The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ศวีระ วิเศษโชค, 2019-12-05 03:16:15

รวมบทคัดย่อ NGRC#49

รวมบทคัดย่อ

การประชมุ วิชาการนาเสนอผลงานวิจยั ระดบั บัณฑิตศกึ ษาแหง่ ชาติ ครง้ั ที่ 49 43

ABSTRACT
The purposes of this study were : 1) to investigate efficiency of the football
skill practice package for Matthayom 2 Students with the criterion set at80/80, 2) to
investigate the effectiveness index before and after of the football skill practice
package for Matthayom 2 Students, 3)to compare learning achievement before and
after using the Football Skill Practice Package in Matthayom 2 Students, and 4) to
examine students’ satisfaction of using football skill practice Package for Matthayom2
Students. The sample consisted of30 for Matthayom 2 students of SuratThanimuni
capacity sport school selected by simple random sampling. The instruments used for
collecting data were: 1)learning management plans according to the football skill
practice Package,2) a football skill practice package in Matthayom 2 students of
SuratThanimuni capacity sport school, 3)a test of learning achievement, and4) a
questionnaire of students’ satisfaction. Statistics used to analyze data were
percentage, standard deviation, mean, the E1/E2 criterion value, and t-test.
The findings of this study were as follows: 1) the football skill practice
package had the efficiency of89.96/92.56, 2) the effectiveness index value was 80.30
percent, 3) the learning achievement of students after using the football skill practice
package was significantly higher than that before using it at the .01 level, 4) the mean
score of students‘ satisfaction was 4.15 which was at the higher level.

Keywords: Football; Football Skill Practice Package

44 การประชุมวชิ าการนาเสนอผลงานวิจยั ระดับบัณฑิตศกึ ษาแหง่ ชาติ ครัง้ ที่ 49

การพฒั นาพฤตกิ รรมความรับผดิ ชอบของนักเรยี นระดับ ปวช. ชน้ั ปที ี่ 2
แผนกวชิ าคอมพิวเตอรธ์ ุรกิจ วทิ ยาลยั อาชีวศกึ ษาสรุ าษฎรธ์ านี ในรายวิชาการผลติ สอื่ สงิ่ พิมพ์

โดยใชร้ ะบบห้องเรียนออนไลน์ (Google Classroom)
DEVELOPMENT OF RESPONSIBLE BEHAVIOR OF SECOND YEAR VOCATIONAL
CERTIFICATE STUDENTS ON BUSINESS COMPUTER DEPARTMENT SURATTHANI
VOCATIONAL COLLEGE IN THE PRODUCTION MEDIA BY USING THE ONLINE

CLASSROOM SYSTEM (GOOGLE CLASSROOM)

วันวิสา พชื ผล1 กฤษฎา อานาจเจริญ2 สุวมิ ล เดน่ สุนทร3
Wanvisa phuetpol1 Krissada Amnajaroen2 Suwimol Densoontorn3
นักศึกษาหลกั สตู รประกาศนยี บตั รบณั ฑิต สาขาวิชาชพี ครู คณะศลิ ปศาสตร์ มหาวิทยาลยั ตาปี1,2
อาจารยห์ ลักสตู รประกาศนยี บตั รบัณฑติ สาขาวชิ าชพี ครู คณะศลิ ปศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ตาปี3
[email protected] [email protected] and [email protected]

บทคัดย่อ
การวิจยั ครั้งน้ีเปน็ การวจิ ัยแบบก่งึ ทดลองมีวัตถุประสงค์ 1) เพ่ือเปรียบเทียบพฤติกรรมความ
รับผิดชอบของนักเรียนระดับ ปวช. ชั้นปีท่ี 2 รายวิชาการผลิตส่ือสิ่งพิมพ์ ก่อนและหลังการจัดการ
เรียนการสอนโดยใช้ระบบห้องเรียนออนไลน์ (Google Classroom) 2) เพื่อศึกษาความพึงพอใจใน
การใช้ระบบห้องเรียนออนไลน์ (Google Classroom) ของนักเรียนระดับ ปวช. ชั้นปีท่ี 2 รายวิชา
การผลิตสื่อส่ิงพิมพ์ กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยครั้งน้ี คือ นักเรียนระดับประกาศนัยบัตรวิชาชีพ (ปวช.)
ชั้นปีที่ 2/2 ที่ลงทะเบียนในรายวิชาการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ จานวน 34 คน ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา
2562 แผนกวิชาคอมพิวเตอรธ์ รุ กิจ วิทยาลยั อาชวี ศกึ ษาสุราษฎร์ธานี ท่ีได้มาโดยการสุ่มอย่างง่ายโดย
ใช้ห้องเรียนเป็นหน่วยสุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ Google Classroom (ระบบห้องเรียน
ออนไลน์) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่องการใช้งานโปรแกรม จานวน
5 ข้อ และแบบบันทึกพฤติกรรมความรับผิดชอบก่อนและหลังใช้ Google Classroom สถิติที่ใช้ใน
การวิเคราะห์ข้อมูล ไดแ้ ก่ คา่ เฉลย่ี สว่ นเบ่ยี งเบนมาตรฐาน และT-test
ผลการวิจัยพบว่า (1) คะแนนเฉล่ียความรับผิดชอบก่อนและหลังการจัดการเรียนรู้ โดยใช้
Google Classroom แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ.05 โดยท่ีคะแนนเฉลี่ยความ
รับผิดชอบหลังเรียนด้วย Google Classroom สูงกว่าก่อนเรียน (2) นักเรียนมีความพึงพอใจในการ
ใช้ระบบห้องเรยี นออนไลน์ (Google Classroom) ในระดับมากทีส่ ุด (Mean = 4.65)

คาสาคัญ: Google Classroom; พฤติกรรม; ความรบั ผดิ ชอบ

การประชุมวิชาการนาเสนอผลงานวิจยั ระดบั บัณฑิตศึกษาแห่งชาติ คร้ังที่ 49 45

ABSTRACT
This research is a quasi-experimental research which the objectives were to 1.
compare the responsibility behavior of the second year vocational certificate
students in the production of printed media subject before and after using the online
classroom (Google Classroom) 2.study students’ satisfaction of learning and teaching
using online classroom . 34 vocational certificate students (vocational certificate
level), year 2/2 registered in the production of publications, semester 1, academic
year 2019, Department of Business Computers, SuratThani Vocation al College were
randomly selected by using the classroom as a random sampling unit. The
instrument used in this research was Google Classroom, achievement test about
using the program computer, the responsibility behavior record before and after
using Google Classroom as well as the students’ satisfaction evaluation form for
learning and teaching using Google classroom. The statistics used for data analysis
were Mean, Standard Deviation and t-test.
The Results showed; 1) There were significant difference between
responsibility average scores before and after using Google Classroom. Especially
responsibility average scores after using Google Classrooms were higher than the
responsibility average scores before using Google Classroom. 2) The satisfaction with
using the Google Classroom was at an average of 4.65 which was at a highest level.

Keywords: Google Classroom; behavior; responsibility

46 การประชุมวิชาการนาเสนอผลงานวิจัยระดบั บัณฑิตศึกษาแห่งชาติ คร้ังที่ 49

การศึกษาอาหารแตล่ ะชนิดต่อการเจริญเติบโตและคณุ คา่ ทางโภชนาการของกุ้งกา้ มแดง
STUDY ON EACH TYPES OF FEED ON GROWTH PERFORMANCE AND NUTRITION

OF RED CLAW CRAYFISH

วริศรา แพงออ่ น1 ชิษณุพงศ์ สารีพิมพ์2 เกศศิรินทร์ แสงมณี3 น้าทิพย์ จิรัฐิติกาลพันธ์ุ4 ธนภัทร วรปัสสุ5
Warisara Phangon 1 Chidsanupong Sareepim2 Katsirin Sangmanee 3 Namtip Jirattikanpan 4 Tanapat Worapassu5

คณะวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลยั ราชภัฏพระนคร 1,2,3,4
คณะเทคโนโลยกี ารเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์ 5

Corresponding author, [[email protected]] 1

บทคัดย่อ
การศึกษาอาหารแต่ละชนิดต่อการเจริญเติบโตและคุณค่าทางโภชนาการของกุ้งก้ามแดง ณ ช้ัน 4
อาคาร 60 สาขาวิชาเกษตรศาสตร์ คณะวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พระนคร ระยะทา
การทดลอง ต้ังแต่เดือนสิงหาคม พ.ศ. 2561 ถึง เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2562 โดยวางแผนการทดลองแบบ
Factorial Design CRD จานวน 4 ซ้า ประกอบด้วย 2 ปัจจัยดังน้ี ปัจจัยที่ 1 : อาหาร (อาหารสด,
อาหารเม็ด, สาหร่ายพุงชะโด และอาหารรวม) ปัจจัยท่ี 2 : เพศ (ผู้ และ เมีย) พบว่า อาหารรวม ทาให้กุ้ง
ก้ามแดงเพศเมียมีความกว้างตัว ความยาวตัว มากที่สุดคือ 2.50 เซนติเมตร 10.25 เซนติเมตร และ
อาหารเม็ดทาใหก้ ุ้งก้ามแดงเพศผมู้ ีนา้ หนกั มากทีส่ ดุ 44.35 กรัม ในเร่ืองของค่าโภชนาการกุง้ ก้ามแดงท่เี ลีย้ ง
ด้วยอาหารสาหร่ายพุงชะโดมีค่าโภชนาการท่ีดีท่ีสุด ความช้ืน/น้า 75.64 เปอร์เซ็นต์, เถ้า 1.78 กรัม,
โปรตนี 17.34 กรัม, ไขมัน 4.59 กรมั , คาร์โบไฮเดรต 0.64 กรัม, พลงั งาน 113.00 กิโลแคลอร่ี

คาสาคัญ : อาหาร, ก้งุ ก้ามแดง, สาหร่ายพงุ ชะโด

การประชุมวิชาการนาเสนอผลงานวิจยั ระดบั บณั ฑิตศึกษาแหง่ ชาติ ครง้ั ที่ 49 47

ABSTRACT
The Study on each types of feed on growth performance and nutrition of red
claw crayfish. The experiment was done in Department of Agriculture, Faculty of
Science and Technology, Phranakhon Rajabhat University, during August 2018 to
February 2019. The Factorial Design CRD with 2 factors consists of 1: Feed (fresh feed, pellet
feed, coontail, and mixed feed) and 2: Sex (male and female) were investigated and four
replications. The result found that, mixed feed makes the Red Claw Crayfish in female has
the widest and the longest with 2.50 cm and 10.25 cm, respectivly. While, pellet feed
produces the most weight of Red Claw Crayfish in male with 44.35 grams. The most of
nutritional values presented by coontail feed with moisture/water 75.64 %, 1.78 grams
of Ash, 17.34 grams of protein, 4.59 grams of fat, 0.64 grams of carbohydrates and
113.00 kilocalories.

Keyword : Feed, Red Claw Crayfish, Coontai

48 การประชมุ วิชาการนาเสนอผลงานวจิ ัยระดบั บณั ฑิตศกึ ษาแหง่ ชาติ คร้ังท่ี 49

ความหลากหลายทางพันธุกรรมของยีนบีเอซอี ีวนั และเอโปอีและระดบั อะไมลอยด์เบตา้ ในเลอื ด
ของผู้ปว่ ยโรคไวรัสตบั อกั เสบบเี รอื้ รงั และตับอักเสบซเี ร้ือรัง

BACE1 AND APOE POLYMORPHISMS AND BLOOD AMYLOID BETA LEVELS
IN CHRONIC HEPATITIS B AND CHRONIC HEPATITIS C PATIENTS

ธัญรัตน์ ทองจรสั 1’2 บญุ เตมิ แสงดษิ ฐ์2 ศริ พิ ร ชอื้ ชวาลกลุ 3
Thanyarat Thongjaras.1,2 Boonterm Sangdidtha.2 and Siriporn Chuchawhakul.3
หลกั สตู รวิทยาศาสตรร์ ะดบั โมเลกลุ ทางจลุ ชีววทิ ยาทางการแพทยแ์ ละภมู คิ มุ้ กันวทิ ยา ภาควชิ าเวชศาสตร์การ

ธนาคารเลอื ดและจุลชวี วทิ ยาทางคลินกิ คณะสหเวชศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั 1
สถาบนั พยาธิวิทยา ศูนย์อานวยการแพทย์พระมงกฎุ เกล้า2

ภาควิชาเวชศาสตรก์ ารธนาคารเลอื ดและจลุ ชีววทิ ยาทางคลินกิ คณะสหเวชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์3มหาวทิ ยาลยั
Corresponding author,[email protected], [email protected] and [email protected]

บทคัดย่อ
อะไมลอยด์เบต้า 42 (Aß42) เป็นของเสียที่เกิดจากการย่อยอะไมลอยด์เบต้าพรีเคอเซอร์
โปรตีน อาจทาให้เกิดโรคอัลไซเมอร์เมื่อสะสมท่ีสมอง ซึ่งมียีนบีเอซีอีวัน (BACE1) ท่ีควบคุมการสร้าง
เอนไซม์เบต้าซีครีเตส ท่ีย่อยอะไมลอยด์เบต้าพรีเคอเซอร์โปรตีน และยีนเอโปอี (ApoE) เป็นยีนท่ี
ถอดรหัสเป็น Apolipoprotein E ซ่ึงทาหน้าที่ขนส่งอะไมลอยด์เบต้าไปกาจัดที่ตับ และการติดเชื้อ
ไวรสั ตบั อกั เสบเรื้อรงั อาจทาใหก้ ารกาจัดของเสียลดลง งานวิจัยน้ีมีวัตถุประสงค์เพ่ือศึกษาระดับอะไม
ลอยด์เบต้า 42 ในเลือด และความหลากหลายทางพันธุกรรม (SNP) ของยีน BACE1 (rs38405)และ
ยีน ApoE (rs429358และrs7412) ของผู้ติดเช้ือไวรัสตับอักเสบบีเร้ือรัง ซีเรื้อรัง และคนปกติ โดย
ตรวจระดบั อะไมลอยด์เบต้า 42 ในเลือดด้วยหลักการ ELISA และ หา SNP ของ BACE1 และ ApoE
ด้วยหลักการ PCR-RFLP และ Real time PCR ในผู้ติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบีเร้ือรัง (N=22) ซีเรื้อรัง
(N=15) ที่รักษา ณ โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า และคนปกติ (N=36) ณ สถาบันพยาธิวิทยา ผล
การศึกษาพบว่าระดับอะไมลอยด์เบต้า 42 ในเลือดของผู้ติดเช้ือไวรัสตับอักเสบีเร้ือรังมีค่าสูงกว่าคน
ปกติ (CHB=50 pg/ml, CHC=43 pg/ml และ Normal=29.5 pg/ml p-value=0.04) แต่ไม่พบ
ความแตกต่างของ SNP ของยีน BACE1 และยีน ApoE ใน 3 กลุ่มตัวอย่าง ระดับอะไมลอยด์เบต้า
42 ในเลือดของผตู้ ดิ เชื้อไวรัสตับอักเสบบีเร้ือรังสูงกว่าคนปกติ อาจเกิดจากตับท่ีมีการติดเช้ือไวรัสตับ
อกั เสบบเี รื้อรงั ทาหน้าทใ่ี นการกาจดั อะไมลอยดเ์ บต้า 42 ออกจากรา่ งกายได้ไมด่ เี ทา่ ตับในภาวะปกติ

คาสาคญั : ไวรัสตบั อกั เสบบีเร้ือรงั ; อะไมลอยด์เบต้า; ยนี บเี อซีอวี นั ; ยีนเอโปอี

การประชมุ วิชาการนาเสนอผลงานวิจยั ระดบั บณั ฑิตศึกษาแหง่ ชาติ ครั้งที่ 49 49

ABSTRACT
Amyloid beta 42 (Aß42) is a by-product from Amyloid beta precursor protein
that causes Alzheimer's disease. BACE1 gene controls expression of Bata secretase,
rate limiting step enzyme that cleaves Amyloid beta precursor. ApoE gene controls
ApoE genotype that carries Amyloid beta 42 to eliminate in the liver. The previous
study found that Amyloid beta 42 elimination was reduced in Hepatocellular
carcinoma with Hepatitis viral infection patients. We studied plasma Amyloid beta 42
level and Single nucleotide polymorphism (SNP) of BACE1 (rs38405) and ApoE
(rs429358 and rs7412) in the Chronic Hepatitis B viral infection (N=22) and Hepatitis
viral infection patients (N=15) from Phramongkutklao Hospital compare to healthy
subjects (N=36) from Army Institute of Pathology. Amyloid beta 42 level from plasma
was analyzed by ELISA. SNP of BACE1(rs38405) and ApoE (rs429358 and rs7412) were
evaluated by PCR-RFLP and Real time PCR. The results show that plasma Amyloid
beta 42 level in Chronic Hepatitis B viral infection patients are significantly higher
than Healthy control. (CHB=50 pg/ml, CHC=43 pg/ml and Normal=29.5 pg/ml p-
value=0.04). However, distribution of the BACE1 and ApoE genotypes in patients and
control subjects are not significant different. In conclusion, the higher level of
Amyloid beta 42 in Chronic Hepatitis B virus infection may be resulted from
decreased elimination in the liver.

