233
3. สัตว์ดิรจั ฉาน ก็เปน็ วตั ถแุ ห่งทุกกฏดุจกัน
ลักษณะแห่งอาบัติ อาบัติในสิกขาบทนี้ เป็นสาณัตติกะ คือใช้ผู้อ่ืนให้ตีเขา ก็สำเร็จเป็นประหาร
เหมือนกัน ควรเทียบด้วยอทินนาทานสกิ ขาบท
สกิ ขาบทท่ี 5 ภิกษโุ กรธ เงือ้ มอื ดจุ ให้ประหาร (ทำทา่ จะทุบต,ี ชกต่อย) แกภ่ ิกษุอ่นื ตอ้ งปาจิตตยี ์
นิทานต้นบัญญัติ ภิกษุฉัพพัคคีย์โกรธ เง้ือมือจะทำร้ายภิกษุสัตตรสวัคคีย์ พระผู้มีพระภาคจึงทรง
บัญญัตสิ กิ ขาบทว่าภิกษโุ กรธเคอื งเง้อื มอื (จะทำร้าย) ภกิ ษุ ตอ้ งปาจิตตีย์
กริ ิยาให้ประหาร ได้แกก่ ิรยิ าทเ่ี พียงเงือ้ มือทำทา่ ดั่งจะใหป้ ระหารเท่านั้น ก็ตอ้ งปาจติ ตีย์
ลกั ษณะแหง่ อาบตั ิ
1. กิริยาที่เป็นไปโดยปกติ จะเป็นอนาณัตติกะได้อยู่ เพราะการเงื้อมือเป็นไปด้วยกำลังโกรธ มีปกติ
จะต้องทำเอง
2. ในคัมภีร์วภิ งั ค์ (หนังสอื จำแนกความอธิบายความหมายแห่งสิกขาบทให้ชัดเจน) แก้ว่า ถูกคนอ่ืน
เข้ามาเบียดเบยี นปรารถนาจะพ้น ให้ประหารกด็ ี (สิกขาบทท่ี4) เงือดเง้ือมือก็ดี ไมเ่ ป็นอาบัติ กิรยิ าน้ีเรียกใน
บัดน้ีวา่ ต่อส้เู พ่อื จะปอ้ งกันตัว
สกิ ขาบทท่ี 6 ภกิ ษโุ จทฟ้องภิกษุอ่ืนดว้ ยอาบตั สิ ังฆาทเิ สสไม่มมี ลู ตอ้ งปาจติ ตีย์
นิทานต้นบัญญัติ ภิกษุฉัพพัคคีย์แกล้งโจทภิกษุด้วยอาบัติสังฆาทิเสสไม่มีมูล พระผู้มีพระภาคจึง
ทรงบัญญตั ิสิกขาบทว่า ภิกษโุ จทภิกษุดว้ ยอาบัติสงั ฆาทิเสสไม่มมี ลู ตอ้ งปาจติ ตีย์
สิกขาบทที่ 7 ภิกษแุ กล้งกอ่ ความรำคาญใหเ้ กดิ แกภ่ กิ ษุอนื่ ต้องปาจติ ตีย์
นิทานต้นบัญญัติ ภิกษุพวก 6 แกล้งพูดให้ภิกษุพวก 17 กังวลสงสัยว่า เมื่อบวชอายุไม่ครบ 20 ปี
จริง ถ้าเช่นน้ันก็คงไม่เป็นพระ ภิกษุ 17 ร้องไห้ พระผู้มีพระภาคจึงทรงบัญญัติสิกขาบทว่า ภิกษุแกล้งก่อ
ความรำคาญแก่ภิกษุด้วยคิดวา่ ความไม่สบายจักมีแกภ่ ิกษุน้ัน แม้เพียงครู่หน่ึง มงุ่ เพยี งเท่านั้น มิไดม้ ุ่งเหตอุ ่ืน
ตอ้ งปาจิตตยี ์
อธิบาย ลักษณะแห่งอาบัติ ภิกษุผู้ไม่ต้ังอยู่ในสังวร (สำรวมกิริยา) มุ่งแต่ความสนุก ไม่นึกถึงความ
ทุกข์ของเพื่อนกัน เก็บเอาเรื่องเช่นนั้นเข้าไปพูดให้ฟัง ท่านปรับด้วยอาบัติปาจิตตีย์ไม่ได้แกล้งจะก่อความ
รำคาญ พูดแนะนำตามเหตุ เชน่ อปุ สมบทเมอื่ อายพุ อหวดุ หวิด แนะให้ทำเสยี ให้มัน่ เป็นต้น ไม่เปน็ อาบตั ิ
สิกขาบทท่ี 8 เม่ือภิกษุววิ าทกันอยู่ ภกิ ษุไปแอบฟังความเพ่ือจะร้วู ่าเขาว่าอะไรตน หรือพวกของตน
ต้องปาจติ ตีย์
นิทานต้นบัญญัติ ภกิ ษุฉัพพัคคียท์ ะเลาะภิกษุทง้ั หลายแล้วไปแอบฟังความวา่ ภิกษทุ งั้ หลายว่ากลา่ ว
ตนอย่างไร พระผูม้ พี ระภาคจงึ ทรงบัญญตั ิสิกขาบทวา่ เมอื่ ภิกษทุ ้ังหลายทะเลาะววิ าทกัน ภิกษุแอบฟังความ
ด้วยประสงคจ์ ะทราบว่าภิกษุเหล่าน้ันพดู ว่าอย่างไร มุง่ เพียงเทา่ นัน้ มิได้มุ่งเหตอุ น่ื ตอ้ งปาจติ ตยี ์อธิบายว่า
เหตุทรงบัญญัติสิกขาบท กิริยาที่แอบฟังความนี้ โลกถือว่าเป็นการเลวทราม ท่ีสุดจนคนสอดแนม
รับจ้างสบื ความลับของคนทง้ั หลาย ถงึ ต้องใชอ้ ยู่ เขาก็ไมน่ ิยมว่าเป็นคนดี ไม่มีใครจะไวใ้ จคนเช่นนั้นพระศาน
ดาทรงเล็งเหน็ เช่นน้ี จงึ ไดท้ รงบญั ญตั ิสิกขาบทน้ีเพือ่ ปอ้ งกันไว้
234
ไม่ได้มุ่งหมายจะแอบฟัง เผอิญเดินผ่านไปในทางที่เขานั่งพูดกันอยู่ และรู้ว่าเป็นความมุ่งงุบงิบ เขา
ปิดตนให้กระแอมหรือไอ เพ่ือเขาจะได้รู้ว่าตนผ่านไปทางนั้นมีธุระจะนับภิกษุประพฤติอัชฌาจาร(ประพฤติ
ชัว่ ) แอบฟงั เธอฟังพดู กับหญิงสองตอ่ สอง ไม่เป็นอาบตั ิ
สิกขาบทท่ี 9 ภิกษุให้ฉันทะ คือความยอมให้ทำสังฆกรรมทีเ่ ป็นธรรมแล้ว ภายหลงั กลับติเตียนสงฆ์
ผ้กู ระทำกรรมน้ัน ต้องปาจิตตยี ์
นิทานต้นบัญญัติ ภิกษุฉัพพัคคีย์ให้ฉันทะในการประชุมทำกรรมของสงฆ์แล้วกลับว่าติเตียนใน
ภายหลัง พระผู้มีพระภาคจึงทรงบัญญัติสิกขาบทว่า ภิกษุให้ฉันทะ (คือความพอใจหรือการมองอำนาจให้
สงฆท์ ำกรรมดี) เพือ่ กรรมอนั เปน็ ธรรมแล้วบน่ วา่ ในภายหลงั ตอ้ งปาจิตตยี อ์ ธิบายว่า
วิธีทำสังฆกรรม กรรมอันสงฆ์จะพึงทำ ต้องทำด้วยความพร้อมเพรียง ภิกษุอยู่ในเขตชุมนุมซึ่ง
เรียกว่าสีมา ย่อมมีสิทธ์ิเข้าประชุมได้ ถ้าเว้นภิกษุบางรปู เสีย หรือไม่ขอฉันทะของเธอไปทำกิจนั้น กรรมนั้น
ใช้ไม่ได้ สิกขาบทนี้ กล่าวถึงภิกษุให้ฉันทะอย่างน้ันแล้ว ภายหลังรู้ว่าสงฆ์ทำไม่ถูกใจตนและบ่นว่า ถ้ากรรม
น้ันเปน็ ธรรม ตอ้ งปาจติ ตยี ์ ถา้ ไม่เป็นธรรม บ่นว่าไม่เปน็ อาบตั ิ
สกิ ขาบทท่ี 10 เม่ือสงฆก์ ำลังประชุมกนั ตดั สนิ ข้อความขอ้ หน่ึง ภิกษุใดอยู่ในท่ปี ระชมุ นั้นจะหลีกไป
ในขณะที่ตัดสินข้อนน้ั ยังไมเ่ สรจ็ ไม่ให้ฉนั ทะ ลุกไปเสีย ต้องปาจิตตีย์
นิทานตน้ บัญญัติ สงฆก์ ำลงั ประชมุ กนั ทำกรรมอยู่ ภกิ ษุฉัพพคั คีย์ให้ฉันทะแกภ่ กิ ษุพวกตนรปู หน่ึงให้
เข้าไปประชุมแทน ภายหลังภิกษุรูปน้ันไม่พอใจจึงลุกออกจากท่ีประชุมท่ีมิได้ให้ฉันทะ พระผู้มีพระภาคจึง
ทรงบัญญัติสิกขาบทว่า ภิกษุไม่ให้ฉันทะ ลุกจากอาสนะหลีกไป ในเมื่อถ้อยคำวินิจฉัยยังค้างอยู่ในสงฆ์ ต้อง
ปาจิตตยี ์อธบิ ายว่า
ข้อยกเว้นในการต้องอาบัติ เหน็ สงฆท์ ำกรรมไมเ่ ป็นธรรมก็ดี เห็นว่าจะเกดิ วิวาทกันขึ้นกด็ ี หรอื มีกิจ
ท่ีจำเปน็ อยา่ งอ่ืนอกี หลีกไปเสียไม่มีโทษ
สิกขาบทท่ี 11 ภิกษพุ รอ้ มกับสงฆใ์ หจ้ วี รเปน็ บำเหนจ็ แกภ่ ิกษรุ ูปใดรปู หน่งึ แลว้ ภายหลงั กลบั ติเตียน
ภกิ ษุอนื่ ว่า ให้เพราะเหน็ แกห่ น้ากัน ตอ้ งปาจิตตีย์
นิทานบัญญัติ จีวรเกิดข้ึนแก่สงฆ์ สงฆ์ประชุมกันให้แก่พระทัพพมัลลบุตร ภิกษุฉัพพัคคีย์กลับว่า
สงฆ์ให้จีวรเพราะชอบกัน ภิกษุท้ังหลายจึงติเตียนว่า ร่วมประชุมกับสงฆ์แล้ว ทำไมจึงมาพูดติเตียนใน
ภายหลงั พระผู้มีพระภาคจงึ ทรงบัญญตั สิ ิกขาบทหา้ มทำเชน่ นัน้ ทรงปรับอาบัตปิ าจติ ตียแ์ ก่ภกิ ษผุ ลู้ ว่ งละเมิด
อธบิ ายวา่
วัตถุแห่งอาบัติ ในสิกขาบทกล่าวถึงจีวร ท่านจึงแก้ว่าให้บริขารอื่นแล้วบ่นว่า ต้องทุกกฎในคัมภีร์
วิภังค์(หนังสือจำแนกความอธิบายความหมายแห่งสิกขาบทให้ชัดเจน)ว่า บ่นว่าภิกษุผู้ใดรับสมมติ(แต่งต้ัง)
ต้องปาจิตตีย์ บ่นว่าภิกษุผ้ไู มไ่ ด้รับสมมติ และอนปุ สมั บัน (ผ้มู ิใช่ภกิ ษ)ุ ต้องทุกกฎ
สกิ ขาบทท่ี 12 ภิกษรุ ู้อยู่ นอ้ มลาภทท่ี ายกเขาต้ังใจจะถวายสงฆ์มาเพือ่ บุคคลอ่นื ตอ้ งปาจติ ตีย์
นทิ านต้นบัญญัติ ภิกษุฉัพพคั คีย์รู้ว่า เขาเตรยี มจีวรไวถ้ วายแกส่ งฆ์ไปพูดให้เขาถวายแก่ภิกษุ(ท่ีเป็น
พรรคพวกของตน) เขาไม่ยอมเธอก็พูดแค่นได้จนเขารำคาญต้องถวายไปพระผู้มีพระภาคจึงทรงบัญญัติ
สิกขาบทวา่ ภกิ ษุนอ้ มลาภท่ีเขากะว่าจะถวายแก่สงฆ์ไปเพ่ือบคุ คล ตอ้ งปาจิตตยี ์
อธิบายแหง่ สกิ ขาบทนี้ พึงทราบตามนัยสกิ ขาบทที่ 10 แห่งปัตตวรรคในนิสสัคคยิ ปาจิตตีย์
235
รตนวรรคที่ 9
สิกขาบทท่ี 1 ภิกษุไม่ได้รับอนุญาตก่อน เข้าไปในห้องท่ีพระเจ้าแผ่นดินประทับอยู่กับพระมเหสี
ต้องปาจิตตยี ์
นิทานต้นบัญญัติ พระเจ้าปเสนทิโกศล ขอให้พระพุทธเจ้าส่งภิกษุไปสอนธรรมแก่พระองค์พระผู้มี
พระภาคจึงส่งพระอานนท์ไปสอนเป็นประจำ เช้าวันหน่ึงพระอานนท์เข้าไปยังตำหนักของพระเจ้าปเสนทิ
โกศล พระนางมัลลิกาต้องรีบออกจากตำหนักน้ัน ผู้มีพระภาคจึงทรงบัญญัติสิกขาบทความว่า ภิกษุมิได้รับ
นดั หมาย กา้ วล่วงธรณีเขา้ ไป (ในห้อง) ของพระราชาผู้ได้รบั มูราภิเษก ในเมื่อพระราชายังไม่เสดจ็ ออก พระ
มเหสยี ังไม่เสด็จออก ตอ้ งปาจิตตีย์อธบิ ายว่า
ความหมายของพระเจ้าแผ่นดิน ความป็นพระเจ้าแผ่นดินอย่างเต็มที่ ย่อมสำเร็จด้วยพิธีสมมติ
(สถาปนาแต่งตั้ง) ด้วยหลังน้ำบนพระเศียร หรือด้วยให้สรงสนานท่ัวพระองค์ต้ังแต่พระเศียรลงมาอย่างใด
อย่างหนึ่ง เรียกวา่ “มรู าธภิเษก”
คำว่า “รตนะ”ในบาลีแห่งสิกขาบทนี้ หมายเอาพระมเหสีว่าเป็นรตนะเพราะพระมเหสีเป็นผู้คู่ควร
แก่พระราชา เพราะฉะน้ัน การเข้าห้องซึ่งเรียกว่าตำหนักเป็นท่ีบรรทม (ห้องนอน) โดยที่สุดแม้วงด้วยม่าน
ตอ้ งได้รับอนุญาตกอ่ น ถา้ ไมไ่ ด้รบั อนญุ าต ภิกษกุ า้ วล่วงผา่ นธรณีประตเู ขา้ ไป ต้องปาจติ ตยี ์
สิกขาบทท่ี 2 ภิกษุเห็นเครื่องบริโภค (ของใช้) ของคฤหัสถ์ตกอยู่ ถือเอาเป็นของเก็บได้เองก็ดี ให้ผู้อ่ืน
ถอื เอากด็ ี ต้องปาจติ ตีย์ เว้นไวแ้ ตข่ องนั้นตกอยูใ่ นวดั หรอื ในท่ีอาศัยตอ้ งเกบ็ ไว้ให้แกเ่ จ้าของ ถา้ ไมเ่ กบ็ ตอ้ งทุกกฏ
นิทานต้นบัญญัติ ภิกษุรู้หนึ่งเก็บถุงเงินของพราหมณ์ผู้หนึ่งด้วยความปราถนาดี เมื่อพราหมณ์มา
ถามก็คืนให้ไป พราหมณ์แกล้งกล่าวว่าเงนิ ในถุงของตนมีมากกว่าน้ัน (เพ่ือไม่ตอ้ งให้รางวัล) พระผ้มู ีพระภาค
จึงทรงบัญญัติสกิ ขาบทห้ามเก็บเองหรือใช้ผู้อื่นให้เก็บซ่ึงรัตนะ (แก้วแหวนเงินทอง) หรือส่ิงซื้อสมมติวา่ เป็น
รัตนะ ทรงปรับอาบัติปาจิตตยี ์ แก่ภิกษผุ ู้ล่วงละเมิด ภายหลังทรงบัญญัติเพ่ิมเติมว่าของตกในวัดหรือในท่ีอยู่
ควรเก็บเพอื่ จะคนื เจา้ ของไป ถือวา่ เปน็ การปฏิบตั ชิ อบอธบิ ายวา่
รตั นะได้แก่ทอง เงิน และเพชรพลอย ส่วนของท่ีสมมตวิ ่าเปน็ รตนะนน้ั คือใช้ของที่ทำเป็นตัวรตนะแท้
เป็นของทำเทียม เช่นของรูปพรรณอันชุบทองชุบเงินและเคร่ืองประดับ เช่นฝังพลอยหุง หมายความตลอด
มาถึงเคร่อื งใชส้ อยของคนท่วั ไป
ลักษณะแห่งอาบตั ิ ธรรมเนียมบ้านเมืองในบัดน้ี ผู้เกบ็ ของตกไดต้ ้องเอาไปมอบแก่เจ้าหน้าท่ีในกอง
รักษา ภิกษุฝ่าฝืนสิกขาบทนี้ ต้องปาจิตตีย์ ในอรรถกถา (คัมภีร์ที่พระอาจารย์ในภายหลังแต่งอธิบาย
ความหมายบาลีในพระไตรปิฏก) กล่าวว่า ถ้าของนั้นเป็นนิสสัคคิยวัตถุ (ของท่ีต้องสละ) ต้องนิสสัคคีย
ปาจิตตีย์ ถ้าของเช่นนั้นตกในวัดที่อยู่ที่ดี ในที่พักก็ดี ไม่เก็บไว้ หายไป ไม่เป็นความดีงามแก่เจ้าถ่ิน อาจถูก
สงสัยวา่ เอาเสยี แล้วก็ได้ จงึ ทรงอนญุ าตให้เกบ็ ไว้ให้เจ้าของ
สกิ ขาบทที่ 3 ภิกษุไม่บอกลาภิกษอุ ื่นท่ีมีอยู่ในวัดก่อน เข้าไปในบ้านในเวลาวิกาลต้องปาจิตตีย์ เว้น
ไว้แต่การด่วน
นิทานต้นบัญญัติ ภิกษุฉัพพัคคีย์เข้าสู่บ้านในเวลาวิกาล ชวนชาวบ้านพูดเร่ืองไร้สาระเป็นที่ติเตียน
ของคนทั้งหลาย พระผูม้ ีพระภาคจึงทรงบญั ญัติสิกขาบทหา้ มเข้าสู่บ้านในเวลาวกิ าล ทรงปรับอาบัติปาจิตตีย์
236
แกภ่ กิ ษผุ ู้ล่วงละเมิด ภายหลงั ทรงผ่อนผนั ให้เข้าไปในบา้ นในเวลาวกิ าลได้ เมื่อบอกลาภกิ ษุท่ีมีอย่ใู นวดั หรือใน
เม่อื มีกิจรีบด่วน
อธิบาย เวลาวิกาล เวลาวิกาล น่าจะหมายเอาเวลาค่ำ แต่ในคัมภีร์วิภังค์ (หนังสือจำแนกความ
อธิบายความหมายแห่งสิกขาบทให้ชัดเจน) แก้ว่าตั้งแต่เท่ียงแล้ว จนถึงอรุณใหม่ เหมือนสิกขาบทที่ห้ามฉัน
อาหารในเวลาวกิ าล ในโภชนวรรค
การด่วน การด่วนมีตัวอย่างดังท่านแสดงไว้ เช่น ภิกษุถูกงูกัด แม้เหตุอย่างอื่น เช่น ภิกษุอาพาธอัน
จะถึงความส้ินชีวิตได้โดยรวดเร็ว จะรีบเข้าไปหายาหรอื ตามหมองูหรือเกดิ ไฟไหม้ข้ึนข้างวัด จะรีบไปพาคน
มาช่วยระงับ ก็สงเคราะห์เข้าในการดว่ นนีไ้ ด้
ข้อยกเว้นพิเศษ อยู่รูปเดียว ไม่มีภิกษุอื่นอยู่ในวัด ไปได้ เข้าบ้านในเวลาวิกาลแต่อำลาแล้วหรือเพราะการ
ดว่ นดงั กล่าวมาแลว้ ไมเ่ ป็นอาบัติ เดินไปตามทางอนั ผา่ นบา้ นไมไ่ ด้แวะ และไปสู่อารามอืน่ ไมห่ ้าม.
สิกขาบทที่ 4 ภิกษุทำกล่องเข็ม ด้วยกระดูกก็ดี ด้วยงาก็ดี ด้วยเขาก็ดี ต้องปาจิตตีย์ต้องต่อยกล่อง
นั้นเสยี ก่อน จงึ แสดงอาบตั ิตก.
นทิ านต้นบัญญัติ ช่วงกลึงงาขา้ งปวารณาให้ภิกษุขอกล่องเข็มได้ ภิกษุทั้งหลาย ก็ขอกันเรือ่ ยมีกล่อง
เลก็ ขอกล่องใหญ่มีกล่องใหญ่ขอกล่องเล็ก จนช่างไม่เป็นอันทำขาย เขาติเตียนพระผู้มีพระภาคจงึ ทรงบัญญตั ิ
สิกขาบทว่า ภิกษุให้ทำกล่องเข็มที่ทำด้วยกระดูกงาช้าง เขาสัตว์ ต้องปาจิตตีย์ที่ให้ต่อยท้ิง (ก่อนจึงแสดง
อาบตั ิตก) อธิบายวา่
เหตบุ ัญญตั สิ ิกขาบท
1. ภกิ ษเุ กดิ เลน่ กล่องเข็มกนั ขน้ึ เพราะเป็นการรบกวนชา่ งกลึงใหเ้ สียประโยชนท์ ี่จะพึงได้ จึงทรงห้าม
2. ธรรมดาภิกษตุ อ้ งใชข้ องท่ีเศร้าหมอง ไมห่ รหู ราจนเกินพอดพี องาม
เภทนกปาจิตตีย์ ให้ทำเองเป็นปาจิตตีย์ ต้องต่อยกล่องเข็มนั้นให้แตกเสียก่อนจึงแสดงอาบัติได้
ปาจิตตีย์ชนิดนีเ้ รยี กว่า “เภทนกปาจิตตยี ”์ มีสกิ ขาบทเดยี วเท่านน้ั
อาบัติทุกกฎ ได้กล่องเข็มเช่นน้ัน อันคนอื่นทำไว้แล้วมาใช้สอย ต้องทุกกฎ ของอื่นมีลูกดุมเป็นต้น
ท่านอนุญาต แตถ่ ้าทำข้นึ ในเวลาทีเล่นฮือกนั อนุโลมตามตน้ บัญญตั ิ คงไมพ่ น้ จากทกุ กฎ
สิกขาบทท่ี5 ภิกษุจะทำเตียงหรือตั่ง พึงทำให้มีเท้าเพียง 8 นิ้วพระสุคต เว้นไว้แต่แม่แคร่ ถ้าทำให้
เกินกำหนดนี้ ตอ้ งปาจิตตีย์ ตอ้ งตัดใหไ้ ดป้ ระมาณเสยี กอ่ น จงึ แสดงอาบัติตก.
นิทานต้นบญั ญัติ พระอุปนนั ทะ ศากยบุตร นอนบนเตียงสูง พระผู้มีพระภาคเสด็จตรวจวหิ ารพบเขา้
จึงทรงบัญญัติสิกขาบทว่า ภิกษุจะใหท้ ำเตียงหรือตั่งใหม่ พึงทำให้มีเท้าเพียง 8 นิ้ว ด้วยนิ้วสุคต เว้นไว้แต่แม่
แคร่เบื้องลา่ ง ถา้ ทำให้มีเท้าเกนิ กำหนดนั้นตอ้ งปาจติ ตยี ท์ ่ีใหต้ ัดท้งิ อธิบายวา่
ลกั ษณะเตยี งตง่ั เตยี งนั้น เปน็ ของที่ทำยาวพอนอนได้ ดงั่ น้ัน เปน็ ของทีท่ ำลัน้ ไม่พอจะนอน ใชเ้ ป็นท่ี
นงั่ ตรงกับมา้
อาบตั ทิ ุกกฎ ไดข้ องท่ีเขาทำเกนิ ประมาณไวม้ าใชส้ อย นัง่ นอน ทัง้ ท่ีเกินประมาณน้ันต้องทุกกฏ ของ
อื่นมีม้า 4 เหล่ียมเป็นต้น มีเท้าสูงกล่าวประมาณ ใช้ได้ ปาจิตตีย์ชนิดนี้ เรียกว่า “เฉทนกปาจิตตีย์” เพราะ
ตอ้ งตัดเทา้ เตยี งเทา้ ตง่ั ซึง่ เกนิ ประมาณน้ันเสยี กอ่ น จึงแสดงอาบัติได้
สกิ ขาบทท่ี 6 ภกิ ษทุ ำเตียงหรอื ต่ังหุ้มน่นุ ต้องปาจติ ตยี ์ ต้องรื้อเสยี ก่อนจึงแสดงอาบัติตก.
237
นิทานตน้ บัญญัติ ภกิ ษุฉัพพัคคยี ใ์ ห้ทำเตียงบ้าง ตั่งบ้าง หุม้ ด้วยน่นุ เป็นท่ีติเตียนของคนท้ังหลาย พระผู้
มพี ระภาคจึงทรงบัญญตั ิสกิ ขาบทวา่ ภกิ ษุให้ทำเตยี งหรอื ต่ังที่หุม้ ดว้ ยนุ่น ตอ้ งปาจิตตยี ท์ ี่ใหร้ ้ือเสียกอ่ นอธิบายว่า
ลักษณะแห่งนุ่น คำว่า “นุ่น” น้ัน หมายเอาของท่ีเป็นปุย เกิดจากต้นไม้ เกิดจากเถาวัลย์ แม้ดอก
หญ้าเลา แม้ฝ้าย ก็นบั เข้าในท่นี ้ี
สิกขาบทที่ 7 ภกิ ษุทำผ้าปนู ั่ง พึงทำใหไ้ ด้ประมาณ ๆ นั้นยาว 2 คืบพระสุคต กว้าง 1 คบื คร่ึง ชาย 1
คบื ถา้ ทำให้เกินกำหนดนี้ ต้องปาจติ ตีย์ ต้องตดั ใหไ้ ดป้ ระมาณเสยี กอ่ น จึงแสดงอาบัติ
นิทานต้นบัญญัติ ภิกษุ ฉัพพัคคีย์ใช้ผ้าปูนั่งไม่มีประมาณ ผ้าย้อยไปข้างหน้าข้างหลังของเตียง และ
ต่งั พระผู้มพี ระภาคจึงทรงบญั ญตั ิสิกขาบทวา่ ภิกษุจะให้ทำผา้ ปนู ่งั พึงทำให้ไดป้ ระมาณ คอื ยาว 2 คืบ กวา้ ง
1 คืบคร่ึงดว้ ยคืบสุคต ถ้าทำให้เกินประมาณนั้นไป ตอ้ งปาจิตตียท์ ่ีใหต้ ัดเสีย (จงึ แสดงอาบัตติ ก) ภายหลงั ทรง
อนุญาตชายผ้าปูนัง่ อีก 1 คบื อธิบายวา่
ผ้าปูนั่ง เรียกช่ือตามบาลีว่า “นิสีทนะ” ทรงอนุญาตเป็นบริขารพิเศษอธิฐานไว้ใช้ได้ผืนหน่ึง (ความ
พิสดารเรอ่ื งผา้ ปนู ั่งน้ี พึงดใู นวนิ ยั มขุ เลม่ 2 กัณฑท์ ี่ 12 เรือ่ งบรขิ ารบรโิ ภค) อธบิ ายท้ังปวงพงึ รูโ้ ดยนัยอันกล่าว
แลว้ ในสกิ ขาบทที่ 5
สิกขาบทที่ 8 ภิกษุทำผ้านุ่งเปิดแผล พึงทำให้ได้ประมาณ ๆ นั้นยาว 4 คืบพระสุคต กว้าง 2 คืบ ถ้า
ทำให้เกนิ กำหนดนี้ ต้องปาจิตตีย์ ตอ้ งตัดให้ได้ประมาณเสยี กอ่ น จงึ แสดงอาบตั ติ ก
นิทานต้นบัญญัติ ภิกษุฉัพพัคคีย์ใช้ผ้าปิดฝีไม่มีประมาณ ลากผ้าไปข้างหน้าบ้าง ข้างหลังบ้าง เที่ยว
ไป พระผู้มีพระภาคจงึ ทรงบัญญัติสิกขาบทว่า ภิกษจุ ะให้ทำผา้ ปิดฝีพงึ ทำใหไ้ ด้ประมาณ คือ ยาว 4 คืบ กว้าง
2 คืบ ด้วยคบื สุคต ถ้าทำใหเ้ กนิ ประมาณนนั้ ตอ้ งปาจิตตียท์ ี่ใหต้ ดั เสยี อธบิ ายว่า
ผ้าปิดแผล ผ้าสำหรับปิดแผล (ฝี) น่ัน ทรงอนุญาตเป็นบริขารพิเศษอธษิ ฐานใช้ได้ช่ัวคราวในเวลาอาพาธ
เป็นเมด็ ยอดเช่น ฝดี าษ สกุ ใส หดิ ตะมอย หรอื เปน็ พุพอง อนั มหี นอง มนี ้ำเหลืองเปรอะเปื้อน
สิกขาบทที่ 9 ภิกษุทำผ้าอาบน้ำฝน พึงทำให้ได้ประมาณ ๆ นั้น ยาว 6 คืบพระสุคต กวา้ ง 2 คืบครึ่ง
ถ้าทำใหเ้ กินกำหนดนี้ ตอ้ งปาจติ ตยี ์ ตอ้ งตัดใหไ้ ด้ประมาณเสียก่อน จึงแสดงอาบัตติ ก
นทิ านบัญญตั ิ ภกิ ษฉุ พั พัคคียใ์ ชผ้ า้ อาบน้ำฝน พงึ ทำให้ได้ประมาณ ๆ น้ัน ยาว 6 คบื พระสุคต กว้าง 2
คบื ครง่ึ ถ้าทำให้กินกำหนดน้ี ต้องปาจิตตีย์ ตอ้ งตัดใหไ้ ด้ประมาณเสยี กอ่ น จงึ แสดงอาบัติตก.
