The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ศวีระ วิเศษโชค, 2019-12-05 03:16:15

รวมบทคัดย่อ NGRC#49

รวมบทคัดย่อ

กำรประชมุ วชิ ำกำรนำเสนอผลงำนวจิ ยั ระดับบณั ฑติ ศึกษำแหง่ ชำติ คร้งั ท่ี 49 243

ABSTRACT
The aims of this research were as follows : (1) to create and find the efficiency
of mathematics learning activity package under the criteria 80/80. 2) To compare the
learning achievement before and after learning by using a learning activity package to
develop Mathematics learning achievement on money (3) to study the attitudes of
students towards learning Mathematics after learning activities about money. The
sample group was 34 prathomsuksa 3 room 2 students at Ban Bang Thong School
who were obtained by purposive sampling. There are research procedures as follows
by The sample take the pre-test before studying by using the mathematics learning
achievement test on money as a multiple choice 3 options, consisting of 20 items.
The sample group was taught by using a learning activity package on money and
post-test by using the same test as the pre-test. After that, the students in the
sample group conducted an evaluation form to measure their attitudes towards a
learning activity package on money. The statistics used in the analysis of comparison
of achievement before and after studying are t-test dependent. Then, The sample
group make an assessment of attitude towards learning by using a set of learning
activity package on money. The data analysis using frequency, mean and standard
deviation. The research found that (1) a learning activity package on money with
efficiency according to specified criteria 80/80 (2) Mathematics learning achievement
of prathomsuksa 3 students after receiving learning management by using a learning
activity package on money higher than before using a learning activity package
statistical significance at the level of .05 (3) The students' attitudes towards learning
Mathematics after using a learning activity package on money were at a good level.
Therefore, the use of alearning activitypackage can be applied to mathematics in
order to improve student learningachievement.

Keywords: Learning activity Set ; Learning Achievement ; Attitude towards Mathematics

244 การประชุมวิชาการนาเสนอผลงานวจิ ัยระดบั บัณฑติ ศึกษาแห่งชาติ คร้ังที่ 49

LET’S GROW A GROWTH MINDSET: EFFECTS OF A GROWTH MINDSET
INTERVENTION ON UNDERPRIVILEGED STUDENTS’ ACADEMIC RESILIENCE IN

ENGLISH THROUGH ENGLISH INTELLIGENCE MINDSET

Pimporn Buathong1 and Thipnapa Huansuriya2
M.A. student in Social Psychology, Faculty of Psychology, Chulalongkorn University1
Ph.D. lecturer, Department of Basic and Applied Social Psychology, Chulalongkorn University2
Corresponding authors, [email protected] and [email protected]

ABSTRACT
The major aims of this study were to investigate the effects of a growth mindset
intervention on underprivileged students’ English intelligence mindset and on academic
resilience in English and to examine the mediating role of the growth mindset in English
intelligence. Participants were 116 Mattayom 2 students studying in the academic year 2019,
from a public school in Chonburi Province, Thailand. The students were randomly assigned
into one of the two conditions: one joining English studying sessions,
each session with an additional growth mindset stimulating activity and the other joining the
same English sessions with similar additional activities but unrelated to a growth mindset.
Participants responded to a self-report measure of Growth Mindset in English Intelligence at
pretest and to the measures of Growth Mindset in English Intelligence and Academic
Resilience in English at posttest.
Statistical analyses employing 2-way mixed factorial ANOVA, independent samples t-
test and mediation analysis via PROCESS in SPSS revealed results that went in accordance
with the research hypotheses. That is, only the participants in the treatment group had a
significant increase in the English intelligence mindset and thus there was a significant
difference in the mindset at posttest between the two groups. The treatment group also
had significantly higher academic resilience in English. A full mediation was found as the
indirect effect of the intervention on the academic resilience through the growth mindset in
English intelligence was significant. Instead, the direct effect of the intervention on the
academic resilience became non-significant when the mediator was present in the model.

Keywords: Growth mindset intervention; Academic resilience; English intelligence;
Underprivileged students

กำรประชมุ วิชำกำรนำเสนอผลงำนวจิ ยั ระดบั บณั ฑิตศึกษำแหง่ ชำติ ครัง้ ท่ี 49 245

กำหนดกำร
กำรประชุมวิชำกำรนำเสนอผลงำนวิจยั ระดบั บณั ฑิตศกึ ษำแห่งชำติ คร้ังที่ 49
The 49th National Graduate Research Conference 2019 : NGRC#49
“กำรสรำ้ งสรรคง์ ำนวจิ ยั และนวัตกรรม : ควำมท้ำทำย และโอกำสในกำรก้ำวสู่ Thailand 4.0”

วนั ที่ 7 ธนั วำคม 2562 ณ ห้องประชุม 8

ผทู้ รงคณุ วฒุ ิ : รองศาสตราจารย์ ดร.สพุ จน์ แสงเงนิ
ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ชัชวีร์ แกว้ มณี
ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.วรรณะ บรรจง

ลำดบั ช่ือเรื่อง ชื่อ – สกุล นกั วจิ ยั เวลำ
08.30 น.
1 ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนและเจตคติต่อการเรียนรายวิชาการวัด นติ ยารตั น์ คงนาลึก
และประเมนิ ผลการเรียนรู้ โดยการประเมินตนเองด้วยการเขียน 09.00 น.
อนุทินการเรียนรู้ตามหลักอภิปรัชญาร่วมกับรูปแบบ การเรียน 09.30 น.
การสอนจิตพิสัยของนักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต 10.00 น.
สาขาวิชาชพี ครู มหาวทิ ยาลัยราชภัฏนครศรธี รรมราช 10.30 น.
11.00 น.
2 การพัฒนาบทเรยี นออนไลน์ ร่วมกับการจัดการเรียนรู้แบบ นชุ นาฎ หาญสกลุ 11.30 น.
13.00 น.
เพ่ือนคู่คิด เรื่อง ลักษณะทางกายภาพของทวีปแอฟริกา ปยิ าภรณ์ แสงมณี

วิชาภูมศิ าสตร์ ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 2 ธณัฐชา รัตนพันธ์

3 ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนและทักษะกระบวนการทาง รชั ดา ยโุ สะ๊

วิทยาศาสตร์ของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนวัด ศศธิ ร เดชภกั ดี

ยางงาม ทไี่ ดร้ บั การจดั การเรียนรู้ ดว้ ยแอพพลเิ คช่นั Plickers จิราภรณ์ เหมพันธ์

4 การพัฒนาบทเรียนออนไลน์เพื่อสร้างความเข้าใจในการ ปวริศา เจรญิ

อ่านภาษาอังกฤษ สาหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 6 ปองพล สรุ ะกาแหง

โรงเรียนมัธยมศึกษาจุฬาภรณ์ ธณัฐชา รัตนพันธ์

5 การใช้ส่ือดิจิทัลท่ีมีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ สกุ ัญญา จนั หุณยี ์

ของนักเรยี นชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 4 โรงเรียนบา้ นทุง่ ไมไ้ ผ่ สวุ ชิ าดา เขียวยศกิจ

จิราภรณ์ เหมพันธ์

6 การพัฒนาบทเรียนออนไลน์ร่วมกับการจัดการเรียนการ ภัทรศยา กลบั ศรี

สอนแบบร่วมมือร่วมใจ ท่ีมีผลต่อผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน กาญจนาพร พรกิ เล็ก

ภาษาจนี ของนกั เรียนช้นั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 4 ธณฐั ชา รัตนพันธ์

7 การจัดการเรียนรู้ผ่านสื่อดิจิทัลท่ีส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์ โอวิทย์ สมรปู

ทางการเรียนของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 4 โรงเรียน วมิ ล สงภู่

บางขนั วทิ ยา ตามวงจรลาดบั เวลาของเจมส์ แมคเคอร์แนน ธณฐั ชา รัตนพันธ์

8 การใช้ชุดการสอนเพ่ือพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนรู้ กงิ่ แกว้ ขอถาวรทรพั ย์

รายวิชาคณิตศาสตร์ เร่ือง การบวก ลบ คูณหารเศษส่วน อัมพร วจั นะ

ของนักเรยี นชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 5 โรงเรียนบ้านกะหลิม

