The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ศวีระ วิเศษโชค, 2019-12-05 03:16:15

รวมบทคัดย่อ NGRC#49

รวมบทคัดย่อ

กำรประชมุ วิชำกำรนำเสนอผลงำนวจิ ยั ระดบั บัณฑติ ศึกษำแหง่ ชำติ ครงั้ ที่ 49 193

ABSTRACT
This research aimed to reduce the wasting time in the testing process to find
the amount of dirt of the block rubber STR 20 under possible limitations and be
within standard defined. From the studying of problem condition in the testing
process to find the amount of dirt in the block rubber STR 20 at Quality control
department found that before the process improvement, there is waste of time
higher than the standard was set by factory. The mainly caused is due to electric
heater cannot heat dissipation all over the stove and take time to boil the sample
for too long which is not catch up to sampling to be tested and affected to testing
process to find the amount of dirt in the block rubber STR 20 is lack of efficiency and
after improved by Lean Six Sigma. Therefore, it has been improved the process by
changing from the electric heater that is heated by an infrared tube to be coil
heating instead to reduce waste time and increase the test efficiency. It was found
that can increase the number of samples in the test and process capability (Cpk) is
2.47 which shown that the process is very good and from the confirmation of the
results, no loss was found by the reliability range of the process is 1.78 < Cpk < 3.16
and from the project found that the break-even point is 1.46 years.

Keywords: Lean Six Sigma Approach; Standard Thai Rubber

194 การประชุมวชิ าการนาเสนอผลงานวจิ ยั ระดบั บณั ฑติ ศกึ ษาแหง่ ชาติ ครัง้ ที่ 49

เคร่ืองสกดั แยกน้ำมันมะพรำ้ วบรสิ ุทธ์ิโดยใชแ้ รงเหวี่ยงหนีศนู ย์
PURE COCONUT OIL EXTRACTOR BY CENTRIFUGAL FORCE

ศภุ เวทย์ สงคง 1, วิทยากร ฤทธมิ นตรี2,ณัฐพงศ์ ชุมวงษ์3,วริทธิ์ ผลเจริญ4 ประเสรฐิ นนทกาญจน์5
คณะวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลศรวี ชิ ยั

[email protected], [email protected], [email protected]
[email protected] [email protected]

บทคัดย่อ
การจัดทาโครงการเครื่องสกัดแยกน้ามันมะพร้าวบริสุทธ์ิโดยใช้แรงเหว่ียงหนีศูนย์ มี
วัตถุประสงค์เพ่ือสกัดแยกน้ามันมะพร้าว เพื่อลดเวลาในการสกัดแยกแบบใช้การตกตะกอนแยกชั้น
ของภูมิปัญญาชาวบ้านและสามารถใช้งานได้สะดวก โดยใช้หลักการสกัดแยกด้วยแรงเหวี่ยงหนีศูนย์
เพื่อใหเ้ กดิ การตกตะกอนแยกชัน้ ของน้ามนั มะพร้าวโดยเคร่ืองใช้มอเตอร์ป้ัมน้าทาหน้าท่ีส่งกาลังไปยัง
ชุดหวั ปั่นเพอื่ เหวยี่ งสกดั แยกนา้ มันมะพรา้ ว
ผลการทดลองการใชง้ าน เคร่อื งสกดั แยกน้ามันมะพร้าวบรสิ ทุ ธ์โิ ดยใช้แรงเหวี่ยงหนีศูนย์ โดย
ทาการเหว่ยี งสกดั น้ามันมะพร้าวผสมวา่ นชักมดลูก สามารถสกดั นา้ มันมะพร้าวได้เฉล่ียหลอดละ 10.6
มิลลลิ ติ ร ซึ่งการสกดั แยกนา้ มันมะพร้าวดว้ ยเคร่ืองสกดั แยกแบบอณุ หภมู ิ โดยทาการเหวี่ยงสกัดน้ามัน
มะพร้าวผสมว่านชักมดลูก สามารถสกัดน้ามันมะพร้าวได้เฉลี่ยหลอดละ 11.2 มิลลิลิตร เมื่อ
เปรียบเทียบการสกัดแยกน้ามันมะพร้าวด้วยเคร่ืองสกัดแยกน้ามันมะพร้าวบริสุทธิ์โดยใช้แรงเหว่ียง
หนีศูนย์ และการสกัดด้วยเคร่ืองแยกแบบอุณหภูมิ พบว่าการสกัดด้วยเครื่องสกัดแยกน้ามันมะพร้าว
บริสุทธ์ิโดยใช้แรงเหว่ียงหนีศูนย์จะสกัดน้ามันมะพร้าวผสมว่านชักมดลูกได้น้อยกว่าเครื่องสกัดแบบ
อุณหภูมิเฉลี่ยหลอดละ 0.6 มิลลิลิตรได้เป็นตะกอนมากกว่าเฉล่ียหลอดละ 0.6 มิลลิลิตรและสกัด
น้ามันมะพร้าวผสมว่านนางคาได้น้อยกว่าเครื่องสกัดแบบอุณหภูมิเฉลี่ยหลอดละ 1 มิลลิลิตรได้เป็น
ตะกอนมากกว่าเฉล่ียหลอดละ 1 มิลลิลิตรแต่เคร่ืองสกัดแยกน้ามันมะพร้าวบริสุทธิ์โดยใช้แรงเหวี่ยง
หนีศูนย์จะสกัดน้ามันมะพร้าวได้ปริมาณมากกว่าในแต่ละครั้งและมีต้นทุนที่ถูกกว่าเครื่องสกัดแยก
แบบอุณหภูมิและอุปกรณ์อะไหล่ของเครื่องจะหาซ้ือได้ง่ายและมีขายในท้องถ่ิน เครื่องที่ออกแบบ
สามารถแยกนา้ มนั ออกมาในเวลา 30 นาทท่ี เ่ี รว็ กวา่ การแยกแบบเดิมทีใ่ ช้เวลา 48 ชั่วโมง

คำสำคัญ: นา้ มันมะพร้าวบริสทุ ธ์ิ;สกัดน้ามนั ;แรงเหวย่ี งหนศี ูนย์

กำรประชมุ วชิ ำกำรนำเสนอผลงำนวจิ ัยระดบั บัณฑิตศกึ ษำแห่งชำติ ครั้งที่ 49 195

ABSTRACT
The purpose of this study to separate coconut oil reduce the time for

traditional separation oil and more convenient for using. The process of separation
used centrifugal force for coconut oil layer sedimentation. The machine was

performed by a motor which sent the main power through spinning equipment for

separated coconut oil.

The result showed that the pure coconut oil extracted by centrifugal force by

spinning to extract coconut oil mixed with Wan chak mot luk. The machine could be
able to extract coconut oil, average as 10.6 ml, the machine was extracted by

temperature by spinning to extract coconut out mixed Wan chak mot luk that could

be able to extract coconut oil average as 11.2 ml. As a comparison of pure oil,

coconut extraction between centrifugal force extraction and temperature extraction
founded pure coconut oil extractor by centrifugal force would extract coconut oil

mixed wan chak mot luk less than temperature extractor average as 0.6 mm, more
got sediment average as 0.6 ml and extracted coconut oil mixed with wan nan kham
less than temperature extractor average as 1 ml and got sediment average as 1 ml.

However, the pure coconut oil extractor by centrifugal force could be able to extract
much more each time and the capital is cheaper than temperature extractor and

was easy to buy the equipment and was sold in the locality.

Keywords: pure coconut oil; coconut oil extracted; centrifugal force

196 การประชุมวิชาการนาเสนอผลงานวจิ ยั ระดบั บณั ฑติ ศกึ ษาแหง่ ชาติ ครงั้ ที่ 49

กำรใช้เปปไทด์ต้ำนจลุ ชีพที่พบในมนุษยเ์ พ่ือตำ้ นเชอ้ื uropathogenic Escherichia coli
สำยพันธด์ุ ื้อยำหลำยชนิดที่ทำให้เกิดกำรตดิ เช้ือในระบบทำงเดินปัสสำวะ
ท่ีสมั พันธก์ ับกำรใส่สำยสวนปัสสำวะ

USE OF HUMAN ANTIMICROBIAL PEPTIDES TO COMBAT OF MULTIDRUG-
RESISTANT UROPATHOGENIC ESCHERICHIA COLI CAUSING CATHETER ASSOCIATED

URINARY TRACT INFECTIONS

เมธพนธ์ พฒุ ิชาติ1 Jan G.M. Bolscher2 Kamran Nazmi2 สวุ ิมล ทวชี ัยศุภพงษ์3 สกาวรัตน์ กนั ทะวงศ์1,3
Matapon Puttichat1 Jan G.M. Bolscher2 Kamran Nazmi2 Suwimol Taweechaisupapong3 Sakawrat Kanthawong1,3*
Department of Microbiology, Faculty of Medicine, Khon Kaen University, Khon Kaen, Thailand1

Department of Oral Biochemistry, Academic Centre for Dentistry Amsterdam (ACTA),
University of Amsterdam and VU University Amsterdam, Amsterdam, The Netherlands 2
Biofilm Research Group, Faculty of Dentistry, Khon Kaen University, Khon Kaen, Thailand3

[email protected]

บทคัดย่อ
การติดเช้ือในระบบทางเดินปัสสาวะที่สัมพันธ์กับการใส่สายสวนปัสสาวะเป็นการติดเช้ือประเภท
หนึง่ ท่ถี ูกจัดอยใู่ นการติดเชอื้ ทเ่ี กิดจากสถานพยาบาล โดยมเี ช้อื แบคทเี รีย Uropathogenic Escherichia coli
(UPEC) เป็นสาเหตุหลัก เช้ือแบคทีเรียน้ีมีอัตราการด้ือยาท่ีสูงทาให้ยากต่อการรักษา ดังน้ันจึงมีการศึกษา
เพ่ือหาสารต้านจุลชีพชนิดใหม่อย่างเปปไทด์ต้านจุลชีพชนิดแคธีลิซิดินท่ีพบในมนุษย์ การศึกษาน้ีจีงมี
วตั ถุประสงคเ์ พื่อศึกษาประสทิ ธภิ าพของเปปไทด์ต้านจลุ ชพี ชนิดแคธีลิซดิ ินทพี่ บในมนษุ ย์ท้ังแบบดั้งเดมิ (LL-
37) แบบดัดแปลงให้ส้ันลง (LL-31) และแบบท่ีมีการใช้กรดอะมิโนชนิด D (D-LL-37, D-LL-31, D-LL-13-31
และ D-LL-13-37) ต่อเช้ือแบคทีเรียสายพันธุ์ด้ือยาหลายชนิดที่แยกได้จากผู้ป่วย เช้ือแบคทีเรีย
uropathogenic Escherichia coli ถูกแยกไดจ้ ากผู้ป่วยโรคตดิ เชือ้ ในระบบทางเดินปัสสาวะที่สัมพันธ์กับการ
ใส่สายสวนปัสสาวะจานวน 10 สายพันธุ์ นามาทาการศึกษาหาความไวต่อยาปฏิชีวนะด้วยวิธีการเจือจางใน
อาหารเลยี้ งเช้ือชนิดเหลว และทาการทดสอบประสิทธิภาพในการทาลายเช้ือของเปปไทด์ต้านจุลชีพทุกชนิด
และยาปฏิชีวนะ รวมไปถึงการศึกษาหาฤทธิ์ในการทาลายเช้ือต่อหน่วยเวลาของเปปไทด์ต้านจุลชีพท่ีมี
ประสิทธิภาพมากที่สุดด้วยวิธีการตรวจนับจุลินทรีย์มาตรฐาน ผลการศึกษาพบว่าค่า minimal inhibitory
concentrations (MICs) และ minimal bactericidal concentrations (MBCs) ของยาปฏิชีวนะ
ceftriaxone ต่อเช้ือ MDR-UPEC ทุกสายพันธุ์อยู่ท่ีมากกว่าหรือเท่ากับ 1,024 ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตร
ในขณะท่ีความเขม้ ข้นของเปปไทดต์ า้ นจลุ ชพี ชนิด LL-37, LL-31, D-LL-31 และ D-LL-37 ที่ 20 ไมโครโมลาร์
สามารถทาลายเชื้อ MDR-UPEC ได้ 100% ภายในเวลา 1 ชั่วโมง จากการศึกษาหาฤทธิ์ในการทาลายเช้ือต่อ
หน่วยเวลาพบว่าความเขม้ ข้นของเปปไทด์ต้านจุลชีพชนิด D-LL-31 ที่ 1 ไมโครโมลาร์ มีประสิทธิภาพดีที่สุด
โดยสามารถทาลายเชื้อ MDR-UPEC ได้หมดภายใน 1 ชั่วโมง ในขณะท่ีเปปไทด์ต้านจุลชีพชนิด D-LL-37 ใช้
เวลา 24 ชั่วโมงในการทาลายเช้ือ นอกจากน้ียังพบว่ายาปฏิชีวนะ ceftriaxone ที่ความเข้มข้นสูงสุด 15 ไม
โครโมลาร์ ไมส่ ามารถทาลายเชือ้ ได้เลยตลอดช่วงเวลาการบม่ 24 ช่ัวโมง จากผลการทดลองแสดงให้เห็นว่าถึง

กำรประชุมวิชำกำรนำเสนอผลงำนวิจัยระดับบณั ฑิตศึกษำแหง่ ชำติ ครงั้ ที่ 49 197

ความเป็นไปได้ที่จะพัฒนาเปปไทด์ชนิด D-LL-31 เพ่ือใช้รักษาโรคติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะท่ีสัมพันธ์
กบั การใสส่ ายสวนปัสสาวะในอนาคต

คำสำคญั : การติดเชือ้ ในระบบทางเดนิ ปัสสาวะที่สัมพนั ธ์กับการใส่สายสวนปัสสาวะ uropathogenic
Escherichia coli เปปไทด์ต้านจุลชพี

ABSTRACT
Catheter associated urinary tract infections or CAUTIs are one common type

of healthcare associated infections. Uropathogenic Escherichia coli (UPEC) plays the

leading role in the pathogenesis of CAUTIs, the main issue that make CAUTIs harder

to treat is the increasing of drug-resistant incidence. Therefore, novel antimicrobial
agent such as cathelicidin antimicrobial peptide (CAMP) was investigated. The aim of
this study was to determine the antimicrobial activity of human CAMP (LL-37), its
truncated peptide (LL-31) and D-enantiomer form (D-LL-37, D-LL-31, D-LL-13-31 and
D-LL-13-37) against clinical isolates of multidrug-resistant (MDR)-UPEC. Ten MDR-

UPEC clinical isolates were collected from patients presented with catheter

associated urinary tract infections. Antimicrobial susceptibility of all isolates were
tested using micro-broth dilution technique and antimicrobial activity of all peptides
and time-kill kinetics of the most effective peptide against MDR-UPEC in planktonic
form were determined using colony counting assay. The minimal inhibitory
concentrations (MICs) and minimal bactericidal concentrations (MBCs) of ceftriaxone
against all MDR-UPEC isolates in planktonic form were equal or greater than 1,024
µg/ml. While 20 µM of LL-37, D-LL-37, LL-31 and D-LL-31 exhibited 100% killing
activity against MDR-UPEC within 1 hour. Killing kinetics revealed that 1 µM of D-LL-

31 displayed the strongest bactericidal activity which can reach the bacterial

endpoint within 1 hour against highly resistant isolate, while D-LL-37 which required
24 hours. Moreover, conventional antibiotic ceftriaxone had no killing antimicrobial
effect in higher concentration (15 µM) along 24 hours of incubation period. These
results indicate that D-LL-31 might be possible to develop as novel antimicrobial
agent against CAUTIs in the future.

