The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by jjooee777, 2022-07-05 05:28:36

Inside Logistic 18.2x25.7 cm

Inside Logistic 18.2x25.7 cm

เอกสารประกอบการสอน

วิชา การจัดการโลจสิ ตกิ ส
(Logistics Management)

คณะบรหิ ารธรุ กิจ
มหาวิทยาลัยธนบรุ ี



i

คาํ นํา

เอกสารประกอบการสอนเลมน้ี จัดทําข้ึนเพื่อใหเขากับสถานการณในปจจุบัน
โดยเรียบเรียงขึ้นตามเน้ือหาสาระในหลักสูตรปริญญาตรี คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัย
ธนบุรี เอกสารประกอบการสอนเลมนี้แบงเนื้อหาออกเปน 12 บท เพื่อใหนักศึกษา
สามารถเขาใจในรายวิชานี้ไดงายข้ึน ซึ่งเนื้อหาในเอกสารประกอบการสอนเลมนี้เปน
พ้ืนฐานการเรียน การสอนในสาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส โดยเน้ือหาจะกลาวถึงประวัติ
ความเปนมาของการจัดการโลจิสติกสและซัพพลายเชน บทบาทและความสําคัญของการ
จัดการโลจิสติกสและซัพพลายเชนที่มีตอองคกรและธุรกิจ กิจกรรมทางดานโลจิสติกส
อาทิ การวางแผนและการพยากรณ การจัดซือ้ จัดหาและเจรจาตอรอง การคัดเลือกและ
การจัดจา งภายนอก การบริหารความสมั พันธในซัพพลายเชน การจดั การคลงั สินคา การ
จัดการสินคาคงคลัง การวางแผนการขนสงและกระจายสินคา การวางแผนการขนสง
และกระจายสินคา การออกแบบบรรจภุ ัณฑ เทคโนโลยีสารสนเทศในกจิ กรรมโลจสิ ติกส
เพื่อใหทันตอสถานการณปจจุบัน ซึ่งในแตละหัวขอเร่ืองของการสอนนั้น จะเปนความรู
พื้นฐานที่นักศึกษาสามารถนําไปประยุกตใชกับรายวิชาเอกอ่ืนๆ ในคณะฯได พรอมทั้ง
ยังมีกรณีศึกษาท่ีเกิดขึ้นจริง ใหนักศึกษาไดคิดวิเคราะหและสามารถนําไปประยุกตใช
ตอไปได และสุดทายยังมีแบบฝกหัดทายบทเรียนใหนักศึกษาสามารถนําไปฝกฝน
ทบทวนความรูไ ดอีกดว ย

คณะบริหารธรุ กจิ



สารบัญ iii

คํานํา หนา
สารบญั
สารบญั ตาราง i
สารบัญภาพ iii
คาํ อธิบายรายวิชา ix
โครงการสอน x
xiii
บทท่ี xiv
1 ความรทู ่ัวไปเก่ียวกับโลจิสติกส
3
1.1 บทนาํ 3
1.2 ความเปน มาและววิ ัฒนาการของการจดั การโลจิสติกส 5
1.3 บทบาทของโลจิสติกส ตอ องคกรและเศรษฐกิจ 7
1.4 ความหมายของการจดั การโลจิสตกิ ส 7
1.5 เปาหมายของการจัดการโลจิสตกิ ส 8
1.6 กจิ กรรมโลจสิ ตกิ ส 11
1.7 แนวคดิ ดา นโลจสิ ติกสในอนาคต 16

แบบฝกหดั บทที่ 1 21
22
2 โลจสิ ติกสและซัพพลายเชนในระบบธรุ กิจ 23
2.1 บทนํา
2.2 ความหมายของการบริหารซพั พลายเชน
2.3 องคประกอบของซัพพลายเชน

iv

บทที่ ความสัมพันธร ะหวางการจัดการโลจสิ ติกสและซัพพลายเชน หนา
2.4 โครงขา ยซพั พลายเชน 25
2.5 ประโยชนข องการจดั การซัพพลายเชน 27
2.6 แนวคิดดา นการจัดการซัพพลายเชนในอนาคต 29
2.7 กรณศี ึกษา 30
2.8 แบบฝก หัดบทท่ี 2 32
35
3 กิจกรรมโลจสิ ติกส
3.1 บทนํา 40
3.2 กจิ กรรมโลจิสติกส 40
3.3 กรณีศึกษา 53
แบบฝก หัดบทที่ 3 55

4 การพยากรณค วามตอ งการ 60
4.1 ความหมายการพยากรณ 61
4.2 ความสาํ คญั ของการพยากรณ 62
4.3 กระบวนการพยากรณ 63
4.4 ประเภทของการพยากรณ 73
4.5 การประเมนิ ความแมนยาํ ของการพยากรณ 76
4.6 แนวทางในการเลอื กเทคนิคสาํ หรบั การพยากรณ 77
แบบฝก หัดบทท่ี 4
84
5 การจัดซ้ือจัดหา 85
5.1 ความหมายของการจดั ซ้อื
5.2 ความหมายของการจดั หา

บทท่ี ความแตกตางระหวา งจัดซื้อและจดั หา v
5.3 พัฒนาการของการจดั ซอ้ื จัดหา
5.4 วตั ถปุ ระสงคข องการจัดซอ้ื และจดั หา หนา
5.5 นโยบายการจัดซ้อื และจดั หา (7R’s) 85
5.6 กระบวนการจดั ซื้อ 86
5.7 ประเภทของผูส ง มอบในงานจดั ซ้อื 87
5.8 กลยทุ ธในงานจัดซอื้ 88
5.9 การวดั ประสิทธิภาพในงานจดั ซอื้ 89
5.10 องคก ารจัดซ้อื 91
5.11 การจัดซือ้ จดั หาสีเขียว 92
5.12 แบบฝกหดั บทที่ 5 94
96
6 การคดั เลือกและการจัดจางภายนอก 98
6.1 ความหมายของการจัดจางภายนอก 100
6.2 แนวคิดเก่ียวกบั การจดั จางภายนอก
6.3 ประโยชนของการจัดจางภายนอก 106
6.4 รปู แบบการจัดจา งภายนอก 107
6.5 ประเภทของการจางเหมาภายนอก 108
6.6 หลักเกณฑใ นการพจิ ารณาจางพนกั งานจางเหมาบริการ 108
6.7 ขอ ดี-ขอ เสีย การจัดจา งภายนอก 109
6.8 เหตุผลในการตัดสนิ ใจจดั หาจากภายนอก 110
6.9 ความหมายของการคัดเลอื ก 110
6.10 แนวคิดการคัดเลือกผขู ายปจจยั การผลิต 112
6.11 การคดั เลอื กและประเมินผขู าย 113
แบบฝกหัดบทที่ 6 114
115
120

vi

บทที่ หนา
7 การบรกิ ารลูกคาและการบริหารความสมั พันธลูกคา
126
7.1 บทนาํ 126
7.2 ความสําคญั ของการบรกิ ารลูกคา 127
7.3 การบริหารความสมั พันธล ูกคา 129
7.4 ประโยชนข องการบรหิ ารความสัมพันธลูกคา (CRM) ตอ ธรุ กิจ 129
7.5 การบรหิ ารความสมั พนั ธลูกคา ใชก บั ใครไดบา ง 130
7.6 แบบจําลองการสรางสัมพันธ 132
7.7 การบรหิ ารความสัมพันธก บั ซัพพลายเออร 136
7.8 กรณศี กึ ษา 138
7.9 แบบฝกหัดบทท่ี 7
145
8 การบริหารคลงั สนิ คาและศูนยก ระจายสินคา 149
8.1 ความหมายของคลังสนิ คา 152
8.2 วตั ถปุ ระสงคแ ละประโยชนข องคลังสินคา 158
8.3 การแบง ประเภทของคลังสินคา 159
8.4 กระบวนการพน้ื ฐานที่สาํ คญั ในการบรหิ ารคลงั สนิ คา 162
8.5 การพฒั นาประสิทธภิ าพการจัดการคลังสินคา 164
8.6 ความสัมพันธของคลงั สนิ คา กับกิจกรรมโลจิสติกสอ นื่ ๆ
แบบฝกหดั บทท่ี 8 170
171
9 การบริหารสินคา คงคลงั 172
9.1 ความหมายสนิ คาคงคลัง 173
9.2 ประเภทของสินคาคงคลงั 174
9.3 วตั ถุประสงคข องสินคา คงคลงั
9.4 ตนทุนของสนิ คา คงคลงั
9.5 เหตุผลในการลดสนิ คาคงคลัง

vii

บทที่ หนา
9.6 สินคาคงคลงั และแนวทางการจัดการสนิ คาคลัง 176
9.7 เทคนคิ การตรวจสอบสินคาคงคลัง 179
9.8 ปรมิ าณการสง่ั ซื้อทีป่ ระหยัด 184
9.9 การจดั เกบ็ สินคาคงคลังในการวเิ คราะห เอ บี ซี (ABC Analysis) 185
9.10 บทบาทของสนิ คา คงคลังในซพั พลายเชน (Supply Chain) 186
9.11 ระบบ VMI หรอื Vendor Managed Inventory 187
แบบฝก หัดบทที่ 9 191

10 การขนสง 196
10.1 บทนาํ 196
10.2 ความเปน มาและวิวฒั นาการของการขนสง 200
10.3 ความหมายของการขนสง 200
10.4 อรรถประโยชนของการขนสง 201
10.5 รปู แบบของการขนสง 207
10.6 ปจจัยท่สี ง ผลตอ การเลือกใชร ูปแบบการขนสง 209
10.7 การขนสง ตอเน่อื งหลายรปู แบบ 210
10.8 การขนสง เพ่ือการทองเท่ียว 211
10.9 การขนสงสีเขียว 212
แบบฝกหดั บทที่ 10
217
11 การออกแบบบรรจภุ ัณฑ 217
11.1 บทนาํ 219
11.2 ความหมาย 221
11.3 บทบาทหนาทีข่ องบรรจภุ ณั ฑ 225
11.4 ประเภทของบรรจุภณั ฑ
11.5 กลยุทธการตลาดสเี ขยี วกบั การบรรจภุ ัณฑ

viii

บทท่ี บรรจุภณั ฑเพือ่ การนาํ เขา และสงออก หนา
11.6 บรรจุภณั ฑเพ่ือการนําเขาและสง ออก 227
11.6 แบบฝก หัดบทท่ี 11 227
233
12 เทคโนโลยีและสารสนเทศในงานโลจิสติกส
12.1 บทนํา 239
12.2 ความสาํ คัญของเทคโนโลยีและสารสนเทศในงานโลจิสตกิ ส 239
12.3 ความสําคญั ของเทคโนโลยแี ละสารสนเทศในงานโลจสิ ติกส 240
แบบฝกหัดบทท่ี 12 254

บรรณานุกรม 259

ix

สารบัญตาราง หนา

ตารางท่ี 5
14
1.1 เปรียบเทียบวิวฒั นาการทางโลจิสติกส
1.2 เปรียบเทียบความหมายและวัตถุประสงคแ นวคิดดา นโลจสิ ติกสใ น 67

อนาคต 71
4.1 คาพยากรณโดยวิธีคาเฉล่ยี เคล่ือนท่ีอยา งงาย (Simple Moving 72
75
Average) 86
4.2 คา พยากรณท ่ีไดจ ากวธิ กี ารปรับเรยี บแบบเอ็กซโ พแนนเชยี ล 107
4.3 คา พยากรณโ ดยการใชตัวแบบการถดถอยเชงิ เสน 116
4.4 ตวั อยางการคํานวณความแมนยาํ ในการพยากรณ 118
5.1 ตารางแสดงความแตกตางระหวางการจดั ซื้อและจดั หา 151
6.1 แนวคิดการจา งเหมาแรงงานภายนอก (Outsourcing)
6.2 แสดงผลการประเมนิ ผูสงมอบแตล ะราย 153
6.3 แสดงแบบฟอรม การใหคะแนน 153
8.1 การเปรยี บเทียบความแตกตา งระหวา งคลงั สินคา กบั ศนู ยกระจาย 189
206
สินคา
8.2 การเปรียบเทียบขอ ดีและขอเสยี ของคลังสาธารณะ
8.3 การเปรียบเทยี บขอดีและขอเสียของคลงั สว นตัว
9.1 ความแตกตา งระหวา งระบบ VMI และระบบ E-Ordering
10.1 ตารางสรุปขอเดนขอดอยของรูปแบบการขนสง

x หนา

สารบญั ภาพ 5
11
ภาพที่ 21
22
1.1 กระบวนการดําเนนิ งานดา นโลจิสตกิ ส 23
1.2 กจิ กรรมโลจสิ ตกิ ส 27
2.1 องคประกอบหลกั ของธรุ กิจ 28
2.2 ซพั พลายเซน 41
2.3 ความสัมพนั ธระหวางการจัดการโลจสิ ติกสแ ละซพั พลายเชน 42
2.4 แสดงใหเห็นถงึ โครงขา ย Supply Chain 45
2.5 ซพั พลายเชนปลากระปอง 89
3.1 การบริการลกู คา 92
3.2 ปรากฏการณแสมา 131
3.3 การประมวลคาํ สั่งซอ้ื 135
5.1 Order Processing and Activities 146
5.2 ขนั้ ตอนของกลยทุ ธก ารจดั ซื้อ 147
7.1 ววิ ัฒนาการของ CRM และ SCRM 148
7.2 รปู แบบการบรหิ ารความสมั พันธก บั ซพั พลายเออร 155
8.1 คลังสนิ คา (Warehouse) 156
8.2 การคลังสินคา (Warehousing) 156
8.3 ศูนยก ระจายสินคา (Distribution Center) 157
8.4 Cross Dock 158
8.5 คลังสนิ คา หองเย็น
8.6 คลงั สินคา ทัณฑบน
8.7 คลังสนิ คาสําหรับพชื ผลเฉพาะอยา ง
8.8 คลังน้าํ มันจดั เปนคลงั สนิ คาที่มีลักษณะเปน กองใหญ

xi

สารบญั ภาพ (ตอ) หนา
171
ภาพท่ี 172
9.1 วตั ถุดบิ 173
9.2 ชิ้นสว นทสี่ ่ังซ้ือมาและวัสดุสน้ิ เปลือง 173
9.3 โครงสรา งตนทุนโลจิสตกิ สข องประเทศไทย ป 2551-2556 177
9.4 กราฟแสดงตนทุนสินคาคงคลัง Inventory Cost 180
9.5 สนิ คา คงคลงั เพื่อความปลอดภยั 181
9.6 อุปสงคอิสระ และ อุปสงคพึง่ พา 183
9.7 ระบบสองถัง และ ระบบถงั เดียว 184
9.8 วงจรสนิ คาคงคลงั
9.9 คา ใชจา ยในการเกบ็ รักษา คา ใชจ ายในการสั่งซ้ือ คาเสยี โอกาส 185
188
คา ใชจ ายรวมตอ ป 197
9.10 การจัดเกบ็ สินคาคงคลงั ในการวเิ คราะห เอ บี ซี 197
9.11 ระบบ VMI บนโซอ ปุ ทาน 198
10.1 แสดงถึงคาราวานการคาในสมัยกอน 198
10.2 แสดงถึงการเดนิ ทางของคณะละครสตั ว
10.3 หวั รถจกั รไอนาํ้ รนุ แปซิฟค ใชเ ม่ือปค.ศ. 1949-1951 199
10.4 รถรางในกรุงเทพ โดยการไฟฟา นครหลวงเร่มิ ใช ค.ศ.1894 200
201
จนถงึ ป ค.ศ. 1968 207
10.5 ภาพเครอ่ื งยนตส นั ดาปภายใน 4 จงั หวะ และเคร่ืองยนตดีเซล 223
10.6 เซี่ยงไฮแ มก็ เลฟ 223
10.7 สดั สว นการเลอื กใชร ูปแบบการขนสง ภายในประเทศ
10.8 ภาพแสดงปจ จยั ท่ีสง ผลตอ การเลือกใชร ปู แบบการขนสง
11.1 บรรจุภัณฑเ ฉพาะหนวย
11.2 บรรจภุ ัณฑช ั้นใน