นิทานต้นบัญญัติ ภิกษุฉัพพัคคีย์ใช้ผ้าอาบน้ำฝนไม่มีประมาณ ลากผ้าไปข้างหน้าบ้างข้างหลังบ้าง
พระผ้มู ีพระภาคจงึ ทรงบญั ญตั สิ กิ ขาบทวา่ ภกิ ษจุ ะใหท้ ำผ้าอาบน้ำฝน พึงทำไดป้ ระมาณ คือ ยาว 6 คบื กวา้ ง
2 คืบ คร่ึงด้วยคบื สุคต ถ้าทำให้เกินประมาณนั้น ต้องปาจิตตีย์ท่ีให้ตัดเสียอธิบายว่า เร่ืองผ้าอาบน้ำฝน ท่าน
ได้กล่าวแล้วในสกิ ขาบทที่ 4 แหง่ ปัตตวรรค อันว่าดว้ ยการแสวงหาและทำนุ่ง
สิกขาบทที่ 10 ภิกษุทำจีวรให้เท่าจีวรพระสุคตก็ดี เกินกว่านั้นก็ดี ต้องปาจิตตีย์ ประมาณจีวรพระ
สคุ ตนนั้ ยาว 9 คบื พระสคุ ต กวา้ ง 6 คบื ตอ้ งตัดให้ได้ประมาณเสยี ก่อนจึงแสดงอาบตั ิตก
นิทานต้นบัญญัติ พระนันทะพุทธอนุชาใชจ้ ีวรมขี นาดเท่าจวี รพระสคุ ต ภกิ ษุท้ังหลายเห็นท่านเดินมาแต่
ไกล ก็ลุกชึ้นต้อนรับด้วยนึกว่า พระผู้มีพระภาคเสด็จมา เม่ือเข้าใกล้เห็นว่ามิใช่ จึงติเตียนว่าใช้จีวรขนาดเท่าของ
พระสุคต พระผู้มีพระภาคจงึ ทรงบัญญัติสิกขาบทว่า ภิกษุทำจีวรให้มีขนาดเท่าจีวรสุคตหรือยิ่งกว่า ต้องปาจิตตีย์
238
ที่ให้ตัดเสีย ประมาณแห่งจีวรสุคต คือ ยาว 9 คืบกว้าง 6 คืบอธิบายว่า อนุมาน (คาดคะเน) ตามส่วนน้ี สำเร็จ
สนั นษิ ฐานวา่ ในครั้งก่อนคงใช้จวี รเลก็ ขนาดเทา่ ผา้ หม่ กนั หนาวชนดิ ใหญ่หนอ่ ย
สรุปข้อห้ามในกัณฑ์หรือเร่ืองนี้ ท่านปรารถนาจะให้ผู้ศึกษาวินัยหย่ังเห็นอรรถรส (เนื้อแท้ของ
ความหมาย) โดยถอ่ งแท้ จะได้ปฏิบัติ ให้สำเร็จประโยชน์จริง ๆ จึงแสดงข้อห้ามในกัณฑ์นี้ จัดเป็นหมวดตาม
ความเสยี หายหนักเบา เพื่อเป็นทางสนั นิษฐาน ดังน้ี
1. ข้ออันทำใหเ้ ป็นคนเลว คือกล่าวมสุ า , กล่าวส่อเสยี ด , ดื่มสรุ าเมรยั โจทด้วยสงั ฆาทเิ สสไมม่ ีมูล
2. ขอ้ อันแสดงความดุร้าย คอื กล่าววาจาเสียดแทงให้เจ็บใจ ให้ประหารเง้ือมือทำอาการดุจเช่นน้นั ,
ฆา่ สตั วด์ ิรจั ฉาน
3. ข้ออนั ทำใหเ้ สียหาย คือประจานความชัว่ ของกนั และกัน ปดิ ความชั่วของกันและกนั นั่งในทล่ี บั กับ
หญิงสองต่อสอง นอนร่วมในเขตกับหญิง เดินทางกับพ่อค้าผู้ซ่อนเอาซองต้องห้ามเข้ามา เดินทางกับหญิง
แอบฟังความของผอู้ น่ื เห็นของตกถือเอาเปน็ ของเก็บได้
4. ข้ออันส่องความซกุ ซน คือเลน่ จ้ี เล่นน้ำ หลอนภิกษุ ซ่อนของเพอื่ ล้อเลน่ , พูดเยา้ ใหเ้ กิดความรำคาญ
5. ข้ออันทำให้เสียกิริยา คือรบั นิมนต์ฉันไว้ก่อน แล้วไปฉันในท่ีนิมนต์ทีหลัง, ไม่แบ่งขนมที่เขาถวาย
มามาก แก่ภิกษุอื่น , เข้าไปน่ังแทรกแซงในสกุลที่เขากำลังบริโภคอาหาร รับปวารณาเกินกำหนด บริโภค
จีวรซ่ึงวิกัปไวอ้ ันยังไม่ได้ถอนน้อมลาภท่ีเขาจะถวายสงฆ์มาเพื่อบุคคล ติเตียนภิกษุเจ้าหน้าท่ีผู้ทำกิจสงฆ์ ไม่
เอ้อื เฟอ้ื ในพระวนิ ัย ให้ฉันทะเพอ่ื กรรมอันเป็นธรรมแลว้ บ่นว่าเมอื่ ภายหลัง คุ้ยอธิกรณข์ ึ้นทำใหม่
6. ขอ้ อนั ส่อความสะเพรา่ คือเอาเสนาสนะ คือเอาเสนาสนะของสงฆไ์ ปตง้ั ใชใ้ นท่แี จง้ แลว้ ไม่เก็บ เอา
ทน่ี อนปูไว้ในวหิ ารของสงฆ์ให้กีดที่ เอานำ้ มตี ัวสัตวเ์ ทรดหญ้ารดดิน บริโภคนำ้ มีตัวสตั ว์
7. ข้อที่ล่วงแล้วให้เสียธรรมเนียมของภิกษุ คือนอนร่วมกับอนุปสัมปัน ขุดดิน พรากภูตคาม ฉันคณ
โภชน์ ห้ามโภชนะแล้วแล้วกลับฉันอีก ฉันอาหารในเวลาวิกาล ฉันอาหารเป็นสนั นิธิ ฉันของไม่ได้รับประเคน
ขอโภชนะอันประณีต ไม่เจ็บไข้แล้วผิงไฟ นุ่งห่มผ้าไม่ได้ทำพินทุ ไม่บอกลาก่อนเข้าบ้านในเวลาวิกาล ทำ
กล่องเข็มงา ทำเตียงต่ังมีเท้าสูงกว่าประมาณ ทำเตียงตั่งหุ้มนุ่น ทำจีวรและผ้าบริขารบางอย่างให้ล่วง
ประมาณ พระศาสดาทรงบัญญตั ิสิกขาบทเพือ่ จะปอ้ งกนั โทษเหล่าน้ี และนำความดีความงามมาแกส่ าวก
ปาฏิเทสนียะ คำว่า “ปาฏิเทสนียะ” นี้เป็นชื่ของอาบัติ แปลว่า “จะพึงแสดงคืน” เป็นชื่อของ
สกิ ขาบท แปลว่า “ปรบั ด้วยอาบัติปาฏเิ ทสนียะ” มี 4 สกิ ขาบท
สิกขาบทที่ 1 ภิกษุรับของเคี้ยวของฉันแต่มือนางภิกษุณีผู้มิใช่ญาติ ด้วยมือของตนมาบริโภค (ฉัน) ต้อง
ปาฏิเทสนียะ
นิทานต้นบญั ญัติ นางภิกษุณรี ูปหนึ่งไปเท่ียวบณิ ฑบาตได้แลว้ ขากลับเหน็ ภกิ ษรุ ปู หนง่ึ จงึ บอกถวาย
อาหารที่ได้มา ภิกษุนั้นก็รบั จนหมด นางจึงอดอาหารเพราะหมดเวลาท่ีจะไปบิณฑบาตอีกแล้ว รุ่งขึ้นนางไป
บิณฑบาตพบภิกษุรูปนั้นอีกก็บอกถวาย ภิกษุรปู นั้นก็รับจนหมด นางจึงอดอาหารอีก ในวันที่ 3 ก็เป็นเช่นน้ี
จนเวลาหลกี รถเศรษฐี นางถงึ กับหมดแรงล้มลง เศรษฐีขอขมา ทราบความกต็ ิเตียนภิกษุนน้ั พระผมู้ ีพระภาค
จงึ ทรงบัญญัตสิ ิกขาบทวา่ ภิกษุเขา้ ไปสู่ละแวกบ้านรบั ของเคีย้ วของฉันจากมอื นางภกิ ษุณีมาเคี้ยวหรอื ฉันต้อง
อาบตั ิปาฏิเทสนยี ะ
239
อธิบายความมุ่งหมายแห่งสิกขาบท ห้ามเพียงมิให้เอามือรับของฉันจากนางภิกษุณี แต่ถ้าคนอ่ืนรบั มา
ถวายอกี ต่อหนึ่ง ไมเ่ ป็นอาบัติ ความประสงค์ เพอ่ื กันมิใหภ้ กิ ษเุ บียดเบยี นนางภิกษุณผี ูม้ ีลาภน้อย
สกิ ขาบทท่ี 2 ภิกษุฉนั อยูใ่ นที่นิมนต์ ถา้ มีนางภิกษุณีมาส่ังทายกให้เอาส่ิงน้ันสิ่งนี้ถวายเธอพงึ ไล่นาง
ภิกษณุ นี ้นั ใหถ้ อยออกไปเสีย ถา้ ไมไ่ ล่ ตอ้ งปาฏเิ ทสนยี ะ
นิทานต้นบัญญัติ ภิกษุท้ังหลายได้รับนิมนต์ให้ไปฉันในสกุล นางภิกษุณีพวก 6 ซึ่งชอบพอกับภิกษุ
พวก 6 ได้ยินอยูด่ ้วย บอกกับเขาว่าจงถวายแกงในองค์นี้จงถวายข้าวในองค์น้ี ภิกษพุ วก 6 ฉันไดต้ ามต้องการ
แต่ภิกษุอ่ืน ๆ ฉันอย่างไม่สะดวกใจ พระผู้มีพระภาคจึงทรงบัญญัติสิกขาบทว่า ภิกษุท้ังหลายได้รับนิมนต์ให้
ไปฉันในสกุล ถ้านางภิกษุณีผู้คุ้นเคยมายืนอยู่ในท่ีนั้น บอกกับเขาว่าจงถวายแกง ในองค์นี้ จงถวายข้าวใน
องค์น้ี ภิกษุท้ังหลายพึงไล่นางภิกษุณีน้ันไปจนกว่าภิกษุ ทั้งหลายจะฉันเสร็จ ถ้าภิกษุแม้รูปหนึ่งมิได้ไล่นาง
ภิกษณุ ีนน้ั ตอ้ งอาบัตปิ าฏเิ ทสนยี ะอธิบายวา่
ความมุ่งหมายแห่งสิกขาบท มีพระพุทธานุญาตให้ ไล่นางภิกษุณี ผู้มาส่ังให้ทายกถวายของในเวลาฉัน
เพราะเปน็ อาการทไี่ ม่งาม ซง่ึ ดปู ระหนง่ึ อาการของชู้สาว ขณะฉันเปน็ หมู่ แมร้ ูปเดยี วหา้ ม ก็คุ้มอาบตั ิไดท้ ั้งหมด
สิกขาบทที่ 3 ภิกษุไม่เป็นไข้ เขาไม่ได้นิมนต์ รับของเคี้ยวของฉันในสกุลที่สงฆ์สมมติ (ยอมรับ
ร่วมกัน) วา่ เปน็ เสขะ มาบรโิ ภค (ฉัน) ต้องปาฏิเทสนียะ
นทิ านต้นบัญญัติ ในสมัยนั้น สกุลบางสกุลเล่ือมใสทง้ั ฝ่ายสามีและภรรยาเปน็ สกลุ เจรญิ ด้วยศรัทธา
แต่เส่ือมทรัพย์ (เป็นสกุลพระอริยบุคคล) บุคคลเหล่าน้ีย่อมสละของเค้ียวของกินท่ีเกิดข้ึนทั้งหมดแก่ภิกษุ
ท้ังหลาย บางคร้ังตัวเองถึงอด คนท้ังหลายพากันติเตียนพวกภิกษุว่ารบั ไม่รู้จักประมาณ พระผู้มีพระภาคจึง
ทรงอนุญาตให้สงฆ์สวดประกาศสมมติสกุลน้ันว่า เป็นสกุลเสขะ แล้วทรงบัญญัติห้ามเข้าไปรับของเคี้ยวของ
ฉนั ในสกุลท่ีสงฆ์สมมติว่าเป็นสกุลเสขะด้วยมือของตนมาเคี้ยว และฉันทรงปรับอาบัติปาฏิเทสนียะแก่ภิกษุผู้
ลว่ งละเมิด ภายหลังทรงอนุญาตว่า ถา้ เขานิมนต์ไวก้ ่อนหรอื เปน็ ไขเ้ ข้าไปรบั อาหารมาฉนั ได้อธิบายว่า
ความมุ่งหมายแห่งสิกขาบท ห้ามมิให้รับของเค้ียวของฉัน ในสกุลทีส่ งฆ์สมมุติ (ยอมรับร่วมกัน) ว่า
เป็นเสขะ คอื เป็นพระโสดาบันถึงพระอนาคามบี รโิ ภค (ขบฉนั ) เว้นไวแ้ ต่
1. ถา้ เขานิมนต์ให้รับ
2. ภกิ ษอุ าพาธ/เมื่อมีเหตุ 2 อยา่ งน้ี เข้าไปรบั ไม่เป็นอาบัติ
สกิ ขาบทที่ 4 ภิกษุอยู่ในเสนะป่าเป็นท่เี ปลย่ี ว ไม่เป็นไข้ รบั ของเคี้ยวของฉัน ที่ทายกไม่ได้แจ้งความ
ให้ทราบกอ่ น ดว้ ยมือของตนมาบรโิ ภค (ฉนั ) ต้องปาฏเิ ทสนยี ะ
นิทานต้นบัญญัติ เจ้าศากยะที่เป็นหญิง นำอาหารไปเพื่อรับประทานในเสนาสนะป่าถูกพวกทาสชิงของ
และข่มขืน เจ้าศากยะที่เป็นชายออกจับพวกน้ันได้ ติเตียนภิกษุทั้งหลายว่าไม่บอกเร่ืองโจรอาศัยอยู่ในวดั พระผมู้ ี
พระภาคจึงทรงบัญญัตสิ กิ ขาบทว่า ภกิ ษุอยูใ่ นเสนาสนะป่าเปลี่ยวน่ากลวั รับของเคยี้ วของฉัน ซ่งึ เขามไิ ด้จัดไว้กอ่ น
ดว้ ยมือของตน ภายในอาราม มาฉนั ต้องอาบัตปิ าฏเิ ทสนียะ ภายหลังทรงผอ่ นผนั ให้แกภ่ กิ ษุไข้อธิบายว่า
ความมุ่งหมายแห่งสิกขาบท ภิกษุอยู่ในเสนาสนะป่า เป็นที่น่ารังเกียจ มีภัย รับของเค้ียวของฉันที่
ทายกมิได้บอกล่วงหน้า ต้องอาบัติ ท้ังน้ันเพื่อป้องกันมิให้ภิกษุที่รบั ของฉันเขามาแล้ว ต้องถูกโจรแย่งชิงเอา
ของท่ีทำบุญไปเสีย ซ้ำยังจะเกิดอันตรายแก่ภิกษุอีกด้วย แต่ถ้าเขาบอกล่วงหน้า ก็มารับได้เพราะเขาจะได้
ตระเตรียมการปอ้ งกนั โจรภัยอันจะพึงเกดิ มี
240
พระไตรปิฎกและอรรถกถาแปล วินยั ปิฎก มหาวิภังค์ ภาค 2 เลม่ 2 (2555, หนา้ 872-978)
ศัพท์ว่า “เสขิยะ” นี้เป็นชื่อของธรรมท่ีได้แก่วัตร หรือธรรมเนียมอย่างเดียว แปลว่า “ควรศึกษา”
จดั เปน็ 4 หมวด คอื
1. สารูป ว่าดว้ ยธรรมเนียมควรประพฤติในเวลาเข้าบ้าน
2. โภชนาปฏสิ ังยตุ วา่ ด้วยธรรมเนยี มรับบิณฑบาตและฉนั อาหาร
3. ธัมเทสนาปฏสิ ังยุต ว่าดว้ ยธรรมเนยี มการแสดงธรรมผแู้ สดงอาการไม่เคารพ
4. ปกิณณกะ วา่ ด้วยธรรมเนียมถ่ายอุจจาระ ปัสสาวะ
นิทานต้นบัญญัติ ต้นเหตุแห่งการบัญญัติสิกขาบททุกข้อทั้ง 75 ข้อในเสขิยวัตรน้ี เนื่องจากภิกษุฉัพพัค
คีย์ (ภิกษุพวก 6) ทำความไม่ดีไม่งามไว้ทั้งส้ิน ในตัวสิกขาบทมิได้ปรับอาบัติไว้ เพียงแต่กล่าวว่าภิกษุพึงความ
ศึกษาว่าเราจะทำอย่างน้ันอย่างน้ีหรือไม่ทำอย่างน้ันอย่างนี้ แต่ในคำอธิบายท้ายสิกขาบทระบุว่าถ้าทำเข้า ต้อง
อาบัตทิ ุกกฎ (ซ่ึงแปลว่าทำช่ัว) พร้อมทัง้ แสดงลกั ษณะทไี่ ม่ตอ้ งอาบัตไิ ว้ดว้ ย
สารูปที่ 1 (หมวดวา่ ด้วยความเหมาะสมแก่สมณเพศ มี 26 สิกขาบท)
สิกขาบทท่ี 1 ภิกษุพึงทำความศึกษาว่า เราจักนุ่งให้เรียบร้อย (เบื้องล่างปิดเข่า เบื้องบน ปิดสะดือ
ไม่หอ้ ยไปข้างหน้าข้างหลงั )
สิกขาบทที่ 2 ภกิ ษพุ งึ ทำความศึกษาว่า เราจักหม่ ให้เรยี บรอ้ ย(ให้ชายผา้ เสมอกนั ไม่ห้อยไปข้างหน้าข้างหลงั )
สิกขาบทที่ 3 ภกิ ษุพงึ ทำความศึกษาว่า เราจักปกปิดกายด้วยดี ไปในบา้ น (คอื ไมเ่ ปิดกาย)
สกิ ขาบทท่4ี ภิกษพุ ึงทำความศึกษาวา่ เราจกั ปกปิดกายดว้ ยดี นง่ั ในบ้าน
สิกขาบทท่ี 5 ภกิ ษพุ งึ ทำความศกึ ษาว่า เราจกั ระวงั มือเทา้ ด้วยดี ไปในบา้ น(คือไม่คะนองมือคะนองเท้า)
สกิ ขาบทที่ 6 ภกิ ษพุ ึงทำความศึกษาวา่ เราจกั ระวังมือเทา้ ด้วยดี นง่ั ในบา้ น
สิกขาบทท่ี 7 ภิกษุพึงทำการศึกษาว่า เราจักมีตาทอดลง ไปในบ้าน (คือไม่มองไปทางโน้นทางน้ี
เหมือนจะค้นหาอะไร)
สกิ ขาบทท่ี 8 ภกิ ษุพึงทำความศกึ ษาวา่ เราจักมีตาทอดลง นั่งในบ้าน
สิกขาบทท่ี 9 ภิกษุพึงทำความศึกษาว่า เราจกั ไม่เวกิ ผา้ ไปในบา้ น (คือไมย่ กผ้าขน้ึ ดา้ นเดยี วหรือ 2 ดา้ น)
สกิ ขาบทที่ 10 ภิกษพุ ึงทำความศึกษาวา่ เราจักไมเ่ วกิ ผ้า นัง่ ในบ้าน
สิกขาบทที่ 11 ภิกษพุ ึงทำความศึกษาว่า เราจกั ไม่หวั เราะดัง ไปในบา้ น
สิกขาบทท่ี 12 ภกิ ษพุ งึ ทำความศึกษาวา่ เราจกั ไมห่ วั เราะดงั ไปในบ้าน
สกิ ขาบทที่ 13 ภกิ ษุพึงทำความศกึ ษาวา่ เราจกั ไมพ่ ดู เสยี งดัง ไปในบา้ น
สิกขาบทที่ 14 ภกิ ษพุ ึงทำความศกึ ษาว่า เราจักไมพ่ ดู เสียงดงั นั่งในบ้าน
สิกขาบทที่ 15 ภกิ ษุพงึ ทำความศกึ ษาวา่ เราจักไมโ่ คลงกาย นัง่ ในบา้ น
สิกขาบทที่ 16 ภิกษพุ ึงทำความศกึ ษาวา่ เราจกั ไม่โคลงกาย ไปในบา้ น
สกิ ขาบทท่ี 17 ภกิ ษพุ งึ ทำความศกึ ษาวา่ เราจกั ไม่ไกวแขน ไปในบ้าน
สกิ ขาบทท่ี 18 ภิกษพุ งึ ทำความศกึ ษาวา่ เราจกั ไมไ่ กวแขน นัง่ ในบา้ น
สกิ ขาบทที่ 19 ภกิ ษุพึงทำความศึกษาว่า เราจักไมส่ ั่นศรี ษะ ไปในบ้าน
สิกขาบทท่ี 20 ภกิ ษพุ งึ ทำความศกึ ษาวา่ เราจกั ไม่สน่ั ศีรษะ นงั่ ในบ้าน
สกิ ขาบทท่ี 21 ภิกษุพงึ ทำความศึกษาว่า เราจกั ไม่เอามอื คำ้ กาย ไปในบา้ น
สกิ ขาบทที่ 22 ภิกษุพึงทำความศึกษาว่า เราจักไมเ่ อามือค้ำกาย นัง่ ในบา้ น
สกิ ขาบทท่ี 23 ภิกษพุ ึงทำความศกึ ษาว่า เราจกั ไมเ่ อาผา้ คลมุ ศีรษะ ไปในบ้าน
สกิ ขาบทท่ี 24 ภิกษุพงึ ทำความศึกษาวา่ เราจักไมเ่ อาผ้าคลุมศีรษะนงั่ ในบา้ น
สิกขาบทท่ี 25 ภกิ ษุพึงทำความศกึ ษาว่า เราจกั ไมเ่ ดนิ กระโหยง่ เทา้ ไปในบา้ น
241
สกิ ขาบทท่ี 26 ภิกษพุ ึงทำความศกึ ษาว่า เราจกั ไม่นัง่ รดั เข่า ในบา้ น
อธิบาย แต่ละสกิ ขาบท
สกิ ขาบทที่ 1 – 2 ข้อว่า “จกั นงุ่ หม่ ให้เรียบรอ้ ย” นนั้ กำหนด ดงั นค้ี อื
นุ่งเรยี บรอ้ ย
1. เบื้องบนปิดสะดอื แต่ไม่ถึงกระโจมอก
2. เบ้อื งลา่ งปดิ หวั เขา่ ลงมาเพยี งครงึ่ แข้ง แตไ่ ม่ถึงปกหรอื คลุมยาวถงึ สน้ เทา้
หม่ เรียบร้อย
1. ทำมมุ ผา้ ท้งั 2 ใหเ้ สมอกนั
2. ไมป่ ลอ่ ยใหผ้ า้ เลอ้ื ยหน้าเลอื้ ยหลัง
7.4 ผลทไี่ ดจ้ ากการปฏบิ ัติตามศลี ประเภทตา่ งๆ
ปจั จุบันนคี้ นเราส่วนใหญ่รจู้ ักศีล 5 แต่ไม่มีใครคิดท่ีจะปฏิบัติตาม ดว้ ยสภาพสังคมในตอนน้ีคนเรา
เริ่มจะเห็นการกระทำที่มันไม่ดีเป็นเร่ืองปกติ ส่วนคนที่ทำความดีก็ดูเหมือนว่าจะเป็นคนไม่ปกติและอาจจะ
เข้าพวกเข้าสังคมไม่ค่อยได้ ที่เป็นอย่างนี้เพราะอะไร? ท่ีเป็นอย่างนี้เพราะคนส่วนใหญ่ไม่รู้จักศีล5 อย่าง
แท้จริงให้ลึกซ้ึง จึงหลงทำผดิ ไปโดยไม่รู้ตัว ผมเช่ือว่า ถ้าทุกคนท่ไี ดเ้ ข้ามาอ่านบทความนี้จะต้องมีความคิดที่
เปลี่ยนไป และต้งั ใจรักษาศลี ให้มากขึ้น แล้วท่านจะรู้ว่าตัวท่านที่เป็นอยู่ในตอนนี้นั่นแหล่ะ คือเหตุและผลที่
ท่านกระทำมาเองทา่ นจงึ เป็นอย่างทีเ่ ปน็ อยแู่ บบนี้ แล้วถา้ ทกุ คนเลอื กเกิดไดค้ ณุ จะเลือกเกดิ เป็นอะไร? คณุ ก็
ต้องเลือกเกิดในตระกูลท่ีมีฐานะดีมั่นคง มีช่ือเสียงและรูปร่างหน้าตาสวยหล่อ แล้วทำไมคุณไม่เลือกเกิดใน
ตระกูลเหลา่ นน้ั ทำไมท่านจงึ ไม่เป็นอย่างโนน้ อย่างนี้และอกี ฯลฯ เพราะอะไรเล่า? ก็เพราะวา่ ท่านเลอื กเกิด
ไมไ่ ด้ไง แลว้ อะไรทำใหท้ ่านจึงเกิดมาอย่างนี้หละ่ คำตอบ คือ "กรรม" กรรม กค็ ือ การกระทำของตวั ทา่ นเอง
นน่ั แหล่ะท่เี ปน็ ตัวกำหนดทา่ นเองทา่ นรแู้ ลว้ น่ะครบั วา่ ทา่ นคอื เจ้าของชีวิตของทา่ นเอง แล้วท่านวางแผนชวี ิต
ในชาตหิ นา้ ไว้แลว้ รึยังหลายคนวางแผนชีวิตไว้แต่เฉพาะในชาติน้ี น้อยคนนักท่ีจะวางแผนชวี ิตไปถึงชาติหน้า
ทำไมพวกเค้าไม่วางแผนหละ่ ครบั ก็เพราะว่าเคา้ ไมร่ ู้งยั เราไมไ่ ด้บอกว่าผลของการรกั ษาศีลทค่ี ุณจะตงั้ ใจรกั ษา
จะได้รับในชาติหน้าน่ะครับแต่คุณจะได้รับในวินาทีแรกที่คุณต้ังใจจะรักษาแล้วคุณจะดูดีขึ้นหน้าตาและ
ผิวพรรณคุณจะเปลี่ยนไปคุณจะรับความโชคดีอย่างไม่คาดคิด ไม่ว่าจะเป็นเรื่องการงานหรือโอกาส
Dhammakaya Forum. "อานิสงส์ของการรักษาศีล และ ผลของการไม่รักษาศีล". สืบค้นเม่ือวันที่ 18 กันยายน
2561.เข้าถึงได้จาก http://www.dhammakaya.org/forum/index.php?topic=342.0. ในDhammakaya Forum
ไดใ้ ห้แนวคิดไว้ว่า ศีลข้อท่ี 1 เวน้ จากการฆ่าสตั ว์ เว้นจากการเบียดเบียนชิวติ ซ่ึงกันและกันเนื่องจากชวี ิตเป็น
ส่ิงที่ทุกคนรัก ทุกคนหวงแหน แม้สัตว์ทั้งหลายก็เช่นเดียวกัน รักชีวิต หวงชีวิต กลัวชีวิตจะต้องตาย ทุกๆชีวิตไม่
ว่าจะเป็นมนุษย์หรือสัตวท์ ้ังหลาย ต่างดิน้ รนต่อสู้ทุกวิถีทาง เพื่อให้ชีวิตของตนอยู่รอด แคล้วคลาดปลอดภัยอยู่ดี
มีความสุข พระพทุ ธเจ้าจึงบัญญัติศีล ขอ้ ที่ 1 ด้วยเห็นวา่ สตั วท์ ั้งหลายรกั ชวี ติ ของตนเปน็ อนั ดบั 1
ศีลข้อที่ 1 เว้นจากการฆ่าสัตว์ ประกอบด้วยองค์ 5 คือ185
1. สตั ว์น้นั มชี ีวติ
2. รูอ้ ย่วู า่ สตั วน์ ั้นมีชีวติ
3. มจี ิตคดิ จะฆ่าสตั วน์ นั้
4. มีความพยายามฆา่ สตั วน์ ้นั
185 Dhammakaya Forum. "อานิสงส์ของการรักษาศีล และ ผลของการไม่รักษาศีล". สืบค้นเมื่อวันท่ี 18
กันยายน 2561.เข้าถึงได้จาก http://www.dhammakaya.org/forum/index.php?topic=342.0.
242
5. สตั ว์ตายดว้ ยความพยายามนั้น
ศีลข้อ ที่ 1 ปาณาติปาตาเวรมณี
เว้นจากการฆ่าสัตว์ด้วยตนเองหรือใช้ให้ผู้อื่นฆ่า ถ้าไม่เว้นย่อมยังสัตว์ให้เกิดในนรก ในกำเนิดสัตว์
เดรัจฉานในเปรตวสิ ัย และเมื่อวิบากกรรมเริ่มเบาบางลงมีโอกาสได้เกิดเป็นมนุษยอ์ ีกก็จะได้รับผลจากวิบาก
กรรมทีผ่ ดิ ศลี ขอ้ 1 9 ประการ คือ
1. เป็นคนทุพพลภาพ
2. เปน็ คนรูปไมง่ าม
3. มีกำลงั กายอ่อนแอ
4. เป็นคนเฉอ่ื ยชา
5. เป็นคนข้ีขลาด
6. เปน็ คนท่ีถกู ผู้อื่นฆ่า หรอื ฆา่ ตวั เอง
7. มกั มีโรคภัยเบียดเบียน
8. ความพินาศเกดิ กับบรวิ าร
9. อายสุ ้ัน และให้ผลติดตอ่ กันหลายชาติ
รักษาศลี ขอ้ ที่ 1 แลว้ ได้อะไร ?
1. ไดร้ ับผลปฏิสนธิกาล คอื ไดเ้ กดิ เป็นมนษุ ย์หรอื เกดิ เปน็ เทวดา เรยี ก ว่า กามสคุ ติภูมิ
2. ได้รบั ผลในปวตั ติกาล คือ หลังจากเกดิ เป็นมนุษย์แล้ว ได้รับผลอีก 23 ประการ
อานิสงส์แหง่ การรักษาศีลข้อท่ี 1 มี 23 ประการ 1. สมบรู ณด์ ว้ ยอวัยวะน้อยใหญ่ (มอี วยั วะครบ 32
ประการ) 2. มีร่างกายสมทรง 3. สมบูรณ์ด้วยกำลังกาย 4. มือเท้างาม ประดิษฐานลงด้วยดี 5. เป็นผู้มี
ผิวพรรณสดใส 6. มีรปู โฉมงามสะอาด 7. เป็นผู้อ่อนโยน 8. เป็นผมู้ ีความสุข 9. เป็นผ้แู กล้วกล้า 10.เป็นผู้มี
กำลังมาก 11. มถี ้อยคำสละสลวยเพราะพร้งิ 12. มบี ริษัท(บริวาร)รักใคร่ไม่แตกแยกจากตน 13. เป็นคนไม่
สะดุ้งตกใจกลวั ตอ่ เวรภยั 14. ขา้ ศกึ ศัตรูทำร้ายไม่ได้ 15. ไม่ตายด้วยความเพยี รฆ่าของผูอ้ ่ืน 16. มีบริวารหา
ท่สี ดุ มไิ ด้ 17. มรี ูปร่างสวยงาม 18. มที รวดทรงสมส่วน 19. มีความเจ็บไข้นอ้ ย 20. ไม่มเี รื่องเศรา้ โศก เสียใจ
21. เป็นทีร่ กั ของชาวโลก 22.ไม่พลดั พรากจากสงิ่ ทีร่ กั และชอบใจ 23. มอี ายุยนื
ศีลข้อท่ี 2 อทินนาทานา เวรมณี... เว้นจากการลักทรัพย์ด้วยตนเองหรือใช้ผู้อ่ืนลักศีลข้อที่ 2 เว้น
จากการลักทรัพย์ ต้องประกอบด้วยองค์ 5 คือ 1. ทรัพย์หรือสิ่งของนั้นมีเจ้าของหวงแหน 2. รู้อยู่ว่าทรัพย์
นั้นมีเจ้าของหวงแหน 3. มีจิตคิดจะลักทรัพย์น้ัน 4. มีความพยายามลักทรัพย์นั้น 5. ลักทรัพย์ได้ด้วยความ
พยายามนน้ั
พระพุทธเจ้าตรัสไวว้ ่า อทินนาทาน อนั บุคคลเสพ(ประพฤต)ิ แลว้ เจริญแล้ว(ทำจนเป็นปกติ) กระทำ
ใหม้ ากแลว้ ย่อมยงั สัตว์ใหเ้ กิดในนรก ในกำเนิดสัตว์ดิรจั ฉานในเปรตวิสยั วิบากแหง่ อทินนาทาอย่างเบาบาง
ที่สุด ย่อมยังความพินาศแห่งโภคะให้เป็นไปแก่ผู้เกิดเป็นมนุษย์มีสมบัติก็ต้องพินาศ เมื่อมีโอกาสได้เกิดเป็น
มนุษย์อีกจะได้รับผล 6 ประการ คือ 1. เป็นคนด้อยด้วยทรัพย์ 2. เป็นคนยากจน 3. เป็นคนอดอยาก 4.
ไม่ได้สมบัติท่ีตนต้องการ 5. ต้องพินาศในการค้า 6. ทรัพย์พินาศเพราะภัยภิบัติต่างๆ เช่น อัคคีภัย วาตภัย
อทุ กภยั ราชภัย โจรภัย เป็นต้น
ถ้าเรารักษาศีลข้อท่ี 2 แล้วเราจะได้อะไร? 1. ได้รับผลในปฏิสนธิกาล คือ ได้เกิดเป็นมนุษย์หรือเทวดา
เรียกว่า กามสคุ ตภิ ภูมิ 2. ได้รับผลในปวตั ตกิ าล คอื หลังจากเกิดเปน็ มนุษย์แล้วจะได้รบั ผลอีก 11 ประการ
อานิสงส์ของการรักษาศีล ข้อท่ี 2 มี 11 ประการ 1. เป็นผู้มีทรัพย์มาก 2. มีข้าวของและอาหารมาก 3.
หาบริโภคทรัพย์ได้ไม่สิ้นสุด 4. โภคทรัพย์ท่ียังไม่เกิดก็เกิดข้ึน 5. โภคทรัพย์ที่ได้ไว้แล้วก็ย่ังยืนถาวร 6. หาสิ่งท่ี
243
ปรารถนาได้รวดเร็ว 7. สมบัติไม่กระจายด้วยภัยต่างๆ 8. หาทรัพย์ได้โดยไม่ถูกแบ่งแยก 9. ได้โลกุตตรทรัพย์ คือ
นพิ พาน 10. อยทู่ ไ่ี หนกเ็ ปน็ สุข 11. จะไม่รู้ ไม่เคย ไดย้ นิ คำวา่ ไมม่ ี
ศีลข้อท่ี 3 กาเมสุ มิจฉาจารา เวรมณี... เว้นจากการประพฤติผิดในกาม ศีลข้อที่ 3 เว้นจากการ
ประพฤติผิดในกาม ต้องประกอบดว้ ยองค์ 4 คือ
1. หญิงหรือชายท่ีไมค่ วรละเมิด คือ หญิงทไ่ี ม่ใชภ่ รรยา หรอื ชายที่ไม่ใชส่ ามีของตน หญิงหรอื ชายท่ี
อยู่ปกครองของบิดา มารดา หรือกรณีท่ีบุพพการี เสียชีวิต แต่มีผู้ปกครองอ่ืนดูแลอยู่ เช่น ลุง ป้า น้า อา
ปู่ ย่า ตา ยาย เปน็ ตน้ 2. มจี ิตคิดจะเสพเมถนุ 3. ประกอบกิจในการเสพเมถนุ 4. ยังอวัยวะเพศให้ถึงกนั
อธิบายองคท์ ี่ 1 ใหล้ ะเอยี ดอกี ที หญงิ 20 จำพวกท่เี ม่ือเราละเมดิ แลว้ มีความผดิ คอื
1.หญิงท่มี ีมารดาปกครอง 2.หญงิ ท่ีมีบิดาปกครอง 3.หญงิ ท่มี ีทงั้ มารดาและบิดาปกครอง 4.หญงิ ทม่ี ี
พ่ีสาวปกครองหรือมีน้องสาวดูแลรักษาหรือหวงอยู่ 5.หญิงท่ีมีพี่ชายปกครองหรือมีน้องชายดูแลรักษาหรือ
หวงอยู่ 6.หญิงที่มีญาติปกครอง 7.หญิงที่มีตระกูลเดียวกันหรือเชื้อชาติเดียวกันเป็นผู้ปกครอง 8.หญิงที่มีผู้
ประพฤตปิ ฏิบัติศีลธรรมดว้ ยกนั เป็นผปู้ กครอง เช่น แม่ชีมีหัวหนา้ ชีปกครอง เปน็ ต้น 9.หญิงทกี่ ษัตริยห์ รอื ผ้มู ี
อำนาจไดจ้ องตวั เอาไว้ 10.หญงิ ทีม่ ีค่หู มน่ั 11.หญงิ ทถี่ ูกผ้อู ่ืนซอ้ื ตวั มา 12.หญิงทีส่ มัครใจไปอยู่กับชาย (คนอื่น
แล้ว)คือหญิงที่มีสามีแล้ว 13.หญิงที่ยอมเป็นภรรยาของชาย (คนอื่นแล้ว)โดยหวังในทรัพย์สินเงินทอง คือ
หญิงท่ีมีสามีแล้วอกี ประเภทหนึง่ 14.หญิงทย่ี อมเป็นภรรยาของชาย (คนอ่ืนแล้ว)โดยหวงั ในเครือ่ งนุ่งหม่ 15.
หญิงที่มีสามีแล้วโดยการทำพิธีแต่งงาน 16.หญิงท่ีเป็นภรรยาของชายคนอื่น โดยชายคนน้ันเปน็ ผู้ชว่ ยให้พ้น
จากการแบก ของขายคอื ชว่ ยให้พ้นจากความยากลำบากนั่นเอง 17.หญิงที่มีสามแี ล้ว โดยเม่ือกอ่ นเปน็ เชลย
แล้วภายหลังตกมาเป็นภรรยาของนายเชลยนัน้ 18.หญิงที่มสี ามีแลว้ โดยเมอื่ ก่อนเปน็ ลูกจา้ งแล้วภายหลังตก
มาเป็นภรรยาของนายจ้างน้ัน 19.หญิงที่มีสามีแล้ว โดยเม่อื ก่อนเป็นทาสแล้วภายหลังตกมาเป็นภรรยาของ
นายทาสนั้น 20.หญิงท่ีเป็นภรรยาของชายช่ัวครั้งช่ัวคราว แล้วถูกล่วงละเมิดในขณะท่ีทำหน้าที่เป็นภรรยา
ของชายคนอื่นอยู่ เช่นหญิงขายบริการท่ีอยู่ในช่วงสัญญากับชายคนหน่ึงอยู่ แต่กลับไปมีสัมพันธ์กับชายอีก
คนหนึ่ง เป็นต้น
ทงั้ หมดน้เี ปน็ การระบุรวบรวมเอาไว้ต้งั แต่สมัยโบราณ บางข้อจึงดูแปลกๆอยบู่ ้าง เพราะประเพณที ่ี
แตกต่างกันออกไป ที่นำมาแสดงเอาไว้ก็เพ่ือให้ครบถ้วนตามตำราและเอาไว้ใช้ในการเทียบเคียงกับยุค
ปัจจุบัน สำหรับผู้ท่ีไม่เข้าข่ายต้องห้ามก็เช่น ชายหญิงท่ีเป็นสามีภรรยากัน หญิงขายบริการที่บิดา มารดา
และผ้ปู กครองท้งั หลายยินยอมพร้อมใจให้ทำอาชีพน้ัน ท้ังน้ตี ้องไม่อยใู่ นช่วงสญั ญากับคนอน่ื ดว้ ยหญงิ ท่ีไม่มี
ผใู้ ดปกครองดูแลและไม่มเี จา้ ของหวงอยู่ (คือหญิงทมี่ ีอิสระในตัวเองอย่างแท้จรงิ ) หญิงที่ไดร้ ับความยินยอม
จากใจจรงิ ของผ้ปู กครองและผู้ทีเ่ ป็นเจ้าของ (เช่น บิดามารดา สำหรับหญิงทม่ี สี ามีแล้วต้องได้รับอนญุ าตจาก
สามกี อ่ น) โดยทุกกรณี ถ้าฝ่ายชายมภี รรยาแล้วต้องได้รบั อนญุ าตจากภรรยาก่อนดว้ ย
โดยสรุปก็คอื จะตอ้ งไม่ทำให้ใคร (ผูท้ ี่มีสิทธ์ิโดยชอบธรรมในตวั หญิงและชายนั้น) ไม่พอใจหรือรู้สึกเจบ็ ช้ำ
น้ำใจที่เราไปละเมิดบุคคลเหล่านั้น ท้ังหมดนี้เป็นการระบุรวบรวมเอาไว้ต้ังแต่สมัยโบราณ บางข้อจึงดูแปลกๆอยู่
บา้ ง เพราะประเพณีที่แตกต่างกันออกไป ท่แี สดงเอาไว้ก็เพื่อใหค้ รบถ้วนตามตำราและเอาไวใ้ ชใ้ นการเทียบเคียงกับ
ยคุ ปัจจุบัน สมัยน้จี ะมพี วกนกั เรยี นนักศึกษาท่ีแอบมอี ะไรกนั ก่อนโดยท่ีผ้ปู กครองไม่รบั รู้ บางคนก็ฟันแล้วทิง้ ก็ผิด
เหมือนกัน เพราะหญิงท่ีล่วงละเมิดย่อมมีผู้ปกครองดูแล ถ้าไม่เว้นจากการประพฤติผิดในกาม(ผิดศีลข้อ3)จะเกิด
อะไรขึ้น ... พระพุทธเจ้าตรัสไว้ว่า บุคคลเสพแล้ว เจริญให้มากแล้วย่อมยังสัตว์ให้ตกนรก ยังให้กำเนิดในสัตว์
ดิรัจฉาน ในเปรตวสิ ัย เมือ่ วบิ ากกรรมเรมิ่ เบาบางลงมีโอกาสได้เกดิ เป็นมุษย์ ดว้ ยเศษแหง่ วบิ ากกรรม ขอย้ำน่ะครับ
วา่ เศษวิบากกรรมท่ยี ังหลงเหลอื อยู่ แต่กอ่ นหนา้ ท่ีจะได้เกิดในกำเนิดมนษุ ย์ตอ้ งทนทกุ ข์ทรมานในนรก ในเปรตวิสยั
ในสัตวเ์ ดรัจฉานเปน็ อันมากตามลำดบั เม่อื วบิ ากกรรมเบาบางลงจนมีโอกาสได้เกดิ เปน็ มนุษยจ์ งึ ไดร้ บั เศษแหง่ วิบาก
กรรมท่ยี งั หลงเหลอื อยู่ ผดิ กาเมสมุ ิจฉาจาร (ศลี ขอ้ 3) แลว้ จะไดร้ บั ผลยงั ไง?
244
หากเกิดเป็นมนุษย์อีกจะได้รับผล 11 ประการ คือ 1. มีผู้เกลียดชังมาก 2. มีผู้ปองร้ายมาก 3. ขัด
สนทรัพย์ 4. ยากจนอดอยาก 5. ต้องเกิดเป็นหญิง 6. ต้องเกิดเป็นกระเทย 7. หากเป็นชาย จะเกิดอยู่ใน
ตระกูลต่ำ 8. ได้รับความอับอายเป็นอาจิณ 9. ร่างกายไม่สมประกอบ 10. มากไปด้วยความวิตกกังวล 11.
พลดั พรากจากผ้ทู ี่ตนรัก
ผล 11 ประการน้ีเป็นเพียงเศษของกรรมที่ได้รับ หลังจากตกนรกไปเกิดเป็นสัตว์เดรัจฉาน หรือ
หลงั จากไปเกิด เป็นเปรตมาแลว้ เมื่อมาเกิดเป็นมนษุ ย์กจ็ ะไดร้ ับผลของกาเมสมุ จิ ฉาจาร(ประพฤติผิดศลี ขอ้ 3)
ในปวัตติกาลดังกล่าวแล้ว แล้วถ้าเราตั้งใจรักษาศีลข้อ3 คือเว้นจากการประพฤติผิดในกาม เราจะได้รับผล
อย่างไร? การละเว้นจากการประพฤติผดิ ในกามเสียได้ จะไดร้ บั ผล 2 ขั้น คอื 1. ได้รบั ผลใน ปฏสิ นธกิ าล คือ
เกิดเป็นมนุษย์หรือเทวดาเรียกว่าได้ปฏิสนธิในกามสุคติภูมิ 2. ได้รับผลใน ปวัตติกาล คือ หลังจากเกิดเป็น
มนษุ ย์แลว้ จะได้รบั ผลอกี 20 ประการ
อานิสงส์ของการรักษาศีลข้อที่ 3 มี 20 ประการ 1. ไม่มีข้าศึกศัตรู 2. เป็นท่ีรักของคนท่ัวไป 3.
นอนหลับเป็นสุข 4. ต่ืนก็เป็นสุข 5. พ้นภัยในอบายภูมิ (อบายภูมิ คือ เปรต สัตว์นรก อสูรกาย สัตว์
เดรัจฉาน) 6. ไม่เป็นบุคคลอาภัพ ไม่เกิดเป็นหญิงหรือกระเทย 7. ไม่โกรธง่าย 8. ทำอะไรก็ได้โดยเรียบรอ้ ย
9. ทำอะไรเปดิ เผยแจ่มแจ้ง 10. มีความสง่า คอไม่ตก 11. หนา้ ไม่ก้ม มีอำนาจ 12. มแี ต่เพอ่ื นรกั ทง้ั บุรุษและ
สตรี 13. มีอินทรีย์ 5 บริบูรณ์ (ศรัทธา สติ วิริยะ สมาธิ ปัญญา) 14. มีลักษณะบริบูรณ์ 15. ไมม่ ีใครรังเกียจ
16. ขวนขวายน้อย ไม่ต้องเหน็ดเหน่ือยมาก 17. อยู่ที่ไหนก็เป็นสุข 18. ไม่ต้องกลัวภัยจากใคร 19. ไม่ค่อย
พลดั พรากจากของที่รกั 20. หาขา้ ว น้ำ ทอ่ี ยู่ เคร่อื งนงุ่ ห่มได้ง่าย
มาถึงศีลข้อที่4 กันแล้วน่ะครับ ศีลข้อที่ 4 คือ เว้นจากการพูดเท็จ พูดไม่เป็นความจริง พูดโกหก
หรอื พูดมุสา พูดเพ้อเจ้อ ศีลข้อท่ี 4 เว้นจากการพูดเท็จ ต้องประกอบด้วยองค์ 4 คือ 1. เร่ืองน้ันไม่จริง 2.
มีจิตคิดจะพูดให้คลาดเคลื่อนไปจากความจริง 3. พยายามท่ีจะพูดให้คลาดเคล่ือไปจากความจริง 4. คนฟัง
เขา้ ใจความหมายตามทพ่ี ูดน้ัน
ถา้ ไม่เวน้ จากมสุ าวาท หรือพดู เท็จจะเกิดอะไรขึ้น....พระพุทธเจา้ ตรัสว่า มุสาวาทอันบคุ คลเสพแล้ว
เจริญแล้ว กระทำให้มากแล้วย่อมยังสัตว์ให้ป็นไปในนรกในกำเนิดดิรัจฉานในเปรตวิสัย ผลจากการกล่าว
มสุ าวาทอย่างเบาท่ีสุดย่อมยังการแตกจากมติ รใหเ้ ปน็ ไปแก่ผู้เกิดเป็นมนษุ ย์
การกล่าวมุสาวาทแลว้ จะมีผลอย่างไร ? การกลา่ วมุสาวาท หรือการพดู เทจ็ ปราศจากความจริง เมอื่
กล่าวออกไปแล้วจะได้รับผล 2 ขั้น คือ 1. ได้รับผลใน ปฏิสนธิกาล คือเกิดเป็นสัตว์เดรัจฉาน เปรตวิสัย 2.
ได้รบั ผลใน ปวัตติกาล คือ หลังเกิดแล้ว และผลที่จะได้รับในปวัตติกาลนี้ จะครบองค์มสุ าวาท หรือไมก่ ็ตาม
ถ้าได้เกิดมาเป็นมนุษย์จะได้รับผลร้ายอีก 8 ประการ คือ 1. พูดไม่ชัด 2. ฟันไม่เป็นระเบียบ 3. ปากเหม็น
มาก 4. ไอตัวรอ้ นจดั 5. ตาไมอ่ ยู่ในระดบั ปกติ 6. กล่าววาจาด้วยปลายล้ินและปลายปาก 7. ท่าทางไมส่ ง่า
ผา่ เผย 8. จิตไมเ่ ที่ยงคลา้ ยคนวิกลจรติ
อานิสงส์แห่งการรักษาศีล ข้อท่ี 4 มี 14 ประการ 1. มีอินทรีย์ท้ัง 5 ผ่องใส 2. มีวาจาไพเราะ
อ่อนหวาน 3. มีฟันเสมอชิด สะอาด 4. ไม่อ้วนจนเกินไป 5. ไม่ผอมจนเกินไป 6. ไม่สูงจนเกินไป 7. ไม่เตี้ย
จนเกนิ ไป 8. กลิ่นปากหอมเหมือนดอกบัว 9. ได้สัมผัสแต่ท่ีเป็นสุข 10. มีบริวารล้วนขยันขนั แข็ง 11. บคุ คล
อนื่ จะเชือ่ ถือถอ้ ยคำที่พดู 12. ลนิ้ บางแดง ออ่ นเหมือนกลีบดอกบวั 13. ใจไมฟ่ ้งุ ซา่ น 14. ไมต่ ิดอา่ งไมเ่ ปน็ ใบ้
เดินมาถึงข้อสุดท้ายแล้วครับ สำหรับศีลข้อ ที่ 5 คือ สุราเมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานา เวรมณี เว้น
จากการดื่มสุราและเมรัย รวมถึงเคร่ืองดองของเมาและยาเสพติดให้โทษทุกชนิด เรามาดูองค์ประกอบของ
ศีล5กนั ดกี วา่ ครับ
245
ศลี ข้อท่ี 5 เว้นจากการดื่มน้ำเมา รวมถึงสิ่งเสพติดให้โทษทุกชนิด ต้องประกอบด้วยองค์ 4 คือ 1.
