
อธบิ ายความหมายและบอกวธิ ีระงับไวแ้ ก่ภกิ ษุว่า “ดูก่อนภกิ ษุทงั้ หลาย อนึ่งภกิ ษุในธรรมวนิ ัยน้ี กล่าวโจทก์
ภิกษุรูปใดรูปหนึ่งด้วยศิลวิบัติ อาจารวิบัติ หรืออาชีววิบัติ การโจทก์การกล่าวหา หรือการฟ้องในเร่ือง
เช่นน้ี พระพุทธองค์ทรงให้หลักการในการตัดสินไว้ 4 ประการคือ (1) สัมมุขาวินัย (2) สติวินัย (3) อมูฬ
หวนิ ยั และ(4) ตัสสปาปยิ สิกา”138 (ว.ิ จุล. (ไทย). 6/634/300-682/318.)
อาปัตตาธิกรณ์ คือ การต้องอาบัติในแต่ละอย่างมีการกระทำให้พ้นอาบัติไมเหมือนกันให้ระงับ
ความสัมมุขาวินัย ปฏญิ ญาตกรณะ และติณวตั ถารกะ
กิจจาธิกรณ์ หมายถึง หน้าที่ กิจแห่งสงฆ์ คือ อปโลกนกรรม บัญติกรรม บัตติทุติยกรรม บัตติ
จตุตถกรรม139 (วิ. จุล. (ไทย). 6/636/310.) กิจจาธิกรณ์ให้ระงับด้วยสัมมุขาวินัย140 (วิ. จุล. (ไทย).
6/694/328.) พระพุทธเจ้าได้วางหลักการตัดสินในเร่ืองท่ีเป็นธรรมวินัยไว้แล้วรอบคอบเพ่ือป้องกันการ
ประพฤติผิดต่าง ๆ เม่ือมีเร่อื งเกิดข้ึนใหป้ ระชมุ สงฆ์เพื่อสอบถาม สอบสวนและตัดสินและลงโทษตามสมควร
แก่ความผิดที่เกิดข้ึน ธรรวินัยเหมือนบทบัญญัติท่ีพระสงฆ์ต้องเคารพเอื้อเฟ้ือและปฏิบัติตาม การบัญญัติ
136 ว.ิ จลุ . (ไทย). 6/633/299.
137 คณะกรรมการแผนกตำรา. (2525). พระธัมมปทฏั ฐกถา ภาค 3. อ้างแล้ว. หน้า 49.
138 วิ.จลุ . (ไทย). 6/634/300-682/318.
139 วิ.จลุ . (ไทย). 6/636/310.
140 ว.ิ จุล. (ไทย). 6/694/328.
151
สิกขาบทเพื่อให้เป็นแบบอย่างท่ีดีงามของอนุชน หรือเพื่อเชิดชูความดีงามไว้ในโลก เป็นการเคารพธรรม
เคารพวินัย หากมีข้อสงสัยในเร่ืองธรรมวินัยท่านได้วางหลักสำหรับตัดสินไว้ว่า “ธรรมเหล่าใดเป็นไปเพื่อ
ความคลายกำหนัด (วิราคะ) เพ่ือความหมดเครื่องผูกรัด (วิสังโยค) เพื่อความไม่พอกพูนกิเลส (อุปจยะ)
เพ่ือความักน้อย (อัปปิจฉตา) เพื่อความสันโดษ (สันตุฏฐี) เพื่อการประกอบความเพียร (อรายารัมภะ) เพื่อ
ความเลี้ยงง่าย (สุภรตา) ธรรมเหล่านี้พึงรู้ว่าเป็นธรรม เป็นวินัย เป็นสัตถุสาสน์”141 (วิ.จุล. (ไทย).
7/523/331.)
การวางหลักกำหนดว่าส่ิงไหนเป็นธรรม สิ่งไหนเป็นวินัย ก็เพ่ือป้องกันไว้เมื่อมีข้อสงสัยและเกิด
ความขัดแย้งกันข้ึน จะได้มีหลักในการพิจารณา ถ้าเป็นไปตามที่พระองค์ตรัสไว้แสดงว่าสิ่งน้ันเป็นวินัย ถ้า
เป็นไปตามน้ีพึงตัง้ จ้อสังเกตและนำไปพิจารณาหาทางแก้ไขต่อไป วนิ ัยเป็นทบบัญญัติท่ีวางไว้เป็นความจริง
สากล ซึ่งเป็นไปตามกฎแห่งการใช้เหตุผลว่า ถ้าภิกษุใดทำผิดบทบัญญัติ ภิกษุนั้นจะต้องได้รับการติเตียน
ยอ่ มเดือดร้อน ย่อมแตกจากหมู่คณะ ดังกรณีของพระวินัยธรกับพระธรรมธร มีความเห็นแตกต่างกันในเรือ่ ง
ที่น้ำที่เหลือไว้ในห้องน้ำผิดบทบัญญัติหรือไม่ พระธรรมธรมีความเห็นว่าไม่ผิดบทบัญญัติ แต่พระวินัยธรมี
ความเห็นว่าผิด เมื่อเกิดความเห็นแตกต่างกันในเร่ืองเดียวกัน หลักการตัดสินก็ต้องพิจารณาตามเหตุปัจจัย
โดยคน้ หาว่าหลกั การสากลท่ีพระเจา้ บญั ญตั ไิ ว้มีอย่หู รือไม่ เมอ่ื ค้นดูแลว้ ปรากฏวา่ พระพทุ ธเจา้ ไม่ได้บญั ญตั ไิ ว้
สิ่งใดที่พระพุทธเจ้าไม่ได้บัญญัติไว้ ส่ิงนั้นไม่ผิด พระพุทธเจ้าก็ไม่ได้บัญญัติเพิ่มเติม เพราะว่าเป็นเรื่อง
เล็กน้อยถึงจะทำหรือไม่ทำก็ไม่ได้เป็นเงื่อนไขท่ีจะนำไปสู่ความคลายกำหนดราคะ หรือเพ่ือการประกอบ
ความเพียรได้ ดังน้ันสิ่งที่พระพุทธเจ้าจะต้ังเป็นบทบัญญัติว่าส่ิงไหนควรตราเป็นวินัยเป็นข้อห้ามจึงอยู่ท่ี
เง่ือนไขท่ีว่าเป็นไปเพื่อความคลายกำหนด (วริ าคะ) เพื่อความหมดเคร่ืองผูกรัด (วิสังโยค) เพ่ือความไม่พอก
พูนกิเลส (อปจยะ) เพ่ือความมักน้อย (อัปปิจฉตา) เพ่ือความสันโดษ (สันตุฏฐี) เพื่อการประกอบความเพียร
(วิรยิ ารัมภะ) เพอ่ื ความเลี้ยงงา่ ย (สภุ รตา)142 (วิ.มหา. (ไทย). 7/524/332.)
ในกรณีท่ีมีการกระทำโดยท่ีไม่รู้ว่าสิ่งนั้นจะเป็นความผิดก็ให้ใช้หลักการเดียวกันน้ีตัดสิน ดังกรณี
ของภิกษุกลุ่มหน่ึงบำเพ็ญสมาธิจนได้ฌานสมาบัติ โดยการพิจารณาความเป็นไปในกายจนเกิดความเบื่อ
หน่าย (อสภุ กัมมัฏฐาน) มองเห็นรา่ งกายมสี ภาพท่ีสกปรกเนา่ เปลื่อย ไม่นาอภิรมยย์ นิ ดี จึงเกิดความไม่ชอบ
ใจในร่างกายตนเอง คร้ังแรกจ้างให้คนอ่ืนฆ่าตนเองให้ตาย ต่อมาเมื่อไม่มีใครรับจ้างก็ฆ่าตัวเองเพอ่ื ทีจ่ ะหลีก
หนีจากความนา่ เกลียดของอัตตภาพร่างกาย เม่ือพระเจ้าทราบข่าวจึงนำเข้าสู่ที่ประชุมเพ่ือหารือและตัดสิน
ว่าการฆ่าตัวตายผิดวินัยหรือไม่ บทบัญญัติท่ีพระพุทธเจ้าวางเอาไว้ว่า การฆ่ามนุษย์จนถึงแก่ความตายเป็น
อาบตั ิปาราชิก143 (วิ.มหา.(ไทย). 1/179/292.)
คำวา่ มนุษยต์ ามบญั ญตั ินหี้ มายถึงมนุษย์อ่ืนทไี่ ม่ใชต้ ัวเอง แต่ภกิ ษุกลุม่ นี้เข้าใจวา่ การฆ่าตัว เองย่อม
ไม่ผิดบทบัญญตั ิ เพราะเปน็ สิทธสิ ว่ นบุคคล
การตัดสินย่อมตั้งอยู่บนพื้นฐานของการใช้เหตุผลทางตรรกะ ซ่ึงจะเป็นไปตามหลักการคือคำว่า
“มนุษย์” หมายถึง สัตว์ประเภทมนุษย์ทุกชนิด มนุษย์เป็นชนิดของสัตว์ เพราะมนุษย์เป็นสัตว์ชนิดหนึ่งที่
สังกัดอยู่ในประเภทของสัตว์ ดังนั้น มนุษย์จึงหมายถึงทั้งหมดไม่ว่าจะเป็นผู้อื่นหรือตนเอง การฆ่าตัวตายก็
ย่อมจะมีความผดิ ตามบทบัญญัติด้วย พระพทุ ธเจา้ ใช้หลักการทางตรรกะมาพสิ จู น์ความผดิ ของภกิ ษกุ ลุ่มน้วี ่า
มีความผิดเหมือนกับการฆ่าคนอื่นเหมือนกัน แต่พระองค์ยังไม่ได้บัญญัติไว้ท่ีพวกภิกษุทำลงไปย่อมเป็น
เพราะการตีความบทบัญญัติผดิ จึงยกประโยชน์ใหแ้ ก่จำเลยคือไม่ให้มีความผดิ ไม่ต้องรับโทษฐานฆ่ามนุษย์
141 (วิ.จลุ . (ไทย). 7/523/331.
142 (ว.ิ มหา. (ไทย). 7/524/332.
143 วิ.มหา. (ไทย). 1/179/292.
152
แต่พระองค์ก็ได้สร้างหลักการสากลคือตราเป็นบทบัญญัติไว้สำหรับเป็นข้อปฏิบัติต่อไป จึงมีอนุบัญญัติ
เพ่มิ เตมิ ว่า ผใู้ ดฆ่ามนุษยแ์ ม้กระท่ังตัวเองเปน็ อาบัติปาราชิก144 (วิ.มหา. (ไทย). 1/180/295.)
เหตุผลที่พระพุทธเจ้าได้บัญญัติวินัยไว้เพื่อทำให้สังคมสงฆ์น่าดูน่าเลื่อมใส สำหรับภิกษุที่ไม่ปฏิบัติ
ตามวินัยย่อมจะได้รบั โทษคือการปรับอาบตั ิ ส่วนวนิ ยั หรือศลี สำหรับอุบาสกอุบาสิกาทั่วไปได้อนโุ ลมตามวนิ ยั
ของภิกษุและภิกษุณี แต่จำนวนข้อบัญญัติมีจำนวนน้อยกว่าเหตุผลท่ีบัญญัติน้อยกว่า เพราะฆราวาสยังคง
ครองเรือน มีงานมาก และได้แสดงโทษจากการที่ไม่รักษาศีลและการทำให้ศีลวิบัติไว้ดังข้อความว่า “คน
ทุศีล ผู้มีศีลวิบัติในโลกน้ี ย่อมเข้าถึงความเสื่อมแห่งโภคทรัพย์ใหญ่หลวง เพราะเหตุแห่งความประมาท
ช่ือเสียงอันลามกของคนทุศีล ของผู้มีศีลวิบัติย่อมเฟื่องฟุ้งไป ย่อมครั่นคร้ามขวยเขินในการเข้าสู่บริษัท
ยอ่ มเปน็ ผู้หลงทำกาละ เบ้อื งหนา้ แตต่ ายเพราะกายแตก ย่อมเขา้ ถึงอบายทคุ ติ วนิ ิบาต นรก”145 (วิ. มหา.
(ไทย). 5/68/144.) สว่ นผู้ท่ีปฏบิ ตั ติ ามขอ้ หา้ มหรือศีลท่ีพระพทุ ธเจ้าบัญญัตไิ วแ้ ล้วย่อมจะได้อานสิ งส์ดงั น้ี คือ
“ย่อมได้กองโภคทรัพย์ใหญ่หลวง ชื่อเสียงอันดีงามย่อมเฟื่องฟุ้งไป เป็นแก้วกล้า ไม่ขวนเขินในการเข้าสู่
บรษิ ทั ย่อมไม่หลงทำกาละ ยอ่ มเข้าถงึ สุคติโลกสวรรค์”146 (ว.ิ มหา. (ไทย). 5/69/115.)
การบัญญัติข้อห้ามคือวินัยเป็นเหตุท่ีจะนำไปสู่ผลคือความมีระเบียบแห่งคณะสงฆ์และอุบาสก
อบุ าสิกาซ่ึงปฏิบตั ิตามข้อห้ามย่อมจะมีระเบียบ ส่วนการไดโ้ ภคทรพั ย์ ความมีชอื่ เสยี ง และการเข้าถงึ สวรรค์
น้ัน เป็นเหตุผลย่อยที่แทรกอยู่ในเหตุผลหลัก ความมีระเบียบแห่งหมู่คณะเป็นเหตุผลหลักเหตุผลท่ีตามมา
เป็นเหตุผลย่อย หมายความว่าในการปกครองและบริหารหม่คู ณะคสขวามมีระเบียบและความพรอ้ มเพรียง
เป็นหลักการท่ีสำคัญ หมู่คณะใดมีระเบียบก็เป็นที่น่าดูน่าเล่ือมใส ระเบียบเป็นเงื่อนไขแห่งความเลื่อมใส
ส่วนความเล่ือมใสเป็นเหตุท่ีจะทำให้ได้ผลคือความมิโภคสมบัติและการเข้าถึงสวรรค์ในการวางระเบียบแห่ง
วนิ ยั น้ี จึงเป็นความเชือ่ มโยงระหวา่ งระเบียบ ความนา่ เล่ือมใสและการได้โภคทรัพย์หรอื การเขา้ ถึงสวรรค์ ถ้า
หมู่สงฆไ์ ม่มีระเบียบ ความเลื่อมใสของคนท้ังหลายก็จะไม่มี และการได้โภคทรพั ย์หรือการเข้าสู่สวรรค์ก็จะ
ไม่มีตามไปด้วย ดังนั้น การบัญญัติวินัยจึงเป็นเงื่อนประการแรกในการคงอยู่แห่งพระพุทธศาสนา เพราะ
พระสงฆใ์ นพระพุทธศาสนาอาศัยการเลย้ี งชีพด้วยความเลือ่ มใสของมหาชน ซึ่งถวายอาหารบิณฑบาตเพราะ
ภิกษมุ ีระเบียบมีศลี มีวินยั น่ันเอง
กล่าวโดยสรุปได้ว่า การใช้เหตุผลการบัญญัติพระวินัยของพระพุทธเจ้าท่ีเป็นวินัยของภิกษุและ
ภิกษุณี เป็นข้อห้ามและข้อที่ควรปฏิบัติปลีกย่อยอีกจำนวนหน่ึง และเป็นการรวบรวมเรื่องราวท้ังหมด
เกี่ยวกับมูลเหตุแห่งบัญญัติสิกขาบท ต้นบัญญัติ อนุบัญญัติ บุคคล สถานที่ พร้อมทั้งหลักการตัดสิน
บทลงโทษด้วย งานวิจยั นี้ได้นำมาแสดงไว้เพียงบางสว่ นเท่าน้นั เพราะจะทำใหเ้ น้ือหามากเกนิ ไป และอีกส่วน
นึ่งมีเนอ้ื หาท่ีพลาดพงิ ถงึ หลกั ธรรม การบญั ญตั ิพระวินัยของพระพทุ ธเจ้าเนือ้ หาสว่ นใหญ่จะเป็นการสอบสวน
การพสิ ูจน์ทางกายกรรม และวจกี รรม เพราะการบญั ญัตพิ ระวินัยของพระพทุ ธเจ้ามีเนื้อหาครอบคลุมถึงเรื่อง
กายและวาจา สว่ นการพิสจู นท์ างมโนกรรม ซึง่ เปน็ เรอ่ื งท่ีละเอียดอ่อนจะมีปรากฏในคัมภีรพ์ ระวินยั ปิฏก
นอกจากนี้ การใช้เหตุผลการบัญญัติพระวินัยของพระพุทธเจ้าจึงเป็นการตั้งหลักการไว้เป็นหลัก
สำหรบั ในการปฏบิ ัตทิ ี่บรรพชติ ทกุ ทา่ นจะตองปฏบิ ตั ิตาม ถ้าไม่ปฏิบตั ิตามจะต้องมีโทษตัง้ แต่สถานหนัก คือ
ขาดจากความเป็นบรรพชติ โทษขนาดกลางประพฤตติ ามกฎเกณฑ์แล้วกเ็ ปน็ อันหมดโทษ และโทษสถานเบา
ที่เพียงแสดงเพื่อให้เกิดความสำนึกแล้วก็จะหายไปเอง การบัญญัติวินัยในแต่ละสิกขาบทจึงเป็นการหา
หลักการสากล โดยการประชุมสงฆ์เพ่ือสอบถาม แสดงความคิดเห็น และต้ังหลักการไว้สำหรับเป็นแนวใน
144 ว.ิ มหา. (ไทย). 1/180/295.
145 วิ.มหา. (ไทย). 5/68/144.
146 วิ.มหา. (ไทย). 5/69/115.
153
การพิจารณาเมื่อเกิดเหตุการณ์ท่ีคล้ายกัน เป็นเงื่อนไขที่ต้องทำการแก้ไขและเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมใหม่
สร้างเปน็ รูปนริ นัยได้เชน่ กนั
การบัญญัติวินัยจึงเป็นการวางหลักการสากลไว้สำหรับเป็นหลักปฏิบัติ ส่วนการแสดงปฐมเทศนา
แมว้ ่าเนื้อหาจะปรากฏคล้ายพระสูตร แต่ที่มีปรากฏในพระวนิ ัยปิฏกจึงได้นำมาแสดงไวเ้ ป็น ปฐมเทศนา ที่มี
ลักษณะแห่งการวางหลักการ คือ แสดงไว้เป็นหลักการแห่งพระพุทธศาสนา ท่ีชี้ให้เห็นความแตกต่างจาก
ลัทธิความเชื่ออย่างอ่ืนที่มีอยแู่ ล้วในสมัยนั้น หลักการนี้เป็นหลักการที่จะนำไปแสดง สอบสวนกับความเชื่อ
อย่างอ่ืนเมื่อมีเรอ่ื งเกิดข้ึนถ้าเข้ากันได้กับเรื่องที่พระพุทธเจ้าแสดงไว้ก็ถือว่าเป็นส่ิงที่ถกู ต้อง ถ้าเข้ากันไม่ได้
ให้ต้ังเง่ือนไขไว้ก่อนแล้วนำไปสอบถาม สอบสวนพิจารณากับผู้รู้อ่ืนต่อไปว่าส่ิงนั้นผิดหลักแห่งเหตุผลวิบัติ
(Fallacy) หรือไม่
6.3 วตั ถปุ ระสงคข์ องการบญั ญตั ิพระวนิ ยั
โอวาทปาตโิ มกข์ เป็นหลกั คำสอนสำคัญของพระพุทธศาสนา เป็น "ปาตโิ มกข์" ทพี่ ระพทุ ธองค์ทรง
แสดงตลอดปฐมโพธิกาล คือ 20 พรรษาแรก เฉพาะครั้งแรกในวันเพ็ญเดือนมาฆะ (เดือน 3) หลังจากตรัสรู้
แล้ว 9 เดือน เป็นการแสดงปาติโมกขท์ ี่ประกอบด้วยองค์ 4 เรียกวา่ จาตรุ งคสันนบิ าต ซง่ึ มเี พียงครง้ั เดียวใน
พระศาสนาของพระพุทธเจ้าองค์หนึ่งๆ หรือจะเรยี กวา่ เป็นการประกาศตงั้ ศาสนาก็ได้ (อรรถกถาแสดงไว้ว่า
พระพทุ ธเจ้าทรงแสดง "โอวาทปาตโิ มกข์" นี้ ดว้ ยพระองค์เอง ท่ามกลางที่ประชมุ สงฆ์ตลอด 20 พรรษาแรก
หลังจากน้ันทรงบญั ญัตใิ ห้พระสงฆ์แสดง "อาณาปาติโมกข"์ แทน)
ในพระสุตตันตปิฎก เล่ม 2 ทีฆนิกาย มหาวรรค มหาปทานสูตร โอวาทปาติโมกข์มักถกู กล่าวถึงใน
แง่หลกั ธรรม 3 อย่างเดียวว่าเป็นหัวใจของพระพุทธศาสนา อยา่ งไรก็ตามพระพทุ ธพจน์ 3 คาถาก่ึง อาจสรุป
ใจความไดเ้ ป็นสามสว่ น คือ หลักการ 3 อดุ มการณ์ 4 และวธิ กี าร 6 ดังนี้
พ ร ะ พุ ท ธ พ จ น์ ค า ถ า แ ร ก ท ร ง ก ล่ า ว ถึ ง อุ ด ม ก า รณ์ อั น สู ง สุ ด ข อ ง พ ร ะ ภิ ก ษุ แ ล ะ บ รร พ ชิ ต ใน
พระพุทธศาสนานี้ อันมีลักษณะที่แตกต่างจากศาสนาอื่น อันอาจเรียกได้ว่า อุดมการณ์ 4 ของ
พระพุทธศาสนา ได้แก่ ความอดทนอดกลั้นเป็นส่ิงท่ีนักบวชในศาสนานี้พึงยึดถือและเป็นสิ่งที่ต้องใช้เม่ือ
ประสบกบั สิง่ ทไ่ี ม่ชอบใจทุกอย่างท่ตี อ้ งเจอในชวี ิตนกั บวช เชน่ ประสงค์ร้อนได้เยน็ ประสงค์เย็นได้ร้อน
การมงุ่ ใหถ้ งึ พระนิพพานเป็นเปา้ หมายหลักของผูอ้ อกบวช มิใช่สิง่ อืน่ นอกจากพระนิพพาน
พระภกิ ษแุ ละบรรพชิตในพระธรรมวินยั น้(ี เช่นภิกษณุ ี สามเณร สามเณรี สกิ ขมานา)ไม่พงึ ทำผอู้ ืน่ ให้
ลำบากดว้ ยการเบยี ดเบียนทำความทกุ ข์กายหรอื ทกุ ขท์ างใจไมว่ ่าจะในกรณีใดๆ
พึงเป็นผู้มจี ิตใจสงบจากอกุศลวติ กท้ังหลายมคี วามโลภ โกรธ หลง เปน็ ต้น
พระพุทธพจน์คาถาท่ีสอง ทรงกล่าวถึง "หลักการอันเป็นหัวใจสำคัญเพื่อเข้าถึงจุดมุ่งหมายของ
พระพุทธศาสนาแก่พทุ ธบริษัทท้ังปวงโดยย่อ" หรือ หลกั การ 3 กลา่ วกันเป็นการสรปุ รวบยอดหลักธรรมทาง
พระพุทธศาสนาอันเป็นแนวทางท่ีพุทธบริษัทพึงปฏิบัติ ได้แก่ การไม่ทำบาปทั้งปวง การทำกุศลให้ถึงพร้อม
การทำจิตใจใหบ้ รสิ ุทธ์ิ
สมเด็จพระพุฒาจารย์ (อาจ อาสภมหาเถระ). (2551)147 ผู้อธิบายว่าท้ังสามขอ้ นี้อาจอนุมานเข้ากับ
ศีล สมาธิ และปญั ญา พระพุทธพจนค์ าถาทสี่ ามหมายถึงวิธีการทธ่ี รรมทูตผู้เผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนาถือเป็นกล
ยุทธ พระภิกษุที่ออกเผยแผ่พระพุทธศาสนาซ่ึงมีเป็นจำนวนมากให้ใช้วิธีการเหมือนกันเพื่อจะได้เป็นไปใน
แนวทางเดียวกันและถูกต้องเป็นธรรม ได้แก่ วิธีการทง้ั 6
การไมก่ ลา่ วรา้ ย (เผยแผศ่ าสนาดว้ ยการไม่กลา่ วร้ายโจมตีดูถกู ความเช่อื ผูอ้ ่ืน)
147 สมเด็จพระพุฒาจารย์ (อาจ อาสภมหาเถระ). (2551). คัมภีร์วิสุทธิมรรค พระพุทธโฆสเถระ รจนา.
กรงุ เทพ: สำนักพมิ พ์ธนาเพรส.
