The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by jjooee777, 2022-07-05 05:28:36

Inside Logistic 18.2x25.7 cm

Inside Logistic 18.2x25.7 cm

การออกแบบบรรจภุ ัณฑ | 229

- ภาชนะบรรจุจําเปนตอ งเปด หรอื ปดบอยหรือไม
- เม่ือสินคาสงถึงที่แลวภาชนะบรรจุนํากลับมาใชงานใหมได
หรือไม
- เมอ่ื ใชง านแลวจะมปี ญ หาตอ งการทิ้งหรือไม
- ภาชนะบรรจุจําเปนตองมีรูเจาะหรือหูห้ิวใหพกพาไปได
โดยสะดวกหรือไม
- สามารถเปล่ียนรูปแบบของภาชนะบรรจุเพ่ือการแสดงสินคา
ไดหรอื ไม
- เคล่ือนยายโดยใชก ระบะไดหรือไม
- มปี ระโยชนหลงั การใชห รือไม
5. ปจจัยดานการส่ือสารกับผูเกี่ยวของในระบบการขนสง ตองคําถึง
ถึงการมีขอมูลบนหีบหอท่ีเหมาะสมเพียงพอกับการส่ือสารใหผูเก่ียวของ เพื่อใหสินคาไดจัดสงไปยัง
สถานทถี่ กู ตอ ง โดยสะดวกรวดเรว็ โดยมีขอความหรอื สัญลกั ษณต า ง ๆ บนหีบหอ ดงั น้ี 1) รายละเอยี ด
เกยี่ วกบั สนิ คา 2) วธิ ีปอ งกันความเสยี หายแกส ินคา ระหวา งการขนสง 3) เสนทางการขนสงสนิ คา
11.6.2 ความเสียหายทเ่ี กดิ ขนึ้ ในการกระจายสนิ คา
ความเสียหายตางๆ แกสินคาในระหวางการขนสง โยกยาย และเก็บรักษา เปน
ปญหาพืน้ ฐานของการบรรจภุ ัณฑประการหน่ึง ซึ่งความเสียหายหลายประการณไมสามารถคาดเดา
ได จงึ เปน เพื่อคมุ ครองสินคาจากความเสียหายท่ีเกิดขึน้ ใรระบบการขนสงโยกยา ย สามารถจําแนกได
ดงั น้ี
11.6.2.1 ความเสียหายจาการขนถายลําเลียง การขนถายหรือการโยกยาย
ลําเลียง เปนการเคลื่อนยายสินคาจากตําแหนงหนึ่งไปยังอีกตําแหนงหน่ึง ในระยะทางที่ไมไกลกัน
มากนัก ความเสยี หายจากการขนถายลําเลียง มันเปนความเสียหายในทางกลโดยที่เกิดขึ้นมารกท่สี ุด
คอื การตกกระแทกในแนวต้ัง และรองลงมาคือการกระแทกกันเองของหีบหอในแนวนอน ปจ จัยที่มี
ผลตอความเสียหายจากการขนสงมีดงั นี้
- น้าํ หนักของสนิ คา สินคา มีนา้ํ หนักมาก เชน เกนิ 50 กิโลกรมั พบวา มกี าร
ตกกระแทกบอ ยกวา สินคา ทบี่ รรจุน้ําหนกั ทเี่ หมาะสม ควรอยรู ะหวา ง 10 – 25 กิโลกรมั
- ขนาดและรูปทรงของสินคา สินคามีขนาด (กวาง x ยาว x สูง)
ถา สินคามีขนาดมากกวา 70 x 50 x 50 เซนติเมตร และมีน้ําหนักเกิน 25 กิโลกรัม ไมเหมาะสมกับ
การลาํ เลยี งดว ยแรงงาน เพราะจะเกดิ การตกกระแทกไดงาย

230 | การออกแบบบรรจุภณั ฑ

- ลักษณะของการลําเลียงขนถาย จํานวนครั้งและระยะการตก
กระแทกของสินคาขึ้นอยูกับสภาพการขนถายสินคา เชน การขนถายจากระดับสูง-ต่ํา มีโอกาสตก
กระแทกมากกวา

- ลักษณะของสินคา สินคาที่บอบบางหรือมีชิ้นสวนท่ีแตกหักงาย
ยอมเสยี หายหากไมไ ดร ับการหีบหอหรือการปอ งกนั ที่เพียงพอ

- จํานวนคร้ังของการขนถาย ถาในการขนสงกระจายสินคาตอง
โยกยายขนถายลําเลียงหลายจุดหลายครั้ง ยอมมีโอกาสเสียหายมากกวา เชน ในการขนสงไป
ตางประเทศความเสียหายนี้จะเกิดข้ึนไดมากกวาการขนสงในประเทศ เน่ืองจากมีจุดที่ขนถายมาก
คร้งั กวา

11.6.2.2 ความเสียหายจากการขนสง การสงสินคาไปยังสถานที่ตาง ๆ ท้ังใน
ระยะใกล และระยะไกล ซ่ึงความเสียหายของสินคาในระหวางการขนสงสามารถเกิดขึ้นได จากความ
เสียหายสามารถจาํ แนกจากการขนสง โดยยานพาหนะประเภทตา ง ๆ ไดดังน้ี

- การขนสงโดยรถไฟ ความเสียหายจากการขนสงน้ีมักเกิดจากการ
กระแทก ความเสียหายจากการส่ันกระเทือน โดยความเสียหายจากการกระแทกนั้นข้ึนอยูกับ
ธรรมชาตขิ องตวั สินคา และวิธกี ารบรรจุ โดยทั่วไปแลวความเสียหายนไ้ี มร ุนแรง หากการบรรจุสินคา
ทาํ ไดแนนพอดี และภาชนะบรรจุมคี วามแข็งแรงในระดับปกติ แตความเสียหายจากการสั่นสะเทือน
มีความสําคัญมาก สําหรับสินคาประเภทเครื่องใชไฟฟาและอุปกรณทางวิศวกรรมบางชนิด
การสน่ั สะเทอื นอาจทําใหน อต หรอื สกรทู ยี่ ึดอยภู ายในตวั สินคา หลุดออกมา ทาํ ใหส ินคา เสียหายได

- การขนสงโดยรถยนต ความเสียหายสวนใหญท่ีเกิดข้ึนมาจากการ
ส่ันสะเทือน ซ่ึงความรุนแรงจะมากหรือนอยนั้นขึ้นอยูกับสภาพถนน คุณสมบัติของสินคา หากบรรจุ
สินคาในหีบหอหรอื ในยานพาหนะไมแ นนพอ โอกาสที่สินคากระทบกระแทกกันเองในระหวางการขนสงก็
เกิดข้ึนมาก มผี ลใหสินคาบางชนดิ แตกรา ว เสียหายได ความเสยี หายจากการเกิดอุบัตเิ หตุซ่งึ การขนสงทาง
รถยนตมีอันตราการเกิดอุบัติเหตุสูงกวาการขนสงโดยยานพาหนะอน่ื และความเสียหายจากสภาพอากาศ
รวมท้ังการสญู หายจากการลกั ขโมยเปน ตน

- การขนสงโดยเครื่องบิน เน่ืองจากน้ําหนักบรรทุกเปนขอจํากัด
สาํ คัญของการขนสงทางอากาศ ดังน้ัน ภาชนะท่ีใชสาํ หรบั การขนสงวิธีน้ีมกั เนนใหมีน้ําหนักเบาที่สุด
เทาที่จะทําได การขนสงวธิ ีนี้มีความเสียหายนอยท่ีสุด แตความเสียหายหลักของสินคาท่ีเกิดขึ้นเปน
ผลจากการส่ันสะเทอื นทคี่ วามถีส่ งู จากการทํางานของเครอ่ื งยนต และสภาพภายในทอ งเครื่องบนิ

การออกแบบบรรจภุ ัณฑ | 231

- การขนสงโดยเรือ พบวาเกิดความเสียหายไดหลายลักษณะ ท้ังทาง
กล ทั้งจากสภาพดินฟาอากาศ ความเสียหายจากสิ่งมีชีวิต เพราะเปนการขนสงระยะไกลใชเวลานาน
ตอ งใชก ารลําเลยี งขนถายหลายทอด จึงเกดิ ความเสยี หายแกสนิ คาไดม าก

11.6.2.3 ความเสียหายจากสภาพอากาศ ความเสยี หายจากสภาพอากาศนั้น
มีความสัมพันธโดยตรงกับสภาพตลอดเสนทางของการสงสินคา ซึ่งอาจเกิดจากน้ําฝน ไอน้ําทะเล
การกลั่นตัวของไอน้ําท่ีชื้นจัดในเรือ ความชืน้ สัมพัทธใ นอากาศ ปริมาณความชอ นในสินคาลาภชนะ
บรรจุ รวมท้ังอุณหภูมิของอากาศอุณหภูมิและความช้ืนตาง มีความสัมพันธซ่ึงกันและกันและสงผล
ตอ ความเสยี หายของสนิ คา

11.6.2.4 ความเสียหายจากส่ิงมีชีวิต ความเสียหาทางชีวะ (Biological
Hazards) เกิดความส่ิงมีชีวิตท่ีมีอยูในสภาพแวดลอม ไดแก ส่ิงมีชีวิตขนาดเล็ก เชน เชื้อรา แมลง
ชนดิ ตาง ๆ ตลอดจนจากการกระทาํ ของมนษุ ย ทําใหส ินคา เสยี หาย

11.6.2.5 ความเสยี หายจากเหตุอ่นื ไดแ กความเสยี หายตอไปนี้
- ความเสยี หายจากการเกบ็ ในคลงั สนิ คา
- ความเสียหายจากอบุ ัติเหตุ วนิ าศภัย การสงผดิ ที่ ภยั ธรรมชาติ
- ความเสียหายในลักษระของการปนเปอน เชนการถูกปนเปอน

โดยสนิ คา ท่ีวางอยใู กล เชนหมึกพิมพ หรอื สนิมจากสิ่งทว่ี างอยใู กล
11.6.3 การปองกันความเสยี หาของสนิ คา ในการขนสงกระจายสนิ คา
ความเสียหายตาง ๆ เปนสิ่งที่ปองกันหรือผอนหนักใหเปนเบาได โดยการบรรจุ

หีบหอ ท่เี หมาะสม อาทิเชน
- การใชภ าชนะทแี่ ข็งแรง สามารถรบั แรงกดเมื่อเรียงซอ นได
- การออกแบบภาชนะบรรจุใหมีขนาดและรูปรางท่ีสอดคลองกับวิธี

ขนสงลําเลยี ง
- นํ้าหนักบรรจุที่เหมาะสมก็เปนสวนสําคัญตอการขนถายอยางมี

ประสิทธิภาพ
- การใชแผนก้ัน แผนรอง โฟม ฟองนํา้ พลาสติกอัดอากาศ เปนวัสดุ

ภายในภาชนะบรรจุเพอื่ ลดความรุนแรงของการสั่นสะเทอื นและการตกกระแทก
- การปอ งกันความชนื้ และไอนํ้าดว ยการหอ หุมสินคา ดวยวัสดุปอ งกัน

ความชน้ื และไอนํา้ ได

232 | การออกแบบบรรจภุ ณั ฑ

- การใชระบบขนถายหนวยใหญ จะชวยใหลําเลียงขนยายเปนไป
อยา งตอ เนือ่ ง รวดเร็ว สะดวกในการตรวจสอบคุณภาพ ลดความเสยี หายของสนิ คา ระหวางการขนสง
โยกยา ยได

การออกแบบบรรจภุ ัณฑ | 233

แบบฝกหัดทา ย บทท่ี 11

การออกแบบบรรจุภณั ฑ

-----------------------------------------------------------------------------------
(ตอนที่ 1) จงเลือกคําตอบทถ่ี กู ที่สดุ

1. ขอใด คือ บทบาทหนา ท่ีของการสือ่ สารทางการตลาด
ก. การรักษาคุณภาพและปกปองตวั สนิ คา การอาํ นวยความสะดวก
ข. ชว ยลดคา ใชจ ายในการผลติ และการขนสง
ค. การออกแบบบรรจภุ ณั ฑใ หม
ง. เปน ตวั ชบ้ี ง และสือ่ สารรายละเอียดสนิ คา ดงึ ดูดผบู ริโภค แสดงถึงภาพลักษณ

2. ขอ ใด ไมใช บทบาทหนา ทีข่ องบรรจุภณั ฑ
ก. การรกั ษาคณุ ภาพและปกปองตวั สินคา
ข. ชวยใหก ารขนสงสินคา เปนไปดวยความสะดวก รวดเร็ว และปลอดภยั
ค. รองรับสนิ คาใหร วมกนั เปนกลุม
ง. เปน ตวั ช้ีบงและสอ่ื สารรายละเอียดสินคา ดงึ ดดู ผบู รโิ ภค แสดงถงึ ภาพลักษณ