Keywords: Catheter associated urinary tract infections, uropathogenic Escherichia

coli, Antimicrobial peptide

198 การประชมุ วชิ าการนาเสนอผลงานวจิ ยั ระดบั บัณฑติ ศกึ ษาแห่งชาติ คร้ังที่ 49

NUMERICAL SOLUTION FOR SYSTEM OF LINEAR FREDHOLM INTEGRO-
DIFFERENTIAL EQUATIONS BY USING FINITE INTEGRATION METHOD WITH

CHEBYSHEV POLYNOMIALS

Matinee Jutai1* and Ratinan Boonklurb1
1Department of Mathematics and Computer Science, Faculty of Science,

Chulalongkorn University, Bangkok 10330, Thailand
*Corresponding author, Email address: [email protected]

ABSTRACT
Recently, the modified finite integration method using Chebyshev
polynomials (FIM-CBS) has been proposed to deal with linear differential equations.
In this article, the modified FIM-CBS is used to construct the Chebyshev integration
matrices over the interpolated points which are generated by the zeros of
Chebyshev polynomial of a certain degree. An efficiently numerical algorithm is then
created by the modified FIM-CBS for seeking approximate solutions of a system of
linear Fredholm integro-differential equations under some given boundary conditions.
Furthermore, the performance of our presented numerical algorithm is examined via
the diversified numerical experiments. The comparisons of their analytical solutions
and approximate solutions obtained by our proposed algorithm and other methods
are also illustrated through the average absolute error. Then, the computational
comparisons show that our proposed method achieves the significant improvement
in accuracy.

Keywords: finite integration method; Chebyshev polynomial; system of linear

Fredholm integro-differential equations

กำรประชุมวชิ ำกำรนำเสนอผลงำนวิจัยระดับบณั ฑติ ศกึ ษำแห่งชำติ ครัง้ ที่ 49 199

กำรเพิ่มศักยภำพกำรต้ำนเช้ือแบคทเี รียของอนุภำคนำโนไคโตซำนร่วมกับยำเซฟตำซิดมิ
ต่อ Burkholderia pseudomallei

ANTIBACTERIAL IMPROVING POTENTIAL OF CHITOSAN NANOPARTICLES
COUPLING WITH CEFTAZIDIME AGAINST Burkholderia pseudomallei

ณฏั ฐญาณ์ ทองเหลา1 พิสิฏฐ์ เจรญิ สุดใจ2,5 สมเดช กนกเมธากลุ 3 โสรัจสริ ิ เจริญสดุ ใจ1,4,5
Nuttaya Thonglao1, Pisit Chareonsudjai2,5, Somdej Kanokmedhakul3 and Sorujsiri Chareonsudjai1,4,5*

Department of Microbiology, Faculty of Medicine, Khon Kaen University, Khon Kaen, Thailand1,
Department of Environmental Science, Faculty of Science, Khon Kaen University, Khon Kaen
Thailand2, Department of Chemistry, Faculty of Science, Khon Kaen University, Khon Kaen,
Thailand3, Melioidosis Research Center, Khon Kaen University, Khon Kaen, Thailand4, Biofilm
Research Group, Khon Kaen University, Khon Kaen, Thailand5
[email protected]

บทคัดย่อ
ไคโตซานเป็นสารโปลีแซคคาไรด์ที่ได้จากกระบวนการดึงหมู่อะเซทิลจากไคติน ไคโตซานมี
ฤทธิ์เป็นสารต้านจุลชีพหลายชนิด รวมถึงการออกฤทธ์ิในการทาลายแบคทีเรีย Burkholderia
pseudomallei ที่เป็นเชื้อสาเหตุของโรคเมลิออยโดสิส (melioidosis) ซ่ึงเป็นโรคติดเชื้อสาคัญของ
ประเทศไทย ในการศึกษานี้ ผู้วิจัยได้ทดสอบการออกฤทธิ์ของอนุภาคนาโนไคโตซาน (chitosan
nanoparticles, CSNPs) ผสมดว้ ยวิธกี วนกับยาเซฟตาซดิ มิ (ceftazidime, CAZ) ซึ่งเป็นยาปฏิชีวนะ
ท่ีมีฤทธ์ิทาลาย B. pseudomallei เพ่ือสร้างเป็น CSNPs coupled with CAZ (CSNPs/CAZ)
จากน้ัน CSNPs (0 ถึง 10 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร), CAZ (0 ถึง 16 ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตร) และ
CSNPs/CAZ (0 ถงึ 10 มลิ ลิกรมั ตอ่ มลิ ลลิ ติ ร/0 ถึง 8 ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตร) ได้ถูกนามาทดสอบการ
ออกฤทธ์ิยับยั้งการเจริญของ B. pseudomallei จานวน 5 สายพันธ์ุ ด้วยวิธี minimal inhibitory
concentrations (MICs) โดยวิธี broth microdilution ใน 96-well microtiter plate ผลการ
ทดลอง แสดงค่า MIC ของ CSNPs และ CAZ ที่ 10 มิลลิกรมั ตอ่ มิลลิลิตร และ 2 ถึง 4 ไมโครกรัมต่อ
มิลลิลิตร ตามลาดับ ค่า MIC ของ CSNPs/CAZ เท่ากับ 1.25 ถึง 2.5 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร/1 ถึง 2
ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตร ซ่ึงแสดงถึงการเสริมฤทธ์ิระหว่างสารท้ังสองชนิด เนื่องจากให้ค่า fractional
inhibitory concentration index (FICI) <1 (synergy) ผลการศึกษานี้แสดงถึงการเพิ่มศักยภาพ
การต้านเช้ือแบคทีเรียของ CSNPs/CAZ ต่อ B. pseudomallei ซึ่งสามารถนาไปสู่การประยุกต์ใช้
CSNPs/CAZ ทางการแพทย์หรือพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ทางการแพทย์เพื่อการป้องกันหรือลดความ
รุนแรงในการตดิ เชอ้ื B. pseudomallei

คำสำคญั : ไคโตซาน; อนุภาคนาโนไคโตซาน; การออกฤทธ์ติ า้ นจุลชพี ; Burkholderia pseudomallei

200 การประชุมวชิ าการนาเสนอผลงานวจิ ัยระดบั บัณฑติ ศึกษาแหง่ ชาติ ครั้งที่ 49

ABSTRACT
Chitosan is a polysaccharide that derived from deacetylation of chitin. Chitosan has
antimicrobial activity against various microorganisms including Burkholderia pseudomallei. B.
pseudomallei is the causative agent of melioidosis, a vital infectious disease of Thailand. In
this study, we explored the potential of chitosan nanoparticles (CSNPs) coupled with
ceftazidime (CAZ), the antibiotic of choice for the treatment of B. pseudomallei infection
(melioidosis). These two agents were mechanical stirred to generate CSNPs coupled with
CAZ (CSNPs/CAZ). Subsequently, CSNPs (0 to 10 mg ml-1), CAZ (0 to 16 µg ml-1) and
CSNPs/CAZ (0 to 10 mg ml-1/0 to 8 µg ml-1) were determined for the antibacterial activity of
5 B. pseudomallei isolates using minimal inhibitory concentrations (MICs) by broth
microdilution in 96-well microtiter plate. The results showed that MIC values of CSNPs and
CAZ were 10 mg ml-1 and 2 to 4 µg ml-1, respectively. Remarkably, MIC values of CSNPs/CAZ
were 1.25 to 2.5 mg ml-1/1 to 2 µg ml-1 which interpreted as synergism according to the
fractional inhibitory concentration index (FICI) values were < 1. These findings exhibited the
improving of antimicrobial activity of CSNPs/CAZ against B. pseudomallei. Therefore,
CSNPs/CAZ may be applied to develop biomedical materials to prevent or reduce the
severity of B. pseudomallei infection.

Keywords: Chitosan; Chitosan nanoparticles; Antimicrobial activity; Burkholderia pseudomallei

กำรประชุมวิชำกำรนำเสนอผลงำนวจิ ัยระดบั บัณฑิตศึกษำแหง่ ชำติ ครง้ั ที่ 49 201

กำรจำแนกคณุ ลกั ษณะของไบโอแคลเซยี มจำกกระดูกหมู
CHARACTERIZATION OF Bio-Calcium FROM PIG BONE

ศิริพร หมัน่ การ1 วรวรรณ พนั พิพฒั น์2 และ มนัส ชยั จันทร3์
Siriporn Mankarn 1 Worawan Panpipat2 and Manat Chaijan3
ศนู ย์ความเปน็ เลศิ ดา้ นเทคโนโลยแี ละนวัตกรรมอาหาร สาขาวชิ าอตุ สาหกรรมเกษตร

สานกั วชิ าเทคโนโลยกี ารเกษตร มหาวิทยาลยั วลยั ลักษณ์ 1,2,3
Corresponding author, [email protected], [email protected] and [email protected]

บทคดั ยอ่
การวิจัยน้ีมีวัตถุประสงค์เพ่ือศึกษาคุณลักษณะของไบโอแคลเซียม (ไบโอแคลเซียม) ที่ผลิต
จากกระดูกขาหลังของหมู จากการทดลองพบว่าไบโอแคลเซียมท่ีผลิตได้มีองค์ประกอบทางเคมีและ
กายภาพรวมทง้ั โครงสรา้ งระดับจุลภาคแตกต่างอย่างชัดเจนกับ เถ้ากระดูก (ผงเถ้ากระดูก) ซ่ึงได้จาก
การเผาไบโอแคลเซียมที่อุณหภูมิ 900ซ โดย ไบโอแคลเซียม ที่ผลิตได้มีเถ้า โปรตีน ความช้ืนและ
ไขมันเท่ากับ 71.35%, 20.24% 3.00% และ 0.25% ตามลาดับ มีปริมาณแคลเซียมและฟอสฟอรัส
เท่ากับ 34.84% และ 16.06% ตามลาดับ โดยแคลเซียมและฟอสฟอรัสสามารถละลายในระบบ
จาลองกรดในกระเพาะอาหารได้เท่ากับ 2.75% และ 1.50% ตามลาดับ ซ่ึงสูงกว่า เถ้ากระดูกอย่างมี
นัยสาคัญ ซ่ึงอาจสมั พันธก์ บั การคงอย่ขู องเส้นใยโปรตีนภายโครงสร้างของไบโอแคลเซียมซ่ึงอาจมีส่วน
ช่วยในการดูดซึมแคลเซียมและฟอสฟอรัส ดังนั้นกระดูกขาหลังของหมูจึงสามารถนามาใช้ในในการ
ผลิตไบโอแคลเซยี มท่ีมีศกั ยภาพเพ่อื เป็นอาหารเสรมิ หรือเป็นส่วนผสมอาหารฟังก์ชันได้

คำสำคัญ: ไบโอแคลเซยี ม; กระดูกหมู; คุณลักษณะ,เถ้ากระดกู

202 การประชุมวชิ าการนาเสนอผลงานวิจัยระดบั บณั ฑติ ศกึ ษาแหง่ ชาติ คร้ังที่ 49

ABSTRACT
This study aimed at evaluating the characteristics of Bio-Calcium from pig
femur. Results showed that chemical, physical and microstructural properties of Bio-
Calcium were significantly different from Calcined bone produced by calcination of
Bio-Calcium at 900C. Bio-Calcium composed of 71.35% ash, 20.24% protein, 3.00%
moisture and 0.25% fat. The calcium and phosphorus content in Bio-Calcium was
34.84% and 16.06%, respectively. Solubility of calcium and phosphorus in simulated
gastric acid was found to be 2.75% and 1.50%, respectively, which was significantly
higher than ผงเถ้ากระดูก. This was probably due the presence of protein fibers in the
matrix of Bio-Calcium which may help calcium and phosphorus adsorption.
Therefore, pig femur can be used to produce Bio-Calcium which had a potential to
be used as food supplement or functional food ingredient.

Keywords: Bio-Calcium; pig bone; characteristic; Calcined bone

กำรประชมุ วชิ ำกำรนำเสนอผลงำนวจิ ัยระดับบณั ฑติ ศึกษำแห่งชำติ ครัง้ ท่ี 49 203

กำรศึกษำเชงิ เปรยี บเทียบผลของกำรทำแห้งด้วยลมร้อนและไมโครเวฟต่อสมบตั ิทำงกำยภำพ
เคมแี ละปรมิ ำณสำรประกอบฟนี อลคิ ของเครื่องแกงไตปลำผง

A COMPARATIVE STUDY ON THE EFFECT OF HOT AIR AND MICROWAVE DRYINGS
ON PHYSICO-CHEMICAL PROPERTIES AND PHENOLIC CONTENT
OF TAIPLA CURRY POWDER

วรงค์พร ชพู นั ธ1์ วรวรรณ พนั พิพัฒน์2 มนสั ชัยจนั ทร์3
Warongporn Choopan1, Worawan Panpipat2 and Manat Chaijan3
หลักสตู รอุตสาหกรรมเกษตร สานกั วชิ าเทคโนโลยีการเกษตร มหาวทิ ยาลยั วลยั ลกั ษณ์1,2,3
Corresponding author, [email protected], [email protected] and [email protected]

บทคดั ยอ่
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเชิงเปรียบเทียบถึงผลของการทาแห้งเครื่องแกงไตปลาผง
ด้วยเคร่ืองทาแห้งแบบลมร้อนและไมโครเวฟ และผลของสภาวะในการทาแห้ง ต่อสมบัติทาง
กายภาพ-เคมี และปรมิ าณสารประกอบฟีนอลิคของเครื่องแกงไตปลาผง โดยทาการแปรอุณหภูมิท่ีใช้
ในการทาแห้งเครื่องแกงด้วยลมร้อน 3 ระดับ คือ 60, 70 และ 80 องศาเซลเซียส ซึ่งทาให้ต้องใช้
ระยะเวลาในการทาแห้งนาน 210, 120 และ 120 นาที ตามลาดับ เพ่ือให้ได้เคร่ืองแกงไตปลาผงท่ีมี
ความชื้นและน้าอิสระน้อยกว่าร้อยละ 13 และ 0.6 ตามลาดับ ส่วนการทาแห้งด้วยเครื่องไมโครเวฟ
นั้น จะทาการแปรกาลังคลื่นไมโครเวฟ 3 ระดับ ได้แก่ 740, 780 และ 810 วัตต์ เป็นเวลา 70, 45
และ 40 นาที ตามลาดับ จึงทาให้ได้เคร่ืองแกงไตปลาผงท่ีมีความช้ืนและน้าอิสระเป็นไปตามเกณฑ์
มาตรฐานกาหนด โดยการทาแห้งเคร่ืองแกงไตปลาด้วยเคร่ืองไมโครเวฟท่ีกาลัง 810 วัตต์ เป็น
ระยะเวลา 40 นาที จะทาให้ได้เคร่ืองแกงไตปลาผงที่มีปริมาณความชื้นและน้าอิสระต่าสุด (p<0.05)
รวมท้ังเกดิ การเปล่ยี นแปลงค่าสีน้าตาล (A294 และ A420) ของเคร่ืองแกงไตปลาผงน้อยที่สุด (p<0.05)
นอกจากนี้เครื่องแกงไตปลาผงที่ได้ยังมีค่าความสว่างสูงท่ีสุด (p<0.05) โดยการทาแห้งด้วยเครื่อง
ไมโครเวฟในสภาวะดงั กลา่ วยงั ชว่ ยลดระยะเวลาในการทาแห้งเคร่ืองแกงไตปลาผงได้ประมาณ 5 เท่า
เมอ่ื เทียบกับการทาแห้งดว้ ยลมร้อน และยังทาให้เคร่ืองแกงไตปลาผงท่ีได้มีปริมาณสารประกอบฟีนอ
ลคิ เหลืออยู่สงู ทีส่ ดุ อีกดว้ ย (p<0.05) ดงั นัน้ การทาแห้งดว้ ยเครอ่ื งไมโครเวฟจึงเป็นวิธีท่ีมีประสิทธิภาพ
สูงในการผลติ เครอ่ื งแกงไตปลาผง

คำสำคัญ: เคร่ืองแกงไตปลาผง; การทาแหง้ แบบลมรอ้ น; การทาแหง้ แบบไมโครเวฟ

204 การประชมุ วิชาการนาเสนอผลงานวจิ ยั ระดบั บัณฑติ ศกึ ษาแห่งชาติ ครั้งที่ 49

ABSTRACT
The objective of this research was to comparatively investigate the effect of
hot air and microwave drying as well as drying conditions on physico-chemical
properties and phenolic content of Taipla curry powder. Hot air drying was carried
out at drying temperatures of 60, 70 and 80C for 210, 120 and 120 minutes,
respectively in order to obtain the product with the final moisture content less than
13% and the water activity less than 0.6. The microwave drying was carried out in a
microwave oven at output powers of 740, 780 and 810 watt for 70, 45 and 40 min,
respectively for reaching the standard moisture content and water activity. The
lowest moisture content and water activity were detected in Taipla curry powder
dried with microwave drying at 810 watt for 40 min (p<0.05). Drying at this condition
also rendered the Taipla curry powder with the lowest browning index (A294 and A420)
and the highest lightness (L* value) (p<0.05). Microwave drying effectively reduced
the drying time approximately 5 folds compared to traditional hot air drying. The
highest total phenolic content was found in Taipla curry powder prepared using
microwave drying at 810 watt for 40 min (p<0.05). Thus, microwave drying is a
promising and effective method for high quality Taipla curry powder production.