น้ำท่ีด่ืมเป็นน้ำเมา(รวมถึงสิ่งเสพติดทุกชนิด) 2. มจี ิตคิดจะด่ืม(เสพ) 3. พยายามดื่ม(เสพ) 4. น้ำเมาหรือสิ่งที่
เสพนน้ั ล่วงพ้นลำคอลงไป
ศีลข้อ ท่ี 5 เว้นจากการด่ืมสุราเมรัย ของมึนเมา ส่ิงเสพติดให้โทษทุกชนิด ถ้าไม่เว้นจะได้โทษ
อยา่ งไร ? พระพทุ ธเจา้ ตรสั ไวว้ ่า การด่ืมน้ำเมา คอื สรุ าและเมรยั อันบุคคลเสพแลว้ เจริญแลว้ กระทำให้มาก
แล้ว ยังสัตว์ให้เกิดในนรก ในกำเนิดสตั ว์เดรัจฉาน ในเปรตวิสยั ผลแห่งการด่ืมน้ำเมา คอื สุราและเมรยั อย่าง
เบาที่สดุ ย่อมยังความเป็นบ้าใบใ้ ห้เป็นไปแก่ผูม้ าเกดิ เป็นมนษุ ย์
ถ้าผดิ ศีล ขอ้ ที่ 5 ผลได้รบั เป็นอย่างไร ผลที่จะไดร้ บั ทีมี 2 ขั้น คือ
1. ไดผ้ ลในปฏสิ นธกิ าล เกดิ ในนรก ดิรจั ฉาน เปรตวิสยั
2. ได้รับผลในปวัตติกาล คือหลังจากเกิดแล้วและผลที่จะได้รับในปวัตติกาลน้ีจะครบองค์หรือไม่ก็
ตามถา้ เกิดมาเป็นมนษุ ยจ์ ะไดร้ ับผลจากการดม่ื สุรา(และสิ่งเสพติดให้โทษทุกชนดิ ) 6 ประการ
ผลจากการดื่มสุราและส่ิงเสพติดให้โทษทุกชนิด 6 ประการ คือ 1. ทรัพย์ถูกทำลาย 2. เกิดวิวาท
บาดหมาง 3. เป็นบอ่ เกดิ แห่งโรค 4. เสือ่ มเกยี รติ 5. หมดยางอาย 6. ปัญญาเสอื่ มถอยหรือพกิ ารทางปญั ญา
รักษาศีล ขอ้ ที่ 5 จะได้อะไร ? ถ้าเว้นจากการดืม่ สุรา เมรยั หรือเวน้ จากสงิ่ เสพติดให้โทษจะไดผ้ ลดี
2 ประการ คอื
1. ได้รบั ผลดใี นการปฏิสนธิกาล คอื จะเกิดในกามสคุ ตภิ ูมิ มมี นุษยห์ รอื สวรรคเ์ ปน็ ทเ่ี กดิ
2. ได้รับผลในปวัตติกาล คือหลังจากเกิดแล้ว ถ้าได้เป็นมนุษย์จะได้รับอานิสงส์จากการเว้นด่ืม
นำ้ เมาและสง่ิ เสพตดิ ให้โทษทุกชนดิ 35 ประการ อานิสงสจ์ ากการเวน้ ดมื่ นำ้ เมา 35 ประการ คอื
1. รูก้ จิ การอดีต อนาคต ปจั จุบันได้รวดเร็ว 2. มีสติต้งั ม่ันทุกเมอ่ื 3. มปี ญั ญาดี มีความรู้มาก 4. มี
แต่ความสุข 5. มีแต่คนนับถือ ยำเกรง 6. มีความขวนขวายน้อย (หากินง่าย) 7. มีปัญญามาก 8. มีปัญญา
บันเทิงในธรรม 9. มีความเห็นถูกต้อง 10. มีศีลบริสุทธิ์ 11. มีใจละอายแก่บาป 12. รู้จักกลัวบาป 13. เป็น
บัณฑติ 14. มคี วามกตญั ญู 15. มกี ตเวที 16. พดู แตค่ วามสัตย์ 17. รจู้ ักเฉลย่ี เจือจาน 18. ซื่อตรง 19. ไม่เป็น
บ้า 20. ไม่เป็นใบ้ 21. ไม่มัวเมา 22. ไม่ประมาท 23. ไม่หลงใหล 24. ไม่หวาดสะดุ้งกลัว 25. ไม่บ้าน้ำลาย
26. ไม่งุนงง ไม่เซอ่ เซอะ 27. ไม่มีความแขง่ ดี 28. ไม่มีความริษยา 29. ไม่ส่อเสียดใคร 30. ไม่พูดหยาบ 31.
ไม่พูดเพ้อเจ้อไร้ประโยชน์ 32. ไม่เกียจคร้านทุกคืนวัน 33. ไม่ตระหน่ี 34. ไม่โกรธง่าย 35. ฉลาดรู้ในส่ิงท่ี
เปน็ ประโยชน์และในส่งิ ทเ่ี ป็นโทษ
สรุปได้ว่า อานิสงส์ของศีลคือ สีเลน สุคตึ ยนฺติ สีเลน โภคสมฺปทา สีเลน นิพพุตึ ยนฺติ ตสฺมา สีลํ
วิโสธเย แปลว่า ศีลทำให้เราเข้าถึงสุคติ ศีลก่อให้เกิดโภคทรัพย์ และศีลนำมาให้ได้ถึงความดับ หรือพระ
นพิ พาน ด้วยเหตฉุ ะน้ี จงึ ควรรักษาศลี ไว้ดว้ ยดี
246
คำถามทบทวนประจำบทที่ 7
7.1 พระพุทธเจ้าทรงมีวธิ ีการบญั ญัตพิ ระวินยั อย่างไรบา้ ง
7.2 จงนักศึกษาจงบอกประเภทของศลี บทบัญญตั ิต่างๆ วิธีการปฏบิ ัติของศีลประเภทตา่ งๆ
7.3 ผลท่ไี ดจ้ ากการปฏบิ ตั ิตามศีลมีอย่างไรไดบ้ า้ ง
7.4 ศีลของพระสงฆก์ บั ศีลของสามเณรแตกตา่ งกนั อยา่ งไร
7.5 ทำไมศีลของนางภกิ ษณุ ีจึงมากกว่าพระภิกษุสงฆ์
7.6 ทำไมพระพทุ ธเจา้ จึงเปรยี บมหาโจรห้าจำพวกกบั พวกท่ไี มม่ ศี ลี
7.7 ระหว่างการอวดอุตตรมิ นุษยธรรมกบั การลักทรพั ย์ ข้อไหนรนุ แรงมากกว่ากนั
7.8 ความมุ่งหมายของอาบตั ปิ าจติ ตียเ์ พอื่ อะไร
7.9 ศลี ของพระสงฆ์กบั การใช้ชีวิตในโลกปจั จุบันสามารถปรบั เปล่ยี นไปด้วยกนั ได้หรอื ไม่อย่างไร
247
เอกสารอ้างองิ
1. ภาษาไทย
ก. พระไตรปฎิ ก
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
กรุงเทพมหานคร : โรงพมิ พม์ หาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย.
มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย. (2555). พระไตรปิฎกและอรรถกถาแปล ของมหามกุฏราชวิทยาลัย.
พมิ พ์ครัง้ ท่ี 6. นครปฐม : โรงพิมพม์ หามกุฏราชวิทยาลยั .
ข. หนงั สือทัว่ ไป
ปัญญา ใช้บางยาง และคณะ. (2548). พระวินัย 227 พุทธบัญญัติจากพระไตรปิฎก. พิมพ์ครั้งท่ี 2.
กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ธรรมสภา สถาบันบนั ลอื ธรรม.
พระธรรมกิตติวงศ์ (ทองดี สุรเตโช). (2548). พจนานุกรมเพ่ือการศึกษาพุทธศาสน์ ชุด คำวัด.
กรงุ เทพมหานคร : วดั ราชโอรสาราม.
มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวทิ ยาลัย. (2555). พระไตรปฎิ กและอรรถกถาแปล ของมหามกฏุ ราชวทิ ยาลยั . พิมพ์ครั้ง
ที่ 6. นครปฐม : โรงพิมพ์มหามกุฏราชวทิ ยาลยั .
แสง จันทรง์ าม, วศิน อินทสระ, อุทยั บุญยืน. (2553). พระไตรปิฎกสำหรับผู้บวชใหม่และชาวพุทธทั่วไป.
พิมพิค์ รั้งทส่ี 2. กรงุ เทพมหานคร : โรงพิมพ์เจริญวิทย์การพิมพ์.
2. ส่ืออิเล็กทรอนิกส์
Dhammakaya Forum. "อานิสงส์ของการรักษาศีล และ ผลของการไม่รักษาศีล". สืบค้นเมื่อวันท่ี 18
กันยายน 2561.เข้าถงึ ไดจ้ าก http://www.dhammakaya.org/forum/index.php?topic=342.0.
248
แผนบริหารการสอนประจำบทเรยี น บทท่ี 8
1. ชอื่ บท
การตีความ วนิ ิจฉัยและวิธีการตดั สินอธกิ รณใ์ นพระวนิ ยั
2. เนื้อหาหัวข้อหลัก
การตคี วามพระวนิ ยั การวินิจฉยั พระวนิ ัย วธิ ีการตัดสนิ อธกิ รณใ์ นพระวนิ ยั
3. วตั ถปุ ระสงค์เชงิ พฤตกิ รรม
3.1 อธบิ ายและวิเคราะห์การตคี วามพระวนิ ัยได้
3.2 อธบิ ายการวินจิ ฉัยพระวนิ ัยได้
3.3 อธบิ ายและวิเคราะห์วธิ ีการตัดสนิ อธกิ รณ์ในพระวินัยได้
4. กำหนดวิธแี ละกจิ กรรม
4.1 ทำแบบประเมนิ ผลตนเองก่อนเรยี น
4.2 สอนแบบบรรยาย อภปิ ราย ซกั ถาม
4.3 มอบหมายงานเขียนผังมโนทัศน์ ทำ Concept Mapping
4.4 แบง่ กลมุ่ ค้นคว้านำเสนอรายงานหนา้ ชนั้
4.5 ทำแบบประเมนิ ผลตนเองหลงั เรยี น
5. ส่อื การเรยี นการสอน
5.1 หนังสอื ตำรา วารสาร ผลงานทางวชิ าการ งานวจิ ัย
5.2 เอกสารประกอบการสอน
5.3 ใบงาน
5.4 พาวเวอรพ์ อยท์ (Power Point)
5.5 ส่ืออิเล็กทรอนกิ ส์
6. วิธกี ารวดั ผลทางการเรียนการสอน
6.1 แบบประเมินผลตนเองกอ่ นและหลังเรยี น
6.2 ทดสอบความรู้ความเข้าใจ ทำแบบ Pre-Test
6.3 การตอบคำถาม / การสัมภาษณ์
6.4 การอภิปราย / ทำกจิ กรรมกลมุ่ และการมสี ่วนรว่ ม
6.5 ประเมินผลจากการสอบประจำภาคการศึกษา
249
บทที่ 8 การตีความ วนิ ิจฉยั และวิธีการตัดสนิ อธกิ รณ์ในพระวนิ ยั
8.1 บทนำ
การตีความพระวินัยมีความสำคัญอย่างมากเพราะว่าถ้าตีความพระวินัยผิดก็จะทำให้หลักการทางพุทธ
ศาสนาผิดไปด้วย มีบทความบทหนึ่งที่พระมหาสมบูรณ์ วุฑฺฒิกโร,ผู้แปล (2548) 'ศาสตร์แห่งการตีความแนว
พุทธ'. พระผู้มีพระภาคตรัสกับท่านพระอานนท์ว่า “อานนท์ บางทีพวกเธออาจจะคิดว่า ปาพจน์มีพระศาสดา
ล่วงลับไปแล้ว พวกเราจะไม่มีพระศาสดา ข้อนี้พวกเธอไม่พึงเห็นอย่างนั้น ธรรมและวินัยที่เราแสดงแล้วบัญญัติ
แล้วแก่เธอท้ังหลาย จะเป็นศาสดาของเธอทั้งหลาย หลังจากเราล่วงลับไป” น้ีคือโอวาทครั้งสุดท้ายของ
พระพุทธเจ้าก่อนท่ีจะเสด็จดับขันธปรินิพพาน การจากไปขององค์ผู้สถาปนาศาสนาได้ทิ้งภาวะยุ่งยาก
(dilemma-ภาวะท่ียากต่อการเลือกตัดสินว่าจะเอาอย่างไร-ผู้แปล) ไว้ให้แก่ชุมชนทางศาสนา (พุทธบริษัท) เมื่อ
พระพุทธเจ้าไม่อยู่เสียแล้ว มีคำถามว่า อำนาจ (authority) จะไปสถิตอยู่ที่ไหน พระเจ้าพุทธเจ้าตรัสสอนพระ
อานนท์ว่า คำสอนของพระองค์จะเป็นศาสดาแทนพระองค์ จริง ๆ แล้วอะไรคือคำสอนของพระองค์ และที่
บอกวา่ คำสอนจะเป็นศาสดานั้นหมายความวา่ อย่างไร การพิจารณาประเด็นปัญหาเหล่านี้ นำไปส่สู ่ิงที่อาจ
เรียกไดว้ ่า “อรรถปริวรรตศาสตร์เชิงพุทธ” คือต้องคิดให้ถ่ีถ้วนเสียก่อนจึงค่อยตัดสินใจลงไป186
ในพระพุทธศาสนามีหลักการตัดสินความเช่ือเกสปุตตสูตรหรือกาลามสูตร กาลามสูตร (เรียกอีก
อย่างว่า เกสปุตตสูตร คือ พระสูตรที่พระโคตมพุทธเจ้าทรงแสดงแก่ชาวกาลามะ หมู่บ้านเกสปุตตนิคม
แควน้ โกศล กาลามสูตรเปน็ หลกั แห่งความเช่ือท่ีพระพุทธองค์ทรงวางไว้ให้แก่พุทธศาสนกิ ชน ไม่ให้เชื่อส่ิงใด
ๆ อย่างงมงายโดยไม่ใชป้ ญั ญาพจิ ารณาใหเ้ หน็ จริงถึงคณุ โทษหรือดีไม่ดีก่อนเชอ่ื มอี ยู่ 10 ประการ ได้แก่
มา อนุสฺสวเนน – อยา่ ปลงใจเชื่อดว้ ยการฟงั ตามกนั มา, มา ปรมปฺ ราย - อย่าปลงใจเชื่อดว้ ยการถือ
สืบ ๆ กันมา, มา อิติกิราย – อย่าปลงใจเชื่อด้วยการเล่าลอื , มา ปฏิ กสมปฺ ทาเนน – อย่าปลงใจเช่ือด้วยการ
อ้างตำราหรือคัมภีร์, มา ตกฺกเหตุ - อย่าปลงใจเช่ือเพราะตรรกะ (การคิดเอาเอง), มา นยเหตุ - อย่าปลงใจ
เชอ่ื เพราะการอนมุ าน (คาดคะเน), มา อาการปริวิตกฺเกน – อยา่ ปลงใจเช่ือดว้ ยการคิดตรองตามแนวเหตผุ ล,
มา ทิฎฐินิชฺฌานกฺขนฺติยา – อย่าปลงใจเชื่อเพราะเข้ากันได้กับทฤษฎีที่พินิจไว้แล้ว, มา ภพฺพรูปตา – อย่า
ปลงใจเชื่อมองเห็นรูปลักษณะน่าจะเป็นไปได้, มา สมโณ โน ครูติ - อย่าปลงใจเชื่อเพราะนับถือว่าท่าน
สมณะนี้ เป็นครขู องเรา
เมื่อใดสอบสวนจนรู้ได้ด้วยตนเองว่า ธรรมเหล่านั้นเป็นอกุศลหรือมีโทษเม่ือนั้นพึงละเสีย และ
เม่ือใดสอบสวนจนรู้ได้ด้วยตนเองว่า ธรรมเหล่าน้ันเป็นกุศลหรือไม่มีโทษ เม่ือนั้นพึงถือปฏิบัติ 187
(พระไตรปิฎก เล่มท่ี 20 พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ 12 อังคุตตรนิกาย เอก-ทุก-ติกนิบาต เกสปุตตสูตร.
พระไตรปิฎกฉบับหลวง. [ออนไลน์].) พระมหาทวี มหาปญฺโญ (ละลง) (2555) พระพุทธศาสนาเป็นศาสนา
หนึ่งในบรรดาศาสนาของมนุษย์ท่ีมกี ระบวนการตีความหมาย สืบทอดตอ่ กนั มาเป็นเวลาสองพันห้าร้อยกว่าปี
ซ่ึงการตีความพระธรรมวินัยตั้งแต่ครั้งพุทธกาลจนกระทั่งถึงปัจจุบันได้ปราก ฎขึ้นให้เห็นเป็นระยะๆ การ
ตีความพระธรรมวินัยดังกล่าวทำให้พระพุทธศาสนาแตกแยกออกเป็นสองนิกายหลัก คือนิกายหินยานหรือ
เถรวาทท่ีถือว่าเป็นพระพุทธศาสนาด้ังเดิมและนิกายมหายาน หรืออาจริยวาทท่ีแตกออกมาใหม่ ท้ังสอง
นิกายนี้ยังแตกออกเป็นนิกายย่อยอีก ตามหลักฐานทางประวัติศาสตรพ์ ระพุทธศาสนาบางแห่งระบุว่ามีการ
แตกเป็นนกิ าย ย่อย 18 นิกาย บางแห่งระบุวา่ 26 นิกาย นอกจากนี้เม่ือพระพทุ ธศาสนาไดร้ ับการเผยแผ่ใน
186 พระมหาสมบูรณ์ วฑุ ฒฺ ิกโร,ผู้แปล. (2548). 'ศาสตร์แหง่ การตีความแนวพุทธ'. สืบค้นเมือ่ วนั ที่ /25 กนั ยายน
2561.เข้าถึงไดจ้ าก http://www.mcu.ac.th/site/articlecontent_desc.php?article_id=449&articlegroup_id=102.
187 พระไตรปิฎก เล่มท่ี 20 พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ 12 อังคุตตรนิกาย เอก-ทุก-ติกนิบาต เกสปุตตสูตร.
พระไตรปิฎกฉบบั หลวง. [ออนไลน์].
250
ดินแดนต่างๆนอกอินเดียยังมีการ แตกเป็นนิกายต่างๆอีกเช่นนิกายมหายานในจีนมีนิกายธยานหรือฉาน
นกิ ายมหายานในธเิ บตแยกเปน็ นกิ ายหมวกเหลืองและหมวกแดง มหายานในญ่ปี ุ่นมีนิกายมากถึง 24 นิกาย
เช่นเทียนไท้นิจิเรนเซนเป็นต้น188ส่วนนิกายหินยานหรือเถรวาทที่เข้าไปสู่ ลังกาพม่าลาวกัมพูชาและไทยมี
การแตกเป็นนิกายยอ่ ยอีกไม่นอ้ ยเชน่ นิกายหินยาน ในประเทศไทยแบ่งเปน็ มหานิกายและธรรมยตุ นิกาย
8.2 การตคี วามพระวินยั
ในวารสารประชาไท (2561) ได้กล่าวว่า189 ตามที่สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติขอข้อมูลการ
วางระบบเก่ียวกับการจัดการด้านการเงนิ และบัญชีวัด รวมทั้งต้องการหาวดั ตัวอย่างที่พระไม่จับเงิน เพ่ือให้
เป็นไปตามพระวินัย ไม่ให้พระต้องอาบัติ นิสสัคคียปาจิตตีย์น้ัน ก่อให้เกิดความคิดเห็นตามมามากมาย
โดยมากของบุคคลท่ีเคยคลุกคลกี ับสงฆ์จะเห็นว่า เพือ่ สงเคราะห์ภิกษใุ นการใช้ชีวิตและกระทำกิจในปัจจุบัน
สังคมชาวพุทธไทยควรยนิ ยอมให้พระรับเงินรับทอง (รวมทั้งทรพั ย์สินอื่น) เพอ่ื ประโยชน์สาธารณะได้ แมท้ ำ
ผิดวินัยก็พึงยอม แตก่ ารยินยอมเช่นน้ีจะนำไปสูค่ ำถามต่อไปว่า สังคมชาวพุทธไทยจะยังมีความชอบธรรมท่ี
จะเรยี กตวั เองวา่ “เถรวาท” ไดอ้ กี หรือ
บทความน้ีขอเสนอความเห็นต่างโดยมองว่า อาจถึงเวลาที่คณะสงฆ์และชาวพุทธไทยจะต้อง
พิจารณาพุทธดำรัสรว่ มกันอยา่ งจรงิ จัง โดยยึดพระพทุ ธกบั พระธรรมเป็นสำคญั มากกวา่ มุ่งหวังเพียงปกปอ้ ง
พระสงฆ์บางกลุ่ม “นสิ สัคคยี ์ ปาจิตตีย์” เปน็ ช่อื อาบตั ิเบาที่แกไ้ ขไดด้ ้วยการสละส่งิ ของ ทรัพย์ หรอื วัตถุ (ใน
กรณีนี้คือเงินทอง) ออกไป ภิกษุจึงจะพ้นจากความผิดได้ ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับเร่ืองเงินเรื่องทอง จะอยู่ใน
สกิ ขาบทของภิกษุข้อท่ี 18 – 20 ในนิสสัคคีย์ ปาจิตตยี ์ 30 ข้อ กลา่ วคือ ภิกษุไม่สามารถ “รบั ” และ “เกบ็ ”
เงินทอง ไม่สามารถ “ใช้” ผู้อื่นรับแทน และไมส่ ามารถ “ยินดี” ในทรพั ย์ที่ผู้อ่ืนเก็บให้ตน (ข้อ 18) ภิกษุไม่
สามารถ “ใช้” หรือ “แลกเปล่ียน” เงินทองกับผู้อื่น (ข้อ 19) และภิกษุไม่สามารถแลกเปลี่ยนข้าวของ
(รวมทัง้ ทรัพย์) ในลักษณะเป็นการ “ซ้ือขาย” กับผู้อนื่ (ข้อ 20) เมอ่ื พระวนิ ัยบัญญัติไว้ชัดเจนเช่นน้ี ภิกษุใด
ละเมิดย่อมอาบตั ิหมวดนี้แนน่ อน ไม่อาจตคี วามเลยี่ งบาลีเปน็ อน่ื เพ่ือปกปอ้ งหมูค่ ณะของตน
แม้กระนั้น ในพระสตู รสำคัญ (มหาปรินิพพานสูตร) และพระวนิ ัยส่วนอ่ืน (ปัญจสตกิ ขนั ธกะ) กลับ
ปรากฏข้อความท่ีพระพุทธเจ้าทรงเปิดช่องให้อำนาจและเสรีภาพแก่สงฆ์ในการพิจารณาเพิกถอนสิกขาบท
เล็กน้อย พระพุทธองค์ตรัสแก่พระอานนท์ก่อนปรินิพพานไม่นานว่า “อานนท์ เมื่อเราล่วงลับไป ถ้าสงฆ์
ปรารถนาจะถอนสิกขาบทเลก็ น้อยเสียบ้าง ก็ถอนได้” (อากงขฺ มาโน อานนฺท สงฺโฆ มมจฺจเยน ขฺทฺทานุขุทฺท
กานิ สิกฺขาปทานิ สมูหนตุ) พทุ ธดำรัสนี้สะท้อนให้เห็นพระกรุณาคณุ และพระปัญญาคุณท่ีแสดงออกมาเป็น
ความยืดหยุน่ และสนับสนนุ การเดนิ สายกลาง แมจ้ ะไม่มีข้อระบชุ ัดเจนวา่ สกิ ขาบทเล็กน้อยท่สี งฆส์ ามารถเพิก
ถอนได้คืออะไร แต่ชาวพุทธส่วนใหญ่ต้ังแต่อดีตก็เห็นชอบร่วมกันว่า “นิสสัคคีย์ ปาจิตตีย์” อยู่ในกลุ่มของ
สิกขาบทท่ีมีโทษเบา สามารถเพิกถอนได้ถ้าสงฆ์ปรารถนาร่วมกัน บทความน้ีจึงสนับสนุนให้คณะสงฆ์และ
ชาวพุทธไทยพิจารณาเร่ือง การเพิกถอนสิกขาบทในหมวด “นิสสัคคีย์ ปาจิตตีย์” ที่ว่าด้วยการรับ การใช้
การซื้อขาย และการแลกเปลี่ยนเงนิ ทางตลอดจนวัตถุขา้ วของอืน่ ดว้ ยเหตผุ ลตา่ ง ๆ ดงั น้ี
ประการท่ีหน่ึง การเพิกถอนสิกขาบทเล็กน้อยว่าด้วยภิกษุกบั เรอื่ งเงินเร่ืองทองน้ัน อาจฟังน่าตกใจ
และดูเหมอื นเปน็ เรื่องใหม่ซึ่งท้าทายการตดั สินใจของคณะสงฆไ์ ทยเปน็ อยา่ งย่ิง ชาวพุทธบางสว่ นอาจยอมรับ
ไม่ได้ในตอนแรก เพราะคิดว่าทำให้ “ความเป็นเถรวาท” เสียหาย ท่ีจริงแล้วความสามารถท่ีจะเพิกถอน
188 พระมหาทวี มหาปญฺโญ (ละลง). (2555). “การตคี วามข้อเท็จจริงพระธรรมวินัย: กรณีศึกษากลุ่มภิกษุวัชชีบตุ ร
ชาวเมืองไพศาลี”. สืบคน้ เมื่อวนั ที่ /25 กนั ยายน 2561. เข้าถงึ ไดจ้ าก https://www.gotoknow.org/posts/511071.
189 วารสารประชาไท. (2561). "เร่ือง “เงินทอง” กับ “ทางออก” ของคณะสงฆ์ไทย". สืบค้นเม่ือวันท่ี 26 กันยายน
2561.เข้าถงึ ไดจ้ าก https://prachatai.com/journal/2018/06/77486
251
สิกขาบทเล็กน้อย กลับยิ่งแสดงให้เห็น “พลัง” ของคณะสงฆ์ไทยที่สามารถเรียนรู้และอยู่กับโลกของความ
เปน็ จริงในปจั จุบัน การยดึ ม่ันถือมั่นในชอ่ื “เถรวาท” และอตั ลักษณ์ของอดีตท่ีสลายไปเนิ่นนานแล้วตามสัจ
ธรรมแห่งไตรลักษณ์ ทำให้คณะสงฆ์และพุทธศาสนาแบบไทยอ่อนแอ เฉื่อยช้า ไม่กล้าก้าวเดินไปข้างหน้า
และไม่ยอมเดนิ สายกลาง เป็นการเห็นแก่พระสงฆ์ อปุ ชั ฌาย์ หรอื อาจารย์ใกล้ชิดมากกวา่ จะระลึกถึงพระคุณ
ของครใู หญ่ ซึง่ ก็คอื พระสัมมาสมั พุทธเจา้ และคำสอนของพระองค์
การยึดถือเอาแต่ชื่อท่ีฟังเคร่งครัดแต่สาวกไม่สามารถปฏิบัติตามได้จริง จะทำให้พุทธศาสนาแบบ
ไทยไม่อาจยืนหยัดอยู่ในโลกยุคนี้ที่ซึ่งแนวคิด “โลกียวิสัย” หรือ “ฆราวาสนิยม” (Secularism) กำลัง
ลดทอนความสำคัญของศาสนา รวมทงั้ แทรกแซงและแทนที่การมอี ยขู่ องศาสนาด้วย
ประการทีส่ อง การเพกิ ถอนสิกขาบทเลก็ นอ้ ยว่าด้วยภิกษุกับเรือ่ งเงนิ เรอ่ื งทองนั้น ไม่ใชก่ ารเปดิ ทาง
ใหพ้ ระรับและใช้เงินทองเป็นกอบเปน็ กำแบบผคู้ รองเรือน อีกท้ังไม่ใช่การสนบั สนุนให้สงฆ์เพิกถอนสิกขาบท
เล็กน้อยอื่นเพื่อเอื้อประโยชน์เฉพาะบุคคลหรือเฉพาะกลุ่ม แต่คือ การเคลื่อนไหวของคณะสงฆ์ไทยท่ี
ต้องการมีส่วนร่วมในการปกครองตนเองอย่างเต็มท่ี การยินยอมให้ภิกษุรับเงินทองได้ของคณะสงฆ์ จะต้อง
เกิดข้ึนและดำเนินควบคู่ไปกับมาตรการทางรัฐหรือสังคมในการป้องกันและควบคุมกิเลสของพระชาวบ้าน
หรือสมมติสงฆ์ แต่ในการกำกับดูแลมาตรการน้ัน ภิกษุจะมีส่วนร่วมในการตรวจสอบเร่ืองเงิน ๆ ทอง ๆ ของ
วดั ไดโ้ ดยไม่ต้องรู้สึกตะขิดตะขวงใจว่าทำผิดข้อวนิ ัยหรือไม่ การปล่อยให้เจ้าหน้าที่รัฐหรือผู้ครองเรือนเป็นผู้
ตรวจสอบเรอื่ งเงนิ ทองของวดั ตา่ ง ๆ แต่เพยี งฝา่ ยเดยี ว กไ็ ม่สามารถการนั ตคี วามโปร่งใสในทางปฏิบตั ไิ ด้
ประการที่สาม การเพิกถอนสิกขาบทเลก็ น้อยว่าด้วยภิกษุกับเร่อื งเงนิ เรื่องทองนน้ั เป็นการเก้อื กูล
พระนักพัฒนาทด่ี ี คือมเี จตนาดีในการเข้าไปขอ้ งเกีย่ วกับเงินทองเพื่อประโยชน์สาธารณะเท่าน้ัน ในทางที่ทำ
ให้ท่านไม่ต้องรู้สกึ ผิดและสับสนในการจบั เงนิ จับทอง ส่วนพระท่ีไม่ประสงค์จะยุ่งเกี่ยวกับเงินทองก็สามารถ
ใชช้ วี ิตตามพระธรรมวินยั เครง่ ครัดในแบบที่ทา่ นต้องการตอ่ ไปไดอ้ ย่างปกติ
ประการที่ส่ี การเพิกถอนสิกขาบทเล็กน้อยว่าด้วยภิกษุกับเรื่องเงินเรื่องทองน้ัน จะเป็นการลดทิฐิ
มานะของชาวพุทธไทยจำนวนไม่นอ้ ยท่ใี ช้ “ความเป็นเถรวาท” ข่มเหงเหยียดหยามชาวพุทธกลมุ่ อ่ืน หน้าท่ี
หลักของชาวพุทธเถรวาทไทยคือสืบทอดรักษาคำสอนในพระไตรปิฎกบาลีให้บริสุทธิ์ ซึ่งภารกิจนี้สำคัญยิ่ง
และพึงเป็นนิยามของ “เถรวาท” ในปัจจุบัน มิใช่ยดึ ถือชื่อนี้เพื่ออ้างสิทธิ์ในการตีความพระธรรมวนิ ัยแบบท่ี
ตนเช่ือให้อยู่เหนือกว่า (หรือถูกต้องกว่า) ชาวพุทธกลุ่มอื่น ภิกษุเถรวาทไทยจะได้เรียนรู้ความใจกว้าง การ
ดำเนินชีวิตอยู่บนทางสายกลาง และเข้าใจความหลากหลายของคำสอนต่าง ๆ ซ่ึงเอื้อประโยชน์อย่างย่ิงต่อ
การสร้างศรทั ธาในหมชู่ น และส่งผลดตี อ่ การเผยแผพ่ ุทธศาสนาในสงั คมปัจจุบันท่ีเปิดรบั พหนุ ิยมทางศาสนา
ประการท่ีห้า การเพิกถอนสิกขาบทเล็กน้อยว่าด้วยภิกษุกับเร่ืองเงินเร่ืองทองน้ัน เม่ือพิจารณาให้
ลกึ ซ้ึงรอบด้านโดยปราศจากอคติ จะเป็นการให้ความสำคัญกับพระสัมมาสัมพทุ ธเจา้ พระองค์น้ี เป็นการเชิด
ชูพระธรรมคำส่ังสอนของพระองค์เหนืออ่ืนใด อีกทัง้ ยงั เปน็ การแสดงความเคารพอยา่ งจริงใจต่อพระอรหนั ต
สาวกในครั้งพุทธกาลด้วย การไม่เพิกถอนสิกขาบทเล็กน้อยในคร้ังปฐมสังคายนา เกิดจากเจตนาดีของพระ
อรหันตสาวกกจ็ ริง แตเ่ จตนาท่ีดใี นอดตี เมื่อสองพันกวา่ ปีลว่ งมาแล้วนั้น ไม่พงึ ถูกนำมาใช้ประโยชนแ์ ต่เปลอื ก
นอก แต่ข้างในกลับอนุโลมให้ภิกษุทำผิดพระวินัยได้ นั่นยิ่งจะเป็นการดูหม่ินครูบาอาจารย์ตั้งแต่ระดับ
ครูใหญไ่ ลล่ งมา
ด้วยเหตุขา้ งต้นนี้ และดว้ ยเหตุแหง่ พระกรณุ าคุณอนั ยงิ่ ใหญข่ องพระสัมมาสมั พทุ ธเจา้ พระองค์นี้ ถึง
เวลาแล้วหรือยังที่เราจะลดทิฐิมานะของตนเองลง มองเร่ืองราวต่าง ๆ รอบตัวด้วยจิตใจท่ีเปิดกว้าง และ
ช่วยกันหาวิธใี ห้พุทธศาสนาแบบไทยยืนหยดั อยูไ่ ดต้ ราบชัว่ รุ่นลูกหลาน ท่ามกลางกระแสเช่ียวกรากของโลก
ทนุ นยิ มเสรี เพอื่ ประโยชนค์ อื ความหลดุ พน้ จากกองทุกขข์ องมนุษยชาตทิ ง้ั ปวง
252
พระธรรมปฎิ ก (ป. อ. ปยุตโฺ ต)190 (2542, หนา้ 17-44) พระพุทธศาสนา ก็คอื คำสอนของพระพทุ ธเจ้า การ
ท่ีเรานับถือพระพุทธศาสนา ก็คือนับถือคำสอนของพระพุทธเจ้า ขอให้นึกย้อนหลังไปถึงสมัยพุทธกาล เมื่อ
พระพุทธเจ้าออกประกาศพระศาสนา ยังไม่มีพระพุทธศาสนา ท่านท้ังหลายท่ีมาเป็นพระสาวกของพระพุทธเจา้ ก็
คือต้องการมาฟังคำสอนของพระพุทธเจ้า เพราะเหตุท่ีต้องการฟังคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้า ก็จึงเป็นผู้ฟังท่ีเรา
เรียกวา่ เป็นสาวก คำว่าสาวกนน้ั ก็แปลวา่ ผู้ฟงั นนั่ เอง เม่ือฟังคำสัง่ สอนของพระพุทธเจา้ ที่เรียกว่าพระพุทธศาสนา
แล้ว ก็ไปปฏิบัติตามคำส่ังสอนของพระองค์ การฟังคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าแล้วปฏิบัติตามน้ัน ก็เป็น
พระพุทธศาสนาอีก พระพุทธศาสนาจึงมีความหมายท้ังเป็นคำส่ังสอนของพระพุทธเจ้า และการปฏิบัติตามคำสั่ง
สอนนน้ั ถึงความหมายขยายไกล ก็จับหัวใจพระพุทธศาสนาไว้ให้ได้ ตอ่ มากม็ กี ารจัดตง้ั เป็นชมุ ชน เป็นสถาบนั เปน็
องคก์ ร หมายความวา่ คนมารวมกันเรียน มาฟังคำสงั่ สอน ขยายออกไป เรียกว่าเล่าเรยี นคำสั่งสอนของพระพทุ ธเจ้า
แล้วก็ปฏิบัติ ทำกันอย่างเปน็ จริงเป็นจัง เป็นจำนวนมาก ก็ต้องมีการจดั สรรดูแลต่างๆ เพ่อื ให้คนท้ังหลายที่มาอยู่
รวมกันเพื่อวัตถุประสงค์อย่างน้ี ได้เรียนได้ฟัง แล้วก็ได้ปฏิบัตติ ามคำสอนของพระพุทธเจ้าอย่างได้ผล การจัดสรร
ดูแลให้มีการเล่าเรียน สดับฟัง และปฏิบัติตามคำสอนของพระพุทธเจ้า ก็เรียกว่าเป็นพระพุทธศาสนาด้วย
ความหมายของพระพุทธศาสนากเ็ ลยกว้างขวางออกไป
พอถึงขนั้ จัดตง้ั การดูแลให้มีการเล่าเรียนและปฏิบัติ ก็เลยรวมไปถึงทุกส่งิ ทุกอย่างที่เกิดขึ้นมาเป็น
ชุมชน เป็นองค์กร เป็นสถาบันหรืออะไรๆ ที่กว้างขวางออกไป ความหมายของพระพุทธศาสนาก็ขยาย
ออกไป เป็นอย่างที่เราเข้าใจในปัจจุบันนี้ จนกระทั่งไปๆ มาๆ ก็เลยลืมไปเลย ไม่รู้ว่าตัวพระพุทธศาสนาคือ
อะไร อยตู่ รงไหน ถ้าไม่ทบทวนกันไว้ใหด้ ี ต่อไปกจ็ บั ไมถ่ ูก วา่ ทีแ่ ท้นน้ั พระพุทธศาสนาก็อยู่ทีจ่ ุดเร่ิม คือคำสั่ง
สอนของพระพุทธเจ้าเท่าน้ันเองเพราะฉะน้ัน จะต้องจับตัวพระพุทธศาสนาไว้ ให้อยู่ที่คำสั่งสอนของ
พระพุทธเจ้าให้ได้ ไม่ว่าอะไรก็ตาม ถ้ามีการปฏิบัติ มีการเช่ือถือกันไปมากมายใหญ่โต แต่เสร็จแล้วไม่ใช่
คำสั่งสอนของพระพุทธเจ้า ก็ไม่ใช่พระพุทธศาสนา ท่ีว่ามาน้ีเป็นเร่ืองแรกที่ต้องทำความเข้าใจก่อน
เป็นอันว่า คนที่มาหาพระพุทธศาสนา ก็คือต้องการคำส่ังสอนของพระพุทธเจ้า เราไม่เอาอะไรอย่างอื่น เรา
ไม่ได้ต้องการคำส่ังสอนของคนอ่ืน เป็นต้นเม่ือเราต้องการคำส่ังสอนของพระพุทธเจ้า ถ้าเป็นสมัยพุทธกาล
จะทำอย่างไร เราก็ไปฟังพระพุทธเจ้า ถ้าอยู่ในวัดเดียวกับพระองค์ ก็ไปหาไปเฝ้าพระองค์ ไปที่ธรรมสภาท่ี
พระพุทธเจ้าตรัสแสดงธรรม ไปฟังพระองค์ หรือซักถามพระองค์ ทูลถามปัญหาต่าง ๆ ให้พระองค์ตรัสตอบ
ให้ ถา้ อยู่ไกลก็เดินทางมา บางคนมาจากต่างประเทศ ขมี่ ้า หรอื ว่านัง่ เกวยี น เดนิ ทางกันมาเป็นวัน เปน็ เดือน
กเ็ พยี งเพอื่ มาฟังพระพุทธเจา้ สั่งสอน
พระธรรมปิฎก (ป. อ. ปยุตฺโต)191 (2542, หน้า 17-44) จุดเร่ิมความคิดรวบรวมรักษา
พระพุทธศาสนา ต้นแบบของการสังคายนาต่อมา พระพุทธเจ้าปรินิพพาน พระองค์จากเราไปแล้ว ถ้าเรา
ตอ้ งการพระพทุ ธศาสนา คอื คำสั่งสอนของพระพุทธเจา้ เราจะเอาจากท่ีไหน พระพุทธเจ้าปรนิ พิ พานไปแล้ว
ถา้ ไม่มีการรวบรวมบันทึกคำสัง่ สอนของพระองคไ์ ว้ พระพุทธศาสนาก็เป็นอันว่าหมดสิน้ ฉะนน้ั เร่ืองต่อไปน้ี
สำคัญมาก คือการรวบรวมและบนั ทึกจารกึ คำส่ังสอนของพระพทุ ธเจ้าไว้ ต่อจากนั้นก็นำสบื ทอดกนั มาจนถึง
ยุคปัจจุบัน ว่าทำอย่างไร พวกเราเวลาน้ีจึงโชคดีที่มีโอกาสรู้จักพระพุทธศาสนาขอย้อนไปเล่าว่า แม้แต่เม่ือ
พระพทุ ธเจ้ายังทรงพระชนมอ์ ยู่ พระพทุ ธเจ้าเองและพระสาวกองคส์ ำคัญ โดยเฉพาะพระสารีบุตร ก็ได้คำนึง
เร่ืองนี้ไว้แล้วว่าเม่ือพระพุทธเจ้าปรินิพพานไปแล้ว ถ้าไม่มีการรวบรวมประมวลคำสอนของพระองค์ไว้
พระพุทธศาสนากจ็ ะสูญส้ิน ดังน้ัน ทัง้ ๆทพี่ ระพุทธเจา้ ยังทรงพระชนมอ์ ยกู่ ไ็ ด้มกี ารริเรม่ิ เป็นการนำทางไวใ้ ห้
190 พระธรรมปิฎก (ป. อ. ปยุตฺโต). (2542). เก็บเพชรจากคัมภรี ์พระไตรปิฎก. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั . หนา้ 17-44.
191 เรอื่ งเดียวกนั , หน้า หนา้ 17-44.
