The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ศวีระ วิเศษโชค, 2019-12-05 03:16:15

รวมบทคัดย่อ NGRC#49

รวมบทคัดย่อ

การประชุมวชิ าการนาเสนอผลงานวิจัยระดบั บณั ฑติ ศกึ ษาแห่งชาติ คร้งั ท่ี 49 93

สภาพปัญหาการดาเนนิ งานโครงการโรงเรียนวิถพี ุทธของโรงเรียน
ในสงั กัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษาประถมศึกษายะลา เขต 3
THE CURRENT STATUS OF PROBLEM OPERATION IN BUDDHISH SCHOOL PROJECT
UNDER YALA PRIMARY EDUCATIONAL SERVICE AREA OFFICE 3

จริ ารตั น์ อินมณเทยี ร
Chirarat Inmonthian
ภาควชิ าการบรหิ ารการศึกษา คณะศกึ ษาศาสตร์และศลิ ปศาสตร์ มหาวิทยาลยั หาดใหญ่
[email protected]

บทคดั ยอ่
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพปัญหาการดาเนินงานโครงการโรงเรียนวิถีพุทธและ
เปรียบเทียบสภาพปัญหาการดาเนินงานโครงการโรงเรียนวิถีพุทธของโรงเรียนในสังกัดสานักงานเขต
พื้นที่การศึกษาประถมศึกษายะลา เขต 3 ตามความคิดเห็นของข้าราชการครู พนักงานราชการและ
ครูอัตราจ้าง จาแนกตามวุฒิการศึกษา ตาแหน่ง และประสบการณ์การทางาน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ใน
การวิจัยคือข้าราชการครู พนักงานราชการและครูอัตราจ้างของโรงเรียนในสังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่
การศึกษาประถมศึกษายะลา เขต 3 ที่เข้าร่วมโครงการโรงเรียนวิถีพุทธปีการศึกษา 2561 จานวน
136 คน เคร่ืองมือที่ใช้ในการวิจัยคือแบบสอบถาม และดาเนินการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติร้อยละ
คา่ เฉล่ีย ค่าส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที (t-test) และการทดสอบเอฟ (F - test)
ผลการวิจัยพบว่า ระดับความคิดเห็นของความคิดเห็นของครูเกี่ยวกับสภาพปัญหาการ
ดาเนนิ งานโรงเรียนวถิ ีพุทธของโรงเรียนในสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษายะลา เขต
3 โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก ด้านท่ีมีค่าเฉล่ียมากท่ีสุดคือ ด้านกิจกรรมพื้นฐานชีวิต รองลงมาคือ
ด้านบรรยากาศและปฏิสัมพันธ์ ด้านกายภาพ ด้านการเรียนการสอน และน้อยที่สุดคือด้านการ
บริหารจัดการ ผลเปรียบเทียบสภาพปัญหาการดาเนินงานโครงการโรงเรียนวิถีพุทธของโรงเรียนใน
สังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษายะลา เขต 3 ตามความคิดเห็นของข้าราชการครู
พนักงานราชการและครูอัตราจ้าง พบว่า วุฒิการศึกษาสภาพปัญหาการดาเนินงานโครงการโรงเรียน
วถิ ีพุทธของโรงเรียนในสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษายะลา เขต 3แตกต่างกันอย่าง
มีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วนตาแหน่งและประสบการณ์การทางานมีสภาพปัญหาการ
ดาเนินงานโครงการโรงเรียนวิถีพุทธของโรงเรียนในสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
ยะลา เขต 3 ไม่มคี วามแตกตา่ งกัน

คาสาคญั : การดาเนินงานโครงการ;โครงการวถิ ีพุทธ;ประถมศกึ ษา

94 การประชมุ วชิ าการนาเสนอผลงานวจิ ัยระดบั บัณฑิตศึกษาแหง่ ชาติ ครง้ั ท่ี 49

ABSTRACT
The purpose of this research to study Buddhist way of life school project
implementation problems and comparison Buddhist way of life school project
implementation problems under Yala Primary Educational Service Area Office 3
according to the opinion of the teachers by education , position and work
experience. The sample used in this study were teacher of school under Yala
Primary Educational Service Area Office 3 participate in Buddhist way of life school
project academic year 2018 number 136 people. The instrument was questionnaire.
The statistical analysis of data, percentage, mean, standard deviation, t-test and F-
test.
The results found that opinion of teachers about Buddhist way of life school
project implementation problems under Yala Primary Educational Service Area Office
3 overall high level . The side with the highest average was the basic activities of life
followed by the environment and relationship . The Physical . The teaching and the
lowest management. The comparison of Buddhist way of life school project
implementation problems under Yala Primary Educational Service Area Office 3
according to the opinion of the teachers found that education was different.
Statistically significant at the level 0.05, position and work experience was no
different.

Keywords: Operation; Buddish School Project ; Educational

การประชุมวชิ าการนาเสนอผลงานวจิ ัยระดบั บัณฑิตศกึ ษาแห่งชาติ ครั้งที่ 49 95

ภาวะผนู้ าเชิงกลยุทธ์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาสตูล
STRATEGIC LEADERSHIP OF SCHOOL ADMINISTRATORS UNDER SATUN PRIMARY

EDUCATIONAL SERVICE AREA OFFICE

กฤตนิ เกยี รตธิ นภษู ติ 1 อมลวรรณ วีระธรรมโม2
Krittin Keittanapusit 1 Amonwan Weeratammo 2

คณะศึกษาศาสาตร์ มหาวิทยาลยั ทักษิณ1
อาจารย์ประจาสาขาวชิ าหลกั สตู รและการสอน คณะศกึ ษาศาสาตร์ มหาวทิ ยาลยั ทักษิณ2
Corresponding author,[email protected] [email protected]

บทคัดยอ่
งานวิจยั น้มี วี ตั ถปุ ระสงค์เพือ่ ศึกษาและเปรียบเทียบภาวะผนู้ าเชงิ กลยุทธ์ของผู้บริหารสถานศึกษา
สังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาสตูล จาแนกตามตัวแปรเพศ ระดับการศึกษา
ประสบการณ์ในการปฏิบัติงานและขนาดของสถานศึกษา กลุ่มตัวอย่างได้แก่ ครู สังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ี
การศกึ ษาประถมศกึ ษาสตูล โดยใช้ตารางเทยี บกล่มุ ตวั อย่างของ Krejcie and Morgan แลว้ ส่มุ แบบแบง่ ชั้น
โดยใชข้ นาดของสถานศกึ ษาและใชว้ ธิ ีการสุ่มอยา่ งง่าย โดยวิธีจับสลาก เครอ่ื งมอื การวจิ ัยเป็นแบบสอบถาม
มาตราสว่ นประมาณคา่ 5 ระดับ จานวน 70 ขอ้ มีค่าความเชื่อม่ันท้ังฉบับเท่ากับ .985 วิเคราะห์ข้อมูลโดย
ใช้สถติ ิ คอื คา่ ร้อยละคา่ เฉลยี่ คา่ ความเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบคา่ ที การทดสอบค่าเอฟ
ผลการศึกษาพบว่า ภาวะผู้นาเชิงกลยุทธ์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ี
การศึกษาประถมศึกษาสตูล โดยภาพรวมและ รายด้านอยู่ในระดับมาก ผลการเปรียบเทียบ พบว่า ครูที่มี
เพศต่างกัน มีความคิดเห็นต่อภาวะผู้นาเชิงกลยุทธ์ของผู้บริหารสถานศึกษา แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญ
ทางสถิติท่ีระดับ .01 ครูที่มีระดับการศึกษาต่างกันมีความคิดเห็นต่อภาวะผู้นาเชิงกลยุทธ์ของผู้บริหาร
สถานศึกษา แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 ส่วนครูที่มีประสบการณ์ในการปฏิบัติงาน
ตา่ งกนั มคี วามคิดเห็นตอ่ ภาวะผนู้ าเชงิ กลยุทธ์ของผู้บรหิ ารสถานศกึ ษาโดยภาพรวมและรายด้านไม่แตกตา่ ง
กัน และครูที่ปฏิบัติงานในสถานศึกษาขนาดต่างกันมีความคิดเห็นต่อภาวะผู้นาเชิงกลยุทธ์ของผู้บริหาร
สถานศึกษา แตกตา่ งกันอย่างมีนยั สาคัญทางสถติ ิท่รี ะดับ .001

คาสาคญั : ภาวะผู้นาเชงิ กลยุทธ์ ; ภาวะผู้นา

96 การประชุมวชิ าการนาเสนอผลงานวจิ ัยระดบั บณั ฑิตศึกษาแห่งชาติ ครง้ั ที่ 49

ABSTRACT
This research study aimed to studying and compare the strategic leaderships
of school administrators in under Satun Primary Educational Service Area Office ,
classified by gender, educational level, operational experience and school size. The
sample was the teachers under Satun Primary Educational Service Area office by
using the table compared samples of Krejcie and Morgan. The proportional stratified
random sampling and simple random sampling. The research instrument was a five-
scale questionnaire with 70 items. Its reliability was .985. Data were analyzed by
means of percentage, mean, standard deviation, T-test, and F-test.
It was found that the strategic leaderships of school administrators under
Satun Primary Educational Service Area Office as a whole and in specific aspects
were in high level. The comparing results showed that the male and female teachers
had different opinions towards the strategic leaderships of school administrators
statistically significantly at .01. The teachers having different educational levels had
different opinions towards the strategic leaderships of school administrators
statistically significantly at .05. For the teachers having different operational
experiences, their opinions towards the strategic leaderships of school administrators
both as a whole and in specific aspects were not different. In addition, the teachers
working in different school sizes expressed different opinions towards the strategic
leaderships of school administrators statistically significantly at .001.

Keywords: Strategic Leadership ; Leadership

การประชมุ วชิ าการนาเสนอผลงานวิจัยระดบั บณั ฑติ ศึกษาแห่งชาติ คร้ังท่ี 49 97

กาหนดการ
การประชุมวิชาการนาเสนอผลงานวจิ ัยระดับบัณฑิตศกึ ษาแห่งชาติ ครั้งท่ี 49
The 49th National Graduate Research Conference 2019 : NGRC#49
“การสร้างสรรคง์ านวิจยั และนวตั กรรม : ความทา้ ทาย และโอกาสในการก้าวสู่ Thailand 4.0”

วันที่ 6 ธนั วาคม 2562 เวลา 11.00 – 16.00 น. ณ อาคารหอประชุมใหม่

ผูท้ รงคุณวุฒิ : รองศาสตราจารย์ ดร.เรวดี กระโหมวงศ์
รองศาสตราจารย์ ดร.วีระยทุ ธ ชาตะกาญจน์
ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ ดร.มลิวลั ย์ สมศักด์ิ

ลาดับ ช่ือเรอ่ื ง ชือ่ – นามสกลุ นักวจิ ยั เวลา
11.00
45 การพัฒนาพฤติกรรมความกล้าแสดงออกของนักศึกษา พริ าภรณ์ สมเขาใหญ่
11.10
ระดับชั้น ปวช. ปที ่ี 2 โดยใช้วธิ ีการแสดงบทบาทสมมติ ใน อญั ญารตั น์ บรบิ รู ณ์ 11.20
11.30
บทเรยี นเรือ่ งรปู แบบแผนธรุ กจิ เลศิ พร อุดมพงษ์ 11.40

46 การพัฒนาความสามารถด้านการอ่านภาษาไทยสาหรับ สภุ ามาศ เลขยะวิจิตร 11.50

นกั เรียนช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1 โดยใช้ภาพการ์ตนู ประกอบ จรัสศรี วงศเ์ สน 13.00
13.10
47 การบริหารความขัดแย้งของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัด พมิ พก์ มล ศภุ โชควารี 13.20

สานักงานเขตพื้นที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาตรงั เขต 2 อมลวรรณ วีระธรรมโม 13.30

48 ภาวะผนู้ าเชงิ พหวุ ัฒนธรรมของผบู้ รหิ ารสถานศึกษา สังกัด พรพพิ ัฒน์ ไชยสวสั ดิ์

สานักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาสตูล ศลิ ปช์ ยั สุวรรณมณี

49 การดาเนินงานการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐด้วย Electronic นครนิ ทร์ โตะเยาะ

Government Procurement (e–GP) ของสถานศึกษา รุ่งชชั ดาพร เวหะชาติ

สังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา ประถมศึกษายะลา

เขต 2

50 ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นาการเปล่ียนแปลงและการ สาแลฮะ ดซี ะเอ๊ะ

บรหิ ารสู่ความเป็นเลศิ ของสถานศึกษา สังกดั สานักงานเขต สนุ ทรี วรรณไพเราะ

พื้นทกี่ ารศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 15

51 ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกใช้บริการค่ายกิจกรรม ประยงค์ วารีขันธ์ุ

นันทนาการสวนนงนุช พัทยา

52 การพั ฒนารู ปแบบการบริ หารงานบุ คคลสหกรณ์ ปารชิ าติ จนั ทร์ศรบี ตุ ร

ออมทรัพยค์ รสู งขลาจากัด สุระพรรณ์ จุลสุวรรณ์

53 ปัจจัยทางการตลาดที่มีผลต่อการเลือกใช้บริการธนาคารกรุงไทย นฤมล อินทรท์ า่ ฉาง

สาขาสหกรณ์สรุ าษฎร์ธานี จงั หวดั สุราษฎรธ์ านี สพุ ัตรา พวงนยุ้

อารวี รรณ สชี ุม

54 ความสมั พันธ์ระหว่างการนเิ ทศภายในของผู้บริหารสถานศึกษา ปยิ ะพร เระ๊ ดมุ หลี

กบั พฤติกรรมการสอนของครูโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอสิ ลาม สนุ ทรี วรรณไพเราะ

สงั กัดสานักงานการศกึ ษาเอกชนจงั หวัดสงขลา

98 การประชมุ วิชาการนาเสนอผลงานวจิ ัยระดับบัณฑิตศกึ ษาแหง่ ชาติ ครง้ั ที่ 49

ลาดบั ชื่อเรื่อง ชือ่ – นามสกลุ นักวจิ ยั เวลา
13.40
55 การพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชาภาษาอังกฤษ เรื่อง กรองกาญจน์ ไทยนุกลู
13.50
Singular and Plural Nouns ของนักเรียนชั้น วรศิ รา อศิ รางกูร ณ อยุธยา
14.00
มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1 โดยใช้ชดุ การสอนแบบศนู ยก์ ารเรยี น
14.10
56 การบริหารหลกั สตู รอสิ ลามศึกษา (แบบเข้ม) ของผู้บริหาร นูรีหย๊ะ ยสี ะอุ
14.20
สถานศึกษา สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา รุ่งชัชดาพร เวหะชาติ

ประถมศึกษาสงขลา เขต 3

57 การบริหารสถานศึกษาตามแผนการศกึ ษาแห่งชาตขิ อง ฟ้ารงุ่ หมั่นสนิท

ผูบ้ รหิ ารสถานศึกษาสังกดั สานกั งานเขตพื้นที่การศึกษา ร่งุ ชัชดาพร เวหะชาติ

ประถมศึกษาสงขลา เขต 3

58 การจดั การศึกษาปฐมวัยของศูนยพ์ ฒั นาเดก็ เล็ก ตามความ จุฑารตั น์ เดชสุวรรณ

คดิ เห็นของครู สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน จงั หวัด ศิลป์ชยั สุวรรณมณี

นครศรธี รรมราช

59 การพัฒนาสมรรถนะประจาสายงานของครชู าวตา่ งชาติ ญาดา ชาติภริ มย์

สงั กดั สานกั งานเขตพนื้ ท่ีการศึกษามัธยมศกึ ษา เขต 12 รุง่ ชชั ดาพร เวหะชาติ

การประชุมวิชาการนาเสนอผลงานวิจัยระดับบณั ฑติ ศกึ ษาแหง่ ชาติ ครั้งท่ี 49 99

การพัฒนาพฤติกรรมความกลา้ แสดงออกของนักศกึ ษาระดบั ช้นั ปวช. ปีท่ี 2
โดยใชว้ ธิ ีการแสดงบทบาทสมมติ ในบทเรียนเรือ่ งรูปแบบแผนธรุ กิจ

DEVELOPMENT OF ASSERTIVENESS BEHAVIOR OF SECOND-YEAR VOCATIONAL
CERTIFICATE STUDENTS BY USING ROLE PLAY METHODS IN THE PATTERN OF

BUSINESS PLAN LESSON

พริ าภรณ์ สมเขาใหญ1่ อัญญารตั น์ บริบรู ณ2์ เลศิ พร อดุ มพงษ3์
Piraporn Somkhaoyai1 Anyarat Boriboon2 and Lertporn Udompong, Ph.D.3