Keywords: Taipla curry powder ; Microwave drying ; Hot air drying

กำรประชมุ วิชำกำรนำเสนอผลงำนวจิ ยั ระดับบัณฑิตศกึ ษำแหง่ ชำติ คร้งั ที่ 49 205

กำรใชบ้ อรด์ KidBright ร่วมกับ IFTTT สำหรบั ชุดทดลองวัดคำ่ อุณหภมู แิ ละแสง
USING THE KIDBRIGHT BOARD WITH IFTTT FOR TEMPERATURE AND LIGHT

MEASUREMENT TEST KITS

เอกพจน์ หลกั บา้ น1,1 และปานจติ มุสกิ 1,2
Ekapote Luckban1,1 and Panjit Musik1,2
สาขาวิชานวตั กรรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสรา้ งสรรค์
คณะวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี มหาวิทยาลยั ราชภฏั นครศรธี รรมราช1
Corresponding author,[email protected] and [email protected]

บทคดั ยอ่
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างและพัฒนาชุดทดลองวัดค่าอุณหภูมิและแสงโดยใช้บอร์ด
KidBrightและศึกษาการใช้งานระบบ IFTTT อย่างง่ายและนาข้อมูลเข้าโปรแกรม Mathematica
นาเสนอในรูปแบบกราฟได้โดยข้อมูลท่ีใช้ในการศึกษาคร้ังน้ี เป็นข้อมูลปฐมภูมิท่ีผู้วิจัยเก็บรวบรวม
ข้อมูลจากการวัดอุณหภูมิและค่าแสง ณ อาคารเฉลิมพระเกียรติ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๖
จังหวดั นครศรธี รรมราช ระหว่างวันที่ 2๒ – ๒๔ ตุลาคม ๒๕๖๒ โดยข้อมูลท่ีเก็บได้จะนาไปเก็บไว้ใน
Google Sheet ผ่านระบบ IFTTT สามารถแสดงข้อมูลแบบ real time ได้ ซ่ึงจากการทดลองวัด
อุณหภูมิและแสงโดยบันทึกค่าอุณหภูมิและแสง แสดงให้เห็นถึงความแตกต่างของอุณหภูมิและแสง
ของแต่ละวัน และจากผลการทดลองการบันทึกข้อมูลจากระบบ IFTTT สามารถเก็บข้อมูลได้อย่าง
ต่อเน่ืองและตรงตามเงื่อนไขที่ตั้งไว้ สามารถแสดงผลการทดลองแบบเรียลไทม์และดูผลการทดลอง
ยอ้ นหลังได้

คำสำคญั : อุณหภูมิ; แสง; บอรด์ สมองกลฝังตวั ; ไอเอฟทีทีที

206 การประชุมวิชาการนาเสนอผลงานวิจัยระดบั บณั ฑติ ศกึ ษาแหง่ ชาติ คร้งั ที่ 49

ABSTRACT
The objective of this article is to construct and develop a test set for
measuring temperature and light using a board. KidBright and learn how to use the
IFTTT system easily and import data into Mathematica program in a graph. By the
data used in this study is the primary data collected by the researchers from
temperature and exposure measurements at Chalerm Phrakiat Building
Rajprachanukhra 6 School, Nakhon Si Thammarat Province Between 22nd - 24th
October 201๙. The data collected will be stored in Google Sheet through the IFTTT
system can display real time data from the temperature and light experiment by
recording the temperature and light. Shows the difference in temperature and light
of each day and from the experimental results, the data recording from IFTTT system
can keep the data continuously and according to the set conditions. Can display the
results in real time and view the previous results.

Keywords: temperature; light; KidBright; IFTTT

กำรประชุมวชิ ำกำรนำเสนอผลงำนวิจัยระดับบณั ฑติ ศึกษำแหง่ ชำติ ครัง้ ที่ 49 207

กำหนดกำร
กำรประชุมวิชำกำรนำเสนอผลงำนวิจยั ระดับบัณฑติ ศกึ ษำแหง่ ชำติ ครงั้ ท่ี 49
The 49th National Graduate Research Conference 2019 : NGRC#49
“กำรสรำ้ งสรรค์งำนวจิ ัยและนวตั กรรม : ควำมทำ้ ทำย และโอกำสในกำรกำ้ วสู่ Thailand 4.0”

วนั ที่ 7 ธันวำคม 2562 ณ ห้องประชุม 11

ผทู้ รงคณุ วฒุ ิ : ศาสตราจารย์ ดร.ปรัชญนนั ท์ นลิ สุข
ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สรุ จติ ร์ พระเมือง
ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.วีระยทุ ธ สดุ สมบูรณ์

ลำดับ ชื่อเรือ่ ง ชือ่ – สกุล นกั วจิ ัย เวลำ
08.30 น.
1 ระบบตรวจสอบคณุ ภาพน้าอัตโนมัตแิ บบ Real – Time ในบ่อ ปัฐมวรรณ เลขจติ ร
09.00 น.
ปลานลิ สริ ิมา นวลจันทร์ 09.30 น.
10.00 น.
อทิตยา สมบรู ณ์ 10.30 น.
11.00 น.
ประเสริฐ นนทกาญจน์ 11.30 น.

2 การศึกษาผลของสารให้ความคงตวั ต่อคุณลักษณะของซอส ยรรยง จีนแก้ว 13.00 น.

หมีผ่ ดั ปากพนงั ท่ผี ่านการให้ความรอ้ นในระดบั สเตอริไลส์ วรวรรณ พันพิพัฒน์

มนัส ชยั จนั ทร์

3 การบาบดั นา้ เสียด้วยระบบโอโซน วราวุธ สุขมาก

พนั ธศ์ุ กั ด์ิ เกดิ ทองมี

4 การพฒั นาแบบจาลองทิศทางการไหลของน้าจากข้อมลู อุไรวรรณ วนั ทอง

DEM ดว้ ยโปรแกรม Mathematica ปญั ญพงษ์ สงพะโยม

ปานจิต มุสิก

5 การพัฒนาทกั ษะการประกอบเครอ่ื งคอมพิวเตอรโ์ ดยใช้ สรุ นันท์ วฒั นพงค์

ซอฟตแ์ วร์เสมือนจริง (VR) PC Building Simulator ปานจิต มสุ ิก

6 First Order Integer-Valued Moving Average Risk นันทนัช ฟูสามป๊อก

Models with Surrender and Investment จิราพรรณ สนุ ทรโชติ

7 สมบตั ิความตา้ นทานต่อแรงดงึ ของ STR 5L ผสมเศษโฟมยาง อดศิ ร ไกรนรา

ฉตั รชยั แก้วดี

วรี ะยุทธ สดุ สมบรู ณ์

วรี พล ปานสีนวล

นิภาส ลนี ะธรรม

8 สภาวะทเ่ี หมาะสมสาหรบั การผลติ ไมเ้ ทยี มโดยกระบวนการ จุฑาทพิ ย์ อาจชมภู

อดั ขนึ้ รปู สุวัฒน์ รตั นพนั ธ์

ฉตั รชยั แกว้ ดี

วรี ะยุทธ สดุ สมบรู ณ์

208 การประชมุ วชิ าการนาเสนอผลงานวจิ ัยระดบั บัณฑติ ศึกษาแห่งชาติ ครั้งท่ี 49

ระบบตรวจสอบคุณภำพน้ำอตั โนมตั แิ บบ Real – Time ในบ่อปลำนิล
AUTOMATIC REAL-TIME WATER QUALITY MONITORING SYSTEM FOR TILAPIA POND

ปฐั มวรรณ เลขจติ ร1 ,สิริมา นวลจนั ทร์2,อทิตยา สมบรู ณ3์ และประเสรฐิ นนทกาญจน4์
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลศรวี ิชยั

[email protected], [email protected], [email protected]
[email protected]

บทคัดย่อ
งานวจิ ัยนม้ี ีวตั ถุประสงค์เพอ่ื สรา้ งระบบสาหรับการตรวจสอบคุณภาพของน้าอัตโนมัติที่มีการ
รายงายผลแบบตลอดเวลา (Real – Time) ในบ่อเล้ียงปลานิลและเพ่ือเพิ่มประสิทธิภาพในการ
ตรวจสอบคุณภาพน้าในบ่อปลา โดยท่ีระบบตรวจสอบจะทาการรับค่าของคุณภาพน้าท่ีสาคัญแต่ละ
ตัวผ่านเซนเซอร์โดยเฉพาะแต่ละตัวนาเข้ามาในไมโครคอลโทรลเลอร์เพื่อประมวลผล หลังจากน้ันส่ง
ข้อมูลทัง้ หมดขนึ้ ไปเก็บที่ระบบคลาวด์ (cloud system) มีการแสดงผลต่างๆผ่านระบบอินเตอร์เน็ต
ท่ีสามารถจะดูค่าต่างๆจากคอมพวิ เตอร์และสมาร์ทโฟน และค่าคุณภาพน้าทั้งหมดจะบันทึกผลใน SD
card ในรูปแบบไฟล์ Excel เป็นการสารองและบันทึกข้อมูลที่สามารถดูย้อนหลังได้ และระบบจะมี
การแจ้งเตือนในกรณีท่ีค่าคุณภาพน้าเริ่มต่ากว่าท่ีกาหนดโดยออกแบบให้ระบบทาการแจ้งเตือนผ่าน
ทางแอพพลเิ คชัน่ ใลนข์ องสมารท์ โฟนให้ผู้ใช้ทราทราบทนั ที
ผลการวิจัยพบว่าระบบสามารถวัดค่าของน้าและแสดงค่าได้อย่างถูกต้องแม่นยา สามารถ
เตือนผู้ดูแลผ่านแอพพลิเคชั่นใลน์เม่ือคุณภาพน้าในบ่ออยู่ในขั้นต่าและขั้นวิกฤติ ด้านของระบบ
สามารถลดเวลาและแรงงานของการตรวจสอบคุณภาพน้าลงทั้งหมด การตรวจสอบคุณภาพน้าจะมี
มาตรฐานเที่ยงตรงตลอดเวลาของการตรวจสอบ เม่ือเทียบกับการตรวจสอบคุณภาพน้าในรูปแบบเดิม
ทีใ่ ชแ้ รงงานในการทดสอบ

คำสำคัญ: คณุ ภาพน้า ;การตรวจสอบ ;บ่อปลานิล ;real-time

กำรประชมุ วชิ ำกำรนำเสนอผลงำนวิจัยระดับบณั ฑิตศึกษำแหง่ ชำติ คร้ังท่ี 49 209

ABSTRACT
This research aimed to establish an automatic real-time water quality
monitoring system for a tilapia pond, and to increase an efficiency in measuring the
water quality in the tilapia pond to see what quality level the pond is. The system
will obtain water quality values from each sensor. The information received will be
sent to the Cloud System. Results will be displayed on an internet system. The
results found can be checked through computers and smart phones. The water
quality values will be downloaded and saved on SD cards in Excel file forms. An alert
would be alarmed if the water quality is below a required value. The system will set
an alarm through an application line on smart phones of people concern who use
the system. The research results found that the system enables to measure a water
value and display a very accurate value. The system can also alarm caretakers
through a line system once the water quality is critically dropped. The efficiency of
the system is that it reduces time and labor of measuring the water quality. The
water quality monitoring is accurately up to the standard all the time of monitoring
compares to the conventional water quality monitoring using man power to
measure.

Keywords: water quality; monitor or measure; tilapia pond; alarm water quality.

210 การประชุมวชิ าการนาเสนอผลงานวิจยั ระดบั บณั ฑติ ศึกษาแห่งชาติ คร้ังท่ี 49

กำรบำบัดนำ้ เสยี ดว้ ยระบบโอโซน
WASTEWATER TREATMENT BY USING OZONE

วราวธุ สุขมาก1 พันธศุ์ กั ดิ์ เกดิ ทองมี2
Warawut Sukmak1 Pansak Kerdtongmee2
สาขาวิชานวัตกรรมวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีสร้างสรรค์ คณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภฎั นครศรธี รรมราช1
สาขาวชิ าการจดั การนวัตกรรมเพอ่ื การพัฒนา คณะครุศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภัฎนครศรีธรรมราช2
[email protected] [email protected] 2

บทคดั ยอ่
โอโซนเป็นสารออกซแิ ดนซ์ทร่ี ุนแรงมีประสิทธภิ าพในการลดปรมิ าณสารอินทรีย์ที่ปนเป้ือนใน
นา้ เสยี เพมิ่ ความสามารถในการย่อยสลายทางชีวภาพของสารอินทรีย์ตามธรรมชาติ ในปัจจุบันมีการ
ประยุกต์โอโซนในการบาบัดน้าเสียเพ่ิมมากข้ึน เช่น การใช้โอโซนในการกาจัดสีย้อม ใช้กาจัดเชื้อโรค
ใช้บาบัดน้าเสียจากโรงงานอุตสาหกรรมต่างๆ การใช้โอโซนในการบาบัดน้าทิ้งจากชุมชน รวมถึงน้า
เสียจากโรงพยาบาล บทความน้ีมีวัตถุประสงค์เพ่ือนาเสนอผลการใช้โอโซนในการบาบัดน้าเสียจาก
แหล่งตา่ งๆ พบว่าโอโซนสามารถเพ่ิมคา่ ออกซิเจนละลายในนา้ ลดค่าปริมาณออกซิเจนที่สารเคมีใช้ใน
การย่อยสลายสารอินทรีย์ ปริมาณออกซิเจนที่จุลินทรีย์ใช้ในการย่อยสลายสารอินทรีย์ ลดสี ลด
ปริมาณของแข็งแขวนลอยและสามารถยับย้ังการเจริญเติบโตของเช้ือจุลินทรีย์ทั้งประเภทแกรมบวก
และแกรมลบไดอ้ ย่างมีประสทิ ธิภาพ ซ่ึงค่าพีเ่ อชของนา้ เสีย ระยะเวลาทาปฏิกิริยา อัตราการให้โอโซน
ความเข้มข้นของโอโซน เป็นปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิภาพของโอโซนในการบาบัดน้าเสีย และการใช้
โอโซนร่วมกับวิธีการอื่นๆ เช่น ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ รังสีอัลตราไวโอเลต ถ่านกัมมันต์ และโลหะ
ออกไซด์เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาสามารถเพ่ิมประสิทธิภาพของโอโซนต่อการบาบัดน้าเสีย ดังนั้นการใช้
โอโซนในการบาบัดน้าเสียจึงเป็นทางเลือกหนึ่งท่ีได้รับความนิยมอย่างกว้างขวาง เน่ืองจากไม่มีสาร
ตกคา้ งภายหลงั การบาบดั ลดสารเคมใี นการบาบดั ซ้า และไมก่ อ่ ใหเ้ กิดของเสยี ที่ต้องบาบัดซา้

คำสำคัญ: โอโซน, นา้ เสยี , การบาบดั น้าเสยี

กำรประชมุ วิชำกำรนำเสนอผลงำนวิจยั ระดับบณั ฑติ ศึกษำแห่งชำติ ครง้ั ท่ี 49 211

ABSTRACT
Ozone is a strong oxidant, effective in reducing the amount of organic matter
contaminated in wastewater. Increase the biological degradability of natural organic
substances. Currently, the application of ozone is used to treat wastewater, such as
using ozone for dye removal, used to eliminate germs, used to treat wastewater from
various industrial plants, use of ozone in treating wastewater from communities and
hospital wastewater. This article aims to present the results of using ozone to treat
wastewater from various sources. It was found that ozone can increase dissolved
oxygen in water, reduce the amount of oxygen that chemicals use to decompose
organic substances, the amount of oxygen that microbes use to decompose organic
matter, reduce color, reduce suspended solids and can effectively inhibit the growth
of both gram-positive bacteria and gram-negative bacteria. The pH of the waste
water, reaction time ozone delivery rate, ozone concentration, is a factor that affects
ozone's efficiency in wastewater treatment. Using ozone in combination with other
methods, such as hydrogen peroxide, ultraviolet, activated carbon and metal oxides
as a catalyst can increase the efficiency of ozone for wastewater treatment.
Currently, the use of ozone in wastewater treatment is one of the more popular
options. Because there is no residue after the treatment, reducing chemicals in
repeated treatment and does not cause waste that must be re-treated.

