The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by jjooee777, 2022-07-05 05:28:36

Inside Logistic 18.2x25.7 cm

Inside Logistic 18.2x25.7 cm

ก า ร บ ริ ห า ร สิ น ค า ค ง ค ลั ง | 179

วัตถุดิบท่ีขนสงจากผูจัดหามายังโรงงาน งานระหวางทําท่ีสงจากแผนกหนึ่งไปยังอีกแผนกหน่ึง
สินคาที่อยูระหวางการขนสงจากโรงงานไปยังศูนยการกระจายสินคาหรือสง มอบใหแกลูกคาและ
สินคาท่ีอยูร ะหวางการขนสงจากศนู ยกระจายสินคาไปยงั รานคาเปนตน ทั้งน้ีเทคนิคหลักในการลด
สินคาคงคลังที่อยูระหวา งการขนสง คอื การลดระยะเวลานําสง ซึ่งเทคนคิ รองท่ีชวยลดระยะเวลา
นาํ สงไดแก การหาผูจัดหาและผขู นสงท่ีมีการสงมอบเร็ว การปรบั ปรงุ การจัดเก็บวัตถุดิบในโรงงาน
รวมท้ังการใชระบบคอมพิวเตอรในการส่ือสารระหวางศูนยกระจายสินคาและรานคาเพื่อความ
รวดเร็ว นอกจากนี้องคการอาจลดขนาดการสั่งซอื้ ลง เมื่อระยะเวลานําสง สนิ คา ขนึ้ อยูกบั ขนาดการ
สัง่ ซอื้ เนอื่ งจากขนาดการสง่ั ซอ้ื ทีน่ อ ยลงจะทาํ ใหส งมอบไดรวดเร็วมากขึ้น

9.7 เทคนิคการตรวจสอบสนิ คาคงคลงั

การจัดการสินคาคงคลังที่มีประสิทธิภาพนั้น องคการควรมรี ะบบติดตามจํานวนสินคาคง
คลังทอี่ งคก ารมีอยู ซึ่งระบบตรวจสอบสินคาคงคลังที่ดีจะสงผลใหองคการกําหนัดปรมิ าณการส่ังซ้ือ
และเวลาในการส่ังซื้อได ซึ่งการเลือกระบบตรวจสอบสินคาคงคลังตองทราบลักษณะของอุปสงค
สินคาคงคลัง นอกจากน้ันการบันทึกขอมูลที่ถูกตองมีความสําคัญตอระบบตรวจสอบสินคาคงคลัง
องคการควรมอบหมายหนาท่ีอยางชัดเจนแกพนักงานในการเบิกจา ยสินคาคงคลังและควรจดบันทึก
ในการเบิกจายทุกครั้ง นอกจากน้ันควรมีการรักษาความปลอดภัยของคลังสินคาอยางรอบคอบเพื่อ
ปองกันการสูญหาย และควรตรวจสอบสินคาคงคลังอยางสมํ่าเสมอ สินคาคงคลังแบงตามลักษณะ
ของอุปสงคอ อกเปน 2 ประเภท ไดแ ก อุปสงคอ สิ ระและ อปุ สงคพง่ึ พา

อุปสงคอิสระ (Independent demand) เปนอุปสงคสินคาคงคลังขึ้นอยูกับสภาวะ
ตลาดแตไมข้ึนอยูกับสินคาประเภทอ่ืนในคลังสินคา ตัวอยาง ของอุปสงคอิสระ ไดแก สินคาคงคลัง
ของผูคาสงและผูคาปลีก สินคาคงคลังของธุรกิจบริการ เชน อุปกรณตัดผมของรานทําผม เปนตน
สนิ คาท่จี ะสงมอบใหกบั ศูนยกระจายสินคา รวมทง้ั เคร่ืองมือและอะไหลในการบํารุงรกั ษา ซอมแซม
และใชในการผลติ ซ่ึงไมใชเปนช้ินสว นประกอบสนิ คาหรือบรกิ ารข้นั สุดทาย ตวั อยา งเชน นา้ํ มันเครอ่ื ง
และอปุ กรณซ อ มเครอ่ื งจักร เปน ตน

อุปสงคพ ง่ึ พา (Dependent demand) เปนอปุ สงคของสนิ คา คลังทจ่ี ะตองเปลย่ี นแปลง
ไปตามอุปสงคอสิ ระ เชน ชิ้นสวนประกอบหรอื วตั ถดุ ิบในการผลิตสนิ คา

180 | ก า ร บ ริ ห า ร สิ น ค า ค ง ค ลั ง

ภาพท่ี 9.6 อปุ สงคอิสระ (independent demand) และ
อปุ สงคพ ง่ึ พา (dependent demand)

9.7.1 ระบบตรวจสอบสินคา คงคลงั แบบตอ เนอ่ื ง
ระบบตรวจสอบสินคาคงคลังอยางตอเน่ือง (Continuous review system : Q system)
หรือระบบจุดส่ังซ้ือ (Reorder point system : ROP system) หรือ ระบบปริมาณการสั่งซ้ือคงที่
(Fixed order-quantity) เปนระบบตรวจสอบสินคาคงคลังคงเหลือทกุ ครงั้ ที่มีการนาํ สนิ คาคงคลงั ไป
ใชหรือขายไปอยางตอเนื่อง โดยเม่ือปริมาณสินคาคงคลังลดลงถึงระดับที่กําหนดไว ก็จะทําการ
สั่งซื้อสินคาเพ่ิมเติม ผลทไี่ ดคือทําใหอ งคการทราบปรมิ าณสนิ คา คงคลัง ณ ปจจบุ ันของสินคาแตละ
ประเภท การตรวจสอบสินคาคงคลังอยางตอเน่ืองอาจนําระบบคอมพิวเตอรและการชําระเงินทาง
อิเล็กทรอนิกส เชน ระบบ Universal product code (UPC) หรือ การใช Barcode เช่ือมโยงกับ
การบันทึกสินคาคงคลังในธุรกิจประเภท หางสรรพสินคา และดิสเคาทสโตรและธุรกิจคาปลีกอื่นๆ
โดยระบบพิจารณาสถานะของสินคาคงคลัง (Inventory position) ถาพบวาสินคาคงคลังลดลงมาก
พอระบบจะทาํ การส่ังซื้อใหมซ ่งึ สถานะของสนิ คาคงคลงั สะทอ นถึงความสามารถขององคการในการ
ตอบสนองอุปสงคในอนาคต เมื่อสถานะสินคาคงคลังลดลงถึงระดับท่ีกําหนดซ่ึง เรียกวา จุดสั่งซ้ือ
(Reorder point) ระบบตรวจสอบสินคาคงคลังแบบตอเนื่องทําการสั่งซื้อสินคาในปริมาณคงที่
เทากบั Q หนวย อยางไรก็ตามรอบเวลาการส่ังซ้ือในแตละคร้ังจะไมเทากัน ดงั นั้น การส่ังซ้ือแตละ
คร้ังควรพิจารณาถึงปริมาณการส่ังซ้ือที่ประหยัด (Economic order quantity : EQQ) ขนาดของ
คอนเทนเนอร และขอ จาํ กดั อื่นๆในการจัดซอ้ื

ระบบตรวจสอบสนิ คาคงคลงั แบบตอ เน่ืองมีขอดี คอื การส่งั ซอื้ หรือจาํ นวนสนิ คา ที่
ส่งั แตละครั้งมีจํานวนเทากันทุกคร้ังจึงสะดวกในการติดตอประสานงานกับผูจดั หา และสามารถลด
คา ใชจา ยในการส่ังซื้อไดรวมท้ังถาองคการสัง่ ซ้อื วัตถุดิบหรอื สินคาเปนจํานวนมากองคการอาจไดรับ
สวนลดเชิงปริมาณ รวมท้ังยังสะดวกตอการตํานึงถึงขอจํากัดตางๆในการส่ังซื้อ เชน ขนาดของ

ก า ร บ ริ ห า ร สิ น ค า ค ง ค ลั ง | 181

คอนเทนเนอร และ การเก็บรักษาสินคาคลงคลังเปนตน และองคการสามารถลดปริมาณสินคาคง
คลังเพ่ือความปลอดภัยใหนอยลงจึงประหยัดคาใชจายในการเก็บรักษา อยางไรก็ตามองคการที่ใช
ระบบตรวจสอบสินคาคงคลังอยา งตอเน่ืองอาจตองเสยี คาใชจ า ยในการตรวจนบั สินคาคงคลงั ท่สี ูงแต
อาจไมสามารถตรวจสอบไดในกรณีทสี่ ินคา ชาํ รุดหรอื เสียหาย

ภาพที่ 9.7 ระบบสองถัง (Two-bin system) และ ระบบถงั เดียว (Single-bin system)
ระบบตรวจสอบสินคาคงคลังแบบตอเนื่องสามารถนํามาประยุกตกับการตรวจสอบสินคา

คงคลังดวยสายตา(Visual system) ซ่ึงใหอํานาจแกพนักงานสั่งซ้ือสินคาเม่ือเห็นวาสินคาคงคลัง
ลดลงถึงระดับท่ีกําหนดระบบตรวจสอบสินคาคงคลังดว ยสายตาเหมาะสมกับสินคาคงคลังที่มีมูลคา
ต่ําและมีอุปสงคคงที่ และมีคาใชจายในการเก็บรักษาต่ํา อาทิเชน เครื่องใชในสํานักงาน เปนตน
โดยการตรวจสอบสินคาคงคลังดวยสายตาแบบตอเน่ือง คือ ระบบสองถัง (Two-bin system)
สินคา คงคลังจะถกู เก็บไวในถังหรอื ภาชนะบรรจุสองใบ โดยองคการจะนําสนิ คาคลังจากถงั ท่ี1 ไปใช
ในการดําเนินงานและเม่อื สินคาคงคลังในภาชนะบรรจุที่ 1หมดจะทําการส่ังซ้ือสินคาเพ่ิมเติม ทั้งนี้
การส่งั ซอื้ สนิ คา จะมเี อกสารส่งั ซอื้ วางใกลก ับภาชนะบรรจเุ พอ่ื ใหพ นักงานสามารถสั่งซอื้ สินคา ไดท ันที
โดยในระหวา งชวงเวลารอสินคามาสง จากผูจัดหาองคการจะนําสินคาคงคลังในภาชนะบรรจทุ ี่ 2 ไป
ใชในการดําเนินการและเม่ือปริมาณสินคาคงคลงั ในภาชนะบรรจทุ ี่ 2 นั้นหมด จะพบวาสินคาท่ีสั่ง
เพมิ่ เติมสงมาถึงองคการพอดี และองคก ารจะจัดเก็บสินคาลงในภาชนะบรรจุใบท่ี 2 ใหเต็มท่เี หลือ
จึงจัดเก็บไวในภาชนะบรรจุใบที่ 1 ระบบ 2 ถังจัดเปนระบบตรวจสอบสินคาคงคลังอยางตอเน่ือง
โดยมีจุดสั่งซื้อเมื่อสินคาคลังในภาชนะบรรจุใบที่ 1 หมด หรือเม่ือเริ่มตนสินคาคงคลังจากภาชนะ
บรรจุท่ี 2 ท้ังน้ี องคการอาจประยุกตจากการใชภาชนะบรรจุ 2 ใบ เปนภาชนะบรรจุใบเดียวและ
ทาํ เครื่องหมายจดุ สงซือ้ ไวท ีภ่ าชนะบรรจุ

182 | ก า ร บ ริ ห า ร สิ น ค า ค ง ค ลั ง

9.7.2 ระบบตรวจสอบสินคา คงคลังสนิ คา ตามงวดเวลา
ระบบตรวจสอบสินคาคงคลังตามงวดเวลา (Periodic review system: P system) หรือ
ระบบรอบการส่ังซ้ือคงที่ (Fixed interval reorder system) หรือ ระบบการสั่งซื้อตามงวดเวลา
(Periodic reorder system) เปนระบบตรวจสอบสถานะสินคาคงตามงวดเวลาที่กหนด โดยอาจใช
พนักงานตรวจนับสนิ คาคงคลังทกุ เดอื น หรอื สัปดาห เปนตน โดยจะกระทําตรวจนบั จาํ นวนสินคา คง
คลังในองคการทั้งหมด เพื่อตรวจสอบวาองคการตองสั่งซื้อสินคาเพ่ิมเปนจํานวนเทาใดเพ่ือให
พอเพียงตอความตองการ ดังนั้นจะสะดวกตอการจัดตารางการสงมอบสินคาเน่ืองจากองคการ
ตรวจสอบสินคาคงคลังเปนประจํา องคการจะส่ังซื้อสินคาภายหลังการตรวจสอบสนิ คาคงคลังแตละ
คร้ัง โดยชวงเวลาระหวางการส่ังซ้ือแตละครั้งมีระยะเวลาเทาเดิมโดยมีคาเทากับ P อยางไรก็ตาม
องคก ารซ่งึ ใชร ะบบตรวจสอบสนิ คาคงคลงั ตามงวดเวลาจะมีขนาดการสงั่ ซ้ือไมเทาเดิมในแตละคร้งั ที่
สงั่ ซ้ือ เนื่องจากอปุ สงคของสนิ คามคี วามไมแนน ทงั้ น้ีระบบตรวจสอบสินคาคงคลังตามงวดเวลานยิ ม
ใชก บั รานคา ปลีกขนาดเล็ก และการเกบ็ ช้ินสวนประกอบขนาดเล็กในโรงงานอตุ สาหกรรมเปนตน
ในระบบตรวจสอบสินคาคงคลังตามงวดเวลาน้ันสงผลใหองคการสามารถจัดเวลาในการ
ทํางานของพนักงาน และสามารถกําหนดระยะเวลรขนสงที่ชัดเจน และเพิ่มประสิทธิภาพการสั่ง
สินคา เพ่มิ เติมรวมท้งั องคก ารสามารถส่งั ซอ้ื สนิ คา หลายประเภทจากการส่ังซือ้ เพยี งคร้ังเดยี วทาํ ใหลด
คาใชจายในการสงั่ ซื้อและคาขนสง และองคการอาจไดรับสวนลดเชิงปริมาณจากผูจ ัดหา อยา งไรก็
ตาม องคการท่ีใชระบบตรวจสอบสินคาคงคลังตามงวดเวลาจะทราบจํานวนสินคา คงคลังเมื่อมีการ
ตรวจสอบเทาน้ัน ดังน้ันระหวางชวงเวลารอคอยใหถึงรอบการตรวจสอบสินคาคงคลังครั้งตอไป
องคการจะไมทราบจํานวนสินคาคงคลังดังน้ันองคการจึงตองเก็บสินคาคงคลังเพื่อความปลอดภัย
เพิม่ ขน้ึ
แนวคิดของระบบตรวจสอบสินคาคงคลัง สามารถประยุกตกับระบบตรวจสอบสินคาคง
คลังดวยสายตาท่ีเรียกวา ระบบถังเดียว (Single-bin system) ซึ่งองคการจะกําหนดเคร่ืองหมาย
ระดบั สงู สดุ บนชน้ั วางของหรือภาชนะบรรจุสินคาและองคก ารตองเตมิ สินคาใหเต็ม ตามเคร่อื งหมาย
ทขี่ ีดไวตามชวงเวลาทีก่ าํ หนด เชน กาํ หนดทุก 10 วัน เปนตน

9.7.3 ระบบตรวจสอบสินคาคงคลงั แบบผสม
ระบบตรวจสอบสินคาคงคลังแบบผสม (Hybrid system) เปนระบบที่ผสมผสานระหวาง
ระบบตรวจสอบสินคาคงคลงั อยางตอ เนื่อง (Q system) และ ระบบตรวจสอบสินคาคงคลังตามงวด
เวลา (P system) เน่ืองจากระบบตรวจสอบสินคาคงคลังท้ังระบบ ตรวจสอบสินคาคงคลัง
แบบตอเน่ือง และระบบตรวจสอบสินคาคงคลังตามงวดเวลาตางมีขอดีและขอเสีย ดังนั้น จึงเกิด

ก า ร บ ริ ห า ร สิ น ค า ค ง ค ลั ง | 183

ระบบตรวจสอบสินคาคงคลังแบบผสม ซ่ึงมีหลายรูปแบบ ไดแก ระบบสินคาคงคลังขั้นต่ํา และ
ระบบเติมสินคา แบบทางเลอื ก

ระบบสินคาคงคลังข้ันต่ํา (Base-stock system) เปนระบบท่ีมีการส่ังสินคาเพ่ิมทุกครั้งที่มี
การนําสนิ คา คงคลงั ไปใชโ ดยสง่ั เพ่มิ ในปรมิ าณท่เี ทา กบั ทีน่ าํ ออกไปใช ดงั น้ัน ปรมิ าณสนิ คาคงคลังจะ
อยูในระดับข้ันตํ่าที่องคการตองการเสมอ ระบบนี้คลายกบั จดุ สั่งซอื้ ในระบบตรวจสอบสนิ คาคงคลัง
อยา งตอเนื่อง (Q system) แตปรมิ าณการสงั่ ซือ้ จะไมคงทเ่ี สมอไปและตองมกี ารส่งั ซ้ือสินคา บอยคร้ัง
มากกวา ซ่ึงการสั่งซ้ือแตละคร้ังมีจํานวนนอย ท้ังน้ีระบบสินคาคงคลังขั้นต่ําควรใชเม่ือองคการ
ตอ งการเก็บสนิ คาคงคลงั ในปริมาณนอยทสี่ ุดเน่อื งจากสนิ คาคงคลังนั้นมรี าคาสูง เชน การส่ังอะไหล
สําหรับนาิการาคาแพง เปนตน ระบบสินคาคงคลังขั้นต่ําเหมาะสมใชกับระบบการผลิตแบบ
ทันเวลาพอดี (Just-in time) เน่ืองจากระบบน้ีจะไมเก็บสินคาคงคลังมากกวาอุปสงคท่ีคาดวาจะ
เกิดขึ้น

ระบบเติมสินคาแบบทางเลือก (Optional replenishment system) หรือ ระบบ
ตรวจสอบแบบทางเลือก หรือ ระบบต่ําสุด-สูงสุด หรือ ระบบ S เปนระบบท่ีคลายกับระบบ
ตรวจสอบสินคาคงคลังตามงวดเวลา คือ มีการตรวจสอบสถานะสินคาคงคลังตามชวงเวลาที่
กําหนดไว และคลายกับระบบตรวจสอบสินคาคงคลังตามงวดเวลาในการสั่งซื้อ ถาองคการพบวา
สินคาคงคลังมีจํานวนนอยกวาหรือเทากับระดับท่ีกําหนดไวองคการจะทําการส่ั งซ้ือสินคาเพิ่มเติม
เพ่ือหพอเพียงกับท่ีตองการ แตถาตรวจสอบแลวพบวาจํานวนสินคาคงคลังสูงกวาระดับท่ีกําหนด
แลวองคก ารจะไมท าํ การสั่งซื้อเพม่ิ เตมิ ระบบเตมิ สนิ คา แบบทางเลอื กไมต อ งตรวจสอบอยางตอเนือ่ ง
ซึงเหมาะสมกับองคการทตี่ องการลดคาใชจา ยในการตรวจสอบสนิ คา คลงั และคา ใชจา ยในการสัง่ ซื้อ