Keywords: Chronic Hepatitis B infection; Amyloid beta; BACE1; ApoE

50 การประชุมวชิ าการนาเสนอผลงานวิจัยระดบั บัณฑติ ศกึ ษาแห่งชาติ ครัง้ ที่ 49

การพัฒนาสตู รเจลล้างหน้าเพ่อื ลดการเกิดสวิ ทมี่ ีสว่ นผสมของสารสกัดสมอไทย
FACIAL CLEANSING GEL DEVELOPING FOR ANTI-ACNE CONTAINING
OF TERMINALIA CHEBULA EXTRACT

พนดิ า แสนประกอบ1 เกศศิรินทร์ แสงมณ2ี
Panida Saenprakob1 Katsirin Saengmanee2
สาขาวชิ าวทิ ยาศาสตรเ์ ครอื่ งสาอาง1 สาขาวชิ าเกษตรศาสตร2์
Corresponding author, [email protected] and [email protected]

บทคดั ยอ่
จากรายงานของสถาบันโรคผิวหนัง พบว่า สิวเป็นโรคที่ติดอันดับ 1 ใน 3 ของปี พ.ศ. 2552-
2555 ของโรคท่ีผู้ป่วยเข้ารับการรักษาท่ีสถาบันโรคผิวหนังของประเทศไทย ซึ่งเกิดจากแบคทีเรีย
Propionibacterium acnes ดังน้ันในงานวิจัยคร้ังน้ีจึงมีวัตถุประสงค์เพ่ือศึกษาฤทธ์ิการยับยั้งเชื้อ
แบคทีเรีย P. acnes จากสารสกัดใบอ่อนของสมอไทย ทดสอบหาบริเวณยับย้ังเชื้อ (inhibition
zone) ด้วยวิธี Agar disc diffusion technique รวมท้ังทดสอบกลุ่มสารพฤกษเคมีเบ้ืองต้น หา
ปรมิ าณสารประกอบฟนี อลิกรวม และศกึ ษาฤทธ์ิต้านออกซิเดชัน ผลจากการศึกษาพบว่า ใบอ่อนของ
สมอไทยมีผลผลิตร้อยละเท่ากับ 7.99±0.69 พบสารในกลุ่มฟีนอล ฟลาโวนอยด์ และแอลคาลอยด์
เป็นองค์ประกอบ มีค่าสารประกอบฟีนอลิกรวมเท่ากับ 261.54±1.32 mg GAE/g extract มีฤทธ์ิ
ต้านออกซิเดชัน IC50 เท่ากับ 0.04 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร เม่ือเทียบกับกรดแอสคอร์บิก 0.004
mg/mL สารสกัดสมอไทยออกฤทธิ์ยับย้ังเช้ือแบคทีเรียโดยมีโซนใส (clear zone) เท่ากับ 21.57 ±
0.37 mm อย่างไรก็ตามผลที่ได้ยังมีค่าน้อยกว่ายาปฏิชีวนะคลินดามัยซิน (44.89±2.30 มิลลิเมตร)
ซึ่งผลจากการวิจัยครั้งน้ีทาให้เกิดองค์ความรู้ที่ช่วยส่งเสริมการใช้ประโยชน์จากสมอไทยและสามารถ
พฒั นาเป็นผลติ ภัณฑเ์ จลล้างหนา้ เพ่ือลดการเจรญิ เติบโตของแบคทีเรยี ที่ก่อให้เกิดสวิ ได้

คาสาคญั : สมอไทย; เจลล้างหนา้ ; สมนุ ไพร; สวิ ; เครอ่ื งสาอาง

การประชมุ วชิ าการนาเสนอผลงานวจิ ยั ระดับบณั ฑิตศึกษาแห่งชาติ ครง้ั ที่ 49 51

ABSTRACT
The Institute of Dermatology of Thailand reported that acne was one of the
top three diseases of patients treated during 2009-2012. Propionibacterium acnes has
been recognized as one of the main causative agents in pathogenesis of acne.
Therefore, the objective of this research was to determine the antibacterial activities
of Terminalia chebula extract against P. acnes by using agar disc diffusion technique.
Phytochemical screening, polyphenol contents, and antioxidant activity of the extract
were determined. The results showed that the percentage of yield was 7.99±6.69.
Phenols, flavonoids, and alkaloids were found as chemical component. Phenolic
content was 261.54 mg GAE/g extract and could inhibit of oxidation with IC50 at 0.04
mg/mL of the extract when compared with standard ascorbic 0.004 mg/mL.
Terminalia chebula extract indicated the inhibition zones of 21.57 ± 0.37 mm,
However, this antibacterial activities was still lower than that of clindamycin
(44.89±2.30 mm). The results of this research can help promote the utilization of
Terminalia chebula extract and can be developed as a cleansing gel to reduce the
growth of bacteria that cause acne.

Keywords: Terminalia chebula; facial cleansing gel ; herbal ; acne ; cosmetic

52 การประชุมวชิ าการนาเสนอผลงานวิจัยระดบั บณั ฑิตศกึ ษาแห่งชาติ ครงั้ ท่ี 49

การสกัดและวเิ คราะหอ์ งคประกอบทางเคมขี องนํ้ามันเมลด็ เสาวรส
เพ่อื ประยกุ ตใ์ ชใ้ นผลติ ภณั ฑ์คลนี ซิ่งบาลม์

EXTRACTION AND ANALYSIS OF CHEMICAL COMPONENT OF PASSION FRUIT SEED
OIL FOR APPLICATION IN CLEANSING BALM

ปรษิ า ทองประไพ1 พนดิ า แสนประกอบ2
Parisa Thongpraphai1 Panida Saenprakob2

สาขาวิชาวทิ ยาศาสตร์เครื่องสาอาง1,2
Corresponding author, [email protected] 1and [email protected]

บทคัดยอ่
การสกัดและวิเคราะหองคประกอบทางเคมีในํน้ามันเมล็ดเสาวรส เพ่ือใชในการพัฒนาผลิต
ภัณฑทาความสะอาดเคร่ืองสาอางในรูปแบบคลีนซ่ิงบาล์ม จากการสกัดํน้ามันเมล็ดเสาวรสแบบสด
และอบแหง้ โดยใช้เทคนิค sonication เข้าช่วยในตัวทาละลายปโตรเลียมอีเทอร พบว่าน้ามันท่ีสกัด
ได้จากเมล็ดเสาวรสแบบสดและแบบแห้ง ได้ผลผลิตร้อยละเท่ากับ 9.62±0.22 และ 6.93±0.31
ตามลาดับ กล่ินหอมของน้ามันที่ได้จากเมล็ดเสาวรสแบบสดมีกลิ่นหอมท่ีใกล้เคียงกับธรรมชาติ
มากกว่าน้ามันที่สกัดแบบแห้ง น้ามันจากเมล็ดแบบสดจึงถูกนาไปวิเคราะห Refractive index,
Density และ Specific gravity มีค่าเท่ากับ 1.4695±0.00, 0.8983±0.00 และ 0.9003±0.00
ตามลาดับ และวิเคราะห์องคประกอบทางเคมีด้วยเทคนิค HPLC ปรากฎพีคโครมาแกรมท่ีเวลา 25
นาที ตรงกับสารมาตรฐานวิตามินอี และน้ามันเมล็ดเสาวรสร้อยละ 5 โดยน้าหนัก เป็นอัตราส่วนท่ี
เหมาะสมสาหรับใช้เป็นส่วนผสมในคลีนซ่ิงบาล์มและผลิตภัณฑ์ท่ีได้มีกลิ่นหอมของเสาวรส มีสีเหลือง
ออ่ นของน้ามนั และมีความสามารถในการชาระลา้ งเครือ่ งสาอางได้หมดจด

คาสาคัญ: เสาวรส; นา้ มัน; เคร่อื งสาอาง; HPLC; คลนี ซิง่ บาลม์

การประชมุ วชิ าการนาเสนอผลงานวจิ ยั ระดบั บณั ฑิตศึกษาแห่งชาติ คร้ังที่ 49 53

ABSTRACT
Extraction and analysis of chemical composition in passion fruit seed oil, to
be used in the development of cleansing balms product. Fresh and dried of passion
fruit seed were extracted using sonication assitted with petroleum ether solvent. The
result found that the yiled of oil extracted from fresh and dried seeds were 9.62 ±
0.22 and 6.93 ± 0.31, respectively. The smell of fresh passion fruit seed oil is closer
to nature than the oil extracted from dried seed. The fresh seed oil was analyzed for
Refractive index, Density and Specific gravity equal to 1.4695 ± 0.00, 0.8983 ± 0.00
and 0.9003 ± 0.00 respectively. The chemical composition analysis using HPLC
technique showed peak chromatogram at 25 minutes and matching with the
standard vitamin E. The 5% w/w of passion fruit seed oil as an appropriate ratio for
cleansing balm formulation with passion fruit fragrance, light yellow and ability to
clean cosmetics.

Keywords: passion friut; oil; cosmetic; HPLC; cleansing balm

54 การประชมุ วิชาการนาเสนอผลงานวิจยั ระดบั บัณฑิตศึกษาแหง่ ชาติ คร้งั ที่ 49

การประยุกต์ใช้สารสกดั เมอื กกระเจ๊ยี บเขียวในเซร่มั
APPLICATION OF ABELMOSCHUS ESCULENTUS L. MUCILAGE EXTRACT IN SERUM

พิชชาพร ยอดภิรมย์1 และ พนิดา แสประกอบ2
Phitchaphon Yodpirom1 and Panida Saenprakob2

สาขาวิทยาศาสตรเ์ ครอ่ื งสาอาง1,2
Corresponding author, [email protected] [email protected]

บทคัดย่อ
งานวิจัยน้ีได้ทาการสกัดแยกเมือกจากกระเจี๊ยบเขียว โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) วิเคราะห์
ปริมาณสารประกอบฟีนอลิกรวม 2) ทดสอบฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ 3) ศึกษาองค์ประกอบทางเคมี
และ 4) หาอัตราส่วนที่เหมาะสมของสารสกัดเมือกกระเจ๊ียบกระเจ๊ียบเขียวในเซรั่ม ผลการทดลอง
พบว่าเม่ือนาฝักกระเจี๊ยบสด 1000 กรัม มาต้มในน้าสะอาดปริมาตร 1 ลิตร นาน 30 นาที ทาให้ได้
สารละลายท่ีมีลักษณะเป็นของเหลวหนืด สีน้าตาลเข้ม เม่ือนาทาให้แห้งด้วยเคร่ือง freeze dryer
สารสกัดท่ีได้มีลักษณะเป็นผงแห้งสีน้าตาล การวิเคราะห์ปริมาณสารประกอบฟีนอลิกรวม ด้วยวิธี
Folin-ciocalteu reagent สกัดเมือกกระเจ๊ียบเขียวมีปริมาณฟีนอลิกทั้งหมดสูงสุดเท่ากับ 91
ไมโครกรัมสมมูลของกรดแกลลิคต่อ 100 กรัมน้าหนักแห้ง เมื่อวิเคราะห์ฤทธ์ิต้านอนุมูลอิสระพบว่า
สกัดเมอื กกระเจย๊ี บเขียวสามารถออกฤทธ์ิต้านออกซิเดชันได้โดยมีค่า IC50 เท่ากับ 0.12 mg/mL การ
วิเคราะห์องค์ประกอบทางเคมีของสารสกัดด้วยเทคนิคโครมาโตกราฟี พบกลูต้าไธโอนเป็น
องค์ประกอบเน่ืองจากมีรีเทนชันไทม์ตรงกับสารสกัดเมือกกระเจี๊ยบเขียว เม่ือนาสารสกัดดังกล่าวไป
พัฒนาในสูตรเซร่ัมและทาการทดสอบความคงสภาพของผลิตภัณฑ์ พบว่าอัตราส่วนท่ีเหมาะสมของ
สารสกดั เมอื กในเซรั่ม คอื 0.1% w/w ผลติ ภณั ฑท์ ไี่ ดม้ ีลักษณะเป็นของเหลวใส หนืด สามารถซึมสู่ผิว
ได้ดี และเมื่อทดสอบความคงสภาพท่ีสภาวะต่าง ๆ เป็น เวลา 1 เดือน โดยทาการเก็บข้อมูลทุก
สัปดาห์ พบว่าทส่ี ภาวะอณุ หภมู ิ 4 องศาเซลเซียส 27 องศาเซลเซียส และ 55 องศาเซลเซียส โลชั่นมี
ความคงตวั ดี ไม่เกดิ การแยกชั้นหรือตกตะกอน

คาสาคัญ: กระเจ๊ยี บเขียว, กลตู า้ ไธโอน, เครอ่ื งสาอาง, HPLC

การประชมุ วชิ าการนาเสนอผลงานวิจยั ระดับบัณฑิตศกึ ษาแห่งชาติ ครั้งท่ี 49 55

ABSTRACT
The mucilage from okra was extracted and this research aim to 1) study the
total phenolic content 2) examine for antioxidant activity 3) explore the chemical
composition and 4) determine the suitable ratio of the Okra extract in serum. 1000
grams of fresh okra pods boiled in 1 liter of water for 30 minutes, resulting in a dark
brown viscous solution. The freeze dryer was used for dried the extract with the
charactor of brown dried powder. Analysis of total phenolic content by Folin-
ciocalteu reagent assay, the extract has the high value of 91 µg GAE/100 g extract.
When analyzed for antioxidant activity, crude extract showed the high antioxidant
activity, with an IC50 of 0.12 mg/mL. For chemical composition analysis using
chromatography techniques, the retention time of the okra extract corresponds to
glutathione. When the extract was developed in the serum formulation and tested
for product stability, it was found that the optimal ratio of extract in serum is 0.1% w
/ w with the clear and viscous liquid serum that can penetrate well into skin. The
stability test at various conditions for 1 month, found that at 4 ˚C, 27 ˚C and 55 ˚C
the lotion has good stability, no precipitat.

