The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ศวีระ วิเศษโชค, 2019-12-05 03:16:15

รวมบทคัดย่อ NGRC#49

รวมบทคัดย่อ

รวมบทคัดย่อ
งานนำเสนอผลงานวิจยั

การประชมุ วิชาการนำเสนอผลงานวิจัยระดบั บัณฑติ ศึกษาแหง่ ชาติครงั้ ท่ี 49
The 49th National Graduate research Conference 2019

“วิจยั และนวตั กรรม: ความท้าทายและโอกาสของการวจิ ยั ระดับบัณฑิตศึกษา”
Power of Research and Innovation :

Challenges and Opportunities Through Graduate Research

สนบั สนนุ โดย
สภาคณะผู้บริหารบณั ฑติ ศึกษาแห่งประเทศไทย (สคบท.)

มหาวทิ ยาลัยราชภฏั นครศรธี รรมราช

การประชุมวชิ าการนาเสนอผลงานวจิ ยั ระดบั บณั ฑติ ศกึ ษาแห่งชาติ ครงั้ ที่ 49 1

กองบรรณาธกิ าร : การประชมุ วิชาการระดบั ชาติ ครง้ั ท่ี 49
(The 49th National Graduate Research Conference : NGRC)

ทป่ี รกึ ษาบรรณาธิการ : ศาสตราจารย์ ดร.สันทัด ศริ ิอนนั ตไพบูลย์
ศาสตราจารย์ ดร.ปรชั ญนันท์ นิลสขุ
รองศาสตราจารย์ ดร.วชิ ยั แหวนเพชร
ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ฆนทั ธาตทุ อง

บรรณาธิการ : ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ลดาวัลย์ แก้วสีนวล

ผูช้ ว่ ยบรรณาธิการ : รองศาสตราจารย์ ดร.ปานจิต มสุ กิ
รองศาสตราจารย์ ดร.ปัญญา เลศิ ไกร
รองศาสตราจารย์ ดร.วรี ะยทุ ธ ชาตะกาญจน์
ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ฉตั รชัย แกว้ ดี

กองบรรณาธิการ : ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สมพร เรอื งออ่ น
ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ประวิทย์ เนือ่ งมจั ฉา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วีรวรรณ จงจิตร ศริ ิจิรกาล
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สถาพร จนั ทวี
ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.วีระยุทธ สดุ สมบูรณ์
ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.พงศศ์ กั ดิ์ สงั ขภญิ โญ
ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.จตุ พิ ร อศั วโสวรรณ
ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.อภณิ หพ์ ร สถติ ยภ์ าคีกุล
นายชาญวทิ ย์ ชยั ทอง
นายศวรี ะ วิเศษโชค

เลขานุการกองบรรณธิการ : ประธานกรรมการ
ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ลดาวลั ย์ แก้วสนี วล รองประธานกรรมการ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ฉตั รชยั แกว้ ดี กรรมการ
นางอาภรณ์ หัตถประดิษฐ์ กรรมการ
นางสาวพิชญา ขันธาโรจน์ กรรมการ
นางสาวสรอ้ ยสุวรรณ กามะหยี่ กรรมการ
นางสาวผกากาญจน์ บุญขวัญ กรรมการ
นางสาวยวุ รัตน์ ทองประดษิ ฐ์ กรรมการและเลขานุการ
นางสุจิตราพร ประสาน กรรมการและผชู้ ว่ ยเลขานุการ
นายชาญวิทย์ ชยั ทอง กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ
นายศวีระ วเิ ศษโชค

งบประมาณท่ใี ช้ : งบประมาณเงินรายได้ บัณฑติ วทิ ยาลยั ประจาปงี บประมาณ 2562
งบประมาณเงนิ รายได้ บัณฑิตวิทยาลยั ประจาปงี บประมาณ 2563
งบประมาณเงินอุดหนุนจากสมาคมสภาคณะผู้บริหารบัณฑิตศึกษาแห่งประเทศไทย
(สคบท.)
งบประมาณคา่ ลงทะเบียนผ้เู ขา้ ร่วมกิจกรรม

ปีที่ดาเนนิ การ : ปกี ารศึกษา 2562

2 การประชุมวชิ าการนาเสนอผลงานวจิ ยั ระดบั บณั ฑติ ศกึ ษาแห่งชาติ ครงั้ ที่ 49

คานา

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรี ร่วมกับ สภาคณะผู้บริหารบัณฑิตศึกษาแห่ง
ประเทศไทย (สคบท.) ได้ร่วมเป็นเจ้าภาพในการจัดการประชุมวิชาการนาเสนอผลงานวิจัยระดับ
บัณฑิตศึกษา โดยการประชุมครั้งแรกจัดขึ้นเม่ือปี พ.ศ.2542 โดยใช้ช่ือว่า The 1st National
Graduate Research Conference : NGRC จากนั้นจึงมีการจัดประชุมอย่างต่อเนื่องทุกปี โดยมี
สถาบันการศึกษาท่ีเปน็ สมาชกิ หมนุ เวียนกันเปน็ เจา้ ภาพ

ในปีการศึกษา 2562 บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช ในฐานะสถาบัน
สมาชกิ สคบท. ได้รับเปน็ เจา้ ภาพการจดั ประชุมวชิ าการในคร้ังนี้ซ่ึงเป็นการจัดประชุมครั้งท่ี 49 (The 49TH
National Graduate Research Conference : NGRC) เพ่ือเปิดโอกาสให้นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา
คณาจารย์ นักวิชาการ นักวิจัย และผู้สนใจทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติ ได้แลกเปล่ียนเรียนรู้ข้อมูลทาง
วิชาการในรปู แบบบรรยายและแบบโปสเตอร์ การปาฐกถา และการประชุมสภาคณะผู้บริหารบัณฑิตศึกษา
แหง่ ประเทศไทย (สคบท.)

ขอขอบคุณ ผู้ทรงคุณวุฒิในการตรวจพิจารณาผลงานท่ีเข้าร่วมนาเสนอ และผู้ทรงคุณวุฒิในการ
วิพากษ์ผลงานในการประชุม ตลอดจนกองบรรณาธิการการจัดประชุมท่ีได้อนุเคราะห์ในการตรวจสอบ
ข้อมูล ความถูกต้อง เพื่อให้การนาเสนอผลงานในคร้ังนี้มีคุณภาพและสามารถใช้เป็นแหล่งอ้างอิงทาง
วิชาการในอนาคต

ในการน้ี บัณฑิตวิทยาลัย ได้จัดทาเอกสารประกอบการประชุม จานวน 2 เล่ม คือ
1) เลม่ รวมบทคดั ย่อ และ 2) เล่มรวมบทความฉบับเต็ม (Proceedings) ของผูน้ าเสนอผลงานวิจัย ในคร้ังน้ี
ทั้งแบบวาจาและแบบโปสเตอร์ ในรูปแบบ E-book เพ่ือเผยแพร่ผลงานวิจัยไปสู่สาธารณชน
อย่างทั่วถึงและกว้างขวาง บัณฑิตวิทยาลัย หวังเป็นอย่างย่ิงว่าเอกสารประกอบการประชุมน้ีจะเป็น
ประโยชนต์ ่อนกั ศึกษา อาจารย์ และผสู้ นใจทั่วไป นาไปพฒั นางานวจิ ัยทเ่ี ก่ยี วข้องต่อไป

ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ลดาวัลย์ แก้วสีนวล
บรรณาธิการ

การประชุมวชิ าการนาเสนอผลงานวจิ ยั ระดบั บณั ฑติ ศกึ ษาแห่งชาติ ครง้ั ท่ี 49 3

กาหนดการ

การประชุมวชิ าการระดบั ชาติ คร้ังที่ 49
(The 49TH National Graduate Research Conference : NGRC)
“การสร้างสรรค์งานวจิ ยั และนวัตกรรม : ความทา้ ทาย และโอกาสในการกา้ วสู่ Thailand 4.0”
ระหว่างวนั ที่ 6-7 ธันวาคม 2562 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช

การประชมุ วิชาการและการนาเสนอผลงานวิจัย

วนั ที่ 6 ธนั วาคม 2562 ณ อาคารหอประชุมใหม่ และอาคารภกั ดีดารงฤทธิ์

08.00-09.00 น. ลงทะเบียน
09.00-09.30 น. ณ อาคารหอประชุมใหม่ มหาวิทยาลัยราชภฏั นครศรีธรรมราช
พธิ เี ปดิ โดย ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ฆนัท ธาตุทอง
09.30-11.00 น.
อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรธี รรมราช
11.00-12.00 น. พิธีมอบธงเจ้าภาพในคร้ังถดั ไป
การปาฐกถาพิเศษในหัวข้อ “การสร้างสรรคง์ านวจิ ัยและนวตั กรรม :
12.00-13.00 น. ความท้าทายและโอกาสในการก้าวสู่ Thailand 4.0”
13.00-17.00 น. โดย ศาสตราจารย์ ดร.เกรยี งศักดิ์ เจรญิ วงศ์ศกั ดิ์
18.00-20.00 น.
การนาเสนอผลงานวจิ ยั ภาคโปสเตอร์

พธิ เี ปิดการนาเสนอผลงานวจิ ัยภาคโปสเตอร์ (Poster Presentations)
ณ อาคารหอประชุมใหม่ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรธี รรมราช
การนาเสนอผลงานวิจยั ภาคโปสเตอร์ (Poster Presentations)
พกั รบั ประทานอาหารกลางวนั ณ อาคารภักดีดารงฤทธิ์
การนาเสนอผลงานวจิ ัยภาคโปสเตอร์ (Poster Presentations) (ตอ่ )
พิธีมอบเกียรติบัตรแก่ผนู้ าเสนอภายในหอ้ งนาเสนอ
งานเลีย้ งรับรอง ณ อาคารภักดดี ารงฤทธิ์ ช้นั 1

4 การประชุมวชิ าการนาเสนอผลงานวจิ ยั ระดบั บณั ฑติ ศกึ ษาแห่งชาติ ครง้ั ที่ 49

กาหนดการ
การประชมุ วชิ าการระดบั ชาติ คร้ังที่ 49
(The 49TH National Graduate Research Conference : NGRC)

“การสร้างสรรคง์ านวจิ ัยและนวัตกรรม : ความทา้ ทาย และโอกาสในการก้าวสู่ Thailand 4.0”
ระหว่างวันที่ 6-7 ธนั วาคม 2562 ณ มหาวิทยาลัยราชภฏั นครศรีธรรมราช

การประชมุ วชิ าการและการนาเสนอผลงานวิจยั

วนั ท่ี 7 ธนั วาคม 2562 ณ อาคารหอประชุมใหม่

08.30-12.00 น. การนาเสนอผลงานวจิ ัยภาคบรรยาย (Oral Presentations)
ณ อาคารหอประชุมใหม่ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั นครศรธี รรมราช

12.00-13.00 น. พักรบั ประทานอาหารกลางวนั
13.00-17.00 น. การนาเสนอผลงานวจิ ยั ภาคบรรยาย (Oral Presentations) (ตอ่ )

มอบเกยี รติบัตรแก่ผูน้ าเสนอภายในหอ้ งนาเสนอ

หมายเหตุ : พกั รับประทานอาหารว่าง ภาคเชา้ เวลา 10.45-11.00 น.
ภาคบา่ ยเวลา 14.30-14.45 น.

**กาหนดการอาจมีการปรบั เปลย่ี นไดต้ ามความเหมาะสม**

การประชุมวชิ าการนาเสนอผลงานวจิ ยั ระดบั บณั ฑติ ศกึ ษาแห่งชาติ ครง้ั ที่ 49 5

กาหนดการ
การประชมุ วิชาการระดบั ชาติ ครงั้ ที่ 49
(The 49TH National Graduate Research Conference : NGRC)

“การสรา้ งสรรคง์ านวจิ ัยและนวัตกรรม : ความทา้ ทาย และโอกาสในการกา้ วสู่ Thailand 4.0”
ระหว่างวนั ที่ 6-7 ธนั วาคม 2562 ณ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครศรธี รรมราช

การประชุมสภาคณะผู้บริหารบณั ฑติ ศึกษาแหง่ ประเทศไทย (สคบท.)

วนั ท่ี 6 ธนั วาคม 2562 ณ หอ้ งประชุมท่อแกว้ สานักงานอธิการบดี ชน้ั 3

13.00-13.30 น. ลงทะเบยี น ณ หอ้ งประชุมท่อแก้ว (สานักงานอธกิ ารบดี ชั้น 3)
13.30-14.00 น.
พิธเี ปิดโดย ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ฆนัท ธาตุทอง
14.00-17.00 น. อธกิ ารบดมี หาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
การประชุมสภาคณะผู้บรหิ ารบณั ฑิตศึกษาแหง่ ประเทศไทย (สคบท.)
18.00-20.00 น. ตามระเบยี บวาระ

งานเล้ียงรับรอง ณ อาคารภักดีดารงฤทธ์ิชน้ั 1

วันท่ี 7 ธันวาคม 2562 ผู้บรหิ ารบณั ฑิตศึกษาแห่งประเทศไทย (สคบท.) เดินทางไปทัศนศึกษา

หมายเหตุ : พักรับประทานอาหารว่าง ภาคบ่ายเวลา 14.30-14.45 น.
**กาหนดการอาจมกี ารปรบั เปลีย่ นไดต้ ามความเหมาะสม**

การประชุมวชิ าการนาเสนอผลงานวิจัยระดบั บณั ฑติ ศกึ ษาแห่งชาติ ครง้ั ที่ 49 1

ภาคโปสเตอร์ (Poster Presentations)

ณ อาคารหอประชุมใหม่ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครศรธี รรมราช

2 การประชุมวิชาการนาเสนอผลงานวจิ ยั ระดบั บัณฑติ ศกึ ษาแหง่ ชาติ ครัง้ ที่ 49

กาหนดการ
การประชมุ วิชาการนาเสนอผลงานวิจยั ระดับบณั ฑติ ศกึ ษาแห่งชาติ ครงั้ ท่ี 49
The 49th National Graduate Research Conference 2019 : NGRC#49
“การสร้างสรรค์งานวิจัยและนวตั กรรม : ความท้าทาย และโอกาสในการกา้ วสู่ Thailand 4.0”

วันท่ี 6 ธันวาคม 2562 เวลา 11.00 – 16.00 น. ณ อาคารหอประชุมใหม่

ผู้ทรงคณุ วุฒิ : รองศาสตราจารย์ ดร.มนสชิ สทิ ธิสมบรู ณ์
ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ ดร.ลกั ษมี วทิ ยา
ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สมรักษ์ รอดเจริญ