Keywords: Ozone, wastewater, wastewater treatment

212 การประชุมวิชาการนาเสนอผลงานวจิ ัยระดบั บณั ฑติ ศกึ ษาแห่งชาติ ครัง้ ท่ี 49

กำรพัฒนำแบบจำลองทิศทำงกำรไหลของนำ้ จำกข้อมูล DEM ด้วยโปรแกรม Mathematica
MODELING OF WATER FLOW DIRECTION FROM DEM DATA USING MATHEMATICA

อไุ รวรรณ วันทอง1,1 ปญั ญพงษ์ สงพะโยม1,2 ปานจติ มุสกิ 1,3
Uraiwun Wanthong1 Panyapong Songpayome2 Panjit Musik3
สาขานวตั กรรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยสี รา้ งสรรค์ คณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฎั นครศรธี รรมราช1
[email protected], [email protected], [email protected] 3

บทคดั ย่อ
ในการบริหารจัดการน้ามีความจาเป็นต้องอาศัยข้อมูลทางภูมิศาสตร์และทิศทางการไหลของ
น้าในพื้นที่เพื่อทราบถึงทิศทาง และการสะสมของน้า เพ่ือเป็นฐานข้อมูลในการบริหารจัดการน้าซึ่ง
บทความวจิ ยั นี้มจี ุดประสงค์เพือ่ พัฒนาแบบจาลองทางภูมิศาสตร์ และแบบจาลองทิศทางการไหลของ
น้าด้วยโปรแกรม Mathematica โดยใช้ข้อมูล DEM จากกรมพัฒนาท่ีดิน มาตราส่วน 1:4,000
งานวจิ ัยน้แี สดงวิธีการเขยี นโปรแกรมจาลองพ้นื ท่ี และจาลองทิศทางการไหลด้วยวิธีการเซลล์ลาร์ ออร์
โตเมต้า โดยกาหนดทิศทางการไหล 8 ทิศ และกาหนดพื้นท่ีการจาลองเป็นตารางรูปส่ีเหล่ียมจตุรัส บน
ตารางประกอบด้วยเซลล์ย่อยมีความละเอียดของกริด 5X5 เมตร ใน 1 เซลล์ที่มีข้อมูลบอกตาแหน่ง
และระดับความสูงของพ้ืนที่ ณ ตาแหน่ง กริดต่างๆ ตามระบบพิกัดกริด UTM และแสดงผล
แบบจาลอง ได้ท้ัง 2 มิติ และ 3 มิติ จากโปรแกรมแบบจาลองทางภูมิศาสตร์ และแบบจาลองทิศ
ทางการไหลทีส่ รา้ งขน้ึ ผลการจาลองสอดคล้องกับความเป็นจริงเม่ือเปรียบเทียบกับภาพจากแผนท่ีทาง
ภูมิศาสตร์ วิธีการเขียนโปรแกรมใบบทความวิจัยน้ีไม่ยุ่งยาก สามารถนาไปประยุกต์ใช้ในพ้ืนที่จริง
และยงั สามารถแกไ้ ขเพ่มิ เติมเงื่อนไขของพื้นท่ีท่ีเปลี่ยนแปลงใหเ้ ปน็ ปจั จบุ ันไดโ้ ดยง่าย

คำสำคญั : แบบจาลองทิศทางการไหล; แบบจาลองพ้ืนท่ีระดับสูงเชิงตัวเลข; โปรแกรม
Mathematica

กำรประชมุ วชิ ำกำรนำเสนอผลงำนวจิ ยั ระดบั บัณฑิตศกึ ษำแห่งชำติ คร้ังที่ 49 213

ABSTRACT
The simulation results are consistent with reality when compared to the
images from a geographic map. This method of programming research papers is not
complicated. It can be applied in the real area and can also amend the conditions of
the changed area easily.
According to the water management, geographic information, direction and
water accumulation are important as a database and factors, the aim of this study is
to develop the geographic models and the direction of water flow from DEM data
(Department of Land Development) using Mathematica by using DEM data from the
Department of Land Development, scale 1: 4,000. The result show the program can
be simulated space and flow direction by using the automatic automata method.
The area and the direction was determined by a rectangular table with 8 flow
directions by Within a table, It’s consisting of a 5 x 5 meter grid resolution sub-cells
and within a cell, it’s contained the information of the positon and altitude of the
area according to grid UTM corrdinate system the models were generated in both
two and tree dimension flow direction from the geo-modeling. The simulation results
are consistent with reality when compared to the images from a geographic map.
This method of programming research papers is not complicated. It can be applied in
the real area and can also amend the conditions of the changed area easily.

Keywords: Flow Direction Model ; Digital Evaluation Model ; Mathematica

214 การประชุมวิชาการนาเสนอผลงานวิจัยระดบั บณั ฑติ ศึกษาแหง่ ชาติ ครงั้ ที่ 49

กำรพัฒนำทักษะกำรประกอบเครอ่ื งคอมพิวเตอร์โดยใช้ซอฟต์แวรเ์ สมือนจริง (VR)
PC BUILDING SIMULATOR

DEVELOPMENT OF COMPUTER ASSEMBLY SKILLS USING VIRTUAL SOFTWARE (VR)
PC BUILDING SIMULATOR

สรุ นนั ท์ วัฒนพงค์1,1 , ปานจติ มสุ ิก1,2
Suranan Watthanaphong1,1 , Panjit Musik1,2
สาขานวตั กรรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยสี รา้ งสรรค์
คณะวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี มหาวิทยาลยั ราชภัฎนครศรีธรรมราช1
Corresponding author,[email protected], [email protected]

บทคดั ย่อ
การเรียนการสอนระดับอาชีวศึกษามีการเรียนการสอนหลากหลายรูปแบบท่ีจะทาให้ผู้เรียน
เกิดการเรียนรู้และความพึงพอใจในการเรียน บทความวิชาการน้ีมีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อพัฒนาทักษะ
การประกอบเคร่ืองคอมพิวเตอร์โดยใช้ซอฟต์แวร์เสมือนจริง (VR) PC Building Simulator 2) เพื่อ
ประเมินความพึงพอใจในการใช้ซอฟต์แวร์เสมือนจริง (VR) PC Building Simulator ในการ
ปฏิบัติการประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์ กลุ่มตัวอย่างนี้เป็นนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ
ชั้นสงู ปที ่ี 1 สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธรุ กิจ จานวน 40 คน ซึ่งได้มาจากการเลือกตัวอย่างเฉพาะเจาะจง
เครอื่ งมอื ทีใ่ ช้คอื แบบประเมนิ ผลการปฏิบัตกิ ารประกอบเครอ่ื งคอมพวิ เตอร์และแบบประเมินความพึง
พอใจในการใช้ซอฟต์แวร์เสมือนจริง (VR) PC Building Simulator ในการปฏิบัติการประกอบเคร่ือง
คอมพิวเตอร์ ผลการวิจัยพบว่า (1) ทักษะการประกอบเคร่ืองคอมพิวเตอร์ของนักศึกษาระดับช้ัน
ปวส.๑ สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยอาชีวศึกษาปากพนัง ปีการศึกษา 2562 โดยการใช้ใช้
ซอฟต์แวร์เสมือนจริง (VR) PC Building Simulator มีคะแนนเฉล่ียเพิ่มมากว่ารุ่นที่ผ่านมาท่ีใช้การ
สอนแบบสาธิต (2) ความพึงพอใจในการใช้ซอฟต์แวร์เสมือนจริง (VR) PC Building Simulatorใน
การปฏิบัติการประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์ ของนักศึกษาระดับช้ัน ปวส.๑ สาขาวิชาคอมพิวเตอร์
ธุรกิจ วทิ ยาลยั อาชีวศึกษาปากพนัง ปีการศึกษา 2562 น้ันอยู่ในระดับ “พึงพอใจระดับมาก” การนา
เทคโนโลยีเขา้ มาควบคู่กับการเรียนสอนทาใหเ้ กดิ ความหลากหลาย และความน่าสนใจมากขึน้

คำสำคัญ: การพัฒนาทักษะ การประกอบเครื่องคอมพวิ เตอร์ ซอฟตแ์ วรเ์ สมอื นจริง

กำรประชมุ วิชำกำรนำเสนอผลงำนวจิ ัยระดบั บณั ฑิตศกึ ษำแห่งชำติ คร้ังท่ี 49 215

ABSTRACT
Vocational education has different types of teaching methods to satisfy their
learners. The objectives of this study are (1) to development computer assembly
skills using virtual software (VR) PC Building Simulator and (2) to assess the
satisfaction level during using virtual software (VR) PC Building Simulator in computer
assembly skills. For conducting this study, 40 first year Vocational Certificate students
in the field of business computer Pakphanang Vocational College were select
randomly. The tool used in this study were (1) computer assembly practice
assessment form and (2) satisfaction assessment form of using virtual software (VR)
PC Building Simulator. The result show that (1) computer assembly skills of the
vocational college students using the virtual software (VR) PC Building Simulator
more average scores than previous editions using demonstration and (2) satisfaction
level of students of using virtual software (VR) PC Building Simulator was very high.
Our result indicate that integration of technology in teaching benefits the student
through raising their skill levels.

Keyword: Skills development. Computer assembly. Virtual software

216 การประชมุ วิชาการนาเสนอผลงานวิจยั ระดบั บณั ฑติ ศกึ ษาแหง่ ชาติ ครัง้ ที่ 49

FIRST ORDER INTEGER-VALUED MOVING AVERAGE RISK MODELS
WITH SURRENDER AND INVESTMENT

Nuntanut Foosarmpok1 and Jiraphan Suntornchost2
Department of Mathematics and Computer Science, Faculty of Science, Chulalongkorn University1,2

Corresponding author, [email protected] and [email protected]

ABSTRACT
Risk model is an important tool for actuaries to measure risk of a policy.
Several risk models have been proposed in literature to accommodate different
policy conditions. One such model is the family of discrete time risk models where
several discrete time risk models have been explored in the last decade. However,
based on our knowledge, discrete time risk models incorporating the concepts of
surrender and investment have not studied. Therefore, in this study, we introduce
the two concepts into discrete time risk models. In our study, we construct a discrete
time risk model based on the first order integer-valued moving average model by
incorporating the concepts of surrender and investment, derive the adjustment
coefficient function and obtain an approximation to the ruin probability of the
constructed risk model. Numerical simulations in different settings are also provided.

Keywords: Risk model; Ruin Probability; Integer-valued moving average; Surrender;
Investment

กำรประชุมวิชำกำรนำเสนอผลงำนวิจยั ระดบั บัณฑติ ศกึ ษำแห่งชำติ ครง้ั ท่ี 49 217

สมบตั ิควำมตำ้ นทำนต่อแรงดึงของ STR 5L ผสมเศษโฟมยำง
THE TENSILE STRENGTH PROPERTY OF STR 5L MIXED WITH LATEX FOAM WASTE

อดศิ ร ไกรนรา ฉตั รชยั แก้วดีวีระยทุ ธ สดุ สมบรู ณ์ วรี พล ปานสีนวล นภิ าส ลีนะธรรม
Adisorn Krainara Chatchai Kaewdee Weerayute Sudsomboon
Weeraphol Pansrinualand Nipas Leenatham

นักศกึ ษาปรญิ าเอก สาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครศรธี รรมราช1
ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ สาขาวิชาเทคโนโลยีอตุ สาหกรรม คณะเทคโนโลยอี ตุ สาหกรรม มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครศรธี รรมราช2

อาจารย์ สาขาวชิ าเทคโนโลยอี ตุ สาหกรรม คณะเทคโนโลยีอตุ สาหกรรม มหาวิทยาลยั ราชภัฏนครศรีธรรมราช3
อาจารย์ สาขาวิชาเทคโนโลยีการจดั การอตุ สาหกรรม คณะวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลัยราชภฏั สรุ าษฎร์ธาน4ี

[email protected]

บทคัดย่อ
เศษโฟมยางเป็นของเสยี จากกระบวนการผลติ หมอนและทน่ี อน การนาเศษโฟมยางกลับมาใช้
ใหม่ เป็นสิ่งที่สนใจในงานวิจัยคร้ังนี้ การผสมร่วมกับยาง STR 5L สามารถใช้เป็นสารตัวเติมเพื่อลด
ต้นทุนของผลิตภัณฑ์และเป็นการเพ่ิมมูลค่าของเสียจากกระบวนการผลิต โดยนาเศษโฟมยางบดให้มี
ขนาดเล็ก ด้วยเคร่ืองย่อยและบดละเอียด แปรปริมาณของผสมเศษโฟมยาง 5 ระดับ คือ 0, 15, 30,
45 และ 60 (phr) ตามลาดับ เติมสารเคมีในอัตราส่วนคงท่ี ประกอบด้วย กรดสเตียริก ซิงค์ออกไซด์
วงิ สเตย์ แอล ซีบเี อส กามะถนั ทาการบดผสมด้วยเคร่ืองบดผสมแบบสองลูกกล้ิง จากน้ันนาไปอัดใน
เคร่ืองอัดข้ึนรูปด้วยความร้อน เพ่ือข้ึนรูปแผ่นทดสอบ ที่อุณหภูมิ 150 องศาเซลเซียส ขนาด
25x25x0.2 เซนติเมตร ทดสอบสมบัติตามมาตรฐาน ASTM D412 (Die C) พบว่าสมบัติความ
ต้านทานต่อแรงดึงมีค่าต่าลงตามปริมาณผสมเศษโฟมยาง เมื่อเปรียบเทียบกับยางธรรมชาติท่ีไม่มี
ส่วนผสมเศษโฟมยางจากอตุ สาหกรรม

คำสำคญั : ความต้านทานต่อแรงดึง; STR 5L; เศษโฟมยาง

218 การประชมุ วิชาการนาเสนอผลงานวจิ ัยระดบั บัณฑติ ศกึ ษาแหง่ ชาติ ครั้งท่ี 49

ABSTRACT
Latex foam wastes were waste from the production of pillows and
mattresses. Recycle of latex foam waste was what brought the attention to this
research. When mixed with STR 5L, it could be used as filler to reduce the cost of
products and increase the value of waste from the production process by finely
grinding the latex foam waste into small pieces with chippers, transforming the latex
foam wastes into 5 levels such as 0, 15, 30, 45 and 60 (phr) respectively. Then,
added chemicals such as stearic acid, zinc oxide, Wing Stay L, CBS and sulfur in a
fixed ratio and grinded and mixed all the substances in a two-roll grinder. And then
formed the test plate by bringing the mixture to a compression molding machine by
heating to a temperature of 150 degrees Celsius of size 25x25x0.2 cm. The testing
was conducted under the ASTM D412 (Die C) standard. It was found that the tensile
strength properties were lower depending on the amount of latex foam waste
mixture when compared with natural rubber without latex foam wastes from the
industry.