สาขาวิชาชีพครู คณะศลิ ปศาสตร์ มหาวิทยาลยั ตาปี 1 2 และ 3
Email :[email protected] 1and Email [email protected] [email protected]

บทคัดยอ่
การวิจยั นี้มีวตั ถุประสงค์เพอื่ (1) ศึกษาคะแนนพัฒนาการและคะแนนพัฒนาการสัมพัทธ์ด้าน
พฤตกิ รรมความกล้าแสดงออกของนกั เรยี น ปวช. 2 ท่ีได้รับการสอน โดยใช้วิธีการแสดงบทบาทสมมติ
ในบทเรียนเร่ืองรูปแบบแผนธุรกิจ และ (2) ศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษา ระดับช้ัน ปวช. ปีท่ี 2
ทม่ี ตี อ่ การสอน โดยใช้วธิ ีการแสดงบทบาทสมมติ ในบทเรียนเร่ืองรูปแบบแผนธุรกิจ กลุ่มตัวอย่าง คือ
นักเรียนชนั้ ปวช.2 แผนกพาณชิ ยกรรม วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการสิชล จานวน 21 คน ซ่ึงได้มา
จากการเลือกแบบเจาะจง (Purposive sampling) เครื่องมือท่ีใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย แผนการ
สอนเรือ่ งรูปแบบแผนธุรกจิ จานวน 1 แผน ซึ่งได้ผ่านการตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือโดยผู้เช่ียวชาญ
มคี ณุ ภาพอยใู่ นระดบั ดีมาก (ค่าเฉล่ยี อยู่ระหว่าง 3.33 - 4.00) เคร่ืองมอื ทใ่ี ช้ในงานวิจัย ได้แก่ แบบ
ประเมินพฤติกรรมความกลา้ แสดงออกโดยใชว้ ธิ ีแสดงบทบาทสมมติ การวิเคราะห์ข้อมูล ใช้ค่าร้อยละ
ค่าเฉลย่ี ส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน คะแนนพัฒนาการ และคะแนนพัฒนาการสมั พัทธ์
ผลการวิจัยพบว่า นักเรียนชั้น ปวช.2 แผนกพาณิชยกรรม ที่เรียนโดยใช้ใช้วิธีการแสดง
บทบาทสมมติ ในบทเรียน เรื่องรูปแบบแผนธุรกิจ มีคะแนนพัฒนาการระหว่าง 19.57 – 33.33
นักเรยี นทุกคนมีคะแนนพฒั นาการสมั พทั ธ์มากกว่าร้อยละ 70 และคา่ เฉลยี่ ความพึงพอใจของนักเรียน
ช้ัน ปวช.2 ท่ีมีต่อการสอนโดยใช้บทบาทสมมติ ในบทเรียน เรื่องรูปแบบแผนธุรกิจ มีค่าเฉลี่ย 4.57
อยใู่ นระดับมากท่ีสดุ

คาสาคัญ: ความกลา้ แสดงออก; การแสดงบทบาทสมมติ; รูปแบบแผนธรุ กิจ

100 การประชมุ วิชาการนาเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศกึ ษาแหง่ ชาติ ครัง้ ท่ี 49

ABSTRACT
The objective of this study were to (1) study the development scores and the
relative development score of the assertive behavior Second-Year Vocational
Certificate Students by Using Role Play Methods in the Pattern of Business Plan
Lesson and (2) study the satisfaction of the second-year vocational students towards
teaching by Using Role Play Methods in the Pattern of Business Plan Lesson. Sichon
Commercial Technology College, 21 of which have come from choosing specific
(Purposive sampling). The instrument used in this study consisted of 1 lesson plans,
plans which have been audited by a qualified professional quality tools in a very
good plan. (the average is between 3:33 to 4:00) and achievement. The data were
analyzed using percentage, mean, standard deviation. development score and the
relative scores.
The results showed that Second-Year Vocational Certificate Students by Using
Role Play Methods in the Pattern of Business Plan Lesson. There are scores between
19.57 to 33.33 every student scores relative over 70 percent and the average
satisfaction Second-Year Vocational Certificate Students by Using Role Play Methods
in the Pattern of Business Plan Lesson with an average of 4.57

Keywords : Development of Assertiveness; Behavior of Second-Year Vocational
Certificate Students by Using Role Play Methods ; the Pattern of
Business Plan Lesson

การประชมุ วิชาการนาเสนอผลงานวจิ ัยระดับบัณฑิตศกึ ษาแหง่ ชาติ ครงั้ ท่ี 49 101

การพัฒนาความสามารถด้านการอา่ นภาษาไทยสาหรับนกั เรยี นช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 1
โดยใช้ภาพการ์ตูนประกอบ

THE DEVELOPMENT OF THAI READING ABILITY FOR MATHAYOMSUKSA 1
STUDENTS BY USING CARTOON IMAGES

สุภามาศ เลขยะวิจติ ร1 จรัสศรี วงศ์เสน2
Supamas Lekyavijit1 Jarassri Wongsen2
ภาควิชาประกาศนยี บัตรบณั ฑติ คณะศลิ ปศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ตาป1ี ,2
Dr.Duangta Intaranak,[email protected] [email protected]

บทคดั ย่อ
การวิจยั ครั้งนี้มวี ตั ถปุ ระสงค์คือ 1) เพอ่ื เปรียบเทยี บความสามารถด้านการอ่านภาษาไทยของ
นักเรียนโดยใช้ภาพการต์ ูนประกอบสาหรบั นกั เรียนชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 1 โรงเรียนขนุ ทะเลวิทยาคม 2)
เพื่อประเมินความพึงพอใจของนักเรียนต่อการอ่านภาษาไทยโดยใช้ภาพการ์ตูนประกอบสาหรับ
นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 1 โรงเรียนขุนทะเลวิทยาคม โดยกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนขุนทะเลวิทยาคม ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2562 จานวน
15 คน ซึ่งได้มาโดยใช้วิธีเลือกแบบเจาะจง เคร่ืองมือที่ใช้ในการวิจัยคร้ังนี้ประกอบด้วย 1) แผนการ
จัดการเรียนรู้การอ่านภาษาไทยโดยใช้ภาพการ์ตูนประกอบ ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 1 2) แบบทดสอบ
ความสามารถด้านการอ่านภาษาไทยโดยใช้ภาพการ์ตูนประกอบ ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 1 และ 3)
แบบสอบถามความพึงพอใจด้านการอ่านภาษาไทยโดยใช้ภาพการ์ตูนประกอบ ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 1
สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ สถิติเชิงพรรณนา ค่าเฉลี่ย ค่าร้อยละ ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน
และคา่ One Group Pretest – Posttest Design
ผลการวจิ ยั พบว่า
1. ผลการศึกษาความสามารถด้านการอ่านภาษาไทยโดยใช้ภาพการ์ตูนประกอบสาหรับ
นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนขุนทะเลวิทยาคม พบว่านักเรียนมีความสามารถทางด้านการ
อ่านภาษาไทยหลังเรียนสงู กวา่ กอ่ นเรียนอย่างมีนัยสาคญั ทางสถิติ
2. ผลการศึกษาความพึงพอใจต่อการอ่านภาษาไทยโดยใช้ภาพการ์ตูนประกอบสาหรับ
นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนขุนทะเลวิทยาคม พบว่าการศึกษาความพึงพอใจต่อการอ่าน
ภาษาไทยโดยใช้ภาพการ์ตูนประกอบสาหรบั นกั เรยี น ชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนขุนทะเลวิทยาคม
นักเรียนมีความพึงพอใจต่อการเรียนการสอนโดยใช้โดยใช้ภาพการ์ตูนประกอบ ช้ันมัธยมศึกษาปีที่
โดยรวมอยู่ในระดับมาก ( X = 3.73, S.D. = 1.18)

คาสาคญั : ความสามารถด้านการอา่ นภาษาไทย, ภาพการต์ นู ประกอบ, ความพงึ พอใจ

102 การประชมุ วชิ าการนาเสนอผลงานวิจยั ระดบั บณั ฑติ ศกึ ษาแหง่ ชาติ ครงั้ ที่ 49

ABSTRACT
The purposes of this research were 1) to study Thai reading ability of students
by using cartoon images for Mathayomsuksa 1 students in Khuntalaywitthayakhom
School. 2) To study the satisfaction of student in reading Thai by using cartoon
images for Mathayomsuksa 1 students in Khuntalaywitthayakhom School. The sample
used in the research were 15 Mathayom suksa 1 students in Khuntalaywitthayakhom
School, 1st semester, academic year 2019, obtained using the specific selection
method. The tools used in this research consisted of 1) the learning plan to read Thai
by using cartoon images for Mathayomsuksa 1 2)the test of reading ability in Thai
using cartoon images for Mathayomsuksa 1 3)Questionnaire for reading satisfaction in
Thai using cartoon for Mathayomsuksa 1 The statistics used for data analysis were
Descriptive statistics, mean, percentage, standard deviation and t-test (Dependent
Sample).
The results of the research can be concluded that;
1. The students learned to read Thai by using cartoon images for
Mathayomsuksa 1 students in Khuntalaywitthayakhom School, have the ability to
read Thai after learning significantly higher than before learning and significance at
the level .05
2. Students learn to read Thai by using cartoon images for Mathayomsuksa 1
students in Khuntalaywitthayakhom School. found that the study of satisfaction with
reading Thai by using cartoon images for students Grade 1, Khun Talay Witthayakhom
School Students were satisfied with the teaching and learning by using cartoon
images. Grade Overall is at a high level. ( X = 3.73, S.D. = 1.18)

Keywords: Thai reading, satisfaction and cartoon image

การประชุมวิชาการนาเสนอผลงานวจิ ยั ระดับบณั ฑติ ศึกษาแห่งชาติ คร้งั ที่ 49 103

การบริหารความขดั แย้งของผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา
สงั กัดสานกั งานเขตพื้นท่กี ารศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 2
CONFLICT MANAGEMENT OF SCHOOL ADMINISTRATORS BASED ON OPINIONS OF
TEACHERS UNDER TRANG PRIMARY EDUCATIONAL SERVICE AREA OFFICE 2

พมิ พก์ มล ศุภโชควาร1ี อมลวรรณ วรี ะธรรมโม2
Pimgamon Shupphachokvaree 1 Amonwan Weeratammo 2

คณะศึกษาศาสาตร์ มหาวิทยาลัยทกั ษณิ 1
อาจารยป์ ระจาสาขาวิชาหลักสูตรและการสอน คณะศกึ ษาศาสาตร์ มหาวิทยาลยั ทกั ษิณ2
Corresponding author,[email protected] [email protected]

บทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพ่ือ 1) ศึกษาการบริหารความขัดแย้งของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัด
สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 2 2) เพ่ือเปรียบเทียบการบริหารความขัดแย้งของ
ผู้บริหารสถานศกึ ษาตาม สงั กัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 2 จาแนกตามเพศ อายุ
ประสบการณ์ในการทางาน วุฒิการศึกษา และขนาดสถานศึกษา กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ข้าราชการครู
พนักงานราชการ ครูอัตราจ้าง ผู้ดารงตาแหน่งทางการศึกษา สังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา
ประถมศึกษาตรัง เขต 2 ปีการศึกษา 2562 จานวน 291 คน กาหนดขนาดกลุ่มตัวอย่าง โดยใช้ตาราง
สาเร็จรูปของ Krejcie and Morgan และนามาสุ่มแบบแบ่งช้ัน ตามขนาดของสถานศึกษา แล้วสุ่มอย่าง
งา่ ย โดยวิธีการจับสลาก เคร่ืองมือการวิจัยเป็นแบบสอบถามที่มีค่าความเช่ือมั่นท้ังฉบับเท่ากับ .966 สถิติ
ท่ีใช้ไดแ้ ก่ รอ้ ยละ คา่ เฉลีย่ สว่ นเบีย่ งเบนมาตรฐาน การทดสอบคา่ ที การทดสอบค่าเอฟ
ผลการวิจัยพบว่า การบริหารความขัดแย้งของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสานักงานเขตพื้นท่ี
การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 2 ในภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก ผลการเปรียบเทียบการ
บริหารความขัดแย้งของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตรัง
เขต 2 จาแนกตามเพศ อายุ ประสบการณ์ในการทางาน วุฒิการศึกษา และขนาดของสถานศึกษา
พบวา่ ครทู มี่ ี เพศ อายุ ประสบการณใ์ นการทางานตา่ งกัน มีความคดิ เห็นต่อการบริหารความขัดแย้ง โดย
ภาพรวมและรายด้านไม่แตกต่างกัน ส่วนครูที่มีวุฒิการศึกษาต่างกัน มีความคิดเห็นต่อการบริหารความ
ขัดแย้งโดยภาพรวมไม่แตกต่างกัน เม่ือพิจารณารายด้าน พบว่า ด้านการเอาชนะมีความคิดเห็นแตกต่าง
กนั อยา่ งมนี ัยสาคัญทางสถิติทรี่ ะดับ .05 และครทู ปี่ ฏิบตั งิ านในสถานศกึ ษาขนาดต่างกัน มีความคิดเห็นต่อ
การบริหารความขัดแย้งโดยภาพรวมแตกต่างกันอยา่ งมีนัยสาคัญทางสถติ ิท่รี ะดับ .05 เมือ่ พจิ ารณารายด้าน
พบว่า ดา้ นการประนปี ระนอมมคี วามคดิ เหน็ แตกต่างกันอยา่ งมีนยั สาคัญทางสถิตทิ ีร่ ะดบั .05

คาสาคัญ: การบริหารความขดั แยง้ ; ความขัดแย้ง

104 การประชมุ วิชาการนาเสนอผลงานวิจัยระดบั บณั ฑติ ศกึ ษาแห่งชาติ คร้ังท่ี 49

ABSTRACT
The objectives of this research were 1) to study conflict management of
school administrators based on opinions of teachers under Trang Primary Educational
Service Area Office 2, and 2) to compare the conflict management of school
administrators based on opinions of teachers under Trang Primary Educational
Service Area Office 2 based on the opinions of teachers differing in gender, age,
working experience, educational background, and school size. The samples were 291
teachers under Trang Primary Educational Service Area Office 2, academic year 2019.
The sample size was drawn by Krejcie and Morgan’s technique. The stratified random
sampling by school size and simple random sampling by drawing lots were also
applied. The reliability of a questionnaire was .966. The data were analyzed using
such statistics as percentage, arithmetic means, standard deviation, t-test, and F-test.
The study results presented that the conflict management of school
administrators was rated at a high level for both overall and each significant. The
comparison results showed that the teachers differing in gender, age, working
experience, educational background, and school size had no significant difference in
opinions towards the school administrators’ conflict management in overall aspect
and individual aspects. The teachers who differed in educational background had no
significant difference in their opinions. When considering individual aspects, it found
that the teachers had different opinions towards overcoming significant 0.5 level, and
the teacher working in different size of school had different opinions towards the
conflict management of school administrators at 0.5 level. When considering
individual significants it found that the teachers had significantly different opinions in
compromising significant at .05 level.