3. ขวดนํ้าหอม อยูในการจาํ แนกตามวธิ ีการบรรจแุ ละการขนถายขอใด
ก. บรรจุภณั ฑเฉพาะหนวย
ข. บรรจุภณั ฑชั้นนอกสุด
ค. บรรจภุ ณั ฑชัน้ ใน
ง. บรรจภุ ณั ฑอตุ สาหกรรม

4. กลองกระดาษบรรจนุ ม อยูใ นการจาํ แนกตามวธิ ีการบรรจุและการขนถายขอ ใด
ก. บรรจภุ ณั ฑเ ฉพาะหนวย
ข. บรรจุภณั ฑชนั้ นอกสดุ
ค. บรรจภุ ณั ฑชั้นใน
ง. บรรจุภณั ฑอ ุตสาหกรรม

5. ลงั บรรจขุ วดน้ําอดั ลม อยูใ นการจาํ แนกตามวธิ กี ารบรรจุและการขนถา ยขอใด
ก. บรรจภุ ณั ฑเ ฉพาะหนวย
ข. บรรจภุ ณั ฑช ั้นนอกสุด
ค. บรรจุภณั ฑชั้นใน
ง. บรรจภุ ณั ฑอตุ สาหกรรม

234 | การออกแบบบรรจุภณั ฑ

6. ปบ ขนมปง อยูใ นการจําแนกตามวิธีการบรรจแุ ละการขนถายขอใด
ก. บรรจุภณั ฑเฉพาะหนวย
ข. บรรจภุ ณั ฑช ั้นนอกสุด
ค. บรรจุภณั ฑช ้นั ใน
ง. บรรจุภณั ฑอ ตุ สาหกรรม

7. ขวดนํ้าโออชิ ิ อยูในการจําแนกตามวิธกี ารบรรจแุ ละการขนถา ยขอใด
ก. บรรจภุ ณั ฑเฉพาะหนว ย
ข. บรรจภุ ณั ฑช ้ันนอกสุด
ค. บรรจภุ ณั ฑช นั้ ใน
ง. บรรจุภณั ฑอตุ สาหกรรม

8. กลองกระดาษบรรจุครีมฟอนด อยใู นการจาํ แนกตามวธิ ีการบรรจุและการขนถา ยขอใด
ก. บรรจุภณั ฑเฉพาะหนว ย
ข. บรรจภุ ณั ฑช ้ันนอกสดุ
ค. บรรจุภณั ฑชั้นใน
ง. บรรจภุ ณั ฑอ ุตสาหกรรม

9. การทํากระดาษจากกระดาษเกา คือ กลยุทธบ รรจภุ ัณฑเ พื่อลดปญ หาส่งิ แวดลอมในขอ ใด
ก. Recycle
ข. Reuse
ค. Reduce
ง. Reject

10. ปจจยั ในการพิจารณาบรรจุภณั ฑเพอ่ื การขนสง มกี ่ปี จจยั
ก. 2 ปจจยั
ข. 3 ปจ จยั
ค. 4 ปจ จยั
ง. 5 ปจจยั

การออกแบบบรรจภุ ัณฑ | 235

(ตอนท่ี 2) จงตอบคาํ ถามตอ ไปนี้ และอธบิ ายพอเปน สังเขป

1. จงอธิบายถึงความหมายของบรรจภุ ัณฑ
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
.................................................

2. จงอธบิ ายบทบาทหนาทีข่ องบรรจภุ ณั ฑ ทม่ี ตี อ ผูบ รโิ ภค สงั คม และเศรษฐกจิ
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
.................................................

3. จงอธิบายถงึ ประเภทของบรรจุภณั ฑ โดยจาํ แนกตามวธิ กี ารบรรจุและการขนถา ย
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
.................................................

236 | เทคโนโลยีและสารสนเทศในงานโลจิสติกส

รายละเอียดการสอน

ประจําสปั ดาหท ี่ 12 (จํานวน 3 ช่วั โมง)

หวั ขอ การสอน : เทคโนโลยแี ละสารสนเทศในงานโลจิสติกส
จุดประสงคก ารสอน เพื่อใหส ามารถ

1. อธิบายความหมาย ความสําคัญ ประโยชนของเทคโนโลยีและสารสนเทศในงาน
โลจสิ ตกิ สไ ด

2. เชื่อมโยงความสัมพันธระหวางเทคโนโลยแี ละสารสนเทศในงานโลจิสติกสกบั องคการ
ได

3. อธิบายลกั ษณะของเทคโนโลยแี ละสารสนเทศในงานโลจสิ ตกิ สในองคก ารได
4. อธิบายความหนาท่ีของเทคโนโลยีและสารสนเทศในงานโลจิสติกสท่ีมีผลกระทบตอ

องคก ารได

รายการสอน

12.1 บทนํา
12.2 ความสําคญั ของเทคโนโลยีและสารสนเทศในงานโลจสิ ติกส
12.3 ตวั อยา งและประโยชนของเทคโนโลยีสารสนเทศทน่ี ําประยุกตใชงานในโลจสิ ตกิ ส

วธิ กี ารสอน

บรรยาย ถาม – ตอบ

หนังสือ / เอกสารประกอบการสอน

David Simchi-Levi, Philip Kaminsky, Edith Simchi-Levi. (2549). “การจดั การและออกแบบ
โซอุปทาน” แปลและเรียบเรียงจาก Designing & managing the supply chain” –
บริษัท กรุงเทพฯ: ท็อป, I.วลัยลักษณ อัตธีรวงศ, II.วัชรวี จันทรประกายกุล, ผูแปลและ
เรยี บเรยี ง

ขอดี-ขอเสียของระบบGPS. (2543). สืบคนเม่ือ 12 พฤษภาคม 2560, จาก https://
barcode1122.wordpress.com/2013/04/15

ชาภา พลต้ือ พิเชษฐ ชอผกา วรนารถ แสงฉาย และ เผาภัค ศิริสุข. (2549). “ระบบติดตาม
ควบคุมการผลิตอัตโนมัติสําหรับอุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดยอม (SMEs) :

เทคโนโลยแี ละสารสนเทศในงานโลจิสตกิ ส | 237

กรณีศึกษาโรงงานขึ้นรูปโลหะแผน,” การประชุมสัมมนาเชิงวิชาการประจําป 2549
การจัดการโลจสิ ตกิ สและโซอปุ ทาน ครง้ั ที่ 6, พฤศจิกายน 2549
ชุมพล มณฑาทิพยกุล. (2550). เอกสารประกอบการสอนการจัดการซัพพลายเชน; สาขาการ
จัดการโลจสิ ตกิ ส, บัณฑติ วิทยาลยั การจดั การและนวัตกรรม, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระ
จอมเกลา ธนบุรี
ซอฟตแวรสําหรับการจัดการคลังสินคา. (2551). สืบคนเม่ือ 13 พฤษภาคม 2560 ,
จากhttps://riverplusblog.com/2011/08/18/warehouse-management
ประจวบ กลอมจิตร. (2556). “โลจิสติกส-โซอุปทาน : การออกแบบและจัดการเบื้องตน”
กรุงเทพฯ : ซเี อด็ ยูเคชั่น
ประโยชนของบารโคดในการใชงานดานตางๆ. (2556). สืบคนเมื่อ 3 พฤษภาคม 2560, จาก
https://barcode1122.wordpress.com/2013/04/15
พงษชัย อธิคมรัตนกุล. (2550). เอกสารประกอบการสอนการจัดการคลังสินคา; สาขาการจัดการ
โลจิสติกส, บัณฑิตวิทยาลัยการจัดการและนวัตกรรม, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอม
เกลา ธนบรุ ี
ไพบูลย เกียรติโกมล. (2551). ระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดการ. กรุงเทพมหานคร : ซีเอ็ดยูเคชั่น,
สถาบันสงเสริมความเปนเลิศทางเทคโนโลยีอารเอฟไอดีแหง ประเทศไทย. (ม.ป.ป.).
องคประกอบ RFID. http://www.rfid.or.th
ระบบ EDI คืออะไรและสําคัญกับงานโลจิสติกสอยางไร. (2554). สืบคนเมื่อ 20 เมษายน 2560,
จาก http://logisticsrmuttochan.blogspot.com/2011/08/edi.html
สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส คณะบริหารธุรกิจ มหาวิท ยาลัยธนบุรี. (2559). เอกสาร
ประกอบการสอนวิชา การจัดการโลจิสติกสและซัพพลายเชน (Logistics and Supply
Chain Management) พิมพครงั้ ท่ี 2. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลยั ธนบุรี
MRP คืออะไร Material Requirement Planning. (2560). สืบคนเมื่อ 3 มิถุนายน 2561,
จากwww.mindphp.com/คูมือ/73-คืออะไร/4591-what-is-mrp.htm

โสตทศั นวสั ดุ

บอรดขาว ปากกา แผน บันทึกขอมูล เคร่อื งคอมพิวเตอร เครือ่ งฉายภาพ

238 | เทคโนโลยแี ละสารสนเทศในงานโลจสิ ติกส

การประเมินผล

ถาม – ตอบในชนั้ เรียน
ทดสอบยอ ยในชน้ั เรยี น
ตรวจการทาํ แบบฝก หัดทายบท
ผลการสอบประจาํ ภาคการศึกษา

งานท่มี อบหมาย

1. ใหทาํ แบบฝก หัดทายบททุกขอ
2. ใหทบทวนบทเรยี นตามท่ีไดเรียนไป
3. ใหศึกษาเพ่มิ เตมิ และทดลองทาํ แบบฝกหดั ในหวั ขอท่ีไดเรยี นไปจากหนังสอื เลมอ่นื ๆ
4. ใหเตรยี มเนอ้ื หาสาระความรูสําหรับที่จะเรียนประจําสปั ดาหตอ ไป

เทคโนโลยีและสารสนเทศในงานโลจสิ ติกส | 239

บทท่ี 12
เทคโนโลยสี ารสนเทศในกิจกรรมโลจิสตกิ ส

12.1 บทนาํ

ปจจบุ ันเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology หรอื IT) ไดร ับการพฒั นาอยาง
ตอเน่ือง ขณะนี้ องคกรตาง ๆ ไดมีการนําระบบไอทีเขามาใชภายในองคกรอยางแพรหลาย
การนําเอาระบบไอทีเขามาใชโดยสวนใหญจะจํากัดอยูเพียงการใชงานระบบคอมพิวเตอรภายใน
สํานักงาน แนวคิดดานการจัดการโซอุปทาน (Supply Chain Management หรือ SCM) ไดรับ
การยอมรับวาเปนแนวความคิดสาํ คัญในการการจัดการตนทุนขององคกรไดอยางเหมาะสม มีความ
ครอบคลมุ ต้ังแตแ หลงวัตถุดบิ ไปจนถึงผูบ ริโภค SCM ทด่ี จี ะชวยใหอ งคประกอบตา ง ๆ ในโซอ ุปทาน
ไดรับประโยชน ปจจัยท่ีสําคัญอยางหน่ึงในการจัดการโซอุปทานใหเกิดประสิทธิภาพน้ันคือ การ
ควบคมุ และตรวจสอบการไหลของ “ขอ มลู ” ทม่ี อี ยูมากมายและหลากหลายชนดิ ไดอยางเหมาะสม

12.2 ความสําคญั ของเทคโนโลยีและสารสนเทศในงานโลจสิ ตกิ ส

การใชเทคโนโลยีและสารสนเทศท่ีใชในระบบโลจิสติกสในการขับเคล่ือนกิจกรรมของ
องคกรตา งๆในซพั พลายเชน (Supply Chain) ใหมปี ระสทิ ธภิ าพ เปน การลดตน ทนุ และเสรมิ สรางให
มีการเคล่ือนยายสินคาและบริการจากแหลงผลิตตนน้ําไปสู ผูตองการหรือผูบริโภค (Consumers)
ไดอยา งมปี ระสทิ ธิผล ทาํ ใหโ ซอุปทานกลายเปน โซแ หงคุณคา หรือ “Value Chain” ไดอ ยา งแทจ รงิ