154
การไม่ทำรา้ ย (เผยแผศ่ าสนาด้วยการไมใ่ ช้กำลังบงั คบั ข่มขดู่ ว้ ยวิธีการต่างๆ)
ความสำรวมในพระปาฏิโมกข์ (รกั ษาความประพฤติใหน้ า่ เล่ือมใส)
ความเปน็ ผู้รจู้ กั ประมาณในการบริโภค (เสพปจั จยั ส่อี ย่างรู้ประมาณพอเพียง)
นง่ั นอนในที่อนั สงดั (สนั โดษไมค่ ลุกคลดี ว้ ยหมู่คณะ)
ความเพียรในอธิจิต (พัฒนาจิตใจด้วยสมถะและวิปัสสนาเสมอ มิใช่ว่าเอาแต่สอนแต่ตนเองไม่
กระทำตามท่ีสอน)
พระธรรมปิฎก (ประยุทธ์ ปยตุ ฺโต). (2546). พจนานุกรมพทุ ธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม. พิมพ์คร้ัง
ท่ี 12.148 วัตถุประสงค์ในการบญั ญัติวินัย 10 (เหตุผลทพ่ี ระพุทธเจ้าทรงปรารภหรือประโยชน์ท่ีทรงประสงค์
ในการทรงบัญญัติสิกขาบทแก่พระสงฆ์สาวก reasons for laying down the course of training for
monks; purposes of monastic legislation)
ก. ว่าดว้ ยประโยชนแ์ กส่ งฆ์หรอื สว่ นรวม
1. สงฺฆสฏุ ฐฺ ตุ าย (เพอื่ ความรับว่าดแี หง่ สงฆ์ คือ เพอ่ื ความเรยี บร้อยดีงามแหง่ สงฆ์ ซ่งึ ไดท้ รงชีแ้ จงให้
มองเหน็ คุณโทษแห่งความประพฤติน้ันๆ ชัดเจนแล้ว จึงทรงบัญญตั ิสิกขาบทข้ึนไว้โดยความเห็นร่วมกัน for
the comfort of the excellence of the unanimous Order)
2. สงฆฺ ผาสุตาย (เพอื่ ความผาสกุ แหง่ สงฆ์ for the comfort of the Order)
ข. วา่ ดว้ ยประโยชน์แกบ่ คุ คล
3. ทุมฺมงฺกูนํ ปุคฺคลานํ นิคฺคหาย (เพื่อข่มบุคคลผู้เก้อยาก คือ เพื่อกำราบคนผู้ด้าน ประพฤติทราม
for the control of shameless persons)
4. เปสลานํ ภิกฺขูนํ ผาสุวิหาราย (เพ่ือความอยู่ผาสุกแห่งเหล่าภิกษุผู้มีศีลดีงาม for the living in
comfort of well-behaved monks)
ค. วา่ ด้วยประโยชนแ์ กค่ วามบรสิ ุทธิ์ หรือแกช่ วี ิต ท้ังทางกายและทางใจ
5. ทิฏฐฺ ธมมฺ ิกานํ อาสวานํ สํวราย (เพ่ือปิดก้ันอาสวะท้ังหลายอันจะบังเกิดในปจั จุบนั คือ เพ่ือระงับ
ปดิ ทางความเสือ่ มเสีย ความทุกข์ ความเดือดร้อน ทีจ่ ะมใี นปจั จบุ ัน for the restraint of the cankers in
the present; for the prevention of temporal decay and troubles)
6. สมฺปรายิกานํ อาสวานํ ปฏิฆาตาย (เพื่อบำบัดอาสวะท้ังหลายอันจะบังเกิดในอนาคต คือ เพ่ือ
แก้ไขมิให้เกิดความเส่ือมเสีย ความทุกข์ความเดือดรอ้ น ทจี่ ะมีมาในภายหน้าหรอื ภพหน้า for warding off
the cankers in the hereafter; for protection against spiritual decay and troubles)
ง. วา่ ดว้ ยประโยชน์แกป่ ระชาชน
7. อปฺปสนฺนานํ ปสาทาย (เพ่ือความเลื่อมใสของชุมชนท่ียังไม่เล่ือมใส for the confidence of
those who have not yet gained confidence)
8. ปสนฺนานํ ภิยฺโยภาวาย (เพื่อความเลื่อมใสย่ิงขึ้นไปของชุมชนที่เลื่อมใสแล้ว for the increase
of the confidence of the confident)
จ. วา่ ด้วยประโยชน์แก่พระศาสนา
9. สทฺธมฺมฏฐฺ ติ ิยา (เพ่ือความต้งั มน่ั แห่งสทั ธรรม for the lastingness of the true doctrine)
10. วนิ ยานคุ คฺ หาย (เพือ่ อนุเคราะห์วินัย คือ ทำให้มบี ทบัญญัตสิ ำหรบั ใชเ้ ป็นหลักเกณฑจ์ ดั ระเบียบ
ของหมู่ สนับสนุนความมีวนิ ัยให้หนกั แน่นม่นั คงย่งิ ข้ึน for the support of the discipline)
148 พระธรรมปฎิ ก (ประยุทธ์ ปยุตโฺ ต). (2546). พจนานุกรมพทุ ธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม. พิมพค์ ร้งั ท่ี
12. กรงุ เทพมหานคร : โรงพมิ พ์ธรรมบรรณาคาร.
155
6.4 ประโยชนก์ ารบัญญตั พิ ระวนิ ยั
ในเนื้อความพระวินัยปิฎก เล่มท่ี 1 บรรทดั ที่ 1-315 หน้าท่ี 1-13.149 (มหา. วิ. (ไทย) 1/1-315/1-
13) โดยสมัยนั้น พระผู้มีพระภาคพระพทุ ธเจา้ ประทับอยู่ ณ ควงไมส้ ะเดาท่ีนเฬรุยักษ์ สงิ สถติ เขตเมืองเวรญั
ชา พร้อมด้วยภิกษุสงฆ์หมู่ใหญ่ประมาณ 500 รูป เวรัญชพราหมณ์ ได้สดับข่าวถนัดแน่ว่า ท่านผู้เจริญ พระ
สมณะโคดมศากยบุตร ทรงผนวชจากศากยตระกูลประทบั อยู่ ณ บรเิ วณตน้ ไมส้ ะเดาท่ีนเฬรยุ กั ษ์สิงสถิต เขต
เมืองเวรัญชา พร้อมด้วยภิกษุสงฆ์หมู่ใหญ่ประมาณ 500 รูป ก็แลพระกิตติศัพท์อันงามของท่านพระโคดม
พระองคน์ ั้น ขจรไปแล้วอย่างนี้ว่า พระผมู้ ีพระภาคองค์น้นั ทรงเป็นพระอรหนั ต์แม้เพราะเหตนุ ี้ ทรงตรสั รเู้ อง
โดยชอบ แม้เพราะเหตุน้ี ทรงบรรลวุ ิชชาและจรณะแม้เพราะเหตนุ ้ี เสด็จไปดีแมเ้ พราะเหตุน้ี ทรงทราบโลก
แม้เพราะเหตุน้ี ทรงเป็นสารถีฝึกบุรุษที่ควรฝึกไม่มีผู้อ่ืนย่ิงกว่าแม้เพราะเหตุน้ี ทรงเป็นศาสดาของเทพและ
มนุษย์ท้ังหลายแม้เพราะเหตุน้ี ทรงเป็นพุทธะแม้เพราะเหตุน้ี ทรงเป็นพระผู้มีพระภาคแม้เพราะเหตุนี้
พระองค์ทรงทำโลกนี้พร้อมทั้งเทวโลก มารโลก พรหมโลกให้แจ้งชัดด้วยพระปัญญาอันยิ่งของพระองค์เอง
แล้วทรงสอนหมู่สัตว์ พร้อมทั้งสมณะพราหมณ์ เทพและมนุษย์ ให้รู้ ทรงแสดงธรรมงามในเบื้องต้น งามใน
ท่ามกลาง งามในทสี่ ดุ ทรงประกาศพรหมจรรยพ์ รอ้ มท้ังอรรถทั้งพยญั ชนะครบบริบูรณบ์ รสิ ทุ ธิ์ อนง่ึ การเหน็
พระอรหนั ต์ท้ังหลายเหน็ ปานนั้น เปน็ ความด.ี
เวรัญชพราหมณ์กล่าวตู่พระพุทธเจ้า150 พระวินัยปิฎก เล่มท่ี 1 บรรทัดท่ี 1-315 หน้าท่ี 1-13.
(มหา. วิ. (ไทย) 1/1-315/1-13) หลังจากนั้น เวรัญชพราหมณ์ได้ไปในพุทธสำนกั ครั้นถึงแล้วได้ทูลปราศรัย
กบั พระผมู้ พี ระภาค คร้ันผา่ นการทูลปราศรัยพอให้เปน็ ท่ีบันเทิงเป็นทร่ี ะลกึ ถึงกันไปแลว้ จึงนั่ง ณ ท่ีควรสว่ น
ข้างหนึ่ง เวรัญชพราหมณ์นั่ง ณ ท่ีควรส่วนข้างหนึ่งแล้ว ได้ทูลคำนี้แด่พระผู้มีพระภาคว่า ท่านพระโคดม
ข้าพเจา้ ได้ทราบมาว่า พระสมณะโคดม ไมไ่ หว้ ไม่ลุกรบั พวกพราหมณ์ผู้แกผ่ ู้เฒ่า ผู้ใหญ่ ผลู้ ่วงกาล ผา่ นวัยมา
โดยลำดับ หรือไม่เชื้อเชิญด้วยอาสนะ ข้อท่ีข้าพเจ้าทราบมานี้น้ันเป็นเช่นน้ันจริง อนั การที่ท่านพระโคดมไม่
ไหว้ ไม่ลุกรับพวกพราหมณ์ผู้แก่ ผู้เฒ่า ผู้ใหญ่ ผู้ล่วงกาล ผ่านวัยมาโดยลำดับ หรือไม่เช้ือเชิญด้วยอาสนะน้ี
น้นั ไม่สมควรเลย. พระผมู้ ีพระภาคตรัสว่า ดูกรพราหมณ์ ในโลก ทง้ั เทวโลก มารโลก พรหมโลก ในหมู่สัตว์
พร้อมทั้งสมณะ
พราหมณ์ เทพ และมนุษย์ เราไม่เล็งเห็นบุคคลที่เราควรไหว้ ควรลุกรับ หรือควรเช้ือเชิญด้วย
อาสนะ เพราะว่า ตถาคตพึงไหว้ พึงลุกรับ หรือพึงเช้ือเชิญบุคคลใดด้วยอาสนะ แม้ศีรษะของบุคคลนั้นก็จะ
พงึ ขาดตกไป.151 (วิ.มหา. (ไทย) 1/1-315/1-13.)
ว. ท่านพระโคดมมปี กติไมไ่ ยดี.
ภ. มีอยูจ่ ริงๆ พราหมณ์ เหตุท่ีเขากล่าวหาเราว่า พระสมณะโคดมมีปกติไม่ไยดีดงั นี้ ชื่อว่ากลา่ วถูก
เพราะความไยดีในรูป เสียง กล่ิน รส โผฏฐัพพะ เหล่านั้น ตถาคตละได้แล้ว ตัดรากขาดแล้ว ทำให้เป็น
เหมือนตาลยอดด้วน ทำไมใ่ หม้ ีในภายหลัง มีไม่เกิดอีกต่อไปเป็นธรรมดา น้ีแล เหตุทีเ่ ขากล่าวหาเราว่า พระ
สมณะโคดมมปี กตไิ มไ่ ยดี ดังน้ีชอื่ วา่ กล่าวถูก แตไ่ ม่ใชเ่ หตทุ ีท่ า่ นมุ่งกลา่ ว.
ว. ทา่ นพระโคดมไม่มีสมบัติ.
ภ. มีอยู่จริงๆ พราหมณ์ เหตุที่เขากล่าวหาเราวา่ พระสมณะโคดมไมม่ ีสมบตั ิ ดังนี้
149 วิ.มหา. (ไทย) 1/1-315/1-13.
150 ว.ิ มหา. (ไทย) 1/1-315/1-13.
151 วิ.มหา. (ไทย) 1/1-315/1-13.
156
ชื่อว่ากล่าวถูก เพราะสมบัติ คือ รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ เหล่าน้ัน ตถาคตละได้แล้วตัดราก
ขาดแลว้ ทำให้เป็นเหมือนตาลยอดด้วน ทำไม่ให้มีในภายหลงั มไี ม่เกิดอีกต่อไปเป็นธรรมดา น้ีแล เหตทุ ี่เขา
กล่าวหาเราว่า พระสมณะโคดมไม่มีสมบัติ ดงั น้ี ชื่อวา่ กล่าวถูก แตไ่ ม่ใช่เหตทุ ่ที า่ นมุ่งกล่าว.
ว. ทา่ นพระโคดมกลา่ วการไมท่ ำ.
ภ. มีอยู่จริงๆ พราหมณ์ เหตุท่ีเขากล่าวหาเราว่า พระสมณะโคดมกล่าวการไม่ทำดังน้ี ชื่อว่ากล่าว
ถูก เพราะเรากล่าวการไม่ทำกายทุจริต วจีทุจริต มโนทุจริต เรากล่าวการไม่ทำส่ิงที่เป็นบาปอกุศลหลาย
อย่าง นี้แล เหตุท่ีเขากล่าวหาเราว่า พระสมณะโคดมกล่าวการไม่ทำ ดังนี้ ชื่อว่ากล่าวถูก แต่ไม่ใช่เหตุทีท่ ่าน
มงุ่ กล่าว.
ว. ท่านพระโคดมกล่าวความขาดสญู .
ภ. มีอยู่จริงๆ พราหมณ์ เหตุที่เขากล่าวหาเราว่า พระสมณะโคดมกล่าวความขาดสูญดังนี้ ช่ือว่า
กล่าวถูก เพราะเรากล่าวความขาดสูญแห่ง ราคะ โทสะ โมหะ เรากล่าวความขาดสูญแห่งสภาพท่ีเป็นบาป
อกุศลหลายอย่าง น้ีแล เหตุท่ีเขากล่าวหาเราว่า พระสมณะโคดมกล่าวความขาดสญู ดังน้ี ชือ่ ว่ากลา่ วถูก แต่
ไมใ่ ชเ่ หตทุ ที่ ่านม่งุ กลา่ ว.
ว. ท่านพระโคดมชา่ งรงั เกียจ.
ภ. มอี ยู่จรงิ ๆ พราหมณ์ เหตุท่เี ขากลา่ วหาเราว่า พระสมณะโคดมช่างรงั เกียจ ดงั นีช้ ื่อว่ากล่าวถูก เพราะ
เรารังเกียจกายทุจริต วจีทุจริต มโนทุจริต เรารังเกียจความถึงพร้อมแห่งสภาพท่ีเป็นบาปอกุศลหลายอย่าง นี้แล
เหตทุ ่ีเขากลา่ วหาเราวา่ พระสมณะโคดมช่างรังเกยี จดงั น้ี ช่อื วา่ กล่าวถกู แต่ไม่ใช่เหตุท่ีทา่ นมุ่งกล่าว.
ว. ท่านพระโคดมชา่ งกำจัด.
ภ. มีอยู่จริงๆ พราหมณ์ เหตุท่ีเขากล่าวหาเราว่า พระสมณะโคดมช่างกำจัด ดังน้ีช่ือว่ากล่าวถูก
เพราะเราแสดงธรรมเพื่อกำจัด ราคะ โทสะ โมหะ แสดงธรรมเพ่ือกำจัดสภาพที่เป็นบาปอกุศลหลายอย่างน้ี
แล เหตทุ ่เี ขากล่าวหาเราวา่ พระสมณะโคดมชา่ งกำจัด ดังนี้ ชอื่ วา่ กลา่ วถกู แตไ่ ม่ใชเ่ หตุท่ีทา่ นมุง่ กลา่ ว.
ว. ท่านพระโคดมชา่ งเผาผลาญ.
ภ. มีอยู่จริงๆ พราหมณ์ เหตุท่ีเขากล่าวหาเราว่า พระสมณะโคดมช่างเผาผลาญ ดังน้ี ช่ือว่ากล่าว
ถูก เพราะเรากล่าวธรรมท่ีเป็นบาปอกุศล คือ กายทุจริต วจีทุจริต มโนทุจริต ว่าเป็นธรรมที่ควรเผาผลาญ
ธรรมทเี่ ปน็ บาปอกุศลซงึ่ ควรเผาผลาญ อันผูใ้ ดละไดแ้ ลว้ ตดั รากขาดแล้ว ทำให้เป็นเหมอื นตาลยอดด้วน ทำ
ไม่ให้มีในภายหลัง มีไม่เกิดอีกต่อไปเป็นธรรมดาเรากล่าวผู้น้ันว่าเป็นคนช่างเผาผลาญ พราหมณ์ ธรรม
ทั้งหลายที่เปน็ บาปอกศุ ล ซ่งึ ควรเผาผลาญตถาคตละไดแ้ ล้ว ตัดรากขาดแล้ว ทำให้เป็นเหมอื นตาลยอดด้วน
ทำไม่ให้มีในภายหลังมีไม่เกิดอีกต่อไปเป็นธรรมดา น้ีแล เหตุที่เขากล่าวหาเราว่า พระสมณะโคดมช่างเผา
ผลาญดงั นี้ ชือ่ ว่ากล่าวถกู แต่ไม่ใชเ่ หตุท่ีท่านมุ่งกลา่ ว.
ว. ท่านพระโคดมไมผ่ ุดเกิด.
ภ. มีอยู่จริงๆ พราหมณ์ เหตุท่ีเขากล่าวหาเราว่า พระสมณะโคดมไม่ผุดเกิด ดังนี้ ช่ือว่ากล่าวถูก
เพราะการนอนในครรภ์ต่อไป การเกิดในภพใหม่ อันผู้ใดละได้แล้ว ตัดรากขาดแล้ว ทำให้เป็นเหมือนตาล
ยอดด้วน ทำไม่ให้มีในภายหลัง มีไม่เกิดอีกต่อไปเป็นธรรมดาเรากล่าวผู้น้ันว่าเป็นคนไม่ผุดเกิด พราหมณ์
การนอนในครรภ์ต่อไป การเกิดในภพใหม่ ตถาคตละได้แลว้ ตัดรากขาดแล้ว ทำให้เป็นเหมือนตาลยอดด้วน
ทำไม่ให้มใี นภายหลัง มีไม่เกิดอีกต่อไปเป็นธรรมดา น้ีแล เหตทุ ่ีเขากล่าวหาเราว่า พระสมณะโคดมไม่ผดุ เกิด
ดงั นี้ ชือ่ ว่ากลา่ วถูก แต่ไมใ่ ช่เหตุท่ีท่านมุง่ กลา่ ว.ทรงอุปมาดว้ ยลูกไก่ (ว.ิ มหา. (ไทย) 1/1-315/1-13.)
ดูกรพราหมณ์ เปรียบเหมือนฟองไข่ 8 ฟอง 10 ฟอง หรือ 12 ฟอง ฟองไข่เหล่าน้ัน อันแม่ไก่พึงกกดี
แล้ว อบดีแล้ว ฟักดีแล้ว บรรดาลูกไก่เหล่าน้ัน ลูกไก่ตัวใดทำลายกระเปาะฟอง ด้วยปลายเล็บเท้า หรือด้วย
จะงอยปาก ออกมาได้โดยสวสั ดีก่อนกวา่ เขา ลกู ไกต่ ัวนัน้ ควรเรียกว่ากระไร จะเรียกว่าพห่ี รือนอ้ ง.
157
ว. ทา่ นพระโคดม ควรเรยี กว่าพ่ี เพราะมนั แก่กว่าเขา. ทรงแสดงฌาน 4 และวิชชา 3
ภ. เรากเ็ หมอื นอยา่ งน้นั แล พราหมณ์ เมอื่ ประชาชนผตู้ กอยู่ในอวิชชา เกดิ ในฟอง อันกระเปาะฟอง
หุ้มห่อไว้ ผู้เดียวเท่าน้ันในโลก ได้ทำลายกระเปาะฟอง คือ อวิชชา แล้วได้ ตรัสรู้พระสัมมาสัมโพธิญาณอัน
ยอดเย่ียม เราน้ันเป็นผู้เจริญท่ีสุด ประเสริฐที่สุดของโลกเพราะความเพียรของเราท่ีปรารภแล้วแล ไม่ย่อ
หยอ่ น สตดิ ำรงมั่นไม่ฟัน่ เฟอื น กายสงบ ไม่กระสับกระส่าย จติ ต้ังมนั่ มอี ารมณ์เปน็ หนงึ่ .
ปฐมฌาน เราน้ันแล สงัดแล้วจากกาม สงดั แล้วจากอกุศลธรรม ได้บรรลุปฐมฌาน มวี ิตกมีวิจาร มี
ปีตแิ ละสุขซ่งึ เกดิ แตว่ เิ วกอยู.่
ทตุ ิยฌาน เราได้บรรลุทุติยฌาน มคี วามผ่องใสแห่งจิต ณ ภายใน เป็นธรรมเอกผุดขึ้น ไม่มวี ติ กไม่มี
วิจาร เพราะวติ ก วจิ าร สงบไป มปี ีตแิ ละสุขซ่ึงเกดิ แต่สมาธอิ ย.ู่
ตติยฌาน เรามีอุเบกขาอยู่ มีสติ มีสัมปชัญญะ และเสวยสุขด้วยนามกาย เพราะปีติสิ้นไปได้บรรลุ
ตตยิ ฌาน ท่พี ระอริยะทง้ั หลายสรรเสรญิ ว่า เปน็ ผูม้ ีอุเบกขา มีสติ มสี ุขอยู่ ดังน้ี อยู่.
จตุตถฌาน เราได้บรรลุจตุตถฌาน ไม่มีทุกข์ไม่มีสุข เพราะละสุขละทุกข์และดับโสมนัส โทมนัส
กอ่ นๆ มีอุเบกขาเป็นเหตใุ หส้ ติบรสิ ทุ ธ์ิอย่.ู (ว.ิ มหา. (ไทย) 1/1-315/1-13.)
บุพเพนิวาสานุสสติญาณ เรานั้น เมื่อจิตเป็นสมาธิ บริสุทธ์ิ ผุดผ่อง ไม่มีกิเลส ปราศจากอุปกิเลส
อ่อน ควรแก่การงาน ตั้งมั่น ไม่หว่ันไหว อย่างนี้แล้ว ได้น้อมจิตไปเพื่อบุพเพนิวาสานุสสติญาณ เราน้ันย่อม
ระลกึ ชาติกอ่ นได้เป็นอนั มาก คือระลึกชาติได้หนึ่งชาติบ้าง สองชาติบ้าง สามชาติบ้างสชี่ าติบ้าง ห้าชาตบิ ้าง
สิบชาติบา้ ง ยี่สิบชาติบ้าง สามสิบชาติบ้าง สี่สิบชาติบ้าง ห้าสิบชาติบ้างร้อยชาติบ้าง พันชาติบ้าง แสนชาติ
บ้าง ตลอดสงั วฏั ฏกัลปเ์ ป็นอนั มากบ้าง ตลอดววิ ัฏฏกัลป์เป็นอันมากบ้าง ตลอดสงั วัฏฏวิวฏั ฏกัลปเ์ ป็นอันมาก
บ้าง ว่าในภพโน้นเราได้มีช่ืออย่างน้ัน มีโคตรอย่างน้ัน มีผิวพรรณอย่างน้ัน มีอาหารอย่างนั้น เสวยสุขทุกข์
อย่างน้นั ๆ มีกำหนดอายเุ พียงเท่านั้น ครน้ั จุติจากภพน้ันแล้ว ได้ไปเกิดในภพโนน้ แม้ในภพโน้นน้ัน เรากไ็ ดม้ ี
ช่ืออย่างน้ันมีโคตรอย่างน้ัน มีผิวพรรณอย่างนั้น มีอาหารอย่างนั้น เสวยสุขทุกข์อย่างนั้นๆ มีกำหนดอายุ
เพยี งเท่านั้น ครนั้ จุติจากภพโน้นนน้ั แล้ว ได้มาเกดิ ในภพนี้ เรายอ่ มระลกึ ถึงชาติกอ่ นได้เป็นอนั มาก พร้อมท้ัง
อุเทส พร้อมท้ังอาการ ด้วยประการฉะน้ี พราหมณ์ วิชชาที่หนึ่งน่ีแล เราได้บรรลุแล้วในปฐมยามแห่งราตรี
อวิชชา เรากำจดั ได้แล้ว วิชชาเกิดแก่เราแล้ว ความมดื เรากำจัดไดแ้ ล้ว แสงสว่างเกดิ แกเ่ ราแลว้ เหมือนท่ีเกิด
แก่บคุ คลผู้ไม่ประมาท มีความเพยี รเผากิเลส ส่งจิตไปแล้วอย่ฉู ะนั้น ความชำแรกออกคร้ังที่หน่ึงของเราน้ีแล
ไดเ้ ปน็ เหมือนการทำลายออกจากกระเปาะฟองแห่งลกู ไก่ฉะน้ัน.
จตุ ูปปาตญาณเราน้นั เม่ือจิตเป็นสมาธิ บริสทุ ธ์ิ ผดุ ผอ่ ง ไม่มีกิเลส ปราศจากอปุ กเิ ลส อ่อน ควรแก่
การงาน ต้งั มั่น ไมห่ วั่นไหว อย่างนีแ้ ลว้ ได้น้อมจิตไปเพื่อญาณเคร่ืองรูจ้ ุติและอุปบตั ิของสตั วท์ ้งั หลาย เรานั้น
ย่อมเล็งเห็นหมู่สัตว์ผู้กำลังจุติ กำลังอุปบัติ เลว ประณีต มีผิวพรรณดีมีผิวพรรณทราม ได้ดี ตกยาก ด้วย
ทพิ ยจักษุอันบริสุทธ์ิล่วงจักษุของมนุษย์ ย่อมรู้ชัดซ่ึงหมู่สัตว์ผู้เข้าถึงตามกรรมว่า หมู่สตั ว์ผู้เกิดเปน็ อยู่เหล่าน้ี
ประกอบดว้ ยกายทุจรติ วจที จุ ริต มโนทุจรติ ตเิ ตยี นพระอริยเจา้ เปน็ มิจฉาทิฏฐิ ยดึ ถือการกระทำด้วยอำนาจ
มจิ ฉาทิฏฐิ หมสู่ ัตว์ผู้เกิดเป็นอยู่เหล่านั้น เบ้ืองหน้าแต่แตกกายตายไป เข้าถึงอบาย ทุคติ วินิบาต นรก หรือ
ว่าหมู่สัตว์ผู้เกิดเป็นอยู่เหล่านี้ ประกอบด้วยกายสุจริต วจีสุจริต มโนสุจริต ไม่ติเตียนพระอริยเจ้า เป็น
สัมมาทิฏฐิ ยึดถือการกระทำด้วยอำนาจสัมมาทิฏฐิ หมู่สัตว์ผู้เกิดเป็นอยู่เหล่านั้น เบ้ืองหน้าแต่แตกกายตาย
ไป เข้าถึงสุคติโลกสวรรค์ เราย่อมเล็งเห็นหมู่สัตว์ผู้กำลังจุติ กำลังอุปบัติ เลว ประณี ตมีผิวพรรณดี มี
ผิวพรรณทราม ได้ดี ตกยาก ด้วยทิพยจักษุอันบริสุทธ์ิล่วงจักษุของมนุษย์ ย่อมรู้ชัดซ่ึงหมู่สัตว์ผู้เข้าถึงตาม
กรรมดว้ ยประการดังน้ี พราหมณ์ วชิ ชาทส่ี องน้แี ล เราได้บรรลแุ ล้วในมัชฌิมยามแห่งราตรี อวชิ ชา เรากำจัด
ได้แล้ว วิชชาเกิดแก่เราแล้ว ความมืดเรากำจัดได้แล้วแสงสว่างเกิดแก่เราแล้ว เหมือนที่เกิดแก่บุคคลผู้ไม่
158
ประมาท มคี วามเพยี รเผากิเลส สง่ จิตไปแล้วอยู่ฉะนัน้ ความชำแรกออกครงั้ ท่ีสองของเราน้แี ล ได้เป็นเหมือน
การทำลายออกจากกระเปาะฟองแหง่ ลูกไก่ ฉะนน้ั . (ว.ิ มหา. (ไทย) 1/1-315/1-13.)