Keywords: Conflict Management ; Conflict

การประชุมวชิ าการนาเสนอผลงานวจิ ัยระดบั บัณฑิตศกึ ษาแห่งชาติ ครงั้ ท่ี 49 105

ภาวะผู้นาเชงิ พหุวฒั นธรรมของผู้บริหารสถานศกึ ษา
สงั กดั สานักงานเขตพ้นื ทกี่ ารศกึ ษาการศกึ ษาประถมศึกษาสตูล
MULTICULTURAL LEADERSHIP OF SCHOOL ADMINISTRATORS BASED ON
OPINIONS OF TEACHERS UNDER SATUN PRIMARY EDUCATIONAL SERVICE AREA

พรพิพัฒน์ ไชยสวัสด1ิ์ ศิลป์ชยั สวุ รรณมณ2ี
Pornpipat Chaisawat 1 Sinchai Suwanmanee 2

ศกึ ษาศาสาตร์ มหาวิทยาลัยทักษณิ 2
Corresponding author,[email protected] [email protected] 2

บทคัดยอ่
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพ่ือ 1) ศึกษาภาวะผู้นาเชิงพหุวัฒนธรรมของผู้บริหารสถานศึกษา
สังกัดสานักงานเขตพื้นทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาสตูล 2) เปรียบเทียบภาวะผู้นาเชิงพหุวัฒนธรรมของ
ผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาสตูล จาแนกตามเพศ ศาสนา อายุ
ประสบการณ์ในการทางาน วุฒิการศึกษา และขนาดของสถานศึกษา กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ข้าราชการ
ครู พนักงานราชการ ครูอัตราจ้าง ผู้ดารงตาแหน่งทางการศึกษา สังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา
ประถมศึกษาสตูล ปีการศึกษา 2562 จานวน 317 คน กาหนดขนาด กลุ่มตัวอย่าง โดยใช้ตาราง
สาเร็จรูปของ Krejcie and Morgan และนามาสมุ่ แบบแบง่ ชนั้ ตามขนาดของสถานศกึ ษา แล้วสุ่มอย่างง่าย
โดยวิธีการจับสลาก เครื่องมือการวิจัยเป็นแบบสอบถามที่มีค่าความเชื่อม่ันท้ังฉบับเท่ากับ .978 สถิติท่ีใช้
ไดแ้ ก่ รอ้ ยละ ค่าเฉลี่ย สว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การทดสอบค่าเอฟ
ผลการวิจัยพบว่า ภาวะผู้นาเชิงพหุวัฒนธรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสานักงานเขต
พื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสตูล ในภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมากที่สุด ผลการเปรียบเทียบ
ภาวะผ้นู าเชงิ พหวุ ฒั นธรรมของผบู้ รหิ ารสถานศึกษา สังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษา
สตูล จาแนกตามเพศ ศาสนา อายุ ประสบการณ์ในการทางาน วุฒิการศึกษา และขนาดของ
สถานศึกษา พบว่า มีเพียง 3 ตัวแปร คือตัวแปรเพศ มีความคิดเห็นแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ี
ระดับ .05 ตัวแปรอายุ มีความคิดเห็นแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 และตัวแปรขนาด
สถานศึกษา มีความคิดเห็นแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ .001 ส่วนตัวแปรศาสนา
ประสบการณ์ในการทางาน และวฒุ ิการศกึ ษา พบวา่ ไมแ่ ตกต่างกนั

คาสาคญั : ภาวะผนู้ าเชงิ พหุวัฒนธรรม ; ภาวะผู้นา

106 การประชมุ วชิ าการนาเสนอผลงานวิจัยระดับบณั ฑติ ศึกษาแห่งชาติ ครงั้ ที่ 49

ABSTRACT
The objectives of this research were 1) to study multicultural leadership of
school administrators based on opinions of teachers under Satun Primary Educational
Service Area Office 2, and 2) to compare multicultural leadership of school
administrators based on the opinions of teachers differing in gender, religion, age,
working experience, educational background, and school size. The samples were 317
teachers under Satun Primary Educational Service Area Office, academic year 2019.
The sample size was drawn by Krejcie and Morgan’s technique. The stratified random
sampling by school sizes and simple random sampling by drawing lots were also
applied. The reliability of a questionnaire was .987. The data were analyzed using
such statistics as percentage, arithmetic means, standard deviation, t-test, and F-test.
The results of study presented that multicultural leadership of school
administrators based on opinions of teachers under Satun Primary Educational
Service Area Office was rated at a high level for both overall and individual aspects.
The comparison results showed that the teacher who differed in gender and school
size had significantly different opinions towards the multicultural leadership of
schools administrators at 0.5 and .001 levels respectively, and the teachers who
differed in religion, age, working experience, and educational background had no
significantly different opinions towards the multicultural leadership of schools
administrators.

Keywords: Multicultural Leadership ; Leadership

การประชมุ วชิ าการนาเสนอผลงานวจิ ยั ระดบั บัณฑติ ศกึ ษาแห่งชาติ ครัง้ ท่ี 49 107

การดาเนนิ งานการจดั ซือ้ จดั จ้างภาครฐั ดว้ ย Electronic Government Procurement (e–GP)
ของสถานศึกษา สังกัดสานกั งานเขตพืน้ ทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษายะลา เขต 2

OPERATION OF GOVERNMENT PROCUREMENT SYSTEM WITH ELECTRONIC
GOVERNMENT PROCUREMENT (E-GP) OF SCHOOLS UNDER THE OFFICE OF

PRIMARY EDUCATION SERVICE AREA YALA, AREA 2

นครนิ ทร์ โตะเยาะ1 รุ่งชัชดาพร เวหะชาต2ิ
Nakarin Tohyoh1 and Rungchatchadaporn Vehachart2
สาขาวชิ าการบรหิ ารการศกึ ษา คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั ทักษณิ 1
รองศาสตราจารย์ ดร. สาขาวชิ าการบรหิ ารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั ทักษิณ2

[email protected] and [email protected]

บทคดั ย่อ
การวิจัยน้ีมีวัตถุประสงค์ เพ่ือเปรียบเทียบการดาเนินงานการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐด้วย
Electronic Government Procurement (e–GP) ของสถานศึกษา สังกัดสานักงานเขตพื้นที่
การศึกษาประถมศึกษายะลา เขต 2 จาแนกตาม เพศ อายุ ระดับการศึกษา และขนาดสถานศึกษา
กลุ่มตัวอย่าง คือ ครูสังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษายะลา เขต 2 ปีการศึกษา 2561
จานวน 306 คน ซ่งึ กาหนดขนาดกลุ่มตวั อยา่ ง เทยี บจากตารางของเครจซ่ีและมอร์แกน เครื่องมือ
การวิจัย คือ แบบสอบถามมีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ .974 การวิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้
โปรแกรมสาเร็จรูปทางสถิติ วิเคราะห์หาค่าทางสถิติ ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบ่ียงเบน
มาตรฐาน การทดสอบสมมติฐานโดยใช้ t-test และ F-test เม่ือพบวา่ ค่าสถิติมคี วามแตกต่างอย่างมี
นัยสาคัญจะทดสอบความแตกต่างของค่าเฉล่ียระหว่างกลุ่มเป็นรายคู่โดยใช้วิธี Least Square
Difference (LSD)
ผลการวิจัยพบว่า 1) ความคิดเห็นของครูสังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษา
ยะลา เขต 2 ต่อการดาเนินงานการจัดซ้ือจัดจ้างภาครัฐด้วย Electronic Government
Procurement (e–GP) ของสถานศึกษา ในภาพรวม และรายด้านอยู่ในระดับมาก 2) ผลการ
เปรยี บเทียบความคิดเหน็ ของครสู ังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษายะลา เขต 2 ต่อการ
ดาเนินงานการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ Electronic Government Procurement (e–GP) ของ
สถานศึกษา พบว่า ครูท่ีมีเพศต่างกันมีความคิดเห็นต่อการดาเนินงานการจัดซ้ือจัดจ้างภาครัฐ ด้วย
Electronic Government Procurement (e–GP) ในภาพรวมแตกตา่ งกัน อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ
ท่ีระดับ .05 ส่วนครูท่ีมีอายุ ระดับการศึกษา และขนาดสถานศึกษาต่างกัน มีความคิดเห็นต่อ
การดาเนินงานการจัดซ้ือจัดจ้างภาครัฐ ด้วย Electronic Government Procurement (e–GP)
ในภาพรวมไมแ่ ตกต่างกนั

คาสาคัญ : การจดั ซ้อื จัดจ้างภาครัฐ ; สานกั งานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษายะลา เขต 2 ;
การดาเนนิ งาน

108 การประชมุ วิชาการนาเสนอผลงานวจิ ยั ระดับบณั ฑิตศกึ ษาแหง่ ชาติ ครัง้ ที่ 49

ABSTRACT
The objectives of this research to study and compare the Operation of
Government Procurement System based on the opinions of teacher differing in
gender, age, educational level, and school size. 2 and to compare the operation
based on the opinions of teacher differing in gender, age, educational level, and
school size. The research samples were 306 teachers under the Office of Yala
Primary Educational Service Area 2, in the academic year 2018 selected by Crazy and
Morgan Table. The research instrument was a questionnaire with reliability value of
.974. Data was analyzed by SPSS Window Program using descriptive statistics:
percentage, mean, and standard deviation. F-test and t-test were applied for
hypothesis test. Furthermore, there was also Least Square Difference (LSD) method
done for between-group mean difference test.
The research found that: 1) the opinions of sampled teachers towards the
operation of the government procurement system with e-GP) of the schools was at
high level, both overall and individual aspects. In terms of individual aspects,
the opinions of teachers emphasized the importance of procurement or hiring
process, rental procurement planning, rental process, and exchange processes
respectively, and 2) The comparison results showed that teachers differing in gender
had significantly different opinions at .05, and the teachers having different age,
educational level, and school size had no different opinions towards the operation
of government procurement system with e-GP.

Keywords : Operation of Government Procurement System ; Office of Yala Primary
Educational Service Area 2 ; operations

การประชุมวชิ าการนาเสนอผลงานวจิ ยั ระดบั บัณฑติ ศกึ ษาแห่งชาติ ครั้งที่ 49 109

ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นาการเปลี่ยนแปลงและการบริหารสูค่ วามเปน็ เลศิ ของสถานศกึ ษา
สงั กดั สานักงานเขตพนื้ ที่การศกึ ษามัธยมศึกษา เขต 15

RELATIONSHIP BETWEEN TRANSFORMATIONAL LEADERSHIP AND
ADMINISTRATION TOWARDS SCHOOL EXCELLENCE UNDER THE SECONDARY

EDUCATIONAL SERVICE AREA OFFICE 15

สาแลฮะ ดซี ะเอะ๊ 1 สนุ ทรี วรรณไพเราะ2
Salaeha desa-ah1 Suntaree Wannapairo2
สาขาวิชาการบรหิ ารการศึกษา คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยทกั ษิณ1
อาจารย์ ดร., สาขาวิชาการบรหิ ารการศกึ ษา คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยทักษิณ2
[email protected] [email protected]

บทคัดยอ่
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาภาวะผู้นาการเปล่ียนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษา
สังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 15 2) ศึกษาการบริหารสู่ความเป็นเลิศของ
สถานศึกษา สังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 15 3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่าง
ภาวะผู้นาการเปล่ียนแปลงกับการบริหารสู่ความเป็นเลิศของสถานศึกษา สังกัดสานักงานเขตพื้นที่
การศึกษามัธยมศึกษา เขต 15 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ครูในสถานศึกษา สังกัดสานักงานเขตพื้นที่
การศึกษามัธยมศึกษา เขต 15 ปีการศึกษา 2562 จานวน 335 คน กาหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยสูตร
ของทาโร ยามาเน่ แล้วสุ่มแบบแบ่งช้ันตามขนาดของสถานศึกษา จากนั้นใช้วิธีการสุ่มอย่างง่ายโดย
วิธีการจับสลาก เครื่องมือการวิจัยเป็นแบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ โดย
แบบสอบถามภาวะผู้นาการเปล่ียนแปลง มีค่าความเช่ือม่ันเท่ากับ .981 แบบสอบถามการบริหารสู่
ความเป็นเลิศของสถานศึกษา มีค่าความเชื่อม่ันเท่ากับ .989 และแบบสอบถามทั้งฉบับมีค่าความ
เช่ือมั่นเท่ากับ .993 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสาเร็จรูป โดยคานวณหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย
ส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน และคา่ สัมประสทิ ธสิ์ หสมั พนั ธแ์ บบเพยี รส์ ัน
ผลการวจิ ัยพบวา่ 1) ภาวะผนู้ าการเปลีย่ นแปลงของผูบ้ ริหารสถานศึกษา สังกดั สานักงานเขต
พ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 15 โดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก 2) การบริหารสู่ความเป็น
เลศิ ของสถานศกึ ษา สังกัดสานกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 15 โดยรวมและรายด้าน อยู่
ในระดับมาก 3) ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นาการเปล่ียนแปลงกับการบริหารสู่ความเป็นเลิศของ
สถานศึกษา สังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 15 พบว่าโดยรวมมีความสัมพันธ์
ทางบวกอยใู่ นระดบั สงู อย่างมนี ยั สาคัญทางสถิตทิ ่รี ะดับ .01

คาสาคัญ: ภาวะผนู้ าการเปล่ยี นแปลง ; การบรหิ าร ; การบรหิ ารส่คู วามเป็นเลศิ

110 การประชมุ วชิ าการนาเสนอผลงานวิจยั ระดบั บณั ฑิตศึกษาแห่งชาติ ครงั้ ท่ี 49

ABSTRACT
The purposes of this research were: 1) to study transformational leadership of
school administrators under the Secondary Educational Service Area Office 15, 2) to
investigate administration towards school excellence of schools under the Secondary
Educational Service Area Office 15, 3) and to examine the relationship between
transformational leadership and administration towards school excellence under the
Secondary Educational Service Area Office 15. Research samples were teachers in
schools under the Secondary Educational Service Area Office 15 in the academic year
2019. The sample size was determined by Taro Yamane's formula. Stratified random
sampling based on school size and simple random sampling by drawing lots were also
applied. The research instrument was a 5-level rating scale questionnaire. The reliability
of the transformational leadership part was .981, administration towards school
excellence part was .989, and the total was .993. Data analysis used software packages
and statistics as percentage, mean, standard deviation and Pearson's product-moment
coefficient of correlation.
The research found that 1) transformational leadership of school administrators
under the Secondary Educational Service Area Office 15 was at high level, both overall and
individual aspects, 2) the administration towards school excellence of the Secondary
Educational Service Area Office 15 was at high level, both overall and individual aspects and
3) the relationship between transformational leadership and school administration towards
school excellence under the was at high level, both overall and individual aspects were
significantly positive at high level at .01.

Keywords: transformational leadership; administration; administration towards
excellence

การประชมุ วชิ าการนาเสนอผลงานวจิ ยั ระดับบณั ฑิตศกึ ษาแหง่ ชาติ ครัง้ ท่ี 49 111

ปัจจยั ที่มีผลต่อการตัดสนิ ใจเลือกใชบ้ รกิ ารคา่ ยกิจกรรมนนั ทนาการสวนนงนุช พทั ยา
FACTORS AFFECTING DECISION MAKING FOR RECREATION ACTIVITY CAMP

AT NONGNOOCH PATTAYA GARDEN

ประยงค์ วารีขนั ธุ์
คณะศลิ ปศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั การกีฬาแหง่ ชาติ วทิ ยาเขตชลบรุ ี
Corresponding author, [email protected]

บทคดั ย่อ
การวิจัยในคร้ังนี้เป็นการวิจัยเชิงสารวจ เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกใช้บริการ
ค่ายกิจกรรมนันทนาการสวนนงนุช พัทยา และเพื่อเปรียบเทียบปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกใช้
บริการค่ายกิจกรรมนันทนาการสวนนงนุช พัทยา โดยใช้แบบสอบถามและการสัมภาษณ์เป็นเครื่องมือใน
การเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างจานวน 560 คน ได้แก่ ผู้อานวยการโรงเรียน ครู/อาจารย์ และ
บุคลากรทางการศึกษา จากน้ันนาข้อมูลท่ีได้มาทาการวิเคราะห์โดยใช้สถิติพื้นฐาน คือ ค่าความถี่ ค่าร้อย
ละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน ค่าสถิติ t-test และ One-Way ANOVA โดยกาหนดระดับนัยสาคัญ
ทางสถติ ิท่ี 0.05
ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิงร้อยละ 52.5 มีอายุระหว่าง 31-35 ปี ร้อย
ละ 28.0 มีประสบการณ์ในการทางาน 10-15 ปี ร้อยละ 25.0 การศึกษาระดับปริญญาตรี ร้อยละ 79.6
และประกอบอาชีพเป็นครู/อาจารย์ ร้อยละ 62.3 โดยปัจจัยทุกข้อที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกใช้บริการ
ค่ายกิจกรรมนันทนาการสวนนงนุช พัทยา อยู่ในระดับมากท่ีสุด และในการเปรียบเทียบความแตกต่าง
ของค่าเฉลี่ยระหว่างข้อมูลท่ัวไปกับปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกใช้บริการค่ายกิจกรรมนันทนาการ
ของผู้ตอบแบบสอบถามพบว่าปัจจัยโดยรวมทุกด้านมีผลต่อการตัดสินใจเลือกใช้บริการค่ายกิจกรรม
นันทนาการแตกต่างกัน ซึ่งน่าจะนาไปสู่การพัฒนารูปแบบกิจกรรมของผู้อานวยการโรงเรียน ครู/อาจารย์
และบุคลากรทางการศึกษาที่ตัดสินใจเลือกใช้บริการค่ายกิจกรรมนันทนาการสวนนงนุช พัทยา เพื่อเป็น
แนวทางในการพัฒนาและเพิ่มประสิทธิภาพในการทางานของผนู้ าค่ายกจิ กรรมนันทนาการต่อไป

คาสาคัญ: ปจั จยั ที่มีผลต่อการตัดสินใจ; คา่ ยกิจกรรมนันทนาการ; สวนนงนชุ พัทยา

112 การประชุมวิชาการนาเสนอผลงานวจิ ยั ระดบั บัณฑิตศกึ ษาแห่งชาติ ครง้ั ที่ 49

ABSTRACT
This research is a survey research in order to study the factors affecting the
decision making using camping activity at Nongnooch Pattaya Garden, and it is also to
compare the factors affecting the decision making. For collecting those data,
questionnaire and interview came to play the most important role. There were about
560 people as the sample of this research, including school director, teachers, and
expert persons. After collected the data from various parts, it were analyzed according
to the hypothesis by using fundamental statistics, such as frequency, percentage,
deviation, t-test, and One-way ANOVA by specifying statistical significance level at 0.05.
The research found that most of the respondents are females 52.5%, age
between 31-35 years, workers about 28.0%, age between 10-15 years, undergraduate
student about 25.0%, professors about 79.6%, and teachers about 62.3%. Those factors
have affected the decision, and Nongnooch pattaya was in the highest level. However,
when comparing the difference between the average data and general factors affecting
the decision using service at Nongnooch Pattaya Garden, it showed that the overall
factors affecting the decision different ways. This should lead to the development of
activity according to director of school, and people who came to use services.