246 การประชุมวชิ าการนาเสนอผลงานวจิ ยั ระดบั บณั ฑติ ศกึ ษาแหง่ ชาติ ครงั้ ที่ 49

ลำดบั ชอ่ื เรือ่ ง ชอื่ – สกุล นกั วิจยั เวลำ
13.30 น.
9 การใช้ชดุ กิจกรรมการสอน เพ่อื พัฒนาผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนรู้ ศรีสดุ า หนูเซ่ง
ทักษะการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์และเจตคติ วิชา อมั พร วัจนะ 14.00 น.
คณิตศาสตร์ เร่ืองทฤษฎีบทของพีทาโกรัส ของนักเรียนชั้น
มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 2/1 โรงเรียนภเู ก็ตวทิ ยาลัย จังหวดั ภูเก็ต

10 การดาเนินงานโครงการโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. ของผู้บริหาร วันเฉลมิ วฒุ ิวศิ ษิ ฏส์ กลุ

สถานศกึ ษา สานกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษามัธยมศึกษาเขต 16 สุนทรี วรรณไพเราะ

กำรประชุมวชิ ำกำรนำเสนอผลงำนวจิ ัยระดบั บัณฑติ ศึกษำแหง่ ชำติ คร้งั ที่ 49 247

ผลสัมฤทธทิ์ ำงกำรเรียนและเจตคติตอ่ กำรเรียนรำยวชิ ำกำรวัดและประเมินผลกำรเรยี นรู้
โดยกำรประเมินตนเองด้วยกำรเขียนอนุทินกำรเรียนรู้ตำมหลักอภิปรัชญำร่วมกับรปู แบบ

กำรเรยี นกำรสอนจิตพสิ ัยของนักศึกษำหลกั สูตรประกำศนียบตั รบณั ฑติ สำขำวชิ ำชพี ครู
มหำวิทยำลยั รำชภฏั นครศรธี รรมรำช

LEARNING ACHIEVEMENT AND ATTITUDES TOWARDS MEASUREMENT
AND VALUATION OF EDUCATION COURSE THROUGH SELF EVALUATION
FOCUSING ON WRITING LEARNING LOG BASED ON METAPHYSICS APPROACH
WITH AFFECTIVE DOMAIN OF GRADUATE DIPLOMA IN TEACHER PROFESSION OF

NAKHON SI THAMMARAT RAJABHAT UNIVERSITY

นติ ยารตั น์ คงนาลึก
Nittayarat Kongnaluek
ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ประจาคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภกั นครศรีธรรมราช

บทคดั ย่อ

การวิจัยคร้ังน้ีมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนรายวิชาการวัดและประเมินผล
การเรียนรูข้ องนกั ศกึ ษาหลังใช้รูปแบบการเรียนการสอนจิตพิสัยร่วมกับการประเมินตนเองด้วยการเขียนอนุทินการ
เรียนรู้ตามหลักอภิปรัชญา กับเกณฑ์คะแนนเฉลี่ยร้อยละ 70 2) ศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาการวัดและ
ประเมินผลการเรียนรู้หลังใช้รูปแบบการเรียนการสอนจิตพิสัยร่วมกับการประเมินตนเองด้วยการเขียนอนุทินการ
เรียนรู้ตามหลักอภิปรัชญา และ 3) ศึกษาเจตคติของนักศึกษาท่ีมีต่อการเรียนรายวิชาการวัดและประเมินผลการ
เรียนรู้ หลังใช้รูปแบบการเรียนการสอนจิตพิสัยร่วมกับการประเมินตนเองด้วยการเขียนอนุทินการเรียนรู้ตามหลัก
อภิปรัชญา ประชากรเป็นนักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู มหาวิทยาลัยราชภัฏ
นครศรีธรรมราช ภาคการศึกษาท่ี 1 ปีการศึกษา 2558 จานวน 6 ห้องเรียน รวม 180 คน กลุ่มตัวอย่าง ได้มาโดย
วิธีการสุ่มอย่างโดยใช้ห้องเรียนเป็นหน่วยการสุ่มจานวน 3 ห้องเรียน รวม 76 คน เครื่องมือท่ีใช้ในการวิจัยเป็น
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นและแบบวดั เจตคตติ ามแนวองลเิ คริ ต์ วิเคราะห์ขอ้ มูลโดยคานวณหาค่าเฉลี่ย
ค่าเบ่ยี งเบนมาตรฐาน สถติ ิ t- test แบบกลุม่ เดยี ว และการวเิ คราะหเ์ นื้อหา ผลการวิจัยมีดังน้ี

1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ หลังจัดการเรียนรู้โดยใช้การประเมิน
ตนเองด้วยการเขียนอนุทินการเรียนรู้ตามหลักอภิปรัชญาควบคู่กับรูปแบบการเรียนการสอนจิตพิสัย ของนักศึกษา
หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตสาขาวิชาชีพครู ทั้ง 3 กลุ่มเรียน แตกต่างจากคะแนนเฉล่ียร้อยละ 70 อย่างมีมี
นยั สาคัญทางสถิติทีร่ ะดับ .01 ซึง่ ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนหลังจัดการเรียนรู้สูงกว่าเกณฑค์ ะแนนเฉลยี่ รอ้ ยละ 70

2. ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนรายวิชาหลักการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของนักศึกษาหลังจัดการเรียนรู้โดยการ
ประเมินตนเองด้วยการเขียนอนุทินการเรียนรู้ตามหลักอภิปรัชญาควบคู่กับรูปแบบการเรียนการสอนจิตพิสัย
นกั ศึกษามคี ะแนนเฉลี่ยรวมในระดับดเี ยี่ยม และนกั ศกึ ษาส่วนใหญ่มีผลการเรยี นระดับดเี ยี่ยม (A)

3. นักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตสาขาวิชาชีพครู มีเจตคติที่ดีต่อการเรียนการสอนการวัด
และประเมินผลการเรียนรู้หลังการจัดการเรียนรู้ใช้การประเมินตนเองด้วยการเขียนอนุทินการเรียนรู้ตามหลัก
อภิปรชั ญาควบค่กู ับรูปแบบการเรยี นการสอนจิตพิสยั ในระดบั ดมี าก

คำสำคญั : การประเมนิ ตนเองด้วยการเขยี นอนุทินการเรยี นร้ตู ามหลกั อภปิ รัชญาร่วมกบั รูปแบบการเรยี นการสอนจติ
พิสัย, การวดั และประเมินผลการเรยี นรู้

248 การประชุมวิชาการนาเสนอผลงานวิจยั ระดบั บณั ฑติ ศึกษาแหง่ ชาติ ครง้ั ท่ี 49

ABSTRACT

The objectives of this study were to 1) compare students’ learning achievement of
Measurement and Evaluation of Education Course after teaching through Affective Domain
and Self Evaluation focusing on Writing Learning Log Based on Metaphysics Approach with criteria
70% 2) explore students’ learning achievement of Measurement and Evaluation of Education
Course after teaching through Affective Domain and Self Evaluation focusing on Writing Learning
Log Based on Metaphysics Approach and 3) investigate students’ attitudes towards Measurement
and Evaluation of Education Course after teaching through Affective Domain and Self
Evaluation focusing on Writing Learning Log Based on Metaphysics Approach. The population of
the study were 180 students (6 classes) in Graduate Diploma in Teacher Profession, Semester 1 of
Academic Year 2015. The samples of the study were 76. They were selected by simple random
sampling based on their class. The research instruments were achievement test and attitudes
evaluation form based Linkert Scale. Mean (X), Standard Deviation (S.D.), t-test (Dependent
samples) and content analysis were used to analyze the data. The research results revealed
that;

1. Students’ learning achievement of Measurement and Evaluation of Education
Course after teaching through Affective Domain and Self Evaluation focusing on Writing Learning
Log Based on Metaphysics Approach of Graduate Diploma in Teacher Profession in all 3 groups
were higher than the criteria 70% at the significant level of 0.01

2. Students’ learning achievement of Measurement and Evaluation of Education
Course after learning through Self Evaluation focusing on Writing Learning Log Based on
Metaphysics Approach was excellent. Most of them got ‘A’.

3. The students’ attitudes towards learning through Affective Domain and Self
Evaluation focusing on Writing Learning Log Based on Metaphysics Approach was at ‘Very good’
level.

