95
11. ธมั มวรรค คอื หมวดธรรม
ธมฺโม รหโท อกทฺทโม. ธรรมเหมือนห้วงน้ำไม่มีตม. ขุ. ชา. ฉกฺก. 27/202. มโนปุพฺพงฺคมา ธมฺมา. ธรรม
ท้ังหลาย มีใจเป็นหัวหน้า. ขุ. ธ. 25/15. ธมฺโม หิ อิสินํ ธโช. ธรรมแล เปนธงชัยของพวกฤษี. สํ. นิ. 16/26. องฺ.
จตุกฺก. 21/66. ขุ. ชา. อสีติ. 28/152. สตํ ธมฺโม ทุรนฺวโย. ธรรมของสัตบุรุษ รูได้ยาก. สํ. ส. 15/26. ขุ. ชา. ทุก.
27163. ข.ุ ชา. ทสก. 271294. สต จฺ ธมฺโม น ชรํ อุเปต.ิ ธรรมของสัตบรุ ุษ ไม่เขา้ ถึงความคร่ำครา่ . สํ. ส. 15/102.
ขุ. ธ. 25/35. ขุ. ชา. อสีต.ิ 28/136. สทฺธมฺโม สพภฺ ิ รกขฺ ิโต. ธรรมของสัตบุรษุ อันสัตบรุ ุษรักษา. ท.ี มหา. 10/279.
ธมโฺ ม สุจณิ ฺโณ สขุ มาวหาติ. ธรรมท่ปี ระพฤติดแี ลว นําสุขมาให. ส.ํ ส. 15/58. ขุ. สุ. 25/360. ขุ. ชา. ทสก. 2จ/290.
ขุ. เถร. 26/314. สพฺเพสํ สหิโต โหติ สทฺธมฺเม สุปติฏฐิโต. ผู้ตั้งม่ันในสัทธรรม เป็นผูเกื้อกูลแกคนท้ังปวง. องฺ. อฏ
ฐก. 23/249.
12. ปกิณณกวรรค คือ หมวดเบ็ดเตลด็
อฏฐงคฺ ิโก จ มคคฺ านํ เขมํ อมตคามนิ .ํ บรรดาทางทง้ั หลาย ทางมอี งค์ 8 เป็นทางเกษม ให้ถึงอมตธรรม. ม.
ม. 13/281. ยงฺกิ ฺจิ สมุทยธมฺมํ สพฺพนฺตํ นิโรธธมฺมํ. ส่ิงใดส่งิ หน่ึงมีความเกิดขึ้นเปนธรรมดา สิ่งนั้นลวนมี ความ
ดับไปเป็นธรรมดา. ส.ํ มหา. 19/531. ยงฺกิ จฺ ิ สมทุ ยธมฺมํ สพฺพนฺตํ นิโรธธมมฺ ํ. สงิ่ ใดสงิ่ หนึง่ มีความเกิดข้ึนเปนธรรม
ดา สง่ิ นนั้ ลวนมีความดบั ไปเปนธรรมดา. สํ. มหา. 19/531.
13. ปญญาวรรค คือ หมวดปญญา
นตถฺ ิ ป ฺญาสมา อาภา. แสงสวางเสมอด้วยปญั ญา ไมม.ี ส.ํ ส. 15/9. ป ญา โลกสมฺ ิ ปชฺโชโต. ปัญญาเป็น
แสงสว่างในโลก. สํ. ส. 15/61. โยคา เว ชายตี ภูริ. ปัญญาย่อมเกิดเพราะความประกอบ. ขุ. ธ. 25/52. อโยคา ภู
รสิ งขฺ โย. ความสิ้นปัญญาย่อมเกิดเพราะความไม่ประกอบ. ขุ. ธ. 25/52. สุโข ปญฺญาปฏิลาโภ. ความได้ปญั ญา ให
เกดิ สขุ . ขุ. ธ. 25/59.
14. ปมาทวรรค คือ หมวดประมาท75
ปมาโท มจฺจุโน ปทํ. ความประมาท เป็นทางแห่งความตาย. ขุ. ธ. 25/18. ขุ. ชา. ตึส. 27/524. ปมาโท
รกฺขโต มลํ. ความประมาท เป็นมลทินของผู้รักษา. องฺ. อฏฐก. 23/198. ขุ. ธ. 25/47. ปมาโท ครหิโต สทา. ความ
ประมาท บณั ฑิตติเตยี นทกุ เมือ่ . ขุ. ธ. 25/19.
15. ปาปวรรค คอื หมวดบาป
มาลา เว ปาปกา ธมฺมา อสฺมึ โลเก ปรมฺหิ จ. บาปธรรมเป็นมลทินแท ท้ังในโลกน้ี ทั้งในโลกอ่ืน. องฺ. อฏ
ฐก. 23/198. ขุ. ธ. 25/47. ทุกโฺ ข ปาปสสฺ อจุ จฺ โย. ความสั่งสมบาป นาํ ทกุ ข์มาให้. ขุ. ธ. 25/30. ปาปานํ อกรณํ สุขํ.
การไมทําบาป นําสุขมาให้. ขุ. ธ. 25/59. ปาป ปาเปน สุกรํ. ความช่ัวอันคนชวั่ ทาํ งาย. วิ. จลุ . 7/195. ขุ. อ.ุ 25/168.
ปาเป น รมตี สุจิ. คนสะอาดไม่ยนิ ดีในความช่ัว. วิ. มหา. 5/34. ขุ. อ.ุ 25/166.
16. ปุคคลวรรค คอื หมวดบุคคล
สาธุ โข ปณฺฑิโต นาม. ชื่อวาบัณฑิตยอมทาํ ประโยชนใหสาํ เร็จได้แล. อ. ส. 15/309. ขุ. ชา. เอก. 27/32.
ปณฺฑิโต สีลสมฺปนฺโน ชลํ อคฺคีว ภาสติ. บัณฑิตผู้สมบูรณ์ดวยศีล ยอมรุงเรืองเหมือนไฟสว่าง. ที. ปาฏิ. 11/202.
อนตฺถํ ปริวชฺเชติ อตฺถํ คณฺหาติ ปณฺฑิโต. บัณฑิตย่อมเว้นสิ่งที่ไม่เป็นประโยชน์ ถือเอาแตส่ิงที่เปน ประโยชน์. องฺ.
75 เรอ่ื งเดยี วกนั .
96
จตุกกฺ . 21/59. อนิ ทฺ รฺ ิยานิ รกฺขนฺติ ปณฑฺ ิตา. บณั ฑติ ยอมรกั ษาอินทรยี . ท.ี มหา. 10/288. สํ. ส. 15/37. น อุจฺจาวจํ
ปณฺฑิตา ทสฺสยนฺติ. บัณฑิตยอมไมแสดงอาการข้นึ ลง. ขุ. ธ. 25/26
17. ปุญญวรรค คอื หมวดบญุ
ปุ ญํ โจเรหิ ทหู ร.ํ บุญอันโจรนาํ ไปไม่ได้. สํ. ส. 15/50. ปุญฺ ฺํ สุขํ ชวี ติ สงขฺ ยมหฺ .ิ บญุ นาํ สุขมาให้ในเวลา
สิน้ ชวี ิต. ข.ุ ธ. 25/59. สุโข ปุ ญสฺส อุจจฺ โย. ความสั่งสมขึ้นซ่ึงบุญ นาํ สุขมาให้. ขุ. ธ. 25/30. ปุ ญานิ ปรโลกสฺมึ
ปติฏฐา โหนตฺ ิ ปาณิน.ํ บุญเป็นท่พี ง่ึ ของสตั วในโลกหนา. ส.ํ ส. 15/26. องฺ. ป จฺ ก. 22/44. ข.ุ ชา. ทสก. 27/294. ปุ
ญานิ กยิราถ สุขาวหาน.ิ ควรทาํ บญุ อนั นําสขุ มาให. สํ. ส. 15/3. องฺ. ติก. 20/198.
18. มัจจุวรรค คือ หมวดมฤตยู
สพฺพํ เภทปริยนฺตํ เอวํ มจฺจาน ชีวิตํ. ชีวิตของสัตว์เหมือนภาชนะดิน ซึ่งลวนมีความสลาย เป็นท่ีสุด. ที.
มหา. 10/141. ข.ุ สุ. 25/448. ขุ. มหา. 29/145. อปฺปก จฺ ทิ ํ ชีวิตมาหุ ธีรา. ปราชญ์กล่าววาชีวิตน้ีนอยนัก. ม. ม.
13/412. ขุ. สุ. 25/485. ขุ. เถร. 26/378. น หิ โน สงฺครนฺเตน มหาเสเนน มจฺจุนา. ความผัดเพี้ยนกับมฤตยูอันมี
กองทัพใหญ่นั้น ไม่ได้เลย. ม. อุ. 14/348. ขุ. ชา. มหา. 28/165. ชรูปนีตสสฺ น สนฺติ ตาณา. เม่ือสัตว์ถกู ชรานําเข้า
ไปแล้ว ไม่มผี ู้ปอ้ งกนั . สํ. ส. 15/3. องฺ. ติก. 20/198. ข.ุ ชา. วสี . 27/416. น มยิ ยฺ มานสฺส ภวนตฺ ิ ตาณา. เมอื่ สัตวจะ
ตาย ไมมผี ูปองกัน. ม. ม. 13/412. ข.ุ เถร. 26/378.
19. มติ ตวรรค คือ หมวดมิตร76
สตฺโถ ปวสโต มิตฺตํ. หมูเกวียน (หรือต่าง) เปนมิตรของคนเดินทาง. สํ. ส. 15/50. มาตา มิตฺตํ สเก ฆเร.
มารดาเป็นมิตรในเรือนของตน. สํ. ส. 15/50. สหาโย อตฺถชาตสฺส โหติ มิตฺตํ ปุนปฺปุนํ. สหาย เป็นมิตรของคนมี
ความตองการเกิดข้ึนเนอื ง ๆ. สํ. ส. 15/51. สพฺพตถฺ ปชู โิ ต โหติ โย มติ ฺตานํ น ทพุ ภฺ ติ. ผู้ไม่ประทษุ รายมติ ร ยอมมีผู้
บชู าในท่ีทงั้ ปวง. ขุ. ชา. นวก. 27/54. สพฺเพ อมิตฺเต ตรติ โย มิตฺตานํ น ทุพภฺ ต.ิ ผู้ไม่ประทุษรายมิตร ย่อมผานพ้น
ศัตรูทั้งปวง. ข.ุ ชา. นวก. 27/155.
20. ยาจนาวรรค คือ หมวดขอ
น เว ยาจนตฺ ิ สปฺป ฺญา. ผู้มีปัญญาย่อมไมข่ อเลย. ขุ. ชา. สตตฺ ก. 27/220. ยาจโก อปฺปโย โหติ. ผู้ขอยอม
ไมเ่ ป็นที่รกั (ของผู้ถูกขอ). วิ. มหาวิภงฺค. 1/3377. ขุ. ชา. สตฺตก. 27/220. ยาจํ อททมปฺปโย. ผูถกู ขอเมื่อไมใหส่ิงที่
เขาขอ ย่อมไม่เป็นที่รัก (ของผูขอ). วิ. มหาวิภงฺค. 1/337. ขุ. ชา. สตฺตก. 29/220. เทสฺโส จ โหติ อติยาจนาย. คน
ย่อมเปนท่ีเกลียดชังเพราะขอจัด. วิ. มหาวภิ งฺค. 1/334. ขุ. ชา. ตกิ . 27/100. น ตํ ยาเจ ยสฺส ปยํ ชิคเึ ส. ไม่ควรขอ
สิ่งท่ีรวู ่าเป็นท่ีรักของเขา. วิ. มหาวภิ งคฺ . 1/334. ขุ. ชา. ติก. 27/100.
21. ราชวรรค คือ หมวดพระราชาราชา
รฏฐสฺส ปญฺญาณํ. พระราชา เปนเคร่ืองปรากฏของแว่นแคว้น. สํ. ส. 15/57. ราชา มุขํ มนุสฺสานํ.
พระราชา เปนประมุขของประชาชน. วิ. มหา. 5/124. ม. ม. 13/556. ขุ. ส. 25/446. สพฺพํ รฏฐํ สุขํ โหติ ราชา เจ
โหติ ธมมฺ ิโก. ถ้าพระราชาเปนผู้ทรงธรรม ราษฎรทั้งปวงก็เป็นสขุ . อง.ฺ จตตุ ก. 21/99. ขุ. ชา. จตุกกฺ . 27/152. กุทธฺ ํ
อปปฺ ฏกิ ชุ ฺฌนฺโต ราชา รฏฐสสฺ ปชู โิ ต. พระราชาผไู้ ม่กร้วิ ตอบผูโกรธ ราษฎรกบ็ ชู า. ข.ุ ชา. จตุกฺก. 27/187. สนฺนทฺโธ
ขตฺตโิ ย ตปต.ิ พระมหากษตั ริยทรงเคร่อื งรบ ยอมสงา. สํ. นิ. 16/331. ขุ. ธ. 25/67.
76 เรื่องเดียวกัน.
97
22. วาจาวรรค คือ หมวดวาจา
หทยสสฺ สทิสี วาจา. วาจาเชนเดียวกบั ใจ. ข.ุ ชา. เอก. 27/138. โมกโฺ ข กลยฺ าณยิ า สาธ.ุ เปล่งวาจางาม ยงั
ประโยชน์ใหส้ ําเร็จ. ข.ุ ชา. เอก. 27/28. มตุ ฺวา ตปปฺ ติ ปาปกํ. คนเปล่งวาจาชั่ว ยอมเดือดร้อน. ขุ. ชา. เอก. 27/28.
ทฏุ ฐสสฺ ผรุสา วาจา. คนโกรธมีวาจาหยาบ. ข.ุ ชา. ทสก. 27/273.
23. วริ ิยวรรค คอื หมวดเพยี ร
กาลาคต ฺจ น หาเปติ อตฺถํ. คนขยัน ย่อมไม่พราประโยชนซ่ึงถึงตามกาล. ขุ. ชา. ฉกฺก. 27/195. วิรเิ ยน
ทกุ ฺขมจฺเจต.ิ คนลวงทุกขไดเพราะความเพียร. ขุ. สุ. 25/361. ปฏิรูปการี ธรุ วา อุฏฐาตา วนิ ฺทเต ธนํ. คนมีธรุ ะหมั่น
ทําการงานใหเหมาะเจาะ ย่อมหาทรัพย์ได้. สํ. ส. 15/316. ขุ. สุ. 25/361. อกิลาสุ วินฺเท หทยสฺส สนฺตึ. คนไม่
เกียจคราน พงึ ไดความสงบใจ. ขุ. ชา. เอก. 27/1.
24. เวรวรรค คอื หมวดเวร77
เย เวรํ อุปนยฺหนฺติ เวรํ เตสํ น สมฺมติ. เวรของผู้จองเวร ยอมไม่ระงับ. นัย-ม. อุป. 14/297. นัย-ขุ. ธ.
25/15. นัย-ขุ. ชา. ป จฺ ก. 27/182. เย เวรํ นูปนยฺหนฺติ เวรํ เตสูปสมฺมติ. เวรของผู้ไม่จองเวร ย่อมระงับได้. นัย-ม.
อุป. 14/297. นัย-ขุ. ธ. 25/15. นัย-ขุ. ชา. ป ฺจก. 27/182. อเวเรน จ สมฺมนฺติ. เวรย่อมระงับด้วยไมมเี วร. ว.ิ มหา.
5/336. ม. อุป. 14/297. ขุ. ธ. 25/15. ขุ. ชา. ป ฺจก. 27/182. น หิ เวเรน เวรานิ สมมฺ นฺตีธ กุทาจนํ. ในกาลไหน ๆ
เวรในโลกนีย้ ่อมระงบั ดวยเวรไมไ่ ด้เลย. ว.ิ มหา. 5/336. ม. อุป. 14/297. ข.ุ ธ. 25/15. ข.ุ ชา. ป จฺ ก. 27/182.
25. สจั จวรรค คอื หมวดความสตั ย
สจฺจํ หเว สาธุตรํ รสาน.ํ ความสัตย์น่นั แล ดีกวารสท้ังหลาย. สํ. ส. 15/58. ข.ุ ชา. 25/360. สจจฺ ํ เว อมตา
วาจา. คําสัตย์แล เป็นวาจาไม่ตาย. สํ. ส. 15/278. ขุ. เถร. 26/434. สจฺเจน กิตฺตึ ปปฺโปติ. คนได้เกียรติ (ช่ือเสียง)
เพราะความสัตย์. ส.ํ ส. 15/316. ขุ. สุ. 25/361. สจฺเจน อตฺเถ จ ธมฺเม จ อหุ สนฺโต ปติฏฐติ า. สัตบุรุษได้ต้ังมั่นใน
ความสัตย์ท่ีเป็นอรรถและเป็นธรรม. สํ. ส. 15/278. ข.ุ ส.ุ 25/412. ข.ุ เถร. 26/434. สจจฺ มนุรกฺเขยฺย. พึงตามรกั ษา
ความสัตย. ม. อุป. 14/436.
26. สตวิ รรค คอื หมวดสติ
สติ โลกสฺมึ ชาคโร. สตเิ ปนธรรมเครอื่ งตื่นอยูในโลก. สํ.ส. 15/61. สติ สพพฺ ตถฺ ปตถฺ ิยา. สตจิ าํ ปรารถนาใน
ที่ทง้ั ปวง. ว.ว. สติมโต สทา ภทฺท.ํ คนผู้มสี ติ มคี วามเจรญิ ทกุ เม่ือ. ส.ํ ส. 15/306. สติมา สุขเมธติ. คนมีสติ ย่อมไดรบั
ความสุข. ส.ํ ส. 15/306. สติมโต สเุ ว เสยฺโย. คนมสี ติ เป็นผู้ประเสรฐิ ทกุ วนั . ส.ํ ส. 15/306.
27. สทั ธาวรรค คือ หมวดศรัทธา
สทฺธา พนฺธติ ปาเถยฺยํ. ศรัทธารวบรวมไว้ซึง่ เสบยี ง (คอื กุศล). สํ. ส. 15/61. สทธฺ า สาธุ ปติฏฐติ า. ศรัทธา
ตง้ั มนั่ แล้ว ยงั ประโยชน์ใหสําเร็จ. สํ. ส. 15/50. สุขา สทธฺ า ปติฏฐติ า. ศรัทธาต้ังมัน่ แล้ว นําสุขมาให้ ขุ. ธ. 25/59.
สทฺธีธ วิตฺตํ ปุริสสฺส เสฏฐํ. ศรทั ธาเป็นทรัพย์ประเสริฐของคนในโลกน้ี. สํ. สํ. 15/58. ขุ. สุ. 25/360. สทฺธา ทุติยา
ปรุ สิ สฺส โหต.ิ ศรทั ธาเป็นเพื่อนสองของคน. ส.ํ ส. 15/35, 52.
29. สมณวรรค คือ หมวดสมณะ
77 เร่อื งเดยี วกัน.
98
สมณธี อรณา โลเก. สมณะในศาสนานี้ ไม่เป็นขาศกึ ในโลก. ส.ํ ส. 15/61. น หิ ปพพฺ ชิโต ปรูปฆาตี สมโณ
โหติ ปรํ วิเหฐยนฺโต. บรรพชิตฆาผูอ่ืนเบียดเบียนผู้อ่ืน ไม่เปนสมณะเลย. ที. มหา. 10/57. ขุ. ธ. 25/40. อส ฺญโต
ปพฺพชิโต น สาธ.ุ บรรพชิตผู้ไม่สํารวม ไมด.ี ข.ุ ชา. วสี . 27/446. อเปโต ทมสจเฺ จน น โส กาสาวมรหติ. ผู้ปราศจาก
ทมะและสัจจะ ไม่ควรครองผากาสาวะ. ขุ. ธ. 25/16. ขุ. ชา. ทุก. 27/83. ขุ. เถร. 26/400. อุเปโต ทมสจฺเจน ส เว
กาสาวมรหติ. ผูประกอบดวยทมะและสัจจะน้ันแล ควรครองผากาสาวะ. ขุ. ธ. 25/16. ขุ. ชา. ทุก. 27/83. ขุ. เถร.
26/400.
30. สามัคคีวรรค คอื หมวดสามคั คี78
สุขา สงฺฆสฺส สามคฺคี. ความพร้อมเพรียงของหมู ใหเกิดสุข. ขุ. ธ. 25/41. ขุ. อิติ. 25/238. องฺ. ทสก.
24/80. สมคฺคานํ ตโป สุโข. ความเพียรของผู้พรอมเพรยี งกัน ใหเกิดสุข. ขุ. ธ. 25/41. สพฺเพสํ สงฆฺ ภูตานํ สามคฺคี
วฑุ ฺฒสิ าธิกา. ความพรอ้ มเพรียงของปวงชนผูเป็นหมู่ ยังความเจรญิ ให้สาํ เร็จ. ส. ส.
31. สีลวรรค คอื หมวดศลี
สลี ํ ยาว ชรา สาธ.ุ ศลี ยังประโยชน์ใหสาํ เร็จตราบเทาชรา. ส.ํ ส. 15/50. สขุ ํ ยาว ชรา สีล.ํ ศีลนําสุขมาให้
ตราบเท่าชรา. ขุ. ธ. 25/59. สีลํ กิเรว กลฺยาณํ. ทานวาศีลนั่นเทียว เปนความดี. ขุ. ชา. เอก. 27/28. สีลํ โลเก
อนุตฺตรํ. ศีลเป็นเยี่ยมในโลก. ขุ. ชา. เอก. 27/28. สํวาเสน สีลํ เวทิตพฺพํ. ศีลพึงรู้ได้เพราะอยู่รวมกัน. นัย-ขุ. อุ.
25/178.
32. สขุ วรรค คอื หมวดสขุ
สพพฺ ตถฺ ทกุ ขฺ สฺส สุขํ ปหาน.ํ ละเหตุทกุ ข์ได้ เป็นสุขในท่ีทั้งปวง. ขุ. ธ. 25/59. อพฺยาปชฺฌํ สุขํ โลเก. ความไม่
เบียดเบียน เป็นสุขในโลก. วิ. มหา. 4/6. ขุ. อุ. 25/86. เตสํ วูปสโม สุโข. ความสงบระงับแห่งสังขารน้ัน เป็นสุข. สํ. ส.
15/8. ขุ. ชา. เอก. 27/31. นตฺถิ สนตฺ ิปรํ สขุ ํ. ความสขุ (อ่ืน) ยง่ิ กวาความสงบ ไม่มี. ขุ. ธ. 25/42.
33. เสวนาวรรค คอื หมวดคบหา
วิสฺสาสา ภยมนฺเวติ. เพราะความไว้ใจ ภัยจึงตามมา. ขุ. ชา. เอก. 27/30. อติจิรํ นิวาเสน ปโย ภวติ
อปปฺ โิ ย. เพราะอยู่ดวยกันนานเกินไป คนท่ีรกั กม็ ักหนาย. ขุ. ชา. เตรส. 27/347. ยํ เว เสวติ ตาทิโส. คบคนใด ก็เป็น
เชนคนนั้นแล. ว. ว. เอกรตฺตํ ทฺวิรตฺตํ วา ทุกฺขํ วสติ เวริสุ. อยู่ในพวกไพรีคืนเดียวหรือสองคืน ก็เป็นทุกข์. ขุ. ชา.
เอก. 27/34. ทุกโฺ ข พาเลหิ สํวาโส อมิตเฺ ตเนว สพพฺ ทา. อยู่รวมกบั พวกพาล นาํ ทุกขม์ าให้เสมอไปเหมือนอยู่รวมกับ
ศัตร.ู ข.ุ ธ. 25/42.
สโุ ข หเว สปฺปุริเสน สงคฺ โม. สมาคมกับสตั บุรุษ นําสุขมาให้. ขุ. ชา. ทุก. 27/55. นิหียติ ปุริโส นิหีนเสวี.
ผู้คบคนเลว ยอมเลวลง. องฺ. ติก. 20/158. ทุกฺโข พาเลหิ สงฺคโม. สมาคมกับคนพาล นําทุกขมาให้. ขุ. ชา. นวก.
27/265. น สงคฺ โม ปาปชเนน เสยฺโย. สมาคมกบั คนช่ัว ไมดีเลย. ข.ุ ชา. ทุก. 27/61. ภทโฺ ท สปฺปุรเิ สหิ สงคฺ โม. การ
สมาคมกับคนดี เป็นความเจริญ. ข.ุ เถร. 26/405.
ในหนังสอื ของ อาจารย์แสง จันทรง์ าม ผู้เขยี นสรปุ ไดด้ ังน้ี79
78 เรื่องเดยี วกัน.
79 แสง จันทร์งาม และคณะ. พระไตรปิฎกสำหรับผู้บวชใหม่และชาวพุทธทั่วไป. พิมพ์คร้ังท่ี 2 .
กรงุ เทพมหานคร : เจริญวทิ ย์การพิมพ,์ 2553. หน้า 813-946.
99
1.ยมกวรรค-หมวดธรรมคู่ 14 เร่ือง 20พระคาถา
1. เร่อื งพระจกั ขบุ าล : พระจกั ขุบาลทำความเพียรหนกั จนตาบอด บรรลุธรรมเป็นพระอรหนั ต์ เม่อื เดินจง
กลมก็เหยียบแมลงตายเกลื่อน ภิกษุอื่นไปเห็นเข้าก็กล่าวโทษว่าท่านฆ่าสัตว์ เป็นความผิด พระพุทธองค์ตรัสว่า
พระจักขุบาลเป็นพระอรหันต์ย่อมไม่มีเจตนาในการฆ่าสัตว์ ทรงเล่าถึงบุพกรรมของพระจักขุบาลว่า เคยเกิดเป็น
หมอรกั ษาตา ทำใหต้ าเขาบอด(พระคาถาที่ 1 ตรัสแกภ่ กิ ษุทั้งหลายท่ีกรงุ สาวัตถี)
2. ส่ิงทง้ั ปวงมใี จเป็นผนู้ ำ มีใจเปน็ ผ้ใู หญ่ ทุกสิง่ สำเรจ็ ได้ด้วยใจ เมื่อใจช่ัวเสยี แลว้ จะพดู จะทำสงิ่ ใดทขุ ์ยอ่ ม
ตามติด เหมอื นลอ้ ท่หี มนุ ไปตามรอยโค
3. เรื่องมัฏฐกุณฑลี : มัฏฐกุณฑาลีเป็นบุตรเศรษฐี เศรษฐีเป็นคนตระหน่ี เม่ือมัฏฐกุณฑลีป่วยหนัก ก็
ปล่อยให้ตาย เพราะกลวั สิ้นเปลืองคา่ รักษา พระพุทธองค์เสด็จไปปรากฎพระองคใ์ หม้ ฏั ฐกุณฑาลีเห็นกอ่ นตาย เขา
เกิดความเลื่อมใส ตายไปเกดิ ในดาวดงึ สด์ ้วยจิตทเ่ี ล่ือมใสน้นั (พระคาถาที่ 2 ตรัสแก่ชาวสาวัตถี)
4. สิ่งท้ังปวงมีใจเปน็ ผู้นำ มีใจเป็นใหญ่ เม่ือใจบรสิ ุทธ์แิ ล้วจะพูดหรือจะทำสิ่งใด สุขย่อมตามติด เหมือน
เงาตามตวั
5. เรอื่ งพระติสสะ พระติสสะเป็นโอรสพระปิตุจฉา(ลุง)ของพระพุทธองคบ์ วชเข้ามาก็ถือดวี ่าตนเป็นพระ
ญาติของพระพุทธองค์ ไม่ปฏบิ ัติต่อพระเถระให้สมควรแก่อายุพรรษา เมือ่ ถูกตักเตือนก็โต้เถยี ง พระพุทธองค์ทรง
ให้ขอโทษก็ไม่ยอม ทรงเล่าอดชี าตขิ องพระติสสะใหภ้ ิกษทุ งั้ หลายฟงั ท่ีวัดเชตวัน(ก่อนตรสั สอนดว้ ยพระคาถาท่ี 3-4
ในเรื่องน้ี)
6. คนทผี่ กู ใจเจ็บวา่ เขาด่าเรา เขาทำร้ายเรา เขาเอาชนะเรา เขาเอาของของเราไป เวรของผู้น้นั ย่อมไม่ระงับ
7. คนท่ไี ม่ผูกใจเจ็บ ว่าเขาดา่ เรา เขาทำร้ายเรา เขาเอาชนะเรา เขาเอาของ ของเราไป เวรของผู้นนั้ ยอ่ มระงบั
8. เรื่องคู่เวร (นางกาลียักษณิ ี) คเู่ วรฝ่ายหน่ึงถูกคู่เวรอกี ฝ่ายฆ่าลกู ในทอ้ ง เป็นเหตใุ ห้ผกู อาฆาตพยาบาท
กนั ขา้ มภพขา้ มชาติ เกิดการจองเวรกนั หลายภพหลายชาติ สดุ ท้ายฝา่ ยหนึงเกดิ เป็นหญงิ ในกรงุ สาวัตถี อกี ฝ่ายหน่ึง
เกิดเป็นยักษิณีพยายามไล่ล่าเพ่ือกินลูกน้อยของคู่เวร หญิงคู่เวรพาลูกเข้าไปขอพ่ึงพระพุทธองค์ในวัดเชตวัน
ยักษิณีทำอะไรไมไ่ ด้(พระพทุ ธองคท์ รงสอนทงั้ ค่ดู ว้ ยพระคาถาที่ 5)
9. โลกนี้ไม่ว่ายุคสมัยใด เวรไม่มีการระงับด้วยการจองเวร มีแต่ระงับด้วยการไม่จอง เวรน้ีเป็น
ธรรมดาอันลงตวั
10. เรอื่ งภิกษุชาวโกสัมพี ภกิ ษุชาวโกสัมพีเกิดความแตกแยกกันด้วยเร่อื งวินยั สงฆ์ที่เห็นไม่ตรงกัน พระ
พทุ ธองค์ทรงตักเตือนอย่างไรก็ไม่ยอมเช่ือฟงั จึงปลีกพระองค์ไปอยปู่ ่าเพียงลำพัง เม่ือประชาชนรวู้ ่าสาเหตุมาจาก
ภกิ ษสุ องฝ่ายน้ี จึงงดทำบุญตักบาตรกับภกิ ษุเหล่าน้นั ในท่ีสดุ ภกิ ษทุ ั้งสองฝ่ายสำนึกได้ ไปขอขมาพระพทุ ธองค์ถึง
วัดเชตวัน(พระพทุ ธองค์ตรัสสอนภิกษชุ าวโกสมั พดี ้วยพระคาถาท่ี 6
11. ผู้คนท่ัวไปไม่รู้ว่าตนกำลังย่อยยับ เพราะการทะเลาะเบาะแว้ง ส่วนผู้เข้าใจเร่ืองน้ีดี ย่อมไม่ทะเลาะ
เบาะแว้งกัน80
12. เรื่องภกิ ษุสองพี่นอ้ ง (จุลกาล-มหากาล) พ่อค้าสองพี่น้อง ผู้พี่มีช่ือมหากาล ผู้น้องชื่อ จุลกาล มหา
กาลได้ฟังพระพุทธองค์ทรงแสดงธรรมที่วัดเชตวัน เกิดความเลื่อมใสจึงชวนน้องชายออกบวช น้องชายบวชด้วย
80 เร่ืองเดยี วกัน.