ภาพท่ี 9.8 วงจรสนิ คาคงคลัง Inventory Cycle
ท่ีมา: Bernard W. Taylor III, Introduction to Management Science (10th Edition), Page 742

184 | ก า ร บ ริ ห า ร สิ น ค า ค ง ค ลั ง

9.8 ปริมาณการส่ังซื้อที่ประหยัด

การจัดการสินคาคงคลังท่ีดีน้ันองคการควรวิเคราะห ปริมาณการสั่งซ้ือที่ประหยัด
(Economic order quantity: EQQ) ซง่ึ เปนปริมาณการผลิตท่ีเหมาะสมสาํ หรบั องคก าร โดยขนาด
การส่ังซื้อน้ีสงผลใหองคการมีผลรวมของคา ใชจายในการเก็บรักษาและคาใชจายในการสั่งซื้อตอปมี
คา ตํ่าที่สุด เน่ืองจากในการเกบ็ สินคาคงคลงั เปนจํานวนนอยจะเพิ่มความถีแ่ ละคาใชจา ยในการสัง่ ซอ้ื
ขณะท่ีในการเก็บสินคาคงคลงั จํานวนมากจะเพ่มิ คาใชจายในการเก็บสินคาคงคลัง ทง้ั นีก้ ารคาํ นวณ
ปริมาณการสั่งซือ้ ที่ประหยดั มสี มมตฐิ าน 5 ประการดงั ตอไปน้ี

7.8.1 อุปสงคของสินคาคงคลังมีความแนนอนและมีคาคงท่ี เชน องคการมีอุปสงค
สนิ คา คลังเทากับ 200 หนวยตอสปั ดาห
7.8.2 ในการสั่งซ้ือสนิ คา คงคลงั ไมม ีขอจาํ กัดใดๆ เชน ขอ จํากัดในกาํ ลงั การผลิตของรถ
ขนสง หรอื ขอจํากดั ในพนื้ ทจ่ี ดั เกบ็ วตั ถุ
7.8.3 คาใชจายที่เก่ียวของกับสินคาคงคลังมี 2 ประเภทเทานั้น คือ คาใชจายในการ
เก็บรกั ษา และคาใชจา ยในการส่ังซ้อื หรอื ต้งั เคร่อื งจักรตอคร้ัง
7.8.4 ในการสั่งซื้อเปนสงั่ ซอ้ื สนิ คาคงคลัง 1 ชนิด ไดอยา งเปน อิสระ เนอ่ื งจากองคก าร
ไมไ ดร ับผลประโยชนจ ากการส่ังซ้ือสนิ คา หลายชนิดรวมกัน
7.8.5 ระยะเวลานาํ สงสินคาตรงตอเวลาและมีคา คงท่ี นอกจากนี้จาํ นวนสนิ คาท่ีไดรับ
มจี ํานวนเทากับจํานวนสินคา ทส่ี ่ังซอื้ ไปและมกี ารสง มอบในคราวเดียวกัน

ภาพที่ 9.9 กราฟแสดงคาใชจ า ยในการเกบ็ รักษา คาใชจ ายในการสงั่ ซื้อ
คาเสียโอกาส และคา ใชจ า ยรวมตอ ป

ท่มี า: Bernard W. Taylor III, IntroductiontoManagementScience(10thEdition), Page 742

ก า ร บ ริ ห า ร สิ น ค า ค ง ค ลั ง | 185

ในการคํานวณ ปริมาณ การส่ังซ้ือท่ีประหยัดจะทําไดเมื่อมีสมมติฐานครบท้ัง 5ประการ
แตท้ังน้ีในความเปนจริงอาจทําไดยากแตทั้งน้ีองคการสามารถนําคาที่ประเมินไดป ระยุกตเปนขนาด
การส่งั ซ้ือเฉลี่ยขององคก ารจากสมมตฐิ านในการหาปรมิ าณการสัง่ ซือ้ ทป่ี ระหยดั จะพบวา วงจรสนิ คา
คงคลังจะแสดงดังภาพท่ี 7.9 ณ จุดเริ่มตนของวงจรพบวามีสินคาคงคลังในคลังสินคาเทากับ
Q หนว ย เน่ืองจากอุปสงคและระยะเวลานําสง ไมผันผวนและมีคาคงที่ ดังนั้นอัตราการใชสินคาคง
คลังจะมีคาคงท่ี และสงผลใหการส่ังซอื้ สินคาที่สั่งซ้ือใหมจะไดรับเม่ือสนิ คาคงคลงั ขององคการมีคา
เทากับศูนยพอดี ทั้งนี้จะพบวาปริมาณสินคาคงคลังเฉลี่ยขององคการมีคาเทากับคร่ึงนึงของขนาด
การสงั่ ซื้อ

9.9 การจดั เก็บสนิ คาคงคลังในการวิเคราะห เอ บี ซี (ABC Analysis)

การจัดเก็บสินคาคงคลังควรจัดเก็บสินคาคงคลังตามประเภทของสินคา โดยองคการควร
วเิ คราะหวาสินคาคงคลังเปนสินคาคงคลังพิเศษหรือสินคาคงคลังมาตรฐาน โดยสินคาคงคลงั พิเศษ
เปนสินคาคงคลังซึ่งผลิตตามคําสั่งซื้อของลูกคาหรือจัดซื้อตามคําส่ังซื้อของลูกคา ซึ่งสินคาคงคลัง
พิเศษมีจํานวนเพียงพอสําหรับลูกคารายท่ีส่ังไวเทาน้ัน สําหรับสินคาคงคลังมาตรฐานเปนสินคาคง
คลงั ทอ่ี งคการผลติ ลวงหนาและเกบ็ ไวใ นคลงั สนิ คา และนําสินคา คงคลังนั้นมาใชในการดําเนินงานเมื่อ
ตองการ กรณีที่องคการมสี ินคาคงคลังมาตรฐานจํานวนมากและสินคา คงคลงั นั้นเปน สินคา สําเร็จรูป
องคการควรเก็บสินคาไวใ กลกับลูกคาเพื่อลดระยะเวลานําสง อยา งไรกต็ าม การเก็บสินคาสําเร็จรูป
เปนจํานวนมากจะสงผลใหองคการมีตนทุนจมและเสียคาใชจายในการจัดเก็บแตถาองคการลด
จํานวนสินคาคงเหลือลงเพื่อลดคาใชจายในการเก็บรักษาแตองคการอาจไมมีสินคาคงคลังเพียงพอ
เพอ่ื ตอบสนองตอความตอ งการของลกู คา

ภาพที่ 9.10 การจัดเกบ็ สินคาคงคลงั ในการวิเคราะห เอ บี ซี (ABC Analysis)

186 | ก า ร บ ริ ห า ร สิ น ค า ค ง ค ลั ง

ท่มี า: Bernard W. Taylor III, Introduction to Management Science (10th Edition),

องคการสวนใหญมีการจัดเก็บสินคาคงคลังโดยอาศัยแนวคิด การวิเคราะหเอ บี ซี
(ABC analysis) ซึ่งจัดเก็บสินคาคงคลังตามมูลคาของสินคาคงคลัง โดยแบงสินคาคลังออกเปน
3 ประเภทไดแก สินคาคลงั ประเภท A, Bและ C ซงึ่ เรียงตามมูลคาของสนิ คาคงคลังจากมากไปนอ ย
ตามลําดับ ทั้งนี้ สินคาคงคลังที่มีมูลคามากท่ีสุดหรือสินคาคงคลังประเภท A จะไดรับการควบคุม
ติดตาม และดูแลรักษาอยางใกลชิด จากภาพที่ 7.10 แสดงใหเห็นวา สินคาคงคลังประเภท A
มีจํานวนสินคาคงคลังนอยสุดแตมีมูลคาสินคาคงคลังมากที่สุดสําหรับสินคาคงคลังประเภท B
มีจํานวนและมูลคาของสินคาคงคลังในระดับปานกลาง สินคาคงคลังประเภท B อาจใชระบบการ
จัดซ้ือสินคาโดยใชระบบคอมพิวเตอรในการควบคุมสินคาคลัง สินคาคงคลังประเภท C มีจํานวน
สินคามากท่ีสุดจากจํานวนสินคาคงคลังท้ังหมด และมีมูลคาของสินคาคงคลังตํ่าที่สุดเมื่อเทียบกับ
มูลคาของสินคาคงคลังทั้งหมด อยางไรก็ตามสินคาคงคลังระเภท C แมจะมีมูลคาต่ําและเสีย
คาใชจายในการเก็บรักษานอยกวาสินคาคงคลังประเภทอื่นสินคาคงคลังประเภท C น้ันมี
ความสําคัญเทา กบั สนิ คาคลังประเภท A และB

9.10 บทบาทของสนิ คา คงคลังในซพั พลายเชน (Supply Chain)

สินคาคงคลังมีวัตถุประสงค ในการสรางความสมดุลในซัพพลายเชน (Supply Chain)
เพื่อใหระดับสินคาคงคลังตํ่าสุด โดยไมกระทบตอระดับการใหบริการ ซึ่งปจจัยนําเขา (Input)
ของกระบวนการผลิตที่มีความสําคัญอยางย่ิง คือ วัตถุดิบ (Raw Material) ชิ้นสวน (Parts) และ
วัสดุตาง ๆ (Material) เรียกวา สินคาคงคลัง เปนองคประกอบท่ีใหญท่ีสุดของตนทุนการผลิต
ผลิตภณั ฑหลายชนิด นอกจากน้ันการท่มี ีสนิ คาคงคลังท่ีเพียงพอ ยังเปน การสนองตอบความพึงพอใจ
ของลกู คาไดท ันที

จะเห็นไดวาสินคาคงคลัง มีความสําคัญตอกิจกรรมหลักของธรุ กิจเปนอยางมาก การบริหาร
สนิ คาคงคลงั ทมี่ ีประสิทธิภาพ จงึ สงผลกระทบตอ ผลกําไรจากการประกอบการโดยตรง และในปจจุบัน
น้ีก็ไดมีการนําเอาระบบคอมพิวเตอร มาจัดการขอมูลของสินคาคงคลัง เพ่ือใหเกิดความถูกตอง
แมนยํา และทันเวลามากยิ่งขึ้น การจัดซื้อสินคาคงคลังมาในคุณสมบัติท่ีตรงกับ ความตองการ
(Demand) ปริมาณท่ีเพียงพอ (Quantity) ราคาที่เหมาะสม (price) ทันเวลาท่ีตองการ (Time)
โดยซื้อจากผูข ายที่ไวว างใจได และนําสงยังสถานทท่ี ี่ถูกตองตามหลกั การจัดซื้อทดี่ ีที่สุด เปนจุดเรม่ิ ตน
ของการบริหารสนิ คา คงคลงั การจัดการสนิ คาคงคลัง มวี ัตถุประสงคห ลกั อยู 2 ประการ คือ

ก า ร บ ริ ห า ร สิ น ค า ค ง ค ลั ง | 187

1. สามารถมีสินคาคงคลัง บริการลูกคาในปริมาณที่เพียงพอ และทันตอความ
ตองการของลูกคาเสมอ เพ่ือสรางยอดขาย และรักษาระดับของสวนแบง
ตลาดไว

2. สามารถลดระดับการลงทุน ในสินคาคงคลังในราคาตํ่าที่สุดเทาท่ีจะทําได
เพื่อทําใหตนทนุ การผลิตตํ่าลงดวย

วัตถุประสงค 2 ขอนี้จะมีความขัดแยงกันเอง การบริหารสินคาคงคลัง (Inventory
Management) จะเปนการรักษาความสมดุลของวัตถุประสงคทั้งสองขอน้ี การบริหารการผลิตใน
ปจจุบันจึงตองคํานึงถึงคุณภาพเปนหลักสําคัญ ซึ่งการบริการลูกคาที่ดีก็เปนสวนหนึ่งของการสราง
คุณภาพที่ดี ซึ่งทําใหลูกคามีความพึงพอใจสูงสุดดวย ดังน้ัน การมีสินคาคงคลังในระดับสูง
จะเปนประโยชนกับกิจการในระยะยาวมากกวา เพราะจะรักษาลูกคา และสวนแบงตลาดได
แตความจริงตนทุนสินคาคงคลังท่สี ูง มีผลตอ ตนทุนการผลิตสงู ข้ึนดวย สงผลใหไมสามารถที่จะตอสู
กับคูแขงขันในดานราคาได องคการจึงจําเปนตองทําใหตนทุนต่ํา คุณภาพดี และบริการท่ีดีดวยใน
ขณะเดียวกนั

9.11 ระบบ VMI หรอื Vendor Managed Inventory

เปน วธิ ีอีกวิธกี ารหน่ึงของการจดั การวสั ดคุ งคลัง (Inventory Management) หลกั การ คือ
การยกหนาที่การจัดการสินคาคงคลัง (Stock) ใหกับผูขาย หรือ Vendor เปนผูดําเนินการแทน
โดยใหผขู าย(Vendor) สามารถเขามาเช็คระดับสนิ คา คงคลัง (Stock Level) ขององคการ และผขู าย
(Vendor) จะทําหนาท่ีบริหารจัดการการเติมสินคาในคลัง (Stock) ใหกับองคการ การท่ีผูขาย
(Vendor) สามารถมองเห็นระดับสินคาคงเหลือ (Stock on Hand) ขององคการไดนั้น เพื่อจะเปน
การบอกใหทราบวาผูขาย(Vendor) ควรมาเติมสินคาไดเมื่อไหร และจํานวนเทาไหร นอกจาก
องคการไมตองกังวลกับการเติมสินคาในคลัง สิ่งท่ีเปนหัวใจของของระบบ VMI คือ การท่ีผูขาย
(Vendor) ทราบยอดระดับสินคาคงเหลือ (Stock on Hand) และการเคลื่อนไหวของการใชสินคา
ตวั เลขการใชสินคาและการเคลื่อนไหวเหลานี้ผูขาย (Vendor) จะนําไปคํานวณเพื่อการวางแผนการ
จัดสง สนิ คาวาควรจะจัดเสนทางการสง สินคา และรอบการขนสง อยางไร เพอื่ ใหลูกคาไดรบั สนิ คาตาม
ปริมาณและเวลาที่ตองการ ตัวเลขการใชสินคาเหลานี้ยังถูกใชในการวางแผนการผลิตของผูผลิต
วาควรจะผลิตสินคาตัวไหน จํานวนมากนอยเทาไหร เพื่อท่จี ะไดนํามาใหเติมสินคา ในสต็อกลูกคาได
ซ่ึงผูผลิตตองทําการวางแผนกําลังการผลิตในสายการผลิต และยังตองนําไปวางแผนความตองการ
วัตถุดิบจากผูจัดหา (Supplier) เพ่ือใหวัตถุดิบมาสงไดตรงเวลาที่จะผลิต และทําการผลิตบนกําลัง
การผลติ ท่ีเพียงพอท่ีจะพรอมทาํ การจัดสงใหลกู คาได ผผู ลติ หรอื ผูจัดสง ยังสามารถนําขอมลู เหลานที้ ่ี
เชื่อมโยงกันไปบริหารจัดการตําแหนงท่ีต้ังของสต็อกเพื่อการกระจายสินคา และจัดสงสูพ้ืนที่ตางๆ

188 | ก า ร บ ริ ห า ร สิ น ค า ค ง ค ลั ง

ไดอีกดวย การทํางานเช่ือมโยงกันลักษณะนี้คือ VMI บนโซอุปทาน (Supply Chain) ซ่ึงเปน
ความสมั พันธกันตลอดสายโซจากผูจัดหาวัตถดุ ิบ-ผูผลิต-ผูจ ัดสงและกระจาย-ลูกคา มิใชแคเพียงแค
ระหวาง Vendor กับลูกคา เทา นั้น

Vendor

VMI

Supplier

Customers

Supplier Production
Supplier
Delivery

Distribution

VMI บนโซ่อุปทาน Supply Chain

รูปท่ี 9.11 ระบบ VMI บนโซอ ปุ ทาน (Supply Chain)
ปจ จยั หลักท่ีสําคัญของ VMI บนโซอ ปุ ทาน Supply Chain คอื

x ทราบขอมูลสินคาคงเหลือทแ่ี ทจริง (Stock on Hand ) และการเคล่ือนไหวของ
สนิ คา (Stock Movement) ของลูกคาไมใชแคเพียงยอดการส่ังซอ้ื ท่ีมากบั ใบส่ัง
สินคา เทา นัน้

x มีระบบสารสนเทศท่ีเช่ือมโยงกัน หรือเชื่อมตอกันไดจริงในระบบโซอุปทาน
(Supply Chain) หลายๆ องคการมคี วามเขาใจผิดกับคํานิยามและหลักการของ
ระบบ VMI กลาวคือ การใชระบบ VMI ไมใชแคเพียงการนําตัวเลขความ
ตองการสินคาที่จะซ้ือ สงผานสื่อทางอิเล็กทรอนิกสมาใหกับผูขาย(Vendor)
แลวผูขาย (Vendor) ดาํ เนินการเติมสินคา ในคลังสนิ คาของลกู คาตามขอมูลการ
สั่งซ้ือของลูกคาวิธีการน้ีลูกคายังทําการบริหารจัดการสินคาคงคลังเองเพียงแต
เปล่ียนรูปแบบคําสั่งซื้อเปนระบบอิเล็คทรอนิกสเทานั้นยังไมถือวาเปนการใช
ระบบ VMI

ความเขาใจผิดของการนําระบบ VMI มาใชมี 2 ประการหลักคอื
1. ลูกคาเองไมเห็นความสําคัญกับยอดสินคาคงเหลือ (Stock on Hand) ท่ีแทจริง ท่ีควร

จะใหผูขาย (Vendor) ทราบขอ มูล และตองทราบขอ มูลอยา งตอ เนอื่ งเพราะจะเปน ความตอ งการซอ้ื
ท่ีแทจริง (Demand) ที่ผูขาย (Vendor) สามารถนํามาวางแผนสินคาคงคลังใหลูกคา แตลูกคา
มกั จะสงขอ มลู สินคาเปน เพยี งแคความตอ งการจะใชเปนครั้งๆ ใหก ับผูขาย (Vendor) เทา นนั้