นวัตกรรมดานอุปกรณและระบบไอที ซึ่งสามารถนํามาประยุกตใชสําหรับการจัดการโซ
อุปทานได เทคโนโลยี เชน ระบบอารเอฟไอดี (RFID หรือ Radio Frequency Identification)
ระบบวางแผนทรพั ยากรองคกร (Enterprise Resource Planning หรือ ERP) ระบบพีโอเอส (POS
หรือ Point of Sales) ระบบการจัดการคลังสินคา (Warehouse Management System หรือ
WMS) ระบบจัดการลูกคา สัมพันธ (Customer Relationship Management หรือ CRM) ระบบอีดี
ไอ (EDI หรือ Electronic Data Exchange) ระบบอีบีเอ็กซเอ็มแอล (ebXML) ระบบสารสนเทศ
ภูมิศาสตร (Geographical Information System หรือ GIS) ระบบจีพีเอส (GPS หรือ Global
Positioning System) เปนตน ระบบเหลา น้ีบางระบบมีการใชอยแู ลว ในขณะทบ่ี างระบบกาํ ลังจะมี
การเริ่มใชในองคกรตาง ๆ อยางไรก็ตาม ระบบตาง ๆ มักถูกใชในลักษณะท่ีเปนเอกเทศ กระจัด
กระจาย ขาดการบูรณาการขอมลู เขาดว ยกัน การใชเทคโนโลยีหรือไอทีที่ทันสมัยเขาชว ยเพื่อใหเกิด
ความรวดเร็วและ ถูกตอง ซึ่งแนวโนมการดําเนินธุรกิจทุกรูปแบบหลีกหนีไมพนในการลงทุนเร่ือง

240 | เทคโนโลยแี ละสารสนเทศในงานโลจสิ ติกส

เทคโนโลยี เพื่อใหเกิดประสิทธิภาพการบริหารโลจิสติกสและซัพพลายเชนสูงสุด การลงทุนดาน
เทคโนโลยี จึงจําเปนตองดําเนินควบคูกันไป ย่ิงแนวโนมการจัดซื้อในอนาคตตอไปจะเปนรูปแบบ
เอาทซอรส มากขนึ้ ไมม ีซัพพลายเออร ไมมีสต็อค ทุกคนมองไปท่ลี ูกคาปลายทางเม่ือมคี วามตองการ
เขามา ทุกสวนท่ีเกี่ยวของในซัพพลายเชนสามารถรับรูขอมูลซ่ึงกันและกัน การเติมเต็มสินคาจะ
เกดิ ขนึ้ โดยอัตโนมตั ิ ซัพพลายเออร จึงกลายเปน ผูมีสวนไดสว นเสยี และถงึ ขั้นยกระดับเปน พนั ธมิตร
(Business Alliance) ไมใชเปนเพียงแคผูผลิตวัตถุดิบและสงสินคาตามคําสั่งอีกตอไป เปนการ
สนับสนุนกิจกรรมของโลจิสติกสและซัพพลายเชนใหมีประสทิ ธิภาพ ท้ังในดา นคุณภาพ ตนทุน และ
เวลา ซง่ึ จําเปนตอ การบริหารจดั การโลจสิ ตกิ ส และโซอปุ ทาน

12.3 ความสาํ คัญของเทคโนโลยแี ละสารสนเทศในงานโลจสิ ติกส

12.3.1 ระบบบอกพิกัดบนพ้ืนโลกโดยอาศัยดาวเทียม (Global Positioning
Systemหรือ GPS)

ระบบบอกพิกัดบนพ้ืนโลกโดยอาศัยดาวเทียม (GPS) คือ ระบบที่สามารถระบุ
ตาํ แหนงตางๆ ไดท่ัวโลก" ตําแหนงท่ีไดนั้น มาจากการคํานวณพิกัดของดาวเทียมระบุพกิ ัดท่ีลอยอยู
ในอวกาศ มีดาวเทียวถึง 24 ดวง ที่คอยหาตําแหนงที่เคร่ืองรับสัญญาณ GPS อยู จากคาพิกัด
Latitude และ Longitude ที่ไดจากเคร่ืองรับสัญญาณ GPS นั่นเอง จากความสามารถตรงน้ีของ
GPSเราจึงสามารถนํามาประยุกตใชงานไดอยางหลากหลาย แตท่ีนิยมใชกันอยางแพรหลายใน
ปจจุบันมีอยู 2 ระบบ คือ GPS Navigator และ GPS Tracking ระบบท่ีสามารถระบุตําแหนงตางๆ
ไดท่ัวโลก" ตําแหนงท่ีไดนั้น มาจากการคํานวณพิกัดของดาวเทียม 24 ดวง ที่คอยหาตําแหนงที่
เครื่องรับสัญญาณ GPS อยู ก็สามารถรูไดทันที วาอยูตรงไหนของโลก จากคาพิกัด Latitude และ
Longitude ท่ีไดจากเคร่ืองรับสัญญาณ GPS น่ันเอง จากความสามารถตรงนี้ของ GPS จึงสามารถ
นํามาประยุกตใชงานไดอยางหลากหลาย แตท่ีนิยมใชกันอยางแพรหลายในปจจุบันมีอยู 2 ระบบ
GPS Navigator และ GPS Tracking (บทความเขียนโดย TOD.co.th)

ปจจุบันน้ีไดมีการใชงานGPSในรูปแบบของการกําหนดพิกัดของสถานที่ตางๆ
การทําแผนทก่ี ารนําทางระบบการควบคมุ ยานพาหนะการวางแผนการใชประโยชนท่ีดนิ การกาํ หนด
จุดเพื่อบรรเทาสาธารณะภัย การวางผังสําหรับการจัดสง ประโยชนของระบบกําหนดตําแหนงบน
โลกดว ยดาวเทยี ม การนาํ รองจากที่หนึง่ ไปยงั อน่ื ๆ

ประโยชนของระบบบอกพิกัดบนพื้นโลกโดยอาศัยดาวเทียม (Global
Positioning System หรือGPS)

- นําไปใชประโยชนการวางแผนการใชประโยชนท่ีดิน โครงขายหมุดดาวเทียม
GPS ของกรมทดี่ ิน (DOLVRS)

เทคโนโลยีและสารสนเทศในงานโลจสิ ตกิ ส | 241

- นาํ ไปใชประโยชนก ารกําหนดจดุ เพื่อบรรเทาสาธารณะภยั เชน เสื้อก๊ักชูชีพท่ีมี
เครื่องสง สญั ญาณGPS

- นาํ ไปใชประโยชนการวางผังสําหรับการจดั สง สินคา
- นําไปใชประโยชนทางทหาร ดูรายละเอียดเก่ียวกับอนาคตGPS ทางทหารจาก
กระทรวงกลาโหมสหรัฐทนี่ ี่ The Future of the Global Positioning System
- นําไปใชประโยชนทางการกีฬา เชน ใชในการฝกฝนเพ่ือวัดความเร็ว ระยะทาง
แคลลอรีท่ เี่ ผาหรอื ใชในสนามกอลฟ เพ่อื คํานวณระยะจากจุดที่อยถู ึงหลมุ
- นําไปใชประโยชนการสันทนาการ เชน กําหนดจุดตกปลา หาระยะเวลาท่ี
เหมาะสมในการตกปลา การวัดความเร็ว ระยะทาง บันทึกเสนทาง เครื่องบิน/รถบังคับวิทยุระบบ
การควบคุมหรอื ติดตามยานพาหนะ
- นําไปใชประโยชนการติดตามบุคคล เพื่อใหทราบวายานพาหนะอยูท่ีใด
มกี ารเคล่อื นที่หรือไม มีการแจงเตือนใหกับผตู ิดตามเมื่อมีการเคลอื่ นท่เี ร็วกวา ท่ีกําหนดหรอื เคลอ่ื นท่ี
ออกนอกพ้ืนที่หรือเขาสูพ้ืนท่ีท่ีกําหนด นอกจากนั้นยังสามารถนําไปใชในการปองกันการโจรกรรม
และติดตามทรัพยส นิ คนื
12.3.2 บารโ คด (Barcode)
บารโคดหรือแถบรหัส หรือรหัสแทง คือตัวเลขหรือรหัสท่ีอยูในรูปที่เหมาะสมตอการ
อาน มีการเช่ือมโยงระบบต้งั แตการรับสินคาเขา จนสิน้ สดุ กระบวนการทีก่ ารนาํ สง และจะมีการตัดออกจาก
สินคา คงคลังหรอื การจดั เก็บเมอ่ื มกี ารนําจา ยสินคา ออกจากคลงั เราสามารถท่ีจะอานบารโคด ได โดยใชเ ครื่อง
สแกนหรือเคร่ืองอานบารโคด ซ่ึงวิธีน้ีจะรวดเร็วกวาการปอนขอมูลเขาเคร่ืองคอมพิวเตอรหรอื การอานดวย
สายตา บางครั้งเราจะเห็นเคร่ืองเหลาน้ีในสถานท่ีตางๆ ซ่ึงบางท่ีเราก็อาจจะคาดไมถึง วาจะนําไปใชได
บารโคด 1 มิติมีลกั ษณะเปน แถบประกอบดว ยเสนสดี ําสลบั กับเสนสขี าว ใชแทนรหสั ตัวเลขหรือตัวอกั ษรโดย
สามารถบรรจขุ อมูลไดป ระมาณ 20 ตวั อกั ษร บารโคด 1 มิติมีหลายชนิด เชน UPC EAN-13 หรอื ISBN
หลักการทํางานเบื้องตนของระบบบารโคด คือ เคร่ืองอานบารโคด เปนอุปกรณท่ี
ทาํ การแปลงขอมูลจากรหัสบารโคดเปนสัญญาณดจิ ิตอลผา นคอมพิวเตอร จากนั้นนําสัญญาณดิจิตอลท่ี
ไดมาแปลเปนขอมูลดวยการถอดรหัส (decoding) ใหเปนตวั เลข ตัวอักษร หรอื สัญลกั ษณท่ถี กู บรรจอุ ยู
ในขอมูลนั้นๆ โดยการทาํ งานของ เครื่องอา นบารโคด จะทําหนาท่ีในการผลิตลาํ แสงซึ่งดูดซึมสวนที่เปน
แทงดําทึบ และสะทอนสวนท่ีเปนชองวางระหวางแทงสัญญาณที่สะทอนข้ึนจะแปลงเปนตัวเลข
ตัวอักษร หรือสัญลักษณ โดยตัวถอดรหัส (decoder) ซ่ึงอาจจะติดไวภายในเคร่ืองอานบารโคด หรือ
แยกกันกบั เคร่อื งกไ็ ด แลวแตความเหมาะสมของลักษณะงาน

242 | เทคโนโลยีและสารสนเทศในงานโลจิสตกิ ส

การนําเทคโนโลยีบารโคด 2 มิติ (QR Code) มาใชงานดานอุตสาหกรรมยาน
ยนต มกี ารตดิ บารโ คดบนชน้ิ สวนอะไหลย นตตา งๆ เพอื่ เก็บขอ มลู ของอะไหลชนิ้ น้นั เชน ชื่อรุน รหัส
อะไหล และประเภทของอะไหล เปนตน ดานกระบวนการผลิตสินคามีการติดบารโคด 2 มิติบน
แผงวงจรอิเล็กทรอนิกส เก็บขอมูลรายละเอียดตางๆ ของแผงวงจรน้ัน ดานการขนสงสินคา มีการ
พิมพบารโคดบนใบสงสินคา เพื่อใชบารโคดในการจัดเก็บขอมูลตางๆ เชน ขอมูลลูกคา ขอมูลการ
ขนสง รหัสของสินคา และจํานวนสินคาเปนตน ดานสื่อโฆษณาประชาสัมพันธ เชน หนังสือพิมพ
โปสเตอร แผนพับ หรือใบปลิว เปนตน มีการนําบารโคดเขามาเปนสวนหนึ่งในส่ือโฆษณา เพ่ือใหผู
พบเห็นเกิดความสนใจในตัวสินคา และสามารถใชม ือถือท่ีมีกลอ งอานบารโคดเพ่ือเชอ่ื มตอลงิ คเ ขาสู
เว็บไซตได ดานปศุสตั ว มกี ารนาํ บารโ คด มาติดลงบนสายรดั ทห่ี างของสัตวเลย้ี ง เพ่ือใชบารโคด ในการ
จดั เกบ็ ขอมลู ตางๆ ของสัตว เชน เพศ สายพนั ธุ และอายุ เปนตน

ภาพที่ 10.1 ภาพแสดงบารโ คด 1 มิติ
ทมี่ า https://www.appdisqus.com/2015/03/14/barcode-and-qr-code.html

ภาพที่ 10.2 รูปแสดงบารโคด 2 มติ ิ
ทมี่ า https://www.appdisqus.com/2015/03/14/barcode-and-qr-code.html

ประโยชนข องระบบบารโ คด (Barcode)

เทคโนโลยีและสารสนเทศในงานโลจิสติกส | 243

- งายตอระบบสินคาคงคลังคอมพิวเตอรซึ่งเชื่อมกับเคร่ืองสแกนเนอรจะตัด

ยอดสินคาโดยอตั โนมตั ิ จึงสามารถใหขอ มลู เก่ยี วกบั การหมนุ เวยี นสินคา สนิ คา รายการใดจาํ หนา ยได
ดี มสี ินคาเหลอื เทาใด