xii

สารบญั ภาพ (ตอ) หนา
224
ภาพที่ 227
11.3 บรรจุภัณฑช ้ันนอกสดุ 242
11.4 ฉลากสนิ คาเพือ่ ส่งิ แวดลอ ม 242
12.1 ภาพแสดงบารโ คด 1 มิติ 247
12.2 ภาพแสดงบารโคด 2 มติ ิ 250
12.3 ความแตกตาง ระหวาง E-Business กับ E-Commerce 251
12.4 โปรแกรม warehouse management system
12.5 วิธีการหยบิ สินคาโดยการเชือ่ มโยงโปรแกรมWMSกบั Mobile 252

network
12.6 ระบบจัดเกบ็ อตั โนมัติ ระบบ Rack

xiii

คําอธิบายรายวชิ า

20 2110 การจัดการโลจสิ ติกส
Logistics Management

บทบาทและความสําคัญของการโลจิสติกสและซัพพลายเชนในระบบธุรกิจ การ
ดําเนินงานของกิจกรรมโลจิสติกส การวางแผนและการพยากรณ การคัดเลือกและการจัด
จางภายนอก (Outsourcing) การสรางพันธมิตรทางธุรกิจ การจัดการคลังสินคาและสินคา
คงคลัง การออกแบบบรรจุภัณฑ การวางแผนการขนสงและกระจายสินคา เทคโนโลยี
สารสนเทศในกิจกรรมโลจิสติกส และกรณีศึกษาการประยุกตใชการจัดการโลจิสติกส
และซัพพลายเชนในระบบธรุ กิจ
วชิ าบงั คบั กอน ไมม ี

xiv

รายการสอน

สปั ดาห หวั ขอ จํานวน วัตถปุ ระสงค กจิ กรรม

ที่ ชั่วโมง

สอน

1 ค ว า ม รู ทั่ ว ไ ป เก่ี ย ว กั บ 3 เพื่อใหสามารถ 1 ทําแบบฝก หดั ทายบท

โลจิสติกส 1 อธบิ ายความเปน มา และ 2 ทบทวนบทเรียนตามท่ีไดเรียน

1 ความเปนมาและวิวัฒนาการ วิวัฒนาการของการจดั การ ไป

ของการจดั การโลจิสติกส โลจสิ ตกิ สไ ด 3 ศึกษาเพิ่มเติมและทดลองทํา

2 บทบาทของโลจิสติกสตอ 2 เชื่อมโยงกิจกรรมดานโลจิ แบบฝกหัดในหัวขอที่ไดเรียนไป

องคก ารและเศรษฐกจิ สติกสก บั องคกรได จากหนังสือเลมอน่ื ๆ

3 ความหมายของการจัดการ 3 อธิ บายความหมายและ 4 เตรียมเนื้อหาสาระความรู

โลจิสติกส เปาหมายของการจัดการโลจิ สําหรับท่ีจะเรียนประจําสัปดาห

4 เปาหมายของการจดั การ สติกสไ ด ตอไป

โลจิสตกิ ส 4 อธิบายไดวากิจกรรมโลจิ

5 กิจกรรมโลจสิ ตกิ ส สติกสม กี ี่ประเภท อะไรบา ง

6 แนวคดิ โลจสิ ติกสใ นอนาคต

2 โลจสิ ติกสแ ละซัพพลายเชน 3 เพ่ือใหสามารถ 1 ใหท ําแบบฝก หัดทายบททุกขอ

ในระบบธรุ กจิ 1 อธิบายความหมายของ 2 ใหท บทวนเรยี นตามทไ่ี ดเ รยี น

1 บทนํา การจดั การซพั พลายเชนได ไป

2 ความหมายของการจดั การ 2 อธิบายระดับของการ 3 ใหศ ึกษาเพิ่มเติมและทดลอง

ซัพพลายเชน บรหิ ารจัดการซพั พลายเชน ทาํ แบบฝก หดั ในหัวขอ ท่ไี ดเรยี น

3 ความสําคัญของการจัดการ ได ไปจากตาํ ราเลม อนื่ ๆ

ซพั พลายเชน 3 เขาใจถงึ แนวทางการนาํ 4 ใหเ ตรียมเนือ้ หาสาระความรู

4 ความสัมพันธระหวางการ ซัพพลายเชนเขาไปประยุกตใช สาํ หรับทีจ่ ะเรยี นประจาํ สปั ดาห

จั ด ก า รโล จิ ส ติ ก ส แ ล ะ โซ ได ตอ ไป

อุปทาน 4 สามารถเขยี นโครงขา ย

5โครงขายซพั พลายเชน ซัพพลายเชนได

6 ประโยชนของการจดั การซพั พลาย

เชน

7แนวคิดดานการจดั การซัพพลาย

เชนในอนาคต

8 กรณีศึกษา

xv

สปั ดาห หัวขอ จํานวน วัตถปุ ระสงค กจิ กรรม
ที่ ชัว่ โมง
สอน เพอ่ื ใหส ามารถ 1 แบบฝก หัดทา ยบททุกขอ
3 กิจกรรมโลจิสตกิ ส 1 อธิบายถึงกิจกรรมโลจิ 2 ทบทวนบทเรียน
1 บทนํา 3 ส ติ ก ส ได วา มี กี่ ป ระ เภ ท 3 ศึกษาคน ควา
2 กิจกรรมโลจสิ ติกส อะไรบาง 4 ขอ มูลเพิ่มเติมจากแหลง อืน่
3 กรณีศกึ ษา 3 2 อธิบายขอบเขตงานของ 5 ศึกษาบทเรียนประจําสัปดาห
แตละกิจกรรมดานโลจสิ ตกิ ส ตอ ไป
4 การพยากรณความตอ งการ 3 ได
1 ความหมายการพยากรณ เพื่อใหสามารถ 1 แบบฝกหัดทา ยบททุกขอ
2 ความสําคญั ของการ 1 อธิบายความหมายและ 2 ทบทวนบทเรยี น
พยากรณ ความสาํ คญั ของการ 3 ศกึ ษาคนควา
3 กระบวนการพยากรณ พยากรณไ ด 4 ขอมลู เพิม่ เตมิ จากแหลง อนื่
4 ประเภทของการพยากรณ 2 สามารถเขาใจถึง 5 ศึกษาบทเรียนประจําสัปดาห
5 การประเมินความแมนยาํ กระบวนการพยากรณได ตอ ไป
ของการพยากรณ 3 สามารถใชเ ทคนคิ การ
6 แนวทางในการเลอื กเทคนิค พยากรณและประเมินความ 1 แบบฝก หัดทา ยบททกุ ขอ
สําหรบั การพยากรณ แมนยําได 2 ทบทวนบทเรยี น
3 ศึกษาคนควา
5 การจดั ซอ้ื จดั หา เพื่อใหสามารถ 4 ขอ มลู เพม่ิ เติมจากแหลงอื่น
1 ความหมายของการจัดซอื้ 1 อธิบายถึงขอ แตกตา งของ 5 ศึกษาบทเรียนประจําสัปดาห
2 ความหมายของการจัดหา การจัดซ้ือและจดั หา ตอไป
3 ความแตกตา งระหวา งจดั ซ้ือ 2 อธบิ ายประเภทของผูส ง
และจัดหา มอบไดใ นงานจัดซื้อได
4 พฒั นาการของการจัดซอ้ื 3 เขาใจวัตถุประสงคข อง
จัดหา การจัดซอื้
5 วัตถปุ ระสงคข องการจดั ซ้อื 4 อธบิ ายถึงกลยุทธก าร
และจัดหา จัดซอ้ื จดั หาได
6 นโยบายการจดั ซอื้ และจดั หา 5 อธิบายการจดั ซ้ือจัดหาสี
(7R’s) เขยี วได
7 กระบวนการจัดซื้อ 6 อธิบายถึงองคการจัดซือ้
8 ประเภทของผูสง มอบในงาน ทง้ั 2 ลักษณะได
จดั ซ้ือ
9 กลยุทธใ นงานจัดซอ้ื

xvi

สัปดาห หวั ขอ จํานวน วัตถปุ ระสงค กิจกรรม
ท่ี ชั่วโมง
สอน 1 แบบฝก หัดทา ยบททุกขอ
10 การวัดประสิทธภิ าพในงาน 2 ทบทวนบทเรยี น
จัดซ้ือ 3 เพือ่ ใหสามารถ 3 ศกึ ษาคนควา
11 องคการจดั ซ้ือ 1 อธิบายความหมายของ 4 ขอมูลเพ่ิมเติมจากแหลงอื่น
12 การจัดซ้ือจัดหาสเี ขียว การคัดเลือกและการจดั จา ง 5 ศึกษาบทเรียนประจําสัปดาห
6 การคดั เลอื กและการจดั จาง ภายนอก ตอ ไป
ภายนอก 2 อธิบายประโยชน ขอดี-
1 ความหมายของการจัดจา ง ขอเสยี ของการจดั จา ง
ภายนอก ภายนอก
2 แนวคดิ เกย่ี วกับการจัดจา ง 3 เขา ใจถึงวิธกี ารประเมิน
ภายนอก ผูขายทงั้ 3รูปแบบ
3 ประโยชนของการจัดจา ง 4 อธบิ ายถึงหลักเกณฑใ น
ภายนอก การพิจารณาจางพนกั งาน
4 รปู แบบการจัดจางภายนอก จา งเหมาบริการ
5 ประเภทของการจางเหมา 5 อธบิ ายประเภทของการ
ภายนอก จา งเหมา
6 หลักเกณฑในการพจิ ารณา 6 อธบิ ายเหตุผลของการ
จา งพนักงานจา งเหมาบรกิ าร ตดั สนิ ใจในการจัดหาจาก
7 ขอดี-ขอ เสยี การจัดจาง ภายนอก
ภายนอก
8 เหตุผลในการตัดสนิ ใจจดั หา
จากภายนอก
9 ความหมายของการคัดเลอื ก
10 แนวคดิ ในการคดั เลือก
ผขู ายปจจัยการผลติ
11 การคัดเลือกและประเมนิ
ผูข าย

7 สอบกลางภาคเรียน

xvii

สัปดาห หวั ขอ จาํ นวน วัตถปุ ระสงค กิจกรรม

ที่ ช่วั โมง

สอน

8 การบรกิ ารลูกคา 3 เพอ่ื ใหสามารถ 1 ใหท าํ แบบฝก หดั ทา ยบททกุ ขอ

และการบริหารความสัมพันธ 1 อธิบายความสําคัญของ 2 ใหทบทวนบทเรียนตามที่ได

ลูกคา การบริการลูกคา และระดับ เรยี นไป

1 ความสําคัญของการบริการ ในการบรกิ ารลูกคาได 3 ใหศ กึ ษาเพ่ิมเตมิ และทดลอง

ลกู คา 2 อธิบายถงึ ความเปน มาของ ทําแบบฝก หดั ในหวั ขอ ท่ไี ดเรียน

2 ระดับการใหบรกิ ารลกู คา การบริหารความสัมพันธ ไปจากหนงั เลมอื่น ๆ

3 การบริหารความสัมพันธ ลกู คา 4 ใหเตรยี มเน้ือหาสาระความรู

ลูกคา 3 ประโยชนของการบริหาร สาํ หรบั ทจ่ี ะเรยี นประจาํ สัปดาห

4 ประโยชนข องการบรหิ าร ความสมั พนั ธลูกคา ตอธรุ กจิ ตอ ไป

ความสัมพนั ธลกู คาตอธุรกิจ 4 อธบิ ายไดวาการบริหาร

5 การบริหารความสัมพนั ธ ความสัมพันธลกู คา สามารถ

ลกู คา ใชกับใครไดบาง ใชก บั ใครไดบ า ง

6 แบบจําลองการสรา งสัมพันธ

9 การบริหารคลังสนิ คาและ 3 เพอื่ ใหส ามารถ 1 ใหทาํ แบบฝกหดั ทายบททุกขอ

ศูนยก ระจายสินคา 1 อธิบายความหมายและ 2 ใหทบทวนบทเรียนตามท่ีได

1 ความหมายของคลังสนิ คา ความแตกตางของคลังสินคา เรียนไป

2 วัตถุประสงคและประโยชน และศูนยก ระจายสนิ คา ได 3 ใหศึกษาเพิ่มเติมและทดลอง

ของคลังสินคา 2 อธิบายถึงวัตถุประสงค ทําแบบฝกหัดในหัวขอที่ไดเรียน

3 ก า ร แ บ งป ร ะ เภ ท ข อ ง และประโยชนของคลังสินคา ไปจากหนังเลมอื่น ๆ

คลงั สินคา และศูนยกระจายสนิ คาได 4 ใหเตรียมเน้ือหาสาระความรู

4 กระบวนการพนื้ ฐานที่สําคัญ 3 แ บ ง ป ร ะ เ ภ ท ข อ ง สําหรับที่จะเรียนประจําสัปดาห

ในการบรหิ ารคลังสินคา คลังสินคาตามประเภทตางๆ ตอ ไป

5 การพฒั นาประสทิ ธิภาพการ ได

จัดการคลงั สนิ คา 4 อธบิ ายความสัมพนั ธข อง

6 ความสัมพนั ธข องคลงั สินคา คลงั สินคากับกจิ กรรมอ่ืนๆ

กบั กจิ กรรมโลจิสติกสอ ื่นๆ ของโลจสิ ตกิ สไ ด

xviii

สปั ดาห หัวขอ จํานวน วตั ถปุ ระสงค กจิ กรรม

ที่ ชว่ั โมง

สอน

10 การบรหิ ารสินคาคงคลงั 3 เพอ่ื ใหส ามารถ 1 ใหทาํ แบบฝก หดั ทายบททุกขอ

1 ความหมายสนิ คาคงคลงั 1 อธิบายความหมายของ 2 ใหทบทวนบทเรียนตามที่ได

2 ประเภทของสินคาคงคลงั สนิ คาคงคลังและการจัดการ เรยี นไป

3 วัตถุประสงคของสินคาคง สินคา คงคลังได 3 ใหศึกษาเพิ่มเติมและทดลอง

คลงั 2 อ ธิ บ า ย ถึ ง ป ร ะ เภ ท ทําแบบฝกหัดในหัวขอท่ีไดเรียน

4 ตน ทนุ ของสินคาคงคลัง วัตถุประสงคของสินคาคง ไปจากหนงั เลม อืน่ ๆ

5 เหตุผลในการลดสินคาคง คลงั ได 4 ใหเตรียมเน้ือหาสาระความรู

คลงั 3 อธบิ ายตน ทุนของสนิ คาคง สําหรับท่ีจะเรียนประจําสัปดาห

6 สิ น ค า ค งค ลั งแ ล ะ แ น ว คลงั ได ตอไป

ทางการจดั การสนิ คาคลงั 4 บอกเหตุผลของการลด

7 เทคนิคการตรวจสอบสินคา ปริมาณสินคา คงคลงั ได

คงคลงั 5 อ ธิ บ า ย แ น ว ท า งก า ร

8 ปริมาณการส่งั ซ้ือทป่ี ระหยดั บริหารสินคา คงคลังได

9 การจัดเก็บสินคาคงคลังใน 6 ท ร า บ เท ค นิ ค ก า ร

การวิเคราะห เอ บี ซี (ABC ตรวจสอบสินคา คงคลังได

Analysis) 7 อธิบายปรมิ าณการส่ังซ้ือที่

10 บทบาทของสินคา คงคลงั ใน ประหยดั

ซัพพลายเชน (Supply Chain) 8 อธิบายวิธีการการจัดเก็บ

11 ระบบ VMI หรือ Vendor สินคาคงคลงั ในการวิเคราะห

Managed Inventory เอ บี ซี (ABC Analysis)