Keywords: Factors Affecting Decision Making; Recreation Activity Camp; Nongnooch
Pattaya Garden

การประชมุ วชิ าการนาเสนอผลงานวจิ ยั ระดบั บัณฑติ ศกึ ษาแห่งชาติ ครงั้ ที่ 49 113

การพัฒนารูปแบบการบริหารงานบุคคลสหกรณ์ออมทรัพย์ครูสงขลา จากัด
A DEVELOPMENT OF HUMAN RESOURCE MANAGEMENT MODEL OF SONGKHLA

TEACHER’S SAVINGS AND CREDIT CO-OPERATIVE LIMITED

ปาริชาติ จนั ทรศ์ รบี ตุ ร1 สรุ ะพรรณ์ จลุ สวุ รรณ2์
Parichat Jansriboot 1 Surapan Junsuwan 2
หลกั สตู รการบรหิ ารทรัพยากรมนุษย์1 หลักสูตรเศรษฐศาตร์บณั ฑติ 2คณะวทิ ยาการจดั การ มหาวิทยาลัยราชภฏั สงขลา
Corresponding author, [email protected] 1 and [email protected] 2

บทคัดยอ่
การวิจัยคร้ังน้ีมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษารูปแบบการบริหารงานบุคคลของสหกรณ์ออม
ทรัพย์ครูสงขลา จากัด 2) เพ่ือศึกษาเปรียบเทียบรูปแบบการบริหารงานบุคคลด้านค่าตอบแทน
จานวนบคุ ลากรและรายได้ของสหกรณอ์ อมทรัพย์ครูสงขลา จากดั กบั องค์กรอื่น จาแนกตามตาแหน่ง
งาน 3) เพ่ือวิเคราะห์ปริมาณธุรกิจ และรายได้ของบุคลากรของสหกรณ์ออมทรัพย์ครูสงขลา จากัด
รูปแบบการวิจัยเป็นการวิจัยเชิงสารวจ ประชากรในการวิจัยประกอบด้วยหน่วยวิเคราะห์หลักและ
หน่วยเปรยี บเทียบ หน่วยวเิ คราะหห์ ลกั คือ สหกรณอ์ อมทรัพย์ครูสงขลา จากัด หน่วยเปรียบเทียบคือ
สหกรณ์ออมทรัพย์พ้ืนที่ใกล้เคียง 6 สหกรณ์และหน่วยงานรัฐวิสาหกิจในจังหวัดสงขลา 3 หน่วยงาน
เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสมั ภาษณ์ ผใู้ หข้ อ้ มูลหลกั ประกอบดว้ ย ผบู้ รหิ ารสหกรณ์ เจ้าหน้าท่ีสหกรณ์
และผู้ที่มีส่วนเก่ียวข้อง การรวบรวมข้อมูลทุติยภูมิ จากรายงานประจาปีย้อนหลังของแต่ละสหกรณ์
เอกสาร และเวบ็ ไซต์ที่เกยี่ วข้อง สถติ ิท่ใี ชใ้ นการวิเคราะห์ข้อมลู ท่เี ปน็ ข้อมูลเชิงปริมาณ ได้แก่ ค่าเฉลี่ย
ค่าน้อยที่สุด ค่ามากที่สุด ความถี่ ค่าร้อยละ และสัดส่วน ข้อมูลท่ีเป็นเชิงคุณภาพ เป็นการวิเคราะห์
ข้อมูลโดยใช้เทคนคิ การวเิ คราะหเ์ นอื้ หา
ผลการวิจยั พบว่า บุคลากรส่วนหนึ่งได้มีการเลื่อนตาแหน่ง และมีการศึกษาต่อในสาขาวิชาที่
เกี่ยวข้องกับสายงาน แสดงให้เห็นถึงการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ด้านความรู้และความก้าวหน้าใน
อาชีพของบุคลากร การข้ึนเงินเดือนของบุคลากรมีอัตราการเพ่ิมท่ีดี เนื่องจากเป็นอัตราที่สูงกว่า
ข้าราชการและสูงกวา่ อตั ราเงนิ เฟ้อ (ทัว่ ไป) ของประเทศ รปู แบบการบริหารงานบุคคลและรายได้ของ
บุคลากรสหกรณ์ออมทรัพย์ครูสงขลา จากัด กับองค์กรอื่น พบว่าสหกรณ์ออมทรัพย์ครูสงขลา จากัด
มีการจ่ายค่าตอบแทนให้กับบุคลากรในระดับค่อนข้างสูง มีการจัดโครงสร้างองค์กรตามสายงานหลัก
ผลการเปรียบเทียบโครงสร้างเงินเดือนของสหกรณ์และรัฐวิสาหกิจในพ้ืนที่พบว่า ค่าเฉล่ียของ
คา่ ตอบแทนของสหกรณ์ออมทรัพยค์ รสู งขลา จากัดสูงสุดในบรรดาสหกรณ์ออมทรัพย์ด้วยกัน และใน
หลายตาแหน่งมีชว่ งหา่ งเงนิ เดอื นสงู สุดต่าสุดทีค่ อ่ นข้างกว้าง ซึ่งส่งผลต่อภาระค่าใช้จ่ายด้านเงินเดือน
ของสหกรณ์ฯ

คาสาคัญ : การบริหารงานบุคคล ค่าตอบแทน สหกรณอ์ อมทรัพย์ครู

114 การประชมุ วชิ าการนาเสนอผลงานวจิ ัยระดบั บณั ฑิตศึกษาแหง่ ชาติ คร้ังท่ี 49

ABSTRACT
The purposes of this research were 1) to study the human resource
management model of Songkhla teacher saving and credit co-operative limited, 2) to
compare the human resource management model of Songkhla teacher saving and
credit co-operative limited with other organizations that classified by job position 3)
To analyze the quantity and income of human resource, To be used as information
in suggesting human resource management guidelines that are appropriate for the
operation of the Songkhla teacher saving and credit co-operative limited. The
research is a survey research. The population in the research consists of the main
analysis unit and the comparison unit. The main analysis unit is Songkhla teacher
saving and credit co-operative limited. The comparison unit is 6 cooperatives and 3
state enterprise organizations. Data were collected by interviewing include Managers,
employees and those involved. Collecting secondary data is the previous annual
report of each cooperative, related documents and websites. The statistics used in
the analysis of quantitative data are average, minimum, maximum, frequency,
percentage. Quality data is data analysis using content analysis techniques.
The research found that the employees were promoted and have higher
education than hire date. The salary of employees has a good rate of increase
because it is higher than government officer and higher than the (general) inflation
rate of the country. Songkhla teacher saving and credit co-operative limited has a
relatively high compensation for employee when compared to other cooperatives.
The organizational structure is organized according to the main line of work. The
result of comparing the salary structure of cooperatives and state enterprises in the
area found that Songkhla teacher saving and credit co-operative Limited’s
compensation has the maximum limit among savings cooperatives and in many
positions there is wide range of salaries which affects the burden of salary expenses
of the cooperatives.

Keywords: Human resource management, compensation, teacher saving and credit
co- operative

การประชมุ วชิ าการนาเสนอผลงานวิจยั ระดับบัณฑติ ศกึ ษาแห่งชาติ ครัง้ ท่ี 49 115

ปจั จยั ทางการตลาดทมี่ ผี ลต่อการเลอื กใช้บริการธนาคารกรงุ ไทย
สาขาสหกรณ์สุราษฎรธ์ านี จังหวดั สรุ าษฎร์ธานี

MARKETING FACTORS AFFECTING THE SELECTION OF KRUNG THAI BANK
SERVICES SURAT THANI COOPERATIVE BRANCH SURAT THANI

นฤมล อนิ ทรท์ ่าฉาง1 สุพตั รา พวงนยุ้ 2 อารีวรรณ สชี มุ 3
Narumol Inthachang1 Supattra Pungnui2 Areewan Sichum3

คณะวิทยาการจัดการ มหาวทิ ยาลยั ตาปีจังหวัดสรุ าษฎรธ์ านี 1,2,3
[email protected]@gmail.com2and [email protected]

บทคัดยอ่
การวิจัยครั้งน้ีมีวัตถุประสงค์เพ่ือสารวจพฤติกรรมการใช้บริการธนาคารกรุงไทย สาขาสหกรณ์สุ
ราษฎรธ์ านี จงั หวัดสุราษฎร์ธานี เพ่ือศกึ ษาความสมั พันธร์ ะหวา่ งปจั จยั ส่วนบคุ คลและพฤตกิ รรมของลกู ค้าใน
การเลือกใช้บริการ เพอ่ื ศกึ ษาความสมั พนั ธร์ ะหว่าง ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด (7Ps) กับพฤติกรรมการ
ใช้บริการ กลุ่มตัวอย่าง จานวน 400 สถิติท่ีใช้ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉล่ีย ค่าส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน ค่าไคส
แควร์ ผลการศึกษา พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุ 20-30 ปี สถานภาพสมรส มี
การศึกษาระดับปริญญาตรี ประกอบอาชีพพนักงานบริษัทเอกชน/ลูกจ้าง มีรายได้ 20,001-30,000 บาท
ข้อมูลเก่ียวกับพฤติกรรมการใช้บริการ ด้านเหตุผลในการใช้บริการ จากการศึกษาพบว่ากลุ่มตัวอย่าง ส่วน
ใหญ่มีเหตุผลจากเป็นธนาคารที่มีช่ือเสียงและมีมาตรฐาน ด้านความถ่ีในการใช้บริการ มีความถ่ี 2 คร้ัง ด้าน
ประเภททใี่ ชบ้ รกิ าร ใช้บริการประเภทด้านการฝาก-ถอน ดา้ นช่วงเวลาทใี่ ช้บริการ ใชบ้ ริการชว่ งเวลา 10.01 –
12.00 น. ด้านจานวนเงินที่ใช้บริการ จานวน 50,000 บาทหรือน้อยกว่า ด้านบุคคลท่ีมีบทบาทต่อการ
เลือกใช้บริการ คือตัวเอง ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดท่ีมีผลต่อการเลือกใช้บริการ โดยภาพรวม อยู่ใน
ระดับมากทส่ี ุด ผลการวเิ คราะหค์ วามสัมพันธร์ ะหวา่ งสถานภาพส่วนบุคคลกับพฤติกรรมการใช้บริการ พบว่า
เพศไมม่ ีความสมั พนั ธ์กบั พฤติกรรมการใช้บรกิ าร ดา้ นความถ่ใี นการใชบ้ ริการ และด้านจานวนเงินที่ใช้บริการ
ในการทาธุรกรรมต่างๆ ต่อครั้ง แต่มีความสัมพันธ์ด้านเหตุผลในการเลือกใช้บริการ ด้านประเภทในการใช้
บริการ และด้านบุคคลที่มีบทบาทต่อการเลือกใช้บริการ ในส่วนของอายุ สถานภาพ ระดับการศึกษา อาชีพ
และรายได้เฉลี่ยต่อเดือนมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการใช้บริการ ด้านเหตุผลในการเลือกใช้บริการ ด้าน
ความถ่ใี นการใชบ้ ริการ ด้านประเภทในการใช้บริการ ช่วงเวลาที่ใช้บริการ ด้านจานวนเงินท่ีใช้บริการในการ
ทาธรุ กรรมต่างๆ ต่อคร้ัง และดา้ นบคุ คลทีม่ บี ทบาทตอ่ การเลอื กใชบ้ รกิ าร ณ ระดับนยั สาคัญ ท่ี 0.05 ผลการ
วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดกับพฤติกรรมการใช้บริการ โดยภาพรวมมี
ความสัมพนั ธ์กับพฤตกิ รรมการใช้บริการ ด้านเหตุผลในการเลือกใช้บริการ ด้านความถ่ีในการใช้บริการ ด้าน
ประเภทในการใช้บรกิ าร ชว่ งเวลาทีใ่ ช้บริการ ดา้ นจานวนเงนิ ท่ใี ช้บริการในการทาธุรกรรมต่างๆ ต่อคร้ัง และ
ดา้ นบุคคลท่ีมบี ทบาทตอ่ การเลอื กใชบ้ ริการ ระดบั นัยสาคญั ที่ 0.05

คาสาคัญ: ปัจจยั ทางการตลาด, ธนาคารกรงุ ไทย, สาขาสหกรณ์สุราษฎร์ธานี

116 การประชมุ วิชาการนาเสนอผลงานวจิ ยั ระดบั บณั ฑติ ศึกษาแห่งชาติ ครงั้ ที่ 49

ABSTRACT
This research The objective is to survey the usage behavior of Krung Thai Bank
services. Surat Thani Cooperative Branch Surat Thani To study the relationship between
personal factors and customer behavior in choosing to use the service To study the
relationship between Marketing mix factors (7Ps) and service behavior The sample size is
400. The statistics used are percentage, average, standard deviation and chi-square. The
results show that most of the respondents are female, aged 20-30 years, marital status,
have bachelor's degree. Occupation of a private company / employee with an income of
20,001-30,000 baht. Information about service behavior. Reasons for using the service The
study found that the sample Most of them are from famous and standard banks. In terms
of frequency of use, there are 2 frequencies. In terms of type of use Use deposits and
withdrawals The period of use Use the service time between 10.01 - 12.00 hrs. In the
amount of the use of the service in the amount of 50,000 baht or less The person who
has a role in choosing to use the service is himself. The marketing mix factors affecting the
overall selection of the service are at the highest level. The results of the analysis of the
relationship between personal status and service behavior showed that sex did not
correlate with service behavior. The frequency of using the service And the amount of
money used in each transaction, but there is a relationship in the reason for choosing to
use the service The type of use And the person who plays a role in choosing to use the
service In terms of age, status, education level, occupation and average monthly income,
there is a relationship with service usage behavior. Reasons for choosing to use the service
The frequency of using the service The type of use Service period In terms of the amount
of money used in each transaction per time and the person who plays the role in
choosing the service at the significant level of 0.05, the result of the analysis of the
relationship between the marketing mix and the usage behavior The overall picture is
correlated with service usage behavior. Reasons for choosing to use the service The
frequency of using the service The type of use Service period In terms of the amount of
money used in each transaction per time and the person who plays the role in choosing
the service at the significance level of 0.05

Keywords: Marketing factors, Krung Thai Bank, Surat Thani Cooperative Branch

การประชมุ วชิ าการนาเสนอผลงานวจิ ัยระดับบณั ฑติ ศึกษาแห่งชาติ ครงั้ ที่ 49 117

ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งการนเิ ทศภายในของผู้บรหิ ารสถานศึกษากบั พฤติกรรมการสอนของครู
โรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอสิ ลาม สังกัดสานักงานการศกึ ษาเอกชนจังหวดั สงขลา

RELATIONSHIP BETWEEN INTERNAL SUPERVISION OF SCHOOL ADMINISTRATORS
AND TEACHING BEHAVIORS OF ISLAMIC PRIVATE SCHOOL TEACHERS UNDER
THE PRIVATE EDUCATION OFFICE OF SONGKHLA

ปยิ ะพร เระ๊ ดมุ หล1ี สนุ ทรี วรรณไพเราะ2
นสิ ิตการศึกษามหาบณั ฑติ สาขาวชาการบรหิ ารการศึกษา คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ทักษิณ1

อาจารย์ ดร. สาขาวชิ าการบรหิ ารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั ทกั ษณิ 2
[email protected] [email protected] 2