100
ความจำใจ สุดท้ายก็ออกสึกด้วยเล่ห์กลของภรรยา ส่วนมหากาลสำเร็จเป็นพระอรหันต์ด้วยการไปเพ่งพิจารณา
ซากศพในป่าช้า พวกภรรยาเก่าไม่สามารถทำให้ท่านสึกได้(พระคาถาท่ี7-8 ตรัสสอนภิกษุทั้งหลายที่ป่าประดุ่ลาย
เมืองเสตพั ยะ)
13. บุคคลท่มี ารทำลายได้ คือคนรกั สวยรักงาม ไม่สำรวมอินทรยี ์ ไม่รู้ประมาณในการบริโภค เกยี จคร้าน
และเหลาะแหละเหมือนต้นไม้อ่อนแรงต้าน เจอลมพัดโคน่
15. บุคคลท่ีมารทำลายไม่ได้คือ คนที่ไม่หมกมุ่นอยู่กับความสวยความงาม สำรวมอนิ ทรีย์ รู้ประมาณใน
การบริโภค มีความเช่อื มนั่ ศรัทธา ขยนั หม่ันเพยี ร เหมือนภผู าทีล่ มพดั โค่นแตไ่ มไ่ ด้
16. เรือ่ งพระเทวทัต ครั้งหน่ึง มีการชกั ชวนทำบุญถวายภัตตาหารแกภ่ ิกษุครัง้ ใหญ่ กุฏุมพีคนหน่ึงได้ผ้า
เน้ือดีมาจากแคว้นคันธาระ ขอมติชาวเมืองว่า ควรจะถวายท่านรูปใดดีระหว่างพระสารีบุตรกับพระเทวทัต ในที่
สุดเสียงข้างมากมีมติให้ถวายแก่พระเทวทัต แต่เม่ือพระเทวทัตทำผ้าน้ันเป็นจีวรครองกาย ก็มีเสียงโจมตีว่าพระ
เทวทัตไมค่ ู่ควรกบั จีวรน้ัน พระพทุ ธองค์ทรงเลา่ ถึงอดตี ชาติของพระเทวทัตเมื่อเกิดเป็นนายพราน ได้ขโมยจีวรของ
พระปัจเจกพุทธเจ้ามาห่ม เพ่ือให้โขลงช้างคิดว่าตัวเองเป็นพระแล้วฆ่าได้งา่ ยๆ(พระคาถาที่ 9-10 ตรัสแก่ภิกษุรูป
หนึ่งทน่ี ำเรือ่ งพระเทวทัตไปทลู รายงานทีว่ ัดเชตวัน)81
18. คนท่ีไมม่ ีการขม่ ใจ ไรส้ ัตย์ มีกเิ ลสครองใจ ถึงจะห่มกาสาวพัสตร์ กไ็ มค่ ูค่ วร
19. ผ้ใู ดคลายกเิ ลส(ราคะ) ต้งั มนั่ อยู่ในศีล รจู้ กั ขม่ ใจ และมีสัตย์ ผู้นน้ั ย่อมคูค่ วรแก่กาสาวพัสตร์
8.เรอื่ งสญั ชัยปารพิ าชก สัญชัยเป็นเจา้ สำนักปาริพาชก มีอุปติสสะ(สารบี ุตร)และโกลิตะ(โมคคัลลนะ)เป็นศิษย์เอก
ทั้งสองไปบวชเป็นพุทธสาวก ต่อมาพระพุทธองค์ทรงแต่งต้ังไว้ในตำแหน่งพระอัครสาวกเบ้ืองซ้าย ท่านท้ังสอง
ชวนสัญชัยไปเป็นสาวกของพระพทุ ธองคด์ ว้ ยกัน แต่สญั ชัยปฏิเสธเพราะยดึ ม่นั ในมจิ ฉาทิฏฐิ เหน็ ถกู เปน็ ผดิ เห็นผิด
เป็นถูก (พระคาถาท่ี 11-12 พระพุทธองค์ตรสั สอนพระอัครสาวกและภกิ ษุทั้งหลายทว่ี ดั เวฬุวัน)
20. ผู้ใดเห็นว่าสิ่งไร้สาระว่ามีสาระ เห็นส่ิงมีสาระว่าไร้สาระ ผู้นั้นมีความคิดนึกท่ีผิด จะไม่ประสบส่ิงมี
สาระได้เลย
21. ผู้ทรี่ วู้ ่าอะไรเป็นสาระไม่เปน็ สาระ มีความนึกคิดทถ่ี กู ตอ้ ง ยอ่ มได้สิ่งทเ่ี ป็นสาระ
22. เรื่องพระนันทะ (พุทธอนุชา) เจ้าชายนันทะเป็นโอรสของพระเจ้าสุทโธทนะกับพระนางมหาปชาบดี
โคตมี จึงเป็นพุทธอนุชาต่างพระมารดา ออกผนวชด้วยความจำใจ ตัดความอาลัยอาวรคู่รกั ท่ีเพิ่งอภิเษกสมรสกัน
ไม่ได้ แต่ในทีส่ ดุ พระพทุ ธองคก์ ม็ ีวธิ ีให้พระนันทะบรรลอุ รหัตผล(พระคาถาที่ 13-14 พระพทุ ธองค์ตรัสแกพ่ ระภกิ ษุ
สงฆ์ทัง้ หลายที่วัดเชตวัน)
23. เรือนทมี่ ุงไม่ดี ฝนย่อมซดั สาดเขา้ ได้ จติ ทไี่ ม่ได้เจริญ(ภาวนา)ราคะย่อมครอบงำ
24. เรือนทม่ี งุ ดี ฝนยอ่ มซดั เข้าไม่ได้ จติ ทเ่ี จรญิ (ภาวนา)ดีแล้ว ราคายอ่ มครอบงำไม่ได้
25. เรื่องพ่อค้าเนื้อหมู (จุนทสูกริก) นายจุนทสุกริกเป็นพ่อค้าเนื้อหมู เล้ียงหมูไว้ฆ่าเอง เขามีวิธีฆ่าหมู
อย่างโหดเหี้ยม เพ่อื ได้เน้ือหมทู ี่อรอ่ ย อยู่ในอาชีพน้ันนานถงึ 55 ปี ไม่เคยทำบญุ ให้ทานหรือเขา้ วัดฟงั ธรรม เขาตก
อเวจีก่อนตาย คลานไปร้องไปทั่วห้อง เหมือนอาการของหมูที่ถูกเชือด ทรมานด้วยอาการอย่างนัน้ อยู่ 7 วันเต็มจึง
ขาดใจตาย(พระคาถาที่ 15 ตรัสแก่ภกิ ษทุ ัง้ หลายทีว่ ัดเวฬุวัน)
81 เรื่องเดียวกนั .
101
26. สำหรับคนชั่วอย่ใู นโลกนี้กเ็ ศร้าโศก ตายไปก็เศรา้ โศก เศร้าโศกทั้งในโลกน้ีและในโลกหนา้ เขาเศร้า
โศกเดอื ดรอ้ นเพราะนึกเหน็ กรรมชวั่ ของตน
27. เรอ่ื งเทวดามาคอยรับอุบาสก (ธัมมิกอบุ าสก) อาบสกคนหน่ึงเปน็ นักปฏิบัตธิ รรม พาบริวารทำบญุ ให้
ทานไม่เคยขาด เมื่อป่วยหนักได้ทูลขอให้พระพุทธองค์ส่งภิกษุไปแสดงธรรมให้ฟัง พระสูตรที่อุบาสกขอให้ภิกษุ
แสดงให้ฟังคือสคิปัฏฐานสูตร ขณะฟังอยู่น้ันเห็นเทวดาขับเทพรถมาเช้ือเชิญให้ไปยังเทวโลก จึงพูดออกมาว่า รอ
กอ่ นนะ รอกอ่ น ภกิ ษุได้ยินดังนัน้ ก็หยดุ แสดงธรรม เพราะนึกวา่ อบุ าสกให้หยดุ แสดงธรรมและได้กลบั เชตวนั เมื่อ
ภิกษุทูลรายงานเร่ืองนี้ พระพุทธองค์ตรัสวา่ เทวดาจากสวรรค์ช้ันดุสิตมารับอุบาสก(พระคาถาท่ี 16 ตรัสแก่ภิกษุ
ทั้งหลายท่ีวัดเชตวนั )
28. สำหรบั คนดี อยู่ในโลกนีก้ ช็ ่ืน ตายไปก็ช่ืน ช่ืนสขุ ทั้งในโลกนแี้ ละในโลกหน้า เขาแช่มชื่นใจ เมือ่ นึกเหน็
กรรมดีของตน82
29. เรื่องพระเทวัตทำอนนั ตรยิ กรรม เจ้าชายเทวทัตออกผนวชพร้อมกับเจ้าชายแห่งษากยวงศ์ 5 องค์
(รวมเป็น6องค์) ภิกษุจากศากยวงศ์ท้ัง 5 องคร์ วมทั้งพระอุบาลีผู้เคยเปช็ ่างกัลบก ตา่ งกไ็ ดบ้ รรลมุ รรคผล ส่วนพระ
เทวทตั ได้ฌานสมาสมบัติ ใช้ฤทธไิ์ ปในทางท่ีผิด พยายามปลงพระชนม์พระพุทธองคแ์ ต่ไมส่ ำเรจ็ บาปหนักอีกอยา่ ง
หนึ่งที่ได้ก่อ คือ สังฆเภท พระเทวทัตถูกแผ่นดินสูบไปรับผลแห่งกรรมในอเวจี (พระคาถาที่ 17 ตรัสแก่ภิกษุ
ทงั้ หลายท่ีวัดเชตวนั )
30. คนทำกรรมชว่ั อยู่ในโลกน้ีก็เดือดร้อน ตายไปกเ็ ดอื ดร้อน เดือดร้อนท้ังในโลกนี้และในโลกหน้า เม่ือ
คดิ ได้วา่ ตนทำแตก่ รรมช่ัวไปสู่ทุกคติ ก็ยง่ิ เดือดร้อน
13 เร่ืองสุมนาเทวี (ธดิ าของอนาถบิณฑิกเศรษฐ)ี สุมนาเทวีเป็นบุตรสาวคนเล็กของอนาถบณิ ฑิกเศรษฐี
ได้รับมอบหมายจากบิดาให้บริหารจัดการการทำบุญให้ทานต่อจากพี่สาว 2 คน ซงึ่ แตง่ งานออกเรือนไปอยู่กับสามี
อยู่ๆวนั หนึ่งสมุ นาเทวปี ่วยกระทนั หัน ใหค้ นตามบิดามาหา เม่ือพูดกบั บดิ า นางใช้คำวา่ “นอ้ งชาย” ทุกคำ จนบดิ า
คิดว่าลูกสาวเพ้อไป สุมนาเทวีถึงแก่กรรมในวันน้ัน พระพุทธองค์ตรัสบอกอนาถบิณฑิกเศรษฐีว่า สุมนาเทวีไม่ได้
เพ้อ ที่ใช้คำพูดอย่างน้ัน เพราะนางได้บรรลุธรรมเป็นสกทาคามี ส่วนท่านเศรษฐีเป็นโสดาบัน เป็นการเรียกตาม
คุณธรรม (พระคาถาท่ี 18 ตรสั แกอ่ นาถบณิ ฑกิ เศรษฐที ว่ี ัดเชตวนั )
31. คนทำดอี ยใู่ นโลกนกี้ เ็ พลนิ ใจ ตายไปก็เพลินใจ เพลนิ ใจทั้งในโลกน้ีและโลกหนา้ ไปสสู่ ุคตกิ ย็ ่ิงเพลินใจ
32. เร่ืองภิกษุสองสหาย ภกิ ษุสองรูปเป็นเพื่อนกนั รูปหนึ่งเหน็ ว่าตัวเองอายมุ ากแลว้ ขอเอาดีทางเจริญ
วิปสั สนา อีกรปู หน่งึ เอาดที างเลา่ เรยี นธรรม(คนั ถธรุ ะ) รูปทีเ่ อาดีทางวปิ ัสสนาได้บรรลธุ รรมเปน็ พระอรหนั ต์ ขณะที่
อีกรูปหน่ึงมีศิษย์เรียนธรรมมากมายแต่ไม่ได้บรรลุธรรมอะไร เม่ือพระพุทธองค์ทรงถามปัญหาให้ท้ังสองรูปตอบ
ปรากฏว่าภกิ ษผุ เู้ ปน็ อรหันต์สามารถตอบได้แจม่ แจ้งในเรอ่ื งฌานสมาสมบัติและมรรคผลท้งั หมด ส่วนภิกษนุ กั เรยี น
ธรรมตอบไมไ่ ด้ เพราะไม่เคยสมั ผัสธรรมเหลา่ น้นั ดว้ ยตนเอง(พระคาถาที่ 19-20 ตรสั สอนภิกษทุ ั้งหลายทวี่ ัดเชตวัน)
33. คนที่พูดธรรมะอันมีประโยชน์ได้มากมาย แต่ประมาท ไม่ทำตามธรรมะที่พูด ย่อมไม่มีส่วนร่วมใน
มรรคผล เหมือนคนเล้ยี งโค ที่ได้แต่นบั โคของคนอนื่
82 เร่ืองเดยี วกนั .
102
34. คนที่พูดธรรมะอันมีประโยชน์ได้เล็กน้อย แต่ประพฤติถูกหลักธรรม ละราคะ โทสะ โมหะได้ มีความรู้
ถูกตอ้ ง มจี ิตหลุดพ้นไม่ยดึ ม่นั ถอื มั่นในโลกไหนๆย่อมมีสว่ นรว่ มในมรรคผล (พระคาถานี้อยูใ่ นธมั มปทฏั ฐกถา ภาค 1)
2. อัปปมาทวรรค-หมวดความไม่ประมาท 9 เรื่อง 12 พระคาถา
1. เรอื่ งพระนางสามาวดี พระนางสามาวดี(พระมเหสีองค์หนึ่งของพระเจ้าอุเทนแห่งโกสัมพี) เป็นโสดาบนั
ถูกพระนางมาคันทิยา(พระมเหสีอีกองค์หน่ึงของพระเจ้าอุเทน)เผาพระตำหนัก พระนางสามาวดีและหญิงบริวาร
500 นาง สังเวยชีวิตในกองเพลิง ต่อมาพระนางมาคันทิยาพร้อมทั้งบริวารและญาตๆ ก็ถูกพระเจ้าอุเทนลงโทษ
ประหารชีวิตอย่างแสนสาหัส(พระคาถาที่ 21-23 พระพทุ ธองคต์ รสั สอนภกิ ษทุ ้งั หลายทีว่ ัดโฆสิตาราม กรงุ โกสัมพี)
2. ความไม่ประมาท เป็นทางแห่งความไม่ตาย ทางประมาทเป็นทางแห่งความตาย ผู้ไม่ประมาทย่อมไม่
รจู้ ักตาย คนประมาทเหมือนคนตายแลว้
3. บัณฑิตรู้ความไม่ประมาทได้เป็นอย่างดี จึงชื่นชอบในความไม่ประมาท พอใจในแนวทางของพระ
อรยิ ะ83
4. ปราชญม์ ีความเพยี รเพ่งต่อเน่ือง มีความบากบ่นั มนั่ คงไมล่ ดละ ยอ่ มไดส้ มั ผสั นิพพานอันปลอดพ้นจาก
กเิ ลสเปน็ ทสี่ ดุ
5. เรอื่ งเศรษฐีกำพร้า (กุมภโฆสก) กุมภโฆสกเป็นลูกของมหาเศรษฐีแห่งกรุงราชคฤห์ เม่ือโรคอหิวาต์ระบาด
ครั้งใหญ่ คนในครอบครัวตายหมด บิดาให้กุมภโฆสกหนีเอาชีวิตรอด ฝังสมบัติมูลค่า 40 โกฏิไว้ให้ เมื่อกุมภโฆสก
ย้อนกลับมาบ้านอีกครั้งหนึ่ง ก็ไม่มีใครจำได้ และเขาก็ไม่เปิดเผยตัวเอง ใช้ชีวิตเป็นลูกจ้างธรรมดา พยายามจะปิดบัง
ไม่ให้ใครรู้ว่ามีสมบัติมหาศาลเป็นมรดกฝังอยู่ในดิน แต่ในที่สุดพระเจ้าพิมพิสารก็จับพิรุธได้ ทรงให้เขาเปิดเผยความ
จรงิ และได้พระราชทานตำแหนง่ เศรษฐีประจำเมืองให้ (พระคาถาท่ี 24 ตรัสแก่พระเจา้ พมิ พิสารที่ทูลเรื่องน)้ี
6. ยศ(ความยกย่องนับถือ)ย่อมเจริญงอกงามแก่คนขยัน มีสติ มีการงานสะอาด มีความสำรวมระวัง
ดำรงชีวติ โดยธรรม (และ)ไม่ประมาท
3 เรื่องพระจูฬปันถก พระจูฬปันถกเป็นน้องชายของพระมหาปันถกเป็นคนหัวท่ือ คาถาบทเดียวก็จำไม่ได้
ถกู พี่ชายไล่ไปอย่ทู อ่ี ืน่ จึงคดิ จะสกึ พระพทุ ธองคเ์ สด็จไปโปรดให้พระจูฬปนั ถกเอามอื ลบู เศษผา้ ไปมาพรอ้ มกบั กริกรรม
สนั้ ๆว่า “รโชหรณ์ รโชหรณ์”(ผา้ หมอง ผา้ หมอง) เป็นการเจรญิ วิปัสสนาให้เห็นความเปล่ียนแปลงบนเศษผ้า ในท่ีสุดก็
ไดบ้ รรลธุ รรมเป็นพระอรหนั ต(์ พระคาถาที่ 25 ตรสั สอนภกิ ษุทงั้ หลายท่ีวดั เวฬุวัน)
7. ผู้มปี ัญญาพง่ึ สรา้ งเกาะ(ท่พี ่ึง) ชนิดที่ห้วงน้ำ(กิเลส)ท่วมไมไ่ ด้ ด้วยความขยัน ไม่ประมาท สำรวมระวัง
และข่มตน
8. เรื่องประเพณีคนพาล(พาลนกั ษัตร) กรงุ สาวัตถีมีประเพณีรื่นเริงอย่างหนึ่งคือ 7 วันเต็มๆจะมคี นเท่ียว
พูดจาหยาบคาย ไปเคาะประตูบ้านเพ่ือให้เกิดความรำคาญ เมื่อได้รับเงินบริจาคจากเจ้าของบ้านจึงจะไปต่อ
ชาวบ้านทเี่ ปน็ อรยิ สาวกต้องทลู นิมนตพ์ ระพทุ ธองคพ์ ร้อมภกิ ษทุ ัง้ หลายฉันภัตตาหารภายในเรือน ไมใ่ ห้เสด็จไปไหน
จนกว่าจะพน้ 7 วันนน้ั ไป (พระคาถาที่ 26-27 พระพุทธองคต์ รสั สอนอริยสาวกชาวสาวตั ถ)ี
9. คนดอ้ ยปญั ญามวั แต่ประมาทอยู่ สว่ นคนมปี ญั ญายอ่ มรกั ษาความไมป่ ระมาท เสมอื นเปน็ ทรพั ย์ลำ้ คา่
10. อย่ามัวประมาทหมกมุน่ อย่กู ับความยนิ ดใี นกามเลย ผ้ไู มป่ ระมาท เพียรเพ่ง ยอ่ มบรรลสุ ุขอนั ยิ่งใหญ่
83 เรื่องเดียวกัน.
103
11. เรื่องพระมหากัสสปะ วันหนึ่ง พระมหากัสสปะเข้าฌานเพื่อจะดูการเกิดการตายของหมู่สัตว์ ซึ่งอยู่
เหนือวิสัยท่ีท่านจะทำได้ พระพุทธองค์ทรงหย่ังรู้ด้วยพระญาณจึงแผ่พระรัศมีไปปรากฏพระองค์ประทานพระ
โอวาท(ตรสั พระคาถาที่ 28 ทว่ี ัดเชตวัน)
12. บัณฑิตเมื่อขจัดความประมาทด้วยความไม่ประมาท ก็หมายถึงก้าวสู่ปราสาทแห่งปัญญา เป็นคนไร้
โศกมองเห็นคนโศก ปราชญย์ ่อมเห็นคนโง่ เหมือนคนที่ยนื อยบู่ นยอดเขามองเหน็ คนทพ่ี ื้นล่าง
6 เร่ืองภิกษุสองสหาย ภิกษุสองรูปเป็นเพื่อนกัน รูปหน่ึงเอาแต่ขนฟืนมากองไว้ ตกกลางคืนก่อไฟผิงคุยกับพวก
พระเณรท้ังคืน อีกรูปหนึ่งมุ่งม่ันอยู่กับการทำเพียรจนได้สำเร็จเป็นพระอรหันต์ เตือนเพื่อนไม่ให้มัวประมาทอยู่
แต่เพอ่ื กไ็ ม่ฟัง ออกพรรษพากันไปเฝ้าพระพุทธองค์ เพื่อนท่เี อาแตผ่ งิ ไฟทลู วา่ ตนได้ขวนขวายปฏบิ ัตธิ รรมทั้งวนั ทั้ง
คนื ต่างกับเพ่อื นทเ่ี อาแต่นอน พระพุทธองค์ทรงตำหนิรูปนั้นว่าเปน็ คนประมาท ยังไมร่ ตู้ วั อีก (พระคาถาท่ี 29 ตรัส
สอนภิกษรุ ูปน้ันทวี่ ดั เชตวนั )
13. คนมปี ัญญา ไม่ประมาทในขณะทคี่ นอนื่ เขาประมาท ตน่ื เตม็ ที่ในขณะที่คนอ่ืนเขาหลบั ไหล จึงท้ิงห่าง
กันไกล เหมอื นมา้ ฝเี ทา้ จดั ท้งิ หา่ งม้าโรยแรง84
14. เรื่องท้าวสักกะ เจ้าลิจฉวีนามว่า มหาลิ เกิดความสงสัยว่า ท่ีพระพุทธองค์ทรงกล่าวถึงท้าวสักกะ
(จอมเทพแหง่ ดาวดงึ ส)์ และทิพยสมบตั ขิ องทา้ วสักกะนน้ั ทรงเหน็ องค์จริงของทา้ วสกั กะหรือว่าฟังเขามา เพราะท้าว
สกั กะองคจ์ ริงไม่ใชจ่ ะเห็นได้งา่ ยๆ เมื่อทลู ถามเรือ่ งนี้ พระพุทธองค์ทรงยนื ยนั วา่ พระองค์เห็นองคจ์ ริงของท้าวสักกะ
และไม่ใช่เหน็ แต่องคจ์ รงิ เทา่ นั้น ทรงรู้ด้วยวา่ ท้าวสักกะทไ่ี ดพ้ ระนามหลายพระนาม มคี วามเป็นมาอยา่ งไร เชน่ ที่ได้
พระนามว่า “สกั กะ” เพราะพระองค์ให้ทานโดยเคารพ เป็นตน้ ทรงสรุปว่า ทา้ วสักกะบำเพญ็ ความดีไว้มากมาย ไม่
ประมาท จึงได้เป็นท้าวสกั กะของทวยเทพอย่างน้ัน(พระคาถาท่ี 30 ตรัสสอนเจา้ มหาลิ ทกี่ ูฏาคารศาลา ป่ามหาวัน
กรงุ เวสาล)ี
15. ท้าวมฆวาน(พระอินทรีย์หรือท้าวสักกะ)ได้เป็นใหญ่เหนือทวยเทพ(ในดาวดึงส์)ก็เพราะความไม่
ประมาท ไม่ว่ายคุ ไหนๆบัณฑติ ย่อมสรรเสรญิ ความไม่ประมาท ติเตียนความประมาท
16. เร่อื งภกิ ษรุ ูปหนึง่ ภิกษุรูปหนง่ึ เพียรพยายามเจรญิ กรรมฐานอย่างไรกไ็ ม่บรรลุธรรมสมประสงค์ จงึ จะ
ไปเข้าเฝา้ พระพุทธองคเ์ พ่อื ใหท้ รงแนะนำกรรมฐานเพ่มิ ให้อีก ระหว่างเดินทางออกจากปา่ เห็นไฟปา่ กำลงั ลุกลามจึง
ข้ึนไปบนยอดเขาน่ังดูไฟป่า ได้เพ่งไฟป่าเป็นอารมณ์กรรมฐาน เกิดวปิ ัสสนาว่า ไฟย่อมเผาเช้ือน้อยใหญ่ไม่ให้เหลือ
อริยมรรคญาณก็เป็นไฟเผากิเลสน้อยใหญ่ไม่ให้เหลือเหมือนกัน พระพุทธองค์ทรงทราบด้วยพระญาณจึงแผ่พระ
รัศมีไปแสดงธรรมโปรดเหมอื นประทับอยูเ่ บื้องหน้าภกิ ษนุ ้ัน(พระคาถาท่ี 31 พระพทุ ธองคต์ รัสแกภ่ ิกษุรปู น้ันขณะ
ประทบั อยู่ทว่ี ดั เชตวนั )
17. ภิกษุผู้ยินดีในความไม่ประมาท หรือตระหนักแก่ใจว่าความประมาทเป็นภัย ย่อมแผดเผากิเลสท้ัง
หยาบและละเอียดไดส้ นิ้ เหมอื นไฟ85
9. เรอ่ื งพระนคิ มติสสะ ภกิ ษรุ ปู หน่งึ ชอ่ื ตสิ สะ เป็นชาวนิคมไม่ไกลจากกรงุ สาวตั ถี บวชเข้ามาแลว้ เป็นคน
มกั น้อยสันโดษ รับบิณฑบาตแต่กับพวกญาติ มีการถวายทานใหญ่ท่ีไหนก็ไม่ยอมไป ภิกษุท้งั หลายไปทูลฟ้องพระ
84 เรือ่ งเดยี วกัน.
85 เร่ืองเดยี วกนั .