253
เป็นตัวอย่างแก่คนรุ่นหลังว่า ให้มีการรวบรวมคำสอนของพระองค์ ซ่ึงเราเรียกว่าสังคายนาสังคายนา ก็คือ
การรวบรวมคำส่ังสอนของพระพุทธเจ้าไว้ แล้วทรงจำไว้เป็นแบบแผนอันเดียวกัน คือรวบรวมไว้เป็นหลัก
และทรงจำถา่ ยทอดสบื มาเป็นอย่างเดียวกัน ตัวอย่างในสมยั พุทธกาลก็มี เป็นพระสูตรหน่ึงเลย
ตอนน้ันก็ปลายพุทธกาลแล้ว นิครนถนาฏบุตรผู้เป็นศาสดาของศาสนาเชนได้สิน้ ชีวิตลง สาวกของ
ท่านไม่ได้รวบรวมคำสอนไว้ และไม่ได้ตกลงกันไว้ให้ชัดเจน ปรากฏว่าเมื่อศาสดาของศาสนาเชนสิ้นชีวิตไป
แล้ว สาวกลูกศิษย์ลูกหาก็แตกแยกทะเลาะวิวาทกันว่า ศาสดาของตนสอนว่าอย่างไรคร้ังน้ัน ท่านพระจุนท
เถระไดน้ ำข่าวน้ีมากราบทลู แด่พระพุทธเจ้า และพระองค์ได้ตรสั แนะนำให้พระสงฆ์ท้ังปวง รว่ มกันสังคายนา
ธรรมทั้งหลายไว้เพื่อให้พระศาสนาดำรงอยู่ยั่งยืนเพ่ือประโยชน์สุขแก่พหูชน192 (ที.ปา.11/108/139) เวลา
นัน้ พระสารีบุตรอัครสาวกยงั มีชีวิตอยู่ คราวหนง่ึ ท่านปรารภเรื่องนี้แล้วก็กลา่ ววา่ ปัญหาของศาสนาเชนนั้น
เกิดขึ้นเพราะว่าไม่ได้รวบรวมร้อยกรองคำสอนไว้ เพราะฉะนั้นพระสาวกทั้งหลายท้ังปวงของพระพุทธเจ้า
ของเรานี้ ควรจะได้ทำการสังคายนา คือรวบรวมร้อยกรองประมวลคำสอนของพระองค์ไว้ให้เป็นหลักเป็น
แบบแผนอันหนงึ่ อันเดียวกัน
เมื่อปรารภเชน่ น้ีแล้วพระสารีบตุ รกไ็ ดแ้ สดงวธิ ีการสังคายนาไว้เปน็ ตัวอย่าง โดยท่านได้รวบรวมคำ
สอนท่ีพระพุทธเจ้าทรงแสดงไวเ้ ป็นขอ้ ธรรมตา่ งๆ มาแสดงตามลำดับหมวด ต้ังแต่หมวดหนึ่ง ไปจนถึงหมวด
สิบ คือเป็นธรรมหมวด 1 ธรรมหมวด 2 ธรรมหมวด 3 ไปจนถึงธรรมหมวด 10 เม่ือพระสารีบุตรแสดงจบ
แล้ว พระพุทธเจ้าก็ได้ประทานสาธุการ193 (ท.ี ปา.11/225-363/224-286)
หลกั ธรรมท่ีพระสารีบตุ รไดแ้ สดงไวน้ ี้ จดั เปน็ พระสูตรหน่งึ เรียกว่าสังคตี ิสูตร แปลง่ายๆ ว่าพระสูตร
ว่าด้วยการสังคายนา หรือสังคีติ น้ีเป็นตัวอย่างที่พระอัครสาวกสูงสุด คือพระสารีบุตรได้กระทำไว้ แต่ท่าน
พระสารีบุตรเอง ได้ปรินิพพานก่อนพระพุทธเจ้า เมื่อพระพุทธเจ้าปรินิพพานแล้วก็เป็นอันว่าพระสารีบุตร
ไม่ได้อยู่ท่ีจะทำงานนี้ต่อ แต่ก็มีพระสาวกผู้ใหญ่ท่ีได้ดำเนินงานนี้ต่อมาโดยไม่ได้ละทิ้ง กล่าวคือพระ
มหากัสสปเถระ ซ่งึ ตอนทพี่ ระพทุ ธเจา้ ปรนิ พิ พานน้นั เปน็ พระสาวกผ้ใู หญ่ มีอายุพรรษามากทสี่ ุด
เมื่อพระพุทธเจ้าปรินิพพาน งานรกั ษาพระพุทธศาสนาก็เริ่มทันทีพระมหากสั สปเถระนั้นทราบขา่ ว
ปรินิพพานของพระพุทธเจา้ เมื่อพระองค์ปรินิพพานแล้วได้ 7 วัน ขณะที่ท่านกำลังเดินทางอยู่พรอ้ มดว้ ยหมู่
ลูกศิษย์จำนวนมาก เม่ือได้ทราบข่าวน้ัน ลูกศิษย์ของพระมหากัสสปะจำนวนมากซ่ึงยังเป็นปุถุชนอยู่ ก็ได้
รอ้ งไห้คร่ำครวญกนั ณ ทีน่ ้ัน กม็ ีพระภิกษุท่ีบวชเมอื่ แก่องค์หนึ่ง ช่ือวา่ สุภทั ทะ ได้พูดขึ้นมาว่า ท่านท้ังหลาย
จะร้องไห้กันไปทำไม พระพุทธเจ้าปรินิพพานนี้ก็ดีไปอย่าง คือว่า ตอนท่ีพระองค์ยังอยู่นั้น พระองค์ก็คอย
ดูแล คอยกวดขนั ตรสั ห้ามไมใ่ ห้ทำส่ิงโนน้ สิง่ นี้ แนะนำใหท้ ำส่งิ น้นั สงิ่ นี้ พวกเรากล็ ำบาก ตอ้ งคอยระมดั ระวัง
ตัว ทีน้ี พระพุทธเจ้าปรนิ ิพพานไปแล้วน่ี พวกเราคงจะทำอะไรไดต้ ามชอบใจ ชอบอะไรก็ทำ ไม่ชอบอะไรก็
ไม่ทำ พระมหากัสสปเถระได้ฟังคำนี้แล้ว ก็นึกคิดอยู่ในใจ แต่ไม่ได้กล่าวออกมา คือท่านนึกคิดว่า
พระพุทธเจ้าปรินิพพานไปใหม่ๆ แค่นี้ ก็ยังมีคนคิดท่ีจะทำให้เกิดความแปรปรวน หรือประพฤติปฏิบัติให้
วิปริตไปจากพระธรรมวินัย ท่านก็เลยคิดว่าควรจะทำการสังคายนา ท่านวางแผนไว้ในใจว่าจะชักชวนพระ
เถระผู้ใหญ่ ซึ่งเป็นพระอรหันตท์ งั้ หลายที่มีอยู่สมัยนน้ั ซงึ่ ล้วนทนั เหน็ พระพุทธเจ้า ได้ฟังคำสอนของพระองค์
มาโดยตรงเป็นผู้รู้คำสอนของพระพุทธเจ้า และได้อยู่ในหมู่สาวกที่เคยสนทนาตรวจสอบกันอยู่เสมอ รู้ว่า
อะไรเป็นคำสอนของพระพุทธเจ้า จะชวนใหม้ าประชุมกนั มาช่วยกนั แสดง ถ่ายทอด รวบรวม ประมวลคำสั่ง
สอนของพระพทุ ธเจ้า แลว้ ตกลงวางมตไิ ว้ กค็ อื คิดวา่ จะทำสงั คายนา
192 ที.ปา. (ไทย) 11/108/139.
193 ท.ี ปา. (ไทย) 11/225-363/224-286.
254
แต่เฉพาะเวลานั้น ท่านต้องเดินทางไปท่ีปรินิพพาน และจัดการเรื่องการถวายพระเพลิงพระพุทธสรีระให้
เสร็จเสียก่อน ท่านจึงเดินทางไปยังเมืองกุสินารา แล้วก็เป็นประธานในการถวายพระเพลิงพระพุทธสรีระ ในพระ
ราชูปถัมภ์ของกษัตริยม์ ัลละทั้งหลาย เม่ืองานจัดการเร่ืองพระพุทธสรีระเสร็จแล้ว พระมหากัสสปเถระก็ดำเนินงาน
ตามท่ีท่านได้คิดไว้ คือได้ชักชวนนัดหมายกับพระอรหันต์ผู้ใหญ่ เพื่อจะทำการสังคายนา ต่อจากนั้นก็เป็นเรื่องของ
งานใหญ่แห่งการสังคายนา ซึ่งมีการเตรียมการถึง 3 เดือน ซ่ึงได้ที่ประชุมที่ถ้ำสัตตบรรณคูหา ณ ภูเขาชื่อเวภาระ
เมืองราชคฤห์ พระเจ้าแผ่นดินตอนน้ันทรงพระนามว่าอชาตศัตรู ซ่ึงได้ทรงเป็นผู้อุปถัมภ์การสังคายนา ตั้งแต่การ
จัดเตรยี มสถานท่ี
เมื่อจะทำสังคายนา ก็มีการคัดเลือกตัวบุคคลที่จะเข้าร่วมประชุม จึงคัดเลือกได้พระอรหันต์ 500
องค์ ท่ีเห็นร่วมกันว่า เปน็ ผู้มีคุณสมบัติ มีความร้คู วามสามารถ เช่น เป็นหัวหน้าหมู่คณะ เปน็ ผู้ไดจ้ ำคำสอน
ของพระพุทธเจ้าไว้ได้มากและชัดเจน ในการประชมุ น้ี พระมหากสั สปเถระทำหน้าที่เป็นประธาน โดยเป็นผู้
ซักถาม คำส่ังสอนของพระพุทธเจ้านั้น พระพุทธเจ้าเองทรงแบ่งไว้เป็น 2 ส่วน เรียกว่าธรรมส่วนหน่ึง และ
วินัยส่วนหนึ่งธรรม คือหลักคำสอนว่าด้วยความจริงของส่ิงท้ังหลาย พร้อมทั้งข้อประพฤติปฏิบัติท่ี
พระพุทธเจา้ ทรงแนะนำตรัสแสดงไวโ้ ดยสอดคลอ้ งกับความจรงิ นนั้ สว่ นวินัย คือประมวลพทุ ธบญั ญตั เิ กย่ี วกบั
หลกั เกณฑ์ตา่ งๆ ในการเปน็ อยู่ หรือกฎระเบียบต่างๆ ของสงฆ์ ที่จะดำรงไว้ซ่งึ ภาวะอันเกื้อหนุนให้ภิกษุและ
ภิกษุณปี ระพฤตปิ ฏิบัตติ ามธรรมน้นั อย่างไดผ้ ลดี และรักษาพระศาสนาไวไ้ ด้
พระธรรมปิฎก (ป. อ. ปยตุ ฺโต)194 (2542, หน้า 17-44) ด้วยเหตุน้ีจึงเรยี กพระพุทธศาสนา ด้วยคำ
สนั้ ๆ วา่ ธรรมวินัยฝา่ ยธรรมน้ัน ผ้ทู ี่ไดฟ้ งั คำสั่งสอนของพระพทุ ธเจา้ อยู่ตลอดเวลา เพราะติดตามพระองค์ไป
อยู่ใกลช้ ิด เปน็ ผูอ้ ุปฏั ฐากของพระองค์ กค็ อื พระอานนท์ ท่ีประชุมกใ็ ห้พระอานนทเ์ ปน็ ผู้นำเอาธรรมมาแสดง
แก่ท่ีประชุม หรือเป็นหลักของที่ประชุมในด้านธรรมส่วนด้านวินัย พระพุทธเจ้าทรงยกย่องพระอุบาลีไว้ว่า
เป็นเอตทัคคะ ท่ีประชุมก็คัดเลือกพระอุบาลีให้มาเป็นผู้นำในด้านการวิสัชนาเร่ืองของวินัยทั้งหมดนี้เราก็
เรียกกนั ง่ายๆ ว่า สังคายนาพระธรรมวินยั เมอ่ื ได้ตัวบุคคลเรียบร้อยแล้ว ก็เร่มิ ประชุมกัน อยา่ งทก่ี ล่าวแล้วว่า
ทีถ่ ้ำสัตตบรรณคหู า โดยมพี ระอรหันต์ 500 องค์ เรมิ่ การประชุมเม่ือพระพุทธเจ้าปรินพิ พานแล้วได้ 3 เดือน
การประชุมดำเนนิ อยู่เป็นเวลา 7 เดอื น จึงเสร็จส้ิน แสดงว่าเปน็ งานที่ใหญม่ ากเรือ่ งการทำสงั คายนาครั้งแรก
น้ี ท่านเลา่ ไว้ในพระไตรปิฎกดว้ ย ผู้ต้องการความละเอยี ดสามารถไปอ่านได้เอง
เมื่อสังคายนาพระธรรมวินัยก็ทำให้พระพุทธศาสนาเถรวาทเกิดข้ึนมาวิธีการสังคายนา ที่เรียกว่า
วธิ ีการร้อยกรองหรอื รวบรวมพระธรรมวินัย หรือประมวลคำสั่งสอนของพระพทุ ธเจา้ ก็คือ นำเอาคำสั่งสอน
ของพระพุทธเจ้ามาแสดงในท่ีประชุม แล้วก็มีการซักถามกัน จนกระท่ังที่ประชุมลงมติว่าเป็นอย่างน้ัน
แน่นอน เมื่อได้มติร่วมกันแล้วในเร่ืองใด ก็ให้สวดพร้อมกัน การสวดพร้อมกันน้ัน แสดงถึงการลงมติรว่ มกัน
ด้วย และเป็นการทรงจำกันไว้อย่างน้ันเป็นแบบแผนต่อไปด้วยหมายความว่า ต้ังแต่น้ันไป คำสอนตรงนั้นก็
จะทรงจำไว้อย่างนั้น เม่ือจบเร่ืองหนึ่งก็สวดพร้อมกันคร้ังหนึ่ง อย่างนี้เร่ือยไป ใช้เวลาถึง 7 เดือน การสวด
พร้อมกันนั้นเรียกว่า สังคายนา เพราะคำว่า “สังคายนา” หรือเรียกอีกอย่างหน่ึงว่า “สังคีติ” แปลว่า สวด
พรอ้ มกันคายนา หรือคตี ิ (เทียบกบั คีต ในคำวา่ สังคีต) แปลวา่ การสวด สํ แปลว่าพร้อมกันก็คอื สวดพร้อมกัน
สงั คายนา ถา้ เปน็ ชาวบา้ นก็รอ้ งเพลงพร้อมกนั
เป็นอันว่า ผ่านเวลาไป 7 เดือน พระอรหันต์ 500 องค์ ก็ได้ทำสังคายนา ประมวลคำสอนของ
พระพุทธเจา้ มาเป็นมตริ ว่ มกันไดเ้ รียบรอ้ ย คำสอนที่รวบรวมประมวลไว้นี้ เป็นท่มี ั่นใจ เพราะทำโดยท่านทไ่ี ด้
ทันรู้ทันเห็นทันเฝ้าทันฟังจากพระพุทธเจ้าโดยตรง คำสอนที่ลงมติกันไว้อย่างน้ีซึ่งเรานับถือกันมา เรียกว่า
เถรวาท แปลวา่ คำสอนทวี่ างไว้เป็นหลักการของพระเถระ คำวา่ เถระ ในท่ีน้ี หมายถงึ พระเถระผปู้ ระชุมทำ
194 พระธรรมปิฎก (ป. อ. ปยตุ ฺโต). (2542). เกบ็ เพชรจากคมั ภีรพ์ ระไตรปฎิ ก. อา้ งแลว้ , หนา้ 17-44.
255
สังคายนาคร้ังท่ี 1 ที่ว่าไปแล้วน้ีพระพุทธศาสนาซ่ึงถือตามหลักที่ได้สังคายนาคร้ังแรกดังกล่าวมานี้ เรียกว่า
เถรวาท หมายความวา่ คำส่ังสอนของพระพทุ ธเจ้า คือพระธรรมวินัย ท้งั ถอ้ ยคำและเนือ้ ความอย่างไรที่ท่าน
สังคายนากันไว้ ก็ทรงจำกนั มาอยา่ งน้นั ถอื ตามน้นั โดยเครง่ ครัด เพราะฉะนัน้ จึงต้องรกั ษาแม้แตต่ ัวภาษาเดิม
ดว้ ย หมายความว่ารักษาของแท้ของจริง ภาษาท่ีใช้รักษาพระธรรมวินัยไวน้ ้ี เรียกว่าภาษาบาลี เพราะฉะนั้น
คำสอนของเถรวาทกร็ กั ษาไว้ในภาษาบาลีตามเดิมคงไว้อยา่ งทที่ ่านสงั คายนา
พระธรรมวนิ ยั สำคัญเพยี งใดจึงทำให้ต้องมีการสงั คายนาธรรมวินัย หรือหลกั คำสอนทสี่ งั คายนาไว้นี่
แหละ เปน็ ตัวพระพุทธศาสนา เพราะไดบ้ อกแลว้ วา่ พระพทุ ธศาสนา ก็คอื คำส่ังสอนของพระพทุ ธเจา้ เรานับ
ถอื พระพุทธศาสนา กค็ ือเรานับถอื คำสั่งสอนของพระพุทธเจา้ แลว้ ปฏบิ ตั ิไปตามคำสั่งสอนนั้น พร้อมท้ังดูแล
จัดสรรทำการต่างๆ เพ่ือให้ชาวพุทธท้ังหลายได้เรียนรู้ปฏิบัติตามคำส่ังสอนของพระพุทธเจ้านั้น การปฏิบัติ
อย่างนี้ก็เป็นไปตามที่พระพุทธเจ้าเองได้ตรัสไว้ คือเมื่อพระพุทธเจ้าจะปรินิพพาน พระองค์ได้ตรัสไว้เองว่า
พระองคไ์ มไ่ ด้ทรงแต่งตั้งพระภิกษสุ าวกองค์ใดให้เป็นศาสดาแทนพระองค์ แต่พระองค์ตรสั ไวเ้ ป็นภาษาบาลี
ว่า โย โว อานนฺท มยา ธมฺโม จ วินโย จ เทสิโต ปญฺญตฺโต โส โว มมจฺจเยน สตฺถา.195 (ที.ม.10/141/178)
แปลวา่ : ดูกรอานนท์ ธรรมแลวินัยใด ที่เราไดแ้ สดงแลว้ และบัญญัตแิ ลว้ แก่เธอทั้งหลาย ธรรมและวนิ ัยนั้น
จักเป็นศาสดาของเธอท้ังหลาย ในเม่ือเราล่วงลับไป หมายความว่าพระพุทธเจ้าตรัสให้พระธรรมวินัย คือ
คำสั่งสอนของพระองค์นี้ เป็นศาสดาแทนพระองค์เพราะฉะน้ัน การสังคายนาจึงถือว่าเป็นการปฏิบัติตาม
พุทธพจน์ ท่ีเหมอื นกบั ได้ทรงฝากฝังสัง่ เสยี ไว้วา่ ให้พระธรรมวินัย คือคำส่ังสอนของพระองค์เป็นศาสดาแทน
พระองค์ด้วย เม่ือรู้อย่างน้ีแล้ว ถ้าเราเคารพพระพุทธเจ้า เราก็ต้องรักษาพระธรรมวินัย ไว้ให้ดี เพราะการ
รักษาพระธรรมวินยั ที่สงั คายนาไว้ กค็ ือรกั ษาพระศาสดาของเราไว้ คอื รักษาพระพุทธเจ้าไว้น่นั เอง
พระธรรมปิฎก (ป. อ. ปยุตฺโต)196 (2542, หน้า 17-44) พระธรรมวินัย มาอย่างไรจึงเป็น
พระไตรปิฎกขอกล่าวต่อไปว่า การสังคายนาท่ีบอกเมื่อก้ีว่าเป็นการประมวลคำส่ังสอนของพระพุทธเจ้าไว้
หรือประมวลพระธรรมวินัยไว้นั้น นอกจากประมวลคือรวมมาแล้ว ก็มีการจัดหมวดหมู่ไป ด้วย การจัด
หมวดหมู่น้ันก็เพื่อให้ทรงจำได้สะดวก และง่ายต่อการแบ่งหน้าที่กันในการรักษา กับท้ังเก้ือกูลต่อการศกึ ษา
ค้นคว้าด้วย นอกจากแบ่งโดยส่วนใหญ่เป็นธรรมกับวินัยแล้ว ก็ยังมีการจัดแยกซอยย่อยออกไปอีกธรรมนั้น
แยกยอ่ ยออกไปเปน็ 2 สว่ น เพราะธรรมนนั้ มากมายเหลือเกิน ต่างจากวนิ ยั ซึ่งมีขอบเขตแคบกว่า เพราะวินัย
เป็นเรอ่ื งของบทบัญญัติเก่ียวกับการรักษาสังฆะ คือคณะสงฆไ์ ว้ เพื่อให้ชุมชนแห่งพระภิกษุ และพระภิกษณุ ี
ดำรงอยู่ด้วยดี แต่ธรรมเป็นคำสอนท่ีครอบคลุมพระพุทธศาสนาทั้งหมด สำหรับพุทธบริษัทท้ัง 4 เน่ืองจาก
ธรรมมมี ากมาย จึงมกี ารแบง่ หมวดหมอู่ อกไปอีก โดยแยกเป็นว่า
1. ธรรมท่ีพระพทุ ธเจา้ ตรัสแสดงไปตามกาลเทศะ ตามเร่อื งราวท่ีเกิดขนึ้ คือเสด็จไปพบคนโนน้ เขา
ทลู ถามเรอื่ งน้ี พระองคก์ ็ตรัสตอบไป เสด็จไปพบชาวนา ทรงสนทนาโต้ตอบกับเขา จนจบไป กเ็ ป็นเรือ่ งหน่ึง
เสด็จไปเจอกับพราหมณ์ ได้สนทนากับเขา หรือตอบคำถามของเขา ก็เป็นอีกเรื่องหน่ึง ไปเจอกษัตริย์หรือ
เจ้าชาย กส็ นทนากันอีกเรื่องหน่ึง ธรรมท่ีตรสั แสดงแก่บุคคลต่างๆ ในสถานการณ์ต่างๆ แต่ละเรื่องๆ จบไป
เรื่องหนึ่งๆ นี่ เรียกว่าสูตรหน่ึงๆธรรมมาในรูปน้ีมากมาย เรื่องหน่ึงๆ ก็มีสาระไปอย่างหนึ่ง ตามแต่ว่า
พระองค์ได้ตรัสแก่บุคคลประเภทใด เพื่อทรงชี้แจงอธิบายหรือตอบปัญหา เร่ืองไหนตรงกับพื้นเพภูมิหลัง
ความสนใจ และระดับความรูค้ วามเข้าใจหรอื ระดับสติปญั ญาของเขา ฉะนัน้ ธรรมแบบนจ้ี งึ เห็นไดว้ ่ามีเนือ้ หา
แตกต่างกันมาก พอจบเร่ืองน้ีที่ตรัสแก่ชาวนา ซ่ึงเป็นธรรมระดับหน่ึง เพียงเปลี่ยนไปอีกเร่ืองหนึ่งเท่าน้ัน ก็
195 ท.ี ม. (ไทย) 10/141/178.
196 พระธรรมปฎิ ก (ป. อ. ปยุตโฺ ต). (2542). เกบ็ เพชรจากคัมภรี พ์ ระไตรปิฎก. อ้างแล้ว, หนา้ 17-44.
256
เป็นธรรมคนละด้านคนละระดับกันเลย ตัวอย่างเช่นตรัสกับชาวนา เป็นเรื่องการทำมาหากิน หรือเร่ืองการ
หวา่ นพืช ก็อาจจะตรัสเกยี่ วกบั ความขยันหม่ันเพยี ร หรืออาจจะเทียบกับการปฏบิ ตั ิของพระภิกษกุ ็สดุ แต่ แต่
พอไปอีกเรื่องหนึ่ง พระองค์สนทนากับพราหมณ์ ก็อาจจะตรัสเรื่องวรรณะ หรือเร่ืองไตรเพทของพราหมณ์
หรือเร่ืองการบูชายัญ ดังน้ีเป็นต้น ธรรมที่ตรัสแบบนี้ พอเปลี่ยนเรื่องไป เน้ือหาก็เปลี่ยนไป ห่างกันมาก
ฉะน้ันเน้ือหาสาระจึงไม่ไปตามลำดับ แต่ละเรื่องๆ นั้นก็เรียกว่าสูตรหน่ึงๆ ธรรมที่ตรัสแสดงแบบนี้ คือตรัส
แสดงแก่บุคคล โดยปรารภเร่ืองราว เหตุการณ์ สถานการณ์คนละอย่างๆ นี้ รวมไว้ด้วยกัน จัดไว้พวกหนึ่ง
เรียกว่า พระสตู ร
2. ธรรมอีกประเภทหน่ึง คือธรรมที่แสดงไปตามเน้ือหาไม่เกี่ยวข้องกับบุคคลหรือเหตุการณ์ ไม่
คำนึงว่าใครจะฟังทั้งส้ิน เอาแต่เน้ือหาเป็นหลัก อย่างที่เรียกกันในปัจจุบันวา่ เป็นวชิ าการล้วนๆ คือยกหัวข้อ
ธรรมอะไรข้ึนมา ก็อธิบายให้ชัดเจนไปเลย เช่นยกเรื่องขันธ์ 5 มา ก็อธิบายไปว่าขันธ์ 5 น้ัน คืออะไร แบ่ง
ออกเป็นอะไรบ้าง แต่ละอย่างนั้นเป็นอย่างไรๆ อธิบายไปจนจบเร่ืองขันธ์ 5 หรือว่าเร่ืองปฏิจจสมุปบาทก็
อธิบายไปในแง่ด้านต่างๆ จนกระท่ังจบเรื่องปฏิจจสมุปบาทน้ัน ธรรมท่ีแสดงเอาเนื้อหาเป็นหลักอย่างน้ี ก็
จัดเป็นประเภทหน่ึง เรียกว่า พระอภิธรรม ส่วนวินัยก็ยังคงเป็นวินัยอยู่เท่านั้น เรียกกันว่า พระวินัย ตอนน้ี
จะเห็นว่า เม่ือแยกธรรมเปน็ 2 ส่วน คือเปน็ พระสูตรกับอภิธรรม แล้วมีวินยั เดิมอกี หนึ่ง ธรรมเป็น 2 วินัย 1
รวมกันก็เป็น 3 ถึงตอนน้ีก็เกิดเป็นการจัดหมวดหมู่พระธรรมวินัยอีกแบบหน่ึง เป็นปิฎก 3 ท่ีเรียกว่า
พระไตรปิฎกปิฎก แปลว่าตะกร้า หรือกระจาด โดยมีความหมายเชิงเปรียบเทียบว่าเป็นท่ีรวบรวม เพราะ
กระจาด ตะกร้า กระบุง บุ้งก๋ีน้ัน เป็นที่รวบรวมทัพสัมภาระ ในที่น้ีก็คือรวบรวมจัดคำส่ังสอนของ
พระพทุ ธเจา้ ไว้เป็นประเภทๆ เปน็ หมวดๆ จึงเปน็ 3 ปิฎก เรยี กว่า ไตรปิฎก คือ
1. พระวินัยปิฎก เป็นท่ีรวบรวมพระวินัย ซึ่งประกอบด้วยกฎเกณฑ์กติกา สำหรับรักษาภิกษุสงฆ์
และภกิ ษณุ ีสงฆไ์ ว้
2. พระสุตตันปิฎก เป็นที่รวบรวมพระสูตรท้ังหลาย คือธรรมท่ีตรัสแสดงแก่บุคคล หรือปรารภ
เหตกุ ารณห์ รอื สถานการณ์อะไรบางอย่าง เป็นแต่ละเรอ่ื งๆ ไป
3. พระอภิธรรมปิฎก เป็นท่ีรวบรวมคำอธิบายหลักคำสอน ที่เป็นเนื้อหาสาระ เป็นหลักการแท้ๆ
หรอื เป็นวิชาการลว้ นๆ
พระธรรมปิฎก (ป. อ. ปยตุ ฺโต)197 (2542, หนา้ 17-44) พระไตรปิฎกสำคัญเพียงใดเมอื่ พดู มาถึงข้ัน
นีก้ ็รวมความได้วา่ พระไตรปิฎก กค็ ือที่รวบรวมพระธรรมวินัย คือคำส่ังสอนของพระพุทธเจ้า ท่ีเรยี กว่าเป็น
พระพุทธศาสนา ซ่ึงพระพทุ ธเจ้าไดต้ รัสไวว้ ่า น่ีแหละคอื ศาสดาของชาวพุทธท้ังหลาย เราจึงไดถ้ ือกนั มาเป็น
หลักว่า จะต้องรักษา แล้วก็เล่าเรียน และปฏิบัติตามหลักคำสอนในพระไตรปิฎกนี้ พร้อมกันนั้นก็ใช้คำสั่ง
สอน คือพระธรรมวินัยในพระไตรปิฎกน้ีแหละ เป็นหลักเป็นเกณฑ์มาตรฐานในการตัดสินความเช่ือถือและ
การประพฤติปฏิบตั ิของพทุ ธศาสนิกชนทั้งหลายว่า เป็นพระพทุ ธศาสนาหรือไม่ ถ้าไม่เปน็ ไปตามทไ่ี ด้รวบรวม
ประมวลสังคายนาและรักษาสืบต่อไว้ในพระไตรปิฎก หรือคลาดเคลื่อนจากน้ัน ก็ไม่ใช่พระพุทธศาสนา ถ้า
ถูกต้องตามน้ันก็เป็นพระพุทธศาสนา สิ่งท่ีเราเล่าเรียนปฏิบัติ ไม่ว่าจะเป็นด้านวินัยของพระภิกษุสงฆ์ เช่น
การบวช การมีโบสถ์ การสร้างกุฏิ การกรานกฐิน และสังฆกรรมต่างๆ การใช้ไตรจีวรของพระภิกษุ การท่ี
พระภิกษุทำอะไรได้หรือไม่ได้ การที่จะต้องอาบัติต่างๆ มีปาราชิกเป็นต้น หรือการที่ชาวบ้านจะทำบุญทำ
ทาน คำว่าทานก็ดี คำว่าบุญก็ดี เร่ืองศีล เรื่องสมาธิ เรื่องปัญญาไตรสิกขา ภาวนาต่างๆ ขันธ์ 5 ไตรลักษณ์
อริยสัจจ์ ตลอดถึงพระนิพพาน ก็ล้วนมาจากพระไตรปิฎกทั้งน้ัน ถ้าไม่มีพระไตรปิฎก เราก็ไม่รู้จักถ้อยคำ
197 เรอื่ งเดยี วกัน.
257
เหล่าน้ีเลย และพระภิกษุก็ไม่มีมาตรฐานที่จะวัดว่าตวั ประพฤติปฏิบัตอิ ยา่ งไรถกู อย่างไรผิด อะไรเป็นอาบัติ
ปาราชิก อะไรเปน็ อาบัตสิ ังฆาทิเสส ถลุ ลัจจยั ปาจติ ตีย์
ไม่มีพระไตรปิฎกเสียอย่างเดียว เป็นอันหมดส้ิน คือหมดสิ้นพระพุทธศาสนาน่ันเอง เป็นอันว่าเม่ือ
พระพทุ ธเจา้ ยังทรงพระชนมอ์ ยู่ เรากฟ็ ังคำส่ังสอนของพระองค์จากพระพุทธเจ้าโดยตรง แตเ่ มือ่ พระพุทธเจ้า
ปรินพิ พานแลว้ เราต้องการพระพทุ ธศาสนา คือ ต้องการคำส่ังสอนของพระพุทธเจ้า เราจะไปเอาจากที่ไหน
กต็ อ้ งไปเอาจากที่ท่านรวบรวมประมวลไว้ ซึ่งถ่ายทอดสืบต่อกันมาในพระไตรปิฎก เพราะพระไตรปฎิ กเป็นที่
รกั ษาสบื ทอดพระพทุ ธศาสนาไว้ หรอื รกั ษาคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าไว้
พระธรรมปิฎก (ป. อ. ปยุตฺโต)198 (2542, หน้า 17-44) พระไตรปิฎกยุคท่องจำ แม่นยำแค่ไหนทีน้ี
การรกั ษาสืบต่อพระไตรปิฎกนนั้ ทา่ นทำกนั มาอย่างไร เรื่องนี้ต้องแบง่ เป็น 2 ยุค คือ
1. ยคุ ทีส่ บื ตอ่ มาด้วยการทรงจำดว้ ยปากเปล่า เรยี กวา่ มขุ ปาฐะหรอื มขุ ปาฐ และ
2. ยคุ ทไ่ี ดจ้ ารกึ เปน็ ตัวอักษร เชน่ ในใบลาน เปน็ ตน้
ช่วงแรก เป็นยุคของการรักษาไว้ด้วยการทรงจำ โดยสวด หรือสาธยาย แต่ก่อนนี้อาตมาเองก็เคย
สงสัย เหมือนหลายคนสงสัยวา่ เมอื่ รักษาด้วยการทรงจำ ก็นา่ กลัววา่ จะมกี ารคลาดเคล่ือนเลอะเลือนหลงลืม
ไป แต่เมื่อเวลาผ่านมา ได้พิจารณาไตร่ตรอง และได้เห็นหลักฐานและหลักการต่างๆ ก็กลายเป็นว่า การ
รักษาด้วยการท่อง โดยสวดแล้วทรงจำไว้นั่นแหละ เป็นวิธีที่แม่นยำยิ่งกว่ายุคที่จารึกเป็นลายลักษณ์อักษร
ท่ีว่าอย่างน้ันเพราะอะไร? เพราะว่าการท่อง ที่จะทรงจำพระไตรปิฎก หรือคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้า ท่ี
เรียกว่า ธรรมวินัยนั้น ท่านทำด้วยวิธีสวดพร้อมกัน คือ คล้ายกับท่ีเราสวดมนต์กันทุกวันนี้แหละ เวลาสวด
มนต์พร้อมกนั เช่นสวดกัน 10 คน 20 คน 50 คน 100 คนนั้น จะต้องสวดตรงกนั หมดทุกถ้อยคำจะตกหล่น
ตดั ขาดหายไปก็ไมไ่ ด้ จะเพิ่มแม้คำเดียวกไ็ ม่ได้ เพราะจะขัดกนั ดีไม่ดีก็สวดล้มไปเลย เพราะฉะน้ัน การที่จะ
สวดโดยคนจำนวนมากๆ ให้เป็นไปด้วยดี ให้สอด คล้องกลมกลืนกัน ก็จะต้องสวดเหมือนกันหมด ท่านจึง
รักษาคำสง่ั สอนของพระพทุ ธเจ้าไวด้ ว้ ยวธิ นี ี้ คือทรงจำพระไตรปิฎกดว้ ยวธิ สี วดพรอ้ มกันจำนวนมากๆ
พระสงฆ์ท้ังหลายนั้นท่านเห็นความสำคัญของพระไตรปิฎก เพราะรู้อยู่ว่า นี้แหละคือ
พระพุทธศาสนา ถ้าหมดพระไตรปิฎกเม่ือไร พระพุทธศาสนาก็หมดไปเมื่อน้ัน ถ้าพระไตรปิฎกเคลื่อนคลาด
ไป พระพุทธศาสนาก็เคลอ่ื นคลาดไปด้วย พระเถระรุน่ กอ่ นน้ัน ถอื ความสำคญั ของพระไตรปิฎกเป็นอย่างย่ิง
แม้แต่ในยุคที่จารึกเป็นลายลักษณ์อักษรแล้ว ก็ต้องถึงกับพูดกันว่า อักษรจารึกพระธรรมของพระพุทธเจ้านี้
อักษรเดียวมีค่าเท่ากับพระพุทธรูปองค์หนึ่ง เพราะฉะนั้น ถ้ามองในแง่บวก ก็คือว่าต้องช่วยกันรักษาไว้ให้ดี
แม้แต่จารึกหรือสนับสนุนการจารึกเพียงนิดหน่อยก็เป็นบุญเป็นกุศลมาก แต่มองในแงล่ บก็คือ ถ้าใครไปทำ
ให้ผิดพลาด แม้แต่อักษรเดียว ก็เหมือนทำลายพระพุทธรูปองค์หนึ่ง เป็นบาปมาก นี่แหละ ท่านให้
ความสำคัญถึงอยา่ งนี้ เพราะฉะน้ัน พระเถระร่นุ ก่อน ท่านจึงระวังมากในเรือ่ งการรักษาทรงจำพระไตรปิฎก
ไมใ่ หผ้ ิดเพ้ยี น รวมความวา่
1. มีความระมัดระวังเหน็ เปน็ สำคัญมาก เพราะถอื วา่ เปน็ ตัวพระพทุ ธศาสนา
2. ถือเป็นงานของส่วนรวม โดยเฉพาะพระเถระผู้ใหญ่ ผู้นำหมู่คณะ และพระสงฆ์ทั้งหมดใน
พระพทุ ธศาสนา จะตอ้ งเอาธรุ ะในการดูแลรักษาอยา่ งยง่ิ
เป็นอันว่า การรักษาด้วยวิธีเดิม คือการทรงจำด้วยการสาธยายนั้น เป็นวิธีที่แม่นยำที่สุด เพราะ
รักษาโดยส่วนรวมท่ีสวดพร้อมกัน แต่พร้อมกันนั้นแต่ละองค์ก็มีหน้าที่ต้องท่องจำอยู่แล้ว โดยจะต้องมีการ
ซักซ้อม และทบทวนกันอยู่เสมอ ซ่ึงปรากฏแม้แต่ในสมัยน้ี ในพม่าก็ยังรักษาประเพณีนี้ไว้ กล่าวคือในยุคนี้
ท้งั ๆ ท่ีมคี มั ภีร์จารกึ และพิมพ์เป็นเลม่ หนงั สือแลว้ เขาก็ยังพยายามสนับสนนุ พระภิกษใุ ห้ทรงจำพระไตรปฎิ ก
198 เรอ่ื งเดยี วกัน.
258
ในพม่าปัจจุบันยังมีประเพณีเป็นทางการของบ้านเมือง คือ มีการสอบพระภิกษุที่มาสมัครเพื่อจะแสดง
ความสามารถในการทรงจำพระไตรปิฎก พระภิกษุองค์ใดสอบผา่ นแสดงว่าทรงจำพระไตรปฎิ กไดห้ มด ซึง่ ถ้า
นับเป็นตัวหนังสือพมิ พ์เป็นอักษรไทย ก็ได้ 45 เลม่ 22,000 กว่าหน้า ถ้าทา่ นจำได้หมด ทางการจะต้ังใหเ้ ป็น
พระตปิ ฏิ กธร แปลวา่ ผทู้ รงจำพระไตรปฎิ ก ได้เปน็ พระเปน็ ทเ่ี คารพนับถอื องคห์ นง่ึ และทางรัฐบาลจะเลี้ยงดู
โยมพ่อแม่ของพระภิกษุน้ัน และอุปถัมภ์บำรุงดว้ ยประการต่างๆ เด๋ียวนี้ก็ยังมีพระติปิฏกธร คือพระภิกษุรูป
เดียวที่สามารถจำพระไตรปิฎกได้ท้ังหมด22,000 กวา่ หน้า ให้เห็นว่าเปน็ สิ่งที่เป็นไปได้ ไม่ใช่ส่ิงเหลือวิสัย น่ี
คือองคเ์ ดียวเท่าน้ัน กย็ งั จำไหว ในสมยั โบราณตอ้ งใช้วิธีทรงจำโดยทอ่ งปากเปล่าอยา่ งนี้ เพราะไม่มีการจารึก
เปน็ ลายลกั ษณ์อักษร เพราะฉะนั้น พระภิกษทุ ้ังหลายกท็ รงจำกันไว้ องคไ์ หนทรงจำไว้ไดม้ ากท่สี ุด ก็จะได้รับ
ความเชื่อถือ และเคารพนับถือ
พระไตรปิฎกยุคจารึกเป็นลายลกั ษณ์ถือเป็นหลักของชาติ จึงคงอยไู่ ด้ด้วยดีต่อมาถึง พ.ศ.ใกล้ 500
จึงไดเ้ รม่ิ มกี ารใชว้ ิธจี ารึกเป็นลายลักษณ์อักษรลงในใบลาน พอถึงยุคจารึกลงในใบลานนี้แหละ กลายเป็นยุค
ทจ่ี ะมคี วามคลาดเคลื่อนได้ง่าย เพราะคนเร่ิมประมาทวา่ เออ เรามีใบลาน มีหนังสือท่ีจารึกไวแ้ ล้ว อยากรู้ก็
ไปเปดิ ดูและตรวจสอบไดง้ ่าย เราไม่ตอ้ งจำให้มาก ไปๆ มาๆ การสวดสาธยายพระไตรปฎิ กกเ็ หลืออยแู่ คส่ วด
มนต์ อยา่ งทำวัตรสวดมนตท์ ่เี ราเห็นๆ กันอยู่ คนก็จำพุทธพจนไ์ ดน้ อ้ ยลงๆ เหลือนอ้ ยลงไปทุกที นอกจากนั้น
ในการคัดลอกเป็นลายลักษณ์อักษรที่เรียกว่า จาร เวลาคัดลอกกันทีหน่ึง ก็อดไม่ได้ที่จะมีการตกหล่นหรือ
ผดิ เพี้ยน เชน่ ตัว จ เป็น ว หรือตวั ว เป็น จ เป็นต้น เพราะฉะนัน้ จึงต้องมีการคัดลอกในระดบั ทเี่ ป็นทางการ
ใหญ่ของคณะสงฆ์ทั้งหมด หรือเป็นระดับของประเทศชาติ ซึ่งเราจะเห็นได้ว่า ประเทศพุทธศาสนาทุก
ประเทศ จะถอื เร่ืองนเ้ี ป็นสำคญั จะต้องมีพระไตรปิฎกฉบับหลวงเปน็ ของราชการ เป็นของแผ่นดิน เป็นของ
ประเทศชาติ รักษาไว้เป็นหลักของกลาง แล้วมาคัดลอกต่อๆ กันไป นานๆ จึงต้องมีการมาประชุมกัน
ระดับชาติ แล้วก็เอามาตรวจสอบกัน เอามาทานกัน ตรงไหนตกหล่น ผิดพลาดไป ก็ทำเชิงอรรถไว้ คือถือ
เร่ืองความบริสุทธ์ิบริบูรณ์ของพระไตรปิฎกเป็นเรื่องสำคัญสูงสุดในพระพุทธศาสนา เพราะน้ีคือองค์แทนที่
แท้ของพระพุทธเจ้า ที่เป็นพระศาสดา และเป็นตัวพระพุทธศาสนา จะเห็นว่า ประเทศพุทธศาสนาทุก
ประเทศถือเร่ืองพระไตรปิฎกเป็นหลักสำคัญย่ิง เวลานำพระพุทธศาสนาไปประเทศต่างๆ ก็คือจะต้องนำ
พระไตรปฎิ กไป อยา่ งพระเจา้ อโนรธามังช่อ ทเี่ ปน็ มหาราชของพกุ าม ผู้เปน็ ตน้ ความยงิ่ ใหญ่ของพมา่ ท่ปี ราบ
มอญลงได้ ตอนน้ันมอญนับถือพระพุทธศาสนา พระเจ้าอนุรุทธมหาราช หรอื พระเจ้าอโนรธามังช่อไปปราบ
มอญได้แล้ว หนั มานบั ถือพระพทุ ธศาสนา ก็นำเอาพระไตรปฎิ กจากมอญไปยงั พกุ าม
พระธรรมปิฎก (ป. อ. ปยตุ ฺโต)199 (2542, หน้า 17-44) พระภกิ ษทุ ้งั หลายเดนิ ทางไปมาระหวา่ งประเทศใน
สมัยโบราณ ก็เพ่ือศึกษาพระไตรปิฎก คัดลอกพระไตรปฎิ ก และอรรถกถาพระเจ้าแผ่นดินไทยแต่ละยุค เวลาสร้าง
บา้ นเมืองใหม่ ก็ทรงถือเร่ืองพระไตรปิฎกเป็นการสำคัญ เช่นเมื่อกรุงศรอี ยุธยาแตก ถกู พม่าเผา พระเจ้ากรุงธนบุรี
รวบรวมประเทศชาติได้ ทรงต้ังเมืองหลวงใหม่ท่ีกรุงธนบุรี พอต้ังเมืองหลวงเสร็จ ก็จัดการเร่ืองคณะสงฆ์ หา
พระภกิ ษุที่นา่ เคารพนบั ถือมาสถาปนาเปน็ องค์สมเดจ็ พระสงั ฆราช เสรจ็ แล้วภาระใหญ่อนั สำคัญท่ีพระองคท์ ำ ก็คอื
ใหร้ วบรวมพระไตรปิฎก เพราะว่าอยุธยาถูกเผา พระคัมภีรถ์ ูกไฟไหม้ไปแล้ว ก็โปรดใหไ้ ปรวบรวมพระไตรปิฎกจาก
หัวเมือง ท้ังเมืองเหนือ เมืองใต้ เอามาเลือกคัดจัดตั้งเป็นสมบัติกลางไว้ที่เมืองหลวง เพื่อเป็นหลักของบ้านเมือง
ต่อไป พอมาถึงแผ่นดินรัชกาลท่ี 1 สมัยกรุงเทพฯก็เหมือนกัน พอเร่ิมต้ังกรุง เม่ือจัดบ้านเมืองพอเข้าที่ ส่ิงที่
พระองค์ทรงรีบทำ คือเรื่องของพระไตรปิฎก ถึงกับมีการสังคายนาของกรุงเทพฯ ขึ้นมา คร้ันสังคายนาเสร็จ
เรียบร้อย สอบทานได้พระไตรปิฎกมาเป็นหลัก ก็จัดตั้งเป็นฉบับหลวงของแผ่นดิน จึงเป็นที่รู้กันว่า การรักษา
พระไตรปฎิ กเปน็ งานสำคญั อย่างย่งิ ยวดในประวตั ศิ าสตร์พระพุทธศาสนา
199 เรื่องเดียวกัน.