ลาดับ ชอื่ เรื่อง ชอ่ื – สกุล นกั วิจัย เวลา
11.00
1 การพัฒนาผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน ของนักเรียน ปวช.2 ธญั ญารตั น์ จนั ทรศ์ รรี กั ษ์ 11.10

วิชาคอมพวิ เตอร์ในงานธรุ กิจโดยใช้บทเรยี นคอมพวิ เตอร์ ภาณมุ าศ ช่างประดิษฐ์ 11.20
11.30
ชว่ ยสอน และดร.เลิศพร อดุ มพงษ์ 11.40
11.50
2 การบรหิ ารจัดการเพ่ือยกระดับผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี น เพญ็ ประภา พรหมมณี 13.00

O – NET ของผู้บรหิ ารสถานศกึ ษาตามความคิดเห็นของ 13.10

ครู สงั กัดสานกั งานเขตพ้ืนที่การศกึ ษาประถมศึกษาสุ

ราษฎร์ธานี เขต 1

3 การสง่ เสริมทกั ษะการเรียนร้ใู นศตวรรษท่ี 21 ของ ปรีดา ปะดกุ า

ผูบ้ ริหารสถานศกึ ษา สงั กดั สานกั งานเขตพื้นทีก่ ารศึกษา รงุ่ ชัชดาพร เวหะชาติ

ประถมศึกษาสตลู

4 การบรหิ ารจดั การเทคโนโลยเี พอื่ การศึกษาของผบู้ ริหาร คอลีฟะฮ์ เจ๊ะโดสามะ

สถานศกึ ษา สานักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษา รงุ่ ชชั ดาพร เวหะชาติ

นราธิวาส เขต 1

5 ประสทิ ธผิ ลการบรหิ ารงานพัสดุของผู้บริหารสถานศกึ ษา ศรสี ดุ า ชอบงาม

สงั กัดสานกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศกึ ษาพัทลุง อมลวรรณ วีระธรรมโม

เขต 2

6 การสง่ เสรมิ การจดั การเรียนรู้ทเี่ นน้ ผเู้ รยี นเปน็ สาคญั ของ รงุ่ นภา ไชยถาวร

ผู้บริหารสถานศึกษา สังกดั สานักงานเขตพืน้ ที่การศึกษา รุ่งชัชดาพร เวหะชาติ

ประถมศึกษาสงขลา เขต 3

7 ความสัมพันธร์ ะหว่างการบรหิ ารทรัพยากรทางการศกึ ษา ณภทั ร เนือ่ งศรี

กับประสทิ ธผิ ลของ โรงเรยี นประถมศึกษาขนาดเลก็ สุนทรี วรรณไพเราะ

สงั กัดสานกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาสงขลา

เขต 3

8 การดาเนนิ งานตามแนวทางสะเตม็ ศึกษา ของผบู้ ริหาร อรรวี เกียรตไิ พศาลโสภณ

โรงเรียนเครอื ขา่ ย สงั กัดสานกั งานเขตพ้นื ทีก่ ารศกึ ษา รงุ่ ชัชดาพร เวหะชาติ

ประถมศกึ ษาชมุ พร เขต 2

การประชมุ วชิ าการนาเสนอผลงานวิจยั ระดบั บัณฑิตศึกษาแห่งชาติ ครัง้ ท่ี 49 3

ลาดับ ชอ่ื เรือ่ ง ชอ่ื – สกลุ นกั วจิ ัย เวลา
13.20
9 พฤติกรรมภาวะผนู้ าทีแ่ ทจ้ รงิ ของผู้บรหิ ารโรงเรียน สงั กัด ศรุติพงศ์ ภูวัชร์วรานนท์ 13.30
13.40
สานกั งานเขตพนื้ ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาในจงั หวัด
13.50
สงขลา 14.00
14.10
10 การศึกษาภาวะผู้นาเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษา อยั รีน สมาแอ 14.20

สังกัดสานกั งานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษายะลา เขต3 ตรัยภมู นิ ทร์ ตรตี รศี วร

11 การพัฒนาสื่อมัลติมีเดียเร่ืองช้ินส่วนของเครื่องยนต์ ธนวันต์ บญุ มาก
ในรายวิชางานเคร่ืองยนต์แก๊สโซลีน สาหรับของนักเรียน วรสิทธ์ิ คงประเสรฐิ
ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีท่ี 1 วิทยาลัยการอาชีพ เลศิ พร อุดมพงษ์
เวยี งสระ

12 การใช้แหล่งเรียนรู้ชุมชนในการจัดการเรียนการสอนของ ษรวดี จาปา
ครูผสู้ อนในสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน สังกัดสานักงานเขตพื้นท่ี ศัจนันท์ แก้ววงศ์ศรี
การศกึ ษาประถมศึกษาตรัง เขต 1

13 สภาพการเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของสถานศึกษา สังกัด สจุ ิรา แวอาแซ
สานักงานเขตพ้ืนที่การศกึ ษาประถมศึกษายะลา เขต 3 ตรัยภมู ินทร์ ตรตี รศี วร

14 ภาวะผู้นาการเปล่ียนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษากับการ หนง่ึ ฤทัย เล้ียงพันธ์ุสกลุ

เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ของสถานศึกษา สังกัดสานักงาน ศัจนันท์ แกว้ วงศ์ศรี

เขตพน้ื ที่การศกึ ษาประถมศึกษายะลา เขต 3

15 การพัฒนาทักษะด้วยชุดฝึกหยิบขนมทองหยิบของผู้เรียน สุณิษา แพรกเมือง

ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ สาขาวิชาอาหารและ ชนะสิน สังข์ดว้ ง

โภชนาการ รายวชิ าขนมไทยเบ้ืองตน้ สวุ มิ ล เด่นสุนทร

4 การประชุมวิชาการนาเสนอผลงานวิจัยระดบั บัณฑติ ศกึ ษาแหง่ ชาติ คร้งั ที่ 49

การพัฒนาผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นของนกั เรยี นชัน้ ปวช.2 วชิ าคอมพิวเตอร์ในงานธรุ กิจ
โดยใชบ้ ทเรยี นคอมพิวเตอร์ช่วยสอน

DEVELOPMENT OF SECOND-YEAR VOCATIONAL CERTIFICATE
STUDENTS’ACHIEVEMENT IN BUSINESS COMPUTER SUBJECTS BY USING

COMPUTER ASSISTED INSTRUCTION (CAI)

ธญั ญารตั น์ จันทรศ์ รรี กั ษ1์ ภาณมุ าศ ช่างประดษิ ฐ2์ เลศิ พร อุดมพงษ3์
Tanyarat Chansrirak1 Panumas Changpradid2 Lertporn Udompong3

สาขาวิชาชพี ครู คณะศลิ ปศาสตร์ มหาวิทยาลยั ตาป1ี 2 และ 3
[email protected] [email protected] 2 [email protected]

บทคดั ยอ่
การวิจัยน้ีมีวัตถุประสงค์เพ่ือ 1) ศึกษาคะแนนพัฒนาการและคะแนนพัฒนาการสัมพัทธ์ของ
นักเรียน ปวช.2 ทเ่ี รียนด้วยบทเรยี นคอมพิวเตอร์ช่วยสอน และ 2) ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนปวช.2
ท่ีมีต่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนในวิชาคอมพิวเตอร์ในงานธุรกิจ ตัวอย่าง คือ นักเรียนช้ันปวช.2
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการสิชล จานวน 30 คน ซ่ึงได้มาจากการเลือกแบบเจาะจง (Purposive
sampling) เคร่ืองมือท่ีใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย แผนการสอน จานวน 6 แผน ซึ่งได้ผ่านการ
ตรวจสอบคุณภาพเคร่ืองมือโดยผู้เชี่ยวชาญมีคุณภาพอยู่ในระดับดีมากทุกแผน (ค่าเฉลี่ยอยู่ระหว่าง 3.33-
4.00) และแบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ซ่ึงเป็นแบบทดสอบปรนัย จานวน 20 ข้อ โดยมีค่า IOC อยู่
ระหว่าง 0.67 - 1.00 ค่าความยาก อยู่ระหว่าง 0.47-0.80 ค่าอานาจจาแนกอยู่ระหว่าง 0.20-0.67 และ
ค่าความเท่ียงท้ังฉบับ โดยมีสัมประสิทธิ์แอลฟา เท่ากับ 0.79 การวิเคราะห์ข้อมูล ใช้ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย
สว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐาน คะแนนพฒั นาการ และคะแนนพัฒนาการสัมพัทธ์
ผลการวิจัยพบว่า นักเรียนชั้น ปวช.2 ท่ีเรียนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน มีคะแนน
พัฒนาการระหว่าง 6.10 - 12.43 นกั เรียนทุกคนมีคะแนนพัฒนาการสัมพัทธ์มากกว่าร้อยละ 50 และ
ค่าเฉล่ียความพึงพอใจของนักเรียนช้ัน ปวช.2 ท่ีมีต่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนในวิชา
คอมพิวเตอร์ในงานธรุ กิจ มีค่าเฉลี่ย 4.49 อยู่ในระดับมาก

คาสาคญั : บทเรียนคอมพวิ เตอรช์ ่วยสอน, คอมพิวเตอร์ในงานธุรกจิ , ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น

การประชมุ วิชาการนาเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศกึ ษาแหง่ ชาติ ครัง้ ที่ 49 5

ABSTRACT
The objective of this study were to (1) study the growth scores and relative scores
of second-year vocational certificate students’chievement study by CAI and. (2) the
satisfaction of second-year vocational the CAI in the computer business. An example is the
second-year vocational certificate students’ achievement Sichon Commercial Technology
College, 30 of which have come from choosing specific (Purposive sampling). The
instrument consisted of 6 lesson plans, plans which have been audited by a qualified
professional quality tools in a very good plan. (the average is between 3:33 to 4:00) and
achievement. This is a multiple-choice test of 20 items by the IOC is between 0.67 to 1.00
0.47 to 0.80 between the difficulty is the discrimination between 0.20 to 0.67 and the
precision of the original. The alpha coefficient of 0.79. The data were analyzed using
percentage, mean, standard deviation. development score and the relative scores.
The results showed that second-year vocational certificate students’chievement using
CAI. There are scores between 6.10 to 12.43 every student scores relative over 50
percent and the average satisfaction of second-year vocational certificate students’chievement on
the CAI in computer science in business with an average of 4.49

Keywords: Computer Assisted Instruction, Business Computer, Achievement

6 การประชมุ วิชาการนาเสนอผลงานวิจยั ระดบั บณั ฑิตศึกษาแห่งชาติ คร้ังที่ 49

การบริหารจัดการเพื่อยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน O – NET ของผู้บริหารสถานศึกษา
ตามความคิดเห็นของครู สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 1

MANAGEMENT TO ENHANCE O-NET SCORE ACHIEVEMENT OF SCHOOL
ADMINISTRATORS BASED ON OPINIONS OF TEACHERS UNDER SURATTHANI

PRIMARY EDUCATIONAL SERVICE AREA OFFICE 1

เพญ็ ประภา พรหมมณี1
Penprapa Prommanee1

บทคัดย่อ
การค้นคว้าอิสระมีวัตถุประสงค์เพ่ือ 1) ศึกษาการบริหารจัดการเพ่ือยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน
O – NET ของผู้บริหารสถานศึกษาตามความคิดเห็นของครู สังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา
ประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 1 และ2) เปรียบเทียบการบริหารจัดการเพ่ือยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรียน O – NET ของผู้บริหารสถานศึกษาตามความคิดเห็นของครู สังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา
ประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต1 จาแนกตามตัวแปรเพศ อายุ วุฒิการศึกษา ประสบการณ์การสอน และ
ขนาดสถานศึกษา ประชากร ได้แก่ ครูที่ปฏิบัติหน้าท่ีในสถานศึกษา สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 1 ปีการศึกษา 2562 จานวน 1,391 คน กลุ่มตัวอย่าง คือ ครูท่ีปฏิบัติ
หน้าท่ีในสถานศึกษา สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 1 ปีการศึกษา
2561 จานวน 302 คน กาหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างจากตารางสาเร็จรูปของ Krejcie and Morgan แล้วสุ่ม
ด้วยวิธีแบบแบ่งชั้นตามขนาดของสถานศึกษาแล้วสุ่มอย่างง่าย โดยการจับสลาก เครื่องมือการวิจัยเป็น
แบบสอบถามได้ค่าความเช่ือม่ันทั้งฉบับเท่ากับ .953 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ
คา่ เฉลยี่ คา่ ส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว
ผลการวิจัยพบว่า 1) ครูที่ปฏิบัติหน้าที่ในสถานศึกษาสังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา
ประถมศกึ ษาสรุ าษฎรธ์ านี เขต 1 มีความคิดเหน็ ตอ่ การบรหิ ารจัดการเพอ่ื ยกระดบั ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน O
– NET ของผ้บู รหิ ารสถานศึกษา โดยภาพรวมและรายด้าน อยู่ในระดับมาก 2) ครูท่ีมีเพศ อายุ วุฒิการศึกษา
และประสบการณ์การสอนต่างกัน มีความคิดเห็นต่อการบริหารจัดการเพ่ือยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
O – NET ของผู้บริหารสถานศึกษา โดยภาพรวมและรายด้านไม่แตกต่างกัน 3) ครูท่ีปฏิบัติหน้าท่ีใน
สถานศึกษาสังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 1 ท่ีมีขนาดของสถานศึกษา
ต่างกัน มีความคิดเห็นต่อการบริหารจัดการเพื่อยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน O – NET ของผู้บริหาร
สถานศกึ ษา โดยภาพรวมและรายดา้ นแตกต่างกนั อย่างมนี ยั สาคญั ทางสถติ ิท่ีระดบั .05

คาสาคัญ: การบรหิ ารจดั การเพอื่ ยกระดบั ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี น O – NET

การประชมุ วชิ าการนาเสนอผลงานวิจัยระดบั บณั ฑติ ศึกษาแห่งชาติ ครัง้ ท่ี 49 7

ABSTRACT
The objectives of this research were 1) to study the management to enhance
the O-NET score achievement of school administrators based on opinions of
teachers under Suratthani Primary Educational Service Area Office 1 and 2) compare
the management to enhance the O-NET score achievement of school administrators
based on the based on opinions of teachers under Suratthani Primary Educational
Service Area Office 1, who differ in gender, age, educational level, work experience
and school size. The samples consisted of 02 teachers under Suratthani Primary
Educational Service Area Office 1, academic year 2018. The sample size was
determined by the table of Krejcie and Morgan. Then stratified random sampling by
the size of the school using simple random sampling lottery method were applied.
The reliability of a questionnaire was .953. The data were analyzed using such
statistics as percentage, arithmetic means, standard deviation, t-test and One-Way
ANOVA
The results found that 1) the teachers’ opinions to the management to
enhance the O-NET score achievement of school administrators under Suratthani Primary
Educational Service Area Office 1, as a whole and as an individual aspect were found at
a high level, and 2) teachers with different gender, age, educational level, working
experience did not have different opinions towards the management to enhance O-
NET score achievement of school administrators under Suratthani Primary
Educational Service Area Office 1, and 3) the teachers working in different school
sizes had different opinion towards the management to enhance the O-NET score
achievement of school administrators in each and overall aspects with the statistical
significance of .05.