104
พุทธองค์ว่าพระติสสะไปคลุกคลีกับญาติโยม เม่ือพระพุทธองค์ทรงเรียกมาสอบถาม พระติสสะกราบทูลว่าท่าน
ไม่ได้คลุกคลีอยู่กับญาติๆ แต่เห็นว่าเม่ือได้อาหารฉัน พอยังชีพเพื่อปฏิบัติธรรมได้ ก็น่าจะเพียงพอแล้ว ไม่
จำเป็นต้องไปหาอาหารท่ีไหนอีก พระพุทธองค์ทรงอนุโมทนาว่าพระติสสะทำดีแล้ว เป็นการดำเนินตามแบบแผน
ของพระองคโ์ ดยแท(้ พระคาถาท่ี 32 ตรสั สอนภิกษทุ ้งั หลายทวี่ ดั เชตวัน)
18. ภิกษุผยู้ ินดีในความไม่ประมาท หรือตระหนักแกใ่ จวา่ ความประมาทเป็นภัย ไม่มีทางท่ีจะเสือ่ มได้ มี
แต่จ่อนพิ พาน
(พระคาถานี้อยู่ในธัมมปทฏั ฐกถา ภาค 2)
3. จติ ตวรรค-หมวดจิต 9 เร่ือง 11 พระคาถา
1. เร่อื งพระเมฆยิ ะ พระเมฆิยะปฏบิ ัติหน้าทอี่ ปุ ัฏฐากพระพทุ ธองค์อยู่ทภ่ี ูเขาจาลกิ า วนั หนงึ่ ทูลลาไปนั่ง
เจริญกรรมฐานเพียงลำพังในวิหารอัมพวัน ทั้งๆท่ีพระพุทธองค์ทรงให้รอภิกษุรูปอื่นมาก่อน ท่านก็ไม่ฟัง เม่ือไป
เจริญกรรมฐาน จิตก็ไม่เป็นอันสงบได้ ถูกความคิดกลุ่มรุมคุมไม่อยู่ พระพุทธองค์ทรงเรียกมาส่ังสอนว่า จิตเป็น
ธรรมชาติแล่นไปเร็ว ต้องมีวธิ ีทำให้มนั อยูใ่ นอำนาจให้ได้(พระคาถาท่ี 33-34 ตรสั สอนพระเมฆยิ ะทภี่ ูเขาจาลิกา)
2. จติ ท่ีพลา่ นสับสน คุมไม่อยู่ หกั ห้ามยาก ผู้มปี ญั ญาทำใหด้ ง่ิ ตรงได้ เหมือนชา่ งศรดดั ลูกศร
3. ปลาทถี่ กู จับโยนขึน้ บก ก็จะดิ้นพลา่ นหาทางลงนำ้ จติ ก็ด้นิ พล่าน(หากามคุณ)พึงสลัดท้งิ บว่ งมาร(กเิ ลส
วฏั ฏ)์ ให้ได้
4. เร่ืองอุบาสิการู้จิตของภิกษุ (เรื่องน้ีมีช่ือในธัมมปทัฏฐกถาว่า “อัญญตรภิกขุ”) อุบาสิกคนหนึ่งได้
นิมนต์ภิกษุอยู่พรรษาที่ใกล้หมู่บ้านของตน อุปถัมภ์บำรุงอย่างดี เมื่อทราบว่าภิกษุทำการสาธยายอาการ 32
ประการ ก็ขอทำตาม นางได้บรรลุโลกิยอภิญญา(ฌานสมาบัติขั้นโลกิยะ)สามารถกำหนดรู้จิตของภิกษุได้ ภิกษุ
ต้องการอะไรก็จัดถวายทุกอย่างตามที่ต้องการ ภิกษุเหล่านั้นเม่ือได้เข้าเฝ้าพระพุทธองค์ก็ทูลรายงานเรอ่ื งนี้ ภิกษุ
รปู หน่ึงไดท้ ราบอยา่ งนั้นกไ็ ปอยูว่ ัดแหง่ นั้น เมื่อเห็นจริงวา่ อบุ าสกิ ากำหนดร้จู ิตของตนไดท้ กุ อย่าง ก็เกิดกลัวว่านาง
จะรู้ความคิดของตนซึ่งมีท้ังดีและไม่ดี จึงออกจากวัดนั้นไปยังวัดเชตวันดังเดิม พระพุทธองค์ทรงแนะนำว่าอยู่กับ
อุบาสิกานน้ั ดแี ลว้ เพยี งแต่รักษาจติ ของตนให้ดเี ท่านน้ั (พระคาถาท่ี 35 ตรัสแกภ่ ิกษรุ ปู นน้ั ทวี่ ัดเชตวนั )86
5. การฝึกจิตซึง่ มีธรรมชาตขิ ่มยาก ผกผันเรว็ คอยแตจ่ ะตกส่กู าม ย่อมอำนวยประโยชน์ จิตอันฝึกแลว้ นำ
สขุ มาให้
6. เรอื่ งภิกษอุ ยากสึก (อุกกณั ฐติ ภกิ ข)ุ บตุ รเศรษฐีชาวสาวตั ถีคนหน่งึ ม่งุ ความก้าวหนา้ ทางธรรมอยา่ งย่ิง
ไดท้ ำบุญให้ทานรักษาศีล 5 อโุ บสถศลี และศีล 10 ตามลำดับ ตามคำแนะนำของภิกษุประจำตระกูล ในที่สุดก็ออก
บวชหวังความพ้นทกุ ข์ แตเ่ ม่อื อุปัชฌายอ์ าจารยก์ ็มแี ตห่ า้ มอยา่ งน้นั อยา่ งนี้ ทำให้รสู้ ึกวา่ บวชเข้ามา แทนท่ีจะพ้น
ทกุ ข์กลบั เจอแต่ข้อหา้ ม แทบจะเหยยี ดมอื เหยียดเท้าไม่ได้ ก็เลยรอ้ นรมุ่ ใจอยากสกึ พระพุทธองคต์ รัสสอนใหร้ ักษา
จิตอยา่ งเดียวแล้วจะพน้ ทุกขไ์ ด(้ พระคาถาท่ี 36 ตรสั สอนภกิ ษรุ ูปนนั้ ท่สี าวตั ถี)
7. จิตเป็นธรรมชาติ อันเห็นได้ยาก ละเอียดย่ิง คอยแต่จะตกสู่กาม ผู้มีปัญญาจึงต้องควบคุมจิต จิตท่ี
ควบคมุ ไดแ้ ล้ว นำสุขมาให้
8. เรอื่ งหลานชายพระสังฆรักขิต หลานชายบวชกบั หลวงลงุ คือพระสังฆรกั ขิต คราวหน่งึ ไดผ้ ้ามาสองผืน
ตั้งใจว่าจะถวายหลวงลุงผืนหนึ่ง แต่หลวงลุงบอกว่ามีพอใช้แล้ว ให้ใช้เองเถิด หลานชายอ้อนวอนให้หลวงลุงรับ
86 เรือ่ งเดยี วกนั .
105
ถวายอย่างไรก็ไม่เป็นผล ทำให้เสียใจคดิ มาก อยากจะสึก ระหวา่ งท่ีพัดใหห้ ลวงลุงอยู่นัน้ ก็คิดเรือ่ ยเปอ่ื ยไปคนเดยี ว
คิดไปว่าจะขายผ้าผืนน้ันเอาเงินมาเป็นทุนซื้อแพะมาเล้ียงเพื่อต้ังตัว หลังจากน้ันก็จะมีภรรยามีลูก วันหน่ึง(ใน
ความคิดนึก)ทะเลาะกันเรอ่ื งใครจะอุ้มลูก แล้วภรรยากว็ างลูกไว้ท่ีทางเกวียน เกวียนกม็ าทับลูก ด้วยความโกรธจึง
เอาปฏักตีหลังภรรยา พอคิดมาถึงตรงน้ี ภิกษุหลานชายก็ฟาดพัดก้านตาลลงบนศีรษะของหลวงลุงซึ่งเป็นพระ
อรหันต์รู้ว่าหลานกำลังคิดอะไรอยู่ ก็พูดให้สติว่า ตีมาตุคามไม่ได้แล้วหลวงตามีความผิดอะไร เมื่อเรื่องน้ีถึงพระ
พุทธองค์ พระพุทธองค์ทรงปลอบโยนภิกษุรูปนั้น ทรงสอนให้สำรวมจิตให้ดี อย่าปล่อยให้คิดเล่ือนลอยไปตาม
อารมณ(์ พระคาถาที่ 37 ตรสั สอนภกิ ษุรูปนนั้ ทวี่ ดั เชตวนั )
9. จิตเปน็ ธรรมชาติไปไดไ้ กล ไปเด่ยี โดด ไม่มีรา่ ง แตม่ ที อ่ี ยู(่ คอื กาย) ผูส้ ำรวมจิตได้ยอ่ มพ้นจากบ่วงมาร
10. เรื่องพระจิตตหัตถะ ภิกษุชื่อจิตตหัตถะ(แปลว่าอยู่ในอำนาจของจิต)เวียนบวชเวียนลึกอยู่หกรอบ
บวชเพราะเห็นว่าสุขสบาย มีอาหารฉันอุดมสมบูรณ์ แต่พอร่างกายอ้วนท้วนก็สึก สึกแล้วเจองานหนักก็บวชอีก
ภกิ ษุท้งั หลายก็บวชให้เพราะเป็นคนช่วยเหลือการงานได้ดี ครั้งสุดท้ายเห็นภรรยานอนอ้าปากกรนอยู่ครึดคราด ก็
นกึ สมเพชเบ่อื หนา่ ย จึงหนอี อกจากบ้านไปขอบวชอกี บวชคราวนไี้ ดบ้ รรลธุ รรมเป็นพระอรหนั ต์ พระพุทธองค์ตรัส
แก่ภิกษุทั้งหลายว่า เหตุที่จิตตหัตถะเทียวไปเทียวมาก็เพราะยังไม่รู้แจ้งในพระมัทธรรม เพราะจิตของเธอยังไม่
ม่นั คง บดั นีเ้ ธอละแลว้ ท้ังบุญและบาป(พระคาถาท่ี 38-39 ตรสั สอนภกิ ษุทงั้ หลายทีว่ ัดเชตวัน)
11. คนทีจ่ ติ ใจไมม่ ่ันคง ไม่ร้แู จ้งสทั ธรรม มคี วามเลอ่ื มใสอนั ง่อมแงม่ ปัญญา (ของเขา) ย่อมไมเ่ ต็มเปี่ยม
12. ผูม้ ีจิตซึ่งราคะราดรดไม่ได้ โทสะตามผลาญไมไ่ ด้ ละไดท้ ง้ั บญุ และบาป มีสตใิ หต้ ื่นอยเู่ สมอ ย่อมไมม่ ี
ความกลัว(ไมม่ ีภัย)
13. เรื่องผีหลอกภกิ ษุ ภิกษุพวกหน่ึงไปอยบู่ ำเพ็ญเพียรในป่าทึบ ทำใหเ้ ทวดาในป่าได้รับความเดือดร้อน
เพราะพวกลูกหลานอาศยั อยูบ่ นต้นไม้อย่างเก่าไมไ่ ด้ จึงแสดงตนเป็นผรี ูปร่างน่ากลวั ตา่ งๆให้พวกภกิ ษุเห็น ในที่สุด
พวกภกิ ษุเหลา่ น้ันก็อยู่ไมไ่ ด้ แตเ่ ม่ือไปเขา้ เฝ้าพระพทุ ธองค์ กราบทลู เร่อื งนี้ พระพทุ ธองคก์ ลับให้พวกภิกษุกลับไป
ใหม่ ทรงให้เรยี นเอากรณียเมตตาสูตรไปสวดแผเ่ มตตาใหเ้ ทวดาเหล่านัน้ ภกิ ษุทั้งหลายกลับไปอีกครัง้ หนึง่ ทำตามท่ี
พระพทุ ธองค์แนะนำ ปรากฏว่าเทวดากลับมาเปน็ มิตร คอยอุปฏั ฐากรับใช้เป็นอย่างดี(ตรัสสอนภกิ ษุเหล่านั้นด้วย
พระคาถาที่ 40 ที่สาวัตถี)
14. ให้เห็นกายเหมือนหม้อดิน(แตกง่าย) ปกป้องจิตเหมือนพระนคร รบกับมารด้วยอาวุธแห่งปัญญา
รักษาชัยชนะไว้ให้ได้ อย่าเพลยี่ งพลำ้ (แก่มาร)
15. เร่ืองรักษาพยายบาลภกิ ษุอาพาธ ภิกษุรูปหน่ึง ชื่อ ติสสะ เป็นโรคผิวหนังเน่าพองทั้งตัว จึงได้ช่อื ว่า
“ปูติคัตตตตสิ สะ” เม่อื โรคกำเริบหนกั ใครๆกร็ งั เกียจไมก่ ล้าเข้าใกล้ พระพทุ อู งค์ทรงทราบด้วยพระญาณจงึ เสด็จไป
ชว่ ยเหลอื ทรงพาภกิ ษุชว่ ยกนั ลา้ งตัวให้ ยกเตยี งนอนออกไปผึ่งแดด นงุ่ ผา้ ให้ ซกั ผา้ ให้ เมื่อพระตสิ สะสบายกายข้ึน
ก็ตรสั สอนใหเ้ หน็ ความไมม่ ีแกน่ สารของกาย พระติสสะบรรลุธรรมเป็นพระอรหันต์กอ่ นปรนิ พิ พานในคราวน้ัน(พระ
คาถาท่ี 41 ตรัสสอนพระติสสะทีส่ าวตั ถี)87
16. ไม่ช้านาน กายนกี้ ็จกั ไร้วิญญาณ ถกู ทิ้งทับถมแผน่ ดนิ ไม่ต่างอะไรกบั ท่อนไมไ้ รค้ ่า
17. เรอื่ งนันทโคบาล คนเลย้ี งโค(โคบาล) ของอนาถบิณฆกิ เศรษฐีชอื่ นันทะ วนั หนึง่ ได้ฟังธรรมที่พระพทุ ธ
องค์ทรงแสดงที่บ้านอนาถบณิ ฑิกเศรษฐไี ดท้ ูลนิมนตใ์ หเ้ สด็จไปท่ีบ้านของตนบ้าง เมือ่ ถึงวนั ทท่ี รงเหน็ วา่ ญาณของ
เขาแกก่ ลา้ แล้ว พระพุทธองคท์ รงพาภกิ ษหุ มู่ใหญ่ไปประทบั ท่ีร่มไม้แห่งหนง่ึ ใกล้ทีอ่ ยู่ของนันทโคบาล นันทโคบาล
87 เรอื่ งเดียวกนั .
106
ได้ถวายทานอยู่ท่ีนั่นเจ็ดวันติดต่อกัน แต่หลังจากส่งเสด็จพระพุทธองค์แล้ว เขาก็ถํกคนร้ายดักสังหารถึงแก่ชีวิต
ภิกษุท้ังหลายกราบทูลพระพุทธองค์ว่า ถ้าไม่เสด็จไปที่นั่น นันทโคบาลคงไม่ตาย พระพุทธองค์ตรัสตอบว่า ไม่ว่า
พระองค์จะเสดจ็ ไปทน่ี ่นั หรอื ไม่ก็ตาม และไม่ว่าเขาจะอย่ทู ่ีไหนกต็ าม ชวี ิตของเขาจะต้องมีจุดจบ ดว้ ยวา่ จติ เม่อื ตั้ง
ไว้ผิดแล้ว ย่อมทำความพินาศให้ย่ิงกว่าโจรทำกับโจรเสียอีก(พระคาถาท่ี42 ตรัสสอนภิกษุท้ังหลายระหว่างเสด็จ
จารกิ อย่ใู นแควน้ โกศล)
18. จติ ทต่ี ัง้ ไวผ้ ิด แยย่ ิ่งกวา่ ศตั รู (และ) ยิ่งกวา่ คูเ่ วรทำตอ่ คูเ่ วร
19. เรือ่ งพระโสเรยยะ โสเรยยะเปน็ บตุ รเศรษฐี แต่งงานแล้วมีบตุ รสองคน วันหนง่ึ ไปเห็นพระมหากจั จาย
นะซง่ึ มรี ูปโฉมผิวพรรณงาม เกิดคดิ อกศุ ลอยากมีภรรยาสวยเหมือนพระเถระ ทันทที ี่คิดอย่างนั้น เพศชายของเขาก็
กลับเป็นเพศหญิง ด้วยความอายจึงหนีไปอยู่เมืองอื่น ได้แต่งงานอีกครั้งหนึ่ง คราวน้ีได้เป็นแม่ของลูกอีกสองคน
ตอ่ มาได้พบกับภรรยาเก่าภรรยาเก่าทราบเร่ืองก็แนะนำให้ไปขอขมาพระมหากัจจายนะให้ท่านยกโทษให้ เม่ือพระ
เถระยกโทษให้ โสเรยยะก็กลับมาเป็นคนเดิม และได้ออกบวชสำเร็จเป็นพระอรหันต์รูปหนึ่ง(พระคาถาที่ 43 ตรัส
สอนภิกษทุ ง้ั หลายทส่ี าวัตถ)ี
20. จติ ทตี่ ้งั ไว้ชอบ ย่อมสำเร็จประโยชน์ เกนิ กวา่ ทม่ี ารดาบิดา หรือญาตพิ ่ีน้องใดๆจะพึงทำใหไ้ ด้
(พระคาถาที่อยูใ่ นธัมมปทฏกั ฐกถา ภาค 2)
4. ปุปผวรรค-หมวดดอกไม้ 12 เรอื่ ง 16 พระคาถา
1. เร่ืองแผ่นดินภายนอก-แผ่นดินภายใน ภิกษุประมาณห้าร้อยรูป หลังจากจารกิ ทางไกลไปกบั พระพุทธ
องค์ กลับมาถงึ วัดเชตวันกค็ ยุ กันเร่อื งแผน่ ดนิ (ภมู ประเทศ) ทีไ่ ดเ้ ห็น อันเปน็ เรือ่ งนอกตวั พระพทุ ธองคท์ รงเตอื นว่า
แผ่นดินท่ีหมายถึงตัวเองต่างหากควรเอามาบริการ(พิจารณาให้เห็นความจริง)(พระคาถาท่ี 44-45 ตรัสแก่ภิกษุ
ทั้งหลายทวี่ ัดเชตวนั )
ใครจักครองปฐพีตลอดถึงโยมโลกและเทวโลก ใครจักเลือกสรรบทแห่งธรรมอันแสดงไว้อย่างดีให้ได้
เหมือนคนรอ้ ยดอกไม้ผเู้ ช่ียวชาญ?
ผ้เู ป็นเสขะ(อริยบคุ คล 7 จำพวกแรก) จักครองปฐพีตลอดถึงยมโลกและเทวโลก ผู้เป็นเสขะ จักเลือกบท
แห่งธรรม ท่ีแสดงไว้อย่างดี เหมอื นคนรอ้ ยดอกไมผ้ ู้เชยี่ วชาญ
เรอื่ งพยับแดดและฟองน้ำ ภิกษุรูปหน่ึงออกจากปา่ จะไปเฝ้าพระพุทธองค์ ระหว่างทางเหน็ พยับแดด ได้
เอาเป็นอารมณ์กรรมฐานวา่ เมื่อมองแต่ท่ีไกลเห็นพยับแดดเป็นรูปเป็นร่าง แต่พอเข้าไปใกล้กลับไม่มีอะไร ตัวตน
(อัตตภาพ)ก็เหมือนพยับแดด ปรากฏข้ึนก็หายวับไป(ไม่มีตัวตนแท้จริงเลย) ไปถึงแม่น้ำอจิรวดี ท่านลงสรงน้ำแล้ว
ข้ึนมานั่งท่ีริมฝั่ง เห็นฟองน้ำอันเกิดจากกระแสน้ำเชี่ยวเกิดแวบเดียวแล้วก็หายไป ได้อารมณ์กรรมฐานอีกว่า
อตั ภาพน้ีก็เหมือนฟองน้ำ เกิดแล้วก็แตกดับไป พระพุทธองค์ทอดพระเนตรภิกษุน้ันทรงส่งพระสุรเสียงไปว่า การ
พิจารณาเช่นนนั้ ถูกแล้ว (ตรสั พระคาถาท่ี 36 ทีว่ ดั เชตวนั )
เมื่อรู้วา่ กายนเ้ี หมือนฟู่ฟองของน้ำ(แตกงา่ ย) มีธรรมชาตเิ หมือนพยบั แดด(เปน็ ภาพลวงตา)ก็พึงทำลายศร
ดอกไมแ้ ห่งมาร ไปใหพ้ ้นวิสัยท่มี ารจะเหน็ ได้88
เรื่องพระเจ้าวิฑูฑภะ พระเจ้าวิฑูฑภะแค้นพวกศากยะ ได้สั่งให้ฆ่าพวกศากยะจนสูญวงศ์ หลังจากล้าง
แคน้ จบลงแลว้ กพ็ าทหารไปตง้ั ค่ายพกั แรมท่ีรมิ ฝง่ั แม่นำ้ จิรวดี คืนนัน้ พายุฝนกระหน่ำ เกดิ นำ้ หลากฉับพลันพัดเอา
88 เรื่องเดียวกนั .
107
พระเจา้ วิฑฑภะและกองกำลงั ทงั้ หมดจมหายไปกับกระแสนำ้ พระพทุ ธองคต์ รัสแก่ภกิ ษุท้งั หลายวา่ คนเหล่าน้ยี ังไม่
สมมมโนรถทต่ี ัง้ ไว้ มจั จรุ าชก็มาตัดรอนให้จมสู่หว้ งอบาย เหมือนคลื่นยักษ์ท่ถี าถมกวาดเอาคนท่หี ลับไหลจมหาย
(พระคาถาที่ 47 ตรัสแก่ภิกษทุ ง้ั หลายที่สาวัตถ)ี
มจั จรุ าชย่อมกวาดต้อนเอาผทู้ ่ีมวั เก็บดอกไม้ มีใจเกาะเกีย่ ว(อยู่กบั กามคุณ)เหมอื นหว้ งนำ้ ใหญท่ ่พี ดั พาเอา
ชาวบา้ นที่หลบั ไหล
เรื่องนางปาติปูชิกา เทพธิดาองค์หน่ึงขณะกำลังเก็บดอกไม้ประดับเทพบุตรผู้สามี ได้จุติลงมาเกิดเป็น
ธดิ าในกรุงสาวัตถี นางระลึกชาติไดจ้ ึงตั้งหนา้ ทำบญุ ให้ทานรกั ษาศีลเพ่ือกลบั ไปเกิดเปน็ เทพธิดาอยู่รว่ มกับสามีใน
ดาวดึงส์อีก ทำบุญใดๆก็อธิษฐานแต่อย่างน้ัน นางแต่งงานเม่ืออายุ 16 ปี ได้บุตร 4 คน วันหนึ่งตอนกลางวันก็ยัง
ทำบญุ ใหท้ านรักษาศี,อยู่ทวี่ ดั เปน็ ปกติ ตกเย็นนางถงึ แก่กรรมอย่างปัจจุบนั ทันด่วน แล้วไปเกดิ เป็นเทพธิดาตามคำ
อธิษฐาน พวกเทพธิดาด้วยกันเห็นหายไปก็ถามว่าไปไหนมา นางเล่าเร่ืองที่จุติไปเกิดเป็นมนุษย์ให้เพื่อนๆฟัง
เทพธดิ าทง้ั หลายเม่ือทราบว่าพวกมนษุ ย์มีอายขุ ัยน้อยนักแตก่ ็หาสำนึกไม่ พากันประมาทอยโู่ ดยมาก ต่างกส็ ลดใจ
(พระคาถาที่ 48 ตรัสแก่ภิกษุท้งั หลายท่สี าวตั ถี ชื่อ ปติปูชกิ า แปลว่า หญงิ ผเู้ ทดิ ทนู บูชาสามี)89
คนทม่ี ัวเพลินเก็บดอกไม้(กามคุณ) มริ อู้ ่มิ ในกาม ยอ่ มตกอยูใ่ นอำนาจแหง่ มฤตยู
เร่ืองโกสิยเศรษฐีผู้ตระหน่ี โกสิยเป็นเศรษฐีคนหน่ึงของแคว้นมคธ(อยู่ท่ีเมืองสักรนิคม ไม่ไกลจากกรุงรา
ชคฤห์)เป็นคนตระหน่ีจัด จนเป็นที่เล่ืองลือกันทั่วไป แต่ในท่ีสุดก็ถูกพระมหาโมคคัลลานะสำแดงฤทธิ์ให้ละความ
ตระหน่ีได้ และได้เป็นดาบันท้ังเศรษฐีและภรรยา พระพุทธองค์ทรงยกย่องพระมหาโมคคัลลานะท่ีสามารถไปช่วยให้
เศรษฐีหันมาเป็นคนทำบญุ ใหท้ านได้ (พระคาถาท่ี 49 ตรัสสอนภิกษุทั้งหลายที่วัดเชตวัน)มุนจี าริกไปในเขตคาม ย่อม
เปน็ เหมือนภมรทไ่ี ม่ทำใหส้ ีและกลิ่นของดอกไมช้ อกช้ำดูดเอาแตร่ สหวานบนิ จร
เร่ืองปาฏิกาชีวก แม่เรือนคนหน่ึงในกรุงสาวัตถีนับถืออาชีวกชื่อปาฏิกะเหมือนลูก อุปถัมถ์บำรุงอย่างดีแต่
เมื่อได้ฟังคนพูดถึงพระพุทธองค์ด้วยความเล่ือมใสบ่อยๆก็อยากจะไปฟังธรรมที่ทรงแสดงติดท่ีอาชีวกขัดขวางไว้ ใน
ทส่ี ุดนางก็ใช้วธิ สี ง่ คนไปทูลนมิ นตพ์ ระพุทธองค์มาเสวยภัตตาหารท่ีบ้าน อาชวี กเห็นวา่ สุดจะขัดขวางไว้ไดจ้ ึงได้แต่บอก
คนท่ีจะไปทูลนิมนต์ว่าอย่าทูลว่าเป็นบ้านหลังไหน อย่าบอกทาง แต่เมื่อถึงวันกำหนด พระพุทธองค์ก็เสด็จไปถึงเอง
อาชีวกโกรธที่แม่เรือนเอาใจออกห่าง จึงด่าด้วยคำหยาบคายแล้วหนีไป แม่เรือนฟังธรรมไม่รู้เรื่อง ใจคิดถึงแต่คำด่า
หยาบคายของอาชีวก พระพุทธองค์ทรงเตือนไม่ให้ใส่ใจในคำพูดของคนอื่น ให้ใส่ใจแต่หน้าท่ีของตนเองว่าทำแล้วหรือ
ยังไมไ่ ดท้ ำ(ตรัสพระคาถาที่ 50 แก่แมเ่ รือนที่กรุงสาวตั ถี)
ไม่พึงจ้องจับผิดผู้อืน่ ไม่พึงเล็งแลสงิ่ ที่คนอ่ืนทำหรือไมท่ ำ พึงพนิ จิ ดูสง่ิ ทต่ี นทำหรอื ไม่ทำ(เทา่ น้นั )
เรอ่ื งฉตั ตปาณอิ บุ าสก อุบาสกคนหนึง่ ชื่อ ฉุตตปาณิ เป็นอนาคามี มคี วามรู้ทางธรรมเป็นอย่างยงิ่ วันหนึ่ง
ขณะนั่งฟังธรรมอยู่ พระเจ้าปเสนทโิ กศล เสดจ็ ไปเฝ้าพระพุทธองค์ อุบาสกเหน็ ว่าพระพุทธองค์เป็นทีเ่ คารพสูงกว่า
จงึ ไม่ลุกขึน้ รบั เสด็จ ทำใหพ้ ระราชารู้สึกเคืองพระทยั แต่วนั หลังเม่ือมีรับส่ังให้อบุ าสกเขา้ เฝ้าในพระราชวัง อุบาสก
กลับหบุ ร่มถอดรองเทา้ เขา้ เฝา้ พระเจา้ ปเสนทโิ กศลทรงสดับเหตุผลแล้วกเ็ ข้าพระทัย ทรงรู้สึกเลือ่ มใส จึงขอให้พระ
อุบาสกมาสอนธรรมให้ อุบาสดทูลหลีกเล่ยี ง ขอให้ทรงนิมนต์ภิกษมุ าทำหน้าทีจ่ ะเหมาะสมกวา่ ในท่ีสุดพระราชา
ได้นิมนท์พระอานนท์ไปสอนธรรมแก่พระมเหสีท้ังสอง คือพระนางมัลลิกาเทวีและพระนางวาสภขัตติยา ในสอง
พระองค์น้ัน พระนางมัลลิกาเทวีเอาพระทัยใส่ในการเรียนธรรมอย่างจริงจัง พระพุทธองค์รบั สั่งกับพระอานนทว์ ่า
89 เร่อื งเดียวกนั .