259
ในยคุ ทรงจำด้วยปาก การรักษาพระไตรปิฎกกค็ ือ ทอ่ งพร้อมกัน สวดพรอ้ มกัน มาสอบทานกนั ดว้ ย
วาจาอยู่เสมอ ต่อมาในยุคที่เปน็ ลายลักษณ์อักษรก็คือเอาคัมภรี ท์ ่ีจารึกไวท้ งั้ หลาย มาเทียบเคยี งสอบทานกัน
อยู่เสมอ การสอบทานกันนี้ เป็นความหมายของการสังคายนาในยุคหลัง ซ่ึงเป็นท่ีน่าอัศจรรย์ว่า
พระไตรปฎิ กของเราทีเ่ ป็นบาลี จะไปอยใู่ นพมา่ ไปเป็นของสิงหลอยู่ในลงั กา ไปอยใู่ นประเทศไทย หรือไปอยู่
ในประเทศไหน แม้แต่ฝร่ังเอาไปคัดลอกเป็นฉบับอักษรโรมัน ก็เหมือนกันหมด เน้ือหาอย่างเดียวกัน จะมี
แปลกไปก็เพราะพิมพ์ผิดนิดๆ หน่อยๆ อยา่ งของเรามีอยู่แห่งหนงึ่ ตกหล่นไป ยาวหน่อย สักครึ่งคอ่ นหนา้ ก็
ถอื เปน็ เรื่องใหญม่ ากแลว้
หมายความว่า พระไตรปิฎกบาลีของเถรวาทเราน้ี ไม่ว่าจะเป็นของประเทศไหน ทัง้ ๆ ที่อยู่ห่างไกล
กันไปแสนนาน ก็ยังเหมือนกัน เน้อื หาอย่างเดียวกนั แสดงถึงการท่ีทา่ นใหค้ วามสำคัญกบั การรกั ษาในเวลาที่
เรามีการตรวจชำระพระไตรปิฎกครั้งหน่ึง เราก็เอาของทุกประเทศมาสอบทานเทียบเคียงกัน เพื่อดูว่ามี
ข้อความถ้อยคำหรืออักษรตัวไหนผิดเพ้ียนกันไหม แม้แต่เล็กๆ น้อยๆ เพียงว่า อักษร จ เป็น ว เราก็จะทำ
เชิงอรรถไว้ว่า ตรงนี้ฉบับของเราเป็นอย่างนี้ ฉบับพม่าหรือฉบับไหนเป็นอย่างนั้น อย่างชื่อพระอัญญาโกณ
ฑัญญะ ก็มีการผิดเพี้ยนกันไปนิดหน่อย ฉบับของเราเป็นอัญญาโกณฑัญญะ ฉบับอักษรโรมนั ของ Pali Text
Society เปน็ อัญญาตโกณฑญั ญะ เป็นต้น ความแตกตา่ งแมแ้ ตน่ ิดเดียว เรากบ็ นั ทกึ ไวใ้ หร้ ใู้ นเชิงอรรถ
ตอ้ งเขา้ ใจให้ชดั แคไ่ หนใช่ แคไ่ หนไม่ใชส่ ังคายนาการสงั คายนานั้นต้องให้รูว้ า่ เปน็ การที่จะรักษาคำ
สอนเดิมเอาไว้ให้แม่นยำที่สุด ไม่ใช่ว่าพระภิกษุท่ีสังคายนามีสิทธ์ิเอาความคิดเห็นของตนใส่ลงไป การ
สังคายนา ก็คือ การมาทบทวนซกั ซ้อมตรวจสอบคัมภีรใ์ ห้ตรงตามของเดิม และซกั ซ้อมตรวจสอบคนทไ่ี ปทรง
จำ หรือไปนับถืออะไรต่างๆ ท่ีอาจจะผิดเพี้ยนไป ให้มาทบทวนตัวเอง ให้มาซักซ้อมกับที่ประชุม ให้มาปรับ
ความเหน็ ความเชื่อ การปฏบิ ตั ิของตน ใหต้ รงตามพระไตรปิฎกท่ีรกั ษากนั มาอยา่ งแม่นยำ ทเ่ี ป็นหลักกลางน้ี
บางคนเข้าใจผิดว่า ในการสังคายนาน้ี ผู้ที่เข้าร่วมสังคายนา จะไปปรับไปแตง่ ไปทำอะไรกับพระไตรปิฎก ดี
ไม่ดีอาจจะถงึ กับเข้าใจว่ามาแตง่ พระไตรปิฎกกันใหม่ ซงึ่ เป็นความเขา้ ใจท่คี ลาดเคลอื่ นไปไกล ซึ่งแสดงว่าไม่
รจู้ กั การสังคายนา และไม่รูเ้ ร่ืองอะไรเลยเพราะฉะนั้น จะตอ้ งย้ำกนั ว่า การสังคายนาพระไตรปิฎก กค็ ือ การ
มาทบทวนตรวจสอบซักซ้อมกันในการที่จะรักษาพระไตรปิฎกของเดิมที่ท่านสังคายนาไว้ ในการสังคายนา
คร้ังที่ 1 เมอื่ 3 เดือน หลังจากพระพุทธเจ้าปรินิพพานแล้ว ว่าเป็นอย่างไร ก็ให้คงอยู่อย่างนั้น อย่างแม่นยำ
ท่ีสุดเท่าท่ีจะเป็นไปได้ อะไรที่คลาดเคลื่อน ใครทรงจำผิดไป ก็ให้มาปรับเข้ากับของเดิมของแท้นี้เสีย
เพราะว่าเม่อื เรารักษาคำสอนของพระพทุ ธเจ้า ก็คือเราจะต้องเอาคำตรัสของพระองค์ของเดิมไว้ใหไ้ ด้ ถา้ คำ
สอนคำตรสั เดิมหมดไป ก็คือพระพุทธศาสนาหมดไปแลว้
พระธรรมปฎิ ก (ป. อ. ปยุตโฺ ต)200 (2542, หนา้ 17-44) แต่เราก็ตอ้ งรูด้ ้วยว่า ในพระไตรปิฎกไม่ใชม่ ี
เฉพาะคำตรัสของพระพุทธเจ้าอย่างเดียว คำของพระสาวกก็มี เช่น คำของพระสารีบุตรท่ีได้แสดงวิธี
สังคายนาเป็นตัวอย่างไว้น้ัน ก็เป็นพระสูตรอยู่ในพระไตรปิฎก ช่ือ สังคีติสูตร แต่ธรรมะที่พระสารีบตุ รนำมา
สังคายนาไว้ในสังคีติสูตรนั้น ก็คือคำตรัสของพระพุทธเจ้า หรือธรรมที่พระพุทธเจ้าได้ทรงแสดงไว้น่ันเอง
นอกจากน้ันก็มีคำสนทนากับผู้อื่น ซ่ึงมีคำของผู้อ่ืนอยู่ด้วยในน้ัน หลักคำสอนอะไรเก่าๆ ก่อนพุทธกาล ท่ี
พระพุทธเจา้ ทรงยอมรับ ทรงนำมาเล่าให้นับถือปฏิบตั ิกันต่อไป ก็มาอยู่ในพระไตรปฎิ กดว้ ย อย่างเรอ่ื งชาดก
เฉพาะส่วนที่เป็นตัวคำสอนแท้ๆ คัมภีรท์ ี่นิพนธ์แม้หลังพทุ ธกาลกม็ ีบ้าง อย่างในสมัยสังคายนาคร้ังท่ี 3 สมัย
พระเจ้าอโศกมหาราช พระโมคคัลลีบตุ รติสสเถระ ประธานสังคายนา ท่านได้เห็นว่า พระในสมัยนนั้ บางพวก
มีความเช่ือถือวปิ ริตผิดแผกแตกออกไป ท่านก็เรียบเรียงคัมภีร์ขึ้นมาเล่มหน่ึง เพื่อวินิจฉัยความเชื่อถือ หรือ
การสัง่ สอนท่ผี ิดพลาดเหลา่ นัน้ แต่การวินจิ ฉัยนนั้ ก็เป็นเพียงวา่ ท่านมาเชื่อมโยง โดยยกเอาคำสอนคำตรสั ของ
200 เร่ืองเดียวกัน.
260
พระพุทธเจ้าที่โน้น ที่น่ี ในเร่ืองเดียวกันนั้น มารวมกันไว้เป็นหลักฐานอ้างอิง เพื่อแสดงให้เห็นว่า เรื่องนั้น
พระพุทธเจ้าตรัสว่าอย่างไร เพื่อจะวินิจฉัยความเชื่อหรือคำสอนของผู้ท่ีเชื่อผิดพลาดไปน้ัน อย่างนี้ก็
กลายเป็นคัมภีร์ใหม่ แต่แท้จริง ก็เป็นการนำเอาพุทธพจน์ในเร่ืองน้ันๆ มารวมไว้ในอีกลักษณะหนึ่ง โดยมี
เร่อื งราว หรือข้อคดิ หรอื ขอ้ พจิ ารณาอะไรอยา่ งหนึ่งเปน็ แกน
แตก่ อ็ ย่างที่กล่าวแล้วว่า พระไตรปิฎกน้เี ปน็ ประมวลคำสอนของพระพทุ ธเจ้า ทถ่ี อื วา่ เป็นมาตรฐาน
เป็นของสว่ นรวมทพี่ ระสงฆท์ ง้ั หมดโดยเฉพาะท่านทเ่ี ปน็ ครอู าจารยแ์ ละพระเถระที่รบั ผดิ ชอบการพระศาสนา
ต่างก็คอยจับตา คอยระแวดระวัง ถือเป็นสำคัญ ฉะน้ันใครจะไปเที่ยวใส่เติมอะไรลงไปไม่ได้ จะต้องเป็นท่ี
ยอมรับกันอย่างแน่นอน และไม่ใช่ประเทศเดียวรักษาไว้ หลายๆ ประเทศต่างก็มี แล้วก็ต้องคอยทานเทียบ
กัน หมั่นตรวจสอบไม่ให้คลาดเคล่ือนกันไปรวมความก็คอื ให้จำไวเ้ ลยวา่ ประเทศพุทธศาสนาเถรวาทท้ังหมด
มพี ระไตรปิฎกชุดเดยี วกัน ซง่ึ เน้ือหาเหมือนกนั ทั้งหมด แม้จะต่างกันในตัวอักษร จ ว บ้าง บางแห่ง หรือตก
หล่นบางคำบ้าง ก็น้อยเต็มที ความสำนึกตระหนักมั่นนี้ อย่าว่าแต่ต่างประเทศเลย แม้แต่ประเทศไทยเรา
ต่อไป ถ้าไม่เห็นความสำคัญ เราเองก็อาจจะทำให้เลือนลางคลาดเคล่ือน เวลาแปลคำว่า “สังคายนา” เป็น
ภาษาอังกฤษ เรามักไปเทียบกับภาษาฝร่ัง เช่น Council อย่างของศาสนาคริสต์ เขามี Vatican Council
เป็นต้น เราก็แปลว่าเป็นการสังคายนา อันน้ันเป็นการแปลเพียงเทียบในบางแง่ความหมาย ซึ่งที่จริงไม่
เหมือนกันเลย การประชุม Council ของศาสนาคริสต์นั้นเป็นอีกแบบหน่ึง ซ่ึงเป็นการมาตกลงกันกำหนด
หลักความเชื่อ และแมแ้ ต่การวางนโยบายในการเผยแผ่ศาสนาของเขา แต่การสงั คายนาในพระพุทธศาสนา
เป็นการรักษาคำสอนเดิมของพระพุทธเจ้าไว้ให้แม่นยำที่สุด ไม่ให้ใครมาเท่ียวแก้ไขให้คลาดเคล่ือนหรือตัด
แต่งต่อเติม จะมาทำให้ตกหล่นก็ไม่ได้ ต่อเติมก็ไม่ได้ ต้องรักษาไว้ให้แม่นยำท่ีสุด เราเพียงมาตรวจเช็ค มา
ซักซ้อม ทบทวนกัน ใครท่ีเช่ือถือหรือส่ังสอนคลาดเคล่ือน หรือผิดแผกไป ก็มาปรับให้ตรงตามของเดิม
เพราะฉะน้ัน พระพุทธศาสนาเถรวาทจึงมีความภูมิใจโดยชอบธรรมว่า เรารักษาพระพุทธศาสนาไว้ได้เป็น
แบบเดิมแท้ ส่วนพระสตู รต่างๆ ของพระพทุ ธศาสนาแบบมหายานท่ีเป็นอาจริยวาท/อาจารยวาท เด๋ียวนี้กร็ ู้
กันหมดแล้วว่าเป็นของที่แต่งข้ึนภายหลัง ไม่รักษาคำสอนเดิมแท้ๆไว้ ก็เลยคลาดเคล่ือนหรือหาย คัมภีร์
สว่ นมากกส็ าบสญู ไป เขากเ็ ลยมายอมรบั กนั ว่า คำสอนเดิมแทข้ องพระพุทธเจ้าที่จะหาไดค้ รบสมบูรณ์ท่ีสุด ก็
ต้องมาดูในพระไตรปิฎกบาลีของพระพุทธศาสนาเถรวาทของเราน้ี เร่ืองนี้เป็นที่ยอมรับกันเป็นสากล คือ
นักปราชญ์ วงวิชาการท่ัวโลก จะเป็นมหายาน หรือเถรวาท หรือเป็นวัชรยาน ก็รู้กันทั้งนั้น ควรเห็นคุณค่า
ของอรรถกถาที่ค้ำชูอยู่เคยี งขา้ งพระไตรปฎิ ก
พระธรรมปิฎก (ป. อ. ปยุตฺโต)201 (2542, หน้า 17-44) เมื่อถือพระไตรปิฎกเป็นมาตรฐานช้ันหน่ึง
แล้ว ต่อจากนั้น ก็จะมีการปิดรายการว่า เอาละ พระไตรปิฎกมีแค่นี้ ต่อจากน้ีพระเถระ พระอาจารย์ผู้ใหญ่
ทเ่ี ป็นนักปราชญ์ ก็ทำหนา้ ทีช่ ว่ ยกันรักษาพระไตรปฎิ กน้ีไว้ นอกจากรักษา ท่านก็มีหนา้ ท่ีอธิบายดว้ ย เพราะ
ตอ้ งสั่งสอนลูกศิษย์จำนวนมากมาย ซ่ึงเม่ือศึกษาพระไตรปิฎกน้นั กอ็ าจไปติดขดั ไม่เขา้ ใจบางส่วนบางตอนท่ี
ยาก พระอาจารย์ผู้ใหญ่เหล่านี้ท่ีท่านสืบต่อคำสอนกันมา และถ่ายทอดคำอธิบายกันมาเร่ือย ตั้งแต่สมัย
พุทธกาล พระเถระจนถึงพระมหาเถระผู้เป็นครูอาจารย์เหล่าน้ี ก็อธิบายคำสอนของพระพุทธเจ้าใน
พระไตรปิฎกให้แก่ลูกศิษย์ลูกหาของท่าน หรือผู้ที่ศึกษาค้นคว้า แล้วคำอธิบายเหล่าน้ีก็มารวบรวมกันเป็น
คมั ภรี ์ระดบั รองจากพระไตรปฎิ ก เรียกชอื่ ว่า “อรรถกถา” คือไมจ่ ดั รวมเขา้ ในพระไตรปิฎก
ตอนน้ีเทา่ กบั มีคัมภีร์ 2 ระดับ
ระดับที่ 1 คัมภีร์ท่ีจารกึ พุทธพจน์ พร้อมทั้งเรอ่ื งเก่ียวขอ้ งท่ีเป็นหลักฐานดั้งเดมิ เป็นมาตรฐานใหญ่
เป็นเกณฑต์ ดั สนิ พระพทุ ธศาสนา เรียกว่า พระไตรปฎิ กและ
201 เร่ืองเดียวกัน.
261
ระดับที่ 2 คัมภีร์เคียงข้างพระไตรปิฎก ซึง่ มีมาแต่เดิมเหมอื นกนั โดยถ่ายทอดกันมา เป็นคำอธบิ าย
พระไตรปฎิ กน้นั อกี ทหี นึง่ เรยี กวา่ อรรถกถา
นา่ สังเกตวา่ การรักษาพระไตรปฎิ ก กับการรักษาอรรถกถานต้ี า่ งกนั คือ พระไตรปิฎกน้ันจะต้องรักษาไว้
อย่างเดิม ตัวภาษาก็ต้องของเดิม คือภาษาบาลี แต่อรรถกถา ซึ่งเป็นคำอธิบายพระไตรปิฎก มุ่งให้ผู้ศึกษาใช้
ประกอบการศึกษาให้เขา้ ใจพระไตรปิฎก เพราะฉะน้นั อย่างในลังกาสมยั ก่อน เดมิ นั้นกร็ กั ษากนั มาด้วยภาษาสิงหล
ซึ่งเป็นภาษาของชาวลังกา หมายความว่า ผู้ศึกษาเรียนพระไตรปิฎกโดยอาศัยคำอธิบายของอรรถกถา จึงเรียน
พระไตรปิฎกที่เป็นภาษาบาลี ด้วยอรรกถาคือ คำอธิบายท่ีเป็นภาษาสิงหลของชาวลังกาเอง เป็นเช่นนี้จนกระท่ัง
ต่อมา พ.ศ. 900 เศษ พระพุทธโฆษาจารย์ซ่ึงอยู่ในอินเดีย จึงได้เดินทางมายังลังกา และแปลอรรถกถาจากภาษา
สงิ หลกลบั เปน็ ภาษาบาลตี อนนัน้ ในอินเดีย พระพทุ ธศาสนาเส่ือมมากแล้ว กลายเป็นวา่ ศนู ยก์ ลางพระพทุ ธศาสนา
เถรวาทได้มาอยใู่ นลงั กา พระพุทธโฆษาจารย์ซึ่งอยู่ในอินเดีย ตอ้ งการจะใหค้ นอนิ เดียได้เรียนรพู้ ระพุทธศาสนามาก
หน่อย จึงต้องการอรรถกถาซง่ึ เป็นคำอธิบายพระไตรปิฎกท่ีอยู่ในลังกา ท่านจึงเดินทางจากอินเดียมาลงั กา แล้วมา
ขอแปลอรรถกถาภาษาสงิ หลกลับเปน็ ภาษาบาลี เพื่อนำไปศกึ ษาในอนิ เดีย ตอนนเ้ี รากเ็ ลยได้อรรถกถาทเี่ ป็นภาษา
บาลีอกี ก็เลยมที งั้ พระไตรปฎิ กและอรรถกถาทเ่ี ป็นภาษาบาลี
พระธรรมปิฎก (ป. อ. ปยุตฺโต)202 (2542, หน้า 17-44) คัมภีร์พุทธศาสนามีหลายช้ันทรง
ความสำคญั ลดหลัน่ ลงมาตอ่ จากนนั้ กย็ ังมคี ัมภีร์รนุ่ สืบมาหลังจากอรรถกถา กล่าวคือ เนื้อหาในพระไตรปิฎก
ส่วนใดท่ีอรรถกถาอธิบายไว้ อาจารยใ์ หญ่รุ่นตอ่ มาเห็นวา่ อธบิ ายยังไมพ่ อ ควรจะให้ชัดกว่าน้ัน คือพุทธพจน์
บางแห่งในพระไตรปิฎก พระอรรถกถาจารย์เห็นว่าง่าย รู้กันดีอยู่แล้ว เพราะรุ่นของท่านยังใกล้พุทธกาล
ท่านก็ไม่อธิบาย พระอาจารย์รุ่นต่อมาเห็นว่าคนรุ่นหลังนี้ไม่เข้าใจ ก็อธิบายเสียด้วย หรือแม้แต่คำของพระ
อรรถกถาจารยน์ น้ั เอง คนร่นุ หลงั กอ็ าจเข้าใจไม่ชดั กม็ ีพระอาจารยผ์ ูใ้ หญท่ ีเ่ ชี่ยวชาญมาอธบิ ายขยายความไป
อีก คัมภีร์รุ่นหลังต่อจากอรรถกถานี้เรียกว่า ฎีกา ต่อจากฎีกาก็มีอนุฎีกาลดหลั่นกันลงมา คัมภีร์เหล่านี้ใช้
เป็นหลักท่ีจะตดั สนิ วินิจฉัยคำสอนในพระพุทธศาสนาลดหลั่นกนั ลงมา โดยถือวา่ พระไตรปฎิ กเป็นอันดบั หน่ึง
เปน็ มาตรฐานใหญ่ และเป็นมาตรฐานกลาง ซ่ึงตดั สินเด็ดขาดวา่ เปน็ พระพทุ ธศาสนาหรอื ไม่ ตอ่ จากน้นั มาก็มี
อรรถกถามาช่วยเป็นเกณฑ์วนิ ิจฉัยต่อ คือถ้าในพระไตรปิฎกนั้นเรามีข้อสงสัยอะไร กม็ าดูคำวินิจฉยั ในอรรถ
กถา ที่ว่านี้ไม่ได้หมายความว่า อรรถกถามาตัดสินพระไตรปิฎก แต่หมายความว่า เราคนรุ่นหลังอ่าน
พระไตรปิฎกกัน อาจจะเข้าใจไม่ชัดเจน พระอรรถกถาจารย์ก็มาอธิบายไว้ให้ชัด เราจึงใช้อรรถกถาเป็น
เครอื่ งชว่ ยวนิ ิจฉัยในส่วนท่ีเรายังไมช่ ัดเจน ต่อจากนั้นก็มีฎีกา อนุฎีกา ตามลำดับต่อกันไป
พระธรรมปฎิ ก (ป. อ. ปยุตฺโต) (2542, หนา้ 17-44)คมั ภรี เ์ หล่านี้ทา่ นถอื เป็นสำคญั สืบกนั มา เพราะ
ผู้ที่จะเรียบเรียงคัมภีร์ข้ึนมาได้ ก็ต้องเป็นที่ยอมรับ เป็นครูอาจารย์ เป็นผู้ที่รู้หลักคำสอนของพระพุทธเจ้า
เช่ียวชาญจัดเจนตลอดพระไตรปิฎก และช่ำชองทั่วตลอดในคัมภีร์ทั้งหลายในช้ันที่เหนือตนข้ึนไป และเมื่อ
นิพนธ์ข้ึนมาแล้วก็ต้องเป็นท่ียอมรบั ของปราชญ์ด้วยกันในยุคน้ันแล้วจึงอยู่ได้ เพราะฉะนั้น จึงเป็นหลักของ
พระศาสนา สว่ นพระอาจารย์รนุ่ หลังตอ่ จากท่ีว่ามาแล้ว ซ่ึงเป็นพระเถระผู้ใหญ่ในยุคน้ันๆ ทม่ี าแสดงคำสอน
หรอื คำอธิบายต่างๆ ก็เรียกกันว่าเป็น อัตตโนมติ หมด ไม่ว่าจะเป็นพระอาจารย์องค์ไหนก็ตาม แต่ละองค์ๆ
กเ็ รียก อตั ตโนมติ คือมตขิ องบุคคล หรอื เป็นมติสว่ นตัวของท่านผู้นั้นๆ ซ่ึงถอื เปน็ สำคัญนอ้ ยลงมา เป็นอนั ว่า
ถือพระไตรปิฎกเป็นหน่ึง อรรถกถาเป็นสอง รองลงมา แล้วก็เป็นฎีกา อนุฎีกา เป็นต้น จนมาถึงอัตตโนมติ
ของอาจารย์ท่มี ชี ีวิตอยู่ในปัจจุบัน หรอื แม้ก่อนนัน้ ท่แี ตง่ ตำรับตำราไวห้ ลงั จากรุ่นอรรถกถา ฎกี า อนุฎีกา จัด
เปน็ อตั ตโนมติทัง้ หมด
202 เร่ืองเดียวกนั .
262
ถ้านับถือพระบรมศาสดาก็ต้องรักษาพระไตรปิฎกท่ีกล่าวมานี้ ก็ด้วยมุ่งจะให้รู้จักว่า พระไตรปิฎก
คืออะไร มีความสำคัญอย่างไร การสังคายนาคืออะไร และการรักษาสืบต่อพระไตรปิฎกทำกันมาอย่างไร
เวลาน้ีน่าเสียดายว่า ชาวพุทธจำนวนมาก ไม่เข้าใจสิ่งท่ีเป็นหัวใจสำคัญ ซ่ึงเป็นแก่น และเป็นเนื้อตัวของ
พระพุทธศาสนา ไม่รู้จักพระไตรปิฎก ไม่รู้จักการสังคายนา ไม่รู้จักวิธีรักษาสืบทอดพระไตรปิฎก หรือคำส่ัง
สอนของพระพทุ ธเจ้าท่เี รยี กว่าธรรมวินัยนน้ั เพราะฉะนน้ั จึงเปน็ โอกาส หรือเป็นชอ่ งทางให้เกิดความสับสน
ตลอดจนความเสอ่ื มโทรมและความคลาดเคลอื่ นต่างๆ พร้อมทั้งคำสอนที่ผิดเพ้ียนแปลกปลอมจะแทรกซ้อน
หรือแอบแฝงเข้ามา เรื่องนี้ต่างจากชาวพุทธในสมัยโบราณมาก แม้เขาจะไม่มีการศึกษารู้อะไรมากมายใน
ความหมายของคนปัจจุบัน แต่เขาเข้าใจสิ่งเหล่าน้ี อย่างน้อยรู้จักว่าพระไตรปิฎกคืออะไร เปน็ หลักของพระ
ศาสนาอย่างไร มีความสำคัญอย่างไร ต่อความเปน็ ความตายของพระพุทธศาสนา เพราะว่าถ้าพระไตรปิฎก
คลาดเคล่ือน กค็ ือพระพุทธศาสนาคลาดเคล่ือน หรือกำลังเลือนลางไป ถ้าพระไตรปิฎกหายไป หมดไป กค็ ือ
พระพุทธศาสนาสูญส้ิน เพราะจะไม่มีแหล่งคำสอนของพระพุทธเจ้าเหลืออยู่ อย่างท่ีกล่าวแล้วว่า เรานับถือ
พระพทุ ธศาสนา ก็คอื นับถอื คำสัง่ สอนของพระพุทธเจา้ ต้องการฟงั คำส่งั สอนของพระพทุ ธเจ้า เมอื่ ต้องการรู้
ว่าพระพุทธเจ้าสอนว่าอย่างไร เราจะไปรู้เอาเองได้อย่างไร ก็ต้องไปฟังจากพระพุทธเจ้า เมื่อพระพุทธเจ้าไม่
อยู่ กต็ อ้ งไปดูคำสอนที่จารึกไว้ ซง่ึ กไ็ ดจ้ ารกึ ไวแ้ ละรกั ษากันมาในพระไตรปฎิ กนี้
พระธรรมปิฎก (ป. อ. ปยุตฺโต)203 (2542, หน้า 17-44) ถ้าหมดพระไตรปิฎก ก็คือหมด
พระพุทธศาสนา หมดคำส่ังสอนของพระพุทธเจ้า หมดพระธรรมวินัย หมดพระศาสดาของชาวพุทธ จึงเป็น
หน้าทีข่ องชาวพุทธ ท่ีจะต้องรักษาพระธรรมวนิ ัยไว้ ด้วยการเล่าเรียนพระไตรปฎิ ก แลว้ ก็รักษาพระไตรปิฎก
ไว้ให้อยู่ม่ันคงด้วยดี ดังที่ชาวพุทธโบราณทุกประเทศได้พยายามรักษากันมาเป็นงานสำคัญของชาติ ถ้าเรา
เห็นความสำคัญของพระไตรปิฎก ก็คือเห็นความสำคัญของพระพุทธเจ้า เพราะว่าเรานับถือคำส่ังสอนของ
พระองค์ ถ้าเรารักษาพระไตรปิฎกไว้ได้ พระพุทธศาสนาก็อยู่อยา่ งดีท่ีสดุ แล้วก็จะมีหลักที่เป็นแกนกลาง ท่ี
เรานับถือเป็นอันหน่ึงอนั เดียวกนั ในหมู่ชาวพุทธทัง้ หมด ชาวพุทธทัง้ ปวงในประเทศเถรวาททุกประเทศ ก็จะ
มีเอกภาพดังที่เคยมีเอกภาพกันมาแล้ว อย่างที่กล่าวแล้วว่า คำสอนของพระพุทธเจ้าในพระไตรปิฎกของ
ประเทศไทย พมา่ ลังกา หรอื ในประเทศไหนๆ แม้แตท่ เี่ อาไปในยุโรป เช่นทอ่ี ังกฤษ ก็เปน็ เน้อื หาอันเดียวกัน
หมด เป็นคำสอนเดียวกนั เชน่ ทาน ศลี ภาวนา อนั เดยี วกัน ศีล สมาธิ ปัญญา ไตรสกิ ขา อันเดยี วกนั ขนั ธ์ 5
ปฏิจจสมุปบาท อันเดียวกัน ไม่ว่าพระสูตรใดๆ ไปดูเนื้อหาก็เหมือนกันหมด ไปท่ีไหนก็ใช้กันได้เหมือนกัน
เพราะฉะน้ัน ถ้าพระไตรปิฎกที่เป็นหลักของพระพุทธศาสนายังคงอยู่ ชาวพุทธก็ยังมีความเป็นอันหน่ึงอัน
เดียวกัน แต่ถา้ เราเสียหลักเร่ืองนี้เม่อื ไร ก็เป็นอนั ว่าพระพุทธศาสนาจะเริ่มมีปัญหา ชาวพุทธเองก็จะทะเลาะ
เบาะแว้งกัน น่ันก็คือความเสื่อมโทรมของพระพุทธศาสนา และความเส่ือมโทรมแห่งประโยชน์สุขของ
ประชาชน ท่จี ะไมร่ จู้ ักพระพทุ ธศาสนาทแี่ ทจ้ รงิ และไม่สามารถปฏิบตั ิใหถ้ ูกต้อง
เพราะฉะนั้น จะต้องช่วยกันสร้างความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเก่ียวกับพระไตรปิฎก และชวนกัน
รักษาด้วยการศึกษาพระไตรปิฎกกนั อยา่ งจรงิ จงั
พระธรรมปฎิ ก (ป. อ. ปยุตฺโต)204 (2542, หน้า 17-44) เสรีภาพแห่งความคิดเหน็ ของบุคคลต้องไม่
สับสนกับความซ่ือตรงต่อพระศาสดาอน่ึง ขอให้แง่คิดไว้นิดหน่ึงว่า การทำเช่นนี้ไม่ใช่หมายความว่าเราติด
ตำรา หรือติดพระไตรปิฎก อันนี้เป็นคนละเรื่องกัน แต่เป็นการท่ีเรารู้ว่าอะไรเป็นเกณฑ์ตัดสิน หรือเป็น
มาตรฐานคำสอนในพระพุทธศาสนา ให้ได้รู้ว่าพระพุทธเจ้าสอนอะไร และสอนว่าอย่างไร ส่วนเราจะเช่ือ
203 เรื่องเดียวกัน.
204 เร่ืองเดียวกนั .
263
หรอื ไมก่ ็เปน็ เรื่องของเรา เป็นสิทธเิ สรภี าพส่วนบุคคล แม้แต่ว่าจะเชอ่ื พระพทุ ธเจา้ หรือไม่ ก็เป็นสทิ ธิทีจ่ ะเชื่อ
หรือไม่เชื่อก็ได้ ต้องแยกให้ถูก เวลาน้ีก็เป็นปัญหาอีกอย่างหนึ่งคือ ความสับสนของคนในยุคที่เรียกกันว่ามี
การศกึ ษา แตก่ ารศึกษานี้กำลังพร่ามวั ลงไปมาก จนแยกไม่ถกู แม้แต่ระหว่างตวั หลกั การกับความคดิ เห็นสว่ น
บคุ คล เพียงแค่นก้ี ็แยกไม่ถกู จึงแน่นอนว่าความสับสนจะต้องเกิดขึ้น แล้วก็นำไปสู่ปัญหาตา่ งๆ มากมาย ถ้า
เราถามว่าพระพุทธเจ้าสอนว่าอย่างไร หรือสอนเร่ืองอะไรว่าอย่างไร เราจะดูที่ไหน เราก็ต้องไปดู
พระไตรปิฎก เพราะเราไม่มีแหล่งอ่ืนท่ีจะตอบคำถามนี้ได้ เราจะว่าเอาเอง หรือไปตอบแทนพระพุทธเจ้าได้
อย่างไร ว่าพระองค์สอนอย่างนั้นอย่างน้ี ต่อจากน้ัน เมื่อรวู้ ่า หรือได้หลักฐานเท่าที่มีว่าพระพุทธเจ้าสอนว่า
อย่างไรแล้ว เราจะเชื่อคำสอนน้ันหรือไม่ หรือเรามีความเห็นต่อคำสอนน้ันว่าอย่างไร อันนั้นก็เป็นเรื่องของ
เรา เป็นเร่ืองของบุคคลนั้น ตอนนี้ไม่ใช่เรื่องหลักการ แต่เป็นเร่ืองของความคิดเห็น ฉะน้ันจะต้องแยกส่วนนี้
ให้ได้ เวลาจะพูดกันก็ต้องแยกให้ถูกว่าเรากำลังพูดกันเรื่องว่า คำสอนของพระพุทธเจ้าว่าอย่างไร
พระพุทธเจ้าสอนในเร่ืองน้ีว่าอย่างไร หรือว่าเรากำลังพูดเรื่องว่า เรามีทัศนะความคิดเห็นในเร่ืองน้ันว่า
อยา่ งไร ตอ้ งแยกให้ถูก แล้วกพ็ ูดให้เปน็ ขั้นตอน เป็นลำดับ กจ็ ะไมเ่ ป็นปัญหา
เวลานี้ก็เท่ากับว่าได้เกิดปัญหาทั่วไปหมด ตั้งแต่ไม่รู้จักพระไตรปิฎก ไม่รู้จักความสำคัญของ
พระไตรปิฎก ไม่รู้ว่าการรักษาสืบทอดพระไตรปิฎกเป็นมาอย่างไร แล้วก็มีความสับสนระหว่างคำสอนของ
พระพุทธเจ้า ว่าพระองค์สอนอย่างไร กับความคิดเห็นของบุคคลหรือเราแต่ละคนต่อคำสอนนั้นว่าเราคิด
อย่างไร ท้ังหมดน้ีมองกันไม่ชัดเจน คลุมเครือ และว่ากันเลอะเทอะสับสนไปหมด เพราะฉะน้ันก็แน่นอนว่า
จะต้องเกิดปัญหา ท่ีจริงเรื่องนี้ก็ไม่ใช่ว่าจะยากอะไรเลย ก็เพียงแต่แยกให้ถูก ถ้าใครมาถามว่า พระพุทธเจ้า
สอนว่าอย่างไร เราจะว่าเอาเองก็ไม่ได้ ก็ต้องว่าไปตามท่พี ระพุทธเจ้าสอน ก็ไปเอาหลักฐานมาแสดงให้ดู แต่
ถ้าเขาถามว่า พระพุทธเจา้ สอนวา่ อย่างนี้แลว้ หรือธรรมะข้อนี้พระพุทธเจา้ สอนไว้ว่าอย่างน้ี คุณจะวา่ อยา่ งไร
อันนี้ก็เป็นเร่ืองของเราจะว่าเอา เราคิดอย่างไรก็เป็นสิทธิของเรา เป็นเสรีภาพของเราที่จะพูด ว่าธรรมะข้อ
นน้ั พระพุทธเจ้าสอนไวอ้ ยา่ งน้ันแล้ว เราจะว่าอยา่ งไร เรากว็ ่าตามความเข้าใจของเราได้
แต่ที่จริงก็ควรจะศึกษาคำอธิบายของท่านให้ชัดแจ้งก่อนแล้วจึงมาสรุปเอา ถ้าสรุปดีก็ตรงตามที่
พระพุทธเจ้าสอน สรุปไม่ดกี ็ผิดพลาด ก็ศึกษาค้นควา้ ต่อไป แต่อย่างน้อยก็แยกให้ชัดอย่างท่ีกล่าวมาแล้วว่า
พระพุทธเจ้าสอนว่าอยา่ งไร ก็ว่าไปตามท่ีท่านสอน แล้วเราเห็นว่าอย่างไร ก็วา่ ไปตามที่เราเห็น เวลานี้คนว่า
กันนุงนังสับสนไปหมด เมื่อเกิดปัญหาอย่างที่รู้กันอยู่ในปัจจุบัน ก็เป็นโอกาสท่ีจะต้องมาซักซ้อมในหมู่ชาว
พทุ ธ เพอื่ จะสร้างเสรมิ ความรคู้ วามเขา้ ใจทถี่ ูกตอ้ งและปฏบิ ัติกันใหถ้ ูกตอ้ ง ถ้าชาวพุทธจับหลกั ในเรอ่ื งน้ีได้ มี
ความเขา้ ใจถูกตอ้ ง และมีความตรงไปตรงมา ปฏิบตั ิด้วยความซ่ือตรง พระพุทธศาสนาก็จะยงั คงอยู่เปน็ หลัก
เปน็ ศูนย์รวมชาวพทุ ธ และมีอยเู่ พ่ือประโยชนส์ ขุ แก่ประชาชนท้งั หลายสืบตอ่ ไป
มพี ระไตรปิฎกท่ีสังคายนาไวด้ ีกใ็ ชส้ งั คายนาคนได้ด้วยได้พดู มายาวมาก จึงควรสรุปไว้อีกครงั้ หนึ่งวา่
การสังคายนาน้ัน เป็นการรักษาพระธรรมวินัยคือคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าไว้ให้คงอยู่อย่างดีที่สุด คือให้
แม่นยำตรงตามท่ีพระพุทธเจา้ ตรัสไว้เท่าท่ีเปน็ ไปได้ ระยะเร่มิ แรก ก็มีการประมวลรวบรวมและรักษาไว้ แต่
ระยะหลงั ต่อๆ มา มแี ตก่ ารรกั ษาอย่างเดียว ใหค้ งอยู่อย่างเดิม ให้บริสุทธิ์ แม่นยำท่ีสุด จะตัด จะต่อ จะแต่ง
จะเติม อย่างไรไม่ได้ท้ังส้ิน ถ้าไปตัดต่อ หรือแต่งเติม ก็จะกลายเป็นสัทธรรมปฏิรูป คือของปลอมหรือของ
เทียม เพราะฉะน้ัน ในยุคท่ีมีการจารึกเป็นลายลักษณ์อักษรแล้ว เวลาสังคายนาก็คือการที่เอาพระไตรปิฎก
ฉบับต่างๆ เท่าทม่ี ีอยู่เป็นหลักในประเทศต่างๆ มาตรวจสอบทานกัน เช่น ฉบับของไทย ของพม่า ของลังกา
เป็นต้น เท่าทม่ี อี ย่ใู นประเทศเถรวาทเป็นภาษาบาลี รวมท้งั ฉบับอักษรโรมัน ซงึ่ ก็มาจากแหลง่ เดมิ อันเดยี วกัน
ตรงกนั อยู่แล้ว แต่เกรงว่าหา่ งกันนานมาจะคลาดเคลื่อนกันไป สังคายนาในสมัยนี้ก็เป็นการเอาพระไตรปิฎก
ฉบับของประเทศต่างๆ เหล่านั้น มาตรวจสอบกัน ถ้ามีผิดแผกอะไร ก็ต้องทำเชิงอรรถลงไป และจดหมาย
เหตไุ ว้ ผทู้ ีท่ ำสงั คายนาไม่มีสทิ ธิไปแกไ้ ขดัดแปลงอะไรท้ังสิน้ มีแต่วา่ เราจะต้องสังคายนาคน กล่าวคอื คนบาง
264
คนบางกลุ่มอาจจะนับถือ เชื่อถือ ส่ังสอนผิดแผกไป ก็เอาคนเหล่านั้นมาตรวจสอบกับคำสอนด้ังเดิมใน
พระไตรปิฎก แล้วกป็ รับให้คนเหล่านัน้ สอนให้ถูกตอ้ งตรงตามพระไตรปิฎก อย่างน้ีก็เป็นความหมายท่ีขยาย
ออกไปของคำว่า สังคายนาดว้ ยเหมอื นกนั
พระธรรมปฎิ ก (ป. อ. ปยุตฺโต)205 (2542, หนา้ 17-44) เวลาน้จี ึงเหมอื นกับว่า เรามคี วามหมายของ
สงั คายนา 2 อย่าง คอื
1. สังคายนาพระคัมภีร์ หรือสังคายนาพระไตรปิฎก ได้แก่ตรวจสอบให้คัมภีร์พระไตรปิฎกคงอยู่
อยา่ งเดมิ บริสุทธิ์ บรบิ ูรณ์ และแม่นยำที่สุดเท่าท่ีเปน็ ไปได้ ไมม่ ีอะไรแปลกปลอม
2. สังคายนาคน เป็นการปรับตัวคนให้สอนให้ตรงตามพระไตรปิฎก ถ้าเราจะไม่ต้องมีการสังคายา
คนก็ทำไดโ้ ดยทวี่ า่ พระจะต้องสัง่ สอนตรวจสอบตวั เองให้ตรงตามพระไตรปฎิ กอยู่เสมอ
ถ้าพุทธบริษัทไม่เสื่อมโทรม ก็ไม่ต้องมีการสังคายนาคน การที่พุทธบริษัทจะเส่ือมโทรมกเ็ พราะพา
กันห่างเหินจากพระธรรมวินัยเพราะฉะน้ัน ถ้าต้องการให้พระพุทธศาสนาเจริญมั่นคง ก็จะต้องมีการศึกษา
และสั่งสอนพระธรรมวินัยให้ถูกต้องอยู่เสมอ ผู้ท่ีต้องรับผิดชอบโดยตรงในเร่ืองน้ี ก็คือพระภิกษุสงฆ์ ซ่ึงมี
หนา้ ท่อี ย่แู ล้วว่าจะต้องส่งั สอนพระธรรมวนิ ัย ในยามปกติ พระสงฆ์กต็ อ้ งสง่ั สอนอย่แู ลว้ เป็นประจำ ยิง่ ถ้าเกิด
เหตทุ ่แี สดงว่าผู้คนไมร่ ูไ้ ม่เขา้ ใจพระธรรมวนิ ยั พระสงฆ์กจ็ ะยงิ่ ตอ้ งเอาใจใสส่ ง่ั สอนชีแ้ จงให้ประชาชนเข้าใจให้
ถูกต้องและให้รู้ อย่างน้อยให้รู้ว่า ในพระพุทธศาสนานี้จะใช้อะไรเป็นมาตรฐาน เป็นเกณฑ์ในการตัดสิน ว่า
อะไรถูกต้อง อะไรไม่ถูกต้อง เป็นพระธรรมวินัยหรือไม่ นั่นก็คือจะต้องรู้จักพระไตรปิฎก ซึ่งสมัยก่อนคนมี
ความรู้ความเข้าใจถูกต้องในเร่ืองน้ีเป็นอย่างดี เพราะฉะน้ัน ปัญหาก็จะเกิดข้ึนได้ยาก เม่ือเกิดเหตุการณ์
คราวน้ี ก็เป็นเคร่ืองเตือนใจชาวพุทธว่า เราจะต้องหันมารักษาพระธรรมวินัยให้บริสุทธิ์ และรู้จั ก
พระไตรปฎิ กที่เป็นตัวหลักเดมิ ที่รกั ษาพระธรรมวินัยนนั้ ไว้ แล้วหนั มาฟื้นฟชู าวพุทธให้กลบั ไปส่พู ระธรรมวนิ ยั
ให้รู้จักศึกษาพระไตรปิฎกกันอย่างจริงจังอีกคร้ังหนึ่ง เร่ืองความสำคัญของพระไตรปิฎก และการรักษา
พระไตรปฎิ ก คือรกั ษาพระธรรมวนิ ยั ดว้ ยการสงั คายนาเปน็ ต้น กจ็ บเพยี งเท่านี้
ชวนกันต่ืนข้ึนมาช่วยกันเรียนและรักษาพระไตรปิฎกกันให้ดีขอแถมสักนิดว่า ความจริงเร่ืองน้ีก็
ไม่ไดย้ ากอะไร เหมือนอย่างว่า เรามีคุณพ่อคุณแม่ มคี รูอาจารย์ หรือคนท่ีเราเคารพนับถือ เราอยากจะจดจำ
คำพูดของท่านไว้ ว่าท่านพดู อะไร สอนอะไร เรามีเทปเราก็บนั ทึกเสยี งทา่ นไว้ ถา้ ไมม่ ี เราก็เอาสมุดจดบนั ทึก
ไว้ เมื่อท่านสิ้นชีวิตไปแล้ว เราไม่มีโอกาสถามท่านอีก เราก็มีเทปน้ัน หรือสมุดที่จดบันทึกไวน้ ั้น เราก็เอามา
เปดิ ดู ถ้าเราต้องการรักษาคำพูดของทา่ นไว้ เรากต็ ้องรักษาเทปหรือสมุดบันทึกนนั้ ไวใ้ หด้ ี เพราะถา้ หายไป ก็
เป็นอันว่าเราจะไม่มีคำพูดของท่านหรือคำสอนของท่าน ย่ิงคนท่ีไม่เคยฟังท่าน ไม่เคยอ่านบันทึกน้ัน ไม่มี
อะไรอยู่ในความทรงจำ ไม่เคยรู้จักเลย ก็เป็นอันหมดทางที่จะรู้ว่า คุณพ่อ คุณแม่ ครูอาจารย์ ได้พูดได้สอน
อะไรไว้ น่กี ็เหมือนกัน เมื่อเราต้องการจะฟงั จะรู้ จะอ่านคำสอนของพระพทุ ธเจ้า พระสาวกทีท่ ันเห็น ทันฟัง
ทันเฝ้าพระพุทธเจ้า ท่านก็รวบรวมคำสอนคำตรัสของพระพุทธเจ้าไว้ให้เราแล้วเม่ือส ามเดือนหลังพุทธ
ปรนิ ิพพาน แลว้ ก็เก็บรกั ษาสบื ต่อกันมาให้เราจนถึงปัจจุบนั นดี้ ้วยความลำบากยากเย็น ก็เปน็ หน้าทข่ี องเราท่ี
จะต้องไปอ่าน ไปศึกษาและเก็บรักษาไว้ต่อไปทำไมเราจะไม่รักษาพระไตรปิฎกไว้ ในเมื่อถ้าพระไตรปิฎก
หายไปกค็ ือว่าบันทึกคำตรัสคำสอนของพระพทุ ธเจ้าก็หมดไป หายไป เราก็ไม่มีคำสอนของพระพทุ ธเจ้า เรา
จะไปน่ังฌานเอา เราจะไปพูดแทนท่าน หรือว่ารู้ขึ้นมาเอง ก็ย่อมเป็นไปไม่ได้ อันนี้ก็เป็นเร่ืองธรรมดาสามัญ
ซ่ึงไม่น่าจะเปน็ ปญั หาข้ึนมาเลย สมัยก่อนก็ไมเ่ คยมปี ัญหาอยา่ งน้ี นับว่าเป็นเรื่องแปลกท่ีว่าคนสมัยนี้กลับไม่
เขา้ ใจว่า พระไตรปิฎกคืออะไร ทำไมต้องรกั ษาพระไตรปิฎก ทำไมตอ้ งเอาพระไตรปิฎกมาเปน็ มาตรฐานหรือ
205 เร่ืองเดียวกนั .