Keywords: Management to Enhance O-NET Score Achievement of School Administrators.

8 การประชุมวิชาการนาเสนอผลงานวจิ ยั ระดับบัณฑิตศึกษาแหง่ ชาติ ครัง้ ท่ี 49

การสง่ เสริมทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ของผู้บริหารสถานศกึ ษา
สังกัดสานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาสตูล

TWENTY-FIRST CENTURY SKILL ENHANCEMENT OF SCHOOL ADMINISTRATORS
UNDER SATUN PRIMARY EDUCATIONAL SERVICE AREA

ปรีดา ปะดุกา1 รุง่ ชัชดาพร เวหะชาติ 2
Preeda Paduka1 Rungchatchadaporn Vehachart2
นิสิตการศึกษามหาบณั ฑติ สาขาวชิ าการบรหิ ารการศึกษา คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั ทักษณิ 1และ
รองศาสตราจารย์ ดร. สาขาวชิ าการบรหิ ารการศึกษา คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั ทักษิณ2
[email protected] and [email protected]

บทคดั ย่อ
การวิจัยน้ีมีวัตถุประสงค์เพ่ือ 1) ศึกษาการส่งเสริมทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ของ
ผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาสตูล 2) เปรียบเทียบการ
ส่งเสริมทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่
การศึกษาประถมศึกษาสตูล ตามความคิดเห็นของครูซ่ึงจาแนกตามเพศ อายุ วุฒิการศึกษา
ประสบการณ์ในการทางาน และขนาดของสถานศึกษา กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ครูในสถานศึกษาสังกัด
สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาสตูล ประจาปีการศึกษา 2562 จานวน 320 คน กาหนด
ขนาดกลุ่มตัวอย่าง โดยการใช้สูตรคานวณของทาโร ยามาเน่ แล้วทาการสุ่มแบบแบ่งช้ัน ตามตัวแปร
ขนาดของสถานศึกษา จากน้ันใช้วิธีการสุ่มอย่างง่าย โดยวิธีการจับสลาก เครื่องมือการวิจัยเป็น
แบบสอบถาม จานวน 65 ข้อ ชนิดมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ มีค่าความเช่ือมั่นท้ังฉบับเท่ากับ
.975 สถิติท่ีใช้ไดแ้ ก่ คา่ ร้อยละ คา่ เฉล่ีย สว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐาน การทดสอบคา่ ที การทดสอบคา่ เอฟ
ผลการวจิ ัยพบว่า 1) การส่งเสริมทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 ของผู้บริหารสถานศึกษา
สังกดั สานักงานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศึกษาสตูล ในภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมากทุกด้าน
2) ผลการเปรียบเทียบการส่งเสริมทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัด
สานกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาสตูล ตามความคิดเห็นของครูซ่ึง จาแนกตามเพศ อายุ วุฒิ
การศึกษา ประสบการณ์ในการทางาน และขนาดของสถานศึกษา พบว่า ครูท่ีมีเพศ วุฒิการศึกษา
ประสบการณ์ในการทางานต่างกัน มีความคิดเห็น ในภาพรวมและรายด้านไม่แตกต่างกัน ครูท่ีมีอายุ
ต่างกัน มีความคิดเห็นในภาพรวมไม่แตกต่างกัน และเมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า ด้านการคิด
สร้างสรรค์และนวัตกรรม มีความคิดเห็นแตกต่างกัน อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 และครูท่ี
ปฏิบัติงานในสถานศึกษาขนาดต่างกัน มีความคิดเห็นในภาพรวมและรายด้านแตกต่างกัน อย่างมี
นัยสาคัญทางสถติ ทิ ีร่ ะดบั .001

คาสาคญั : การส่งเสรมิ ; ทักษะการเรียนรู้; ศตวรรษที่ 21

การประชมุ วิชาการนาเสนอผลงานวจิ ยั ระดับบณั ฑติ ศกึ ษาแหง่ ชาติ ครั้งท่ี 49 9

ABSTRACT
The objectives of this research were to study and compare the 21st century
skill enhancement of school administrators under Satun Primary Educational Service
Area based on opinions of teachers who differ in gender, age, educational level,
working experience and school size. The samples were 320 teachers in the schools
under Satun Primary Educational Service Area Office, academic year 2019 calculated
by Taro Yamane Formula. The Stratified Random Sampling by school size and Simple
Random Sampling by drawing lots were also used. The research instrument was a set
of 5 rating-scale questionnaires containing 65 questions, with reliability value at .975.
The statistics used were percentage, arithmetic means, standard deviation, t-test
dependent and F-test.
The results of the study showed that 1) the overall and individual aspects of
the 21st century skill enhancement of school administrators under Satun Primary
Educational Service Area were rated at a high level, and 2) the comparison results of
the 21st century skill enhancement of the school administrators showed that the
teachers had no different opinion towards the administrators’ enhancement both
overall and individual aspects. The teachers who differ in age had no different
opinions towards the administrators’ enhancement in overall. On the other hand, in
terms of creativity and innovation skills, the teachers had significantly different
opinion towards the administrators at .05 level. The teachers who work in different
school size had significantly different opinion towards the administrators’
enhancement both at overall and individual aspects at .001 level.

Keywords: Enhancement; Learning skills; Twenty-First Century

10 การประชมุ วิชาการนาเสนอผลงานวิจยั ระดับบณั ฑิตศึกษาแหง่ ชาติ ครัง้ ท่ี 49

การบริหารจดั การเทคโนโลยเี พอ่ื การศกึ ษาของผู้บริหารสถานศกึ ษา
สานกั งานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษานราธวิ าส เขต 1

EDUCATIONAL TECHNOLOGY ADMINISTRATIVE MANAGEMENT OF SCHOOL
ADMINISTRATORS UNDER NARATHIWAT PRIMARY EDUCATIONAL SERVICE AREA OFFICE 1

คอลฟี ะฮ์ เจ๊ะโดสามะ1 รุ่งชัชดาพร เวหะชาต2ิ
Mrs.Korleefah Jehdosama 1 Rungchatchadaporn Vehachart2
นิสิตการศึกษามหาบณั ฑติ สาขาวชิ าการบรหิ ารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยทกั ษิณ1
รองศาสตราจารย์ ดร. สาขาวชิ าการบริหารการศกึ ษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ทักษณิ 2

[email protected] 1 [email protected]

บทคดั ย่อ
ก า ร วิ จั ย น้ี มี วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค์ เ พ่ื อ ศึ ก ษ า แ ล ะ เ ป รี ย บ เ ที ย บ ก า ร บ ริ ห า ร จั ด ก า ร เ ท ค โ น โ ล ยี
เพ่ือการศึกษาของผู้บริหารสถานศึกษา สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานราธิวาส เขต 1
บนพ้นื ฐานความคดิ เหน็ ของครจู าแนกตาม เพศ วุฒิการศึกษา ประสบการณ์ในการทางาน และขนาด
สถานศึกษา ปีการศึกษา 2562 กาหนดขนาดกลุ่มตัวอย่าง โดยเทียบจากตารางสาเร็จรูปของ Krejcie
and Morgan ได้กลุ่มตัวอย่าง จานวน 327 คน โดยการสุ่มอย่างง่าย เคร่ืองมือการวิจัยเป็น
แบบสอบถามมีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ .96 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ
คา่ เฉล่ยี สว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การทดสอบคา่ เอฟ
ผลการวิจัยพบว่า ผลการศึกษาการบริหารจัดการเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาของผู้บริหาร
สถานศึกษา สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานราธิวาส เขต 1 ในภาพรวมและราย
ด้านอยใู่ นระดับปานกลาง โดยแต่ละด้านท่ีมีค่าเฉล่ียตามลาดับ ได้แก่ ด้านบุคลากร ด้านการบริหาร
จัดการอุปกรณ์เครือข่าย ด้านการบริหารจัดการอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ และด้านการบริหารจัดการ
ชุดคาสั่ง ผลการเปรียบเทียบการบริหารจัดการโดยภาพรวมไม่แตกต่างกัน และเมื่อจาแนกตามตัว
แปรอายุของครู พบว่า ครูมีระดับความคิดเห็นต่อการบริหารจัดการเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาใน
ภาพรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ .01 เมื่อพิจารณารายด้านพบว่าด้านอุปกรณ์
คอมพวิ เตอร์ ดา้ นชุดคาสัง่ ด้านอปุ กรณ์เครือขา่ ยแตกตา่ งกนั อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 ครู
ที่มีวุฒิการศึกษาต่างกันมีความคิดเห็นด้านอุปกรณ์คอมพิวเตอร์แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญท่ีระดับ
.05 ครูที่มีประสบการณ์ในการทางานต่างกันมีความคิดเห็นไม่แตกต่างกัน และครูท่ีทางานใน
สถานศึกษาทีม่ ขี นาดต่างกนั มคี วามคิดเห็นแตกตา่ งกันอย่างมีนยั สาคัญท่ีระดับ .05

คาสาคัญ: การบริหารจดั การเทคโนโลยีเพอื่ การศึกษา; ผบู้ ริหารสถานศึกษา

การประชมุ วชิ าการนาเสนอผลงานวิจัยระดบั บณั ฑิตศึกษาแหง่ ชาติ ครง้ั ท่ี 49 11

ABSTRACT
This objectives of this research were to study and compare educational
technology administrative management of school Administrators under Narathiwat
Primary Educational Service Area Office 1 based on opinions of teacher differing in
gender, educational background, work experience and school size, in academic year
2019. Specimens of the sample size was drawn Krcicic and Morgan Table. The
samples consisted of 327 people selected by Stratified Randorm Sampling. The
research instrument was a set of questionnaire with reliability value of .96. Statistics
used for data analysis were percentage, mean (X), standard deviation (SD), t-test, F-test.
The research findings showed that educational technology administrative
management of school Administrators under Narathiwat Primary Educational Service
Area Office 1 was at moderate level, in the aspects of personnel, network
management, hardware management, and software management respectively.
Overall, the administrative management was not different. The teachers differing in
age had significantly different opinions towards the administrative management at .01
level. They had different opinions towards hardware, software, and network
significantly different opinions at .05 level. The teachers having different educational
level also had different opinions towards the administrative management of
hardware significantly different opinions at .05. The teachers having different work
experiences had no different opinions, while the teachers working in different size of
schools had significantly different opinions towards the administrative management
at .05 level.

Keywords: Educational Technology Administrative Management; School Administrators

12 การประชุมวชิ าการนาเสนอผลงานวจิ ยั ระดับบัณฑติ ศกึ ษาแห่งชาติ ครัง้ ท่ี 49

ประสิทธผิ ลการบริหารงานพัสดุของผู้บรหิ ารสถานศึกษา
สงั กัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาพทั ลุง เขต 2
EFFECTIVENESS OF INVENTORY ADMINISTRATION ACCORDING UNDER
THE OFFICE OF PRIMARY EDUCATION AREA PHATTHALUNG AREA 2

ศรีสดุ า ชอบงาม 1 อมลวรรณ วรี ะธรรมโม 2
Srisuda Chobngam 1 Amonwan Werathummo 2
นิสติ การศกึ ษามหาบณั ฑติ สาขาวชิ าการบรหิ ารการศึกษา คณะศึกษาศาสาตร์ มหาวิทยาลยั ทกั ษณิ 1
ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร. สาขาวชิ าหลักสตู รและการสอน คณะศึกษาศาสาตร์ มหาวิทยาลัยทกั ษิณ2
[email protected] [email protected] 2

บทคดั ย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพ่ือศึกษาประสิทธิผลการบริหารงานพัสดุของผู้บริหาร
สถานศึกษา สังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาพัทลุง เขต 2 2) เพ่ือเปรียบเทียบ
ประสิทธิผลการบริหารงานพัสดุของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา
ประถมศึกษาพัทลุง เขต 2 จาแนกตามตัวแปรเพศ อายุ วุฒิการศึกษา ประสบการณ์ในการปฏิบัติงาน
และขนาดสถานศึกษา กลุ่มตัวอย่าง ครูสังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาพัทลุง เขต 2
ปีการศึกษา 2562 จานวน 302 คน กาหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยเทียบจากตารางสาเร็จรูปของ Krejcie
and Morgan แล้วสุ่มแบบแบ่งชั้นตามตัวแปรขนาดของสถานศึกษา จากน้ันใช้วิธีการสุ่มอย่างง่าย
โดยวิธีการจับสลาก เครื่องมือการวิจัยเป็นแบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ มีค่า
ความเชื่อม่ันท้ังฉบับเท่ากับ .962 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสาเร็จรูป สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์
ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที และการวิเคราะห์ความ
แปรปรวนแบบทางเดียว
ผลการวิจัยพบว่า 1) ประสิทธิผลการบริหารงานพัสดุของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสานักงาน
เขตพืน้ ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาพัทลุง เขต 2 ในภาพรวมท้ัง 6 ดา้ น อยู่ในระดับมาก และรายด้านทุก
ดา้ นอยใู่ นระดบั มาก 2) การเปรียบเทยี บประสทิ ธผิ ลการบรหิ ารงานพสั ดุของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัด
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพัทลุง เขต 2 พบว่าครูที่มีเพศ อายุ วุฒิการศึกษา
ประสบการณ์ในการปฏิบัติงานที่ต่างกัน มีความคิดเห็นในภาพรวมไม่แตกต่างกัน เม่ือพิจารณาราย
ด้านพบวา่ ครูทีป่ ฏิบัติงานในสถานศึกษาที่มีขนาดต่างกันมีความคิดเห็นต่อประสิทธิผลการบริหารงาน
พัสดุของผู้บรหิ ารสถานศึกษาแตกตา่ งกันอยา่ งมีนยั สาคัญทางสถิตทิ ร่ี ะดบั 0.05

คาสาคญั : ประสทิ ธิผลการบรหิ ารงาน, การบรหิ ารงานพัสดุ

การประชมุ วชิ าการนาเสนอผลงานวจิ ัยระดบั บณั ฑติ ศกึ ษาแห่งชาติ ครงั้ ท่ี 49 13

ABSTRACT
The purposes of this research were 1) study the effectiveness of the Inventory
Administration of the executives Educational institution under the Office of
Phatthalung Primary Education Service Area Office 2 and 2) compare the
effectiveness of the Inventory Administration of school administrators. under the
Phatthalung Primary Educational Service Area Office 2 Classified by variables, gender,
age, educational background, work experience And school size. The samples were
302 teachers under the Phatthalung Primary Educational Service Area Office 2,
academic year 2562. Specify the sample size by comparing the finished table of
Krejcie and Morgan and size of the school. Then use simple random methods by
lottery methods. The research instrument was a 5 rating scale questionnaire with
reliability equal to .962. Data were analyzed by using software package. The statistics
used were percentage, mean ( x ), standard deviation (SD), t - test, and F - test.
The research outcomes have been concluded 1)The effectiveness of
Inventory Administration of school administrators under the Phatthalung Primary
Educational Service Area Office 2, in overall and in each aspect , were at a high
level, and 2) The comparison of the effectiveness of Inventory Administration of the
school administrators. According under the Office of Primary Education Area
Phatthalung Area 2, found that Teachers with different gender, age, educational
background, and experience in practice had no difference in overall opinions. When
considering each aspect , it found that the teachers working in different educational
institutions There were differences the effectiveness of Inventory Administration of
school administrators at .05.