Keywords : Self Evaluation Focusing on Writing Learning Log Based on Metaphysics Approach
with Affective Domain, Measurement and valuation of Education

กำรประชุมวิชำกำรนำเสนอผลงำนวิจัยระดับบัณฑิตศกึ ษำแหง่ ชำติ คร้ังที่ 49 249

กำรพฒั นำบทเรยี นออนไลน์ รว่ มกับกำรจัดกำรเรยี นรู้แบบเพือ่ นค่คู ดิ
เรอื่ ง ลกั ษณะทำงกำยภำพของทวปี แอฟริกำ วิชำภมู ศิ ำสตร์ ช้นั มธั ยมศึกษำปที ่ี 2
THE DEVELOPMENT OF ONLINE LESSON WITH THINK-PAIR-SHARE TECHNIQUE ON THE
PHYSICAL APPEARANCE OF AFRICA IN GEOGRAPHY SUBJECT, GRADE 8 STUDENTS

นุชนาฎ หาญสกลุ 1 ปยิ าภรณ์ แสงมณ2ี และ ธณัฐชา รตั นพนั ธ3์
Nutchanat Hansakul1 Piyaporn Sangmanee 2 and Thanatcha Rattanaphant3
สาขาวชิ านวัตกรรมหลักสูตรและการจดั การเรยี นรู้ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฎั นครศรธี รรมราช
[email protected] [email protected] and [email protected]

บทคดั ย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพ่ือ 1) พัฒนาบทเรียนออนไลน์ ร่วมกับการจัดการเรียนรู้แบบ
เพื่อนคู่คิด เรื่อง ลักษณะทางกายภาพของทวีปแอฟริกา วิชาภูมิศาสตร์ ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 2 ให้มี
ประสิทธิภาพ 80/80 2) เปรียบเทยี บผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นของนกั เรียนก่อน และหลังเรียน และ 3)
ศึกษาความพึงพอใจของผู้เรียนที่มีต่อบทเรียนออนไลน์ วิธีดาเนินการวิจัยแบ่งออกเป็น 5 ขั้นตอน
ได้แก่ การวิเคราะห์บทเรียน การออกแบบบทเรียน การพัฒนาบทเรียน การทดลองใช้บทเรียน และ
การประเมินผลบทเรียน ผลการวิจัยพบว่า 1) บทเรียนออนไลน์ ร่วมกับการจัดการเรียนรู้แบบเพ่ือน
คู่คิด เร่ืองลักษณะทางกายภาพของทวีปแอฟริกา วิชาภูมิศาสตร์ ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่มี
ประสิทธิภาพ เท่ากับ 80.25/81.14 2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนหลังเรียนด้วยบทเรียน สูง
กว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 และ 3) ความพึงพอใจของผู้เรียนท่ีมีต่อบทเรียน
ทีพ่ ฒั นาขึ้นโดยรวมอยใู่ นระดับมาก ( ̅= 4.30, S.D. = 0.64)

คำสำคญั : บทเรียนออนไลน์ การจดั การเรยี นรู้แบบเพ่ือนคู่คดิ

250 การประชมุ วชิ าการนาเสนอผลงานวิจยั ระดบั บณั ฑติ ศึกษาแหง่ ชาติ ครงั้ ท่ี 49

ABSTRACT
The objectives of this research were to 1) develop the online Lesson with
think-pair-share technique on the physical appearance of Africa in geography subject,
Grade 8 students 2) compare the students’ learning outcomes before and after
learning through effective online Lesson and 3) explore the students’ satisfaction.
The research procedures consisted of 5 steps included of 1) analysis 2) design 3)
development 4) implementation and 5) evaluation. The results revealed that 1) the
online lessons with think-pair-share technique on the physical appearance of Africa in
geography subject, Grade 8 students. The efficiency of the online learning was
80.25/81.14. 2) The students’ post-test was higher than their pre-test scores
statistically significant level at .05 and 3) The overall students’ satisfaction towards
learning through the effective online lessons was at high level ( ̅ = 4.30, S.D. = 0.64)

Keywords: Online Learning, Think pair Share Learning

กำรประชุมวชิ ำกำรนำเสนอผลงำนวิจยั ระดบั บณั ฑติ ศึกษำแหง่ ชำติ ครงั้ ท่ี 49 251

ผลสัมฤทธทิ์ ำงกำรเรยี นและทกั ษะกระบวนกำรทำงวิทยำศำสตรข์ องนักเรียน
ชั้นประถมศึกษำปที ี่ 6 โรงเรยี นวดั ยำงงำม ทไ่ี ด้รับกำรจัดกำรเรยี นรู้ ด้วยแอปพลิเคชน่ั Plickers
THE STUDY LEARNING ACHIEVEMENT AND SCIENCE PROCESS SKILL OF PRIMARY 6

STUDENTS AT WATYANGAM SCHOOL WITH APPLICATION PLICKERS

รชั ดา ยโุ สะ๊ 1 ศศธิ ร เดชภักด2ี จิราภรณ์ เหมพนั ธ3์
Ratchada Yusoh1 Sasithon Dachpakdee2 and Chiraporn Hemapandha3
สาขาวชิ านวตั กรรมหลกั สตู รและการจัดการเรยี นรู้ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั นครศรธี รรมราช1
[email protected] 1 [email protected] [email protected]@nstru.ac.th 3

บทคดั ยอ่
การวจิ ัยคร้ังนี้มีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน เร่ือง ส่ิงมีชีวิต
กับระบบนิเวศ ก่อนและหลังการจัดการเรียนรู้ด้วยแอปพลิเคช่ัน Plickers และ 2) เพ่ือศึกษาทักษะ
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนท่ีได้รับการจัดการเรียนรู้ด้วยแอปพลิเคชั่น Plickers กลุ่ม
ตวั อยา่ งทีใ่ ชใ้ นการวจิ ยั ครงั้ น้ี เป็นนกั เรียนช้ันประถมศึกษาปที ี่ 6 โรงเรียนวัดยางงาม ภาคเรียนท่ี 1 ปี
การศึกษา 2562 จานวน 1 ห้องเรียน กลุ่มตัวอย่างได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือท่ีใช้ใน
การวิจัย ได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้ด้วยแอปพลิเคชั่น Plickers เร่ือง สิ่งแวดล้อมและระบบนิเวศ
แบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธท์ิ างการเรียน และแบบประเมินทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ (ทักษะ
การสังเกต ทักษะการสื่อความหมายข้อมูล ทักษะการต้ังสมมติฐาน และทักษะการทดลอง) สถิติท่ีใช้
ในการวิเคราะหข์ ้อมลู คือ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน และสถิติทดสอบที (t-test Dependent)
ผลการวจิ ัยพบว่า
1. ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิทยาศาสตร์ เรื่อง ส่ิงมีชีวิตกับระบบนิเวศ ของนักเรียนหลัง
เรยี นสงู กว่าก่อนเรยี นอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติท่ีระดับ .05
2. ผลรวมด้านทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์อยู่ในระดับมาก ( x = 4.27) โดยทักษะ
การทดลองอยู่ในระดับมากท่ีสุด ( x = 4.72) ทักษะการสื่อความหมายข้อมูลอยู่ในระดับมาก ( x =
4.31) ทักษะการตงั้ สมมตฐิ านอยูใ่ นระดบั มาก ( x = 4.08) และทักษะการสังเกตอยู่ในระดับปานกลาง
( x = 3.97)

คำสำคญั : แอปพลเิ คชัน่ Plickers; ผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นวิทยาศาสตร์; ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์

252 การประชุมวิชาการนาเสนอผลงานวจิ ยั ระดบั บณั ฑติ ศกึ ษาแห่งชาติ ครัง้ ท่ี 49

ABSTRACT
The purpose of this study were 1) to compare the science achievement and
2) the scientific process skills of Primary 6 Students after use Application Plickers in
learning management. The sample in this research were 18 student of Primary 6 at
Watyangam school during the first semester of the 2019 academic year. They were
randomly selected by using purposive sampling method. The instruments used in
this research were lesson plans, skill set, achievement test and scientific process skill
test. The statistics used for the data analysis were mean, percentage and
t–test dependent.
The results of this study indicated that.
1. The scientific learning achievement. Between pretest and posttest design
Pretest high was significantly at the .05 level.
2. The scientific process skills. Results showed that overall scientific process
skills is at the high level. ( x = 4.27) that is experimenting skills is at the highest level.
( x =4.72), communication skills is at the high level. ( x = 4.31), formulating hypotheses
skills is at the high level. ( x = 4.08) and observing skills is at the medium level.
( x = 3.97)