Keywords: Okra; glutathione; cosmetic; HPLC

56 การประชุมวิชาการนาเสนอผลงานวจิ ัยระดบั บัณฑิตศึกษาแห่งชาติ ครั้งท่ี 49

การพฒั นาต้นแบบระบบพาณิชย์อเิ ลก็ ทรอนิกส์กลุ่มวิสาหกิจชมุ ชนอรสริ ิ จังหวดั นครศรธี รรมราช
THE DEVELOPMENT OF E-COMMERCE MODEL FOR ORNSIRI COMMUNITY
ENTERPRISE GROUP IN NAKHON SI THAMMARAT PROVINCE

สุวนันท์ สรรเพชร1 ขวัญกมล ชัยสุวรรณ2 วัชระพล อนสุ รณ3์ ภคั จริ า เนาวพันธ4์ อทุ มุ พร ศรีโยม5 พรศิลป์ บัวงาม6
Suvanun Sanpech1 Khwankamon Chaisuwan2 Watcharapon Anusorn3 Pakjira Naowapan4
Utumporn Sriyom5 Pornsin Buangam6

Bachelor of Business Administration Program in Business Computer Nakhon Si Thammarat Rajabhat University1
[email protected]

บทคดั ยอ่
งานวิจัยน้ีมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ออกแบบและพัฒนาต้นแบบระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
และ 2) ประเมินประสิทธิภาพของต้นแบบระบบพาณิชย์อิเล็กทรอกนิกส์ กลุ่มวิสาหกิจชุมชนอรสิริ
จังหวัดนครศรีธรรมราช กาหนดกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจงเฉพาะกลุ่มท่ีเคยซื้อสินค้าออนไลน์ จานวน
50 คน และผเู้ ช่ียวชาญด้านการพฒั นาระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ จานวน 5 คน โดยข้อมูลท่ีได้จาก
การสมั ภาษณส์ มาชิกกลุ่มวิสาหกิจชุมชนอรสิริ ผู้วิจัยได้นามาวิเคราะห์ ออกแบบ และพัฒนาต้นแบบ
ระบบ ซงึ่ ทาให้ไดต้ น้ แบบระบบพาณชิ ย์อิเลก็ ทรอนิกสท์ ผ่ี ู้ใชส้ ามารถเรียกดขู อ้ มลู สนิ ค้า ข้อมูลเกี่ยวกับ
กลมุ่ วิสาหกจิ ชมุ ชนอรสิริ ส่งั ซือ้ สนิ ค้า สรปุ ยอดการสงั่ ซอื้ รวมทั้งชอ่ งทางการตดิ ตอ่ ได้ และนาต้นแบบ
ระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ให้ผู้เช่ียวชาญ และผู้ทดลองใช้ประเมินประสิทธิภาพของต้นแบบระบบ
โดยใช้แบบประเมินที่ใช้เกณฑ์คะแนนของลิเคิร์ท 5 ระดับ พบว่าผู้เช่ียวชาญ มีผลการประเมิน
ประสิทธิภาพอยู่ในระดับดีมาก ( ̅ = 4.64, S.D. = 0.33) และผู้ทดลองใช้ มีผลการประเมิน
ประสิทธิภาพอย่ใู นระดบั ดีมาก ( ̅ = 4.80, S.D. = 0.34)

คาสาคญั : กลุ่มวิสาหกิจชมุ ชนอรสริ ิ; ระบบพาณชิ ย์อิเลก็ ทรอนิกส์; เวบ็ ไซต์

การประชุมวชิ าการนาเสนอผลงานวิจัยระดับบณั ฑิตศกึ ษาแห่งชาติ ครั้งที่ 49 57

ABSTRACT
The main purpose of this research was 1) to design and development of E-
commerce model for Ornsiri community enterprise group, Nakhon Si Thammarat
province and 2) opinions the efficacy of E-commerce model for Ornsiri community
enterprise group, Nakhon Si Thammarat province. The size of sample group for this
research formed through purposive sampling in 50, with additional involvement of 5
E-commerce system experts. The information from the interview from member’s
Ornsiri community enterprise group and researcher design and development of E-
commerce model to user view product data, about Ornsiri community enterprise
group, order, Order summary and contact. The efficacy of E-commerce model for
Ornsiri community enterprise group to results were as follows: the E-commerce
system experts’ opinions on the efficiency toward the E-commerce model for Ornsiri
community enterprise group were at the highest level ( ̅ = 4.64, S.D. = 0.33) and the
trial users’ opinions were at the highest level ( ̅ = 4.80, S.D. = 0.34).

Keywords: Ornsiri Community Enterprise Group; E-commerce; Website

58 การประชุมวชิ าการนาเสนอผลงานวจิ ยั ระดบั บณั ฑิตศกึ ษาแหง่ ชาติ ครง้ั ที่ 49

การใช้น้ามนั จากเมล็ดเสาวรสเป็นเบสหลักในการพัฒนาสตู รลิควดิ ลิปสติก
THE USE OF PASSION FRUIT SEED OIL AS A BASE FOR DEVELOPING LIQUID LIPSTICK

กฤษฎา ประยงค1์ พนิดา แสนประกอบ2
Kritsada Prayong1 and Panida Seanprakob2

สาขาวิทยาศาสตรเ์ ครอื่ งสาอาง1, 2
[email protected] and [email protected]

บทคัดย่อ
ลคิ วดิ ลปิ สตกิ คือผลิตภณั ฑ์แบบเดยี วกับลิปสตกิ ท่ีมาในรูปแบบหลอดเหมือน lip gloss แต่มี
เม็ดสีและเนือ้ ทเ่ี ขม้ ขน้ แบบเดียวกบั ลิปสติก ซึ่งการใช้งานลคิ วดิ ลิปสตกิ สามารถกาหนดปริมาณการทา
และเกลี่ยเม็ดสีได้ง่ายกว่าลิปสติก โดยลิควิดลิปสติกท่ัวไปจะเน้นการให้สีสันแต่จะไม่เน้นการบารุงริม
ฝีปาก ทาให้เกิดปัญหาตามมา คือ ริมฝีปากจะแห้งกร้าน และจะต้องใช้ลิปบาล์มเพื่อบารุงริมฝีปาก
ดังน้ันผู้ทาการวิจัยจึงเล็งเห็นความสาคัญของลิควิดลิปสติกท่ีจะให้คุณสมบัติท้ังในด้านการให้สีและ
ดา้ นการบารุงริมฝีปากให้ชุ่มชื่นอย่างสม่าเสมอ โดยไม่ต้องใช้ลิปบาล์มเพ่ือบารุงซ้าอีกรอบ เพ่ือศึกษา
วิธีการตารับผลิตภัณฑ์ลิควิดลิปสติกท่ีผสมสารสกัดน้ามันเมล็ดเสาวรส และศึกษาข้ันตอนการสกัด
น้ามันจากเมล็ดเสาวรสด้วยวิธีระเหยสาร โดยเครื่องระเหยสารแบบหมุน ลิควิดลิปสติกน้ีจะใช้น้ามัน
จากเมล็ดเสาวรสเป็นเบสหลักเพ่ือพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ลิควิดลิปสติกที่มีคุณสมบัติดังกล่าวข้างต้น
โดยน้ามันจากเมล็ดเสาวรสนั้นเม่ือนาไปทดสอบประสิทธิภาพในการกักเก็บน้าไวท่ีผิวหนัง (TEWL)
พบว่าน้ามนั เมล็ดเสาวรสท่ีสกัดด้วยปิโตรเลียมอีเทอร์มีประสิทธิภาพในการกักเก็บน้าไว้ที่ผิวได้ดีท่ีสุด
น่นั คือมีคา่ เฉลี่ยอยู่ในช่วง 8 - 9 g/h.m2 แสดงถึงแนวโน้มของน้ามันเสาวรสที่สามารถให้ความชุ่มช่ืน
หล่อล่ืน และช่วยให้ผิวหนังมีความเรียบเนียนได้ดี จึงเป็นผลให้ลิควิดลิปสติกท่ีใช้น้ามันจากเมล็ด
เสาวรสเป็นเบสหลักน้ันเป็นที่พึงพอใจแก่ผู้ทดลอง ท้ังในด้านการให้สีสัน ความชุ่มชื่น และเนื้อสัมผัส
ของผลิตภณั ฑล์ ิควิดลปิ สตกิ

คาสาคัญ : นา้ มนั จากเมลด็ เสาวรส; ลิควดิ ลิปสตกิ ; ความชมุ่ ชน้ื

การประชมุ วิชาการนาเสนอผลงานวจิ ยั ระดับบณั ฑติ ศกึ ษาแห่งชาติ ครงั้ ท่ี 49 59

ABSTRACT
Liquid lipstick Is the same product as the lipstick that comes in a tube form
like a lip gloss but with the same pigment and texture as the lipstick The use of
liquid lipstick can determine the amount of application and spread the pigment
more easily than lipstick. The typical liquid lipstick will focus on the color, but will
not focus on nourishing the lips. Causing the problem is that the lips become dry.
And must use lip balm to nourish the lips. Therefore, the researcher saw the
importance of liquid lipstick to provide both color and nourishing properties of the
lips regularly. Without having to use lip balms to nourish again. This liquid lipstick
uses passion fruit oil as a base to develop a liquid lipstick with the above qualities.
To study the method of the production of liquid lipstick with passion fruit seed oil
extract And study the process of extracting oil from passion fruit seeds using volatile
substances By rotary evaporator. The passion fruit seed oil, when tested for the
efficiency of water retention in the skin (TEWL), found that the passion fruit seed oil
extracted with petroleum ether is effective in water retention in the skin. the best
That is, the average is in the range 8-9 g / h.m2 Represents the tendency of passion
fruit oil that can be moisturized, lubricated and helps the skin to be smooth. As a
result, the liquid lipstick that uses oil from passion fruit as a base is satisfactory to
the subject. Both in terms of color, moisture, and texture of the liquid lipstick
products.

Keywords : passion fruit seed oil; liquid lipstick; moisture

60 การประชุมวิชาการนาเสนอผลงานวิจยั ระดับบัณฑิตศกึ ษาแหง่ ชาติ ครัง้ ท่ี 49

ความเป็นพรไี บโอตกิ ของผงแก่นตะวันและผงกล้วยนา้ ว้าต่อการส่งเสริมการเจริญและฤทธิย์ ับย้ัง
จุลนิ ทรยี ์กอ่ โรคในทางเดินอาหารของ Bifidobacterium animalis BF052

PREBIOTIC EFFECTS OF JERUSALEM ARTICHOKE AND BANANA POWDER
FOR GROWTH ENHANCING AND ANTI-GASTROINTESTINAL PATHOGEN

OF BIFIDOBACTERIUM ANIMALIS BF052

ปายาลกั ษณ์ สดุ ชาร1ี เขมวทิ ย์ จันตะ๊ มา2 ศริ ิมา สุวรรณกูฏ จันตะ๊ มา3
Payalak Sudcharee1 Kaemwich Jantama2 Sirima Suvarnakuta Jantama3
คณะเภสชั ศาสตร์ มหาวิทยาลัยอบุ ลราชธาน1ี สานกั วิชาเทคโนโลยกี ารเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร2ี ,3

Corresponding author, [email protected]

บทคัดย่อ
พรีไบโอติก คือสารอาหารที่ไม่ถูกย่อยและไม่ถูกดูดซึมในระบบทางเดินอาหารส่วนต้น แต่เป็น
สารอาหารท่ีจุลินทรีย์โพรไบโอติกในบริเวณลาไส้ใหญ่สามารถใช้ในกระบวนการหมักได้ งานวิจัยน้ีเลือกศึกษา
พชื พรีไบโอติกสองชนิด ไดแ้ ก่ แกน่ ตะวันซ่ึงเป็นพืชพรีไบโอติกที่มีปริมาณอินนูลินสูง และกล้วยน้าว้าท่ีพบว่า
มอี งคป์ ระกอบของแป้งท่ีทนต่อการย่อย ซ่ึงจัดว่าเป็นพรีไบโอติกท่ีสามารถส่งเสริมการเจริญของจุลินทรีย์โพร
ไบโอติกได้ งานวิจัยน้ีมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของพรีไบโอติกจากผงแก่นตะวันและผงกล้วยน้าว้า ต่อการ
เจริญและฤทธ์ิยับยั้งจุลินทรีย์ก่อโรคของจุลินทรีย์โพรไบโอติกสายพันธ์ุ Bifidobacterium animalis BF052
โดยทาการเพาะเล้ียง B. animalis BF052 ในอาหาร de Man, Rogosa and Sharpe (MRS) broth ที่เติมผง
แก่นตะวันหรือผงกล้วยน้าว้าที่ความเข้มข้น 0.5, 1, 2, 3, 4, 5 % w/v นาไปบ่มเพาะเชื้อท่ีอุณหภูมิ 37 องศา
เซลเซียส แล้วทาการนบั จานวนแบคทีเรยี โพรไบโอตกิ ที่มชี วี ิต และวัดค่า pH ของอาหารเลี้ยงเช้ือ ทุก 6 ชั่วโมง
เป็นเวลา 24 ชั่วโมง ทาการคัดเลือกความเข้มข้นของผงแก่นตะวันและผงกล้วยน้าว้าท่ีสามารถส่งเสริมการ
เจริญของ B. animalis BF052 ได้ดีที่สุดไปใช้ในการศึกษาผลของพรีไบโอติกต่อการส่งเสริมฤทธิ์ยับย้ัง
แบคทีเรียก่อโรค 4 ชนิด ได้แก่ Escherichia coli WS3, Staphylococcus aureus ATCC 25923, Bacillus
cereus DMST 5040, และ Salmonella typhimurium DMST 15676 ด้วยวธิ ี agar well diffusion
ผลการศึกษาพบว่าผงแก่นตะวัน ท่ีความเข้มข้น 3% w/v และผงกล้วยน้าว้า ท่ีความเข้มข้น 5 %
w/v สามารถส่งเสริมการเจริญของ B. animalis BF052 ได้ดีท่ีสุด โดยมีปริมาณแบคทีเรีย B. animalis
BF052 เพ่ิมข้ึนท่ี 13.54±0.06 log cfu/ml และ 12.17±0.08 log cfu/ml ตามลาดับ ในระยะเวลาการบ่ม 24
ช่วั โมง ค่า pH ของอาหารเลย้ี งเชื้อทเี่ ตมิ ผงแกน่ ตะวนั และผงกล้วยน้าว้าท่ีความเข้มข้นดังกล่าว มีค่า pH ลดลง
จาก 6.27 เป็น 4.25 และจาก 6.93 เป็น 4.30 ตามลาดับ การทดสอบผลของพรีไบโอติกต่อการส่งเสริมฤทธ์ิ
ยับย้ังจุลินทรีย์ก่อโรค พบว่าผงแก่นตะวันความเข้มข้น 3% w/v มีความสามารถในการส่งเสริมการยับยั้ง
แบคทีเรีย S. typhimurium ได้ เม่ือเปรียบเทียบกับ B. animalis BF052 ท่ีไม่เติมผงแก่นตะวัน โดยผงกล้วย
น้าว้าความเข้มข้น 5% w/v ไม่มีผลในการส่งเสริมฤทธ์ิยับยั้งจุลินทรีย์ก่อโรคของ B. animalis BF052
การศึกษาคร้ังน้ีสามารถสรุปได้ว่าผงแก่นตะวัน ความเข้มข้น 3% w/v มีผลในการเป็นพรีไบโอติกท่ีดี โดย
สามารถส่งเสริมการเจรญิ และเสรมิ ฤทธิ์ยับยั้งจุลินทรีย์ก่อโรคของ B. animalis BF052 ได้ ดังน้ันผงแก่นตะวัน

การประชมุ วิชาการนาเสนอผลงานวจิ ยั ระดบั บัณฑติ ศกึ ษาแห่งชาติ ครงั้ ที่ 49 61

จึงเปน็ พืชท่ีมีความเหมาะสมในการนาไปใช้ประโยชน์ในการเป็นพรีไบโอติกในผลิตภัณฑ์อาหารหรือผลิตภัณฑ์
สขุ ภาพต่อไปได้
คาสาคัญ: Bifidobacterium animalis 052; พรไี บโอติก; ผงแกน่ ตะวัน; ผงกล้วยนา้ ว้า

62 การประชมุ วิชาการนาเสนอผลงานวิจัยระดบั บัณฑิตศึกษาแหง่ ชาติ ครัง้ ท่ี 49

ABSTRACT
Prebiotic is a non-digestible food ingredient in the upper digestive tract, but rather
fermented by probiotics in the colon. To study prebiotics, this study selected two types of
plant. Jerusalem artichoke is prebiotic plant containing high amount of inulin, and banana
contains resistance starch, which also exhibits prebiotic property. Both can promote the
growth of probiotic bacteria. The aim of this study was to assess the prebiotic effects of
Jerusalem artichoke and banana powder on the growth and antibacterial activity of
Bifidobacterium animalis BF052. B. animalis BF052 was cultured in de Man, Rogosa and
Sharpe (MRS) broth supplemented with Jerusalem artichoke powder and banana powder at
concentrations of 0.5, 1, 2, 3, 4, and 5 % (w/v) at 37C. The probiotic growth and pH value of
the medium were evaluated every 6 hour for 24 hours. Antibacterial activity against
Escherichia coli WS3, Staphylococcus aureus ATCC 25923, Bacillus cereus DMST 5040, and
Salmonella typhimurium DMST 15676 was tested by agar well diffusion assay.
The Jerusalem artichoke powder at 3% w/v and banana powder at 5% w/v showed
the strongest growth-promoting effect on B. animalis BF052. The viable count of probiotic
reached 13.54±0.06 and 12.17±0.08 log CFU/ml, respectively within 24 hours. At these
concentrations of Jerusalem artichoke and banana powder, the pH of the cultures
decreased from 6.27 to 4.25 and from 6.93 to 4.30, respectively. The antimicrobial activity of
cell-free supernatant of B. animalis BF052 culture in MRS broth containing 3% w/v Jerusalem
artichoke powder could be enhanced against Salmonella typhimurium when compared
those of B. animalis BF052 without Jerusalem artichoke. Whereas banana powder at the
concentration of 5% w/v did not show a synergist effect on antibacterial activity of B.
animalis BF052. In conclusion, the obtained data demonstrated that Jerusalem artichoke at
the concentration of 3% w/v exhibited a promising prebiotic effect in promoting the growth
and the antibacterial activity of B. animalis BF052. Thus, the result showed that Jerusalem
artichoke was a suitable ingredient for the further application as prebiotic in food or
health products.