- ลดข้ันตอนและประหยัดเวลาการทํางาน การซื้อ-ขาย สินคาจะมีความ

สะดวกรวดเร็วมากข้ึน โดยเฉพาะการรับชําระเงิน การออกใบเสร็จ การตดั สินคา คงคลัง

- เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารขอมูลจากระบบรหัสแทง ชวยใหผูประกอบ

ธุรกิจสามารถตัดสินใจวางแผน และบริหารงานดานการผลิต การจัดซ้ือ และการตลาดไดอยาง
รวดเรว็ และมปี ระสทิ ธิภาพ

- ยกระดับมาตรฐานสินคา ระบุแหลงผลิตของประเทศแตละราย ทําใหผูผลิต

ปรับปรงุ คณุ ภาพเพื่อรกั ษาภาพพจนของสินคา

- สรา งศักยภาพเชงิ แขง ขนั ในตลาดตางประเทศ เพราะรหัสแทง เปนเคร่ืองบง ชี้

ถงึ สนิ คา ทม่ี คี ุณภาพดีและเชื่อถือได
12.3.3 อารเ อฟไอดี (RFID)
อารเอฟไอดี (RFID)เปนเทคโนโลยีใหมที่กําลังมีบทบาทและความสําคัญเพ่ิมขึ้น

อยางรวดเร็ว การประยุกตใชเทคโนโลยี RF-ID มีรูปแบบหลากหลายดวยจุดประสงคที่แตกตางกัน
นั้นคือการใชค ลื่นความถีว่ ทิ ยุเพ่อื ระบขุ อ มลู ของตัววัตถุหรือเจา ของวตั ถทุ ่ีติดปา ย RFID แทนการระบุ
ดวยวธิ ีการอ่ืน ซึ่งวธิ ีการนี้จะชว ยอาํ นวยความสะดวกและเพิม่ ประสทิ ธภิ าพไดเทคโนโลยี RFID นบั วา
เปนเทคโนโลยีที่นาสนใจของธุรกิจในอนาคตทั้งในดานการเกษตร อาหาร การขนสง ฯลฯ ซ่ึงตอไป
ฉลากบารโคดอาจถูกแทนท่ีดวยระบบ RFID ที่มีความสามารถเหนือกวาในดา นการตรวจสอบขอมูล
ลองนึกดูงาย ๆ วา เม่ือเราเขาซูเปอรมาเก็ตในหางสรรพสินคา สินคาทุกตัวมีการติดรหัสดวยระบบ
RFID เพียงแคเราเดินผานชองสําหรับคิดเงิน ระบบจะทําการตรวจสอบสินคาของเราไดทั้งหมดใน
คร้ังเดียว โดยไมตองเสียเวลาหยิบสินคาข้ึนมาสแกนบารโคดทีละชิ้น ทําใหเกิดความรวดเร็วและ
ประหยัดเวลามาก หรือการนําไปประยกุ ตใชกับระบบการขนสง เชน ทา เรือขนสง กจ็ ะทาํ ใหเราตรวจ
นบั สนิ คา ไดครั้งละมาก ๆ และขอดีของระบบ RFID อีกอยา งคือสามารถบันทึกขอมูลลงในอุปกรณท่ี
เปนวงจรอิเล็กทรอนิกส ตัวเล็กๆ ได ซึ่งเมื่อนําไปประยุกตใชกับการขนสงพวกอาหารทะเล อาหาร
สําเร็จรปู ตาง ๆ ท่ีตองสงในระยะทางท่ไี กลผรู ับปลายทางสามารถตรวจสอบเสนทางการสง ของสนิ คา
และวนั ทีเ่ รมิ่ สง ของสินคานัน้ ได โดยมหี ลักการทํางานเบื้องตนดังน้ี

1. ตัวอานขอมลู จะปลอยคลนื่ แมเหล็กไฟฟาออกมาตลอดเวลา และคอยตรวจจบั วา
มีแท็กเขามาอยูในบริเวณสนามแมเหล็กไฟฟาหรือไมนอกจากนี้การคอยตรวจจับวามีการมอดูเลต
สัญญาณเกิดข้นึ หรือไม

244 | เทคโนโลยีและสารสนเทศในงานโลจิสติกส

2. เมือ่ มีแท็กเขา มาอยูในบริเวณสนามแมเหลก็ ไฟฟา แท็กจะไดรับพลังงานไฟฟา
ท่ีเกิดจากการเหน่ียวนําของคล่ืนแมเหล็กไฟฟาเพื่อใหแท็กเริ่มทํางาน และจะสงขอมูลใน
หนว ยความจาํ ท่ีผานการมอดูเลตกับคลน่ื พาหะแลว ออกมาทางสายอากาศท่ีอยูภายในแท็ก

3. คล่ืนพาหะท่ีถูกสงออกมาจากแท็กจะเกิดการเปล่ียนแปลงแอมปลิจูด, ความถ่ีข้ึนอยูกับ
วิธีการมอดูเลต

4. ตัวอานขอมูลจะตรวจจับความเปลี่ยนแปลงของคล่ืนพาหะแปลงออกมาเปน
ขอ มูลแลวทาํ การถอดรหัสเพอื่ นาํ ขอมลู ไปใชงานตอไป

ประโยชนข องระบบอารเ อฟไอดี (RFID)

- เปนระบบที่ชวยในการจัดการภายในคลังสินคารวมโดยเฉพาะการตรวจรับ

สนิ คา เนอื่ งจากการอา นขอ มูลสามารถอา นในระยะไกลและผา นตัวกลางหลายประเภท

- เปนระบบทีมีความคงทนกวาระบบบารโคดเนื่องจาก TAG ของRFID

ถูกหอหมุ ดวยวสั ดทุ คี่ งทนตอการเสียดสีเมือ่ ถูกความชนื้ หรอื รอยขดี ขวนกย็ ังสามารถอานขอมลู ได

- สามารถเขียนขอมูลทับไดจึงสามารถนํากลับไปใชใหมไดทําใหลดตนทุนการ

ผลติ ปายสนิ คา
12.3.4 ระบบบริหารทรัพยากรองคกร (Enterprise Resource Planning หรือ

ERP)
ระบบวางแผนทรัพยากรองคกร (Enterprise Resource Planning หรือ ERP)

เปนระบบท่ีประกอบดวยระบบงานตาง ๆ ที่ใชฐานขอมูลรวมกัน ระบบน้ีรวบรวมกิจกรรมตาง ๆ
ทางธุรกิจเขาดวยกัน และสนับสนุนการไหลของขอมูลตลอดท้ังองคกรประกอบดวยโมดูลการเงิน
การทํางานระดับ Operation และการวางแผนกลยุทธ โดยสวนใหญจะรองรับระบบพาณิชย
อิเลก็ ทรอนิกส (e-commerce) ดว ย ระบบเหลานี้เปนระบบสารสนเทศท่อี ิงธุรกรรมและบูรณาการ
อยูทั่วท้ังธุรกิจ โดยพ้ืนฐานแลว ระบบเหลานี้จะชวยใหสามารถเก็บขอมูลของทั้งธุรกิจเขาสูชุด
ซอฟทแวรคอมพิวเตอรเคร่ืองเดียวได ซึ่งจะเปนแหลงขอมูลแหลงเดียวสําหรับกิจกรรมที่เก่ียวกับ
ขอ มูลท้ังหมดในธุรกิจ เชน คาํ ส่งั ของลกู คา สินคาคงคลงั และการเงิน

ในปจจุบัน ธุรกิจและองคกรมีการขยายตัวอยางตอเนื่อง ซ่ึงมีขอมูลท่ีเกี่ยวของ
เยอะแยะมากและ อาจจะเกิดความซ้ําซอนไดงาย จึงตองมีระบบการจัดการที่ดีในการบริหาร
ทรพั ยากรในองคกรใหมีประสิทธภิ าพมากทส่ี ุด ระบบ ERP ถกู โยงเขา กับซอฟทแ วรจดั การโซอปุ ทาน
และยุทธศาสตรสาํ หรับเครอื ขา ยเพ่ือท่ีจะชวยใหวางแผนในสวนท่ีเกี่ยวขอ งได ซึ่งระบบสารสนเทศ
ที่เขามาจัดการระบบงาน แผนกตางๆในองคกรใหรวมเขาดวยกัน ไมวาจะเปน ระบบบัญชี
(Accounting) ระบบการซ้อื ขาย(Purchasing) และระบบการสรางความสัมพันธกับลูกคา (Customer

เทคโนโลยีและสารสนเทศในงานโลจสิ ตกิ ส | 245

Relationship Management) เปนตน เพ่อื วางแผนใหการบรหิ ารทรัพยากรในองคกรมีประสิทธภิ าพ
มากขึ้น และลดเวลา ข้ันตอนการทํางาน อีกทั้งยังเพิ่มศักยภาพใหกับองคกรมากย่ิงขึ้น และความ
นา เช่ือถือในองคก รนน้ั ๆมากยิง่ ข้นึ อีกดวย

ประโยชนของระบบบริหารทรัพยากรองคกร (Enterprise Resource
Planning หรอื ERP)

- เพมิ่ ประสิทธิภาพในการบริหารและการปฏิบัติงานใหกับกระบวนการทํางาน

(Business Process) สรา งระบบงานและกระบวนการทํางานใหถ ูกตอ ง รวดเรว็ ระบบเพยี งครงั้ เดียว
เชือ่ มโยงกนั ไดค รบวงจร

- ลดความซ้ําซอนของการเก็บขอมูล เนื่องจากนําขอมูลเขาระบบเพียงครั้ง

เดียว ทําใหขอมูลมีความเปนมาตรฐาน และถูกตองตรงกันท่ัวท้ังองคกร มีศูนยรวมระบบขอมูล
สารสนเทศทีช่ ว ยการตัดสนิ ใจ

- เปนการนํากระบวนการทํางานที่ดีท่ีสุด (Best – Practice) มาใชในองคกร

ทาํ ใหเกดิ ความยึดหยนุ ในการปรบั เปลี่ยน หรอื ขยายระบบงาน ใหมีการทํางานตรงตามกระบวนการ
ทางธุรกิจ มีระบบการควบคุมภายใน และการรักษาความปลอดภัยที่ดี เสริมสรา งความโปรงใสและ
ความถกู ตอ งของสารสนเทศ

- ทําใหเกิดรายงานและการวิเคราะหท่ีสามารถใชสําหรับการวางแผนอีกทั้ง

ชว ยลดคา ใชจ ายในการดําเนนิ งานระยะยาว

- ทาํ ใหก ระบวนการทํางานมีการประสานเชื่อมโยงขอ มูลซึง่ กันและกัน ระหวา ง

ระบบงานดานตา ง ๆ ใหเปนหน่ึงเดยี ว นอกจากน้ีบรษิ ัทคูคาสามารถเชื่อมโยงขอมูล ขององคกร เขา
กับระบ บเบิกจายเงิน Electronic ของภาครัฐได (Government Financial Management
Information System : GFMIS)

12.3.5 ระบบการแลกเปล่ียนเอกสารทางธรุ กิจElectronic Data Interchange: EDI)
EDI ยอมาจาก "Electronic Data Interchange" คือ การแลกเปล่ียนเอกสาร

ทางธุรกิจในรูปแบบมาตราฐานสากล ระหวางบริษัทคูคา จากเคร่ืองคอมพิวเตอรเคร่ืองหนึ่งไปยัง
เครื่องคอมพิวเตอรอีกเครื่องหนึ่ง โดยระบบ EDI จะมีองคประกอบท่ีสําคัญอยู 2 อยางคือ การใช
เอกสารอิเล็กทรอนิกสแทนเอกสารท่ีเปนกระดาษ และเอกสารอิเล็กทรอนิกสเหลาน้ีตองอยูใน
รปู แบบมาตรฐานสากล ดวยสององคประกอบน้ีทําใหทุกธุรกิจสามารถแลกเปล่ียนเอกสารกันไดท่ัว
โลกใช เชน การสงขอมูลระหวางฝายการเงิน ฝายจัดซ้ือ ฝายขาย และ ฝายจัดสงสินคา เพ่ือให
กระบวนการส่ังซ้ือสินคา และ การชําระเงินเปนไปโดยอัตโนมัติ ซ่ึงชวยเพิ่มประสิทธิภาพ

246 | เทคโนโลยแี ละสารสนเทศในงานโลจิสตกิ ส

ลดคา ใชจ ายดานเอกสาร และ บคุ ลากร ไมว าจะเปนการจัดซือ้ การจดั หาวัตถดุ ิบ หรอื การโอนชาํ ระ
เงนิ ของลูกคา หรือ ระหวางบริษัทคูคา