Keywords: tensile strength; STR 5L; latex foam waste

กำรประชุมวิชำกำรนำเสนอผลงำนวิจัยระดับบณั ฑิตศึกษำแห่งชำติ ครง้ั ท่ี 49 219

สภำวะทเ่ี หมำะสมสำหรบั กำรผลิตไม้เทียมโดยกระบวนกำรอดั ขึ้นรปู
THE OPTIMUM CONDITION FOR ARTIFICIAL WOOD PRODUCTION FROM

COMPRESSION MOULDING PROCESS

จุฑาทพิ ย์ อาจชมภ1ู สุวฒั น์ รัตนพนั ธ์2 ฉตั รชัย แก้วดี3 วีระยทุ ธ สุดสมบูรณ4์
Jutatip Artchomphoo1 Suwat Rattanapan2 Chatchai Kaewdee3 Weerayute Sudsomboon4
สาขาเทคโนโลยยี างและพอลเิ มอร์ คณะวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลศรีวิชยั 12 และ

สาขาเทคโนโลยอี ตุ สาหกรรม คณะเทคโนโลยอี ตุ สาหกรรม มหาวิทยาลยั ราชภฎั นครศรธี รรมราช34
[email protected] [email protected]

บทคัดย่อ
การผลติ ไม้เทียมจากยางพาราผสมผงขี้เล่ือยไม้ โดยศึกษาการขึ้นรูปไม้เทียมท่ีอุณหภูมิ 125,
135, 145 และ 155oC จากการใช้สารเร่งการคงรูปไม้เทียม 5 ชนิด คือ ZDEC, TMTD, MBTS, CBS
และ DPG ศกึ ษาสมบตั ิเชิงกลของไม้เทียมท่ีปริมาณผงข้ีเล่ือยไม้ 20, 40, 60, 80 และ 100 ส่วนเทียบ
กับยางหนง่ึ รอ้ ยสว่ น พบวา่ เวลาการคงรูปไมเ้ ทียมลดลงตามอุณหภูมิทีเ่ พิม่ ข้ึน ที่อุณหภูมิ 125 oC และ
135 oC สารเร่งการคงรูปทุกชนิดสามารถขึ้นรูปไม้เทียมได้อย่างสมบูรณ์ ยกเว้นการใช้ ZDEC ไม่
สามารถขึ้นรูปได้ท่ีอุณหภูมิสูงกว่า 125 oC อย่างไรก็ตามทั้งสองอุณหภูมินี้ไม่เหมาะสาหรับการผลิต
เนือ่ งจากใชเ้ วลาในการคงรปู มากกวา่ 60 และ 30 นาที ตามลาดบั ในขณะทอี่ ุณหภูมิ 145 oC สารเร่ง
การคงรูป MBTS, MBTS ร่วมกับ DPG และ CBS สามารถขึ้นรูปไม้เทียมท่ีมีความหนา 15 มม. ได้
อยา่ งสมบูรณ์ แต่สาหรบั ไม้เทยี มทีม่ ีความหนา 25.4 มม. มีเพียงสารเร่งการคงรูป MBTS และ MBTS
ร่วมกับ DPG เท่านั้นที่สามารถให้การข้ึนรูปที่สมบูรณ์ท่ีสุด และการใช้ MBTS ร่วมกับ DPG ให้
อัตราเร็วการคงรูปสูงท่ีสุด มีวงรอบการผลิต (cycle time) 16.45 นาที และ 18.45 นาที สาหรับไม้
เทียมที่มีความหนา 15 และ 25.4 มม. ตามลาดับ ปริมาณของผงขี้เล่ือยไม้ในวัสดุคอมโพสิตมีผลต่อ
สมบัติเชงิ กลของไม้เทียม การเพ่ิมปรมิ าณผงขี้เล่ือยไม้ทาให้ไม้เทียมมีความแข็งตึง (stiffness) เพิ่มข้ึน
มีความแข็งแรงดึงสูงสุดและความสามารถในการยืดจนขาดจึงลดลง ในขณะที่มอดูลัสที่ระยะยืด
100% และความแข็งของไม้เทียมเพ่ิมข้ึน พบว่าการใช้ผงขี้เล่ือยไม้ท่ีปริมาณ 100 ส่วนเทียบกับยาง
หนึ่งร้อยส่วน สามารถเพ่ิมความแข็งให้ไม้เทียมได้มากกว่า 80 shore A โดยการใช้ผลข้ีเลื่อยไม้ท่ีมี
ขนาด 500 ถึง 1000 ไมโครเมตร สามารถเพิ่มความแข็งให้ไม้เทียมได้สูงท่ีสุด ที่ 88 shore A
นอกจากนี้การใช้ยางธรรมชาติดัดแปร (NRgMAH8 และ NRgMAH10) เป็นสารเช่ือมติดทาให้เกิดแรง
ยึดระหว่างเฟสของผงขี้เลอ่ื ยไม้และเน้อื ยางทาให้ไมเ้ ทียมท่ีได้มีความแข็งแรงมากขึน้

คำสำคญั : ไมเ้ ทยี ม; คอมโพสทิ ; ผงขเ้ี ลอื่ ยไม้

220 การประชมุ วชิ าการนาเสนอผลงานวจิ ัยระดบั บณั ฑติ ศกึ ษาแหง่ ชาติ คร้งั ท่ี 49

ABSTRACT
Artificial woods were produced from para rubber and sawdust powder
mixer. The factors of moulding temperature (125, 135, 145, 155oC), composite
accelerator (ZDEC, TMTD, MBTS, CBS, DPG) and quantities of sawdust power in
mixture (20, 40, 60, 80, 100 phr), effecting on the artificial wood properties were
studied. By increasing the temperature of compression moulding, production time
was increased. All types of accelerators used in this case can be completely
moulded to artificial wood at 125 oC and 135 oC, except for the ZDEC, the moulded
temperature cannot be higher than 125 oC. Although can be molded, but both this
temperatures are not reasonable for production as it takes more than 60 and 30
minutes to complete the product, respectively. For artificial wood with a thickness of
15 mm, the use of MBTS, MBTS and DPG mixture, and CBS can be completely
molded at 145 oC. But for artificial wood with a thickness of 25.4 mm, only MBTS and
the mixture of MBTS and DPG can provide the most complete molding. The best
accelerator is the use of MBTS in combination with DPG, which provides the highest
cure rate index. There is a cycle time of 16.45 minutes and 18.45 minutes for artificial
wood with a thickness of 15 and 25.4 mm, respectively. The amount of sawdust
powder in composite materials also affects the mechanical properties of artificial
wood. The increase of the wood sawdust enhances the wood to have more stiffness
but with the ultimate tensile strength and elongation at break decrease. However,
the modulus at 100% elongation and hardness of artificial wood increases. It was
found that the use of sawdust at 100 phr could increase the hardness of artificial
wood by more than 80 shore A. Moreover, using wood sawdust sizes of 500-1000
micrometer can increase the hardness of the artificial wood to the highest at 88
shore A. In addition, the use of modified natural rubber (NRgMAH8 and NRgMAH10) as
a binding agent creates a bond between the phase of the sawdust powder and the
rubber matrix, making the artificial wood stronger.

Keywords: artificial wood; composite; sawdust powder

กำรประชุมวิชำกำรนำเสนอผลงำนวจิ ยั ระดับบัณฑิตศึกษำแห่งชำติ คร้ังท่ี 49 221

กำหนดกำร
กำรประชุมวิชำกำรนำเสนอผลงำนวจิ ัยระดบั บณั ฑติ ศึกษำแห่งชำติ คร้ังท่ี 49
The 49th National Graduate Research Conference 2019 : NGRC#49
“กำรสรำ้ งสรรคง์ ำนวจิ ยั และนวตั กรรม : ควำมทำ้ ทำย และโอกำสในกำรกำ้ วสู่ Thailand 4.0”

วนั ท่ี 7 ธนั วำคม 2562 ณ ห้องประชุม 7

ผู้ทรงคณุ วฒุ ิ : รองศาสตราจารย์ ดร.ชศู ักดิ์ เอกเพชร
รองศาสตราจารย์ ดร.นริ ันดร์ จลุ ทรัพย์
รองศาสตราจารย์ ดร.กนั ตภณ หนทู องแกว้

ลำดบั ชื่อเรือ่ ง ช่อื – สกลุ นักวจิ ยั เวลำ
08.30 น.
1 ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นาการเปลี่ยนแปลงกับการ สมฤทัย น่วมสวสั ด์ิ 09.00 น.
09.30 น.
ทางานเปน็ ทีมของครูผ้สู อนในโรงเรียน สังกัดสานักงานเขต ปฐมพรณ์ อินทรางกรู ณ อยธุ ยา 10.00 น.
10.30 น.
พ้ืนทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาสมทุ รสงคราม 11.00 น.

2 การบริหารงานพัสดุของโรงเรียน สังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่ พงษพ์ ิทกั ษ์ ทานาค 11.30 น.
13.00 น.
การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 ปฐมพรณ์ อินทรางกูร ณ อยธุ ยา

3 ความสัมพันธ์ระหว่างคุณลักษณะของผู้บริหารสถานศึกษา สมชาย จีนเดีย

กับความผูกพันต่อองค์การของข้าราชการครู สังกัด ปฐมพรณ์ อินทรางกูร ณ อยุธยา

สานกั งานเขตพนื้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 1

4 คุณลักษณะของผู้บริหารโรงเรียนเอกชนสามัญสอนศาสนา วนั อบั ดลุ เลาะฮ์ หละ๊ ติหมะ

อิสลาม ตามความต้องการของครู สังกัดสานักงานการศึกษา ตรยั ภมู ินทร์ ตรตี รศี วร

เอกชนจังหวดั สงขลา

5 ผลของการใช้สื่อดิจิทัลท่ีมีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนใน ทิพรตั น์ มีบัว

รายวิชาภาษาอังกฤษของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 ขวัญชนก เจย้ ชุม

ผา่ นกระบวนการชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวชิ าชพี จริ าภรณ์ เหมพันธ์

6 การใช้ส่ือดิจิทัลประกอบการจัดการเรียนรู้ที่มีต่อผลสัมฤทธ์ิ พรพมิ ล เอยี ดทวน

ทางการเรียนวิชาภาษาไทย เรื่องมาตราตัวสะกด ของนกั เรียนช้ัน โสภารัตน์ น้ามัน

ประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนโสตทัศนศึกษาจุฬาลงกรณ์ จิราภรณ์ เหมพันธ์

มหาวทิ ยาลยั

7 ปัจจัยการควบคุมภายในท่ีส่งผลต่อประสิทธิผลการบริหาร ชยั วฒั น์ บญุ ญตั ิศกั ดิ์

งบประมาณของโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัด

สานักงานเขตพื้นท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาภูเกต็

8 พีระมิดสถาปัตยกรรมทางการศึกษาเพื่อความเข้าใจใหม่ : พเิ ชษฐ์ พินิจ

การเรียนรแู้ ละสงั เคราะหจ์ ากประสบการณภ์ าคสนาม อนศุ ษิ ฏ์ อันมานะตระกูล

เอกรัตน์ รวยรวย

สนั ตริ ฐั นันสะอาง

คมกฤตย์ ชมสวุ รรณ

222 การประชุมวชิ าการนาเสนอผลงานวิจยั ระดบั บณั ฑติ ศึกษาแห่งชาติ คร้งั ท่ี 49

ลำดบั ชือ่ เรื่อง ชอื่ – สกุล นักวิจยั เวลำ
13.30 น.
9 บทบาทของผู้บริหารในการเสริมสร้างแรงจูงใจในการ ปิยะ หมานอนี
ปฏิบัติงานของครู ศูนย์อบรมศาสนาอิสลามและจริยธรรม ตรยั ภมู ินทร์ ตรตี รศี วร 14.00 น.
ประจามสั ยิด จังหวดั นครศรธี รรมราช
14.30 น.
10 การใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้เพ่ือพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการ อญั ชลี คงเพ็ง
เรียนรู้ รายวิชาคณิตศาสตร์ เร่ืองเงิน ของนักเรียนช้ัน อัมพร วัจนะ

ประถมศกึ ษาปีที่ 3 โรงเรยี นบา้ นบางทอง

11 Let’s Grow a Growth Mindset: Effects of a Growth Pimporn Buathong
Mindset Intervention on Underprivileged Students’ Thipnapa Huansuriya
Academic Resilience in English Through English

Intelligence Mindset

กำรประชุมวิชำกำรนำเสนอผลงำนวจิ ัยระดับบณั ฑิตศกึ ษำแหง่ ชำติ ครั้งท่ี 49 223

ควำมสมั พันธ์ระหว่ำงภำวะผู้นำกำรเปลยี่ นแปลงกบั กำรทำงำนเป็นทมี ของครผู ู้สอนในโรงเรียน
สงั กัดสำนักงำนเขตพ้นื ท่ีกำรศกึ ษำประถมศึกษำสมุทรสงครำม

สมฤทยั นว่ มสวสั ด1ิ์ ปฐมพรณ์ อนิ ทรางกูร ณ อยธุ ยา2
Somruthai Noumsawat1 Pathomporn Indrangkura Na Ayudthya2
หลักสตู รศกึ ษาศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวิชาการบรหิ ารการศกึ ษา คณะบณั ฑติ วิทยาลยั มหาวทิ ยาลยั ธนบรุ ี1,2
[email protected] and [email protected]

บทคดั ย่อ
การวิจัยในครงั้ น้มี ีวัตถุประสงค์เพ่อื 1) ศึกษาระดบั ภาวะผู้นาการเปล่ยี นแปลงของผู้บริหารใน
โรงเรียน สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรสงคราม 2) ศึกษาระดับการทางาน
เป็นทีมของครูผู้สอนในโรงเรียนสังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรสงคราม 3)
ศกึ ษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นาการเปล่ียนแปลงกับการทางานเป็นทีมของครูผู้สอนในโรงเรียน
สังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรสงคราม ประชากรคือ ครูผู้สอนในโรงเรียน
สังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาสมุทรสงคราม จานวน 807 คน จาก 72 โรงเรียน
การคานวณโดยสูตรของทาโร่ ยามาเน่ (Taro Yamane, 1973,727-728) ได้กลุ่มตัวอย่างจานวน
267 คน เคร่ืองมือท่ีใช้คือแบบสอบถาม ได้ค่าความเช่ือม่ันท้ังฉบับ เท่ากับ0.96 การวิเคราะห์ข้อมูล
โดยใช้ ค่าความถ่ี ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน และการทดสอบความสัมพันธ์
ระหวา่ งตัวแปรด้วยวิธีการของเพียรส์ ัน
ผลการวจิ ัยพบวา่ 1) ภาวะผู้นาการเปลีย่ นแปลงของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดสานักงานเขต
พน้ื ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาสมุทรสงคราม โดยรวมอยูใ่ นระดบั มาก เมือ่ พจิ ารณารายด้าน พบว่า ด้าน
ที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ การมีอิทธิพลอย่างมีอุดมการณ์ รองลงมา คือ การสร้างแรงบันดาลใจ และ
ลาดับสุดท้ายคือ การคานึงถึงความเป็นปัจเจกบุคคล ตามลาดับ 2) ระดับการทางานเป็นทีมของ
ครูผู้สอนในสถานศึกษา ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า ด้านท่ีมีค่าเฉล่ีย
สูงสดุ คือ การมคี วามคดิ สร้างสรรค์ รองลงมา คือ การร่วมมือ ลาดับสุดท้ายคือ การประสานงาน 3)
ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นาการเปล่ียนแปลงกับการทางานเป็นทีมของครูผู้สอน สังกัดสานักงาน
เขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาสมุทรสงคราม ในภาพรวมอยู่ในระดับสูง มีความสัมพันธ์ทางบวก
อยา่ งมนี ยั สาคญั ทางสถิติท่ีระดบั 0.01 ซง่ึ เปน็ ไปตามสมมตฐิ านที่ตง้ั ไว้

คำสำคัญ: ภาวะผู้นาการเปล่ียนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษา ; การทางานเป็นทีมของครูผู้สอน ;
โรงเรียนสงั กดั สานักงานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาสมุทรสงคร

224 การประชุมวชิ าการนาเสนอผลงานวจิ ยั ระดบั บัณฑติ ศกึ ษาแหง่ ชาติ ครง้ั ท่ี 49

ABSTRACT
The purposes of the current study were to 1) study level of transformative
leadership among school administrators under the Office of Primary Education,
Samut Songkram, 2) study level of teamwork of teachers under the Office of Primary
Education, Samut Songkram, and 3) study relationship between transformative
leadership of school administrators, and teamwork among teachers under the Office
of Primary Education, Samut Songkram. The study sample size was 267 teachers, as
drawn from 807 teachers in 72 schools under the Office of Primary Education, Samut
Songkram (Taro Yamane, 1973 : 727-728). The instrument was a questionnaire, with
its reliability of 0.96. Data were analyzed by means of frequency, percentage, mean,
standard deviation, and Pearson’s Correlation Coefficients (at p< .01 level).
The findings revealed that 1) overall transformative leadership among school
administrators was a high level. When inspecting at individual aspects, it was found
that the highest rated aspect was idealized influence, followed by inspirational
motivation, and individual consideration, respectively. 2) Overall level of teamwork
among teachers was at a high level. When inspecting at individual aspects, it was
found that the highest rated was creativity, followed by cooperation, and
coordination, respectively. 3) Positive relationship of overall transformative
leadership of school administrators and teamwork of school teachers was found,
significantly at .01 level.