Keywords: Bifidobacterium animalis 052; Prebiotic; Jerusalem artichoke powder;
Banana powder

การประชุมวชิ าการนาเสนอผลงานวิจยั ระดับบัณฑติ ศึกษาแหง่ ชาติ ครัง้ ท่ี 49 63

การสกัดสีจากพชื ธรรมชาติสู่ผลิตภณั ฑช์ มุ ชนคีรีวง
NATURAL COLOR EXTRACTION TO KIRIWONG’S PRODUCTS

อรอมุ า รักษาชล1,1 วันทนยี ์ มาลี1,2 และ นงเยาว์ เทพยา1,3
Onuma Ruksachol1,1 , Wantanee Malee1,2 and Nongyao Teppaya1,3

คณะวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี มหาวิทยาลยั ราชภฏั นครศรธี รรมราช1
Corresponding author,[email protected] [email protected] [email protected]

บทคดั ย่อ
ชุมชนคีรีวง เป็นชุมชนหน่ึงในอาเภอลานสกา จังหวัดนครศรีธรรมราช ดินแดนที่ได้ช่ือว่า
อากาศดที ส่ี ดุ ในประเทศไทย เป็นหมู่บ้านต้นแบบการศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนาโดยมีชาวบ้านเข้ามามีส่วน
รว่ ม เปน็ สังคมแห่งการเรียนรู้ โดยนาเอาภูมิปัญญาจากธรรมชาติรอบตัวมาสร้างสรรค์เป็นงานศิลปะ
ประจาชมุ ชน บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพ่ือนาเสนอการสกัดสีจากธรรมชาติของชุมชนคีรีวง และการ
สรา้ งผลติ ภัณฑ์ทไี่ ด้จากสีธรรมชาติ เกบ็ รวบรวมขอ้ มูลโดยการสัมภาษณ์ผู้ประกอบการและหน่วยงาน
สนับสนุน การสังเกตแบบมสี ่วนร่วม การศึกษาเอกสาร ตารา งานวิจัย จากน้ันนาข้อมูลทั้งหมดมาทา
การวิเคราะห์เนื้อหา และสังเคราะห์ข้อมูล ผลการศึกษาพบว่าชุมชนคีรีวงสามารถนาวัสดุจาก
ธรรมชาติในท้องถิ่น เช่น ใบเพกา ใบมังคุด เปลือกสะตอ เปลือกลูกเนียง เป็นต้น มาสกัดสีโดยการ
สกัดร้อน และมีการนาสีที่สกัดได้ไปสร้างผลิตภัณฑ์ของชุมชน คือ ผ้ามัดย้อม และผ้าบาติก ท่ีมีการ
ออกแบบลายผ้าทม่ี คี วามโดดเด่น เปน็ เอกลักษณ์เฉพาะตวั

คาสาคัญ: การสกดั สี; ผลิตภัณฑ์ชุมชนครี วี ง

ABSTRACT
Kiriwong community is located at Lansaka district, Nakorn Si Thammarat
province, the land that has the best ozone in south of Thailand. The community is
subject of research study for development with the participation of the villagers and
is a learning society which uses local wisdom to create these creative things. This
article aims to present the natural color extraction and creation of nature products.
The data were collected by interviews, entrepreneurs and supporting departments.
Observation, engaging, studying, document, research and textbooks. Then, take all
the data, analyze the content and synthesize it. The results of the study showed that
the Khiri Wong community could bring materials from local nature. Oroxylum
indicium leaves/mangosteen leaves/Sataw pericarp/Djenkol Bean pericarp etc. The
ball shell is a color bite by hot extraction and the extracted paint is used to create a
community product. With a unique design, the fabric is distinctive.

Keywords: color extraction; Kiriwong Community Products

64 การประชมุ วชิ าการนาเสนอผลงานวิจัยระดบั บัณฑิตศึกษาแหง่ ชาติ ครงั้ ท่ี 49

ภาวะผู้นาเชิงนวตั กรรมของผบู้ ริหารสถานศึกษาตามความคิดเหน็ ของครู
สงั กดั สานกั งานเขตพื้นทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 1

INNOVATION LEADERSHIP OF SCHOOL ADMINISTRATORS AS PERCEIVED BY
TEACHERS UNDER SONGKHLA PRIMARY EDUCATIONAL SERVICE AREA OFFICE 1

บัณฑิตา ดาเรืองศรี 1 ศิลป์ชยั สุวรรณมณ2ี
Banthita Dumruangsri 1 Sinchai Suwanmanee2
นสิ ติ การศกึ ษามหาบณั ฑติ คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั ทักษิณ1
อาจารย์ประจาสาขาวชิ าการบริหารการศกึ ษา คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยทักษณิ 2
Corresponding author,[email protected] and [email protected]

บทคดั ยอ่
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาภาวะผู้นาเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษา 2)
เปรียบเทยี บภาวะผูน้ าเชงิ นวัตกรรมของผ้บู ริหารสถานศึกษาตามความคิดเห็นของครู สังกัดสานักงาน
เขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 1 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ครูสังกัดสานักงานเขตพื้นท่ี
การศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 1 ปีการศึกษา 2562 จานวน 317 คน เคร่ืองมือการวิจัยเป็น
แบบสอบถามมีค่าความเช่ือมั่นทั้งฉบับเท่ากับ .993 สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ค่าความถ่ี ค่าร้อยละ
ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบที การทดสอบเอฟ โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์
สาเร็จรูปทางสถติ ิ
ผลการวิจัยพบว่า 1) ภาวะผู้นาเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษา ตามความคิดเห็นของ
ครู สังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 1 ในภาพรวม และรายด้าน อยู่ใน
ระดับมาก 2) การเปรียบเทียบภาวะผู้นาของผู้บริหารสถานศึกษา ตามความคิดเห็นของครู สังกัด
สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 1 พบว่า มีเพียง 2 ตัวแปร คือ ตัวแปรวุฒิ
การศึกษา มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 และขนาดของสถานศึกษา มี
ความแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ .001 ส่วนตัวแปรเพศ อายุ และประสบการณ์ใน
การทางาน พบวา่ ไมแ่ ตกต่างกนั

คาสาคญั : ภาวะผู้นา ; นวตั กรรม ; ภาวะผู้นาเชงิ นวตั กรรม

การประชมุ วชิ าการนาเสนอผลงานวจิ ัยระดบั บัณฑิตศึกษาแห่งชาติ ครงั้ ที่ 49 65

ABSTRACT
The objectives of this research were 1) to study the innovation leadership of
school administrators, and 2) to compare the the innovation leadership of school
administrators based on opinions of teachers under Songkhla Primary Educational
Service Area Office 1. The samples consisted of 317 teachers under Songkhla Primary
Educational Service Area Office 1 in academic year 2019. The reliability of a
questionnaire was .993. The data were analyzed by statistics as percentage,
arithmetic means, standard deviation, t-test and F-test.
The research found that 1) overall and each individual aspects, the
innovation leadership of school administrators based on opinions of teachers under
Songkhla Primary Educational Service Area Office 1 was at a high level, and 2) the
comparison results of the innovation leadership of school administrators based on
opinions of teachers under Songkhla Primary Educational Service Area Office 1
revealed that the opinions of teachers who differed in educational level and school
size were significantly different at .05 level, and the teachers working in different
school size had significantly different opinions at .01 level. However, the teachers
and who differed in gender, age, working experience, and educational background did
not have significantly different opinions.

Keywords : leadership ; innovation ; innovation leadership

66 การประชุมวชิ าการนาเสนอผลงานวิจัยระดบั บณั ฑิตศึกษาแห่งชาติ ครั้งที่ 49

กาหนดการ
การประชุมวชิ าการนาเสนอผลงานวิจยั ระดับบณั ฑิตศึกษาแห่งชาติ ครง้ั ท่ี 49
The 49th National Graduate Research Conference 2019 : NGRC#49
“การสร้างสรรค์งานวจิ ัยและนวัตกรรม : ความท้าทาย และโอกาสในการก้าวสู่ Thailand 4.0”

วนั ท่ี 6 ธนั วาคม 2562 เวลา 11.00 – 16.00 น. ณ อาคารหอประชุมใหม่

ผทู้ รงคุณวุฒิ : ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.จารุวรรณ สิงห์ม่วง
ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.วรี วรรณ จงจิตร ศริ ิจิรกาล
ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ชลลดา แสงมณี ศริ สิ าธติ กิจ

ลาดับ ช่ือเรือ่ ง ช่อื – สกลุ นกั วจิ ยั เวลา
11.00
31 การระดมทรัพยากรทางการศึกษาของผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา หะซัน หมาดโหยด
11.10
ตามความคดิ เห็นของครู สังกดั สานักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษา ศิลปช์ ยั สุวรรณมณี
11.20
ประถมศึกษาสงขลา เขต 2 11.30

32 การมีส่วนรว่ มของชุมชนในการบรหิ ารจดั การสถานศึกษา อัสมี สมาน 11.40

ตามความคิดเหน็ ของครู สงั กัดสานักงานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษา ศลิ ปช์ ยั สุวรรณมณี 11.50
13.00
มธั ยมศกึ ษา เขต 16 13.10
13.20
33 การบริหารงานดา้ นสมั พนั ธ์ชุมชนของสถานศกึ ษา สงั กัด ธันยธร มุณีศรี 13.30

เทศบาลนครหาดใหญ่ จงั หวดั สงขลา สนุ ทรี วรรณไพเราะ

34 การดาเนนิ งานตามนโยบายการศกึ ษาเพอ่ื การมงี านทาใน ชัญญานชุ มูลวิชา

โรงเรียนเฉพาะความพกิ ารทางการเหน็ สงั กดั สานกั งาน ศิลป์ชยั สุวรรณมณี

คณะกรรมการสง่ เสรมิ การศกึ ษาเอกชน

35 การบรหิ ารจัดการตามนโยบายลดเวลาเรียน เพมิ่ เวลารู้ ของ ขวญั กนก วตั ตธรรม

ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา สังกดั สานักงานเขตพน้ื ที่การศึกษา สุนทรี วรรณไพเราะ

ประถมศกึ ษาสตลู

36 การบริหารงานระบบดแู ลชว่ ยเหลอื นกั เรยี นของสถานศึกษา จุฬารัตน์ จันทรค์ ง

สงั กดั สานักงานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศึกษาพทั ลุงเขต 2 สุนทรี วรรณไพเราะ

37 สมรรถนะของผ้บู รหิ ารสถานศกึ ษาตามความคิดเห็นของครู ชาลี ลูกเหล็ม

สงั กดั สานักการศกึ ษา เทศบาลนครหาดใหญ่ จงั หวัดสงขลา ศลิ ป์ชัย สวุ รรณมณี

38 บทบาทของผู้บริหารสถานศึกษาในยุคไทยแลนด์ 4.0 สังกดั ณฐั พล เจะสารี

องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินจังหวัดสงขลา รงุ่ ชัชดาพร เวหะชาติ

39 การบริหารโรงเรียนวิถพี ุทธของผบู้ ริหารสถานศกึ ษา สังกดั เจษฎา รอบคอบ

สานักงานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศกึ ษาชุมพร เขต 2 สนุ ทรี วรรณไพเราะ

40 การดาเนินงานโครงการรณรงค์ป้องกนั และแก้ไขปัญหายา พชิ ญาดา สตุ ตะคาร

เสพติดของสถานศกึ ษา (TO BE NUMBER ONE) สังกดั ศลิ ป์ชยั สวุ รรณมณี

สานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาพัทลุง เขต 2

การประชมุ วิชาการนาเสนอผลงานวิจยั ระดบั บณั ฑิตศกึ ษาแห่งชาติ ครั้งที่ 49 67

ลาดบั ช่ือเรอื่ ง ช่ือ – สกุล นกั วิจัย เวลา
13.40
41 การประเมนิ การบรหิ ารโครงการโรงเรยี นสจุ รติ สงั กดั กมลพรรณ ศรสี งิ ห์ 13.50
สานกั งานเขตพน้ื ท่ี การศกึ ษาประถมศึกษาสตลู อมลวรรณ วีระธรรมโม 14.00

42 พฤตกิ รรรมการตัดสนิ ใจของผูบ้ รหิ ารสถานศกึ ษา สังกดั อชิรญาณ์ แซ่เช่น 14.10
สานักงานเขตพื้นทกี่ ารศึกษาประถมศึกษายะลา เขต 3

43 สภาพปัญหาการดาเนินงานโครงการโรงเรียนวถิ พี ทุ ธของ จิรารตั น์ อนิ มณเทยี ร

โรงเรียนในสังกดั สานักงานเขตพนื้ ท่กี ารศึกษาประถมศึกษา

ยะลาเขต 3

44 ภาวะผูน้ าเชิงกลยทุ ธข์ องผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา สังกดั กฤติน เกียรตธิ นภูษติ

สานักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาสตลู อมลวรรณ วีระธรรมโม

68 การประชมุ วิชาการนาเสนอผลงานวจิ ยั ระดบั บัณฑิตศกึ ษาแห่งชาติ ครง้ั ท่ี 49

การระดมทรพั ยากรทางการศกึ ษาของผู้บริหารสถานศกึ ษา ตามความคิดเหน็ ของครู
สังกดั สานักงานเขตพนื้ ทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาสงขลา เขต 2

MOBILIZING EDUCATIONAL RESOURCES OF SCHOOL ADMINISTRATORS BASED
ON OPINIONS OF TEACHERS UNDER THE SONGKHLA EDUCATIONAL
SERVICE AREA OFFICE, AREA 2