Keywords : Effectiveness Administrative, Inventory Administrative

14 การประชุมวิชาการนาเสนอผลงานวจิ ยั ระดบั บัณฑติ ศกึ ษาแหง่ ชาติ คร้งั ที่ 49

การส่งเสริมการจดั การเรียนรู้ท่เี นน้ ผู้เรยี นเปน็ สาคัญของผ้บู ริหารสถานศกึ ษา
สงั กดั สานักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 3

ENHANCEMENT OF STUDENT-CENTERED LEARNING MANAGEMENT
OF SCHOOL ADMINISTRATORS UNDER SONGKHLA PRIMARY EDUCATIONAL

SERVICE AREA OFFICE 3

รงุ่ นภา ไชยถาวร1 รุ่งชชั ดาพร เวหะชาต2ิ
Rungnapa Chaithaworn1 Rungchatchadaporn Vehachart2
นิสติ การศกึ ษามหาบณั ฑติ สาขาการบรหิ ารการศึกษา คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ทักษิณ1
รองศาสตราจารย์ ดร. สาขาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยทักษิณ2

[email protected] [email protected]

บทคัดย่อ
การวิจัยน้ีมีวัตถปุ ระสงคเ์ พ่ือ 1) ศึกษาการส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญของ
ผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 3 2) เปรียบเทียบการ
ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสานักงานเขตพื้นที่
การศึกษาประถมศกึ ษาสงขลา เขต 3 จาแนกตามตัวแปร เพศ อายุ ระดับการศึกษา ประสบการณ์ในการ
ปฏิบัติงาน และขนาดสถานศึกษา กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ครูในสถานศึกษา สังกัดสานักงานเขตพื้นที่
การศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 3 ปีการศึกษา 2562 กาหนดขนาดกลุ่มตัวอย่าง โดยใช้ตาราง
สาเร็จรูปของ Krejcie and Morgan ได้กลุ่มตัวอย่าง จานวน 335 คน โดยการสุ่มแบบแบ่งช้ัน
ตามขนาดของสถานศึกษา เครื่องมือการวิจัยเป็นแบบสอบถามที่มีค่าความเช่ือมั่นทั้งฉบับเท่ากับ .978
สถติ ทิ ใ่ี ชไ้ ดแ้ ก่ รอ้ ยละ คา่ เฉลยี่ คา่ เบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การทดสอบคา่ เอฟ
ผลการวจิ ยั พบวา่ การสง่ เสริมการจัดการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญของผู้บริหารสถานศึกษา
ตามความคิดเห็นของครู สังกัดสานักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 3 โดยภาพรวมและ
รายด้านอยู่ในระดับมาก ผลการเปรียบเทียบการส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญของ
ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา จาแนกตามตวั แปร เพศ ระดับการศึกษา ประสบการณ์ในการปฏิบัติงาน และขนาด
ของสถานศึกษา พบว่า ครูที่มีเพศ อายุ ประสบการณ์ในการปฏิบัติงาน โดยภาพรวมแตกต่างกันอย่างมี
นยั สาคัญทางสถติ ทิ ่ีระดับ .001 ส่วนครทู ีป่ ฏบิ ัติงานในสถานศึกษาขนาดต่างกัน มีความแตกต่างกันอย่าง
มีนัยสาคญั ทางสถติ ทิ ่รี ะดับ .01 และครูทม่ี ีระดับการศึกษาแตกต่างกนั พบวา่ ในภาพรวมไมแ่ ตกต่างกัน

คาสาคัญ: การส่งเสริม, การจัดการเรียนร้,ู เน้นผู้เรยี นเปน็ สาคัญ

การประชุมวิชาการนาเสนอผลงานวจิ ยั ระดับบณั ฑิตศึกษาแหง่ ชาติ คร้งั ท่ี 49 15

ABSTRACT
The objectives of this research were to 1) study the enhancement of student-
centered learning management of school administrators under the Office of Songkhla
Educational Service Area Office 3, and 2) compare the learning management
enhancement of school administrators under the Office of Songkhla Educational
Service Area, Area 3 based on the opinions of teachers differing in gender, age,
educational level, work experience, and school size. The research sample included
teachers in the schools under Songkhla Primary Educational Service Area Office 3 in
academic year 2019. The sample size was specified by Krejcie and Morgan Table
obtaining 335 teachers as the research sample drawn by Stratified Random Sampling
based on school size. The research instrument was a questionnaire with confidence
level at .978. The statistics used were percentage, mean ( x ), standard deviation (SD),
t - test, and F - test.
The research found that the enhancement of student-centered learning
management of school administrators based on the opinions of teachers under the
Songkhla Educational Service Area Office 3, in overall and in individual aspects, were
at a high level. The comparison results of the student-centered learning
management promotion of school administrators based on the opinions of teachers
of different genders, educational levels, work experiences, and the sizes of school
found that the teachers having different genders, ages, and work experiences had
significantly different opinions at .001. The teachers working in different school sizes
had significantly different opinion at .01 level, while the teachers having educational
level revealed no difference of opinion.

Keywords: Enhancement, Learning management, Student-Centered

16 การประชมุ วชิ าการนาเสนอผลงานวิจยั ระดบั บัณฑติ ศกึ ษาแหง่ ชาติ คร้ังท่ี 49

ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งการบริหารทรพั ยากรทางการศึกษากบั ประสิทธิผลของ
โรงเรยี นประถมศกึ ษาขนาดเลก็ สังกดั สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศกึ ษาสงขลา เขต 3
THE RELATIONSHIP BETWEEN EDUCATIONAL RESOURCE MANAGEMENT AND THE
EFFECTIVENESS OF SMALL ELEMENTARY SCHOOL UNDER THE EDUCATIONAL

SERVICE AREA OFFICE PRIMARY SCHOOL SONGKHLA, AREA 3

ณภทั ร เนอื่ งศรี 1 สุนทรี วรรณไพเราะ2
Napath Nueangsri1 and Suntaree Wannapairo2
นิสติ การศึกษามหาบณั ฑติ สาขาวชิ าการบริหารทางการศึกษา คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยทกั ษิณ 1
อาจารย์ ดร. สาขาวชิ าการบริหารทางการศึกษา คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ทักษณิ 2
[email protected] 1 and [email protected]

บทคดั ยอ่
การวิจัยน้ีมีวัตถุประสงค์เพ่ือ 1) ศึกษาการบริหารทรัพยากรทางการศึกษา สังกัดสานักงาน
เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 3 2) ศึกษาการประสิทธิผลของโรงเรียนประถมศึกษา
ขนาดเล็ก สงั กัดสานกั งานเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 3 และ 3) ศึกษาความสัมพันธ์
ระหว่างการบริหารทรัพยากรทางการศึกษาและประสิทธิผลของโรงเรียนประถมศึกษาขนาดเล็ก
สังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 3 จาแนกตามตัวแปร ด้านการบริหาร
ทรัพยากรบุคคล ด้านการบริหารงบประมาณ ด้านการบริหารวัสดุอุปกรณ์ และด้านการบริหารการ
จัดการ ประชากรเป็นครู โรงเรียนประถมศึกษาขนาดเล็ก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษาสงขลา เขต 3 ปีการศึกษา 2562 จานวน 70 โรงเรียน จานวนครู 688 คน กลุ่ม
ตัวอย่างเป็น ครู โรงเรียนประถมศึกษาขนาดเล็ก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
สงขลา เขต 3 ปีการศึกษา 2562 จานวน 248 คน การกาหนดขนาดกลุ่มตัวอย่าง ใช้การเทียบจาก
ตารางสาเร็จรูปของ เครจซี่ และมอร์แกน (1970) โดยการสุ่มแบบแบ่งชั้น ตามอาเภอ 5 อาเภอของ
สถานศึกษา จากนั้นสุ่มอย่างง่าย โดยวิธีการจับสลากเคร่ืองมือการวิจัยเป็นแบบสอบถาม มีค่าความ
เชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ 0.757 สถิติที่ใช้ในการการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉล่ีย ค่า
เบย่ี งเบนมาตรฐาน และค่าสัมประสิทธ์ิสหสัมพนั ธ์แบบเพยี ร์สนั
ผลการวิจยั พบว่า 1) การบริหารทรัพยากรทางการศกึ ษา สังกดั สานักงานเขตพ้ืนที่การ ศึกษา
ประถมศึกษาสงขลา เขต 3 โดยภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก 2) ประสิทธิผลของโรงเรียน
ประถมศึกษาขนาดเล็ก สังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 3 พบว่าโดย
ภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก และ 3) การบริหารทรัพยากรทางการศึกษา โดยภาพรวมมี
ความสมั พนั ธ์ทางบวก กบั ประสิทธิผลของโรงเรียนประถมศึกษาขนาดเล็ก อยู่ในระดับสูง (r = .833**) อย่างมี
นัยสาคญั ทางสถิตทิ ร่ี ะดบั .01

คาสาคัญ: การบริหารทรัพยากรทางการศกึ ษา; ประสทิ ธิผลของโรงเรยี น

การประชมุ วชิ าการนาเสนอผลงานวจิ ัยระดับบณั ฑิตศึกษาแห่งชาติ คร้ังท่ี 49 17

ABSTRACT
The objectives of the research were 1) to study the administration of educational
resources Under the Office of Songkhla Primary Educational Service Area 3 2) to study the
effectiveness of small elementary schools Under the Office of Songkhla Educational Service Area
3 and 3) to study the relationship between educational resource management and effectiveness
of small elementary schools Under the Office of Songkhla Educational Service Area 3 Academic
year 2019, amount 248 persons, specifying sample size By comparing the finished tables of
Krejcie and Morgan (1970) by stratified random sampling in 5 districts of the school Then,
randomly selected (Sample Random Sampling) by using the research lottery as a questionnaire.
The reliability of the whole model was 0.757. The statistics used for data analysis were
percentage, mean, standard deviation. And the Pearson product moment correlation coefficient.
The results of study presented that 1) Educational resource management Under
the Office of The study of Songkhla primary education area 3 in overall and in each aspect was
at a high level. 2) The effectiveness of small elementary schools. Under the Office of Songkhla
Primary Educational Service Area 3, it was found that overall and each aspect were at a high
level and 3) educational resource management Overall, there is a positive relationship. And the
effectiveness of small elementary schools Was at a high level (r = .833 **) with statistical
significance at the level of .01

Keywords : The educational resource management; The effectiveness of Small
elementary school

18 การประชุมวชิ าการนาเสนอผลงานวจิ ัยระดบั บัณฑติ ศกึ ษาแหง่ ชาติ คร้งั ที่ 49

การดาเนินงานตามแนวทางสะเตม็ ศึกษา ของผู้บริหารโรงเรียนเครือข่าย
สังกัดสานักงานเขตพ้นื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาชุมพร เขต 2

STEM EDUCATION OPERATION OF SCHOOL ADMINISTRATORS UNDER
CHUMPON PRIMARY EDUCATIONAL SERVICE AREA OFFICE 2

อรรวี เกยี รติไพศาลโสภณ1 ร่งุ ชัชดาพร เวหะชาต2ิ
Onravee Kiatpaisansopon 1 Rungchatchadaporn Vehachart 2
นิสิตการศกึ ษามหาบณั ฑติ สาขาการบริหารการศกึ ษา คณะศกึ ษาศาสาตร์ มหาวิทยาลยั ทักษิณ1
รองรองศาสตราจารย์ ดร. สาขาการบริหารการศึกษา คณะศกึ ษาศาสาตร์ มหาวทิ ยาลัยทักษณิ 2

[email protected] [email protected]

บทคัดย่อ
งานวิจัยน้ีมีวัตถุประสงค์เพ่ือศึกษาการดาเนินงานตามแนวทางสะเต็มศึกษา ของผู้บริหาร
โรงเรียนเครอื ข่าย สงั กัดสานกั งานเขตพืน้ ที่การศกึ ษาประถมศึกษาชุมพร เขต 2 และเพ่ือเปรียบเทียบ
การดาเนินงานตามแนวทางสะเต็มศึกษา ของผู้บริหารโรงเรียนเครือข่าย สังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่
การศึกษาประถมศึกษาชุมพร เขต 2 จาแนกตาม เพศ อายุ วุฒิการศึกษา ประสบการณ์
การปฏิบัติงาน และขนาดสถานศึกษา กลุ่มตัวอย่างเป็นครูที่ปฏิบัติการสอนในโรงเรียนเครือข่ายที่
จดั การเรยี นรู้ตามแนวทางสะเตม็ ศกึ ษา สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชุมพร เขต 2
จานวน 226 คน กาหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างจากตารางสาเร็จรูปของ Krejcie and Morgan (1970)
แล้วสุ่มแบบแบ่งชั้น ตามขนาดสถานศึกษา แล้วใช้วิธีการสุ่มอย่างง่าย โดยวิธีการจับสลาก เครื่องมือ
การวจิ ยั เปน็ แบบสอบถามประมาณคา่ 5 ระดบั มีค่าความเชอื่ มัน่ ท้ังฉบับเทา่ กับ .985 สถิติที่ใช้ในการ
วิเคราะหข์ ้อมลู ได้แก่ คา่ ร้อยละ คา่ เฉล่ยี คา่ เบ่ยี งเบนมาตรฐาน การทดสอบคา่ ที การทดสอบคา่ เอฟ
ผลการวิจัยพบว่า 1) การดาเนินงานตามแนวทางสะเต็มศึกษา ของผู้บริหารโรงเรียนเครือข่าย
สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชุมพร เขต 2 โดยภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง
2) ผลการเปรียบเทียบความคิดเห็นเกี่ยวกับการดาเนินงานตามแนวทางสะเต็มศึกษาของผู้บริหาร
โรงเรียนเครือข่าย สังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาชุมพร เขต 2 พบว่า ครูท่ีมี เพศ
อายุ วุฒิการศึกษา ประสบการณ์ในการปฏิบัติงานต่างกันมีความคิดเห็นเก่ียวกับการดาเนินงานตาม
แนวทางสะเตม็ ศกึ ษา ของผู้บริหารโรงเรยี นเครือขา่ ย สังกดั สานกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษา
ชุมพร เขต 2 ในภาพรวมไม่แตกต่างกัน แต่ครูท่ีปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาขนาดต่างกัน มีความ
คิดเหน็ ในภาพรวมแตกต่างกนั อย่างมนี ยั สาคญั ทางสถิตทิ ีร่ ะดบั .001