Keywords: Transformative Leadership of School Administrators, Teamwork of School
Teachers, Schools under the Office of Primary Education, Samut Songkram

กำรประชมุ วิชำกำรนำเสนอผลงำนวิจัยระดบั บณั ฑิตศึกษำแหง่ ชำติ คร้ังที่ 49 225

กำรบรหิ ำรงำนพสั ดขุ องโรงเรยี น สงั กัดสำนกั งำนเขตพน้ื ที่กำรศึกษำมธั ยมศึกษำ เขต 1
SUPPLIES ADMINISTRATION IN SCHOOLS UNDER THE OFFICE
OF SECONDARY EDUCATION AREA 1

พงษ์พทิ ักษ์ ทานาค 1 ปฐมพรณ์ อนิ ทรางกรู ณ อยธุ ยา 2
Pongpitak Thanak 1 Pathomporn Indrangkura Na Ayuthya 2
หลักสตู รศึกษาศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวชิ าการบริหารการศึกษา_คณะบณั ฑติ วิทยาลัย_มหาวทิ ยาลยั ธนบุรี 1,2
[email protected] 1and [email protected] 2

บทคัดย่อ
การวิจัยคร้ังนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาระดับการบริหารงานพัสดุของโรงเรียน สังกัด
สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 2) เพื่อเปรียบเทียบระดับการบริหารงานพัสดุของ
โรงเรยี น สงั กดั สานกั งานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 จาแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล กลุ่มตัวอย่าง
ที่ใช้ในการวิจัยในครั้งน้ีคือ เจ้าหน้าท่ีพัสดุ ของโรงเรียนสังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา
เขต 1 จานวน 182 คน คานวณจากสูตรของทาโร่ ยามาเน่ (Taro Yamane, 1973, 727-728) แล้วทาการ
สุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นภูมิ เครื่องมือท่ีใช้ในการวิจัยคือแบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5
ระดบั สถิติทใี่ ช้ในการวิจัยไดแ้ ก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉล่ียและส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน ทาการทดสอบ
สมมติฐาน โดยใช้สถติ ทิ ดสอบที การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยรายคู่โดย
ใช้วิธีการทดสอบของ LSD ผลการวิจัยพบว่า 1) การบริหารงานพัสดุของโรงเรียน สังกัดสานักงานเขต
พื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 ค่าเฉลี่ยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า
ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด ได้แก่ ด้านการบารุงรักษาพัสดุ รองลงมา ได้แก่ ด้านการจัดหาพัสดุ และ
ลาดบั สดุ ท้าย ได้แก่ ด้านการวางแผนกาหนดความต้องการ 2) การเปรียบเทียบระดับการบริหารงาน
พัสดุของโรงเรียน สังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 พบว่า เม่ือจาแนกตามอายุ
ในภาพรวมไม่แตกต่างกนั และเม่อื พจิ ารณาเป็นรายด้านพบว่า ด้านการแจกจ่ายพัสดุ แตกต่างกัน
อยา่ งมีนยั สาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วนด้านการวางแผนกาหนดความต้องการ ด้านการจัดหาพัสดุ
ด้านการควบคุมพัสดุ ด้านการบารุงรักษาพัสดุ และด้านการจาหน่ายพัสดุ ไม่แตกต่างกัน และเม่ือ
จาแนกตามเพศ ระดับการศึกษาสูงสุด และประสบการณ์ในการทางาน พบว่า ในภาพรวมและราย
ด้านไมแ่ ตกต่างกัน

คำสำคญั : การบริหารงานพสั ดุ ; สานกั งานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษามัธยมศึกษา เขต 1

226 การประชมุ วิชาการนาเสนอผลงานวิจัยระดบั บณั ฑติ ศึกษาแหง่ ชาติ ครงั้ ที่ 49

ABSTRACT
The purposes of the current study were to 1) investigate level of
administration of supplies in schools under the Office of Secondary Education Area 1,
2) compare levels of administration of supplies of schools under the Office of
Secondary Education Area 1 as determined by personal factors. The sample group in
the study was 182 supplies staffs in the schools, as drawn by stratified random
sampling (Taro Yamane, 1973 : 727-728). The study instrument was a 5-scale
questionnaire. Statistical analyses included frequency, percentage, mean and
standard deviation. Hypotheses were tasted by t-test and one-way ANOVA. LSD was
used for pairwise comparisons. The findings revealed that 1) overall administration of
supplies in the schools under the Office of Secondary Education Area 1 was at a high
level. When inspecting at individual aspects, it was found that the highest rated
aspect was maintenance, followed by provision and planning, respectively.
Comparisons of levels of supplies administration of schools under the Office of
Secondary Education Area 1 as determined by age was found no significant at overall
level. When inspecting at individual aspects, difference was found in the aspect of
distribution (p<.05), while no differences were found from the aspects of
determination, provision, control, maintenance, and distribution. In addition, no
differences were found when the data were determined by genders, highest
education, and working experience.

Keywords: Administration of Supplies ; Office of Secondary Education Area 1

กำรประชมุ วิชำกำรนำเสนอผลงำนวิจัยระดบั บัณฑติ ศกึ ษำแหง่ ชำติ ครง้ั ท่ี 49 227

ควำมสมั พันธ์ระหว่ำงคณุ ลักษณะของผูบ้ ริหำรสถำนศกึ ษำกบั ควำมผูกพันต่อองค์กำรของ
ข้ำรำชกำรครู สงั กัดสำนกั งำนเขตพนื้ ท่ีกำรศกึ ษำประถมศึกษำนครปฐม เขต 1

INDEPENDENT STUDY RELATIONSHIP BETWEEN SCHOOL ADMINISTRATOR’S
ATTRIBUTES AND TEACHER’S ORGANIZATIONAL ENGAGEMENT UNDER THE

OFFICE OF PRIMARY EDUCATION NAKHON PATHOM AREA 1

สมชาย จนี เดยี 1 ปฐมพรณ์ อินทรางกูร ณ อยธุ ยา2
Somchai Jeendia1 Pathomporn Indrangkura Na Ayuthya2
หลักสตู รมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบรหิ ารการศึกษา คณะบณั ฑติ วทิ ยาลัย มหาวทิ ยาลัยธนบรุ ี1,2
[email protected] dr.pathomporn@ gmail.com 2

บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับคุณลักษณะของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัด
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 1 2) ศึกษาระดับความผูกพันต่อองค์การของ
ข้าราชการครู สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 1 และ 3) ศึกษา
ความสมั พันธ์ระหวา่ งคณุ ลักษณะของผบู้ ริหารสถานศึกษากบั ความผูกพันต่อองค์การของข้าราชการครูสังกัด
สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 1 กลุ่มตัวอย่างคือ ข้าราชการครู จานวน 331
คน ได้มาจากการคานวณโดยสูตรของทาโร่ ยามาเน่ (Taro Yamane, 1973, 727-728) การวิเคราะห์ข้อมูล
โดยใช้การสุ่มตัวอย่างอย่างง่าย ค่าความถ่ี ค่าร้อยละ ค่าเฉล่ีย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบ
ความสมั พนั ธร์ ะหว่างตวั แปรดว้ ยวธิ ีของเพียรส์ ัน ทีร่ ะดบั นัยสาคัญทางสถติ ิ 0.01
ผลการวจิ ัยพบว่า 1) ศึกษาระดบั คณุ ลักษณะของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสานักงานเขต
พืน้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษานครปฐม เขต 1 ในภาพรวมทั้ง 5 ด้าน อยู่ในระดับมาก และทุกด้านอยู่
ในระดบั มาก โดยมีด้านความรับผิดชอบ ด้านความมีชีวิตชีวา และความทนทาน ด้านความเสมอภาค
ในการตัดสินใจ อยู่ในระดับมากตามลาดับ 2) ศึกษาระดับความผูกพันต่อองค์การของข้าราชการครู
สังกัดสานักงานเขตพืน้ ท่กี ารศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 1 ในภาพรวมทั้ง 3 ด้าน อยู่ในระดับ
มาก และทุกดา้ นอยู่ในระดับมาก โดยมีด้านความเต็มใจ ด้านความเชื่อมั่น และด้านความเป็นสมาชิก
ภาพ อยู่ในระดับมากตามลาดับ และ 3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างคุณลักษณะของผู้บริหาร
สถานศึกษากับความผูกพันต่อองค์การของข้าราชการครูสังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา
ประถมศกึ ษานครปฐม เขต 1 ในภาพรวมอยู่ในระดบั สูงมากอย่างมีนยั สาคญั ทางสถิติท่ีระดับ 0.01
ซง่ึ เปน็ ไปตามสมมตฐิ านทต่ี ง้ั ไว้

คำสำคญั : คุณลักษณะของผู้บริหารสถานศึกษา;ความผูกพันต่อองค์การของข้าราชการครู;สานักงาน
เขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษานครปฐม เขต 1

228 การประชุมวิชาการนาเสนอผลงานวิจยั ระดบั บณั ฑติ ศกึ ษาแห่งชาติ ครงั้ ท่ี 49

ABSTRACT
The purposes of the current study were to 1) investigate level of attributes
among school administrators under the Office of Primary Education, Nakhon Pathom
Area 1, 2) investigate level of organizational engagement of teachers under the Office
of Primary Education, Nakhon Pathom Area 1, and 3) investigate the relationship
between attributes of school administrators and organizational engagement of
teachers under the Office of Primary Education, Nakhon Pathom Area 1. The sample
group comprised 331 teachers, drawn by simple random sampling (Taro Yamane,
1973:727-728). Data were analyzed by means of frequency, percentage, mean,
standard deviation, and Pearson’s correlation coefficients at .01 level.
The findings revealed that 1) overall level of attributes among school
administrators under the Office of Primary Education, Nakhon Pathom Area 1 5 parts
were at high level. There were responsibility, vitality and endurance, and
decisiveness, respectively. 2) Overall level of organizational engagement among
teachers under the Office of Primary Education, Nakhon Pathom Area 1 was at a high
level all 3 parts. There were willingness, confidence, and membership, respectively.
3) Overall relationship between school administrator’s attributes and teacher’s
organizational engagement was at a high level, significantly at .01 level.

Keywords: Attributes of School Administrators; Teacher’s Organizational Engagement,
Office of Primary Education; Nakhon Pathom Area 1

กำรประชุมวชิ ำกำรนำเสนอผลงำนวิจัยระดบั บณั ฑติ ศกึ ษำแห่งชำติ คร้งั ที่ 49 229

คณุ ลักษณะของผบู้ ริหำรโรงเรยี นเอกชนสำมัญสอนศำสนำอสิ ลำม ตำมควำมต้องกำรของครู
สังกัดสำนักงำนกำรศกึ ษำเอกชนจงั หวัดสงขลำ

CHARACTERISTICS OF THE ISLAMIC PRIVATE ADMINISTRATORS SCHOOL OF DEMANDED BY
TEACHER UNDER OFFICE OF THE PRIVATE EDUCATION SONGKHLA PROVINCE

วันอบั ดุลเลาะฮ์ หละ๊ ติหมะ1และตรยั ภมู ินทร์ ตรตี รศี วร2
Wanabdulloh Lahtima 1 and Tripumin Tritrishual2
หลักสตู รศึกษาศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวชิ าการบริหารการศกึ ษา มหาวิทยาลยั หาดใหญ่ สงขลา 1,2

[email protected]

บทคดั ยอ่
การวิจัยคร้ังน้ีใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงปริมาณ มุ่งศึกษาและเปรียบเทียบคุณลักษณะของ
ผูบ้ รหิ ารโรงเรียนเอกชนสามัญสอนศาสนาอิสลาม ตามความตอ้ งการของครูสังกัดสานักงานการศึกษา
เอกชนจงั หวดั สงขลา จาแนกตามตาแหน่งหนา้ ท่ีการปฏิบัตงิ าน และขนาดของโรงเรียน กาหนดขนาด
กลุ่มตัวอย่างโดยใช้ตารางเคร็จซี และมอร์แกน ได้กลุ่มตัวอย่าง จานวน 317 คน จากน้ันใช้การสุ่ม
แบบแบบแบง่ ชน้ั ตามขนาดโรงเรียนโดยใชว้ ิธีการเทียบสัดส่วนจานวนครูในแต่ละโรงเรียน แล้วจึงสุ่ม
กลุ่มตัวอย่างแต่ละโรงเรียนโดยวิธีสุ่มอย่างง่าย ด้วยวิธีจับสลากแบบไม่ใส่คืน เคร่ืองมือท่ีใช้เป็น
แบบสอบถามมาตราส่วนประมาณคา่ ที่มคี ่าความเช่ือมน่ั เทา่ กับ .973 สถิตทิ ีใ่ ช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล
คอื คา่ รอ้ ยละ คา่ เฉล่ยี สว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐาน การทดสอบคา่ ที และการทดสอบคา่ เอฟ
ผลการวจิ ัยพบวา่
1. คุณลักษณะของผู้บริหารโรงเรียนเอกชนสามัญสอนศาสนาอิสลาม ตามความต้องการ
ของครู สังกัดสานักงานการศึกษาเอกชนจังหวัดสงขลาในภาพรวม และทุกรายด้าน อยู่ในระดับมาก
เรียงลาดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ได้ดังน้ี ด้านภาวะผู้นา ด้านบุคลิกภาพ ด้านวิชาการ ด้าน
คุณธรรมจริยธรรมตามวัฒนธรรมอิสลาม ด้านมนุษยสัมพันธ์ และด้านความรู้ความสามารถในการ
บรหิ าร ตามลาดบั
2. ครูโรงเรียนเอกชนสามัญสอนศาสนาอิสลาม สังกัดสานักงานการศึกษาเอกชนจังหวัด
สงขลา ที่มีตาแหน่งหน้าท่ีในการปฏิบัติงานต่างกัน มีความต้องการต่อคุณลักษณะของผู้บริหาร
โรงเรียนเอกชนสามัญสอนศาสนาอิสลามในภาพรวม และด้านมนุษยสัมพันธ์ แตกต่างกันอย่างมี
นัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 สาหรับด้านความรู้ความสามารถในการบริหาร มีความแตกต่างกัน
อย่างมีนยั สาคัญทางสถิติที่ระดบั .001
3. ครูโรงเรียนเอกชนสามัญสอนศาสนาอิสลาม สังกัดสานักงานการศึกษาเอกชนจังหวัด
สงขลา ที่ปฏิบัติงานในโรงเรียนท่ีมีขนาดต่างกัน มีความต้องการต่อคุณลักษณะของผู้บริหารโรงเรียน
เอกชนสามญั สอนศาสนาอิสลาม รายด้านคุณธรรมจริยธรรมตามวัฒนธรรมอิสลามแตกต่างกันอย่างมี
นัยสาคัญทางสถิติท่รี ะดบั .001 และด้านบคุ ลิกภาพ แตกตา่ งกนั อย่างมนี ัยสาคัญทางสถติ ทิ ร่ี ะดบั .05