9 อธิบายถึงบทบาทของ

สนิ คา คงคลังในซัพพลายเชน

ได

10 อธิบายระบบ VMI ได

xix

สัปดาห หัวขอ จาํ นวน วัตถุประสงค กิจกรรม

ท่ี ชั่วโมง

สอน

11 การขนสง 3 เพื่อใหสามารถ 1 ใหท าํ แบบฝก หัดทา ยบททุกขอ

1 ความเปน มาและววิ ัฒนาการ 1 อธบิ ายความเปนมา และ 2 ใหทบทวนบทเรียนตามที่ได
ของการขนสง ววิ ัฒนาการของการขนสงได เรยี นไป
2 ความหมายของการขนสง 2 เชื่อมโยงขอเดน และตวั 3 ใหศ ึกษาเพมิ่ เตมิ และทดลอง
3 อรรถประโยชนข องการ สนิ คา ท่ีตองการจะขนสงได ทาํ แบบฝกหดั ในหวั ขอ ท่ไี ดเรียน
ขนสง 3 อธบิ ายความหมายและ ไปจากหนังเลมอืน่ ๆ
4 รูปแบบของการขนสง อรรถประโยชของการขนสง 4 ใหเตรียมเนือ้ หาสาระความรู
5 ปจจยั ท่สี งผลตอการเลือกใช ได สาํ หรับท่จี ะเรียนประจําสปั ดาห
รูปแบบการขนสง 4 อธิบายไดวาการขนสงมีก่ี ตอไป
6 การขนสง ตอเน่อื งหลาย รปู แบบ อะไรบา ง แตละ
รปู แบบ รปู แบบมีขอเดน ขอ ดอ ย
7 การขนสงเพื่อการทองเทีย่ ว อยางไร

8 การขนสง สเี ขียว

12 การออกแบบบรรจุภณั ฑ 3 เพอื่ ใหสามารถ 1 ใหท าํ แบบฝก หัดทา ยบททกุ ขอ
1 อธบิ ายความหมาย บทบาท 2 ใหทบทวนบทเรียนตามท่ีได
1 บทนํา หนา ที่ และประเภทของบรรจุ เรียนไป
ภัณฑได 3 ใหศึกษาเพิ่มเติมและทดลอง
2 ความหมาย 2 อธิบายกลยุทธการตลาดสี ทําแบบฝกหัดในหัวขอที่ไดเรียน
เขยี วกบั การบรรจุภัณฑได ไปจากหนังสอื เลม อ่นื ๆ
3 บทบาทหนาท่ีของบรรจุ 3 อธิบายปจจยั ของบรรจุ 4 ใหเตรียมเนื้อหาสาระความรู
ภัณฑเพ่อื การนําเขาและ สําหรับท่ีจะเรียนประจําสัปดาห
ภัณฑ สงออกได ตอ ไป

4 ประเภทของบรรจภุ ณั ฑ

5 กลยุทธการตลาดสีเขียวกับ

การบรรจุภณั ฑ

6 บรรจภุ ณั ฑเพ่อื การนาํ เขา และ

สงออก

13 เทคโนโลยแี ละสารสนเทศใน 3 เพอื่ ใหส ามารถ 1 ใหท าํ แบบฝก หัดทา ยบททุกขอ

งานโลจสิ ติกส 1 อธิบายความหมาย ความ 2 ใหทบทวนบทเรียนตามท่ีได

1 บทนาํ สํ า คั ญ ป ร ะ โย ช น ข อ ง เรียนไป

2 ความสําคัญของเทคโนโลยี เทคโนโลยีและสารสนเทศใน 3 ใหศึกษาเพิ่มเติมและทดลอง

แ ล ะ ส า ร ส น เท ศ ใ น ง า น โ ล จิ งานโลจิสตกิ สไ ด ทําแบบฝกหัดในหัวขอท่ีไดเรียน

สตกิ ส 2 เชื่อมโยงความสัมพันธ ไปจากหนังเลม อ่ืน ๆ

3 ตัวอยางและประโยชนของ ระ ห วางเท ค โน โลยี แ ล ะ 4 ใหเตรียมเน้ือหาสาระความรู

xx

สัปดาห หัวขอ จํานวน วตั ถุประสงค กจิ กรรม

ท่ี ชัว่ โมง

สอน

เท ค โ น โ ล ยี ส า ร ส น เท ศ ท่ี นํ า สารสนเทศในงานโลจิสติกส สําหรับที่จะเรียนประจําสัปดาห

ประยกุ ตใ ชง านในโลจสิ ติกส กับองคก ารได ตอ ไป

3 อ ธิ บ า ย ลั ก ษ ณ ะ ข อ ง

เทคโนโลยแี ละสารสนเทศใน

งานโลจิสตกิ สในองคก ารได

4 อธิบายความหนาท่ีของ

เทคโนโลยแี ละสารสนเทศใน

งานโลจิสติกสท่ีมีผลกระทบ

ตอองคก ารได

14 สอบปลายภาค

ค ว า ม รู ท่ั ว ไ ป เ กี่ ย ว กั บ โ ล จิ ส ติ ก ส | 1

รายละเอยี ดการสอน
ประจาํ สัปดาหท ี่ 1 (จาํ นวน 3 ชว่ั โมง)

หัวขอ การสอน : ความรทู ั่วไปเกย่ี วกบั โลจสิ ติกส
จดุ ประสงคการสอน เพอ่ื ใหสามารถ

1. อธิบายความเปนมา และววิ ัฒนาการของการจดั การโลจิสตกิ สได
2. เชอื่ มโยงกจิ กรรมดานโลจิสตกิ สกบั องคก รได
3. อธบิ ายความหมายและเปาหมายของการจดั การโลจสิ ติกสไ ด
4. อธิบายไดวากิจกรรมโลจสิ ติกสม ีก่ปี ระเภท อะไรบาง

รายการสอน

1.1 บทนาํ
1.2 ความเปนมาและววิ ฒั นาการของการจดั การโลจิสติกส
1.3 บทบาทของโลจสิ ติกสตอองคก ารและเศรษฐกจิ
1.4 ความหมายของการจดั การโลจิสติกส
1.5 เปาหมายของการจดั การโลจิสติกส
1.6 กจิ กรรมโลจสิ ติกส
1.7 แนวคดิ โลจสิ ตกิ สใ นอนาคต

วธิ ีการสอน

บรรยาย ถาม – ตอบ

หนงั สือ / เอกสารประกอบการสอน

กมลชนก สทุ ธวิ าทนฤพุฒิ และคณะ. การจัดการโซอ ปุ ทานและโลจสิ ตกิ ส. กรงุ เทพฯ : แมคกรอ-ฮลิ , 2546.
กอเกยี รติ วิรยิ ะกจิ พัฒนา.โลจสิ ตกิ สแ ละโซอปุ ทาน.กรงุ เทพฯ :สํานักพิมพว งั อักษร, 2549.
คาํ นายอภปิ รชั ญาสกุล.โลจสิ ตกิ สและโซอุปทานกรงุ เทพฯ:บริษทั โฟกสั มีเดยี แอนด พับลชิ ช่ิงจาํ กดั ,2537.
ชยั ยนต ชโิ นกลุ . การจดั การโซอุปทานและลอจสิ ติกส. กรุงเทพฯ : ศูนยห นังสือมหาวิทยาลยั ศรปี ทุม , 2548.
สาขาวิชาการจดั การโลจิสติกส คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยธนบุรี.(2561). เอกสารประกอบการ

สอนวิชา การจัดการโลจิสติกสและซัพพลายเชน (Logistics and Supply Chain
Management) พิมพค รง้ั ที่ 4. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธนบรุ ี

2 | ค ว า ม รู ทั่ ว ไ ป เ ก่ี ย ว กั บ โ ล จิ ส ติ ก ส

โสตทศั นวัสดุ

บอรดขาว ปากกา แผนบันทกึ ขอ มูล เครอ่ื งคอมพวิ เตอร เคร่ืองฉายภาพ

การประเมนิ ผล

ถาม – ตอบในช้ันเรยี น
ทดสอบยอ ยในช้นั เรยี น
ตรวจการทําแบบฝกหดั ทายบท
ผลการสอบประจาํ ภาคการศึกษา

งานทีม่ อบหมาย

1. ใหท ําแบบฝก หัดทา ยบททุกขอ
2. ใหทบทวนบทเรียนตามทีไ่ ดเ รียนไป
3. ใหศกึ ษาเพิ่มเติมและทดลองทาํ แบบฝก หดั ในหัวขอ ท่ไี ดเรยี นไปจากหนงั สอื เลม อ่ืน ๆ
4. ใหเ ตรยี มเนอื้ หาสาระความรสู ําหรับท่ีจะเรียนประจําสัปดาหต อไป

ค ว า ม รู ทั่ ว ไ ป เ กี่ ย ว กั บ โ ล จิ ส ติ ก ส | 3

บทท่ี 1
ความรูท่วั ไปเกยี่ วกบั โลจสิ ติกส

1.1 บทนํา

ปจจุบันองคการไมวาจะภาครัฐหรือภาคเอกชน ลวนแตใหความสนใจและต่ืนตัวกับคําวา
“การจัดการโลจิสติกส” โดยท่ยี ังไมมีความเขา ใจท่ีชัดเจนวาการจัดการโลจิสติกสน้ันคืออะไร รูเพียง
วาเปนวทิ ยาการที่จะสามารถนํามาปฏบิ ัติตามเพ่ือลดตนทุนในกระบวนการตางๆ ของธุรกจิ ได ดงั นั้น
การจัดการโลจิสติกสจึงมีผลโดยตรงตอองคการและระบบเศรษฐกิจของประเทศ หากองคการหรือ
ประเทศใดมีระบบโลจสิ ตกิ สท เี่ ขมแขง็ ก็จะมีการเงินหรือระบบเศรษฐกจิ ท่ีเขม แขง็ ตามไปดว ย และจะ
สามารถทําใหองคการหรือประเทศนนั้ ๆ มีศักยภาพในการแขง ขันในสภาวะแวดลอ มปจ จุบนั ได

1.2 ความเปนมาและวิวัฒนาการของการจัดการโลจสิ ตกิ ส

โลจสิ ตกิ สท างการทหาร คําวาโลจิสติกสม บี ทบาทอยา งชัดเจนและเร่ิมเปน ท่ีรูจักและถูกให
ความสําคัญ จากการกําชัยชนะของฝายสัมพันธมิตรในสงครามโลกคร้ังที่ 2 ระหวางป ค.ศ.1939 –
1945 และชัยชนะในสงครามอาวเปอรเซีย ซ่ึงการกําชัยชนะคร้ังน้ันเปนผลมาจากาการกระจาย
ยุทธภัณฑและกําลังพลที่มีประสิทธิภาพกับคูตอสู หรือถาจะศึกษาใหลึกขึ้นก็จะพบวาโลจิสติกสท าง
การทหารน้ันมีมาอยางยาวนาน ดังทพี่ บในหนังสอื “Alexander the Great” ที่ไดก ลา วถึงวิธกี ารนํา
กิจกรรมทางโลจิสติกสมาสนับสนุนกิจกรรมของกองทัพของพระเจาอเล็กซานเดอร กษัตรยแหงราช
อาณาจักกรกี คือการที่ทานไดออกคาํ ส่งั ใหม ีการสรางที่เก็บเสียงและอาหาร สําหรบั สตั วและไพรพล
ไวทุกๆ 30 กิโลเมตร เพื่อใหทหารนั้นพกพาเสบียงและอาหารไปเทาท่ีจําเปนเทานั้น ดังนั้นกองทัพ
ของพระองคจงึ สามารถเคลอ่ื นพลไดเ ร็วกวา และมปี ระสิทธภิ าพมากกวา

โลจิสติกสทางธุรกิจ หลังจากสงครามโลกคร้ังท่ี 2 ไดจบลง ชวงป ค.ศ.1950 เกิดการ
ขยายตวั ของธุรกิจและความตองการในตวั ผลิตภัณฑเปนจํานวนมาก ซ่ึงในชวงแรก ๆ ธุรกิจน้ันจะใช
กิจกรรมทางโลจิสติกสในแงมุมของ การเพ่ิมประสิทธิภาพทางการผลิตที่สามารถผลิตไดเปนจํานวน
มาก ๆ (Mass Product) เนื่องจากเปนความสามารถท่ีไดถูกพัฒนาขึ้นในชวงท่ีมีสงครามน่ันเอง
แตก็ยังประสบปญหาในแงของการกระจายสินคาไปยังผูบริโภค จนเขาสูชวงป ค.ศ.1955 แนวโนม
อํานาจในการซ้ือจะขึ้นอยูกับผูบริโภค เนื่องจากการผลิตสินคาท่ีมีความคลายคลึงกัน จึงไมมีความ
แตกตางในตัวสินคา ธุรกิจจึงตอ งแขงขันในเรื่องชองทางการจัดจําหนายที่สามารถเขาถึงผูบริโภคให
ไดมากที่สดุ จงึ เร่ิมมีการนาํ เอากลยุทธใ นการกระจายสินคา เพ่ือใหส นิ คาไปถงึ มือผูบ รโิ ภคไดเร็ว และ

4 | ค ว า ม รู ท่ั ว ไ ป เ กี่ ย ว กั บ โ ล จิ ส ติ ก ส

งายกวาคูแขง กิจกรรมโลจสิ ติกสในชวงนี้จึงเนนในเรือ่ งของการนําสินคาออกจากผูผลิตเพื่อสงไปยัง
ผบู รโิ ภค (Outbound Logistics) เขามาใชอยางแพรห ลาย

เขาสูชวงป ค.ศ. 1965 – 1975 เปนชวงท่ีธุรกิจเริ่มมีการปรับเอากระบวนการนําเขา
วัตถุดิบหรือวัสดุ เพ่ือเขาสูกระบวนการผลิต (Inbound Logistics) เนื่องจากการกระจายสินคาให
ครอบคลุมกลุมผูบริโภคทั้งหมดน้ันกอใหเกิดความพึงพอใจและ ยอดขายท่ีสูงขึ้นก็จริงแตในทาง
กลับกันก็เกิดคาใชจายในการกระจายสินคาและการจัดเก็บสินคาเพ่ือตอบสนองความตองการของ
ลูกคา อยางมหาศาลดว ยเชน กนั ดงั น้ันธุรกจิ จึงมีการนํากระบวนการโลจิสตกิ สในแงข องการประมาณ
การวัสดุหรือวัตถดุ ิบท่ีจะเขาสูกระบวนการผลิตและมีการจัดเกบ็ วัสดุคงคลังเพ่ือปองกันการความไม
แนนอนในกระบวนการผลิตและกระบวนการกระจายสินคา ดังน้ันในชวงปนี้จึงมีการทํากิจกรรม
ทางโลจิสติกสทั้งฝงขาเขา (Inbound Logistics) และฝงขาออก (Outbound Logistics) แตยังมอง
กิจกรรมแยกกนั อยางชดั เจน