บทคดั ย่อ
การวิจัยน้ีมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาการนิเทศภายในของผู้บริหารสถานศึกษาโรงเรียน
เอกชนสอนศาสนาอสิ ลาม สงั กดั สานักงานการศกึ ษาเอกชนจังหวดั สงขลา2) ศึกษาพฤติกรรมการสอน
ของครูโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม สังกัดสานักงานการศึกษาเอกชนจังหวัดสงขลา3) ศึกษา
ความสัมพันธ์ระหวา่ งการนิเทศภายในของผู้บริหารสถานศึกษากับพฤติกรรมการสอนของครูโรงเรียน
เอกชนสอนศาสนาอิสลาม สงั กัดสานักงานการศกึ ษาเอกชนจงั หวดั สงขลา กลุม่ ตวั อย่างคือครูโรงเรียน
เอกชนสอนศาสนาอสิ ลาม สังกัดสานักงานการศึกษาเอกชนจังหวัดสงขลา ปีการศึกษา 2562 กาหนด
ขนาดกลุ่มตัวอย่าง โดยเทียบจากตารางสาเร็จรูปของเครจซี่และมอร์แกน ได้กลุ่มตัวอย่าง จานวน
291 คน โดยการสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือการวิจัยเป็นแบบสอบถามมีค่าความเช่ือมั่นท้ังฉบับเท่ากับ
.95 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉล่ีย ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน และค่า
สัมประสทิ ธส์ิ หสัมพันธข์ องเพยี รส์ นั
ผลการวิจัย พบว่า 1) การนิเทศภายในของผู้บริหารสถานศึกษาโรงเรียนเอกชนสอนศาสนา
อิสลาม สังกัดสานักงานการศึกษาเอกชนจังหวัดสงขลา โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก 2) พฤติกรรม
การสอนของครูโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม สานักงานการศึกษาเอกชนจังหวัดสงขลา โดย
ภาพรวมอยู่ในระดับมาก 3) ความสัมพันธ์ระหว่างการนิเทศภายในของผู้บริหารสถานศึกษากับ
พฤติกรรมการสอนของครูโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม สานักงานการศึกษาเอกชนจังหวัด
สงขลา โดยภาพรวมมีความสัมพนั ธ์ทางบวกระดับปานกลาง อยา่ งมนี ยั สาคัญทางสถิติทรี่ ะดบั .01

คาสาคญั : ความสัมพนั ธ์ ; การนิเทศภายใน ; พฤติกรรมการสอนของครู

118 การประชมุ วชิ าการนาเสนอผลงานวจิ ัยระดบั บณั ฑิตศึกษาแห่งชาติ ครงั้ ท่ี 49

ABSTRACT
The objectives of this research were to 1) study internal supervision of
administrators of private Islamic schools under Office of the Private Education Songkhla
Province 2) study teaching behaviors of teachers at Islamic private schools under Office of
the Private Eduction Songkhla Province, and 3) study the relationship between internal
supervision of school administrators and teaching behaviors of private Islamic school
teachers under Office of the Private Eduction Songkhla Province. The research samples
were private Islamic school teachers under Office of the Private Eduction Songkhla
Province. The sample size was calculated by the use of Krejcie and Morgan Table. The
sample group was 291 people selected by Stratified Random Sampling. The research
instrument was a questionnaire with reliability of 950. The statistics used for data analysis
are percentage, mean, standard deviation and Pearson's product correlation coefficient.
The research found that 1) internal supervision of school administrators in private
Islamic schools under Office of the Private Eduction Songkhla Province. The overall picture
was in a high level. 2) Overall teaching behaviors of teachers of Islamic private schools
under Office of the Private Eduction Songkhla Province was at high level. 3) Relationship
between internal supervision of school administrators and teaching behaviors of Islamic
private school teachers under Office of the Private Eduction Songkhla Province was at
moderate level of positive relationship at statistical significance of .01.

Keywords: Relationship ; Internal Supervision ; Teaching Behaviors

การประชุมวิชาการนาเสนอผลงานวจิ ัยระดับบณั ฑิตศกึ ษาแหง่ ชาติ ครงั้ ท่ี 49 119

การพัฒนาผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนวชิ าภาษาองั กฤษ เรอ่ื ง Singular and Plural Nouns
ของนกั เรียนช้นั มัธยมศึกษาปที ่ี 1 โดยใชช้ ดุ การสอนแบบศนู ย์การเรียน

DEVELOPMENT OF THE ACHIEVEMENT IN SINGULAR AND PLURAL NOUNS BY USING
THE INSTRUCTIONAL PACKAGE OF LEARNING CENTER OF GRADE 7 STUDENTS

กรองกาญจน์ ไทยนุกลู 1 วรศิ รา อิศรางกูร ณ อยธุ ยา2 กจิ จา บานชนื่ 3
Krongkan Thainukul1 Warissara Itsarangkul Na Ayuttaya2 Kijja Bancheun3
หลักสตู รประกาศนยี บตั รบณั ฑติ สาขาวิชาชพี ครู คณะศิลปศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ตาปี1,2

[email protected] [email protected]

บทคดั ย่อ
งานวิจัยการพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชาภาษาอังกฤษ เร่ือง Singular and Plural
Nouns ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1 โดยใช้ชุดการสอนแบบศูนย์การเรียน น้ีมีวัตถุประสงค์เพื่อ
1) หาประสิทธภิ าพของชุดการสอนแบบศูนย์การเรียน เร่ือง Singular and Plural Nouns แต่ละชุด
ให้อยู่ในเกณฑ์ไม่น้อยกว่า 80/80 2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชาภาษาอังกฤษ ก่อน
เรยี นและหลงั เรยี นแต่ละชุดโดยใชช้ ดุ การสอนแบบศูนยก์ ารเรียน เรื่อง Singular and Plural Nouns
แตล่ ะชุด 3) ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนระดับ ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 1 โรงเรียนทุ่งคาพิทยาคารท่ีมี
ต่อการเรียนโดยใช้ ชุดการสอนแบบศูนย์การเรียน เร่ือง Singular and Plural Nouns ประชากร
ทั้งหมด คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2562โรงเรียนทุ่งคาพิทยาคาร
จานวน 29 คน เคร่ืองมือที่ใช้ในการศึกษา คือ ชุดการสอนแบบศูนย์การเรียนแผนการจัดการเรียนรู้
แบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และแบบประเมินความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการเรียนรู้ โดยใช้ชุด
การสอนแบบศูนยก์ ารเรยี น สถติ ทิ ใี่ ชว้ ิเคราะหข์ ้อมูล ได้แก่ คา่ เฉล่ยี ( X ) คา่ เบยี่ งเบนมาตรฐาน (S.D.)
และเปรยี บเทยี บค่าเฉลย่ี ก่อนเรียนและหลังเรียน โดยใช้ t–test แบบ Dependent
ผลการวิจัยพบวา่
1. ประสิทธิภาพของชุดการสอน เร่ือง Singular and Plural Nouns สาหรับนักเรียน
ระดับช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 1 โดยรวมท้ัง 2 ชุดการสอน ร้อยละของคะแนนรวมเฉลี่ยที่ทาแบบทดสอบ
ก่อนเรียน และหลังเรียน มีค่ารวมเฉลี่ยเท่ากบั 82.65/84.82 เมอื่ เทยี บกับเกณฑ์ 80/80 ปรากฏว่าชุด
การสอนทกุ ชุดท่ีสร้างขนึ้ ผ่านเกณฑม์ าตรฐาน
2. ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1 หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน
ปรากฏว่า นักเรยี นทีเ่ รยี นโดยใชช้ ุดการสอน คะแนนก่อนเรยี นและหลงั เรยี นตา่ งกนั
3. นักเรียนมีความพึงพอใจต่อการเรียนโดยใช้ ชุดการสอน เรื่อง Singular and Plural
Nouns ในระดับมาก

คาสาคญั : ชุดการสอนแบบศนู ย์การเรียน ผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นวชิ าภาษาอังกฤษ

120 การประชุมวิชาการนาเสนอผลงานวจิ ยั ระดับบณั ฑติ ศึกษาแห่งชาติ ครัง้ ที่ 49

ABSTRACT
Research on the development of English achievement on Singular and Plural
Nouns of mathayom suksa one students by using the learning center teaching
package The objective is to 1) find the efficiency of each teaching set on Singular and
Plural Nouns to be at least 80/80 criteria. 2) compare the learning achievement. 3) to
study the satisfaction of mathayom suksa 1 students in Thungkapithayakhan School
before and after each class by using the teaching set on Singular and Plural Nouns.
To study using the teaching set on Singular and Plural Nouns. The samples were
mathayom suksa 1 students in the first semester of the academic year 2018 at
Thungkapithayakarn School. Purposive Sampling, consisting of 29 people. The tools
used in this study were teaching package, learning management plan. The
achievement test and the evaluation of student satisfaction with learning. By using
the instruction set The statistics used for data analysis were mean (), standard
deviation (S.D.), correlation coefficient and compare before and after learning by
using t-test using Dependent.
The research found that;
1. The efficiency of the Singular and Plural Nouns Teaching Package for
Mathayomsuksa 1 students, The average percentage of total points that have been
tested before and after school. There is an average total of 84.82, as compared to
the 80/80 criteria
2. The learning achievement of mathayom suksa 1 students after learning
was higher than before learning. It appeared that the students learning by using the
teaching package. The scores before and after learning are different.
3. Students were satisfied with the learning by using the Singular and Plural
Nouns teaching package at a high level.

Keywords: The learning center, English achievement

การประชุมวิชาการนาเสนอผลงานวิจัยระดบั บัณฑิตศกึ ษาแหง่ ชาติ ครัง้ ท่ี 49 121

การบรหิ ารหลกั สูตรอิสลามศึกษา (แบบเข้ม) ของผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา
สังกดั สานกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาสงขลา เขต 3

ADMINISTRATION OF ISLAMIC STUDIES CURRICULUM OF SCHOOL ADMINISTRATORS
UNDER SONGKHLA PRIMARY EDUCATION SERVICE AREA OFFICE 3

นูรหี ย๊ะ ยสี ะอ1ุ รงุ่ ชชั ดาพร เวหะชาต2ิ
Nureeyah Yeesa-u1 Rungchatchadaporn Vehachart2
นสิ ติ การศึกษามหาบณั ฑติ สาขาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ทักษิณ1
รองศาสตราจารย์ ดร. สาขาการบรหิ ารการศกึ ษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ทักษิณ 2
Corresponding author,[email protected] [email protected]

บทคัดยอ่
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบการบริหารหลักสูตรอิสลามศึกษา (แบบ
เข้ม) ของผูบ้ รหิ ารสถานศกึ ษา สงั กัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 3 จาแนก
ตามตัวแปรเพศ อายุ ประสบการณ์ในการทางาน วุฒิการศึกษา และขนาดสถานศึกษา กลุ่มตัวอย่าง
ได้แก่ ครู สังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 3 ปีการศึกษา 2562 กาหนด
ขนาดกลุ่มตัวอย่าง โดยเทียบจากตารางสาเร็จรูปของ Krejcie and Morgan ได้กลุ่มตัวอย่างจานวน
234 คน จากน้ันสุ่มแบบแบ่งช้ัน (Stratified Random Sampling) ตามขนาดสถานศึกษา แล้วใช้วิธี
สุ่มอย่างง่าย (Simple Random Sampling) โดยวิธีจับสลาก เคร่ืองมือการวิจัยเป็นแบบสอบถามมี
คา่ ความเช่อื ม่นั ท้งั ฉบับเทา่ กบั .907 สถิติท่ใี ชใ้ นการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ( x ) ส่วน
เบยี่ งเบนมาตรฐาน (S.D.) การทดสอบค่าที (t-test) และการทดสอบคา่ เอฟ (F-test)
ผลการวิจัยพบว่า 1) การบริหารหลักสูตรอิสลามศึกษา (แบบเข้ม) ของผู้บริหารสถานศึกษา
สังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 3 ในภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับ
มากท่ีสดุ 2) ผลการเปรียบเทยี บการบรหิ ารหลกั สูตรอิสลามศึกษา (แบบเข้ม) ของผู้บริหารสถานศึกษา
สงั กัดสานักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 3 จาแนกตามเพศ อายุ ประสบการณ์ใน
การทางาน วุฒิการศึกษา และขนาดสถานศึกษา พบว่าครูท่ีมีเพศ และวุฒิการศึกษาต่างกัน มีความ
คิดเห็นต่อการบริหารหลกั สตู รอิสลามศึกษา (แบบเข้ม) ของผู้บริหารสถานศึกษา ในภาพรวมและราย
ด้านไมแ่ ตกต่างกนั ครูทมี่ อี ายตุ ่างกนั มคี วามเหน็ ตอ่ การบรหิ ารหลกั สตู รอิสลามศึกษา (แบบเข้ม) ของ
ผู้บริหารสถานศึกษา ในภาพรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ครูท่ีประสบการณ์
ในการทางานต่างกัน มีความคิดเห็นต่อการบริหารหลักสูตรอิสลามศึกษา (แบบเข้ม) ของผู้บริหาร
สถานศึกษา ในภาพรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และครูที่ปฏิบัติงานใน
สถานศึกษาท่ีมีขนาดต่างกัน มีความคิดเห็นต่อการบริหารหลักสูตรอิสลามศึกษา (แบบเข้ม) ของ
ผู้บรหิ ารสถานศึกษา ในภาพรวมแตกตา่ งกนั อยา่ งมีนยั สาคญั ทางสถติ ิท่ีระดับ .01

คาสาคัญ: การบรหิ ารหลกั สูตรอิสลามศกึ ษา (แบบเข้ม)

122 การประชุมวิชาการนาเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษาแหง่ ชาติ ครงั้ ท่ี 49

ABSTRACT
The objectives of this research were to study and compare administration of
Islamic Studies Curriculum of school administrators under Songkhla Primary
Educational Service Area Office 3 based on opinions of teachers differing in gender,
age, education level, working experience and school size in the academic year of
2019. The research samples were 234 teachers drawn from Krejcie and Morgan Table.
The research instrument was a questionnaire. The reliability value of the
questionnaire was .907. The statistics used for data analysis were percentage, mean (
x ), standard deviation (S.D.), t-test dependent, and F-test.
The research results presented that: 1) administration of Intensive Islamic
Studies Curriculum of school administrators in the Songkhla Primary Educational
Service Area Office 3, both overall and individual aspects, were at the highest level,
2) the comparison results revealed that the teachers differing in age, education level
had no different opinions towards administration of Intensive Islamic Studies
Curriculum of school administrators, both overall and individual aspects. The
teachers differing in age had significantly different opinions towards the
administrators’ administration at .05 The teachers having different work experience
had significantly different opinions at .05, while the teachers working in schools of
different sizes had significantly different opinions towards the administrators’
administration at .01.