หะซนั หมาดโหยด1 ศิลปช์ ัย สุวรรณมณ2ี
Hasan Madyod1 and Sinchai Suwanmanee 2
นิสติ การศกึ ษามหาบณั ฑติ สาขาการบรหิ ารการศึกษา คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั ทักษณิ 1
อาจารย์ ดร. สาขาการบรหิ ารการศึกษา คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ทักษณิ 2
Corresponding author,[email protected] and [email protected]

บทคัดย่อ
งานวิจัยน้ีมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาการระดมทรัพยากรทางการศึกษาของผู้บริหาร
สถานศึกษาตามความคิดเห็นของครู สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 2 2)
เปรียบเทียบการระดมทรัพยากรทางการศึกษาของผู้บริหารสถานศึกษา ตามความคิดเห็นของครู
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 2 จาแนกตามตัวแปรเพศ อายุ ศาสนา
ประสบการณ์ในการทางาน วุฒิการศึกษา และขนาดสถานศึกษา กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ครูในโรงเรียน
สังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 2 ปีการศึกษา 2562 จานวน 310 คน
กาหนดขนาดกลุม่ ตวั อย่างจากตารางของ Krejcie and Morgan เคร่ืองมือการวจิ ัยเป็นแบบสอบถาม
ประมาณค่า 5 ระดับ มีค่าความเช่ือม่ันท้ังฉบับเท่ากับ .974 สถิติท่ีใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่
คา่ ร้อยละ คา่ เฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การทดสอบค่าเอฟ และเปรียบเทียบราย
คู่ดว้ ยวธิ ี LSD
ผลการวิจัยพบว่า การระดมทรัพยากรทางการศึกษาของผู้บริหารสถานศึกษา ตามความ
คิดเห็นของครู สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 2 โดยภาพรวมและรายด้านอยู่
ในระดับมาก และผลการเปรียบเทียบความคิดเห็นเก่ียวกับการระดมทรัพยากรทางการศึกษาของ
ผู้บริหารสถานศึกษา ตามความคิดเห็นของครูพบว่า ครูที่มีประสบการณ์ในการทางานต่างกัน และ
ทางานในโรงเรียนท่ีมีขนาดต่างกัน มีความคิดเห็นเกี่ยวกับการระดมทรัพยากรทางการศึกษาของ
ผู้บริหารสถานศึกษา ตามความคิดเห็นของครู สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต
2 ในภาพรวมแตกตา่ งกนั อย่างมนี ัยสาคญั ทางสถิตทิ รี่ ะดับ .01 และระดับ.05 ตามลาดบั สาหรับตัวแปรด้าน
ครูที่มีเพศ อายุ ศาสนา วุฒิการศึกษา ต่างกันมีความคิดเห็นเกี่ยวกับการระดมทรัพยากรทางการศึกษาของ
ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา ตามความคดิ เหน็ ของครู สานกั งานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาสงขลา เขต2
ไม่แตกตา่ งกัน

คาสาคัญ: การระดมทรัพยากรทางการศึกษา

การประชุมวิชาการนาเสนอผลงานวิจยั ระดบั บณั ฑิตศกึ ษาแห่งชาติ คร้ังท่ี 49 69

ABSTRACT
The purposes of this research were 1) to study the mobilization of educational
resources of school administrators under the Office of Songkhla Educational Service Area,
Area 2 based on the opinions of teachers differing in variables of gender, age, religion, work
experience, educational background, and school size. The research samples were 310
teachers in the schools under the Songkhla Primary Education Service Area Office, 2 in the
academic year 2019. The sample size was specified by Krejcie and Morgan Table. The
research instrument was a 5-rating scale questionnaire with reliability at .974 The statistics
used for data analysis were percentage, mean, standard deviation. t-test, F-test and LSD
comparison.
The research found that mobilizing educational resources for school administrators
under the Office of Songkhla Educational Service Area, Area 2, based on the teacher's
opinion was at high level, both overall and individual aspects. The comparison of opinions
regarding mobilization of educational resources of school administrators found that the
teachers with different work experiences and working in schools of different sizes had
significantly different opinions regarding mobilization of educational resources of school
administrators at .01 and .05 levels respectively. However, teachers with different gender,
age, religion, and educational background had no different opinions regarding mobilization
of educational resources of the school administrators under the Office of Songkhla
Educational Service Area, Area 2.

Keywords: Mobilizing Educational Resources

70 การประชุมวชิ าการนาเสนอผลงานวจิ ยั ระดับบัณฑิตศึกษาแห่งชาติ ครัง้ ท่ี 49

การมสี ่วนรว่ มของชุมชนในการบริหารจดั การสถานศึกษาตามความคิดเห็นของครู
สงั กดั สานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศกึ ษา เขต 16

PARTICIPATION OF COMMUNITY IN SCHOOL ADMINISTRATION ACCORDING
TO OPINION OF TEACHERS UNDER SECONDARY EDUCATIONAL
SERVICE AREA OFFICE 16

อสั มี สมาน 1 ศิลป์ชยั สุวรรณมณี 2
Asamee Saman 1 Sinchai Suwanmanee 2
สาขาวิชาการบรหิ ารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ1
อาจารย์ประจาสาขาวชิ าการบรหิ ารการศึกษา คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยทกั ษณิ 2
[email protected] and [email protected]

บทคดั ย่อ
การวิจัยน้ีมีวัตถุประสงค์เพ่ือ 1) ศึกษาการมีส่วนร่วมของชุมชนในการบริหารจัดการ
สถานศึกษา ตามความคิดเห็นของครู สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 16 2)
เปรียบเทียบการมีส่วนร่วมของชุมชนในการบริหารจัดการสถานศึกษา ตามความคิดเห็นของครู
สังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 16 จาแนกตามเพศ อายุ ระดับการศึกษา
ประสบการณ์ในการทางาน และขนาดสถานศึกษา กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ครูในสถานศึกษา สังกัด
สานกั งานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษามธั ยมศึกษา เขต 16 ปีการศึกษา 2562 จานวน 346 คน กาหนดขนาด
กลมุ่ ตัวอย่างโดยเทยี บจากตารางสาเร็จรปู ของ Krejcie and Morgan แลว้ สุ่มแบบแบ่งช้ันตามตัวแปร
ขนาดของสถานศึกษา จากน้ันใช้วิธีการสุ่มอย่างง่ายโดยวิธีการจับสลาก เคร่ืองมือการวิจัยเป็น
แบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ มีค่าความเชื่อม่ันทั้งฉบับเท่ากับ .987 วิเคราะห์
ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสาเร็จรูป สถิติท่ีใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน
มาตรฐาน การทดสอบค่าที และการทดสอบค่าเอฟ
ผลการวิจัยพบว่า 1) การมีส่วนร่วมของชุมชนในการบริหารจัดการสถานศึกษา ตามความ
คิดเห็นของครู สงั กัดสานกั งานเขตพ้นื ที่การศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 16 ในภาพรวมและรายด้านอยู่ใน
ระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้านพบว่าด้านการมีส่วนร่วมรับรู้ปัญหามีค่าเฉลี่ยสูงสุด รองลงมาได้แก่
การมีส่วนร่วมประเมินผล การมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ และการมีส่วนร่วมการวางแผน ตามลาดับ
2) ผลการเปรียบเทียบการมีส่วนร่วมของชุมชนในการบริหารจัดการสถานศึกษา ตามความคิดเห็น
ของครู สังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 16 พบว่าครูที่มีเพศ อายุ ระดับ
การศึกษา ประสบการณ์ในการทางานต่างกัน และขนาดสถานศึกษา มีความคิดเห็นในภาพรวมไม่
แตกตา่ งกนั โดยเมื่อเปรียบเทียบตามขนาดสถานศึกษาพบว่า ด้านการมีส่วนร่วมรับรู้ปัญหา ด้านการ
มีส่วนร่วมในการตัดสินใจ และด้านการมีส่วนร่วมดาเนินการ แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่
ระดับ .05 และดา้ นการมสี ่วนรว่ มการวางแผน แตกต่างกนั อย่างมนี ัยสาคัญทางสถิตทิ ่ีระดบั .01

คาสาคญั : การมีสว่ นร่วม ; ชมุ ชน ; การบรหิ ารจดั การสถานศกึ ษา

การประชมุ วิชาการนาเสนอผลงานวจิ ยั ระดบั บัณฑิตศกึ ษาแหง่ ชาติ คร้ังท่ี 49 71

ABSTRACT
The objectives of this research were 1) to study participation of the community in
school administration according to opinions of teachers under Secondary Educational
Service Area Office 16, and 2) to compare the participation according to the opinions of
teachers who differ in gender, educational level, work experience, and school size. The
samples consisted of 346 teachers under Secondary Educational Service Area Office 16,
academic year 2019. The sample size was determined by the table of Krejcie and Morgan;
then stratified random sampling by the size of the school using simple random sampling
lottery method. The research instrument was a set of 5 rating-scale questionnaires
containing 60 questions. The reliability of questionnaires was .987. The data were analyzed
by percentage, means, standard deviation, t-test, and F-test
The research results revealed that 1) community participation in school
management according to the teacher's opinion under the Office of Secondary Education
Service Area 16, overall and at individual level were at a high level. When considering
individual aspects, participation in perceiving the problems had the highest mean followed
by participation in evaluation, decision making, and operation respectively, 2) the
comparison results showed that the teachers with different gender, age, educational level,
work experience, and school size had no different towards the participation of community
in school management. However, when comparing with size of school it found that the
participation in perceiving problems, decision making and operation had statistically
significant different opinions at the .05, and the participation in planning had statistically
significant different opinions at the .01.

Keywords : participation; community; school administration

72 การประชุมวิชาการนาเสนอผลงานวจิ ัยระดับบณั ฑติ ศึกษาแหง่ ชาติ คร้ังที่ 49

การบรหิ ารงานดา้ นสมั พันธ์ชุมชนของสถานศึกษา สังกัดเทศบาลนครหาดใหญ่ จงั หวัดสงขลา
THE COMMUNITIES RELATIONSHIP ADMINISTRATION IN MUNICIPALITY SCHOOLS

UNDER HATYAI CITY MUNICIPALITY, SONGKHLA PROVINCE

ธนั ยธร มุณศี ร1ี สนุ ทรี วรรณไพเราะ2
Tunyatorn Muneesri 1 and Suntaree Wannapairo 2
นิสติ การศกึ ษามหาบณั ฑติ สาขาวชิ าการบริหารการศกึ ษา คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ทกั ษิณ1
อาจารย์ ดร. สาขาวชิ าการบริหารการศกึ ษา คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั ทักษณิ 2
[email protected] [email protected]

บทคดั ย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1) ศึกษาการบริหารงานด้านสัมพันธ์ชุมชนของสถานศึกษา
สังกัดเทศบาลนครหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา และ 2) เปรียบเทียบการบริหารงานด้านสัมพันธ์ชุมชน
ของสถานศึกษา สังกัดเทศบาลนครหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จาแนกตาม เพศ อายุ วุฒิการศึกษา
ประสบการณ์การสอน และสถานศึกษา กลุ่มตัวอย่าง คือ ครูสังกัดเทศบาลนครหาดใหญ่ จังหวัด
สงขลา จานวน 201 คน กาหนดขนาดกลุ่มตัวอย่าง จากตารางของเครจซี่และมอร์แกน เครื่องมือ
การวิจัย คือ แบบสอบถาม สถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉล่ีย และส่วนเบ่ียงเบน
มาตรฐาน การทดสอบสมมตฐิ านใช้คา่ ที และ เอฟ เม่ือพบว่า ค่าสถิติมีความแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญ
จะทดสอบความแตกต่างของค่าเฉล่ียระหว่างกลุ่มเป็นรายคู่โดยใช้วิธี Least Significant Difference
(LSD)
ผลการวิจัยพบว่า 1) ความคิดเห็นของครูสังกัดเทศบาลนครหาดใหญ่ต่อการบริหารงานด้าน
สมั พันธช์ มุ ชนของสถานศึกษา สงั กดั เทศบาลนครหาดใหญ่ จงั หวดั สงขลา ในภาพรวมและรายด้านอยู่
ในระดับมาก เม่ือพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านท่ีอยู่ในระดับมากลาดับแรก คือ งานเกี่ยวกับ
คณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน รองลงมาคือ งานสร้างเสริมความสัมพันธ์กับชุมชนและ
หนว่ ยงานอืน่ งานให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาของสถานศกึ ษา งานร่วมกิจกรรมชุมชน งาน
ประชาสมั พันธ์ งานจดั ตง้ั กลุ่ม ชมรม สมาคมและมูลนิธิ ส่วนด้านงานให้บริการชุมชนอยู่ในระดับมาก
เป็นลาดับสุดท้าย ตามลาดับ และ 2) ผลการเปรียบเทียบการบริหารงานด้านสัมพันธ์ชุมชนของ
สถานศึกษา พบว่า ครูสังกัดเทศบาลนครหาดใหญ่ ท่ีมีเพศ อายุ วุฒิการศึกษา และประสบการณ์การ
สอนของสถานศึกษา ในภาพรวมไม่แตกต่างกัน แต่ครูสังกัดเทศบาลนครหาดใหญ่ ท่ีปฏิบัติงานใน
สถานศึกษาต่างกัน มีความคิดเห็นต่อบริหารงานด้านสัมพันธ์ชุมชนของสถานศึกษา ในภาพรวมและ
รายด้านแตกตา่ งกัน อยา่ งมีนัยสาคญั ทางสถติ ิท่ีระดับ .001

คาสาคัญ: สมั พนั ธช์ มุ ชน ;การบริหารงานดา้ นสมั พนั ธช์ ุมชน ;เทศบาลนครหาดใหญ่

การประชมุ วชิ าการนาเสนอผลงานวจิ ยั ระดับบณั ฑติ ศกึ ษาแหง่ ชาติ ครั้งที่ 49 73

ABSTRACT
The objectives of this research were 1) to study on area of communities
relationship in Municipality Schools under Hatyai City Municipality, Songkhla province,
and 2) to compare and analyze on area of communities relationship in Municipality
Schools under Hatyai City Municipality, Songkhla province, through classification as
gender, age, education level, work experience, and school in Hatyai City Municipality.
The research sample consisted of 201 teachers working in municipality schools under
Hatyai City Municipality. Krejcie and Morgan Principle was applied for determining the
sample size. Questionnaires were used for data collection. Analytical statistics were
percentage, mean, and standard deviation. F-test and t-test were applied for
hypothesis test. Furthermore, there was also Least Square Difference (LSD) method
done for between-group mean difference test.
The research found that: 1) The teachers’ opinions toward the communities
relationship in Municipality Schools under Hatyai City Municipality, the research
indicated that both entire opinions and each aspect of the teachers’ opinions were
at high level. When the collected data was classified as each aspect, the research
revealed that the work of basic education school committee aspect was at the
highest level, followed by these aspects; community’s relationship with other
agencies, the community involvement in educational management of schools, the
participating in community activities organized, School public relations affairs, Setting-
up groups, clubs, associations, funds, foundation in school and community service
work, respectively. And 2) The comparison for the teachers’ opinions toward the
communities relationship in educational institution, the research found that
difference of the municipality teachers’ personal factors; gender, age, education
level, and work experience, would not differently affect to the municipality teachers’
opinions toward the communities relationship in educational institution, but the
difference was statistically significant at the 0.001 level for teachers’ different school
in Hatyai City Municipality.