คาสาคญั : สะเต็มศกึ ษา; การดาเนนิ งาน

การประชมุ วชิ าการนาเสนอผลงานวจิ ัยระดับบัณฑติ ศกึ ษาแหง่ ชาติ ครั้งที่ 49 19

ABSTRACT
The objectives of this research were to study and compare STEM education
operation of school administrators under Chumphon Primary Educational Service Area
Office 2 based on opinions of teachers differing in gender, age, work experiences,
education level, and school size. The samples consisted of 226 teachers working in
schools under Chumphon Primary Educational Service Area Office 2. The sample size
was derived from the table of Krejcie and Morgan;then through stratified random
sampling by school size and finally drawn by simple random sampling. The research
instrument was a set of 5 rating-scale questionnaires with reliability vale of .985. The
data was analyzed by percentage, means, standard deviation t-test, and F-test.
The research found that 1) overall aspect, the STEM education operation of
school administrators under Chumphon Primary Educational Service Area Office 2 was at
a medium level, 2) overall and each individual aspect, the teachers differing in gender,
age, work experiences, and education level had no different opinions towards the STEM
education operation of school administrators under Chumphon Primary Educational
Service Area Office 2 while the teachers working in different school sizes had statistically
significant different opinion towards the STEM education operation of school
administrators at .001 level.

Keywords: STEM Education; Operation

20 การประชุมวิชาการนาเสนอผลงานวจิ ัยระดบั บณั ฑติ ศึกษาแหง่ ชาติ คร้งั ที่ 49

พฤตกิ รรมภาวะผนู้ าท่ีแท้จริงของผบู้ ริหารโรงเรียน
สังกดั สานกั งานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาในจงั หวัดสงขลา
THE AUTHENTIC LEADERSHIP BEHAVIORS OF SCHOOL ADMINISTRATORS
UNDER THE PRIMARY EDUCATIONAL SERVICE AREA OFFICE IN SONGKHLA PROVINCE

ศรุตพิ งศ์ ภวู ัชร์วรานนท1์
Saruthipong Bhuwatvaranon1
คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภัฏสงขลา1
Corresponding author, [email protected]

บทคดั ยอ่
การวิจัยเรื่องพฤติกรรมภาวะผู้นาท่ีแท้จริงของผู้บริหารโรงเรียนสังกัดสานักงา นเขตพื้นที่
การศึกษาประถมศึกษาในจังหวัดสงขลา มีวัตถุประสงค์ เพื่อเปรียบเทียบพฤติกรรมภาวะผู้นาท่ี
แท้จริงตามตัวแปร เพศ อายุ วุฒิการศึกษา และประสบการณ์การทางานขณะดารงตาแหน่ง ของ
ผู้บริหารโรงเรียน สังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาในจังหวัดสงขลา กลุ่มตัวอย่างท่ีใช้
ในการวิจัยคร้ังนี้คือผู้บริหารโรงเรียน จานวน 214 คน เคร่ืองมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามมาตราส่วน
ประมาณคา่ 5 ระดับ โดยแบบสอบถามเป็นแบบสารวจรายการ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่
ความถี่ ค่าร้อยละ คา่ เฉล่ยี และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน คา่ ที และการวิเคราะหค์ วามแปรปรวน
ผลการวจิ ัยพบว่า ผลการเปรียบเทยี บพฤตกิ รรมภาวะผู้นาที่แท้จริงของผู้บริหารโรงเรียนตาม
ตวั แปร เพศ อายุ วฒุ กิ ารศึกษา และประสบการณใ์ นการดารงตาแหน่ง พบว่า (1) ผู้บริหารโรงเรียนที่
มีเพศแตกต่างกันจะมีพฤติกรรมภาวะผู้นาที่แท้จริงไม่แตกต่างกัน (2) ผู้บริหารโรงเรียนท่ีมีอายุ
แตกตา่ งกันจะมพี ฤติกรรมภาวะผู้นาทีแ่ ทจ้ ริงแตกต่างกันทีร่ ะดับนัยสาคัญ .01 (3) ผู้บริหารโรงเรียนท่ี
มีวุฒิการศึกษาแตกต่างกันจะมีพฤติกรรมภาวะผู้นาที่แท้จริงไม่แตกต่างกัน (4) ผู้บริหารโรงเรียนท่ีมี
ประสบการณ์ในการดารงตาแหน่งแตกต่างกันจะมีพฤติกรรมภาวะผู้นาที่แท้จริงแตกต่างกันท่ีระดับ
นยั สาคญั .01

คาสาคญั : ภาวะผ้นู าท่ีแท้จริง

การประชุมวชิ าการนาเสนอผลงานวิจยั ระดบั บัณฑิตศกึ ษาแหง่ ชาติ ครงั้ ท่ี 49 21

ABSTRACT
The study of Authentic leadership behaviors of school administrators under The
Authentic Leadership Behaviors of School Administrators under the Primary Educational
Service Area Office in Songkhla Province aimed to compare authentic leadership behaviors
according to variables of genders, ages, educational levels, and working experiences while
holding the positions of school administrators under the Primary Educational Service Area
Office in Songkhla Province. The number of 214 school administrators was used as a
sample group. Instrument used was a 5 - level rating scale questionnaire. The instrument
was a check list questionnaire. Statistical analyses used were frequency, percentage,
means, standard deviation, t-test, and analysis of variance (ANOVA).
The study found the followings. The study compared authentic leadership
behaviors of school administrators according to variables of genders, ages, educational
levels, and working experiences while holding the positions of school administrators and
found the followings. (1) School administrators with different genders would have no
significant different values of authentic leadership behaviors. (2) School administrators with
different ages would have significant different values of authentic leadership behaviors at
.01. (3) School administrators with different educational levels would have no significant
different values of authentic leadership behaviors. (4) School administrators with different
working experiences while holding the positions would have significant different values of
authentic leadership behaviors at .01.

Keywords: Authentic Leadership

22 การประชุมวิชาการนาเสนอผลงานวิจยั ระดับบณั ฑิตศึกษาแหง่ ชาติ คร้งั ที่ 49

การศกึ ษาภาวะผนู้ าเชิงสร้างสรรค์ของผูบ้ ริหารสถานศกึ ษา
สังกัดสานกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษายะลา เขต3
A STUDY OF THE CREATIVE LEADERSHIP OF THE SCHOOL ADMINISTRATORS
UNDER YALA PRIMARY EDUCATIONAL SERVICE AREA OFFICE 3

อัยรีน สมาแอ1 ตรยั ภมู นิ ทร์ ตรตี รีศวร2
Airin Samaae1 Traipumin Tritrisaon2
สาขาวิชาการบรหิ ารการศึกษา คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั หาดใหญ่1
สาขาวิชาการบรหิ ารการศึกษา คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยหาดใหญ่2
Corresponding author,[email protected] [email protected]

บทคัดย่อ
การวิจัยน้ีมีวัตถุประสงค์เพ่ือศึกษา เปรียบเทียบ และรวบรวมข้อเสนอแนะภาวะผู้นาเชิง
สร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษายะลา เขต 3
ตัวแปรวุฒิการศึกษา ประสบการณ์การปฏิบัติงานและขนาดของสถานศึกษา กลุ่มตัวอย่าง คือ
ครูผู้สอน สังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษายะลา เขต 3 จานวน 242 คน ด้วยวิธีการ
สมุ่ ตวั อยา่ งแบบหลายขัน้ ตอน เครอ่ื งมือในการวจิ ัยเป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ
และแบบสอบถามปลายเปิด มีค่าความเช่ือม่ันเท่ากับ .81 สถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าร้อยละ
คา่ เฉล่ีย ค่าความเบย่ี งเบนมาตรฐาน การทดสอบคา่ ที การทดสอบค่าเอฟ
ผลการวจิ ยั พบวา่
1. ภาวะผู้นาเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษายะลา เขต 3 ภาพรวมอย่ใู นระดับมาก
2. การเปรียบเทียบภาวะผู้นาเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสานักงาน
เขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศึกษายะลา เขต 3 ทมี่ ีวุฒกิ ารศกึ ษา ประสบการณก์ ารปฏิบัติงานและขนาด
ของสถานศึกษา ต่างกันมีความคิดเห็นต่อภาวะผู้นาเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษา
โดยภาพรวมไม่แตกต่างกัน

คาสาคัญ: ภาวะผนู้ าเชิงสร้างสรรค์, ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา, สานักงานเขตพื้นทีก่ ารศึกษา
ประถมศกึ ษายะลา เขต 3

การประชมุ วชิ าการนาเสนอผลงานวิจยั ระดบั บณั ฑิตศกึ ษาแหง่ ชาติ ครงั้ ที่ 49 23

ABSTRACT
The objective of this research are: 1) to study Creative leadership of school
administrators 2) to compare Creative leadership of school administrators and 3) to
Gather suggestions Creative leadership of school administrators for Yala Primary
Educational Service Area Office 3 teachers consist of educational background,
experience and school size.
The sample consist of 242 of Yala Primary Educational Service Area Office 3
teachers, Selected via multi-stage random sampling. The instrument were as follows:
questionnaire consist of rating scale and Open-ended questionnaire. the reliability
was 0.81. The research was analyzed by frequency, mean, standard division t-test
and F-test.
The results of this research were as follows:
1. Creative leadership of school administrators for Yala Primary Educational
Service Area Office 3 teachers is high level.
2. comparing Creative leadership of school administrators of Yala Primary
Educational Service Area Office 3 teachers consist of educational background,
experience and school size were no statistically significant difference.

Keywords: Creative Leadership, Administrators, Yala Primary Educational Service
Area Office 3

24 การประชมุ วิชาการนาเสนอผลงานวจิ ยั ระดบั บัณฑติ ศึกษาแหง่ ชาติ ครั้งที่ 49

การพัฒนาสอ่ื มัลตมิ ีเดียเร่ืองช้ินสว่ นของเคร่อื งยนต์ ในรายวชิ างานเคร่ืองยนตแ์ กส๊ โซลนี
สาหรับของนักเรยี นระดบั ประกาศนียบตั รวชิ าชีพ ชัน้ ปีท่ี 1 วทิ ยาลัยการอาชพี เวียงสระ

THE DEVELOPMENT OF MULTIMEDIA ON ENGINE COMPONENTS
IN GASOLINE ENGINE FOR VOCATIONAL CERTIFICATE STUDENT 1 AUTOMATIC
DEPARTMENT, WEINGSRA INDUSTRIAL AND COMMUNITY EDUCATION COLLEGE

ธนวนั ต์ บญุ มาก1 วรสิทธ์ิ คงประเสริฐ 2 เลศิ พร อุดมพงษ์ 3
Tanawan Boonmark 1 Worasit Khongprasert 2 Lertporn Udompong 3

ภาควิชาประกาศนยี บัตรบัณฑติ คณะศลิ ปะศาสตร์ มหาวิทยาลัยตาปี
[email protected] and [email protected]

บทคดั ยอ่
การวิจัยน้ีมีวัตถุประสงค์เพ่ือ 1) พัฒนาส่ือมัลติมีเดียเรื่องช้ินส่วนของเครื่องยนต์โดยมี
องค์ประกอบข้อความหรือตัวอักษร ภาพน่ิง เสียง ภาพวิดีโอ สาหรับนักเรียนระดับประกาศนียบัตร
วิชาชีพช้ันปี่ท่ี 1 2) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีท่ี 1
ก่อนและหลังได้รับการสอนโดยใช้ส่ือมัลติมีเดี่ยเร่ืองช้ินส่วนของเคร่ืองยนต์ และ 3) ศึกษาคะแนน
พัฒนาการสัมพัทธ์ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันปีท่ี 1 ที่เรียนโดยใช้ส่ือมัลติมีเดีย
เร่ืองช้ินส่วนของเคร่ืองยนต์ ประชากร คือ นักเรียนช้ันประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 แผนกวิชา
ช่างยนต์ วิทยาลัยการอาชีพเวียงสระ จานวน 30 คน กลุ่มตัวอย่างคือนักเรียนชั้นประกาศนียบัตร
วชิ าชีพ ช้นั ปที ี่ 1 แผนกวชิ าชา่ งยนต์ วิทยาลยั การอาชีพเวียงสระ จานวน 14 คน ซ่ึงได้มาจากการสุ่ม
อย่างง่าย เครื่องมือท่ีใช้ในการวิจัยประกอบด้วยแผนการสอน จานวน 1 แผน สื่อมัลติมีเดียชิ้นส่วน
ของเครอ่ื งยนต์แก๊สโซลีน และแบบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น ซงึ่ เป็นแบบทดสอบแบบปรนัย จานวน
20 ข้อ ซึง่ ได้ผ่านการตรวจสอบเครื่องมือโดยผู้เชี่ยวชาญโดยแผนการสอนมีคุณภาพอยู่ในระดับดีมาก
( ̅= 3.79) และแบบทดสอบมีคุณภาพเป็นไปตามเกณฑ์ โดยมีค่า IOC อยู่ระหว่าง 0.67 - 1.00 ค่า
ความยากอยู่ระหว่าง 0.30 – 0.80 ค่าอานาจจาแนกอยู่ระหว่าง 0.30 -0.60 และค่าความเท่ียงท้ัง
ฉบับโดยมีสัมประสิทธ์ิแอลฟา เท่ากับ 0.80 การวิเคราะห์ข้อมูล ใช้ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน
มาตรฐาน คะแนนพัฒนาการสัมพัทธ์ ค่าประสิทธิภาพ ค่าดัชนีประสิทธิผล และการวิเคราะห์ทางสถิติที
แบบ One Group Pretest – Postest Design
ผลวิจัยพบว่า ส่ือมัลติมีเดียเรื่องช้ินส่วนของเครื่องยนต์มีองค์ประกอบข้อความหรือตัวอักษร
ภาพนิ่ง เสียง ภาพวิดีโอ มีค่าประสิทธิภาพของสื่อ (E1/E2) เท่ากับ 81.66/89.25 และค่าดัชนี
ประสิทธิผล (E.I.) เท่ากับ 0.8 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนของนักเรียนระดับประกาศนียบัตร
วิชาชีพชั้นป่ีท่ี 1 หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญท่ีระดับ .05 และนักเรียนมีคะแนน
พฒั นาการสมั พทั ธร์ ้อยละ 80.40

คาสาคญั : สอื่ มลั ติมเี ดีย,ชน้ิ สว่ นของเคร่ืองยนต์, เคร่อื งยนตแ์ ก๊สโซลีน

การประชมุ วิชาการนาเสนอผลงานวิจัยระดบั บณั ฑติ ศกึ ษาแหง่ ชาติ ครัง้ ที่ 49 25

ABSTRACT
The objective of this research was 1) Develop multimedia media about parts of
engines with text elements Or still images, audio, video, for the 1st year vocational
certificate students, 2) To compare the achievement of the first year vocational certificate
students Before and after being taught using multimedia media about engine parts. 3) To
study the relative development scores of the first year vocational certificate students That
is studied by using multimedia about engine parts. The population used in this research, is
certificate student 1 Automatic Department of 30 students. The simple consist of 14
certificate student 1 of Automatic Department that was selected by cluster random
sampling. The instrument used composed of 1) multimedia on Engine Components In
Gasoline Engine for Vocational Certificate Student 1 Automatic Department, Weingsra
Industrial and Community Education College 2) multiple choice achievement test 20 items
3) lesson plane on Engine Components . The data analysis used were percentage,
arithmetic mean, standard deviations and Growth Score.
The research found that the multimedia content of the engine components
consists of text or text elements, still images, audio, video images. indicated the efficiency
of 81.66/89.25, the effectiveness index (E.I.) is 0.8 and the learner’s achievement by
multimedia on Engine Components was higher after learning than before it at the .05 level
And the students had a relative development score of 80.40 percent.