คำสำคญั : คุณลกั ษณะ;ผู้บรหิ ารโรงเรียน;โรงเรียนเอกชนสามญั สอนศาสนาอสิ ลาม

230 การประชุมวชิ าการนาเสนอผลงานวิจัยระดบั บณั ฑติ ศกึ ษาแห่งชาติ คร้งั ที่ 49

ABSTRACT
This research uses quantitative research methods aims to study and compare
the characteristics of the Islamic Private administrators school of demanded by
teacher under office of the private education Songkhla province. According to the
needs of teachers under the private education office, Songkhla province classified by
job positions, and the size of the school. The sample size was determined by using
the Krejcie and Morgan tables. The sample size was 317 teachers. The stratified
random sampling was used according to the school size by comparing the number of
teachers in each school. Then randomly selected each school by simple random
sampling by using the non-return lottery method. The tool used a rating estimation
questionnaire. That has confidence (Reliability) equal to .973. The statistics used in
data analysis are mean, standard deviation, t-Test and F-Test.
The results are as follows:
1. characteristics of the Islamic Private administrators school of demanded
by teacher under office of the private education Songkhla province as a whole and
every aspect at a high level. The average order of descending order is as follows :
personality, academic, moral and ethics of Islamic culture human relations and
knowledge and ability in management respectively.
2. Teachers with different job positions there was a need towards the
characteristics of the administrators of private schools in Islamic teaching as a whole.
and human relations differences were statistically significant at the .05 for
administrative knowledge. There are statistically significant differences at the .001
3. Teachers working in schools of different sizes there was a need towards
the characteristics of the administrators of private schools in Islamic teaching. Each
aspect of morality, ethics according to Islamic culture is significantly different at .001
and personality differences were statistically significant at the .05

Keywords: characteristics; administrators school; Islamic Private school

กำรประชมุ วิชำกำรนำเสนอผลงำนวิจยั ระดับบณั ฑติ ศกึ ษำแหง่ ชำติ ครัง้ ท่ี 49 231

ผลของกำรใชส้ ่อื ดจิ ิทลั ที่มตี ่อผลสัมฤทธิ์ทำงกำรเรียนในรำยวิชำภำษำอังกฤษ
ของนกั เรียนชัน้ ประถมศึกษำปที ี่ 6 ผำ่ นกระบวนกำรชุมชนแห่งกำรเรยี นรูท้ ำงวิชำชีพ
THE EFFECT OF USING DIGITAL MEDIA ON ACADEMIC ACHIEVEMENT IN ENGLISH
SUBJECT, OF PRIMARY VI STUDENTS THROUGH THE PROFESSIONAL LEARNING

COMMUNITY PROCESS

ทิพรัตน์ มบี ัว1 ขวัญชนก เจย้ ชุม2 จิราภรณ์ เหมพนั ธ3์
Tipparat Meebua1 Kwanchanok Jerychum 2 Chiraporn Hemapandha3
นวตั กรรมหลักสตู รและการจดั การเรียนรู้ คณะครศุ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฎั นครศรีธรรมราช
[email protected] 1 [email protected] and [email protected]

บทคัดยอ่
การวิจัยคร้ังน้ีมีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนหลังเรียนกับเกณฑ์ร้อยละ
70 และศึกษาความพึงพอใจของผู้เรียนท่ีมีต่อการเรียนการสอน เรื่อง Transportations ในรายวิชา
ภาษาอังกฤษ โดยใช้สื่อดิจิทัล ผ่านกระบวนการชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการ
วิจัยเป็นนักเรียนโรงเรียนองค์การสวนยาง 1 สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช
เขต 2 จานวน 11 คน ไดม้ าโดยการส่มุ ตัวอย่างแบบแบ่งกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการปฏิบัติการวิจัย ได้แก่ 1)
แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้ส่ือดิจิทัลในรายวิชาภาษาอังกฤษ เร่ือง Transportations จานวน 7 แผน 2)
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 3) แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดการ
เรียนรูจ้ ดั การเรียนรูโ้ ดยใช้ส่ือดิจิทัล เร่ือง Transportations สถิติท่ีใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ร้อยละ
ค่าเฉล่ีย ส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐาน ทดสอบสมมติฐานโดยใช้สถติ ิการทดสอบค่าที
ผลการวิจัยพบว่า 1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้สื่อดิจิทัลในรายวิชาภาษาอังกฤษ เรื่อง
Transportations ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 ผ่านกระบวนการชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
หลังเรียนสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ 2) นักเรียนช้ันประถมศึกษา
ปีท่ี 6 มีความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อดิจิทัลในรายวิชาภาษาอังกฤษ เรื่อง
Transportations ผ่านกระบวนการชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวชิ าชพี อยู่ในระดับมาก

คำสำคญั : ส่ือดิจิทัล, ผลสัมฤทธท์ิ างการเรียน, ชมุ ชนแห่งการเรียนรู้

232 การประชุมวชิ าการนาเสนอผลงานวจิ ัยระดบั บณั ฑติ ศกึ ษาแหง่ ชาติ ครง้ั ท่ี 49

ABSTRACT
The purpose of this research was to compare the learning achievement and
the satisfaction of primary VI students by using digital media through the Professional
Learning Community (PLC) on transportations in English subject. The target group was
consisted of 11 primary VI students at Ongkarnsuanyang 1 School Nakhon Si
Thammarat Education service area 2 offices. The instruments for the study included
7 English lesson plans by using digital media through the professional learning
community, an English learning achievement test, and a survey form for the
students’ satisfaction form by means of finding percentage and arithmetic mean of
number of students who passed the prescribed criterion. The data were statistically
analyzed by t- test for Dependent Sample.
The results of this research were followed that 1) the learning achievement
after used digital media through professional community was higher than with
statistical significance at the .01 level. 2) the satisfactions of the students were
satisfied by using the digital media through the professional learning community in
the highest level.

Keywords: Digital Media; learning achievement; Professional Learning Community: PLC

กำรประชุมวชิ ำกำรนำเสนอผลงำนวิจัยระดบั บัณฑติ ศกึ ษำแหง่ ชำติ คร้ังท่ี 49 233

กำรใชส้ ือ่ ดิจทิ ลั ประกอบกำรจดั กำรเรยี นรู้ทม่ี ีตอ่ ผลสมั ฤทธิ์ทำงกำรเรยี นวิชำภำษำไทย
เรอื่ งมำตรำตวั สะกด ของนักเรียนช้ันประถมศึกษำปที ี่ 2
โรงเรียนโสตทศั นศึกษำจุฬำลงกรณม์ หำวทิ ยำลยั

THE ACHIEVEMENT OF LEARNING MANAGEMENT IN THAI SUBJECTS (SPELLING
SECTION) BY USING DIGITAL MEDIA FOR PRATHOM SUKSA 2 OF

SOTTATSANASUKSA CHULALONGKORN MAHAWITTAYALAI SCHOOL

พรพิมล เอียดทวน1 โสภารตั น์ นา้ มัน2 จริ าภรณ์ เหมพันธ์3
Mrs.Pornpimol Aiadthuan1 Mrs.Soparat Namman2 Chiraporn Hemapandha3
นวตั กรรมหลกั สตู รและการจดั การเรยี นรู้ คณะครศุ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครศรธี รรมราช
[email protected] 1 [email protected] [email protected]

บทคดั ย่อ
การวิจัยครัง้ นี้มีวัตถุประสงคเ์ พ่ือ 1) เปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียนก่อนและ
หลงั เรยี นดว้ ยการใชส้ ื่อดิจิทลั ประกอบการจัดการเรยี นรู้ วิชาภาษาไทย เรื่องมาตราตัวสะกดของนักเรียน
ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 2 2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียนหลังเรียน กับเกณฑ์ที่
กาหนดรอ้ ยละ 70 และ 3) ประเมินความพึงพอใจของผเู้ รยี นที่มีต่อการจัดการเรียนรู้ด้วยการใช้ส่ือดิจิทัล
ประกอบการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาไทย เรื่องมาตราตัวสะกดของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 2 กลุ่ม
ตัวอย่างท่ีใช้ในการวิจัยคร้ังน้ีเป็นนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 2/2 ท่ีกาลังศึกษาอยู่ในภาคเรียนท่ี 1 ปี
การศกึ ษา 2562 จานวน 12 คน โรงเรียนโสตทัศนศึกษาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อาเภอบางขัน จังหวัด
นครศรีธรรมราช ได้มาโดยการสุ่มอย่างง่าย (Simple Random Sampling) โดยใช้วิธีจับสลากห้องเรียน
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้ส่ือดิจิทัล ในรายวิชาภาษาไทย
เร่ืองมาตราตัวสะกด จานวน 10 แผน 2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชาภาษาไทย
เร่ือง มาตราตัวสะกด ซ่ึงเป็นแบบทดสอบแบบเลือกตอบ 3 ตัวเลือก จาานวน 30 ข้อ 3) แบบสอบถาม
ความพึงพอใจของนักเรียนท่ีมีต่อการจัดการเรียนรู้โดยการใช้สื่ อดิจิทัลประกอบการจัดการเรียนรู้
จานวน10 ข้อ สถิตทิ ่ใี ชใ้ นการวเิ คราะห์ข้อมลู ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลย่ี และค่าส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐาน
ผลการวิจัยพบว่า 1) ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียนท่ีเรียนด้วยการใช้ส่ือดิจิทัล
ประกอบการจัดการเรียนรู้ วิชาภาษาไทย เรื่องมาตราตัวสะกด ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2
ก่อนเรียนและหลังเรียนแตกต่างกัน โดยนักเรียนมีคะแนนเฉลี่ยความก้าวหน้าของการเรียนรู้เท่ากับ
5.25 คดิ เป็นร้อยละ 17.50 2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนหลังเรียน คิดเป็นร้อยละ 83.06
สูงกว่าเกณฑ์ท่ีกาหนดไว้คือร้อยละ 70 อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 และ 3) ความพึงพอใจ
ของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้โดยการใช้ส่ือดิจิทัลประกอบการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาไทย
เร่ืองมาตราตัวสะกด อยู่ในระดับมาก โดยมีคะแนนเฉล่ียเท่ากับ 4.22 และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน
เทา่ กับ 0.77

คำสำคญั : สอ่ื ดจิ ทิ ัล; การจัดการเรียนรู้; ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนวิชาภาษาไทย

234 การประชมุ วชิ าการนาเสนอผลงานวจิ ัยระดบั บัณฑติ ศกึ ษาแห่งชาติ ครงั้ ที่ 49

ABSTRACT
The purposes of this research were 1) to compare the learning achievement
of the students before and after studied by using digital media in Thai subjects
(spelling section) of Primary II and 2) to compare the learning achievement of the
students after studied with the specified criteria of 70 percent 3) to study
the satisfaction of the students by using digital media in Thai subjects on the spelling
section of Primary II. The target group was consisted of 12 primary II students that
studying in the first semester of academic year 2019 at Sottatsanasuksa
Chulalongkorn Mahawittayalai School Nakhon Si Thammarat Education service area 2
offices. The instruments for the study included content analysis and indicators,
learning management design, learning using digital media and the evaluation of
learning management by using digital media.
The results of the research are as follows: 1) the learning achievement of
students after studied by using digital media in the Thai subjects (spelling section) of
primary II was higher than before studied at the statistical significance level of .01 2)
the learning achievement of students after studied by using digital media was higher
than the specified criteria of 70 percent 3) the satisfaction of students that studied
with digital media in Thai subjects (spelling section) overall is at a high level.

Keywords: digital media, learning management, achievement in Thai subjects

กำรประชมุ วชิ ำกำรนำเสนอผลงำนวจิ ัยระดับบัณฑิตศึกษำแห่งชำติ ครัง้ ที่ 49 235

ปัจจยั กำรควบคุมภำยในทสี่ ่งผลตอ่ ประสิทธผิ ลกำรบรหิ ำรงบประมำณของโรงเรยี นขยำยโอกำส
ทำงกำรศกึ ษำ สังกดั สำนักงำนเขตพ้นื ที่กำรศึกษำประถมศึกษำภเู ก็ต

FACTORS INTERNAL CONTROL AFFECING EFFECTIVENESS OF BUDGETING
ADMINISTRATION OF EDUCATIONAL OPPORTUNITY EXPASION SCHOOLS UNDER

PHUKET PRIMARY EDUCATIONAL SERVICE AREA OFFICE

ชยั วฒั น์ บุญญตั ิศักด์ิ
CHAIWAT BUNYATTISAK
สาขาวชิ าการบรหิ ารการศึกษา สานักงานบณั ฑิตศกึ ษา มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏภเู กต็
[email protected]

บทคัดยอ่
การศึกษาคร้ังนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาระดับการปฏิบัติการควบคุมภายในของ
โรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัด สานักงาเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาภูเก็ต 2) เพื่อ
ศึกษาระดับประสิทธิผลในการบริหารงบประมาณของโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัด
สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาภูเก็ต 3) เพ่ือวิเคราะห์ปัจจัยการควบคุมภายในที่ส่งผลต่อ
ประสิทธิผลของการบริหารงบประมาณของโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัดสานักงานเขต
พื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาภูเก็ต กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยเป็น ครูในโรงเรียนขยายโอกาสทาง
การศกึ ษา สังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาภูเก็ต ปีการศึกษา 2562 จานวน 214 คน
โดยผ้วู จิ ัยใชว้ ิธกี ารกาหนดขนาดกลุม่ ตัวอย่างจากการเปิดตารางของเครจซี่และมอร์แกน ใช้วิธีการสุ่ม
แบบแบง่ ชน้ั จาแนกตามประชากรในโรงเรียนและใช้วธิ กี ารสุม่ อยา่ งง่ายในแต่ละแห่ง เคร่ืองมือที่ใช้ใน
การวจิ ัย เป็นแบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณคา่ 5 ระดบั ประกอบดว้ ย แบบสอบถาม เกี่ยวกับ
การการควบคุมภายใน และเกี่ยวกับประสิทธิผลการบริหารงบประมาณ มีค่าความเชื่อม่ัน .956 และ .955
ตามลาดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉล่ีย ค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน ค่า
สมั ประสิทธิ์สหสมั พันธพ์ หคุ ณู และการวเิ คราะห์ถดถอยพหคุ ูณแบบเป็นข้ันตอน
ผลการวิจัยพบว่าระดับการควบคุมภายในของโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา โดย
ภาพรวมอยู่ในระดับมาก และเมอื่ จาแนกเปน็ รายดา้ น พบว่าอยู่ในระดับมากทุกด้าน เรียงตามลาดับ
ดังน้ี ด้านสภาพแวดล้อมการควบคุม ด้านการประเมินความเสี่ยง ด้านการติดตามและการ
ประเมนิ ผล ด้านการจดั ทาสารสนเทศและการส่ือสาร และ ด้านกิจกรรมการควบคุมตามลาดับ ระดับ
ประสิทธิผลการบริหารงบประมาณ ได้แก่ ความประหยัด การบรรลุวัตถุประสงค์ การสนองความ
ต้องการ และความโปร่งใส อยู่ในระดับมากทุกด้านตามลาดับ และปัจจัยท่ีส่งผลต่อประสิทธิผลการ
บริหารงบประมาณของโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษาภูเก็ต เรียงลาดับดังนี้ ด้านการจัดทาสารสนเทศและการสื่อสาร (X4) ด้านการติดตาม
และการประเมินผล (X5) ด้านกิจกรรมการควบคุม (X3) สามารถร่วมทานายประสิทธิผลการ
บริหารงานงบประมาณของโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา

236 การประชมุ วชิ าการนาเสนอผลงานวิจัยระดบั บณั ฑติ ศึกษาแห่งชาติ ครั้งท่ี 49

ประถมศึกษาภูเก็ต มีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ .01 โดยมีอานาจในการทานาย ร้อยละ 67 มีค่า
สมั ประสิทธิ์สหสมั พนั ธพ์ หุคณู เทา่ กบั .82 และมสี มการพยากรณ์ดงั นี้

สมการพยากรณ์ในรูปคะแนนดิบ
Y = .75+ .33 (X4) + .28 (X5) + .19(X3)
สมการพยากรณใ์ นรปู คะแนนมาตรฐาน
Yz = .35(X4z) + .33(X5z) + .20 (X3z)