108
คำสอนของพระองค์นั้นจะมีประโยชน์ก็สำหรับคนที่ลงมือปฏิบัติตามเท่าน้ัน (พระคาถาที่ 51-52 ตรัสแก่พระ
อานนท์ท่ีวัดเชตวัน)90
วาจาสภุ าษิตของคนที่ไม่ไดล้ งมือปฏิบตั ิ ย่อมเปล่าประโยชน์ เหมือนดอกไม้สีสวย ไร้กล่นิ หอม
วาจาสุภาษติ ของคนท่ไี ด้ปฏบิ ตั ิตามคำพูด ย่อมอำนวยผล เหมอื นดอกไม้สีสวยและมกี ลิ่นหอม
เรื่องนางวิสาขา นางวสิ าขาสรา้ งประสาท(ตกึ สองช้ัน)ไวใ้ นบพุ พาราม แลว้ ทำการสมโภชใหญ่ หลงั จากงาน
สมโภชเสร็จแลว้ นางมีความปีตใิ นบุญครั้งนี้ จึงพาบุตรหลานเดินรอบปราสาท พลางเปลง่ อุทานเป็นคาถา บรรยาย
ความสุขสมหวงั ของตนท่ไี ด้ทำบญุ ให้ทานครงั้ ใหญ่ ภกิ ษทุ ั้งหลายไดย้ ินเสยี งของนางก็นกึ วา่ นางร้องเพลง พระพทุ ธ
องค์ตรัสว่าวิสาขาไม่ได้ร้องเพลง แต่นางเปล่งอุทานบรรยายถึงความสุขของตนต่างหาก(พระคาถาท่ี 53 ตรัสแก่
ภิกษทุ ้งั หลายทีว่ ดั บพุ พาราม กรงุ สาวตั ถ)ี เกดิ มาแล้วตอ้ งตาย จงึ ควรทำความดใี ห้มาก ให้เหมือนคนร้อยดอกไม้ ท่ี
ร้อยพวงมาลยั จากกองดอกไม้
เรื่องกล่ินหอมหวนทวนลม เยน็ วันหนึ่งพระอานนท์เกิดคำถามในใจ ว่า กล่ินหอมตามธรรมชาตนิ ้ันทวน
ลมไมไ่ ด้ จะมีกลน่ิ หอมอะไรหรือไม่ทห่ี อมทวนลมได้ ทา่ นเข้าเฝา้ ทลู ถามพระพุทธองค์ในเรือ่ งนี้ พระพุทธองคม์ พี ระ
ดำรัสตอบว่า คุณงามความดีของสัตบุรุษนั้นเองเป็นกล้ินหอมทั้งตามลมและทวนลมได้ (พระคาถาท่ี54-55 ตรสั แก่
พระอานนทท์ สี่ าวตั ถี เรื่องนี้ในธัมมปทฏั ฐกถามืช่อื ว่า “อานนทป์ ัญหา”)
กล่ินหอมของดอกไม้ กล่ินจันท์ กล่ินกฤษณา หรือกล่ินดอกมะลิ รวยรินทวนลมไม่ได้ แต่สัตบุรุษมีกล่ิน
หอมทวนลม สตั บุรษุ ยอ่ มหอมฟุ้งไปท่วั ทศิ
กล่นิ ศีล หอมยงิ่ กว่าคนั ธชาตใดๆ ไมว่ า่ จะเป็นจนั ทร์ กฤษณา ดอกบวั หรือกะลำพัก
เรื่องท้าวสักกะจำแลงกายทำบุญ พระมหากัสสปะออกจากนิโรธมาบัติ ต้องกสนจะอนุเคราะห์คนยากจน จึง
ออกเดนิ บิณฑบาต ไปทางบ้านของคนยากไร้ พวกนางอัปศรของทา้ วสักกะอยากได้บุณจึงไปขอถวายบณิ ฑบาต ถูกพระ
เถระปฏิเสธ จึงไปทลู ท้าวสกั กะ ท้าวสักกะใช้วธิ ีจำแลงกายเป็นคนเข็ญใจพรอ้ มด้วยสุชาดาเทพธิดา ไปถวายบิณฑบาต
แก่พระเถระจนได้ (พระคาถาท่ี 56 พระพุทธองค์ ตรสั แกภ่ กิ ษุทัง้ หลายท่ีวดั เวฬุวัน) กฤษณาและจนั ทนม์ กี ล่ินหอมน้อย
นดิ เมอ่ื เทียบกับกลน่ิ หอมของผูท้ รงศลิ ซงี่ หอมฟงุ้ ไปถึงทวยเทพ
เร่ืองพระโคธิกะปรินิพพาน พระโคธิกะมีโรคร้ายประจำตัว เป็นอุปสรรคแก่การทำความเพียร ได้ฌาน
แล้วก็เสื่อมคร้ังแล้วครั้งเล่า จึงคิดฆ่าตัวตาย มารได้โอกาสจึงหาวิธีส่งเสริมให้พระโคธิกะได้ฆ่าตัวตาย เพื่อจะได้ไม่
บรรลุอรหัตตผล แต่ในทส่ี ุดพระโคธิกะกไ็ ด้ฆา่ ตัวตายพรอ้ มกบั จิตท่ีหลุดพ้นเป็นพระอรหันต์ มารเทย่ี วหาวญิ ญาณ
ของพระโคธิกะอยา่ งไรก็ไม่พบ หารู้ไม่ว่า ท่านปรนิ ิพพานไปแล้ว (พระคาถาที่ 57 ตรสั แกม่ ารท่ีราชคฤห์)
เส้นทางของผู้ทรงศีล ผอู้ ยู่ด้วยความไม่ประมาท หลดุ พ้นเพราะรู้ชอบ มารไม่มีวนั พบเจอ
เร่ืองอายวุ ัฒนกุมาร (อายุวัฒนกมุ าร แปลว่าเด็กอายุยนื )ทารกคนหนึ่งไดร้ ับคำทำนายจากพวกพราหมณ์
ว่าจะมอี ายุแค่ 7 วัน และไม่มีวิธีที่จะแก้ไขได้ แต่พระพทุ ธองค์ทรงแก้ไขได้ด้วยการใหส้ าวกไปสวดพระปริตร และ
เมอ่ื พระพุทธองค์เสด็จไปในพิธี พวกเทวดาทั่วจักรวาลก็มาชุมนุมกนั ยักษ์ตนหน่ึงได้รบั บัญชาให้มาเอาชวี ิตเด็กใน
วนั ที่ 7 เม่ือเทวดาน้อยใหญ่มาชุมนุมกัน ยักษ์ตนนั้นซึ่งเป็นเทวดาศักดิ์ต่ำก็ไม่มีโอกาสเข้าใกล้เด็ก เพราะมีเทวดา
ศกั ดส์ิ ูงแวดล้อมเดก็ เตม็ ไปหมด รุ่งขน้ึ วันท่ี 8 มารดาบิดาของเดก็ อุ้มเด็กเข้าไปไหว้พระพุทธองค์ พระพทุ ธองคต์ รัส
ว่า ขอให้เจา้ มีอายยุ ืน ต่อมาเด็กคนนั้นเป็นอบุ าสก อายุยืน 120 ปี พระพทุ ธองคต์ รสั แก่ภกิ ษ้ังหลายวา่ คนผู้ไหว้ผ้มู ี
90 เรือ่ งเดยี วกัน.
109
พระคุณย่อมคลาดแคล้วจากภัยอันตรายจนชีวิตหาไม่(พระคาถาท่ี109 ตรัสสอนภิกษุท้ังหลายท่ีกระท่อมในป่า
เมอื งทฆี สมั พิกะ)
109 ผู้มีปกติกราบไหว้ อ่อนน้อมต่อผุ้ใหญ่ ย่อมเจริญด้วยธรรม 4 ประการ คือ อายุ วรรณะ(ช่ือเสียงดี
ผิวพรรณด)ี สุข และกำลงั 91
เรอ่ื งสามเณรสังกจิ จะ เด็กคนหน่ึงเดก็ คนหน่งึ มีรอยแผลเป็นท่ีตา เพราะถูกปลายเหลก็ แหลมของสัปเหรอ่
เขี่ยโดนเข้าขณะขณะอยู่ในท้องมารดาท่ีตายท้ังกลมและถูกเผาอยู่บนเชิงตะกอน เม่ืออายไุ ด้ 7 ขวบ พวกญาติยก
พระสารบี ุตรบรรพชาเป็นสามเณร พอปลงผมเสรจ็ สามเณรน้ันก็ได้สำเร็จอรหตั ตผล คราวหนึ่งมีภกิ ษุจำนวน 30 รูป
ซ่ึงพระพุทธองคม์ รี บั สงั่ ให้ตามสามเณรสังกิจจะไปอยู่ดว้ ย ถกู โจรจับไปเพอ่ื ฆ่าบวงสรวงเทวดา สามเณรขอสละชวี ิต
แทนภิกษุเหล่านน้ั ขณะที่โจรเง้ือดาบฟนั ลงท่ีคอ สามเณรนงั่ เขา้ ญาณ คมดาบไมอ่ าจระคายผวิ ของสามเณรได้ พวก
โจรเล่ือมใสขอบวชกับสามเณร เม่ือสามเณรไปเฝ้าพระพุทธองค์ พระพุทธองค์ตรัสสอนว่า คนมีศีล ดำรงชีวิตอยู่
เพยี งวันเดียว ก็ประเสริฐกว่าชวี ติ โจรที่เปน็ อยู่ต้ังรอ้ ยป(ี พระคาถาที่ 110 ตรัสสอนลูกศิษย์ของสามรเณรสังกจิ จะท่ี
เคยเป็นโจรเหล่าน้ัน ที่วดั เชตวนั )
ผมู้ ศี ลี ไดฌ้ าน มชี ีวติ อย่เู พียงวนั เดยี ว ประเสริฐกว่าการมีชวี ติ 100 ปี ของคนทศุ ลี ผู้มจี ิตไมต่ ง้ั มั่น
เรอ่ื งพระขานุโกณฑัญญะพระอรหันตร์ ูปหน่ึงช่ือ ขานุโกณฑัญญะ(โกญฑัญญะตอไม้)แวะพักเหนื่อยด้วย
การน่ังเข้าฌานอยู่บนแผ่นหินแห่งหน่ึง พวกโจรเพ่ิงปล้นทรัพย์ได้มา ก็พากันหยุดพักตรงน้ัน(ในตอนค่ำ)เห็นพระ
เถระเป็นตอไม้ จึงพากันวางถุงทรัพย์สนิ ท่ปี ลน้ ได้มาลงทบั ถมบนตัวท่าน รงุ่ เชา้ เมอื่ ต่างคนต่างหยิบถุงของใครของ
มนั เห็นพระเถระนั่งอยู่อย่างน้ันก็คิดว่าเป็นผี กำลังเตรียมจะเผ่นกนั พระเถระบอกว่าท่านเป็นพระไม่ใช่ผี พวกโจร
ต่างก้มลงกราบขอขมา และเกิดความเล่ือมใสขอบวชด้วย พระเถระพาไปเข้าเฝ้าพระพุทธองค์ พระพุทธองค์ตรัส
สอนภิกษุเหล่าน้ันว่า คนมีปัญญาทราม ถึงมีชีวิตอยู่เป็นร้อยปี ก็สู้คนมีปัญญอันชอบไม่ได้(พระคาถาที่ 111 ตรัส
สอนภิกษเุ หลา่ นัน้ ท่วี ดั เชตวัน)
ผูม้ ปี ญญา ได้ฌาน มชี ีวติ อยู่เพยี งวนั เดียว ประเสริฐกวา่ การมชี ีวิต 100 ปขี องคนทรามปัญญา ผู้มจี ิตไมต่ ัง้ ม่ัน
เรื่องพระสัปปทาส ภิกษุรูปหนง่ึ บวชแลว้ ร่มุ ร้อนใจ อยากจะสึก แตม่ าคดิ วา่ ถ้าจะออกไปเป็นคฤหัสถ์ตาย
เสียดีกว่า จึงพยายามฆ่าตัวตาย คร้งั แรกให้งพู ิษกดั งกู ็ไม่ยอมกัด(เป็นที่มาของชื่อ สปั ปทาส) ครงั้ ท่สี อง เอามดี โกน
จ่อคอหอยจะเชือดคอตายอยู่แล้ว แต่พอนึกสำรวจศีลของตัวเองต้ังแต่วันบวช เห็นแต่ความหมดจด เกิดปีติแล้ว
เจรญิ วิปัสสนาได้บรรลุอรหัตตผล จงึ ถือมีดโกนไปเล่าเร่ืองท่ตี นพยายามฆ่าตัวตาย แตต่ อนนี้รูแ้ ล้วแทนที่จะฆ่าตัว
ตาย ฆ่ากเิ ลสด้วยฌานเสียดกี วา่ ภิกษุท้ังหลายเกิดความสงสัยว่า อรหัตตผลเกิดข้ึนได้ในช่ัวขณะนั้นหรือ พระพุทธ
องค์ตรัสว่า ภิกษุผ้ทู ำความเพียร แค่ว่ายกเท้าข้ึนจะวางลงพน้ื ระหว่างน้ันอรหตั ตมรรคก็เกิดขนึ้ ได(้ พระคาถาท่ี 112
ตรัสสอนภกิ ษทุ ัง้ หลายท่วี ดั เชตวนั )
ผรู้ ะดมความเพียรอย่างแขง็ ขัน มีชีวิตอยู่เพียงวนั เดียว ประเสริฐกว่าการมีชีวติ รอ้ ยปี ของคนเกียจครา้ น
เหลาะแหละ
พระคาถาธรรมบทที่เหลือจากน้ี ล้วนแต่มีเร่ืองราว(นิทานนำ เหมือนท่ีได้เก็บความแสดงไว้ส่วนหนึ่งข้างต้น
ซ่ึงจะทำใหเ้ ขา้ ใจความหมายของพระคาถาธรรมแต่ละบทชดั ขึน้ ต่อไปน้คี อื พระคาถาธรรมบททเ่ี หลอื
91 เรื่องเดียวกัน.
110
ผู้พิจารณาเห็นความเกิดความดับ(เจริญวิปัสสนา)มีชีวิตอยู่เพียงวันเดียว ประเสริฐกว่าการมีชีวิตร้อยปี
ของคนผู้ไม่พจิ ารณาเหน็ ความเกิดความดับ
ผู้เห็นอมตบท(นพิ พาน)มีชีวติ อยเู่ พียงวนั เดยี ว ประเสริฐกวา่ การมีชวี ติ รอ้ ยปีของคนผู้ไม่เหน็ อมตบท
ผู้เห็นอุดมธรรม(โลกุตรธรรม)มีชีวิตอยู่เพียงวันเดียว ประเสริฐกว่าการมีชีวิตร้อยปีของคนผู้ไม่เห็น
อุตรธรรม92
ปาปวรรค-หมวดบาป 12 เรอื่ ง 13 พระคาถา
พงึ รีบทำความดี กันจติ ออกจากบาปเพราะเมื่อทำความดีชา้ ไป ใจจะแสย่ นิ ดใี นความชวั่
หากจำต้องทำความชั่ว ก็ต้องไม่ทำให้บ่อย ต้องไม่ทำความพอใจในการทำความช่ัวนั้น เพราะการสั่งสม
ความช่วั เปน็ ทกุ ข์
หากได้ทำดี ก็พึงทำบอ่ ยๆ พึงทำความพอใจในการทำความดนี น้ั เพราะการส่ังสมความดี เป็นสขุ
ตราบท่ีบาปยังไม่ส่งผล คนบาปก็จะเห็นว่ามันดี ต่อเมื่อบาปให้ผล เม่ือน้ันแหละคนบาปก็จะเห็นว่ามันเลว
เม่ือความดยี ังไม่ส่งผล คนดีกย็ ังเหน็ ไดว้ า่ มันชั่ว ตอ่ เมอื่ ใดความดใี ห้ผล เม่อื น้ันคนดีกไ็ ด้เหน็ วา่ มันดี
อยา่ ดูถกู ว่าบาปเล็กน้อยจะไม่มผี ล แม้แตห่ ม้อน้ำยงั เต็มด้วยน้ำฝนทีห่ ยาดหยด(ทีละหยด)ได้ คนโง่สัง่ สม
บาปทลี ะน้อยๆก็เต็มไปด้วยบาปได้
อย่าดถู ูกวา่ บุญเล็กน้อยจะไม่มผี ล แม้แต่หม้อนำ้ ก็ยงั เต็มด้วยน้ำฝนท่ีหยาดหยดได้ ธรี ชนส่ังสมบุญทีละ
นอ้ ยๆกเ็ ต็มเปี่ยมด้วยบญุ ได้
พึงเว้นไกลบาป เสมือนหนึ่งพ่อค้าผู้มีทรัพย์มากมีพวกน้อย เลี่ยงทางมีภัย(หรือ)เหมือนคนรักชีวิตที่เว้น
ห่างยาพิษ
มอื ท่ีไม่มีแผล หยิบถือยาพิษได้ ยาพิษซึมเข้าไม่ได้ เมื่อไม่ทำบาป บาปก็ไม่มี บาปย่อมเสนอผลแก่คนโง่
ซึ่งประทุษรา้ ยผทู้ ่ีไม่ประทุษร้าย ผู้บรสิ ุทธ์ิ ผู้ไม่มีกเิ ลส เหมือนซดั ธลุ ีทวนลม
บคุ คลพวกหน่ึงกลบั มาเกดิ ในโลกน้ี อีกพวกหนึ่งทำบาปไปสนู่ รก พวกทำดไี ปสู่สวรรค์ ส่วนผู้สิ้นอาสวะ
ยอ่ มปรนิ พิ พาน(ไมม่ กี ารเลือกอกี )
หนขี ้ึนฟ้า ไปอยกู่ ลางมหาสมทุ ร หลบไปอยู่ในซอกเขา ไม่มีเลยสักแห่งทีผ่ ู้ทำบาปจะอย่พู น้ จากบาปกรรมได้93
หนขี ้นึ ฟ้า ไปอยกู่ ลางมหาสมทุ ร หลบไปอย่ใู นซอกเขา ไมม่ เี ลยสักแห่งที่สัตวจ์ ะอย่ใู ห้พ้นความตายได้
ทัณฑวรรค-หมวดโทษทัณฑ์ 11 เรือ่ ง 17 พระคาถา
สัตว์ท้ังปวงหวาดสะดุ้งต่อโทษทัณฑ์ กลัวความตาย เมื่อคิดว่าตนก็เป็นอย่างเดียวกัน ไม่พึงลงมือฆ่าเอง
และไมพ่ ึงให้คนอ่นื ฆ่า
สัตว์ทั้งปวงหวาดสะดุ้งต่อโทษทัณฑ์ รักชีวิต เม่ือคิดว่าตนก็เป็นอย่างเดียวกัน ไม่พึงลงมือฆ่าเองและไม่
พึงใหค้ นอนื่ ฆ่า
92 เร่อื งเดียวกัน.
93 เรอ่ื งเดียวกัน.
111
สัตว์ทั้งหลายต้องการความสุข ผู้แสวงสุขแก่ตนแต่เบียดเบียนทำร้ายเขา ตายไปย่อมไม่ได้รับความสุข
สัตว์ทัง้ หลายต้องการความสุข ผูแ้ สวงสุขแก่ตน ไม่ทำร้ายใหเ้ ขาเดอื ดร้อน ตายไปยอ่ มได้รับความสุข อย่าพูดหยาบ
คายกบั ใครๆ พดู แล้วกจ็ ะถูกเขาโตก้ ลับ การพดู เอาแพ้เอาชนะกนั เป็นทกุ ข์ อาจเกิดทำร้ายซ่ึงกันและกันได้
ถ้าทำตนให้เงียบเสียงไดฆ้ ้องแตก กถ็ งึ นพิ พาน ความแขง่ ด(ี เอาแพช้ นะกัน)กไ็ มม่ ี
ความแก่และความตายไลต่ ้อนอายุของปวงสัตว์ เหมอื นคนเล้ียงโคท่ีถอื ทอ่ นไมไ้ ลต่ อ้ นฝงู โคสู่ท่หี ากนิ
คนพาลทรามปญั ญา เมื่อทำความช่วั กไ็ ม่รสู้ ำนึก ยอ่ มเดือดร้อนเพราะกรรมช่ัวทีต่ นทำ เหมอื นถกู ไฟเผา
ผู้ใดลงทัณฑ์ทำร้ายผู้ไม่ลงทัณฑท์ ำรา้ ยใคร ผู้น้ันย่อมประสบเร่ืองร้ายโดยพลนั ไม่อย่างใดก็อย่างหนึ่งใน
สบิ อย่าง
(เรื่อง 10 อย่างนั้นคือ) 1. ทุกขเวทนา สาหัส 2. ความเส่ือมเสีย 3. ถูกทำร้ายร่างกาย 4. เจ็บป่วยหนัก 5.
เป็นโรคจิต (วิกลจริต) 6 อุปสรรคจากพระราชา(ราชการ) 7 ถูกกล่าวหารุนแรง 8 เสื่อมเสียญาติ 9 ทรัพย์สมบัติย่อย
ยับ (รือ่ งร้ายอกี ประการหน่ึงคอื ) 10 บ้านเรือนถกู ไฟเผา คนทรามปัญญา (ท่ปี ระสบเรอ่ื งรา้ ยนัน้ ) ตายไปย่อมตกนรก
เป็นชีเปลอื ย มนุ่ มวยผมเป็ชฏลิ คลุกโคลนตม อดอาหาร นอนกลางคืน ปล่อยกายหมักหมมฝุ่นธุลี นั่ง
กระหย่ง(ทรมานตน)ล้วนไมช่ ่วยให้บริสทุ ธิ์(จากกิเลส)ได้ เมื่อยังไม่ข้ามพันกังขา
แม้ประดบั ตกแต่งกาย แต่ประพฤติธรรมใจสงบ ฝึกตน มั่นคง ประพฤติพรมจรรย์และไมท่ ำร้ายผู้อื่น กไ็ ด้
ชอื่ ว่าพราหมณ์ สมณะหรือภิกษุ
คนทห่ี ักห้ามใจดว้ ยหิริ มนี ้อยนกั ในโลก เขาไมย่ อมหลบั ไหล เหมือนม้าชัน้ ดหี วาดระวังแส้
เธอทั้งหลายจงมีความเพียร สำนึกได้เหมือนม้าชั้นดีท่ีถูกแส้ด้วยศรัทธา ศีล วิริยะ สมาธิ และการ
วินจิ ฉยั ธรรม เธอทั้งหลายจักสมบูรณด์ ว้ ยวิชชาและจรณะ มสี ติ ละทุกขไ์ ด้มใิ ช่น้อย
ชาวเหมืองทดนำ้ ชา่ งศรดดั ศร ชา่ งไม้ถากไม้ สว่ นผู้ประพฤติธรรมยอ่ มฝึกตน
ชราวรรค-หมวดชรา 9 เรือ่ ง 11พระคาถา
ไฉนจึงหรรษาร่าเริงกันอยู่ ในเมื่อโลกลุกเป็นไฟตลอดเวลา เม่ือความมืดปกคลุมอยู่ พวกเธอกลับไม่หา
ประทปี สอ่ ง94
ดูเรือนกายอันเพริศพริ้งสิ เต็มไปด้วยผลยกร่างขึ้นด้วยกระดูก มากด้วยโรคภัยไข้เจ็บ มีความคิดอ่าน
มากมาย ไมม่ ีความจีรังยง่ั ยืน
ร่างกายอันแก่หงอ่ มแลว้ นี้ เปน็ รงั ของโรค จกั เป็นของเนา่ เหมย็ แตกดับไป เพราะชีวติ จบลงด้วยความตาย
กระดูกเหล่าน้ี มีสีเหมือนสีนกพิราบ ไม่มีใครต้องการ เหมือนน้ำเต้าในฤดูสารท(ฤดูใบไม้ร่วง)เห็นแล้ว
น่ายินดตี รงไหนกนั
สรีระเหล่าน้ี กรรมสร้างนครแห่งกระดูก ฉาบทาไว้ด้วยเน้ือและเลือด ความแก่ ความตาย ความถือตัว
และความลบหลู่ รวมอย่ใู นนี้
ราชรถงามตระการมวี ันทรุดโทรม รา่ งกายก็มีวันทรดุ โทรม แต่ธรรมของสตุ บรุ ษุ ไมม่ ีวันทรุดโทรม สตั บุรษุ
กบั สัตบุรุษคยุ กนั เขา้ ใจ
คนมีการศกึ ษาน้อย แกเ่ ปล่า เหมือนโคถึกท่เี จริญแตเ่ นอื้ หนงั ปญั ญาหาเจรญิ ไม่
94 เรอื่ งเดียวกนั .
112
เมื่อหาไม่พบคนสร้างบา้ น เราจงึ เวียนตาย เวียนเกดิ เป็นอเนกชาติ การเกิดบอ่ ยๆเปน็ ทุกข์
ชา่ งบ้านเอย๋ ถึงเวลานี้ เราเหน็ เจ้าแลว้ เจ้าสรา้ งบ้านไม่ไดอ้ ีกแล้ว จันทัน อกไก่(ของเรอื น)เราได้หกั กระจยุ
แลว้ จิตของเราไมม่ ีปัจจยั ปรุงแต่งอกี แล้ว เราจบตัณหาได้แลว้
ไมไ่ ดป้ ระพฤติพรมจรรย์ และไมม่ ที รัพยใ์ นวยั หนุ่มสาว ยอ่ มซบเซาเหมอื นนกกระเรยี นแก่ยืนอยบู่ นปลกั ที่
ไมม่ ปี ลา ไมไ่ ดป้ ระพฤตพิ รมจรรย์ และไมม่ ีทรพั ย์ในวยั หนุ่มสาว ย่อมทอดถอนใจถึงแต่เรือ่ งหนหลัง เหมือนธนหู ักหลน่
อัตตวรรค-หมวดตน 10 เรื่อง 10 พระคาถา
หากรู้ว่าตนเป็นท่ีรัก ก็พึงรักษาตนให้ดี บัณฑิตจึงประคับประคองตนให้ได้ ไม่วัยใดก็วัยหนึ่งในสามวัย
เบอ้ื งต้น ทำตนให้ดีก่อน ตอ่ จากน้ันจงึ คอ่ ยสอนคนอนื่ บัณฑติ จงึ ไม่เสือ่ มเสีย สอนคนอืน่ อยา่ งใด ใหท้ ำตนอยา่ งนั้น
ฝกึ ตนดแี ล้ว คอ่ ยฝึกคนอืน่ เขา ดว้ ยว่าตนเองฝึกตนเองไดย้ าก ตนเองเปน็ ที่พง่ึ แห่งตน ใครที่ไหนจะเป็นทพี่ ึ่งได้ ผฝู้ ึก
ตนดแี ลว้ ย่อมได้ท่ีพ่งึ อันได้ยาก บาปท่ีตนทำ เกิดจากตน มีอยใู่ นตน มันทำลายผู้มีปัญญาทรามให้ยอ่ ยยบั เหมอื น
เพชรกดั เซาะแก้วมณี ความเป็นผู้ทุศีลเหลือกำลงั ก็เหมือนเถาย่านทรายท่ีโอบรัดต้นสาละ เขาทำตัวเอง เหมือนท่ี
ศตั รูตอ้ งการใหเ้ ปน็ กรรมชั่วทง้ั ไม่มีประโยชนแ์ ก่ตน ทง้ั ทำได้ง่าย สว่ นกรรมดี ท้ังท่ีมีประโยชนแ์ ต่ทำไดย้ าก95
คนปัญญาทรามอาศัยทิฏฐิช่ัว(มิจฉาทิฏฐิ)คัดค้านคำสอนของผู้อรหันต์ผู้ประเสริฐ ผู้ดำรงชีวิตโดยธรรม
เขาเกิดมาเพื่อฆ่าตนเอง เหมือนขุยไผ่ฆ่าต้นไผ่ ทำบาปเองก็เศร้าหมองเอง ความบรสิ ุทธ์ิ ความไม่บริสุทธิ์เป็นของ
เฉพาะตน คนหนึ่งทำให้อีกคนหนึ่งบริสุทธิ์หาได้ไม่ ถึงประโยชน์เพื่อคนอ่ืนจะมีมาก ก็อย่าให้ประโยชน์ตนเสียไป
เมื่อร้ปู ระโยชนต์ ยแล้ว ใหเ้ ปน็ ผขู้ วนขวายในประโยชนต์ น
โลกวรรค-เทวโลก 11 เรอ่ื ง 12 พระคาถา
อย่าเสพธรรมอนั เลว อย่าอยู่ด้วยความประมาท อย่าเสพมจิ ฉาทิฏฐิ อย่าเป็นคนรกโลก ลุกขึ้นเถิด อย่า
มัวประมาทอยเู่ ลย ประพฤติธรรมให้ดี ผู้ประพฤตธิ รรมที่ดี ย่อมอยสู่ ขุ ทัง้ ในโลกนี้และในโลกหนา้
ประพฤติธรรมใหด้ ี อย่าประพฤตธิ รรมให้ผิด ผปู้ ระพฤตธิ รรมที่ดี ย่อมอยสู่ ุขท้ังในโลกนี้และในโลกหนา้
บคุ คลผู้พจิ ารณาเห็นโลกเหมอื นเห็นฟู้ฟองน้ำ เหมือนเห็นพยับแดด พญามัจจรุ าช(ความตาย)ย่อมมองไม่
เห็นเขา
ดูเอาเถิด โลกนี้งามตระการดุจราชรถ เป็นท่ีท่ีคนโง่ติดอยู่ แต่สำหรับผู้รู้แจ้งเห็นจริงหาติดอยู่ไม่เคย
ประมาทมาก่อน แต่ภายหลังไม่ประมาท ก็ยงั โลกนใ้ี หส้ วา่ ง ชวี ติ รุ่งเรืองได้ เหมือนดวงจนั ทรพ์ น้ เมฆาทำบาปไว้แล้ว
ละได้ด้วยดี ก็ยงั โลกน้ีให้สว่าง ชีวิตรงุ่ เรืองได้ เหมือนดวงจันทร์พ้นเมฆา โลกน้ีมืดมน น้อยคนเห็นแจ้ง น้อยคนไป
สวรรค์ อย่างนกหลุดจากตาข่าย หงส์โบยบินอยู่ในน่านฟ้า ผู้มีฤทธ์ิเหาะไปทางอากาศ (ส่วน)ธีรชน(พระอรหันต์)
เอาชนะมารพรอ้ มไพร่พลหนีออกจากโลก
คนพดู เทจ็ ละเมิดธรรมอันเอก(คำสตั ย์)มองขา้ มปรโลก ท่ีจะไมท่ ำบาป ย่อมไม่มีคนตระหนี่ไปเทวโลกไมไ่ ด้
คนโง่ไม่สรรเสริญทาน ธีรชนอนุโมทนาทาน ฉะน้ันธีรชนจึงมีความสุขในปรโลก โสดาปัตตผิ ลประเสริฐกว่าในปฐพี
ยงิ่ กวา่ ได้ไปสรวงสวรรค์ ยิง่ กวา่ ความยงิ่ ใหญใ่ นทกุ โลก
14 พุทธวรรค-หมวดพระพทุ ธเจ้า 9 เรอ่ื ง 18 พระคาถา
95 เรื่องเดียวกนั .