อาสวกั ขยญาณ เรานนั้ เม่ือจิตเป็นสมาธิ บรสิ ทุ ธผ์ิ ุดผ่อง ไมม่ กี เิ ลส ปราศจากอุปกิเลส ออ่ น ควรแก่
การงาน ตั้งม่ัน ไมห่ วน่ั ไหว อยา่ งนี้แลว้ ได้นอ้ มจติ ไปเพ่อื อาสวักขยญาณ เรานั้นไดร้ ูช้ ัดตามเป็นจรงิ ว่า น้ที กุ ข์
ได้รู้ชัดตามเป็นจริงว่า น้ีเหตุให้เกิดทุกข์ ได้รู้ชัดตามเป็นจรงิ ว่า นี้ความดับทุกข์ ได้รู้ชัดตามเป็นจริงว่า นี้ข้อ
ปฏิบัตใิ หถ้ งึ ความดับทกุ ข์ ได้รชู้ ัดตามเปน็ จริงวา่ เหล่านอ้ี าสวะ ได้รู้ชัดตามเปน็ จรงิ วา่ น้เี หตุใหเ้ กิดอาสวะ ได้
รู้ชัดตามเป็นจริงว่า น้ีความดับอาสวะ ได้รู้ชัดตามเป็นจริงว่า นี้ข้อปฏิบัติให้ถึงความดับอาสวะ เมื่อเราน้ัน
รู้อยู่อย่างน้ี เห็นอยู่อย่างน้ี จิตได้หลุดพ้นแล้วแม้จากกามาสวะ ได้หลุดพ้นแล้วแม้จากภวาสวะ ได้หลุดพ้น
แล้วแม้จากอวิชชาสวะเม่ือจิตหลุดพ้นแล้ว ได้มีญาณหยั่งรู้ว่าหลุดพ้นแล้ว ได้รู้ด้วยปัญญาอันยิ่งว่า ชาติส้ิน
แลว้ พรหมจรรย์อย่จู บแล้ว กิจที่ควรทำไดท้ ำเสรจ็ แล้ว กจิ อ่ืนอกี เพื่อความเป็นอย่างนีม้ ิไดม้ ี พราหมณ์วิชชาท่ี
สามนี้แล เราได้บรรลุแล้วในปัจฉิมยามแห่งราตรี อวิชชา เรากำจัดได้แล้ว วิชชาเกิดแก่เราแล้ว ความมดื เรา
กำจัดได้แล้ว แสงสว่างเกดิ แก่เราแล้ว เหมือนที่เกิดแก่บุคคลผู้ไม่ประมาทมีความเพียรเผากิเลสส่งจิตไปแล้ว
อยู่ ฉะน้ัน ความชำแรกออกครง้ั ที่สามของเรานแ้ี ล ไดเ้ ปน็ เหมือนการทำลายออกจากกระเปาะฟองแห่งลูกไก่
ฉะน้ัน.เวรัญชพราหมณ์แสดงตนเป็นอุบาสก
เมื่อพระผู้มีพระภาคตรัสอย่างนี้แล้ว เวรัญชพราหมณ์ได้ทลู คำน้ีแด่พระผู้มีพระภาคว่า ท่านพระโค
ดมเป็นผู้เจริญที่สุด ท่านพระโคดมเป็นผู้ประเสริฐท่ีสุด ข้าแต่ท่านพระโคดมภาษิตของพระองค์แจ่มแจ้งนัก
ภาษิตของพระองคไ์ พเราะนัก พระองค์ทรงประกาศธรรมโดยอเนกปรยิ ายอย่างน้ี เปรียบเหมอื นบุคคลหงาย
ของท่คี ว่ำ เปิดของที่ปิด บอกทางแกค่ นหลงทางหรอื ส่องประทปี ในที่มดื ดว้ ยตง้ั ใจว่า คนมจี กั ษุจักเห็นรูปดงั น้ี
ข้าพเจ้าน้ีขอถึงท่านพระโคดมพระธรรม และพระสงฆ์ว่าเป็นสรณะ ขอพระองค์จงทรงจำข้าพเจ้าว่าเป็น
อุบาสกผู้ถึงสรณะตลอดชีวิต จำเดิมแต่วันนี้เป็นต้นไป และขอพระองค์พร้อมด้วยภิกษุสงฆ์จงทรงรับ
อาราธนาอย่จู ำพรรษา ที่เมอื งเวรัญชาของขา้ พเจ้าเถิด.
พระผู้มีพระภาคทรงรบั อาราธนาด้วยพระอาการดุษณี ครั้นเวรญั ชพราหมณ์ทราบการรับอาราธนา
ของพระผู้มีพระภาคแลว้ ได้ลุกจากทนี่ ัง่ ถวายบังคมพระผู้มพี ระภาค ทำประทกั ษณิ หลีกไป.
เมอื งเวรัญชาเกดิ ทพุ ภิกขภยั 152 (ว.ิ มหา. (ไทย) 1/1-315/1-13.)
กโ็ ดยสมยั น้ันแล เมอื งเวรญั ชา มีภิกษาหารน้อย ประชาชนหาเลยี้ งชีพฝืดเคอื งมีกระดูกคนตายขาว
เกล่ือน ต้องมีสลากซื้ออาหาร ภิกษุสงฆ์จะยังอัตภาพให้เป็นไปด้วยการถือบาตรแสวงหา ก็ทำไม่ได้ง่าย คร้ัง
น้นั พวกพ่อค้าม้าชาวอุตราปถะ มีม้าประมาณ 500 ตวั ได้เข้าพักแรมตลอดฤดฝู นในเมืองเวรัญชา พวกเขาได้
ตกแต่งข้าวแดงสำหรบั ภิกษุรูปละแล่งไว้ท่ีคอกม้า เวลาเช้าภิกษุทั้งหลายครองอันตรวาสกแลว้ ถอื บาตรจีวร
เข้าไปบิณฑบาตในเมืองเวรัญชาเมื่อไม่ได้บิณฑบาต จึงเท่ียวไปบิณฑบาตที่คอกม้า รับข้าวแดงรูปละแล่ง
นำไปสู่อารามแล้วลงครกโขลกฉัน ส่วนท่านพระอานนท์บดข้าวแดงแล่งหน่ึงที่ศิลา แล้วน้อมเข้าไปถวายแด่
พระผู้มีพระภาคพระผ้มู ีพระภาคเสวยพระกระยาหารที่บดถวายนั้นอยู่ ได้ทรงสดับเสียงครกแล้ว.
พระพทุ ธประเพณี พระตถาคตทั้งหลายทรงทราบอยู่ ย่อมตรสั ถามกม็ ี ทรงทราบอยูย่ อ่ มไม่ตรสั ถาม
ก็มีทรงทราบกาลแล้วตรัสถาม ทรงทราบกาลแล้วไม่ตรัสถาม พระตถาคตท้ังหลายย่อมตรัสถามส่ิงที่
ประกอบด้วยประโยชน์ ไม่ตรัสถามส่ิงท่ีไม่ประกอบด้วยประโยชน์ ส่ิงที่ไม่ประกอบด้วยประโยชน์ พระองค์
ทรงกำจัดด้วยข้อปฏิบัติ พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าท้ังหลายย่อมทรงสอบถามภิกษุทั้งหลายด้วยอาการสอง
อยา่ ง คือ จักทรงแสดงธรรมอยา่ งหน่งึ จักทรงบัญญัตสิ กิ ขาบทแกพ่ ระสาวกทงั้ หลายอย่างหนง่ึ .
152 วิ.มหา. (ไทย) 1/1-315/1-13.
159
คร้ังน้ัน พระผู้มีพระภาคตรัสถามท่านพระอานนท์ว่า อานนท์ นั่นเสียงครกหรือหนอจึงท่านพระ
อานนทก์ ราบทลู เนอื้ ความนน้ั ใหท้ รงทราบ พระผู้มีพระภาคตรัสสรรเสริญวา่ ดีละ ดลี ะ อานนท์ พวกเธอเป็น
สัตบุรุษ ชนะวเิ ศษแล้ว พวกเพ่ือนพรหมจารชี ้ันหลังจักดหู มิน่ ขา้ ว สาลแี ละขา้ วสุกอันระคนดว้ ยเน้ือ.
พระมหาโมคคัลลานะเปล่งสีหนาท ครั้งนั้น ท่านพระมหาโมคคัลลานะเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาค
ถวายบังคมแล้วน่ังณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง ได้กราบทูลคำน้ีแด่พระผู้มีพระภาคว่า พระพุทธเจ้าข้า บัดนี้เมือง
เวรัญชามีภิกษาหารน้อย ประชาชนหาเล้ียงชีพฝืดเคือง มีกระดูกคนตายขาวเกลื่อน ต้องมีสลากซื้อ อาหาร
ภิกษุสงฆ์จะยังอัตภาพให้เป็นไปด้วยการถือบาตรแสวงหา ก็ทำไม่ได้ง่าย พระพุทธเจ้าข้า พื้นเบื้องล่างแห่ง
แผ่นดินผืนใหญ่น้ี สมบูรณ์ มีรสอันโอชา เหมือนน้ำผึ้งหวี่ท่ีไม่มีตัวอ่อนฉะนั้น ขอประทานพระวโรกาส
ขา้ พระพุทธเจา้ จะพึงพลกิ แผ่นดนิ ภิกษทุ ั้งหลายจักได้ฉันงว้ นดินพระพุทธเจา้ ขา้ .
พระผู้มีพระภาคตรัสถามว่า ดูกรโมคคัลลานะ ก็สัตว์ผู้อาศัยแผ่นดินเล่า เธอจะทำอย่างไรแก่สัตว์
เหล่าน้ัน?153 (ว.ิ มหา. (ไทย) 1/1-315/1-13.)
ม. ข้าพระพทุ ธเจา้ จกั นิรมิตฝ่ามอื ขา้ งหนึ่งให้เป็นดจุ แผ่นดินใหญ่ ยังสัตวผ์ ู้อาศยั แผ่นดินเหล่าน้ันให้
ไปอย่ใู นฝ่ามือน้ัน จกั พลกิ แผน่ ดนิ ดว้ ยมืออกี ข้างหน่งึ พระพุทธเจา้ ข้า.
ภ. อย่าเลย โมคคลั ลานะ การพลิกแผน่ ดนิ เธออย่าพอใจเลย สัตวท์ ้ังหลายจะพงึ ได้รับผลตรงกนั ขา้ ม.
ม. ขอประทานพระวโรกาส ขอภกิ ษสุ งฆท์ ง้ั หมดพึงไปบิณฑบาตในอุตรกรุ ทุ วปี พระพุทธเจา้ ขา้ .
ภ. ก็ภกิ ษผุ ูไ้ มม่ ีฤทธ์ิเลา่ เธอจักทำอยา่ งไรแก่ภิกษเุ หล่านนั้ ?
ม. ขา้ พระพทุ ธเจ้าจักทำใหภ้ กิ ษทุ งั้ หมดไปได้ พระพุทธเจ้าข้า.
ภ. อย่าเลย โมคคลั ลานะ การท่ภี กิ ษสุ งฆท์ งั้ หมดไปบิณฑบาตถึงอุตรกรุ ทุ วปี เธออย่าพอใจเลย.
เหตใุ ห้พระศาสนาดำรงอยไู่ มน่ านและนาน
ครั้งนั้น ท่านพระสารีบุตรไปในท่ีสงัดหลีกเร้นอยู่ ได้มีความปริวิตกแห่งจิตเกิด ข้ึนอย่างน้ีว่า พระ
ศาสนาของพระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าท้ังหลาย พระองค์ไหนไม่ดำรงอยู่นาน ของพระองค์ไหนดำรงอยู่นาน
ดงั น้ี ครัน้ เวลาสายัณห์ท่านออกจากท่ีเร้นแล้ว เข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาค ถวายบังคม น่ัง ณ ที่ควรส่วนข้าง
หนึ่งแล้วกราบทูลว่า พระพุทธเจ้าข้า ข้าพระพุทธเจ้าไปในที่สงัดหลีกเร้นอยู่ ณ ตำบลนี้ ได้มีความปริวิตก
แหง่ จิตเกิดขน้ึ อย่างนีว้ ่า พระศาสนาของพระผมู้ ีพระภาคพทุ ธเจ้าทงั้ หลาย พระองคไ์ หนไม่ดำรงอยนู่ าน ของ
พระองคไ์ หนดำรงอยนู่ าน.
พระผมู้ ีพระภาคตรสั ตอบว่า ดกู รสารบี ุตร พระศาสนาของพระผูม้ ีพระภาคพระนามวิปัสสีพระนาม
สิขี และพระนามเวสสภู ไม่ดำรงอยู่นาน ของพระผู้มีพระภาคพระนามกกุสันธะ พระนามโกนาคมนะ และ
พระนามกสั สปะดำรงอยนู่ าน.
ส. อะไรเป็นเหตุ อะไรเป็นปัจจัย ให้พระศาสนาของพระผู้มีพระภาคพระนามวิปัสสีพระนามสิขี
และพระนามเวสสภู ไมด่ ำรงอยนู่ าน พระพุทธเจา้ ขา้ ?
ภ. ดูกรสารีบุตร พระผู้มีพระภาคพระนามวิปัสสี พระนามสิขี และพระนามเวสสภูทรงท้อพระ
หฤทยั เพอื่ จะทรงแสดงธรรมโดยพิสดารแกส่ าวกทั้งหลาย อน่ึง สุตตะ เคยยะ
เวยยากรณะ คาถา อุทาน อิติวุตตกะ ชาดก อัพภูตธรรม เวทัลละ ของพระผู้มีพระภาคทั้งสาม
พระองค์นัน้ มนี ้อย สกิ ขาบทก็มไิ ด้ทรงบัญญัติ ปาติโมกข์ก็มิได้ทรงแสดงแก่สาวก เพราะอันตรธานแห่งพระผู้
มีพระภาคพุทธเจ้าเหล่าน้ัน เพราะอันตรธานแห่งสาวกผู้ตรัสรตู้ ามพระพุทธเจ้าเหลา่ น้ัน สาวกชั้นหลังท่ีต่าง
ชื่อกัน ต่างโคตรกัน ต่างชาติกัน ออกบวชจากตระกูลต่างกัน จึงยังพระศาสนานั้นให้อันตรธานโดยฉับพลัน
ดกู รสารบี ุตร ดอกไม้ต่างพรรณทเี่ ขากองไวบ้ นพืน้ กระดาน ยงั ไมไ่ ดร้ ้อยด้วยด้าย ลมย่อมกระจาย ขจดั กำจัด
153 ว.ิ มหา. (ไทย) 1/1-315/1-13.
160
ซึง่ ดอกไม้เหลา่ นัน้ ได้ ข้อน้นั เพราะเหตอุ ะไร เพราะเขาไมไ่ ดร้ ้อยดว้ ยด้าย ฉนั ใด เพราะอนั ตรธานแห่งพระผ้มู ี
พระภาคพุทธเจ้าเหล่านั้น เพราะอันตรธานแหง่ สาวกผู้ตรสั รูต้ ามพระพุทธเจ้าเหลา่ นัน้ สาวกชนั้ หลงั ที่ตา่ งชื่อ
กันต่างโคตรกัน ต่างชาติกัน ออกบวชจากตระกูลต่างกัน จึงยังพระศาสนาน้ันให้อันตรธานโดยฉับพลัน ฉัน
นนั้ เหมอื นกัน เพราะพระผู้มพี ระภาคพทุ ธเจา้ เหลา่ น้ัน ทรงทอ้ พระหฤทยั เพ่ือจะทรงกำหนดจติ ของสาวกด้วย
พระหฤทัย แล้วทรงสั่งสอนสาวก.154 (ว.ิ มหา. (ไทย) 1/1-315/1-13.)
ดูกรสารีบุตร เรื่องเคยมีมาแล้ว พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระนามเวสสภู ทรง
กำหนดจิตภิกษุสงฆ์ด้วยพระหฤทยั แล้วทรงสัง่ สอน พร่ำสอน ภิกษสุ งฆ์ประมาณพนั รูป ในไพรสนฑ์อันน่าพึง
กลวั แหง่ หน่งึ ว่า พวกเธอจงตรกึ อย่างนี้ อย่าได้ตรกึ อยา่ งน้ัน จงทำในใจอย่างน้ี อย่าได้ทำในใจอย่างน้นั จงละ
ส่วนน้ี จงเข้าถึงส่วนนี้อยู่เถิด ดังนี้ ลำดับน้ันแลจิตของภิกษุประมาณพันรูปน้ัน อันพระผู้มีพระภาคอรหันต
สัมมาสัมพุทธเจ้า พระนามเวสสภูทรงสั่งสอนอยู่อย่างนั้น ทรงพร่ำสอนอยู่อย่างน้ัน ได้หลุดพ้นแล้วจากอา
สวะท้ังหลาย เพราะไม่ถือมัน่ ในเพราะความที่ไพรสณฑ์อันนา่ พึงกลัวน้ันซิ เป็นถ่ินท่ีน่าสยดสยอง จึงมีคำนวี้ ่า
ผใู้ ดผ้หู น่ึงซ่ึงยังไมป่ ราศจากราคะเข้าไปสไู่ พรสณฑน์ ั้น โดยมากโลมชาติย่อมชชู นั .
ดูกรสารีบตุ ร อนั นแ้ี ลเป็นเหตุ อนั นแ้ี ลเป็นปจั จัย ใหพ้ ระศาสนาของพระผมู้ ีพระภาคพระนามวปิ ัสสี
พระนามสขิ ี และพระนามเวสสภูไมด่ ำรงอยนู่ าน155 (ว.ิ มหา. (ไทย) 1/1-315/1-13.)
ส. อะไรเป็นเหตุ อะไรเป็นปัจจัย ให้พระศาสนาของพระผู้มีพระภาคพระนามกกุสันธะพระนามโก
นาคมนะ และพระนามกัสสปะ ดำรงอยู่นาน พระพุทธเจา้ ข้า?
ภ. ดูกรสารีบุตร พระผู้มีพระภาคพระนามกกุสันธะ พระนามโกนาคมนะ และพระนามกัสสปะ มิได้ทรง
ท้อพระหฤทัยเพื่อจะทรงแสดงธรรมโดยพิสดารแก่สาวกทั้งหลาย อน่ึง สุตตะเคยยะ เวยยากรณะ คาถา อุทาน อิ
ติวุตตกะ ชาดก อัพภูตธรรม เวทัลละ ของพระผู้มีพระภาคทั้งสามพระองค์น้ันมีมาก สิกขาบทก็ทรงบัญญัติ
ปาติโมกข์ก็ทรงแสดงแก่สาวก เพราะอันตรธานแห่งพระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าเหล่านั้น เพราะอนั ตรธานแห่งสาวกผู้
ตรัสรู้ตามพระพุทธเจ้าเหล่านั้น สาวกชั้นหลังที่ต่างช่ือกัน ต่างโคตรกัน ต่างชาติกัน ออกบวชจากตระกูลต่างกัน
จึงดำรงพระศาสนาน้ันไว้ได้ตลอดระยะกาลยืนนาน ดูกรสารีบุตร ดอกไม้ต่างพรรณท่ีเขากองไว้บนพื้นกระดาน
ร้อยดีแล้วด้วยด้าย ลมย่อมกระจายไม่ได้ ขจัดไม่ได้ กำจัดไม่ได้ซึ่งดอกไม้เหล่าน้ันข้อนั้นเพราะเหตุไร เพราะเขา
รอ้ ยดีแล้วด้วยดา้ ย ฉันใด เพราะอนั ตรธานแห่งพระผู้มีพระภาคพทุ ธเจ้าเหล่าน้ัน เพราะอันตรธานแห่งสาวกผู้ตรัส
รู้ตามพระพุทธเจ้าเหล่านั้น สาวกชั้นหลังท่ีต่างชื่อกัน ต่างโคตรกัน ต่างชาติกัน ออกบวชจากตระกูลต่างกัน จึง
ดำรงพระศาสนานัน้ ไวไ้ ด้ตลอดระยะกาลยืนนาน ฉันน้นั เหมอื นกนั 156 (วิ.มหา. (ไทย) 1/1-315/1-13.)
ดูกรสารีบุตร อันนี้แลเป็นเหตุ อันนี้แลเป็นปัจจัย ให้พระศาสนาของพระผู้มีพระภาคพระนามกกุ
สันธะ พระนามโกนาคมนะ และพระนามกสั สปะ ดำรงอยนู่ าน.
ปรารภเหตุให้ทรงบัญญัติสิกขาบทลำดับนั้นแล ท่านพระสารีบุตรลุกจากอาสนะ ทำผ้าอุตราสงค์
เฉวียงบ่าข้างหนึ่งประณมอัญชลีไปทางพระผู้มีพระภาคแล้วกราบทูลว่า ถึงเวลาแล้ว พระพุทธเจ้าข้า ข้าแต่
พระสคุ ตถึงเวลาแล้ว ทจ่ี ะทรงบญั ญตั สิ กิ ขาบท ท่จี ะทรงแสดงปาตโิ มกข์แก่สาวก อันจะเปน็ เหตใุ ห้
พระศาสนาน้ีย่ังยืนดำรงอย่ไู ด้นาน.
พระผมู้ ีพระภาคตรัสว่า จงรอก่อน สารีบุตร จงยับยั้งก่อนสารีบตุ ร ตถาคตผเู้ ดียวจักรู้กาลในกรณีย์
นั้น พระศาสดายังไม่บัญญัติสิกขาบท ยังไม่แสดงปาติโมกข์แก่สาวก ตลอดเวลาท่ีธรรมอันเป็นท่ีต้ังแห่งอา
154 ว.ิ มหา. (ไทย) 1/1-315/1-13.
155 ว.ิ มหา. (ไทย) 1/1-315/1-13.
156 วิ.มหา. (ไทย) 1/1-315/1-13.
161
สวะบางเหล่า ยังไม่ปรากฏในสงฆใ์ นศาสนานี้ ต่อเม่อื ใดอาสวัฏฐานยิ ธรรมบางเหล่า ปรากฏในสงฆ์ในศาสนา
นี้ เมื่อนั้นพระศาสดาจึงจะบัญญัติสิกขาบท แสดงปาติโมกข์แก่สาวก เพื่อกำจัดอาสวัฏฐานิยธรรมเหล่านั้น
แหละ อาสวัฏฐานิยธรรมบางเหล่า ยังไม่ปรากฏในสงฆ์ในศาสนาน้ี ตลอดเวลาท่ีสงฆ์ยังไม่ถึงความเป็นหมู่
ใหญ่โดยภิกษุผู้บวชนาน ต่อเม่ือใดสงฆ์ถึงความเป็นหมู่ใหญ่โดยภิกษุผู้บวชนานแล้ว และอาสวัฏฐานิยธรรม
บางเหล่าย่อมปรากฏในสงฆ์ในศาสนานี้ เมื่อนั้นพระศาสดาจึงจะบัญญัติสิกขาบท แสดงปาติโมกข์แก่สาวก
เพื่อกำจัดอาสวัฏฐานิยธรรมเหล่านั้นแหละ อาสวัฏฐานิยธรรมบางเหล่า ยังไม่ปรากฏในสงฆ์ในศาสนานี้
ตลอดเวลาที่สงฆ์ยังไม่ถึงความเป็นหมู่ใหญ่โดยแพร่หลาย ต่อเมื่อใดสงฆ์ถึงความเป็นหมู่ใหญ่โดยแพร่หลาย
แล้ว และอาสวัฏฐานิยธรรมบางเหล่า ย่อมปรากฏในสงฆ์ในศาสนาน้ีเม่ือนั้นพระศาสดาจึงจะบัญญัติ
สิกขาบท แสดงปาติโมกข์แก่สาวกเพ่ือกำจัดอาสวัฏฐานิยธรรมเหล่าน้ันแหละ อาสวัฏฐานิยธรรมบางเหล่า
ยังไม่ปรากฏในสงฆ์ในศาสนานี้ ตลอดเวลาท่ีสงฆ์ยังไม่ถึงความเป็นหมู่ใหญ่เลิศโดยลาภ ต่อเม่ือใดสงฆ์ถึง
ความเป็นหมู่ใหญ่เลิศโดยลาภแล้ว และอาสวัฏฐานิยธรรมบางเหล่า ย่อมปรากฏในสงฆ์ในศาสนานี้ เมื่อนั้น
พระศาสดาจึงจะบัญญัติสิกขาบท แสดงปาติโมกข์แก่สาวก เพื่อกำจัดอาสวัฏฐานิยธรรมเหล่าน้ันแหละ ดูกร
สารีบุตรก็ภิกษุสงฆ์ไม่มีเสนียด ไม่มีโทษ ปราศจากมัวหมองบริสุทธ์ิผุดผ่องต้ังอยู่ในสารคุณ เพราะบรรดา
ภกิ ษุ 500 รปู น้ี ภิกษุที่ทรงคุณธรรมอยา่ งต่ำ ก็เป็นโสดาบัน มีความไมต่ กต่ำเป็นธรรมดา เป็นผู้เทยี่ ง เป็นผ้ทู ่ี
จะตรัสรูใ้ นเบ้ืองหนา้ .