นอกจากน้ี EDI ยังสามารถนําไปใชในงานอื่นไดอีก เชน การจัดระบบสินคาคง
คลังที่จะทําการสั่งซ้ือสินคาโดยอัตโนมัติเมื่อวัตถุดิบกําลังจะขาด การจัดระบบการสั่งซ้ือใหได
ประโยชนส ูงสุด หรือ จดั การขอ มูลของระบบจัดสงสินคาเปนตน

ประโยชน ของระบบแ ล ก เป ลี่ ย น เอ ก ส ารท างธุ รกิ จ Electronic Data
Interchange: EDI)

- ชวยลดคา ใชจ า ยเกยี่ วกับจัดการเอกสาร EDI ทาํ ใหธรุ กิจสามารถลดคาใชจาย

เก่ียวกับการจัดการเอกสาร ซึ่งเกิดข้ึนในระบบการคาแบบเดิมที่ทําการติดตอกันดวยเอกสารได
คาใชจายสวนท่ีลดได เชน คาใชจายสําหรับเอกสารและพนักงานในกระบวนการรับเอกสาร
เปนตน

- ชวยเพ่ิมประสิทธิภาพในกระบวนการทางธุรกิจต้ังแตการซ้ือ การขาย

จนกระทั่งถึงการรับเงินและจายเงินจะทําใหเกิดการเพ่ิมประสิทธิภาพในกระบวนการทางธุรกิจ ใน
สว นตา ง ๆ เชน ลดจํานวนสนิ คา คงคลงั , พฒั นาบริการลกู คา เปน ตน

- เปนเครื่องมือสนับสนุนในการบรรลุถึงเปาหมายองคกร ชวยเพิ่ม

ประสิทธิภาพในการทํางานและกระบวนการทางธุรกิจ เชน การสรางพันธมิตรทางการคาใหม ๆ
การเขาสตู ลาดใหม การออกผลติ ภัณฑ/ บริการใหม การเปนผนู าํ ในตลาด เปนตน

- ชวยลดระยะเวลาในการเดินพิธีการศุลกากร เชน ไมตองผานขั้นตอนการ

ออกเลขท่ีใบขนสินคา หรือเลขที่ยกเวนอากร เพราะเคร่ืองคอมพิวเตอรจะออกเลขที่ใบขนสินคา
หรือเลขท่ียกเวนอากรใหและแกไขขอผิดพลาดในการคํานวณคาภาษีอากร เพราะโปรแกรม
คอมพวิ เตอรไดต รวจสอบการคํานวณแลว

- ชวยในการทําใบขนสินคาขาเขาและขาออก ชวยลดเวลาในการตรวจสอบ

ของเจาหนาที่เจาหนาที่เนื่องจากมีมีระบบขอมูลท่ีอัพเดตตลอดเวลาทําใหกรมศุลกากรสามารถ
ใหบ ริการระบบ EDI ไดตลอด 24 ชัว่ โมง

12.3.6 การพาณิชยอ ิเล็กทรอนิกส (E-Commerce)
พาณิชยอิเล็กทรอนิกส (E-Commerce) การดําเนินธุรกิจโดยการแลกเปลี่ยน

ขอมูลผานสื่ออิเล็กทรอนิกส เชน การซื้อขายสินคาและบริการ การโฆษณาผานส่ืออิเล็กทรอนิกส
หรือการโอนเงินทางอเิ ลก็ ทรอนิกส โดยมีวตั ถุประสงคเ พอื่ ลดคา ใชจา ยและเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพองคก าร
เชน ATM (Automatic Telling Machine), EDI (Electronic Data Interchange) (B2B), Web
site ซ้ือ-ขายสินคาตางๆ โดยพาณิชยอิเล็กทรอนิกสสามารถแบงได 4 ประเภท คือ ธุรกิจกับธุรกิจ

เทคโนโลยีและสารสนเทศในงานโลจสิ ติกส | 247

(Business to Business : B2B) การดําเนินธุรกรรมระหวางธุรกิจมุงเนินการใหบริการแก
ผู ป ระ ก อ บ ก าร ด ว ย กั น เป น ก าร ค าร ะ ห วา งบ ริ ษั ท กั บ บ ริ ษั ท เช น ร ะ บ บ EDI, เช น
www.freemarket.com ,ธุรกิจและลูกคา (Business to Consumers : B2C) การดําเนินธุรกรรม
ระหวางธุรกิจท่ีมุงเนินการบริการกับลูกคาหรือผูบริโภค เชน Amazon.com ,ธุรกิจกับรัฐบาล
(Business to Government : B2G) การจัดซื้อจัดจา งของหนว ยงานราชการผานระบบอนิ เทอรเน็ต
,ลูกคากับลูกคา (Consumers to Consumers : C2C) การดําเนินธุรกรรมระหวางผูบริโภคกับ
ผูบ ริโภค เปนการคา ระหวางผูบรโิ ภคกับผบู ริโภค เชน eBay ซึ่งเปน เว็บไซตข นาดใหญท่ขี ายของดว ย
วิธกี ารประมลู เชน www.thaisecondhand.com

ภาพที่ 12.3 ความแตกตาง ระหวา ง E-Business กับ E-Commerce

ประโยชนของการพาณชิ ยอ เิ ล็กทรอนิกส

- สามารถทําการคาไดตลอด 24 ช่ังโมง และขายสินคาไดท่ัวโลก นักทอง

อินเตอรเน็ตจากทั่วทุกมุมโลกสามารถ เขามาในเว็บไซตของบริษัทไดตลอดเวลาผูขายสามารถ
นาํ เสนอสินคา ผลิตภัณฑ และบรกิ ารตา งๆไดอยางรวดเร็ว โดยคาํ สง่ั ซ้ืออาจเกดิ ข้ึนตลอด 24 ช่ัวโมง
และมาจากท่ตี า งๆกนั

- เปนเทคโนโลยีท่ีสามารถอัพเดตขอมูลที่ใหมลาสุดใหกับลูกคาไดทันทีซึ่งชวย

ประหยัดคาใชจา ยในการจัดพิมพเอกสาร และประหยดั เวลาในการประชาสมั พนั ธ

- เปนเทคโนโลยีทีเ่ ขาถึงงา ยทําใหลกู คาหรือผรู บั บรกิ ารสะดวกตอการชาํ ระเงิน

พาณิชยอิเล็กทรอนิกสสามารถชําระเงนิ ไดอยางสะดวกสบายโดยวิธีการตัดผานบัตรเครดิตหรือการ
โอนเงินเขา บญั ชซี ึง่ จะเปน ระบบอตั โนมัติ

248 | เทคโนโลยีและสารสนเทศในงานโลจสิ ตกิ ส

- เพม่ิ โอกาสทางธรุ กิจ ในโลกพาณิชยอ เิ ล็กทรอนกิ สบ ริษัทขนาดเลก็ สามารถมี

โอกาสทางธุรกิจเทียบไดกับบริษัทขนาดใหญ ซ่ึงข้ึนอยูกับองคประกอบหลายๆอยาง เปนตนวา
ช่ือ URL ของบริษัทควรจะจํางาย การออกแบบเว็บไซตใหสวยงามและปรับปรุงใหทันสมัยอยูเสมอ
การสง่ั ซ้อื และการชาํ ระเงินมีระบบรักษาความปลอดภัยท่ีดี เปน ตน

- เปนเทคโนโลยีท่ีชวยแกปญหาตางๆไดทันทวงที พาณิชยอิเล็กทรอนิกส

สามารถใหบริการหลังการขายไดเชน การสรางแบบสอบถามลูกคาเพ่ือสอบถามความพึงพอใจตอ
สนิ คา และบริการทําใหรานคาสามารถนําขอ มูลเหลาน้ีมาแกปญหาและตอบสนองความตองการของ
ลกู คา ไดดียิ่งขน้ึ

12.3.7 ระบบบรหิ ารจดั การคลังสนิ คา Warehouse Management System
(WMS)

Warehouse Management System (WMS) ระบบบริหารจัดการ มีการนํา
จัดการคลังสินคาพัฒนาเช่ือมตอกับระบบการผลิตและการจัดการกระจายสินคาไปยังลูกคาโดย
พัฒนา เปนซอฟตแวรเฉพาะของแตละองคการตามความเหมาะสม ระบบซอฟตแวรมักจะเช่ือมตอ
ตงั้ แตการจัดซ้ือ จัดหา การผลติ การจัดสง การคนื สนิ คา ซอฟตแวรปฏิบัติการทเี่ ปนโซลูชั่นในระบบ
การจัดการคลังสินคามีใหเลือกใช มากมาย ธุรกิจท่ีเปน Logistics Outsourcing Service หรือผู
ใหบริการการสนับสนุนแกธุรกิจการผลิต และกระจายสินคา มีการเขียนโปรแกรมสําเร็จท่ีเปน
ซอฟแวรเฉพาะจําหนายใหกับธุรกิจคลังสินคา ประเภทตาง ๆ ตามความเหมาะสม แบบข อง
โปรแกรมจะสอดคลองกับการทํางาน และกิจกรรมตาง ๆ ท่ีเกิดข้ึนในคลังสินคาไมวาจะซับซอนแค
ไหนระบบของซอฟแวรท ่ีดีจะตอ ง สามารถเช่อื มตอ และรองรบั ธรุ กรรมอเิ ล็กทรอนิกสต าง ๆ เพ่มิ ขีด
ความสามารถในการจัดการสินคาคงคลัง และการกระจายสินคา ใหมีประสิทธิภาพมากขึ้น
ซอฟตแวรที่เขียนข้ึนจะตองเปนระบบท่ีผูใชงานหรือผูปฏิบัติงานสามารถ ใชงานไดงายตองใช
เทคโนโลยีที่ทันสมัย และเปนสากล เชนใชรวมกับ Barcode, RFIDตองมีความสามารถในการใชงาน
ไดสงู และหลากหลาย สามารถใชไ ดก ับทุกกจิ กรรมในคลังสินคา เช่อื มตอ อยา งเปนระบบกบั สว นงาน
อื่นไดระบบมาตรฐาน

WMS ถูกออกแบบเพ่ือใหสามารถรองรับการบริหารจัดการ ทุกกิจกรรมภายใน
คลังสินคาประเภทตาง ๆ โดยเฉพาะคลังสินคาในศูนยกระจายสินคาขนาดใหญของกิจการคาสง
คาปลีก อีกท้ังยังตองสามารถดัดแปลงเพื่อเชื่อมโยงกับระบบการวางแผนทรัพยากรของธุรกิจ
(Enterprise resource planning: ERP) อื่น ๆ ท่ีหนวยงานหรือองคกรมีอยู ในบางคร้งั เพื่อลดความ
สับสน จึงมีการเรียกระบบ WMS ท่ีสนับสนุนระบบ ERP วา Warehouse-focused ERP system

เทคโนโลยแี ละสารสนเทศในงานโลจสิ ตกิ ส | 249

มาตรฐานของการวางระบบ WMS ที่สําคัญจะตองประกอบดวยสวนประกอบทุกสวนในองคการท่ี
เกยี่ วขอ งกับการดาํ เนินงาน โดยจะตองประกอบดว ยปจ จยั ดงั ตอไปน้ี

1. การรับสินคา (Receiving) การรับสินคาเปนขั้นตอนท่ีกระทําตอเน่ืองมาจาก
การจัดซ้ือซึ่งถูกจัดทําเปน ฐานขอมูลการสั่งซื้อ ระบบการรับสินคาจะใชขอมูลการสั่งซ้ือ เปนขอมูล
การนําเขา (Input data) ซึ่งทําใหผูรับสินคาหรือคลังสินคา ทราบวาสินคาน้ัน ๆ สั่งซ้ือเมื่อใด
ปริมาณเทา ไร ผูขายและผูซ้อื คือใคร และกําหนดการสงมอบสินคาวา ตรงตามเวลาหรือไม พาหนะที่
ใชใ นการขนสงคอื อะไร ขอ มลู การสั่งซอ้ื ทเ่ี ปนระบบฐานขอ มลู ทาํ ใหฝายปฏิบัติการคลังสินคาสามารถ
จดั สรรพื้นที่และชั้นเกบ็ ของ (Rack/Slot) ในการวางสินคาไดลว งหนา ในบางกรณีท่สี นิ คา ยังไมไดถูก
กําหนดขอมูลหรอื บารโ คด ไวกอ นลวงหนา ระบบจะอนุญาตใหผูใ ชส ามารถพิมพขอ มูลลงไปในระบบ
ฐานขอมูลและพมิ พบาร โคด ออกมาตามมาตรฐานตาง ๆ ท่ีตอ งการ