113
ผู้ใดชนะกเิ ลสแล้ว ไมก่ ลบั แพม้ นั อีก ไม่มีกเิ ลสใดๆ ในโลกจะหนุนเนือ่ งตามมาได้ ผู้นั้น ซง่ึ มีอารมณอ์ นั หา
ทีส่ ุดไมไ่ ด้ ไมม่ ีรอ่ งรอยใหเ้ ห็น เจ้าจกั มีวิธีไหนพาเอาเขาไปได้
ผู้ใดไมม่ ีตณั หาดงั ร่างแหแผ่คลุม เพื่อไปเกิดในภพไหนๆ ผูน้ นั้ ซึ่งมอี ารมณอ์ ันหาทสี่ ุดมิได้ ไม่มีรอ่ งรอยให้
เห็น เจ้าจักมีวธิ ไี หนพาเอาเขาไปได้
ธีรชนผู้ขวนขวายในฌาน ยินดีใความสงบระงับ ด้วยการปลีกจากกาม เป็นสัมมาพุทธะ มีสติทุกเมื่อ
แม้แตเ่ มวดาทงั้ หลายก็กระหย่มิ ตอ่ ทา่ นเหลา่ นนั้
การได้เป็นมนุษย์ก็ยาก การที่จะมีชีวิตอยู่ก็ยาก การที่จะฟังธรรมก็ยาก การที่จะบังเกิดมีพระพุทธเจ้า
ทง้ั หลาย ก็ยาก
การไม่ทำบาปทั้งปวง 1 การยังกุศลให้ถึงพร้อม 1 การมีจิตบริสุทธ์ิหมดจด 1 น่ันคือคำสอนของ
พระพุทธเจ้าทง้ั หลาย
ขัตติคือความอดกลั้น เป็นตบะอันยวดย่ิง นิพพาน พระพุทธเจ้ากล่าวว่า ยิ่งยวด ผู้ยังมีการทำร้าย
เบียดเบยี นคนอน่ื หาใชบ่ รรพชิตไม่ ผทู้ ำใหค้ นอื่นเดือดรอ้ นกไ็ มใ่ ช่สมณะ
ไม่กล่าวร้าย 1 ไม่ทำร้ายเขา 1 สำรวมในปาติโมกข์(ประพฤติในสิกขาบท) 1 รู้ประมาณในการบริโภค 1
นอนนง่ั ในที่สงัด 1 ท้งั หมดคอื คำสอนของพระพุทธเจ้าทัง้ หลาย
ถึงเงินตราจะตกลงมาดังห่าฝน ความอยากก็ไม่รู้อ่ิม กามทั้งหลายมีสุขเล็กน้อย มีทุกข์มากกว่า บัณฑิตรู้ชัด
อย่างนี้ แม้กามอันเป็นทิพย์ สาวกของพระสัมมาสมั พทุ ธเจ้ากไ็ ม่ยนิ ดี หากยนิ ดแี ตก่ บั ความสนิ้ ตัณหา
เมื่อกลัวภัย มนษุ ย์ส่วนมากก็หันไปพึง่ ภเู ขา ป่า สวน ต้นไม้ เจดีย์(ซึ่งตนคดิ ว่าเป็นส่ิงศักดส์ิ ทิ ธิ)์ น่ันไม่ใช่
ทพ่ี ึง่ อนั เกษม นั่นไม่ใช่ที่พง่ึ อนั อดุ ม อาศัยท่ีพึ่งอยา่ งนั้น พน้ จากทกุ ขท์ ั้งปวงไม่ได้
ผถู้ งึ พระพุทธเจา้ พระธรรม พระสงฆ์เป็นท่ีพง่ึ ย่อมเห็นอริยสัจจ์ 4 ดว้ ยสมั มาปญั ญา
อริยสัจจ์ 4 น้ันคือ 1 ทุกข์ 2 เหตุให้เกิดทุกข์ 3 การก้างล่วงดับทุกข์ 4อริยมรรคมีองค์แปด อันให้ถึง
ความสงบระงับทกุ ข์ นั่นคือทีพ่ ่งึ อนั เกษม นน่ั คือท่ีพึ่งอนั อดุ ม อาศยั ท่ีพึง่ อยา่ งนั้น จึงพน้ ทุกข์ทงั้ ปวงได้
บุรุษอาชาไนย ไม่มีได้ง่ายๆ ไม่เกิดในตระกูลท่ัวไป เขาเป็นธีรชน เกิดในตระกูลใด ตระกูลนั้นย่อมได้
ความสุข การอุบัติข้ึนแห่งพระพุทธเจ้าท้ังหลาย เป็นสุข การแสดงธรรมของสัตบุรุษเป็นสุข ความสามัคคีของหมู่
เปน็ สุข ความเพียรของผู้สามคั คีกัน เป็นสุข96
บุคคลผู้ได้รับการบูชา นับถือ คือพระพุทธเจ้าและสาวกของพระพุทธเจ้า ซึ่งล่วงกิเลสได้แล้ว ข้ามพ้น
ความโศกเศรา้ และความคร่ำครวญไดแ้ ล้ว
เม่อื ได้บชู าพระพทุ ธเจ้าและพระสาวก ผดู้ บั กเิ ลสไดแ้ ล้ว ผู้ปราศจากความกลัวแลว้ ใครกป็ ระเมินบุญของ
เขาวา่ เท่านนั้ เท่าน้ไี ม่ได้
สุขวรรค-หมวดสขุ 8 เร่อื ง 12 พระคาถา
อยู่สขุ สบายจริงหนอ ที่เราไม่มีเวร ท่ามกลางคนมเี วรต่อกัน เราอยอู่ ย่างคนไม่มีเวร อยู่สุขสบายจริงหนอ
ท่ามกลางคนเรา่ รอ้ น เราไม่เรา่ ร้อน เราอยู่อย่างไม่เรา่ รอ้ น
96 เร่อื งเดยี วกัน.
114
อยู่สุขสบายจริงหนอ ท่ามกลางคนขวนขาวยวุ่นวาย เราไม่ขวนขวายวุ่นวาย เราอยู่อย่างไม่ขวนขวาย
วนุ่ วาย อยสู่ ขุ วบายจรงิ หนอ ทีเ่ ราไม่มีความกงั วล มปี ตี ิเป็นอาหาร เชน่ เดียวกับเทพอภัสสรา
ผ้ชู นะไดเ้ วร ผู้แพ้อยู่เปน็ ทกุ ข์ ละได้ท้งั ชนะและแพ้ ใจสงบ ย่อมอยเู่ ปน็ สขุ
ไฟเสมอดว้ ยราคะไม่มี โทษเสมอด้วยโทสะ ไมม่ ี ทุกขเ์ สมอดว้ ยเบญจขัญธ์ ไม่มี สขุ ทย่ี ่ิงกว่าความสงบ ไม่
มี ความหิวเป็นโรคอย่างยิ่ง สังขาร เป็นทุกข์อย่างยิ่ง เพราะรู้ในเรื่องน้ีตามเป็นจริงนิพพานจึงเป็นสุขอย่างย่ิงลาภ
สุดยอดคอื ความไมม่ ีโรค ทรัพย์ สดุ ยอดคอื ความสันโดษ ญาติ สุดยอดคือ ความคนุ้ เคย สุข สดุ ยอดคอื นิพพาน เม่ือ
ไดด้ ่ืมดำ่ รสแหง่ ความสงดั กิเลส รสแห่งความสงบระงบั รสแหง่ ปีตใิ นธรรมแลว้ ความกระวนกระวายกห็ าย บาปก็ไม่
มี การได้พบได้อยูด่ ้วย กับผเู้ ปน็ อริยะ เปน็ สขุ ทกุ เมือ่ เมื่อไมไ่ ด้พบคนพาล ก็มแี ตส่ ขุ ตลอดไป97
เมอื คบหาสมาคมกบั คนพาล ก็ยอ่ มเศรา้ เสยี ใจไปนาน อยู่กับคนพาล ก็ย่อมเปน็ ทุกข์ เหมอื นไดอ้ ยกู่ บั ศัตรู
ตลอดเวลา ส่วนธีรชน เป็นความสุขเมอ่ื ไดอ้ ยู่กบั ท่านเหมอื นได้อยูพ่ ร้อมหน้าระหว่างหมู่ญาติ
เพราะฉะนั้น พึงคบกบั สตั บุรุษผ้เู ป็นปราชญ์ มปี ญั ญา เป็นพหูสตู มีศลี มีวตั รอันดี มคี วามรดู้ ี เหมอื นดวง
จันทรโ์ คจรไปกับกลมุ่ ดาว
ปยิ วรรค-หมวดความรัก 9 เรอ่ื ง 12 พระคาถา
ประพฤติตนในเรือ่ งทไ่ี ม่ควรประพฤติ ไม่ประพฤตใิ นเรือ่ งทีค่ วรประพฤติ ปลอ่ ยท้งิ ส่งิ ทเ่ี ป็นประโยชน์ เหน็
แก่สง่ิ ท่ีนา่ รกั เม่อื เหน็ เขาประพฤตติ นได้ดีก็ไดแ้ ต่อจิ ฉาตารอ้ น
ไม่ว่าเวลาไหน ก็อย่าเอาเป็นเอาตายกบั สิ่งทร่ี ักหรือส่ิงที่ไม่รัก การไม่ได้พบสิ่งที่รักและการไดพ้ บส่ิงที่ไม่
รกั เปน็ ทกุ ข์
เพราะฉะน้ัน อย่าทำอะไรใหเ้ ปน็ ทีร่ ัก เพราะความพลดั พรากสิง่ อันเปน็ ท่ีรกั เปน็ ความเลวร้าย ผไู้ มม่ สี ิ่งที่
รักและไม่รักความผกู พนั ก็พลอยไม่มี
ความโศกเกิดจากสิ่งทรี่ ัก ภัยเกดิ จากส่งิ ทีร่ กั เมือ่ เป็นอิสระจากสง่ิ ทรี่ ัก ความโศกก็ไมม่ ี ภัยก็ไม่มี
ควาโศกเกดิ จากความรกั ภยั เกดิ จากความรกั เมอ่ื เปน็ อนิ ระจากความรกั ความโศกก็ไม่มภี ัยกไ็ มม่ ี
ความโศกเกดิ จากความยินดี ภัยเกิดจากความยินดี เมอื่ เปน็ อสิ ระจากความยินดี ความโศกกไ็ ม่มี ภัยกไ็ ม่
มี ความโศกเกดิ จากกาม ภัยเกิดจากกาม เมอื่ เปน็ อิสระจากกาม ความโศกกไ็ มม่ ี ภยั กไ็ มม่ ี ความโศกเกิดจากตัณหา
ภัยเกิดจากตัณหา เม่ือเป็นอิสระจากตณั หา ความโศกกไ็ ม่มี ภัยก็ไม่มี ใครก็รัก ถ้าเป็นคนมีศีล มคี วามเหน็ ถูกต้อง
ตั้งอยู่ในธรรม พูดคำสตั ย์ เอาการเอางานของตน
ถ้าเกิดฉนั ทะในนิพพาน สัมผัสได้ดว้ ยใจ จติ ไมผ่ กู พันอย่กู บั กาม เรยี กไดว้ า่ ขึน้ ส่กู ระแสธรรม คนจากกนั ไป
นาน เม่ือกลับจากทางไกลโดยสวัสดี ญาติมติ รและคนชอบพอกัน ย่อมยินดตี ่อการกลับมาของเขา บุญยอ่ มตอ้ นรับ
บคุ คลผู้ทำบญุ ไว้ ซึ่งโลกน้ีไปส่โู ลกหน้า เหมือนตอ้ นรบั ญาตผิ มู้ าเยอื น
โกธวรรค- หมวดความโกรธ 8 เรอื่ ง 14 พระคาถา
ละความโกรธให้ได้ สลัดความถือตัวออกไป ก้าวล่วงกิเลสร้อยรัดทั้งหมดให้ส้ิน ทุกข์ท้ังหลายก็จะไม่ตก
ต้องเขา ผ้ซู งึ่ ไม่ตดิ อยู่กับนามและรูป ไม่มีกเิ ลสทำใหก้ ังวล
97 เรอื่ งเดียวกนั .
115
ผู้ใดหยุดความโกรธท่พี ลุง่ ขึน้ ได้ เหมือนหยุดรถที่กำลังวิ่ง ผู้นั้นเรียกวา่ สารถี ได้ นอกเหนอื จากน้ี เป็นแค่
คนถอื เชอื ก
ความโกรธพึงเอาชนะด้วยความไม่โกรธ ความชั่ว พึงเอาชนะด้วยความดี ความตระหน่ี พีงเอาชนะด้วย
ทาน คนพดู เหลวไหล พึงเอาชนะดว้ ยคำสัตย์
พูดคำสัตย์ ไม่โกรธ ให้ของเล็กๆน้อยๆ ที่เขาขอ ทำได้สามอย่างนี้ สวรรค์อยู่แค่เอื้อม มุนีผู้ถืออหิงสา
สำรวมกายตลอดเวลา ย่อมไปถึงที่ซ่ึงไม่มีการไปเกิดอีก ซึ่งเมื่อไปถึงแล้วหมดโศก เม่ือมีสติ ต่ืนตัวอยู่ตลอดเวลา
ฝึกฝนตนตอ่ เนือ่ งทกุ วันคืน มจี ิตนอ้ มสนู่ พิ พานอาสวะทั้งหลายก็อยไู่ ม่ได้
อตุละ เร่ืองนี้เป็นมาแต่ไหนแต่ไร ไม่ใช่เพ่ิงเป็นวันน้ี นั่งเฉยเขาก็นินทา พูดน้อยเขาก็นินทา คนไม่ถูก
นินทาไม่มีในโลก
คนท่ีถูกนินทาโดยส่วนตัวไม่มี คนท่ีเขาสรรเสริญโดยส่วนตัวก็ไม่มี ไม่มีท้ังในอดีต ท้ังในอนคต ทั้งใน
ปัจจบุ นั 98
วิญญูชน พิจารณาดีแล้วจึงสรรเสริญคนที่ประพฤติหาที่ตำหนิมิได้ ผูเ้ ป็นปราชญ์ ตั้งม่นั อยู่ในปัญญาและ
ศีล เขาผู้นั้นเหมือนแท่งทองบริสุทธิ์ ใครเล่าจะติฉินนินทาเขาได้ เทวดาก็ชม พรหมก็สรรเสริญเขา ควบคุมอาการ
ทางกาย ระแวดระวงั สำรวมทางกาย ไม่ประพฤติผิดทางกาย แล้วประพฤตดิ ีสจุ รติ ทางกาย ควบคุมอาการทางวาจา
ระแวดระวังสำรวมทางวาจา ไมป่ ระพฤติทางวาจา แล้วประพฤติดีสุจริตทางวาจา ควบคมุ อาการทางใจ ระแวดระวงั
สำรวมทางใจ ไมป่ ระพฤติผดิ ทางใจ แลว้ ประพฤติดสี ุจรติ ทางใจ ธีรชนสำรวมกาย สำรวมวาจา สำรวมใจ เปน็ อนั ว่า
ได้สำรวมรอบดา้ นเป็นอย่างดี
มลวรรค- หมวดมลทิน 12 เร่อื ง 21 พระคาถา
เวลานี้ท่านเหมือนใบไม้เหลือง ยมทูตความตายยืนรอท่านอยู่ ท่านกำลังจะจากไป แต่เสบียง (บุญกุศล)ของ
ท่านไม่มีเลย จงทำทพ่ี ง่ึ แก่ตน จงรบี เร่งพยายาม จงเป็นบัณฑติ เมอ่ื ไรม้ ลทินสน้ิ กิเลส ก็จะถงึ อริยภมู อิ ันเป็นทิพย์ เวลา
นี้เป็นวัยใกล้ฝ่ัง เตรียมไปหาพญายม(ความตาย)แต่ที่พักระหว่างทางก็ยังไม่มีเสบียงเดินทางก็ยังไม่มี จงทำที่พ่ึงแก่
ตนเอง จงรีบเร่งพยายาม จงเป็นบัณฑิต เมอ่ื ไรม้ ลทนิ สิน้ กเิ ลส ก็จะไมเ่ กดิ ไมแ่ ก่อีก
ผ้มู ีปญั ญา ขจดั มลทิน(กเิ ลส)ของตนทลี ะเล็กทีละน้อย อยู่ทกุ ขณะโดยลำดับ เหมอื นนายช่างทองเป่าทิง้ ข้ี
แร่ สนิมเกิดจากเหล็ก แล้วกัดกินเหล็ก กรรมของผู้ไม่พิจารณาปัจจัยที่บริโภคก็เหมือนกัน ย่อมพาไปสู่ทุคติ มนต์
เส่ือมเพราะไม่สวดท่อง บ้านเรือนเสื่อมเพราะไม่หม่ันขยัน(ไม่ปรับปรุงซ่อมแซม) ความเกียจคร้าน เป็นความเส่ือม
ของผวิ พรรณ ความประมาท เป็นความเสอ่ื มของการดูแลรักษา
ความประพฤติเสือ่ มเสีย เป็นมลทินของสตรี ความตระหนเ่ี ปน็ มลทนิ ของผ้ใู ห้ทาน บาปธรรมทงั้ หลายลว้ น
เป็นมลทนิ ทงั้ ในโลกนแี้ ละในโลกหน้า
มลทนิ ท่ียง่ิ กวา่ มลทนิ อวิชชาเปน็ มลทินอยา่ งยิง่ ภิกษุทง้ั หลาย เธอทงั้ หลายจงละมลทนิ (อวิชชา)นัน้ เป็น
ผไู้ ม่มีมลทินเถิด
อยอู่ ย่างไมล่ ะอาย ร้ายอย่างกา กำจดั คนอืน่ ว่งิ เอาหน้า อวดตน ใจสกปรก เป็นชีวติ ทอี่ ยูง่ ่ายดาย
98 เร่ืองเดียวกนั .
116
สว่ นผู้มีความละอาย มุ่งความสะอาดหมดจดเสมอ ไมข่ ้ีเกียจ ไม่อวดตน มีความเป็นอยู่บริสุทธิ์ใช้ปัญญา
พจิ ารณาเปน็ ชีวติ ท่ีอย้ยู าก(อยู่อย่างฝทน)
ผใู้ ดฆ่าสัตว์ พูดเทจ็ ลกั ทรพั ย์ เปน็ ช้กู ับลูกเมียเขา...ผ้ใู ดด่ืมสรุ าเมรยั อยู่เนืองนิตย์ ผูน้ น้ั เทา่ กบั ขดุ โค่นตน
ในโลกน้เี อง
ขอจงรู้เถิดว่า คนมีบาปธรรมเป็นคนไม่สำรวม(ไม่ควบคุมตัวเอง)อย่าให้โลภะและอธรรมฉุดไปหาทุกข์
ยดื เย้อื ยาวนาน99
คนเขาให้ทานตามศรัทธา ตามความเลื่อมใส ผู้ใดจ้องแต่ว่าเขาจะให้อะไรด่ืมกิน ผู้นั้นย่อมไม่ได้สมาธิ ไม่
วา่ ในเวลากลางวันหรอื กลางคืน
อกุศลกรรมนนั้ ผใู้ ดตดั ขาด ถอนรากเหงา้ มันเสยี ได้ ผนู้ ัน้ ย่อมได้สมาธใิ นเวลากลางวันหรอื กลางคนื เขา้ สกั
วนั ไฟเสมอด้วยราคะ ไมม่ ี เคราะห์(สิง่ ครอบงำชีวติ ) เสมอดว้ ยโทสะ ไม่มี ขา่ ยดกั เสมอด้วยโทสะ ไม่มี แมน่ ้ำเสมอ
ด้วยตัณหา ไม่มี โทษของคนอ่ืนเห็นง่าย โทษของตนเองเห็นยาก คนเราชอบหว่านโปรยโทษของคนอ่นื แต่ซ่อนบัง
โทษของตน เหมือนนายพรานอำพรางตัวเอง
คนทเ่ี คยเพง่ โทษคนอ่ืน จอ้ งจับผดิ เขาอยตู่ ลอดเวลา อาสวะมแี ตจ่ ะพอกพูน ความสิน้ อาสวะยังอยหู่ า่ งไกล
ในอากาศไม่มีรอยเท้า นอกพระธรรมวินัยไม่มีสมณะ คนท้ังหลายยินดีกับกิเลสที่ทำให้เนิ่นช้า ส่วนพระ
ตถาคตไม่มกี ิเลสใหเ้ น่นิ ชา้
ในอากาศไม่มีรอยเท้า นอกพระธรรมวินัยไม่มีสมณะ สังขารอันเท่ียงถาวร ไม่มีความหว่ันไหวของ
พระพุทธเจา้ ท้งั หลาย
ธมั มัฏฐวรรค-หมวดดำรงธรรม 10 เร่อื ง 17 พระคาถา
พิจารณาตดั สินคดีโดยหนุ หัน เอาแตด่ า้ นประโยชน์ ไมจ่ ดั เปน็ คนเทยี่ งธรรม ส่วนบณั ฑติ มีการวินิจฉัยคดี
ทง้ั ดา้ นประโยชน์และดา้ นมิใชป่ ระโยชน์
นักปราชญ์ตัดสินผู้อ่ืนโดยรอบคอบ โดยยุติธรรมเสมอกัน ถือธรรมความถูกต้อง เป็นหลัก เรียกได้ว่าผู้
ดำรงอยใู่ นธรรม
บุคคลเปน็ บณั ฑิตไม่ใช่เพราะพดู มาก คนที่มีความเกษม(ปลอดกเิ ลส)ไมม่ ีเวร ไมม่ ีภัย ไดช้ ่ือว่าเป็นบัณฑิต
ผ้ทู รงธรรมไม่ใชเ่ พราะพดู มาก คนเรยี นนอ้ ยแตเ่ ขา้ ใจธรรมได้ด้วยนามกาย ไมเ่ มาธรรม จดั วา่ เปน็ ผู้ทรงธรรม
คนเราไมใ่ ชเ่ ป็นเถระผู้ใหญ่เพราะผมหงอกขาว คนผแุ้ ก่แต่วยั เรียกวา่ คนแก่เปล่า
ผใู้ ดมีสจั จะ คุณธรรม ความไม่เบียดเบียน ความสำรวมระวัง ความขม่ ใจ ละกิเลสได้เป็นปราชญ์ เรียกได้
วา่ เปน็ เถระผู้ใหญ่
สกั แต่พูดจาคลอ่ งแคล่ว ผวิ พรรณดี แต่เปน็ คนรษิ ยา ตระหน่ี โอ้อวด ใชเ่ ปน็ คนดกี ห็ าไม่
คนท่ตี ดั ขาดอกศุ ลถึงรากเหงา้ ละโทสะได้เป็นปราชญ์ เรียกว่าคนดี
ใช่สมณะศีรษะโล้นก็หาไม่ คนท่ีไม่มีศิลาจารวัตร พูดจาพล่อยๆเพียบไปด้วยความอยากความโลภเป็น
สมณะประเภทไหนกนั 100
99 เร่ืองเดียวกัน.
100 เร่ืองเดยี วกนั .
117
สงบบาปได้หมดท้ังสิน้ ละเอยี ดและหยาบ เรยี กได้ว่าสมณะ เพราะละบาปท้ังหลายได้
เพยี งแตภ่ กิ ขาจารขออาหารเขาฉนั ก็ยังไมใ่ ช่ภิกษุ ถือปฏิบตั ธิ รรมอันเป็นพษิ กย็ ังไม่ใชภ่ กิ ษุ
ผใู้ ดลอยบญุ และบาปได้แล้ว ปนะพฤติพรหมจรรย์ มีปญั ญาพิจารณาอยู่ในโลก ผนู้ ้ันเรยี กไดว้ ่าภิกษุ
คนโง่เขลาไม่รู้อะไร ถึงน่ังสงบนิ่ง ก็หาใช่มุนีไม่ ผู้เป็นบัณฑิต ถือปฏิบัติธรรมอันประเสริฐ เหมือนคน
ประคองตาช่งั
บณั ฑติ น้ันเป็นมนุ ี เพราะงดเว้นบาป ผ้ใู ดร้ทู งั้ สองโลก คือโลกน้แี ละโลกหน้า ผูน้ ้นั ได้ชอ่ื ว่ามุนี
หาใช่อรยิ ะไม่ เม่อื ยงั มกี ารเบียดเบียนสัตวอ์ ยู่ เพราะไม่เบียดเบียนสัตว์ทั้งปวงจึงได้ชอื่ วา่ อริยะ
ไมใ่ ช่เพียงเพราะถอื ศลี พรต เพราะไดศ้ กึ ษาเลา่ เรียนมาก เพราะได้สมาธิ หรือเพราะอยใู่ นทสี่ งัด..
ภิกษเุ อ๋ย ยังไมส่ ้ินอาสวะ อยา่ ได้วางใจวา่ เราได้สัมผัสเนกขัมมสุข(สขุ ของนักบวช)อันปถุ ุชนไม่ไดแ้ ตะ
มัควรรค-หมวดอริยมรรค 10 เรื่อง 17 พระคาถา
ในบรรดาทางมรรคมีองค์ 8 เปน็ เลิศ ในบรรดาสัจจะ อริยสัจจ์ 4 (จตุบท)เป็นเลิศ ในบรรดาธรรม วิราคะ
เป็นเลิศ ในบรรดาเทวาและมนุษย์ พระสัมมาสัมพุทธเจ้าเปน็ เลิศ
มีแต่ทางน้ีเท่านั้น ไม่มีทางอื่นท่ีจะทำให้ญาณทัสสนะหมดจด เดินทางนี้กันเถิด พวกมารจะได้หลงทาง
เมื่อเดนิ ทางนี้ กจ็ ักทำใหท้ ุกขส์ น้ิ สดุ ได้ เราร้วู ิธถี อนลูกศรแหง่ กเิ ลสแลว้ จงึ ชีบ้ อกทาง
ความเพียรเพื่อเผากเิ ลส เป็นหน้าทท่ี เ่ี ธอทัง้ หลายพงึ กระทำ ตถาคตเป็นแต่เพยี งผบู้ อก เมอื่ ได้ดำเนนิ ตาม
เพียรเพง่ ก็จะพ้นจากบ่วงมาร
เมื่อได้พิจารณาเห็นด้วยปัญญาว่าสังขารท้ังปวงไม่เที่ยง ก็จะหายติดในส่ิงอันเป็นทุกข์นี้เป็นทางสู่ความ
บรสิ ุทธิ์
เม่ือพิจารณาเห็นด้วยปัญญาว่าสังขารทั้งปวงเป็นทุกข์ ก็จะหายติดในสิ่งอันเป็นทุกข์ย้ีเป็นทางสู่ความ
บริสุทธ์ิ เม่ือพิจารณาเห็นด้วยปัญญาว่า ธรรมท้ังปวงเป็นอนัตตา ก็จะหายติดในสิ่งอันเป็นทุกข์ น้ีเปน็ ทางสู่ความ
บริสุทธ์ิ
คนหนุ่มมีเรีย่ วแรงแตข่ ้ีเกียจ ไม่ขยันในเวลที่ต้องขยนั นึกคิดแตใ่ นทางต่ำ เปน็ คนเกียจคร้านและเฉอ่ื ยชา
ย่อมไม่พบทางแห่งปัญญา ระวังวาจาสำรวมใจไม่ทำความทุกข์ด้วยกายทำกรรมบถ 3 อย่างน้ีให้หมดจด กฌจะได้
ชื่นชมมรรคทพี่ ระพทุ ธเจา้ ประกาศไว้
ปัญญาเกิดจากการใช้ความคิด ด้วยเหตุผล ปัญญาเสื่อมหมดไปเพราะไม่ใช้ความคิด เม่ือรู้ท้ังทางเจริญ
และทางเสอ่ื มแหง่ ปญั ญาก็พงึ ดำรงตนโดยวธิ ที ป่ี ญั ญาจะเจริญขนึ้
ภิกษุท้ังลหาย พวกเธอจงตัดป่า(กิเลส) อย่าตัดต้นไม้ ภัยเกิดจากป่า(กิเลส) เม่ือตัดป่าและสุมทุมพุ่มไม้
(กิเลสนอ้ ยใหญ)่ ได้แล้ว กจ็ ะเป็นคนไม่มปี า่ กเิ ลสให้มภี ัยตาม
เมอ่ื กเิ ลส(ราคะ)อนั เปรยี บเสมือนสมุ ทมุ พมุ่ ไมท้ มี่ ีตอ่ สตรียงั ไมถ่ ูกตัดขาด แม้มีอยเู่ ล็กนอ้ ย ก็แสดงว่ายังใจ
เกย่ี วเกาะอยู่ ดุจเดยี วกบั ลูกโคทย่ี ังไม่หย่านม ห่างแม่โคไม่ได้
จงถอนความเย่ือใยของตน เหมือนเอามือถอนบัวในฤดูสารท จงเจริญทางสู่สันติคือนิพพาน ซึ่งพระสุคต
แสดงไวแ้ ลว้
คนโง่มักคิดว่า เราจักอยู่ที่นี่ตลอดฤดูฝน เราจักอยู่ท่ีนี่ถึงฤดูหนาวและร้อน ไม่ได้สำนึกถึงอันตรายคนที่
หมกมุ่นอยูก่ ับบุตรและสตั ว์เลยี้ ง มใี จเกาะเกี่ยวอย่กู บั อารมณ์ มัจจรุ าชย่อมฉดุ คร่าเอาไป เหมอื นนำ้ หลากพดั พาเอา
118
คนหลับไหลจมหาย บตุ รก็ต้านทานไมไ่ ด้ บดิ ากต็ ้านไมไ่ ด้ พวกพอ้ งกต็ า้ นานไมไ่ ด้ เมอื่ ความตายมาถงึ เขา้ ไม่มีญาติ
คนไหนจะตา้ นทานได้เลย เพราะรู้ในเรื่องความตายนี้ บัณฑิตจึงสำรวมในศลี ทำทางส่นู ิพพานใหห้ มดจดมไิ ดช้ า้ 101
ปกณิ วรรค-หมวดเบ็ดเตล็ด 9 เร่ือง 16พระคาถา
เห็นว่าจะเป็นสุขอันยิ่งใหญ่ เมื่อได้สละสุขอันเล็กน้อย ธีรชนจึงสละสุขอันเล็กน้อยโดยเห็นแก่สุขอัน
ยิ่งใหญ่ ผู้ใดปรารถนาสุขเพอื่ ตน ดว้ ยการกอ่ ทุกข์แกค่ นอืน่ ผ้นู ั้นผกู ตนไวก้ บั เวร รอดพน้ จากเวรไปไมไ่ ด้ อะไรท่ีตอ้ ง
ทำแต่ไมท่ ำ ไปทำสงิ่ ทไี่ ม่ควรทำ อาสวะย่อมพอกพูนแก่เขา ผู้ถอื ตัวมัวประมาท ผเู้ จรญิ กายคตาสตเิ ป็นนิตย์ ย่อมไม่
ทำส่ิงที่ไมค่ วรทำ แต่ทำสิง่ ทค่ี วรทำ เมื่อมสี ตสิ ัมปะชัญญะ อาสวะก็อยูไ่ ม่ได้
เมื่อฆ่าเสียได้ซึ่งมารดา(ตัณหา)บิดา(อัสมิมานะ) ฆ่าเสียได้ซึ่งขัตตัราชา 2 องค์(สัสสตทิฏฐิอุจเฉททิฏฐิ)
ทำลายเสียได้ซึ่งแว่นแคว้น(อายตนะภายใน-อายตนะภายนอก) พร้อมทั้งพนักงานเก็บส่วย(กามราคะ)ก็เป็น
พราหมณ์ ไปไหนๆ อยา่ งไรท้ กุ ข์
เมื่อฆ่าเสียได้ซ่ึงมารดา (ตัณหา) บิดา (อัสมิมานะ) ฆ่าได้เสียซ่ึงพราหมณ์ผู้ราชาท้ังสอง (สัสสตทิฏฐิและ
อุจเฉททิฏฐิ) ทำลายได้เสยี ซงึ่ นวิ รณ์ 5 อันเปรยี บเสมอื นทางเสือผ่าน กเ็ ปน็ พราหมณ์ ไปไหนๆอยา่ งไรท้ กุ ข์
สาวกพระสมณะโคดมมีสติอยู่กบั พุทธคุณตลอดเวลา ท้ังกลางวนั และกลางคนื จึงต่นื ดีทุกเม่อื สาวกพระ
สมณะโคดมมีสติอยู่กบั ธรรมคุณตลอดเวลา ทั้งกลางวันและกลางคนื จึงตืน่ ดีทุกเมื่อ สาวกพระสมณะโคดมมีสติอยู่
กับสงั ฆคณุ ตลอดเวลา ทั้งกลางวนั และกลางคืน จงึ ตืน่ ดีทุกเมือ่
สาวกพระสมณะโคดมมีสติอยู่กับกาย(กายคตาสติ)ตลอดเวลา ท้ังกลางวันและกลางคืน จึงตื่นดีทุกเม่ือ
สาวกพระสมณะโคดมมใี จยินดีในอหิงสาเสมอ ทั้งกลางวันและกลางคืน จึงต่ืนดีทุกเมื่อ สาวกพระสมณะโคดมมีใจ
ยนิ ดใี นภาวนา(อบรมจติ )เสมอ ทงั้ กลางวันและกลางคืน จึงตื่นดีทุกเมือ่
บวชก็ยาก ใหย้ ินดีเมื่อบวชแล้วก็ยาก ครองเรือนไมด่ ี เป็นทุกข์ อยู่รว่ มกบั คนไม่เท่าเทียมกัน(โดยศลี เป็น
ต้น)เปน็ ทุกข์ เดนิ ทางไกลในสังสารวฏั เป็นทกุ ข์ ฉะนั้นอยา่ เดนิ ทางไกล อย่าหาทุกข์ใส่ตน
มศี รทั ธา มีศีลสมบรู ณ์ (ความยกย่อง นบั ถือ) และมโี ภคทรพั ย์พรกั พรอ้ ม คบกับใครที่ไหนก็ไดค้ วาเคารพ
นับถือเขา คนดีปรากฏใหเ้ ห็นไกล เหมอื นภหู ิมพานต์ ส่วนคนชั่วอย่แู ค่นก้ี ็ไม่ปรากฏ เหมือนลกู ศรทย่ี ิงในเวลาค่ำมืด
ภกิ ษนุ ง่ั คนเดยี ว นอนคนเดียว ไมเ่ กียจครา้ น ไปไหนคนเดยี ว ฝึกตนอยูค่ นเดียว ยินดีแต่ป่า
นิรยวรรค-หมวดนรก 9 เรอ่ื ง 14 พระคาถา
พูดคำไมจ่ รงิ กบั ทำแลว้ บอกวา่ ไม่ได้ทำคนสองคนนี้ลว้ นทำชัว่ ตายไปแล้วเท่าเทียมกนั ในปรโลก มีมากที่
กาสาวพัสตร์พันคออยู่ แต่ปะพฤติชั่ว ไม่สำรวมระวัง คนชั่วเหล่าน้ันย่อมตกนรก เพราะกรรมชั่ว กลืนก้อนเหล็ก
ร้อนปานเปลวไฟ ยังดีกว่าที่จะเป็นคนทุศีล ไม่สำรวม ฉันอาหารของชาวบ้าน คนมัวเมาผิดลูกเมียเขาย่อมประสบ
เร่ืองเลวรา้ ย 4 อย่าง 1 ไดส้ ง่ิ ทไี่ มด่ (ี บาป)2หลับไมส่ นทิ 3 คนนนิ ทา 4 ตกนรก ได้สง่ิ ที่ไม่ดี(บาป)1 มีคติภพอันเลว 1
ไดค้ วามยินดีเลก็ นอ้ ยเพราะต่างคนตา่ งกลวั ความผดิ ต้องโทษอาญาหนกั 1 เพราะฉะน้ัน จงึ ไมค่ วรผดิ ลูกผิดเมียเขา
เหมือนหญ้าคา จับไม่ดีก็บาดมือ เป็นสมณะประพฤติผิด เจอนรก การงานเหยาะแหยะ วัตรเศร้าหมอง
พรหมจรรย์รวนเร ไม่มีผลย่ิงใหญ่ หากทำก็ต้องทำให้จริง มีความบากบั่นเหนียวแน่น เป็นบรรพชิตย่อหย่อน ยิ่งเป็น
การโปรยกเิ ลสใส่ตน กรรมชั่วไม่ทำเสียเลยดกี ว่า เพราะมันทำให้เดือดร้อนตามมา ทำกรรมดไี ว้ดีกว่า เพราะทำแล้ว
101 เร่อื งเดียวกนั .