เขาสูชวงป ค.ศ.1980 จนถึงปจจุบัน เปนชวงท่ีเศรษฐกิจโลกซบเซาและเกิดความไม
แนนอนของกําลงั ซ้ือทวั่ โลกและเกดิ ความผนั ผวนในการติดตอ ประสานงานในระบบเศรษฐกจิ ระหวา ง
ประเทศ จึงทําใหนักโลจิสติกสริเร่ิมการบริหารโลจิสติกสแบบองครวม ไมมองแยกเปนขาเขา หรือ
ขาออก แตจะพยายามบริหารจัดการโลจิสติกสใหเปนการบริหารภายใตทีมงานเดียวกัน
เพื่อประสิทธิภาพท่ีสูงที่สุดและเกิดความพึงพอใจมากที่สุด โดยมีการประยุกตเอาเทคโนโลยี
สารสนเทศ เขามาชวยบริหารจัดการผานโปรแกรมสําเร็จรูปเชน การแลกเปล่ียนขอมูลทาง
อิเล็กทรอนิกส (Electronic Data Interchange : EDI) เปนโปรแกรมท่ีชวยใหการสงขอมูลตางๆ
งายและรวดเร็วขึ้น อาทิ คาํ ส่ังซอื้ หรือขอมูลในการขนสง โปรแกรมทชี่ วยจัดการสายงานทุกสายงาน
ของธุรกิจใหสามารถเขาถึงขอมูลไดอยางรวดเร็ว และไดขอมูลท่ีถูกตองแมนยํา สามารถนําไปใช
ประกอบการดําเนินกิจกรรมของธุรกิจได และผูบริหารสามารถเรียกดูขอมูลและตรวจสอบขอมูล
สถานะของบริษัทไดตลอดเวลา อาทิโปรแกรม (Material Requirement Planning : MRP) และ
(Systems, Applications and Products in Data Processing : SAP) เปนตน

โลจิสติกสทางสังคม ในอนาคตกิจกรรมทางดานโลจิสติกสจะมุงเนนในดานการคุณคา
ใหแกสังคมหรือส่ิงแวดลอมเพิ่มเติมจากคุณคาเดิม ๆ เน่ืองจากประเด็นปญหาดานสิ่งแวดลอมและ
ภยั ธรรมชาตทิ ี่นบั วันจะทวีความรุนแรงมากยงิ่ ขึ้น และเปนที่หลีกเลี่ยงไมไ ดเ ลยท่ีองคกรธรุ กิจจะตอ ง
ถูกโจมตีในฐานะผูกอมลภาวะข้ึน ดังนั้นกิจกรรมโลจิสติกสซ่ึงเปนกิจกรรมท่ีขับเคลื่อนธุรกิจนั้น
จะตอ งรว มรบั ผิดชอบในพนั ธะกรณนี ้ดี วยอยา งหลีกเล่ียงไมไ ด โดยท่ีเราไดเ ห็นกันในปจจบุ ันบางแลว
ในกิจกรรมการผลิต อาทิ การพูดถึงคารบอนเครดิต และคารบอน ฟุตพริ้น ท่ีจะมีมาตราการท้ังไม

ค ว า ม รู ทั่ ว ไ ป เ ก่ี ย ว กั บ โ ล จิ ส ติ ก ส | 5

แข็งและไมออ นมาบังคับใชใหโ รงงานอุตสาหกรรมท้ังหลายหันมาสนใจเร่อื งของส่งิ แวดลอมมากยิง่ ๆ
ขนึ้ ไป
ตารางที่ 1 ตารางเปรียบเทียบวิวฒั นาการทางโลจสิ ติกส

วิวฒั นาการ ผูรบั ผดิ ชอบ กิจกรรม เปา หมาย
โลจสิ ตกิ ส
กองทพั สง กาํ ลงั บํารงุ / การปอ งกันประเทศ
โลจสิ ติกสทาง ปกปองประเทศ/ ประโยชนข องกจิ การ
การทหาร ผปู ระกอบการ/ กิจกรรมของประเทศ ประโยชนข องสงั คม
เจา ของธุรกจิ กิจกรรมของธรุ กิจ
โลจิสตกิ สท าง ภาครฐั /ภาค
ธรุ กิจ ประชาชน/ภาคธุรกจิ กิจกรรมเพอื่ สังคม

โลจสิ ตกิ สท าง
สังคม

1.3 บทบาทของโลจิสตกิ ส ตอ องคก รและเศรษฐกจิ

คํานาย อภิปรชั ญาสกลุ (2553 : 60) ไดกลาวไวว า การดําเนินการทางธุรกจิ ในแตล ะบริษัท
ในปจจุบันสวนมากตางฝายก็ทํางานของฝายไป ประโยชนในเชิงบูรณาการขององคกรจึงตํ่าลง
เพราะในแตละฝา ยกใ็ ชท รัพยากรของตัวเอง ไมส ามารถใชรวมกัน

INPUT การดำเนนิ งาน OUTPUT
วสั ดุ โลจิสตกิ ส สินคา
เคร่ืองจกั ร บรกิ าร
แรงงาน
เงนิ
การจดั การ

ภาพท่ี 1.1 กระบวนการดาํ เนินงานดา นโลจสิ ตกิ ส คํานาย อภิปรชั ญาสกลุ (2553:60)

6 | ค ว า ม รู ท่ั ว ไ ป เ ก่ี ย ว กั บ โ ล จิ ส ติ ก ส

จากภาพที่ 1.1 เกี่ยวกับกระบวนการดําเนินงาน จะเกิดจากการนําปจจัยปอนเขาคือ
แรงงาน เครอื่ งจักร วัตถุดิบ เงินทุน เขาสูระบบ เพ่ือแปรสภาพเปนสินคาและบริการ การที่จะทําไดดี
หรือไมข้ึนกับการจัดการโลจิสติกสเปนการดําเนินงานแบบสนองอรรถประโยชนในเร่ืองทําเลท่ีตั้ง
(Locational) ซึ่งตนทุนสวนมากอยูท่ีกิจกรรมคลังสินคา และการขนสง จะเห็นวาถาสามารถจัดการ
เปลี่ยนแปลงแตละกิจกรรมมาเปนการรวมตวั กัน เปนกระบวนการโลจิสติกส จะทาํ ใหเกิดการใชปจ จัย
หรือทรัพยากรทั้งระบบแบบมีประสิทธิผล ทําใหผลลัพยที่อยูในรูปของสินคาและบริการมีขนาดใหญ
ขน้ึ สามารถทาํ ใหบ ริษัทสามารถบรรลุเปาหมายและสอดคลอ งกบั กลยทุ ธขององคกรมากขนึ้

ไชยยศ ไชยม่ันคง (2550 : 4 - 5) ไดกลาวไววา บทบาทโลจิสติกสและซัพพลายเชนใน
กระบวนการโลกาภิวัตน: โลกาภิวัตนทางการตลาดและผลิตทําใหการคาและการลงทุนของโลก
ขยายตัวมากขึ้นและมีแนวโนมจะเปนเชนน้ีตอไปในอนาคต การกระจายการผลิตและแหลงซื้อวัสดุ
และสินคาสําเรจ็ รปู ไปตามแหลง ตาง ๆ ของโลกทําใหง านโลจิสติกสและซัพพลายเชนมีความซับซอน
ใชเ วลามากและมีตนทุนสงู วสั ดทุ ซ่ี ื้อจากแหลงผลตตาง ๆ จะนาํ ไปประกอบเปนสินคา ในอีกประเทศ
เสนทางเดินวัสดุมีระยะทางไกลซ่ึงตองการการวางแผนและมีระบบเคลื่อนยายที่ดี อนึ่ง การผลิตใน
ปจจุบันนิยมใชระบบ Just-in-Time Inventory ซ่ึงวัสดุจะมาถึงโรงงานเมื่อตองการใช ระบบการ
ผลิตแบบนี้การสงมอบวัสดุจะตองเชื่อถือได ในการกระจายสินคา (Distribution) จากโรงงานไปยัง
ลูกคาและผูบริโภคมีความสําคัญกับการตลาดของบริษัท บริษัทจะตองมีสินคาพรอมและจะตองสง
มอบใหลูกคาไดรวดเร็วและเช่ือถือได การสงมอบที่รวดเร็วจะชวยใหลูกคาลดตนทุนสินคาคงคลัง
ขณะที่การสงมอบท่ีสม่ําเสมอ (Consistency) ลูกคาไมตองมี Safety Stock การผลิตและ
การบริการลูกคาตามท่ีกลาวมากระบวนการโลจิสติกสและซัพพลายเชนตองมีระบบการจัดการท่ีมี
ประสทิ ธิภาพ

โดยสรปุ แลว บทบาทของงานโลจิสตกิ สท มี่ ผี ลตอ องคกรสามารถแบงเปน ขอ ๆ ไดด งั นี้
1. ชวยใหธุรกิจเกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลในกระบวนการดานโลจิสติกสและ
จัดการซัพพลายเชน
2. ทําใหธ ุรกจิ ปรับตวั รองรับการเปลี่ยนแปลงของการเปด เสรีทางการคา และสามารถ
เพ่ิมกจิ กรรมสําคญั ในการสนบั สนนุ การขายสินคาและบริการ
3. สามารถนําเทคโนโลยีสารสนเทศและระบบการส่ือสารมาประยุกตใช
เพื่อลดระยะเวลาการดําเนินงานในขั้นตอนตางๆ ของกระบวนการผลิตไปจนถึงมือผูบริโภคและ
ซพั พลายเออร ใหมีประสิทธภิ าพมากขึ้น

ค ว า ม รู ท่ั ว ไ ป เ ก่ี ย ว กั บ โ ล จิ ส ติ ก ส | 7

4. เสริมสรางอํานาจแขงขันของธุรกิจเขาดวยกัน ใหเกิดการประสานงานกันอยาง
ตอ เนื่องในการสรางความพงึ พอใจสูงสุดแกลกู คา

5. สรางขอไดเปรียบทางการแขงขัน และยกระดับความพึงพอใจของลูกคาใหเพิ่ม
สูงขนึ้

1.4 ความหมายของการจัดการโลจสิ ตกิ ส

Council of Supply Chain Management Professionals (CSCMP): โลจิสติกส
เปนสวนหน่ึงของกระบวนการซัพพลายเชน เพ่ือชวยในการวางแผน การสนับสนุน การควบคุมการ
ไหลของวัตถุดิบและสินคาใหมีประสิทธิภาพ และประสิทธผิ ล และเก็บรักษาสินคาหรือบริการ และ
สง่ิ ท่ีเกีย่ วของกับขอ มูลจากจุดเรมิ่ ตน ไปยงั จดุ สุดทา ย เพือ่ ตอบสนองความตอ งการของลูกคา

The Institute of Logistics and Transport: โลจิสติกสเป น การวางตําแหนง
ทรัพยากร โดยสมั พันธกับเวลา หรือการจัดการโซอปุ ทานโดยรวม

Council of Logistics Management: โลจิสติกสเปนกระบวนการของการวางแผน
กระบวนการและควบคุมใหเกิดการไหล และการเก็บรักษาวัตถุดิบ สินคาคงคลังที่เปนวัสดุระหวาง
กระบวนการ สินคาสําเร็จรูปและสารสนเทศท่ีเก่ียวของอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล เปน
การประหยดั ตนทนุ ตง้ั แตจ ุดกาํ เนิดไปจนถึงจดุ บริโภคและสนองความตองการของลูกคา

โดยสรุปแลว โลจิสติกส เปนสวนหนึ่งของกระบวนการซัพพลายเชน ที่มุงเนนการบูรณาการ
กิจกรรมทเ่ี กย่ี วของกบั การจัดเก็บ รวบรวม เคลอ่ื นยาย และกระจาย วสั ดุหรือวัตถุดิบ หรอื สินคา หรือ
บริการ หรือสารสนเทศ จากแหลงตนกําเนิด (ตนนํ้า) ไปยังจุดท่ีมีการอุปโภคหรือบริโภค (ปลายน้ํา)
โดยมีเปาประสงคอยู 2 ประการ คือ 1) เร่ืองประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ซึ่งจะสงผลใหมีตนทุนทั้ง
กระบวนการท่ีต่ําลง และ 2) เร่ืองความพึงพอใจของลูกคา ในแงของการไดรับสินคาท่ีมีคุณสมบัติท่ีดี
รวดเร็ว ในราคาทีเ่ หมาะสม

1.5 เปา หมายของการจดั การโลจิสติกส

เปาหมายของการจัดการโลจิสตกิ สนั้นเปนเรื่องที่มบี ุคคลสับสนกนั มาโดยตลอด โดยท่ัวไป
จะเขาใจวาเปาหมายของการจัดการโลจิสติกสคือการสงสินคาใหถูกท่ี ถูกเวลาเทานั้น แตความจริง
แลว เปา หมายของการจดั การโลจสิ ติกสป ระกอบไปดว ยเปา หมาย 2 ประการ ดังน้ี

1. เพิ่มประสทิ ธภิ าพ เพ่ือเพ่มิ ประสิทธภิ าพในกระบวนการโลจิสตกิ ส ใหมปี ระสิทธภิ าพสูง
ที่สุดโดยมีจุดมุงหมายใหเกิดการผลิตที่ดี และการใชวัตถุดิบใหเหมาะสมที่สุด หากกระทําไดแลวจะ
เกิดความคมุ คาข้ึนนนั้ ยอ มหมายถงึ ผลกําไร ยกตัวอยา งเชน การผลิตนาํ้ ตาลมีตน ทนุ อยทู ี่ กิโลกรมั ละ
10 บาท แตเปาหมายของโลจิสติกสจะมุงไปที่กิจกรรมดานโลจิสติกสท่ีเก่ียวของกับการผลิตนํ้าตาล

8 | ค ว า ม รู ท่ั ว ไ ป เ กี่ ย ว กั บ โ ล จิ ส ติ ก ส

วา ข้นั ตอนใดทส่ี ามารถเพม่ิ ประสิทธิภาพไดอ ีก หรอื ขั้นตอนใดท่ีไมเ ปน ประโยชนสามารถลดลงไดอ ีก
หรือไม หากทาํ ได ตน ทนุ การผลติ ตอ หนว ยยอ มลดลง

2. การยกระดับความพึงพอใจของลูกคา กิจกรรมโลจิสติกส อาทิ การจัดซ้ือ การขนสง
การจัดเก็บ หรือการบรรจุภัณฑ ยอมเปนกิจกรรมท่ีจะสงผลโดยตรงตอลูกคา ยกตัวอยางเชน
หากบรรจุภัณฑไดถูกออกแบบมาเปนอยางดี ยอมสงผลใหสินคาภายในมีความปลอดภัย ไมแตกหัก
เสียหาย ลูกคา ไดร ับสินคากเ็ กิดความพึงพอใจ กลบั กันหากบรรจุภัณฑไ มดี ก็จะสงผลตอความพงึ พอใจ
ของลูกคา ในทศิ ทางตรงกนั ขา มกัน เปนตน

1.6 กจิ กรรมโลจิสติกส

กิจกรรมหลักดานโลจิสติกส มีท้ังหมด 13 กิจกรรมดวยกัน โดยสามารถแบงไดเปนสองกลุม
คือกลุมท่ีเปนกิจกรรมหลักขององคกรและกลุมที่เปนกิจกรรมสนับสนุนการทํางานขององคกร
กิจกรรมซึ่งถือเปนกิจกรรมหลักขององคกรประกอบดวยกิจกรรมหลัก 8 กิจกรรม สวนที่เหลืออีก
5 กิจกรรม ถือเปนกจิ กรรมท่สี นบั สนุนการดําเนินงานขององคกร ดงั รายละเอยี ดดงั ตอไปน้ี