265
เป็นเกณฑ์วินิจฉัยว่าอะไรเป็นคำสอนของพระพุทธเจ้า เดี๋ยวก็จะกลายเป็นว่า คำสอนของพระพุทธเจ้า ใคร
จะว่าอยา่ งไรก็ได้ เพราะฉะนั้น จึงควรตน่ื ขึ้นมาช่วยรักษาพระธรรมวินบั ไวใ้ หด้ ี
8.3 การวินิจฉัยพระวนิ ยั
มหาปเทส 4 คือ หลักอ้างอิงหลักใหญ่ 4 ประการ ท่ีพระพุทธเจ้าทรงวางไว้ เพ่ือให้ภิกษุเป็นหลัก
พจิ ารณาตดั สนิ ใจในส่งิ ทีเ่ กดิ ขนึ้ ภายหลังที่ไม่มใี นพุทธบญั ญตั ิ วา่ ควรหรือไมค่ วร
กล่าวคือ ด้วยยคุ สมัยท่เี ปล่ียนไป มหี ลายสง่ิ หลายอย่างเกิดขึ้นใหม่เร่ือย ๆ สงิ่ ทีเ่ กิดขึ้นใหม่ภายหลัง
บางอย่างย่อมไม่มีในพุทธบัญญัติ เม่ือไม่มีในพุทธบัญญัติ จีงทำให้เกิดความสับสนและสงสัยแก่ภิกษุที่จะ
ปฏิบัติต่อส่ิงน้ันว่าควรหรือไม่ควรอย่างไร เช่น ยาบ้า ไม่มีข้อบัญญัติห้าม ไม่มีข้ออนุญาตในท่ีใด เพราะเป็น
สงิ่ ทเ่ี กิดภายหลัง ทำให้เกิดความสงสัยว่า ภิกษุเสพไดห้ รือไม่เสพแล้วจะมโี ทษตามพระวนิ ยั หรอื ไม่
พระพุทธองค์ทรงเล็งเห็นข้อนี้ จึงทรงวางหลักมหาปเทส 4 ประการไว้ล่วงหน้า เพ่ือให้ภิกษุยึดเป็น
หลักในการพิจารณาตัดสินแกป้ ญั หาความสบั สนให้หมดไป ภกิ ษเุ มือ่ ทำความเข้าใจให้ชัดเจนดีแลว้ กส็ ามารถ
ท่ีจะปฏบิ ตั ติ นต่อส่งิ นั้นได้อย่างถูกตอ้ งเหมาะสม เกิดประโยชนแ์ ก่ตน และแก่พระศาสนา
หลกั มหาปเทสทั้ง 4 นน้ั ดงั น้ี
1. ส่ิงใดไม่ไดท้ รงห้ามไวว้ ่า “ไมค่ วร” แต่อนโุ ลมเขา้ กับสิ่งทไี่ มค่ วร (สิ่งท่ีห้าม) ขัดกับสิง่ ท่ีควร (ส่ิงที่
อนุญาต)ให้ตดั สนิ สิ่งนนั้ วา่ “ไมค่ วร” (หา้ มทำ) 206 (พระไตรปฎิ กภาษาไทย เล่ม 5. 2539 : (23), 139)
ฝนิ่ กัญชา ยาบ้า ยาเสพตดิ ทุกชนิด แม้พระพุทธเจ้าไม่ได้ตรัสห้ามไวว้ ่า ผิด แต่ของจำพวกนี้จัดเป็น
ของไม่เหมาะสมแก่ภิกษุ เพราะเป็นของมึนเมาทำลยสุขภาพเช่นเดียวกับสุราเมรัยจึงจัดเป็นของต้องห้าม
ภิกษุใดเสพเข้าไป ต้องอาบัติปาจิตตีย์ตามสิกขาบทที่ 1 แห่งสุราปานวรรค เพราะท่านสงเคราะห์สิ่งเหล่านี้
เขา้ ในสุรา ยาเสพติด แม้จะมีโทษน้อยทางพระวนิ ัย แต่มีโทษหนกั ในทางโลก คือเป็นของผิดกฏหมาย
2. ส่ิงใดไม่ไดท้ รงห้ามไวว้ า่ “ไมค่ วร” แตอ่ นโุ ลมเข้ากับส่ิงที่ควร (สิ่งทอี่ นญุ าต) ขัดกับส่ิงทไ่ี ม่ควร
(สงิ่ ท่หี า้ ม)ให้ตดั สนิ สง่ิ นนั้ วา่ “ควร” (อนญุ าตใหท้ ำ)207 (พระไตรปฎิ กภาษาไทย เล่ม 5. 2539 : (23), 140)
สุรา ท่ีใช้ปรุงยาไมม่ ีฤทธท์ิ ำให้เมา ทรงอนญุ าตให้ดื่มเพื่อรักษาโรคได้ไม่เปน็ อาบัติ ฝิ่นท่ีใช้ผสมกับยา
เช่น ไนโคลโรดิน เป็นยาแก้ลงท้อง แม้พระพุทธเจ้าไม่ทรงอนุญาตไว้ แต่ถือตามสุราท่ีผสมเป็นยาท่ีทรง
อนุญาตไว้ ยาท่มี ีสว่ นผสมของฝนิ่ ภกิ ษุกฉ็ นั ไดไ้ ม่เป็นของผิด
3. สิ่งใดไม่ได้ทรงอนญุ าตไวว้ ่า “ควร” แต่อนุโลมเขา้ กบั สิ่งทไ่ี มค่ วร (ส่ิงทีห่ ้าม) ขดั กบั สิง่ ท่คี วร (สิง่ ท่ี
อนุญาต)ใหต้ ดั สนิ ส่ิงน้นั วา่ “ไมค่ วร” (ห้ามทำ)208 (พระไตรปฎิ กภาษาไทย เล่ม 5. 2539 : (23), 140)
น้ำอัฎฐบาน คือ น้ำปานะทไ่ี ด้จากผลไม้ 8 ชนดิ คือ มะม่วง หว้า กล้วยไมม่ ีเมล็ด มะซาง ลกู จันทร์
เหงา้ บัว มะปราง ทั้งหมดน้ี ถ้าเก็บไว้คา้ งคืนแล้ว ทา่ นหา้ มบรโิ ภค ภกิ ษุใดบริโภคปรับอาบัตทิ กุ กฎ นำ้ ผลไม้
อย่างอ่ืนมิได้กล่าวถึง แต่สงเคราะห์เขา้ ในน้ำอัฎฐบานน้ี เม่ือเก็บไวค้ ้างคืนแล้วไม่ควรบรโิ ภค และปรับอาบัติ
ทกุ กฎเชน่ กนั
206 มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
กรุงเทพมหานคร : โรงพมิ พม์ หาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั . เล่ม 5. ขอ้ ท2ี่ 3 หนา้ ท่ี 139.
207 (พระไตรปิฎกภาษาไทย เล่ม 5. 2539 : (23), 140)
208 (พระไตรปิฎกภาษาไทย เลม่ 5. 2539 : (23), 140)
266
4. สงิ่ ใดไม่ได้ทรงอนญุ าตไว้วา่ “ควร” แต่อนโุ ลมเขา้ กับสงิ่ ท่คี วร (สง่ิ ท่ีอนญุ าต) ขัดกบั สงิ่ ท่ไี มค่ วร
(สิง่ ทห่ี ้าม)ใหต้ ัดสนิ สงิ่ นน้ั วา่ “ควร” (อนุญาตใหท้ ำ)209 (พระไตรปฎิ กภาษาไทย เลม่ 5. 2539 : (24), 140)
ผาณติ คือ น้ำอ้อยทีเ่ คี่ยวจนเป็นก้อน ทรงอนญุ าตให้ภิกษเุ ก็บไว้บริโภคได้ 7 วนั น้ำตาลก้อนที่เกิด
จากตาลหรือมะพร้าวไม่ได้ทรงอนุญาตไว้ แต่ก็จัดเข้าได้กับน้ำอ้อย จึงถือว่าเป็นของที่ควรแก่ภิกษุ สามารถ
เกบ็ ไว้บรโิ ภคไดเ้ ทา่ กบั ผาณติ ไม่เปน็ อาบตั ิ
ในพระไตรปิฎก เล่มท่ี 8 พระวินัยปิฎก เล่มท่ี 8 ปริวาร210 (2555, หน้า 371-374) จูฬสงคราม
ขอ้ ปฏิบัติของภิกษุผู้เข้าสงคราม อันภิกษุผู้เข้าสงครามเม่ือเข้าหาสงฆ์พงึ เป็นผู้มจี ิตยำเกรง มีจิตเสมอด้วยผ้า
เช็ดธุลี เข้าหาสงฆ์ พึงเป็นผู้รู้จักท่ีนัง่ รู้จักการน่ัง ไม่เบียดภิกษุผู้เถระ ไม่ห้ามภิกษุผู้อ่อนกว่าด้วยอาสนะ พึง
นงั่ อาสนะตามสมควร ไม่พงึ พูดเร่อื งต่างๆ ไม่พงึ พูดเรอ่ื งดริ ัจฉานกถา พึงกล่าวธรรมเอง หรือพึงเชอ้ื เชิญภิกษุ
รูปอน่ื ไมพ่ ึงดหู มน่ิ อรยิ ดุษณีภาพ. อันภิกษุผวู้ ินิจฉัยอธิกรณ์ท่ีสงฆ์อนมุ ัตแิ ล้ว มีประสงค์จะวินจิ ฉยั อธกิ รณ์ ไม่
พึงถามถงึ อุปัชฌาย์ ไม่พงึ ถามถึงอาจารย์ ไม่พึงถามถงึ สัทธิวิหาริก ไม่พึงถามถงึ อันเตวาสิก ไม่พงึ ถามถึงภิกษุ
ปนู อุปัชฌาย์ ไมพ่ งึ ถามถึงภกิ ษุปูนอาจารย์ ไมพ่ งึ ถามถงึ ชาติ ไม่พึงถามถงึ ชือ่ ไมพ่ งึ ถามถึงโคตร ไม่พงึ ถามถึง
อาคม ไมพ่ งึ ถามถงึ ตระกูลประเทศ ไมพ่ ึงถามถงึ ชาติภูม.ิ เพราะเหตุไร?เพราะความรักหรอื ความชงั จะพึงมใี น
บุคคลน้ัน เม่ือมีความรักหรือความชัง พึงลำเอียงเพราะความชอบบ้าง พึงลำเอียงเพราะความชังบ้าง พึง
ลำเอยี งเพราะความหลงบา้ ง พงึ ลำเอยี งเพราะความกลัวบ้าง. ขอ้ ปฏิบัติของภิกษุผู้วนิ จิ ฉยั อธิกรณ์
อันภิกษุผู้วินิจฉัยอธิกรณ์ท่ีสงฆ์อนุมัติแล้ว มีประสงค์จะวินิจฉัยอธิกรณ์ พึงเป็นผู้หนักในสงฆ์ ไม่พึงเป็นผู้
หนักในบคุ คล พงึ เปน็ ผู้หนกั ในพระสทั ธรรม ไม่พงึ เป็นผู้หนักในอามิสพึงเป็นผู้ไปตามอำนาจแหง่ คดี ไม่พึงเป็นผเู้ ห็นแก่
บริษัท พึงวินิจฉัยโดยกาลอันควร ไม่พึงวินิจฉัยโดยกาลไม่ควร พึงวินัยฉัยด้วยคำจริง ไม่พึงวินิจฉัยด้วยคำไม่จริง พึง
วินิจฉัยด้วยคำสุภาพ ไม่พึงวินิจฉัยด้วยคำหยาบ พึงวินิจฉัยด้วยคำประกอบด้วยประโยชน์ ไม่พึงวินิจฉัยด้วยคำไม่
ประกอบด้วยประโยชน์ พึงเปน็ ผูม้ ีเมตตาจติ วินจิ ฉัย ไม่พึงเป็นผมู้ ุ่งรา้ ยวนิ จิ ฉัย ไม่พงึ เปน็ ผกู้ ระซบิ ทห่ี ู ไมพ่ ึงคอยจบั ผดิ
ไมพ่ ึงขยิบตา ไม่พงึ เลิกค้วิ ไม่พึงชะเงอ้ ศรี ษะ ไม่พึงทำวิการแห่งมอื ไม่พงึ แสดงปลายนิ้วมือ พึงเป็นผ้รู ู้จักท่ีนั่ง พึงเป็น
ผู้รู้จักการน่ัง พึงนั่งบนอาสนะของตน ทอดตาชั่วแอก เพ่งเนื้อความและไม่ลุกจากอาสนะไปข้างไหน ไม่พึงยังการ
วินิจฉัยให้บกพร่อง ไมพ่ ึงเสพทางผิด ไมพ่ พึ ดู ส่ายคำ พึงเป็นผูไ้ มร่ ีบดว่ น ไม่ผลนุ ผลนั ไมด่ ุดนั เปน็ ผู้อดไดต้ ่อถ้อยคำ พึง
เป็นผู้มีเมตตาจิต คิดเอ็นดูเพ่ือประโยชน์ พึงเป็นผู้มีกรุณา ขวนขวายเพื่อประโยชน์ พึงเป็นผู้ไม่พูดพล่อย เป็นผู้พูดมี
ท่ีสุด พึงเป็นผไู้ ม่ผกู เวร ไม่ขดั เคือง พงึ รูจ้ ักตนพึงรู้จักผู้อน่ื พึงสงั เกตโจทก์ พงึ สังเกตจำเลย พึงกำหนดรู้ผู้โจทก์ไม่เป็น
ธรรม พึงกำหนดร้ผู ้ถู กู โจทไมเ่ ปน็ ธรรม พงึ กำหนดรู้ผู้โจทก์เปน็ ธรรม พงึ กำหนดรู้ผูถ้ ูกโจทเปน็ ธรรม พงึ กำหนดขอ้ ความ
อันสองฝ่ายกล่าวมิให้ตกหล่น ไม่แซมข้อความอันเขาไม่ได้กล่าว พึงจำบทพยัญชนะ อันเข้าประเด็นไว้เป็นอย่างดี
สอบสวนจำเลย แล้วพงึ ปรับตามคำรับสารภาพ โจทก์หรอื จำเลยประหม่าพงึ พดู เอาใจ เป็นผูข้ ลาด พึงพดู ปลอบ เป็นผู้ดุ
พึงห้ามเสีย เป็นผู้ไม่สะอาดพึงดัดเสีย เป็นผู้ตรง พึงประพฤติต่อด้วยความอ่อนโยน ไม่พึงถึงฉันทาคติ โทสาคติ
โมหาคติ ภยาคติ พึงวางตนเป็นกลาง ท้ังในธรรม ทั้งในบุคคล.ก็แล ภิกษุผู้วินิจฉัยอธิกรณ์ เมื่อวินิจฉัยอธิกรณ์ด้วย
อาการ อย่างนี้ ชื่อว่าเป็นผู้ทำตามคำสอนของพระศาสดา เป็นท่ีรักท่ีชอบใจที่เคารพ ท่ีสรรเสริญ แห่งสพรหมจารี
ทง้ั หลายผเู้ ป็นวญิ ญู.ว่าดว้ ยประโยชนแ์ ห่งสตู รเป็นตน้
สูตรเพื่อประโยชน์แก่การเทียบเคียง ข้ออุปมา เพื่อประโยชน์แก่การช้ีความ เนื้อความ เพื่อ
ประโยชน์ที่ให้เขาเข้าใจ การย้อนถาม เพ่ือประโยชน์แก่ความดำรงอยู่การขอโอกาส เพ่ือประโยชน์แก่การ
โจท การโจท เพ่อื ประโยชน์แกก่ ารให้จำเลยระลกึ โทษ การใหร้ ะลึก เพือ่ ประโยชน์แกค่ วามเปน็ ผมู้ ีถ้อยคำอัน
209 พระไตรปิฎกภาษาไทย เลม่ 5. 2539 : (24), 140)
210 ในพระไตรปิฎก เล่มท่ี 8 พระวินยั ปฎิ ก เลม่ ที่ 8 ปริวาร (2555, หน้า 371-374)
267
จะพึงกล่าว ความเป็นผู้มีถ้อยคำอันจะพึงกล่าวเพื่อประโยชน์แก่การกังวล การกังวลเพ่ือประโยชน์แก่การ
วินจิ ฉัย การวนิ ิจฉยั เพ่ือประโยชน์แก่การพิจารณา การพจิ ารณาเพอ่ื ประโยชน์แก่การถึงฐานะและมใิ ช่ฐานะ
การถึงฐานะและมิใช่ฐานะ เพ่ือประโยชน์ข่มบุคคลผู้เก้อยาก เพื่อประโยชน์ยกย่องภิกษุมีศีลเป็นที่รัก สงฆ์
เพ่ือประโยชน์แก่การสอดส่องและรับรอง บุคคลทีส่ งฆ์อนุมัตแิ ลว้ ตัง้ อยู่ในตำแหนง่ ผู้ใหญ่ ต้ังอยู่ในตำแหนง่ ผู้
ไมแ่ กล้งกล่าวใหผ้ ดิ .ประโยชนแ์ หง่ วนิ ยั เปน็ ตน้
วินัยเพื่อประโยชน์แก่ความสำรวม ความสำรวมเพ่ือประโยชน์แก่ความไม่เดือดร้อนความไม่
เดอื ดร้อนเพอื่ ประโยชน์แก่ความปราโมทย์ ความปราโมทยเ์ พ่ือประโยชน์แกค่ วามปีตคิ วามปีตเิ พื่อประโยชน์
แก่ปัสสัทธิ ปัสสัทธิเพ่ือประโยชน์แก่ความสุข ความสุขเพ่อื ประโยชน์แก่สมาธิ สมาธเิ พอ่ื ประโยชน์แกค่ วามรู้
เห็นตามเป็นจริง ความรเู้ ห็นตามเป็นจริงเพื่อประโยชน์แก่ความเบ่ือหน่าย ความเบื่อหน่ายเพ่อื ประโยชน์แก่
ความสำรอก ความสำรอกเพ่อื ประโยชน์แก่วิมุตติ วิมุตตเิ พื่อประโยชน์แก่วมิ ตุ ติญาณทสั สนะ วมิ ุตตญิ าณทัส
สนะเพือ่ ประโยชน์แกค่ วามดับสนิทหาปัจจัยมไิ ด.้ การกล่าววินัยมีอนปุ าทาปรินิพพานน้นั เป็นประโยชน์ การ
ปรึกษาวนิ ัยมีอนปุ าทาปรินพิ พานนน้ั เปน็ ประโยชน์ เหตุมีอนุปาทาปรินิพพาพนน้ั เปน็ ประโยชน์ ความเงย่ี โสต
สดบั มอี นุปาทาปรนิ พิ พาพนัน้ เปน็ ประโยชน์ คอื ความพ้นวเิ ศษแห่งจิต เพราะไมย่ ดึ ม่นั .อนุโยควัตร
เธอจงพิจารณาวัตร คือ การซักถาม อนุโลมแก่สิกขาบท อันพระพุทธเจ้าผู้เฉียบแหลม มี
พระปัญญา ทรงวางไว้ ตรัสไวด้ ีแลว้ อยา่ ใหเ้ สยี คติท่เี ปน็ ไปในสมั ปรายภพ.
ภกิ ษใุ ดไม่รู้ วตั ถุ วบิ ัติ อาบัติ นิทาน คำตน้ คำหลัง สงิ่ ที่ทำแลว้ และยงั ไม่ไดท้ ำโดยเสมอ และเป็นผู้
ไมเ่ ขา้ ใจอาการ ภิกษุผเู้ ชน่ นั้นแล พระผู้มีพระภาคตรสั วา่ ไมค่ วรเลือก.
อนึ่ง ภิกษุใดไม่รู้กรรม อธิกรณ์ และไม่เข้าใจสมถะ เป็นผู้กำหนัดขัดเคืองและหลงย่อมลำเอียง
เพราะกลัว เพราะหลง ไม่เข้าใจในสัญญัติ ไม่ฉลาดในการพินิจ เป็นผู้ได้พรรคพวกไม่มีความละอาย มีกรรม
ดำ ไม่เอ้อื เฟอื้ ภกิ ษผุ เู้ ชน่ นน้ั ๆ แลพระผู้มีพระภาคตรสั วา่ ไม่ควรเลือก.
ภิกษุใดรู้วัตถุ วิบัติ อาบัติ นิทาน คำต้น คำหลัง สิ่งท่ีทำแล้วและยังไม่ได้ทำ โดยเสมอและเป็นผู้
เข้าใจอาการ ภกิ ษุผู้เชน่ นนั้ ๆ แลพระผู้มพี ระภาคตรัสวา่ ควรเลือก.
อน่ึง ภิกษุใดรู้กรรม อธิกรณ์ และเข้าใจสมถะ เป็นผู้ไม่กำหนัดไม่ขัดเคือง และไม่หลง ไม่ลำเอียง
เพราะกลัว เพราะหลง เข้าใจในสัญญัติ ฉลาดในการพินิจ เป็นผู้ได้พรรคพวก มีความละอาย มีกรรมขาว มี
ความเคารพ ภิกษุผู้เช่นนั้นๆ แล พระผู้มีพระภาคตรัสวา่ ควรเลอื ก.
8.4 วธิ ีการตดั สินอธิกรณใ์ นพระวนิ ยั
ผู้ใช้นามว่าชิษณุ (2559) ในdhammaforlearner.blogspot.com สรุปความได้ว่า211 อิเม โข
ปะนายัส๎มันโต สัตตาธิกะระณะสะมะถา ธัมมา อุทเทสัง อาคัจฉันติ อธิกรณ์ แปลว่า ภารกิจที่พึงทำให้สงบ
ให้เรยี บรอ้ ยเหมาะสม
อธิกรณ์ ในคำวดั ใชห้ มายถึงสาเหตุ คดเี รอ่ื งราว ปญั หา ความย่งุ ยาก กิจกรรมทีเ่ กิดขน้ึ ในหมู่สงฆ์ ที่
สงฆ์ตอ้ งจัดการสะสางหรือดำเนนิ การทำให้สงบหรือเปน็ ไปดว้ ยดี
อธกิ รณ์ ในพระวินัยมี 4 เรอ่ื ง คือ เป็นชือ่ แห่งเรอ่ื งทีเ่ กิดข้นึ แล้วจะต้องจัดตอ้ งทำให้ลลุ ว่ งไป
มี 4 ประการ คือ
วิวาทาธิกรณ์ คือ วิวาท ได้แก่การเถียงกันปรารภพระธรรมวินัยนี้ จะต้องได้รับชี้ขาดว่าถูกว่าผิด
หรอื เรยี กอีกอยา่ งว่าเป็นการถกเถียงกันดว้ ยเรอื่ งพระธรรมวินยั
211 Shizanu BCY. (2559). "อธิกรณสมถะ แสดงวิธีระงับอธิกรณ์ ด้วยธรรมะ 7 ประการ". สืบค้นเมื่อวันท่ี 26
กันยายน 2561. เข้าถงึ ได้จาก http://dhammaforlearner.blogspot.com/2015/08/Athikornsamatha.html.