119
ไม่ต้องเฝ้าแต่เดือดรอ้ น จงปอ้ งกันตน เหมือนท่ีเขาปอ้ งกันเมืองชายแดน ท้ังในเมืองและนอกเมือง แต่ละขณะอย่า
ให้ผ่านเลยไป โดยเปล่าประโยชน์ เพราะพวกที่เศร้าเสียใจเต็มนรกอยู่ เป็นพวกปล่อยโอกาสให้ล่วงเลยไปเปล่า
ละอายในเร่อื งท่ีไม่ควรละอาย ไมล่ ะอายในเรื่องทคี่ วรละอาย ผู้ยึดถือเอาไว้ซึง่ มจิ ฉาทิฏฐิอย่างน้ีย่อมไปสู่สุขคติ เห็นสิ่ง
ท่ีไม่เป็นภัยว่าเป็นภัย เห็นสิ่งท่ีเป็นภัยว่าไม่เป็นภัย ผู้ยึดถือเอาไว้ซ่ึงมิจฉาทิฏฐิอย่างนี้ย่อมไปสู่สุขคติ เห็นสิ่งท่ีไม่มี
โทษวา่ มโี ทษ เห็นสง่ิ ท่ีมีโทษวา่ ไม่มีโทษ ผูย้ ึดถอื เอาไว้ซ่งึ มิจฉาทฏิ ฐอิ ยา่ งนี้ ย่อมไปสู่สุขคติ อะไรมีโทษกร็ ู้ว่ามโี ทษ ไม่มี
โทษกร็ วู้ ่าไม่มโี ทษ ผ้ยู ดึ ถอื เอาไวซ้ ่งึ สัมมาทิฏฐิอยา่ งน้ยี อ่ มไปสู่สุขคติ102
นาควรรค-หมวดช้าง 8 เรือ่ ง 17 พระคาถา
เราจกั อดกลั้นต่อคำล่วงเกิน เหมือนช้างออกศึก ที่ทนต่อลูกศรซ่ึงพงุ่ จากแล่งเขา้ มาหา เพราะคนสว่ นมาก
เป็นพวกทุศีล ชา้ งที่ฝึกแลว้ เขาจึงพาออกงาน ชา้ งท่ีฝกึ แลว้ พระราชาจึงขน้ึ ทรง ในหมมู่ นษุ ย์ผ้ฝู ึกตนแล้วอดกลั้นต่อ
คำลว่ งเกนิ ได้ เป็นคนล้ำเลิศ
สัตว์ช้ันดีคือม้าอัสดร ม้าสนธพอาชาไนย พญาช้างกุญชร ซึ่งได้รับการฝึกแล้ว มนุษย์ผู้ฝึกตนแล้วดีกว่า
นั้น ทิศทางท่ีไม่เคยไป(คือนิพพาน)ไม่อาจไปถึงได้ด้วยพาหนะทั้งหลายอย่างท่ีฝึกตนไปถึงได้ ผู้ฝึกตนแล้วไปถึง
(นพิ พาน)ไดด้ ว้ ยตนท่ไี ดฝ้ กึ แลว้
ช้างกุญชรช่ือ ธนปาลกะ ตกมัน ขังไว้ไม่อยู่ ถูกเขาล่ามโซ่ ไม่ยอมกินอาหาร หวนคิดถึงแต่ปางช้าง(นา
ควัน) เม่ือยงั เป็นคนเห็นแกก่ นิ งวั เงยี หลบั กลงิ้ อยู่บนท่ีนอน เหมือนหมูอ้วนท่ีเขาขนุ ดว้ ยอาหาร ก็เป็นคนอ่อนดอ้ ย
ปญั ญา ตอ้ งเกดิ แล้วเกดิ อกี
เมื่อก่อนจติ น้ีระหกระเหินไปตามความอยาก ตามความรัก ตามความสุข วันนี้ข้าขอบงั คับมันด้วยโยนิโส
มนสกิ าร เหมือนคนถอื ของบงั คบั ชา้ งตกมนั
จงยินดีในความไม่ประมาท จงเฝ้ารักษาจิตของตน จงยกตนขึ้นจากหล่มกิเลสเหมือนช้างกุญชรติดหล่ม
(พยายามข้นึ จากหลม่ )
ถ้ามีเพอื่ นผ้มู ีปัญญาเอาตัวรอดได้ ไปดว้ ยกนั ได้ เป็นคนมธี รรมประจำใจดี เปน็ ปราชญเ์ อาชนะทกุ อย่างได้
ขอใหด้ ีใจ มีสติอย่กู ับเขา103
ถ้าไม่ได้เพ่ือนผู้มีปัญญาเอาตัวรอดได้ ไปด้วยกันได้ เป็นคนมีธรรมประจำใจดี เป็นปราชญ์ก็พึงไปเพียง
ลำพงั เหมอื นพระราชาทิ้งเมืองข้ึนไว้ขา้ งหลงั เหมอื นชา้ งมาตงั คะท้งิ โขลงไปอยู่ในป่าเดยี วดาย
อยู่คนเดียวดีแล้ว คนพาลไม่มีความเป็นเพ่ือน พึงอยู่เพียงลำพัง และไม่ทำบาป ด้ินรนขวนขวายให้น้อย
เหมือนชา้ งมาตงั คะอย่ใู นป่าเดยี วดาย
เม่ือต้องการความช่วยเหลือ มีเพ่ือน ก็มีความสุข ยินดีตามมีตามได้ ก็มีความสุข เมื่อจะส้ินชีวิต บุญนำ
ความสุขมาให้ มีความสุข ได้เกื้อกูลมารดาก็เป็นสุข ได้เก้ือกูลบิดาก็เป็นสุข ได้เก้ือกูลสมณะก็เป็นสุข ได้เก้ือกูล
พรหมกเ็ ป็นสุข ศลี นำสขุ มาให้ตราบชรา ศรัทธาทีต่ ั้งมน่ั นำสขุ มาให้ การได้ปญั ญานำสขุ มาให้ การไมท่ ำบาปนำสุข
มาให้
ตัณหาวรรค-หมวดตัณหา 12 เรอื่ ง 26 พระคาถา
สำหรับคนที่อยู่อย่างประมาท ตัณหาย่อมงอกงามเหมือนเถาย่านทราย ต้องระหกระเหินอยู่ในภพน้อย
ใหญ่ เหมอื นลิงต้องการผลไม้ ห้อยโหนอยใู่ นป่า
102 เรือ่ งเดียวกนั .
103 เร่ืองเดียวกัน.
120
ตัณหานีเ้ ป็นสิ่งชั่วร้าย แผ่ซ่านอย่กู ับอารมณ์ในโลก ใครถูกมันครอบงำก็มแี ต่จะเศรา้ โศก ไมต่ ่างอะไรกับ
หญ้าเจอฝน
ผใู้ ดเอาชนะตณั หาชวั่ รา้ ยซึ่งเอาชนะได้ยากในโลก ความเศรา้ โศกย่อมหลุดรว่ งไปจากเขา เหมอื นหยาดน้ำ
หลน่ จากใบบวั
ขอบอกว่า ความจริงจงมีแต่ท่านทั้งหลาย บรรดาที่มาชุมนุมกัน ณ ที่นี้ ขอให้ขุดรากเหง้าแห่งตัณหา
เหมอื นคนตอ้ งการแฝก ขุดหญ้าคมบางท้งิ อย่าให้มาระรานได้บอ่ ยๆเหมือนสายน้ำพดั ออ้ ให้ลูเ่ อน
ตน้ ไม้เม่ือรากยังคงมั่น ไม่มีอะไรบ่อนเบียน แม้จะถูกตดั ก็งอกขน้ึ ได้อีก ทุกข์ก็เหมือนกัน เม่ือเชือ้ ตัณหา
ยงั ไมถ่ ูกทำลาย ก็ย่อมเกิดได้เร่อื ยไป
ตณั หา 36 กระแส เช่ียวกรากไปตามอารมณ์อันพึงพอใจ เกิดแก่ผู้ใด ควรนึกคิดอันราคะแอบอิงย่อมพัด
พาเขาใหม้ คี วามเห็นผดิ
สายน้ำ (แหง่ ตณั หา) ไหลหลากไปทัว่ เถาวลั ย์ (แห่งกเิ ลส) งอกงาม ก็จงใชป้ ัญญาตัดเหง้ามันเสีย
คนเราย่อมมโี สมนสั ซมึ ซา่ น อาบไว้ดว้ ยตณั หาเขามใี จสำราญแสวงหาความสขุ จึงไดเ้ กดิ และแก่ (ไม่สิน้ สุด)
ชาวโลกอยู่ในวงล้อมของตัณหา จงึ กระเสอื กกระสนเหมือนกระต่ายติดกับดัก เขาข้องคาอยู่กับกิเลส จึงได้รับทุกข์
ยึดเยื้อยาวนาน ชาวโลกอยู่ในวงล้อมของตัณหา จึงกระเสือกกระสนเหมือนกระต่ายติดกับดัก ภิกษุเม่ือหวังความ
หมดใคร่ จึงต้องขจัดตณั หา
เขาดูสิ อยู่นอกป่า (กิเลส) แล้วยังมีใจน้อมไปหาป่า พ้นจากป่าออกมาแล้วยังวิ่งเข้าป่าอีก เขาเป็นอิสระ
แล้วยังวงิ่ เขา้ หาเครือ่ งจองจำอีกจนได้104
เครื่องจองจำที่ทำจากเหลก็ ไมแ้ ละปอป่าน ปราชญไ์ ม่เรยี กวา่ เป็นเครอื่ งจองจำแน่นเหนยี ว ความรกั ความ
ยนิ ดใี นเคร่อื งประดับและความจดจอ่ ห่วงใยท่ีมตี ่อบตุ รภรรยาต่างหาก (คอื เคร่ืองจองจำทยี่ ง่ิ กว่า)
เคร่ืองจองจำชนิดนี้แหละ ซ่ึงเหน่ียวรั้งหลวมๆแต่แก้ยาก ปราชญ์เรียกว่าเคร่ืองจองจำอันแน่นเหนียว
ท่านตดั เสยี ได้ ไม่มีความเยื่อใย ละกามสขุ ออกบวช
คนท่ถี ูกราคะย้อมจติ ยอ่ มดิ่งสูก่ ระแสตัณหา เหมือนแมงมุมตกลงไปตดิ ใยที่ตนทำเอาไวเ้ อง ปราชญจ์ งึ ตัด
กระแสตัณหาไม่มีความเย่ือใย ละทุกข์ทั้งปวงออกบวช
จงปลดเปล้ืองตัณหา (ความรัก, ความอาลยั ) ทั้งทรี่ อข้างหน้า ท้ังที่ผ่านมาแล้ว ท้ังท่กี ำลงั มีอยู่ แล้วจะถึง
ฝงั่ แห่งภพ มใี จหลดุ พน้ ในส่ิงทง้ั ปวง ไมม่ ีการเกิดแก่อกี ตอ่ ไป
คนที่ถูกวิตกครอบงำ มีราคะกล้า เห็นส่ิงทั้งหลายว่าสวยงาม ตัณหาก็ยิ่งพอกพูน เขานั่นแหละได้กระชับ
เครื่องจองจำให้แน่นเข้าอีก ผู้ใดยินดีในธรรมอันสงบระงับวิตก เจริญอสุภกรรมฐาน มีสติอยู่ทุกเมื่อ ผู้น้ันแหละขจัด
ตัณหาไดห้ มดสนิ้ ตดั ทำลายเครือ่ งจองจำแหง่ มาร (ขาดสะบ้ัน) ผไู้ ปถงึ จุดหมาย ไม่มีความหวัดหวัน่ ปราศจากตณั หา ไม่
มกี เิ ลสยั่วใจ ตัดลูกศร (กิเลส) อนั นำไปส่ภู พขาดแล้ว การเกิดกายครง้ั น้ี เปน็ อวสาน
ผู้ปราศจากตณั หาไม่ถอื มั่น แตกฉานในนิรตุ ติ เชย่ี วชาญวลีอกั ษรและเหตผุ ลเช่อื มโยง เขาเกิดกายเป็นหน
สุดท้าย เรยี กไดว้ ่า มหาบุรษุ ผทู้ รงปญั ญาย่ิงใหญ่
เราครอบงำสรรพส่งิ รแู้ จง้ สรรพสง่ิ ไม่ติดในสรรพส่งิ ละสรรพสิ่งไดแ้ ลว้ หลดุ พน้ เด็ดขาดเพราะสนิ้ ตัณหา
ตรสั รดู้ ว้ ยตนเอง จงึ ไม่รู้จะอ้างองิ ใคร (วา่ เป็นคร)ู
ธรรมทานชนะทุกทาน , ธรรมรสชนะทุกรสยินดีในธรรม ชนะทุกความยินดี ส้ินตัณหาชนะทุกข์ท้ังปวง
โภคทรัพยฆ์ า่ คนโง่ได้ ฆา่ ผู้แสวงฝง่ั นพิ พานไม่ได้ เพราะมตี ัณหาในโภคทรพั ย์ คนโงย่ ่อมฆา่ ตนเองเหมอื นฆา่ ผู้อน่ื ผนื
นาเสยี หายเพราะหญา้ สัตวโ์ ลกเสียหายเพราะราคะ ฉะนั้น ทา่ นทใี่ ห้แกผ่ ู้ปราศจากราคะ จึงมผี ลมาก ผนื นาเสียหาย
เพราะหญ้า สัตว์โลกเสียหายเพราะโทสะ ฉะน้ัน ท่านท่ีให้แก่ผู้ปราศจากโทสะ จึงมีผลมาก ผืนนาเสียหายเพราะ
104 เรือ่ งเดยี วกัน.
121
หญ้า สัตว์โลกเสยี หายเพราะโมหะ ฉะนนั้ ท่านทใี่ ห้แก่ผู้ปราศจากโมหะจงึ มผี ลมาก ผืนนาเสียหายเพราะหญา้ สัตว์
โลกเสียหายเพราะความอยากฉะนั้น ท่านทใ่ี หแ้ กผ่ ู้ปราศจากความอยาก จึงมีผลมาก
ภกิ ษวุ รรค-หมวดภกิ ษุ 12 เร่ือง 23 พระคาถา
สำรวมตา ดี, สำรวมหู ดี, สำรวมจมกู ดี, สำรวมลิ้น ดี
สำรวมกาย ดี, สำรวมวาจา ดี, สำรวมใจ ดี, สำรวมทุกทาง ดี ภกิ ษุผูส้ ำรวมทกุ ทางย่อมพ้นจากทกุ ขท์ ้ังปวง
ผสู้ ำรวมมือ สำรวมเทา้ สำรวมวาจา สำรวมตน ยนิ ดใี นธรรมภายใน (ฝึกอบรมจติ ) มีจติ เปน็ สมาธิ พอใจในตนเองอยู่
คนเดียว เรยี กได้ว่า ภิกษุ คำกล่าวของภิกษุผู้สำรวมปาก พูดด้วยปัญญา ไม่ฟุ้งซ่าน แสดงอรรถและธรรมแจ่มแจ้ง
ย่อมหวานซึ้ง ภิกษุผู้มีธรรมเป็นที่ยินดี ยินดีในธรรม พิจารณาธรรม ระลึกถึงธรรมอยู่เสมอ ย่อมไม่เส่ือมจาก
สัทธรรม
อย่าดูหมิ่นลาภ (ปัจจัย 4) น้อย อย่าเที่ยวอยากได้ลาภของคนอ่ืน ภิกษุผู้อยากได้ลาภของคนอ่ืน ย่อม
ไม่ไดส้ มาธิ
อย่าดูหมนิ่ ลาภ (ปจั จยั 4) น้อย แตไ่ มด่ ูหม่ินลาภของตน ดำรงชวี ิตอย่างบรสิ ทุ ธ์ิ ไม่เกียจคร้าน เทวดากย็ งั
เทดิ ทูน
ผไู้ ม่มีความยึดมั่นในนามและรูปว่าเป็นของเราโดยประการทงั้ ปวง และเม่ือไมม่ ีนามและรปู น้ัน ก็ไมเ่ ศร้า
เสียใจ เรียกไดว้ ่า ภกิ ษุ
ภกิ ษุใดอยู่ด้วยเมตตา (ไดเ้ จโตวิมตุ ต)ิ เลือ่ มใสในคำสอนของพระพทุ ธเจา้ ภกิ ษุนนั้ ตอ้ งได้บรรลนุ ิพพานอนั
สขุ สงบระงับสังขาร
ภิกษุเอ๋ย จงวิดเรือน้ี เม่ือวิดเรือแล้วก็จะไปได้เร็ว (คือ) เมื่อละราคะโมสะ (และโมหะ) ได้แล้ว ก็จักไปถึง
นพิ พาน
ภกิ ษทุ ี่ตดั 5 (สังโยชน์เบื้องต่ำ 5) , ละ 5 (สังโยชน์เบ้ืองสูง 5) , เจรญิ อีก 5 (อนิ ทรีย์ 5) , ไม่ขอ้ งคาอย่กู ับ
5 (ราคะ, โทสะ, โมหะ, มานะ, ทิฏฐิ) ไดแ้ ลว้ เรียกวา่ ผู้ขา้ มห้วงกิเลสได้แลว้
จงเพียรเพ่ง (เจริญสมาธิ) เถิดภิกษุ อย่าประมาท อย่าให้จิตหมุนเข้าหากามคุณ อย่าเผลอกลืนกินก้อน
เหลก็ (ร้อน) อยา่ ให้กรรมแผดเผาแล้วครวญวา่ “ทุกขจ์ ริงหนอ” ไม่มีปัญญากไ็ ม่มีฌาน ไม่มฌี านก็ไมม่ ปี ัญญา ผ้ใู ด
มที ้งั ฌานและปัญญา ผู้นั้นก็จ่อนิพพาน
ความยินดี (อันเกิดฌานสมาบัติและวปิ ัสสนา) ไม่ใช่มีแก่คนท่ัวไป หากมีแก่ภิกษุผู้อาศัยเรือนว่าง, มีจิต
สงบ, เหมือนแจ้งธรรมเป็นอยา่ งดี
ทุกเมื่อท่ีภิกษุพิจารณาเห็นความเกิดความดับของขันธ์ทั้งหลาย ย่อมได้ปีติและปราโมทย์ น้ันคืออมต
ธรรมของผรู้ ูแ้ จง้ 105
แรกเริ่มในการที่จะได้อมตธรรมน้ัน ภิกษุผู้มีปัญญาในพระธรรมวนิ ัยน้ี 1. รักษาอินทรีย์ 2. สันโดษ 3.
สำรวมในพระปาตโิ มกข์ 4. คบกลั ยาณมติ ร ซึง่ มีความเปน็ อยูอ่ ันบริสทุ ธิ์ ไม่เกียจครา้ น
ภิกษุผู้ประพฤติในปฏิสันถาร (ต้อนรับด้วยอามิสและด้วยธรรม) ฉลาดในเร่ืองกิริยามารยาท แล้วจักเป็นผู้
มากดว้ ยปราโมทย์ กระทำจดุ จบแกท่ ุกข์ได้ มะลิ สลัดดอกแห้งเห่ียวท้ิง ภิกษุทงั้ หลาย! เธอก็เหมอื นกัน จงสละท้งิ ราคะ
และโทสะเสีย ภิกษุผู้มีกายสงบ มีวาจาสงบ มีใจสงบ มีสมาธิมั่นคง คายโลกามิส (กามคุณ) ได้แล้ว เรียกได้ว่า ผู้สงบ
ระงับ จงเตือนตนด้วยตนเอง พิจารณาตนด้วยตนเอง ภิกษุเอ๋ยเมื่อเธอคุ้มครองตนได้ ก็จักอยู่เป็นสุข ตนเองเป็นที่พ่ึง
ของตน ตนเองเป็นทางไป (คติ) ของตน เพราะฉะนั้น จงสงวนตนเหมือนพ่อค้าดูแลม้าคู่ใจ ภิกษุผู้มากด้วยปราโมทย์
เล่อื มใสในคำสอนของพระพุทธเจ้า ตอ้ งได้บรรลุนพิ พานอนั สงบระงับสังขาร เป็นสขุ ภิกษุแม้ยังหน่มุ แต่ปฏิบัตติ ามคำ
สอนของพระพทุ ธเจา้ ย่อมชว่ ยให้โลกสว่างไสว ดุจดวงจันทร์ท่ลี อยพน้ จากเมฆหมอก (สอ่ งสวา่ งท่วั ฟ้า)
105 เร่ืองเดียวกัน.