Keywords: The Development of Multimedia, Engine parts, Gasoline Engine

26 การประชุมวิชาการนาเสนอผลงานวจิ ัยระดบั บัณฑติ ศกึ ษาแหง่ ชาติ ครัง้ ท่ี 49

การใชแ้ หลง่ เรียนรู้ชมุ ชนในการจัดการเรยี นการสอนของครผู ู้สอนในสถานศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน
สงั กัดสานักงานเขตพนื้ ทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาตรัง เขต 1

COMMUNITY LEARNING RESOURCES FOR LEARNING MANAGEMENT OF TEACHERS
IN PRIMARY EDUCATION, TRANG PRIMARY EDUCATIONAL SERVICE AREA OFFICE 1

ษรวดี จาปา1 ศัจนนั ท์ แก้ววงศศ์ รี2
Sornwadee Jumpa 1 Sajanun Kheowvongsri2
สาขาวชิ าการบรหิ ารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยหาดใหญ1่ ,2
[email protected] [email protected]

บทคัดยอ่
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพ่ือศึกษาการใช้แหล่งเรียนรู้ชุมชนในการจัดการเรียนการสอนของ
ครูผู้สอนในสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน สังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1 และ
เปรียบเทียบการใช้แหล่งเรียนรู้ชุมชนในการจัดการเรียนการสอนขอ งครูผู้สอนในสถานศึกษาขั้น
พ้ืนฐาน สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1 จาแนกตามประสบการณ์สอน
ขนาดของโรงเรียน และกลุ่มสาระการเรียนรู้ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ครูผู้สอนใน
สถานศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน สังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1 ปีการศึกษา 2561
จานวน 274 คน เครื่องมือท่ีใช้ในการวิจัยได้แก่ แบบสอบถาม ซึ่งมีค่าความน่าเช่ือมั่นเท่ากับ 0.966
สถิติท่ีใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์
เปรยี บเทียบโดยนาคา่ เฉล่ียมาทดสอบดว้ ยสถติ ิ
ผลการวิจัยพบว่า 1) การใช้แหล่งเรียนรู้ชุมชนในการจัดการเรียนการสอนของครูผู้สอนใน
สถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน สังกัดสานักงานเขตพน้ื ทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาตรัง เขต 1 โดยภาพรวมอยู่ใน
ระดับมาก (Χ̅=4.12, S.D.= 0.762) 2) ผลการเปรียบเทียบเปรียบเทียบการใช้แหล่งเรียนรู้ชุมชนใน
การจัดการเรียนการสอนของครูผู้สอนในสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน สังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา
ประถมศึกษาตรงั เขต 1 พบวา่ ครผู สู้ อนในสถานศึกษาข้ันพน้ื ฐาน สงั กัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา
ประถมศึกษาตรัง เขต 1 ท่ีมีขนาดของโรงเรียน และ กลุ่มสาระการสอน แตกต่างกันมีการใช้แหล่ง
เรียนรู้ชุมชนในการจัดการเรียนการสอนแตกต่างกัน อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 ส่วน
ครูผู้สอนในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1 ที่มี
ประสบการณส์ อนแตกต่างกนั มีการใช้แหล่งเรยี นรูช้ ุมชนในการจัดการเรยี นการสอนไม่แตกตา่ งกัน

คาสาคัญ: แหล่งเรยี นรู้ชุมชน, การจดั การเรียนการสอน, สถานศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน

การประชุมวชิ าการนาเสนอผลงานวจิ ัยระดบั บณั ฑติ ศกึ ษาแหง่ ชาติ ครงั้ ท่ี 49 27

ABSTRACT
This research aimed to study the use of community learning resources for
learning management of teachers in primary education, Trang Primary Educational
Service Area Office 1, and compare to community learning resources for learning
management of teachers in primary education, Trang Primary Educational Service
Area Office 1 by teaching experience, school size and learning areas. The sample
used in this study was 247 teacher in primary education, Trang Primary Educational
Service Area Office 1, academic calendar 2018. The research instrument was a
questionnaire. Cronbach’s alpha tests were conducted on the items, Cronbach’s
alpha of 0.966 was foud. The data were analyzed by the statistics of percentage,
mean, standard deviation and F-test
The results were as follows: 1) the use of community learning resources for
learning management of teachers in primary education, Trang Primary Educational
Service Area Office 1 were at high level. (Χ̅=4.12, S.D.= 0.762) 2) The compare to
community learning resources for learning management of teachers in primary
education, Trang Primary Educational Service Area Office 1 showed that teachers in
primary education, Trang Primary Educational Service Area Office 1 with different
school size and learning areas have difference in use of community learning
resources for learning management with significance level at .05, however, there is
no difference in teaching experience.

Keywords: Community Learning Resources, Learning Management, primary education

28 การประชมุ วิชาการนาเสนอผลงานวิจยั ระดบั บณั ฑติ ศึกษาแห่งชาติ คร้งั ที่ 49

สภาพการเป็นองคก์ ารแหง่ การเรยี นรู้ของสถานศึกษา
สังกดั สานกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศกึ ษายะลา เขต 3
THE CONDITION OF LEARNING ORGANIZATION OF SCHOOL
UNDER THE YALA PRIMARY EDUCATIONAL SERVICE AREA OFFICE 3

สุจิรา แวอาแซ1 ตรัยภมู นิ ทร์ ตรตี รีศวร2
Sujira Wae-arsae1 Traipumin Tritrisaon2
สาขาวชิ าการบรหิ ารการศึกษา คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยหาดใหญ่1,2
[email protected] [email protected]

บทคดั ย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพ่ือศึกษา เปรียบเทียบ และรวบรวมข้อเสนอแนะสภาพการเป็น
องค์การแหง่ การเรียนรู้ของสถานศึกษา สังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษายะลา เขต 3
ตัวแปร ประสบการณ์ในการสอน ระดับการศึกษา และขนาดของสถานศึกษา กลุ่มตัวอย่าง คือ
ครูผู้สอน สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษายะลา เขต 3 จานวน 242 คน ด้วยวิธีการ
ส่มุ ตวั อย่างแบบหลายขน้ั ตอน เครื่องมือในการวิจยั เปน็ แบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ
และแบบสอบถามปลายเปดิ มคี า่ ความเชอื่ ม่นั เท่ากบั .97 สถติ ิทใี่ ช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ ค่าร้อยละ
ค่าเฉลีย่ คา่ ความเบีย่ งเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที และการทดสอบค่าเอฟ
ผลการวิจยั พบว่า
1. สภาพการเปน็ องคก์ ารแหง่ การเรียนรู้ของสถานศึกษา สังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา
ประถมศกึ ษายะลา เขต 3 พบว่า โดยภาพรวมอยูใ่ นระดบั มาก
2. การเปรียบเทียบสภาพการเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของสถานศึกษา สังกัดสานักงาน
เขตพืน้ ท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษายะลา เขต 3 ทม่ี ีประสบการณใ์ นการสอน ระดับการศึกษา และขนาด
ของสถานศึกษาต่างกัน มีความคิดเห็นต่อสภาพการเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของสถานศึกษา
โดยภาพรวมไมแ่ ตกต่างกัน

คาสาคัญ: องค์การแห่งการเรียนร,ู้ สานกั งานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษายะลา เขต 3

การประชมุ วิชาการนาเสนอผลงานวจิ ัยระดับบัณฑติ ศกึ ษาแหง่ ชาติ ครง้ั ท่ี 49 29

ABSTRACT
The objective of this research are: 1) to study Learning Organization of school
teachers 2) to compare Learning Organization of school teachers and 3) to Gather
suggestions Learning Organization of school teachers for Yala Primary Educational
Service Area Office3 teachers consist of educational background ,experience and
school size. The sample consist of 242 of Yala Primary Educational Service Area
Office3 teachers, Selected via multi-stage random sampling. The instrument were as
follows: questionnaire consist of rating scale and Open-ended questionnaire. the
reliability was 0.97 The research was analyzed by frequency, mean, standard division
t-test and F-test.
The results of this research were as follows:
1. Learning Organization of school teachers for Yala Primary Educational
Service Area Office 3 teachers is high level.
2. Comparing Learning Organization of school teachers of Yala Primary
Educational Service Area Office3 teachers consist of educational background,
experience and school size were no statistically significant difference.

Keywords: Learning Organization, Yala Primary Educational Service Area Office3

30 การประชุมวชิ าการนาเสนอผลงานวจิ ัยระดับบณั ฑิตศกึ ษาแหง่ ชาติ คร้ังที่ 49

ภาวะผู้นาการเปล่ยี นแปลงของผ้บู ริหารสถานศึกษากับการเปน็ องค์กรแห่งการเรยี นรู้
ของสถานศกึ ษา สงั กัดสานกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศกึ ษายะลา เขต 3

TRANSFORMATIONAL LEADERSHIP OF SCHOOL ADMINISTRATORS AFFECTING THE
LEARNING ORGANIZATION OF INSTITUTIONS UNDER THE OFFICE OF YALA
PRIMARY EDUCATIONAL SERVICE AREA 3

หนง่ึ ฤทยั เลีย้ งพันธุ์สกลุ 1 ศจั นันท์ แก้ววงศศ์ รี2
Nuengrutai Liangpansakul 1 Sajanun Kheowvongsri2

สาขาวิชาการบรหิ ารการศกึ ษา มหาวทิ ยาลยั หาดใหญ่ 1,2
[email protected] [email protected]

บทคดั ย่อ
การวิจัยคร้ังน้ีมีวัตถุประสงค์ 1) เพ่ือศึกษาภาวะผู้นาการเปล่ียนแปลงของผู้บริหาร
สถานศึกษา สังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษายะลา เขต 3 2) เพ่ือศึกษาการเป็น
องค์กรแห่งการเรียนรู้ของสถานศึกษา สังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษายะลา เขต 3
3) เพอ่ื ศึกษาความสัมพนั ธข์ องภาวะผ้นู าการเปลย่ี นแปลงของผู้บรหิ ารสถานศึกษา กับการเป็นองค์กร
แห่งการเรียนรู้ของสถานศึกษา สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษายะลา เขต 3 กลุ่ม
ตวั อยา่ งเป็น ครผู ู้สอนจานวน 238 คน ที่ปฏิบตั งิ านในสถานศกึ ษา สงั กัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา
ประถมศกึ ษายะลา เขต 3 เก็บรวบรวมขอ้ มลู ด้วยแบบสอบถาม สถิติท่ีใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่
คา่ ร้อยละ คา่ เฉลย่ี สว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสมั ประสทิ ธส์ิ หสัมพนั ธ์แบบเพยี รส์ ัน
ผลการวิจัยพบว่า (1) ภาวะผู้นาการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสานักงาน
เขตพนื้ ทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษายะลา เขต 3 ตามความคิดเหน็ ของครูผู้สอนสถานศึกษา โดยภาพรวม
อยู่ในระดบั มาก (2) การเป็นองคก์ รแห่งการเรยี นรขู้ องสถานศกึ ษา สังกดั สานกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษา
ประถมศึกษายะลา เขต 3 ตามความคิดเห็นของครูผู้สอนสถานศึกษา สังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่
การศกึ ษาประถมศึกษายะลา เขต 3 โดยภาพรวมอยูใ่ นระดับมาก (3) ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นา
การเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษากับการเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ของสถานศึกษา สังกัด
สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษายะลา เขต 3 โดยภาพรวมมีความสัมพันธ์ทางบวก อยู่ใน
ระดบั สูง อยา่ งมนี ัยสาคญั ทางสถติ ทิ รี่ ะดบั .01 (rxy= .865**)

คาสาคญั : ผ้บู ริหารสถานศึกษา; ภาวะผู้นาการเปล่ียนแปลง; องค์กรแห่งการเรยี นรู้

.

การประชมุ วิชาการนาเสนอผลงานวิจยั ระดับบัณฑติ ศกึ ษาแห่งชาติ คร้งั ที่ 49 31

ABSTRACT
The objectives of this research were to study: (1) Transformational Leadership
of School Administrators under the Office of Yala Primary Educational Service Area 3
(2) the Learning Organization of Institutions under the Office of Yala Primary
Educational Service Area 3 (3) correlation between Transformational Leadership of
School Administrators Affecting the Learning Organization of Institutions under the
Office of Yala Primary Educational Service Area 3. The samples used in this research
comprised 238 teachers who worked in Office of Yala Primary Educational Service
Area 3. Data were collected by questionnaires. Statistics used for data analysis
included percentages, means, standard deviations, and Pearson's Product Moment
Correlation Coefficient.
The results of the research were as follows:
1) the teachers perceived Transformational Leadership of School
Administrators under the Office of Yala Primary Educational Service Area 3, at a high
level. 2) the teachers perceived Learning Organization of School Administrators under
the Office of Yala Primary Educational Service Area 3, at a high level. 3) According to
the teachers’ opinion, there was a high positive correlation between the school
administrators’ transformational leadership and the level of learning organization of
the Office of Yala Primary Educational Service Area 3, at 0.01 significance level
(rxy = 0.865**).