Keywords: Plickers; scientific learning achievement; scientific process skills

กำรประชุมวิชำกำรนำเสนอผลงำนวจิ ัยระดับบัณฑิตศกึ ษำแห่งชำติ ครั้งที่ 49 253

กำรพฒั นำบทเรียนออนไลน์เพือ่ สร้ำงควำมเข้ำใจในกำรอ่ำนภำษำองั กฤษ
สำหรบั นักเรียนช้นั มธั ยมศึกษำปที ่ี 6 โรงเรียนมธั ยมศกึ ษำจุฬำภรณ์

THE DEVELOPMENT OF ONLINE LESSON TO ENHANCE ENGLISH READING
COMPREHENSION FOR GRADE 12 STUDENTS OF MATTHAYOMSUKSA
CHULABHORN SECONDARY SCHOOL

ปวริศา เจรญิ 1 ปองพล สรุ ะกาแหง2และ ธณัฐชา รตั นพนั ธ3์
Pawarisa Charoen1 Pongphon Surakamhaeng2 and Thanatcha Rattanaphant3
สาขาวิชานวตั กรรมหลักสตู รและการจดั การเรยี นรู้ คณะครุศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครศรธี รรมราช
[email protected] [email protected] and [email protected]

บทคดั ยอ่
การวิจัยคร้ังนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพ่ือศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี
6 ที่เรียนด้วยบทเรียนออนไลน์ เร่ือง การอ่านภาษาอังกฤษเพ่ือความเข้าใจ 2) เพื่อพัฒนาและหา
ประสิทธิภาพบทเรียนออนไลน์ เรื่อง การอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจ ตามเกณฑ์ 80/80 และ
3) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลังเรียนด้วยบทเรียนออนไลน์ เร่ือง การอ่าน
ภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
โรงเรยี นมัธยมศึกษาจุฬาภรณ์ ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2562 จานวน 1 ห้องเรยี น รวม 30 คน โดย
การเลือกแบบแบ่งกลุ่ม (Cluster Sampling) เคร่ืองมือที่ใช้ในการวิจัย คือ บทเรียนออนไลน์
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลังเรียน และแบบสอบถามความพึงพอใจของ
นักเรียน สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉล่ีย (Mean) ส่วนเบี่ยงเบน
มาตรฐาน (Standard Deviation) และค่าสถิติทดสอบ t-test แบบ Dependent ผลการวิจัยพบว่า
1) บทเรียนออนไลน์ มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 เท่ากับ 80.83/80.17 2) ผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน มีคะแนนเฉลี่ย 11.50 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 1.80 คะแนน
หลงั เรียนเฉลยี่ เทา่ กับ 16.03 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.93 มีค่าสถิติทดสอบ t-test แบบ
Dependent เท่ากับ 17.20 ซึ่งมีความต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.05 และ 3) ความพึง
พอใจของนกั เรียนช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ 6 มีค่าเฉล่ยี 4.38 อยใู่ นระดบั มาก (S.D.=0.82)

คำสำคญั : บทเรยี นออนไลน์, การอา่ นภาษาอังกฤษเพ่ือความเข้าใจ, ความพงึ พอใจ

254 การประชมุ วชิ าการนาเสนอผลงานวจิ ยั ระดบั บัณฑติ ศึกษาแห่งชาติ คร้งั ท่ี 49

ABSTRACT
The objectives of this study were to 1) develop and find out the efficiency of
online lesson on English reading comprehension for Grade 12 students in accordance
with the criteria at 80/80 2) compare their learning achievement before and after
learning with the online lesson, and 3) study their satisfaction after learning with the
online lesson. The samples were 30 Grade 12 students studying at Matthayomsuksa
Chulabhorn Secondary School and selected by cluster random sampling. The
research instruments consisted of the online learning on English reading
comprehension for Grade 12 students, pretest and posttest, and students’
satisfaction questionnaires. The statistics used in the study were percentage, mean,
standard deviation, and dependent t-test. The results were that the efficiency of
online lesson on English reading comprehension was in accordance with the criteria
at 80.83/80.17. The students’ learning achievement after their online learning was
improved based on the pretest and posttest scores, their average scores were 11.50
with the S.D. of 1.80. The average scores of posttest scores were 16.03 with the S.D.
of 0.93. The dependent t-test was 17.20 with a statistically significant difference at
0.05 level. The students’ satisfaction was a high level of 4.38. (S.D.=0.82)

Keywords: Online Lesson, English Reading Comprehension, Students’ Satisfaction

กำรประชมุ วิชำกำรนำเสนอผลงำนวิจัยระดับบัณฑิตศกึ ษำแหง่ ชำติ คร้งั ที่ 49 255

กำรใช้ส่ือดิจิทลั ท่ีมีต่อผลสมั ฤทธ์ิทำงกำรเรยี นวชิ ำคณติ ศำสตร์
ของนักเรียนชัน้ ประถมศึกษำปีท่ี 4 โรงเรียนบำ้ นท่งุ ไม้ไผ่

THE USING OF DIGITAL MEDIA ON MATHEMATICS LEARNING ACHIEVEMENT
OF STUDENTS IN PRIMARY IV AT BANTHUNGMAIPHI SCHOOL

สุกญั ญา จันหณุ ยี 1์ สวุ ชิ าดา เขียวยศกจิ 2 จิราภรณ์ เหมพนั ธ3์

Sukanya Janhunee1 Suwichada Kewyodkid2 Chiraporn Hemapandha3
สาขานวัตกรรมหลกั สตู รและการจดั การเรียนรู้ คณะครศุ าสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภัฏนครศรธี รรมราช

[email protected] [email protected] [email protected]

บทคัดย่อ
การวิจัยครง้ั นมี้ วี ตั ถปุ ระสงค์คือ 1) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์
ก่อนและหลังการจัดการเรียนรู้ด้วยสื่อดิจิทัล และ 2) เพื่อประเมินความพึงพอใจของผู้เรียนต่อการ
จัดการเรียนรู้ด้วยสื่อดิจิทัล กลุ่มตัวอย่างท่ีใช้ในการวิจัยคร้ังน้ี เป็นนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 4
โรงเรียนบ้านทุ่งไม้ไผ่ ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2562 จานวน 1 ห้องเรียน จานวนนักเรียน 10 คน
กลุ่มตัวอย่างได้มาโดยวิธีการเลือกแบบเจาะจง เคร่ืองมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ คู่มือบทเรียนหนังสือ
อิเล็กทรอนิกส์ (e - book) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน และแบบสอบถามความพึงพอใจ
ของนกั เรียน สถิติทใี่ ช้ในการวิเคราะหข์ ้อมลู คือ ค่าเฉลี่ย สว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐานและรอ้ ยละ
ผลการวจิ ัยพบวา่
1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณติ ศาสตร์ของนักเรียน เฉล่ียทั้งช้ันร้อยละ 77 อยู่ในระดับ
ดี คะแนน การวัดผลก่อนเรียนมีค่าเท่ากับร้อยละ 40 และคะแนนเฉล่ียจากการวัดผลหลังเรียน มีค่า
เท่ากับร้อยละ 75 แสดงให้ เห็นว่าคะแนนเฉลี่ยหลังการจัดการเรียนรู้ด้วยการจัดการเรียนรู้ด้วยสื่อ
ดิจิทัลสูงกว่าก่อนการจัดการเรียนรู้และนักเรียนทุกคนมีคะแนนเฉลี่ ยสูงกว่าเกณฑ์คะแนนท่ีกาหนด
ร้อยละ 60
2. ความพึงพอใจต่อการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 4 ที่ได้รับ
การจัดการเรียนร้ดู ้วยสอื่ ดิจทิ ัล อยใู่ นระดบั มากท่สี ุด มีคา่ เฉลยี่ รวม ( x = 4.59) โดยมีคะแนนเรียงจาก
มากไปน้อย ได้แก่ เนื้อหาสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ มีค่าเฉล่ีย ( x = 4.90) การจัดลาดับในการ
นาเสนอเนื้อหาและนักเรียนมีส่วนร่วมกับการเรียน มีค่าเฉล่ีย ( x = 4.80) กาหนดวัตถุประสงค์เชิง
พฤติกรรมชัดเจนและนักเรียนชอบเรียนจากสื่อการเรียนรู้น้ี มีค่าเฉล่ีย ( x = 4.60) มีการนาเสนอส่ือ
ภาพประกอบและส่ือช่วยทาให้เข้าใจเน้ือหามากขึ้น มีค่าเฉลี่ย ( x = 4.50) การนาเสนอน่าสนใจ
ลักษณะ ขนาด สขี องตวั อักษรชดั เจน สือ่ มีการออกแบบน่าสนใจชวนติดตามมีค่าเฉล่ีย ( x = 4.40)