2. การเก็บสินคา (Put-away) ฐานขอมลู จะมีการตรวจสอบขนาดของพื้นท่ีและ
ช้ันเก็บของตาง ๆ วามีขนาดและน้ําหนักเทาไร เพียงพอตอสินคาท่ีจะนํามาเก็บหรือไม และจําแนก
ประเภทของสินคาไปเก็บไวในพื้นที่ที่เหมาะสมหรือตามเงื่อนไขท่ี ตองการแลวทําการบันทึกลงใน
ระบบฐานขอมูลในระบบการควบคุมสินคาคงคลัง ตอจากนั้นระบบจะทําการกําหนดลําดับงานและ
เสนทางในการจัดเกบ็ สนิ คา ที่เหมาะสม

3. หยิบสินคา (Order picking) เม่ือคลังสินคาไดรับใบส่ังสินคาจากลูกคา
(Order) เจา หนาท่ีคลังสินคา จะตองออกไปหยิบสินคาท่ีกําหนดไวตามคําสง่ั ซือ้ สินคา อาจอยูกระจัด
กระจายในพ้ืนทต่ี า ง ๆ หลังจากหยบิ แลว จะนํากลบั มาท่จี ุดรบั ของหรือจุดสง ของ โปรแกรมจะทําการ
ประมวลผลขอ มลู จากฐานขอ มูลและจัดเรยี งลาํ ดับกอ นหลังการหยบิ สนิ คาตามเง่ือนไขท่ีกาํ หนดและ
จะมีการตรวจสอบยอดสินคา (Cycle count) ผูใชในคลังสนิ คา สามารถทําการตรวจนับสินคา เฉพาะ
บางสวนหรือตามที่ตองการ ภายในชวงเวลาท่ีกําหนดโดยอาศัยการประมวลผลจากฐานขอมูลแบบ
Real time หรือสามารถตรวจนับในขณะท่ีกําลังปฏิบัติงานอยู โดยที่ระบบ Cycle count สามารถ
เช่อื มตอกับระบบ Mobile network ซง่ึ จะทาํ ใหการตรวจนบั สินคา มีความถูกตองมากย่ิงขึน้

4. การควบคุมสินคาคงคลัง (Inventory control) ถือไดวาเปนหัวใจในการ
บริหารจัดการคลังสินคาโดยการทํางานเชื่อมตอกับระบบ อ่ืน ๆ ควบคุมและตรวจเช็คการไหลเวียน
ของสินคาภายในคลัง เชน สินคารายการใดจําหนายไดดีหรือไม มีสินคาเหลือปริมาณเทาไร ทําให
สินคาไมจมคลังสินคา นอกจากนี้ยังสามารถเช่ือมโยงขอมูลกับหนวยงานภายนอกท่ีเกี่ยวของ เชน
ขอมูลการสง เสริมการขายจากรานคาปลีกตาง ๆ จะถูกสงเขากระบวนการผลิตเพื่อเพ่ิมปริมาณการ
ผลิตในชวงท่ีตองมีการสง เสริมการขาย ในขณะที่คลังสินคาตองไดรับขอมูลและเตรียมพ้ืนที่ในการ
เก็บสํารองสนิ คา ซึ่งทําใหกิจกรรมภายในคลังสินคาเปนไปอยางราบรื่นและมีประสิทธิภาพ ปจจุบัน

250 | เทคโนโลยแี ละสารสนเทศในงานโลจสิ ตกิ ส

ไดม กี ารนาํ ระบบ Dynamic slotting ทใ่ี ชกับคลังสินคาหรอื ศูนยกระจายสนิ คาท่ีมีสินคา หลากหลาย
ชนดิ (Product diversification) และมอี ัตราการรับและสงสินคา (Turn over rate) ในปรมิ าณที่สูง
ระบบจะทําการจัดเก็บสินคาที่มีอัตรา Turn over สูง ไวในสวนหนาของคลังสินคาที่อยูติดกับ
Shipping dock สําหรับสินคาที่มีอัตรา Turn over ตํ่าก็จะถูกจัดเก็บไกลออกไป โปรแกรมจะ
ประมวลผลการจากสถติ ิ Turn over ของสินคาในทุก ๆ ชวงเวลาที่กาํ หนด และกาํ หนดตําแหนง การ
จัดเก็บสนิ คาแตละชนิดที่เหมาะสมเพ่ือลดเวลาในการหยิบ สินคา ลดพ้ืนที่และเพ่ิมประสิทธภิ าพใน
การใชง าน

ภาพท่ี 12.4 โปรแกรม warehouse management system
5. Mobile network ระบบ Mobile network อนุญาตใหผูใชหรือผูเก่ียวของ
เฉพาะสามารถติดตอสงผานขอมูลเชื่อมตอ ระหวางอุปกรณตาง ๆ ท่ีใชภายในคลังสินคาโดยใช
เทคโนโลยีไรสาย เชน เคร่ืองอา นบารโคด แบบพกพา (Portable barcode) หรือ PDA นอกจากนย้ี ัง
ชวยสนับสนนุ กิจกรรมตาง ๆ ภายในคลงั สนิ คาใหมีประสทิ ธภิ าพมากขึ้นดวย เชน ในระบบการหยิบ
สินคา ในบางคร้ังขณะท่ีพนักงานกําลังหยิบสินคาอาจจะมี Order ใหมเขามา ระบบจะทําการ
ตรวจสอบวาพนักงานคนนั้นสามารถหยิบสินคาภายใน Order ใหมไดหรือไม พรอมทั้งตรวจสอบคา
ดัชนีประสิทธิภาพถาผลของจากการประมวลผล พบวา คําสั่งซื้อ หรือOrder ใหมที่เขาหากสงให
พนักงานหยิบสนิ คาคนน้ันไมขัดแยงกับเง่ือนไข และคา ดัชนปี ระภาพเพิม่ ขึ้น ระบบก็จะสง ขอมูลและ
แทรกรายการของสินคาที่จะหยิบภายใน Order ใหมไปยังเคร่ือง PDA ของพนักงานหยิบสินคา หรือ
คอมพิวเตอรขนาดเล็กที่ติดตั้งอยูกับรถฟอรคลิฟท ซึ่งทําใหเจาหนาท่ีสามารถหยิบสินคาไดทันที
ทํางานไดอ ยา งตอ เนอ่ื งและมี ประสทิ ธภิ าพมากข้ึน

เทคโนโลยแี ละสารสนเทศในงานโลจิสตกิ ส | 251

ภาพท่ี 10.5 วิธีการหยบิ สนิ คา โดยการเช่ือมโยงโปรแกรมWMSกบั Mobile network
ประโยชนข องระบบบริหารจัดการคลังสนิ คา
- สามารถปรบั ปรุงใหส นิ คาคงคลังมีความแมน ยาํ
- ลดระยะเวลาในกระบวนการสง่ั ซื้อ
- ลดความบกพรอ งในกระบวนการจัดการภายในคลงั สนิ คา
- ลดตน ทนุ ในการจดั เก็บสินคาคงคลงั
- ปรบั ปรงุ ประสทิ ธิภาพการใหบริการลูกคาไดร วดเรว็ ยิ่งขน้ึ
- การพจิ ารณานาํ ซอฟแวรมาใชใ นการจดั การคลงั สินคา เพอ่ื เพ่มิ ขดี ความ

สามารถในการทาํ งาน
12.3.8 ระบบจัดเก็บอตั โนมัติ
Automated Storage/Retrieval System (AS/RS) ระบบ Rack ทีมีกลไกหรือ

ระบบเครนอัตโนมตั ิในการจัดเก็บ /หยิบสินคาระบบจัดเก็บและหยิบเลือกอัตโนมัติจะประกอบดวย
สวนตา งๆดงั ตอไปน้ี

- ตัวกลางในการจัดเกบ็ เชน ชัน้ วางแพลเลต็
- เครอ่ื งจกั รชว ยจัดเก็บและหยบิ เลอื กทีใ่ ชงานกับตวั กลางจัดเกบ็
- ระบบปอนเขา และปอนออก เชน รถยก สายพาน AGV
- ซอฟทแ วรค วบคุมอปุ กรณ

252 | เทคโนโลยแี ละสารสนเทศในงานโลจิสติกส

ภาพท่ี 10.6 ระบบจดั เก็บอตั โนมตั ิ ระบบ Rack
AS/RS มักจะใชพ้ืนที่ไดดีมาก เพราะวาความสูงของมันและแถวทางเดินที่แคบ
นอกจากนนั้ มันยงั สามารถออกแบบใหผลติ ผลตอชว งเวลาหนงึ่ ๆ สงู มากดวย อยา งไรกต็ ามระบบนจ้ี ะมตี นทนุ
สูงจงึ เหมาะสมทีส่ ดุ กับคลังสนิ คา ขนาดใหญท ีต่ องทํางานเกอื บทุกชั่วโมงในหน่งึ วัน (หรือเปน ปฏิบัตทิ ี่ทํางาน
เกือบเจ็ดวนั ตอสัปดาห 24 ช่วั โมง) ในชว งทไี่ มไดใ ชงานหรือชวงที่ไมเรงดวนจะตองมีการบํารงุ รักษาอุปกรณ
นอกจากน้ันในชวงเวลาเหลาน้ี AS/RS สามารถถกู ตัง้ ใหทํางานอตั โนมตั ิโดยทําหนา ที่เหมือน ‘การเกบ็ กวาด’
และจัดแพลเล็ตในตําแหนงท่ีดีที่สุด (เชน SKU ที่เคลื่อนท่ีไดรวดเร็วอาจจะถูกวางใหอยูแถวไกลท่ีสุดใน
ชวงเวลาเรงดวนและเราสามารถยา ยกลับมาสดู านทีใ่ กลจ ดุ ปอนเขา/ปอนออกไดทหี ลัง)
ประโยชนข องระบบจดั เก็บอตั โนมัติ

- ชวยลดพน้ื ทใ่ี นการจัดเก็บสนิ คาและลดพื้นท่ีในการขนถายสินคา
- เพิ่มปริมาณการจัดเก็บสินคาและเพิ่มประสิทธิภาพในการเบิกจายสินคาทํางาน

รวดเร็ว เพม่ิ ความแมนยาํ ในการจดั เกบ็

- ทําใหการบริหารทรัพยากรบุคคลมีประสิทธิภาพเนื่องจากสามารถลดอัตรา

การจางงานในคลงั สินคา เพราะใชร ะบบจดั เก็บอัตโนมตั แิ ละทําใหการทาํ งานมคี วามปลอดภัยเพิม่ ขึ้น
12.3.9 โปรแกรมควบคุมและวางแผนการผลติ
เปนระบบที่ใชสําหรับบริหารจัดการวัตถุดิบเพ่ือจัดการและวางแผนความตองการ

วตั ถุดิบตา งๆ ในองคก ร โดยมีการนาํ ระบบคอมพิวเตอรมาชวยในการควบคมุ แผนการสงั่ ซอ้ื , การสงมอบ
สนิ คา, การจัดการสนิ คา คงคลัง และวัตถุดิบท่ีใชในการผลิต เปนตน

ระบบ MRP มีตนกําเนิดแนวคิดมาจากอเมริกา เกิดข้ึนในยุคตนของทศวรรษ 1970
โดยความหมายเดิมของ Material Requirement Planning คือการวางแผนความตองการวัสดุ เปน

เทคโนโลยีและสารสนเทศในงานโลจสิ ติกส | 253

วธิ ีการในการหาชนิดและจํานวนวัสดุท่ีตองใชในการผลิตตามตารางเวลาและจํานวนสินคาท่ีไดวางแผน
โดย MPS (Master Production Schedule) (เอ็มพี เอส: มาสเตอร โปรดั กชั่ น สะเก็ตดวล)
ซ่ึงสวนประกอบของโปรแกรมมีดังนี้ ตารางผลิตหลัก (Master Production Schedule) คือการจัดทํา
แผนการผลิต พรอมทั้งแสดงปริมาณวัตถุดิบท่ีตองการใชงาน หรือแสดงจํานวนวัตถุดิบที่คาดวาจะใช
งาน เพือ่ ใชตรวจสอบกับคลงั วตั ถดุ บิ

รายงานสินคาคงคลัง (Inventory Structure Records (อินเวนทอรี่ สตัคเจอร เรคค
อรด)) คือการแสดงรายการวัตถุดิบในคลัง โดยแสดงรายการ จํานวนคงคลัง จํานวนวัตถุดิบท่ีถูกเรียกใชงาน
จาํ นวนวัตถดุ บิ ขั้นตาํ่ ทตี่ องสั่งซอื้