ก า ร บ ริ ห า ร สิ น ค า ค ง ค ลั ง | 189

2. ผูขาย (Vendor) เองท่ีควรนําขอมูลท่ีไดเขามาวางแผนจัดการทําการจัดสงการจัดการ
กาํ ลังการผลิต และแผนความตองการวัตถดุ ิบ และอาจรวมถงึ การจดั การตาํ แหนง พนื้ ทกี่ ารเก็บสนิ คา
(Hub) หากมีการกระจายสินคาในหลายพ้ืนท่ี เพราะถาหากเปนการส่ังซื้อทางอิเล็กทรอนิกส
(E-ordering) เทานั้น ผูขาย(Vendor) จะไมสามารถนําขอมูลเหลาน้ัน มาวางแผนการจัดสงการ
กระจาย การผลิต วัตถุดิบ และจะสงผลใหไมสามารถ “มี” สินคาคงท่ีจะเติมใหลูกคาไดตามท่ี
ตอ งการ และลูกคาเองก็ยังคงตองบริหารจัดการสนิ คาคงคลังของตนเองดงั เดมิ

ตารางท่ี 9.1 ความแตกตางระหวางระบบ VMI และระบบ E-Ordering

ระบบ VMI ระบบ E-Ordering

- ปริมาณสินคาคงคลัง (Stock ปริมาณ ที่ลูกคาตองการจะ

ขอมูลทผี่ ขู าย (Vendor) on Hand) ส่ังซอ้ื สนิ คา

ไดรับ - ความเคลื่อนไหวของสินคาคง

คลัง (Stock Movement)

นําขอมูลที่ไดมาวางแผนวัตถุดิบ พยายามเติมเต็มความตองการ

วางแผนกําลังการผลิต วาง จากปริมาณสินคาคงคลังที่

การจัดการของผูข าย แผนการจัดสงสินคาเพ่ือที่ลูกคา ผูขาย (Vendor) มอี ยู

(Vendor) จะไดร ับสนิ คาตามความตองการ

และวางแผนการเก็บสินคาคง

คลัง

เช่ือมโยงหรือเช่ือตอกันระหวาง เชื่อมโยงกันระหวางลูกคากับ

ลู ก ค า กั บ ผู ข าย (Vendor) ผูขาย (Vendor) เทา น้ัน

การจัดการสารสนเทศ
ผูผลิต ผูจัดหาวัตถุดิบ และผู

ขนสง

เติ ม เต็ ม ค วาม ต องการใช ที่ อาจเกิดกรณีท่ีไมสามารถเติม

แทจริงตามความตองการลูกคา เต็มความตองการหรือเกิดการ

ผลลพั ธ

และในปรมิ าณที่ตองการ สั่งลาชาทําใหสินคาไปเติมใน

คลังชากวาความตองการ

ปจ จัยท่ีตอ งพจิ ารณาสาํ หรบั การนําระบบ VMI ไปใช
1. มาตรฐานขอมูลและชุดขอมูลตองมีมาตรฐาน (Standard Data and Standard Data

Format) เน่ืองจาการนําระบบนี้ไปใชจะเกิดบนคูความเช่ือมโยงขอมูล ดังนั้นขอมูลทุกชนิดที่ใชใน

190 | ก า ร บ ริ ห า ร สิ น ค า ค ง ค ลั ง

การสื่อสาร (บนสื่ออิเล็กทรอนิกส) จําเปนตองอยูบนโครงสรางรูปแบบขอมูลที่เหมาะสมและใช
มาตรฐานเดยี วกัน (Standardized Item Master’ data and Data Exchange)

2. การเชื่อมตอกับระบบสารสนเทศที่ใชของท้ัง ผูขาย (Vendor) และลูกคาที่จะตองให
สทิ ธิ์ ผูขาย (Vendor) เขา ไปเช็คขอมูลระดับสินคาคงคลังในระบบของลูกคาได หรือในอีกทางเลือก
คือ ลูกคาดึงยอดสินคาคงคลังออกมาจากระบบ และ ใหผูขาย (Vendor) สามารถมองเห็นได และ
กระบวนการตอ จากนน้ั คือ การสั่งซ้อื ทางอเิ ล็กทรอนิกส (E-purchasing) ซึ่งโดย สวนมากจะพัฒนา
ควบคูไปพรอมกับการพัฒนาระบบ EDI (Electronic Data Interchange) ระบบแลกเปล่ียนขอมูล
ทางอิเล็กทรอนกิ ส

3. ผูขาย (Vendor) และลูกคาตองทําการตกลงกันถึงระดับสินคาคงคลังที่จะกระตุน
(Trigger) ใหเ กดิ การเติมสนิ คา คงคลังขน้ึ ซ่งึ ระดับสนิ คาคงคลังนจี้ ะเกิดจากการประมวลผลขอมลู การ
ใชใ นอดีตของลูกคา เอง ซงึ่ ตวั เลขนี้จะมาจากการพยากรณปรมิ าณการใชทมี่ ีความเหมาะสมในแตล ะ
ชว งเวลาวา ควรมรี อบการเตมิ เตม็ ถี่เทาไรจึงจะเหมาะสม

4. การปรับกระบวนการทางธุรกิจท่ีมีความจําเปนทางดานการบริหารเวชภัณฑของลูกคา
เชน กระบวนการตรวจรับสินคา กรณีการแลกเปลีย่ นสินคา กรณสี ินคาถูกเรยี กคืนซึ่งจะมีผลตอ การ
ดําเนินการทาง ระบบสารสนเทศ การบริหารจัดการแบบ VMI นั้น จําเปนตองถูกรองรับดวยการ
จดั การการเปลย่ี นแปลงดวย (Change Management) เพราะในเรอื่ งน้ีไมใชเปนการปรับระบบหรือ
เพ่มิ ประสทิ ธภิ าพ แตเ ปน การปรบั ร้ือกระบวนการทาํ งาน (Business Process Reengineering)

5. การบริหารจัดการแบบ VMI ไมเหมาะสมกับสินคาทุกชนิด จําเปนอยางย่ิงท่ีตองเลือก
กลุมสินคาท่ีมี ระดับสินคาคงคลังท่ีเสถียรระดับหนึ่ง ไมเหมาะท่ีจะใชกับกลุมสินคาที่มีความ
แปรปรวนสงู มาก หรือกลมุ สนิ คาทม่ี ีขอ จาํ กดั เรื่องปริมาณการจัดเก็บ

6. ปจจัยสําคัญที่สุดท่ีตองพิจารณาเปนอันดับแรกคือ การคัดเลือกผูขาย (Vendor)
เพื่อการบริหารจัดการแบบ VMI รวมกันผูชาย (Vendor) จําเปนตองมีวิสัยทัศนและความเขาใจถึง
การจัดการโซอ ุปทาน (Supply Chain) และผลประโยชนท่จี ะไดร ับรว มกัน รวมถงึ ความยืดหยนุ และ
ความตง้ั ใจทีจ่ ะเปลีย่ นแปลงเพือ่ ไปสูเปา หมายเดียวกนั

(Link เรียนรูระบบ VMI https://www.youtube.com/watch?v=QsjvMojCYFw)

ก า ร บ ริ ห า ร สิ น ค า ค ง ค ลั ง | 191

แบบฝก หัดบทที่ 9
การบรหิ ารสนิ คาคงคลงั

(ตอนท่ี 1) จงเลอื กคาํ ตอบท่ีถกู ท่สี ุด

1. หากธุรกิจประสบปญหาสินคาขาด หรือมีไมเพียงพอตอการจัดจําหนาย (Stock Out) จะสงผล

อยา งไรตอธรุ กิจนน้ั

ก. สญู เสียโอกาสทางการขายสินคา ค. ผลกาํ ไรท่ีคาดวา จะไดรบั ลดลง

ข. คแู ขงขันทางธรุ กจิ ไดเ ปรียบในการแขง ขัน ง. ทุกขอ คอื ผลท่ธี รุ กจิ จะไดรับ

2. สินคา คงคลงั (Inventory) คอื ขอใด

ก. ชิ้นสวนอะไหลท่ียงั ไมไดท ําการประกอบ ค. เมลด็ ถวั่ เขียวสําหรับผลิตวนุ เสน

ข. ไอศกรีมที่ line man กาํ ลงั นาํ สงลกู คา ง. ทุกขอ คือ สินคา คงคลงั

3. โครงสรา งตน ทุนโลจิสตกิ ส ประกอบดว ย

ก. ตน ทุนคา ขนสง ตน ทุนคา เสียโอกาส ค. ตนทุนการเกบ็ ตนทนุ ดอกเบยี้ จม

ข. ตน ทุนการเกบ็ ตน ทุนการบรหิ าร ง. ตนทุนคาขนสง ตนทุนสินคา ขาดมอื

4. ขอ ใดตอ ไปนี้ กลาวผิด

ก. สนิ คา คงคลังจะชว ยรองรบั กับสถานการณในอนาคตท่ไี มแ นนอนทางธรุ กจิ

ข. สนิ คา คงคลงั มจี าํ นวนมากจะทาํ ใหธ รุ กิจไดรบั ผลกําไรเพม่ิ ขน้ึ จากการขาย

ค. สินคาคงคลงั ชว ยสนบั สนนุ ระบบการผลติ ใหเ กิคความตอเนอ่ื ง

ง. สนิ คาคงคลงั มีอายสุ นั้ ไมควรจะมสี ตอ คสินคา จํานวนมาก

5. ขอใดเปน ระบบการตรวจสอบสนิ คาคงคลังแบบตอ เน่ือง

ก. ระบบถังเดียว (Single-bin System)

ข. ระบบสองถัง (Two-bin System)

ค. ระบบผสม (Hybrid System)

ง. ระบบสนิ คา คงคลังข้ันต่ํา (Base-Stock System)

6. ขอ ใดเปนระบบรอบการสง่ั ซอ้ื คงที่

ก. ระบบถงั เดียว (Single-bin System)

ข. ระบบสองถัง (Two-bin System)

ค. ระบบผสม (Hybrid System)

ง. ระบบสนิ คา คงคลงั ขัน้ ตํ่า (Base-Stock System)

192 | ก า ร บ ริ ห า ร สิ น ค า ค ง ค ลั ง

7. ขอ ใดไมใ ช สมมตฐิ าน ของการวเิ คราะหปริมาณการส่ังซ้อื ที่ประหยดั : EOQ
ก. มคี วามตอ งการสินคาท่ีแนน อนไมเ ปล่ียนแปลง
ข. สนิ คา จะตอ งมรี าคาและคา ใชจา ยที่คงที่
ค. สนิ คา จะตองอยใู นสถานะ เปนอปุ สงคอ ิสระ
ง. สินคา จะตองอยูในสถานะ เปนอปุ สงคต าม

8. ขอ ใดกลาว ถูกตอง ของระบบ ABC Analysis
ก. สนิ คา กลุม A เปน สินคาทมี่ รี าคาถกู
ข. สินคา กลมุ C เปนสนิ คาทมี่ ีจาํ นวนนอยมากที่จะเก็บ
ค. สนิ คากลุม B เปนสนิ คาทีม่ ีคุณภาพสูงทีสดุ
ง. สินคา กลมุ C ท่ีเสียคาใชจา ยในการจัดเกบ็ นอยท่ีสุด

9. ขอจํากัดของระบบ VMI คอื ขอใด
ก. ระบบสามารถยดื หยนุ ปรับและทํางานเขาไดกบั ทกุ ระบบ
ข. ไมส ามารถเขา ถึงขอ มลู ของผูซ้ือได
ค. ไมส ามารถเห็นความเคลือ่ นไหวของสินคา คงคลังของผซู ้อื ได
ง. ระบบจะตอ งดําเนนิ งานภายใตม าตรฐานเดยี วกนั

10. ขอ ใดไมใ ชต น ทุนสนิ คา คงคลัง
ก. ตน ทุนการเก็บรกั ษา
ข. ตน ทุนในการติดตงั้ เครอ่ื งจกั ร
ค. ตน ทนุ ดอกเบยี้ คาขายสนิ คา
ง. ตน ทนุ สินคา ขาดมอื

ก า ร บ ริ ห า ร สิ น ค า ค ง ค ลั ง | 193

(ตอนที่ 2) จงตอบคําถามตอ ไปนี้ และอธบิ ายพอเปนสงั เขป

1. การบริหารจัดการสินคาคงคลังมีความสําคัญอยางไรตอระบบโซอุปทาน (Supply
Chain)
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………

2. จงอธิบายวธิ กี ารการจัดเก็บสินคา คงคลังในการวเิ คราะห เอ บี ซี (ABC Analysis)
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………..…

3. ใหนักศึกษาอธิบายถึงระบบ VMI และระบบ E-Ordering ท้ัง 2 ระบบ มีความเหมือน
หรือแตกตา งกนั อยา งไร
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………

194 | ก า ร ข น ส ง

รายละเอยี ดการสอน
ประจําสัปดาหท ่ี 10 (จาํ นวน 3 ชัว่ โมง)

หวั ขอ การสอน : การขนสง
จดุ ประสงคก ารสอน เพื่อใหส ามารถ

1. อธบิ ายความเปนมา และวิวัฒนาการของการขนสง ได
2. เชื่อมโยงขอเดนและตวั สนิ คา ทตี่ อ งการจะขนสง ได
3. อธบิ ายความหมายและอรรถประโยชข องการขนสงได
4. อธบิ ายไดวา การขนสง มีก่ีรปู แบบ อะไรบา ง แตล ะรปู แบบมขี อ เดน ขอดอ ยอยา งไร

รายการสอน

10.1 บทนํา
10.2 ความเปน มาและววิ ฒั นาการของการขนสง
10.3 ความหมายของการขนสง
10.4 อรรถประโยชนของการขนสง
10.5 รปู แบบของการขนสง
10.6 ปจ จัยที่สง ผลตอ การเลอื กใชร ูปแบบการขนสง
10.7 การขนสง ตอเนื่องหลายรูปแบบ
10.8 การขนสง เพ่ือการทอ งเท่ียว
10.9 การขนสง สเี ขียว

วธิ ีการสอน

บรรยาย ถาม – ตอบ

หนังสือ / เอกสารประกอบการสอน

กมลชนก สุทธิวาทนฤพุฒิ และคณะ. (2546). การจัดการโซอุปทานและโลจิสติกส. กรุงเทพฯ :
แมคกรอ-ฮิล

กอเกยี รติ วิริยะกิจพฒั นา. (2549). โลจิสติกสแ ละโซอปุ ทาน.กรงุ เทพฯ :สํานักพิมพวงั อักษร
คํานาย อภิปรัชญาสกุล. (2537). โลจิสติกสและโซอุปทาน. กรุงเทพฯ : บริษัท โฟกัสมีเดีย แอนด

พบั ลิชช่งิ จาํ กดั

ก า ร ข น ส ง | 195

ชัยยนต ชิโนกุล. (2548). การจัดการโซอุปทานและลอจิสติกส. กรุงเทพฯ : ศูนยหนังสือ
มหาวทิ ยาลยั ศรปี ทมุ

ไชยยศ ไชยมั่นคงและ ดร.มุยขพันธุ ชัยมัน่ คง. (2550). กลยุทธโลจสิ ตกิ สและซพั พลายเชนเพ่ือการ
แขง ขันในตลาดโลก. กรุงเทพฯ : บริษทั วชิ นั่ พรีเพรส จํากดั

สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยธนบุรี. (2559). เอกสาร
ประกอบการสอนวิชา การจัดการโลจิสติกสและซัพพลายเชน (Logistics and Supply
Chain Management) พมิ พค ร้ังที่ 2. กรงุ เทพฯ: มหาวิทยาลัยธนบุรี

โสตทัศนวัสดุ

บอรดขาว ปากกา แผน บันทึกขอ มูล เครอ่ื งคอมพวิ เตอร เคร่ืองฉายภาพ

การประเมนิ ผล

ถาม – ตอบในชน้ั เรียน
ทดสอบยอ ยในชนั้ เรยี น
ตรวจการทําแบบฝก หดั ทายบท
ผลการสอบประจําภาคการศึกษา

งานทมี่ อบหมาย

1. ใหท ําแบบฝกหดั ทายบททกุ ขอ
2. ใหท บทวนบทเรียนตามทไี่ ดเรยี นไป
3. ใหศึกษาเพิม่ เติมและทดลองทาํ แบบฝก หัดในหัวขอ ทไ่ี ดเ รียนไปจากหนงั เลมอืน่ ๆ
4. ใหเตรยี มเนือ้ หาสาระความรสู าํ หรบั ทจ่ี ะเรยี นประจาํ สปั ดาหตอ ไป

196 | ก า ร ข น ส ง

บทที่ 10
การขนสง

10.1 บทนาํ

ในบทนผ่ี เู ขียนมคี วามตง้ั ใจจะอธบิ ายและแสดงใหเ ห็นถงึ ประเด็นความสาํ คญั ของการขนสง
ท่ีมีผลตอกิจกรรมทางโลจิสติกสและที่สําคัญไปกวานั้น ผลกระทบดานตนทุนที่การขนสงมีผลตอตนทุน
ทางโลจิสติกส โดยในการอธิบายนั้นจะเร่ิมอธิบายตั้งแตประวัติความเปนมาความเปนมาของการ
ขนสงและวิวัฒนาการของการขนสงโดยสังเขป วาการขนสงน้ันมีท่ีมาและวิวัฒนาการอยางไร และ
จะกลาวถึงบทบาทท่ีการขนสงมีตอการจัดการโลจิสติกส และอรรถประโยชนที่ไดจาการขนสง
รวมไปถึงผูที่มสี วนเก่ียวของในงานขนสง โดยเน้ือหาในบทน้ีผเู ขยี นมงุ หวงั ใหเกิดการรับรู เขา ใจ และ
นําไปสูการในไปใชประโยชนจากองคความรูที่ได เพราะการขนสงหรืองานขนสงน้ันมีบทบาทท่ี
เดนชัดที่สุด และถือเปนกิจกรรมที่สําคัญมากในงานโลจิสติกสแ ละในทางกลับกันก็เปนงานทีจ่ ะเปน
กุญแจในการทําใหเปาหมายของการจัดการโลจิสติกสดังที่กลาวไวในบทที่ 1 นั้นสําเร็จลุลวงไปได
ดวยดี