Keywords: The Communities Relationship; The Communities Relationship
Administration in Educational; Hatyai City Municipality

74 การประชุมวชิ าการนาเสนอผลงานวจิ ยั ระดบั บัณฑิตศึกษาแห่งชาติ ครง้ั ที่ 49

การดาเนินงานตามนโยบายการศกึ ษาเพอื่ การมีงานทาในโรงเรยี นเฉพาะความพกิ ารทางการเห็น
สังกดั สานักงานคณะกรรมการสง่ เสริมการศกึ ษาเอกชน

EDUCATIONAL POLICY OPERATION FOR VISUALLY IMPAIRED TEACHER EMPLOYMENT
AT SCHOOLS UNDER THE OFFICE OF PRIVATE EDUCATION COMMISSION

ชญั ญานุช มลู วชิ า1 ศิลปช์ ัย สุวรรณมณ2ี
Chanyanuch Moonwicha1 Sinchai Suwanmanee2
นิสิตปรญิ ญาโท สาขาวชิ าการบรหิ ารการศกึ ษา คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั ทักษณิ 1
อาจารย์ ดร. สาขาวชิ าการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั ทกั ษิณ2

[email protected] and [email protected]

บทคัดย่อ
การวจิ ัยนม้ี ีวัตถุประสงค์เพอื่ 1) ศกึ ษาการดาเนินงานตามนโยบายการศึกษาเพ่ือการมีงานทา
ในโรงเรยี นเฉพาะความพิการทางการเห็น สังกัดสานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน 2)
เปรียบเทียบการดาเนินงานตามนโยบายการศึกษาเพ่ือการมีงานทาในโรงเรียนเฉพาะความพิการ
ทางการเห็น สังกัดสานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน ตามตัวแปรเพศ อายุ
ประสบการณ์ในการทางาน วุฒิการศึกษา และภูมิภาคท่ีต้ังของโรงเรียน กลุ่มตัวอย่างได้แก่ ครู
โรงเรียนเฉพาะความพิการทางการเห็น สังกัดสานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน ปี
การศึกษา 2562 จานวน 175 คน กาหนดกลุ่มตัวอย่างโดยเทียบจากตารางของ Krejcie and
Morgan แล้วใช้วิธีการสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือการวิจัยเป็นแบบสอบถามได้ค่าความเช่ือมั่นทั้งฉบับ
เท่ากับ 0.93 สถิติท่ีใช้ในการวิเคราะห์ ข้อมูลได้แก่ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การ
ทดสอบค่าที และการทดสอบคา่ เอฟ
ผลการวิจัยพบว่า การดาเนินตามนโยบายการศึกษาเพ่ือการมีงานทาในโรงเรียนเฉพาะ
ความพิการทางการเห็น ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ผลการเปรียบเทียบของครูสังกัดสานักงาน
คณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชนพบว่าครูท่ีมีเพศ อายุ และประสบการณ์การทางานของ
โรงเรียนต่างกันครูมีความคิดเห็นไม่แตกต่างกัน ส่วนครูท่ีมีวุฒิการศึกษาแตกต่างกันมีความคิดเห็น
แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า ความร่วมมือและ
หน่วยงานทางการศกึ ษามคี วามคดิ เหน็ ท่แี ตกต่างกนั อยา่ งมีนยั สาคัญทางสถติ ิที่ระดบั .05 ภูมิภาคท่ีตั้ง
ของโรงเรียนที่แตกต่างกันครูมีความคิดเห็นแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .001 เม่ือ
พิจารณารายด้านพบว่าการบริหารสถานศึกษาและความร่วมมือกับเครือข่ายและหน่วยงานทางการ
ศกึ ษามีความคดิ เหน็ แตกตา่ งกันอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติที่ระดบั .001

คาสาคญั : การศึกษาเพื่อการมีงานทา; โรงเรียนเฉพาะความพกิ ารทางการเหน็

การประชมุ วิชาการนาเสนอผลงานวิจยั ระดบั บัณฑติ ศึกษาแห่งชาติ ครง้ั ท่ี 49 75

ABSTRACT
The purpose of this research were to 1) study the educational policy
operation for visually impaired student employment at schools under the Office of
Private Education Commission, 2) compare the operation based on variables of
gender, age, work experience, educational background and region, and school
location. Research samples were 175 visually impaired teachers at schools under the
Private Education Commission in the academic year 2019. The samples were
calculated by Krejcie and Morgan's Table using simple random sampling. The
research instrument was a questionnaire with the reliability of 0.927. The statistics
used in the analysis were percentage, average, standard deviation, t-test, and F-test.
The research found that overall, the educational policy operation for visually
impaired student employment at schools under the Office of Private Education
Commission was at a high level. The comparison results showed that the opinions of
teachers with different gender, age, and working experience in schools were not
different; however, the teachers with different educational background had
statistically different opinions at the .05 level. When considering each aspect, it
found that the teachers having different cooperation and working in different
educational organizations had significantly different opinions at the .05 level. The
teachers working in different locations of schools had significantly different opinions
at .001 level. When considering in each aspect, it was found that different school
administration and cooperation with networks and educational agencies significantly
influenced on the opinions at the 001.

Keywords: Educational for Employment; School for Visually Impaired

76 การประชุมวิชาการนาเสนอผลงานวิจัยระดบั บัณฑติ ศกึ ษาแหง่ ชาติ ครัง้ ที่ 49

การบรหิ ารจัดการตามนโยบายลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ของผู้บรหิ ารสถานศึกษา
สงั กดั สานักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาสตลู

THE ADMINISTRATION ACCORDING TO MODERATE CLASS MORE KNOWLEDGE
POLICY OF SCHOOL ADMINISTRATORS UNDER SATUN PRIMARY EDUCATIONAL

SERVICE AREA OFFICE

ขวัญกนก วัตตธรรม1 สนุ ทรี วรรณไพเราะ2
Khwankanok Wattatham 1 Suntaree Wannapiro 2
นิสิตการศึกษามหาบณั ฑติ สาขาวชิ าการบริหารการศึกษา คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ทกั ษิณ1
อาจารย์ ดร.สาขาวิชาการบรหิ ารการศกึ ษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยทกั ษิณ2
[email protected] 1 and [email protected]

บทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาการบริหารจัดการตามนโยบายลดเวลาเรียน เพ่ิมเวลารู้ของ
ผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสตูล 2) เปรียบเทียบการบริหาร
จัดการตามนโยบายลดเวลาเรียน เพ่ิมเวลารู้ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศกึ ษาสตูลตามตัวแปร เพศ อายุ วุฒิการศึกษา ประสบการณ์การทางาน และขนาดสถานศึกษา กลุ่ม
ตัวอย่าง ได้แก่ ครูที่ปฏิบัติหน้าท่ีในโรงเรียน สังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาสตูล ปี
การศึกษา 2562 จานวน 310 คน กาหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยเทียบจากตารางสาเร็จรูปของเครจซี่และ
มอร์แกน แล้วทาการสุ่มแบบแบ่งชั้นตามขนาดสถานศึกษา จากน้ันทาการสุ่มอย่างง่าย โดยวิธีจับสลาก
เครื่องมือการวจิ ัยเปน็ แบบสอบถาม ไดค้ ่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ 0.966 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล
ได้แก่ ค่ารอ้ ยละ ค่าเฉลย่ี คา่ เบ่ียงเบนมาตรฐาน การทดสอบคา่ ที และการวิเคราะหค์ วามแปรปรวนแบบทางเดียว
ผลการวิจยั พบว่า 1) ครูสังกัดสานักงานเขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาสตูล มีความคิดเห็นต่อการ
บริหารจัดการตามนโยบายลดเวลาเรียน เพ่ิมเวลารู้ของผู้บริหารสถานศึกษา ในภาพรวมและรายด้านอยู่ใน
ระดับมาก 2) ครูสังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาสตูล ที่มีเพศและวุฒิการศึกษาต่างกัน มี
ความคิดเห็นต่อการบริหารจัดการตามนโยบายลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ของผู้บริหารสถานศึกษาในภาพรวม
และรายด้านไม่แตกต่างกัน ครูท่ีมีอายุและประสบการณ์การทางานต่างกันมีความคิดเห็นต่อการบริหาร
จัดการตามนโยบายลดเวลาเรียน เพ่ิมเวลารู้ของผู้บริหารสถานศึกษา โดยภาพรวมไม่แตกต่างกัน แต่เม่ือ
พิจารณารายด้าน พบว่า ด้านการควบคุมคุณภาพ แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 และ
สาหรับครูที่ปฏิบัติงานในสถานศึกษาขนาดต่างกัน โดยภาพรวมมีความคิดเห็นต่อการบริหารจัดการตาม
นโยบายลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ของผู้บริหารสถานศึกษา แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ .05
และเมื่อพิจารณารายด้าน ด้านการดาเนินกิจกรรมลดเวลาเรียน เพ่ิมเวลารู้ และด้านการควบคุมคุณภาพ
แตกตา่ งกันอย่างมนี ยั สาคญั ทางสถติ ทิ ร่ี ะดับ .001

คาสาคัญ: ลดเวลาเรียน เพม่ิ เวลารู้; การบริหารจัดการ; ประถมศึกษา

การประชุมวิชาการนาเสนอผลงานวิจยั ระดบั บัณฑิตศกึ ษาแหง่ ชาติ คร้ังท่ี 49 77

ABSTRACT
The objectives of this research were to study and compare the administration
according to moderate Class More Knowledge Policy of school administrators under
Satun Primary Educational Service Area Office based on the opinions of teachers
differing in gender, age, education level, work experience, size of the school. The
samples were 310 teachers in the mainstreaming schools under Satun Primary
Educational Service Area Office, which calculated by Krejcie and Morgan table and
stratified random sampling depending on the school size, then random sampling.
The research instrument was a questionnaire with reliability at 0.966. Data was
analyzed by frequency, percentage, mean, standard deviation, independent sample
t-test, and One-Way ANOVA.
The results of study presented that 1) the teachers under Satun Primary
Educational Service Area Office thought about school administrators an
administration according to moderate Class More Knowledge Policy were at a high
level of the administrative management, both overall and individual aspects, and 2)
the teachers having different gender and degree of education had no different
opinion towards the administrative management of the school administrators.
The teachers differing in age had no different opinions towards the school
administrators’ management; however, in terms of individual aspects, the teachers
had significantly different opinions towards the administrative management in the
quality control aspect at .05. The teachers who differ in work experience had no
different opinion towards the policy administrative management; however, in terms
of individual aspects, the teachers having different work experience had significantly
different opinion at .05. The teachers working in different size of school had different
opinions toward the administrators’ policy administrative management, both overall
and individual aspects. In terms of individual aspects, the teachers had significant
different opinions towards teaching activities at .001 and quality control at .001
respectively.

Keywords: Moderate Class More Knowledge; Administrative Management; Primary Education

78 การประชมุ วชิ าการนาเสนอผลงานวจิ ยั ระดบั บัณฑติ ศึกษาแหง่ ชาติ คร้ังท่ี 49

การบรหิ ารงานระบบดูแลช่วยเหลอื นกั เรียนของสถานศกึ ษา
สังกดั สานกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาพัทลุงเขต 2
Administration of Student Support System of Schools
under Phatthalung Primary Education Area Office 2

จฬุ ารตั น์ จันทรค์ ง 1 สนุ ทรี วรรณไพเราะ2
Jularat Jankong 1 Suntaree Wannapairo 2
นสิ ติ การศึกษามหาบณั ฑติ สาขาวชิ าการบรหิ ารการศกึ ษา คณะศกึ ษาศาสาตร์ มหาวทิ ยาลยั ทกั ษณิ 1
อาจารย์ ดร. สาขาวชิ าการบริหารการศึกษา คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ทักษณิ 2
[email protected] [email protected] 2

บทคัดยอ่
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพ่ือ 1) เพื่อศึกษาการบริหารงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนของ
สถานศึกษา สังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาพัทลุงเขต 2 2) เพ่ือเปรียบเทียบการ
บริหารงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนของสถานศึกษา สังกัดสานักงานเขตพื้ นที่การศึกษา
ประถมศกึ ษาพทั ลุงเขต 2 จาแนกตาม เพศ อายุ วฒุ ิการศึกษา ประสบการณ์ในการทางาน และขนาด
ของสถานศึกษา ประชากรเป็นครูในสถานศึกษา สังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษา
พัทลุงเขต 2 ปี การศึกษา 2562 จานวน 1,380 คน กลุ่มตัวอย่าง จานวน 302 คน กาหนดขนาดกลุ่ม
ตัวอย่างโดยเปรียบเทียบจากตารางสาเร็จรูปของ เครจซี่และ มอร์แกน. (1970) และสุ่มแบบแบ่งช้ัน
จาแนกตามขนาดสถานศึกษา จากน้ันใช้วิธีการสุ่มอย่างง่าย โดยวิธีการจับสลาก เครื่องมือการวิจัย
เป็นแบบสอบถาม จานวน 60 ข้อ ชนิดมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ มีค่าความเช่ือม่ันทั้งฉบับ
เท่ากับ 0.972 สถิติท่ีใช้ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉล่ีย ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การ
ทดสอบคา่ เอฟ และการวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดยี ว
ผลการวิจัยพบว่า 1) การบริหารงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนของสถานศึกษา สังกัด
สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาพัทลุงเขต 2 ในภาพรวมทั้ง 5 ด้านอยู่ในระดับมากและราย
ด้านทุกด้านอยู่ในระดับมาก 2) ผลการเปรียบเทียบการบริหารงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนของ
สถานศึกษา สังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาพัทลุงเขต 2 จาแนกตาม เพศ อายุ วุฒิ
การศึกษา ประสบการณ์ในการทางาน และขนาดของสถานศึกษา พบว่า ครูที่ปฏิบัติหน้าท่ีในขนาด
สถานศึกษาต่างกันมีความคิดเห็นต่อการบริหารงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนของสถานศึกษา
แตกต่างกนั อยา่ งมนี ยั สาคัญทางสถิตทิ ีร่ ะดับ .01

คาสาคญั : การบรหิ ารงานระบบดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรียนของสถานศกึ ษา

การประชมุ วิชาการนาเสนอผลงานวจิ ัยระดับบัณฑติ ศกึ ษาแหง่ ชาติ ครั้งที่ 49 79

ABSTRACT
The purposes of this research were 1) to study the administration of student
support systems of schools under Phatthalung Primary Education Area Office 2, and
2) to compare the administration of systems of schools under Phatthalung Primary
Education Area Office 2 evaluated by teachers differing in gender, age, educational
background, working experience and the size of the schools. The population were
1,380 teachers in schools under Phatthalung Primary Education Area Office 2 of
academic year 2019. The research samples were 302 teachers by Krejcie and Morgan
Table (1970) and stratified random sampling by school size; then the Simple Random
Sampling method by lottery. The research instrument was a 60-item questionnaire
with 5 rating scales with confidence level at 0.972. The statistics used for data
analysis were percentage, mean, standard deviation t-test. F-test and One-Way
ANOVA.
The research findings showed that 1) the administration of student support
systems of schools under Phatthalung Primary Education Area Office 2 was at high
level, both overall and individual aspects. When considering in each aspect, it was
found that all aspects had a high level of opinions. Overall, the teachers with
different school sizes had different opinions on the administration of student support
systems statistically significantly at .01 level.