Keywords: School Administrators; Transformational Leadership; Learning Organization

32 การประชุมวิชาการนาเสนอผลงานวิจยั ระดบั บัณฑิตศึกษาแห่งชาติ คร้งั ที่ 49

การพฒั นาทกั ษะด้วยชดุ ฝกึ หยบิ ขนมทองหยิบของผู้เรยี นระดบั ประกาศนยี บัตรวิชาชีพ
สาขาวิชาอาหารและโภชนาการ รายวิชาขนมไทยเบ้ืองต้น

THE DEVELOPMENT SKILLS WITH THE PRACTICE OF PICKING THONG YIP
FOR VOCATIONAL CERTIFICATE STUDENTS OF FOOD AND NUTRITION DEPARTMENT

IN BASIC THAI DESSERT COURSE

สุณษิ า แพรกเมือง1 ชนะสิน สังขด์ ว้ ง2 สุวมิ ล เดน่ สุนทร3
Sunisa Praekmueang1 Chanasin Sangduang2 Suwimol Densoontorn3
นักศกึ ษาหลกั สตู รประกาศนยี บตั รบณั ฑิต สาขาวชิ าชพี ครู คณะศิลปศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ตาปี1,2
และอาจารย์หลกั สูตรประกาศนียบตั รบณั ฑิต สาขาวชิ าชพี ครู คณะศลิ ปศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยตาปี3
[email protected] [email protected] [email protected]

บทคดั ย่อ
การศึกษาการใช้ชุดฝึกหยิบขนมทองหยิบ วิชาอาหารไทยเบื้องต้น (2404-2003) ระดับ
ประกาศนียบัตรวชิ าชพี มวี ัตถปุ ระสงค์เพื่อ 1) เปรยี บเทียบทกั ษะการหยิบขนมทองหยิบก่อนและหลัง
การเรียนการสอนด้วยชุดฝึกหยิบขนมทองหยิบของผู้เรียน ในรายวิชาขนมไทยเบื้องต้น ระดับ
ประกาศนียบัตรวิชาชีพ วิทยาลัยเทคนิคพังงา 2) ศึกษาความพึงพอใจของผู้เรียนท่ีมีต่อชุดฝึกหยิบ
ขนมทองหยิบ ในรายวชิ าขนมไทยเบ้อื งต้น ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ วิทยาลัยเทคนิคพังงา กลุ่ม
ตัวอย่างท่ีใช้ในการศึกษา คือ นักเรียนระดับช้ันปวช. 3 สาขาวิชาอาหารและโภชนาการรายวิชาขนม
ไทยเบื้องต้น วิทยาลัยเทคนิคพังงา ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2562 จานวน 1 ห้องเรียน นักเรียน
14 คน โดยเลือกมาแบบเจาะจง เครื่องมือท่ีใช้ในการศึกษา ได้แก่ ชุดฝึกหยิบขนมทองหยิบ วิชา
อาหารไทยเบ้ืองต้น (2404-2003) ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ แบบทดสอบวัดผล และ
แบบสอบถามความพงึ พอใจของผ้เู รียนทม่ี ีต่อชุดฝึกหยิบขนมทองหยบิ
ผลการศึกษาพบวา่
1. ผลของการพัฒนาทักษะการหยิบขนมทองหยิบของนักเรียนหลังเรียนด้วยชุดฝึกหยิบ
ขนมทองหยบิ วิชาอาหารไทยเบื้องต้น (2404-2003) ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ สูงกว่าก่อนเรียน
อย่างมีนยั สาคญั ทางสถิติทร่ี ะดับ 0.01
2. ความพงึ พอใจของผูเ้ รยี นทมี่ ตี ่อชุดฝกึ หยบิ ขนมทองหยบิ วชิ าอาหารไทยเบ้ืองต้น (2404-
2003) ระดบั ประกาศนียบัตรวชิ าชพี โดยรวมอยู่ในระดับมากทีส่ ุด มคี ่าเฉล่ีย 4.71

คาสาคญั : ชดุ ฝกึ หยิบขนมทองหยิบ; ทกั ษะกระบวนการหยิบขนมทองหยบิ

การประชุมวชิ าการนาเสนอผลงานวจิ ัยระดับบณั ฑติ ศกึ ษาแหง่ ชาติ ครั้งที่ 49 33

ABSTRACT
This study aimed to practice picking Thong Yip in Basic Thai Dessert Course
(2404-2003) of vocational certificate level. The purposes of this study were : 1) To
make comparison skills between before and after studies with picking Thong Yip set
in the course of basic Thai desserts of vocational certificate level, Phang Nga
Technical College 2) To investigate the students' satisfaction with the dessert picking
set In the basic Thai dessert course, vocational certificate level Phang Nga Technical
College. The sample was purposive sampling selected from vocational students, Year
3 of Food and Nutrition department, Basic Thai Dessert Course, Phang Nga Technical
College, 1st semester, academic year 2019, amount 1 classroom, 14 students. Tools
in this study were picking Thong Yip set, Basic Thai Dessert Course (2404-2003)
vocational certificate level and a questionnaire of learners satisfaction about the
Thong Yip picking set.
The study indicated that;
1. The effect of improving the skills of students after studying with the
Thong Yip picking set Basic Thai Dessert Course (2404-2003) vocational certificate
level was higher than before studying at the statistical significance of 0.01.
2. The students' satisfaction with the Thong Yip picking set Basic Thai Dessert
Course (2404-2003) vocational certificate level overall is at the highest level, with an
average of 4.71.

Keywords: Thong Yip Picking Practice Set; Picking Thong Yip dessert skills

34 การประชุมวิชาการนาเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑติ ศกึ ษาแหง่ ชาติ ครงั้ ท่ี 49

กาหนดการ
การประชุมวชิ าการนาเสนอผลงานวิจยั ระดับบัณฑิตศกึ ษาแหง่ ชาติ คร้งั ท่ี 49
The 49th National Graduate Research Conference 2019 : NGRC#49
“การสร้างสรรค์งานวจิ ัยและนวัตกรรม : ความท้าทาย และโอกาสในการก้าวสู่ Thailand 4.0”

วนั ท่ี 6 ธันวาคม 2562 เวลา 11.00 – 16.00 น. ณ อาคารหอประชุมใหม่

ผู้ทรงคณุ วฒุ ิ : ดร.วัลลภา เชยบัวแก้ว
ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ ดร.ประกอบ ใจม่ัน
ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ ดร.จุฑามาศ ศภุ พันธ์

ลาดับ ช่อื เรือ่ ง ชื่อ – สกลุ นกั วิจัย เวลา
11.00
16 การพัฒนาทักษะทางด้านคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัย ชฎาพร อมรรตั น์ 11.10
11.20
โดยใชก้ ิจกรรมเกมการศกึ ษา สุภาพร วชิ ติ เชือ้ 11.30
11.40
ดร.เลศิ พร อดุ มพงษ์
11.50
17 การพัฒนากลา้ มเนื้อมดั เลก็ ของนักเรยี นช้ันอนุบาล 1 โดย อัสนีย์ บลิ หมดั
13.00
ใชก้ ิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ ปอลณิ ีย์ แตม้ เตมิ 13.10

สุวิมล เด่นสุนทร

18 ผลท่ีเกิดจากการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสาน ที่มีต่อ ลดั ดาวลั ย์ ทองทรพั ย์

ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1 เครอื วรรณ พรมิ้ พราย

รายวิชาสุขศึกษา

19 การพฒั นาชุดฝึกทกั ษะฟตุ บอลสาหรับนักเรียน ช้ันมัธยมศึกษาปี พิริยะ ชาญพล

ท่ี 2 ของโรงเรยี นกีฬาเทศบาลนครสรุ าษฎรธ์ านี ศิริโรจน์ ดาราสุรยิ งค์

ดวงตา อนิ ทรนาค

20 การพัฒนาพฤติกรรมความรับผิดชอบของนักเรียนระดับ วนั วิสา พืชผล

ปวช. ช้ันปีที่ 2 แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัย กฤษฎา อานาจเจรญิ

อาชีวศึกษาสุราษฎร์ธานี ในรายวิชาการผลิตส่ือส่ิงพิมพ์ และสุวมิ ล เดน่ สุนทร

โดยใชร้ ะบบหอ้ งเรยี นออนไลน์ (Google classroom)

21 การศึกษาอาหารแต่ละชนิดต่อการเจริญเติบโตและคุณค่า วริศรา แพงออ่ น

ทางโภชนาการของกุ้งก้ามแดง ชษิ ณพุ งศ์ สารีพมิ พ์

เกศศิรินทร์ แสงมณี

นา้ ทิพย์ จิรัฐติ ิกาลพันธ์ุ

ธนภทั ร วรปัสสุ

22 ความหลากหลายทางพนั ธุกรรมของยีนบีเอซีอีวันและเอโป ธญั รัตน์ ทองจรสั

อแี ละระดับอะไมลอยดเ์ บตา้ ในเลอื ดของผูป้ ่วยโรคไวรัสตับ บุญเตมิ แสงดิษฐ์

อกั เสบบเี รือ้ รังและตบั อักเสบซีเรอ้ื รัง ศิริพร ช้อื ชวาลกลุ

23 การพัฒนาสูตรเจลล้างหน้าเพ่ือลดการเกิดสิวที่มีส่วนผสม พนดิ า แสนประกอบ

ของสารสกดั สมอไทย เกศศริ ินทร์ แสงมณี

การประชุมวชิ าการนาเสนอผลงานวจิ ัยระดับบัณฑิตศกึ ษาแหง่ ชาติ ครัง้ ที่ 49 35

ลาดับ ช่อื เร่ือง ช่ือ – สกุล นกั วจิ ัย เวลา
13.20
24 การสกดั และวิเคราะหอ์ งคประกอบทางเคมขี องํนา้ มันเมลด็ ปรษิ า ทองประไพ 13.30
13.40
เสาวรสเพอ่ื ประยกุ ตใ์ ชใ้ น ผลิตภัณฑ์คลนี ซงิ่ บาลม์ พนิดา แสนประกอบ
13.50
25 การประยกุ ต์ใชส้ ารสกัดเมือกกระเจยี๊ บเขียวในเซร่มั พชิ ชาพร ยอดภิรมย์
14.10
พนดิ า แสประกอบ 14.20

26 การพัฒนาต้นแบบระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์กลุ่ม สวุ นนั ท์ สรรเพชร

วิสาหกจิ ชมุ ชนอรสริ ิ จงั หวัดนครศรีธรรมราช ขวญั กมล ชัยสวุ รรณ

วชั ระพล อนุสรณ์

ภคั จริ า เนาวพันธ์

อุทมุ พร ศรีโยม

พรศิลป์ บวั งาม

27 การใช้น้ามันจากเมล็ดเสาวรสเป็นเบสหลักในการพัฒนา กฤษฎา ประยงค์

สตู รลคิ วิดลิปสติก พนดิ า แสนประกอบ

28 ความเป็นพรีไบโอติกของผงแก่นตะวันและผงกล้วยน้าว้า ปายาลกั ษณ์ สดุ ชารี

ต่อการส่งเสริมการเจริญและฤทธ์ิยับยั้งจุลินทรีย์ก่อโรคใน เขมวทิ ย์ จันต๊ะมา

ทางเดินอาหารของ Bifidobacterium animalis BF052 ศิรมิ า สวุ รรณกูฏ จันตะ๊ มา

29 การสกดั สีจากพชื ธรรมชาติ สผู่ ลติ ภัณฑช์ มุ ชนครี ีวง อรอมุ า รกั ษาชล

วนั ทนีย์ มาลี

นงเยาว์ เทพยา

30 ภาวะผู้นาเชงิ นวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษาตามความ บณั ฑติ า ดาเรอื งศรี

คิดเห็นของครู สังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา ศลิ ป์ชัย สวุ รรณมณี

ประถมศกึ ษาสงขลา เขต 1

36 การประชมุ วิชาการนาเสนอผลงานวจิ ยั ระดับบณั ฑิตศึกษาแห่งชาติ ครั้งที่ 49

การพัฒนาทกั ษะทางดา้ นคณติ ศาสตร์ของเดก็ ปฐมวยั โดยใชก้ ิจกรรมเกมการศกึ ษา
DEVELOPMENT OF MATHEMATICAL SKILLS OF EARLY CHILDHOOD
BY USING EDUCATIONAL GAME ACTIVITIES

ชฎาพร อมรรตั น์ 1 สุภาพร วชิ ติ เช้อื 2 เลศิ พร อุดมพงษ์ 3
Chadapon Amonrut1 Supaporn Vichitcher2 Lertporn Udompong3

สาขาวชิ าชพี ครู คณะศลิ ปศาสตร์ มหาวิทยาลยั ตาปี 1, 2, 3
[email protected] [email protected] [email protected]

บทคดั ย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิด้านทักษะทางคณิตศาสตร์ของ
นักเรียนระดับชัน้ อนุบาล 1 กอ่ นและหลังได้รบั การจัดประสบการณโ์ ดยใชก้ จิ กรรมเกมการศึกษา และ
2) ศกึ ษาคะแนนพฒั นาการสัมพัทธ์ของนักเรยี นระดับชั้นอนบุ าล 1 ทีไ่ ด้รบั การจัดประสบการณ์โดยใช้
กจิ กรรมเกมการศึกษา ประชากร คือ นักเรียนระดับชั้นอนุบาล 1 โรงเรียนเวียงสระศึกษา อาเภอเวียงสระ
จังหวดั สรุ าษฎรธ์ านี จานวน 100 คน กลมุ่ ตัวอยา่ ง คอื นกั เรียนระดับช้ันอนุบาล 1/3 จานวน 19 คน
ซ่ึงได้มาจากการสุ่มแบบกลุ่ม การวิจัยคร้ังนี้เป็นวิจัยก่ึงทดลอง ตามแบบแผน One-Group Pretest
Posttest Design เครื่องมือที่ใช้ ประกอบด้วย แผนการจัดประสบการณ์จานวน 4 แผน ซ่ึงได้ผ่าน
การตรวจสอบคณุ ภาพโดยผู้เช่ยี วชาญทุกแผนมีคุณภาพอยใู่ นระดับดีมาก (ค่าเฉลี่ย 3.74 - 3.80) และ
แบบวัดผลสัมฤทธ์ิทักษะทางคณิตศาสตร์ ซ่ึงเป็นแบบทดสอบปรนัย จานวน 18 ข้อ โดยมีค่า IOC
ระหว่าง .67 - 1.00 ค่าความยากระหว่าง .45 – .80 ค่าอานาจจาแนกระหว่าง .20 - 1.00 และ
ค่าความเที่ยงท้ังฉบับ โดยมีค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาเท่ากับ .856 การวิเคราะห์ข้อมูล ใช้ค่าร้อยละ
ค่าเฉล่ีย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน คะแนนพัฒนาการสัมพัทธ์ และสถิติ t-test แบบ paired-sample
t-test
ผลวิจัยพบว่า ผลสัมฤทธ์ิทักษะทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนหลังได้รับการจัดประสบการณ์
โดยใช้กิจกรรมเกมการศึกษาสูงกว่าก่อนจัดประสบการณ์อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 และ
นกั เรยี นทกุ คนมคี ะแนนพัฒนาการสัมพัทธ์มากกวา่ ร้อยละ 50