เสดจ็ นิเวศนเ์ วรญั ชพราหมณ์
ครั้นปวารณาพรรษาแล้ว พระผู้มีพระภาคตรัสเรียกท่านพระอานนท์มารับสั่งว่าดูกรอานนท์ พระ
ตถาคตท้ังหลายยังมิได้บอกลาผู้ท่ีนิมนต์ให้อยู่จำพรรษาแล้ว จะไม่หลีกไปสู่ที่จาริกในชนบท ข้อนี้เป็น
ประเพณีของพระตถาคตทัง้ หลาย มาไปกันเถิดอานนท์ เราจะบอกลาเวรญั ชพราหมณ์.
ทา่ นพระอานนทท์ ลู สนองพระพทุ ธดำรัสวา่ เป็นดังรับส่งั พระพุทธเจ้าข้า.
ขณะนั้น พระผู้มีพระภาคทรงอันตรวาสกแล้ว ถือบาตรจีวร มีท่านพระอานนท์เป็นปัจฉาสมณะ
เสด็จพระพุทธดำเนินไปสู่นิเวศน์ของเวรัญชพราหมณ์ ครั้นถึงแล้วประทับน่ังเหนือพระพุทธอาสน์ท่ีเขาจัด
ถวาย ทันใดนั้น เวรัญชพราหมณ์ดำเนินเข้าไปสู่ที่ประทับ ครั้นแล้วถวายบังคม น่ังเฝ้าอยู่ ณ ที่ควรส่วนข้าง
หนึ่ง พระองค์รับสั่งว่า ดูกรพราหมณ์ เราเป็นผู้อันท่านนิมนต์อยู่จำพรรษาแล้ว เราขอบอกลาท่าน เรา
ปรารถนาจะหลีกไปสทู่ ่จี าริกในชนบท.
เวรัญชพราหมณ์กราบทูลว่า เป็นความจริง ท่านพระโคดม ข้าพเจ้านิมนต์พระองค์อยู่จำพรรษา ก็
แต่ว่าไทยธรรมอันใดที่จะพึงถวาย ไทยธรรมอันนนั้ ข้าพเจ้ายังมิได้ถวาย และไทย-ธรรมนั้นมิใช่ว่าจะไม่มี ท้ัง
ประสงคจ์ ะไมถ่ วายก็หาไม่ ภายในไตรมาสนี้ พระองค์จะพงึ ได้ไทย-ธรรมนนั้ จากไหน เพราะฆราวาสมีกจิ มาก
มีกรณียะมาก ขอท่านพระโคดมพร้อมด้วยพระสงฆ์จงทรงพระกรุณาโปรดรับภัตตาหารของข้าพเจ้า เพ่ือ
เจรญิ บุญกุศลและปตี ิปราโมทยใ์ นวนั พรุ่งน้แี กข่ า้ พเจ้าด้วยเถดิ .
พระผู้มีพระภาคทรงรับอัชเฌสนาโดยดุษณีภาพ และแล้วทรงชี้แจงให้เวรัญชพราหมณ์เห็นแจ้ง
สมาทาน อาจหาญ ร่าเรงิ ดว้ ยธรรมกี ถา แล้วทรงลุกจากทปี่ ระทับเสด็จกลบั .
หลังจากนั้น เวรัญชพราหมณ์สั่งให้ตกแต่งของเคี้ยวของฉันอันประณีตในนิเวศน์ของตนโดยผ่าน
ราตรีนั้นแล้ว ให้เจ้าพนักงานไปกราบทูลภัตกาลแด่พระผู้มีพระภาคว่า ถึงเวลาแล้ว ท่านพระ โคดม
ภัตตาหารเสร็จแลว้ .
ขณะนั้นเป็นเวลาเช้า พระผู้มีพระภาคทรงอันตรวาสกแล้วถือบาตรจีวรเสด็จพระพุทธดำเนินไปสู่
นิเวศน์ของเวรัญชพราหมณ์ คร้ันถึงแล้ว ประทับน่ังเหนือพระพุทธอาสน์ที่เขาจัดถวายพร้อมด้วยภิกษุสงฆ์
จงึ เวรัญชพราหมณ์อังคาสภิกษุสงฆ์มีพระพุทธเจ้าเป็นประมุข ด้วยขาทนีย-โภชนียาหารอนั ประณีต ด้วยมือ
ของตนจนให้ห้ามภัตรแล้ว ได้ถวายไตรจีวรแด่พระผู้มีพระภาคผู้เสวยเสร็จทรงนำพระหัตถ์ออกจากบาตร
162
แล้วให้ทรงครอง และถวายผ้าคู่ให้ภิกษุครอง รูปละสำรับ จึงพระองค์ทรงชี้แจงให้เวรัญชพราหมณ์เห็นแจ้ง
สมาทาน อาจหาญ ร่าเริงด้วยธรรมีกถาแล้วทรงลุกจากท่ีประทับเสด็จกลับ คร้ันพระองค์ประทับอยู่ท่ีเมือง
เวรญั ชาตามพระพุทธาภิรมย์แล้วเสด็จพระพุทธดำเนินไปยงั เมืองท่าปยาคะ ไม่ทรงแวะเมืองโสเรยยะ เมือง
สังกัสสะ เมืองกัณณกุชชะ ทรงข้ามแม่น้ำคงคาทีเ่ มืองท่าปยาคะ เสด็จพระพุทธดำเนินถึงพระนครพาราณสี
ครั้นพระองค์ประทบั อยู่ทีพ่ ระนครพาราณสีตามพระพุทธาภิรมยแ์ ลว้ เสดจ็ จารกิ ไปโดยมรรคาอันจะไปสู่พระ
นครเวสาลี เมื่อเสด็จจาริกไปโดยลำดับ ถึงพระนครเวสาลีนั้นแล้ว ทราบว่าพระองค์ประทับอยู่ท่ีกูฏาคาร
ศาลา ป่ามหาวัน เขตพระนครเวสาลีนน้ั 157 (ว.ิ มหา. (ไทย) 1/1-315/1-13.)
แสง จันทรง์ าม และคณะ158 (2553, หน้า 22) พระพุทธองค์ได้ทรงช้ีแจงต่อท่ีประชมุ พระสงฆ์สาว
กว่า การบัญญตั ิพระวนิ ัยน้ันมีประโยชนต์ อ่ พระสงฆ์จำนวนมาก ต่อพระศาสนาและต่อพระสาวกทม่ี ีศลี เป็นที่
รกั พระพุทธองคท์ รงชใ้ี หเ้ หน็ ประโยชน์ 10 ประการ ทีเ่ กิดจากการบัญญตั พิ ระวินัยไว้ดงั นี้
เพื่อความรบั ว่าดแี หง่ สงฆ์
เพื่อความสำราญแห่งสงฆ์
เพื่อข่มบคุ คลผแู้ ก้ยาก
เพื่ออยู่สำราญแห่งภกิ ษุผ้มู ีศีลเปน็ ทร่ี ัก
เพื่อปอ้ งกนั อาสวะอันจะบังเกิดในปจั จุบนั
เพอ่ื กำจดั อาสวะอนั จักมีในอนาคต
เพอื่ ความเลื่อมใสของชมุ ชนที่ยังไมเ่ ล่ือมใส
เพอื่ ความเล่อื มใสยิง่ ของชมุ ชนทเี่ ลื่อมใสแลว้
เพอ่ื ความต้ังมน่ั แหง่ พระสัทธรรม
เพื่อถือเอาตามพระวินัย (ยึดหลักพระวินยั เป็นปทฏั ฐาน)
6.5 พระวินัยกับการนำไปใชป้ ระโยชน์ในชีวติ ประจำวัน
พระอภิชัย อภิวฑฺฒโน. (2559). ได้ศึกษาการประยุกต์ใช้หลักคารวธรรมเพื่อการเสริมสร้าง
ครอบครวั สันติสขุ กลา่ ววา่ 159 สงั คมไทยปัจจุบนั ประสบกบั สภาวะความขัดแยง้ และความรุนแรงในดา้ นต่างๆ
ปญั หาเร่ืองครอบครวั ซึ่งถือเป็นสถาบันหลกั ของสังคมในปจั จุบันกำลงั เผชิญกับสภาวการณ์เปลยี่ นแปลงอัน
เป็นผลมาจากปัจจัยภายในครอบครัวและปัจจัยแวดล้อมในชุมชน สังคม และส่ิงแวดล้อมโดยเฉพาะอย่างย่ิง
เม่ือประเทศอยู่ในภาวะเศรษฐกิจตกต่ำ ต้ังแต่กลางปี พ.ศ.2540เป็นต้นมา (พนม กิติวัง, 2543, หน้า 2)
สถาบันครอบครัวไม่สามารถทำหน้าท่ีในการให้ความรักความเข้าใจแก่สมาชิกได้เต็มที่ไม่สาม ารถปลูกฝัง
ค่านิยม จรยิ ธรรม คุณธรรม และกระตุ้นให้สมาชิกมคี วามมุ่งม่ันในการสร้างความม่นั คงให้กับชวี ิต จงึ นำไปสู่
การเกิดปญั หาครอบครัวอย่างมากมาย เชน่ 1) ปัญหาการใชค้ วามรนุ แรง 2) ปัญหาด้านเศรษฐกิจ 3) ปัญหา
ความไมพ่ อใจคู่ครอง 4) ปญั หาการสื่อสารทางกายและวาจา 5) ปัญหาความหลงในอบายมุข 6) ปัญหาดา้ น
ทัศนคติในการดำเนินชีวิต160 (ยศพร ปัตนกุล, 2540, หน้า 1) นอกจากน้ีความเจริญทางด้านเทคโนโลยีใน
157 วิ.มหา. (ไทย) 1/1-315/1-13.
158 แสง จันทร์งาม, วศนิ อินทสระ, อุทัย บุญยืน. (2553). พระไตรปิฎกสำหรับผู้บวชใหม่และชาวพุทธ
ทัว่ ไป. พมิ พ์คิ รงั้ ทส่ี 2. กรงุ เทพมหานคร : โรงพมิ พเ์ จริญวทิ ยก์ ารพมิ พ์. หนา้ 22.
159 พระอภิชัย อภิวฑฺฒโน. (2559). การประยุกต์ใช้หลักคารวธรรมเพื่อการเสริมสรา้ งครอบครัวสันติสุข.
อยธุ ยา : บทความวชิ าการ. Doi: 10.14456/jmcupeace.2016.11
160 พนม กิติวัง. (2543). พฤติกรรมการออมของครัวเรือนในเขตเทศบาลนครเชียงใหม่. วิทยานิพนธ์
เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่. หนา้ 2.
163
ด้านต่างๆ ทำให้ระบบความสัมพันธ์ทางสังคมถูกปรับเปล่ียน สถาบันครอบครัวก็พลอยได้รับผลความ
เปลี่ยนแปลงในระบบความสัมพันธ์ กล่าวคือ ทำให้มีการเปลี่ยนแปลงความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกใน
ครอบครัว161 (กอ่ สวัสด์ิพาณิชย์, 2519, หน้า 115) การเปล่ียนแปลงในด้านความสมั พันธ์ดงั กล่าวได้ผลักดัน
ให้เกิดสภาวะครอบครัวล่มสลาย162 (งามพิศ สัตย์สงวน, 2545, หน้า 2) ครอบครัวได้ตกอยู่ในสภาพที่ไม่ใส่
ใจอบรมเล้ียงดูบุตร หรือ บางคร้ังก็ใช้ระบบการเล้ียงดูลูกโดยมอบให้เป็นหน้าที่ของเด็กรับใช้ส่งผลให้
ความสำคัญของครอบครัวลดลง163 (โกศลวงศ์สวรรค์ และ สถิต วงศ์สวรรค์, 2543, หน้า 139) ก่อให้เกิด
ผลกระทบท่ีตามมา คือ สภาพปัญหาที่เกิดขน้ึ ในครอบครวั ส่วนใหญ่ปัจจุบันมาจากสาเหตุ 4 ประการ คอื 1)
บกพร่องในการให้การศึกษาอบรมเลยี้ งดูแก่สมาชิกในครอบครัว 2) ขาดความรักความอบอุ่นในครอบครัว 3)
ปัญหาด้านเศรษฐกิจ 4) ปัญหาการหย่าร้าง164 (สุวิทย์ รุ่งวิสัย., 2526, หน้า 134-135) อีกประการหน่ึงที่
สำคัญท่ที ำใหค้ นเราอยู่รว่ มกันในสังคมไม่มคี วามสุข เพราะเกดิ จากสภาวะสงั คมปจั จุบันทมี่ ีความแตกต่างท้ัง
ทางความคดิ และกระบวนทัศนข์ องผ้คู นในสังคมซึ่งเป็นตัวผลักดันใหผ้ ู้คนเกดิ ความขัดแยง้ และความรุนแรง
อย่างต่อเนื่องโดยเรมิ่ ระดับต้ังตคึ วามขัดแยง้ ภายในตนเองครอบครัว ชมุ ชน องคก์ ร และหน่วยงานตา่ งๆ เป็น
ต้น165 (พิณจ์ทอง แมนสุมิตร์ชัย, 2558, หน้า 162) การสร้างครอบครัวให้ม่ันคง และมีความสุขได้จะต้อง
แก้ไขด้วยการปรับพฤติกรรม คือศีล และความคิดเห็น กล่าวคือ การปรับให้มีความสอดคล้องกันมากข้ึน
นอกจากน้ียังต้องมีหลักธรรมอ่ืนๆ ท่ีสำคัญที่ช่วยส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และความเห็นดังกล่าว
หลักธรรมที่ช่วยให้เกิดความรักความสามัคคีในครอบครัว ได้แก่ หลักคารวธรรม 6 หลักคารวธรรมน้ันเป็น
หลักธรรมที่มีความสำคัญย่ิงในการสร้างความสัมพันธ์ท่ีดี และป้องกันปัญหาท่ีจะเกิดขึ้นภายในครอบครัว
เพราะเป็นหลักธรรมที่ให้เรามีความเคารพต่อกันและกัน และยังช่วยลดความขัดแย้ง ค วามรุนแรงใน
ครอบครัวไดเ้ ป็นอยา่ งดี166 เปน็ หลกั ธรรมท่กี อ่ ใหเ้ กดิ ความอบอุ่น เกิดความรกั ความสามคั คี ทำใหค้ รอบครัว
มีความสรา้ งสัมพนั ธ์ท่ีดีตอ่ กนั มคี วามเคารพ ไม่ทะเลาะววิ าทกนั และท่ีสำคญั ทีส่ ดุ คอื มคี วามเป็นนำ้ หน่งึ ใจ
เดียวกันในครอบครัว ดังน้ัน หลักคารวธรรมจึงเป็นธรรมท่ีเสริมสร้างสันติสุข และเป็นทางออกของการ
แก้ปัญหาความขัดแย้ง และความรุนแรงในครอบครัว ตลอดจนถึงในด้านตัวความสุขเอง ที่ไม่ยั่งยืน และใน
ดา้ นคณุ ภาพชีวิตของผู้ที่เกยี่ วขอ้ ง ตลอดจนโทษในดา้ นสังคม เช่น ก่อให้เกดิ การทะเลาะวิวาท การแขง่ ขนั ใน
ด้านต่างๆ และการประทุษรา้ ยตอ่ กนั เป็นตน้ 167 (อำนาจ ยอดทอง, 2558: 19)
161 ยศพร ปตั นกลุ . (2540). การศึกษาทัศนะในการเปนครอบครัวอุปถัมภ์ ศึกษาเฉพาะกรณีครอบครัวใน
เคหะ ชุมชนรังสิตหมู่ 2 ต.รังสิต อ.ธัญบุรี จ.ประทุมธานี. วิทยานิพนธ์สังคมสงเคราะห์ศาสตรมหาบัณฑิต
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. หน้า 1.
162 ก่อ สวัสดิ์พาณิชย์. (2519). ความสัมพันธ์ในครอบครัว. กรุงเทพมหานคร : ไทยวัฒนาพานิช. หน้า
115.
163 งามพิศ สัตย์สงวน. (2545). สถาบันครอบครัวของกลุ่มชาติพันธุ์ในกรุงเทพมหานคร : กรณีศึกษา
ครอบครัวไทยโซ่ง. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย. หนา้ 2.
164 โกศล วงศ์สวรรค์ และสถิต วงศ์สวรรค.์ (2543). ปญหาสงั คม. กรุงเทพมหานคร: อมรการพิมพ์. หนา้ 139.
165 สวุ ิทย์ รุ่งวสิ ยั . (2526). ปญหาสังคม. เชยี งใหม่: ดวงตะวันการพิมพ.์ หน้า 134-135.
166 พณิ จ์ทอง แมนสุมิตร์ชยั . (2558). การุณยสาร : หนทางสสู่ ันติภาพ. วารสารสันติศึกษาปรทิ รรศน์ มจร.
3(2), 162-175.
167 อำนาจ ยอดทอง. (2558). ศึกษาวิเคราะห์ความอยากในฐานะเป็นบ่อเกิดของความขัดแย้ง.วารสาร
สนั ตศิ กึ ษาปรทิ รรศน์ มจร. 3(1), 1-22.
164
หลักคารวธรรมเป็นหลักธรรมที่ช่วยเสริมสร้างครอบครัวสันติสุขได้ มี 6 อย่าง ได้แก่พุทธคารวตา
(ความเคารพในพระพุทธเจ้า), ธัมมคารวตา (ความเคารพในธรรม), สังฆคารวตา(ความเคารพในสงฆ์), สิกขา
คารวตา (ความเคารพในการศึกษา), อัปปมาทคารวตา (ความเคารพในความไม่ประมาท) และปฏิสันถารคารวตา
(ความเคารพในปฏสิ ันถาร) คือ การต้อนรับปราศรัย168 (พระพรหมคณุ าภรณ์ ป.อ.ปยุตฺโต, 2551, หน้า 189) และ
ยังเป็นหลักธรรมท่ีเป็นมงคลอันสูงสุดอย่างหน่ึงในชีวิต สมดังพระพุทธพจน์ท่ีตรัสตอนหนึ่งไว้ว่า “ภิกษุท้ังหลาย
พวกเธอนั้นยังมีความเคารพยำเกรง ดำเนินชีวิตอยู่อย่างเสมอภาคกัน ภิกษุท้ังหลาย การที่พวกเธอเป็นผู้บวชแล้ว
ในธรรมวินัยท่ีเรากล่าวดีแล้ว มีความเคารพมีความยำเกรงกันและกัน ดำเนินชีวิตอย่างเสมอภาคกันจะพึงงดงาม
ในธรรมวินัยนี้”169 (พระไตรปิฎกภาษาไทย เล่ม 7 ข้อ 311 หน้า 125) โดยรวมแล้วหลักคารวธรรมน้ีเป็น
หลักธรรมที่สะท้อนการให้เกียรติให้ความเคารพซ่ึงกันและกันและการปฏิบัติด้วยความเอ้ือเฟ้ือ หรือโดยความ
หนักแน่นจริงจัง การสร้างความเคารพจึงเป็นหลักการสำคัญที่จะช่วยให้บุคคลในครอบครัว และสังคมอยู่ร่วมกัน
อย่างสันติสุขจากเหตุผลและความสำคัญดังกล่าวมาข้างต้น ผู้วิจัยจึงมีความต้องการที่จะศึกษาวิจัยเร่ืองการนำ
หลักคารวธรรมทางพระพุทธศาสนาไปใช้ในการเสริมสร้างสันติสุขในครอบครัว เพื่อเป็นแนวทางในการช่วย
ป้องกัน และแก้ไขปัญหาครอบครัวท่ีอาจจะเกิดขึ้น ที่สำคัญเพ่ือให้ครอบครัวมีความสุข มีความอบอุ่น เกิดความ
รักความเข้าใจ และร่วมมือกันปฏิบัติหน้าที่ของตนให้สมบูรณ์ และเพ่ือการนำเสนอแนวทางในการนำหลักคารว
ธรรมเพ่ือเสริมสร้างครอบครัวสันติสุข และเพื่อเป็นการส่งเสริมให้ประชาชนชาวไทยมีความสงบปรองดอง รวมถึง
นำไปใช้ในชีวิตประจำวัน เพ่ือให้เกิดประโยชน์ในการอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุขร่มเย็นสมกับเป็นเมืองแห่ง
พระพุทธศาสนาสบื ตอ่ ไป
1.หลักคารวธรรมในพระพุทธศาสนาเถรวาทคารวธรรม หรือ ความเคารพ เป็นหลักธรรมที่มี
ความสำคัญอย่างยิ่งในการประพฤตปิ ฏิบตั ติ ามหน้าทขี่ องตนเองให้สมบรู ณค์ วามเคารพน้ี “นับเป็นสมบัตขิ อง
อารยชนด้วยอารยชนคือคนที่มีอารยธรรมย่อมมีความเคารพกันเป็นระเบียบ” การที่บุคคลจะนับถือกราบ
ไหว้บูชาหรอื ลงมอื กระทำสงิ่ หนงึ่ ส่ิงใดลงไปหากมีความเคารพเป็นเบื้องตน้ แล้วสิง่ น้ันกย็ ่อมสง่ ผลทำให้สำเร็จ
ประโยชน์แก่ผู้กระทำอย่างเต็มที่ความเจริญรุ่งเรือง และการได้รับสรรเสริญยกย่องมุทิตายินดีเป็นต้นล้วน
แล้วแต่อาศัยความเคารพเป็นท่ีต้ังเช่นกันพระพุทธองค์จึงทรงสรรเสริญความเคารพว่าเป็นมงคลแก่ชีวิต
เพราะเป็นปัจจยั ส่งเสริมการพัฒนาชวี ิตช่วยใหช้ ีวิตมีความเจริญช่วยยกระดบั ชวี ิตใหส้ ูงขน้ึ และชว่ ยใหม้ ีจติ ใจ
สูงขนึ้ ด้วยคุณธรรมประจำใจ170 (บุญมา จิตจรัส, 2533, หนา้ 215) เป็นความเคารพที่มีปญั ญาเปน็ มูลฐานจึง
จะชอบดว้ ยพทุ ธประสงค์171 (ป่นิ มทุ ุกนั ต์, 2535, หนา้ 51) หมายความวา่ การทเ่ี ราจะเคารพสิง่ ใดลงไปควร
ตระหนักให้มากเรยี กว่า ตระหนกั ในความดี ความตระหนักในความดนี ้ีน้ันจึงเปน็ เนื้อแทข้ องคารวธรรม หรือ
ความเคารพ และควรสร้างเปน็ นสิ ยั ติดตวั จะเห็นได้ว่า การที่เหล่าพทุ ธศาสนิกชนตา่ งยดึ ถือ และปฏิบตั ิตาม
หลกั ธรรมด้วยความเคารพ ถอื ว่าเปน็ ส่ิงสำคัญท่ีจะทำให้เขา้ ใจหลักการของพระพทุ ธศาสนาอย่างแท้จริงและ
ยงั จะเปน็ การสบื ทอดอายุพระพุทธศาสนาให้ยาวนานตอ่ ไปได้ นอกจากน้แี ล้วไมว่ ่าจะเปน็ บคุ คล หรอื ส่ิงของ
ที่มีคุณประโยชน์ต่อสังคม พระพุทธองค์ก็ทรงให้ความเคารพ และให้ความสำคัญต่อสิ่งเหล่าน้ันเช่นกัน การ
เคารพจึงเป็นหลักธรรมสำคัญท่ีบุคคลควรตระหนักในจิตใจให้มากรวม ท้ังเห็นคุณค่าของสิ่งนั้นๆ ว่ามี
168 พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต). (2551). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ฉบับประมวลธรรม.(พิมพ์ครั้งท่ี
16). กรงุ เทพมหานคร: เอส. อาร์. พริน้ ต้ิง แมส โปรดกั ส.์ หน้า 189.
169 มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
กรงุ เทพมหานคร : โรงพมิ พ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. เล่ม 7 ข้อ 311: 125.
170 บญุ มา จิตจรัส. (2533). มงคล 38 ประการ. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์การศาสนา. หน้า 215.
171 ปน่ิ มุทุกนั ต.์ (2535). มงคลชวี ติ ภาค 3. กรุงเทพมหานคร: โรงพมิ พม์ หามกุฏราชวิทยาลัย. หนา้ 51.