คำสำคญั : ส่ือดิจิทลั ; ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นวชิ าคณติ ศาสตร์

256 การประชมุ วิชาการนาเสนอผลงานวจิ ัยระดบั บัณฑติ ศึกษาแหง่ ชาติ ครัง้ ที่ 49

ABSTRACT
The purpose of this study were 1) to compared the mathematics learning
achievement and 2) Satisfaction assessment of primary IV students after using of
digital media on mathematics subject. The sample group in this research consist of
10 students in primary IV at Banthungmaiphi school during the first semester of the
2019 academic year. They were randomly selected by using purposive sampling
method. The instruments of this research were : the electronic book (e - book)
library, achievement test and satisfaction questionnaire. The statistics used for the
data analysis were mean standard deviation and percentage.
The results of this study were follow as:
1. The learning achievement in mathematics of primary IV students is 77
percent. The pretest score is 40 percent and posttest score is 75 percent. All
students have an average score that higher than the specified score at 60 percent.
2. The satisfactions of learning by using digital media on mathematics were
at the highest level.

Keywords: Digital media; learning achievement

กำรประชมุ วิชำกำรนำเสนอผลงำนวจิ ัยระดับบณั ฑิตศึกษำแหง่ ชำติ ครัง้ ท่ี 49 257

กำรพัฒนำบทเรยี นออนไลนร์ ่วมกบั กำรจัดกำรเรยี นกำรสอนแบบรว่ มมือร่วมใจ
ท่ีมผี ลต่อผลสัมฤทธิท์ ำงกำรเรียนภำษำจีนของนกั เรียนช้ันมธั ยมศกึ ษำปีท่ี 4
THE DEVELOPMENT OF ONLINE LEARNING LESSON WITH COOPERATIVE LEARNING
THAT EFFECTS ON CHINESE LANGUAGE LEARNING ACHIEVEMENT

FOR GRADE 10 STUDENTS

ภทั รศยา กลบั ศร1ี กาญจนาพร พริกเลก็ 2 และ ธณฐั ชา รตั นพนั ธ์3
Phattharasaya Klubsri1 Kanjanaporn Priklek2 and Thanatcha Rattanaphant3
สาขาวชิ านวัตกรรมหลกั สูตรและการจัดการเรยี นรู้ คณะครศุ าสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั นครศรีธรรมราช
[email protected] [email protected] and [email protected]

บทคดั ย่อ
การวิจัยครั้งน้ีมีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อพัฒนาและหาประสิทธิภาพของบทเรียนออนไลน์
ภาษาจีนร่วมกับการจัดการเรียนการสอนแบบร่วมมือร่วมใจ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 4
2) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนภาษาจีนของนักเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนโดยใช้
บทเรยี นออนไลน์ร่วมกับการจัดการเรยี นการสอนแบบร่วมมอื ร่วมใจ สาหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปี
ท่ี 4 3) เพ่ือหาความพึงพอใจต่อการเรียนภาษาจีนด้วยบทเรียนออนไลน์ร่วมกับการจัดการเรียน
การสอนแบบร่วมมือรว่ มใจสาหรบั นกั เรยี นชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 4
ผลการวจิ ยั พบว่า 1) ได้บทเรียนออนไลน์ร่วมกับการจัดการเรียนการสอนแบบร่วมมือร่วมใจ
ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 4 2) บทเรียนออนไลน์ท่ีพัฒนาข้ึน มีประสิทธิภาพ เท่ากับ 85.10/87.90
3) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนภาษาจีนของนักเรียนหลังเรียนโดยใช้บทเรียนออนไลน์ร่วมกับการจัดการ
เรียนการสอนแบบร่วมมือร่วมใจสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ.05 และ 4) ความ
พึงพอใจตอ่ การเรียนภาษาจีนโดยใชบ้ ทเรียนออนไลน์ภาษาจีนท่ีพัฒนาขนึ้ ร่วมกับการจัดการเรียนการ
สอนแบบรว่ มมอื ร่วมใจ โดยรวมอยู่ในระดบั มากท่สี ดุ มคี า่ เฉลี่ยเท่ากบั 4.60

คำสำคญั : บทเรียนออนไลน์ภาษาจีน; ผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนภาษาจีน; การจดั การเรียนการสอน
แบบรว่ มมอื รว่ มใจ

258 การประชุมวชิ าการนาเสนอผลงานวจิ ยั ระดบั บัณฑติ ศึกษาแห่งชาติ ครงั้ ท่ี 49

ABSTRACT
The purposes of this research were to 1) develop online lesson with
Cooperative Learning for Secondary for Grade 10 Students and find the effectiveness
of online lesson developed to 80/80 criteria for Grade 10 Students 2) compare
Chinese language learning achievement of students before and after learning by
using online lesson with Cooperative Learning for Grade 10 Students and 3) find
satisfaction with Chinese learning by using Chinese language online lessons with
Cooperative Learning for Grade 10 Students
The results of the research founded that 1) the Chinese language online
lessons was developed 2) the results of finding effectiveness of the developed
Chinese language online lessons is equally efficient to 85.10 / 87.90 3) the Chinese
language learning achievement of students after using Chinese language online
lessons was significantly higher than before using at the .05 level 4) the results of
finding satisfaction with Chinese language learning by using developed Chinese
language online lessons overall are in a very good level (X = 4.62)

Keywords: Chinese language online lessons, Chinese language learning achievement,
Cooperative Learning

กำรประชุมวชิ ำกำรนำเสนอผลงำนวจิ ยั ระดบั บัณฑิตศึกษำแห่งชำติ คร้ังที่ 49 259

กำรจัดกำรเรียนร้ผู ่ำนสอ่ื ดจิ ิทัลทีส่ ่งผลต่อผลสัมฤทธทิ์ ำงกำรเรียนของนักเรยี น
ชัน้ มธั ยมศึกษำปที ี่ 4 โรงเรยี นบำงขันวิทยำ ตำมวงจรลำดับเวลำของเจมส์ แมคเคอร์แนน
DIGITAL LEARNING MANAGEMENT THAT AFFECTS LEARNING ACHIEVEMENT OF
MATTHAYOMSUKSA 4 STUDENT, BANG KHAN WITTAYA SCHOOL, ACCORDING TO

THE JAMES MCKERNAN’S TIME CYCLE PROCESS

โอวทิ ย์ สมรปู 1 วมิ ล สงภ2ู่ และ ธณฐั ชา รัตนพนั ธ3์
Ovit Somroop1 Wimon Songpoo2 and Thanatcha Rattanaphant3
สาขานวัตกรรมหลกั สตู รและการจดั การเรียนรู้ คณะครศุ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฎั นครศรธี รรมราช
[email protected] [email protected] and [email protected]