กจิ กรรมหลกั
1. การติดตอส่ือสารดานโลจิสติกส (Logistics Communications) การส่ือสารท่ีมี
ประสิทธิภาพภายในองคกร ถือไดวาเปนปจจัยท่ีสําคัญอยางหนึ่งที่มีผลตอความสําเร็จของ
องคกร การแลกเปล่ียนขอมูล และการตัดสินใจตาง ๆ สามารถทําไดอยางรวดเร็วและ
มปี ระสิทธิภาพมากขึ้น
2. การบริการลูกคา (Customer Service) เปนกิจกรรมท่ีองคกรพยายามตอบสนอง
ความตอ งการของลกู คา ซง่ึ จะทําไดด เี พียงใดตอ งข้ึนอยูกับประสทิ ธภิ าพของกิจกรรมโลจิสติกสอนื่ ๆ
เขามาประกอบ โดยเฉพาะการสงมอบสนิ คา ทีต่ รงเวลาและครบตามจาํ นวน
3. กระบวนการส่ังซ้ือ (Order Processing) เปนกจิ กรรมท่ีจะตองพยายามดําเนินการให
รวดเร็วท่ีสุดเพื่อตอบสนองความตองการของลูกคา ในปจจุบันองคกรสวนใหญมักนําระบบ
คอมพิวเตอรแ ละการจดั การธุรกิจเชงิ อเิ ล็คทรอนคิ สเ ขา มาชวย เพื่อความสะดวกและรวดเรว็
4. การคาดการณความตองการ (Demand Forecasting) เปนการคาดการณความ
ตองการในตัวสินคาหรือความตองการในบริการของลูกคาในอนาคต ซ่ึงนับเปนกิจกรรมท่ีมี
ความสําคัญในการท่ีจะสรางผลกําไรหรือทําใหบรษิ ัทขาดทุนในการดําเนินการ การคาดการณความ
ตองการของลูกคาลวงหนา จะชวยใหองคกรสามารถกําหนดทิศทางในการดําเนินงานไดวาจะผลิต
สินคาจํานวนเทาไร หรือเตรียมบุคลากรและอุปกรณมากนอยเพียงใด หากการคาดการณความ
ตองการของลูกคาผดิ พลาด ก็จะสงผลกระทบตอตนทุนและผลประกอบการของบรษิ ัท จากการขาด

ค ว า ม รู ทั่ ว ไ ป เ กี่ ย ว กั บ โ ล จิ ส ติ ก ส | 9

โอกาสในการขายสินคา/บริการ หรือในทางตรงกันขามอาจมีสินคามากเกินความตองการทําใหตอง
ลดราคาขาย

5. การจัดซื้อ (Purchasing) เปนกิจกรรมที่เก่ียวของกับการจัดซ้ือ จัดหาวัตถุดิบและ
บริการโดยจะบริหารในบริบทของการสรรหาผูจําหนายวัตถุดิบท่ีดีท่ีสุด การกําหนดชวงเวลาและ
ปริมาณในการส่ังซ้ือวัตถุดิบ หรือการจัดหาบริการอื่นๆ ท่ีจําเปนตอกระบวนการผลิต รวมไปถึงการ
สรางความสมั พันธทด่ี กี ับผูจ ําหนา ยวตั ถดุ บิ (Supplier)

6. การบริหารสินคาคงคลัง (Inventory Management) เปนกิจกรรมที่สําคัญอยางหน่ึง
เน่ืองจากปริมาณสินคาคงคลังที่มีอยูยอมสงผลตอองคกรไมทางใดก็ทางหนึ่งโดยเฉพาะอยางย่ิงใน
เรื่องของเงนิ ทุนทต่ี องจมอยูในตวั สินคาคงคลงั องคก รที่มีระดบั ปริมาณสนิ คาคงคลงั ทสี่ งู ยอ มสามารถ
ตอบสนองความตองการของลกู คาไดดีกวา แตในขณะเดียวกันปรมิ าณสินคาท่ีมาก ก็สงผลใหองคกร
เกิดคาเสียโอกาสดานการนําเงินทุนไปหมุนเวียน เสียคาใชจายในการเก็บรักษาสินคา ดังนั้นองคกร
จะตอ งคํานงึ ถงึ ระดับของสินคาคงคลังท่ีเหมาะสมที่จะสามารถตอบสนองความตองการของลูกคาได
เพ่อื ทจี่ ะสามารถลดตนทนุ ตาง ๆ

7. การบริหารการขนสง (Transportation Management) ครอบคลุมถึงทุกกิจกรรมท่ี
เปนการเคลื่อนยายตัวสินคาจากจุดกําเนิดไปยังจุดท่ีมีการบริโภคใหมีประสิทธิภาพมากที่สุด
โดยในการขนสง แตล ะรปู แบบจะเหมาะสมกับสนิ คาแตละประเภทแตกตางกัน และมตี นทุนแตกตา ง
กนั ดวย การบริหารการขนสงจะตองจดั สงสนิ คาใหถ ูกตอ งครบถว น ในสภาพท่ีสมบูรณ และตรงเวลา
ทีก่ ําหนด ทง้ั นี้อาจกลา วไดว าในมุมมองของบคุ คลท่วั ไป การขนสงเปนกิจกรรมโลจสิ ติกสท ่ีมบี ทบาท
ชัดเจนที่สุด

8. การบริหารคลังสินคาและการจัดเก็บ (Warehousing and Storage) เปนกิจกรรมท่ี
เกี่ยวของกับการบริหารจัดการคลังสินคา อาทิ การจัดเก็บสินคา การจัดการพื้นที่ในคลังสินคา
อุปกรณเครื่องใชตาง ๆ ที่จําเปนในการดําเนินกิจกรรมภายในคลังสินคา ซ่ึงโดยหลักการแลวการ
จัดเก็บสินคาน้ันไมไดเพ่ิมมูลคาใหตัวสินคา แตเปนการหนวงเวลาใหสินคาออกมาในเวลาที่มีความ
ตองการเทานั้นเอง แตในปจจุบันกิจกรรมการบริหารคลังสินคานับเปนกิจกรรมท่ีสรางมูลคาเพิ่ม
ใหกบั ตวั สินคา อีกทางหนึง่ ดว ย

กิจกรรมรอง
1. โลจิสติกสยอนกลับ (Reverse Logistics) คือกระบวนการจัดการ สินคา อะไหล
คงเหลือ หรือวัสดุเหลือใช ท่ีถูกสงกลับคืน ไมวาจะเปนสินคาท่ีเสียหาย หมดอายุการใชงาน ตะกรา
ผลไม หรอื พาเลทวางสินคา เปน ตน

10 | ค ว า ม รู ท่ั ว ไ ป เ กี่ ย ว กั บ โ ล จิ ส ติ ก ส

2. การจดั เตรยี มอะไหลแ ละช้ินสวนตาง ๆ (Part and Service Support) นับเปนความ
รับผิดชอบตอสินคาหลังการขาย ซ่ึงเปนสวนหนึ่งของบริการหลังการขายที่บริษัทใหกับลูกคา
โดยการจัดหาช้ินสวน อะไหล และเครื่องมืออุปกรณตางๆ เพื่อเตรียมพรอมสําหรับการใหบริการที่
รวดเรว็ และมปี ระสทิ ธิภาพแกลูกคาในกรณีที่สนิ คาเกิดความชาํ รุด ความรบั ผิดชอบตอสินคา หลังการ
ขายเปนการสรา งความพึงพอใจใหกับลูกคา ซงึ่ จะสงผลระยะยาวตอการตัดสินใจซื้อสินคาในอนาคต
เกดิ ความรูส ึกท่ีดีกับย่ีหอสินคา ดังนั้นจึงกลาวไดวา กิจกรรมนี้มีสว นชวยใหบ รษิ ัทสามารถดํารงความ
สัมพนั ธภาพระยะยาวกับลูกคาไวได

3. การเลือกท่ีต้ังโรงงานและคลังสินคา (Plant and Warehouse Site Selection)
การเลอื กที่ต้ังโรงงานของโรงงานและคลังสินคาจะตองใหความสําคัญกับความใกล – ไกลของแหลง
วัตถุดิบและลูกคา เพ่ือความสะดวกในการเขาถึงและเกี่ยวของกับระยะทางการขนสง รวมถึง
ความสามารถในการตอบสนองความตองการของลูกคา ดว ย

4. ระบบลําเลียงและเคล่ือนยาย (Material Handling) เปนกิจกรรมท่ีเกี่ยวของกับการ
เคลื่อนยาย วัตถุดิบ และสินคาคงคลังในระหวางการผลิต รวมถึงการขนยายตัวสินคาที่ผลิตเสร็จแลว
ภายในโรงงานหรอื คลังสนิ คา วตั ถปุ ระสงคของการจดั การดาน คือเพื่อ

5. บรรจุภัณฑและหีบหอ (Packaging and Packing) ในดานการตลาดน้ัน บรรจุภัณฑ
ซ่ึงเปนส่ิงท่ีแสดงถึงลักษณะภายนอกของสินคา ซึ่งจะตองสามารถดึงผูบริโภคใหสนใจในตัวสินคา
แตทางดา นโลจสิ ติกส บรรจุภัณฑจะมีบทบาทสําคัญตางออกไปจากดานการตลาด โดยประการแรก
บรรจุภัณฑจะเปนสิ่งที่ปกปองตัวผลิตภัณฑไมใหเกิดความเสียหายในขณะท่ีมีการเคล่ือนยาย
ประการที่สอง บรรจุภัณฑที่ดีจะชวยใหกระบวนการเคล่ือนยายและเก็บรักษาสินคามีความสะดวก
มากขนึ้

ค ว า ม รู ทั่ ว ไ ป เ ก่ี ย ว กั บ โ ล จิ ส ติ ก ส | 11

Packaging and Logistics Customer
Packing Service
Communicatio
Material ns Order
Handling Processing

Plant and Logistics Demand
Warehouse Forecasting

Part and Purchasing
Service
Support Inventory
Management
Reverse Transportation
Logistics

Warehousing
and Storage

ภาพที่ 1.2 กิจกรรมโลจสิ ตกิ ส

1.7 แนวคดิ ดานโลจิสตกิ สใ นอนาคต

โลจิสตกิ สเ พอื่ การทอ งเทีย่ ว (Tourism logistics)
โลจิสติกสเพื่อการทองเที่ยว มีรากฐานมาจากการจัดการโลจิสติกสทางการทหาร
เชนเดียวกับการจัดการโลจิสติกสทางธุรกิจ แตจะมีการมุงเนนเปาหมายท่ีแตกตางกันออกไป
โดยคํานึงถึงหลักการทํางานและองคประกอบดานการทองเที่ยวเปนหลัก จึงมีความแตกตางท่ีเปน
เอกลักษณของการจัดการโลจสิ ติกสเพื่อการทองเที่ยว โลจิสติกสเพื่อการทองเท่ียวมีผูใหความหมาย
ไวห ลากหลายดังทีจ่ ะแสดงตอ ไปน้ี
ม่ิงสรรพ ขาวสอาด (2551) กลาววา โลจิสติกสการทองเที่ยว เปนการประยุกตใชศาสตรของ
โลจิสติกสสําหรับเคล่ือนยายผูโดยสารท่ีเปนนักทองเท่ียว ทําใหสามารถนําหลักการพัฒนาระบบ
โลจิสติกสมาชวยในการพัฒนาประสิทธิภาพของการบริการนักทองเที่ยวอยางครบวงจร ต้ังแต
จดุ เริ่มตนการเดินทางเขาสูประเทศไปจนกระทั่งเดนิ ทางออกจากประเทศ

12 | ค ว า ม รู ทั่ ว ไ ป เ ก่ี ย ว กั บ โ ล จิ ส ติ ก ส

ไพรัช พิบลู ยรงุ โรจน (2552) กลา ววา โลจิสตกิ สการทองเที่ยว คือ การจัดการประสานงาน
ระหวางกิจกรรมตาง ๆ เพื่อทําใหการไหลของนักทองเท่ียวจากตนทางไปสูปลายทาง โดยไมมี
ขอ ผิดพลาดและยงั ทําใหร ับความพอใจสงู สดุ

ผศ.ชัชพล ทรงสุนทรวงศ กลาววา การจัดการโลจิสติกสการทองเท่ียว คือ การอํานวย
ความสะดวก การใหบริการท่ีตรงเวลา และปลอดภัย เปนไปตามความตองการของนักทองเท่ียวแต
ละกลุม

สรุปไดวา โลจิสติกสเพอ่ื การทองเท่ียวคอื การจดั การกิจกรรมตางๆ ท่ีเกี่ยวของกบั การไหล
ของนกั ทอ งเที่ยว จากจดุ เริม่ ตนการทอ งเที่ยว ไปยังจุดส้ินสุดของการทอ งเที่ยว โดยมีเปาประสงคให
การบริการมปี ระสทิ ธภิ าพมากยง่ิ ขน้ึ

เปา หมายของโลจสิ ตกิ สเ พือ่ การทอ งเทีย่ ว
การจัดการโลจิสติกสท่ัวไป จะมีเปาประสงคหลัก 2 ประการ ดังที่ไดกลาวไวตอนตน คือ
การเพ่ิมประสิทธิภาพในองคกร และการยกระดับการใหบริการลูกคา โดยการออกแบบและพัฒนา
กจิ กรรมโลจิสติกสใหมีประสิทธภิ าพมากยิ่งขึ้น แตการจัดการโลจิสติกสเพ่ือการทองเท่ียวมีเปาประสงค
ที่มุงเนนการเพิ่มประสิทธิภาพการใหบริการ เพราะโลจิสติกสเพื่อการทองเที่ยว นักทองเท่ียว
ก็เปรียบเสมือนสินคานั้นเอง แตนักทองเท่ียวมีความรูสึก มีหิวมีอ่ิม และมีชีวิตจิตใจ ดังน้ันการจัดการ
โลจิสติกสเ พ่อื การทอ งเทีย่ วจึงมีความละเอยี ดออ นมากกวาโลจิสตกิ สที่เปนการบริหารจดั การสินคา
โลจิสตกิ สเ พอื่ มนษุ ยธรรม (Humanitarian logistics)
เมื่อป พ.ศ. 2554 ประเทศไทยตองประสบกับภัยพิบัติธรรมชาติท่ีเรียกวามหาอุทกภัย
จนประเทศของเรา สะบัคสะบอมกันถวนหนา สินคาท่ีเคยหาซื้อไดงายก็กลายเปนสินคาขาดตลาด
ขาวยากหมากแพง และผูทไี่ ดร ับผลกระทบมากท่ีสุดคือประชาชนทอ่ี าศัยอยูในเขตกรงุ เทพมหานคร
ทม่ี ีองคความรูทจี่ าํ เปน ตอ งการรับมอื กับอทุ กภัย เพราะกรุงเทพมหานครไมไ ดมแี ผนการในการรบั มือ
อยางเปนรูปธรรม แตเนนการบริหารสถานการณไปแบบวันตอวัน การแลกเปลี่ยนขอมูลท่ีจําเปนก็
แทบจะไมมี มีประชาชนเดือดรอน และติดคางตามหมูบานจัดสรรเปนจํานวนมาก คําวาโลจิสติกส
เพอื่ มนษุ ยธรรมจึงถูกเรียกขานขนึ้ มาในเมืองไทย โดยมผี ใู หค วามหมายไว ดังทีจ่ ะแสดงตอไปนี้
ผศ.ดร.อัศมเดช วานิชชินชัย (2556) โลจิสติกสเพ่ือมนุษยธรรม คือ การนําหลักการการ
จัดการโลจิสตกิ สและโซอุปทานเขา มาชว ยในการบรรเทาทุกผูประสบภยั ภิบัติ
Wikipedia (2557) โลจิสติกสเพ่ือมนุษยธรรม คือ การออกแบบระบบการจัดสงและเก็บ
รักษาวัสดุในชวงท่ีเกิดภัยพิบัติและธรรมชาติ หรือเหตุฉุกเฉินท่ีซับซอน ไปยังพ้ืนที่และผูคนที่ไดรับ
ผลกระทบ