165
ความสำคัญและมีประโยชน์หลักธรรมเป็นหลักการท่ีสำคัญประการหนึ่งในพระพุทธศาสนา และจัดว่าเป็น
มงคลอนั สงู สุดควรให้ความสำคัญ และตระหนักในใจด้วยการเคารพตอ่ บุคคลและสิ่งของ พึงดู ตวั อย่าง พระ
พุทธองค์เป็นหลัก เพราะแม้แต่พระพุทธองค์ยังทรงให้ความเคารพต่อพระธรรมและพระสงฆ์ หรือ แม้แต่
สถานที่สำคัญๆ ก็ทรงแนะนำให้เคารพสักการะนับถือ เช่น สังเวชนียสถานได้แก่สถานที่อันเป็นที่ตั้งแห่ง
ความสังเวช เมื่อกล่าวถึงหลักความเคารพใหญ่ๆ ในพระพุทธศาสนาท่ีปรากฏในคัมภีร์พระพุทธศาสนา เถร
วาทมี 6 ประการ คือ172 (พระไตรปิฎกภาษาไทย เล่ม 8 ข้อ 271: 363)
1. พุทธคารวตา หมายถึง มีความเคารพเอื้อเฟื้อในพระพุทธเจ้า ในฐานะของพุทธศาสนิกชนซึ่ง
ประกาศตนนับถือพระพุทธเจ้าเป็นสรณะ เป็นท่ีพึ่งที่ระลึกนั้นจะต้องแสดงความเคารพเอื้อเฟื้อต่อ
พระพุทธเจ้าด้วยกาย ด้วยวาจาและด้วยใจ เม่อื เข้าไปในสถานท่ีซึ่งเก่ียวขอ้ งกบั พระพุทธเจา้ ต้องมอี าการกาย
วาจา ทแ่ี สดงออกถงึ ความเคารพนับถือเวลาพูดถงึ ก็ต้องพดู ถึงด้วยความเคารพ ไม่ดหู มิ่น ไมล่ ังเลสงสยั เวลา
คิดถงึ กค็ ดิ ถงึ ดว้ ยความเคารพเทดิ ทนู ในฐานะเป็นศาสดาแหง่ ตน
2. ธัมมคารวตา หมายถึง มีความเคารพหนักแน่นในพระธรรมธรรมะ คือคำส่ังสอนของพระพุทธเจ้าการ
แสดงความเคารพตอ่ พระธรรมด้วยกายบคุ คลอาจทำได้ด้วยการไม่เดนิ ข้าม เดินเหยยี บน่ังทบั อักษรจารึกพระธรรม
ไม่เอาธรรมะมาพูดเล่น ตลกโปกฮา ขาดความคารวะหรือวิพากษว์ ิจารณ์ด้วยความดูหมน่ิ หรือมีความรู้สึกคัดค้าน
ขดั แย้งกบั ธรรมะท่ีพระพทุ ธเจา้ ทรงแสดงเอาไว้ และไม่ค้านคำสั่งทเ่ี ป็นพระวินัย ด้วยแสดงความเคารพ ด้วยยึดถือ
และประพฤตปิ ฏิบัติตาม ด้วยการเว้นขอ้ ทีท่ รงห้ามและทำตามข้อท่ที รงอนุญาต
3. สังฆคารวตา หมายถึง มีความเคารพแก่กล้าในพระสงฆ์ พระสงฆ์ คือ หมู่ชนที่ศึกษาคำส่ังสอน
ของพระพทุ ธเจ้าปฏบิ ตั ิตามคำส่ังสอนของพระพุทธเจ้า แลว้ สอนบคุ คลอืน่ ให้ปฏิบัติตามดว้ ย พระสงฆ์จึงเป็น
ผู้ปฏิบัติดี ปฏิบัติตรง ปฏิบัติเป็นธรรม ปฏิบัติสมควร เป็นผู้ควรไหว้ ควรเคารพ สักการะ นับถือ ของ
พุทธศาสนิกชน ในพระพุทธศาสนาและพระสงฆ์ด้วยกันการแสดงความเคารพต่อพระสงฆ์ด้วยกายก็คือทำ
อะไรด้วยความปรารถนาดี หวังดี เม่ือพูดกับท่านก็พูดด้วยความเคารพ มีความปรารถนาดี มีความหวังดีจะ
คิดอะไรถึงทา่ นก็คิดด้วยความเมตตา ความปรารถนาดี ไม่แสดงอาการดูหม่ินในลักษณะตา่ งๆ
4. สกิ ขาคารวตา หมายถงึ มีความเคารพแก่กลา้ ในไตรสิกขา ไตรสกิ ขา คอื ศลี เป็นข้อห้ามไมใ่ หท้ ำ
และอนุญาตให้ทำ พระพุทธเจ้าได้ทรงบัญญัติเป็นพุทธอาณา สมาธิ เป็นหลักการประพฤติปฏิบัติเพื่อทำจิต
ให้สงบ ปัญญา เป็นข้อปฏิบัติเพื่อขจัดกิเลสในช้ันต่างๆ ให้ออกไปจากจิตใจ การแสดงความเคารพต่อ
ไตรสิกขา ก็คือ ปฏิบัติโดยเอ้ือเฟื้อ ในสิกขาบทบัญญัติท่ีทรงบัญญัติไว้ มีปกติเห็นน่ากลัวในโทษ แม้เพียง
เล็กน้อย ต้ังใจประพฤติปฏิบัติตามข้อกำหนดซ่ึงทรงวางไว้ ให้ความใส่ใจสนใจการบำเพ็ญ เพียรทางจิต
พยายามใชป้ ัญญาพนิ ิจพิจารณาสรรพสงิ่ ทงั้ หลาย จนเกิดความรูแ้ จง้ เห็นจริงในส่งิ เหล่าน้ัน
5. อัปปมาทคารวตา หมายถึง มีความเคารพในความไม่ประมาท คำว่าไม่ประมาทคือความไม่
เผอเรอ หลงลืม พลัง้ พลาด บคุ คลจะตอ้ งดำรงตนอยู่อย่างมีสติ ไมป่ ระมาทในวยั ว่าอายยุ งั น้อย ในความไม่มี
โรค วา่ สุขภาพแขง็ แรง และในชีวิต วา่ เรายงั ไมเ่ ปน็ อะไร ด้วยการพยายามระมดั ระวงั ใจของตน ไม่ให้มีความ
กำหนดั ขัดเคือง ล่มุ หลง มัวเมาในอารมณท์ ั้งหลายเป็นต้น
6. ปฏิสันถารคารวตา หมายถึง มีความเคารพในการปฏิสันถาร การปฏิสันถาร คือการต้อนรับ
ปราศรัย เป็นหน้าทขี่ องเจ้าถ่นิ ท่ีจะแสดงอัธยาศัยไมตรีต่อคนที่มาสู่สำนกั ของตนการแสดงปฏิสันถารทำได้ 2
วิธคี ือ 1) อามสิ ปฏิสันถาร ต้อนรับดว้ ยวัตถุสงิ่ ของ มีเครือ่ งด่ืมข้าวปลาอาหาร 2) ธัมมปฏิสันถาร คือต้อนรับ
ใหเ้ หมาะควรแกฐ่ านะของแขก ตลอดถงึ สนทนาธรรม กล่าวธรรมะดว้ ยกัน
172 มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย. เล่ม 8 ข้อ 271: 363.
166
สรุป หลักคารวธรรม ท้ัง 6 ประการน้ี เป็นหลักการที่สำคัญประการหน่ึงในพระพุทธศาสนา และจัดว่า
เป็นมงคลอนั สูงสุดควรแก่การนำมาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน พระพุทธเจ้าทรงแสดงไวว้ ่าเป็นข้อปฏบิ ัติท่ีผู้เห็น
ภยั ในสงั สารวัฎ จะต้องกระทำใหบ้ ังเกิดขึน้ และเมื่อใครปฏิบตั ติ ามได้ กไ็ ด้ชอื่ วา่ ได้ปฏิบตั ติ นใกลพ้ ระนพิ พาน
2.การเสริมสร้างครอบครัวสันติสุขการเสริมสร้างครอบครัวสันติสุขให้มีความสุขภายในครอบครัว
นั้น ไม่ใชเ่ รื่องยากทุกครอบครวั สามารถทำได้หากแตท่ ุกคนใหค้ วามรกั และความเอาใจใส่ซึ่งกนั และกนั ก็จะ
เปน็ หนทางนำไปสู่ความมน่ั คงและสันติสุข หากทุกครอบครัวให้ความตระหนักและเอาใจใส่กันเป็นอย่างดี ก็
เปรียบเสมือนมีน้ำคอยหล่อเล้ียงต้นไม้ให้มีความสดชื่น และอุดมสมบูรณ์มีชีวิตชีวามากขึ้น และท่ีสำคัญ
ครอบครัวจะใช้ชีวิตร่วมกันให้มีความยืนยาวและม่ันคงได้นั้น จะต้องมีหลักยึดในการปฏิบัติร่วมกันภายใน
ครอบครัว ซึ่งแต่ละคนแต่ละท่านสามารถนำมายึดถือและปฏิบัติใชไ้ ด้ทันที ดังจะเห็นได้จากการปฏิบัติตาม
หลักทฤษฎี 5 ย. ทีผ่ ูว้ จิ ัยไดน้ ำมาเป็นเครือ่ งปฏิบัติซึ่งถา้ หากปฏิบัตอิ ย่างเป็นเนอื งนติ ย์แลว้ จะทำใหค้ รอบครัว
นัน้ มีแต่ความสขุ ได้ตลอดไป คือ
1. ยิ้มแย้มต่อกัน ในแต่ละวันควรย้ิมแย้มให้กันเพราะการยิ้มแย้มเป็นลักษณะของคนมีความสุข
ประสบความสำเร็จ แม้แตพ่ ระอรหันต์ กจ็ ะมีการยมิ้ แยม้ ปรากฏใหเ้ ห็น
2. ยกย่องกัน การยกย่องผู้อื่นในวงสังคมน้ันถือได้ว่าเป็นแนวทางบัณฑิต แม้ในศาสนาก็มีคำกล่าว
ว่า ควรยกย่องบุคคลที่ควรยกย่อง ให้เกียรติบุคคลที่ควรให้เกียรติ 3. เยือกเย็นเข้าหากัน ลักษณะเยือกเย็น
เป็นลักษณะของคนที่ประกอบไปด้วยเมตตามีแต่ความรักปรารถนาดีต่อผู้อื่น เป็นภาวะของจิตที่มีความสุข
จะพูดอะไรก็สงบ เย็น สบายใจ
4. ยืดหยุ่นบ้าง ตามสภาพ เมื่อไหร่ก็ตามท่ีเราเห็นว่า ปรับตัวอย่างนี้แล้วจะได้รับประโยชน์สูงสุด
คุ้มคา่ กค็ วรปรับตัว มีความยดื หยุ่นอ่อนได้ แข็งได้ตามโอกาส เพราะสรรพสงิ่ กม็ ีความไม่เที่ยง เปลี่ยนแปลง
ปรากฏใหเ้ หน็ อย่แู ล้ว
5. ยืนหยัด มีความมั่นคงในส่ิงที่เป็นความดี ส่ิงใดก็ตาม ไม่ว่าจะเป็นความซ่ือสัตย์สุจริต หรือ การ
รักษาศลี 5 เม่ือประพฤติปฏิบตั ิแล้วกอ่ ใหเ้ กดิ ความสขุ สบายใจ ก็ควรยนื หยดั ปฏิบตั ิต่อสง่ิ น้นั ต่อไป
สรปุ คือ ความสุขที่สามารถสร้างได้ด้วยมือเราอันดับแรกต้องเร่ิมจากตัวเราเองเป็นหลักก่อน แล้ว
พยายามปลูกจิตสำนึกให้ทุกคนในครอบครวั ได้ใหค้ วามเอาใจใส่ซ่ึงกันและกนั ความสขุ ที่ม่ันคงและถาวรจริงๆ
มีอยู่ในตัวทกุ คนเพราะคงไม่มีใครอยากจะใหเ้ กิดปัญหาหรือความทุกข์กับครอบครวั ตนเอง ฉะนั้นต้องให้ทุก
คนน้ันให้ความสำคัญและหมั่นทำกิจกรรมร่วมกันเป็นประจำเพื่อสร้างความรู้สึกท่ีดีต่อกันตลอดถึงเป็น
สะพานเชอ่ื มสายสัมพนั ธท์ ่ีดีระหวา่ งกนั ตราบนานเท่านาน
3. การประยุกต์ใชห้ ลกั คารวธรรมเพอื่ การเสรมิ สร้างครอบครวั สันตสิ ขุ จากเหตกุ ารณ์ต่างๆ ท่เี กดิ ข้ึน
ภายในครอบครัว ทำให้เป็นปัญหาท่ีกระจายไปในวงกว้าง เพราะฉะนั้นหากเราปล่อยนิ่งเฉยปัญหาก็จะยิ่ง
บานปลาย จึงต้องหาวิธกี ารทจี่ ะมาช่วยป้องกัน และแกไ้ ขปญั หาที่กำลงั เกิดขน้ึ เพื่อเสรมิ สร้างครอบครวั สันติ
สุข โดยผู้วิจัยได้ลงพื้นท่ีสัมภาษณ์เพ่ือนำมาเป็นข้อมูลเพื่อนำไปใช้ ในที่สุดก็พบว่าการที่บุคคลจะใช้ชีวิต
ร่วมกันในครอบครัวได้ดีนั้น ต้องอาศัยสมาชิกของครอบครัวเป็นหลักในการขับเคลื่อน ครอบครัวจึงจะเป็น
ระเบียบและมคี วามม่ันคงได้สืบเน่ืองและยาวนาน ครอบครัวจะมีความเข้มแข็ง ต้องมีการอบรมบม่ นสิ ัยของ
สมาชิกในครอบครัวให้มีคุณธรรมโดยเฉพาะการเป็นผู้มีความเคารพนอบน้อมมีสัมมาคารวะ แต่ในปัจจุบัน
เป็นท่ีน่าสังเกตว่า ปัญหาที่เกิดขึ้นหลายปัญหา ก็มีสาเหตุมาจากครอบครัวเป็นหลักเช่นกัน เช่น ปัญหา
ครอบครัวแตกแยก และปัญหายาเสพติด และยิ่งในปัจจุบันเรื่องความเคารพกัน การให้เกียรติกันและกันใน
ครอบครัวเริ่มลดน้อยถอยลงไปมาก ลูกเริ่มมองเห็นความสำคัญของผู้มีพระคุณน้อยลง ทำให้มีขาดความ
เคารพ และความกตัญญูกตเวทีต่อผู้มีพระคุณ ซ่ึงปัญหาดังกล่าวหากเรามองย้อนไปในอดีตถึงวิธีการ
เสริมสร้างครอบครัวสันติสุขของคนสมัยก่อน จะเห็นได้ว่ามีความเจริญทางด้านจิตใจสูงกว่าคนในปัจจุบัน
167
มาก ความเดือดร้อนวุ่นวายต่างๆ จึงไม่คอ่ ยมีมากนกั เพราะคนสมัยก่อนมีแตก่ ารใหเ้ กียรติ และความเคารพ
ตอ่ กนั ผ้นู ้อยต้องเคารพผู้ใหญ่เป็นวัฒนธรรมท่ีปัจจุบันแทบจะหายไปตามยุคสมยั อีกท้ังครอบครัวสมัยก่อน
ยังดำรงตนถ้อยทีถอ้ ยอาศัยกันลดความเห็นแกต่ วั นอ้ ยลง มีแต่ความเมตตากรุณา ฉะน้นั เราจงึ ความตระหนัก
และมีวิธีการแนวทางป้องกันและแก้ไขปัญหาซ่ึงจะได้อธิบายสรุปเป็นแผนภาพไว้ เพื่อที่จะสามารถนำไปใช้
เป็นกระบวนการชว่ ยเสรมิ สรา้ งครอบครัวให้มีความสนั ตสิ ุขไดอ้ ย่างแท้จรงิ
พระอภิชัย อภิวฑฺฒโน. (2559). แนวทางการเสริมสร้างครอบครัวสันติสุขน้ันกล่าวในภาพรวม
แล้ว173 จะเห็นได้ว่าสภาพปัญหาเป็นตัวสะท้อนให้เหน็ ถึงแนวทางป้องกนั ปัญหา เดมิ นั้นครอบครัวอยู่ร่วมกัน
อย่างสันติสุขดีแต่อาจเป็นเพราะมีปัจจัยภายนอกเข้ามากระทบ บวกกับอารมณ์ของแต่ละคนเข้าไปจึงทำให้เป็น
ปัญหาลุกลาม เป็นสาเหตุให้ครอบครัวไม่กล้าท่ีจะเผชิญหน้ากัน หรือ ไม่อยากท่ีจะพบปะพูดคุยกันทางออกของ
ปัญหาดัง กล่าวคอื ครอบครัวต้องมีการส่ือสารพูดคุยกันกอ่ นพยายามหันหน้าพูดคุยกันให้ได้มีปัญหาหนักนิดเบา
หน่อยก็ให้อภัยกัน และพร้อมเปิดใจรับฟังความคิดเห็น จากนั้นให้ใช้ความถกู ต้องดีงามที่แต่ละคนได้สร้างมาเป็น
เครื่องระลึกหากันว่าในอดีตเราเคยทำอะไรดีๆ ร่วมกันมา ใช้สติพิจารณาระลึกถึงส่ิงดีงามที่ครอบครัวเคยร่วมกัน
ทำมาหม่ันทบทวนความรู้สึกดีๆ เข้าหากัน เพื่อเปิดโอกาสให้คนที่มีปัญหาในครอบครัวได้เข้าใจถึงความห่วงใยใน
เจตนาของเราที่อยากจะร่วมเป็นส่วนหน่ึงของกันและกัน และท่ีสำคัญเราควรให้ความสำคัญในเรื่องของความ
เคารพ ซึ่งจะมีสว่ นช่วยในการช่วยเสริมสร้างครอบครวั สนั ติสขุ และยังเป็นหลักธรรมที่สามารถป้องกันกับปัญหาที่
อาจจะเกิดข้ึนในครอบครัว หรือ ปัญหาที่เกิดข้ึนแล้วก็ดีสามารถนำมาเป็นตัวเชื่อมสมานให้ครอบครัวมีความรัก
และเคารพกันมากข้ึนโดยหลักคารวธรรมยังเป็นส่วนสำคัญในครอบครวั ทำให้คนในครอบครัวหันมาทบทวนสิ่งดีๆ
ทเี่ คยรว่ มกนั ทำมาในอดีต เพื่อลดปัญหาตา่ งๆในครอบครัวได้เปน็ อยา่ งดี
สรุปความว่าหลักธรรมวา่ ด้วยเรื่องการเคารพซ่ึงกนั และกันน้ัน เปน็ หลกั ธรรมสำคญั ทีจ่ ะนำไปสกู่ าร
เสรมิ สร้างครอบครวั สนั ตสิ ขุ ตามแนวทางของพระพทุ ธศาสนา ในคารวธรรมนั้นยังเป็นการชว่ ยสรา้ งมิตรภาพ
ระหว่างคนในครอบครัวได้เป็นอย่างดี พร้อมกับการพิจารณาให้เห็นถึงคุณค่าของการเคารพกันและกัน
ไตร่ตรองผลดี ผลเสียแล้ว ลงมือปฏิบัติด้วยความรู้ความเข้าใจที่ตรงกันเพ่ือนำไปสู่การพัฒนาตนเอง
เสริมสร้างสติปัญญาการพัฒนาความเป็นมนุษย์ในด้าน ศีล จิตและปัญญา เป็นการมุ่งไปสู่วิถีแห่งการสร้าง
สันตภิ าพภายใน การเสรมิ สรา้ งสันติสขุ ภายในครอบครวั น้นั เปน็ ความสขุ ทส่ี ามารถสรา้ งไดด้ ว้ ยมอื เราอันดับ
แรกต้องเริม่ จากตัวเราเองเป็นหลักกอ่ น แล้วพยายามปลูกจิตสำนึกให้ทุกคนในครอบครัวได้ให้ความเอาใจใส่
ซ่ึงกันและกันโดยเฉพาะต้องให้ทกุ คนในครอบครัวน้ันให้ความสำคญั หม่ันทำกิจกรรมรว่ มกันเป็นประจำเพ่ือ
สร้างความรู้สึกที่ดีต่อกันตลอดถึงเป็นสะพานเชื่อมสายสัมพันธ์ที่ดีระหว่างกัน แนวทางการเสริมสร้าง
ครอบครวั สันติสุขน้ัน จะเห็นได้ว่า สภาพปัญหาเป็นตัวสะท้อนให้เห็นถึงแนวทางป้องกันของปัญหา เดิมนั้น
ครอบครัวอย่รู ่วมกนั อย่างสันตสิ ุขดี แต่อาจเป็นเพราะมีปัจจัยภายนอกเข้ามากระทบ บวกกบั อารมณ์ของแต่
ละคนเข้าไป จงึ ทำให้เปน็ ปัญหาลุกลาม เป็นสาเหตใุ ห้ครอบครัวไม่กล้าท่จี ะเผชิญหน้ากัน หรอื ไมอ่ ยากท่จี ะ
พบปะพูดคุยกนั ทางออกของปัญหาดังกล่าว คือ ครอบครวั ต้องมีการส่ือสารพูดคยุ กนั ก่อน พยายามหันหน้า
พูดคยุ กันให้ได้และพรอ้ มท่ีจะให้อภัยกัน เปิดใจรบั ฟงั ความคิดเหน็ จากน้นั ใหใ้ ชส้ ติพจิ ารณาระลกึ ถงึ ส่งิ ดีงาม
ที่ครอบครัวเคยร่วมกันทำมา หม่ันทบทวนความรู้สึกดีๆ เข้าหากัน เพ่ือเปิดโอกาสให้คนที่มีปัญหาใน
ครอบครวั ได้เข้าใจถึงความห่วงใย ในเจตนาของเราที่อยากจะร่วมเปน็ ส่วนหนึ่งของกันและกนั
173 พระอภิชัย อภิวฑฺฒโน. (2559). การประยุกต์ใช้หลักคารวธรรมเพื่อการเสริมสร้างครอบครัวสันติสุข.
อยธุ ยา : บทความวชิ าการ. Doi: 10.14456/jmcupeace.2016.11
168
คำถามทบทวนประจำบทที่ 6
6.1 แนวคดิ หลักการของการบัญญัติพระวินยั
6.2 วตั ถุประสงคข์ องการบญั ญัตพิ ระวนิ ัย
6.3 ประโยชน์การบัญญตั พิ ระวินัย
6.4 พระวนิ ัยกบั การนำไปใช้ประโยชนใ์ นชวี ิตประจำวัน
169
เอกสารอ้างองิ
1. ภาษาไทย
ก. พระไตรปฎิ ก
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิท ยาลัย.
กรงุ เทพมหานคร : โรงพิมพม์ หาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย. (2555). พระไตรปิฎกและอรรถกถาแปล ของมหามกุฏราชวิทยาลัย.
พิมพค์ รง้ั ที่ 6. นครปฐม : โรงพิมพม์ หามกุฏราชวิทยาลยั .
ข. หนังสอื ทั่วไป
ก่อ สวัสด์พิ าณิชย์. (2519). ความสมั พนั ธใ์ นครอบครัว. กรุงเทพมหานคร: ไทยวฒั นาพานิช.
โกศล วงศส์ วรรค์ และสถติ วงศส์ วรรค.์ (2543). ปญหาสงั คม. กรงุ เทพมหานคร: อมรการพิมพ.์
คณะกรรมการแผนกตำรา. (2525). พระธมั ปทฏั ฐกถา ภาค 1. กรงุ เทพมหานคร : มหามกุฏราชวทิ ยาลยั .
_____________________. (2525). พระธัมมปทฏั ฐกถา ภาค 3. กรุงเทพมหานคร : มหามกุฏราชวิทยาลัย.
งามพิศ สตั ย์สงวน. (2545). สถาบันครอบครัวของกลุ่มชาติพันธ์ุในกรุงเทพมหานคร : กรณีศึกษาครอบครัว
ไทยโซ่ง. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย.
ชนุ ประเสริฐ ฐศภุ มาตรา. (2505). ตรรกวิทยา. กรุงเทพมหานคร : เขษมบุคสโตร์.
บญุ มา จิตจรัส. (2533). มงคล 38 ประการ. กรงุ เทพมหานคร: โรงพิมพ์การศาสนา.
ป่นิ มุทกุ นั ต์. (2535). มงคลชวี ติ ภาค 3. กรงุ เทพมหานคร: โรงพิมพม์ หามกุฏราชวิทยาลัย.
พนม กิติวัง. (2543). พฤติกรรมการออมของครัวเรือนในเขตเทศบาลนครเชียงใหม่. วิทยานิพนธ์
เศรษฐศาสตรมหาบัณฑติ . มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม.่
พระธรรมปิฎก (ประยุทธ์ ปยุตฺโต). (2546). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม. พิมพ์คร้ังที่ 12.
กรุงเทพมหานคร : โรงพมิ พ์ธรรมบรรณาคาร.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต). (2551). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ฉบับประมวลธรรม.(พิมพ์คร้ังที่ 16).
กรุงเทพมหานคร: เอส. อาร.์ พรนิ้ ตง้ิ แมส โปรดักส์.
มหามกุฏราชวิทยาลัย. (2525). พระวนิ ัย มหาวัคค์ ปฐมภาคและอรรถกถา แปลภาค 1. กรงุ เทพมหานคร
: เฉลาญาการพิมพ์.
ยศพร ปัตนกุล. (2540). การศึกษาทัศนะในการเปนครอบครัวอุปถัมภ์ ศึกษาเฉพาะกรณีครอบครัวในเคหะ
ชมุ ชนรงั สติ หมู่ 2 ต.รังสิต อ.ธัญบุรี จ.ประทมุ ธานี. วทิ ยานพิ นธ์สงั คมสงเคราะห์ศาสตรมหาบัณฑิต
มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์.
สมเด็จพระพฒุ าจารย์ (อาจ อาสภมหาเถระ). (2551). คัมภรี ์วิสุทธิมรรค พระพทุ ธโฆสเถระ รจนา. กรงุ เทพ:
สำนกั พมิ พ์ธนาเพรส.
สวุ ทิ ย์ รุ่งวิสยั . (2526). ปญหาสงั คม. เชยี งใหม:่ ดวงตะวันการพมิ พ์.
แสง จันทรง์ าม, วศิน อินทสระ, อุทัย บุญยืน. (2553). พระไตรปิฎกสำหรับผู้บวชใหม่และชาวพุทธทัว่ ไป.
พมิ พ์ิครงั้ ท่สี 2. กรงุ เทพมหานคร : โรงพมิ พ์เจริญวทิ ย์การพิมพ.์
2. วารสาร
พระอภิชัย อภวิ ฑฺฒโน. (2559). การประยุกต์ใช้หลักคารวธรรมเพอื่ การเสริมสร้างครอบครัวสนั ติสุข. อยุธยา
: บทความวิชาการ. Doi: 10.14456/jmcupeace.2016.11
พิณจท์ อง แมนสุมติ รช์ ัย. (2558). การุณยสาร : หนทางสสู่ นั ติภาพ. วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์ มจร. 3(2),
162-175.
170
อำนาจ ยอดทอง. (2558). ศึกษาวิเคราะห์ความอยากในฐานะเป็นบ่อเกิดของความขัดแย้ง.วารสารสันติ
ศกึ ษาปริทรรศน์ มจร. 3(1), 1-22.