สตู รการผลิต (Bill Of Material (บิล ออฟ เมททีเรียล)) คอื การกําหนดจํานวนวัตถุดิบที่
จะใชในการผลิตสินคา ซ่ึงในสวนน้ีจะเกี่ยวของกับคลังดวยวาวัตถุดิบที่เรานํามาสรางสูตรการผลิตน้ัน
เพยี งพอหรือไม ซง่ึ ถาหากไมเพียงกจ็ ะไดว างแผนในการจดั ซื้อตอไป

ประโยชนข องโปรแกรมควบคุมและวางแผนการผลติ

- ทําใหทราบจํานวนการผลิตทแี่ นชัด ตามท่ไี ดว างแผนไว
- เม่ือกาํ หนดสูตรการผลติ เสร็จแลว จากนนั้ นํามาใชในระบบ ระบบสามารถบอกไดวา

วตั ถดุ บิ เพียงพอตอการผลิตหรอื ไม

- มคี วามแมน ยําในการผลติ สนิ คา โดยท่ไี มสญู เสียวัตถดุ บิ ไปโดยเปลาประโยชน
- สามารถนําไปใชกาํ หนดตารางการผลติ และสง มอบสนิ คาได

254 | เทคโนโลยีและสารสนเทศในงานโลจสิ ตกิ ส

แบบฝกหัดทา ย บทท่ี 12
เทคโนโลยีและสารสนเทศในงานโลจิสติกส

(ตอนท่ี 1) จงเลอื กคาํ ตอบทถี่ ูกที่สุด

1. ขอ ใดตอไปนไ้ี มใชประโยชนของเทคโนโลยสี ารสนเทศในงานโลจสิ ติกส
ก. เปนเคร่อื งมอื ในการเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพในการแขง ขนั
ข. เปนตวั ชวยใหเ กิดการเชอื่ มโยงขอ มูลจากหลายหนว ยงาน
ค. เปนเครื่องมือสาํ คญั ในการประกอบการตดั สินใจ
ง. เปน การสนบั สนุนการทาํ เอาทซ อรสม ากขน้ึ

2. ขอ ใดตอไปนไ้ี มใชประโยชนข อง GPS (Global Positioning System)
ก. นาํ ไปใชป ระโยชนใ นการวางแผนทด่ี ิน
ข. นําไปใชประโยชนใ นการวางผงั สนิ คา
ค. นําไปใชป ระโยชนใ นการตดิ ตามยานพาหนะ
ง. นําไปใชประโยชนใ นการวางบิลออกใบเสรจ็

3. ขอ ใดตอ ไปนก้ี ลาวไมถกู ตองเก่ียวกบั บารโ คด (Barcode)
ก. บารโ คด คอื แถบรหัสหรือรหสั แทง
ข. บารโคด 1 มิตมิ ลี กั ษณะประกอบดว ยเสนสดี ําสลบั กบั เสนสขี าว
ค. บารโ คดจะใชแทนรหสั ตวั เลขหรือตัวอักษร โดยบรรจุขอมลู ประมาณ20ตัวอกั ษร
ง. บารโคดจะใชค วามถี่คลน่ื วิทยุเพื่อระบุขอมลู

4. ขอใดตอไปนไี้ มใชป ระโยชนบารโคด (Barcode)
ก. งายตอระบบสินคาคงคลังคอมพิวเตอรซึ่งจะเชื่อมตอกับแสกนเนอรเพื่อตัดยอดสินคา

อัตโนมตั ิ
ข. ลดข้ันตอนและประหยัดการทาํ งาน
ค. สรางศกั ยภาพเชิงการแขง ขันเปน ตัวบงชี้ สนิ คา มีคุณภาพดี
ง. นําไปใชประโยชนใ นการบรรเทาสาธารณะภัย

เทคโนโลยีและสารสนเทศในงานโลจิสตกิ ส | 255

5. ขอใดตอไปนก้ี ลา วถูกตอ งเกีย่ วกับRFID
ก. RFID คอื การใชคล่ืนความถวี่ ิทยเุ พือ่ ระบุขอมลู ของตัววตั ถหุ รือเจาของ
ข. RFID คอื การนําเทคโนโลยบี ารโคด 2 มติ มิ าใช
ค. RFID คือ ระบบทีส่ ามารถระบตุ ําแหนง ตา งๆไดท ว่ั โลก
ง. RFID คือ ระบบวางแผนทรพั ยากรประกอบดวยระบบงานตางๆท่ใี ชฐ านขอมูลรวมกัน

6. ขอ ใดตอไปนก้ี ลาวถูกตอ งเก่ียวกบั ประโยชนของระบบRFID
ก. เปน ระบบท่ชี ว ยในการจัดการภายในคลงั สินคา รวมโดยเฉพาะการตรวจรับ
ข. เปน ระบบทมี่ ีความคงทนกวา บารโ คด เนอ่ื งจาก TAG RFID ถูกหอหุม ดว ยวสั ดุทีค่ งทน
ค. เปนระบบทีส่ ามารถเขยี นทบั ขอมูลไดจ ึงสามารถนาํ กลับมาใชใหม
ง. ถกู ทกุ ขอ

7. ขอ ใดตอ ไปนก้ี ลาวไมถ กู ตองเก่ียวกับระบบบริหารทรัพยากรองคก ร(ERP)
ก. เปน ระบบท่ปี ระกอบดวยระบบงานตา งๆท่ใี ชฐ านขอ มูลรว มกัน
ข. สามารถเขียนทับขอ มูลไดจ งึ สามารถนํากลับไปใชใหม
ค. เปนระบบทีช่ วยในการจัดการสินคา คงคลงั รวม
ง. เพิ่มประสทิ ธภิ าพการบริหารขอ มลู จากระบบรหัสแทง

8. ขอใดตอไปนก้ี ลา วถูกตองเกี่ยวกับระบบการแลกเปลีย่ นเอกสารทางธุรกจิ EDI
ก. EDI คอื ระบบการแลกเปลย่ี นเอกสารทางธรุ กิจในรปู แบบมาตรฐานสากล
ข. EDI คือ ลดความซ้ําซอ นของการเกบ็ ขอ มูลเนือ่ งจากนาํ เขาระบบเพียงคร้ังเดียว
ค. EDI คอื เพิม่ ประสิทธิภาพการบรหิ ารขอมูลจากระบบรหัสแทง
ง. EDI คอื นาํ ไปใชในการตดิ ตามบุคคล

9. ขอใดตอไปนก้ี ลาวไมถ กู ตองเกย่ี วกบั e-commerce
ก. ระบบ e-commerce เปนการดําเนินธุรกิจโดยแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสารผานส่ือ

อิเลก็ ทรอนกิ ส
ข. ระบบ e-commerce ชว ยใหเราสามารถทําการคา ได 24 ชวั่ โมง
ค. ระบบe-commerce เปนเทคโนโลยีทเี่ ขา ถึงไดงา ยทาํ ใหล กู คาสะดวกตอการชําระเงิน
ง. ระบบ e-commerce ลดตน ทุนการจัดเกบ็ สนิ คาคงคลัง

256 | เทคโนโลยแี ละสารสนเทศในงานโลจิสตกิ ส

10. ขอใดตอไปนไ้ี มใชป ระโยชนข องระบบจดั เก็บอตั โนมตั ิ
ก. ชว ยลดพื้นทีใ่ นการจัดเกบ็ สนิ คาและลดพื้นที่ในการขนถา ยสนิ คา
ข. เพ่ิมปริมาณการจดั เก็บสินคา และมปี ระสิทธิภาพในการเบิกจา ยสนิ คา
ค. ทาํ ใหการบรหิ ารทรพั ยากรบคุ คลมปี ระสิทธิภาพชว ยลดอัตราการจา งงานในคลงั สินคา
ง. ทําใหทราบจํานวนการผลติ ทีแ่ นช ัดตามที่ไดวางแผนได

เทคโนโลยแี ละสารสนเทศในงานโลจิสตกิ ส | 257

(ตอนที่ 2) จงตอบคําถามตอ ไปน้ี และอธิบายพอเปนสังเขป

1. จงอธบิ ายถงึ ประโยชนข องระบบวางแผนทรพั ยากรองคก ร (Enterprise Resource Planning
หรือ ERP) ทีเ่ ปน ระบบทป่ี ระกอบดว ยระบบงานตา ง ๆ ทีใ่ ชฐ านขอมลู รว มกนั
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………....................................................................................
..............................................................................................................................................................
.............................................................................………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………….....................................
....................................................................................................…………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………

2. ใหน กั ศกึ ษาบอกขอ แตกตางของระบบ RFID กบั ระบบบารโ คด วา มีความแตกตางกนั อยางไร
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………….......................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
.......................................................................................................………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………

258 | เทคโนโลยีและสารสนเทศในงานโลจสิ ตกิ ส

3. จงอธบิ ายถงึ ประโยชนของระบบบอกพกิ ัดบนพื้นโลกโดยอาศยั ดาวเทยี ม (Global Positioning
System หรือ GPS) วามีประโยชนต อองคกรในแงใ ดบาง
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………

4. ระบบAutomated Storage/Retrieval System (AS/RS) คอื อะไรแลว มปี ระโยชนต อ องคกร
อยางไร
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………

บ ร ร ณ า นุ ก ร ม | 259

บรรณานกุ รม

Amazon Go รานสะดวกซื้ออัจฉริยะฯ. (2559). สืบคนเม่ือ 15 พฤษภาคม 2560, จาก
https://themomentum.co/successful-feature-amazon

Benchmarking เรี ย น รูจ า ก ผู ท่ี เก งก วา .(2 55 8 ).สื บ ค น เม่ื อ 3 มิ ถุ น าย น 25 6 1 .จ า ก
http://www.ftpi.or.th/2015/2114

David Simchi-Levi, Philip Kaminsky, Edith Simchi-Levi. (2549). “การจัดการและออกแบบ
โซอุปทาน” แปลและเรียบเรียงจาก Designing & managing the supply chain” –
บริษัท กรุงเทพฯ: ท็อป, I.วลัยลักษณ อัตธีรวงศ, II.วัชรวี จันทรประกายกุล, ผูแปลและ
เรยี บเรยี ง

MRP คืออะไร Material Requirement Planning. (2560).สืบคนเม่ือ 3 มิถุนายน 2561, จาก
www.mindphp.com/คูมอื /73-คอื อะไร/4591-what-is-mrp.htm

กมลชนก สุทธิวาทนฤพุฒิ และคณะ. (2546). การจัดการโซอุปทานและโลจิสติกส. กรุงเทพฯ :
แมคกรอ-ฮลิ

กมลชนก สุทธิวาทนฤพุฒิ และคณะ. (2546). การจัดการโซอุปทานและโลจิสติกส., กรุงเทพฯ:
ฟสกิ ซเ ซ็นเตอร

กฤษฏ ฉันทจริ พร “พลกิ วกิ ฤษเศรษฐกิจดว ยระบบ Green Logistics”
กอ เกียรติ วิริยะกิจพัฒนา. (2549). โลจิสติกสแ ละโซอ ปุ ทาน.กรุงเทพฯ: สาํ นักพมิ พว ังอกั ษร
ขอดี-ขอเสีย ของระบ บ GPS. (2543). สื บ ค นเม่ื อ 12 พ ฤษ ภ าค ม 2560, จาก https://

barcode1122.wordpress.com/2013/04/15
คณะกรรมการการอุดมศึกษา. (2545). สํานักงาน. พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542.