ค ว า ม รู ทั่ ว ไ ป เ กี่ ย ว กั บ โ ล จิ ส ติ ก ส | 13

โดยสรุป จะเห็นไดวา โลจิสติกสเพื่อมนุษยธรรม คือ การนําเอาหลักการการจัดการ
โลจิสติกสมาปรับใชในสถานการณเฉพาะ ไดแก ภัยพิบัติทางธรรมชาติ ภัยพิบัติท่ีเกิดข้ึนดวยฝมือ
มนุษย หรือเหตุฉุกเฉิน โดยการมุงประเด็นไปที่การเคลื่อนยายสิ่งของจําเปน เครื่องมือ อุปกรณ
แรงงาน ไปยงั ผปู ระสบภัย และพน้ื ที่ประสบเหตุ

เปา หมายของโลจิสตกิ สเ พ่ือมนุษยธรรม
เปาหมายของโลจิสติกสเพื่อมนุษยธรรม นั้นจะไมไดมีเปาหมายเปนเร่ืองของกําไร หรือ
รายไดแ ตอ ยา งใด แตจะมงุ ท่ปี ระสิทธิภาพในการเขาถึงพืน้ ท่ี และความสามารถในการตอบสนองและ
ชวยเหลอื ผูประสบภัย โดยไมไดคํานึงถึงตนทุน หรือความคุมคา ดังน้ันโลจิสติกสเพื่อมนุษยธรรมจึง
เปนอีกหนึง่ ศาสตรที่จะไดร บั ความสนในอนาคต
โลจิสตกิ สร ะดับโลก (Global logistics)
ระบบโลจิสติกสในอดีตมักจะเนนถึงการเคลื่อนยายสินคาและบริการที่จํากัดอยูแต เพียง
ภายในประเทศ แตเม่ือยุคโลกาภิวัติเขามามีบทบาท ระบบการขนสงดีข้ึน ก็เร่ิมมีการเคลื่อนยาย
คุณคาระหวางประเทศมากย่ิงข้ึน ซ่ึงเราเรียกวาโลจิสติกสระหวางประเทศ (International
Logistics) แตทวาในปจจุบันการขยายฐานการผลิตไปในทวีปตาง ๆ ทั่วโลก เพ่ือไปใชประโยชนใน
ทรัพยากรที่มีอยูอยางจํากัด จึงทําใหเกิดกระบวนทัศนการไหลเวียนของสินคา บริการ และคุณคา
ตาง ๆ ไปท่ัวทกุ มมุ โลก ดงั น้นั คาํ วา โลจิสติกสร ะดบั โลกจงึ ถอื กําเนิดขึน้
ความหมายโลจสิ ตกิ สระดับโลก
รศ.ดร.ทวีศักด์ิ เทพพิทักษ ระบบโลจิสติกสเกิดข้ึนท่ัวโลกตลอด 24 ชั่วโมงตลอด 7 วัน
และตลอดท่ัวป โดยระบบดังกลาวจะเกี่ยวของกับการนําสินคาไป ณ ที่ท่ีมีความตองการและตาม
เวลาท่ีลูกคาตองการ การนําสินคาไป ณ ท่ีที่มีความตองการจําเปนตองมีการบูรณาการ
(Integration) ดานขอมลู ขาวสาร การขนสง สินคาคงคลัง คลงั สนิ คา การเคล่ือนยายวัสดุ การบรรจุ
หีบหอ เปนกระบวนการที่ประสานกัน เพ่ือจะใหสินคาหรือวัตถุดิบต้ังแตการจัดหา การเคล่ือนยาย
สินคา คงคลงั มตี น ทนุ ตํ่าทส่ี ดุ เทาที่จะตา่ํ ได รวมทัง้ สรา งและปรบั ปรุงระดบั ความพึงพอใจของลกู คา
ดร.วิทยา สุหฤทดํารง ไดกลาววา Global Logistics น่ันหมายถึงบริบทหรือส่ิงแวดลอม
ของการนําสงคุณคาจากสถานที่ซ่ึงสรางคุณคาหน่ึง ไปยังสถานที่ซึ่งสรางคุณคา อีกแหง หน่ึง รวมท้ัง
สถานท่ีของผูที่ใชคุณคานั้นดวย เม่อื มีความเปน Global เขามาเกี่ยวของดวย น่ันหมายถึงวา บริบท
น้นั มีขอบเขตกระจายไปท่ัวโลก การเดินทางขา มโลกยากลาํ บากเพียงไร ผานดานแตล ะประเทศเปน
อยา งไร ตอ งใชเ อกสารอยา งไร ตอ งเสียคา ธรรมเนยี มอยา งไร สินคา หรอื คุณคาก็ยากลําบากเพียงน้ัน

14 | ค ว า ม รู ท่ั ว ไ ป เ ก่ี ย ว กั บ โ ล จิ ส ติ ก ส

สรุปใจความไดวามุมมองเรื่องโลจิสติกสระดับโลก คือ การวางแผนการเคลื่อนยายและ
จัดเก็บ สินคา บริการ และคุณคา เพื่อสงมอบจากตนทางไปยังปลายทาง โดยมีบริบทโลกเขามามี
สว นในการตัดสินใจวางแผนอยา งใดอยางหนงึ่

เปา หมายของโลจสิ ติกสระดบั โลก
การจดั การโลจสิ ติกสระดับโลก มีเปา ประสงคเพอื่ บริหารจัดการและเพิม่ ศกั ยภาพการไหล
ของ พัสดุ สนิ คา บริการ และคณุ คา จากแหลงกําเนิดไปยังแหลงทมี่ คี วามตองการใช โดยมขี อบเขต
การบริหารจัดการในระดับโลก การที่จะบริหารจัดการการไหลไดดีน้ัน จําเปนท่ีจะตองเขาใจบริบท
และตัวบทกฎหมาย ความตองการพื้นฐานดานโลจิสติกส และสิ่งท่ีจําเปนตอการไหลของแตละ
ประเทศใหด ี
1.2 ตารางเปรียบเทยี บความหมายและวัตถปุ ระสงคแ นวคิดดานโลจิสตกิ สในอาคต

ประเภท ความหมาย วตั ถุประสงค
โลจสิ ตกิ ส
ภายในประเทศ โลจิสติกส คือ การบูรณาการ 1. เพิ่มประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ซึ่ง

โลจสิ ติกสเ พือ่ การ กิจกรรมท่ีเกี่ยวของกับ การ จะสงผลใหมีตนทุนทั้งกระบวนการที่
ทองเทีย่ ว
จัดเก็บ รวบรวม เคล่ือนยาย ตํ่าลง

และกระจาย วัสดุหรือวัตถุดิบ 2. เพ่ิมความพึงพอใจของลูกคา ในแง

หรือสินคา หรือบริการ หรือ ของการไดรับสินคาท่ีมีคุณสมบัติท่ีดี

สารสนเทศ จากแหลงตนกําเนิด รวดเร็ว ในราคาท่เี หมาะสม

ไป ยั ง จุ ด ท่ี มี ก า ร อุ ป โ ภ ค ห รื อ

บรโิ ภค

โลจิสติกสเพ่ือการทองเที่ยวคือ 1. เพ่ิมประสิทธภิ าพในการเคลอื่ นยา ย

การจัดการกิจกรรมตางๆ ที่ นักทองเท่ยี ว

เก่ี ย ว ข อ งกั บ ก า ร ไห ล ข อ ง 2. สรางความพึงพอใจสงู สดุ

นักทองเท่ียว จากจุดเร่ิมตนการ

ทองเท่ียว ไปยังจุดสิ้นสุดของ

การทองเทย่ี ว โดยมเี ปา ประสงค

ใหการบริการมีประสิทธิภาพ

มากย่งิ ขึ้น

ค ว า ม รู ท่ั ว ไ ป เ ก่ี ย ว กั บ โ ล จิ ส ติ ก ส | 15

1.2 ตารางเปรยี บเทียบความหมายและวัตถุประสงคแนวคดิ ดานโลจสิ ติกสในอาคต (ตอ)

ประเภท ความหมาย วตั ถุประสงค
โลจสิ ติกสเพือ่ มนุษยธรรม
โลจิสติกสเพ่ือมนุษยธรรม คือ 1. ไมไดมีเปาหมายเปนเร่ืองผล
โลจสิ ติกส ระดบั โลก
การนําเอาหลักการการจัดการโล กําไร หรือรายไดแต

จิสติกสมาปรับใชในสถานการณ 2. แตจะมุงที่ประสิทธิภาพใน

เฉพาะ ได แก ภั ยพิ บั ติ ทาง ก า ร เ ข า ถึ ง พ้ื น ที่ แ ล ะ

ธรรมชาติ ภัยพิบัติที่เกิดขึ้นดวย ความสามารถในการตอบสนอง

ฝมือมนุษย หรือเหตุฉุกเฉิน โดย และชวยเหลอื ผูป ระสบภัย โดย

ก า ร มุ งป ร ะ เด็ น ไป ที่ ก า ร ไมไดคํานึงถึงตนทุน หรือความ

เค ลื่ อน ย าย ส่ิ งขอ งจํ าเป น คุม คา

เครื่องมอื อุปกรณ แรงงาน ไปยัง

ผูประสบภัย และพื้นที่ประสบ

เหตุ

การวางแผนการเคล่ือนยาย 1 . เ พิ่ ม ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ

และจัดเก็บ สินคา บริการ และ ประสิทธิผล การประสานงาน

คุณคา เพื่อสงมอบจากตนทาง การไหล ซ่ึงจะสงผลใหมีตนทุน

ไปยังปลายทาง โดยมีบริบท ท้งั กระบวนการท่ตี า่ํ ลง

โลกเขามามสี ว นในการตดั สินใจ 2. เพิ่มความพงึ พอใจของลูกคา

วางแผนอยา งใดอยา งหนึ่ง ในแงของการไดรับสินคาท่ีมี

คุณสมบัติท่ีดี รวดเร็ว ในราคา

ท่เี หมาะสม

16 | ค ว า ม รู ท่ั ว ไ ป เ ก่ี ย ว กั บ โ ล จิ ส ติ ก ส

แบบฝก หดั ทา ยบทท่ี 1
ความรทู ั่วไปเกี่ยวกับโลจสิ ติกส

ตอนที่ 1 จงเลอื กคําตอบท่ีถกู ทสี่ ุด

1) ขอใดไมใ ช ปจจยั ท่กี ดดันใหบรษิ ทั ขยายระบบโลจสิ ติกสไปสูซพั พลายเชน

ก. การเปลยี่ นแปลงพฤตกิ รรมของผบู ริโภค
ข. การเปลยี่ นแปลงโครงสรา งชอ งทางจําหนาย
ค. การเปลยี่ นแปลงเทคโนโลยสี ารสนเทศ
ง. การเปลย่ี นแปลงของสภาพแวดลอ ม

2) เปา หมายของการศึกษาโลจสิ ตกิ สใ นระยะเริม่ แรกคือ

ก. ประโยชนส งู สุดของกจิ กรรมธุรกจิ
ข. การบรหิ ารและปอ งกนั ประเทศ
ค. ความพงึ พอใจของผูบรโิ ภค
ง. การตอบแทนสังคม และรักษาสภาพแวดลอม

3) ขอใด ไมใ ช กจิ กรรมทางดานโลจสิ ตกิ ส

ก. Order processing, Procurement, Packaging
ข. Inventory Management, Transportation
ค. Pricing, Meeting, Training
ง. Demand forecasting, Part and Service support

4) ขอ ใด ไมใ ช กจิ กรรมทางดา นโลจสิ ติกส

ก. Customer Service, Procurement, Packaging
ข. Inventory Management, Transportation
ค. Product, Place
ง. Demand forecasting, Material Handling

ค ว า ม รู ท่ั ว ไ ป เ กี่ ย ว กั บ โ ล จิ ส ติ ก ส | 17

5) ขอใดกลาวถูกตอง

ก. กจิ กรรมโลจสิ ติกสมี 12 กิจกรรม
ข. กจิ กรรมโลจสิ ติกสม ี 13 กจิ กรรม
ค. กิจกรรมโลจสิ ติกสมี 14 กจิ กรรม
ง. กิจกรรมโลจสิ ตกิ สม ี 15 กจิ กรรม

6) เปา หมายของการจดั การโลจิสติกสคืออะไร จงเลอื กขอท่ีถูกตอ งที่สดุ

ก. เพิ่มประสิทธภิ าพใหก บั องคการ และเพม่ิ ความพึงพอใจใหก ับลูกคา
ข. ขนสง สินคา ใหถ ูกทถี่ กู เวลา
ค. จัดเก็บสินคาคงคลังใหน อยทสี่ ดุ
ง. ขายสินคาใหล กู คา ในราคาทีถ่ ูกทส่ี ดุ

7) Reverse Logistics คืออะไร

ก. การขนสนิ คา ไปสลู กู คา
ข. การขนสินคาเทีย่ วกลับ
ค. การบริหารวัสดเุ หลอื ใช สนิ คา เสยี หาย
ง. การนํารถเมล CNG มาใช

8) การจดั การบรรจุภณั ฑทางโลจิสตกิ สส งผลโดยตรงอยางไรตอ ลูกคา

ก. ไดร บั สินคา ทไี่ มเ สียหายจากการเคล่ือนยายและจดั เก็บ
ข. ไดห ีบหอ ทสี่ วยงาม เปน ที่สะดดุ ตา
ค. ลกู คาเสยี คาใชจายตา่ํ กวาปกติ
ง. ลกู คาไดรบั สินคา ตรงตามเวลาที่กาํ หนด

9) กิจกรรมทางโลจสตกิ สถ กู พัฒนามาจากกจิ กรรมดานใด

ก. กิจกรรมทางอุตสาหกรรมผลติ อาหาร
ข. กิจกรรมทางการเกษตร
ค. กิจกรรมทางทหาร
ง. กิจกรรมทางการโยธา

10) ขอ ใดตอไปน้กี ลาว ไมใช จดุ มงุ หมายของการจัดการสินคา คงคลัง

ก. เก็บสินคา ใหเพยี งพอตอ การจาํ หนา ย
ข. เกบ็ สนิ คา ไวเปน จาํ นวนมากเพ่ือกกั ตนุ สินคา
ค. เก็บสนิ คาใหนอ ยทสี่ ดุ แตต องสามารถบรกิ ารลกู คา ได
ง. เก็บสนิ คา ใหคงสภาพเดมิ มากทส่ี ุด

18 | ค ว า ม รู ทั่ ว ไ ป เ กี่ ย ว กั บ โ ล จิ ส ติ ก ส

ตอนที่ 2 จงตอบคาํ ถามตอไปน้ี และอธิบายพอเปนสังเขป
1. จงอธบิ ายความเปนมา และววิ ฒั นาการของการจัดการโลจสิ ตกิ สมาพอสังเขป
………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………..…………………….
2. กิจกรรมดานโลจสิ ตกิ สมคี วามสาํ คัญอยา งไรตอองคกร
………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………….
3. อธบิ ายความหมายและเปาหมายของการจัดการโลจสิ ตกิ สตามท่นี กั ศกึ ษาเขา ใจ
………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………..…………………………….………………….