10.2 ความเปนมาและวิวฒั นาการของการขนสง

การขนสงนนั้ เกดิ ขึน้ มาเพื่อสนองความตองการในวตั ถดุ ิบและผลิตภัณฑของมนษุ ย โดยหลักแลว
การขนสงในอดีตมักเปนการขนสง แรงงานหรือการเคล่ือนยายเพื่อเสาะแสวงหาชุมชน หรือแผนดินใหม
จวบจนยุคลาอาณานคิ มจึงเกิดการขนสงสินคาขามประเทศ เพือ่ นําสินคาท่ีชุมชนหรือประเทศของตนมีไป
จําหนายยังชุมชนหรือประเทศอ่ืน และยังไปนําเอาวัตถุดิบหรือสินคาในชุมชน และประเทศนั้นๆ กลับมา
แทน หากพิจารณาใหลึกลงไปอีกจะพบวาการเคลื่อนยายคนไปมายังสงผลตอวิวัฒนาการดานอ่ืนๆ
นอกเหนอื จากการแลกเปล่ียนสนิ คา เชน การแลกเปน ขนบธรรมเนยี ม ความเช่อื คา นยิ ม ดงั ที่เราไดเ หน็ การ
เผยแพรศาสนาท่ีตนเชอ่ื ไปยงั ประเทศตา ง ๆ และยงั นําความเจรญิ ทางการศกึ ษา การแพทยเ ขาไปอีก ดงั นัน้
ววิ ัฒนาการทางการขนสงจะทําใหเราเห็นวายิ่งการขนสงมีประสิทธิภาพมากย่ิงข้ึนกจ็ ะสง ผลตอเรื่องตา งๆ
ในวงกวา งมากย่ิงขึน้ ไป โดยในหวั ขอ นี้จะแบงยุคของการขนสง ออกเปน 5 ยุคดังน้ี

ยคุ ใชแ รงงานคนและสัตว
การขนสงมีความสําคัญตอการดํารงชีวิตประจําวันและการดําเนินกิจกรรมของ
มนุษยมาชานาน การขนสงในสมัยกอนใชคนแบกหามสิ่งของ หากมีปริมาณมาก จะตองใช
แรงงานคนจํานวนมาก ทาํ ใหเ กิดความลาชา และเกิดผลเสยี ตองานได จึงมีการนําแรงงานจากสัตวมา
สนับสนุนการขนสง เชน ชาง มา ลา วัว ควาย แตวิธีการน้ีไมสามารถตอบสนองความตองการของ

ก า ร ข น ส ง | 197

มนษุ ยไดตามท่ีตอ งการท้ังหมด เนอ่ื งจากมีขอ จาํ กดั ในเรอื่ งความสามารถในการบรรทุก ความเร็วและ
ระยะทางท่ีสามารถเคลื่อนยายได เม่ือการขนสงโดยใชแรงงานจากสัตวสามารถบรรทุกสิ่งของได
ปรมิ าณนอยจึงไดมีการประดษิ ฐ “เล่ือน” เพอื่ นาํ มาเชอื่ มตอ เขากบั การลากจูงของสัตว ซึง่ ชว ยในการ
บรรทกุ ส่งิ ของไดมากข้ึน อาศัยการเล่ือนไถลไปบนพืน้ ดิน แตก ารลากเล่ือนน้ีกม็ ขี อจาํ กัด คือ สามารถ
ใชไ ดเฉพาะพืน้ ทรี่ าบเรียบ จากนั้นมีการนําทอนซงุ มาตัดขวางและตดิ ประกอบเขากบั เลอื่ นใหท ํางาน
ในลักษณะลอ เพ่ือชวยใหขนสงไดงายข้ึน สะดวกขึ้น สามารถเคล่ือนท่ีไปไดในพื้นท่ีสวนใหญและ
ขนสง สิง่ ของไดปริมาณมากขนึ้ แตก ารลากน้ันยงั คงใชแรงงานจากสตั วเ หมือนเดมิ

ภาพที่ 10.1 แสดงถึงคาราวานการคาในสมยั กอน ภาพที่ 10.2 แสดงถงึ การเดนิ ทางของคณะละครสัตว

ทมี่ า: www.pantip.com ทมี่ า: www.wikia.com

ยคุ เครอื่ งจกั รไอนํา้
เน่ืองจากการขนสงดวยวิธีการใชแรงงานจากคนและสัตวก็ยังตองใชเวลามาก
ประกอบกับลกั ษณะของสังคมไดเปลย่ี นจากสังคมเกษตรกรรม เปนสังคมท่มี ีองคความรมู ากขน้ึ และ
มีการประดิษฐเครื่องมือ เครื่องใช เพ่ือทุนแรงและทุนเวลาในการผลิต นั่นคือสังคมอุตสาหกรรม
โดยไดเปลีย่ นจากการใชแ รงงานจากคนและสัตวไ ปใชเครื่องจกั รและมกี ารผลติ จํานวนมากเพ่อื การคา
ในระบบการผลติ น้ันจําเปนตองมีการพ่ึงพาวตั ถุดบิ จากแหลงอ่ืนๆ ที่สามารถนํามาแปรรูปเปนสินคา
ตามท่ีตลาดตองการได เกดิ ชุมชนเมืองท่ีมีคนอาศัยอยูอยางหนาแนน และมีความเจริญกาวหนาทาง
เทคโนโลยีเกิดข้ึนอยางตอเน่ือง จึงไดมีการคิดคนเครื่องจักรไอน้ํา ที่มีหลักการคือ ใหความรอนผาน
ของเหลว (นํ้า) และทําการเปล่ียนไอน้ําทีม่ ีแรงดันสูงเปนพลังงานกล หลกั การทํางานของเคร่ืองจักร
ไอนํ้า คอื จะตม นาํ้ ใหเ ดือดในหมอ ตม (Boiler) น้ําทีเ่ ดอื ดจะเปลี่ยนสถานะจากของเหลวกลายเปนไอ
น้ําที่มีแรงดันสูง และจะไปดันลูกสูบใหเคล่ือนที่จนทํางาน และนําไปเปนแหลงกําเนิดกําลังของ
เคร่ืองจักรตาง ๆ เคร่ืองจักรไอน้ําจึงถูกเรียกวา เคร่ืองยนตเผาไหมภายนอก (External
Combustion Engine) โดยในยคุ ดังกลา วยงั ไดมีการนําเครอื่ งจักรไอนํ้ามาใชเปนหัวรถจักรของรถไฟ

198 | ก า ร ข น ส ง

ทส่ี ามารถลากจูงสินคา หรือเคล่ือนยายคนไดอยางมีประสิทธิภาพ และสามารถเพ่ิมขีดความสามารถ
ทางความรวดเรว็ ไดอ กี ดวย แตม ีขอจํากัดคอื ขนาดของเครอ่ื งยนตไอนํา้ ท่ีใหญ และใชเ ชอ้ื เพลงิ มาก

ภาพที่ 10.3 หัวรถจกั รไอนํา้ รุนแปซิฟค ใชเ มือ่ ปค.ศ. 1949-1951
ทม่ี า: เว็บไซต งานรถจักรแขวงธนบุรี การรถไฟแหง ประเทศไทย www.thonburidepot.com

ยุคมอเตอรไฟฟา
หลังจากยุคของเครื่องจักรไอน้ําที่ยังมีขอจําเกิดเรื่องขนาดของเครื่องยนต และ
อัตราการใชเช้ือเพลิง ประกอบกับการใชไฟฟาเร่ิมมีความแพรหลายและมีความปลอดภัยท่ีสูงขึ้น
จึงไดมีการนํามอเตอรไฟฟามาใชในการขนสง ในลักษณะของการนํามาเปนระบบขับเคลื่อน
โดยมีแนวคิดในการมาประยุกตใชกับงานขนสงเพ่ือลดตนทุนและความยุง ยากในการใชเชื้อเพลงฟน
หรือนํ้ามันเตา รถรางจึงถือกําเนิดข้ึน หลักการทํางานของรถรางคือการสงกระแสไฟฟาตามสายไฟ
และเช่ือมตอกับตัวรถและมอเตอรกลาง ซ่งึ ยังคงมกี ารใชกันอยูในบางประเทศ เปนพาหนะท่ไี มทําให
อากาศเปนพษิ และไมเกดิ มลภาวะเสยี

ภาพท่ี 10.4 รถรางในกรงุ เทพ โดยการไฟฟานครหลวง
เรมิ่ ใช ค.ศ.1894 จนถงึ ป ค.ศ. 1968
ท่ีมา: www. 2bangkok.com

ก า ร ข น ส ง | 199

ยุคเครื่องยนตสันดาป ในยุคนี้มีผูคิดประดิษฐเครื่องยนตสันดาปภายในขึ้นมา
แทนท่ีมอเตอรไ ฟฟาและเคร่อื งยนตไอนํ้าท่ีเปนการเผาไหมภ ายนอกหองเคร่อื งยนต หลักการทํางาน
ของเคร่ืองยนตสันดาปภายในซึ่งใชประกายไฟ (หัวเทียน) เปนตัวจุดระเบิดจนถึงปจจุบัน ซึ่งใน
ระยะแรกใชแกสเปนเชื้อเพลงิ และตอมาไดพัฒนามาใชเชือ้ เพลิงเหลวท่ีลดความยุงยากในระบบจาย
เชื้อเพลิง และมกี ารพัฒนาไปยงั เครอื่ งยนตไ อพอนและเคร่อื งยนตเ จท็ ท่นี าํ เอาหลกั การดดู อากาศเขา
ไปละทําการเผาไหมใหเกิดเปนอากาศรอนและเปลี่ยนเปนพลังงานในการขับดันพาหนะไปขางหนา
แทน

ภาพท่ี 10.5 ภาพเครือ่ งยนตส ันดาปภายใน 4 จงั หวะ และเคร่ืองยนตดีเซล
ทมี่ า: www.krukaewta.net

ยุคพลงั งานแมเ หล็ก
รถไฟฟาพลังแมเหล็ก ท่ีมีระบบการทํางานแตกตางจากรถไฟรางทั่วโลก
เพราะตัวรถท้ังขบวนจะถูกสนามแมเหล็กยกใหลอยสูงข้ึนจากรางประมาณ 1-10 มลิ ลิเมตร แลวแต
จังหวะการวิ่ง จึงไมมีลอ ไมมีเบรก ไมมีเพลา และมีความเร็วขณะว่ิงใหบริการ 268 ไมลตอช่ัวโมง
หรือราว 431 กิโลเมตรตอช่ัวโมง และมีความเร็วสูงสุดมากกวา 311 ไมลตอชั่วโมง หรือมากกวา
500 กิโลเมตรตอช่ัวโมง เชน รถไฟความเร็วสูงของประเทศจีนหรือเซ่ียงไฮแม็กเลฟ (Shanghai
Maglev) รถไฟความเร็วสูงแอลไอซรี สี  ขับเคลือ่ นพลงั แมเ หลก็ ของญป่ี นุ เปน ตน

200 | ก า ร ข น ส ง

ภาพที่ 10.6 เซี่ยงไฮแม็กเลฟ (Shanghai Maglev)

ทม่ี า: เวป็ ไซด Shanghai Maglev Transportation Development Co., Ltd. (SMTDC) http://www.smtdc.com

10.3 ความหมายของการขนสง

กอ เกยี รติ วิริยะกิจพัฒนา( 2549 ) การขนสงหมายถึงการเคลือ่ นยา ยสนิ คาหรอื บรกิ ารจาก
แหลงผลิตไปยังสถานท่ีที่บริโภคสินคาหรือบริการนั้น ๆ ดวยความรวดเร็วและความสมํ่าเสมอ
กอใหเกดิ อรรถประโยชนด านเวลา(Time Utility) และอรรถประโยชนด านสถานท่ี (Place Utility)

กมลชนก สุทธิวาทนฤพุฒิ และคณะ( 2546 ) การขนสง ในท่ีน้ีหมายถึง การเคล่ือนยาย
สินคาจากสถานท่ีที่ผลิตไปยังสถานท่ีท่ีบริโภคสินคานั้น ซึ่งการเคลื่อนยายสินคาระหวางสถานที่
ดังกลาวกอใหเกิดมูลคาเพ่ิมแกสินคา ซึ่งมูลคาเพิ่มน้ีเรียกวา อรรถประโยชนดานสถานท่ี(Place
Utility)

จากความหมายขา งตน สรุปไดว า การขนสงคือกิจกรรมทเี่ กย่ี วขอ งกับการเคล่ือนยา ยสินคา หรือ
บริการ จากแหนงหน่ึง ไปยังอีกแหนง เนื่องดวยเกิดความตองการในสินคา หรอื บริการนั้นๆ และการขนสง
ยงั ชวยใหเกิดมูลคาเพ่ิมที่เรียกวาอรรถประโยชนดานสถานท่ี(Place Utility) และอรรถประโยชนด านเวลา
(Time Utility)

10.4 อรรถประโยชนข องการขนสง

ดังที่กลาวไวในหัวขอความหมายของการขนสงวา การขนสงเปนกิจกรรมท่ีสามารถสรา งมูลคา เพิ่ม
ใหก บั สินคา และบรกิ ารได และเราเรยี กมูลคาเพ่ิมนนั้ วาอรรถประโยชน หากกลาวเปนนัย อรรถประโยชนก ค็ อื
ความพึงพอใจของผูบริโภคน้ันเอง กลาวคือ การขนสงทําใหผูบริโภคไดสินคาหรือบริการที่ตองการเร็วข้ึน
ลูกคาไดม ูลคา เพ่ิมจากการขนสงทด่ี ี แตแ สดงออกในรูปของความพงึ พอใจ

อรรถประโยชนดานสถานที่ (Place Utility) เม่ือลูกคามีความตองการในตัว
สินคา ท่ีมีแหลงกําเนดิ อยใู นภาคใต แตลูกคามีภมู ิลําเนาอยูท่ีกรงุ เทพ หากไมมีการขนสง ลูกคา จะตอ ง

ก า ร ข น ส ง | 201

เดินทางไกลเพอ่ื ไปซื้อสินคา แตหากสินคานี้มีการขนสงข้ึนมาขายในกรุงเทพ ลูกคาก็จะเดินทางใกล
ขึน้ มาก นน้ั คืออรรถประโยชนทางดานสถานท่ี แตการขนสงยอมกอ ใหเกิดตนทุน ทวา ลูกคากย็ ินดีท่ี
จะจา ยสวนเพ่มิ เพราะลกู คา เกดิ ความสะดวก ในแงของเวลาในการแสวงหาสนิ คานน้ั ๆ ดวย

อรรถประโยชนดานเวลา (Time Utility) เชนเดียวกันกับอรรถประโยชน
ทางดานสถานท่ี เวลาในการใชเพอื่ แสวงหาสินคานนั้ ยอ มมีผลตอความพึงพอใจตอ ลกู คาเชนเดียวกัน
การท่ีการสงสินคาแบบดิลิเวอร่ี สามารถประหยัดเวลาในการแสวงหาสินคาใหกับลูกคาได
เชน เดยี วกัน และเวลาทีล่ ูกคาประหยดั ไดย อ มหมายถงึ ความพงึ พอใจ หรืออรรถประโยชนดา นเวลาท่ี
ลกู คาไดร ับน่นั เอง

10.5 รูปแบบของการขนสง

ในการขนสงนั้นจําเปนที่จะตองอาศัยยานพาหนะท่ีมีลักษณะแตกตางกัน ในยุคแรกเริ่มวิธีเลือก
รปู แบบการขนสง จะถูกพจิ ารณาใหเหมาะสมกับภมู ิประเทศปลายทางเทาน้ัน แตในปจ จุบัน การพจิ ารณาเลอื ก
รูปแบบในการขนสงที่จะใชสงสินคาหรือบริการน้ัน มีปจจัยท่ีสงผลตอการพิจารณาเลือกใชมากข้ึน ทั้งภูมิ
ประเทศ คณุ สมบัติของสนิ คา ความเรง ดวนในการใชงานและตน ทนุ ท่ีเกิดจาการขนสง โดยรูปแบบในการขนสง
แตละรูปแบบมีขอเดน ขอดอยที่แตกตา งกัน และมีตนทุนในการขนสงทแ่ี ตกตางกัน ดังนั้นในหัวขอน้ี ผูเขียน
จะอธบิ ายถึงการขนสงทกุ รปู แบบและ ขอ เดน ขอ ดอย ของการขนสง แตละรปู แบบอยางละเอียด

สัดส่วนรูปแบบการขนส่งสนิ ค้า

ทางนาํÊ ชายฝÉังทะเล ภายในประเทศ ทางราง
9%
ทางถนน 2%
ทางนาÊํ 81% ทางอากาศ
ภายในประเทศ
0.02%
8%

ภาพท่ี 10.7 ภาพแสดงสัดสว นการเลอื กใชรปู แบบการขนสง ภายในประเทศ
ทม่ี า: รายงานโลจสิ ตกิ สของประเทศไทยประจําป 2560

จากภาพท่ี 10.7 จะแสดงใหเหน็ วา การขนสงภายในประเทศ นิยมเลอื กใชการขนสง ทาง
ถนนถงึ รอ ยละ 81 ทางนํา้ รอ ยละ17 ทางรางรอ ยละ2 และทางอากาศเพียงรอยละ 0.02 ตามลาํ ดบั

202 | ก า ร ข น ส ง

การขนสงทางถนน ถอื เปนรปู แบบการขนสง ทีม่ ปี รมิ าณการใชส ูงที่สุดในประเทศถึงรอ ยละ
86 แสดงใหเห็นวาการขนสงทางถนนน้ันสามารถตอบโจทยในการขนสงภายในประเทศไดดีที่สุด
แตท วาการขนสงทางถนนนั้นมีท้ังขอเดน และขอดอ ย ดงั ท่ีจะกลา วตอไป

ขอเดน ของการขนสงทางถนน
x เปน บริการการขนสงจากทถ่ี ึงที่ ( Door to Door ) เนื่องดว ยประเทศ

ไทยประกอบไปดวยโครงขายทางถนนท่ีคอนขางสมบูรณ จึงทําใหการขนสงทางถนนน้ันสามารถ
ใหบริการไดทกุ ท่ี ไมวาจะเปนตรอกซอกซอยไหนก็ตาม ซึ่งถอื เปน ขอไดเ ปรยี บที่เดนท่สี ุด

x มีความยืดหยุนสูง ทั้งในแงของความยืดหยุนในเรื่องของเสนทาง
ที่มีใหเลือกหลากหลาย ยังยืดหยุยในเรื่องของขนาดบรรทุกอีกดวย เร่ืองดวยพาหนะทางถนนน้ันมี
ต้ังแต 2 ลอ ไปจนถึง 22 ลอ จึงทําใหสามารถเลอื กขนาดของพาหนะใหเมาะสมกบั จาํ นวนของสินคา
ไดงา ย

x รวดเร็ว ความเร็วนั้นจะถูกกําหนดโดยขนาดของพาหนะที่ใชและ
กฎหมาย รวมไปถึงรูปแบบในการใหบริการ เชน หากเปนการบรรทุกเต็มคัน (Full Truck Load :
FTL) กไ็ มจาํ เปนท่จี ะแวะเตมิ สนิ คาระหวา งทางกจ็ ะทําใหสามารถทาํ ความเรว็ ได

x เครือขายครอบคลุม ทุกหมูบาน ตําบล อําเภอ ลวนแลวแตมีถนนที่
สามารถเชือ่ มตอไปยังพ้นื ทอ่ี ่ืนๆ อยเู ปน จํานวนมาก จึงทาํ ใหเปนอกี ขอเดนของการขนสง ทางถนน

x การแขงขนั สูง การแขง ขนั ที่สูงในประเทศของเรานั้น เกิดจากนโยบายใน
การควบคุมจํานวนผูประกอบการขนสงยังไมเขมงวดมากนัก จึงทําใหมีผูประกอบการจํานวนมาก ซ่ึง
สงผลดตี อ ผูบรโิ ภค เนอ่ื งจากจะไดรับบริการทดี่ ีกวาในราคาทถี่ ูกลง