Keywords: Administration of Student Support System of Schools

80 การประชุมวชิ าการนาเสนอผลงานวจิ ยั ระดับบัณฑติ ศึกษาแหง่ ชาติ ครั้งที่ 49

สมรรถนะของผู้บรหิ ารสถานศึกษาตามความคดิ เหน็ ของครู
สงั กัดสานักการศกึ ษาเทศบาลนครหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
COMPETENCIES OF SCHOOL ADMINISTRATORS BASED ON OPINIONS
OF TEACHERS UNDER THE DEPARTMENT OF EDUCATION AT HAT YAI

MUNICIPALITY IN SONGKHLA PROVINCE

ชาลี ลกู เหลม็ 1 ศิลปช์ ัย สวุ รรณมณ2ี
Chalee Luklem1 and Sinchai Suwanmanee 2
นสิ ติ ปรญิ ญาโท สาขาการบริหารการศกึ ษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยทกั ษิณ1
อาจารย์ ดร. สาขาการบรหิ ารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ทักษณิ 2
[email protected] and [email protected]

บทคดั ย่อ
การวิจัยน้ีมีวัตถุประสงค์เพ่ือ 1) เพื่อศึกษาสมรรถนะของผู้บริหารสถานศึกษาตามความคิดเห็น
ของครู สังกัดสานักการศึกษา เทศบาลนครหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา 2) เพ่ือเปรียบเทียบสมรรถนะของ
ผู้บริหารสถานศึกษาตามความคิดเห็นของครู สังกัดสานักการศึกษา เทศบาลนครหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
จาแนกตามตัวแปร เพศ อายุ ระดับการศึกษา ประสบการณ์ในการทางาน กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ครู สังกัด
สานักการศึกษา เทศบาลนครหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา ปีการศึกษา 2562 จานวน 201 คน กาหนดขนาด
กลุ่มตัวอย่างโดยเทียบจากตารางสาเร็จรูปของเครจซ่ีและมอร์แกน จากนั้นใช้วิธีสุ่มอย่างง่าย ด้วยวิธีจับ
สลาก เครื่องมือการวิจยั เปน็ แบบสอบถาม จานวน 71 ข้อ ชนิดมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ มีค่าความ
เชอ่ื มนั่ ทั้งฉบับเท่ากับ 0.981 สถิติทีใ่ ช้ ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน สถิติทดสอบ ค่าที
และสถติ ทิ ดสอบค่าเอฟ
ผลการวิจัยพบว่า 1) ผลการวิเคราะห์การศึกษาสมรรถนะของผู้บริหารสถานศึกษาตามความ
คิดเห็นของครู สังกัดสานักการศึกษา เทศบาลนครหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา ในภาพรวมและรายด้านอยู่ใน
ระดับมาก ( = 4.3047 ; S.D. = 0.4093) เมื่อพจิ ารณาเปน็ รายดา้ น พบวา่ ทกุ ด้านมีระดบั ความคิดเห็นอยู่
ในระดับมาก 2) เปรียบเทียบความคิดเห็นของครูต่อการศึกษาสมรรถนะของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัด
สานักการศึกษา เทศบาลนครหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จาแนกตามตัวแปรเพศ อายุ ระดับการศึกษา และ
ประสบการณใ์ นการทางาน พบวา่ ครูท่ีมีเพศต่างกันมีความคิดเห็นในภาพรวมไม่แตกต่างกัน เมื่อพิจารณา
รายด้าน พบวา่ การทางานเปน็ ทีม และการพฒั นาศกั ยภาพบคุ ลากรแตกตา่ งกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่
ระดับ .05 ส่วนครูที่มีอายุต่างกันมีความคิดเห็นในภาพรวมแตกต่างกันอย่าง มีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ
.05 และเมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า การยึดมั่นในความถูกต้องและจริยธรรมแตกต่างกัน ความเข้าใจใน
องค์กรและระบบงาน และการทางานเป็นทีม แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วนการ
วิเคราะห์และสังเคราะห์แตกต่างกันอยา่ งมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .001 และการมีวิสัยทัศน์แตกต่างกัน
อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 สาหรับครู ที่มีระดับการศึกษาต่างกันมีความคิดเห็นในภาพรวม
แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และเม่ือพิจารณารายด้าน พบว่า การยึดม่ันในความ
ถูกตอ้ งและจริยธรรม และความเขา้ ใจในองค์กรและระบบงาน แตกต่างกนั อยา่ งมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ

การประชุมวชิ าการนาเสนอผลงานวจิ ัยระดับบณั ฑิตศึกษาแห่งชาติ คร้ังท่ี 49 81

.01 ส่วนการบริการเป็นเลิศ การทางานเป็นทีม และการพัฒนาศักยภาพบุคลากร แตกต่างกันอย่างมี
นัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และครูที่ประสบการณ์ในการทางานต่างกันมีความคิดเห็นในภาพรวมและ
รายดา้ นไมแ่ ตกต่างกนั

คาสาคญั : สมรรถนะ ; ผู้บริหารสถานศึกษา

82 การประชุมวิชาการนาเสนอผลงานวจิ ยั ระดบั บณั ฑติ ศึกษาแห่งชาติ คร้งั ท่ี 49

ABSTRACT
The objectives of this research were: 1) to study competency of school
administrators according to teachers' opinions under the Department of Education at
Hat Yai Municipality, Songkhla Province, and 2) to compare the competency
according to opinions of teachers differing in gender, age, education level, and
working experience. The samples were 201 teachers under the Department of
Education at Hat Yai Municipality, Songkhla Province, in the academic year 2019,
specified by a table of Crazy and Morgan and simple random sampling, lottery
method. The research instrument was a 5-scale questionnaire consisting of 71
questions with confidence level at 0.981. The statistics used were percentage, mean,
standard deviation, t-test, and F-test.
The research results revealed that: 1) educational competency of school
administrators, overall and in individual aspects, was at a high level. All aspects had a
high level of opinions, 2) the comparison results showed that the teachers differing
in gender had no different opinions towards the competency of school
administrators. Teamwork and different personnel’s competence development and
teachers with different ages had significantly different opinions at.05 level. Different
adherence and ethics, understanding of organization and working system, and
teamwork affected different opinions significantly at .05, while different analyses and
synthesis affected different opinions significantly at .001, and different visions also
affected the opinions at .01. Teachers with different educational levels had different
opinions significantly at .05. Different adherence and ethics, and understanding of
organization and working system had different opinions at 01. Excellent services,
teamwork, and personnel’s competence development affected different opinions
significantly at .05, while the teachers having different work experience had different
opinions, both overall and individual aspects.

Keywords: Competencies ; Administrators

การประชมุ วชิ าการนาเสนอผลงานวจิ ัยระดบั บัณฑติ ศึกษาแหง่ ชาติ ครง้ั ที่ 49 83

บทบาทของผู้บริหารสถานศกึ ษาในยุคไทยแลนด์ 4.0 สงั กัดองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ จงั หวัดสงขลา
ROLES OF SCHOOL ADMINISTRATORS UNDER LOCAL ADMINISTRATIVE
ORGANIZATIONS IN SONGKHLA PROVINCE IN THAILAND 4.0 ERA

ณฐั พล เจะสาร1ี ร่งุ ชัชดาพร เวหะชาต2ิ
Nattaphon Chesaree1 Rungchatchadaporn Vehachart2

คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยทกั ษณิ 1
รองศาสตราจารย์ ดร. สาขาการบรหิ ารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยทักษณิ 2
Corresponding author, [email protected] and [email protected]

บทคัดยอ่
การวิจัยน้ีมีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาบทบาทของผู้บริหารสถานศึกษาในยุคไทยแลนด์ 4.0
สงั กดั องคก์ รปกครองส่วนท้องถิ่นจังหวัดสงขลา 2) เพื่อเปรียบเทียบบทบาทของผู้บริหารสถานศึกษา
ในยุคไทยแลนด์ 4.0 สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินจังหวัดสงขลา จาแนกตามตัวแปรเพศ อายุ
ประสบการณใ์ นการทางาน วุฒิการศึกษา และขนาดสถานศึกษา กลมุ่ ตัวอย่าง ได้แก่ ครู สังกัดองค์กร
ปกครองส่วนท้องถ่ินจังหวัดสงขลา ปีการศึกษา 2562 จานวน 285 คน กาหนดขนาดกลุ่มตัวอย่าง
โดยเปรยี บเทียบจากตารางสาเร็จรูปของ Krejcie and Morgan (1970) และสุ่มแบบแบ่งช้ันจาแนก
ตามขนาดสถานศึกษา จากนั้นใช้วิธีการสุ่มอย่างง่าย โดยวิธีการจับสลาก เคร่ืองมือการวิจัยเป็น
แบบสอบถาม จานวน 66 ขอ้ ชนิดมาตราสว่ นประมาณคา่ (Rating Scale) 5 ระดบั มคี ่าความเช่ือมั่น
ทั้งฉบับเท่ากับ 0.983 สถิติท่ีใช้ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉล่ีย ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที
การทดสอบคา่ เอฟ
ผลการวิจัยพบว่า 1) ผลการศึกษาบทบาทของผู้บริหารสถานศึกษาในยุคไทยแลนด์ 4.0
สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจังหวัดสงขลา ในภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก เม่ือ
พิจารณาเปน็ รายด้าน พบว่า ทุกด้านมีระดับความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก 2) ผลเปรียบเทียบบทบาท
ของผ้บู ริหารสถานศกึ ษาในยุคไทยแลนด์ 4.0 สังกดั องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจังหวัดสงขลา จาแนก
ตามตัวแปรเพศ อายุ ประสบการณ์ในการทางาน วุฒิการศึกษา และขนาดสถานศึกษา พบว่า ครูท่ีมี
เพศต่างกันมคี วามคิดเหน็ ต่อบทบาทของผบู้ รหิ ารสถานศึกษาในยุคไทยแลนด์ 4.0 ไม่แตกต่างกัน ครูที่
มชี ว่ งอายุต่างกัน มคี วามคิดเห็นต่อบทบาทของผู้บริหารสถานศึกษาในยุคไทยแลนด์ 4.0 แตกต่างกัน
อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 ครูท่ีมีประสบการณ์ในการทางานต่างกัน มีความคิดเห็นต่อ
บทบาทของผู้บริหารสถานศึกษาในยุคไทยแลนด์ 4.0 ไม่แตกต่างกัน ครูที่มีวุฒิการศึกษาต่างกันมี
ความคิดเห็นต่อบทบาทของผู้บริหารสถานศึกษาในยุคไทยแลนด์ 4.0 แตกต่างกัน อย่างมีนัยสาคัญ
ทางสถิติท่ีระดับ .001 และครูท่ีปฏิบัติงานในสถานศึกษาต่างกันมีความคิดเห็นต่อบทบาทของ
ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษาในยุคไทยแลนด์ 4.0 แตกต่างกัน อยา่ งมนี ยั สาคญั ทางสถิติทร่ี ะดับ .01

คาสาคัญ : บทบาทผู้บริหารสถานศกึ ษา ; ไทยแลนด์ 4.0

84 การประชมุ วิชาการนาเสนอผลงานวจิ ยั ระดับบัณฑิตศกึ ษาแหง่ ชาติ ครั้งที่ 49

ABSTRACT
The objectives of this research were to study and compare roles of school
administrators under Local Administrative Organizations in Songkhla Province in
Thailand 4.0 era evaluated by teachers differing in gender, age, educational level,
working experience, and school size. The samples were 285 teachers in the study
area, academic year 2019. The sample size was drawn using Krejcie and Morgan
Table. Stratified random sampling by school size and simple random sampling by
drawing lots were also used. The research instrument was a set of 5 rating-scale
questionnaires that contains 66 questions. The reliability of a questionnaire was
0.983. The statistics used for data analysis were percentage, arithmetic means,
standard deviation, t-test dependent and F-test.
The results findings presented that 1) roles of the school administrators was
rated at a high level for both overall and individual aspects, 2) the comparison
results showed that the teachers with different gender had no significantly different
opinion towards the school administrators’ roles in all aspects. On the other hand,
the teachers who differ in age had significantly different opinions towards the school
administrator’s roles at .05 level. The teachers who differ in working experience had
no significant different opinions. The teachers who differ in educational level had
statistically significantly different opinions at .001. The teachers who are working in
different school size had statistically significantly different opinion at .01 level.

Keywords : Roles of School Administrators ; Thailand 4.0 Era

การประชุมวชิ าการนาเสนอผลงานวจิ ัยระดบั บัณฑิตศกึ ษาแหง่ ชาติ ครั้งท่ี 49 85

การบริหารโรงเรยี นวถิ ีพทุ ธของผ้บู ริหารสถานศกึ ษา
สงั กัดสานักงานเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษาชุมพร เขต 2
BUDDHIST - ORIENTED SCHOOLS ADMINISTRATION OF SCHOOL ADMINISTRATORS
UNDER CHUMPHON PRIMARY EDUCATIONAL SERVICE AREA OFFICE 2

เจษฎา รอบคอบ1 สุนทรี วรรณไพเราะ2
Jadsada Robkob 1 Suntaree Wannapairo 2
นิสติ การศกึ ษามหาบณั ฑติ สาขาวชิ าการบริหารการศกึ ษา คณะศกึ ษาศาสาตร์ มหาวทิ ยาลยั ทกั ษิณ1
อาจารย์ ดร. สาขาวชิ าการบรหิ ารการศกึ ษา คณะศึกษาศาสาตร์ มหาวทิ ยาลยั ทักษณิ 2
[email protected] and [email protected]

บทคัดย่อ
งานวิจัยน้ีมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาการบริหารโรงเรียนวิถีพุทธของผู้บริหารสถานศึกษา
สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ชุมพร เขต 2 และ 2) เพ่ือเปรียบเทียบการบริหาร
โรงเรียนวถิ ีพุทธของผูบ้ รหิ ารสถานศึกษา สงั กัดสานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษา ชุมพร เขต
2 จาแนกตาม เพศ อายุ วุฒิการศึกษา ประสบการณ์ในการทางาน และขนาดสถานศึกษา กลุ่ม
ตัวอย่าง ได้แก่ ครูที่ปฏิบัติการสอนในโรงเรียนวิถีพุทธ สังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา
ประถมศกึ ษาชมุ พร เขต 2 จานวน 317 คน ซง่ึ ไดม้ าโดยการกาหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยเทียบจาก
ตารางสาเร็จรูปของ Krejcie and Morgan (1970) เคร่ืองมือการวิจัยเป็นแบบสอบถามประมาณค่า
5 ระดับ มีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ .918 สถิติท่ีใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ
ค่าเฉล่ีย ค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที (T-test) การทดสอบค่าเอฟ (F-test) และ
เปรยี บเทยี บรายค่ดู ้วยวิธี LSD
ผลการวิจัยพบว่าการบริหารโรงเรียนวิถีพุทธของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสานักงานเขต
พ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษา ชุมพร เขต 2 โดยภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก และผลการ
เปรียบเทียบความคิดเห็นเก่ียวกับการบริหารโรงเรียนวิถีพุทธของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัด
สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษา ชุมพร เขต 2 พบว่า ครูที่มีอายุ วุฒิการศึ กษา
ประสบการณ์ในการปฏิบัติงาน และขนาดสถานศึกษาต่างกัน มีความคิดเห็นเก่ียวกับการบริหาร
โรงเรยี นวถิ ีพทุ ธของผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา สงั กดั สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ชุมพร เขต
2 แตกต่างกนั อยา่ งมนี ัยสาคัญทางสถิติที่ระดบั .001

คาสาคัญ : โรงเรยี นวถิ พี ุทธ; การบรหิ าร

86 การประชมุ วชิ าการนาเสนอผลงานวิจยั ระดับบัณฑิตศึกษาแห่งชาติ ครั้งที่ 49

ABSTRACT
The purposes of this study were to study the Buddhist-oriented school
administration of school administrators under Chumphon Primary Educational Service
Area Office 2 and to compare the administration based on opinions of teachers differing
in sex, age, educational background, experiences, and size of the school. The Research
samples were 317 teachers working in the Buddhist-oriented schools under Chumphon
area office 2. The sample size was determined by Krejcie and Morgan’s table. The
research instrument was five rating-scale questionnaires with .918 of reliability. The
research data was analyzed through statistics of percentage, standard deviation and the
analytical statistics include t-test and one-way analysis of variance (ANOVA).
The research results presented that the school administrator’s administration
was at a high level, both overall and individual aspects, and the comparison results
showed that the teachers of different ages, educational levels, work experiences, and
school sizes had significantly different opinions at .001.