โ ล จิ ส ติ ก ส แ ล ะ ซั พ พ ล า ย เ ช น ใ น ร ะ บ บ ธุ ร กิ จ | 19

รายละเอียดการสอน
ประจาํ สัปดาหท ี่ 2 (จํานวน 3 ช่ัวโมง)

หัวขอการสอน : โลจสิ ติกสและซัพพลายเชนในระบบธุรกจิ
จดุ ประสงคการสอน เพ่ือใหสามารถ

1. อธบิ ายความหมายของการจดั การซพั พลายเชนได
2. อธิบายองคประกอบของการบริหารจดั การซพั พลายเชนได
3. เขา ใจถึงแนวทางการนาํ ซพั พลายเชนเขาไปประยุกตใชไ ด
4. สามารถเขยี นโครงขา ยซพั พลายเชนได

รายการสอน

2.1 บทนาํ
2.2 ความหมายของการจดั การซัพพลายเชน
2.3 องคป ระกอบของการจดั การซพั พลายเชน
2.4 ความสมั พันธระหวางการจัดการโลจิสติกสแ ละโซอปุ ทาน
2.5 โครงขายซัพพลายเชน
2.6 ประโยชนของการจดั การซพั พลายเชน
2.7 แนวคิดดา นการจดั การซพั พลายเชนในอนาคต
2.8 กรณีศกึ ษา

วิธกี ารสอน

บรรยาย ถาม – ตอบกรณศี กึ ษา

หนังสือ / เอกสารประกอบการสอน

คํานาย อภิปรัชญาสกุล. (2554). โลจิสติกสและโซอุปทาน. กรุงเทพฯ: โฟกัสมีเดียแอนด
พับลซิ ซิ่ง

ชุติระ ระบอบ. (2556). การจัดการโลจิสติกสและโซอุปทาน. สมุทรปราการ: โครงการ
สํานกั พมิ พมหาวทิ ยาลัยหวั เฉยี วเฉลิมพระเกยี รติ

ประจวบ กลอมจิตร. (2556). โลจิสติกส-โซอุปทาน: การออกแบบและจัดการเบ้ืองตน.
กรงุ เทพฯ:วีพร้นิ (1991)

20 | โ ล จิ ส ติ ก ส แ ล ะ ซั พ พ ล า ย เ ช น ใ น ร ะ บ บ ธุ ร กิ จ

สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยธนบุรี.(2559). เอกสาร
ประกอบการสอนวิชา การจัดการโลจิสติกสและซัพพลายเชน(Logistics and
Supply Chain Management)พมิ พครงั้ ท่ี 2. กรงุ เทพฯ: มหาวิทยาลัยธนบุรี

เอกสารประกอบโครงการภายใตก รอบความรวมมอื ระหวา งภาครัฐและภาคเอกชน SMEs
Project http://www.busandtruckmedia.com/page.php?a= 10&n=126
&cno=2259

โสตทศั นวัสดุ

บอรด ขาว ปากกา แผน บันทึกขอมลู เครอ่ื งคอมพิวเตอร

การประเมนิ ผล

ถาม – ในช้นั เรียน
ทดสอบยอ ยในชัน้ เรยี น
ตรวจการทําแบบฝก หดั ทายบท
ผลการสอบประจาํ ภาคการศึกษา

งานทมี่ อบหมาย

1. ใหทาํ แบบฝกหดั ทายบททกุ ขอ
2. ใหท บทวนเรียนตามทไ่ี ดเรยี นไป
3. ใหศ ึกษาเพ่ิมเติมและทดลองทําแบบฝก หดั ในหวั ขอท่ไี ดเรยี นไปจากตําราเลม อน่ื
4. ใหเ ตรียมเนอ้ื หาสาระความรสู าํ หรบั ท่ีจะเรยี นประจาํ สปั ดาหต อไป

โ ล จิ ส ติ ก ส แ ล ะ ซั พ พ ล า ย เ ช น ใ น ร ะ บ บ ธุ ร กิ จ | 21

บทท่ี 2
โลจสิ ติกสและซัพพลายเชนในระบบธรุ กจิ

2.1 บทนาํ

กอ นอ่ืนเราจะตอ งมาทาํ ความเขาใจในเรื่องของธุรกิจเสียกอน คําวา “ธุรกิจ” อาจกลาวได
วาหมายถงึ “กิจกรรมท่ีกอ ใหเกดิ มูลคา เพ่ิมจากการผลิตสินคา หรือการใหบริการ ดงั น้ัน องคป ระกอบ
หลักของธุรกิจอาจพิจารณาไดหลายมิติแตที่สําคัญจะมอี ยู 4 ประการไดแก การผลิต (Production)
การตลาด (Marking) การเงิน (Finance) และการจัดการ (Management) ถาขาดส่ิงใดส่ิงหนึ่งก็จํา
ทําใหความหมายของธุรกิจนั้นไมสมบูรณการที่ธุรกิจจะเกิดขึ้นไดน้ันจะตองมีตัวสินคาหรือบริการ
เกิดขึ้นเสียกอน และเมื่อมีการผลิตสินคาหรือบริการแลวก็จะตองมีการนําไปขายหรือจําหนาย และ
จะไดรับเงินเปนคาตอบแทน ธุรกิจยังเปน เรื่องของการจัดการดานกาํ ลังคน วัตถดุ ิบ เคร่ืองจักร และ
เงนิ ทุน” (ชุตริ ะ ระบอบ, 2556)

ภาพที่ 2.1 องคประกอบหลกั ของธรุ กจิ
ที่มา: ชุติระ ระบอบ: 2556

สวนการศึกษาการบริหารซัพพลายเชนนั้น จะเปนการศึกษาธุรกิจตั้งแตตนน้ํา
(Upstream) ไปจนถึงปลายน้ํา (Downstream) ของธุรกิจ โดยเริ่มจากเม่ือลูกคามีความตองการ
บริโภคสินคา/บริการ องคกรก็จะทําหนาท่ีในการจัดหาวัตถุดิบ (Raw Materials) จากผูจัดหา
วัตถุดิบ (Supplier) เพื่อนําวัตถุดิบท่ีไดนั้นมาเขาสูข้ันตอนการผลิตใหไดออกมาเปนสินคา/บริการ
(Goods) เพอื่ ตอบสนองความตอ งการของลูกคา เมือ่ สินคา ผานขั้นตอนการผลิตเสรจ็ เรยี บรอ ยแลวก็
จะเขาสูข้ันตอนการขนสง กระจายออกสูตลาดและรานคาปลีก (Retail) เพ่ือทําการจําหนายใหแก
ผูบริโภคข้ันสุดทาย (Customer) เม่ือสินคาถูกขายออกไปจากรานคาปลีก ทางรานคาปลีก ก็จะมี

22 | โ ล จิ ส ติ ก ส แ ล ะ ซั พ พ ล า ย เ ช น ใ น ร ะ บ บ ธุ ร กิ จ

การส่ังสนิ คา น้นั จากผผู ลติ สนิ คา หรอื ศูนยก ระจายสนิ คา (Distribution Center) เขามาเตมิ เตม็ สินคา
ในระบบ และเม่ือผูผลิตสินคาไดรับคําสัง่ ซื้อจากลูกคาก็จะทําการผลิตสินคา โดยจะมีการการจัดหา
วัตถุดิบ (Raw Materials) เขามาปอนระบบการผลิต เปนวัฏจักรตอเนื่องไปอยางนี้เรื่อยๆ เปน
วฏั จกั รของการดําเนนิ ธรุ กจิ

ดงั นั้น จากที่ไดกลา วมาขางตนการบริหารซัพพลายเชน เปนการศกึ ษาความสัมพันธของผูท่ีมี
ความสัมพันธกันในหวงโซอุปทาน (Supply Chain) ของธุรกิจตนแตตนน้ําไปจนถึงปลายนํ้า
เพ่ือตอบสนองความตองการท่ีมีของลูกคาที่มีอยูอยางไมจํากัดดวยวัตถุดิบที่มีอยูอยางจํากัด ใหลูกคา
เกิดความพงึ พอใจสูงสุด

2.2 ความหมายของการบรหิ ารซพั พลายเชน

คําวา “ซัพพลายเชน (Supply Chain) หรือ โซอุปทาน” ที่หลาย ๆ คนเคยไดยินมาและ
ยังคงสงสัยวา คํ าวา “ซัพ พ ลายเชน (Supply Chain) กับ คํ าวา โลจิส ติกส (Logistics)”
มีความเหมือนหรือความแตกตางกันอยางไร หากมองในสวนกิจกรรมท้ังหมดของโลจิสติกสและ
ซัพพลายเชน จะพบวามีลักษณะความคลายคลึงกันเปนอยางมากโดยไดมีผูใหคํานิยามหรือ
ความหมายไวมากมาย อาทิ

ภาพที่ 2.2 ซัพพลายเชน
ทีม่ า: ดดั แปลงมาจาก คาํ นาย อภปิ รัชญาสกลุ : 2555
The Council of Supply Chain Management Professionals (CSCMP) ไดให
นิยามคําวา Supply Chain Management ไวดังน้ี “การประมวลการวางแผนและการจัดกิจกรรม
ทั้งมวลท่ีเกี่ยวของกับการเสาะหาและจัดการแปลงสภาพสินคา และกิจกรรมการจัดการโลจิสติกส
ท้ังหมด รวมถึงการประสานงานและความรวมมือกับชองทางผูคาต้ังแตผูคา ตัวกลาง ผูใหบริการ
บุคคลที่สาม จนถึงลกู คา”
Lambert, et al., 2003 กลาววา “การบูรณาการของโซอุปทานหมายถึงการบูรณาการ
ของกระบวนการทางธุรกจิ ที่เร่ิมตนจากผูบรโิ ภคขัน้ สุดทา ยผานไปจนถึงผจู ัดจําหนายขน้ั แรกสุดท่ีทํา

โ ล จิ ส ติ ก ส แ ล ะ ซั พ พ ล า ย เ ช น ใ น ร ะ บ บ ธุ ร กิ จ | 23

หนาที่จัดหาสินคา บริการ และสารสนเทศ เพ่ือเพิ่มมูลคาใหแกผูบริโภค โดยครอบคลุมการจัดการ
ลกู คาสัมพันธ การจัดการใหบ ริการลูกคา การจดั การคําส่ังซือ้ และการจดั หา จดั ซอ้ื ฯลฯ”

The International Center for Competitive Excellence กลาววา “การจัดการ
โซอุปทาน คือการประสานรวมกระบวนการทางธุรกิจ ที่ครอบคลุมจากผูจัดสงวัตถุดิบ ผานระบบ
ธุรกิจอุตสาหกรรมไปสผู ูบ รโิ ภคขั้นสุดทา ยซึ่งมีการสงผา นผลติ ภณั ฑ การบริการและขอมูลสารสนเทศ
ควบคูกันไป อนั เปนการสรางคุณคาในตวั ผลติ ภัณฑ และนาํ เสนอส่งิ เหลาน้สี ูผ ูบ ริโภคขน้ั สุดทา ย”

โครงการบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส - MBA Logistics
Management กลาววา “Supply Chain Managementหรือการจัดการโซอุปทาน คือการ
รวบรวม การวางแผนและการจดั การของกิจกรรมทง้ั หมดที่มีความเกีย่ วของกบั การจัดหา การจดั ซื้อ
การแปรสภาพ และกิจกรรมการจัดการทั้งหมดท่ีสําคัญการจัดการโซอุปทานยังรวมถึงการ
ประสานงาน (Coordination) และการทํางานรวมกัน (Collaboration) กับหุนสวนตางๆในโซ
อุปทานซ่ึงจะเปนผูจ ดั สงวตั ถดุ ิบ ตัวกลางผใู หบรกิ าร ผใู หบ รกิ ารลอจิสตกิ สและลกู คา แกน สาํ คัญ คอื
การจัดการโซอุปทานจะบูรณาการทั้งการจัดการอุปสงคและอุปทานซ่ึงรวมถึงภายในและภายนอก
บรษิ ทั ”

โดยสรุปแลว การบริหารซัพพลายเชนเปนการบูรณาการ การประสานงาน กระบวนการ
ทางธุรกิจ ต้ังแตการวางแผน การจัดการกิจกรรมตาง ๆ การเคล่ือนยายกระจายสนิ คา/บริการ หรือ
ขอมูลขาวสาร การจัดเก็บสตอกสินคาและวัตถุดบิ เริ่มตั้งแตตนนํ้า ไปจนถึงปลายนํ้าเพ่ือใหส ามารถ
ดําเนินการทางธุรกิจไดอยางมปี ระสทิ ธิภาพ

2.3 องคประกอบของซัพพลายเชน

ชุติระ ระบอบ: 2556 ไดกลาวถึงเรื่ององคประกอบของซัพพลายเชน ไววา “การดําเนิน
กจิ กรรมในซัพพลายเชนจะมีบคุ คลท่เี ปน องคประกอบหลกั ไดแ ก

1) ผจู ัดหาวตั ถดุ บิ (Suppliers)
Suppliers (ซัพพลายเออร) หมายถึง ผูจัดหาวัตถุดิบมาปอนใหแกองคกา ร

จดั เปนผูมีสว นเกี่ยวของภายนอกองคการ และแลกเปล่ยี นผลประโยชนกลับคนื เปนรายได องคก าร
ตองสรา งสัมพันธภาพและความเขาใจที่ดีบนพ้ืนฐานความไววางใจความเคารพเชื่อถือซึ่งกันและกัน
ระหวางบริษัทและผูจัดหาวัตถุดิบและสินคา สงผลใหคุณภาพการทํางานและการผลิตสินคาเปนไป
อยางมีประสิทธิภาพ และมีตนทุนสินคามีราคาถูกดังนั้นบริษัทตางๆ ท่ีไมไดผลิตสินคาเองและ
ตองการรับสินคามาขายตอ ก็จะสั่งซื้อสินคาจากซัพพลายเออร แลวซัพพลายเออร ก็จะดําเนินการ
จัดสง สนิ คาใหต ามใบสั่งซอ้ื สนิ คา (Purchase Order; P/O, P.O.)