268
อนุวาทาธิกรณ์ คือ ความโจทกล่าวหากันด้วยปรารภพระธรรมวินัยนี้จะต้องได้รบั ชี้ขาดว่าถกู วา่ ผิด
หรือเรียกอกี อยา่ งวา่ เป็นการถกเถยี งกนั ดว้ ยเรอ่ื งอาบัติ
อาปัตตาธิกรณ์ คือ กิริยาที่ต้องอาบัติหรือถูกปรับอาบัตินี้จะต้องทำคืน คือทำให้พ้นโทษ หรือเรียก
อีกอยา่ งวา่ เปน็ การถกเถยี งกันด้วยเรอื่ งการปรบั อาบัติและวธิ ีการออกหรือพ้นจากอาบัติ
กิจจาธิกรณ์ คือกิจธุระที่สงฆ์จะพึงสามัคคีร่วมกันทำ เรียกว่า สังฆกรรม เช่นให้อุปสมบทน้ีจะต้อง
ทำใหส้ ำเร็จ
อธิกรณสมถะ “อธิกรณสมถะ” เป็นชื่อแห่งสกิ ขาบทหรือสิกขาบทหรอื แห่งธรรม แปลว่า “สำหรับ
ระงบั อธกิ รณ”์ มี 7 ประการ แสดงวธิ รี ะงับอธิกรณ์ ดว้ ยธรรมะ 7 ประการ "ดกู อ่ นอานนท์ ก็อธิกรณสมถะน้ี
มี 7 อย่าง คือ เพ่ือระงับอธิกรณ์ อันเกิดแล้วเกิดเล่า สงฆ์พึงใช้สัมมุขาวินัย เยภุยยสิกา สติวินัย อมูฬหวินัย
ปฏญิ ญาตกรณะ ตัสสปาปิยสกิ า ติณวัตถารกะ"
1.สัมมขุ าวนิ ัย การระงบั อธกิ รณใ์ นท่พี ร้อมหนา้ (บคุ คล,วตั ถ,ุ ธรรมะ) ตัดสนิ ในที่พร้อมหน้าทงั้ โจทย์
และจำเลยพร้อมพยาน ตามพยานหลักฐาน "ดกู อ่ นอานนท์ กส็ มั มขุ าวินยั เป็นอยา่ งไร คือ พวกภกิ ษุใน ธรรม
วินัยนี้ ย่อมโต้เถียงกัน ว่าธรรมหรือมิใช่ธรรม ว่าวินัยหรือมิใช่วินัย ดูก่อนอานนท์ ภิกษุเหล่านั้นท้ังหมด พึง
พร้อมเพรียงกันประชุมพิจารณา แบบแผนธรรม ครนั้ พิจารณาแล้ว พึงให้อธิกรณ์นั้นระงับโดยอาการที่เร่ือง
ลงกันได้ในแบบแผนธรรมนั้น ดูกอ่ นอานนท์ อยา่ งนีแ้ ล เปน็ สมั มุขาวินยั กแ็ หละความระงับอธิกรณบ์ างอยา่ ง
ในธรรมวนิ ัยน้ี ย่อมมีได้ดว้ ยสัมมุขาวนิ ัย อยา่ งน้"ี
สัมมขุ าวินัย แปลว่า ระเบียบอันจะพึงทำในทีพ่ รอ้ มหน้า 4 อยา่ ง คอื
ก. พร้อมหน้าสงฆ์ คือภกิ ษเุ ขา้ ประชุมครบองค์กำหนดเป็นสงฆ์
ข. พรอ้ มหน้าบคุ คล คอื บคุ คลทเี่ ก่ยี วขอ้ งในเรือ่ งน้ีอยูพ่ รอ้ มหนา้ กนั
ค. พรอ้ มหนา้ วัตถุ ได้แกย่ กเรอ่ื งทเี่ กดิ ข้ึนนน้ั วนิ จิ ฉยั
ง. พรอ้ มหนา้ ธรรมวนิ ยั ไดแ้ ก่วินจิ ฉยั ถูกธรรม ถกู วินยั
2. สติวินัย การระงบั อธกิ รณ์ดว้ ยยกให้วา่ พระอรหันต์เป็นผู้มีสติถอื สตเิ ป็นหลัก การยกเลกิ ความผิด
เพราะเป็นพระอรหันต์หรอื อรยิ บคุ คลท่ีจะไมท่ ำผิดวนิ ัยในขอ้ น้ันได้ "ดูกอ่ นอานนท์ ก็สติวนิ ัยเปน็ อย่างไร คือ
พวกภกิ ษุในธรรม วนิ ัยนี้ โจทภกิ ษดุ ้วยอาบัตหิ นกั เหน็ ปานน้ี คอื ปาราชิก หรือใกล้เคียง ปาราชิกว่า ท่านผู้มี
อายุระลึกได้หรือไม่ว่า ท่านต้องอาบัติหนักเห็นปานนี้ คือ ปาราชิกหรือใกล้เคียงปาราชิกแล้ว ภิกษุน้ันตอบ
อย่างน้ีว่า ท่านผู้มีอายุ ท้ังหลาย ข้าพเจ้าระลึกไม่ได้เลยว่า ข้าพเจ้าต้องอาบัติหนักเห็นปานน้ี คือ ปาราชิก
หรือใกล้เคียงปาราชิก เมื่อเปน็ เชน่ นี้ สงฆ์ตอ้ งให้สติวินัยแกภ่ ิกษุนั้นแล ดูก่อนอานนท์ อย่างนแ้ี ล เปน็ สติวนิ ัย
กแ็ หละความระงบั อธกิ รณ์ บางอย่างในธรรมวนิ ัยนี้ ย่อมมีได้ดว้ ยสตวิ ินยั อยา่ งนี้" สตวิ ินยั แปลว่า ระเบียบยก
เอาสติขึ้นเป็นหลัก ได้แก่กิริยาที่สงฆ์สวดประกาศให้สมมติ (การรับรู้ร่วมกัน) แก่พระอรหันต์ว่าเป็นผู้มีสติ
เตม็ ท่ี เพือ่ ระงบั อนวุ าทาธิกรณ์ ทีม่ ผี ู้โจททา่ นดว้ ยศลี วิบัติ
3. อมูฬ๎หวินัย การระงบั อธกิ รณ์ด้วยยกประโยชนใ์ หใ้ นขณะเป็นบ้า ผู้หายจากเปน็ บ้า การเลกิ ความผิดเพราะ
ผู้กระทำผิดนั้นวิกลจริตหรือเป็นบ้า "ดูก่อนอานนท์ ก็อมูฬหวินัยเป็นอย่างไร คือ พวกภิกษุใน ธรรมวินัยนี้ โจทภิกษุ
ด้วยอาบัติหนักเห็นปานน้ี คอื ปาราชกิ หรอื ใกล้เคยี ง ปาราชกิ ว่า ท่านผมู้ อี ายุ จงระลกึ ดเู ถิดวา่ ทา่ นต้องอาบัติหนักเหน็
ปานนี้ คือ ปาราชกิ หรือใกลเ้ คียงปาราชิกแล้ว ภิกษนุ ้ันตอบอย่างนี้ว่า ทา่ นผู้มีอายุทั้งหลาย ข้าพเจ้าระลึกไม่ได้เลยว่า
ขา้ พเจ้าตอ้ งอาบัติหนักเหน็ ปานน้ี คอื ปาราชิกหรือ ใกล้เคียงปาราชิก ภิกษผุ ู้โจทนั้นปลอบโยนเธอผู้กำลังทำลายอยู่น้ี
ว่า เอาเถอะ ท่านผู้มีอายุ จงรู้ตัวให้ดีเถิด เผ่ือจะระลึกได้ว่าต้องอาบัติหนักเห็นปานน้ี คือ ปาราชิกหรือใกล้เคียง
ปาราชิกแลว้ ภิกษุนั้นกล่าวอย่างน้ีว่า ท่านผู้มอี ายุ ทั้งหลาย ข้าพเจ้าเปน็ บ้า ใจฟงุ้ ซ่านแล้ว กรรมอันไมส่ มควรแก่
สมณะเป็น อันมาก ข้าพเจ้าผู้เป็นบ้าได้ประพฤติล่วง และได้พดู พลา่ มไป ข้าพเจา้ ระลกึ มันไมไ่ ด้ว่า ขา้ พเจ้าผู้หลง
ทำกรรมนีไ้ ปแล้ว เมอื่ เปน็ เชน่ น้ี สงฆ์ตอ้ งให้ อมฬหู วนิ ัยแก่ภกิ ษนุ นั้ แล ดกู อ่ นอานนท์ อยา่ งนี้แล เปน็ อมูฬหวนิ ัย ก็
269
แหละ ความระงับอธกิ รณ์บางอย่างในธรรมวนิ ัยน้ี ยอ่ มมีได้ด้วยอมูฬหวินยั อย่างนี"้ อมูฬหวินัย แปลว่า ระเบียบท่ี
ใหแ้ กภ่ ิกษผุ ู้หายเป็นบา้ แล้ว คือภิกษุผู้เปน็ จำเลยทำการลว่ งละเมิดอาบัตใิ นขณะเป็นบ้า แม้จะไดร้ ับการยกเว้นว่า
ไมเ่ ป็นอาบตั (ิ อนาบัติ)ก็จริง เมือ่ เธอหายบา้ แล้วมผี ู้โจทเธอด้วยอาบัติทเี่ ธอทำลว่ งในระหวา่ งเป็นบ้านนั้ แล้ว ๆ เลา่ ๆ
ไม่มีจบส้ิน สงฆ์พึงสวดกรรมวาจาประกาศความข้อนี้ไวเ้ รียกว่า ให้อนูฬหวินัยแก่ภิกษุผ้หู ายเป็นบ้าแล้ว จึงยกฟ้อง
คำรอ้ งของโจทกเ์ สยี ภายหลงั มผี ู้มาโจทเธอดว้ ยอาบัติเช่นนน้ั อีก กไ็ ม่ตอ้ งวนิ จิ ฉัยใหอ้ ธิกรณ์ระงับไวเ้ ลย
4. ปฏิญญาตกรณะ การระงับอธิกรณ์ด้วยปรับตามรับสารภาพตามทำจริง ทำตามท่ีรับ การตัดสิน
ตามการยอมรับผิด คำสารภาพของผู้กระทำผิด "ดูก่อนอานนท์ ก็ปฏิญญาตกรณะเป็นอย่างไร คือ ภิกษุใน
ธรรมวินัยนี้ ถูกโจทหรือไม่ถูกโจทก็ตาม ย่อมระลึกและเปิดเผยอาบัติได้ เธอพึงเข้าไปหาภิกษุผู้แก่กว่า ห่ม
จวี รเฉวยี งบ่าขา้ งหนึง่ แลว้ ไหว้เทา้ น่ัง กระหยง่ ประคองอัญชลี กลา่ วแกภ่ ิกษุน้ันอยา่ งน้วี ่า ข้าแตท่ า่ นผเู้ จริญ
ข้าพเจ้า ตอ้ งอาบัติชือ่ นี้แล้ว ขอแสดงคืนอาบัตินั้น ภกิ ษุผแู้ กก่ วา่ น้นั กลา่ วอย่างนี้วา่ ทา่ นเหน็ หรือ เธอตอบวา่
ข้าพเจ้าเห็น ภิกษุผู้แก่กว่าน้ันกล่าวว่า ท่านพึง ถึงความสำรวมต่อไปเถิด เธอกล่าวว่า ข้าพเจ้าจักถึงความ
สำรวม ดูก่อนอานนท์ อย่างนี้แล เป็นปฏิญญาตกรณะ ก็แหละความระงับอธิกรณ์บางอย่างในธรรมวินัยน้ี
ย่อมมีได้ด้วยปฏิญญาตกรณะอย่างน้ี" ปฏิญญาตกรณะ แปลว่า ทำตามรับ ได้แกป่ รบั อาบตั ติ ามปฏิญญาของ
จำเลยผู้รับเปน็ สัตย์ การแสดงอาบัติ ก็จดั วา่ ทำปฏญิ ญาในข้อน้ีดว้ ย
5. เยภุยยสิกา การระงับอธิกรณ์ด้วยถือเสียงข้างมากเป็นประมาณการตัดสินตามมติเสียงข้างมาก
"ดูก่อนอานนท์ กเ็ ยภยุ ยสิกาเป็นอย่างไร คือ ภิกษุเหล่าน้ัน ไมอ่ าจระงับอธิกรณ์นน้ั ในอาวาสน้ันได้ พึงพากัน
ไปยงั อาวาสทม่ี ีภกิ ษมุ ากกว่า ภกิ ษุท้ังหมดพึงพร้อมเพรยี งกนั ประชุมในอาวาสน้ัน ครน้ั แล้วพึงพิจารณา แบบ
แผนธรรม ครั้นพิจารณาแล้ว พึงให้อธิกรณ์น้ันระงับโดยอาการที่เรื่องลง กันได้ในแบบแผนธรรมน้ัน ดูก่อน
อานนท์ อย่างน้ีแล เป็นเยภยุ ยสิกา ก็แหละ ความระงบั อธิกรณ์บางอย่างในธรรมวนิ ัยนี้ ย่อมมไี ด้ด้วยเยภุยยสิ
กาอยา่ งนี้" เยภุยยสิกา แปลวา่ ตดั สินตามคำของคนมากเป็นประมาณ วธิ ีนสี้ ำหรับใช้ในเมอ่ื ความเห็นของคน
มากแตกตา่ งกัน ใหต้ ัดสนิ เอาตามคำของคนมากเปน็ ประมาณ
6. ตัสสปาปิยสิกา การระงับอธิกรณ์ดว้ ยการลงโทษ ลงโทษแก่ผผู้ ิดท่ีไม่รับ การลงโทษพยานผทู้ ่ีไม่
ยอมพูดในการสอบสวนของคณะสงฆ์ "ดูก่อนอานนท์ ก็ตัสสปาปิยสิกาเป็นอย่างไร คือ พวกภิกษุ ในธรรม
วินัยนี้ โจทภิกษุด้วยอาบตั หิ นกั เห็นปานนี้ คือ ปาราชกิ หรอื ใกล้ เคียงปาราชิกวา่ ท่านผู้มอี ายุระลกึ ไดห้ รือไม่
ว่า ท่านต้องอาบัติหนักเห็นปานนี้ คือ ปาราชิกหรือใกล้เคียงปาราชิกแล้ว ภิกษุน้ันตอบอย่างน้ีว่า ท่านผู้มี
อายุ ท้ังหลาย ข้าพเจ้าระลึกไม่ได้เลยว่า ข้าพเจ้าต้องอาบัติหนักเห็นปานนี้ คือ ปาราชิกหรือใกล้เคียง
ปาราชิก ภิกษุผู้โจทก์น้ันปลอบโยนเธอผู้กำลังทำลายอยู่นี้ ว่า เอาเถอะ ท่านผู้มีอายุจงรู้ตัวให้ดีเถิด เผ่ือจะ
ระลึกได้ว่าต้องอาบัติหนักเห็น ปานนี้คือ ปาราชิกหรอื ใกลเ้ คียงปาราชิกแลว้ ภิกษุนั้นกล่าวอย่างนี้ว่า ท่านผู้
มีอายุทง้ั หลาย ข้าพเจ้าระลึกไมไ่ ด้เลยวา่ ขา้ พเจ้าตอ้ งอาบตั หิ นกั เหน็ ปานน้ี คอื ปาราชกิ หรอื ใกล้เคยี งปาราชกิ
แต่ขา้ พเจ้าระลึกได้ว่า ข้าพเจ้าต้องอาบัตชิ ื่อ นีเ้ พยี งเล็กนอ้ ย ภิกษผุ ้โู จทกน์ ้ันปลอบโยนเธอผกู้ ำลงั ทำลายอยนู่ ้ี
ว่า เอาเถอะ ท่านผู้มีอายุ จงรู้ตัวให้ดีเถิด เผื่อจะระลึกได้ว่าต้องอาบัติหนักเห็นปานนี้ คือ ปาราชิกหรือ
ใกล้เคียงปาราชิกแล้ว ภิกษนุ ั้นกล่าวอย่างน้วี ่า ท่านผู้มอี ายุท้ัง หลาย อันท่จี ริง ข้าพเจา้ ต้องอาบตั ิ ชอื่ นเี้ พยี ง
เล็กน้อย ไม่ถูกใครถามยังรับ ไฉนข้าพเจ้าต้องอาบัติหนักเห็นปานน้ี คือ ปาราชิกหรือใกล้เคียงปาราชิกแล้ว
ถูกถาม จักไม่รับเล่า ภิกษุผู้โจทก์น้ันกล่าวอย่างน้ีว่า ท่านผู้มีอายุ ก็ท่านต้อง อาบัติช่ือนี้เพียงเล็กน้อยไม่ถูก
ถามยังไม่รับ ไฉนท่านต้องอาบติหนัก เหน็ ปาน นี้ คอื ปาราชิกหรอื ใกล้เคยี งปาราชิกแล้ว ไมถ่ กู ถามจกั รบั เล่า
เอาเถอะท่าน ผู้มีอายุ จงร้ตู ัวให้ดีเถิด เผือ่ จะระลึกได้ว่าต้องอาบัติหนักเห็นปานนี้ คือ ปาราชิกหรือใกล้เคียง
ปาราชิกแล้ว ภิกษุนั้นกล่าวอย่างนี้ว่า ท่านผู้มีอายุท้ัง หลาย ข้าพเจ้ากำลังระลึกได้ ข้าพเจ้าต้องอาบัติหนัก
เหน็ ปานน้ี คอื ปาราชิกหรือใกลเ้ คยี งปาราชกิ แล้ว คำท่ีวา่ ข้าพเจา้ ระลึกไม่ไดว้ า่ ข้าพเจา้ ต้องอาบัติ หนกั เห็น
ปานนี้ คือ ปาราชิกหรือใกล้เคียงปาราชิกนี้ ข้าพเจ้าพูดพล้ังพูดพลาด ไป ดูก่อนอานนท์ อย่างน้ีแล เป็นตัส
270
สปาปิยสิกา ก็แหละความระงับ อธิกรณ์บางอย่างในธรรมวินัยนี้ ย่อมมีได้ด้วยทัสสปาปิยสิกาอย่างนี้" ตัส
สปาปยิ สกิ า แปลว่า กริ ยิ าท่ีลงโทษแกผ่ ู้ผดิ มี 2 นยั
ก. เพ่มิ โทษแก่ภกิ ษุผูป้ ระพฤตผิ ดิ ซำ้ อีก
ข. ตัดสินโทษแมไ้ ม่รับเป็นสัตย์ แต่พิจารณาสมจริงดังกลา่ วในอนยิ ตสิกขาบทนน้ั
7. ติณวัตถารกะ การระงับอธิกรณ์ดุจหญ้ากลบไว้ หยุดไมใ่ ห้ลุกลาม ดุจกลบไวด้ ้วยหญ้า วิธีประณี
ประนอม การตัดสินยกฟ้อง เลิกแล้วต่อกัน (ในกรณีทะเลาะกัน) "ดูก่อนอานนท์ ก็ติณวัตถารกะเป็นอย่างไร
คือ พวกภิกษุ ในธรรมวินัยนี้ เกิดขัดใจทะเลาะวิวาทกันอยู่ ได้พระพฤติล่วงและได้พูด ละเมิดกรรมอันไม่
สมควรแก่สมณะเป็นอันมาก ภิกษุเหล่านั้นทั้งหมดพึงพร้อม เพรียงกันประชุม คร้ันแล้ว ภิกษุผู้ฉลาดใน
บรรดาภิกษุทเ่ี ป็นฝา่ ยเดยี วกัน พงึ ลกุ จากอาสนะ ห่มจวี รเฉวียงบ่าข้างหนึง่ ประนมอญั ชลปี ระกาศให้สงฆ์ จง
พึงข้าพเจ้า เราท้ังหลายในท่ีนี้ เกิดขัดใจทะเลาะวิวาทกันอยู่ ได้ประพฤติ ล่วงกรรมอันไม่สมควรแก่สมณะ
เป็นอันมาก และได้พูดพล่าม ถ้าสงฆ์มีความ พรั่งพร้อมถึงท่ีแล้ว ข้าพเจ้าพึงแสดงอาบัติของท่านผู้มีอายุ
เหล่าน้ีและของตน ยกเว้นอาบัติที่มีโทษหยาบและอาบัติที่พัวพันกับคฤหัสถ์ ด้วยวินัยเพียงดังกลบ ไว้ด้วย
หญา้ ในทา่ มกลางสงฆ์ เพ่ือประโยชน์แก่ทา่ นผ้มู ีอายุเหล่าน้แี ละแก่ตน ตอ่ แต่นั้นภกิ ษุผู้ฉลาดในบรรดาภิกษทุ ่ี
เป็นฝ่ายเดียวกันอีกฝ่ายหนึ่ง พึงลุกจาก อาสนะ ห่มจีวรเฉวียงบ่าข้างหน่ึง ประนมอัญชลี ประกาศให้สงฆ์
ทราบว่า ข้าแต่สงฆ์ผู้เจริญ ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า เราท้ังหลายในที่นี้ เกิดขัดใจทะเลาะ วิวาทกันอยู่ ได้
ประพฤติล่วงกรรมอันไม่สมควรแก่สมณะเป็นอันมาก และ ได้พูดพล่าม ถ้าสงฆ์มีความพรั่งพร้อมถึงที่แล้ว
ข้าพเจ้าพงึ แสดงอาบตั ิของ ท่านผู้มีอายุเหลา่ นี้และของตน ยกเว้นอาบัตทิ ่ีมโี ทษหยาบและอาบตั ิทพี่ วั พัน กับ
คฤหัสถ์ ด้วยวินัยเพียงดังวา่ กลบไว้ดว้ ยหญา้ ในท่ามกลางสงฆ์ เพอื่ ประโยชน์แก่ทา่ นผูม้ อี ายเุ หล่านแี้ ละแกต่ น
ดูก่อนอานนท์ อย่างนี้แล เป็น ติณวัตถารกะ ก็แหละ ความระงับอธิกรณ์บางอย่างในธรรมวินัยนี้ ย่อมมีได้
ด้วยติณวัตถารกะอย่างนี้" ติณวัถารกวินัย แปลว่า ระเบียบดังกลบไว้ด้วยหญ้า ได้แก่กิริยาท่ีให้
ประนปี ระนอมกนั ทงั้ 2 ฝ่าย212 (จลุ วรรค ภาค1 พระไตรปฎิ ก เลม่ 6 )
การใช้สมถะระงับอธกิ รณ์
สัมมุขาวนิ ัย เป็นเครือ่ งระงับอธิกรณ์ได้ทุกอย่าง สตวิ ินัย, อมูฬหวนิ ัย, ตสั สปาปิยสิกา ท้งั 3 อย่างนี้
เป็นเครื่องระงับเฉพาะอนุวาทาธิกรณ์ ปฏิญญาตกรณะ, ติณวัตถารกวินัย ท้ัง 2 อย่างน้ี ท่านกล่าวว่า เป็น
เครื่องระงับเฉพาะปัตตาธิกรณ์ และใช้เป็นเคร่ืองระงับอนุวาทาธิกรณ์ด้วย ก็ได้ เยภุยยสิกา ใช้เป็นเครื่อง
ระงับเฉพาะวิวาทาธิกรณ์
วธิ รี ะงบั วิวาทาธิกรณ์ เม่อื เกดิ ววิ าทาธกิ รณ์น้ีขนึ้ แลว้ พระพุทธเจา้ ตรัสให้ระงับด้วยสมถ 2 อยา่ ง คือ
สมั มุขาวินัย วธิ ีระงับต่อหน้า คือ พระสงฆไ์ ดเ้ ขา้ รว่ มประชมุ สงฆ์ ผู้วิวาทยอมรับความเห็น ยอมหยุดไม่ววิ าท
อีกต่อไป การระงับด้วยสมั มขุ าวินัยนี้ มี 4 ลักษณะด้วยกัน คือ
ก. การระงับอธกิ รณใ์ นท่ีพร้อมหน้าสงฆ์ (สงั ฆสัมมุขตา)
ข. การระงบั อธิกรณ์ในที่พร้อมหน้าธรรม(ธรรมสัมมุขตา)
ค. การระงับอธกิ รณใ์ นทพี่ รอ้ มหน้าวนิ ัย (วนิ ยั สัมมขุ ตา)
ง. การระงับอธิกรณใ์ นทีพ่ ร้อมหน้าบุคคล (บคุ คลสัมมุขตา)
เยภยุ ยสิกา วธิ รี ะงับด้วยคะแนนเสยี งข้างมาก เมือ่ อธกิ รณเ์ กิดขน้ึ หากภิกษเุ ข้ารว่ มประชมุ พจิ ารณา
ลงความเห็นมมี ากกวา่ ก็ให้ถือวา่ ขา้ งฝา่ ยนน้ั ชนะ
212 พระไตรปฎิ ก เลม่ 6จลุ วรรค ภาค1.
271
วิธีระงบั อนุวาทาธิกรณ์ อนุวาทาธกิ รณ์ หมายถึง การกล่าวหากันวา่ ประพฤติผิดจะต้องอาบตั อิ ย่าง
นั้น ภิกษุกล่าวหาภิกษุด้วยกันว่า ท่านต้องอาบัติอย่างนั้น หรือโจทฟ้อง ให้ผู้อื่นได้รับทราบด้วยว่า ผู้น้ัน
ประพฤติผิดศีล (ศีลวิบัติ) มีความประพฤติท่ีไม่เหมาะสม เสียมารยาท ประพฤติย่อหย่อนมักต้องอาบัติ
เล็กน้อยต้ังแต่ถุลลัจจัยลงมาจนถึงทุพภาสิตเป็นประจำ (อาจารวิบัติ) มีความเห็นผิดพลาดคลาดเคลื่อนผิด
จากพระธรรมวินัย เป็นสาเหตุทำให้คนประพฤตินอกแบบแผน กระทำความผิดอยู่เสมอ (ทิฏฐิวิบั ติ)
นอกจากนี้แล้ว ยังโจทว่า มีการหาเล้ียงชีพในทางท่ีไม่ดี ไม่เหมาะสม มีการหลอกลวง ปล้นจี้ ลักขโมย เป็น
ต้น (อาชีววิบตั ิ)
การโจท หรอื ฟ้องรอ้ งดว้ ยวิบตั ิ 4 อย่างนี้ ล้วนแต่เป็นอนุวาทาธิกรณ์ทั้งนนั้ แมก้ ารสนับสนุนคนอ่ืน
โจทกจ็ ัดเปน็ อนุวาทาธิกรณ์เหมอื นกนั เมอื่ อนุวาทาธิกรณ์น้ีเกิดข้นึ แลว้ ท่านอนญุ าตให้กระทำการระงบั ด้วย
สมถะ 4 อย่าง คอื
สัมมุขาวินัย คือ การระงับอธิกรณ์ในที่พร้อมหน้าคณะสงฆ์ พร้อมหน้าธรรมพร้อมหน้าวินัยและ
พรอ้ มหน้าบคุ คล ตามทไ่ี ด้บรรยายมาแล้ว
2. สติวินัย คือ การระงับอนุวาทาธิกรณ์ท่ียกเอาสติข้ึนเป็นหลักปรับ เมื่อท่ีประชุมสงฆ์พิจารณาดู
แล้วว่า ท่านผู้เป็นจำเลยซง่ึ ถูกฟ้องว่าเปน็ อาบัติเพราะทุศลี นั้น ทานเป็นพระอรหันต์ทางคณะสงฆ์เห็นว่า คง
จะเป็นไปไม่ได้ท่ีพระอรหันต์จะกระทำการล่วงละเมิดพระวินัยดังคำท่ีโจทฟ้อง จึงสวดวาจาประกาศให้
สมมติแก่พระอรหันต์ว่าเป็นผู้มีสติสมบูรณ์ เรียกว่าให้วินัย แล้วยกฟ้องคำของโจทก์เสีย ภายหลังถ้าหาก
จำเลยถกู ผอู้ ื่นโจทด้วยอาบตั ิในลกั ษณีนีอ้ ีก ก็จะไม่มกี ารพิจารณาอธกิ รณ์
อมูฬหวินัย การระงับอธิกรณ์ให้แก่ภิกษุที่หายเป็นบ้าแล้ว เช่น มีภิกษุรูปหนึ่งเสียสติได้ประพฤติ
ความเสียหายเป็นอนั มาก ซ่ึงเปน็ ส้ิงท่ไี ม่ควรแก่สมณะทั้งการพูดและการกระทำ ต่อมาเมื่อเธอหายเป็นปกติ
แล้ว ก็มีโจทเธอว่า ท่านได้ประพฤติอย่างนี้ ได้เป็นอาบัติแล้ว เป็นต้น เธอยอมรับว่า ที่ตนกระทำไปน้ัน
เพราะความหลง เพราะว่าตอนน้ันเสียสติไม่มีเจตนาท่ีจะกระทำ เม่ืออธิกรณ์เข้าสู่ท่ีประชุมสงฆ์แล้ว คณะ
สงฆ์จึงได้รับอนุวาทาธิกรณ์น้ัน ด้วยการสวดประกาศสมมติให้เธอเป็นภิกษุผู้หายเป็นบ้าแล้ว อาบัติที่เธอ
ประพฤติล่วงมาน้ันแม้จะเป็นจริงก็ไม่เป็นอาบัติเพราะเธอเป็นบ้า คณะสงฆ์จึงสวดกรรมวาจา ประกาศ
ขอ้ ความน้ีไว้ เรียกวา่ อมูฬหวินัย แลว้ ยกฟอ้ งคำของโจทเสีย ภายหลังมีผู้มาโจทอาบัตทิ ่ีเธอกระทำในขณะที่
เปน็ บ้าอีก กไ็ ม่มกี ารพจิ ารณา เพราะถือวา่ ให้อธกิ รณร์ ะงับแล้วดว้ ยอมูฬหวินัย
ตัสสปาปิยสิกา กรรมที่คณะสงฆ์ลงโทษแก่ภิกษผุ ู้ท่ตี อ้ งอาบัติแลว้ เมือ่ มโี จททว้ งขนึ้ คณะสงฆป์ ระชมุ
กันสอบสวน ท่านได้ให้การกลับไปกลับมา เดี๋ยวก็ยอมรับ เด๋ียวก็ปฏิเสธพูดกลบเกลื่อนข้อที่ถูกซักถาม พูด
มุสาในท่ีซึ่งหน้าภิกษุเช่นนี้ คณะสงฆ์สามารถลงโทษแก่เธอได้ถึงแม้ว่าเธอจะไม่ยอมรับตามโทษที่ต้อง หรือ
เพ่ิมโทษก็ได้ โดยในขั้นแรกน้ันให้โจทเธอเสียก่อนและให้เธอให้การแล้วจึงปรับอาบัติต่อจากนั้นให้สวดต่อ
ด้วยญัตตจิ ตุตถกรรมวาจา ให้คณะสงฆท์ ง้ั หมดได้รบั ทราบด้วย
วธิ ีระงบั อาปัตตาธกิ รณ์
อาปัตตาธิกรณ์ หมายถึง เรื่องท่ีเกี่ยวกับการต้องอาบัติและถูกปรับอาบัติตามที่ตนกระทำที่ท่าน
จัดเป็น อธิกรณน์ ั้นกเ็ พราะวา่ เป็นเรื่องที่จะต้องระงับด้วยการแก้ไขปลดเปลือ้ งภิกษุผู้ตอ้ งอาบัตินัน้ ออกจาก
อาบัติที่ต้อง ด้วยวิธีการปลงอาบัติหรือการอยู่กรรมตามที่ท่านกำหนดไว้ จะระงับได้ด้วยสมถะ 3 ประการ
คือ สัมมุขาวินัย ระงับต่อหน้า คือ อธิกรณ์ท่ีเกิดข้ึนมีพระสงฆ์เข้าประชุมวินิจฉัยครบองค์สงฆ์ คู่วิวาทกัน
ยอมรบั ความเหน็ ของท่ีประชุม ยอมหยดุ จะไม่ววิ าทกนั อีกต่อไป การระงบั ด้วยสัมมุขาวนิ ัยนมี้ ี 4 ลกั ษณะ คือ
ระงับพร้อมหนา้ สงฆ์ ระงับพรอ้ มหนา้ ธรรม ระงับพรอ้ มหนา้ วนิ ยั และระงบั พรอ้ มหน้าบคุ คล
272
ปฏิญญาตกรณะ กระทำตามรับ ได้แก่ภิกษุรูปหน่ึงต้องอาบัติแล้ว มีผู้โจทท้วงข้ึนเม่ือคณะสงฆ์เข้า
ประชมุ กันวนิ ิจฉัยภกิ ษุผู้เปน็ จำเลยยอมรบั อย่างใด ก็ปรบั อาบตั ิตามทย่ี อมรับน้ันหรือการปลงอาบัติกจ็ ดั เป็น
ปฏญิ ญาตกรณะเหมอื นกัน
ติณวัตถารกะ การระงับอธิกรณ์ไว้ด้วยการประนีประนอมกันไว้ท้ัง 2 ฝ่าย โดยไม่ต้องชำระสะสาง
หาความกันเหมอื นการกลบของไว้ด้วยหญ้า เป็นวิธีระงบั อาบัตทิ ี่ใช้ในเม่ือจะระงบั ลหุกาบัติ ซึ่งเกี่ยวกับภกิ ษุ
จำนวนมาก ต่างคนกป็ ระพฤติไม่เหมาะสม และโจทกันซัดทอดกันไปมา เปน็ เรื่องท่นี ุงนงั ซบั ซอ้ น เปน็ สาเหตุ
ท่ีทำให้เกิดทะเลาะวิวาทกันไม่หยุดไม่หย่อน ทั้งสองฝ่ายจะไม่มีฝ่ายใดยอม เมื่อเป็นเช่นน้ี ก็มีแต่จะทำให้
อธิกรณ์แรงขึ้นเร่ือย ๆ ดังน้ันจึงต้องระงับเสียด้วยติณวัตถารกะ แบบกลบเกล่ือนของเน่าไว้ด้วยหญ้า ตัว
อธิกรณย์ กเลิกทิง้ เสีย ท้ังสองฝา่ ยจะไม่สาวาหาความหลังของกันและกนั
กิจจาธกิ รณ์และวิธีระงับด้วยนิคหะ ผู้ปกครองคณะสงฆ์ต้องมีคณุ ธรรม 2 อย่าง คือ 1. นิคหะ การ
ข่ม การกำราบ การลงโทษ 2. ปคั หะ การยกยอ่ ง การเชดิ ชู
สรุปได้ว่า พึงรู้ว่า ธรรมเหล่านั้น ไม่ใช่ธรรม ไม่ใช่วินัย ไม่ใช่ สัตถุศาสน์ (กล่าวคือคำสอนของพระ
ศาสดา) แต่ถ้าเป็นไปตรงกันข้าม จึงจะเป็นธรรมเป็นวินัยเป็นสัตถุศาสน์ คือ 1. เป็นไปเพ่ือความคลาย
กำหนัด 2. เปน็ ไปเพื่อความไม่ประกอบทุกข์ 3. เป็นไปเพอื่ ไม่สะสมกองกิเลส 4. เป็นไปเพ่ือความอยากน้อย
5. เปน็ ไปเพือ่ ความสันโดษ 6. เปน็ ไปเพือ่ ความไม่คลกุ คลี 7. เป็นไปเพ่ือความพากเพียร 8. เป็นไปเพื่อความ
เล้ยี งงา่ ย
คำถามทบทวนประจำบทที่ 8
8.1 ในพระพุทธศาสนามีหลักการตคี วามพระวนิ ยั อย่างไรบา้ ง
8.2 ในพระพุทธศาสนามีหลักการวินจิ ฉัยพระวินัยอย่างไรบา้ ง
8.3 ในพระพุทธศาสนามีวิธีการตดั สนิ อธิกรณ์ในพระวินัยอยา่ งไรบา้ ง
273
เอกสารอา้ งองิ
1. ภาษาไทย
ก. พระไตรปิฎก
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร :
โรงพมิ พม์ หาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
มหาวิทยาลยั มหามกุฏราชวิทยาลัย. (2555). พระไตรปิฎกและอรรถกถาแปล ของมหามกฏุ ราชวทิ ยาลัย. พิมพ์คร้ังที่ 6.
นครปฐม : โรงพมิ พม์ หามกุฏราชวิทยาลัย.
ข. หนงั สือทวั่ ไป
พระธรรมปิฎก (ป. อ. ปยุตฺโต). (2542). เก็บเพชรจากคัมภีร์พระไตรปิฎก. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหา
จฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั .
2. สอื่ อเิ ล็กทรอนิกส์
Shizanu BCY. (2559). "อธิกรณสมถะ แสดงวิธีระงับอธิกรณ์ ด้วยธรรมะ 7 ประการ". สืบค้นเม่ือวันท่ี 26 กันยายน
2561. เข้าถงึ ได้จาก
http://dhammaforlearner.blogspot.com/2015/08/Athikornsamatha.html.
พระมหาทวี มหาปญฺโญ (ละลง). (2555). “การตีความข้อเท็จจริงพระธรรมวินัย: กรณีศึกษากลุ่มภิกษุวัชชีบุตร
ช า ว เมื อ ง ไ พ ศ า ลี ” . สื บ ค้ น เมื่ อ วั น ท่ี / 25 กั น ย า ย น 2561. เข้ า ถึ ง ไ ด้ จ า ก
https://www.gotoknow.org/posts/511071.
พระมหาสมบูรณ์ วุฑฺฒิกโร,ผู้แปล. (2548). 'ศาสตรแ์ ห่งการตคี วามแนวพุทธ'. สืบคน้ เมอื่ วันที่ /25 กันยายน 2561.เข้าถึงได้
จาก
http://www.mcu.ac.th/site/articlecontent_desc.php?article_id=449&articlegroup_id=102.
วารสารประชาไท. (2561). "เร่ือง “เงินทอง” กับ “ทางออก” ของคณะสงฆ์ไทย". สบื ค้นเม่ือวันที่ 26 กันยายน 2561.
เขา้ ถึงไดจ้ าก https://prachatai.com/journal/2018/06/77486
274
แผนบรหิ ารการสอนประจำบทเรยี น บทท่ี 9
1. ช่อื บท
การเปรยี บเทียบการบญั ญตั พิ ระวินัยกับการบัญญตั กิ ฎหมาย
2. เนื้อหาหัวข้อหลกั
การบญั ญัตพิ ระวินัยในพระพุทธศาสนา การบญั ญัติกฏหมาย การเปรียบเทียบการบัญญัติพระวินัย
กบั การบัญญัติกฎหมาย วิธีการตดั สนิ ปัญหาพระวินยั ในพระพุทธศาสนา การประยุกตใ์ ช้วิธีการทางพระวนิ ัย
กบั ตดั สนิ ปัญหา
3. วัตถปุ ระสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรม
3.1 อธบิ ายและวิเคราะห์การบญั ญตั ิพระวินัยในพระพุทธศาสนา การบญั ญัติกฏหมายได้
3.2 อธบิ ายการเปรียบเทยี บการบญั ญัติพระวนิ ัยกบั การบญั ญตั กิ ฎหมายได้
3.3 อธบิ ายและวิเคราะห์วธิ ีการตดั สนิ ปัญหาพระวนิ ัยในพระพทุ ธศาสนาได้
3.4 อธบิ ายและวิเคราะห์การประยุกต์ใช้วิธีการทางพระวนิ ยั กบั ตัดสินปญั หาได้
4. กำหนดวธิ ีและกจิ กรรม
4.1 ทำแบบประเมนิ ผลตนเองกอ่ นเรียน
4.2 สอนแบบบรรยาย อภปิ ราย ซกั ถาม
4.3 มอบหมายงานเขยี นผังมโนทศั น์ ทำ Concept Mapping
4.4 แบง่ กลุ่มค้นควา้ นำเสนอรายงานหนา้ ชน้ั
4.5 ทำแบบประเมนิ ผลตนเองหลงั เรยี น
5. สื่อการเรยี นการสอน
5.1 หนังสือ ตำรา วารสาร ผลงานทางวชิ าการ งานวจิ ัย
5.2 เอกสารประกอบการสอน
5.3 ใบงาน
5.4 พาวเวอร์พอยท์ (Power Point)
5.5 สื่ออิเล็กทรอนิกส์
6. วิธีการวดั ผลทางการเรียนการสอน
6.1 แบบประเมนิ ผลตนเองก่อนและหลงั เรยี น
6.2 ทดสอบความรู้ความเขา้ ใจ ทำแบบ Pre-Test
6.3 การตอบคำถาม / การสมั ภาษณ์
6.4 การอภิปราย / ทำกจิ กรรมกลมุ่ และการมีสว่ นรว่ ม
6.5 ประเมินผลจากการสอบประจำภาคการศกึ ษา
275
บทท่ี 9 การเปรยี บเทียบการบญั ญตั ิพระวินยั กบั การบญั ญัตกิ ฎหมาย
9.1 บทนำ
พระวินัย คือ กฎหมายที่พระพุทธเจ้าทรงบัญญัติขึ้นเพ่ือป้องกันการละเมิดและการกระทำผิดในคร้ังต่อไป
ของพระภิกษุ จะเห็นไดว้ ่าพระพุทธเจ้า คนอง วังฝายแก้ว213 (2554) พระองค์ทรงบญั ญัติพระวนิ ัยในกรณีท่ีพระภิกษุ
รูปน้ัน ๆ กระทำผิดท่ีเป็นสาเหตุให้พระพุทธศาสนาของพระองค์มัวหมอง ทำให้พุทธศาสนิกชนขาดศรัทธาที่จะทำนุ
บำรงุ และขาดความเล่ือมใสในพระพทุ ธศาสนาของพระองค์ จึงทรงบญั ญัตขิ อ้ ห้ามไว้เพื่อป้องปรามพระภกิ ษรุ ูปอ่นื ที่จะ
ละเมิดและกระทำผิดในอนาคตเช่นน้ันอีก พระองค์จะไม่ทรงบัญญัติพระวินัยขึ้นบังคับก่อนเหตุการณ์จะเกิดข้ึน จะ
บัญญัติพระวินัยเพื่อลงโทษพระภิกษุรูปนั้น ๆ หลังกระทำผิดแล้ว เพื่อไม่ให้ภิกษุรูปอ่ืนยึดถือเป็นเย้ืองอย่างในการ
กระทำผิดต่อไป แต่ในยุคต่อมา จนถึงยุคปัจจุบัน การจะควบคุมพระภิกษุ สามเณร ที่ละเมิดพระวินัย โดยอาศัยพระ
วินัยอย่างเดียวมาควบคุมลงโทษคงไม่เพียงพอ จะต้องอาศัยกฎหมายของบ้านเมือง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง กฎหมาย
ปกครองคณะสงฆ์ พ.ศ. 2505 แก้ไขเพ่ิมเติม พ.ศ. 2535 มาควบคุมพฤติกรรมของพระภิกษุท่ีละเมิดพระวินัยและ
กฎหมายต่อไป ระบบกฎหมาย และการลงโทษท่ีสอดคล้องกับพระวินัย และกฎหมายคณะสงฆ์หลังจากที่พระพุทธเจ้า
ได้ออกเผยแพร่พระพุทธศาสนา ในตอนแรกที่ยังมีพระภิกษุน้อยอยู่ การปกครองก็ไม่สู้ต้องการเท่าไรนัก สาวกท้ังปวง
ได้ประพฤติตามปฏิปทาของพระศาสดา และเข้าใจพระศาสนาทั่วถึง คร้ันภิกษุมีมากขึ้นโดยลำดับกาลและกระจายกัน
อยู่ ไม่ได้อยู่รวมกันเป็นหมู่เดียวกัน การปกครองก็ต้องการมากข้ึนตามกัน คนเราที่อยู่เป็นหมวดหมู่จะอยู่ตามลำพัง
ไม่ได้เพราะมีอัธยาศัยต่างกัน มีกำลังไม่เท่ากัน ผู้มีอัธยาศัยหยาบและมีกำลังมาก ก็จะข่มเหงคนอื่น คนสุภาพและมี
กำลังน้อย ก็จะอยู่ไม่เป็นสุข เหตุน้ันพระเจ้าแผ่นดินจึงทรงตรากฎหมายข้ึน ห้ามปรามไม่ให้คนประพฤติในทางที่ผิด
และวางโทษแก่ผลู้ ่วงละเมดิ ไว้ด้วย นอกจากนี้ในหม่หู นึง่ ๆเขากย็ ังมีธรรมเนียมสำหรบั ประพฤติอีก เช่นในสกุลผูด้ ี เขาก็
มธี รรมเนยี มสำหรับคนในสกุลนั้น ในหมภู่ กิ ษุกจ็ ำตอ้ งมกี ฎหมายและขนบธรรมเนียม สำหรับป้องกันความเสียหายและ
ชักจูงให้ประพฤติงามเหมือนกัน พระศาสดาทรงตั้งอยู่ในที่เป็นพระธรรมราชาผู้ปกครอง และทรงตั้งอยู่ในท่ีเป็นสังฆ
บดิ รผู้ดูแลภิกษุสงฆ์ พระองค์จึงได้ทรงทำหน้าท่ีท้ัง 2 ประการน้ัน คือทรงพุทธบัญญัติเพ่ือป้องกันความเสียหาย และ
วางโทษแก่ภิกษุผู้ล่วงละเมิด ด้วยปรับอาบัติหนักบ้าง เบาบ้าง อย่างเดียวกับพระเจ้าแผ่นดินทรงตราพระราชบัญญัติ
อีกฝา่ ยหนง่ึ ทรงตั้งขนบธรรมเนยี มซ่ึงเรียกว่า อภิสมาจาร เพ่ือชกั นำความประพฤติของภิกษสุ งฆใ์ ห้ดีงาม ดุจบิดาผเู้ ป็น
ใหญใ่ นสกลุ ฝกึ ปรือบุตรของตนในขนบธรรมเนยี มของสกลุ ฉะนัน้
9.2 การบญั ญัติพระวินัยในพระพุทธศาสนา
กรมพระยาวชิรญาณวโรรส, สมเด็จพระมหาสมณเจ้า. วินัยมุข เล่ม 1. (2533, หน้า 8-9) พระพุทธ
บัญญัติและอภิสมาจารท้ัง 2 นี้214 รวมเรียกว่า พระวินัย พระวินัยน้ี ท่านเปรียบเหมือนด้ายร้อยดอกไม้ อัน
ควบคุมดอกไม้ไวไ้ มใ่ หก้ ระจัดกระจาย เพราะเหตุรักษาสงฆ์ให้ต้ังอยู่เป็นอันดี อีกอยา่ งหน่ึงคนท่ีบวชเป็นภิกษุจาก
สกุลตา่ งๆ สงู บ้าง กลางบา้ ง ต่ำบ้าง มีพ้นื เพต่างกันมาแต่เดิม มนี ้ำใจตา่ งกัน หากจะไม่มีพระวนิ ัยปกครอง หรือไม่
ประพฤติตามพระวินัย จะเป็นหมู่ภิกษุท่ีเลวทรามไม่เปน็ ท่ีตั้งแห่งศรัทธาและเลื่อมใส ถ้าตา่ งรูปประพฤติตามพระ
วินัยอยู่แล้ว จะเป็นหมู่ภิกษุท่ีดี นำให้เกิดศรัทธาเล่ือมใส กรมพระยาวชิรญาณวโรรส, สมเด็จพระมหาสมณเจ้า.
213 คนอง วังฝายแก้ว. (2554). “ระบบกฎหมาย และการลงโทษที่สอดคล้องกับพระวินัย และกฎหมาย
คณะสงฆ์”. สบื คน้ เมอ่ื วนั ที่ 26 กันยายน 2561.เข้าถึงได้จาก https://www.gotoknow.org/posts/450041.
214 กรมพระยาวชิรญาณวโรรส, สมเด็จพระมหาสมณเจ้า. (2533). วินัยมุข เล่ม 1. กรุงเทพมหานคร :
มหามกฎุ ราชวทิ ยาลยั . หนา้ 8-9.
276
วินัยมุข เล่ม 1. (2533, หน้า 1-4) พระวินัยหรือพุทธบัญญัติ หมายถึง215 ข้อที่พระพุทธเจ้าทรงบัญญัติเกี่ยวกับ
ระเบยี บปฏิบตั ิ ขนบธรรมเนยี มประเพณี วิถชี ีวติ และวธิ ีดำเนนิ กจิ การต่าง ๆ ของภิกษุสงฆ์และภิกษุณี
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตโต) (2555, หน้า 449-450) ได้กล่าว216 ถึงความหมายอย่างง่าย ๆ
ของพระวนิ ยั ออกเปน็ 2 อยา่ งคอื ก) การฝึกใหม้ คี วามประพฤตแิ ละความเป็นอยู่เป็นระเบยี บแบบแผน หรือ
การบังคบั ควบคุมตนให้อยใู่ นระเบียบแบบแผน รวมทง้ั การใช้ระเบียบแบบแผนต่าง ๆ เป็นเครอ่ื งจัดระเบยี บ
ความประพฤติ ความเป็นอยู่ของคน และกิจการของหมู่ชน ข) ระเบียบแบบแผน กฎเกณฑ์ ข้อบังคับต่าง ๆ
ที่วางลงไว้เป็นหลักหรือเป็นมาตรฐานสำหรับใช้ฝึกคน หรือใช้บังคับควบคุมคน ตลอดจนเป็นเครื่องจัด
ระเบียบความประพฤติ ความเป็นอยู่ของคนและกิจการของหม่ชู นให้เรียบรอ้ ยดีงาม
พระวินัย แบ่งออกเปน็ 2 ส่วนคือ
1) อาทิพรหมจริยกาสิกขา หมายถึง หลักการศึกษาอบรมในฝ่ายบทบัญญัติหรือข้อปฏิบัติอันเป็น
เบื้องต้นแห่งพรหมจรรย์ ที่พระพุทธเจ้าทรงบัญญัติไว้เป็นพุทธอาณา (อำนาจปกครองของพระพุทธเจ้า หรือ
อำนาจปกครองฝ่ายพุทธจักร) เพ่ือป้องกันความประพฤติเสียหายของพระภิกษุและวางโทษผู้ล่วงละเมิด โดยปรับ
อาบตั ิสถานหนกั บา้ ง เบาบา้ ง ตามสมควรแกค่ วามผิด และให้พระสงฆ์สวดทกุ ครึง่ เดือน เรียกว่า “พระปาฏโิ มกข”์
2) อภสิ มาจารกิ าสิกขา หมายถึง หลักการศึกษาอบรมในฝ่ายขนบธรรมเนยี มเก่ียวกบั มารยาท และความ
ประพฤติความเปน็ อยู่อนั ดีงามของพระภกิ ษุ อันนำมาซึง่ ความเคารพศรทั ธาเลื่อมใสของพุทธศาสนิกชน
พระวินยั กำหนดอาบตั ิไว้ดังน้ี
1) ปาราชิก 4 เปน็ อาบัตหิ นกั ถ้าภิกษุล่วงละเมดิ แล้วตอ้ งขาดจากความเปน็ ภิกษุ คอื เสพเมถนุ ลัก
ทรัพย์มีมูลค่าตัง้ แต่ 5 มาสก (มาตราเงนิ ในครั้งโบราณ 5 มาสก เป็น 1 บาท) ข้ึนไป ฆา่ มนุษย์ และอวดอุตริ
มนุสธรรมท่ไี ม่มใี นตน
2) สงั ฆาทิเสส 13 เปน็ อาบัติหนักรองจากปาราชกิ ตอ้ งอยู่กรรมจงึ พ้นได้ แก้ไขได้ เชน่ เจตนาทำให้นำ้ อสจุ ิ
เคล่อื น มีความกำหนัดจบั ต้องกายหญงิ มีความขนุ่ เคอื ง แล้วกล่าวหาภกิ ษุอ่ืนดว้ ยอาบัติปาราชิกไมม่ ีมลู เป็นต้น
3) อนิยต 2 คำว่า อนิยต แปลว่า ไม่แน่นอน เป็นอาบัติท่ียังไม่แน่นอนระหว่างปาราชิกกับ
สังฆาทิเสสหรือปาจิตตีย์ ซ่ึงพระวินัยธรจะต้องวินิจฉัย มี 2 ข้อคือ ภิกษุนั่งในท่ีลับตากับหญิงสองต่อสอง
และภกิ ษุนง่ั ในท่ลี บั หูกบั หญงิ สองต่อสอง
4) นิสสัคคียปาจิตตีย์ 30 เป็นอาบัติเบา แก้ไขได้ ด้วยการแสดงหรือการปลงที่เรียกว่า แสดงอาบัติ
หรือปลงอาบัติ เช่น ภิกษุทรงอติเรกจีวร (ผ้าส่วนเกินจากไตรจีวร) ได้เพียง 10 วันเป็นอย่างยิ่ง ถ้าทรงเกิน
10 วันก็อาบัติ ภิกษุรับประเคนเภสัชท้งั 5 คือ เนยใส เนยข้น น้ำมัน น้ำผ้งึ น้ำอ้อยแล้ว เก็บไว้ฉันได้เพียง 7
วนั เป็นอย่างย่ิง ถา้ เก็บไวเ้ กิน 7 วันต้องอาบัติ เป็นตน้
5) ปาจิตตีย์ 92 เป็นอาบัติเบา แก้ไขได้ ด้วยการแสดงหรือการปลง เช่น พูดปด ด่าภิกษุ นั่งในท่ี
แจ้งกับหญงิ สองตอ่ สอง หลอกภกิ ษใุ ห้กลัวผี เป็นตน้
6) ปฏิเทสนียะ 4 เป็นอาบัติเบา เป็นอาบัติท่ีจะพึงแสดงคืน เช่น ภิกษุรับของเค้ียวของฉันจากมือ
ของภกิ ษณุ ีทมี่ ิใชญ่ าตดิ ้วยมือของตนมาบริโภค เป็นต้น
215 เรือ่ งเดยี วกัน. หน้า 1-4.