122
พรหมณวรรค-หมวดพราหมณ์ 39 เรือ่ ง 41 พระคาถา
พราหมณ์เอ๋ย พยายามตัดกระแส (ตัณหา) ให้จงได้ ลดละกามท้ังหลายให้จงได้ เม่ือรู้ถึงความส้ินไปแห่ง
สังขาร ท่านกร็ ู้นิพพาน เม่ือใด พราหมณ์ถึงฝ่ังในธรรมทั้งสอง (คือสมถะและวปิ ัสสนา) เมือ่ นั้น กิเลสผูกมัดทั้งปวง
ผูร้ ู้ กถ็ งึ จดุ จบ
เมื่อไม่มฝี ั่งน้ี (อายตนะภายใน 6) ไม่มฝี ่ังโนน้ (อายตนะภายนอก 6) หรือไมท่ ้ังสองฝ่ัง ก็หมดความกระวน
กระวาย พรากกิเลสได้ เรียกไดว้ า่ พราหมณ์
ผู้ได้ฌาน ปลอดมลทิน ปลีกตนอยู่ลำพัง เสร็จกิจท่ีต้องทำ ส้ินอาสวะ บรรลุประโยชน์สูงสุด เรียกได้ว่า
พราหมณ์ ดวงอาทติ ย์ส่องแสงกลางวัน ดวงจันทร์ส่องแสงกลางคืน กษัตริย์ทรงเครื่องศึกงามสงา่ พราหมณ์ผเู้ พียร
เพ่ง (เข้าฌาน) สง่างาม ส่วนพระพุทธเจ้าโชติชัชวาลทั้งวันทั้งคืน ลอยบาปได้แล้ว จึงเรียกว่าพราหมณ์ เพราะ
ประพฤติดี จึงเรยี กวา่ สมณะ กำจดั กิเลสของตนได้ จึงเรียกวา่ บรรพชติ
พราหมณ์ (พระอรหันต์) ไม่ทำร้ายกนั พราหมณ์ไม่โต้ตอบผูท้ ำร้าย ผู้ทำร้ายพราหมณ์ยังดกี วา่ พราหมณ์
ทำร้ายตอบเขา สำหรับพราหมณ์ (พระอรหันต์) การห้ามใจจากสิ่งที่รักทั้งหลาย เป็นเร่ืองดไี ม่ใช่เล็กน้อย เมอ่ื ใจท่ี
คิดเบียดเบยี นถอนกลับจากส่ิงใดๆ ทุกข์ก็สงบระงบั ดว้ ยสิ่งน้นั ๆ
ผู้ใดไม่มีการทำชั่วทางกายวาจาใจ เราเรียกผู้น้ัน ซึ่งสำรวมใน 3 ทาง ว่าเป็นพราหมณ์ เมื่อรู้แจ้งธรรมท่ี
พระสมั มาสมั พุทธเจา้ ทรงส่งั สอนจากผูใ้ ด กพ็ งึ นบไหว้ผู้นน้ั ด้วยความเคารพ เหมอื นพราหมณบ์ ชู าไฟ
คนเป็นพราหมณ์ ไม่ใช่เพราะชฎา ไม่ใช่เพราะโคตร ไม่ใชเ่ พราะชาติกำเนดิ สัจจะและธรรมมีอย่ใู นผู้ใด ผู้
นน้ั ก็จะสะอาดบรสิ ุทธ์ิ และเป็นพราหมณ์ คนโง่เอ๋ย มีประโยชน์อะไรกบั ชฎา มีประโยชน์อะไรกับหนังสือ (ท่ีใช่นุ่ง
ห่ม) ภายในของเจ้ารงุ รัง (ด้วยกเิ ลส) เกล้ยี งเกลาแต่ภายนอก
ผู้ใช้ผ้าบังสุกุล ผอมเห็นเส้นเอ็น บำเพ็ญฌานอยู่ในป่าเพียงลำพัง เราเรียกเขาว่าพราหมณ์เราไม่เรียก
บุคคลว่าพราหมณ์ ทีช่ าตกิ ำเนิดท่ีมารดาผู้ให้คลอด เขาเรยี กตนเองวา่ ผู้เจริญ แตเ่ ขาก็ยังมกี ิเลส คนไม่มีกิเลส ไม่มี
ความยึดม่ันถือมั่นต่างหาก เราเรียกวา่ พราหมณ์ บุคคลท่ีตัดกิเลสผูกมัดได้ ไม่สะดุ้งกลัว เป็นอิสระไม่ข้องคา เรา
เรียกเขาว่าพราหมณ์ คนที่ตัดได้แล้วซึ่งความโกรธ อันเป็นเหมือนชะเนาะ ซ่ึงตัณหาอันเป็นเหมือนเชือกหนัง ซึ่ง
มิจฉาทิฏฐิอันเป็นเหมือนสายป่าน ถอดอวิชชาอันเป็นเหมือนลิ่มสลักได้แล้ว (และ) เป็นผู้ตื่นรู้ เราเรียกเขาว่า
พราหมณ์ คนที่ไม่คิดร้าย อดกล้ันต่อกันถูกด่าว่าและการเข่นฆ่าจองจำ มีขันติเป็นกองกำลัง เราเรียกเขาว่า
พราหมณ์ ผู้ไมม่ คี วามโกรธ มีความประพฤติดี มีศีล ไม่มีกิเลสฟใู จ ฝกึ ตนแลว้ เกิดกายเปน็ คร้ังสุดท้าย เราเรียกเขา
วา่ พราหมณ์ คนทไี่ มต่ ดิ อยใู่ นกามเหมือนน้ำไม่ติดใบบวั เหมอื นเมล็ดผกั กาดไมค่ ้างอยทู่ ่ีปลายเหลก็ แหลม เราเรยี ก
เขาวา่ พราหมณ์ ผู้ใดรู้ชัดว่าทุกขข์ องตนสิน้ แล้ว ปลงภาระ (ขนั ธ์ 5) ได้แล้ว เป็นอิสระ เราเรยี กเขาว่าพราหมณ์ ผ้มู ี
ปัญญาล้ำลกึ เป็นปราชญ์ รู้ว่าอะไรเป็นทางหรือมใิ ช่ทาง ประสบความสำเรจ็ สูงสุด เราเรียกเขาวา่ พราหมณ์106
ผ้ไู มค่ ลกุ คลีท้งั คฤหสั ถ์และบรรพชติ มคี วามเปน็ อย่อู ยา่ งไม่เป็นอาลัย มกั นอ้ ย เราเรยี กเขาว่าพราหมณ์ ผู้
ไม่ทำร้ายสัตว์ทั้งท่ีออ่ นแอและแข็งแรงไม่ฆ่าเอง ไม่ให้เขาฆ่า เราเรียกวา่ พราหมณ์ คนที่ไม่ชิงชัง ท่ามกลางผู้ชิงชัง
เย็นสนิทท่ามกลางผู้นิยมความรุนแรง ไม่ยึดม่ันถือม่ัน ท่ามกลางผู้ยึดม่ันถือม่ัน เราเรียกว่าพราหมณ์ คนที่ทำให้
ราคะ โทสะ มานะ (ความถอื ตวั ) มกั ขะ (ความลบหลู่) ตกไปหมดส้ินเหมือนเมลด็ ผักกาดตกไปจากปลายเหลก็ แหลม
เราเรียกเขาวา่ พราหมณ์
คนที่ไม่พูดคำหยาบ พูดคำที่เข้าใจกนั ได้ คำสัตย์ คำทีไ่ ม่ทำให้เขาขัดใจ เราเรียกเขาว่าพราหมณ์ คนที่ไม่
หยิบฉวยเอาของเขา โดยท่ีเขาไม่ได้ให้ ไม่ว่ายาวหรือสั้น ละเอียดหรือหยาบ งามหรือไม่งามก็ตาม เราเรียกเขาว่า
พราหมณ์
106 เร่ืองเดียวกัน.
123
คนทไ่ี ม่มคี วามนกึ หวงั ท้งั ในโลกน้แี ละโลกหน้า เปน็ อสิ ระ ไรต้ ัณหา เราเรยี กเขาว่าพราหมณ์ ผู้ไม่มอี าลัย
รูท้ ่ัว ไม่มีอะไรสงสัย มีจิตหย่ังบรรลุนิพพาน เราเรียกเขาว่าพราหมณ์ ผู้ละได้ ไม่ข้องคาท้ังบุญและบาป ผู้ไม่เศร้า
โศกปลอดกิเลส บรสิ ทุ ธิ์ เราเรยี กเขาวา่ พราหมณ์107
คนผู้บริสุทธิ์ ไร้กเิ ลส หมดจดสุกใสดจุ ดวงจันทร์ สนิ้ ภพให้เพลดิ เพลนิ เราเรียกเขาว่าพราหมณ์
สังสารวัฏและโมหะน้ี ซ่ึงเป็นทางหล่มข้ามได้ยาก ผู้ใดผ่านเลยได้ ข้ามไปถึงฝ่ังแน่วน่ิงไม่หวั่นไหว ไม่มี
อะไรให้สงสยั กเิ ลสดบั สนิ้ เพราะไม่ถือม่นั ผ้นู ัน้ เราเรยี กวา่ พราหมณ์
คนที่ละกาม ออกบวชเปน็ อนาคารกิ ไมม่ กี ามเป็นภพแล้ว เราเรยี กเขาวา่ พราหมณ์
คนที่ละตณั หา ออกบวชเปน็ อนาคารกิ ไม่มตี ณั หาเป็นภพแลว้ เราเรียกเขาวา่ พราหมณ์
คนที่ละกิเลสผกู มัดใจ ท้งั ทเ่ี ปน็ ของมนษุ ย์ ทั้งท่เี ปน็ ของทพิ ย์ เป็นอสิ ระจากการผกู มัดทง้ั ปวง เราเรยี กเขา
วา่ พราหมณ์
คนทล่ี ะไดท้ ั้งความยินดีและความไมย่ ินดี มคี วามสงบเยน็ ไรก้ ิเลส เก่งกล้า เอาชนะโลกทง้ั ปวงได้ เราเรียก
เขาวา่ พราหมณ์
คนที่รู้ทงั้ การตายและการเกิด ของสตั ว์ท้งั หลายทุกประการ ดำเนนิ ไปดี ไมข่ อ้ งคา เปน็ ผ้รู ้ตู น่ื เราเรียกเขา
วา่ พราหมณ์
วิถชี ีวติ (คติ) ของผูใ้ ด ซึง่ เทวดา คนธรรพ์ และมนุษยท์ ั้งหลาย ไมร่ ู้ เขาไมม่ ีอาสวะเป็นอรหันต์ เราเรยี กผู้
นนั้ ว่าพราหมณ์
ผู้ใดไม่มีกิเลสกังวล ท้ังเมื่อก่อน ทั้งภายหลัง ท้ังปัจจุบัน หมดห่วง หมดความยึดมั่น ผู้น้ันเราเรียกว่า
พราหมณ์
นกั แสวงผยู้ ิ่งใหญ่ องอาจแกลว้ กลา้ เลศิ ล้ำ เปน็ ผู้พิชิต ไมม่ ีความหว่ันไหว ชำระลา้ งกิเลสไดแ้ ล้ว เป็นผ้ตู นื่
รู้ เราเรียกว่าพราหมณ์ ผู้ใดรู้อดีตชาติ (ของตน) เห็นสวรรค์และอบาย ไม่มีการเกิดต่อไป สำเรจ็ กิจเป็นมุนีเพราะรู้
ย่งิ อยจู่ บพรหมจรรยส์ ้นิ เชิง เราเรียกผู้นัน้ ว่าพราหมณ์
ชาดก หรือ ชาตกะ เป็นส่วนหน่ึงในคำสอนของพระพุทธเจ้าท่ีเรียกว่า “นวังคสัตถุศาสน์” (คำสอนของ
พระศาสดาอันมีองค์ 9 , ส่วนประกอบ 9 อยา่ งท่ีเป็นคำสอนของพระพุทธเจ้า) เป็นคัมภีร์หนึ่งในขุททกนิกายแห่ง
พระสุตตันตปฎิ ก ลกั ษณะเน้ือกาเปน็ คาถา (บทกว)ี อนั เป็นคำกลา่ วของพระโพธิสัตว์และบคุ คลในเรื่อง คำว่า ชาดก
หรือ ชาตกะ หมายถึง ชาติ (กำเนิด) ต่างๆของพระโพธิสัตว์ ซึ่งมีเร่ืองเล่าอยู่ในคัมภีร์อรรถกถาในรูปร้อยแก้ว (ใน
พระไตรปิฎกมีแต่คาถา ไม่มีเรื่องเล่า) กล่าวง่ายๆ เรื่องเล่าในชาดกเป็นนิทานในอดีตชาติของพระพุทธองค์ มี
ทงั้ หมด 547 เร่อื ง
ถ้าอ่านแต่ชาดกในพระไตรปิฎก จะพบแต่คำสอนในรูปคาถา เม่ืออยากจะรู้ว่า แต่ละคาถาใครเป็นคน
กล่าว ต้องอา่ นนทิ านชาดกในคัมภรี ์อรรถกถาดว้ ย
หมวดหมู่ของชาดก เรียกว่า “นิบาต” การจัดหมวดหมู่จัดตามจำนวนคาถาในชาดก ชาดกที่มี 1 คาถา
เรยี ก เอกนิบาต ที่มี 2 คาถาข้ึนไปเรียก ทุกนิบาต ฯลฯ ที่มี 40 คาถาข้ึนไป เรยี กว่า จตั ตาลัสนิบาต ที่มี 80 คาถา
ขึน้ ไปเรยี กวา่ อสตี นิ ิบาต ท่มี ี 100 คาถาขึ้นไปเรียก มหานิบาต
ชาดกแบ่งเป็น 2 ภาค ภาค 1 อยู่ในพระไตรปิฎกบาลีเล่มที่ 27 มี 17 นิบาต (เอกนิบาต ถึง จัตตาลีส
นิบาต) จำนวน 525 ชาดก ภาค 2 อยู่ในพระไตรปิฎกบาลีเล่มที่ 28 มี 5 นิบาต (ปัญญาสนิบาต ถึง มหานิบาต)
จำนวน 22 ชาดก108
107 เรื่องเดียวกนั .
108 เรื่องเดียวกัน.
124
ในหนังสือเลม่ น้ี ได้แสดงเน้ือหาโดยย่อของชาดกในเอกนิบาตเพียง 50 ชาดก และชาดกในมหานบิ าต (ท่ี
เรยี กว่า “มหาชาติ” หรือ “ทศชาติ”) อีก 10 ชาดก พอใจเห็นลกั ษณะของชาดกเหล่าน้ัน
เอกนบิ าต (หมวด 1 คาถา)
1.อปัณณกชาดก : พระโพธสิ ัตว์เกิดเป็นหวั หนา้ พ่อค้าเกวียนผูม้ ีปัญญา คร้ังหน่ึงมีการเดนทางไปค้าขาย
บนเส้นทางเดียวกันกับหัวหน้าพ่อค้าเกวียนอีกคนหนึ่ง ซ่ึงเป็นคนไม่ฉลาด รายน้ันคิดว่าคนจะได้เปรียบจึงขอ
เดินทางกอ่ น ไปถกู ยกั ษ์หลอกจับกินท้ังกองเกวียน พระโพธสิ ตั ว์ไปทีหลงั รทู้ ันเลห่ ก์ ลของยกั ษ์ ยักษ์ก็ทำอะไรไมไ่ ด้
(พระพุทธองคท์ รงสอนภิกษุว่า)
“อะไรถกู อะไรผิด
คนทมี่ ีปัญญาแยกแยะได้
เลือกเอาแต่ขา้ งถกู ไว้
สว่ นคนโง่กจ็ ะเหน็ ผิดเป็นถูก”
2. วัณณุปถชาดก : พระโพธิสัตว์เกิดเป็นหัวหน้าพ่อค้าเกวียน คราวหนึ่งเดินผ่านทะเลทราย ไม่มีน้ำ
ประทงั ชีวิต พระโพธิสตั ว์ไปพบแหลง่ นำ้ จงึ ให้ลูกน้องขุด ลกู นอ้ งเหน่ือยออ่ น ท้อแท้ จึงพูดใหก้ ำลังใจ ในทสี่ ุดก็ขุด
จนเจอนำ้ (พระพทุ ธองค์ตรัสสอนภิกษวุ า่ )
“มุนที พี่ ากเพียรเตม็ กำลัง
สกั วนั กต็ ้องบรรลุความสุขสงบได้
เหมอื นคนท่ีขุดหานำ้ ในทะเลทราย
ไมร่ ามือ”
3. เสริววาณิชชาดก : พระโพธิสัตว์เกิดเป็นพ่อค้าเครื่องประดับ มีเพ่ือนพ่อค้าของพระโพธิสตั ว์คนหนึ่งข้ี
โลภ มีคนเสนอขายถาดทองคำให้ แตอ่ ยากได้เปล่าๆ จึงหลอกเขาวา่ เป็นทองเก๊ แล้วแกล้งเดนิ หนี พระโพธิสัตว์ผ่าน
ไปเห็นเข้า รู้ว่าเป็นถาดทองคำล้ำค่า จึงซ้ือไว้ตามราคาจริง ทำให้พ่อค้าขี้โลภผิดหวังและเจ็บใจเหลือกำลัง (พระ
พุทธองค์ทรงสอนภิกษวุ า่ )
“ถ้าพรากจากแนวทางแห่งพระสัทธรรม
เธอก็จะกระเสือกกระสน (ในสังสารวฏั )
อกี นานแสนนาน
เหมือนพ่อคา้ ชอ่ื เสริวะคนนัน้ ”
4. จูฬเสฏฐิชาดก : พระโพธสิ ตั วเ์ กิดเป็นจูฬเศรษฐี วนั หนึ่งไปพบหนตู ายอย่หู ว่างทางเดนิ จงึ พดู ทำนายให้
คนใช้ได้ยินว่า ใครได้หนูตัวนี้ไปคิดค้าขาย ต้องรวยเป็นเศรษฐีแน่ คนใช้เข้าใจความจึงเอาหนูตายตัวน้ันเป็น
จุดเร่ิมต้นในการค้าขาย เริ่มด้วยขายให้เจ้าของแมวรายหน่ึง ทำให้ได้ทุนมาทำการค้าตามลำดับ จนร่ำรวยเป็น
เศรษฐี (พระพทุ ธองคท์ รงสอนภิกษวุ า่ )
“คนมีปัญญารจู้ กั ใช้ความคิด
ต้ังตวั ไดด้ ้วยของนอ้ ยค่า
ไมต่ ่างอะไรกบั คนกอ่ กองไฟ
เร่ิมจากไฟนิดเดยี ว เป็นไฟกองใหญ่”109
5. ตัณฑุลนาฬชิ าดก : พระโพธิสัตว์เกิดเป็นพนักงานจัดซื้อ มีคนยุยง พระราชาไม่วางพระทัย จึงเปลี่ยน
พนักงานแทนพระโพธิสตั ว์ พนกั งานคนใหมไ่ มร่ ูก้ ารประเมินราคาของ ตรี าคาข้าวสาร 1 ทะนานเท่ากบั ม้า 500 ตวั
109 เรอ่ื งเดียวกนั .
125
หนักเขา้ กท็ ำใหข้ า้ วสาร 1 ทะนานมีราคาพอทจ่ี ะแลกเมอื งได้ ต้องเสียค่าโงม่ หาศาล ในทสี่ ุดกไ็ ด้คืนตำแหนง่ ใหพ้ ระ
โพธสิ ตั ว์ (อำมาตยท์ ลู พระราชาว่า)
“ข้าวสาร 1 ทะนาน
เท่ากบั มา้ 500 ตัวเชียวหรอื
ขา้ วสาร 1 ทะนาน
เทา่ กบั กรงุ พาราณสเี ชียวหรอื ”
6.เทวธมั มชาดก : พระโพธิสัตวเ์ กิดเป็นโอรสของพระเจ้าพรหมทัตมีอนุชา 2 พระองค์ มเี หตตุ ้องพากนั ไป
อยู่ในป่า อนุชาท้ังสองถูกผีเส้ือน้ำจับไป พระโพธิสตั ว์ไปช่วยเหลอื โดยไปแสดงเทวธรรม ใหผ้ ีเสื้อน้ำฟัง เป็นเหตุให้
อนชุ าท้งั สองรอดชวี ิตมา (พระโพธิสัตวท์ รงแสดงเทวธรรมว่า)
“คนมีหิริโอตตัปปะ
ต้ังม่นั อยใู่ นความดี
มีใจสงบจากกิเลส
เป็นสตั บุรุษ
เรียกไดว้ า่ คนมีเทวธรรม”
7.กัฏฐหาริชาดก : พระโพธิสัตว์เกดิ เป็นโอรสของพระเจ้าพรหมทตั ส่วนมารดาเป็นหญงิ หาฟนื พระราชา
ไมร่ บั เปน็ โอรส มารดาจงึ ต้งั สัจจอธิษฐานโยนพระโพธิสตั วข์ น้ึ บนอากาศ ด้วยแรงอธษิ ฐาน พระโพธิสตั ว์ไม่ตกลงพื้น
และยงั ไดก้ ราบทลู ขอให้พระราชารบั เปน็ โอรส (พระโพธสิ ัตวก์ ราบทลู พระชนกวา่ )
“ขอเดชะ
หมอ่ มฉนั เป็นโอรส
รับเลีย้ งหม่อมฉันเถิด
คนอืน่ ยงั ทรงชบุ เลย้ี งได้
โอรสแทๆ้ ไยทอดทิง้ ”
8.คามณิชาดก : พระโพธิสัตว์เกิดเป็นอำมาตย์สอนธรรมของพระราชา โอรสองค์น้อยของพระราชาช่ือ
คามณิกุมาร เป็นโอรสองค์ที่ 101 ได้สืบราชสมบัติเพราะต้ังมั่นอยู่ในคำสอนของพระโพธิสัตว์ (คามณิกุมารเปล่ง
อทุ านว่า)
“คามณิเอ๋ย
เมือ่ ไมใ่ จเร็วด่วนได้
ส่ิงทหี่ วังกส็ ำเรจ็ จนได้
ขอให้มนั่ ใจในพรหมจรรยอ์ นั แก่นกลา้ แลว้ ”
9.มฆเทวชาดก : พระโพธิสัตว์เกิดเป็นพระเจ้ามฆเทพ วันหนึ่งเห็นเกศาหงอกเพียงเส้นเดียวก็สลด
พระททัยวบู เป็นเหตุใหส้ ละราชสมบัตอิ อกผนวช (พระโพธิสตั วต์ รัสว่า)
“วัยลว่ งเลยแลว้ หนอ
ผมหงอกบนศรี ษะ
คอื เทวทตู เตอื น
ถงึ เวลาแลว้ ตอ้ งบวช”
10.สุขวิหาริชาดก : พระโพธิสัตว์เกิดเป็นพราหมณ์มหาศาล ร่ำรวยด้วยทรัพย์ ออกบวชเป็นฤาษี (พระ
โพธิสตั วแ์ สดงธรรมแก่พระเจ้าพระเจา้ พรหมทัตว่า)
“คนท่ไี มต่ อ้ งเฝา้ ดูแลใคร
และใครกไ็ มต่ ้องคุ้มครองดูแลเขา
126
นั่นแหละคนไม่เย่ือใยในกาม
อยู่เป็นสขุ ”110
11.ลักขณชาดก : พระโพธิสัตว์เกิดเป็นพญาเนื้อ (กวาง) มีลูก 2 ตัว ให้ช่วยกันดูแลฝูงกวาง ลูกที่ช่ือ
ลักขณะพาฝงู กวางรอดพ้นอันตรายดว้ ยดี ส่วนอีกตัวหน่ึงพาฝงู กวางไปตายดว้ ยน้ำมอื มนุษย์ (พระโพธิสัตว์เห็นลูก
ทง้ั สองเดนิ กลับมา จึงพดู กับญาตๆิ ว่า)
“ผู้มศี ีล มีน้ำใจไมตรีตอ้ นรับ
ดเู อาเถดิ
ลกั ขณะกลับมาพร้อมหมญู่ าติแวดล้อม
ส่วนกาฬะ เดยี วดาย”
12.นิโครธมิคชาดก : พระโพธิสัตว์เกิดเป็นกวาง ช่ือ นิโครธ ยอมตายเพ่ือช่วยเมียท่ีกำลังท้องแก่ ไม่ให้
พระราชายิง พระราชาเล่ือมใสได้พระราชทานอภัยแก่ชีวิตสัตวท์ ้ังปวง เมื่อแม่กวางตกลกู แล้วก็สอนลกู ๆให้ยึดพระ
โพธิสัตวเ์ ป็นที่พ่ึง วันหน่ึงเห็นลูกๆไปคบหาสมาคมกบั กวางอนั ธพาล ก็พรำ่ สอน (พระโพธสิ ตั วส์ อนลูกวา่ )
“ไม่วา่ ลกู หรือใครๆ
ใหค้ บพ่อนโิ ครธไวเ้ ถิด
ตายกบั ท่าน
ยังดกี วา่ ทไี่ ปมชี วี ิตอยู่กบั สาขะ (กวางชัว่ )”
13.กณั ฑิชาดก : พระโพธสิ ัตวเ์ กิดเป็นรกุ ขเทวดา เห็นกวางป่าตัวหนึ่งไปหลงรักนางกวางทุ่ง ถกู มนษุ ยย์ ิง
ตาย (พระโพธิสัตว์กลา่ วว่า)
“คนมลี ูกศร ยิงสุดแรง กน็ า่ ตำหนิ
ชนบทท่สี ตรเี ป็นผูน้ ำ กน็ ่าตำหนิ
ชายตกอยู่ในอำนาจของหญงิ กน็ ่าตำหนิ”
14.วาตมิคชาดก : พระโพธิสัตว์เกิดเป็นพระเจ้าพรหมทัต เห็นสมานป่าติดในรสหญ้าทาน้ำผ้ึง ยอทเดิน
ตามคนเฝา้ สวนต้อยๆ จนถึงพระลานหลวง (พระโพธิสัตว์ตรสั ว่า)
“ไมม่ ีอะไรเลวร้ายเทา่ กบั รส
มนั เลวกว่าที่อย่อู าศยั เลวกวา่ ความคนุ้ เคย
กเ็ พราะรส
คนเฝา้ สวนจึงพาสมานป่าออกจากปา่ ทบึ ได้”111
15.ขราทิยาชาดก : พระโพธิสัตว์เกิดเป็นพญากวาง มีกวางหลานชายตัวหนึ่งไม่เคยที่จะศึกษาเล่ห์มายา
ของพวกกวางด้วยกัน วนั หน่งึ ก็ไปเทีย่ วเลน่ และไปติดบว่ งตาย (พระโพธสิ ตั วไ์ ดแ้ ตพ่ ดู กับแมก่ วาง)
“ขราทิยาเอ๋ย
จนปญั ญาท่ฉี นั จะสอนสัตวพ์ วกเท้า 8 กีบ
พวกเขาโค้งงอตงั้ แต่โคนจรดปลาย
ก็ทง้ั 7 วนั เขาไมเ่ คยฟงั คำสอนเลย”
16.ตปิ ัลลัตถมิคชาดก : พระโพธิสัตว์เกิดเป็นพญากวาง มีหลานชายตัวหนึ่ง ก็ได้เฝ้าให้วิชาเล่ห์ปฏิภาณ
ของกวางอยปู่ ระจำ วันหนง่ึ หลานไปตดิ บว่ งนายพราน กไ็ ดใ้ ช้ชั้นเชิงที่เรียนมาเอาตัวรอดจนได้ (พระโพธิสัตว์พดู กับ
แมข่ องหลานชายว่า)
110 เร่อื งเดยี วกนั .
111 เร่ืองเดยี วกัน.
127
“พ่ใี ห้เขาเรียนท่านอน 3 ทา่
เล่หม์ ายาอีกหลายกระบวน
ตลอดถงึ วธิ ีดม่ื นำ้ ในเวลาเท่ยี งคนื
เวลาหายใจทางจมูกทีแ่ นบกบั พ้นื
นายพรานก็จะคิดว่าหลานเราตาย
นายพรานถกู หลอกดว้ ย 6 อบุ าย”
17.มาลุตชาดก : พระโพธิสตั วเ์ กิดเป็นฤาษี วันหน่งึ เสอื กับราชสีห์เพ่ือนกัน ทะเลาะกนั ดว้ ยเร่ืองลมหนาว
หาขอ้ ยุติไม่ไดจ้ งึ ไปขอคำตอบจากพระโพธิสตั ว์ (พระโพธิสัตวต์ อบว่า)
“เมอ่ื ใดมลี มพัดโชย
ไม่วา่ จะเปน็ ขา้ งแรมขา้ งขน้ึ
ลมหนาวยอ่ มเกิดขึ้นได้
เธอท้งั สองไม่มคี นแพ้”
18.มตกภัตตชาดก : พระโพธิสัตว์เกิดเป็นรุกขเทวดา ได้เห็นงานทำบุญอุทิศผู้ตายของอาจารย์ทิศา
ปาโมกข์ มกี ารจับแพะตัวหนึ่งมาเขา้ พิธีเพ่ือบชู ายญั แพะท้ังหัวเราะและร้องไห้ หวั เราะเพราะรู้วา่ ครั้งนี้จะรบั กรรม
เปน็ คร้ังท่ี 500 อนั เปน็ ครง้ั สุดทา้ ย อาจารย์ทิศาปาโมกข์ได้ฟังแพะเลา่ เรือ่ งกรรมเกา่ ของตนก็เปล่ยี นใจ ปล่อยแพะ
ไป แตใ่ นท่ีสุดแพะนนั้ ก็ไปตายเพราะสะเก็ดหินกระเด็นใส่จนได้ (พระโพธสิ ัตว์สอนว่า)
“ถา้ สตั วโ์ ลกรู้
ว่าการเวียนวา่ ยตายเกดิ เปน็ ทกุ ข์
กจ็ ะไมฆ่ ่าสตั วด์ ว้ ยกัน
เพราะฆ่าเขาแลว้ ตวั เองทกุ ข์”
19.อายาจิตภัตตชาดก : พระโพธิสัตว์เกิดเป็นรุกขเทวดา ได้เห็นกุฏุมพีคนหน่ึงไปบนไว้กับเทพยดาท่ีต้น
ไทรหนา้ บ้านว่าขอให้ตนเดินทางโดยปลอดภัย แลว้ จะแก้บนด้วยการฆ่าสตั ว์สังเวย (พระโพธิสตั ว์สอนกุฏุมพีวา่ )
“จะปล่อยตัวเองให้หลุด
กลบั ยิง่ ไปติดหนึบ
ผรู้ ูไ้ ม่ใช่วิธีแบบนน้ั
เพราะยงิ่ แกย้ ่งิ มัดตวั เอง”112
20.นฬิปานชาดก : พระโพธิสตั วเ์ กดิ เปน็ พญาวานร สอนบรวิ ารวา่ จะทำอะไรทยี่ งั ไม่เคยทำให้ถามตนก่อน
วนั หน่งึ พวกลิงไปหานำ้ ด่ืมท่สี ระโบกขรณแี หง่ หนงึ่ จึงรอถามพญาวานร พญาวานรรู้ว่าในสระมีผเี ส้ือน้ำคอยจบั สัตว์
กิน จงึ เสกตน้ อ้อเป็นหลอดสูบนำ้ ใหพ้ วกลงิ ดม่ื นำ้ ลงิ ทง้ั หลายกป็ ลอดภยั (พระพทุ ธองค์ทรงสอนภกิ ษุวา่ )
“ทางลงสระ
เห็นแตร่ อยเท้าลง (ของเหยื่อ)
ไหนล่ะรอยเท้าข้ึน
เราไม่ลงสระ
ท่านก็ฆา่ พวกเราไม่ได้”
21.กรุงคมคิ ชาดก : พระโพธสิ ตั ว์เกิดเป็นกวาง วนั หน่ึงไปหากินผลมะล่ืน (กระบก) ทโี่ คนตน้ มะลื่นต้นหนง่ึ
เห็นความผิดปกติให้ระแวง จึงไม่เข้าไปใกล้ นายพรานท่ีซุ่มอยู่ข้างบนโยนผลมะล่ืนย่อ พระโพธิสัตว์ก็ไม่หลงกล
(พระโพธิสัตวพ์ ูดกบั นายพรานวา่ )
112 เรือ่ งเดียวกัน.