Keywords: Administration of Islamic Studies Curriculum

การประชุมวชิ าการนาเสนอผลงานวิจยั ระดับบณั ฑิตศกึ ษาแห่งชาติ คร้ังท่ี 49 123

การบริหารสถานศึกษาตามแผนการศึกษาแห่งชาติของผู้บรหิ ารสถานศึกษา
สังกดั สานกั งานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 3

THE SCHOOL ADMINISTRATION ACCORDING TO NATIONAL EDUCATION PLAN
OF SCHOOL ADMINISTRATORS UNDER SONGKHLA PRIMARY EDUCATIONAL

SERVICE AREA OFFICE 3

ฟา้ รุ่ง หม่ันสนิท1 รุ่งชัชดาพร เวหะชาต2ิ
Faroong Mansanit1 Rungchatchadaporn Vehachart2
นสิ ิตการศึกษามหาบณั ฑติ สาขาการบรหิ ารการศกึ ษา คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั ทกั ษณิ 1
รองศาตราจารย์ ดร. สาขาการบรหิ ารการศกึ ษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั ทักษณิ 2
Corresponding author,[email protected] and [email protected]

บทคัดยอ่
การค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบการบริหารสถานศึกษาตาม
แผนการศึกษาแห่งชาติของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
สงขลา เขต 3 จาแนกตามตัวแปรเพศ ระดับการศึกษา ประสบการณ์ในการปฏิบัติงาน และขนาด
ของสถานศึกษา กลมุ่ ตวั อยา่ ง ได้แก่ ครูสงั กัดสานกั งานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 3
กาหนดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ตารางของเครจซ่ีและมอร์แกน (Krejcie and Morgan) แล้วสุ่มแบบแบ่ง
ชั้น (Stratified Random Sampling) ตามขนาดของสถานศึกษา เคร่ืองมือการวิจัยเป็น
แบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ จานวน 60 ข้อ มีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ .969
วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉล่ีย ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การ
ทดสอบค่าเอฟ
ผลการศึกษาพบว่า การบริหารสถานศึกษาตามแผนการศึกษาแห่งชาติของผู้บริหารสถานศึกษา
สังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 3 ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ผลการ
เปรียบเทียบการบริหารสถานศึกษาตามแผนการศึกษาแห่งชาติ พบว่า ครูที่มีระดับการศึกษาต่างกัน
และมีประสบการณ์ในการปฏิบัติงานต่างกัน มีความคิดเห็นต่อการบริหารสถานศึกษาตามแผนการ
ศึกษาแห่งชาติในภาพรวม ไม่แตกต่างกัน ส่วนครูที่มีเพศต่างกัน มีความคิดเห็นต่อการบริหาร
สถานศึกษาตามแผนการศึกษาแห่งชาติ แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ .01 และครูที่
ปฏิบัติงานในสถานศึกษาขนาดต่างกัน มีความคิดเห็นต่อการบริหารสถานศึกษาตามแผนการศึกษา
แหง่ ชาตแิ ตกตา่ งกนั อยา่ งมีนยั สาคัญทางสถิตทิ รี่ ะดบั .001

คาสาคญั : การบริหารสถานศึกษา, แผนการศึกษาแห่งชาติ

124 การประชมุ วชิ าการนาเสนอผลงานวจิ ัยระดบั บัณฑิตศกึ ษาแห่งชาติ คร้ังท่ี 49

ABSTRACT
This independent study aimed to study and compare the school
administration according to National Education Plan of School Administrators under
Songkhla Primary Educational Service Area Office 3,and to compare the opinions of
teachers classified by genders, education levels, working experiences and the sizes of
the school. The sample consisted of teachers in Songkhla Primary Educational
Service Area Office 3,determined by using Krejcie and Morgan’s sample size table.
The stratified random samplings technique was applied by using the sizes of the
schools sampling. A constructed five-level rating scale questionnaire of 60 items
with the reliability 0.969 was used as the research instrument. Data were analyzed by
using percentage, mean( x ), standard deviation (S.D.), t-test and F-test.
The research found that the overall of teacher’s opinions on the school
administration according to National Education Plan of school Administrators under in
Songkla Primary Educational Service Area Office 3 was at high level. The comparison
results showed that teachers with different education levels and working
experiences had no different opinions towards the school administration according to
National Education Plan of the school administrators, except teachers with different
genders who had significantly different opinions at 0.01 level. Teachers who work in
different school sizes had significantly different opinions towards the school
administration according to National Education Plan of the school administrators at
0.001 level

Keywords: The School Administration, National Education Plan

การประชุมวชิ าการนาเสนอผลงานวจิ ัยระดับบณั ฑิตศึกษาแหง่ ชาติ ครง้ั ท่ี 49 125

การจดั การศกึ ษาปฐมวยั ของศนู ย์พฒั นาเด็กเลก็ ตามความคดิ เห็นของครู
สงั กดั องคก์ รปกครองสว่ นท้องถนิ่ จังหวดั นครศรีธรรมราช

STUDY OF EARLY CHILDHOOD EDUCATIONAL MANAGEMENT OF CHILD DEVELOPMENT
CENTER BASED ON OPINIONS OF TEACHERS UNDER THE LOCAL ADMINISTRATIVE

ORGANIZATIONS IN NAKHON SI THAMMARAT PROVINCE

จุฑารัตน์ เดชสุวรรณ1 ศิลป์ชัย สวุ รรณมณ2ี
Jutharat Dechsuwan 1 Sinchai Suwanmanee 2
สาขาวิชาการบรหิ ารการศกึ ษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั ทักษณิ 1
อาจารยป์ ระจาสาขาวชิ าการบริหารการศกึ ษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั ทักษณิ 2
[email protected] and [email protected]

บทคดั ย่อ
การวิจัยนีม้ ีวตั ถปุ ระสงคเ์ พอ่ื 1) ศกึ ษาการจัดการศึกษาปฐมวัยของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ตามความ
คิดเห็นของครู สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัดนครศรีธรรมราช 2) เปรียบเทียบการจัด
การศึกษาปฐมวยั ของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ตามความคิดเห็นของครู สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน
จงั หวดั นครศรีธรรมราช จาแนกตามตัวแปรอายุ วุฒกิ ารศึกษา ประสบการณ์ในการทางานและองค์กร
ท่ีศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสังกัด กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ครูในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัดองค์กรปกครองส่วน
ท้องถิ่น จังหวัดนครศรีธรรมราช ปีการศึกษา 2562 จานวน 302 คน กาหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดย
เทยี บจากตารางสาเร็จรปู ของ Krejcie and Morgan (1970) แล้วทาการสุ่มแบบแบ่งช้ัน จาแนกตาม
องค์กรทีศ่ ูนยพ์ ฒั นาเดก็ เลก็ สงั กดั และทาการสุ่มอย่างง่ายโดยวิธีการจับสลาก เครื่องมือ การวิจัยเป็น
แบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดบั จานวน 60 ขอ้ มคี า่ ความเช่ือมั่นท้ังฉบับเท่ากับ 0.878
สถติ ทิ ี่ใชใ้ นการวิเคราะห์ขอ้ มลู ได้แก่ คา่ ร้อยละ ค่าเฉล่ีย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที
และการทดสอบค่าเอฟ
ผลการวิจัยพบว่า 1) ครูมีความคิดเห็นต่อการจัดการศึกษาปฐมวัยของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
สังกดั องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถ่ิน จงั หวัดนครศรีธรรมราช โดยภาพรวมและรายด้าน อยู่ในระดับมาก
2) ครูที่มีอายุต่างกันมีความคิดเห็นโดยภาพรวมและรายด้านแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญที่ .001 3)
ครูท่ีมีวุฒิการศึกษาต่างกัน มีความคิดเห็นโดยภาพรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ
.05 4) ครูท่ีมีประสบการณ์ในการทางานต่างกันมีความคิดเห็นในภาพรวมและรายด้านแตกต่างกัน
อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .001 5) ครูที่ปฏิบัติการสอนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสังกัดต่างกัน มี
ความคดิ เหน็ ในภาพรวมแตกต่างกนั อย่างมีนยั สาคญั ทางสถิติที่ระดบั .001

คาสาคญั : การจดั การศึกษาปฐมวยั , ศนู ย์พัฒนาเด็กเล็ก, องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถ่ิน

126 การประชุมวชิ าการนาเสนอผลงานวิจยั ระดับบณั ฑติ ศึกษาแห่งชาติ คร้งั ท่ี 49

ABSTRACT
The purposes of this research were 1) to study early childhood educational
management of the Child Development Center based on opinions of teachers under
local government organizations in Nakhon Sri Thammarat, and 2) to compare the
early childhood education management based on the teachers having different age,
educational background, work experience, and organizations at the Child
Development Center. The sample consisted of 302 teachers in Child Development
Center under the local government organizations in Nakhon Si Thammarat Province,
Academic Year 2019. The sample size was determined by Tables of Krejcie and
Morgan (1970) and stratified random sampling and simple sampling by lottery
method. The research instrument was a questionnaire with 5 rating scales with 60
items with reliability of 0.878. The statistics used for data analysis were percentage,
mean, standard deviation. T-test, and F-test
The research results revealed that 1) the teachers perceived the early
childhood educational management of the Child Development Center under the
local administrative organizations in Nakhon Sri Thammarat was at high level, both
overall and individual aspects, 2) the teachers with different ages had significantly
different opinions at .001 in overall, 3) the teachers significantly had different
opinions at .05, 4) the teachers with different work experiences had different
opinions in both overall and individual aspects with statistical significance at the
level of .001, and 5) the teachers who were teaching at different Child Development
Center had significantly different opinions at .001

Keywords : Study of Early Childhood Educational Management, Child Development Center

.

การประชมุ วิชาการนาเสนอผลงานวจิ ัยระดับบณั ฑติ ศกึ ษาแหง่ ชาติ ครง้ั ท่ี 49 127

การพัฒนาสมรรถนะประจาสายงานของครชู าวต่างชาติ
สงั กัดสานกั งานเขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษามัธยมศกึ ษา เขต 12
DEVELOPMENT OF FUNCTIONAL COMPETENCIES OF FOREIGN TEACHERS IN
SECONDARY SCHOOLS UNDER THE OFFICE OF SECONDARY EDUCATIONAL

SERVICE AREA 12

ญาดา ชาตภิ ริ มย1์ รุ่งชัชดาพร เวหะชาต2ิ
Yada Chatpirom1 and Rungchatchadaporn Vehachart2
สาขาการบริหารการศกึ ษา คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยทักษณิ 1
รองศาสตราจารย์ ดร. สาขาการบริหารการศึกษา คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ทกั ษณิ 2
[email protected] and [email protected]

บทคดั ย่อ
การวิจัยน้ีมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาการพัฒนาสมรรถนะประจาสายงานของครู
ชาวต่างชาติ สังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 12 2) เปรียบเทียบการพัฒนา
สมรรถนะประจาสายงานของครูชาวต่างชาติ สังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 12
จาแนกตามตวั แปร เพศ วุฒิการศึกษา ประสบการณ์สอน และขนาดสถานศึกษา กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่
ครูกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา
มัธยมศึกษา เขต 12 จานวน 242 คน กาหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างจากการเทียบตารางสาเร็จรูปของ
Krejcie and Morgan (1970) แล้วทาการสุ่มแบบแบ่งชั้น จาแนกตามขนาดสถานศึกษา และทาการ
สุ่มอย่างง่าย โดยวิธีการจับสลาก เคร่ืองมือการวิจัยเป็นแบบสอบถามมีลักษณะแบบมาตราส่วน
ประมาณค่า 5 ระดบั ซ่ึงได้ค่าความเช่ือมั่นท้ังฉบับเท่ากับ 0.931 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าสถิติ ได้แก่
คา่ รอ้ ยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที และการทดสอบคา่ เอฟ
ผลการวิจัยพบว่า 1) ครูมีความคิดเห็นต่อการพัฒนาสมรรถนะของครูชาวต่างชาติ โดย
ภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก 2) ผลเปรียบเทียบการพัฒนาสมรรถนะของครูชาวต่างชาติ
จาแนกตามตัวแปรเพศ อายุ ประสบการณ์สอน วุฒิการศึกษา และขนาดสถานศึกษา พบว่า ครูท่ีมี
เพศต่างกันมีความคิดเห็นไม่แตกต่างกันในภาพรวม แต่เม่ือพิจารณารายด้าน พบว่า ด้านการบริหาร
จัดการช้ันเรียน มีความคิดเห็นแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 ครูท่ีมีอายุ และ
ประสบการณ์สอนต่างกัน มีความคิดเห็นไม่แตกต่างกันทั้งในภาพรวมและรายด้าน ครูท่ีมีวุฒิ
การศึกษาต่างกัน มีความคิดเห็นไม่แตกต่างกันในภาพรวม แต่เม่ือพิจารณารายด้านพบว่า มีความ
คิดเห็นแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และครูที่ปฏิบัติงานในสถานศึกษาขนาด
ต่างกัน มคี วามคิดเหน็ แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคญั ทางสถิตทิ ่ี .001 ทง้ั ในภาพรวมและรายด้าน

คาสาคัญ : สมรรถนะประจาสายงาน , ครูชาวต่างชาติ

128 การประชุมวิชาการนาเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑติ ศกึ ษาแหง่ ชาติ ครง้ั ท่ี 49

ABSTRACT
The objectives of this research were to study and compare the development
of functional competencies of foreign teachers in secondary schools of the Office of
Secondary Educational Service Area 12 according to the opinions of teachers who
differed in gender, age, educational level, working experience, and school size. The
samples were 242 teachers in schools under the Office of Secondary Educational
Service Area 12. The sample size was drawn using Krejcie and Morgan’s table. The
stratified random sampling by school size and simple random sampling by drawing
lots were also used. The research instrument was a set of 5 rating-scale
questionnaires, which contained 60 questions. The reliability of a questionnaire was
0.931. The statistics used were percentage, arithmetic means, standard deviation, t-
test dependent, and F-test.
The research results showed that development of functional competencies
of foreign teachers was rated at a high level for both overall and each aspect, the
comparison showed that the teachers who differed in gender had no significant
difference in overall, but they had statistically significantly different at .05 level in
classroom management aspect. On the other hand, the teachers who differed in age
and working experience had no significantly different opinions. The teachers who
differed in educational level had no significant difference in overall, but in classroom
management aspect they had statistically significantly difference at .05 level. The
teachers who work in different school size had statistically significantly different
opinions at .001 level for both overall and each aspect.

Keywords : functional competencies, foreign teachers

การประชุมวชิ าการนาเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศกึ ษาแห่งชาติ ครงั้ ที่ 49 129

กาหนดการ
การประชมุ วชิ าการนาเสนอผลงานวิจยั ระดับบณั ฑิตศึกษาแหง่ ชาติ คร้งั ท่ี 49
The 49th National Graduate Research Conference 2019 : NGRC#49
“การสรา้ งสรรค์งานวิจยั และนวัตกรรม : ความทา้ ทาย และโอกาสในการก้าวสู่ Thailand 4.0”

วันที่ 6 ธันวาคม 2562 เวลา 11.00 – 16.00 น. ณ อาคารหอประชุมใหม่

ผู้ทรงคุณวุฒิ : ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ปิยะนชุ พฒุ แกว้
ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.อมลวรรณ วรี ะธรรมโม
ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.จุตพิ ร อัศวโสวรรณ

ลาดบั ช่ือเรอ่ื ง ช่ือ – นามสกลุ นกั วจิ ยั เวลา
11.00
60 การประเมินสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ของนักศึกษา เบญจพร ชนะกลุ 11.10
หลักสูตรประกาศนียบตั ร สาขาวิชาชพี ครู
11.20
61 บาทของผู้บริหารสถานศกึ ษาต่อแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของ กชพรพรรณ สุทธหิ ริ ัญพงศ์ 11.30
ครู และบุคลากรทางการศึกษา เขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจ
จงั หวัดชายแดนภาคใต้ 4 อาเภอของจังหวัดสงขลา 11.40
11.50
62 ความสัมพนั ธ์ระหว่างวัฒนธรรมองค์การกับประสทิ ธิผลของโรงเรียน ตรยั ภมู นิ ทร์ ตรตี รีศวร 13.00
สงั กัดสานักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษายะลา เขต 3 13.10

63 การพัฒนาผลสัมฤทธิ์การเรียนวิชานาฏศิลป์โดยรูปแบบการ นที รุ่มรวย 13.20
สอน แบบเพ่ือนช่วยเพ่ือน ของนกั เรยี นช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 6 ศิวกร แพละออง 13.30

ดวงตา อินทรนาค 13.40

64 การมีส่วนรว่ มของครใู นการบริหารสถานศกึ ษา สงั กัดสานักงาน พาตีฮะห์ เดเบาะ

เขตพนื้ ท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษายะลา เขต 3 ศจั นนั ท์ แกว้ วงศ์ศรี

65 ความสัมพันธ์ระหว่างแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานของ ชยั ศักด์ิ ขาวสังข์
ผบู้ รหิ ารกับประสทิ ธผิ ลโรงเรียนเอกชน อาเภอเมือง จังหวัดยะลา ตรัยภมู นิ ทร์ ตรีตรศี วร

66 การบริหารงานบุคลากรของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัด สีวรรณ์ ไชยกลุ

สานักงานเขตพื้นทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษายะลาเขต 3 ศจั นันท์ แกว้ วงศศ์ รี

67 การพัฒนาทักษะการอ่านภาษาไทยของนักเรียนชั้น สภุ าศณิ ี สทุ โธ
ประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนธิดาแม่พระ โดยใช้การเรียนแบบ ศศชิ า ลิมปโ์ พธริ ตั น์

ร่วมมือด้วยการเลา่ เรอ่ื ง เลศิ พร อุดมพงษ์

68 การเพ่มิ ผลสมั ฤทธ์ิทางการอา่ นภาษาไทย โดยใชช้ ดุ สอื่ การสอน ณัฐธิกา ใจแผ้ว

นทิ านสอนใจ ของนกั เรียนช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี 3 องั คณี เรอื งศรี

69 การพัฒนาผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นวชิ าภาษาจนี ของนักเรียนชนั้ อลิสา เสรีพงษ์

ประถมศึกษาปที ี่ 3โดยการสอนแบบการเล่านทิ าน ศริ นิ ันท์ วณั ไวทยจติ ร

เลศิ พร อดุ มพงษ์

70 การพัฒนาทกั ษะการจาคาศพั ทภ์ าษาจีนโดยใช้บัตรคาเลียนรูป ศศิวิมล มลี าภ
ท่ีสง่ ผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นของนักเรยี นช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ 6 ศิรพิ ชั ร ศรสี วา่ ง
ดวงตา อินทรนาค

130 การประชุมวิชาการนาเสนอผลงานวิจยั ระดบั บัณฑติ ศกึ ษาแห่งชาติ ครั้งที่ 49

ลาดบั ชื่อเรอ่ื ง ชือ่ – นามสกลุ นักวจิ ยั เวลา
13.50
71 ผลท่ีเกิดจากการสอนเน้นความจาจากบัตรภาพที่มีต่อ อารสิ า ผอ่ งศรี

ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้คาศัพท์ภาษาอังกฤษของนักศึกษา จรญั ญา นาคพงั กาญจน์
กศน. ระดับมัธยมศึกษาตอนตน้

การประชมุ วชิ าการนาเสนอผลงานวิจัยระดบั บัณฑติ ศึกษาแหง่ ชาติ ครง้ั ท่ี 49 131

การประเมนิ สมรรถนะดา้ นการจัดการเรียนร้ขู องนกั ศกึ ษาประกาศนียบัตรสาขาวิชาชีพครู
THE EVALUATION OF COMPETENCY IN LEARNING MANAGEMENT
OF GRADUATE DIPLOMA IN TEACHER PROFESSION

เบญจพร ชนะกลุ
BENCHAPORN CHANAKUL
อาจารยป์ ระจาคณะครศุ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครศรธี รรมราช
chanakul_ben @hotmail.com

บทคัดยอ่
การวิจัยคร้ังนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินสมรรถนะนักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรสาขา
วิชาชีพครูมหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช ด้านการจัดการเรียนรู้ 6 เรื่อง คือ 1) ความสามารถ
ในการจัดทาแผนการเรียนรู้ 2) ความสามารถในการออกแบบการเรียนรู้ท่ีเหมาะกับวัยของผู้เรียน 3)
ความสามารถในการเลือกใช้พัฒนาและสร้างส่ืออุปกรณ์ท่ีส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียน 4)
ความสามารถในการจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียน 5) ความสามารถในการวัดและ
ประเมินผลตามสภาพจริง 6) ความสามารถในการวิจัย กลุ่มตัวอย่างที่ให้ข้อมูล ได้แก่ 1) นักศึกษา
หลกั สูตรประกาศนียบัตรสาขาวิชาชพี ครูจานวน 150 คน 2) อาจารย์นิเทศก์ จานวน 16 คน 3) ครูพ่ี
เลย้ี งนกั ศึกษา จานวน 150 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบประเมินสมรรถนะสาหรับนักศึกษา
ประเมินตนเอง ครูพ่ีเล้ียงประเมินนักศึกษา และอาจารย์นิเทศที่รับผิดชอบการนิเทศนักศึกษา
ซ่งึ ลักษณะแบบประเมินท่ีจัดทาข้ึนเป็นการสารวจสมรรถนะ/รายการประเมิน โดยเป็นระดับคุณภาพ
4 ระดับ แบ่งเป็น 6 ด้าน ดังนี้ 1) ความสามารถในการจัดทาแผนการเรียนรู้ 2) ความสามารถในการ
ออกแบบการเรียนรู้ที่เหมาะกับวัยของผู้เรียน 3) ความสามารถในการเลือกใช้พัฒนาและสร้างส่ือ
อุปกรณ์ท่ีส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียน 4) ความสามารถในการจัดกิจกรรมท่ีส่งเสริมการเรียนรู้ของ
ผเู้ รียน 5) ความสามารถในการวัดและประเมนิ ผลตามสภาพจรงิ 6) ความสามารถในการวิจัย สถิติที่ใช้
ในการวิเคราะหข์ ้อมูล ไดแ้ ก่ ความถี่ รอ้ ยละ ค่าเฉลยี่ และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ผลการวิจัยพบว่า
การประเมินสมรรถนะนักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรสาขาวิชาชีพครู ด้านการจัดการ
เรียนร้โู ดยภาพรวมมสี มรรถนะอยู่ในระดับปานกลาง ( x = 3.43 S.D.=0.52)โดยแยกเป็นรายดา้ นดังน้ี
1. การประเมินสมรรถนะทักษะปฏิบัติด้านความสามารถ ในการจัดทาแผนการเรียนรู้
นักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรสาขาวิชาชีพครู โดยรวม อยู่ในระดับปานกลาง ( x = 3.37
S.D.=0.53)
2. การประเมินสมรรถนะทักษะปฏิบัติด้านความสามารถในการออกแบบการจัดการเรียนรู้
ท่เี หมาะกับวัยของผูเ้ รยี นนกั ศกึ ษาหลักสตู รประกาศนียบัตรสาขาวิชาชีพครู โดยรวมอยู่ในระดับปาน
กลาง ( x = 3.42 S.D.=0.55)

132 การประชมุ วิชาการนาเสนอผลงานวิจยั ระดบั บัณฑิตศึกษาแห่งชาติ คร้ังที่ 49

3. การประเมินสมรรถนะทักษะปฏิบัติด้านความสามารถในการเลือกใช้ พัฒนาและสร้าง
ส่อื อปุ กรณท์ สี่ ่งเสริมการเรียนรขู้ องผ้เู รียนนักศึกษาหลกั สตู รประกาศนียบัตรสาขาวิชาชีพครู โดยรวม
อยใู่ นระดับปานกลาง ( x = 3.41 S.D.=0.54)

4. การประเมินสมรรถนะทักษะปฏิบัติด้านความสามารถในการจัดกิจกรรมท่ีส่งเสริมการ
เรยี นร้ขู องผเู้ รยี นนักศึกษาหลกั สูตรประกาศนียบัตรสาขาวิชาชีพครู โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง (
x = 3.48 S.D.=0.53)

5. การประเมินสมรรถนะทักษะปฏิบัติด้านความสามารถในการวัดและประเมินผลตาม
สภาพจริงนักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรสาขาวิชาชีพครู โดยรวม อยู่ในระดับปานกลาง ( x =
3.40 S.D.=0.49)

6. การประเมินสมรรถนะทักษะปฏิบัติด้านความสามารในการวิจัยนักศึกษาหลักสูตร
ประกาศนยี บตั รสาขาวชิ าชพี ครู โดยรวมอยใู่ นระดับปานกลาง ( x = 3.49 S.D.=0.49)

คาสาคัญ : สมรรถนะ การจัดการเรยี นรู้ ประกาศนยี บตั รสาขาวชิ าชพี ครู

การประชมุ วิชาการนาเสนอผลงานวิจัยระดบั บัณฑิตศึกษาแหง่ ชาติ ครง้ั ที่ 49 133

ABSTRACT
This research aimed to evaluate the competency of Graduate Diploma in
Teacher Profession students of Nakhon Si Thammarat Rajabhat University according
to 6 criteria of learning management comprised of 1) ability to write lesson plans, 2)
ability to design learning content suited for students, 3) ability to develop and create
learning materials to support students’ learning, 4) ability to manage activities to
promote students’ learning, 5) ability to measure and assess students in actual
conditions and 6) ability to conduct the research. The samples of the research were
1) 150 Graduate Diploma in Teacher Profession students, 2) 16 university supervisors,
3) 150 school advisors. The research instruments used to collect the data were an
evaluation form on competency for Graduate Diploma students to evaluate
themselves, school advisor and university supervisor to evaluate Graduate Diploma
students. The evaluation form was divided into 4 level with 6 aspects, included 1)
ability to write lesson plans, 2) ability to design learning content suited for students,
3) ability to develop and create learning materials to support students’ learning, 4)
ability to manage activities to promote students’ learning, 5) ability to measure and
assess students in actual conditions and 6) ability to conduct the research. The
statistic used to analyze the data were frequency, percentage, mean and Standard
Deviation. The overall competency of Graduate Diploma students on teaching
management was at moderate level displayed by mean ( X =3.43, S.D.= 0.52).
It could be explained as follows;
The overall ability to write lesson plans of Graduate Diploma students was at
moderate level displayed by mean ( X =3.37, S.D. = 0.53).
1. The overall ability to design learning content suited for students was at
moderate level displayed by mean ( X =3.42, S.D. = 0.55).
2. The overall ability to develop and create learning materials to support
students’ learning was at moderate level displayed by mean ( X =3.41, S.D. = 0.54).
3. The overall ability to manage activities to promote students’ learning was
at moderate level displayed by mean ( X =3.48, S.D. = 0.53).
4. The overall ability to measure and assess students in actual conditions
was at moderate level displayed by mean ( X =3.40, S.D. = 0.49).
5. The overall ability to conduct the research was at moderate level
displayed by mean ( X =3.49, S.D. = 0.49).

Keywords: Competency, learning management, Graduate Diploma in Teacher Profession

134 การประชุมวชิ าการนาเสนอผลงานวิจยั ระดับบณั ฑิตศกึ ษาแหง่ ชาติ ครัง้ ท่ี 49

บทบาทของผบู้ ริหารสถานศึกษาตอ่ แรงจูงใจในการปฏบิ ัตงิ านของครูและบคุ ลากรทางการศึกษา
เขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจงั หวดั ชายแดนภาคใต้ 4 อาเภอของจังหวดั สงขลา

THE ROLE OF SCHOOL ADMINISTRATORS TOWARD MOTIVATION OF WORKING AMONG
TEACHERS AND EDUCATIONAL STAFFS IN THE SPECIAL DEVELOPMENT ZONE OF THREE

SOUTHERN BORDER AREA IN FOUR DISTRICTS OF SONGKHLA PROVINCE

กชพรพรรณ สทุ ธิหริ ัญพงศ1์
Gotchapornpan Sutthihiranphong11
ภาควิชาการบรหิ ารการศึกษา คณะศึกษาศาสตรมหาบณั ฑติ มหาวิทยาลยั หาดใหญส่ งขลา1
Gotchapornpan Sutthihiranphong, E-mail [email protected] 1

บทคดั ย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาบทบาทของผู้บริหารสถานศึกษาต่อแรงจูงใจในการ
ปฏิบัติงานของครู และบุคลากรทางการศึกษา เขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ 4
อาเภอของจังหวัดสงขลา และเปรียบเทียบบทบาทของผู้บริหารสถานศึกษาต่อแรงจูงใจในการ
ปฏิบัติงานของครู และบุคลากรทางการศึกษา เขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ 4
อาเภอของจังหวดั สงขลา จาแนกตามวิทยฐานะ ประสบการณ์ทางาน และขนาดสถานศึกษา กาหนด
ขนาดกลุ่มตัวอย่างด้วยการใช้สูตรของยามาเน่ จากน้ันทาการสุ่มแบบแบ่งชั้น ตามเขตพัฒนาพิเศษ
เฉพาะกจิ จังหวดั ชายแดนภาคใต้ 4 อาเภอของจงั หวัดสงขลา และกาหนดผู้ให้ข้อมูลในแต่ละระดับนั้น
โดยการสุ่มตัวอย่างง่าย ด้วยวิธีการจับฉลากแบบไม่ใส่คืน ได้สุ่มตัวอย่างผู้บริหารสถานศึกษาต่อ
แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครู และบุคลากรทางการศึกษา เขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัด
ชายแดนภาคใต้ 4 อาเภอของจังหวัดสงขลา จานวน 347 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล
เปน็ แบบสอบถามมาตราสว่ นประมาณค่าท่ผี ้วู จิ ัยสร้างขน้ึ โดยมคี ่าความเช่ือมั่นเทา่ กบั .711 สถิติ ท่ีใช้
ในการวเิ คราะหข์ ้อมูล คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉล่ีย ส่วนค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่า t-test และ
การทดสอบค่า F-test ดว้ ยวิธีของ Scheffe’ และการวิเคราะห์เนอื้ หา

คาสาคญั : บทบาท; ผู้บริหารสถานศึกษา ; แรงจูงใจในการปฏิบัติงาน ;เขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจ
จงั หวัดชายแดนภาคใต้

การประชมุ วิชาการนาเสนอผลงานวิจยั ระดบั บัณฑติ ศกึ ษาแห่งชาติ คร้งั ที่ 49 135

ABSTRACT
The objectives of this research were to compare The role of education
administrators to motivate practice’s teachers and educational staffs in special
develop zone of Three Southern Border Provinces and four districts of Songkhla
province classified by their positions, work experiences and size of the schools. To
study the role of education administrators, to motivate practice’s teachers and
educational staffs, special develop area of Three Southern Border Provinces and four
districts of Songkhla province. Determine the sample size by using Yamana’s formula.
Then stratified random sampling was conducted base on special develop zone of
Three Southern Border Provinces and four districts of Songkhla province. And define
the contributors at each level by Simple Random Sampling with a non-return lottery.
The samples used in this research comprised 347 of education administrators,
teachers and educational staffs in special develop zone of Three Southern Border
Provinces and four districts of Songkhla province. Data were collected by five-rating
scale questionnaires with a reliability .711 value ,Statistics used for data analysis
included percentages, means, standard deviations, t-test, F-test, and content analysis.

Keywords: The Role ; School Administrators ; Motivation of Working ; Zone of three
Southern Border Province.

136 การประชมุ วิชาการนาเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษาแหง่ ชาติ คร้ังที่ 49

ความสัมพนั ธ์ระหว่างวัฒนธรรมองค์การกับประสิทธิผลของโรงเรียน
สงั กดั สานกั งานเขตพ้นื ท่กี ารศึกษาประถมศึกษายะลา เขต3

THE RELATIONSHIP BETWEEN THE ORGANIZATIONAL CULTURE
AND THE EFFECTIVENESS OF THE SCHOOL UNDER YALA PRIMARY

EDUCATIONAL SERVICE AREA OFFICE 3

ฟารียะ สะอ1ุ ตรยั ภมู นิ ทร์ ตรตี รศี วร2
Fareeyah Sa-u1 Traipumin Tritrisaon
สาขาวิชาการบรหิ ารการศึกษา คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั หาดใหญ่1,2
Corresponding author,[email protected] [email protected]

บทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพ่ือศึกษาระดับวัฒนธรรมองค์การของโรงเรียน ประสิทธิผลของ
โรงเรียน และความสัมพันธ์ระหว่างวัฒนธรรมองค์การกับประสิทธิผลของโรงเรียน สังกัดสานักงาน
เขตพืน้ ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษายะลา เขต3 กลุ่มตัวอย่างท่ีใช้ในการวิจัย ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา
จานวน 37 คน และครูผู้สอน จานวน 242 คน ท่ีปฏิบัติงานในโรงเรียน สังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่
การศึกษาประถมศึกษายะลา เขต3 ปีการศึกษา 2560 เครื่องมือท่ีใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็น
แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉล่ีย และค่าส่วน
เบย่ี งเบนมาตรฐาน และค่าสมั ประสทิ ธ์สิ หสมั พันธ์แบบเพียรส์ นั
ผลการวิจยั พบว่า
1. วัฒนธรรมองค์การของโรงเรียน สังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษายะลา
เขต 3 โดยภาพรวมและรายด้านทุกด้านอยู่ในระดับมาก เรียงลาดับตามค่าเฉล่ียจากมากไปหาน้อย
ไดแ้ ก่ ด้านความหลากหลายของบุคลากร ดา้ นความมงุ่ ประสงค์ของโรงเรียน ด้านความมีคุณภาพด้าน
ความรู้สึกเป็นส่วนหน่ึงของโรงเรียน ความซ่ือสัตย์สุจริต ความไว้วางใจ ด้านการยอมรับ ด้านความ
เอ้อื อาทร ดา้ นการมอบอานาจ ดา้ นการตัดสนิ ใจ ตามลาดบั
2. ประสิทธิผลของโรงเรียน สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษายะลา เขต 3
โดยภาพรวมและรายด้านทุกด้านอยู่ในระดับมาก เรียงลาดับตามค่าเฉลี่ยจากมากไปน้อย ได้แก่
ความสามารถในการปรับเปล่ียนและพัฒนาโรงเรียน ความสามารถในการผลิตนักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนสูง ความสามารถในการพัฒนานักเรียนให้มีทัศนคติทางบวก ความสามารถในการ
แกป้ ญั หาภายในโรงเรยี น ตามลาดบั
3. ความสัมพนั ธ์ระหว่างวฒั นธรรมองค์การกบั ประสทิ ธิผลของโรงเรียน สังกัดสานักงานเขต
พื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษายะลา เขต 3 มีความสัมพันธ์กันทางบวก อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ี
ระดับ .01 และมคี วามสมั พันธ์อยูใ่ นระดับปานกลาง (rxy = .590)

คาสาคัญ: วฒั นธรรมองค์การ; ประสทิ ธผิ ลของโรงเรยี น; สานกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศึกษายะลา เขต 3