ขอ ดอยของการขนสง ทางถนน
x ความจุระวางบรรทุกตํ่า หากเทียบกบั การขนสงทางเรอื หรอื ทางรถไฟ

แลว การขนสงทางถนนนั้นมีระวางบรรทุกท่ีนอยและจํากัดมากกวา จึงทําใหความสามารถในการ
บรรทุกถกู จาํ กัดตามไปดวย

x อตั ราคา ขนสงแพง เน่ืองจาการขนสงทางถนนน้ันถูกจํากัดปริมาณใน
การขนโดยขนาดของรถบรรทกุ จึงทําใหไมสามารถขนในปริมาณมาก ๆ ได รวมไปถึงคาเชอื้ เพลงิ ท่มี ี
แนวโนม ขาดแคลน จึงทําใหคา ขนสงนนั้ คอนขา งสงู

การขนสงทางราง ถือเปนรูปแบบการขนสงท่ีมีใชมาอยางยาวนานตั้งแตรัชสมัยของ
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว หรือรัชกาลที่ 5 ซ่ึงถือวาเปนรูปแบบการขนสงท่ีมีขีด
ความสามารถในการบรรทุกสินคาและผูโดยสารสูงมาก แตในการเดินรถไฟนนั้ ยังมปี ระเด็นอปุ สรรค
มากมายท่ีทาํ ใหร ถไฟมคี วามนิยมทีล่ ดลง โดยจะกลา วตอ ไปนี้

ก า ร ข น ส ง | 203

ขอ เดน ของการขนสง ทางราง
x ความจุระวางบรรทุกสูง การขนสงดวยรถไฟในปจจุบันสามารถมีขีด

ความสามารถในการบรรทุกสูง ในประเทศไทยรถไฟ 1 ชวนสามารถบรรทุกตสินคาขนาด 20 ฟุต
ไดร าว 60 ตูในคราวเดียว

x ตนทนุ คา ขนสง ตํ่า เน่อื งจากจุดเดน ในเรอื่ งของความจุระวางบรรทุกมี
มาก ประกอบกับเทคโนโลยีในปจ จบุ นั จึงทําใหก ารขนสงทางรางนัน้ มีตน ทุนคาขนสง ทต่ี ่ํา

x ตรงต อเวลา เนื่องจากรถไฟมี ระบบทางเป นของตนเองและ
มีผูประกอบการนอยราย จงึ ทําใหส ามารถกาํ หนดจํานวนขบวนรถได สงผลตอการควบคมุ เวลาในการ
ขนสง ไดงายยิง่ ขนึ้

ขอ ดอ ยของการขนสง ทางราง
x ผูประกอบการนอยราย รถไฟสวนใหญจะถูกดําเนินการโดยรัฐของ

ประเทศนนั้ ๆ เปน ระบบที่ใชเงินลงทุนสงู จงึ สง ผลใหผ ูประกอบการนอ ยรายและไมม กี ารแขงขนั
x เครือขายจํากัด การขนสงทางรางมีการลงทุนสูง ฉน้ันจึงมีการวาง

ระบบโครงขายของรางไวยังหัวเมืองขนาดใหญเทาน้ัน ไมมีระบบยอยท่ีจะเขาถึงชุมชนขนาดเล็กทํา
ใหม ีเครอื ขายที่ไมค รอบคลุม ในไทยการรถไฟแหงประเทศไทยมีโครงขา ยครอบคลมุ เพยี งรอยละ 70
ของประเทศเทา นนั้

x เกิดการขนถายซ้ําซอน เนื่องจากการขนสงทางรางน้ันเปนการบริการ
จากแหลงถึงแหลง(Point to Point) เทาน้ัน ดังนั้นการท่ีผูประกอบการจะขนสินคาไปข้ึนรถไฟ
จําเปนตองขนสินคาไปกับการขนสงทางถนนเสียกอน แลวจึงมาเปลี่ยนถายท่ีสถานีตนทาง และหาก
เดินทางไปถึงสถานีปลายทางกจ็ ะตอ งเปล่ียนถายไปใสร ถอีกครง้ั จงึ ทาํ ใหเ กดิ การขนสถายทซ่ี ้ําซอ นขน้ึ

การขนสง ทางอากาศ ในอดีตการขนสงทางอากาศน้ัน มงุ เนน ไปท่กี ารขนสงผูโดยสารเปนหลัก
แตในยคุ ที่การแขง ขนั สูงและเศรษฐกิจโลกท่ีถดถอย จึงทําใหสายการบนิ จําเปนตองหาประโยชนจากพืน้ ที่
ใตทองเครื่องของตนเองมากข้นึ จึงทําใหก ารขนสง สินคา ทางอากาศนัน้ มตี ัวเลือกทห่ี ลากหลายมากข้ึน และ
สงผลใหมีแนวโนม คา ใชจ ายทตี่ ่ําลง แตท วา การขนสงทางอากาศนนั้ มขี อเดนทกี่ ารขนสงแบบอืน่ เทียบไมไ ด
เลย นั้นคอื ความเรว็ ทเ่ี ครอื่ งบินสามารถทําได แตคา ใชจ ายท่สี ูงก็ยังถือเปน ขอดอยของการขนสงทางอากาศ
อยา งหลกี เล่ียงไมได

204 | ก า ร ข น ส ง

ขอเดน ของการขนสงทางอากาศ
x รวดเรว็ เปนท่ีทราบกันดวี าการขนสงทางอากาศเปนรปู แบบการขนสง

ท่ีมีความเร็วสูงที่สุด และสามารถขนสงในระดับระหวางประเทศ ถึงระหวางทวีปไดเลย การขนสง
ทางอากาศจึงเหมาะสมกบั การขนสง สนิ คาท่ีมคี ณุ สมบัตเิ ร่ืองเวลาต่ํา หรือของท่ีมีความเรงดวยในการ
ใชง าน รวมไปถึงของที่มรี าคาสงู เชน ดอกไม สัตวเลยี้ ง อัญมณี เปน ตน

x ตนทุนสินคาคงคลังต่ํา เนื่องจากการขนสงน้ันทําไดอยางรวดเร็ว
จึงไมจ ําเปน ทีจ่ ะตอ งส่ังสิ้นคา มาจดั เก็บไปเปนเวลานาน จงึ สง ผลใหตน ทุนสินคา คงคลงั ลดต่ําลง

x ตรงตอเวลา การขนสงทางอากาศน้ัน มีอุปสรรคในการเดินทางคอน
ขา งต่ํา และเปน รปู แบบการขนสง ทมี่ คี วามคลาดเคลื่อนต่ําอกี ดว ย

x มีการแขงขันสูง ในปจจุบันจะเห็นสายการบินตนทุนตํ่าเปนจํานวน
มาก(Low Cost Airlines) เน่ืองจากเศรษฐกิจท่ีถดถอยและการแขงขันที่สูงข้ึน จึงทําใหสายการบินมี
การงัดกลยทุ ธตา ง ๆ เขามาแขง ขนั กันเพือ่ แยงลกู คาท่มี ีอยอู ยางจํากดั ซึง่ สงผลดีตอ ลูกคา

ขอ ดอ ยของการขนสง ทางอากาศ
x คาขนสงแพง ถือเปนขอเสียเปรียบท่ีชัดเจนท่ีสุดของการขนสงทาง

อากาศ เนอ่ื งจากในการดําเนินการขนสงทางอากาศมีตนทนุ ทเ่ี ปนสวนประกอบอยูมากมาย และเม่ือ
เทียบกับเวลาที่สามารถลดลงไดหากเลือกขนสงทางอากาศ จึงทําใหคาขนสงสูง ดังนั้นสินคาที่
เหมาะสมทีจ่ ะขนสง ทางอากาศมกั เปน สนิ คา ทร่ี าคาสงู ตามไปดวย

x เขาถึงบริการยาก ในการลงทุนสรางทาอากาศยานแตละแหงใช
เงนิ ทุนมหาศาล จงึ ทาํ ใหม ีจาํ นวนไมม ากนัก จึงสงผลโดยตรงตอการเขา ถึงบรกิ ารนนั่ เอง

การขนสงทางทอ เปนรปู แบบการขนสง ที่ไมแพรหลายนกั เนื่องจากเปนรูปแบบ
การขนสงท่ีมีขอจํากัดในเรื่องของคุณสมบัติของสินคาที่จะขนอยางชัดเจน คือ สามารถขนสินคาท่ี
เปนกาซหรือของเหลวไดดีแตทวาสินคาประเภทอื่นไมสามารถขนได ในบางประเทศใชขนถานหิน
โดยการตัดถานหินเปนชิ้นเล็กๆ และเทลงมาจากยอดเขาพรอมนํ้าจํานวน มาก แตจะเห็นวา
จําเปน ตอ งพึ่งท้งั ความลาดชันของภูเขาและใชน ้าํ จํานวนมากจึงจะสามารถขนสง ได

ขอ เดน ของการขนสง ทางทอ
x ตนทุนตํ่า ถือเปนขอเดนท่ีชัดเจนที่สุดเน่ืองจาการขนสงทางที่เปน

รูปแบบท่ีมีตนทุนคาขนสงที่ตํ่าที่สุด เนื่องจากใชเชื้อเพลิงนอยเพราะอาศัยแรงดันภายในทอ หรือ
แรงโนมถวงในการขับเคลื่อนสินคาไปขางหนา และใชแรงงานเขามาเกี่ยวของตํ่า จึงทําใหการขนสง
ทางทอมีคา ขนสงที่ตา่ํ ท่สี ุด

ก า ร ข น ส ง | 205

x เชื่อถือได เน่ืองจากระบบการขนสงสินคาทางทอนั้นมีหลักการขนสง
งายๆคือ นําสินคาลงที่ตนทางและสินคาจะถูกขับเคลื่อนดวยแรงดันภายในทอไปตามทอที่วางไว
เทา นนั้ จะเหน็ ไดวา เปนการขนสง ทีม่ รี ะบบและกลไกไมซบั ซอนจงึ ทําใหเชอื่ ถอื ได

x ความเสียหายตอสินคาต่ํา เน่ืองจากทอสวนใหญถูกฝงไวใตดิน หรือ
ใตทะเลลึก จึงทําใหมีปจจัยที่จะทําใหเกิดความเสียหายไดคอนขางตํ่า และการเขาถึงสินคาน้ันยาก
จงึ ไมเ สยี่ งตอการโจรกรรมหรอื ปนเปอ น

x มลภาวะตํ่า การวางแนวทอจะใชพื้นท่ีไมม ากเทากับการตัดถนน และ
ใชเชื้อเพลงในการเพิ่มแรงดันภายในทอและกิจกรรมอ่ืน ๆ นอย จึงสงผลใหการขนสงทางทอเปน
รปู แบบการขนสงท่ีดตี อ สิ่งแวดลอม

ขอดอ ยของการขนสงทางทอ
x ความเรว็ ตา่ํ เนื่องดวยอาศัยแรงโนมถวงหรือการเพิ่มแรงดัน

ภายในทอ เปนแรงในการผลกั ดนั สินคา และสินคา สวนใหญเปน กา ซและน้าํ มนั ซ่ึงเปนสนิ คาท่ีสามารถ
ติดไฟได ทงั้ หมดลวนเปน ปจจยั ใหความเร็วถูกจํากดั

x ตนทุนลงทุนสูง จะสังเกตุไดวาการลงทุนในการขนสงทางทอนั้น
ผปู ระกอบการตอ งเปน ผูสรา งเสนทางการขนสง เอง ไมเ หมอื นกับการขนสงทางถนน อากาศ ราง และ
น้ํา ท่ีรัฐบาลจะเปนคนลงทุนในเสนทางหรือทาจอดตางๆ ทําใหการขนสงทางถนนเปนการขนสงท่ี
ตองลงทนุ สงู อีกทงั้ ยังเกบ็ คาขนสงไดต่ํา จงึ ถือวา เปน การลงทุนในการขนสงที่คุมคากวาการลงทุนใน
การขนสง รปู แบบอืน่

x ผูบริการนอยราย ขาดการแขงขัน สืบเนื่องจากเหตุผลเรื่องของการ
ลงทุนท่ีสูง และรายไดต่ํา จงึ ทําใหมนี ักลงทุนนอยรายท่พี รอ มจะลงทุนในธรุ กิจการขนสงทางทอ และ
สง ผลโดยตรงใหข าดการแขง ขันในธรุ กิจ

การขนสงทางน้ํา ในการขนสงสินคาระหวางประเทศมักนิยมใชรูปแบบการ
ขนสงทางนํ้าถึงรอยละ 90 และในประเทศท่ีมีภูมิประเทศท่ีเปนแมน้ําลําคลอง หรือประเทศท่ีมี
ชายฝงทะเลเปนยาวก็มกั จะเลือกใชการขนสงทางน้ํา เนื่องจากสามารถขนสินคาไดหลากหลาย และ
เปน รูปแบบการขนสงท่ีประหยัดตน ทุนไดจริง ดงั ขอเดน และขอ ดอยท่ีจะนําเสนอตอไปน้ี

ขอเดนของการขนสง ทางนา้ํ
x ความจรุ ะวางบรรทุกสูง เนอ่ื งจากเทคโนโลยใี นการเดนิ เรอื นน้ั มีประวัติ

มาอยางยาวนาน จึงทําใหการตอเรือเพื่อรองรับสินคาจํานวนมากสามารถเห็นไดอยางแพรหลายใน
ปจจุบัน ดังจะเห็นไดจากขนาดของเรือบรรทุกสินคาขนาดใหญที่สามารถรับนํ้าหนักบรรทุกไดราว

206 | ก า ร ข น ส ง

300,000 ตัน หรือเรือคอนเทนเนอรชั้น Triple – E class ของสายเรือ MEARSK ท่ีสามารถบรรทุกตู
สินคา ไดถ ึง 18,000 TEU ตอ เทีย่ ว

x คาขนสงตํ่า สืบเนื่องจากความสามรถในการบรรทุก จึงทําใหการขนสง
ทางนํ้านั้นมีตนทุนคาขนสงท่ีตํ่า และในการเดินเรือก็ยังไมมีคาใชจายในการใชรองน้ํายกเวนการผานใน
เสน ทางพเิ ศษเทานัน้

x มลภาวะตํ่า ก็เปนขอเดนอีกขอท่ีไดรับอานิสงสจากความสามารถใน
การบรรทุกของเรือ และเทคโนโลยีในการเดินเรือ จึงทําใหการขนสงทางน้ํานั้นเปนมิตรตอสง
แวดลอม

ขอดอยของการขนสง ทางน้าํ
x ความเร็วตํ่า สืบเนื่องจากขนาดท่ีใหญโต รวมถึงภาระในการแบกรับ

สินคาเปนจํานวนมาก และสภาพอากาศในทะเลเปดท่ีสามารถเปล่ียนแปลงไดตลอดเวลา จึงทําให
การขนสง ทางนํ้าสามารถทําเร็วไดไมส ูงนกั

x เกิดการขนถายซํ้าซอน เนื่องจากการขนสง ทางนํ้านั้นเปนการบริการ
จากแหลงถึงแหลง(Point to Point) เทาน้ัน ดังนั้นการท่ีผูประกอบการจะขนสินคาไปทาเรือ
จําเปนตองขนสินคาไปกับการขนสงทางถนนเสียกอน แลวจึงมาเปลี่ยนถายท่ีทาตนทาง และหาก
เดินทางไปถึงทา ปลายทางกจ็ ะตองเปลย่ี นถายไปใสร ถอกี ครง้ั จึงทาํ ใหเ กดิ การขนถายทซี่ ้ําซอนขน้ึ

x เขาถึงบริการยาก ในการเขาถงึ การขนสงทางน้ําน่ัน ยอมหมายถงึ การ
เขาถึงทาเรือและในปจจุบันทาเรือสวนใหญถูกกํากับโดยรัฐหรือหนวยงานในดูแลของรัฐ รวมถึงการ
ลงทนุ ทส่ี งู จึงทาํ ใหท า เรือมจี ํานวนไมม ากนกั

ตารางท่ี 10.1 ตารางสรุปขอ เดน ขอ ดอ ยของรูปแบบการขนสง

รูปแบบ สรุปขอเดน สรุปขอดอย สนิ คาที่นยิ มใช

ทาง เปนการสง จากทถ่ี ึงทม่ี ี/ บรรทกุ ไดนอ ย/มลภาวะ สินคาทกุ ประเภท ยกเวน
ถนน ความยดื หยนุ สงู / เยอะ/ไมน ิยมสงระหวาง สนิ คาฉุกเฉิน
เครือขายครอบคลุม
ทางราง ประเทศ สนิ คา ทม่ี นี ้ําหนกั หรือมวล
บรรทกุ ไดม าก/ดีตอ เครอื ขายจาํ กัด/ไมต รง มาก แตร าคาตํ่า
สงิ่ แวดลอ ม เวลา/ขนถาย 2 รอบ/ขาด

การแขงขัน

ก า ร ข น ส ง | 207

ตารางท่ี 10.1 (ตอ )

รปู แบบ สรุปขอ เดน สรุปขอดอ ย สนิ คา ที่นิยมใช

สินคาฉกุ เฉินหรือสินคาท่ีมี

ราคาแพง/สนิ คา ที่เก็บรักษาได

ทาง เรว็ ที่สดุ /ปลอดภัย/สง แพง/จุดบริการจาํ กัด/ขน

ยาก/สินคาอายุสน้ั /สินคาท่ี

อากาศ ของฉกุ เฉินได ถาย 2 รอบ

เสย่ี งตอ การโจรกรรมหรอื

ปนเปอน

ขนไดเฉพาะกาซและ

คาขนสง ถกู /ปลอดภยั
ทางทอ ของเหลว/ชา /มเี ครอื ขา ย สิ้นคา ทเ่ี ปน ของเหลวหรือกา ซ

มาก/เรยี บงา ย

นอย/ขนถาย 2 รอบ

บรรทุกไดม าก/ราคาไม

แพง/บรรทุกได ชา/ขนถา ย 2 รอบ/จดุ สนิ คา ทุกชนิด ยกเวน สนิ คา

ทางน้าํ

หลากหลาย/เครือขาย บรกิ ารจํากดั ฉกุ เฉิน

ทวั่ โลก

10.6 ปจ จยั ทสี่ ง ผลตอ การเลือกใชร ปู แบบการขนสง

ปจจัยดา น
ผลิตภณั ฑ

ปจ จยั ดา นความ ปจ จยั ดานราคา
ปลอดภัย

ปจ จัยดา นความ ปจ จยั ดา นชอ ง
เรง ดว น ทางการบริการ

ภาพที่ 10.8 ภาพแสดงปจจัยทีส่ งผลตอ การเลอื กใชรปู แบบการขนสง
ทม่ี า: ฉัตรชยั เหลาเขตการณ 2558