กรุงเทพฯ
คาํ นาย อภิปรัชญาสกุล. (2554). โลจิสติกสแ ละโซอปุ ทาน., กรงุ เทพฯ: โฟกัสมีเดีย แอนด พบั ลซิ ซ่ิง
คํานาย อภิปรัชญาสกุล. (2553). การจัดการคลังสินคา Warehouse Management. พมิ พค ร้ังที่

3. กรุงเทพฯ: บริษัท โฟกสั มเี ดีย แอนด พับลชิ ช่งิ จํากดั .
คํานาย อภิปรัชญาสกุล. (2553). ระบบบรรจุภัณฑในงานโลจิสติกส., กรุงเทพฯ: โรงพิมพโฟกัส

มเี ดีย แอนด พบั ลิชซิง่ จาํ กัด

260 | บ ร ร ณ า นุ ก ร ม

คํานาย อภิปรัชญาสกุล. (2546). โลจิสติกสและการจัดการซัพพลายเชน.“กลยุทธทําใหรวยชวย
ประหยัด”., กรุงเทพฯ: โรงพิมพน ัฎพร

คํานาย อภิปรัชญาสกุล. (2537). โลจิสติกสและโซอุปทาน. กรุงเทพฯ : บรษิ ัท โฟกัสมีเดีย แอนด
พับลิชชง่ิ จํากดั

โครงการภายใตกรอบความรวมมอระหวางภาครัฐและเอกชน SMEs Projects. (2560). เทคโนโลยี
ในโซอุปทานและการวางแผนของโซอุปทาน. สืบคนจาก http://management.
payap.ac.th/MG434/chain.pdf (สบื คน เมื่อวนั ที่ 6 มิถุนายน 2560)

ชลติ ลมิ ปนะเวช. (2545). Cutting Edge CRM. กรุงเทพฯ : Brand Age books
ชัยยนต ชิโนกุล. (2548). การจัดการโซอุปทานและลอจิสติกส. กรุงเทพฯ: ศูนยหนังสือ

มหาวทิ ยาลยั ศรปี ทมุ
ชาภา พลต้ือ พิเชษฐ ชอผกา วรนารถ แสงฉาย และ เผาภัค ศิริสุข. (2549). “ระบบติดตาม

ควบคุมการผลิตอัตโนมัติสําหรับอุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดยอม (SMEs) :
กรณีศึกษาโรงงานขึ้นรปู โลหะแผน,” การประชุมสัมมนาเชิงวิชาการประจําป 2549 การ
จดั การโลจสิ ติกสและโซอ ุปทาน ครัง้ ท่ี 6, พฤศจกิ ายน 2549
ช่ืนจิตร แจงเจนเกิด. (2549). กลยุทธการบริหารประสบการณของลูกคา.กรุงเทพฯ :Brand Age
books
ชตุ ิระ ระบอบ. (2556). การจดั การโลจิสติกสและโซอุปทาน., สมุทรปราการ: โครงการสํานักพิมพ
มหาวทิ ยาลัยหวั เฉยี วเฉลิมพระเกยี รติ
ชมุ พล มณฑาทิพยกุล. (2550). เอกสารประกอบการสอนการจัดการซัพพลายเชน; สาขาการจัดการ โลจิ
สตกิ ส, บัณฑติ วิทยาลยั การจดั การและนวตั กรรม, มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี
ไชยยศ ไชยม่นั คงและ ดร.มุยขพันธุ ชัยม่นั คง. (2550). กลยุทธโลจิสติกสแ ละซพั พลายเชนเพ่ือการ
แขงขนั ในตลาดโลก. กรุงเทพฯ : บรษิ ทั วชิ ่ัน พรีเพรส จาํ กัด
ซอฟตแวรสําหรับการจัดการคลังสินคา. (2551). สืบคนเม่ือ 13 พฤษภาคม 2560, จาก
https://riverplusblog.com/2011/08/18/warehouse-management
ฐาปนา บุญหลา , นงลักษณ นมิ ิตภวู ดล. (2550). การจัดการโลจิสตสิ  มิตซิ ัพพลายเชน. กรงุ เทพฯ:
ซีเอด็ ยเู คชั่น
ฐิติมา ไชยะกุล. (2555). หลักการผลิตและการดําเนินการ. กรุงเทพฯ :เพียรสัน เอ็ดดูเคช่ันอินโด
ไชนา
ฐิติมา ไชยะกลุ . (2557). หลักการผลติ และการดําเนินการ. กรุงเทพฯ: เพียรสนั เอ็ดดูเคชัน่ อนิ โด
ไชนา

บ ร ร ณ า นุ ก ร ม | 261

ธนัญญา วสุศรี และ ดวงพรรณ กริชชาญชัย ศฤงคารินทร. (2550). การจัดการโซอุปทาน
กรณศี ึกษาปฏิบตั กิ ารจากภาคธรุ กจิ , Logistics Book , กรุงเทพฯ

ธนิต โสรัตน. (2550). การประยุกตใชโลจิสติกสและโซอุปทาน, ประชุมทอง พร้ินต๊ิง กรุป จํากัด,
กรุงเทพฯ

นิลวรรณ ชุมฤทธ์ิ และทศพล เกียรติเจริญผล. (2551). การจัดการ Green Supply Chain และ
Reverse Logistics ของอุตสาหกรรมผลิตชิ้นสวนอิเล็กทรอนิกส (เอกสารประกอบการ
นาํ เสนอออนไลน)

บุญดี บุญญากิจ, กมลวรรณ ศิริพานชิ . (2545). “Benchmarking ทางลัดสคู วามเปน เลศิ ทางธรุ กจิ ”
กรงุ เทพฯ: อินโนกราฟฟกส

บุญเลิศ จิตตั้งวัฒนา. (2542). การพัฒนาการทองเที่ยวแบบยั่งยืน. เชียงใหม: คณะมนุษยศาสตร
มหาวิทยาลยั เชียงใหม.

ประจวบ กลอมจติ ร. (2556). โลจิสติกส-โซอุปทาน: การออกแบบและจัดการเบ้ืองตน ., กรุงเทพฯ:
วพี รนิ้ (1991)

ประโยชนของบารโคดในการใชงานดานตางๆ. (2556). สืบคนเม่ือ 3 พฤษภาคม 2560, จาก
https://barcode1122.wordpress.com/2013/04/15

ปรียาวดี ผลเอนก. (2557). การบรหิ ารการผลิต. พิมพคร้ังท่ี 3. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพแหง จุฬา
ลงกรมหาวิทยาลยั .

พงษชัย อธิคมรัตนกุล. (2550). เอกสารประกอบการสอนการจัดการคลังสินคา; สาขาการ
จัดการโลจิสตกิ ส, บัณฑติ วิทยาลยั การจัดการและนวัตกรรม, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระ
จอมเกลาธนบรุ ี

ไพบูลย เกียรติโกมล. (2551). ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ. กรุงเทพมหานคร : ซีเอ็ดยูเคช่ัน,
สถาบันสงเสริมความเปนเลิศทางเทคโนโลยีอารเอฟไอดีแหง ประเทศไทย. (ม.ป.ป.).
องคป ระกอบ RFID. http://www.rfid.or.th

ไพรัช พิบูลยรุงโรจน , “แนวคิดและเทคนิคการจัดการโลจิสติกสในการทองเที่ยว (Tourism Logistics :
Concepts and Technique ศนู ยวิจยั และซพั พลายเชน คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลยั เชียงใหม

ม่ิงสรรพ ขาวสอาด และคณะ. (2556). เศรษฐศาสตรวาดวยการทองเที่ยว.-- เชียงใหม: ลอคอิน
ดีไซนเ วิรค

ระบบ EDI คืออะไรและสําคัญกับงานโลจิสติกสอยางไร. (2554). สืบคนเมื่อ 20 เมษายน 2560,
จาก http://logisticsrmuttochan.blogspot.com/2011/08/edi.html

262 | บ ร ร ณ า นุ ก ร ม

ราชบัณฑิตยสถาน. (2530). “พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525”. กรุงเทพฯ: ไทย
วัฒนาพานิช
. (2531). “ พจนานกุ รมฉบบั เฉลิมพระเกียรติ พ.ศ. 2525”. กรงุ เทพฯ: ไทยวฒั นาพานชิ

เรื่องนารูเก่ียวกับคลังสินคา ตอนที่ 1. เอกสาร online http://www.logisticscorner.com
/index.php?option=com_content&view=article&id=2548:-
1&catid=38:warehou sing&Itemid=92

วฒุ ินันท ชมภู. (2556). “วิธีประเมินผลการปฏิบัติงาน แปลและเรียบเรียงจาก How to Be Good at
Performance Appraisale” – บริษัท เอ็กซเปอรเน็ท จํากัด. 272 หนา วิธีประเมินผลการ
ปฏบิ ัติงาน. I.วฒุ ินันท ชมภ,ู ผแู ปล. II. วีรวธุ มาฆะศริ านนท, ผเู รยี บเรียง

สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยธนบุรี. (2559). เอกสาร
ประกอบการสอนวิชา การจัดการโลจิสติกสและซัพพลายเชน (Logistics and Supply
Chain Management) พมิ พค รั้งท่ี 2. กรงุ เทพฯ: มหาวทิ ยาลัยธนบุรี

สํานักโลจิสติกส กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร. (2556). คูมือการประเมิน
ประสิทธิภาพดานโลจิสติกสเกณฑตัวช้ีวัดมาตรฐานสําสําหรับผูประกอบการ โครงการ
ศูนยบริการขอมูลโลจิสติกส ป พ.ศ. 2556 (Logistics Service Information Center :
LSIC)

สุเนตร มูลทา. (2527). เอกสารประกอบการเรียน วิชา การขนถายวัสดุ 3100 – 011x สาขา
วิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร สถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน สืบคนจาก
http://ie.pit.ac.th/sunetr/images/teching/materials_handling/materials_handli
ng2527.pdf (สืบคน เมอ่ื วันที่ 19/5/2558)

อภิชัย ศรีเมือง. (2556). “KPI เพื่อประเมินความสําเร็จของหัวหนางาน สําหรับผูบริหาร” –
นนทบุรี: ธงิ ค บยี อนด บคุ ส จํากดั , 160 หนา

อลงกรณ มีสุทธา, สมิต สัชฌุกร. (2552). “การประเมินผลการปฏิบัติงาน(ฉบับปรับปรุง)”
กรงุ เทพ: สมาคมสง เสรมิ เทคโนโลย(ี ไทย-ญ่ีปุน)

เอกสารประกอบโครงการภายใตกรอบความรวมมือระหวางภาครัฐและภาคเอกชน SMEs Project
http://www.busandtruckmedia.com/page.php?a=10&n=126&cno=2259

Arjan J. Van Weele. ( 2005) . Purchasing & Supply Chain Management: Analysis,
Strategy, Planning and Practice, 4th ed., Thomson, London, pp. 12, 251-252.

บ ร ร ณ า นุ ก ร ม | 263

Bernard Burnes and Barrie Dale. (2000). Working in Partnership: Best Practice in
customer-supplier relations, Hampshire: Gower Publishing Limited, 1998.
Hines et al (2000), Value Stream Management: Strategy and Excellence in
the Supply Chain, New York: Prentice Hall

Bowersox, D.J., Closs, D.J. & Cooper, M.B. (2010). Supply chain logistics management.
3rd edition, Singapore: McGraw-Hill.

Jacobs, Robert F. & Chase, Rechard B. ( 2010) . Operations and supply Chain
Management. 2nd ed. NY : McGraw-Hill Irwin

Joel D. Wisner et al. (2009). Principles of Supply Chain Management. 2nd ed. United
State of America: South -Western Cengage Learning.

Lambert,D.M., Stock, J.R.,&Ellram, L.M. (1998). Fundamentals of logistics management.
Boston, Mass.:Irwin/McGraw-Hill.

N. Faber, Organizing warehouse management, International Journal of Operations &
Production Management, vol. 33, pp. 1230-1256, 2013.

Robert C. Camp. (1995). Business Process Benchmarking. ASQC Quality Press สืบคน
วนั ที่ 12-05-2558 http://promrucsa-dba04.blogspot.com/2012/10/ bsc.html

Russell, Roberta S. and Talor III, Bernard W. (2011). Opertion Management. 7th ed.
NJ: John Wiley & Son (Asia)

Schejbal, C.: Logistika cestovního ruchu. (2 0 0 9 ). – Vysoká škola logistiky Přerov,
vydání první, ISBN 978-80-87179-09-3

World Tourism Organization. (1997). Tourism market trends: The world. World
Tourism Orgaization, Mandrid, Spain.



บนั ทกึ ทายเลม

............................................................................................................................. .............
...................................................................................................................... ....................
............................................................................................................................. .............
.................................................................................................. ........................................
............................................................................................................................. .............
..........................................................................................................................................
............................................................................................................................. .............
..........................................................................................................................................
............................................................................................................................. .............
..........................................................................................................................................
............................................................................................................................. .............
..........................................................................................................................................
............................................................................................................................. .............
............................................................................................................................. .............
.................................................................................................................... ......................
............................................................................................................................. .............
................................................................................................ ..........................................
............................................................................................................................. .............
..........................................................................................................................................
............................................................................................................................. .............
..........................................................................................................................................
............................................................................................................................. .............

..........................................................................................................................................
............................................................................................................................. .............
..........................................................................................................................................
............................................................................................................................. .............
............................................................................................................................. .............
.................................................................................................................. ........................
............................................................................................................................. .............
.............................................................................................. ............................................
............................................................................................................................. .............
..........................................................................................................................................
............................................................................................................................. .............
..........................................................................................................................................
............................................................................................................................. .............
..........................................................................................................................................
............................................................................................................................. .............
..........................................................................................................................................
............................................................................................................................. .............
............................................................................................................................. .............
................................................................................................................ ..........................
............................................................................................................................. .............
............................................................................................ ..............................................
............................................................................................................................. .............
..........................................................................................................................................


Click to View FlipBook Version