Keywords: Buddhist Oriented Schools ; Management

การประชมุ วชิ าการนาเสนอผลงานวิจยั ระดับบณั ฑติ ศึกษาแหง่ ชาติ คร้ังท่ี 49 87

การดาเนนิ งานโครงการรณรงคป์ ้องกนั และแก้ไขปญั หายาเสพติดของสถานศึกษา
(TO BE NUMBER ONE) สงั กัดสานกั งานเขตพ้นื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาพัทลงุ เขต 2

OPERATION OF THE DRUG PREVENTION AND SOLUTION CAMPAIGN
(TO BE NUMBER ONE) OF SCHOOLS UNDER PHATTHALUNG PRIMARY

EDUCATIONAL SERVICE AREA OFFICE 2

พิชญาดา สตุ ตะคาร 1 ศลิ ป์ชยั สวุ รรณมณี 2
Pitchayada Suttakarn1 and Sinchai Suwanmanee 2
สาขาการบรหิ ารการศกึ ษา คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ทกั ษิณ1
อาจารย์ประจาสาขาวชิ าการบรหิ ารการศึกษา คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ทักษณิ 2
Corresponding author, [email protected] and [email protected]

บทคัดย่อ
การวิจัยน้ีมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาการดาเนินงานโครงการรณรงค์ป้องกันและแก้ไข
ปัญหายาเสพติดของสถานศึกษา (TO BE NUMBER ONE) สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษาพัทลุง เขต 2 2) เพ่ือเปรียบเทียบการดาเนินงานโครงการรณรงค์ป้องกันและแก้ไข
ปัญหายาเสพติดของสถานศึกษา (TO BE NUMBER ONE) สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษาพัทลุง เขต 2 จาแนกตาม ตัวแปร เพศ อายุ ระดับการศึกษา ประสบการณ์ในการสอน
และขนาดสถานศึกษา กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ครู สังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาพัทลุง
เขต 2 ปีการศึกษา 2562 จานวน 302 คน กาหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยเทียบจากตารางสาเร็จรูป
ของ Krejcie and Morgan (1970) และทาการสมุ่ แบบแบ่งชนั้ จาแนกตามขนาดสถานศึกษา แล้วทา
การสุ่มอย่างง่าย (Simple Random Sampling) โดยวิธีการจับสลาก เครื่องมือการวิจัยเป็น
แบบสอบถามมีค่าความเช่ือม่ันทั้งฉบับเท่ากับ .986 สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ
ค่าเฉล่ีย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบที การทดสอบเอฟ โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์
สาเร็จรูปทางสถติ
ผลการวิจัยพบว่า 1) การดาเนินงานโครงการรณรงค์ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดของ
สถานศึกษา (TO BE NUMBER ONE) สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพัทลุง เขต 2
ในภาพรวม และรายด้าน อยใู่ นระดบั มาก 2) การเปรียบเทียบการดาเนินงานโครงการรณรงค์ป้องกัน
และแก้ไขปัญหายาเสพติดของสถานศึกษา (TO BE NUMBER ONE) สังกัดสานักงานเขตพื้นท่ี
การศึกษาประถมศึกษาพัทลุง เขต 2 พบว่า ครูท่ีมีเพศ อายุ ระดับการศึกษา ประสบการณ์ในการ
สอน และขนาดสถานศกึ ษาตา่ งกนั มคี วามคิดเหน็ ต่อการดาเนนิ งานโครงการรณรงค์ป้องกันและแก้ไข
ปญั หายาเสพตดิ ของสถานศึกษา (TO BE NUMBER ONE) ไมแ่ ตกต่างกนั

คาสาคญั : การดาเนนิ งาน ; โครงการรณรงค์ปอ้ งกนั และแกไ้ ขปัญหายาเสพติด; สถานศึกษา

88 การประชุมวชิ าการนาเสนอผลงานวิจัยระดับบณั ฑติ ศึกษาแหง่ ชาติ คร้ังที่ 49

ABSTRACT
The objectives of this research were 1) to study the operation of the Drug
Prevention and Solution Campaign (TO BE NUMBER ONE) of schools under
Phatthalung Primary Educational Service Area Office 2, and 2) to compare the
operation of the drug prevention and solution campaign of schools (TO BE NUMBER
ONE) under Phatthalung Primary Educational Service Area Office 2 based on opinions
of teacher differing in gender, age, educational level, work experience, and school
size. The samples consisted of 302 teachers under Phatthalung Primary Educational
Service Area Office 2, academic year 2019. The sample size was determined by the
table of Krejcie and Morgan using stratified random sampling by the size of the
school and simple random sampling lottery method. The reliability of a
questionnaire was .986. The data were analyzed using such statistics as percentage,
arithmetic means, standard deviation, t-test and F-test.
The research found that 1) overall and each individual aspects, the operation
of the Drug Prevention and Solution Campaign (TO BE NUMBER ONE) of schools
under Phatthalung Primary Educational Service Area Office 2 was at a high level, and
2) the comparison results of the operation of the Drug Prevention and Solution
Campaign (TO BE NUMBER ONE) of schools under Phatthalung Primary Educational
Service Area Office 2 revealed that the teachers who differed in gender, age, working
experience, educational level and school size did not have different opinions
towards the Drug Prevention and Solution Campaign (TO BE NUMBER ONE) of schools
under Phatthalung Primary Educational Service Area Office 2.

Keywords : Operation ; The Drug Prevention and Solution Campaign ; schools

การประชุมวชิ าการนาเสนอผลงานวจิ ยั ระดบั บัณฑติ ศึกษาแห่งชาติ ครัง้ ท่ี 49 89

การประเมนิ การบรหิ ารโครงการโรงเรียนสุจริต สังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาสตูล
ADMINISTRATIVE EVALUATION OF UPRIGHT SCHOOL PROJECT
UNDER THE SATUN PRIMARY EDUCATIONAL SERVICE AREA

กมลพรรณ ศรสี ิงห1์ อมลวรรณ วรี ะธรรมโม2
Kamonpun Srising1 Amonwan Werathammo2
สาขาการบริหารการศกึ ษา คณะศกึ ษาศาสาตร์ มหาวิทยาลัยทกั ษณิ 1
อาจารย์ประจาสาขาวชิ าหลักสตู รและการสอน คณะศกึ ษาศาสาตร์ มหาวทิ ยาลยั ทักษิณ2
Corresponding author,[email protected] and [email protected]

บทคัดย่อ
การวิจัยน้ีมีจุดประสงค์เพ่ือ 1) ประเมินการบริหารโครงการโรงเรียนสุจริต ด้านสภาวะ
แวดล้อม ด้านปัจจัยเบื้องต้น ด้านกระบวนการ ด้านผลผลิต สังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา
ประถมศึกษาสตูล 2) เปรียบเทียบผลการประเมินการบริหารโครงการโรงเรียนสุจริต สังกัดสานักงาน
เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสตูล จาแนกตามตัวแปรอายุ ประสบการณ์ในการทางาน วุฒิ
การศกึ ษาและขนาดสถานศึกษา ของผู้บริหารและครูในโรงเรียนโครงการโรงเรียนสุจริต กลุ่มตัวอย่าง
ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา ครู สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสตูล ปีการศึกษา 2562
จานวน 317 คน กาหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยเทียบจากตารางของ Kreicie and Morgan แล้วสุ่มแบบ
แบ่งชั้น ตามขนาดสถานศึกษา จากน้ันใช้วิธีการสุ่มอย่างง่าย โดยวิธีการจับสลาก เคร่ืองมือการวิจัยเป็น
แบบสอบถาม ได้ค่าความเช่ือม่ันท้ังฉบับ .935 สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ค่าความถ่ี ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย
ส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน การทดสอบที การทดสอบเอฟ โดยใชโ้ ปรแกรมคอมพวิ เตอร์สาเร็จรูปทางสถติ ิ
ผลการวิจัยพบว่า 1) ผลการศึกษาการประเมินการบริหารโครงการโรงเรียนสุจริต โดยภาพรวม
อยใู่ นระดับมาก 2) ผลการเปรียบเทียบผลการประเมินการบริหารโครงการโรงเรียนสุจริต จาแนกตามตัว
แปรอายุ พบว่า ผู้บริหารสถานศึกษาและครูท่ีมีอายุต่างกัน มีความคิดเห็นในภาพรวมแตกต่างกัน อย่าง
มีนยั สาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และเม่ือพิจารณารายด้าน พบว่า ด้านปัจจัยเบื้องต้น แตกต่างกัน อย่าง
มีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ .001 ด้านกระบวนการแตกต่างกัน อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01
ผู้บริหารสถานศึกษาและครูท่ีมีประสบการณ์ในการทางานต่างกันมีความคิดเห็นในภาพรวมแตกต่างกัน
และเมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า ด้านปัจจัยเบื้องต้น แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ .05
ผู้บริหารสถานศึกษาและครูที่มีวุฒิการศึกษาต่างกันมีความคิดเห็นในภาพรวมไม่แตกต่างกัน ผู้บริหาร
สถานศึกษาและครูท่ีปฏิบัติงานในสถานศึกษาขนาดต่างกันมีความคิดเห็นในภาพรวมแตกต่างกัน และ
เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า ด้านปัจจัยเบ้ืองต้น ด้านกระบวนการ และด้านผลผลิตแตกต่างกันอย่างมี
นยั สาคัญทางสถติ ิทรี่ ะดับ .001

คาสาคญั : การประเมนิ ; การบริหารโครงการ ; โรงเรยี นสุจริต

90 การประชมุ วชิ าการนาเสนอผลงานวิจัยระดับบณั ฑติ ศกึ ษาแห่งชาติ ครั้งท่ี 49

ABSTRACT
The purposes of this research was to 1) evaluate the administration of the
Upright School Project under the Satun Primary Educational Service Area Office in
terms of context, input, process, and product, and 2) compare of the evaluation
results based on the opinions of teachers differing in age, working experience,
education level, and school size. The samples were 317 school administrators and
teachers under the Satun Primary Educational Service Area Office, academic year
2018. The sample size was drawn by Krejcie and Morgan’s technique. The stratified
random sampling by variable of province of school located and simple random
sampling by drawing lots were also applied. The research instrument was a
questionnaire, with reliability at .935. The statistics used for data analysis were
percentage, arithmetic means, standard deviation, t-test, and F-test.
The research results revealed that 1) the evaluation of the Upright School
Project of the Office under Satun Primary Educational Service Area overall was at
high level. The context factor had the highest mean, followed by input and product,
and 2) comparison results found that school administrators and teachers with
different ages had different opinions in overall. The teachers significantly had
different opinions towards the input at .001 and in the process at .01. The school
administrators and teachers with different work experiences and basic factors
significantly had different opinions on the evaluation at .05 level. Educational
institution administrators and teachers with different educational levels had no
different opinions on the evaluation of school administration as a whole. The
teachers with basic factors had statistically significant opinions at the .05 level.
Moreover, the school administrators and teachers working in different school size had
different opinions on the evaluation of upright school administration in overall. at
.001 level, and when considering individual aspects, it found that the teachers with
different basic factors, input process, and product had significantly different opinions
towards the administration at .001 level.

Keywords: Evaluation ; Project Administrator ; Upright School

การประชมุ วชิ าการนาเสนอผลงานวิจยั ระดบั บัณฑิตศึกษาแหง่ ชาติ คร้ังท่ี 49 91

พฤตกิ รรรมการตัดสินใจของผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา
สงั กดั สานกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษายะลา เขต 3
DECISION MAKINGS BEHAVIOR OF THE SCHOOL ADMINISTRATIONS
UNDER YALA PRIMARY EDUCATIONAL SERVICE AREA 3

อชิรญาณ์ แซ่เช่น
Achiraya Sae-chen
สาขาวิชาการบรหิ ารการศกึ ษา คณะศึกษาศาสตรแ์ ละศิลปะศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยหาดใหญ่
[email protected]

บทคดั ยอ่
การวิจัยน้ีมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบพฤติกรรมการตัดสินใจของผู้บริหารตาม
ความคิดเห็นของครู สังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษายะลา เขต 3 จาแนกตามวุฒิ
การศึกษา ประสบการณ์การทางาน และขนาดสถานศึกษา กลุ่มตัวอย่างในการวิจัย ได้แก่ ครูผู้สอน
สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษายะลา เขต 3 ปีการศึกษา 2561 จานวน 217 คน
เคร่อื งมอื ที่ใช้ในการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลเปน็ แบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ สถิติท่ีใช้ใน
การวเิ คราะหข์ ้อมูล ไดแ้ ก่ ค่าความถ่ี ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การ
ทดสอบคา่ เอฟ และการเปรยี บเทยี บความแตกต่างเป็นรายคู่ตามวิธีของเชฟเฟ่ ผลการวิจัยพบว่า 1)
พฤติกรรมการตัดสินใจของผู้บริหารสถานศึกษาตามความคิดเห็นของครู สังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ี
การศกึ ษาประถมศึกษายะลา เขต 3 ในภาพรวมอยใู่ นระดบั ดี 2) พฤติกรรมการตัดสินใจของผู้บริหาร
สถานศึกษา ตามความคิดเห็นของครูสังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษายะลา เขต 3
พบว่า วุฒกิ ารศกึ ษาแตกตา่ งกนั ครมู ีความคิดเห็นเก่ียวกับพฤติกรรมการตัดสินใจของผู้บริหารต่างกัน
อยา่ งมีนยั สาคัญทางสถติ ทิ ่ีระดบั .05 และขนาดโรงเรียนมคี วามแตกต่างกนั ครมู คี วามคิดเห็นเก่ียวกับ
พฤติกรรมการตัดสินใจของผู้บริหารต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ .01 ส่วนประสบการณ์
การทางานไม่มีความแตกต่างกัน ข้อเสนอแนะจากการวิจัย ได้แก่ ก่อนการตัดสินใจผู้บริหารควร
ค้นหาสาเหตุของปัญหา และทาความเข้าใจ ขอความคิดเห็นจากผู้ใต้บังคับบัญชาประกอบการ
ตัดสินใจ และเปิดโอกาสให้ผู้ใต้บังคับบัญชามีส่วนร่วมในการตัดสินใจเพ่ือประโยชน์สูงสุดของ
สถานศึกษา

คาสาคัญ: พฤติกรรมการตัดสินใจ;ผบู้ ริหารสถานศกึ ษา; สานักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษา
ยะลา เขต 3

92 การประชุมวชิ าการนาเสนอผลงานวจิ ยั ระดบั บณั ฑิตศกึ ษาแหง่ ชาติ ครัง้ ท่ี 49

ABSTRACT
The objectives of this research were to study school administrators’s decision
making behavior, in the opinions of the teachers in the school under Yala Primary
Educational Service Area 3, by educational level, working experience and school size.
The samples of this research were 217 teachers who work in schools under Yala
Primary Educational Service Area 3 year 2018. Data collection tool were collected by
questionnaires with 5 rating scales. Statistics used for data analysis included
frequency, percentage, means, standard deviation, t-test, F-test and post hoc
comparison by using Scheffe’s means. The result of the research were as : 1) the
administrator’s decision making behavior in the opinions of the teachers in the
school under Yala Primary Educational Service Area 3 was over all were at good
level. 2) the administrator’s decision making behavior in the opinions of the teachers
in the school under Yala Primary Educational Service Area 3 found that the teachers
in different educational level had different opinions about school administrators’s
decision making behavior, its usage were different. The teachers in different school
size had different opinions about school administrators’s decision making behavior,
its usage were different. But working experience of the teacher were not different
with the statistical implication. The recommendation for the research were before
making a decision, school administrators should find out the causes of the problem
and understand the problem, then ask the opinions from the teachers for making a
decision for the advantage of schools.

Keywords: decision making behavior; school administrators; Yala Primary Educational
Service Area 3


Click to View FlipBook Version