208 | ก า ร ข น ส ง

การเลือกใชรปู แบบการขนสงนัน้ มผี ูใชบรกิ ารจะมีการพจิ ารณาการใชบริการวาจะเลือกขนสง
หรือเดินทางในรูปแบบใด โดยมักจะพิจารณาจากปจจยั ท่ีมีผลกระทบตอ ความรวดเร็วในการจัดสง หรือ
ความคุมคาในการจัดสงเปนหลัก โดยปจจัยที่ผูเขียนสังเคราะหออกมานั้นไดทําการสังเคราะหจากงาน
วิชาการและงานวิจัยตางๆ และไดทําการสรุปออกมาเปนปจจัยหลักท่ีมีผลตอการตัดสินใจเลือกใช
รปู แบบการขนสง ทั้งสิ้น 5 ปจจัยดงั นี้

1. ปจ จัยดานความเรงดวน คือ การท่ีผูบริโภคพิจารณาถงึ ความเรง ดวน
ในการใชสินคาหรือบริการนั้น ๆ หากสินคาน้ันมีความเรงดวนในการใชงาน ผูบริโภคก็มักจะ
พจิ ารณาเลือกรปู แบบการขนสงท่ีมคี วามรวดเร็วมากท่ีสุด หรือรูปแบบทีทใชร ะยะเวลาในการจัดสงส้ัน
ท่ีสดุ โดยคาํ นงึ ถงึ ปจ จัยอืน่ มาเปนลาํ ดบั ถัดไป

2. ปจจัยดานชองทางการบริการ คือ การที่ผูบริโภคพิจารณาวามีการ
ขนสงรูปแบบใดบางท่ีใหบริการไปในพ้ืนที่ ๆ เปนปลายทางในการจัดสงสินคา หรือพิจารณาวาการ
เขาถึงการบริการนั้นยากงายเพียงใด เชน หากตองการสงสินคาจาก กทม. ไป เชียงราย ก็จะใชการ
ขนสงทางรางไมไดเ พราะ ไมมีการบรกิ ารรถไฟในจังหวดั เชียงราย หรอื หากตองการจะสงพัสดุไปยัง
ตา งจังหวัด ก็มักจะเลือกสง กบั บริษทั ไปรษณียไทย จาํ กดั เพราะมีชองทางในการรบั สงสินคาอยทู ่ัว
ประเทศ เปนตน

3. ปจจัยดานผลิตภัณฑ คือ การที่ผูบริโภคจําเปนจะตองพิจารณาถึง
คณุ ลักษณะของผลติ ภัณฑที่ตองการจัดสงวามีคุณลกั ษณะอยางไร ตองการการบริการเฉพาะหรือไม
หรือมีขอจํากัดดานใดบาง เชน ตองความคุมอุณหภูมิ หรือเปนสินคาที่มีอายุการขายสั้นมากๆ
อยางหนังสือพิมพ เพราะฉน้ันปจจัยดานผลิตภัณฑมักจะเปนตัวกําหนดวาควรจะใชการขนสงใน
รปู แบบใดในการขนสง

4. ปจจัยดานราคา คือ การที่ผูบริโภคจะพิจารณาคาใชจายรวมในการ
ขนสงสินคา โดยจะพิจารณาทงั้ ตนทุนทางตรงและทางออม ตนทนุ ทางตรงก็คือคาขนสง สวนตนทุน
ทางออมคือ ความยากงายในการเขาถึงบริการขนสง เชน การสงสินคาโดยการฝากไปกับรถประจํา
ทางมีราคาถูกกวาสงไปรษณีย (ตนทุนทางตรง) แตจะตองเดินทางไปรับของที่สถานีขนสงผูโดยสาร
ดวยตนเอง (ตนทุนทางออ ม)

5. ปจจัยดานความปลอดภัย คือ การที่ผูบริโภคจะพิจารณาถึงความ
เสี่ยงท่ีอาจจะเกิดขึน้ ระหวา งการขนสง ที่อาจจะเกิดขึ้นกับสนิ คา และนาํ มาเปน ประเดน็ ประกอบการ
พิจารณาในการเลือกใชรูปแบบในการขนสง ยกตัวอยางเชน การขนสงพันธบัตรหรือเครื่องประดับ
มกั เลอื กขนสง ทางอากาศเน่ืองจากเปน สินคา ท่สี มุ เสยี่ งตอการถกู โจรกรรมหากขนสง ทางถนน

ก า ร ข น ส ง | 209

10.7 การขนสง ตอ เน่อื งหลายรูปแบบ

ดังที่ผูเขียนไดกลาวถึงคุณลักษณะของรูปแบบการขนสงแตละรูปแบบเอาไวในชวงตนของ
บทที่ 8 นี้ จึงแสดงใหนักศึกษาเห็นวา การขนสงท่ีสามารถสงแบบ Door to Door ไดน้ัน จะมีเพียง
การขนสงทางถนนเทานั้น ท่ีเหลือจะเปนรูปแบบการขนสงแบบ Point to Point แตทวาในความ
เปนจริงผูใหบริการขนสงสินคาแบบครบวงจรจะอํานวยความสะดวกโดยการจัดการแบบเบ็ดเสร็จ
จึงเกิดการบริการขนสงท่ีมีการผนวกเอาการขนสงตั้งแต 2 รูปแบบเขาดวยกัน ยกตัวอยางเชน
การสงดอกกลวยไมจากประเทศไทยไปประเทศญี่ปุน การขนสงจะเร่ิมจากการรับดอกไมจากสวน
กลวยไมโ ดยการขนสงทางถนน และทําการสง ออกดว ยเคร่ืองบิน จากประเทศไทยไปยงั ประเทสญ่ปี ุน
และทําการกรายสินคาไปยังรา นขายดอกไมรายยอยดวยการขนสงทางถนนในประเทศปลายทางอีก
คร้ัง ดังนั้นการขนสงสินคาสวนใหญจําเปนจะตองอาศัยการขนสงมากกวา 1 รูปแบบข้ึนไป
จึงเรยี กวา การขนสง ตอเนือ่ งหลายรูปแบบนั่นเอง

องคป ระกอบของการขนสงตอเนอื่ งหลายรูปแบบ
องคประกอบของการขนสงตอเนื่องหลายรูปแบบ โดย ดร.ธนิต โสรัตน ไดแยก

องคประกอบของการขนสง ตอเน่ืองหลายรูปแบบ ไว 3 ประการ ดังน้ี
1. เปนรูปแบบการขนสงสินคา หรอื เคล่ือนยายสินคา ท่ีมลี ักษณะการขนสง หลายรูปแบบ

มาผสมผสานกัน ภายใตผูใหบริการขนสง รายเดียว ซึ่งจะตองรับผิดชอบต้ังแตสินคาตน ทางไปถึงผรู ับ
ปลายทาง

2. การข น สงตอเน่ื องหลายรูป แบ บ มุงเนนให เกิดประสิทธิภ าพ ดานตนทุน
เม่ือเปรียบเทียบกับการขนสงทางถนน โดยการขนสงประเภทนี้จะใหความสําคัญตอประเภทการ
ขนสง หลกั ไดแก การขนสง ทางรถไฟ หรอื การขนสง ทางนา้ํ โดยจํากดั ระยะทางในการขนสงทางถนน
ใหนอ ยที่สดุ รวมถึงการใชใ นระยะทางส้นั ๆในชวงตนทางหรอื ในชว งการสงมอบสินคา ปลายทาง

3. จะเปนลักษณะของการขนสง ที่เรียกวา Door to Door Delivery คือ การขนสงจาก
ประตจู นถงึ ประตู หรอื การขนสงจากตน ทางไปถึงผูร บั ปลายทาง

สาระสาํ คญั ของการเปนขนสง ตอเนอ่ื งหลายรูปแบบ
สาระสําคัญของการเปนขนสงตอเน่ืองหลายรูปแบบ โดย ดร.ธนิต โสรัตน ไดแยก

สาระสาํ คญั ของการขนสง ตอเนือ่ งหลายรูปแบบ ไว 3 ประการ ดังนี้
1. การขนสงตอเนื่องหลายรูปแบบ ตองเปนการขนสงสินคาท่ีใชการขนสงตั้งแต

2 รูปแบบข้ึนไป และจะเปนการขนสงตอเน่ืองระหวางการขนสงทางบกกับการขนสงทางทะเลหรือ
อาจเปนการขนสงทางทะเลกับการขนสงทางอากาศ

210 | ก า ร ข น ส ง

2. เปนการขนสง ทั้งในประเทศและหรอื ระหวางประเทศ การขนสงตอเน่ืองหลายรูปแบบ
อาจถูกนํามาใชกับการขนสงของทั้งการขนสงภายในประเทศ (Domestic multimodal transport)
และการขนสงของระหวา งประเทศ (International multimodal transport) แตโ ดยท่ัวไปแลว การ
ขนสง ของที่จาํ เปน ตองใชร ูปแบบการขนสง ท่ีแตกตา งกนั ต้งั แตสองรูปแบบขึ้นไปขนสงของตอเนอื่ งกัน
ไป มกั เปนการขนสงท่ีมรี ะยะทางไกล ๆ จงึ นิยมนําเอาการขนสงตอเนอ่ื งดังกลาวไปใชกับการขนสง
ของระหวางประเทศเปนสวนใหญ

3. เปนการขนสงของตามสัญญาฉบับเดียว ในการขนสงตอเน่ืองหลายรูปแบบระหวาง
ประเทศนี้ ผสู งของกบั ผปู ระกอบการขนสง ตอเนื่องหลายรูปแบบเพียงผเู ดียวเปนผูรบั ผิดชอบโดยจะออก
เอกสารการขนสงฉบับเดียวสําหรับการขนสงของ และมีการคิดอัตราคาขนสงเดียวตลอดเสนทาง
(Single rate) ตลอดจน ผูประกอบการขนสงตอเน่ืองหลายรูปแบบจะเปน ผูมีหนาท่ีและความรับผดิ ชอบ
ตอการขนสงตั้งแตตนทางถึงปลายทาง

10.8 การขนสงเพือ่ การทอ งเท่ยี ว

การขนสงเพื่อการทองเท่ียว คือ การเคลื่อนยายนักทองเท่ียว และบุคลากรทางการ
ทองเท่ียว จากแหลงที่พักไปยังแหลงทองเที่ยว โดยยึดหลักความสะดวก รวดเร็ว และปลอดภัย
เปนปจจัยหลักในการพิจารณาการวางรูปแบบการจัดการขนสงเพ่ือการทองเที่ยว และหมายความ
รวมถึงเครือขายทางการขนสงมวลชนตา ง ๆ ทก่ี ารทอ งเท่ียวและนกั ทอ งเทย่ี วสามารถใชประโยชนไ ด

โดยการขนสงเพื่อการทองเที่ยวจะมุงเนนการขนสงบุคคลเปนหลัก เพราะการขนสงเพื่อ
การทอ งเทีย่ วมีลกั ษณะทีเ่ ปน เอกลกั ษณแตกตา งจากการขนสง สินคา ดังน้ี

x เปนการมุงเนนการขนสงคน ดังน้ันปจจัยในการเลือกรูปแบบการขนสงของการ
ทอ งเทย่ี ว คือ ชองทางการบรกิ าร ความรวดเรว็ และความปลอดภัย

x เปนการขนสงที่ไมมุงเนนการขนเปนจํานวนมาก เพ่ือใหเกิดความประหยัดตอ
ขนาด แตจ ะมงุ เนนการใหบ ริการที่เปน เลิศ

x เปนการขนสงทั้งเที่ยวไป และเท่ียวกลับ โดยสวนใหญการขนสงเพื่อการ
ทองเที่ยวจะเปนการนําพานักทองเที่ยวจากที่พัก ไปยังสถานที่ทองเที่ยวและนํากลับมายังท่ีพัก
ซงึ่ แตกตางจากการขนสงสนิ คา ทจ่ี ะนาํ สินคา จากทีห่ นึ่งไปยังอกี ที่หนงึ่

10.9 การขนสง สีเขยี ว

การขนสงสีเขียว เปนสวนหนึ่งของการดําเนินงานโลจิสติกสสีเขียว โดยแนวคิดหลักของการ
ดําเนินการการขนสงสีเขียวคือ การพยายามลดมลภาวะที่เกิดขึ้นจากกระบวนการขนสงสินคาและบริการ
ซึง่ สามารถทาํ ไดหลากหลายมติ ิ โดยสวนใหญจ ะใชก ารกําหนดสัดสวนในการปลอ ยกาซคารบอนไดออกไซด

ก า ร ข น ส ง | 211

ที่เกิดจากกระบวนการขนสงเปนตัวชี้วัดความสําเร็จในการทําขนสงสีเขียว โดยกลยุทธในการทําขนสงสี
เขียวสามารถแบง ออกเปน กลยุทธใหญ ๆ ไดด ังน้ี

x กลยุทธการขับข่ีประหยัด โดยการฝกพนักงานขับรถใหตระหนักถึงความสําพันธ
ระหวางพฤติกรรมในการขับขี่ที่สามารถสงผลโดยตรงตออัตราการบริโภคน้ํามัน หากมีการขับข่ีโดย
รักษาระดับการทํางานของเครอื่ งยนตก ก็จะทาํ ใหอัตราการบรโิ ภคน้ํามันน้ันต่ําลง หรือหากพนักงาน
ขับใชอ ตั ราความเรว็ ตามทก่ี ฎหมายกําหนดก็จะทาํ ใหอ ตั ราการบรโิ ภคนา้ํ มนั นน้ั คงท่ี เปนตน

x เพิ่มขีดความสามารถในการบรรทุก โดยการเพ่ิมความสามารถในการบรรทกุ ตามท่ี
กฎหมายกําหนด สามารถดดาํ เนนิ การไดห ลากหลายวิธกี าร เชน การออกแบบบรรจุภัณฑใ หมขี นาด
เลก็ ลง การวางรูปแบบการจัดเรยี งสนิ คาบนรถบรรทกุ ใหสามารถเรยี งสนิ คา ในปรมิ าณท่เี พิม่ ขึน้

x การใชร ูปแบบการขนสงท่ีมีตนทุนตํ่า โดยการเปล่ียนรูปแบบการขนสงจากรปู แบบ
ทมี่ ีตนทนุ สงู ไปยงั รปู แบบทมี่ ีตน ทุนตาํ่ กวา ในระยะทางท่ียาวกวา

x การเปล่ียนรูปแบบการใชพลังงาน โดยการเปลี่ยนไปใชเชื้อเพลิง หรือพลังงาน
ทดแทนอืน่ ๆ เชน กาซเอ็นจวี ี หรือการใชร ถยนตแ บบพลังงานรวมหรอื ไฮบรดิ หรอื การเปล่ยี นไปใช
พลังงานสะอาดเพอ่ื ลดการใชพ ลงั งานหลักลง

x การรวบรวมสินคาใหเต็มคัน โดยการรวบรวมสินคาใหเต็มคันเสยี กอน เพื่อเปนการ
เพิ่มประสิทธิการใชพลังงานใหมากยิ่งขึ้น หรือการใชกลยุทธการรวบรวมสินคากอนสงเพื่อเพ่ิมประ
สทิ ธิภากการใชพ น้ื ทบี่ รรทุกใหม ีประสิทธภิ าพสูงสุด

x การลดการขนสงเที่ยวเปลา การลดการขนสง เท่ียวเปลาคอื การพยายามท่จี ะใหก าร
เดินทางทุก ๆ คร้ังเกิดประสิทธิภาพสูงสุด โดยทุกคร้ังที่จะมีการเดินทางเพื่อไปสงสินคา ควรมีการ
วางแผนเพ่อื หาสินคาขนสงกลบั มาในเทีย่ วกลับดวย

212 | ก า ร ข น ส ง

แบบฝกหดั ทา ยบทที่ 10
การขนสง

ตอนที1่ จงเลือกคําตอบท่ีถกู ตอ งทส่ี ดุ

1) ขอใดไมใช ยคุ ของวิวัฒนาการทางการขนสงที่ระบไุ วใ นเน้อื หา

ก. ยุคใชแ รงงานคนและสตั ว
ข. ยุคมอเตอรไฟฟา
ค. ยุคจกั รไฟฟา
ง. ยคุ พลงั งานแมเหล็ก

2) การใชร ถรางในกรุงเทพมหานครในสมยั กอน จดั อยูในยคุ ของววิ ฒั นาการทางการขนสงยุคใด

ก. ยคุ ใชแ รงงานคนและสตั ว
ข. ยุคมอเตอรไฟฟา
ค. ยคุ จักรไฟฟา
ง. ยุคพลงั งานแมเหลก็

3) ขอใด ไมใ ช อรรถประโยชนของการขนสง

ก. แสวงหาสินคาใกลข้ึน
ข. ใชเ วลาในการแสวงหาสนิ คานอ ยลง
ค. ไดรบั สินคา เร็วขึน้
ง. ไดสนิ คา ในราคาถกู ลง

4) ขอ ใด ไมใช ขอ เดนของการขนสง ทางถนน

ก. เปน การสง จากทถี่ ึงท่ี
ข. เปน การสง จากแหลง ถึงแหลง
ค. รวดเร็ว
ง. มเี ครือขายครอบคลมุ

5) ขอใดกลาวถูกตอง

ก. การขนสงมี 2 รปู แบบ
ข. การขนสง มี 3 รูปแบบ
ค. การขนสง มี 4 รปู แบบ
ง. การขนสง มี 5 รปู แบบ

ก า ร ข น ส ง | 213

6) สนิ คา ชนดิ ใดที่เหมาะตอการขนสง ทางราง

ก. สนิ คาที่ตองการใชอยา งเรง ดวน
ข. สนิ คา ที่มมี วลหรือน้ําหนักมากแตร าคาถกู
ค. สินคาท่มี รี าคาแพง
ง. สินคาทมี่ ีความเสย่ี งภัยสงู

7) หากตอ งการสง ปลาสวยงาม ไปยังประเทศจีน นักศึกษาจะเลือกรปู แบบการขนสง รูปแบบใด

ก. ทางราง
ข. ทางถนน
ค. ทางอากาศ
ง. ทางนํ้า

8) หากตอ งการสง ปลาทบั ทิมแปรรปู ไปยังประเทศจีน นกั ศึกษาจะเลอื กรปู แบบการขนสง

รูปแบบใด
ก. ทางราง
ข. ทางถนน
ค. ทางอากาศ
ง. ทางนา้ํ

9) หากตอ งการสง ทองคาํ ไปยงั ประเทศเกาหลี นกั ศึกษาจะเลอื กรปู แบบการขนสงรูปแบบใด

ก. ทางราง
ข. ทางถนน
ค. ทางอากาศ
ง. ทางน้าํ

10) หากตอ งการสง ปลารถจักรยาน 1 คนั ไปยังจังหวดั เชยี งราย นักศึกษาจะเลอื กรปู แบบการ

ขนสง รูปแบบใด
ก. ทางราง
ข. ทางถนน
ค. ทางอากาศ
ง. ทางนา้ํ

214 | ก า ร ข น ส ง

ตอนที่ 2 จงตอบคาํ ถามตอไปน้ี และอธิบายพอเปน สงั เขป
1. จงอธบิ ายความเปนมา และววิ ัฒนาการของการขนสงมาพอสงั เขป
………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………..........................…………………………….
2. อธิบายความหมายและอรรถประโยชของการขนสง มาโดยละเอียด
………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………..........................…………………………………….
3. จงอธบิ ายวา การขนสง มกี รี่ ูปแบบ อะไรบา ง แตล ะรูปแบบมีขอเดน ขอดอ ยอยา งไร
………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………....................…………………………………………….