คำสำคัญ: การควบคมุ ภายใน;การบรหิ ารงบประมาณ; โรงเรียนขยายโอกาสทางการศกึ ษา

กำรประชมุ วิชำกำรนำเสนอผลงำนวจิ ยั ระดับบัณฑิตศกึ ษำแหง่ ชำติ ครั้งท่ี 49 237

ABSTRACT
The purposes of this research are are 1) to study the level of Internal control
operations of educational opportunity expansion schools under Phuket primary
educational service area office and 2) to study the level of effectiveness of budgeting
administration educational opportunity expansion schools under Phuket primary
educational service area office and 3) To analyze factors internal control affecting
effectiveness of budgeting administration educational opportunity expansion schools
under Phuket primary educational service area office. The sample group consisted of
214 teachers who were teaching in educational opportunity expansion schools under
Phuket primary educational service area office in 2019. The group size was adjusted
by Krejcie & Morgan. Questionnaires were used to collect the data for a 5 levels
scale and with a 0.956 percent of reliability. The statistics employed to analyze the
collected data including the frequency, percentage, meaning, standard deviation,
multiple correlation coefficient, multiple regression analysis and Stepwise Multiple
Regression Analysis
The results of the study revealed that:
The level of factors Internal control operations of educational opportunity
expansion schools under Phuket primary educational service area office was found to
be high. Moreover, they were found to be the highest of all effectiveness of
budgeting administration educational opportunity expansion schools under Phuket
primary educational service area office. The factors affecting effectiveness of
budgeting administration were Preparation of information and communications factor
(X4), Monitoring factor (X5) and Control activities factor (X3). The range was in a
statistically significant level at 0.01, the ability for prediction was 67 percent and
multiple correlation coefficient was 0.82
The raw score was as followings
Y = .75+ .33 (X4) + .28 (X5) + .19(X3)
The equation of standard score was
Yz = .35(X4z) + .33(X5z) + .20 (X3z)

Keywords: Internal control; budgeting administration; educational opportunity expansion schools

238 การประชุมวชิ าการนาเสนอผลงานวิจัยระดบั บณั ฑติ ศกึ ษาแหง่ ชาติ ครั้งท่ี 49

พีระมิดสถำปัตยกรรมทำงกำรศึกษำเพอ่ื ควำมเข้ำใจใหม่ :
กำรเรยี นรูแ้ ละสังเครำะหจ์ ำกประสบกำรณ์ภำคสนำม

PYRAMID OF EDUCATIONAL ARCHITECTURE TOWARDS NEW UNDERSTANDING:
LEARNING AND SYNTHESIZING FROM THE FIELD EXPERIENCE

พิเชษฐ์ พินจิ 1 อนุศิษฏ์ อันมานะตระกูล2 เอกรตั น์ รวยรวย3 สนั ตริ ฐั นันสะอาง4 คมกฤตย์ ชมสวุ รรณ5
Pichet PINIT1 Anusit ANMANATRAKUL2Eakarut RUAYRUAY3 Santirat NANSAARNG4 Komkrit CHOMSUWAN5

ภาควิชาครุศาสตร์เตร่อื งกล1,2 ภาควิชาครศุ าสตร์โยธา3 ภาควิชาครศุ าสตร์อุตสาหการ4
ภาควิชาครศุ าสตรไ์ ฟฟ้า5 คณะครศุ าสตรอ์ ุตสาหกรรมและเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีพระจอมเกลา้ ธนบรุ ี

[email protected]

บทคดั ย่อ
บทความฉบบั น้นี าเสนอการสารวจความรู้สึก อารมณ์ และความคิดเห็นของครู การแปลหรือ
อธิบายการตอบสนองของครูท่ีมีต่อคาหรือข้อความทางการศึกษาภายใต้นโยบายทางการศึกษา และ
การสร้างการอธิบายท่ีเป็นระบบท่ีแสดงความสัมพันธ์ของคาหรือข้อความอันจะนาไปสู่ความเข้าใจ
ใหม่ การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมเกิดข้ึนในการอบรมเชิงปฏิบัติการโดยมีคณะผู้วิจัยเป็น
วิทยากรหรือกระบวนกรต้ังแต่ปี พ.ศ. 2556 จนถึงปัจจุบัน (พ.ศ. 2562) ข้อมูลจากครูระดับ
ปฏิบัติการทั้งสายอาชีวศึกษาและสายสามัญได้มาด้วยการตั้งคาถามให้แสดงความรู้สึกหรือความ
คิดเห็นต่อคาหรือข้อความทางการศึกษา ผลการแปลความการตอบสนองของครูด้วยแบบจาลองทาง
พฤติกรรมแสดงให้เห็นแนวโน้มการตอบสนองชี้ไปในทางลบหรือมีความเข้าใจที่คลาดเคล่ือน แบบ
แผนคาอธิบายท่ีสร้างขึ้นเพ่ือลดความเข้าใจท่ีคลาดเคล่ือนมีช่ือเรียกว่า ‘พีระมิดสถาปัตยกรรมทาง
การศึกษา’ และแสดงการจัดเรยี งคาหรือข้อความอย่างเป็นระบบและสัมพันธ์กัน ผลการใช้พีระมิดใน
การอบรมเชิงปฏบิ ตั กิ ารชว่ ยใหค้ รูเกดิ ความเข้าใจใหม่เก่ยี วกบั คาหรือข้อความทางการศึกษา

คำสำคัญ: ความเข้าใจใหม่; พีระมดิ สถาปัตยกรรมทางการศึกษา; สะเตม็ ศึกษา; ชมุ ชนการเรียนรู้ทางวชิ าชีพ

กำรประชมุ วชิ ำกำรนำเสนอผลงำนวจิ ัยระดับบัณฑติ ศกึ ษำแห่งชำติ คร้งั ที่ 49 239

ABSTRACT
This article presents the investigation of teachers’ feelings, emotions, and
perceptions toward those education-related terms in educational policies, the
interpretation of teachers’ responses, and the creation of the explanation model
expressing the relations among those terms leading to new understanding. Data to
be interpreted were obtained from teachers (participants) in both vocational and
general education using direct questions on the basis of participatory action research
in the workshop operated by the researchers as a trainer or facilitator from 2011 -
2019. Based on behavioral model, the results of interpretation revealed negative
trend due to misunderstanding. To reduce this misunderstanding, the model called
‘pyramid of educational architecture’ was created and expressed those terms in a
systematic way. Using the pyramid during the workshop helps teachers gain new
insights regarding those education-related terms.

Keywords: New understanding; Pyramid of educational architecture; STEM education; PLC

240 การประชมุ วิชาการนาเสนอผลงานวจิ ยั ระดบั บณั ฑติ ศกึ ษาแห่งชาติ คร้งั ท่ี 49

บทบำทของผ้บู รหิ ำรในกำรเสริมสร้ำงแรงจูงใจในกำรปฏิบัตงิ ำนของครู
ศนู ย์อบรมศำสนำอสิ ลำมและจริยธรรมประจำมสั ยดิ จังหวดั นครศรธี รรมรำช
THE ROLE OF ADMINISTRATORS IN MOTIVATING TEACHERS' PERFORMANCE ISLAMIC
RELIGIOUS AND ETHICAL TRAINING CENTER OF NAKHON SRI THAMMARAT PROVINCE

ปิยะ หมานอีน1และตรยั ภมู ินทร์ ตรตี รศี วร2
Piya Marn- In1 and Tripumin Tritrishual2
หลักสตู รศกึ ษาศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวชิ าการบริหารการศกึ ษา มหาวทิ ยาลยั หาดใหญ่ สงขลา 1,2

[email protected]

บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งน้ีมีวัตถุประสงค์ เพ่ือศึกษา เปรียบเทียบ บทบาทของผู้บริหารในการเสริมสร้าง
แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครู ศูนย์อบรมศาสนาอิสลามและจริยธรรมประจามัสยิด จังหวัด
นครศรีธรรมราช ตามความคิดเห็นของผู้บริหาร ครู และคณะกรรมการบริหาร จาแนกตาม วุฒิการศึกษา
ตาแหนง่ หนา้ ทแ่ี ละประสบการณ์การทางาน โดยการกาหนดขนาดกลมุ่ ตัวอย่างดว้ ยการใช้สูตรของยามาเน่
จากนั้นทาการสุ่มแบบแบ่งช้ัน ตามเขตท่ีต้ังของโรงเรียนในแต่ละอาเภอของจังหวัดนครศรีธรรมราช และ
กาหนดผู้ให้ข้อมูลในแต่ละระดับ และใช้วิธีการสุ่มอย่างง่าย ด้วยวิธีการจับฉลากแบบไม่ใส่คืน ได้กลุ่ม
ตวั อย่าง จานวน 256 คน เครอื่ งมือท่ีใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า
มีค่าความเช่ือม่ัน เท่ากับ 0.97 สถิติท่ีใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน
มาตรฐาน การทดสอบค่าที และการทดสอบคา่ เอฟ
จากผลการวจิ ยั พบว่า
1. ผู้บริหาร ครู และคณะกรรมการบริหาร มีความคิดเห็นต่อบทบาทในการสร้างแรงจูงใจในการ
ปฏิบัติงานของผู้บริหารในภาพรวมอยู่ในระดับมาก เม่ือพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า มีความคิดเห็นต่อบทบาทใน
การสร้างแรงจงู ใจด้านปัจจยั กระตนุ้ และด้านปัจจยั คา้ จุน อยูใ่ นระดบั มาก
2. ผู้บริหาร ครู และคณะกรรมการบริหาร ที่มีวุฒิการศึกษาต่างกัน มีความคิดเห็นต่อบทบาทของ
ผู้บริหารในการเสริมสร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครู ศูนย์อบรมศาสนาอิสลามและจริยธรรมประจามัสยิด
จังหวดั นครศรีธรรมราช ปัจจยั ค้าจุนรายดา้ นค่าตอบแทน มีความแตกต่างกนั อย่างมีนัยสาคัญทร่ี ะดับ .05
3. ผู้บริหาร ครู และคณะกรรมการบริหาร ท่ีมีตาแหน่งหน้าท่ีต่างกัน มีความคิดเห็นต่อบทบาทของ
ผู้บริหารในการเสริมสร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครู ศูนย์อบรมศาสนาอิสลามและจริยธรรมประจามัสยิด
จังหวัดนครศรธี รรมราช ไมแ่ ตกต่างกัน
4. ผู้บริหาร ครู และคณะกรรมการบริหาร ที่มีประสบการณการทางานต่างกัน มีความคิดเห็นต่อ
บทบาทของผู้บริหารในการเสริมสร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครู ศูนย์อบรมศาสนาอิสลามและจริยธรรม
ประจามสั ยดิ จังหวัดนครศรีธรรมราช โดยภาพรวม แตกต่างกนั อยา่ งมนี ัยสาคัญทางสถิติที่ระดบั .05

คำสำคัญ: บทบาท,ผบู้ รหิ ารโรงเรียน,แรงจงู ใจ

กำรประชมุ วิชำกำรนำเสนอผลงำนวิจัยระดับบณั ฑิตศึกษำแหง่ ชำติ ครั้งที่ 49 241

ABSTRACT
The purpose of this research were to study and compare the role of
administrators in motivating teachers' performance Islamic religious and ethical
training center of Nakhon Sri Thammarat province. According to the opinions of
administrators, teachers and the executive committee classified by educational
background, position, duties and work experience. By specifying the sample size by
using Yamane's formula, then stratified random sampling according to the school's
location in each district of the Nakhon Si Thammarat province. And assign data
providers at each level and using the simple random sampling method with non-
return lottery the sample group consisted of 256 people. The tool used a rating
estimation questionnaire. That has confidence (Reliability) equal to 0.97. The
statistics used in data analysis are mean, standard deviation, t-test and F-test.
The results are as follows:
1. Administrators, teachers and administrative committees there was a high
level of opinions on the role of motivation in the performance of executives in
general. When considered in each aspect, it was found that there was an opinion on
the role of motivation in stimulating factors. And supporting factors at a high level
2. Administrators, teachers and administrative committees that have
different educational background there were opinions on supporting factors for
compensation there are significant differences at the .05 level.
3. Administrators, teachers and administrative committees that have
different position there were opinions by overview and each side not different
4. Administrators, teachers and administrative committees that have
different duties and work experience there were opinions by overview are significant
differences at the .05 level.

Keywords: The role; administrator school; motivation

242 การประชมุ วิชาการนาเสนอผลงานวิจัยระดบั บณั ฑติ ศึกษาแห่งชาติ คร้งั ที่ 49

กำรใชช้ ุดกจิ กรรมกำรเรยี นรเู้ พอ่ื พฒั นำผลสัมฤทธท์ิ ำงกำรเรียนรู้ รำยวชิ ำคณติ ศำสตร์
เรื่องเงนิ ของนกั เรียนชน้ั ประถมศึกษำปีท่ี 3 โรงเรียนบำ้ นบำงทอง

USING A LEARNING ACTIVITY PACKAGE TO DEVELOP MATHEMATICS LEARNING
ACHIEVEMENT ON MONEY OF PRATHOMSUKSA 3 STUDENTS AT BAN BANG
THONG SCHOOL

อัญชลี คงเพง็ 1 อมั พร วจั นะ2
Anchalee Kongpeng1, Umporn Wutchana2
สาขานวตั กรรมหลักสตู รและการจดั การเรยี นรู้ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคาแหง1
อาจารยป์ ระจาภาควิชาหลักสูตรและการสอน คณะศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั รามคาแหง2
[email protected] [email protected]

บทคดั ยอ่
การวิจัยคร้ังนี้มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อสร้างและหาประสิทธิภาพชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิชา
คณิตศาสตร์ เรื่องเงิน ตามเกณฑ์ 80/80 (2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลัง
เรียนโดยใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาคณิตศาสตร์ เร่ืองเงิน (3)
เพ่ือศึกษาเจตคติของนักเรียนที่มีต่อการเรียนวิชาคณิตศาสตร์หลังจากจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยชุด
กจิ กรรมการเรียนรู้ เร่ืองเงิน โดยกลมุ่ ตวั อยา่ งทใี่ ชใ้ นการวิจัย คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 3/2
โรงเรียนบ้านบางทอง จานวน 34 คน ได้มาด้วยการเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive
sampling) โดยมีข้ันตอนการดาเนินการวิจัย ดังนี้ ทาการทดสอบก่อนเรียนโดยใช้แบบทดสอบวัดผล
สัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาคณิตศาสตร์ เร่ืองเงิน เป็นแบบปรนัย 3 ตัวเลือก จานวน 20 ข้อ กับกลุ่ม
ตัวอย่าง ดาเนินการสอนกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ วิชาคณิตศาสตร์ เร่ืองเงินที่ผ่าน
การทดสอบหาประสิทธิภาพ แบบเด่ียว แบบกลุ่ม และภาคสนาม ทาการทดสอบหลังเรียนโดยใช้
แบบทดสอบชุดเดียวกับแบบทดสอบก่อนเรียน เปรียบเทียบผลการทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน
โดยทดสอบค่า t แบบกลุ่มตัวอย่างท่ีไม่อิสระต่อกัน (t-test dependent) จากน้ันให้นักเรียนกลุ่ม
ตัวอย่าง ทาแบบประเมินวัดเจตคติต่อการเรียนวิชาคณิตศาสตร์โดยใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ วิชา
คณิตศาสตร์ เรื่องเงนิ วิเคราะหข์ ้อมูลโดยใช้ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน ผลการวิจัย พบว่า (1)
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ รายวิชาคณิตศาสตร์ เร่ือง เงิน มีค่าประสิทธิภาพตามเกณฑ์ที่กาหนด 80/80
(2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ภายหลังได้รับ
การจัดการเรียนร้โู ดยใชช้ ดุ กจิ กรรมการเรียนรู้ วชิ าคณิตศาสตร์ เรื่องเงิน สูงกว่าก่อนได้รับการจัดการ
เรียนรู้ อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ (3) เจตคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาคณิตศาสตร์
หลังจากจดั กจิ กรรมการเรยี นรดู้ ว้ ยชุดกิจกรรมการเรยี นรู้ เรื่องเงิน อยู่ในเกณฑ์ระดับดี ดังนั้น การใช้
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้สามารถนาไปใช้กับวิชาคณิตศาสตร์ เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของ
นกั เรยี นใหส้ งู ขนึ้ ได้

คำสำคัญ: ชดุ กจิ กรรมการเรียนรู้ ; ผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี น ; เจตคติต่อวชิ าคณติ ศาสตร์


Click to View FlipBook Version