การประชมุ วิชาการนาเสนอผลงานวิจัยระดบั บณั ฑติ ศึกษาแหง่ ชาติ คร้ังท่ี 49 137

ABSTRACT
The objective of this research were to study level of organizational culture,
the effectiveness of the school, the relationship between the organizational culture
and the effectiveness of the school under Yala Primary Educational Service Area
Office 3. According to the school administrator and the teachers. The sample group
were 37 school administrators and 242 teachers who worked in the school under
Yala Primary Educational Service Area Office 3. During academic year 2017.
Questionnaires were used to collect data. Statistics used for data analysis included
frequency, percentage, mean, standard deviation, and Pearson Product Moment
Correlation Coefficient.
The results were found as the following:
1. Organizational Culture of the school under Yala Primary Educational
Service Area Office 3. In overall as well as all individual aspects were at high level. In
descending orders, diversity of personnel, purpose of school, quality, the feelings
are part of the school, honesty, confidence, acceptance, generosity, delegation, and
decision respectively.
2. Effectiveness of the school under Yala Primary Educational Service Area
Office 3. In overall as well as all individual aspects were at high level. In descending
orders, they were the school modification and development capability, the capability
in producing high-academic performance students, the ability in developing students’
positive attitudes, and the ability in solving schools internal problems respectively.
3. The organizational culture and the effectiveness of the school under Yala
Primary Educational Service Area Office 3. According to the school administrator and
the teachers. The perspectives showed statistically significant positive relationship at
.01 and had moderate relation (rxy = .590)

Keywords: The Organizational Culture; The Effectiveness; Yala Primary Educational
Service Area Office 3

138 การประชมุ วชิ าการนาเสนอผลงานวิจยั ระดบั บณั ฑิตศึกษาแห่งชาติ คร้ังท่ี 49

การพัฒนาผลสมั ฤทธ์กิ ารเรียนวิชานาฏศลิ ป์โดยรปู แบบการสอนแบบเพ่อื นช่วยเพ่ือน
ของนักเรียนชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 6

THE DEVELOPMENT OF THAI DRAMATIC ARTS LEARNING ACHIEVEMENT
BY USING PEER-ASSISTED LEARNING TEACHING MODEL OF PRATOMSUKSA 6

นที ร่มุ รวย1 ศิวกร แพละออง2 ดวงตา อนิ ทรนาค3
Natee Roomruay1 Siwakorn Paelaong2 Duangta Intaranak 3
ภาควชิ าประกาศนยี บตั รวชิ าชพี ครู คณะศลิ ปศาสตร์ มหาวิทยาลยั ตาป1ี
[email protected] [email protected]

บทคดั ยอ่
งานวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพ่ือเปรียบเทียบความรู้และทักษะปฏิบัติของนักเรียนช้ัน
ประถมศึกษาปีท่ี 6 ระหว่างการจัดการเรียนรู้ด้วยรูปแบบการสอนรายวิชานาฏศิลป์โดยวิธีเพื่อนช่วย
เพ่อื นกับการจัดการเรียนรู้แบบปกติ ประชากรที่ใชใ้ นการวจิ ยั ครง้ั นค้ี ือ นกั เรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6
โรงเรียนอุปถัมภ์วิทยาพนม จานวน 3 ห้อง 129 คน กลุ่มตัวอย่างคือนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6
โรงเรียนอุปถัมภ์วิทยาพนม จานวน 88 เครื่องมือท่ีใช้ในการทดลองได้แก่ 1) แผนการจัดการเรียนรู้
โดยใช้รูปแบบการสอนแบบเพื่อนช่วยเพื่อน 2) แบบทดสอบวัดความรู้การเรียนนาฏศิลป์ และ 3)
แบบวัดทักษะปฏิบัติการเรียนทางนาฏศิลป์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ สถิติเชิงพรรณนา
ค่าเฉลีย่ สว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถติ ิทดสอบที (t-test) แบบ Independent
ผลการวิจัยสรปุ ไดว้ า่
1. คะแนนเฉล่ียความรู้การเรียนนาฏศิลป์ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 ท่ีจัดการ
เรียนรู้ด้วยรูปแบบการสอนรายวิชานาฏศิลป์ โดยวิธีเพ่ือนช่วยเพ่ือนสูงกว่าการจัดการเรียนรู้ปกติ
อยา่ งมนี ัยสาคญั ทางสถิติท่รี ะดบั .05
2. คะแนนเฉลยี่ ทกั ษะปฏิบตั ิการเรียนนาฏศลิ ปข์ องนกั เรยี นชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 6 ที่จัดการ
เรียนรู้ด้วยรูปแบบการสอนรายวิชานาฏศิลป์ โดยวิธีเพื่อนช่วยเพื่อนสูงกว่าการจัดการเรียนรู้ปกติ
อย่างมนี ัยสาคญั ทางสถติ ทิ ี่ระดับ .05

คาสาคญั : นาฏศลิ ป;์ รปู แบบการสอน; เพอ่ื นชว่ ยเพ่อื น

การประชุมวิชาการนาเสนอผลงานวจิ ยั ระดับบัณฑิตศึกษาแหง่ ชาติ ครั้งที่ 49 139

ABSTRACT
The purposes of this research were comparing knowledge and pragmaticing
skills of Prathomsuksa 6 students during learning through the teaching model of Thai
dramatic arts subject by using peer-assisted learning and normal learning. The
population used in this research were the Prathomsuksa 6 students in the
Upathamwittaya Phanom School, 129 students. The samples were 88 Prathomsuksa
6 students in the Upathamwittaya Phanom School, which were obtained from simple
random sampling by drawing 2 rooms in each room, 44 students and drawing again
to define teaching methods as experimental group and control group. The
instruments used in the experiment were 1) the learning management plan by using
the peer-assisted learning teaching method, 2) the dance knowledge test in Thai
dramatic arts and 3) the practice skill test of Thai dramatic arts. The statistics used for
data analysis were descriptive statistics, mean, standard deviation and t-test for
independent analysis. Data were analyzed by using computer program.
The results of the research concluded that;
1. The average score of knowledge of Thai dramatic arts learning of
Prathomsuksa 6 students that organized learning by teaching the Thai dramatic arts
by peer-assisted learning was higher than normal learning statistical significance at
the level of .05
2. The average score of learning skills in Thai dramatic arts of Prathomsuksa
6 students that organized learning by teaching the Thai dramatic arts subjects by
peer-assisted learning was higher than normal learning statistical significance at the
level of .05

Keywords: Thai dramatic arts; teaching model; peer-assisted learning

140 การประชมุ วชิ าการนาเสนอผลงานวิจัยระดบั บณั ฑติ ศึกษาแห่งชาติ ครั้งที่ 49

การมสี ่วนร่วมของครูในการบรหิ ารสถานศึกษา
สงั กัดสานกั งานเขตพื้นที่การศกึ ษาประถมศึกษายะลา เขต 3
PARTICIPATION OF TEACHERS IN EDUCATIONAL INSTITUTIONS ADMINISTRATORS
UNDER YALA PRIMARY EDUCATIONAL SERVICE AREA OFFICE 3

พาตีฮะห์ เดเบาะ1 ศัจนนั ท์ แกว้ วงศ์ศรี2
Phateeha Deboh1 Sajanun Kheowvongsri2
สาขาวชิ าการบรหิ ารการศกึ ษา คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั หาดใหญ่1,2
Corresponding author,[email protected] [email protected]

บทคดั ย่อ
การวิจัยคร้ังน้ีมีวัตถุประสงค์ 1) เพ่ือศึกษาการมีส่วนร่วมของครูในการบริหารสถานศึกษา สังกัด
สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษายะลา เขต 3 2) เพื่อเปรียบเทียบการมีส่วนร่วมของครูในการ
บรหิ ารสถานศึกษา สังกดั สานกั งานเขตพน้ื ที่การศกึ ษาประถมศึกษายะลา เขต 3 จาแนกตามระดับการศึกษา
ประสบการณ์ในการทางาน และขนาดของสถานศึกษา 3) เพ่ือรวบรวมข้อเสนอแนะการมีส่วนร่วมของครู
ในการบรหิ ารสถานศกึ ษา สงั กัดสานกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษายะลา เขต 3 กลุ่มตัวอย่าง คือ ครู
ในสถานศึกษา สังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษายะลา เขต 3 ปีการศึกษา 2561 จานวน 242
เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบสอบถาม และแบบสอบถามปลายเปิด สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่า
ร้อยละ ค่าเฉลย่ี ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที และการทดสอบคา่ เอฟ
ผลการวิจัยพบวา่
1. การมีส่วนร่วมของครูในการบริหารสถานศึกษา สังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษา
ยะลา เขต 3 โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก (X = 3.64, S.D. = 0.69)
2. ผลการเปรียบเทียบการมีส่วนร่วมของครูในการบริหารสถานศึกษา สังกัดสานักงานเขตพื้นที่
การศึกษาประถมศึกษายะลา เขต 3 จาแนกตามระดับการศึกษา โดยภาพรวมไม่แตกต่างกัน จาแนกตาม
ประสบการณ์ในการทางาน โดยภาพรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และจาแนกตามขนาด
ของสถานศกึ ษา พบว่า โดยภาพรวมแตกตา่ งกนั อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติทร่ี ะดับ .05
3. ข้อเสนอแนะการมีส่วนร่วมของครูในการบริหารสถานศึกษา สังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา
ประถมศึกษายะลา เขต 3 ท้ัง 4 ด้าน ปรากฏดังนี้ ด้านการบริหารงานวิชาการ ควรมีการส่งเสริม สนับสนุนให้ครู
และบคุ ลากรทางการศึกษามสี ่วนร่วมในการวางแผนการจัดทาหลักสูตร จัดทาแผนบริหารหลักสูตร แนวทางการ
ใช้หลักสูตรและการประเมินหลักสูตรที่ชัดเจนและเป็นรูปธรรม ด้านการบริหารงานงบประมาณ ควรเปิดโอกาส
ให้ครูและบุคลากรทางการศกึ ษาในสถานศกึ ษาทง้ั หมดมสี ว่ นรว่ มในการจัดสรรงบประมาณในแต่ละด้าน ด้านการ
บริหารงานบุคคล ควรจัดสรรอัตรากาลังให้ตรงตามสาขาวิชาที่สถานศึกษาขาดแคลน การบริหารงานท่ัวไป ควร
เปดิ โอกาสใหค้ รูและบคุ ลากรทางการศกึ ษามีสว่ นร่วมในการส่งเสริม สนับสนุนและประสานการจัดการศึกษาของ
องคก์ ร หนว่ ยงานและสถาบันสังคมอน่ื ท่จี ัดการศึกษาให้กบั สถานศึกษา

คาสาคัญ: การบริหารสถานศึกษา; การมสี ่วนร่วมของครูในการบริหารสถานศึกษา; ครู

การประชมุ วชิ าการนาเสนอผลงานวิจยั ระดบั บณั ฑติ ศึกษาแห่งชาติ คร้งั ท่ี 49 141

ABSTRACT
This research is a survey research. The researcher wants to study the
Participation of Teachers in Educational institutions Administrators under Yala Primary
Educational Service Area Office 3. The Objectives are 1) To study the Participation of
Teachers in Educational institutions Administrators under Yala Primary Educational
Service Area Office 3. 2) To compare the Participation of Teachers in Educational
institutions Administrators under Yala Primary Educational Service Area Office 3
classified by educational level, working experience and the school size, and 3) To
collect the suggestions of the Participation of Teachers in Educational institutions
Administrators under Yala Primary Educational Service Area Office 3. Samples used in
research are 242 teachers in A.D. 2018 academic year. The instruments for collecting
the data in this research is questionnaire. The statistics in data analysis are
percentage, mean, standard deviation, t-test and F-test.
The research results were as follows :
1. Participation of Teachers in Educational institutions Administrators under
Yala Primary Educational Service Area Office 3 is in a high level. ( = 3.64, S.D. = 0.69)
2. The results of comparison of the Participation of Teachers in Educational
institutions Administrators under Yala Primary Educational Service Area Office 3 on
the bases education level was is not difference. working experience are were
difference with statistical significance at the .01 and the school size are difference
with statistical significance at the .05
3. The suggestions of Participation of Teachers in Educational institutions
Administrators under Yala Primary Educational Service Area Office 3 of 4 aspects as
follows : For the academic administration : should be encourage teachers and
educational personnels to participate in the planning of curriculum, create a
curriculum management plan, guideline to use the curriculum, clear and concrete in
the evaluation of curriculum. Budget administration : should provide opportunities
for all teachers and education personnels in school can participate in budget
allocation. Personnel administration : should be allocate the workforce for subjects
that lacking. General administration : should be provide the opportunities for
teachers and education personnels to participate in the promotion and coordinate
the educational management of the organization, department and other social
institution that provide education for schools.

Keywords: School Administration; Participation of Teachers in Educational institutions; Teachers

142 การประชุมวชิ าการนาเสนอผลงานวจิ ัยระดับบัณฑติ ศึกษาแหง่ ชาติ คร้ังที่ 49

ความสมั พันธ์ระหวา่ งแรงจูงใจใฝส่ ัมฤทธใิ์ นการปฏบิ ตั ิงานของผู้บริหาร
กับประสิทธิผลโรงเรียนเอกชน อาเภอเมือง จงั หวดั ยะลา

THE RELATIONSHIP BETWEEN ACHIEVEMENT MOTIVATION OF ADMINISTATORS
WITH EFFECTIVENESS OF PRIVATE SCHOOLS IN MUANG DISTRICT, YALA PROVINCE

ชยั ศกั ด์ิ ขาวสังข1์ ตรยั ภมู ินทร์ ตรตี รีศวร2
Chaisak Kawsung1 Tripumin Tritrishual2
หลกั สตู รศกึ ษาศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวิชาการบริหารการศกึ ษา มหาวทิ ยาลัยหาดใหญ่ สงขลา 1,2
Corresponding author,[email protected]

บทคดั ยอ่
การวิจัยคร้ังนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธ์ิในการปฏิบัติงานของผู้บริหาร
โรงเรยี นเอกชน ศึกษาประสทิ ธผิ ลโรงเรยี นเอกชน และศกึ ษาความสัมพันธ์ระหว่างแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธ์ิ
ในการปฏบิ ตั ิงานของผู้บริหาร กับประสิทธผิ ลโรงเรยี นเอกชน อาเภอเมือง จังหวัดยะลา กลุ่มตัวอย่าง
ในการวิจัยได้แก่ ครูผู้สอนในโรงเรียนเอกชน อาเภอเมือง จังหวัดยะลา จานวน 311 คน โดยการ
กาหนดขนาดกลุ่มตวั อยา่ งด้วยการใชส้ ูตรของยามาเน่ สมุ่ แบบแบ่งช้ัน และกาหนดผู้ให้ข้อมูลในแต่ละ
ระดับนั้น โดยการสุ่มอย่างง่ายด้วยวิธีการจับฉลากแบบไม่ใส่คืน เคร่ืองมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามมีค่า
ความเชื่อมั่น ตอนท่ี 2 มีค่า .938 ตอนที่ 3 มีค่า .842 สถิติท่ีใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ
คา่ เฉล่ีย คา่ ความเบยี่ งเบนมาตรฐาน และการหาค่าสมั ประสทิ ธิส์ หสมั พนั ธ์แบบเพียรส์ ัน
ผลการวิจัยพบวา่
1. แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธ์ิในการปฏิบัติงานของผู้บริหาร โรงเรียนเอกชน อาเภอเมือง จังหวัด
ยะลา ในภาพรวม และทุกรายดา้ น อยใู่ นระดบั มาก เรียงลาดับค่าเฉล่ียจากมากไปหาน้อยได้ คือ ด้าน
การรู้จัก ด้านความกระตือรือร้น ด้านความกล้าเสี่ยง ด้านความรับผิดชอบต่อ ด้านความ
ทะเยอทะยาน และด้านความมีเอกลกั ษณ์ ตามลาดับ
2. ประสิทธิผลของโรงเรียนเอกชน อาเภอเมือง จังหวัดยะลา ในภาพรวม และทุกรายด้าน
อยู่ในระดับมาก เรียงลาดับค่าเฉล่ียจากมากไปหาน้อย คือ ด้านความสามารถในการปรับเปลี่ยนและ
พัฒนาโรงเรียนให้เข้ากับสิ่งแวดล้อม ด้านความสามารถในการแก้ปัญหาภายในโรงเรียน ด้าน
ความสามารถในการพัฒนานกั เรยี นใหม้ ีทัศนคตทิ างบวก และด้านความสามารถในการผลิตนักเรียนท่ี
มีผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนสูง ตามลาดบั
3. ความสัมพันธ์ระหว่างแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธ์ิในการปฏิบัติงานของผู้บริหาร กับประสิทธิผล
การบริหารโรงเรียนเอกชน อาเภอเมือง จังหวัดยะลา ทุกคู่มีความสัมพันธ์กันทางบวก อย่างมี
นยั สาคญั ทางสถิตทิ ่รี ะดับ .01 โดยมีความสัมพนั ธก์ นั ในระดับปานกลาง (rxy = .648)

คาสาคัญ: แรงจงู ใจใฝส่ ัมฤทธ์ิ; ประสทิ ธผิ ล; โรงเรยี นเอกชน


Click to View FlipBook Version