การออกแบบบรรจภุ ัณฑ | 215

รายละเอียดการสอน
ประจาํ สปั ดาหท ่ี 11 (จํานวน 3 ชว่ั โมง)

หวั ขอ การสอน : การออกแบบบรรจุภัณฑ
จดุ ประสงคการสอน เพอื่ ใหสามารถ

1. อธิบายความหมาย บทบาทหนาที่ และประเภทของบรรจภุ ัณฑได
2. อธบิ ายกลยุทธก ารตลาดสีเขยี วกบั การบรรจุภณั ฑไ ด
3. อธบิ ายปจจัยของบรรจภุ ณั ฑเ พอ่ื การนาํ เขาและสง ออกได

รายการสอน

1.1 บทนํา
1.2 ความหมาย
1.3 บทบาทหนา ท่ีของบรรจุภัณฑ
1.4 ประเภทของบรรจุภัณฑ
1.5 กลยุทธการตลาดสีเขียวกบั การบรรจุภณั ฑ
1.6 บรรจุภัณฑเพือ่ การนาํ เขา และสง ออก

วธิ ีการสอน

บรรยาย ถาม – ตอบ

หนงั สือ / เอกสารประกอบการสอน

คํานาย อภิปรัชญาสกุล. (2553). ระบบบรรจุภัณฑในงานโลจิสติกส., กรุงเทพฯ: โรงพิมพโฟกัส
มเี ดีย แอนด พับลชิ ซ่งิ จํากดั

ชุมพล มณฑาทิพยกุล. (2550). เอกสารประกอบการสอนการจัดการซัพพลายเชน; สาขาการจัดการ
โลจิสติกส, บัณฑติ วิทยาลยั การจดั การและนวัตกรรม, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลา ธนบรุ ี

ฐาปนา บุญหลา , นงลักษณ นิมิตภูวดล. (2550). การจัดการโลจสิ ติส มิติซพั พลายเชน. กรุงเทพฯ:
ซีเอ็ดยเู คชั่น

สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยธนบุรี. (25 64). เอกสาร
ประกอบการสอนวิชา การจัดการโลจิสติกสและซัพพลายเชน (Logistics and Supply
Chain Management) พมิ พคร้ังท่ี 2. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธนบรุ ี

216 | การออกแบบบรรจุภณั ฑ

โสตทัศนวัสดุ

บอรดขาว ปากกา แผนบนั ทึกขอ มูล เครือ่ งคอมพวิ เตอร เครอื่ งฉายภาพ

การประเมินผล

ถาม – ตอบในช้ันเรียน
ทดสอบยอยในชัน้ เรียน
ตรวจการทาํ แบบฝกหัดทายบท
ผลการสอบประจําภาคการศึกษา

งานทมี่ อบหมาย

1. ใหท าํ แบบฝกหดั ทายบททกุ ขอ
2. ใหทบทวนบทเรยี นตามที่ไดเรียนไป
3. ใหศกึ ษาเพิม่ เติมและทดลองทาํ แบบฝก หดั ในหวั ขอ ท่ีไดเรยี นไปจากหนงั สอื เลม อน่ื ๆ
4. ใหเ ตรียมเนอ้ื หาสาระความรสู าํ หรับทจ่ี ะเรยี นประจําสปั ดาหต อ ไป

การออกแบบบรรจภุ ัณฑ | 217

บทท่ี 11
การออกแบบบรรจภุ ณั ฑ

11.1 บทนํา

การท่ีจะเลือกใชบรรจุภัณฑ อุปกรณในการจัดเก็บและเคลื่อนยายเปนกิจกรรมท่ีเก่ียวของ
ในระบบโลจิสติกส บทบาทหนาท่ีของบรรจุภัณฑ อุปกรณจัดเก็บ และเคลื่อนยาย เพ่ือการขนยาย
การเกบ็ รกั ษาสินคาใหค งสภาพ และสามารถจัด เรยี ง รวบรวม ใหสามารถใชพื้นทค่ี ลังสินคาไดอยา ง
มปี ระสิทธภิ าพสูงสุด ซ่ึงจะสง ผลตอการสนับสนุนกจิ กรรมตา งๆ ในระบบโลจิสติกส ไดแ ก ลดตนทุน
ตอหนวยในการเคล่อื นยายวัสดุ ลดเวลาในการยกขนสนิ คา ลดคาดําเนนิ งาน ทั้งน้ีงานแตล ะงานจะมี
การใชแ ตกตา งกนั ออกไปตามความตอ งการเลอื กใชบรรจภุ ัณฑ อปุ กรณใ นการจัดเกบ็ และเคลอื่ นยาย
สินคา ในระบบโลจิสติกส

ความสําคญั ของบรรจภุ ณั ฑ อปุ กรณจ ดั เกบ็ และเคล่ือนยา ย
บทบาทที่สาํ คัญของโลจสิ ติกสจะเก่ียวของกบั กจิ กรรมการบรรจุภัณฑ อุปกรณจดั เก็บ และ
เคล่ือนยาย ภายใตการจํากัดของเงื่อนไขดานเวลาที่จะตองสงมอบ และ ตนทุนรวม ที่สามารถ
แขงขันได เนื่องจากทางการคาปจจุบันมีการแขงขัน กันอยางรุนแรง บรรจุภัณฑจึงมีบทบาทสําคัญ
ตอการสงเสริมทางการตลาด (Market Promotion) โดยเนนเรื่องความสวยงาม ความสะดุดตาและ
ดึงดูดความสนใจของผูบริโภคใหตัดสินใจซ้ือบรรจุภัณฑในยุคปจจุบันจึงทําหนาท่ีในการสราง
ภาพลักษณ (Image) ของสินคากอนที่ผูซ้ือจะเห็นตัวสินคา ซึ่งบรรจุภัณฑที่บรรจุสินคาสําหรับ
ผูบริโภคจะมีการใชรูปแบบหรือสีสันท่ีนาสนใจ รวมถึงมีขอความประชาสัมพันธและโฆษณาสินคาท่ี
บรรจุอยู ภายใน สําหรับหนาที่ของบรรจุภัณฑ อุปกรณจัดเก็บ และเคลื่อนยาย ดานโลจิสติกส
จะมุงเนนดา นความสะดวกตอการ ทาํ งานและตน ทนุ จะสังเกตเหน็ วา การเปลย่ี นแปลงบรรจภุ ณั ฑจ ะ
กระทาํ ไดบอยๆ โดยไมกระทบถงึ ลกู คา โดยสามารถปรับเปลยี่ นวัสดุ ลดขนาด หรอื เพ่มิ ขนาดไดทนั ที

11.2 ความหมาย

11.2.1 การบรรจุภัณฑ (Packaging) หมายถึง กิจกรรมตาง ๆ ในการออกแบบและ
ผลิตสิ่งหอหมุ ผลติ ภัณฑเ พ่อื การเก็บรกั ษา จาํ หนา ย และการตลาด โดยมีคาใชจ า ยที่เหมาะสม โดยใช
ทงั้ ศาสตร ศิลปะ และเทคโนโลยรี วมกัน

11.2.2 หบี หอ บรรจุภณั ฑ และภาชนะบรรจุ (Package)
บรรจุภัณฑ เปนส่ิง หอหุม ปองกัน ลําเลียง จัดสง และ นําเสนอความ

สะดวกสบายในการใชสอยและการผลิต เปนสวนหนึ่งของกระบวนหลักในการดึงดูดหรือเรยี กความ

218 | การออกแบบบรรจุภณั ฑ

สนใจจากผูบริโภคบรรจุภัณฑจะทําหนาท่ีของตัวเอง ตั้งแตวัตถุดิบถึงสินคาท่ีผานการผลิต
ตัง้ แตผูผลิตถึงผูใชหรือผูบริโภค มีนักวิชาการและผูเช่ียวชาญ ไดกลาวถึงนิยามของคําวาบรรจุภัณฑ
(Packaging) ไว ดงั น้ี

สุดาดวง เรืองรุจิระ(2529:128) กลาววา บรรจุภัณฑ หมายถึง กิจกรรมตางๆ
ทเ่ี กดิ ขน้ึ ตลอดขบวนการทางการตลาดทีเ่ กีย่ วเนือ่ งกบั การออกแบบ สรา งสรรคภ าชนะบรรจุหรอื หบี
หอใหก บั ผลติ ภัณฑ

ประชดิ ทิณบุตร(2531:20)กลาววา บรรจุภณั ฑ หมายถึง หนวยรูปแบบของวัตถุ
ภายนอกของผลิตภัณฑ ท่ีทําหนาท่ีปกปองคุมครอง หรือหอหุมผลิตภัณฑภายในไมใหเกิดความ
เสียหาย สะดวกในการขนสง และเอ้อื ประโยชนในทางการคาและตอ การบรโิ ภค

บริสตัน และ นีลล (Briston And Neill,1972:1) ไดใหความหมายของบรรจุ
ภัณฑไว 2 ประการ คอื

1. การบรรจุภัณฑ คือ ศิลปะวิทยาศาสตร และเทคโนโลยีการตระเตรียมสินคา
เพอ่ื การขนสงและการขาย

2. การบรรจุภัณฑ คือวิธีการสงมอบผลิตภัณฑไปยังผูบริโภคใหอยูในสภาพ
เรยี บรอ ยสมบูรณแ ละมีราคาทีเ่ หมาะสม

คํานาย อภิปรัชญาสกุล(2553: 2) กลาววา บรรจุภัณฑ หมายถึง หนวยรูปแบบ
วัตถุภายนอกท่ีทําหนาท่ีปกปองคุมครองหรือหอหุมผลิตภัณฑภายในใหปลอดภัย สะดวกตอการ
ขนสง เอ้อื อาํ นวยใหเกิดผลประโยชนในทางการคา และการบรโิ ภค

กลา วโดยสรุป หีบหอ บรรจุภัณฑ และภาชนะบรรจุ (Package) มคี วามหมายถึง
ภาชนะ กลอง หีบ หอ วัสดใุ ดๆ ที่ใชหอหุม ปอ งกัน ลําเลียง จัดสง และนําเสนอ โดยมีวัตถุประสงค
ใหเกิดการดึงดูดหรือ ดึงความสนใจจากผูบริโภค บรรจุภัณฑจะทําหนาที่การปองกัน หรือรักษา
ผลิตภัณฑใ หคงสภาพ สะดวกตอการขนสง หรือการกระจายสนิ คาใหเ หมาะสมกับรูปแบบที่กําหนด
เพ่อื ใหกิจกรรมโลจิสติกสม กี ารขบั เคล่ือนไดอ ยา งมีประสทิ ธภิ าพ

11.2.3 การบรรจุ (Packing) วิธีการบรรจุผลิตภัณฑ โดยการหอหุม หรือใสลงในบรรจุ
ภณั ฑป ด หรอื ส่ิงอน่ื ๆ ทปี่ ลอดภยั

การบรรจภุ ัณฑเ ปน สวนหนึ่งของกระบวนการทางการตลาด โดยเฉพาะปจจุบันที่
การผลติ สนิ คา หรอื บริการไดเ นน หรอื ใหค วามสาํ คญั กับผบู รโิ ภค (Consumer Oriented) จะไดเห็น
วาการบรรจุภัณฑมีบทบาทมากขึ้นเพราะตัวสินคาในปจจุบันมีนวัตกรรม (Innovation) หรือการ
พัฒนาตวั สินคานอย จงึ ตอ งเนนกันท่ีบรรจุภัณฑก ับการบรรจหุ ีบหอ (Packaging) แทน

การออกแบบบรรจภุ ณั ฑ | 219

11.3บทบาทหนาท่ขี องบรรจภุ ัณฑ

11.3.1 บทบาทหนาท่ีดานโลจิสตกิ ส
1. การรับรองสนิ คา (Contain) บรรจุภัณฑจะทาํ หนา ท่รี องรับสนิ คาใหรวมกนั อยู

เปน กลมุ หรือตามรูปรางของภาชนะ ทาํ ใหส ะดวกในการเกบ็ รักษา ขนสงลาํ เลียง และการบรโิ ภค
2. การปองกัน (Protection) บรรจุภัณฑทําหนาที่ปองกันคุมครองสินคาท่ีอยู

ภายในจากความเสียหายดวยเหตุตางๆ ท้ังจากสภาพแวดลอม การขนสงโยกยาย เพ่ือใหสินคาคง
สภาพเดมิ มิใหเกิดการขีดขวน ยุบ สลาย แตกหัก สญู หาย ฯลฯ

3. การรักษา (Preserve) บรรจุภัณฑชวยรักษาคุณภาพของสินคาใหคงเดิม
ตั้งแตผผู ลิตจนถึงมอื ผูบ รโิ ภคสุดทาย รวมทง้ั ระหวางการใชงานของผูบริโภคดวย

4. การขนสง (Transportation) บรรจุภัณ ฑ ชวยทําใหการขนสงสินคา
ไปยังแหลงตลาดเปนไปดวยความสะดวกรวดเร็ว ปลอดภัย และตนทุนที่เหมาะสม เชน การใช
ตูคอนเทนเนอร (Container) ในการขนสงสินคาจํานวนมาก ไปยังระยะทางไกล ๆ รวมท้ังการใช
บรรจุภัณฑเพ่ือการขนสง (Shipping Packaging) แบบตาง ๆ เชน กลอง ลัง กระบะ (Pallet) ฯลฯ
ซึ่งบรรจุภัณฑเปนส่ิงจําเปนในการกระจายสินคาเปนระบบที่ทําใหผลผลิตเกษตรและอุตสาหกรรม
สามารถเคล่อื นยายจากไรส โู รงงาน ไปยงั ผบู รโิ ภคได

11.3.2 บทบาทหนาทที่ างการตลาด
1. การสื่อสารทางการตลาด (Communication) การบรรจุภัณฑทําหนาท่ีใน

การสอ่ื สารไปยงั ผบู ริโภคได สามารถแบงออกเปน ดังน้ี
- การบงชี้ (Identify) บรรจุภัณฑ บงบอกถึง สินคา บริษัท ตราสินคา ของ

ผผู ลิต เพ่ือใหต รงกบั ความตองการผบู รโิ ภค
- การใหขอมลู (Inform) บรรจุภณั ฑ ในสวนของฉลาก (Label) ชวยใหขอมลู

กบั ผูบ ริโภคในดานตาง ๆ ได เชน สรรพคณุ สวนผสม วิธีการใชง าน ขอ ควรระวัง
- การแสดงตัวของสินคา (Presentation) บรรจุภัณฑ ชวยสื่อความหมาย

ของบคุ ลกิ ภาพของสินคา ภาพลักษณข องสินคา โดยสื่อความหมายผา นรูปรา งลกั ษณะ การออกแบบ
การใชสีหรอื พน้ื ผิวตางๆ

- บรรจุภณั ฑ ใชใ นการแบง สวนการตลาด (Market Segmentation) โดย
การแสดงคณุ ลักษณะ หรอื ตําแหนง ของสินคา ผา นบรรจุภณั ฑ ท่ีแตกตา งจากขนาด เชน ขนาดใหญ
สําหรบั ครอบครวั ขนาดเล็กสาํ หรบั ใชคนเดยี ว

- การดึงดูดความสนใจ (Consumer Appeal) บรรจุภัณฑที่ไดรับการ
ออกแบบใหมคี วามสะดดุ ตา ชว ยใหก ระตุน และดงึ ดูดความสนใจจากผูบ ริโภคได

220 | การออกแบบบรรจภุ ณั ฑ

2. การสงเสรมิ ทางการตลาด
- การสรางเสริมภาพลักษณของสินคา บรรจุภัณฑที่มีการออกแบบใหมให

ทนั สมัย เปนการชวยสรางมูลคาเพมิ่ (Value Added) ใหแกส นิ คา
- การสง เสรมิ การขาย เชน การหบี หอ รวม (Multiple Pack) ทําใหผ บู ริโภค

ซอ้ื สินคา ไดใ นจํานวนมากตอคร้ัง
- ชวยกระตุนการซ้ือแบบฉับพลับ (Impulse Buying) บรรจุภัณฑรวมกับ

การแสดงสนิ คา ณ จดุ ขาย ชว ยใหผูบ ริโภคสะดดุ ใจ และตัดสนิ ใจซ้อื โดยมไิ ดวางแผนมากอน
- ผลดานการขาย เชน การรักษาสวนครองตลาด โดยผานกลยุทธการตลาด

ท่ีเก่ียวกับการบรรจุภัณฑ เชน การหีบหอของสายผลิตภัณฑ ทําใหผูบริโภคจดจําสินคาไดงาย
สรางเอกลักษณของสินคา และการเปลี่ยนแปลงหีบหอชวยในการจําหนายสินคา เพราะทําใหเกิด
ความต่นื ตัวในสายตาผูบ รโิ ภคจึงกระตุนยอดขายได

11.3.3 บทบาทหนา ท่ตี อผบู ริโภค สังคม และเศรษฐกิจ
1. บทบาทหนาทต่ี อผบู รโิ ภค
- บรรจุภัณฑทําใหผูบริโภคมีความสะดวกสบายในการเลือกซื้อสินคา และ

การบริโภค ซ่ึงถาปราศจากบรรจุภัณฑ จะทําใหเกิดการจํากัดขอบเขตในการเลือกซื้อ ผูบริโภคจะ
สามารถบรโิ ภคสินคาไดเฉพาะที่มีอยูในทอ งถ่นิ

- บรรจุภัณฑใ หความสะดวกสบายในการดํารงชีวติ แกผูบริโภค เชนผลิตภัณฑ
อาหารสําเรจ็ รปู กึง่ สําเร็จรปู นอกจากนบี้ รรจุภัณฑยังใหความสะดวกในการใชส นิ คา เชน การเปด-ปด
การพกพา และชว ยประหยัดเวลาในการซอ้ื สนิ คาท่ีมกี ารชงั่ วัด ตวง