128
“มะล่ืนที่โยนมาลอ่
กวางรูท้ ัน
เราหากนิ ที่อ่ืนดีกวา่
มะลื่นของท่านกนิ ไมอ่ รอ่ ย”
22.กุกุรชาดก : พระโพธิสัตว์เกิดเป็นสุนัข คราวหน่ึงเกิดเรื่องใหญ่ในวัง สุนัขวังไปกัดหนังหุ้มราชรถ
พระราชาเข้าใจว่าสุนัขนอกวังเป็นตัวการ จึงมีบัญชาให้ฆ่าสุนัขนอกวังตายเป็นเบือ พระโพธิสัตว์ต้องไปขอความ
เปน็ ธรรมจากพระราชา ได้ขอ้ สรปุ ว่า ทั้งๆทีไ่ มร่ ู้ว่าสนุ ัขตวั ใดทำผิด แตค่ วามผิดกลับไปตกแกส่ ุนัขนอกวงั ส่วนสุนัข
ในวังกลบั ไม่ถกู ตรวจสอบ (พระโพธสิ ัตวก์ ราบทูลพระราชาวา่ )
“สุนขั มีคนเล้ยี ง รูปรา่ งผิวพรรณดี
มกี ำลงั วงั ชาดี
แตไ่ มถ่ กู ฆ่า
กลับตามล่าฆา่ ท้งิ สุนขั จรจดั ที่ไร้ที่พงึ่
โจรรา้ ยลอยนวล
ทีม่ าใช้โจรรับเคราะห์
ไมเ่ ปน็ ธรรม”
23โภชาชานียชาดก : พระโพธิสัตว์เกิดเป็นม้าอาชาไนย (พันธุ์โภชะ) ออกทำศึกกับพระราชา ได้รับ
บาดเจ็บสาหัส แตก่ ็แข็งใจลุยศึกเคียงข้างพระราชาจนได้ชัยชนะ ก่อนตายได้ทูลขอให้พระราชาบำเพ็ญทานรักษา
ศีลเพื่อเปน็ บารมีสบื ไป (พระโพธสิ ัตว์พูดกับสารถีระหว่างเจบ็ หนักว่า)
“อาชาไนยพนั ธโุ์ ภชะ
ถูกศรเสียบตะแคงขา้ ง
ก็ยังสงา่ งามกว่าม้าแกลบ
ทรงเคร่ืองศกึ ให้ข้าอีกเถดิ
ขา้ จะออกรบเอาชยั ”113
24.อาชัญญชาดก : พระโพธิสัตว์เกิดเป็นม้าอาชาไนยของพระเจ้าพรหมทัต การสู้รบใกล้จะจบลงด้วยดี
นายทัพคนหนึ่งถกู สังหาร สารถีจะเปล่ียนมา้ พระโพธสิ ตั วอ์ าสาขอใหเ้ ทยี มตนเข้ารถศึก แลว้ ร่วมออกรบจนประสบ
ความสำเร็จ (พระโพธสิ ัตว์พูดกบั สารถี)
“ไมว่ า่ ยุคสมยั ไหน
และไมว่ ่าทไ่ี หนๆ
ม้าอาชาไนย ไมเ่ คยระย่อศกึ
ส่วนม้าแกลบ มีแตจ่ ะคิดเผ่น”
25.ตติ ถชาดก : พระโพธสิ ัตว์เกดิ เปน็ ปุโรหติ สอนธรรมแก่พระราชา เมือ่ เห็นมา้ ทรงของพระราชามีอาการ
ไม่อยากจะลงอาบนำ้ ทที่ ่าเดยี วกบั มา้ ทว่ั ไป จงึ แนะนำคนเลย้ี งม้าใหพ้ าม้าไปอาบนำ้ ทา่ อน่ื ๆบ้าง เพอ่ื ม้าจะได้ไมเ่ บอื่
เรอ่ื งนี้ทำให้พระราชาพอพระทัยอย่างย่ิงที่พระโพธิสตั ว์ร้แู ม้กระท่ังอธั ยาศัยของสัตว์ (พระโพธิสตั ว์พดู กับคนเลี้ยง
ม้าวา่ )
“ทที่ ่าอื่นกม็ นี ้ำ
พามา้ เปลีย่ นบรรยากาศเสียบา้ ง
ข้าวปายาส เรากนิ บ่อยๆ
113 เรื่องเดียวกัน.
129
กย็ งั เบ่อื เป็น”
26.มหิฬามุขชาดก : พระโพธิสัตว์เกิดเป็นอำมาตย์ พบมูลเหตุที่ทำให้ม้ามหิฬามุขของพระราชาเปล่ียน
นิสัยจากเดิม จากสงบสุภาพเชื่อฟังคำสั่งมาเป็นดุร้าย เป็นเพราะมีโจรมาแอบพูดในทางร้ายอยู่ข้างโรงม้า ต้องแก้
ด้วยการเชิญสมณพราหมณ์ผู้ทรงศีลมาพูดถึงความดีงามให้ม้าฟัง เม่ือคนเลี้ยงม้าปฏิบัติตาม มา้ ก็กลับมาดีดังเดิม
(พระโพธิสัตวก์ ราบทูลพระราชาว่า)
“มหิฬามขุ พญาช้างต้น
ดรุ า้ ยเพราฟงั คำโจร
ส่วนพญามงคลหัตถฟี ังคำพระ
จงึ เปน็ ช้างแสนประเสริฐ”
27.อภณิ หชาดก : พระโพธิสตั วเ์ กิดเป็นอำมาตย์ ช่วยแกป้ ัญหาชา้ งพระท่นี ั่งมอี าการหงอยเหงา พบว่ามีสุนัข
ตัวหน่ึงเป็นเพื่อนเล่นกับช้าง สุนัขนั้นถูกโจรลักไป ต้องใช้วิธีประกาศคาดโทษคนลักสุนัขให้นำสุนัขมาคืน แล้วก็ได้
สนุ ขั คืนมาให้เป็นเพอื่ นเลน่ กับชา้ งดังเดิม อาการเหงาหงอยของช้างก็หายไป (พระโพธิสัตวก์ ราบทูลพระราชาวา่ )
“อาการของพญาชา้ งต้นแปลกไป
ไมก่ ินอาหาร ไมม่ เี รย่ี วแรง
เพราะลูกสนุ ัขหายไป
เขาเย่ือใยถึงกัน”114
28.นนั ทิวิสาลชาดก : พระโพธสิ ตั วเ์ กิดเป็นโคนันทวสิ าล อยากสนองคุณเจา้ ของ แนะนำเจ้าของใหไ้ ปท้าพนัน
ลากเกวียน แข่งครั้งแรกแพ้เขา เพราะคนถือแส้พดู จาหยาบคาย พระโพธิสตั ว์จึงให้แก้ตัวใหม่ เปล่ียนเป็นพูดคำไพเราะ
หูใหเ้ กียรตติ น ผลก็คือแขง่ ครัง้ ท่ี 2 โคนันทวสิ าลชนะคู่แข่ง (พระพุทธองค์ทรงสอนภกิ ษวุ ่า)
“คำเพราะมีไวใ้ หพ้ ดู จา
พดู แลว้ ขดั ใจคน พูดทำไม
โคนนั ทวิสาลฟังคำหวานหู
เกวยี นหนักเทา่ หนักกก็ ลายเปน็ เบา
แขง่ ชนะ เจา้ ของกไ็ ดเ้ งนิ
โคเองก็ปล้ืมได้สนองคุณ”
29.กณั หชาดก : พระโพธสิ ัตว์เกิดเป็นโคดำ ยายชรานำมาเลี้ยงไว้ ต้ังแต่ยังเลก็ รักกนั เหมือนแมล่ ูก โคดำ
รกั ยาย ทำงานหนักเอาเบาสู้ ได้ค่าจ้างมาเลี้ยงยาย ทงั้ สองมีความสุขดว้ ยกันจนตลอดชีวิต (พระพุทธองค์ทรงสอน
ภิกษวุ า่ )
“ทไี่ หนมงี านหนัก
ที่ไหนมรี ่องลกึ แง่หินระเกะระกะ
คนกจ็ ะคดิ ถงึ โคดำของยาย
โคดำไม่เคยหลบงาน”
30. มนุ ิกชาดก พระโพธิสัตว์เกิดเป็นโค โคผู้น้องเห็นสุกรมุนกิ ะได้กินอาหารดๆี ก็ริษยา พระพิธิสัตว์สอน
น้องว่า อย่าไปริษยาเขาเลย เขาเล้ียงดีอย่างน้ันก็เพ่ือขุนให้สุกรอ้วนพีเพื่อจะฆ่าเป็นอาหารชั้นเลิศ (พระโพธิสัตว์
สอนน้องว่า) “อย่าไปอจิ ฉาหมเู ขาเลย เขากินกเ็ พ่ือจะถูกฆ่า กนิ ขา้ วลบี ดแี ล้ว อายยุ ืน”
114 เร่ืองเดยี วกนั .
130
31. กุลาวกชาดกพระโพธิสตั วเ์ กดิ เปน็ ท้าวสักกะในดาวดึงส์ ทำสงครามกบั อสรู เปน็ ฝ่ายปราชยั จึงยกทัพ
หนเี ข้าดงไมง้ ิว้ ได้ยินเสยี งลกู นกครุฑร้องเซ็งแซ่ จึงให้สารถีหันราชรถยอ้ นกลบั คิดวา่ จะไปชว่ ยชวี ติ นกเหลา่ นนั้ ทัพ
อสูรราชรถยอ้ นกลบั มาอกี คดิ วา่ มีกองหนนุ มาช่วยทา้ วสกั กะจงึ ล่าถอย ทัพของท้าวสกั กะปราชัยแล้วกลับไดช้ ยั ชนะ
(พระโพธิสตั วต์ รสั กบั เทพสารถวี ่า)
“มาตลีเอย๋ น่นั ลูกนกครุฑร้องขอความช่วยเหลือ กลบั รถเถิด ถงึ ตายกต็ อ้ งไปชว่ ยเขา”
32. นัจจชาดกพระธิสัตว์เกิดเป็นพญาหงส์ทอง มีลูกสาวแสนสวย ให้เธอเลือกคู่ครอง เธอเลือกหนุ่มรูป
งามแขนสวย แตห่ นุม่ ยูงทองนั้นไร้หริ โิ อตตปั ปะ เอาแตก่ รดี กรายรำแพนหางรำป้อ พญาหงส์ทองเปลยี่ นใจไมย่ กลูก
สาวให้ วา่ ที่ลูกเขยเลยอกหัก ท้ังเจ็บทั้งอายต้องถลาบินจากไป(พระโพธิสัตว์พูดกับฝูงนกว่า) “เสียงก็เพราะจับใจ
แผ่นหลงั ก็สวยสงา่ สร้อยคอก็ปูนเปรยี บสีไพฑรู ย์ กำหางก็ยาวเป็นวา แตร่ ำแพนหางรำป้ำไมร่ ูจ้ กั อายนนั่ สิ ไมค่ คู่ วร
กับลกู สาวฉนั ”
33. สมั โมนทมานชาดก พระโพธิสตั ว์เกิดเป็นพญานกกระจาบ มีบริวารเปน็ พัน วันหนึ่งนายพรานเหวี่ยง
ตาข่ายจับนกเพอื่ เอาไปขาย พญานกแนะนำใหบ้ ินข้ึนไปพร้อมกัน ยกตาขา่ ยขนึ้ วางบนพมุ่ ไม้ แล้วบินลงขา้ งล่างหนี
กันได้ทง้ั ฝงู ต่อมามีนกกระจาบตัวหน่ึงเดนิ หากินอยู่บนภาคพน้ื ไม่ทันสังเกตไปเหยียบเอานกกระจาบอีกตัวหน่งึ รู้
ว่าผดิ แล้วก็ขอโทษ แต่นกตัวนนั้ ไมย่ อมยกโทษให้ เกดิ การทะเลาะววิ าทกนั ว่นุ ไปหมด เมอ่ื ถกู ตาข่ายนายพรานอีกก็
ไมค่ ิดจะช่วยกันบนิ ยกตาขา่ ยเหมือนคราวนั้น แล้วนายพรานก็จับนกได้ท้ังฝูง(วันท่ีฝูงนกกระจาบช่วยกนั บินยกตา
ข่ายหนรี อดไปไดน้ ้นั นายพรานพูดกับภรรยาวา่ “วนั ทีย่ งั ร่าเริงพรง่ั พร้อม ฝูงนกกระจาบกร็ ว่ มแรงกันบิน ยกตาขา่ ย
ไปชว่ ยท้งิ ได้ รอสักวนั เถอะ เมอื่ พวกมันทะเลาะกนั จะหนไี ปไหนพ้น”115
34. มัจฉชาดก พระโพธิสัตว์เกิดเป็นปุโรหิต เช่ยี วชาญในการฟังเสียงสัตว์ มีปลาใหญ่ตัวหน่งึ มัวเพลินอยู่
กบั กามารมณ์ ถูกชาวประมงทอดแหจับได้แล้วโยนไว้บนผืนทราย พระโพธิสตั วไ์ ปอาบน้ำไดย้ ินเสียงปลากำลังคร่ำ
ครวญถึงเมีย จึงขอปลาตัวน้ันปล่อยลงน้ำ(ปลาใหญ่รำพันถึงเมียว่า) “ทุกข์ครั้งนี้ ไม่ใช่เพราะความเย็นความร้อน
ไมใ่ ช่เพราะรา่ งแหคลมุ กาย แตท่ กุ ข์ว่าเมียจะรู้ว่าเราไปหลงรกั นางปลาตัวอื่น”
35. พระโพธสิ ตั วเ์ กดิ เปน็ ลกู นกคุ่ม วันหนึง่ เกิดไฟป่า พ่อกับแม่ไปหาเหยอื่ กลวั ตายจงึ พากนั หนตี าย พระ
โพธิสตั ว์อยู่ในรงั ชว่ ยตวั เองไมไ่ ด้ ไดแ้ ต่ระลกึ ถงึ พระคณุ ของพระพทุ ธเจา้ และพระธรรม แลว้ ตัง้ จติ อธษิ ฐานขอให้ไฟ
เปล่ียนทิศทาง ด้วยแรงอธิษฐาน ไฟกพ็ ระพือกลับและดับมอดลง(พระโพธิสตั ว์ต้งั สจั จกิริยาว่า) “ปกี มีอยู่แตก่ ็บนิ ไม
ได้ สองเทา้ มคี รบแตย่ ังเดินไมเ่ ปน็ พอ่ กับแมก่ ็หนีตาย ไฟปา่ เจ้าเอย๋ กลบั ไปทางเดมิ เจา้ เถดิ ”
36. สกณุ ชาดกพระโพธสิ ัตว์เกดิ เปน็ พญานก อาศยั อยู่บนต้นไมใ้ หญ่กับนกฝูงใหญ่ เห็นกิ่งไม้ตอ้ งลมเสียด
สีกนั จนเกิดควัน รวู้ า่ จะเกิดไฟปา่ จึงบอกเตือนฝงู นกให้พากันหนีไปอยู่ท่อี ่ืน พวกนกท่เี ช่ือก็บินหนี พวกทีไ่ ม่เช่ือก็
ไม่ไปไหน เมื่อเกิดไฟป่า พวกมันก็ถูกเผาตกตายเกล่ือน(พระโพธิสัตว์เตือนนกทั้งหลายว่า) “ต้นไม้ท่ีเคยได้พ่ึงพา
อาศัยร่มเงากลายเป็นไฟ หนกี นั เถิดผองเพือ่ น ในเมอ่ื ที่พ่ึงกลายเป็นภัย”
37. ติดตริ ชาดก พระโพธสิ ัตว์เกิดเปน็ นกกระทา มีลิงและช้างเป็นเพือ่ น ได้ขอ้ ตกลงเป็นเอกฉันท์วา่ พระ
โพธิสัตว์เกิดก่อนเพื่อนท้ังสอง เพราะต้นไทรท่ีพากันอาศัยงอกข้ึนจากการถ่ายมูลของพระโพธิสัตว์ ส่วนเพื่อนทั้ง
115 เรือ่ งเดียวกัน.
131
สองมาเห็นตน้ ไทรเม่อื เป็นตน้ แล้ว ลงิ และช้างใหค้ วามเคารพนบั ถอื นกกระทาในฐานะพี่ใหญ่ต้งั แต่บัดน้ัน(พระพุทธ
องคต์ รสั สอนภกิ ษุว่า) “คนฉลาดรธู้ รรม นอบน้อมถอ่ มตนต่อผูใ้ หญ่ ใครเห็นก็ช่ืนชม ภพหนา้ สคุ ตกิ ็รอเขาอย”ู่
38. พกชาดกพระโพธิสัตว์เกดิ เปน็ รุกขเทวดา ไดเ้ ห็นเล่ห์ลวงของนกยาง หลอกปลาทั้งหลายวา่ จะช่วยคาบ
ไปปล่อยลงสระแล้วกก็ นิ ปลาจนเกล้ียงสระ เหลอื ปูตัวเดียวเพราะรูท้ ันเลห่ ์ของนกยาง เมือ่ นกยางจะหลอกเหมือนที่
ทำกบั ปลา ปูไมย่ อมใหน้ กยางคาบ แต่ขอเอากา้ มหนบี คอนกยางไป เม่ือนกยางจะไปจกิ ปูกินเป็นอาหาร ปกู ็ชงิ หนีบ
คอนกยางตายก่อน(รุกขเทวดากล่าวว่า) “ใชเ้ ลห่ ์หลอกลวงเขา สุขก็สุขได้ไมน่ าน สักวันก็ต้องประสบเคราะห์กรรม
เหมือนนกยางตายเพราะปูหนีบ”
39. นันทชาดกพระโพธิสัตว์เกิดเป็นกุฏุมพี มีเพื่อนคนหนึ่งเป็นกุฏุมพีเฒ่ามีเมียสาวและบุตรด้วยกันคน
หนึ่ง เกรงวา่ ตายไปเมียจะไปมีผัวใหม่ จงึ แอบเอาสมบัติไปฝังไวใ้ นป่า เม่อื ลกู ชายโตขึ้นได้ขอให้คนใช้พ่อพาไปยังท่ี
ฝังสมบัติ ไปถึงท่ีหมาย คนใช้อิดๆออดๆพูดจาหยาบคายครั้งแล้วคร้ังเล่า เม่ือเห็นว่าไม่ได้การก็ไปปรึกษาพระ
โพธสิ ัตว์ พระโพธิสัตวใ์ ห้อบุ ายจนลกู ชายของเพือ่ นไดพ้ บขุมทรพั ย์ของพอ่ (พระโพธสิ ตั ว์พูดกบั ลูกชายของเพ่ือนวา่ )
“คนใช้ช่ือนันทะนัน้ เกิดจากนางทาส ที่ใดมนั ไปพูดหยาบคาย เรารวู้ ่าที่น่นั แหละมเี งนิ ทองฝงั อย”ู่ 116
40. ขทริ งั คารชาดกพระโพธิสตั ว์เกดิ เปน็ เศรษฐี เปน็ คนใจบญุ บำเพญ็ ธรรมอยู่เปน็ ประจำ วันหนึง่ จะถวาย
ทานแก่พระปัจเจกพุทธเจ้า ถูกพญามารโดดขัดขวาง บันดาลหลุมถ่านเพลิงขวางทาง พระโพธิสัตวไ์ ม่ถอดใจ ยอม
เดนิ ลยุ ถา่ นเพลิงเพือ่ ไปถวายทานใหไ้ ด้ บัดดลเกดิ เหตอุ ศั จรรย์ มดี อกบวั ผดุ ขึ้นรองรับทกุ ก้าวย่าง พญามารทำอะไร
ไม่ได้ ก็เสียใจหลบไป(พระโพธสิ ัตว์กล่าวกับพระปัจเจกพุทธเจา้ ว่า) “ตอ่ ให้ตกหลมุ เพลิง หัวทิ่มลงกองไฟ โยมก็ทำ
ช่ัวอีกไม่ได้ นิมนต์รับบิณฑบาตเถิดพระคุณเจา้ ”
41. โลสกชาดกพระโพธิสัตว์เกิดเป็นอาจารย์ทิศาปาโมกข์ มีลูกศิษย์คนหนึ่งไม่สนใจเล่าเรียนเขียนอ่าน
อาจารย์ตักเตือนกไ็ ม่เช่ือฟงั หนีไปเท่ียว วันหน่งึ เคราะห์ร้ายไปจับขาแพะตัวหน่ึงในฝูงแพะท่เี ขากำลังซุ่มจับโจรท่ี
วันก่อนแพะถูกลักไปหลายตวั ถูกหาวา่ เปน็ โจร พระโพธสิ ัตวต์ ้องไปชว่ ยจึงรอดจากการถกู ประหาร เรือ่ งน้ีแสดงถึง
ผลกรรมเกา่ ของพระโลสกติสสะ(พระโพธสิ ัตว์กลา่ วสอนวา่ ) “คนทีเ่ ขาอตุ สา่ หพ์ ร่ำสอน ดว้ ยจิตเก้อื กูลอ่อนโยน หวัง
อนุเคราะห์ดว้ ยประโยชน์ ไมเ่ ชื่อฟงั มแี ต่จะโศการดรู .....”
42. กโปดกชาดกพระโพธิสัตว์เกิดเป็นนกพิราบ คนเขาทำกระเช้าผ้าให้อยู่อาศัยบ้าน กาตวั หน่ึงขอไปอยู่
ด้วย วนั หนงึ่ พระโพธสิ ัตว์บินออกไปหากินขา้ งนอก กาแอบไปลักชิน้ เนอ้ื ในครัว พ่อครวั จับได้จึงถอนขน ตำพรกิ กับ
เกลอื ทาตัวมนั แล้วโยนใสก่ ระเช้าไว(้ พระโพธิสตั ว์เหน็ สภาพของกากก็ ล่าวว่า) “สอนดว้ ยความหวังดี ไม่ทำตามสอน
ชีวติ ยอ่ มประสบชะตากรรมไดเ้ รือ่ ยไป เหมือนกาที่ถกู เขาจับถอนขน”
43. เวฬกุ ชาดก พระโพธสิ ัตวเ์ กิดเปน็ ฤาษี มีดาบสในปกครองตนหน่งึ เอางพู ษิ มาเลีย้ งไวใ้ นปลอ้ งไมไ้ ผ่ ถูก
เตือนว่าจะเป็นอันตรายก็ไมฟ่ ัง คราวหนึ่งไปหาผลไม2้ -3 วัน กลบั มาเปิดกระบอกไม้ไผ่ท่ีเลยี้ งงเู อาไว้ ดว้ ยความหิว
จัด งูไดฉ้ กกัดดาบสตายคาที่ แล้วเล้ือยหายเข้าป่าไป(พระโพธิสตั ว์สอนหมู่ดาบสว่า) “คนไม่เช่ือฟังคำสอน ไม่เห็น
ความปรารถนาดีของผู้ตักเตอื น ย่อมถูกกำจัดไปเองเหมอื นดาบสเลี้ยงอสรพิษ”
116 เรื่องเดยี วกนั .
132
44. มกสชาดกพระโพธสิ ตั ว์เกิดเป็นพอ่ ค้า ลูกน้องคนหนึ่งเป็นชา่ งไม้ยุงมาจบั ที่ศรี ษะแก จึงเรียกลูกชายให้
มาช่วยไล่ยงุ ลกู ชายเปน็ คนโง่ คิดแต่จะฆา่ ยงุ คว้าขวานมาจามลงที่ศีรษะพอ่ ดบั ด้นิ อยูต่ รงนั้นเอง(พระโพธสิ ัตวก์ ลา่ ว
วา่ )“มศี ัตรคู ดิ เปน็ ยงั ดีกว่าทจี่ ะมีมติ รโงเ่ ขลา เพราะลกู ชายโง่คดิ แตจ่ ะฆา่ ยุงกลายเปน็ ฆา่ พอ่ ”
45. โรหิณชี าดก พระโพธิสัตวเ์ กิดเปน็ มหาเศรษฐี มีสาวใช้อย่นู างหน่งึ ชอ่ื โรหิณี มารดาของนางนอนอย่ใู น
โรงกระเดอื่ งท่ตี ำขา้ ว แมลงวันมาตอมไตต่ ามตวั จงึ เรยี กโรหณิ มี าชว่ ยไล่แมลงวัน โรหิณเี ปน็ คนโง่ คว้าสากตำข้าวมา
ฟาดแมลงวันที่ตอมไต่มารดา จนมารดาของนางตายคามือ(พระโพธิสัตว์กล่าวว่า) “ถึงเป็นคนเอ็นดูกรุณาต่อกัน
หากโงเ่ ขลาเสยี แล้ว มศี ัตรรู ู้จักใช้ความคดิ ยังดีกวา่ ”117
46. อารามทสู กชาดกพระโพธสิ ตั ว์เกดิ เปน็ บัณฑิต วนั หน่งึ คนเฝ้าสวนจะไปดมู หรสพ จงึ ฝากงานให้ลงิ หัว
โจกช่วยรดต้นไม้ให้ ลิงหัวโจกเกณฑ์ฝูงลงิ มาช่วย ส่ังให้ถอนรากต้นไม้ข้ึนมาดูก่อน ถ้ารากยาวใหร้ ดน้ำมาก รากสั้น
ให้รดนำ้ น้อย ผลกค็ ือต้นไม้ตายเรียบ (พระโพธิสัตว์เห็นก็กล่าวว่า) “คนโง่เห็นประโยชน์ ทำประโยชน์ ก็ไมไ่ ดเ้ รื่อง
คดิ ทำประโยชนแ์ ตท่ ำลายประโยชน์ เหมือนลิงเฝ้าสวน”
47. วารุณทิ ูสกชาดกพระโพธสิ ัตว์เกิดเป็นเศรษฐีมคี นขายเหลา้ อาศยั คา้ ขายอยู่ดว้ ย วนั หนง่ึ เขากลนั่ เหล้า
ดกี รแี รงไว้ สงั่ ใหล้ ูกจ้างเปน็ คนนง่ั ขายตวั เองไปอาบนำ้ ลูกจา้ งเกิดอุตริเอาเกลอื โรยลงไปในเหลา้ ทำใหเ้ หล้าเสยี หาย
หมด (พระโพธิสตั ว์กล่าวว่า) “ไม่รู้จกั ประโยชนแ์ ตข่ ยนั ทำประโยชน์ ทำไปกไ็ ม่สำเร็จ ประโยชน์ก็ไม่เปน็ ประโยชน์
เหมือนคนโงเ่ อาเกลอื ใสส่ รุ า”
48. เวทัพพชาดก พระโพธิสัตว์เกิดเป็นลูกศิษย์พราหมณ์ พราหมณ์ผู้เป็นอาจารย์ชื่อ เวทัพพะ สามารถ
ร่ายมนต์เรียกฝนเพชรพลอยได้ ถูกโจรจับเป็นตัวประกัน พระโพธิสัตว์เตือนพราหมณ์ว่าอย่าร่ายมนต์พร่ำเพรื่อ
พราหมณ์ไม่ทำตาม ในท่ีสุดก็ถูกโจรฆ่าตาย และพวกโจรด้วยกันก็ฆ่ากันเองเพราะแย่งเพชรพลอยจากฟ้า(พระ
โพธสิ ัตว์กล่าววา่ ) “อยากไดป้ ระโยชน์แตไ่ ม่รู้วธิ ที จี่ ะไดอ้ ยา่ งแยบยล ประโยชนท์ ่ีหวังก็กลบั กลายเป็นโทษเหมอื นโจร
ฆ่าพราหมณฉ์ ิบหายไปดว้ ยกัน”
49. นักขัตตชาดก พระโพธิสัตวเ์ กิดเปน็ บัณฑิตชาวกรุง ไปขอลูกสาวเขาที่ต่างจงั หวดั เพ่ือจะแต่งงานให้
ลูกชาย กำหนดวันแต่งไวแ้ ล้ว แตม่ วั คอยฤกษย์ ามตามทีห่ มอดูกำหนด ไมไ่ ดฤ้ กษส์ กั ที จนเขายกลกู สาวใหค้ นอืน่ ไป
(พระโพธิสตั ว์กลา่ ววา่ )“คนโงม่ ัวแต่คอยฤกษ์ยาม ประโยชน์ก็ผ่านเลยไป ประโยชน์นั่นแหละคือฤกษ์ของประโยชน์
เอง ดวงดาวจะทำอะไรได”้
50. ทุมเมธชาดก พระโพธสิ ตั วเ์ กดิ เป็นเจ้าชาย เห็นประชาชนน้อมบูชายญั ด้วยการฆา่ สัตวส์ งั เวย ก็คดิ แก้
ประเพณี เอาดอกไม้ของหอมเปน็ เครือ่ งบชู าเครือ่ งบวงสรวงแทน เม่ือไดค้ รองราชตอ่ จากพระราชบดิ าก็ป่าวประกาศ
ใหช้ าวเมอื งเลิกฆ่าสัตวบ์ ูชายัญ ใครขัดขืนจะฆ่าผู้น้ันและบชู ายัญ ชาวเมืองกลวั ตายกไ็ ดพ้ ากนั รกั ษาศลี ท่วั หน้า(ใน
คำป่าสประกาศของพระโพธิสัตว์มีว่า) “ในพิธีบูชายัญของข้าพเจ้า ได้บนเทพยดาไว้ด้วยชีวิตคนโง่ 1,000 คน
ปจั จบุ นั มคี นละเลยศีลธรรมอยทู่ ัว่ เมือง ชวี ิตพวกนนั้ แหละจะเอามาบชู ายัญ”
มหานบิ าต (10 ชาดก) ในมหานิบาตมี 10 ชาดก คือ 1.เตมิยชาดก 2. มหาชนกชาดก 3.สวุ ัณณสามชาดก
4. เนมิราชชาดก 5. มโหสธชาดก 6. ภูริทัตตชาดก 7.จันทกุมารชาดก 8.นารทชาดก 9.วิธุรชาดก 10.เวสสันตรา
ชาดก แตล่ ะชาดกมีจำนวนคาถาเกนิ 100 คาถา จะถอดความเฉพาะบางคาถาพอเป็นตวั อย่างเทา่ นัน้
117 เร่อื งเดยี วกนั .