171
แผนบริหารการสอนประจำบทเรียน บทท่ี 7
1. ช่ือบท
การบญั ญตั พิ ระวนิ ัย บทบัญญัติหรือศลี ประเภทต่าง ๆ การปฏิบัติ
2. เนือ้ หาหวั ขอ้ หลกั
การบัญญัติพระวินัย บทบญั ญัติต่างๆ ประเภทของศีล วิธกี ารปฏิบัติของศีลประเภทต่างๆ ผลท่ีได้
จากการปฏิบตั ิตามศลี ประเภทตา่ งๆ
3. วัตถุประสงค์เชิงพฤตกิ รรม
3.1 อธบิ ายและวเิ คราะห์วิธีบญั ญตั ิพระวนิ ยั บทบญั ญตั ิตา่ งๆ ได้
3.2 อธิบายเปา้ หมายของประเภทของศีลได้
3.3 อธิบายและวเิ คราะห์วธิ ีการปฏบิ ตั ขิ องศลี ประเภทตา่ งๆ ได้
3.4 อธิบายและวิเคราะห์ผลทไ่ี ดจ้ ากการปฏิบตั ิตามศลี ประเภทต่างๆ ได้
4. กำหนดวิธแี ละกิจกรรม
4.1 ทำแบบประเมนิ ผลตนเองกอ่ นเรยี น
4.2 สอนแบบบรรยาย อภปิ ราย ซักถาม
4.3 มอบหมายงานเขียนผังมโนทศั น์ ทำ Concept Mapping
4.4 แบง่ กล่มุ ค้นคว้านำเสนอรายงานหนา้ ชน้ั
4.5 ทำแบบประเมนิ ผลตนเองหลงั เรยี น
5. ส่ือการเรยี นการสอน
5.1 หนงั สือ ตำรา วารสาร ผลงานทางวชิ าการ งานวจิ ัย
5.2 เอกสารประกอบการสอน
5.3 ใบงาน
5.4 พาวเวอรพ์ อยท์ (Power Point)
5.5 สือ่ อิเลก็ ทรอนิกส์
6. วธิ ีการวัดผลทางการเรยี นการสอน
6.1 แบบประเมินผลตนเองก่อนและหลังเรยี น
6.2 ทดสอบความรคู้ วามเขา้ ใจ ทำแบบ Pre-Test
6.3 การตอบคำถาม / การสมั ภาษณ์
6.4 การอภิปราย / ทำกิจกรรมกลุ่ม และการมสี ว่ นร่วม
6.5 ประเมนิ ผลจากการสอบประจำภาคการศกึ ษา
172
บทท่ี 7 การบัญญตั ิพระวนิ ยั บทบญั ญัติหรือศีลประเภทต่าง ๆ การปฏบิ ัติ
7.1 บทนำ
พระวินัย 227 ข้อ ของพระ เป็นกฎหมายหรือข้อห้ามของพระภิกษุสงฆ์เถรวาทตามพระวินัย
บัญญัติ จัดอยู่ในส่วนอาทิพรหมจาริยกาสิกขา พระวินัย 227 บทในพระปาฏิโมกข์ ท่ีพระพุทธเจ้าทรงวาง
ข้อกำหนดไม่พึงละเมิดไว้เพ่ือความเป็นระเบียบเรียบร้อยของคณะสงฆ์ และเพ่ือเป็นข้อปฏิบัติพื้นฐานอัน
เอ้ือเฟ้ือต่อการประพฤติพรหมจรรย์ของพระภิกษุสงฆ์ มีโทษในการลว่ งละเมิดร้ายแรงท่ีสุดถึงปาราชิก หรือ
ขาดจากความเป็นพระสงฆ์ พระวินยั 227 ไม่ใชศ่ ลี แต่เรยี กว่า พระวนิ ัย ผทู้ ำผิดศลี เรยี กวา่ ล่วงพระวนิ ัย เปน็
อาบัติ ระดับช้ันต่าง ๆ ตามความหนักเบา สามารถแบ่งระดับอาบัติออกได้เป็นลำดับขั้น ตั้งแต่ข้ันรุนแรง
จนกระท่ังเบาที่สุด ในอาบัตริ ะดับเบาจะต้องมกี ารเผยความผดิ อาบัติระดบั เบาเช่น ปาจิตตีย์ สามารถแก้ได้
โดยกล่าวแสดงความผิดของตนกับพระภิกษุรูปอ่ืนเพ่ือเป็นการแสดงถึงความสำนึกผิดและเพื่อจะต้ังใจ
ประพฤตติ นใหม่ หรือท่ีเรียกวา่ การแสดงอาบตั ิ, ปลงอาบัติ แต่ถ้าถงึ ข้ันปาราชิกย่อมขาดจากความเป็นพระ
และไมส่ ามารถบวชเป็นพระสงฆ์ไดอ้ ีก ซึ่งพระวินัย ไม่ใช่ศลี แตเ่ ปน็ เสมือนกฎหมายของพระภกิ ษุ แตห่ ากจะ
กล่าวถงึ ศลี พระนน้ั มเี พยี ง 43 ขอ้ คอื จุลศลี มัชฌิมศลี มหาศีล จงึ จะเปน็ ศีลพระทแี่ ทจ้ ริงตามพทุ ธบัญญตั ิ
อาบัติ แปลว่า การตกไป (จากความดี) การต้องโทษทางพระวินัย เพราะกระทำผิดต่อพระพุทธ
บัญญัติ หรืออภิสมาจาร (ธรรมเนียมประเพณี) ท่ีพระพุทธเจ้าบัญญัติห้ามมิให้ประพฤติ ผู้ฝ่าฝืนต้องมีโทษ
ตามกำหนดไวล้ ดหลนั่ กันไปตามโทษหรืออาบตั ิ
อาบัติ มี 7 อย่าง แบ่งเป็น 2 ประเภทคือ ครุกาบัติ หมายถงึ อาบัติหนัก อาบัติท่ีมโี ทษร้ายแรง มี 2
อยา่ งคือ อาบัตปิ าราชิก อาบัตสิ งั ฆาทิเสส ลหุกาบัติ หมายถงึ อาบัติเบา อาบัตทิ ีไ่ ม่มีโทษร้ายแรงเทา่ ครกุ าบัติ
มี 5 อย่าง คอื อาบัติถุลลจั จัย อาบัติปาจิตตีย์ อาบัติปาฏิเทสนียะ อาบัติทุกกฎ อาบัติทุพภาสิต การลงโทษ
ทางพระวินยั ไม่มีความยุ่งยาก ไม่ต้องสอบสวนหาผูก้ ระทำความผิด อาศยั สำนึกผดิ ชอบชั่วดีของพระภิกษุซึ่ง
พึงมีเป็นพื้นฐาน ยกเวน้ อาบัตปิ าราชกิ และอาบตั ิสังฆาทเิ สส
อาการทภ่ี กิ ษจุ ะกระทำอาบตั ิ มี 6 อยา่ ง คอื
กระทำโดยไม่ละอาย
กระทำโดยไมร่ วู้ า่ ส่งิ น้นั จะเป็นอาบัติ
กระทำโดยสงสยั แต่ยงั ขนื ทำ
กระทำโดยสำคัญว่าควร ในเรือ่ งท่ไี ม่ควร
กระทำโดยสำคญั วา่ ไม่ควร ในเร่ืองที่ควร
กระทำโดยลืมสติ
ภิกษุท่ีไม่ต้องอาบัติ แม้กระทำเรื่องน้ัน มี 5 พวก คือ ภิกษุผู้ไม่รู้ตัว หรือถูกบังคับ ภิกษุผู้เป็นบ้า
ภิกษผุ ูเ้ ป็นบา้ ชว่ั ขณะ หรือดว้ ยฤทธยิ์ า ภิกษุผ้เู จบ็ ทรมานหนกั จนไม่รู้ตัว ภกิ ษผุ ู้เปน็ ต้นบญั ญตั ิ
7.2 การบัญญตั ิพระวนิ ยั
พระธรรมกติ ติวงศ์ (ทองดี สรุ เตโช). (2548). กล่าววา่ 174 พทุ ธบญั ญตั ิ คอื บัญญัติของพระพุทธเจา้ ,
ขอ้ บัญญัติท่ีพระพทุ ธเจ้าทรงบญั ญัติไว้ ได้แก่ วนิ ัยของภิกษุและภกิ ษณุ ี
พุทธบัญญัติ หมายถึงกฎระเบียบ ข้อบังคับที่พระพุทธเจ้าตั้งไว้เป็นพุทธอาณาคือระเบียบการ
ปกครองภกิ ษแุ ละภิกษณุ ี ท่ีเรยี กโดยท่ัวไปวา่ พระวินยั
174 พระธรรมกิตติวงศ์ (ทองดี สุรเตโช). (2548). พจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ ชุด คำวัด.
กรุงเทพมหานคร : วดั ราชโอรสาราม.
173
พุทธบัญญัติ เกิดขึ้นจากการที่มีภิกษุหรือภิกษุณีประพฤติไม่ถูกต้องไม่เหมาะสม หรือประพฤติเสียหาย
ขึ้นจนชาวบา้ นพากนั ตำหนโิ พนทะนา ทรงรับทราบแลว้ จึงใหป้ ระชมุ สงฆ์ ไตส่ วนไดค้ วามจรงิ แลว้ จงึ ทรงบญั ญตั เิ ป็น
ข้อห้ามไว้ การบัญญตั พิ ระวนิ ัยของพระพทุ ธเจ้ามีลักษณะเช่นน้ที ั้งหมด
แสง จันทร์งาม, วศิน อินทสระ, อุทัย บุญยืน. (2553, หน้า 12-17). พระไตรปิฎกสำหรับผู้บวช
ใหมแ่ ละชาวพทุ ธทัว่ ไป. พมิ พค์ิ รั้งท่สี 2. กรงุ เทพมหานคร : โรงพมิ พเ์ จรญิ วทิ ยก์ ารพิมพ์.
การบัญญัติสิกขาบทของพระพุทธเจ้า การบัญญัติพระวินัยของพระพุทธเจ้ามีท่ีมาและมีข้ันตอน
ตามลำดับ ดังนี้ ในสมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคพระพุทธเจ้าประทับอยู่ ณ ควงไม้สะเดา เขตเมืองเวรัญชา
พร้อมพระภิกษุสงฆ์หมูใ่ หญ่ เวรัญชาพราหมณ์ได้เขา้ ไปพบพระผู้มีพระภาค หลังจากไดส้ นทนากันแล้วก็เกิด
ความเล่ือมใสแสดงตนเป็นอบุ าสก175
เหตใุ ห้พระศาสนาดำรงอยูไ่ มน่ านและอยู่ได้นาน ครง้ั น้นั พระสารีบตุ รไดไ้ ปในท่สี งัดหลีกเร้นอยู่ ได้
มีความปริวิตกแห่งจิตเกิดขึ้นว่า ศาสนาของพระผู้มีพระภาคทั้งหลาย พระองค์ไหนไม่ดำรงอยู่นานและ
พระองค์ไหนดำรงอยู่นาน จึงไดเ้ ข้าไปทูลถามพระผมู้ ีพระภาค
พระผู้มีพระภาคตรัสตอบว่า มีพระศาสนาของพระพุทธเจ้าอยู่สามพระองค์ท่ีไม่ดำรงอยู่นาน และ
อกี สามพระองคท์ ่ดี ำรงอยู่นาน
พระสารบี ุตรจึงทูลถามถึงสาเหตุปัจจัยท่ีเป็นเชน่ น้ัน พระผู้มีพระภาคจงึ ตรัสตอบว่า การที่ศาสนาที่
ไมด่ ำรงอย่ไู ด้นาน เพราะพระผมู้ พี ระภาคทงั้ สามพระองค์ ทรงทอ้ พระทัยทจี่ ะแสดงธรรมโดยพิสดารแก่สาวก
ทั้งหลาย อน่งึ สตุ ตะ เคยยะ เวยยากรณะ คาถา อทุ าน อติ วิ ตุ ตกะ ชาดก อัพภูตธรรม เวทัลละ ของ
พระผู้มีพระภาคทั้งสามมีน้อย สิกขาบทก็มิได้ทรงบัญญัติ ปาติโมกข์ก็มิได้แสดงแก่สาวก เพราะอันตราธาน
แห่งพระผมู้ ีพระภาคเหล่านั้น เพราะอันตรธานแห่งสาวกผู้ตรสั รู้ตาม สาวกชั้นหลังท่ีต่างชื่อกัน ต่างโคตรกัน
ต่างชาติกัน ออกบวชจากตระกูลต่างกัน จึงยังพระศาสนาน้ันให้อันตรธานโดยฉับพลัน เหมือนดอกไม้ต่าง
พรรณที่กองไว้ ยงั ไมไ่ ดร้ ้อยดว้ ยด้าย ลมย่อมกระจาย กำจัดดอกไม้เหล่าน้ันได้
การที่พระพุทธศาสนาดำรงอยู่ได้นาน เพราะพระผู้มีพระภาคท้ังสาม มิได้ทรงท้อพระทัย เพื่อจะทรง
แสดงพระธรรมโดยพิสดารแกส่ าวกทั้งหลาย อนึ่ง สุตตะ เคยยะ เวยยากรณะ คาถา อุทาน อิติวตุ ตกะ ชาดก
อัพภูตธรรม เวทัลละ ของพระผู้มีพระภาคทั้งสามพระองค์นั้นมีมาก สิกขาบทก็ทรงบัญญัติ ปาติโมกข์ก็ทรงแสดง
แก่สาวก เพราะอันตรธานพระผู้มีพระภาคเหล่านั้น เพราะอันตรธานแห่งสาวกผู้ตรัสรู้ตามเหล่าน้ัน สาวกช้ันหลัง
จึงดำรงพระศาสนา ไว้ได้ตลอดระยะกาลยืนนาน เหมือนดอกไม้ต่างพรรณท่ีกองไว้ ใช้ด้ายร้อยไว้ดีแล้ว ลมย่อม
กระจาย กำจัดดอกไมเ้ หล่านนั้ ไมไ่ ด้
พระสารบี ุตรปรารภให้ทรงบญั ญัติสิกขาบท
เม่ือพระสารีบตุ รได้สดับดงั น้ัน จึงกราบทลู พระผมู้ ีพระภาคว่า ถงึ เวลาแล้วท่ีจะทรงบญั ญตั สกิ ขาบท
ที่จะทรงแสดงปาตโิ มกขแ์ กส่ าวก อนั จะเป็นเหตุใหพ้ ระศาสนาน้ยี ั่งยนื ดำรงอย่ไู ด้นาน
พระผู้มีพระภาคตรสั ว่า ใหร้ อก่อน เพราะพระตถาคตแตผ่ ู้เดียวจักรู้กาลในกรณยี น์ ้ัน พระศาสดายัง
ไม่บัญญัติสิกขาบท ยังไม่แสดงปาติโมกขแ์ ก่สาวก ตลอดเวลาท่ีธรรมอันเป็นที่ต้ังแห่งอาสวะบางเหล่า ยังไม่
ปรากฎในสงฆ์ในศาสนาน้ี ต่อเม่ือใด อาสวัฏฐานิยธรรมบางเหล่า ปรากฏในสงฆ์ในศาสนาน้ี เม่ือนั้น พระ
ศาสดาจึงจะบัญญัติสิกขาบท แสดงปาติโมกข์แก่สาวก เพ่ือกำจัดอาสวัฏฐานิยธรรมเหล่าน้ัน ขณะน้ี
อาสวัฏฐานิยธรรมบางเหล่ายังไม่ปรากฏในสงฆ์ศาสนานี้ ตลอดเวลาท่ีสงฆ์ยังไม่ถึงความเป็นหมู่ใหญ่ โดย
ภิกษุผู้บวชนาน ยังไม่ถึงความเป็นหมู่ใหญ่โดยแพร่หลาย ยังไม่ถึงความเป็นหมู่ใหญ่เลิศโดยลาภ ต่อเม่ือใด
175 แสง จันทร์งาม, วศิน อินทสระ, อุทัย บุญยืน. (2553). พระไตรปิฎกสำหรับผู้บวชใหม่และชาวพุทธ
ทวั่ ไป. พิมพ์ิคร้ังท่สี 2. กรุงเทพมหานคร : โรงพมิ พ์เจริญวิทย์การพมิ พ.์ , หน้า 12-17.
174
สงฆ์ถงึ ความเป็นหมใู่ หญโ่ ดยภิกษุผ้บู วชนาน ถึงความเป็นหมู่ใหญ่โดยแพรห่ ลาย ถึงความเป็นอยู่ใหญ่เลศิ โดย
ลาภแลว้ และอาสวัฏฐานิยธรรมบางเหล่า ย่อมปรากฏในสงฆ์ในศาสนาน้ี เม่ือน้ัน พระศาสดาจงึ จะบัญญัติ
สกิ ขาบท แสดงปาตโิ มกขแ์ ก่สาวก เพ่ือกำจัดอาสวัฎฐานิยธรรมเหลา่ น้ัน
ก็ภิกษุสงฆ์นั้นไม่มีเสนียดไม่มีโทษ ปราศจากมัวหมอง บริสุทธ์ิผุดผ่อง ต้ังอยู่ในสารคุณ เพราะ
บรรดาภกิ ษุ 500 รปู นี้ ภิกษุทที่ รงคุณธรรมอย่างต่ำกเ็ ป็น โสดาบัน มคี วามไมต่ กตำ่ เป็นธรรมดา เป็นผู้เทยี่ ง
เป็นผู้ที่จะตรัสรใู้ นเบอื้ งหนา้
ปญั ญา ใชบ้ างยาง และคณะ (2548, หน้า 1-11)
ปฐมปาราชกิ สกิ ขาบท เร่อื งพระสุทินน์176
มีเศรษฐีบุตรผู้หน่ึงชื่อสุทินน์ เมื่อได้ออกบวชแล้วได้ไปเสพเมถุนธรรมกับภรรยาเก่าของตน ตามที่
พ่อแม่ขอร้อง เพ่ือให้มีบุตรไว้สืบสกุล เน่ืองจาก พระสุทินน์ไม่ยอมกลับมาเป็นคฤหัสถ์ตามที่พ่อแม่ขอร้อง
โดยอ้างวา่ ถ้าพระสุทินน์ไม่มที ายาทไว้ พวกเจ้าลิจฉวจี ะรบิ ทรัพยส์ มบัติของครอบครัวไป เน่ืองจากหาบตุ รผู้
สบื สกุลไม่ได้ พระสุทนิ น์เห็นวา่ การกระทำดังกล่าวไม่มีโทษ เพราะสิกขาบทยงั มิไดบ้ ัญญัติไว้ จงึ ได้เสพเมถุน
ธรรมกับภรรยาเกา่ ของตน จนนางตง้ั ครรภแ์ ละไดค้ ลอดบุตรมาชอ่ื วา่ พชี กะ
ต่อมาพระสุทนิ นไ์ ดเ้ กิดความรำคาญ ความเดือดร้อนว่า เราได้ชั่วแล้ว ไมไ่ ด้ดีแล้ว เพราะเราบวชใน
พระธรรมวินัยที่พระผู้มีพระภาคตรัสไวด้ ีอย่างนี้แล้ว ยังไม่สามารถประพฤติพรหมจรรย ์ ให้บริสุทธิได้ตลอด
ชีวิต เพราะความรำคาญน้ัน เพราะความเดือดร้อนนั้น ทำให้ท่านซูบผอม เศร้าหมอง ผิวพรรณคล้ำ มีผิว
เหลืองขึ้นๆ มเี นือ้ ตวั สะพรั่งด้วยเอ็น มีเรอ่ื งในใจ มใี จหดหู่ มที ุกขโ์ ทมนสั มีวปิ ฏสิ ารซบเซาแลว้
บรรดาภิกษุที่เป็นสหายของพระสุทินน์ เห็นอาการของพระสุทินน์เช่นน้ัน จึงถามว่า การที่เกิด
อาการดังกลา่ ว เปน็ เพราะทา่ นไม่ยินดีประพฤติพรหมจรรย์กระมัง
พระสุทินนจ์ ึงได้แถลงความจริงว่า มิใช่ตนจะไม่ยินดปี ระพฤตพิ รหมจรรย์ แตเ่ ป็นเพราะบาปกรรมที่
ทำไว้ คือได้เสพเมถนุ ในภรรยาเกา่ จงึ ได้มีความรำคาญความเดือดร้อนว่าเราไดช้ ั่วแลว้ เราไมไ่ ดด้ แี ล้ว เพราะ
เราบวชในพระธรรมวินัยท่ีพระผู้มีพระภาคตรัสไว้ดีอย่างน้ีแล้ว ยังไม่สามารถประพฤติพรหมจรรย์ ให้
บริบรู ณบ์ ริสุทธิ์ได้ตลอดชวี ติ
บรรดาภิกษุที่เป็นสหายจึงกล่าวว่า ธรรมอันพระผู้มีพระภาคทรงแสดงแล้วโดยเอนกปริยาย เพ่ือ
คลายความกำหนัด ไม่ใช่เพื่อมีความกำหนัด เพื่อความพรากไม่ใช่เพ่ือความประกอบ เพื่อความไม่ถือมั่น
ไม่ใช่เพ่ือมีความถือม่ัน มิใช่หรือ เพ่ือธรรมชื่อน้ัน อันพระผู้มีพระภาคทรงแสดงแล้ว เพ่ือคลายความ
กำหนัด คุณยังจะคิดเพื่อมีความกำหนัด เมื่อทรงแสดงเพื่อความพราก คุณยังจะคิดเพ่ือความประกอบ
เมือ่ ทรงแสดงเพ่ือความไมถ่ อื ม่ัน คุณยังจะคิดเพอ่ื มคี วามถือม่ัน
ธรรมอันพระผู้มีพระภาคทรงแสดงแล้วโดยเอนกปริยาย เพ่ือเป็นท่ีสำรอกแห่งราคะ เพ่ือเป็นท่ี
สร่างแห่งความเมา เพื่อเป็นท่ีดับสูญแห่งความระหาย เพ่ือเป็นท่ีหลุดถอนแห่งอาลัย เพื่อเป็นที่เข้าไปตัด
แห่งวัฏฏะ เพื่อเป็นที่ส้ินแห่งตัณหา เพ่ือคลายความกำหนัด เพื่อความดับทุกข์ เพ่ือนิพพาน การละกาม
การกำหนดรู้ความหมายในกาม การกำจัดความระหายในกาม การเพิกถอนความตรึกอันเกี่ยวด้วยกาม
การระงบั ความกลัดกลุม้ เพราะกาม พระผู้มพี ระภาคตรัสบอกไว้แล้ว โดยเอนกปริยาย
การกระทำของคณุ นั้น ไม่เป็นไปเพื่อความเล่อื มใสของชุมชนทย่ี ังไมเ่ ลื่อมใส หรือเพ่ือความเลอื่ มใส
ยิ่งของชุมชนที่เล่ือมใสแล้ว โดยที่แท้ การกระทำของคุณนั้น เป็นไปเพื่อความไม่เลื่อมใสของชุมชนที่ไม่
176 ปัญญา ใช้บางยาง และคณะ. (2548). พระวินัย 227 พุทธบัญญัติจากพระไตรปิฎก. พิมพ์ครั้งที่ 2.
กรงุ เทพมหานคร : โรงพิมพ์ธรรมสภา สถาบนั บนั ลอื ธรรม. , หน้า 1-11.