บทคัดย่อ
งานวิจัยครั้งน้ีมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้สื่อดิจิทัล
ประกอบการเรียนรู้ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 4 ตามกระบวนการวิจัยรูปแบบวงจรลาดับเวลา
ของเจมส์ แมคเคอร์แนน และ 2) ศึกษาความพึงพอใจของผู้เรียนจากการใช้สื่อดิจิทัลประกอบการ
เรยี นรขู้ องนกั เรยี นชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 ตามกระบวนการวิจัยรูปแบบวงจรลาดับเวลา กลุ่มตัวอย่างท่ี
ใช้ในการวิจัย คือ นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนบางขันวิทยา สังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ี
การศึกษามัธยมศึกษา เขต 12 จังหวัดนครศรีธรรมราช ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2562 จานวน 18
คน โดยเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) จัดการเรียนรู้ 2 วงจรโดยแต่ละวงจรมีหลักการที่
สาคัญ คือ 1) ข้ันระบุปัญหา 2) ขั้นเรียงลาดับความสาคัญ 3) ขั้นวิเคราะห์สาเหตุก่อนการจัดการ
เรยี นรู้ 4) ขนั้ การจดั การเรียนรู้ 5) ข้นั ประเมนิ ผล ผลการวิจัย พบว่า 1) สื่อดิจิทัลประกอบการจัดการ
เรียนรู้ ตามกระบวนการวิจัยรูปแบบวงจรลาดับเวลาวงรอบท่ี 1 ทาให้นักเรียนส่วนใหญ่มีผลการ
เรยี นรหู้ ลงั เรียนสงู กวา่ ก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ี .01 แต่ยงั มีบางคนยงั ต้องได้รับการพัฒนา
อยู่ จงึ ได้พฒั นาตอ่ ในวงรอบที่ 2 ทาให้นักเรียนมีผลการเรียนรู้หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนทุกคน และ
2) ผู้เรียนมคี วามพึงพอใจต่อการการจัดการเรยี นร้ผู ่านสอื่ ดิจิทลั อยู่ในระดับมากที่สดุ

คำสำคญั : การจดั การเรียนรู้; ส่ือดิจิทลั ; วงจรลาดับเวลา เจมส์ แมคเคอรแ์ นน

260 การประชุมวิชาการนาเสนอผลงานวจิ ัยระดบั บัณฑติ ศึกษาแห่งชาติ ครง้ั ท่ี 49

ABSTRACT
The objectives of this study were to: 1) Study the learning achievement by
using digital media in learning according to the research process of the James
McKernan timeline cycle 2) To study the satisfaction of learners by using digital
media for learning according to the research process of the James McKernan timeline
cycle . The Samples were 18 students of Grade 4, Bang Khan Wittaya School by
purposive sampling.The research result reveals that: 1) English learning achievement
after the treatment was higher than the pre-treatment at .01, significantly: 2) the
overall of learners' satisfaction of English language learning through digital media
learning management was at the highest level.

Key words: Digital learning management, Digital, James McKernan’s time cycle
process.

กำรประชมุ วชิ ำกำรนำเสนอผลงำนวจิ ยั ระดบั บณั ฑติ ศกึ ษำแห่งชำติ ครงั้ ท่ี 49 261

กำรใช้ชุดกำรสอนเพื่อพัฒนำผลสมั ฤทธท์ิ ำงกำรเรยี นรู้ รำยวิชำคณติ ศำสตร์
เร่ือง กำรบวก ลบ คณู หำรเศษสว่ น ของนกั เรยี นชนั้ ประถมศึกษำปีท่ี 5 โรงเรียนบ้ำนกะหลิม
THE USAGE OF TEACHING PACKAGE TO DEVELOP MATHEMATICS LEARNING
ACHIEVEMENT ON ADDITION, SUBTRACTION, MULTIPLICATION, AND DIVISION

OF FRACTIONS OF PRATHOMSUKSA 5 STUDENTS AT BAN KALIM SCHOOL

กง่ิ แก้ว ขอถาวรทรพั ย์1,2 อมั พร วจั นะ,2
Kingkeaw khothawornsub1 Umporn Wutchana 2
โรงเรียนบา้ นกะหลมิ 1 คณะศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั รามคาแหง2
[email protected] [email protected]

บทคัดย่อ
การวจิ ยั ครง้ั น้ีมีวตั ถปุ ระสงค์ 1) เพื่อสร้างและหาประสิทธิภาพของชุดการสอน เร่ืองการบวก
ลบ คูณ หารเศษส่วน ตามเกณฑ์ 80/80 2) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนก่อนเรียนและ
หลังเรียนโดยใช้ชุดการสอน เร่ือง การบวก ลบ คูณ หารเศษส่วน 3) เพ่ือพัฒนาทักษะการบวก ลบ
คณู หารเศษสว่ น 4) เพ่ือใหน้ ักเรียนมเี จตคตทิ ดี่ ีต่อวิชาคณิตศาสตร์ หลังการใช้ชุดการสอน เรื่อง การ
บวก ลบ คูณ หารเศษส่วน โดยกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 5
โรงเรียนบ้านกะหลิม จานวน 35 คน ได้มาด้วยการสุ่มแบบเจาะจง (Purposive sampling) โดยมี
ขั้นตอนการดาเนินการวิจัย ดังนี้ ทาแบบทดสอบก่อนเรียน โดยใช้แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการ
เรียน เร่ืองการบวก ลบ คูณ หารเศษส่วน เป็นปรนัย 4 ตัวเลือก จานวน 20 ข้อ กับกลุ่มตัวอย่าง
ดาเนินการสอนกล่มุ ตวั อย่างโดยใชช้ ดุ การสอน เร่อื งการบวก ลบ คณู หารเศษส่วน ที่ผ่านการทดสอบ
หาประสิทธิภาพ แบบเด่ียว แบบกลุ่ม และแบบภาคสนาม วัดทักษะการบวก ลบ คูณ หารเศษส่วน
และทาการทดสอบหลังเรียน โดยใช้แบบทดสอบชุดเดียวกับแบบทดสอบก่อนเรียน เปรียบเทียบผล
การทดสอบก่อนเรยี นและหลังเรียนโดยทดสอบคา่ T จากน้นั ให้นกั เรยี นกลมุ่ ตวั อย่าง ทาแบบประเมิน
วัดเจตคตติ ่อวิชาคณติ ศาสตร์ วเิ คราะหท์ ักษะการบวก ลบ คณู หารเศษสว่ นและเจตคติโดยใช้ค่าเฉล่ีย
ค่าส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า 1)ชุดการสอนเร่ืองเร่ืองการบวก ลบ คูณ หารเศษส่วน
สาหรับนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 5 ที่พัฒนาข้ึนมีค่าประสิทธิภาพเท่ากับ 80.22/82.33 ซ่ึงสูงกว่า
เกณฑ์ 80/80 ท่ีต้งั ไว้ 2) ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนเรือ่ งการบวก ลบ คูณ หารเศษส่วน หลังเรียนโดยใช้
ชุดการสอน เรื่อง การบวก ลบ คูณ หารเศษส่วน สูงกว่า ก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ
.05 3)นักเรียนมีทักษะการบวก ลบ คูณ หารเศษส่วน อยู่ในระดับ ดีมาก 4)นักเรียนมีเจตคติต่อวิชา
คณิตศาสตร์ อยูใ่ นระดับ ดีมาก

คำสำคญั : ชุดการสอน ;ทกั ษะการบวก ลบ คูณ หารเศษส่วน

262 การประชุมวิชาการนาเสนอผลงานวิจยั ระดบั บณั ฑติ ศกึ ษาแห่งชาติ ครงั้ ท่ี 49

ABSTRACT
The Objective of this research is 1) To create and find the effectiveness of the
teaching package on addition, subtraction, multiplication, and division of fractions
according to the criteria 80/80. 2) To compare the learning achievement before and
after learning by using the teaching package on addition, subtraction, multiplication,
and division of fractions. 3) To practice the skills of addition, subtraction,
multiplication, and division of fractions. 4) To give students a positive attitude
towards mathematics, after using the teaching package on addition, subtraction,
multiplication, and division of fractions by a sample of research is Prathomsuksa 5
students at Ban Kalim School 35 students have come up with the purposive
sampling by the process of the research follows to take the test before studying by
using the achievement test on addition, subtraction, multiplication, and division of
fractions as 4 multiple choice of 20 items with a sample conducted a sample group
teaching by using teching package on addition, subtraction, multiplication, and
division of fractions that have been tested for efficiency in single, group, and
field. Measure the addition, subtraction, multiplication, and division of fractions skills
and test after studying by using the same test as before the study to compare the
test results before and after studying by testing the T Value. Then, to the sample
students take the attitude measurement test towards mathematics for analyze
addition, subtraction, multiplication, division of fractions, and attitudes
skills by using the averages and the standard deviation. The research found that
1) The teaching package on addition, subtraction, multiplication, and division of
fractions for developed Prathomsuksa 5 students has an efficiency equal to
80.22/82.33 which is higher than the set 80/80 criteria. 2) Learning achievement on
addition, subtraction, multiplication, and division of fractions after learning by using
the teaching package on addition, subtraction, multiplication, and division of fractions
were significantly higher than before learning at the .05 level of significance. 3) The
students have the skills of addition, subtraction, multiplication, division of fractions at
a very good level. 4) The students have a very good level of attitude towards
Mathematics.