24 | โ ล จิ ส ติ ก ส แ ล ะ ซั พ พ ล า ย เ ช น ใ น ร ะ บ บ ธุ ร กิ จ

2) ผูผ ลติ (Manufacturer)
ผูผลิต (Manufacturer) หมายถึง บุคคล/องคกรที่ทําธุรกิจเกี่ยวของกับการนํา

วัตถุดิบมาเขาสูระบบการะบวนการผลิต แปรรูป เปนสินคาหรือบริการ มาทําการขายและ
จัดจําหนา ยกระจายสนิ คาออกสทู อ งตลาด เชน บรษิ ทั เสริมสุข จาํ กัด เปน ตน

3) ผขู ายสง /ผูกระจายสนิ คา (Wholesalers/Distributors)
ผคู าสง (Wholesalers) หรอื อาจเรียกวา ผูก ระจายสินคา (Distributors) เปน การคา

สงจะมีขนาดใหญกวาการคาปลีกและจะครอบคลุมพ้ืนที่กวางขวางกวาการคาปลีก สินคาที่ขายจะ
ขายยกกลอง หรือยกแพ็ค ไมขายสินคาเปนหนวยยอย เชน ชิ้น หรือขวดเปนการขายสินคาเพื่อนํา
สนิ คาเขาสูอตุ สาหกรรมอื่น ๆ ตอไป หรือนําไปขายตอใหแกผูบรโิ ภคข้ันสุดทายอีกทอดหนึ่ง ผคู าสง
จะใหความสําคัญกบั ทําเลท่ีตั้งการจัดบรรยากาศและการสงเสริมการตลาดนอยกวาผูคาปลีกเพราะ
ไมไดเ นน ทําธุรกจิ โดยตรงกับผูบ ริโภคคนสุดทา ย เชน แมคโค รานคาสง เปน ตน

4) ผูขายปลกี (Retailers)
ผูคาปลีก (Retailers) หมายถึงการขายสินคาใหกับผูบริโภคคนสุดทาย โดยการซื้อ

สินคาน้ัน ไปเพ่ือการบริโภคของตนเอง และครอบครัว เปนการขายโดยไมมีการเปล่ียนรูปสินคาทั้ง
สินคาใหมและสินคาใชแลวใหกับประชาชนท่ัวไปเพ่ือการบริโภคหรือการใชประโยชนเฉพาะสวน
บุคคลในครัวเรือน การคาในท่ีนี้มีความหมายรวมถึงการเปนนายหนาหรือตัวแทนการซื้อขาย
สถานีบรกิ ารนา้ํ มัน และสหกรณผูบ รโิ ภค

5) ลูกคา (Customers)
ลกู คา (Customers) หรือผซู ือ้ ลกู คา อาจเปน ไดทง้ั ผบู รโิ ภคคนสุดทา ยทีซ่ อื้ ไปบรโิ ภค

เองและในครอบครัว หรืออาจจะเปนการซอ้ื ไปเพอื่ ขายตอ อกี ทอดหน่ึงเพอ่ื การทํากําไร หรืออาจซอ้ื
ไปเพอ่ื แปรรูป เปนวตั ถุดบิ ของอุตสาหกรรมอน่ื ๆ

วัตถุประสงคที่สําคัญของซัพพลายเชน คือ การสรางหรือการเพิ่มมูลคาใหสูงสุด (Value
Chain) ใหแกซัพพลายเชน ซ่ึงซัพพลายเชนจะเกิดมูลคาก็ตอเม่ือมีการสรางการเช่ือมโยงทุกๆ
กิจกรรมที่เกิดขึ้นในระบบธุรกิจเขาดวยกันดวยตนทุนที่ต่ํา โดยเริ่มจาการเชื่อมโยงขอมูลของทุกๆ
หนวยงานในองคกรเขาดวยกัน ต้ังแต ฝายจัดซ้อื ฝายคลังสินคา ฝายการตลาด ฝายขนสง ฝา ยผลิต
และขยายการเชอ่ื มโยงจากภายในองคกรออกไปสทู ุกๆ องคก รท่ีอยูภายในซัพพลายเชนเดียวกัน

โ ล จิ ส ติ ก ส แ ล ะ ซั พ พ ล า ย เ ช น ใ น ร ะ บ บ ธุ ร กิ จ | 25

2.4 ความสัมพนั ธระหวา งการจัดการโลจิสติกสและซพั พลายเชน

การจดั การโลจสิ ติกสเปนสวนหน่ึงของการจัดการซัพพลายเชน ตั้งแตการวางแผน การนํา
แผนไปปฏบิ ตั ิ และควบคมุ การไหลไปขา งหนา และยอ นกลับอยางมปี ระสิทธิภาพและประสิทธผิ ลของ
สินคา บริการและสารสนเทศท่ีเกี่ยวของตั้งแตจุดเร่ิมตน (ตนน้ํา) ไปจนถึงปลายนํ้า เพื่อที่จะทําให
เกดิ การตอบสนองความตองการของลกู คา

ความสัมพันธระหวางการจดั การโลจิสตกิ สแ ละซพั พลายเชน ความเช่ือมโยงขององคกรแต
ละองคการท่ีอยูในซัพพลายเชนเดียวกันจะทําใหการดําเนินกิจกรรมท้ังภายในองคกรและภายนอก
องคกรน้ันสามารถดําเนินไปไดอยางมีประสิทธิภาพ องคกรจําเปนที่จะตองใชเครื่องมือท่ีเรียกวา
“การบริหารจดั การซัพพลายเชน” เขา มาชว ย

ภาพท่ี 2.3 ความสมั พนั ธร ะหวา งการจัดการโลจสิ ติกสแ ละซพั พลายเชน
ทม่ี า: โครงการภายใตกรอบความรวมมือระหวา งภาครฐั และภาคเอกชน SMEs Project

จากภาพที่ 2.3 จะแสดงใหเห็นถึงความสัมพันธขององคกรหรือหนวยงานทุก ๆ หนวยงานท่ี
อยูในซัพพลายเชนเดียวกันวามีความเก่ียวเนื่องสัมพันธกัน โดยองคประกอบหลักของซัพพลายเชนจะ
ประกอบไปดวย 5 สวนหลักๆ ดังท่ีไดกลาวไวในหัวขอ องคประกอบของซัพพลายเชน คือ ผูจัดหา
วัตถุ ดิ บ (Suppliers) ผู ผลิ ต (Manufacturer) ผู ขายส ง / ผู กระจายสิ น ค า (Wholesalers /
Distributors) ผูขายปลีก (Retailers) และลูกคา (Customers) โดยองคการหรือหนวยงานแตละหนวย
ตา งก็มีหนาท่ีที่ตองรับผิดชอบที่แตกตางกัน โดยท่ีทุก ๆ หนวยงานนั้นจะถูกเช่ือมโยงความสัมพันธดวย
การไหล (Flow) 4 ประเภท ไดแก

Information Flow การไหลของขอ มูลสารสนเทศ เปนการเช่ือมโยงการไหลของขอมูล
สารสนเทศตาง ๆ จากตนนํา้ ไปสูปลายนํ้าและจากปลายนํา้ กลับสูตนน้ํา จะสังเกตเห็นวาหวั ลูกศรจะ
แสดงทิศทางในการไหลท้ังสองทิศทาง (ทั้งไปและกลับ) เน่ืองจากการส่ือสารเปนการเชื่อมโยงขอมูล

26 | โ ล จิ ส ติ ก ส แ ล ะ ซั พ พ ล า ย เ ช น ใ น ร ะ บ บ ธุ ร กิ จ

จําเปนที่จะตองมีทั้งผูรับสารและผูสงสาร และการสื่อสารนั้นจะเกิดท้ังภายในองคการและภายนก
องคกร

ตัวอยาง Information Flow
- ลูกคาแสดงความตองการสินคา ประเภทสินคา จํานวนสินคาและราคา
สินคาโดยแจงใหพ อคา ปลีกทราบถงึ ความตอ งการ
- ผูจัดหาวัตถุดิบ(Suppliers) แจงวันกําหนดสงวัตถุดิบใหแกผูผลิตทราบ
เปน ตน

Primary Product Flow การไหลของตัวสินคา/บริการ/วัตถุดิบ จะแสดงใหเห็นถึงการ
เคลื่อนยายของตัวสินคา/บริการ/วัตถุดิบจากตนนํ้ามาสูปลายน้ํา จะสังเกตเห็นวาหัวลูกศรจะแสดง
ทิศทางในการไหลในทิศทางเดียว เนื่องเม่ือผูจัดหาวัตถุดิบ (Supplier) ไดรับคําส่ังซ้ือวัตถุดิบจาก
ผผู ลิตก็จะจัดสงวัตถุดิบเขาสูโรงงานผผู ลิต เพ่ือเขาสูกระบวนการผลิตใหเปนสินคาสําเร็จรูปจากนั้น
สินคา เหลาน้ีก็จะถูกสงตอไปยังศนู ยกระจายสินคา หรือพอคาสง เพื่อกระจายสินคาไปยงั พอคาปลีก
หรือรา นสะดวกซ้ือตาง ๆ และสินคาสาํ เร็จรูปเหลาน้จี ะถูกจาํ หนา ยออกสตู ลาดไป ถงึ มือของลกู คา

ตวั อยา ง Primary Product Flow
- การเคลอ่ื นยา ยวัตถดุ ิบ (Raw Materials) จากผจู ัดหาวัตถดุ ิบ
(Suppliers)เขา สูโ รงงานผลิตสนิ คา

Primary Cash Flow การไหลของเงิน เงินเปนส่ิงที่ลูกคาจายเปนคาตอบแทนเม่ือไดรับ
สินคา/บริการ/วัตถุดิบจากผูจัดหา จะมีลักษณะการไหลของตัวเงินจากปลายน้ํามาสูตนนํ้า คือจาก
ลูกคาที่เปนผูบริโภคขน้ั สุดทายจายเงนิ เพ่ือซ้ือสนิ คา/บริการจากพอ คา ปลีก พอคาปลีกจะทําการเก็บ
ในเงินในสวนท่ีเปนกําไร (Profit) เอาไวแลวสงตอในสวนตนทุน (Cost) ใหกับศูนยกระจายสินคา
หรือพอคาสงจากน้ันศูนยกระจายสินคา หรือพอคาสงก็จะเก็บในเงินในสวนท่ีเปนกําไรเอาไวแลวสง
ตอในสวนตนทุน ใหกับโรงงานการผลติ โดยเม่ือโรงงานไดรบั เงนิ แลวก็จะนําเงนิ สว นน้ีไปจายใหก ับผู
จัดหาวตั ถุดบิ (Supplier) ทีเ่ กย่ี วขอ ง

ตวั อยางPrimary Cash Flow
- การจา ยเงนิ คาวัตถดุ บิ ใหกับผูจ ัดหาวตั ถุดบิ (Supplier)

Reverse Product Flow ระบบการไหลของสนิ คากลับไป เปนกระบวนการสงคืนสินคา
อาจจะมาจากสาเหตุ เชน การไดรับสินคาที่ไมตรงตามที่ลูกคาตองการ หรือสินคาท่ีลูกคาไดรับเกิด
การชาํ รุดเสียหาย เปน ตน จะมีลักษณะของการไหลจะไหลจากปลายนํ้ามาสตู น น้าํ

โ ล จิ ส ติ ก ส แ ล ะ ซั พ พ ล า ย เ ช น ใ น ร ะ บ บ ธุ ร กิ จ | 27

ตัวอยา ง Reverse Product Flow
- ลูกคาทําการสงคืนสินคาที่ไดรับกลับรานคาที่ลูกคาซื้อสินคามาเนื่องจาก
ของทไ่ี ดร บั ไมตรงตามทล่ี กู คา ไดเ สนอส่ังซอ้ื ไปในใบสงั่ ซอื้ เปนตน

2.5 โครงขาย Supply Chain

ภาพที่ 2.4 แสดงใหเหน็ ถงึ โครงขาย Supply Chain
จากที่ไดกลา วมาขางตนแลว การจดั การซัพพลายเชนเปนการบูรณาการ การประสานงาน
กระบวนการทางธรุ กจิ ตั้งแตการวางแผน การจดั การกจิ กรรมตา ง ๆ การเคลอ่ื นยายกระจายสินคา /
บริการ หรือขอมูล ขาวสารการจัดเก็บสตอกสินคาและวัตถุดิบ เริ่มตั้งแตตนนํ้า (Upstream)
ไปจนถึงปลายนา้ํ (Downstream) เพอ่ื ใหส ามารถดําเนนิ การทางธุรกิจไดอยา งมีประสิทธภิ าพ
โดยในการศึกษาซัพพลายเชนของธุรกิจหน่ึงธุรกิจอาจมีอีกหลาย ๆ ธุรกิจเก่ียวเน่ืองกันอยู
เปนเหมือนหวงโซธุรกิจ ถาหากหวงโซใดประสบปญหา หวงโซที่ตอจากหวงโซนั้นก็อาจจะไดรับ
ผลกระทบตามไปดวย ดังน้ันการศึกษาซพั พลายเชนของธุรกิจก็ยอมเปน ปจจัยทสี่ ําคญั ที่จะทําใหเรา
สามารถที่จะประเมินผลของธุรกิจ และชว ยลดความเส่ยี งท่ีอาจจะเกดิ ขนึ้ ในธรุ กจิ ได

28 | โ ล จิ ส ติ ก ส แ ล ะ ซั พ พ ล า ย เ ช น ใ น ร ะ บ บ ธุ ร กิ จ

ตัวอยางซัพพลายเชนปลากระปอ ง

การกระจายสินคา

ภาพที่ 2.5 ซพั พลายเชนปลากระปอง

จากภาพที่ 2.5 แสดงใหเห็นถึงซัพพลายเชน (Supply Chain) ของกระบวนการผลิตปลา
กระปอง ซึ่งในการผลิตปลากระปองก็จะมีวัตถุดิบ (Raw Material) 3 อยางดวยกัน คือ โลหะทํา
กระปองและฝาเปด มะเขือเทศท่ีจะนํามาทําซอสมะเขือเทศ และปลาซาดีนหรือปลาแมคคาเรล
ท่ีเปนวัตถุดิบสําคัญในการผลิตปลากระปองโดยในซัพพลายเชนของการผลิตปลากระปองนั้นจะมี
ซัพพลายเชนของการผลิตสนิ คา ยอ ย ๆ อยูด ว ยกัน 3 ซัพพลายเชน คือ

1.ซพั พลายเชนการผลิตกระปองและฝากระปองสําหรับการบรรจุซัพพลายเชนน้เี ริม่ ตน
จากโลหะแผนจะถกู ขนสงเขาโรงงานผลติ กระปอ งและฝา ผานกระบวนการผลิตเปนกระปอ งท่พี รอ ม
ในการบรรจสุ ินคา แลวกระปอ งทเี่ ปนสนิ คา สําเร็จรปู (Finish Goods) ของโรงงานผลิตกระปอ งกจ็ ะ
ถกู สงเขา มายงั โรงงานผลติ ปลากระปอง

2. ซัพพลายเชนการผลิตซอสมะเขือเทศซัพพลายเชนน้ีจะเริ่มต้ังแตการเก็บเก่ียวมะเขือ
เทศสดจากไร ถูกขนสงมายังโรงงานผลิตซอสมะเขือเทศ ผานกระบวนการผลิตเปนซอสมะเขือเทศ
จากนั้นซอสมะเขือเทศเปนสินคาสําเร็จรปู (Finish Goods) ของโรงงานผลติ ซอสมะเขอื เทศ กจ็ ะถูก
สง เขามายังโรงงานผลติ ปลากระปองตอ ไป

3. ซัพพลายเชนปลาสดซัพพลายเชนนี้จะเริ่มตนขึ้นต้ังแตชาวประมงทําการจับปลาจาก
ทะเล แลว ทาํ การขนสงปลามายังโรงงานผลติ ปลากระปอง

เม่ือวัตถุดิบหลัก ท้ัง 3 ชนิดนี้เขามาสูโรงงานผลิตปลากระปองพรอมกันแลวกระบวนการ
ผลติ ปลากระปองก็จะเรม่ิ ข้ึน จนเมอ่ื ผลิตเปนสินคาสําเร็จรูป (Finish Goods) ปลากระปองเหลา นก้ี ็
จะถูกกระจายไปยังพ้ืนท่ีตาง ๆ ท้ังในรูปแบบของการขายปลีก (Retail)หรือการขายสง
(Wholesale)เพือ่ ใหสินคา ไปสผู ูบรโิ ภค (Consumer)


Click to View FlipBook Version