175
เล่ือมใส และเพื่อความเป็นอย่างอื่นของชุมชนที่เลื่อมใสแล้ว ภิกษุเหล่าน้ันติเตียน พระสุทินน์โดยเอนก
ปรยิ ายดงั นแ้ี ล้วไดก้ ราบทูลเนอ้ื ความนัน้ แด่พระผู้มพี ระภาค
พระผู้มีพระภาคทรงประชุมสงฆ์บัญญัติสิกขาบท ลำดบั นั้น พระผู้มีพระภาครับส่ังให้ประชุมภิกษุ
สงฆ์ ในพระเหตุเปน็ มูลเค้าน้ัน ในเพราะเหตแุ รกเกดิ นน้ั แล้วทรงสอบถามพระสุทินนว์ า่
ดกู รสทุ ินน์ ขา่ วว่าเธอเสพเมถุนธรรมในปรุ าณทตุ ยิ ิกาจรงิ หรอื
พระสทุ นิ น์ทูลรบั วา่ จรงิ พระพทุ ธเจา้ ข้า
พระผู้มีพระภาคทรงติเตียนว่า ดูกรโมฆบรุ ษุ การกระทำของเธอนั้น ไม่เหมาะ ไม่สม ไม่ควร ไม่ใช่
กิจของสมณะ ใช้ไม่ได้ ไม่ควรทำ เธอบวชในธรรมวินัยที่เรากล่าวไว้ดีอย่างนั้นแล้ว ไฉนจึงไม่ประพฤติ
พรหมจรรย์ ให้บริบูรณ์บรสิ ทุ ธิ์ไดต้ ลอดชวี ิตเล่า
ดูกรโมฆบุรุษ ธรรมอันเราแสดงแล้วโดยเอนกปริยาย เพ่ือคลายความกำหนัด ไม่ใช่เพื่อมีความกำหนัด
เพือ่ ความพราก ไม่ใช่เพอ่ื ความประกอบ เพือ่ ความไมถ่ ือมนั่ ไม่ใชเ่ พ่อื มคี วามถือมั่นมใิ ชห่ รือ เพ่ือธรรมชื่อน้ันอนั เรา
แสดงแล้ว เพอ่ื คลายความกำหนดั เธอยังจกั คดิ เพ่ือมีความกำหนดั เราแสดงเพื่อความพราก เธอยงั จกั คิดเพือ่ ความ
ประกอบ เราแสดงเพอ่ื ความไมถ่ อื ม่ัน เธอยังจกั คิดเพือ่ ความถอื มน่ั
ดกู รโมฆบุรุษ ธรรมอนั เราแสดงแล้วโดยเอนกปริยาย เพ่ือเป็นท่ีสำรอกแห่งราคะ เพ่ือเป็นท่ีสร่าง
แห่งความเมา เพื่อเป็นท่ีดับสูญแห่งความระหาย เพ่ือเป็นที่หลุดถอนแห่งอาลัย เพ่ือเป็นที่เข้าไปตัดแห่ง
วัฏฏะ เพื่อเป็นที่สิ้นแห่งตัณหา เพื่อเป็นท่ีสำรอกแห่งตัณหา เพ่ือเป็นท่ีดับแห่งตัณหา เพ่ือออกไปจาก
ตณั หาชือ่ วานะ มิใชห่ รือ
ดูกรโมฆบุรุษ การละกาม การกำหนดรู้ความหมายในกาม การกำจัดความระหายในกาม การเพิกถอน
ความตรึกอันเก่ียวด้วยกาม การระงบั ความกลดั กลุ้มเพราะกาม เราบอกไวแ้ ลว้ โดยเอนกปรยิ าย มใิ ช่หรือ
ดูกรโมฆบุรุษ องค์กำเนิดอันเธอสอดเข้าไปในปากอสรพิษท่ีมีพิษร้าย ยังดีกว่าอันองค์กำเนิดที่เธอสอด
เข้าในองค์กำเนิดของมาตุคามไม่ดีเลย องค์กำเนิดอันเธอสอดเข้าไปในปากงูเห่า อันเธอสอดเข้าไปในหลุมถ่าน
เพลงิ ทตี่ ดิ ไฟลุกโชน ยงั ดกี วา่ อันองค์กำเนิดทเ่ี ธอสอดเข้าในองค์กำเนิดมาตคุ าม ไม่ดีเลย
ข้อท่ีว่าดีน้นั เพราะเหตไุ ร
เพราะบคุ คลผสู้ อดองค์กำเนดิ เขา้ ไปในปากอสรพิษเปน็ ตน้ น้ัน พึงถึงความตายหรือความทุกข์เพยี ง
แค่ตาย ซึ่งมีการกระทำนั้นเป็นเหตุ และเพราะการกระทำนั้นเป็นปัจจัย เบ้ืองหน้าแต่แตกกายตายไป ไม่
พึงเข้าถึงอบาย ทุตติ วินิบาต นรก ส่วนบุคคลผู้ทำการสอดองค์กำเนิด เข้าในองค์กำเนิดมาตุคามน้ัน
เบื้องหนา้ แตแ่ ตกกายตายไป พึงเขา้ ถงึ อบาย ทคุ ติ วนิ ิบาต นรก ซึง่ มีการกระทำนี้เปน็ เหตุ
ดูกรโมฆบุรุษ เม่ือการกระทำนั้นมีโทษอยู่ เธอยังได้ช่ือว่าได้ต้องอสัทธรรม อันเป็นเรื่องของ
ชาวบ้าน เป็นมรรยาทของคนชั้นต่ำอันช่ัวหยาบ มีน้ำเป็นที่สุด มีในที่ลับ เป็นของคนคู่ อันคนคู่ร่วมกัน
เปน็ ไป เธอเป็นคนแรกที่กระทำอกศุ ลธรรม เป็นหวั หน้าของคนเปน็ อนั มาก การกระทำของเธอน้ัน ไม่เป็นไป
เพ่ือความเล่ือมใสของชุมชนทย่ี ังไม่เลอื่ มใส หรือเพือ่ ความเลือ่ มใสยง่ิ ของชมุ ชนทีเ่ ลื่อมใสแลว้ โดยที่แท้การ
กระทำของเธอนั้น เป็นไปเพอ่ื ความไมเ่ ลื่อมใสของชุมชนที่ยงั ไม่เลื่อมใส และเพื่อความเป็นอย่างอ่ืนของชน
บางพวกท่ีเลอ่ื มใสแล้ว
พระผู้มีพระภาคทรงติเตียนพระสุทินน์โดยเอนกปริยายดังน้ีแล้ว ตรัสโทษแห่งความเป็นคนเลี้ยง
ยาก ความเปน็ คนบำรงุ ยาก ความเปน็ คนมักมาก ความเปน็ คนไมส่ ันโดษ ความคลุกคลี ความเกยี จคร้าน
ตรัสคุณแห่งความเป็นคนเล้ียงง่าย ความเป็นคนบำรุงง่าย ความมักน้อย ความสันโดษ ความขัดเกลา
ความกำจัด อาการที่น่าเล่ือมใส การไม่สะสม ปรารภความเพียร โดยเอนกปริยาย ทรงกระทำธรรมกี ถา
ท่ีสมควรแกเ่ รื่องนน้ั ทีเ่ หมาะสมแก่เรอ่ื งน้ัน แกภ่ ิกษทุ ้ังหลายแลว้ รับสงั่ กับภกิ ษทุ งั้ หลายวา่
176
ดูกรภกิ ษุท้ังหลาย เพราะเหตนุ ้นั แล เราจกั บญั ญัติสิกขาบทแกภ่ ิกษุทง้ั หลาย อาศยั อำนาจประโยชน์
10 ประการ คือ เพื่อการรับว่าดีแห่งสงฆ์ 1 เพ่ือความสำราญแห่งสงฆ์ 1 เพ่ือข่มบุคคลผู้เก้อยาก 1 เพื่ออยู่
สำราญแห่งภิกษุผู้มีศีลเป็นที่รัก 1 เพื่อป้องกันอาสวะอันจักบังเกิดในปัจจุบัน 1 เพื่อกำจัดอาสวะอันจัก
บังเกิดในอนาคต 1 เพ่ือความเล่ือมใสยิ่งของชุมชนที่ยังไม่เล่ือมใส 1 เพื่อความเลื่อมใสยิ่งของชุมชนที่
เล่อื มใสแลว้ 1 เพอ่ื ความตัง้ ม่ันแหง่ พระสทั ธรรม 1 เพอ่ื ถอื ตามพระวนิ ยั 1
ดกู รภิกษุทั้งหลาย กแ็ ลพวกเธอพงึ ยกสกิ ขาบทนี้ข้นึ มาแสดงอยา่ งน้วี า่ ดงั น้ี
พระปฐมบัญญัติ ก็ภิกษุใดเสพเมถุนธรรม เป็นปาราชิก หาสังวาสมิได้ ก็สิกขาบทนี้ ย่อมเป็นอัน
พระผู้มีพระภาคทรงบัญญัติแล้ว แกภ่ ิกษุทัง้ หลาย ดว้ ยประการฉะนี้177 ปญั ญา ใช้บางยาง และคณะ (2548,
หน้า 27-42)
ทุติยปาราชกิ สกิ ขาบท เร่อื งพระธนิยกุมภาการบตุ ร
สมัยหน่ึง พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าประทับอยู่ ณ ภูเขาคิชฌกูฏ เขตพระนครราชคฤห์ พระธนิย
กุมภการบุตรได้ทำกุฏิมุงบังด้วยหญ้า แล้วอยู่จำพรรษา เม่ือล่วงไตรมาสแล้ว ก็ยังคงอยู่ ณ ที่น้ันตลอดฤดู
ฝน ฤดูหนาว และฤดูร้อน ขณะที่พระธนิยเข้าไปบ้านเพื่อบิณฑบาตร คนหาบหญ้า คนหาฟืนได้ร้ือกุฎีนั้น
แล้วขนหญ้าและใบไมไ้ ป พระธนิยะไดเ้ ทย่ี วหาหญา้ และไมม้ าทำกฎุ อี ีก ก็มีคนมาขนหญา้ และใบไม้ไปอีก
เหตุการณ์เช่นนี้เกิดข้ึนถึงสามคร้ัง พระธนิยะจึงทำกุฎีสำเร็จด้วยดิน แล้วเผาจนสุก กุฎีนั้นก็
งดงามน่าดนู า่ ชม มีสีแดงเหมือนแมลงคอ่ มทอง มีเสียงเหมือนเสียงกระดงึ
พระผู้มพี ระภาคทอดพระเนตรเห็นจงึ ทรงติเตียนว่า ไม่เหมาะ ไม่สม ไม่ควร ไม่ใช่กจิ ของสมณะ ใช้
ไมไ่ ด้ ไมค่ วรทำ แลว้ ทรงให้ภิกษุสงฆ์ทำลายกุฎนี น้ั เสีย และทรงบญั ญตั วิ า่
อันภกิ ษุไม่ควรทำกุฎีทส่ี ำเร็จดว้ ยดินลว้ น ภิกษุใดทำต้องอาบตั ิทุกกฎ
กาลต่อมา พระธนิยะ ได้ไปหาพนักงานรักษาไม้ท่ีชอบพอกัน แล้วแจ้งว่าจะขอไม้ไปทำกุฎีไม้
พนักงานรักษาไม้ตอบว่า ไม้ที่มีอยู่ มีแต่ไม้ของหลวงท่ีสงวนไว้สำหรับซ่อมแปลงพระนคร ซึ่งเก็บไว้ใช้ใน
คราวมีอันตราย ถ้าพระเจ้าแผ่นดินสั่ง พระธนิยะจึงบอกว่าไม้เหล่านั้น พระเจ้าแผ่นดินพระราชทานแล้ว
เจา้ พนกั งานรกั ษาไม้ไดฟ้ ังดงั นัน้ กเ็ ชอื่ จึงใหไ้ มแ้ กพ่ ระธนยิ ะไป
ต่อมาวัสสการพราหมณ์ มหาอำมาตย์ในมคธรัฐไปตรวจราชการในกรุงราชคฤห์ ได้ทราบว่า
พระธนิยะนำไม้ไป จึงไปทูลพระเจา้ พิมพิสาร พระเจ้าพิมพิสารสอบถามทราบเรื่องแล้วจึงถามพระธนิยะว่า
พระองค์ได้พระราชทานไม้แก่พระธนิยะเม่ือใด พระธนิยะถวายพระพรว่า เม่ือคร้ังพระองค์เสด็จขึ้น
ครองราชย์ใหม่ๆ ได้ทรงตรสั ว่า หญา้ ไมแ้ ละน้ำ ข้าพเจา้ ถวายแล้วแก่สมณะและพราหมณท์ ง้ั หลาย ขอสมณ
และพราหมณท์ ้ังหลายโปรดใช้สรอยเถดิ
พระเจ้าพมิ พิสารจึงตรัสว่า คำกล่าวน้นั หมายถงึ การนำหญา้ ไมแ้ ละน้ำในป่า ไมม่ ใี ครหวงแหน แต่
พระคุณเจ้านำไม้ที่เขาไม่ให้ไปด้วยเลศ ครั้งนี้พระคุณเจ้ารอดตัวเพราะบรรพชาเพศ แต่อย่าทำเช่นอีก
ประชาชนเพ่งโทษตเิ ตียนโพนทนา
คนทั้งหลายพากันเพ่งโทษว่า พระสมณะเช้ือสายพระศากยบุตรเหล่านี้ไม่ละอาย ทุศีล พูดเท็จ
พระสมณเหล่านี้ยังปฏิญาณว่าเป็นผู้ประพฤติธรรม ประพฤติสงบ ประพฤติพรหมจรรย์ กล่าวคำสัตย์ มี
ศีล มีกลั ยาณธรรม ติเตยี น ว่าความเป็นสมณะและพราหมณย์ อ่ มไม่มแี ก่พระสมณเหล่าน้ี ความเปน็ สมณะ
และพราหมณเ์ หล่านเ้ี สื่อมแล้ว และโพนทนาวา่ พระสมณะเหลา่ นีป้ ราศจากความเป็นสมณะและพราหมณ์
แลว้ แม้แตพ่ ระเจา้ แผ่นดนิ พระสมณะเหลา่ น้ียงั หลอกลวงได้ ไฉนจักไมห่ ลอกลวงคนอน่ื เลา่
177 เร่ืองเดียวกนั , หนา้ 27-42.
177
ภกิ ษุท้ังหลายได้ยนิ คนเหล่านั้นเพง่ โทษตเิ ตียนโพนทะนาอยู่ บรรดาท่เี ป็นผู้มักน้อยสนั โดษ มคี วาม
ละอาย มีความรังเกียจ ใคร่ต่อสิกขา ต่างก็เพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า พระธนิยะถึงเอาไม้ของหลวงที่
เขาไม่ให้ไป แลว้ กราบทูลเรือ่ งนั้นแตพ่ ระผมู้ ีพระภาค
ประชุมสงฆท์ รงบญั ญัติสิกขาบท ลำดบั นนั้ พระผู้มพี ระภาครบั ส่งั ใหป้ ระชุมภกิ ษุสงฆ์ ในเพราะเหตุ
เป็นเคา้ มูลนั้น ในเพราะเหตุแรกเกดิ นน้ั แล้วทรงสอบถามพระธนิยะว่า เธอได้ถือเอาไมข้ องหลวง
ทเี่ ขาไมไ่ ดใ้ หไ้ ป จริงหรือ
พระธนยิ ะทูลรับว่าจริง พระพทุ ธเจา้ ขา้
พระผูม้ ีพระภาคทรงติเตียนว่า ดูกรโมฆบุรษุ การกระทำของเธอน้ัน ไม่เหมาะ ไม่สม ไม่ควร มิใช่
กิจของสมณะ ใช้ไม่ได้ ไม่ควรทำ การกระทำของเธอน้ัน ไม่เป็นไปเพ่ือความเลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่
เล่ือมใส หรอื เพ่ือความเล่ือมใสย่ิงของผู้ที่เล่อื มใสแลว้ โดยท่ีแท้ การกระทำของเธอนน้ั เป็นไปเพื่อความไม่
เลอื่ มใสของชุมชนทีย่ งั ไมเ่ ล่ือมใส และเพอ่ื ความเปน็ อย่างอืน่ ของชนบางพวกที่เล่อื มใสแลว้
สมัยน้ัน มหาอำมาตย์ ผู้พิพากษาเก่าคนหนึ่ง บวชในหมู่ภิกษุ พระองค์จงึ ได้ตรัสถามภกิ ษุรูปน้ัน
ว่า พระเจ้าพิมพิสาร จับโจรได้แล้วประหารชีวิตเสียบ้าง จองจำไว้บ้าง เนรเทศเสียบ้าง เพราะทรัพย์
ประมาณเทา่ ไร
ภิกษุรูปนั้นกราบทูลว่า เพราะทรัพย์บาทหน่ึงบ้าง เพราะของควรคา่ บาทหน่ึงบ้าง เกินบาทหนึ่ง
บ้าง พระพุทธเจา้ ขา้ แทจ้ รงิ สมัยน้ัน ทรัพย์ 5 มาสกในกรุงราชคฤห์ เปน็ หน่ึงบาท
ครน้ั พระผู้มพี ระภาคทรงตเิ ตียนพระธนิยะ โดยเอนกปรยิ ายแล้ว จงึ ตรสั โทษแห่งความเป็นคนเล้ยี ง
ยาก มักมาก ไม่สันโดษ ความคลุกคลี ความเกียจคร้านตรัสคุณแห่งความเป็นคนเล้ียงง่าย บำรุงง่าย
ความมกั น้อย ความสนั โดษ ความขัดเกลา ความกำจัด อาการท่ีน่าเลอ่ื มใส การไม่สะสม ปรารภความเพียร
โดยเอนกปริยาย แล้วทรงกระทำธรรมีกถาท่ีสมควรแก่เรื่องน้ัน ที่เหมาะสมแก่เร่ืองนั้น แก่ภิกษุทั้งหลาย
แลว้ รบั ส่ังกับภิกษุท้งั หลายว่า ดูกรภิกษทุ ง้ั หลาย กแ็ ลพวกเธอพงึ ยกสกิ ขาบทนี้ ขน้ึ แสดงอยา่ งนว้ี ่าดงั น้ี
พระปฐมบญั ญัติ
อน่ึง ภิกษุใด ถือเอาทรัพย์อันเจ้าของไม่ได้ให้ ด้วยส่วนแห่งความเป็นขโมย พระราชาท้ังหลายจับ
โจรได้แล้ว พึงประหารเสียบ้าง จองจำบ้าง เนรเทศเสียบ้าง ด้วยบริภาษว่าเจ้าเป็นโจร เจ้าเป็นคนพาล
เจ้าเป็นคนหลง เจ้าเป็นขโมย ในเพราะถือเอาทรัพย์อันเจ้าของไม่ได้ให้เห็นปานใด ภิกษุถือเอาทรัพย์อัน
เจ้าของไมไ่ ด้ให้เหน็ ปานนั้น แมภ้ ิกษุนี้กเ็ ป็นปาราชกิ หาสังวาสมิได้
ก็สิกขาบทน้ี ย่อมเป็นอันพระผู้มีพระภาคทรงบัญญัติแล้ว แก่ภิกษุทั้งหลาย ด้วยประการ ฉะนี้
ปญั ญา ใชบ้ างยาง และคณะ (2548, หน้า 43-56)
ตติยปาราชกิ สกิ ขาบท เรือ่ งภิกษุหลายรูป
สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าประทับอยู่ ณ กูฎาคารศาลา ป่ามหาวัน เขตพระนครเวสาลี
ครั้งน้ัน พระองคท์ รงแสดงอสุภกถา ทรงพรรณาคุณอสุภสมาบตั ิเนื่องๆ โดย เอนกปริยายแก่ภกิ ษุทง้ั หลาย
แล้วรับสั่งกับภิกษุท้ังหลายว่า เราปรารถนาจะหลีกออกเร้นอยู่ตลอดก่ึงเดือน ใครๆ อย่าเข้าไปหาเรา
นอกจากพระภิกษผุ ู้นำบิณฑบาตเขา้ ไปให้รปู เดียว
ระหว่างนั้น ภิกษุเหล่านั้นสนทนากันว่า พระผู้มีพระภาคทรงแสดงอสุภกถา. ทรงพรรณาคุณแห่ง
อสุภสมาบัติเนืองๆ โดยเอนกปริยายดังน้ี แล้วพากันประกอบด้วยความเพียรในการเจริญอสุภกัมมัฎฐาน
หลายอย่าง หลายกระบวนอยู่ ภิกษุเหล่านั้นอึดอัด ระอา เกลียดชังร่างกายของตน ฉะนั้นจึงปลงชีวิต
ตนเองบา้ ง วานกนั และกนั ให้ปลงชีวิตบ้าง บางเหล่ากเ็ ข้าไปหามิคลัณฑิกสมณกตุ ตก์ ข็ อใหช้ ว่ ยปลงชวี ติ ของ
พวกตน โดยใหบ้ าตรจีวรเป็นเครื่องตอบแทน ครัง้ นั้นได้มีภกิ ษถุ ูกปลงชีวติ ไปเปน็ จำนวนมาก
รับสงั่ ให้เผดียงสงฆ์
178
คร้ังล่วงก่ึงเดือน พระผู้มีพระภาคเสด็จออกจากที่ประทับซ่อนเร้น แล้วรับสั่งถามพระอานนท์ว่า
เหตไุ ฉนภิกษุสงฆจ์ งึ ดเู หมือนนอ้ ยไป
พระอานนท์กราบทูลว่า เปน็ เพราะพระองคท์ รงแสดงอสุภกถา. ทรงพรรณาถึงอสุภสมาบัติเนืองๆ
โดยเอนกปริยายแก่ภิกษุท้ังหลาย ภิกษุเหล่านั้นจึงพากันประกอบความเพียรในการเจริญอสุภกัมมัฏฐาน
เธอเหล่านั้น อดึ อัด ระอา เกลียดชังร่างกายของตน จึงปลงชวี ิตตนเองบ้าง วานกันและกันให้ปลงชีวิตบ้าง
ขา้ พระพุทธเจา้ ขอประทานพระวโรกาส ภิกษสุ งฆ์นจี้ ะพงึ ดำรงอยู่ในพระอรหัตผลด้วยปรยิ ายใด ขอพระผมู้ ี
พระภาคจงตรสั บอกปรยิ ายอน่ื น้ันเถดิ
พระผู้มีพระภาคตรัสว่า ถ้าเช่นน้ันเธอจงเผดียงภิกษุท่ีอาศัยพระนครเวสาลีอยู่ท้ังหมด ให้ประชุม
กนั ที่ อปุ ฏั ฐานศาลา
พระอานนท์จึงเผดียงภิกษุสงฆ์ที่อาศัยพระนครเวสาลีอยู่ทั้งสิ้น ให้ประชุมที่อุปัฏฐานศาลา แล้ว
เข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาค กราบทูลว่าภิกษุสงฆ์พร้อมกันแล้ว ขอพระองค์ทรงทราบกาลอันควรเถิด
ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคประทับนั่งเหนือพุทธอาสน์ แล้วรับส่ังกับภิกษุทั้งหลายว่า ดูกร ภิกษุ
ทั้งหลาย แม้สมาธใิ นอานาปานสตินแ้ี ล อนั ภิกษอุ บรมทำให้มากแลว้ ย่อมเปน็ คุณสงบ ประณตี เยือกเย็น
อย่เู ป็นสุข และยงั บาปอกุศลธรรมที่เกดิ ขึน้ แล้ว ให้อนั ตรธานสงบไปโดยฉับพลนั ดจุ ละอองและฝุน่ ทฟ่ี ุ้งข้ึน
ในเดือนท้ายฤดูร้อน ฝนใหญ่ท่ีตกในสมัยมิใช่ฤดูกาล ย่อมยังละอองและฝุ่นน้ันๆ ให้อันตรธานสงบไปได้
โดยฉับพลัน ฉะนน้ั
ดกู รภกิ ษุทง้ั หลาย ภิกษุในธรรมวนิ ยั น้ี อยู่ในป่ากต็ าม อยู่ ณโคนไมก้ ต็ าม อยู่ในสถานทีส่ งัดกต็ าม
นั่งคู้บัลลงั ก์ต้งั กายตรงดำรงสติ บา่ ยหน้าสู่กรรมฐาน ภกิ ษุนน้ั ย่อมมีสติหายใจเข้า มีสติหายใจออก
ดูกรภิกษุท้ังหลาย อาณาปานสติสมาธิ อันภิกษุอบรมแล้วอย่างนี้ ทำให้มากแล้วอย่างน้ี จึงเป็น
คุณสงบ ประณีต เยือกเย็น อยู่เป็นสุข และยังบาปอกุศลธรรมที่เกิดข้ึนแล้วๆ ให้อันตรธานสงบไปได้โดย
ฉบั พลัน
ทรงประชมุ สงฆบ์ ัญญัตสิ กิ ขาบท ลำดับน้ัน พระผมู้ ีพระภาค รับสัง่ ให้ประชุมสงฆ์ในเพราะเหตุเปน็
เคา้ มลู นน้ั ในเพราะเหตุแรกเกดิ นัน้ แล้วทรงสอบถามภกิ ษุท้ังหลายว่า ข่าววา่ พวกภิกษุปลงชวี ิตตนเองบา้ ง
วานกันและกันใหป้ ลงชวี ิตบ้าง จรงิ หรือ
ภิกษุทัง้ หลายกราบทูลว่าจริง พระพทุ ธเจา้ ข้า
พระผู้มีพระภาคทรงติเตียนว่า การกระทำของภิกษุเหล่านั้น ไม่เหมาะ ไม่สม ไม่ควร ไม่ใช่กิจ
ของสมณะ ใช้ไม่ได้ ไม่ควรทำ การกระทำของภิกษุเหล่านั้นไม่เป็นไปเพ่ือความเลื่อมใสของชุมชนท่ียังไม่
เลอ่ื มใส.
ครั้นพระผู้มีพระภาคทรงติเตียนภิกษุเหล่าน้ันโดยเอนกปริยายแล้ว จึงทรงติโทษแห่งความเป็นผู้
เล้ียงยาก.. ทรงสรรเสรญิ คุณแหง่ ความเปน็ คนเล้ียงง่าย โดยเอนกปรยิ าย แลว้ ทรงแสดงธรรมีกถาทสี่ มควรแก่
เร่อื งน้นั ทีเ่ หมาะสมแกเ่ รอื่ งน้นั แลว้ รับสั่งกบั ภกิ ษุท้งั หลายวา่
ดูกรภิกษุทั้งหลาย เพราะเหตุน้ันแล เราจักบัญญัติสิกขาบทแก่ภิกษุทั้งหลาย อาศัยอำนาจ
ประโยชน์ 10 ประการ..