Keywords: Teaching Package; Addition, Subtraction, Multiplication and Division of
Fractions Skills

กำรประชมุ วชิ ำกำรนำเสนอผลงำนวิจัยระดับบัณฑติ ศกึ ษำแห่งชำติ ครง้ั ที่ 49 263

กำรใช้ชุดกิจกรรมกำรสอนเพอ่ื พัฒนำผลสัมฤทธทิ์ ำงกำรเรียนรู้ทกั ษะกำรแก้โจทยป์ ัญหำ
คณติ ศำสตรแ์ ละเจตคติ วิชำคณติ ศำสตร์ เรื่องทฤษฎบี ทของพีทำโกรัส
ของนักเรยี นชั้นมัธยมศึกษำปที ี่ 2/1 โรงเรยี นภเู กต็ วทิ ยำลัยจังหวดั ภเู ก็ต

THE USAGE OF TEACHING ACTIVITIES TO DEVELOP LEARNING ACHIEVEMENT,
PROBLEM SOLVING SKILLS IN MATHEMATICS AND ATTITUDES ON THE
PYTHAGOREAN THEOREM OF MATHAYOMSUKSA 2 STUDENTS, PHUKET
WITTAYALAI SCHOOL PHUKET PROVINCE

ศรีสดุ า หนเู ซง่ 1,2และ อัมพร วัจนะ2
Srisuda Nuseng1,2and Umporn Wutchana2

บทคดั ยอ่
ปีการศึกษา 2559 - 2562 พบว่าผลการเรียนของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนภูเก็ต
วิทยาลยั รายวชิ าคณิตศาสตร์พ้นื ฐาน มแี นวโนม้ ลดลง โดยเฉพาะเร่ืองทฤษฎีบทของพที าโกรัส มีคะแนนเฉล่ีย
38.76 ซึ่งถอื วา่ เป็นค่าคะแนนทอี่ ยู่ในระดับต่ากว่าร้อยละ 50 จึงได้สร้างชุดกิจกรรมการสอน เร่ืองทฤษฎีบท
ของพีทาโกรัส โดยมวี ัตถปุ ระสงค์ของการวจิ ัยครัง้ นี้ คอื (1)เพ่ือสร้างและหาประสิทธิภาพการสร้างชุดกิจกรรม
การสอน เรื่องทฤษฎีบทของพีทาโกรัส (2)เพ่ือเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ก่อนและหลังการจัดชุด
กิจกรรมการสอน เรื่องทฤษฎีบทของพีทาโกรสั (3)เพอ่ื ศกึ ษาทักษะการแก้โจทย์ปญั หาหลังการจัดชุดกิจกรรม
การสอน และ(4)เพื่อศึกษาเจตคติหลังการจัดชุดกิจกรรมการสอนกับเม่ือเทียบกับเกณฑ์ท่ีกาหนด โดยกลุ่ม
ตวั อย่างทีใ่ ช้ในการวิจัย คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/1 จานวน 30 คน โรงเรียนภูเก็ตวิทยาลัย จังหวัด
ภเู กต็ ไดม้ าดว้ ยวธิ ีการสุ่มแบบเจาะจง(purposive sampling) โดยมีข้ันตอนการดาเนินการวิจัย ดังน้ี ทาการ
ทดสอบก่อนเรียนโดยใช้แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน วิชาคณิตศาสตร์ เร่ืองทฤษฎีบทของพีทา
โกรัส เป็นแบบปรนัย 4 ตัวเลือก จานวน 30 ข้อ กับกลุ่มตัวอย่าง ดาเนินการสอนกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ชุด
กิจกรรมการสอน เรอื่ งทฤษฎบี ทของพีทาโกรัส ท่ีผ่านการทดสอบหาประสิทธิภาพ แบบรายบุคคล แบบกลุ่ม
ย่อย และภาคสนาม ให้กลุ่มตัวอย่างทาแบบฝึกทักษะการแก้โจทย์ปัญหาหลังการจัดชุดกิจกรรมการสอน
และทาการทดสอบหลังเรียนโดยใชแ้ บบทดสอบชุดเดียวกบั แบบทดสอบก่อนเรียนเปรยี บเทยี บผลการทดสอบ
กอ่ นเรียนและหลังเรียน โดยทดสอบค่า t แบบกลุ่มตัวอย่างที่เป็นอิสระต่อกัน (t-test dependent) จากนั้น
ให้นักเรียนกลุ่มตัวอย่าง ทาแบบประเมินวัดเจตคติต่อการเรียนสอนโดยใช้ชุดกิจกรรมการสอน เรื่องทฤษฎี
บทของพีทาโกรสั วิเคราะหข์ อ้ มลู โดยใชค้ า่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลยี่ ส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า
(1)ประสทิ ธภิ าพของชดุ กิจกรรมการสอนเรอื่ งทฤษฎบี ทของพที าโกรสั มปี ระสทิ ธภิ าพเท่ากับ 80.29/81.22 ซ่ึง
เป็นไปตามเกณฑ์ประสิทธ์ิภาพ 80/80(2)ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนระดับชั้น
มัธยมศกึ ษาปีท่ี 2 ภายหลงั ได้รับการจดั การเรยี นรู้โดยใชช้ ุดกิจกรรมการสอนเร่ืองทฤษฎีบทของพีทาโกรัสสูง
กว่าก่อนได้รบั การจัดการเรยี นรู้ (3) ผลการประเมินทกั ษะการแกโ้ จทย์ปญั หาภายหลังได้รับการจัดการเรียนรู้
โดยใช้ชุดกิจกรรมการสอนเร่ืองทฤษฎบี ทของพีทาโกรัสอยู่ในเกณฑ์ดี (4) เจตคติของนักเรียนที่มีต่อการเรียน
วชิ าคณิตศาสตร์หลังจากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรมการสอนเร่ืองทฤษฎีบทของพีทาโกรัสอยู่

264 การประชุมวิชาการนาเสนอผลงานวิจยั ระดบั บณั ฑติ ศึกษาแหง่ ชาติ ครัง้ ที่ 49

ในเกณฑ์ดี ดังน้ันการใช้ชุดกิจกรรมการสอนสามารถนาไปใช้กับวิชาคณิตศาสตร์ เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธ์ิ
ทางการเรยี นของนักเรียนให้สูงข้นึ ได้

คำสำคญั : การสร้างชุดกิจกรรมการสอน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ ทักษะการแก้โจทย์ปัญหา
คณติ ศาสตร์ เจตคติตอ่ วชิ าคณิตศาสตร์

ABSTRACT
Academic year 2016 - 2019, it was found that the grades of mathayomsuksa
two students at 38.76% of Basic Mathematics courses receive a grade level 1, which
is below the specified level. The researchers then created a set of teaching activities
about the Pythagorean Theorem. The purpose of this research is to create and find
efficiency in creating a set of teaching activities about the Pythagorean Theorem. To
compare learning achievement before and after using a set of teaching activity about
the Pythagorean Theorem. To study problem solving skills after using a set of
teaching activity and to study the attitude after a set of teaching activity compared
to the specified criteria. The sample consisted of 30 mathayom suksa 2 room 1
students, Phuket Wittayalai School, Phuket, under the Office of Secondary
Educational Service Areas 14, Semester 1, academic year 2019. The researcher used
the purposive sampling method. There are research procedures as follows take the
pre-test before studying by using the mathematics achievement test in Pythagorean
Theorem is a multiple-choice, 4 choices of 30 items . The sample group was taught
by using a set of teaching activity about the Pythagorean Theorem. Next, the samples
do the problem solving skills after using the activity sets. Then, take the post-test by
using the same test set as the achievement test before learning. After that, the
students in the group performed the attitude assessment on teaching and learning
by using the teaching activity package about the Pythagorean Theorem. The statistics
used in the analysis used the mean value, percentage, standard deviation, and t-test
for non-independent sample groups. The research found that the efficiency of a set
of teaching activity on Pythagoras' Theorem is as effective as 80.29 / 81.22, which
meets the 80/80 performance criteria specified. The students had better academic
achievement after studying than before studying. Statistical significance at the level
of .05. The result of evaluation of problem solving skills was good and the results of
the attitude evaluation after teaching and learning activities were at a good level.