คาสาคัญ: ทักษะทางดา้ นคณติ ศาสตร์, เด็กปฐมวยั , กิจกรรมเกมการศึกษา

การประชุมวชิ าการนาเสนอผลงานวจิ ัยระดบั บัณฑติ ศึกษาแห่งชาติ ครงั้ ท่ี 49 37

ABSTRACT
The objectives of this study were 1) to compare the mathematical skills
achievement of students in kindergarten 1 before and after learning by using
educational game activities and 2) to study the relative gain scores of students in
kindergarten 1 acquired through educational game activities. The population was
conducted with 100 students in kindergarten 1 who were studying at Weingsasuksa
kindergarten school, Suratthani province. The samples were 19 students in
kindergarten 1/3 selected by cluster sampling. Research was quasi-experimental that
had One-Group Pretest Posttest Design methodology. The instruments used were 1)
4 lesson plans which were approved by the experts. The lesson plans reflected a
very good quality at 3.74 - 3.80 2) the 18 multiple-choice type questions of the
achievement test with IOC ranging between 0.67-1.00. The test had difficulty index
from .45-.80 It had discrimination from .20 - 1.00 and the overall reliability coefficient
of the achievement was .856 The data were analyzed by percentage, mean scores,
standard deviation, the relative gain scores and the paired sample t-test.
The results of the study revealed that the students’ post-test scores after
using educational game activities were significantly higher than level .05 Moreover,
students had the relative gain scores higher than 50 percentage.

Keywords: Mathematical skills, Early childhood, Educational game activities

38 การประชมุ วชิ าการนาเสนอผลงานวจิ ยั ระดับบณั ฑติ ศึกษาแห่งชาติ คร้ังที่ 49

การพฒั นากล้ามเนอื้ มัดเล็กของนกั เรยี นชน้ั อนบุ าล 1 โดยใช้กจิ กรรมศิลปะสรา้ งสรรค์
MUSCLE DEVELOPMENT OF KINDERGARTEN 1 STUDENTS
BY USING CREATIVE ART ACTIVITIES

อัสนีย์ บิลหมดั 1 ปอลณิ ยี ์ แต้มเติม2 สุวมิ ล เด่นสนุ ทร3
Assanee Bilmad1 Porlinee Tamterm2 Suwimol Densoontorn3
สาขาวชิ าชีพครู คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลยั ตาปี 1,2 อาจารย์ที่ปรกึ ษา3
[email protected] [email protected] [email protected]

บทคัดย่อ
การวจิ ยั ครัง้ นีม้ ีวตั ถปุ ระสงค์เพอ่ื ศกึ ษาความสามารถในการใชก้ ล้ามเนื้อมัดเล็กของเด็กอายุ 3-4 ปี
ที่ไดร้ ับการจัดกิจกรรมศลิ ปะสรา้ งสรรคแ์ ละเพ่ือเปรียบเทียบระดับความสามารถในการใช้กล้ามเน้ือมัดเล็ก
ก่อนและหลังการใช้ ประชากรท่ีใช้ในการวิจัย คือนักเรียนชั้นอนุบาล 1 ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2562
โรงเรียนธีราศรมสุราษฏร์ อาเภอเมอื ง จังหวัดสุราษฏร์ธานี สงั กัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน
เขต1 มีท้ังหมด 5 ห้องเรียน เด็กนักเรียนจานวน 150 คนกลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนช้ันอนุบาลปีที่ 1/4
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2562 โรงเรียนธีราศรมสุราษฎร์ อาเภอเมือง จังหวัดสุราษฏร์ธานี สังกัด
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน เขต 1 จานวน 29 คน ท่ีได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม cluster
random sampling เคร่ืองมือท่ีใช้ในการทดลองได้แก่ 1) แผนการจัดกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์การฉีก
ปะ ขยา 2) แบบทดสอบวัดความสามารถในการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็ก แบ่งออกเป็น 3 ชุด คือ ชุดท่ี 1
แบบทดสอบการฉีกกระดาษตามรูปท่ีกาหนด ชุดท่ี 2 แบบทดสอบการปะกระดาษตามรูปทรงต่าง ๆ
ลงบนใบงาน ชดุ ท่ี 3 แบบทดสอบการขยากระดาษลงบนใบงาน
ผลการวจิ ัยพบวา่
1. ผลการทดสอบการฉีกกระดาษตามรูปท่ีกาหนดของนักเรียนชั้นอนุบาล 1 มีค่าเฉล่ีย
เท่ากับ 3.50 ซึ่งอยู่ในระดับดีมาก ผลการทดสอบการปะกระดาษตามรูปทรงต่างๆลงบนใบงานมี
ค่าเฉล่ียเท่ากับ 3.25ซ่ึงอยู่ในระดับดีมาก และผลการทดสอบการขยากระดาษลงบนใบงานมีค่าเฉลี่ย
เทา่ กบั 4.12 ซ่งึ อยูใ่ นระดบั ดีมาก
2. หลังการใช้กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ นักเรียนสามารถใช้กล้ามเนื้อมัดเล็กได้ดีขึ้นกว่า
ก่อนการใช้กจิ กรรมอยา่ งมนี ยั สาคญั ทรี่ ะดบั .01

คาสาคญั : ทกั ษะการใช้กลา้ มเนอ้ื มัดเลก็ ; การฉกี ; การปะ; การขยา

การประชุมวิชาการนาเสนอผลงานวจิ ัยระดับบัณฑิตศกึ ษาแหง่ ชาติ ครั้งท่ี 49 39

ABSTRACT
The purpose of this research were to study the small muscular ability of 3-4
years old children who have received creative art activities and to compare the level
of small muscular ability before and after learning in there activity. The Population
used in the research was kindergarten 1 students in the first semester of the
academic year 2019, Teerasomsurat School, Muang District, Suratthani Province.
under the Office of Private Education Commission Region 1, there are a total of 5
classrooms and 150 students. The sample group is Kindergarten students in Year 1/4
of the 1st semester of the academic year 2019, Teerasomsurat School, Muang
District, Suratthani Province, under the Office of Private Education Commission Region
1, consisting of 29 people were selected by cluster random sampling. The tools used
in the experiment were 1) the plan for tearing creation or activity 2) The ability test
to use small muscles to divide into 3 sets which set 1, are paper tearing test
according to the specified format. set 2, the test of wrapping paper according to
various shapes on to the worksheet and set 3, The paper tearing test on the
worksheet.
The results can be concluded;
1. The results of the tearing test paper as that determined by Kindergarten 1
students have an average value of 3.50 which was at very good level. The test
results of patching paper in various shapes onto the worksheet have an average
value equal to 3.25 which is at a very good level and the result of the paper rolling
test on the worksheet has an average value of 4.12 which is in a very good level of
suitability.
2. After using creative arts activities, students were able to use their fine
muscles better than before using activities at the significant level of .01

Keywords: skills for using small muscles; Tearing; Perfusion; Crumpling

40 การประชมุ วิชาการนาเสนอผลงานวิจยั ระดบั บณั ฑติ ศกึ ษาแห่งชาติ คร้ังท่ี 49

ผลท่เี กดิ จากการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสานทม่ี ีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ของนักเรยี นช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1 รายวิชาสุขศกึ ษา

THE EFFECTS OF BLENDED LEARNING ON PROBLEM SOLVING SKILLS
AND LEARNING ACHIEVEMENT OF MATHAYOMSUKSA 1 STUDENTS,

HEALTH EDUCATION

ลัดดาวลั ย์ ทองทรพั ย์1 เครือวรรณ พร้มิ พราย2 ณรณั ศรวี ิหะ3
Laddawan Thongsap1 Khruawan Phrimphrai2 Naran Sriwiha3
ภาควชิ าประกาศนยี บตั รบณั ฑติ คณะศลิ ปะศาสตร์ มหาวิทยาลยั ตาปี1,2,3

[email protected] and [email protected]

บทคดั ย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพ่ือหาประสิทธิภาพการสอนแบบใช้แผนการเรียนรู้แบบ
ผสมผสาน เรื่อง อาหารท่ีเหมาะสมกับวัย และเพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนก่อนและหลัง
การเรียน ในรายวิชา สขุ ศกึ ษา นักเรยี นระดับช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 1/8 โรงเรียนสตรีทุ่งสง ใช้แผนการ
จัดการเรียนรู้แบบผสมผสาน โดยวิธีสุ่มแบบกลุ่ม (Cluster Random Sampling ) เคร่ืองมือที่ใช้ใน
การวิจัยได้แก่ 1) แผนการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสาน 2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน
สถิติท่ีใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ค่าเฉล่ีย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบด้วยค่าที (T-Test
Dependent Samples)
ผลการวิจยั พบวา่
1. การจัดกิจกรรมแผนการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสาน วิชาสุขศึกษา ระดับมัธยมศึกษา
ศึกษาปีที่ 1/8 มีความเหมาะสมอยู่ในระดับดีมาก มีประสิทธิภาพเท่ากับ 82.56/84.80 ซ่ึงมี
ประสทิ ธิภาพสูงกว่าเกณฑ์
2. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/8 ท่ีเรียนโดยจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบผสมผสาน เรื่อง
อาหารท่ีเหมาะสมกับวยั มีผลสัมฤทธิท์ างการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ
ทรี่ ะดับ.01

คาสาคัญ: การเรยี นรแู้ บบผสมผสาน, ผลสมั ฤทธ์ิ

การประชุมวชิ าการนาเสนอผลงานวิจัยระดบั บัณฑติ ศึกษาแหง่ ชาติ คร้ังที่ 49 41

ABSTRACT
The purpose of this research was to study the efficiency of teaching by using
integrated learning plans. subject appropriate to age and compare the learning
achievement before and after learning in the health education course.
Mathayomsuksa 1 students of Satree Thung Song School Use the integrated learning
management plan using group sampling(Cluster Random Sampling). The research
instruments were 1) the integrated learning management plan 2) the learning
achievement test used in data analysis, including mean, standard deviation. t-test
(Dependent Samples)
The findings can be summarized as follows;
1. Integrated learning management for health education at lower secondary
education level 1/8 is very good, efficiency is equal to 82.52/84.75 higher than the
criteria
2. Mathayomsuksa 1 students organized integrated learning activities by
integrating age-appropriate food with higher learning achievement at the statistical
level 0.1

Keywords: Blended Learning, achievement

42 การประชุมวิชาการนาเสนอผลงานวจิ ัยระดบั บณั ฑิตศกึ ษาแห่งชาติ คร้งั ท่ี 49

การพฒั นาชดุ ฝกึ ทักษะฟตุ บอลสาหรบั นักเรียนชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 2
ของโรงเรยี นกีฬาเทศบาลนครสุราษฎรธ์ านี

DEVELOPMENT OF A FOOTBALL SKILL PRACTICE PACKAGE FOR MATTHAYOM2
STUDENTSOFSURATTHANI MUNICIPALITY SPORT SCHOOL

พิริยะ ชาญพล1 ศิรโิ รจน์ ดาราสรุ ยิ งค์2 ดวงตา อินทรนาค3
Piriya Chanpon1and Siriroj Darasuriyong2 Duangta Intaranak3
นักศึกษาหลกั สตู รประกาศนียบัตรบณั ฑติ สาขาวิชาชพี ครู มหาวิทยาลัยตาปี1,2
Corresponding author,[email protected] [email protected]

บทคดั ยอ่
การวิจัยครั้งน้ีมีวัตถุประสงค์ 1) เพ่ือศึกษาประสิทธิภาพของชุดฝึกทักษะกีฬาฟุตบอลของ
นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 2 ตามเกณฑ์ประสิทธิภาพ 80/80 2) เพ่ือหาดัชนีประสิทธิผลก่อนและ
หลังเรียนของชุดฝึกทักษะกีฬาฟุตบอลของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 2 3) เปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิ
ทางการเรียนของนักเรียนทเ่ี รยี นด้วยชดุ ฝึกกฬี าฟุตบอล ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ก่อนเรียนและหลังเรียน
และ 4) เพ่ือศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 2 ที่มีต่อชุดฝึกทักษะกีฬาฟุตบอล
กลุ่มตัวอย่างท่ีใช้ในการวิจัยคร้ังน้ีคือนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 2 ของโรงเรียนกีฬาเทศบาลนครสุ
ราษฎร์ธานี จานวน 30 คนโดยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย เครื่องมือท่ีใช้ในการเก็บข้อมูล ได้แก่ 1)
แผนจัดการเรียนรู้กีฬาฟุตบอลด้วยชุดฝึกทักษะกีฬาฟุตบอล2) ชุดฝึกทักษะกีฬาฟุตบอล3)
แบบทดสอบผลสัมฤทธ์ิการเรียนรู้ทักษะกีฬาฟุตบอล4) แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนสถิติ
ที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน ค่าเฉล่ีย ค่า E1/E2และการ
ทดสอบที (t-test)
ผลการวิจัยพบว่า 1) ชุดฝึกทักษะกีฬาฟุตบอล มีค่าประสิทธิภาพเท่ากับ 89.96/92.56
2) ค่าดชั นีประสทิ ธิผลคิดเป็นร้อยละ 80.30 3) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนหลังเรียนสูงกว่า
กอ่ นเรยี น อย่างมนี ยั สาคัญทางสถติ ทิ ร่ี ะดบั .01 4) ความพึงพอใจของนักเรียน มีค่าเฉล่ียเท่ากับ 4.15
อยใู่ นระดบั มาก

คาสาคญั : กฬี าฟตุ บอล; ชุดฝกึ ทกั ษะกฬี าฟตุ บอล


Click to View FlipBook Version