ดกู รภิกษทุ ้ังหลาย พวกเธอพง่ึ ยกสกิ ขาบทนข้ี ้นึ แสดงวา่ ดังน้ี
พระปฐมบัญญัติ อนึ่ง ภิกษุใดจงใจพรากกายมนุษย์จากชีวิต หรือแสวงหาศัตราอันจะปลิดชีวิต
ให้แกม่ นษุ ยน์ ั้น แมภ้ กิ ษุนีก้ ็เป็นปาราชิก หาสงั วาสมไิ ด้
ปญั ญา ใชบ้ างยาง และคณะ (2548, หนา้ 57-62)
จตตุ ถปาราชิกสิกขาบท เรอ่ื งภกิ ษพุ วกฝ่ังแมน่ ้ำวคั คุมุทา
179
สมัยหนึง่ พระผมู้ พี ระภาคพทุ ธเจ้าประทบั อยู่ ณ กฎู าคารศาลา ป่ามหาวัน เขตพระนครเวสาลี คร้ัง
นัน้ ภกิ ษุมากรูปดว้ ยกัน จำพรรษาอยู่ใกล้ฝ่งั แม่น้ำวัคคุมทุ า สมัยนนั้ วัชชีชนบท อตั คดั อาหาร ภิกษุสงฆ์จะยัง
อัตภาพใหเ้ ปน็ ไป ดว้ ยการถือบาตรแสวงหา ก็ทำไมไ่ ด้งา่ ย ภิกษเุ หล่านัน้ จงึ คดิ กนั ว่า พวกเรายังเป็นผ้พู รอ้ ม
เพรียงกนั ร่วมใจกันไม่ววิ าทกัน อยู่จำพรรษาเป็นผาสุก และจะตอ้ งไม่ต้องลำบากด้วยบิณฑบาต ด้วยอุบาย
อย่างไรหนอ
ภิกษุบางพวกเสนอว่า พวกเราจงช่วยกันอำนวยกิจการอันเป็นหน้าท่ีของพวกคฤหัสถ์ บางพวก
เสนอว่า พวกเราจงช่วยกนั นำขา่ วสาสน์อันเป็นหน้าที่ทูตของพวกคฤหัสถ์ บางพวกเสนอว่าพวกเราจักกล่าว
ชมอุตตริมนุสสธรรมของกันและกันแก่พวกคฤหัสถ์ว่า ภิกษุรูปโน้นได้ปฐมฌาน ได้ทุติยฌาณ ได้ตติยฌาณ
ได้จตุตถฌาน รูปโน้นเป็นพระโสดาบัน เป็นพระสกิทาคามี เป็นพระอรหันต์ รูปโน้นได้วิชชา 3 รูปโน้นได้
อภิญญา 6 ดังน้ี
ภกิ ษุเหล่าน้ันมีความเห็นรว่ มกันว่า การกล่าวชมอุตตริมนุสสธรรมของกันและกันแก่พวกคฤหัสถ์นี้
ประเสรฐิ สุด แล้วก็พากนั กล่าวชมอตุ ตรมิ นุสสธรรมของกนั และกันแก่พวกคฤหัสถ์
ครนั้ ตอ่ มาประชาชนเหลา่ น้ันพากนั ยินดวี า่ เป็นลาภของพวกเรา พวกเราได้ดแี ล้ว ท่ีมีภิกษุท้งั หลาย
ผู้มีคุณพิเศษเห็นปานนี้อยู่จำพรรษา เพราะก่อนนี้ ภิกษุทั้งหลายที่อยู่จำพรรษาของพวกเรา จะมีคุณสมบัติ
เหมือนภิกษุผู้มีศีลมีกัลยาณธรรมเหล่านี้ไม่มีเลย โภชนะชนิดที่พวกเขาจะถวายแก่ภิกษุเหล่าน้ัน พวกเขาไม่
บริโภคด้วยตน ไม่ให้บิดามารดา บุตร ภรรยา คนรับใช้ กรรมกร มิตร อำมาตย์ ญาติสาโลหิต จึงภิกษุ
เหลา่ นัน้ เป็นผู้มีน้ำนวล มอี นิ ทรีย์ผ่องใส มสี หี น้าสดช่นื มผี วิ พรรณผุดผอ่ ง
การทภ่ี ิกษุทัง้ หลายออกพรรษาแล้วเขา้ เย่ยี มพระภาคน้นั เป็นประเพณี
คร้ันภิกษุเหล่าน้ันจำพรรษาโดยล่วงไตรมาสแล้ว เก็บเสนาสนะถือบาตรจีวรหลีกไปโดยมรรคาอัน
จะไปสู่พระนครเวสาลี เท่ียวจารกิ โดยลำดับ ถึงพระนครเวสาลี ปา่ มหาวัน กูฏาคารศาลา แล้วเขา้ เฝา้ พระผู้มี
พระภาค ถวายบงั คมน่ังเฝา้ อยู่ ณ ท่คี วรส่วนข้างหนงึ่ ภกิ ษุตา่ งทิศมาเฝ้า
สมัยนั้น พวกภิกษุผู้จำพรรษาอยู่ในทิศท้ังหลาย เป็นผู้ผอม ซูบซีด มีผิวพรรณหมอง เหลืองขนึ้ ๆ มี
เนื้อตัวสะพรั่งด้วยเอ็น ส่วนภิกษุพวกฝ่ังแม่น้ำวัคคุมุทาเป็นผู้มีน้ำนวล มีอินทรีย์ผ่องใส มีสีหน้าสดชื่น มี
ผวิ พรรณผดุ ผ่อง
การที่พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าท้ังหลายทรงปราศรัยกับพระอาคันตุกะท้ังหลาย น่ันเป็นพุทธ
ประเพณี
คร้ังนั้นพระผู้มีพระภาคตรัสถามภิกษุพวกฝั่งวัคคุมุทาว่า ร่างกายของพวกเธอยังพอทนได้หรือ ยัง
พอให้เป็นไปได้หรือ พวกเธอเป็นผู้พร้อมเพรียงกัน ร่วมใจกัน ไม่วิวาทกัน อยู่จำพรรษาเป็นผาสุก และไม่
ลำบากดว้ ยบิณฑบาตหรอื
ภิกษุเหล่านั้นกราบทูลว่า ยังพอทนได้ ยังพอให้เห็นเป็นไปได้ พระพุทธเจ้าข้า อนึ่ง พวก
ข้าพระพุทธเจ้าเป็นผู้พร้อมเพรียงกัน ร่วมใจกันไม่วิวาทกัน อยู่จำพรรษาเป็นผาสุกและไม่ลำบากด้วย
บิณฑบาตพระพุทธเจ้าข้า
พทุ ธประเพณี
พระตถาคตท้ังหลายทรงทราบอยู่ ยอ่ มตรัสถามก็มี ทรงทราบอยู่ ยอ่ มไมต่ รสั ถามก็มี ทรงทราบกาล
แล้วตรัสถาม ทรงทราบกาลแล้วไม่ตรัสถาม พระตถาคตทั้งหลายย่อมถามส่ิงที่ประกอบด้วยประโยชน์ ไม่
ตรัสถามสิ่งท่ีไม่ประกอบด้วยประโยชน์ พระองคก์ ำจัดด้วยข้อปฏบิ ัติ พระผมู้ ีพระภาคพุทธเจ้าท้ังหลาย ยอ่ ม
ทรงสอบถามภิกษุทัง้ หลาย ดว้ ยอาการ 2 อย่าง คอื จักแสดงธรรมอย่างหน่ึง จักทรงบัญญัติสิกขาบทแก่พระ
สาวกอยา่ งหน่ึง
180
ครง้ั น้ัน พระผู้มีพระภาคตรัสถามภิกษุพวกฝ่ังวัคคุมุทาว่า ดูกร ภิกษุทั้งหลาย พวกเธอเป็นผู้พร้อม
เพรยี งกนั ร่วมใจกัน ไมว่ วิ าทกัน อยูจ่ ำพรรษาผาสกุ และไม่ลำบากด้วยวิธกี ารอยา่ งไร
ภกิ ษุเหลา่ นน้ั ไดก้ ราบทลู เนื้อความน้นั ใหท้ รงทราบ
พระผู้มีพระภาคตรัสถามว่า คณุ วเิ ศษของพวกเธอน้นั มีจรงิ หรือ
พวกภิกษเุ หล่านน้ั กราบทลู วา่ ไมม่ จี ริงพระพทุ ธเจ้าข้า
ทรงติเตยี น
พระผู้มีพระภาคพระพทุ ธเจ้าทรงติเตียนวา่ ดูกรโมฆบุรษุ ทั้งหลาย การกระทำของเธอน้ัน ไม่เหมาะ
ไม่สม ไม่ควร ไมใ่ ช่กิจของสมณะ ใช้ไม่ได้ ไม่ควรทำ ไฉนพวกเธอจงึ ไดก้ ล่าวชม อุตตรมิ นุสสธรรมของกันและ
กันแก่พวกคฤหัสถ์เพราะเหตุแห่งท้องเล่า ดูกรโมฆบุรุษทั้งหลาย ท้องอันพวกเธอคว้านแล้วด้วยมีดเชือดโค
อันคม ยังดีกว่าท่ีพวกเธอกล่าวชมอุตตริมนุสสธรรมของกันและกันแก่พวกคฤหัสถ์ เพราะเหตุแห่งท้อง ไม่ดี
เลย ข้อท่ีว่าดีกว่าน้ันเพราะเหตุไร เพราะบุคคลผู้คว้านท้องด้วยมีดเชือดโคอันคมน้ัน พึงถึงความตายหรือ
ความทุกข์เพียงแค่ตาย ซึ่งมีการกระทำน้ันเป็นเหตุ และเพราะการกระทำน้ันเป็นปัจจัย เบื้องหน้าแต่แตก
กายตายไป ไม่พงึ เขา้ ถงึ ทคุ ติ วนิ บิ าต นรก ซ่งึ มีการกระทำนี้แลเปน็ เหตุ
ดูกรโมฆบุรุษท้ังหลาย การกระทำของพวกเธอน้ัน ไม่เป็นไปเพ่ือความเล่ือมใสของชุมชนที่ยังไม่
เล่ือมใส.....ครั้นแล้วทรงกระทำมีกถารบั สงั่ กบั ภิกษุทงั้ หลาย ดงั น้ี
มหาโจร 5 จำพวก
ดูกรภกิ ษทุ ั้งหลาย มหาโจร 5 จำพวกนม้ี ีปรากฎอยใู่ นโลก มหาโจร 5 จำพวกเป็นไฉน
มหาโจรบางคนในโลกนี้ยอ่ มปรารถนาว่า เม่ือไรหนอเราจักมีบุรุษร้อยหน่ึง พันหนึ่ง แวดล้อม แล้ว
ท่องเที่ยวไปในคามนคิ มและราชธานี ทำการเบียดเบียน ตัด เผาผลาญ ต่อมาเขาได้บรรลุความปรารถนาน้ัน
ดูกรภิกษทุ ั้งหลาย ภิกษุเลวทรามบางรปู ในธรรมวินัยน้ี ก็ฉันน้ันเหมือนกัน ยอ่ มปรารถนาว่า เมื่อไรหนอ เรา
จงึ จักมีภิกษุรอ้ ยหนึ่ง พันหนึ่งแวดล้อม แล้วเท่ียวจาริกไปในตามนิคมและราชธานี อันคฤหัสถ์และบรรพชิต
สักการะ เคารพ นับถือ บูชา ยำเกรงได้จีวร บิณฑบาต เสนาสนะ และศิลานปัจจัยเภสัชบริขารทั้งหลายน้ี
เป็นมหาโจร จำพวกท่ี 1 มีปรากฎอยู่ในโลก
อีกข้อหน่ึง ภิกษุผู้เลวทรามบางรูปในธรรมวินัยน้ี เล่าเรียนธรรมวินัยอันตถาคตประกาศแล้ว ย่อม
ยกตนขน้ึ น้เี ป็นมหาโจรจำพวกท่ี 2 มีปรากฏตวั อย่ใู นโลก
อีกข้อหนึ่ง ภิกษุผู้เลวทรามบางรูปในธรรมวินัยนี้ ย่อมตามกำจัดเพื่อนพรหมจารีผู้หมดจด ผู้
ประพฤติธรรมอนั บริสทุ ธิ์อยู่ ด้วยธรรมอันเปน็ ขา้ ศึกแกพ่ รหมจรรย์อันหามลู มิได้ นเ้ี ปน็ มหาโจรจำพวกที่ 3 ท่ี
ปรากฏอยูใ่ นโลก
อีกข้อหนึ่ง ภิกษุเลวทรามบางรูปในธรรมวินัยน้ี ย่อมสงเคราะห์เกล้ียกล่อมคฤหัสถ์ท้ังหลายด้วย
ครภุ ณั ฑ์ ครุบรขิ ารของสงฆ์ นี้เปน็ มหาโจรพวกท่ี 4 ปรากฏอยใู่ นโลก
ดูกรภกิ ษุทัง้ หลาย ภกิ ษุผู้กล่าวอวดอุตริมนุสสธรรมอันไมม่ ีอยู่ อันไม่เป็นจรงิ นจี้ ัดเป็นยอดมหาโจร
ในโลก พร้อมท้ังเทวโลก มารโลก พรหมโลก ในหมสู่ ัตว์พร้อมทั้งสมณะพราหมณ์ เทวดา และมนุษย์ ขอ้ น้ัน
เพราะเหตุไร เพราะภิกษนุ น้ั ฉนั กอ้ นขา้ วของชาวแวน่ แคว้นด้วยอาการแหง่ คนขโมย
ทรงบญั ญัติปฐมบญั ญตั ิ
ครั้นพระผู้มีพระภาคทรงติเตียนภิกษุพวกฝงั่ วัดคุมทุ าโดยเอนกปริยาย แลว้ ตรสั โทษแห่งความเป็น
คนเล้ียงยาก ตรสั คุณแห่งความเป็นคนเลี้ยงง่าย โดยเอนกปริยาย ทรงกระทำธรรมีกถา ท่สี มควรแก่เรื่องนั้น
ท่เี หมาะสมแก่เร่อื งนนั้ แก่ภกิ ษทุ ้ังหลาย แลว้ รับสัง่ กบั ภกิ ษทุ ง้ั หลายว่า
ดูกรภิกษุท้ังหลาย เพราะเหตุนั้น เราจักบัญญัติสิกขาบทแก่ภิกษุท้ังหลาย อาศัยอำนาจประโยชน์
10 ประการ คอื เพอ่ื ความรบั ว่าดีแห่งสงฆ์ 1 เพ่อื ความตั้งม่นั แห่งสัจธรรม 1 เพอื่ ถือตามพระวินยั 1
181
ดูกรภกิ ษุท้งั หลาย พวกเธอพึ่งยกสิกขาบทนีข้ ึ้นแสดง ดังน้ี
พระปฐมบญั ญัติ
อน่ึง ภิกษุใดไม่รู้เฉพาะกล่าวอวดอุตริมนุสสธรรม อันเป็นความรู้ ความเห็นอย่างประเสริฐอย่าง
สามารถ น้อมเข้ามาในกายตนว่า ข้าพเจ้ารู้อย่างนี้ ข้าพเจ้าเห็นอย่างนี้ คร้ันสมัยอื่นแต่น้ัน อันผู้หนึ่งผู้ใด
ถอื เอาก็ตาม ไม่ถอื เอาก็ตาม เป็นอนั ต้องอาบัติแล้ว มุ่งความหมดจด จะพงึ กล่าวว่า ขา้ พเจ้าไมรอู้ ยา่ งนนั้ ได้
กลา่ วว่ารู้ ไมเ่ หน็ อยา่ งนัน้ ได้กลา่ วว่าเห็น ได้พูดพล่อยๆ เป็นเท็จเปล่าๆ เว้นไวแ้ ตส่ ำคัญว่าไดบ้ รรลุ แมภ้ กิ ษุ
นีก้ ็เปน็ ปาราชิกหา สงั วาสมิได้
สิกขาบทแห่งน้ี ยอ่ มเปน็ อันพระผ้มู พี ระภาคทรงบญั ญตั ิแลว้ แก่ภิกษุท้งั หลาย
เร่อื งภกิ ษสุ ำคัญวา่ ไดบ้ รรลุ
สมัยนัน้ ภิกษเุ ปน็ อนั มากสำคญั มรรคผลอันตนยังมิไดเ้ ห็นวา่ เหน็ ยังไมไ่ ด้บรรลุ ยังไมไ่ ด้ทำใหแ้ จ้งว่า
ได้ทำให้แจ้ง จึงอวดอ้างมรรคผลตามที่สำคัญได้ว่าบรรลุ คร้ันต่อมา จิตของเธอน้อมไปเพื่อความกำหนัดก็มี
เพื่อความขัดเคอื งก็มี เพอื่ ความหลงกม็ ี จึงรังเกยี จวา่ พวกเราต้องอาบตั ปิ าราชิกแลว้ กระมงั แล้วแจง้ เร่ืองนั้น
แก่พระอานนท์ ๆ กราบทูลเรื่องน้ันแก่พระผู้มีพระภาค พระผู้มีพระภาคตรัสว่า มีอยู่เหมือนกัน ข้อท่ีภิกษุ
ท้งั หลายสำคัญมรรคผลทีต่ นยังไม่ได้วา่ ได้ แตข่ อ้ นนั้ เปน็ อพั โพหารกิ
ลำดับน้ันพระผู้มีพระภาคทรงทำธรรมีกถาในเพราะเหตุเป็นเค้ามูลนั้น ในเพราะเหตุแรกเกิดนั้น
แล้วรับรบั ส่ังกบั ภิกษทุ ั้งหลายวา่ พวกเธอพ่ึงยกสิกขาบทนี้ขึน้ แสดงว่า ดังนี้
พระอนบุ ัญญตั ิ
อน่ึง ภิกษุใดไม่รู้เฉพาะ กล่าวอวดอุตริมนุสสธรรมอันเป็นความรู้ ความเห็นอย่างประเสริฐ อย่าง
สามารถ น้อมเข้ามาในตนว่า ข้าพเจ้ารู้อย่างน้ี เห็นอย่างน้ี ครั้นสมัยอื่นแค่นั้น อันผู้หนึ่งผู้ใดถือเอาก็ตามไม่
ถอื เอากต็ าม เป็นอันต้องอาบัตแิ ล้วมุ่งความหมดจด จะฟังกล่าวว่าข้าพเจ้าไมร่ ู้อย่างนั้น ได้กลา่ ววา่ ไมร่ ูไ้ มเ่ ห็น
อย่างนั้น ได้กล่าวว่าเห็น ได้พูดพล่อยๆ เป็นเท็จเปล่าๆ เว้นไว้แต่สำคัญว่าได้บรรลุ แม้ภิกษุนี้ก็เป็นปาราชิก
หาสงั วาสมิได้
7.3 ประเภทของศีล บทบัญญัติตา่ งๆ วิธีการปฏิบตั ิของศลี ประเภทตา่ งๆ
สังคมโลกในปัจจุบัน โดยเฉพาะสังคมไทยได้มีการรับวัฒนธรรมของชาวต่างชาติ นำมาเป็น
แบบอย่างในการปฏิบตั ิตาม บางอย่างไม่เหมาะสมกับจารีตประเพณอี ันดงี าม และบางอย่างก็เข้าข่ายละเมิด
ศีลธรรมอันดี "ศีล" คือ ข้อปฏิบัติตนขั้นพ้ืนฐานในทางพระพุทธศาสนา เพื่อควบคุมความประพฤติทางกาย
และวาจาให้ต้งั อยู่ในความดีงามมีความปกตสิ ขุ เพื่อประโยชน์ขัน้ พ้นื ฐานคือความสุขและไม่มกี ารเบียดเบียน
กนั ในสังคม
ประโยชน์ของศีลในขั้นพื้นฐานคือทำให้กาย วาจา ใจ สงบไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น ทำให้
สามารถที่จะทำให้จิตสงบได้ง่ายในการทำสมาธิ ในระดับของบรรพชิต ศีลจะมีจำนวนมาก เพ่ือกำกับให้
พระภกิ ษุสงฆ์สามเณรสามารถครองตนในสมณภาวะไดอ้ ยา่ งสมบรู ณ์ และเอ้ือตอ่ การประพฤติพรหมจรรย์ใน
ขนั้ สูงต่อไปได้ ศีลมีหลายขน้ั หลายระดับ จัดแบ่งได้ 5 ประเภท ดงั นี้
1) ศีล 5 หรือเบญจศีล เป็นศีลข้ันพ้ืนฐานของศีลท้ังปวง กล่าวคือ ศีลทุกประเภทไม่ว่าจะเป็นศีล
ของอุบาสก อุบาสิกา สามเณร หรือพระภิกษุ ต้องตั้งอยู่บนพ้ืนฐานแห่งศีล 5 ข้อน้ี กำหนดเป็นศีลสำหรับผู้
ครองเรือนทัว่ ไปควรรกั ษา เป็นศีลที่ควรรกั ษาให้เปน็ ปกติ ศีลหา้ ประกอบดว้ ย 1.เวน้ จากการฆ่าสัตว์ตัดชีวิต
ท้ังปวง รวมถึงการทำร้ายสตั ว์หรือมนุษย์ 2.เว้นจากการลักทรัพย์ เอาสิ่งของทเี่ จา้ ของไม่ได้ให้ 3.เว้นจากการ
ประพฤติผิดในกามทั้งหลาย 4.เว้นจากการพูดเท็จ คำหยาบ หรือพูดส่อเสียด 5.เว้นจากการดื่มน้ำเมา อัน
เป็นท่ีตงั้ แห่งความประมาท
182
2) ศีล 8 (อัฐศีล) เป็นศีลที่มีพื้นฐานมาจากศีล 5 เน้นการไม่เสพกาม การรับประทานอาหารจำกัด
เวลา การหัดลดละการหาความสุขจากส่ิงบันเทิงหรือเครือ่ งปรนเปรอความสขุ ทางประสาทสมั ผัสและการงด
ใชเ้ ครอ่ื งนัง่ นอนฟูกหรหู รา เปน็ การฝกึ ฝนตนใหร้ ้จู ักทจ่ี ะมีชีวิตท่ีเปน็ อิสระได้มากขนึ้ สามารถอยู่ดมี ีสุขได้โดย
ไม่ต้องพ่ึงพาหรือขน้ึ ตอ่ วตั ถภุ ายนอกมากเกนิ ไป
3) ศลี 10 (ทศศลี ) เปน็ ศลี สำหรับเดก็ และเยาวชนที่บวชเป็นสามเณรสมาทานรักษาเป็นประจำ คำ
ว่า สามเณร แปลว่า เหล่ากอของสมณะ หมายถึง เด็กและเยาวชนผู้ศึกษาอบรมตามหลักไตรสิกขา เพ่ือ
เตรยี มเปน็ พระภิกษุเมื่อมีอายุครบอุปสมบทตามพระวนิ ยั กำหนด
4) ศีล 227 หรือสิกขาบท 227 เรียกว่า ศีลของพระภิกษุ เป็นพระวินัยพุทธบัญญัติในส่วนท่ีเป็น
กฎเกณฑ์ข้อห้ามสำหรบั บุรุษผู้อุปสมบทเป็นพระภิกษุในพระพุทธศาสนาทีต่ ้องรักษาโดยเครง่ ครัด เพือ่ ดำรง
ความเปน็ พระภกิ ษุ
5) ศีล 311 หรือสิกขาบท 311 เรียกว่า ศีลของพระภิกษุณี เป็นพระพุทธบัญญัติในส่วนที่เป็นข้อ
ห้ามสำหรับสตรีผู้อุปสมบทเป็นพระภิกษุณีท่ีต้องรักษาโดยเคร่งครัด เพื่อดำรงความเป็นพระภิกษุณี ศีลจึง
เป็นหลกั การทีจ่ ะทำใหค้ นในสงั คมอยู่ร่วมกนั อยา่ งปกตสิ ขุ
สว่ นในทน่ี จ้ี ะกลา่ วถงึ ศลี หรอื บทบญั ญัตขิ องพระสงฆ์ก่อน ผูเ้ รยี บเรยี งสามารถสรปุ ได้ดงั ตอ่ ไปนี้ 1. ปา
ราชิกุทเทส 2. สังฆาทิเสสุทเทส 3. อนิยตุทเทส 4. นิสสัคคิยุทเทส 5. ปาจิตติยุทเทส 6. ปาฏิเทสนียุทเทส 7. เสขิ
ยทุ เทส 8. อธกิ รณสมถุทเทส และรวมท้งั นทิ านุทเทส คอื คำนำหน้า
พระไตรปิฎกและอรรถกถาแปล วินัยปิฎก มหาวิภังค์ ภาค 1 เล่ม 1 (2555, หน้า 351 -403) อาบัติ
ปาราชิก ศัพท์ว่า “ปาราชิก” นี้ แปลได้ 3 นยั คือ178
1. เป็นคณุ บทของอาบตั ิ แปลว่า ยงั ผู้ต้องให้พา่ ยแพ้
2. เป็นคุณบทของบุคคล แปลว่า ผู้พา่ ย
3. เปน็ คณุ บทของสิกขาบท แปลว่า ปรบั อาบตั ิปาราชิก มี 4 สกิ ขาบท
สิกขาบทท่ี 1 ภิกษุเสพเมถุน (รว่ มประเวณี ,รว่ มสังวาส มเี พศสมั พันธ)์ ตอ้ งปาราชกิ
นทิ านต้นบัญญัติ สมยั นั้นมหี มู่บา้ นนามวา่ กลันทะ ต้งั อยู่ไมไ่ กลเมอื งเวสาลี มบี ุตรเศรษฐผี ู้เป็นบุตร
ชาวกลันทะ นามว่าสุทินนะ (ผู้มีคำต่อท้ายชื่อว่าบุตรชาวกลันทะ) พร้อมด้วยสหายไปสู่กรุงเวสาลี เห็น
พระพุทธเจ้ากำลังแสดงธรรม จึงแวะเข้าไปสดับธรรมมีความเล่ือมใสใคร่จะออกบวช จึงกราบทูลขอบวชใน
พระพุทธศาสนา แต่พระศาสดายังไม่ประทานอนุญาตให้บวช เพราะมารดาบิดายังไม่อนุญาต สุทินนะ จึง
กลับไปขออนุญาตทา่ นมารดาบดิ า แตไ่ ม่ไดร้ ับอนุญาต จงึ ออ้ นวอนถงึ 3 คร้ัง ก็ไม่ไดร้ ับอนุญาตเชน่ เดิม สุทิน
นะ จึงนอนลงกับพืน้ อดอาหารถึง 7 วนั มารดาบิดาอ้อนวอนให้ลม้ เลิกความต้ังใจ ก็ไม่ยอม พวกเพ่ือน ๆ มา
อ้อนวอน ก็ไม่ยอม ในที่สุด พวกเพ่ือน ๆ อ้อนวอนให้มารดาบิดาของสุทินนะอนุญาต ก็ได้รับอนุญาต เม่ือ
ได้รบั อนุญาตแลว้ กอ็ อกบวช ประพฤตปิ ฏบิ ตั เิ คร่งครดั อยู่ทางวัชชีคาม
ครั้งน้ัน แคว้นวัชชี (ซ่ึงมีกรุงเวสาลี เป็นราชธานี) เกิดทุพภิกขภัย พระสุทินนะ มีญาติเป็นคนมั่งค่ัง
มาก เม่ือเดินทางไปถึงกรงุ เวสาลี ญาติ ๆ ทราบข่าวก็นำอาหารมาถวายอยา่ งเหลือเฟือ พระสุทนิ นะ ก็ถวาย
แกภ่ กิ ษุทัง้ หลายอกี ต่อหน่ึงแลว้ เดนิ ทางไปกลันทคาม (ตำบลบา้ นเดิมของตน) ความทราบถึงมารดาบิดาบดิ า
จึงนิมนต์ไปฉัน มารดาก็นำทรัพย์สมบัติมาล่อเพ่ือให้สึก พระสุทินนะไม่ยอม จึงไม่สำเร็จต่อมามารดาพระสุ
ทินนะรอจนภรรยาของพระสทุ ินนะ (ตั้งแต่ในสมัยยงั ไม่ได้บวช) มีระดู ได้กำหนดจะมบี ุตรได้ จึงพานางไปหา
พระสุทินนะที่ป่ามหาวัน ชวนให้สึกอีกพระสุทินนะไม่ยอม จึงกล่าวว่าถ้าไม่สึกก็ขอพืชพันธ์ุไว้สืบสกุลคร้ังน้ัน ยัง
ไม่มีการบัญญัติวนิ ัยห้ามเสพเมถนุ พระสทุ ินนะเข้าใจว่าเป็นเรื่องที่พอทำได้ เพื่อให้มีบุตรสืบสกุล จึงเสพเมถนุ กับ
178 ว.ิ มหา. (ไทย) 1/351 -403.