216 พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตโต). (2555). พุทธธรรมฉบับปรับขยาย. พิมพ์ครั้งที่ 35.
กรุงเทพมหานคร : สำนักพมิ พเ์ พท็ แอนด์โฮมจำกดั . หน้า 449-450.
277
7) เสขิยวัตร 75 เป็นวัตรที่ภิกษุ จะต้องศึกษา อันเป็นธรรมเนียมเกี่ยวกับมารยาทที่ภิกษุพึง
สำเหนียกหรือพงึ ฝกึ ฝนปฏบิ ตั ิ เชน่ พึงสำเหนียกวา่ เราจักน่งุ ห่มให้เรียบร้อย เราจักไมพ่ ดู เสยี งดงั เราจกั ไม่นั่ง
รัดเขา่ ในบ้าน เปน็ ต้น
1. การลงโทษตามบทบัญญตั ขิ องพระวนิ ยั
พระครูกัลยาณสิทธืวัฒน์, (2549, หน้า 5) พุทธบัญญัติ 227217 เพื่อความเข้าใจวินัยให้ถูกต้อง
ระดับโทษของอาบตั ิในพระวินัย มี 3 สถาน คอื
1) โทษสถานหนัก หรือ ครุโทษ แก้ไขไม่ได้ เรียก “อเตกิจฉา” ได้แก่ อาบัติปาราชกิ ภิกษุต้องแล้ว
(ลว่ งละเมดิ แล้ว) ขาดจากความเป็นภกิ ษอุ ยา่ งเดียว จะกลับมาบวชใหมอ่ กี ไม่ได้
2) โทษสถานกลาง หรือ มัชฌิมโทษ แกไ้ ขได้ เรียก “สเตกจิ ฉา” ได้แก่ อาบตั ิสังฆาทิเสส ภิกษุต้อง
เขา้ แล้วตอ้ งอยกู่ รรม คอื จะต้องอยู่ปริวาสให้ครบตามจำนวนวนั ท่ีปกปิดนับต้ังแต่วนั ตอ้ งอาบัติ และประพฤติ
มานตั อีก 6 ราตรี จงึ จะพน้ จากอาบัตินนั้ ได้
3) โทษสถานเบา หรือ ลหุโทษ แก้ไขได้ เรียก “สเตกิจฉา” เหมือนข้อ 2 แต่เบากว่า เพราะเมื่อ
ภิกษุต้องแล้ว เพียงแสดงอาบัติท่ีต้องนั้นต่อหน้าภิกษุด้วยกัน ก็พ้นจากอาบัติน้ันได้ อาบัติเหล่าน้ี ได้แก่
ถลุ ลจั จยั ปาจติ ตีย์ ปาฏิเทสนยี ะ ทุกกฏ และทุพภาษติ
โทษของอาบัตจิ ัดประเภทเป็นคู่ ๆ ได้แก่
1) โทษเก่ียวกับมีเจตนา และไม่มีเจตนา ได้แก่ สจิตตกะ อาบัติที่เกิดโดยมีเจตนาเป็นเหตุ คือเป็นไป
พร้อมกบั จิตหรือเจตนา และอจิตตกะ อาบัติที่เกดิ โดยไม่มีเจตนาเป็นเหตุ คอื ไม่คิดจะทำหรอื ไมม่ ีเจตนาทจี่ ะทำ
2) โทษของอาบัติในความหมายของอาบัติหนัก อาบัติเบา ได้แก่ ครุกาบัติ คือ อาบัติหนัก มี 2
ประเภท คอื (1) ประเภทแก้ไขไมไ่ ด้ เรียกวา่ “อเตกิจฉา” ไดแ้ ก่ อาบัตปิ าราชกิ
2) ประเภทแก้ไขได้ เรียกว่า “สเตกิจฉา” ได้แก่ อาบัติสังฆาทิเสส และลหุกาบัติ คือ
อาบตั ิเบา แกไ้ ขได้ดว้ ยการแสดงอาบัติ นำความผิดของตนมาแสดงให้เพ่ือนภกิ ษุรับทราบ เรยี ก “สเตกิจฉา”
ไดแ้ ก่ อาบัตถิ ุลลจั จัย ปาจติ ตีย์ ปาฏิเทสนียะ ทกุ กฎ และทุพภาษิต
3) โทษของอาบัตใิ นความหมายอาบตั ิช่ัวหยาบและไม่ชั่วหยาบ ได้แก่ ทุฏฐุลลาบัติ อาบัติ
ช่ัวหยาบ ภิกษุไม่ควรประพฤติ ได้แก่อาบัติปาราชิก และสังฆาทิเสส แต่ในบางกรณีท่านหมายเอาเฉพาะ
อาบตั ิสังฆาทิเสส เชน่ พูดเกยี้ วหญิง จบั ต้องกายหญิง และเจตนาทำให้น้ำอสจุ ิเคลือ่ นออกมา เป็นต้น และอ
ทุฏฐุลลาบัติ อาบตั ิไม่ช่ัวหยาบ เป็นอาบัติเบา มีโทษเลก็ น้อย และกริ ิยาท่ีล่วงละเมิดไม่หยาบคาย เช่น ภิกษุ
ฉันอาหารทย่ี ังไมร่ บั ประเคน เปน็ ต้น
4) โทษของอาบตั ิในความหมายวา่ มีส่วนเหลอื และไม่มสี ่วนเหลือ ได้แก่ อนวเสสาบตั ิ คือ
อาบัติท่ีไม่มีส่วนเหลือ เมื่อภิกษุต้องแล้วขาดจากความเป็นภิกษุ ได้แก่ อาบัติปาราชิก และสาวเสสาบัติ คือ
อาบัติท่ีมีส่วนเหลือ เมื่อภิกษุต้องแล้ว แม้จะมีความผิดต้องโทษ คือเป็นอาบัติแต่ก็ยังคงเป็นภิกษุอยู่ เมื่อ
แสดงอาบัตแิ ล้ว ก็พน้ จากโทษนัน้ ๆ
5) โทษของอาบัติในความหมายว่า แสดงคืนได้และแสดงคืนไม่ได้ ได้แก่ เทสนาคมมินี
อาบตั ทิ ี่พน้ ไดด้ ้วยการแสดงคอื เปดิ เผยความผิดของตน และอเทสนาคามนิ ี อาบตั ิที่ไม่พ้นได้ด้วยการแสดง
6) โทษของอาบัติในความหมายว่า ทำคืนได้และทำคืนไม่ได้ ได้แก่ อปฏิกรรม อาบัติท่ี
ภิกษุต้องแล้วไม่สามารถทำคืนได้ หรือแสดงอาบัติให้หายได้ ต้องขาดจากความเป็นภิกษุ คืออาบัติปาราชิก
และสปฏกิ รรม อาบัติทภี่ ิกษุตอ้ งเข้าแลว้ สามารถทำคืนได้ คอื หลดุ พน้ จากอาบัตนิ ั้น ๆ ได้
217 พระครูกัลยาณสิทธิวัฒน์, ผศ. (สมาน กัลยาณธมฺโม). (2549). พุทธบัญญัติ 227. พิมพ์คร้ังท่ี1.
กรงุ เทพมหานคร : มหาจฬุ าลงกรณ์ราชวิทยาลัย. หน้า 5.
278
7) โทษของอาบัติในความหมายว่า ทำเอง และใช้ให้ผู้อ่ืนทำ ได้แก่ สาณัตติกะ อาบัติท่ี
ภกิ ษุต้องเพราะสั่งผู้อ่ืนทำ เช่น สั่งให้ผู้อนื่ ลกั ทรัพย์ เป็นตน้ และอาณัตติกะ อาบัติทภี่ ิกษุต้องเฉพาะท่ีทำเอง
ไม่ต้องเพราะส่ังผู้อ่ืนทำ อาบัติบางสิกขาบท ภิกษุทำเองจึงต้องอาบัติ ใช้ให้บุคคลอ่ืนทำตนเองไม่ต้องอาบัติ
อาบัติบางสกิ ขาบท ภกิ ษุทำเองก็ต้องอาบตั ิ และใชใ้ หผ้ ูอ้ ืน่ ทำก็ตอ้ งอาบัตเิ ชน่ กัน
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตโต) (2555, หน้า 448-449) ได้กล่าวถึง218 วินัยบัญญัติ ในฐานะท่ี
เปน็ กฎระเบียบหรือกฎหมายของสงั คมไว้อยา่ งนา่ สนใจวา่ “วนิ ยั บัญญตั ิของสงฆ์มิใช่ศีลในความหมายแคบ ๆ
อย่างท่ีมักเข้าใจกันง่าย ๆ แต่ครอบคลุมเรื่องเกี่ยวกับความเป็นอยู่ทั่ว ๆ ไปที่เรียกว่าชีวิตด้านนอกของภิกษุ
สงฆ์ทุกแง่ เร่ิมตั้งแต่กำหนดคุณสมบัติ สิทธิ หน้าที่ และวิธีการรับสมาชิกใหม่เข้าสู่ชุมชนคือสงฆ์ การดูแล
ฝกึ อบรมสมาชิกใหม่ การแต่งต้ังเจา้ หนา้ ทที่ ำกิจการสงฆพ์ ร้อมดว้ ยคุณสมบตั ิและหน้าทีท่ ่กี ำหนดให้ ระเบยี บ
เกีย่ วกบั การแสวงหา จัดทำ เก็บรกั ษา แบง่ สรรปัจจัย 4 เชน่ ประเภทต่าง ๆ ของอาหาร ระเบียบการรับและ
จัดแบ่งส่วนอาหาร การทำจีวรและข้อปฏิบัติเกี่ยวกับจีวร ประเภทของยา การปฏิบัติต่อภิกษุอาพาธ ข้อ
ปฏบิ ัติของคนไข้และผ้รู ักษาพยาบาลไข้ การจัดสรรท่ีอยอู่ าศยั ข้อปฏิบัตขิ องผู้อยอู่ าศัย ระเบียบการกอ่ สร้าง
ที่อยู่อาศัย การดำเนินงานและรับผิดชอบในการก่อสร้าง การจัดผังท่ีอยู่อาศัยของชุมชนสงฆ์คือวัดว่า พึงมี
อาคารหรือส่ิงก่อสร้างอย่างใดบ้าง ระเบียบวิธีดำเนินการประชุม การโจทหรือฟ้องคดี ข้อปฏิบัติของโจทก์
จำเลยและผู้วินิจฉัยคดี วิธีดำเนินคดีและตัดสินคดี การลงโทษแบบต่าง ๆ ฯลฯ ว่าโดยสาระ วินัยก็ได้แก่
ระบบแบบแผนทั้งหมดสำหรบั หมู่ชนหน่ึง ท่ีจะใหห้ มู่ชนนั้นตง้ั อยไู่ ด้ดว้ ยดี สามารถมีชีวติ อยตู่ ามหลักของตน
และสามารถปฏิบัติกิจดำเนินการต่าง ๆ เพื่อเข้าถึงเก่ียวกับการปกครอง การบริหาร การศาล นิติบัญญัติ
การเศรษฐกิจ การศึกษา เป็นต้น ทั้งหมดเท่าท่ีชุมชนตลอดถึงประเทศชาติจะตกลงใช้ปฏิบัติเป็นทางการ
โดยตราไว้เป็นธรรมนญู กฎหมาย ประกาศ หรือคำสั่งต่าง ๆ”
2. ความมีคุณค่าและความเปน็ กฎเกณฑท์ างสังคมของพระวนิ ยั
พระมหาสมจินต์ สมฺมาปญฺโญ, (2542, หน้า 79-82) กล่าวถึง219ความมีคุณค่าและความเป็น
กฎเกณฑ์ทางสงั คมของพระวนิ ยั ไว้ดังน้ี
ประการท่ี 1 พระวินัยคืออายุของพระพุทธศาสนา ในคราวก่อนท่ีจะเร่ิมทำปฐมสังคายนา พระมหากัสส
ปะได้ปรึกษากับพระเถระผู้เข้าร่วมทำสังคายนาแล้วเห็นพ้องต้องกันว่า จะดำเนินชำระสังคายนาพระวินัยก่อน
เพราะพระวินัยเป็นอายุของพระพุทธศาสนาพระวินัยจัดว่าเป็นอายุของพระพุทธศาสนา เมื่อพระวินัยยังดำรงอยู่
พระศาสนาชอ่ื ว่ายงั ดำรงอยู่ ดงั น้นั จงึ ขอสงั คายนาพระวนิ ยั กอ่ น
ประการที่ 2 พระวินัยเป็นด้ายร้อยเรียงลักษณะนิสัย/พฤติกรรมของคนไว้ในกรอบเดียวกัน พุทธ
ประสงคใ์ นการประกาศพระศาสนา ในเชงิ จริยศาสตรส์ ังคมมี 2 ประการ คอื
(1) กำจดั ความคดิ แบ่งแยกทางสังคม
(2) กระต้นุ เตือนให้มนุษยค์ ำนึงถงึ ศกั ด์ิศรแี ละคณุ ค่าภายในตน
พระพุทธองค์ทรงเปิดโอกาสให้ทุกคนเข้ามาในพระพุทธศาสนาได้ ไม่ว่าจะเป็นรูปแบบใด ถ้าประสงค์จะ
บวชเป็นพระภิกษุ ภิกษุณีก็บวชได้ โดยไม่จำกัดว่าจะเกิดในตระกูลใด วรรณะใด และเม่ือประสงค์จะพัฒนาตนก็มี
โอกาสพัฒนาได้เต็มท่ี ผู้ใดปฏิบัติ ผู้นั้นย่อมได้รับผลแห่งการปฏิบัติ ไม่มีใครบันดาลให้ใครได้ สุทฺธิ อสุทฺธิ ปจฺจตฺตํ
นาญฺโญ อญญํ วิโสธเย ความบริสุทธิ์ ความไม่บริสุทธิ์เป็นของเฉพาะตน ผู้อ่ืนจะให้ผู้อ่ืนบริสุทธิ์ไม่ได้ด้วยพุทธ
218 พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตโต). (2555). พุทธธรรมฉบับปรับขยาย. พิมพ์คร้ังที่ 35. อ้างแล้ว, หน้า 448-
449.
219 พระมหาสมจนิ ต์ สมมฺ าปญโฺ ญ. (2542). เก็บเพชรจากคมั ภีร์พระไตรปฎิ ก. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั , หนา้ 79-82.
279
ประสงค์อย่างนี้ จำเปน็ ตอ้ งมีพระวนิ ยั ไว้เปน็ กฎเกณฑ์ควบคุมดูแล เพราะธรรมดาคนทีม่ าจากสังคมหลากหลาย ย่อม
มีลกั ษณะนิสยั และพฤติกรรมตา่ งกันอยแู่ ลว้
ประการท่ี 3 ความมคี ุณคา่ และความเป็นกฎเกณฑท์ างสังคมของพระวินยั ท่ีชัดเจนอีกประการหน่ึง
เห็นได้จากพุทธประสงค์ 10 ประการในการบัญญัติพระวินัย คือ เพ่ือความรับว่าดีแห่งสงฆ์ เพื่อความผาสุก
แห่งสงฆ์ เพื่อข่มบุคคลผู้เก้อยาก เพื่อความอยู่ผาสุกแห่งภิกษุผู้มีศีลดีงาม เพ่ือปิดกั้นอาสวะอันจะบังเกิดใน
ปัจจุบัน เพ่ือบำบัดอาสวะอันจะบังเกิดในอนาคต เพ่ือความเลื่อมใสของชุมชนท่ียังไม่เล่ือมใส เพื่อความ
เล่ือมใสย่ิงข้ึนของชุมชนท่ีเลื่อมใสแล้ว เพ่ือความตั้งมั่นแห่งสัทธรรม เพื่อเอ้ือเฟื้อพระวินัย วัตถุประสงค์ท้ัง
10 ข้อนี้ กล่าวโดยสรุปคือ (1)เพ่ือความเรียบร้อยดีงามของสังคมสงฆ์ (2) เพ่ือความสบายใจของสังคม
คฤหัสถ์ และ(3) เพือ่ พระพุทธศาสนาโดยตรง
ประเดน็ น้หี มายถงึ เมือ่ มพี ระวินัยเป็นเกณฑ์มาตรฐาน ความสามัคคี ความผาสุกย่อมเกิดข้ึน สังคม
มีมาตรการในการท่ีจะตัดสินลงโทษคนผิดชัดเจน กำจัดความเสื่อมเสียท่ีเกิดขึ้นแล้วในปัจจุบัน และป้องกัน
ความเส่ือมเสียอันจะเกดิ ในอนาคต ในส่วนของประชาชนคฤหัสถ์ แม้จะไม่ได้นับถอื พระพุทธศาสนา แต่เมื่อ
เห็นภาพการประพฤติดีปฏิบัติชอบของพระสงฆ์ ย่อมเกิดความเลื่อมใส ส่วนผู้ท่ีนับถือพระพุทธศาสนาซ่ึงมี
ความเลื่อมใสเป็นทุนเดิมอยู่แล้ว เมื่อเห็นภาพแห่งการประพฤติดีปฏิบัติชอบของพระสงฆ์ ย่อมมีความ
เล่ือมใสมากยง่ิ ขึน้ อนั วา่ ความเลอ่ื มใสน่ีแหละทำใหจ้ ิตใจเย็นสบาย ไม่อึดอดั ไม่ขดั เคอื ง
ประการท่ี 4 พระวินัยสร้างหลักประกันให้บุคคลผู้ปฏิบัติท้ังในปัจจุบันและอนาคต เห็นได้จากท่ีพระ
พุทธองค์ตรัสอานิสงส์ 5 ประการแห่งความเป็นผู้มีศีล คือ (1) ได้โภคทรัพย์กองใหญ่ (2) ชื่อเสียงดีงามขจรไป (3)
เป็นผู้องอาจในทปี่ ระชุมชน (4) ไม่หลงตาย คอื ตายไปอยา่ งมีสติ (5) เมอ่ื ตายไป ย่อมไปเกดิ ในสคุ ติ โลกสวรรค์
ประการท่ี 5 ความเป็นกฎเกณฑ์และความมีคุณค่าทางสังคมของพระวินัย เห็นได้จากประเด็นต่อไปนี้
คำว่า วินัย ในท่ีนี้หมายถึงศีล 2 ส่วน คือ (1) ศีลที่มาในพระปาติโมกข์ของภิกษุ 227 ข้อและศีลของภิกษุณี 311
ข้อ (2) ศลี ทม่ี านอกพระปาติโมกข์อีกจำนวนมาก ศลี มอี รรถะลักษณะ รส ปัจจุปฏั ฐาน และปทัฏฐานดงั นี้
1. ลักษณะของศลี คือความเป็นรากฐาน
2. รสของศลี คอื กำจดั ความทศุ ลี หรอื คณุ ทหี่ าโทษมไิ ด้
3. ปัจจปุ ฏั ฐานของศลี คือความสะอาด
4. ปทัฏฐานของศีล คือ หิริและโอตตัปปะ เป็นสังคมแห่งศีลธรรมเป็นสังคมที่มีรากฐานแข็งแกร่ง
สังคมแห่งศีลธรรมเป็นสังคมที่ไร้ทุกข์โทษ สังคมแห่งศีลธรรมเป็นสังคมสะอาด สังคมแห่งศีลธรรมเป็นสังคม
แหง่ ความละอายและเกรงกลวั ต่อความช่ัว
กล่าวโดยสรุป สังคมต้องมีวินยั วนิ ัยแบง่ ตามกลุ่มของผูป้ ฏิบตั ิ มี 2 อยา่ ง คอื
1. อาคาริยวินัย กรอบควบคุมวิถีชีวิต แนวทางประพฤติสำหรับคฤหัสถ์ การกล่าววาจาถึงพระ
รัตนตรัยว่า พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ ข้าพเจ้าขอถึงพระพุทธเจ้าเป็นท่ีพ่ึงท่ีระลึก การสมาทานศีล 5 ศีล 8 หรื
อกุศลกรรมบถ 1 จัดเป็นอาคาริยวินัยหรือวินัยของคฤหัสถ์ ซึ่งเมื่อชายหญิงถือปฏิบัติทั่วถึงกันแล้ว ช่ือว่าป็
นมงคลสงู สดุ แกช่ ีวิต เพราะเป็นเหตนุ ำความสงบสขุ มาใหท้ ้ังแกต่ นและแกห่ มคู่ ณะ
2. อนาคาริยวินัย กรอบควบคุมวิถีชีวิต แนวทางประพฤติสำหรับสามเณร สามเณรี สิกขมานา
พระภิกษุและภิกษุณี เช่น ศีล 1 มีเว้นจากการฆ่าสัตว์เป็นข้อต้น เว้นจากการับทองและเงินเป็นข้อสุดท้าย
ปาติโมกขสังวรศีล อินทรยิ -สังวรศลี อาชวี ปารสิ ุทธศิ ีล และปัจจยสันนิสิตศลี
พระพุทธเจ้าก่อนจะเสด็จดับขันธปรินิพพาน ตรัสกับพระอานนท์ว่า ธรรมและวินัยที่แสดงไว้
บญั ญตั ไิ ว้ จักเป็นศาสดาของพวกเธอ เม่ือเราลว่ งลับไป
3. พระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พระราชบัญญัติคณะสงฆ์ เป็นพระราชบัญญัติที่ตราไว้ในพุทธศักราช
2505 และพระราชบญั ญตั คิ ณะสงฆ์ (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2535 ในส่วนท่ีเกีย่ วขอ้ กับการปกครองคณะสงฆ์ ดงั น้ี
280
1. กำหนดให้สมเด็จพระสังฆราช ทรงบัญชาการคณะสงฆ์ ตามมาตรา 8 ความว่า “สมเด็จ
พระสงั ฆราชทรงดำรงตำแหน่งสกลมหาสังฆปรนิ ายก ทรงบัญชาการคณะสงฆ์ และทรงตราพระบัญชาสมเดจ็
พระสงั ฆราช โดยไม่ขดั แยง้ กับกฎหมาย พระธรรมวนิ ัยและกฎมหาเถรสมาคม”
2. กำหนดให้มีมหาเถรสมาคม เป็นคณะกรรมการบริหาร มีองค์ประกอบตามมาตรา 12 ความว่า
“มหาเถรสมาคมประกอบด้วยสมเด็จพระสังฆราช ซ่ึงทรงดำรงตำแหน่งประธานกรรมการโดยตำแหน่ง
สมเด็จพระราชาคณะทุกรปู เป็นกรรมการโดยตำแหนง่ และพระราชาคณะ ซง่ึ สมเด็จพระสงั ฆราชทรงแต่งต้ัง
มีจำนวนไมต่ ่ำกว่าสี่รูป และไมเ่ กินแปดรปู เปน็ กรรมการ”
3. กำหนดการปกครองคณะสงฆ์ โดยมีมาตรา 20 กล่าวถงึ การจดั ระเบียบการปกครองคณะสงฆ์ให้
เป็นไปตามกำหนดในกฎมหาเถรสมาคม มาตรา 21 แบ่งการปกครองคณะสงฆ์ส่วนภูมิภาค ออกเป็น ภาค
จังหวดั อำเภอ และตำบล และให้มพี ระภิกษผุ ู้ปกครองตามชน้ั ตามลำดบั ดงั นี้ (มาตรา 22) เจ้าคณะภาค เจ้า
คณะจงั หวดั เจา้ คณะอำเภอ และเจ้าคณะตำบล
4. กำหนดใหม้ ีบทกำหนดโทษ ตามความผดิ ของพระภกิ ษุสามเณรทล่ี ะเมดิ พระธรรมวินยั โดยมีการ
กำหนดลงโทษสุงสดุ คอื สละสมณเพศ
กล่าวโดยสรุป พระวินัย คือ กฎหมายท่ีพระพุทธเจ้าทรงบัญญัติขึ้นเพ่ือป้องกนั การละเมิดและการ
กระทำผิดในครั้งต่อไปของพระภิกษุ จะเห็นได้ว่าพระพุทธเจ้า พระองค์ทรงบัญญัติพระวินัยในกรณีท่ี
พระภิกษุรูปนัน้ ๆ กระทำผิดที่เป็นสาเหตใุ ห้พระพุทธศาสนาของพระองคม์ ัวหมอง ทำให้พุทธศาสนกิ ชนขาด
ศรัทธาท่ีจะทำนุบำรุง และขาดความเล่ือมใสในพระพุทธศาสนาของพระองค์ จึงทรงบัญญัติข้อห้ามไว้เพื่อ
ป้องปรามพระภิกษุรูปอื่นท่ีจะละเมิดและกระทำผิดในอนาคตเช่นนั้นอีก พระองค์จะไม่ทรงบญั ญัติพระวินัย
ข้ึนบงั คับกอ่ นเหตุการณ์จะเกดิ ขนึ้ จะบัญญตั ิพระวินัยเพอ่ื ลงโทษพระภิกษุรปู น้ัน ๆ หลงั กระทำผดิ แล้ว เพ่ือ
ไมใ่ หภ้ ิกษรุ ูปอ่ืนยึดถอื เป็นเย้ืองอย่างในการกระทำผิดต่อไป แต่ในยคุ ตอ่ มา จนถึงยุคปัจจุบัน การจะควบคุม
พระภิกษุ สามเณร ท่ีละเมิดพระวินัย โดยอาศัยพระวินัยอย่างเดียวมาควบคุมลงโทษคงไม่เพียงพอ จะต้อง
อาศัยกฎหมายของบ้านเมือง โดยเฉพาะอยา่ งย่งิ กฎหมายปกครองคณะสงฆ์ พ.ศ. 2505 แก้ไขเพิ่มเตมิ พ.ศ.
2535 มาควบคุมพฤติกรรมของพระภกิ ษทุ ลี่ ะเมดิ พระวินยั และกฎหมายตอ่ ไป
9.3 การบญั ญัติกฏหมาย
ทักษิณ http://politics-03.blogspot.com (2552)1. การบัญญัติกฎหมายตองทำตามวิธกี าร เป็น
ข้ันตอน คือ จัดทำร่างกฎหมาย เสนอร่างกฎหมายต่อผู้มีอำนาจพิจารณา พิจารณาร่างกฎหมายเพื่อรับ
หลักการและแก้ไข ปรบั ปรุงให้เหมาะสม นำกฎหมายที่พิจารณาเห็นชอบแล้วขึ้นทูลเกล้าทูลกระหม่อมเพื่อ
พระมหากษัตริย์ทรงลงพระปรมาภิไธยและประกาศในราชกิจจานุเบกษา เพอ่ื ใช้บงั คบั เป็นกฎหมาย220
1. การบัญญัติกฎหมายต้องคำนึงถึงหลักบางประการได้แก่ ความถูกต้อง ความแน่นอน ความ
สมบรู ณ์ ความศักดสิ์ ิทธิ์ และสมั ฤทธผ์ิ ล รวมท้ังความนิยมดว้ ย
วิธีการบัญญตั กิ ฎหมาย
ผ้มู ีสิทธเิ สนอใหบ้ ญั ญัติกฎหมาย คือผู้ทรี่ ฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยกำหนดไว้
2. การบัญญัติกฎหมายขึ้นใช้บังคับต้องเสนอร่างกฎหมายได้แก่รัฐสภา การพิจารณาร่างพระราช
บัญญัติตอ้ งดำเนินการตามวธิ ีการท่ีกำหนดไวใ้ นรัฐธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักรไทย ขอ้ บังคบั การประชุมสภา
ผแู้ ทนราษฎร และข้อบังคบการประชุมวุฒิสภา
220 ทักษิณ. (2552). บทความที่6 การบัญญัติกฎหมาย. สืบค้นเม่ือวันที่ 26 กันยายน 2561.เข้าถึงได้จาก
http://politics-03.blogspot.com.
281
3. การบัญญัติกฎหมายข้ึนใช้บังคับเป็นพระราชบัญญัติ เป็นพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์
ตามรัฐธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจกั รไทย แตจ่ ะมผี ลใชบ้ ังคับได้กต็ ่อเมอ่ื ได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแลว้
4. การเสนอให้บญั ญตั กิ ฎหมายเปน็ เปน็ ผมู้ ีสทิ ธิเสนอรา่ งพระราชบญั ญตั ิให้รฐั สภาพิจารณา ใหบ้ อก
มาให้ครบผู้มีสิทธิเสนอร่างพระราชบัญญัติให้รัฐสภาพิจารณา คือ 1) คณะรัฐมนตรี 2) สมาชิกสภาผู้แทน
ราษฎร 3) ผู้มีสิทธิเลือกต้ังไม่น้อยกว่า 50,000 คน ซ่ึงเข้าช่ือกันร้องขอต่อประธานสภา เพื่อให้รัฐสภาพิจารณา
กฎหมายเก่ียวกับสิทธิและเสรภี าพของชนชาวไทย หรอื เก่ยี วกับแนวนโยบายพืน้ ฐานแห่งรฐั
5. การพิจารณาร่างกฎหมาย
(1) การพิจารณาร่างพระราชบัญญัติโดยสภาผู้แทนราษฎรต้องกระทำกี่วาระ แต่ละวาระให้ลงมติ
อย่างไร การพิจารณาร่างพระราชบัญญตั ิโดยสภาผ้แู ทนราษฎรตอ้ งกระทำ 3 วาระ คือ วาระทีห่ น่ึง ใหล้ งมติ
วา่ รบั หลักการหรือไม่รับหลกั การแหง่ พระราชบญั ญัตินัน้ วาระท่สี อง พจิ ารณาโดยคณะกรรมการทสี่ ภาตั้งข้ึน
หรอื กรรมาธกิ ารเต็มสภา แล้วรายงานให้สภาพิจารณาลงมติว่าจะแก้ไขอยา่ งไร หรือไม่ วาระที่สาม ให้ลงมติ
ว่าเห็นชอบหรอื ไมเ่ หน็ ชอบกับรา่ งพระราชบัญญตั นิ ้นั
(2) ร่างพระราชบัญญัติที่ผา่ นการพิจารณาเห็นชอบของสภาผู้แทนราษฎรแล้ว แต่ต้องยับยั้งเพราะ
วุฒิสภาไม่เห็นชอบ สภาผู้แทนราษฎรอาจยกข้ึนพิจารณาใหม่ได้เมื่อใดร่างพระราชบัญญัติท่ีผ่านการ
พจิ ารณาเห็นชอบของสภาผู้แทนราษฎรแล้ว แต่ต้องยับยั้งเพราะวุฒิสภาไม่เห็นชอบ สภาผแู้ ทนราษฎรอาจ
ยกข้นึ พจิ ารณาใหม่ได้ ดังนี้
1) ร่างพระชาบญั ญตั ิท่เี ก่ียวกับการเงิน อาจยกข้ึนพิจารณาใหม่ไดท้ นั ที่
2) ร่างพระราชบัญญัติที่ไม่เกี่ยวกับการเงนิ อาจยกข้ึนพิจารณาใหม่ได้เมื่อพ้น 180 วัน นับแต่วันท่ี
วุฒสิ ภาส่งคนื มายังสภาผู้แทนราษฎร หรอื วันท่ีวฒุ ิสภาไม่เห็นชอบกบั รา่ งพระราชบญั ญัติท่ีคณะกรรมาธกิ าร
รว่ มกนั พจิ ารณา แลว้ แต่กรณี
6. การบัญญัติเป็นกฎหมายใช้บงั คับ
(1) พระมหากษัตริย์ทรงตราพระราชกำหนดข้ึนใช้บังคับได้ในกรณีใด พระมหากษัตริย์ทรงตราพระราช
กำหนดข้ึนใช้บังคับได้เม่ือคณะรัฐมนตรีเห็นว่าเป็นกรณีฉุกเฉินที่มีความจำเป็นรีบด่วนอันมิอาจหลีกเลี่ยงได้
เฉพาะเพ่ือประโยชน์ในอันท่ีจะรักษาความปลอดภัยของประเทศ ความปลอดภัยของสาธารณะ ความม่ันคงทาง
เศรษฐกิจของประเทศ หือป้องปัดภัยพิบัติสาธารณะ และในกรณีที่มีความจำเป็นต้องมีกฎหมายเก่ียวข้องด้วย
ภาษอี ากรหรือเงินตรา ซึง่ จะต้องได้รับการพิจารณาโดยดว่ นและลบั เพื่อรกั ษาประโยชน์ของแผ่นดนิ
(2) ร่างพระราชบัญญัติที่พระมหากษัตริย์ไม่ทรงเห็นชอบด้วยและไม่ทรงลงพระปรมาภิไธย อาจ
ประกาศใช้บังคับเป็นกฎหมายในกรณีใด หรือไม่ ร่างพระราชบัญญัติท่ีพระมหากษัตริย์ไม่ทรงเห็นชอบด้วย
และไม่ทรงลงพระปรมาภิไธย อาจประกาศใช้เป็นกฎหมายได้ เมื่อรัฐสภามีมติยืนยันตามเดิมด้วยคะแนน
เสยี งไม่นอ้ ยกว่า 2 ใน 3 ของจำนวนสมาชกิ ทง้ั หมดที่มีอยู่ของท้ังสองสภา
(3) พระราชกำหนดที่สภาผู้แทนราษฎรอนุมัติ แต่วุฒิสภาไม่อนุมัติ จะมีผลใช้บังคับได้ในกรณีใด
หรือไม่พระราชกำหนดท่ีสภาผู้แทนราษฎรอนุมัติ แต่วุฒิสภาไม่อนุมัติ มีผลใช้บังคับเป็นพระราชบัญญัติ
ตอ่ ไปได้เม่ือสภาผแู้ ทนยืนยันการอนุมตั ดิ ว้ ยคะแนนเสยี งมากกว่ากึ่งหนงึ่ ของจำนวนสมาชกิ ทัง้ หมดเทา่ ทีม่ อี ยู่
ของสภาผ้แู ทนราษฎร
7. หลกั ในการบัญญัติกฎหมาย
1. การบัญญัติกฎหมายจ้องคำนึงถึงความถูกต้อง คือ ถูกวิธีการ ถูกแบบ ถูกเนื้อหา ถูกหลักภาษา
และต้องเป็นธรรมแกท่ ุกฝา่ ยในสังคมด้วย
2. การบญั ญัติกฎหมายต้องคำนึงถงึ ความแนน่ อนในถอ้ ยคำและข้อความ โดยใหม้ คี วามชัดเจนและรัดกุม
282
3. การบัญญัติกฎหมายต้องคำนึงถึงความสมบูรณ์คือให้ได้สาระครบถ้วนครอบคลุมไม่ขาดตก
บกพร่อง สอดคล้องไม่ขดั กัน และเชื่อมโยงไมข่ าดตอน
4. การบัญญตั ิกฎหมายต้องคำนึงถึงความศักด์ิสิทธิ์ คือกฎหมายท่ีเป็นคำบงการ (Command) ให้ใครทำอะไร
ต้องให้มีสภาพบังคบั (Sanction) และต้องใหส้ ัมฤทธิผ์ ล คือใหไ้ ด้ผลบรรลจุ ดุ ประสงค์ในการตรากฎหมายฉบบั นัน้
5. การบัญญัตกิ ฎหมายต้องคำนงึ ถงึ ความนยิ มเกี่ยวกับลลี า ถ้อยคำ และการใช้ตัวเลขแทนตัวหนงั สือ
8. การบัญญัติกฎหมายให้ถูกต้องให้บอกข้อบกพร่องของข้อความในร่างกฎหมายดังต่อไปน้ี และ
แก้ไขให้ถกู หลกั ภาษา
(1) “กรรมการร่างกฎหมายให้แต่งตั้งจากผู้ทรงคุณวุฒิด้านกฎหมาย ซึ่งมีผลงานดีเด่นถูกยอมรับ
โดยวงการกฎหมาย” ข้อบกพร่องคือการใช้คำว่า “ถูก” ประกอบคำกริยาในประโยคกรรมวาจกที่ไม่มี
ความหมายในทางไม่ดีนั้น ไมเ่ ป็นท่ีนิยมในภาษากฎหมาย ในกรณนี ต้ี อ้ งใช้คำวา่ “เปน็ ท่”ี แทนคำวา่ “ถกู ”
(2) “คำขอนั้น ต้องระบุช่ือ อายุ และประวัติของผู้ขอ และเอกสารหลักฐานประกอบคำขอ”ข้อบกพร่อง
คือ ข้อความดังกล่าวมีคำว่า “ระบุ” เป็นคำกริยาร่วมของ 2 ประโยค เม่ืออ่านข้อความทั้งหมดแล้วจะได้ความว่า
“ต้องระบชุ อ่ื อายุ และประวัตขิ องผขู้ อ” ประโยคหนง่ึ และ “ตอ้ งระบเุ อกสารหลกั ฐานประกอบคำขอ” อีกประโยค
หนึ่ง ซ่ึงประโยคหลังนี้ผิดไปจากความมุ่งหมายที่จะให้ “ส่ง” หรือ “แนบ” เอกสารหลักฐานไม่ใช่เพียง “ระบุ”
เหมือนอยา่ งระบุพยานในการต่อสคู้ ดใี นศาล ควรแก้ให้ถกู ต้องและเหมาะสม เปน็ “ให้ผ้ขู อระบชุ ่อื อายุ และประวัติ
ของตนเองลงในคำขอ และสง่ (แนบ) เอกสารหลกั ฐานประกอบคำขอดว้ ย”
(3) “ผู้ผลิตสารระเหยต้องจัดให้มี “เครื่องหมาย” ท่ีภาชนะบรรจุสารระเหยเพ่ือเป็นคำเตือน หรือ
ข้อควรระวังใช้สารระเหยนั้น” ข้อบกพร่องคือ ใช้คำว่า “เครื่องหมาย” เป็นคำหลกั และใช้คำว่า “คำเตือน”
กับ “ข้อควรระวัง” เป็นคำขยาย ซ่ึงไม่สอดคล้องกันเพราะ “เคร่ืองหมาย” ไม่ได้เป็น “คำ” หรือ “ข้อ” จึง
ไม่ถูกหลักภาษา ถ้าจะให้ถูกต้องเปลี่ยนคำว่า “เคร่ืองหมาย” เป็น “ข้อความ” จึงจะสอดคล้องกัน เพราะ
“ขอ้ ความ” เป็น “คำ” ก็ได้ เป็น “ขอ้ ” กไ็ ด้
9. การบัญญัติกฎหมายให้แน่นอนให้บอกข้อบกพร่องของข้อความในร่างกฎหมายดังต่อไปน้ี และ
แก้ใหช้ ัดเจนและรัดกมุ
(1) “ให้นำพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน มาใช้บังคับแก่ข้าราชการกรุงเทพมหานคร
โดยอนโุ ลม” ข้อบกพรอ่ งคือ ใชค้ ำวา่ “พระราชบัญญตั ริ ะเบียบขอ้ ราชการพลเรอื น” ซ่ึงเป็นคำเฉพาะ โดยไม่
ระบุ พ.ศ. ท่ีตราพระราชบัญญัตฉิ บบั นั้นไม่ถกู ต้องเพราะไม่ชัดเจนว่าเป็นพระราชบัญญัติระเบยี บข้าราชการ
พลเรือนฉบับไหน เน่ืองจากพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือนมีการแก้ไขหลายฉบับ ต้องแกคำว่า
“พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน” เป็น “กฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการพลเรือน” ซึ่งเป็น
คำสามัญท่ีหมายถงึ ฉบบั ทใี่ ชอ้ ย่รู วมทัง้ ฉบบั แกไ้ ขเพิม่ เติมท่ีใช้อยูด่ ว้ ย
(2) “เทศบาลมีหน้าที่จัดให้มีและบำรุงรักษาสถานที่สำหรับการเล่นกีฬาและพลศึกษา”
ข้อบกพร่องคือ คำว่า “พลศึกษา” ซ่ึงหมายถึง “การสอนวิชาพละ” มาเขียน ให้เป็นหน้าที่ของเทศบาลท่ี
จะต้องจัดใหม้ ีและบำรงุ รักษารวมกับสถานทส่ี ำหรับการเล่นกฬี า จึงไม่ชดั เจนและไม่ตรงกับความมุ่งหมายท่ี
จะให้เทศบาลจัดให้มีและบำรุงรักษาสถานท่ีสำหรับออกกำลังกาย จึงต้องแก้เป็น “เทศบาลมีหน้าที่จัดให้มี
และบำรุงรักษาสถานที่สำหรับการเลน่ กีฬาและการออกกำลงั กาย (หรอื การบรหิ ารร่างกาย)”
(3) “ถ้าพยานหลักฐานยืนยันสอดคล้องกัน น่าเช่ือว่าผู้ถูกกล่าวหากระทำผิดวินัยอย่างร้ายแรง ให้
สั่งลงโทษไล่ออกหรือปลดออก” ข้อบกพร่องคือ ไม่รัดกุม เพราะคำว่า “น่าเชื่อ” ยังอยู่ในลักษณะมีมลทิน
หรอื มัวหมอง ยงั ฟังไม่ไดว้ ่า กระทำผิดทีจ่ ะถูกลงโทษไล่ออกหรอื ปลดออก ถ้ามพี ยานหลักฐานยืนยนั แนน่ อน
ก็ตอ้ ง เช่ือได้” ไมใ่ ช่ “น่าเชอื่ ” จงึ ตอ้ งแก้เป็น “ถา้ มีพยานหลกั ฐานยืนยันสอดคลอ้ งกัน ฟังไดว้ ่าผ้ถู กู กลา่ วหา
กระทำผิดวนิ ัยอยา่ งร้ายแรง ให้สัง่ ลงโทษไลอ่ อกหรือปลดออก”