Keywords: Creating a set of teaching activity Learning Achievement Math Problem
Solving Skills Attitude towards Mathematics

กำรประชมุ วชิ ำกำรนำเสนอผลงำนวิจัยระดบั บัณฑติ ศกึ ษำแห่งชำติ ครัง้ ที่ 49 265

กำรดำเนินงำนโครงกำรโรงเรียนคณุ ธรรม สพฐ. ของผู้บรหิ ำรสถำนศึกษำ
สำนักงำนเขตพ้ืนที่กำรศกึ ษำมธั ยมศึกษำเขต 16

MORAL SCHOOL PROJECT OPERATION OF SCHOOL ADMINISTRATORS UNDER
THE SECONDARY EDUCATIONAL SERVICE AREA OFFICE 16

วันเฉลิม วฒุ วิ ิศษิ ฏส์ กลุ 1 สุนทรี วรรณไพเราะ2
Wanchalerm Wuttiwisisakul1 Suntaree Wannapairo2
นิสติ การศกึ ษามหาบณั ฑติ สาขาวชิ าการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ1
อาจารย์ ดร.สาขาวชิ าการบริหารการศึกษา คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ทักษณิ 2
[email protected] 1and [email protected]

บทคัดยอ่
การศึกษาการดาเนินงานโครงการโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. ของผู้บริหารสถานศึกษา
สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 16 มีวัตถุประสงค์เพ่ือศึกษาการดาเนินงานโครงการ
โรงเรยี นคณุ ธรรม สพฐ. และเพอ่ื เปรยี บเทยี บการดาเนนิ งานโครงการโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. จาแนก
ตามเพศ อายุ ประสบการณ์ในการทางาน และ ขนาดสถานศึกษา ประชากรได้แก่ ครูโรงเรียนที่
สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 16 ปีการศึกษา 2562 ซึ่งผ่านการประเมิน
โรงเรียนคุณธรรม สพฐ. ระดับ 1 ดาว จานวน 834 คน กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ครูสังกัดสานักงานเขต
พ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษาเขต 16 ปีการศึกษา 2562 ท่ีโรงเรียนผ่านการประเมินโรงเรียนคุณธรรม
สพฐ. ระดับ 1 ดาว จานวน 15 โรงเรยี น จานวนครู จานวน 265 คน กาหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดย
เทียบจากตารางสาเร็จรูปของงเครจซ่ีและมอร์แกน (1970 ) แล้วสุ่มแบ่งชั้น ตามตัวแปรขนาด
สถานศึกษา จากน้ันใช้วิธีการสุ่มอย่างง่าย โดยการจับสลาก ได้กลุ่มตัวอย่าง จานวน 265 คน ได้รับ
แบบสอบถามคืน จานวน 252 ฉบับ คิดเป็นร้อยละ 95.09 เครื่องมือการวิจัยเป็นแบบสอบถามมีค่า
ความเชื่อม่ันทั้งฉบับเท่ากับ .987 สถิติที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ความถี่ ค่าร้อยละค่าเฉล่ีย ส่วนเบี่ยงเบน
มาตรฐาน การทดสอบที การทดสอบเอฟ โดยใช้โปรแกรมคอมพวิ เตอรส์ าเร็จรปู ทางสถติ ิ
ผลการวิจัยพบวา่ ในภาพรวมและรายด้าน อยูใ่ นระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่าด้าน
การลงมือปฏิบัติเพ่ือบรรลุเป้าหมายการเปลี่ยนแปลง (คุณธรรมอัตลักษณ์) มีค่าเฉล่ียมากที่สุด ผล
การเปรียบเทยี บ จาแนกตามตวั แปรเพศ พบวา่ มีความคิดเหน็ ในภาพรวมไมแ่ ตกต่างกัน และรายด้าน
แตกตา่ งกนั พบวา่ ดา้ นการกาหนดวิธีบรรลุคุณธรรมอัตลักษณ์ของโรงเรียนการลงมือปฏิบัติเพื่อบรรลุ
เป้าหมายการเปล่ียนแปลง (คุณธรรมอัตลักษณ์) แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่.05 จาแนก
ตามตัวแปรอายุ พบว่า ในภาพรวมและรายด้านไม่แตกต่างกัน จาแนกตามตัวแปรประสบการณ์ใน
การทางาน พบว่าครูที่มีประสบการณ์ในการทางานต่างกัน มีความคิดเห็นในภาพรวมและรายด้านไม่
แตกตา่ งกัน จาแนกตามตวั แปรขนาดสถานศึกษา พบว่า โดยภาพรวมและรายด้านแตกต่างกัน อย่างมี
นยั สาคัญทางสถิตทิ ีร่ ะดบั .001

คำสำคญั : โรงเรยี นคุณธรรม สพฐ. ; การดาเนนิ งาน

266 การประชุมวิชาการนาเสนอผลงานวิจัยระดบั บณั ฑติ ศกึ ษาแห่งชาติ ครัง้ ที่ 49

ABSTRACT
A study of Moral School Project operation of school administrators under the
Secondary Educational Service Area Office 16 aimed to study and compare Moral
School Project operation of school administrators under the Secondary Educational
Service Area Office 16 based on the opinions of teachers differing in gender, age,
work experience, and school size. Population includes 834 school teachers under the
Secondary Educational Service Area Office 16, the academic year 2019, who passed
the assessment of 1-star moral school. The research samples were 265 teachers in 1-
star moral schools in 15 schools. The sample size was specified by Krejcie and
Morgan’s Table and then randomly classify based on school size and Simple
Random Sampling method by lottery. The researchers got 252 questionnaires back,
95.09 percent. The research instrument was a questionnaire with the reliability of
.987. The statistics used in this research were frequency, mean, percentage, standard
deviation, T-test, F-test using statistical computer program.
The results of the study showed that both overall and individual aspects,
action to achieve the goal for change (morality and identity) had the highest mean.
The teachers differing in gender did not have different opinions towards Moral School
Project operation of the school administrators; however, they had different opinions
in the aspect of action to achieve the goal for change significantly at .05 level. The
teachers having different age did not have different opinions, but the ones having
different work experience had different opinions towards Moral School Project
operation of school administrators. The teachers working in different school size had
significantly different opinions at .001 level.

Keywords: Moral School Project ; Operation

การประชุมวชิ าการนาเสนอผลงานวิจัยระดับบณั ฑิตศึกษาแหง่ ชาติ ครง้ั ท่ี 49 267

ภาคผนวก

คาสั่งมหาวิทยาลยั ราชภฏั นครศรธี รรมราช ที่ 4260/2562
เรอื่ ง แตง่ ตั้งกองบรรณาธกิ ารตามโครงการประชุมวิชาการระดับชาติ คร้งั ท่ี 49

268 การประชมุ วชิ าการนาเสนอผลงานวจิ ัยระดบั บณั ฑิตศกึ ษาแหง่ ชาติ ครั้งท่ี 49

การประชุมวชิ าการนาเสนอผลงานวจิ ยั ระดบั บณั ฑิตศกึ ษาแหง่ ชาติ คร้งั ท่ี 49 269

270 การประชมุ วชิ าการนาเสนอผลงานวจิ ัยระดบั บณั ฑิตศกึ ษาแหง่ ชาติ ครั้งท่ี 49

การประชุมวชิ าการนาเสนอผลงานวจิ ยั ระดบั บณั ฑิตศกึ ษาแหง่ ชาติ คร้งั ท่ี 49 271

272 การประชมุ วชิ าการนาเสนอผลงานวจิ ัยระดบั บณั ฑิตศกึ ษาแหง่ ชาติ ครั้งท่ี 49


Click to View FlipBook Version