- บรรจภุ ัณฑช ว ยใหเ กิดความปลอดภัยแกผูบรโิ ภค เชน ปอ งกันสินคาเนาเสยี
ปองกันเชอ้ื โรค และปอ งกนั ผลติ ภัณฑท ท่ี าํ ใหเ กดิ พษิ อันตราย

- บรรจภุ ัณฑชวยลดคาใชจายใหแกผ ูบรโิ ภคในการเลือกซื้อ
2. บทบาทตอ สังคม และเศรษฐกจิ

- การบรรจุภัณฑชวยลดคาใชจายในการผลิตและขนสง เชนโรงงาน
อุตสาหกรรมบรรจสุ ินคา โดยใชเครื่องจักรอัตโนมตั ิจะลดคา ใชจา ยในการจางแรงงาน

- การบรรจุภัณฑท่ีมีนํ้าหนักเบาและรูปแบบกะทัดรัดจะชวยลดคาขนสง
บรรจุภณั ฑท ด่ี ชี วยลดความเสยี หายในการขนสง จงึ ชวยประหยัดคาใชจ ายและทรพั ยากร

- บรรจุภัณฑชวยลดราคาขายปลีกของสินคา เชน ในเมืองใหญ ๆ มีระบบ
จําหนายสินคาเปนแบบลูกคาบริการตนเอง สินคาเกือบทุกชนิด จะบรรจุปริมาณคงท่ีโดยใชหีบหอ
ไมจาํ เปน ตองจางพนกั งาน ทาํ ใหทางรานลดคา ใชจ า ย และสามารถขายสนิ คาในราคาทตี่ ่ําลง

การออกแบบบรรจภุ ัณฑ | 221

- ระบบการผลติ และการบรรจุสินคาในโรงงานอุตสาหกรรม ชว ยทําใหมีการ
นําทรัพยากรเหลือใชมาทําประโยชนได เชน การแปรรูปผลิตภัณฑอาหารในโรงงานผลิตอาหาร
กระปองจะมีสวนเหลือทิ้งซ่ึงมากพอจะนําไปใชประโยชน ในการทําวัตถุพลอยไดอื่น ๆ เชน ปุย
อาหารสัตว

- บรรจุภัณฑชวงปองกันความเสียหายของผลผลิต เชน ผลิตผลทาง
การเกษตร

- บรรจุภัณฑชวยเพิ่มเงินตราของประเทศจากการสงออก สินคาสงออกมัก
ไดรบั การดแู ลและใชบรรจภุ ัณฑ สินคาจะมีความเสียหายในปรมิ าณมาก เนอื่ งจากจุลินทรีย และการ
ขนสงตลอดจนจากสภาพแวดลอ ม

- บรรจุภัณฑชวยเพ่ิมเงินตราของประเทศจากการสงออก สินคาสงออกมัก
ไดร บั การดูแลและใชบ รรจภุ ณั ฑทเ่ี หมาะสม เพอ่ื คุมครองในการขนสง รกั ษาคุณภาพสนิ คา ใหเปน ไป
ตามระเบียบขอ บงั คับของประเทศผูขายและผูซื้อ และเพอื่ สรางมูลคา เพิม่ ใหกบั ตวั สนิ คาดวย

- บรรจุภัณฑที่มีผลตอส่ิงแวดลอม บรรจุภัณฑที่ใชแลวเปนสวนที่สําคัญของ
ขยะมลู ฝอยวัสดบุ รรจุภัณฑห ลายชนิดยอยสลายไดยากตามธรรมชาติ เมื่อประกอบกบั พฤตกิ รรมการ
ทิง้ ไมเลือกทขี่ องประชาชนดวย แลวจงึ กอใหเกิดปญหาดานสิ่งแวดลอ ม

- บรรจภุ ณั ฑท่ีมีผลทางดานสาธารสุข การบรรจุภณั ฑมสี ว นสําคญั ตอสขุ ภาพ
ของประชาชน โดยเฉพาะอยางย่ิงผลิตภัณฑอาหาร ยา ผลิตภัณฑเก่ียวกับการแพทย สารพิษ และ
สินคาอันตราย เชน โรงพยาบาลมีการใชอุปกรณการแพทยที่บรรจุและฆาเช้ือแลวเฉพาะอัน ไดแก
หลอดและเข็มฉีดยา ผาทําแผล ระบบบการบรรจุท่ีสะอาดไดมาตรฐานทําใหมาตรฐานการแพทยดี
ขน้ึ

- บทบาทของบรรจุภัณฑตอการพัฒนาอุตสาหกรรมและการจางงาน
การบรรจุภณั ฑเปนกจิ กรรมท่ีสาํ คัญทางธุรกิจเพราะการแขงขนั ในตลาดมีสูงขึน้ การพัฒนาการบรรจุ
และหีบหอ มสี ว นสําคญั ตอการแขง ขนั ทําใหม ีการพฒั นาในอตุ สาหกรรมการบรรจุภัณฑอยางรวดเร็ว
ท้ังในดานวัสดุ เทคโนโลยี เคร่ืองจักรอปุ กรณตา ง ๆ กระบวนการบรรจุและหีบหอ ทําใหเกิดการจาง
งานบุคลากรฝา ยตาง ๆ เชน อาชีพนกั ออกแบบผลิตภัณฑ งานดา นกราฟฟก ดไี ซน

11.4 ประเภทของบรรจภุ ณั ฑ

สามารถจําแนกประเภทบรรจภุ ัณฑ โดยใชเ กณฑตาง ๆ ไดด งั นี้

222 | การออกแบบบรรจภุ ณั ฑ

11.4.1 จําแนกตามวตั ถุประสงคข องบรรจุภณั ฑ
1. การบรรจุภัณฑเพ่ือปองกันผลิตภัณฑ การบรรจุประเภทน้ีจะตองมีความ

แข็งแรงทนทานตอความช้ืน หรือการลักขโมยได เชน ผลิตภัณฑมันทอดจะตองรักษาความกรอบ
เอาไวจนถงึ มอื ผบู รโิ ภค จงึ จาํ เปน ท่ีจะตอ งใชพลาสตกิ

2. การบรรจุภัณฑเพ่ือการสงเสริมผลิตภัณฑ การบรรจุภัณฑประเภทน้ีจะมีสีสัน
และรูปแบบท่สี ะดุดใจผบู รโิ ภค ทําใหผูบ รโิ ภคเกดิ ความตอ งการที่จะซื้อ การบรรจุในลักษระนี้สวนใหญจะ
ใชกบั ผลิตภัณฑเพอื่ การบริโภคโดยตรง เชน กลองผลติ ภัณฑขนมอบกรอบ

3. การบรรจุภัณฑเพื่อสงเสริมผลิตภัณฑอื่น การบรรจุประเภทน้ีการบรรจุหรือ
ภาชนะท่ีบรรจุจะชวยสงเสริมผลิตภัณฑประเภทอ่ืน เชน การใชพลาสติกในการบรรจุภัณฑเพื่อกัน
อากาศและน้าํ

4. การบรรจุภัณฑท่ีเปนสวนประกอบของผลิตภัณฑ การบรรจุภัณฑประเภทนี้
ภาชนะที่ใชใ นการบรรจุทาํ ดวยชนิ้ สวนหรือสวนประกอบของผลติ ภัณฑ

5. การบรรจุที่ใหความสะดวกตอพอคาคนกลาง ซึ่งการบรรจุประเภทนี้จะมี
ลกั ษณะทสี่ ะดวกตอการจัดสงและสะดวกตอการแบง จาํ หนาย เชน บรรจกุ ลองเลก็ ในกลอ งกลาง

6. การบรรจุประเภทปองกันการฉกฉวย การบรรจุประเภทน้ีจะตองเปนการ
บรรจุอยา งแนนหนาและมิดชิด เชน บรรจลุ งในกลอ งโลหะหรือลงั ไม

7. การบรรจุเพ่ือประหยัดเนื้อท่ี การบรรจุประเภทนี้จะคํานึงถึงการเก็บรักษา
และการขนสงเปนสําคัญ คือจะบรรจุใหสามารถใชพ้ืนท่ีไดพอดี ไมเสียเน้ือท่ี เชน ผลิตภัณฑบาง
ประเภทจะเก็บรักษาโดยการเรียงบนช้ันวางของในคลังสินคา ขนาดของการบรรจุจะตองใหสามารถ
วางบนชั้นวางของไดพอดี

8. การบรรจุเพ่ือเปนการปองกันเด็ก การบรรจุประเภทนี้เปนการบรรจุเพ่ือ
ปองกันอันตรายท่ีอาจเกดิ ขน้ึ กบั เด็กได คอื ผลติ ภณั ฑบางประเภทเปนส่งิ อนั ตราย ซ่ึงเดก็ อาจจะนําไป
เลน แลว ทาํ ใหเกดิ อนั ตรายได การบรรจุจงึ ตอ งกระทาํ อยา งแนนหนา และมฉี ลากบอกวา เปนอันตราย
ตอ เดก็

9. การบรรจุที่เปน การลดตนทุนในการจัดจําหนาย การบรรจุประเภทนี้เปนการ
บรรจุที่ใชภาชนะ ราคาถูก สะดวกและประหยัดตอการจัดสง และการเก็บรักษาซ่ึงเปนส่ิงสําคัญใน
ดา นการจัดจาํ หนาย

11.4.2 จาํ แนกตามวิธีการบรรจุและการขนถาย
1. บรรจุภณั ฑเฉพาะหนวย (Individual Package) คือบรรจุภณั ฑทีส่ ัมผัสอยูกับ

ผลิตภัณฑหรือใชรองรับ หอหุมตัวผลิตภัณฑจริงๆ อาจเรียกวา บรรจุภัณฑข้ันแรก (Primary

การออกแบบบรรจภุ ัณฑ | 223
Package) เชน หลอดยาสีฟน ตลับแปงทาหนา กลองนม ขวดนํ้าหอม บรรจุภัณฑชั้นแรกเฉพาะ
หนวยน้ีอาจกําหนดใหมีรูปรางลักษณะตาง ๆ เชน เปนขวด กระปอง หลอด ถุง กลอง หรืออาจมี
ลักษณะพิเศษเฉพาะ ทําใหมีรูปรางที่เหมาะแกการจับมือและอํานวยความสะดวกตอการใช
ผลติ ภัณฑภายใน

ภาพที่ 11.1 บรรจุภัณฑเ ฉพาะหนว ย
2. บรรจภุ ณั ฑช้ันใน (Inner Package) หรือบรรจุภัณฑร อง หรือขัน้ ทุติยภมู ิ หรือ
บรรจุภัณฑช้ันท่ี 2 (Secondary Package) หมายถึงบรรจุภัณฑท่ีอยูถัดออกมาเปนช้ันที่สองอาจทํา
หนาท่ีรองรับ หรือหอหุมกลองนํ้าหอม หรือทําหนาท่ีรวบรวมบรรจุภัณฑข้ันแรก เขาไวดวยกันเปน
ชุด เพ่ือปองกันรักษาผลิตภัณฑ และอํานวยความสะดวกแกการจําหนาย เชน กลองกระดาษบรรจุ
นม จาํ นวน 1 โหล

ภาพท่ี 11.2 บรรจุภณั ฑช ัน้ ใน

224 | การออกแบบบรรจุภณั ฑ

3. บรรจุภัณฑชั้นนอกสุด (Outer Package) หมายถึงบรรจุภัณฑท่ีเปนหนวย
รวมขนาดใหญในการขนสง เรียกวา บรรจุภัณฑเพ่ือการขนสง (Shipping or Transportation
Package) บรรจุภัณฑชั้นน้ีใชรองรับ หอหุมบรรจุภัณฑชั้นท่ี 1 หรือ 2 ทําหนาท่ีรวบรวมสินคาเขา
ดวยกันเปนหนวยใหญ เพ่ือความปลอดภัย และความสะดวกในการเก็บรักษาและการขนสง เชน
ลงั บรรจขุ วดน้ําอดั ลม กลองกระดาษลกู ฟกู บรรจเุ บียร 2 โหล

ภาพที่ 9.3 บรรจภุ ณั ฑช ั้นนอกสดุ
11.4.3 จาํ แนกตามระดับบรรจุภณั ฑข องการจาํ หนา ย

1. บรรจภุ ณั ฑผูบ ริโภค (Consumer Package) หรอื บรรจุภัณฑเพื่อการขายปลกี
(Retail Package) เปนบรรจุภัณฑท่ีผูบริโภคไดรับ หรือซื้อไปใช หรือใชในการวางจําหนายในรานคา
ปลกี เชน การซื้อนํา้ หอม ในขณะท่วี างโชวในตโู ชวจะโชวเ ฉพาะขวดนํ้าหอม มิไดบ รรจใุ นกลอ งอีกแต
เมื่อผูบรโิ ภคซือ้ ไป จะไดรับการบรรจุภัณฑท้งั 2 ชั้นคือ ขวดนา้ํ หอม และบรรจุลงกลอง

2. บรรจุภัณฑอุตสาหกรรม (Industrial Package) หรือ อาจเรียกวาบรรจุภัณฑ
เพ่ือการขนสงมีลักษณะเชนเดียวกันกับ บรรจุภัณฑช้ันนอกสุด คือทําหนาท่ีเพ่ือการรวบรวม
สนิ คา เขาเปนหนว ยใหญ เพ่ือการปกปองรักษา และสะดวกในการขนสง

การออกแบบบรรจภุ ัณฑ | 225

11.4.4 จาํ แนกตามวัสดุทีใ่ ชผ ลติ
1. บรรจุภัณฑพลาสติก เปนชนิดท่ีนิยมใชในปจจุบัน ในรูปรางลักษณะตาง ๆ

เชน ขวด กลอง ลัง ถุง กระปอง ฟลมพลาสติก ท้ังในระดับบรรจุภัณฑผูบริโภคและบรรจุภัณฑเพื่อ
การขนสง

2. บรรจภุ ัณฑแกว เซรามิคส เครื่องปนดินเผา เครื่องกระเบื้อง เครื่องลายคราม
เปน บรรจุภัณฑประเภทหนง่ึ ทมี่ กี ารผลิตและใชม าตั้งแตอดตี จนถึงปจจุบัน

3. บรรจุภัณฑท่ีไดจากพืช – ผัก ที่สําคัญคือ บรรจุภัณฑกระดาษ ซ่ึงมีการผลิต
ในหลากหลายรูปแบบ เชน กลอ ง ลงั ถุง แผน กระดาษ

4. บรรจุภัณฑโลหะ ไมวาจะเปน อลูมิเนียม แผนเหล็กไรดีบุก ทองแดง โลหะ
ผสม ฯลฯ ที่ทาํ เปน ภาชนะหบี หอในรูปตางๆ เชน กระปอง ถงั โลหะ ปบ

5. บรรจุภัณฑชนิดวัสดุผสม ในปจจุบันมีการผสมผสานการใชวัสดุหลายชนิด
รวมกันในการผลิตบรรจุภัณฑ เชนท่ีเรียนวาระบบลามิเนต (laminate) อาจเปนการใชวัสดุ 2-3
ชนดิ ประกบกัน เชน พลาสติก-กระดาษ พลาสตกิ -กระดาษ-โลหะ พลาสติก-กระดาษ-พลาสติก เปน
ตน

11.5กลยุทธการตลาดสีเขียวกับการบรรจภุ ัณฑ

11.5.1 บรรจภุ ณั ฑก บั ปญ หาสง่ิ แวดลอ ม ซง่ึ มผี ลกระทบตอส่ิงแวดลอมหลายดาน
ดว ยกนั

1. เปนสวนสาํ คญั ในขยะมูลฝอย ในปจ จุบันปริมาณขยะไดเพิม่ ขนึ้ อยางรวดเร็ว
และเปนปญหาในการเก็บรวบรวมพ้ืนที่ในการเทกอง และการกําจัด ซ่ึงวิธีกําจัดโดยท่ัวไปอาจ
กอใหเกดิ ผลกระทบตอ สิ่งแวดลอ ม สว นวธิ กี ําจดั ทล่ี ดปญหาสิง่ แวดลอ มจะมคี า ใชจายที่สงู

2. การท้ิงเกล่ือนกลาดไมเลือกท่ี การท้ิงไมเลือกท่ีเกิดจากพฤติกรรมที่ไมมี
ความรับผิดชอบและการตอตานสังคมของมนุษย หรือเกิดจาการรวบรวมขยะที่ไมมีประสิทธิภาพ
การใชพลาสติกพลาสตกิ ชีวภาพ เพื่อการบรรจุภัณฑน้นั คาดวาจะชวยใหพลาสติกยอยสลายไปไดหลัง
การใชงานในเวลาไมนาน

3. ทําใหช้ันโอโซนลดนอยลง การลดนอยลงของช้ันโอโซนในแถบข้ัวโลกเหนือ
และขั้วโลกใตน้ัน เปนท่ียอมรับวา เกิดมาจากสารซีเอฟซีท่ีเพ่ิมมากขึ้น ซึ่งสารนี้จะใชในการผลิต
โฟมพลาสติก

4. ทําใหเกิดมลพษิ ในอากาศ การผลิตหรือการทําลายบรรจุภณั ฑอาจทําใหเ กิด
สารพิษในอากาศ ในประเทศที่พฒั นาแลวจะมีกฎหมายควบคมุ ผูผลติ กฎหมายเหลา น้ีอาจจะไมม ผี ล
บงั คับในประเทศที่กําลังพัฒนา

226 | การออกแบบบรรจภุ ณั ฑ

5. ทําใหเกิดมลพิษในนํ้า สถานภาพของมลพิษในนํ้าคลายคลึงกับมลพิษใน
อากาศ ในประเทศอุตสาหกรรมจะมีกฎระเบียบควบคุมการปลอยสารพิษลงในแมนํ้าลําธารหรือใน
ชน้ั นํา้ ใตด ิน

6. ทําใหเกิดมลพิษในทะเลและมหาสมุทร ในทะเลและมหาสมุทรจะมีขยะ
เกอื บทกุ ชนิดตัง้ แตสารเคมที ่ีเปน อนั ตรายจนถึงบรรจภุ ณั ฑท ่ีใชแลว บรรจุภัณฑใ ชแลว ที่ท้ิงลงในทะเล
จะสะสมกนั อยูบนหาดทรายและใตทะเลและบางครั้งเปนอันตรายตอสตั วท ะเลและนก

7. ทําใหทรัพยากรธรรมชาติลดนอยลง พลังงานที่ไดจากน้ํามันและกาช
ธรรมชาติมันใชเพ่ือการคมนาคม และการขนสง พลังงานสวนนอยจะใชเพ่ือการผลิตบรรจุภัณฑ
แตภาพลักษณข องบรรจุภณั ฑพลาสตกิ ไดส งผลตรงกนั ขามในสายตาของผูบรโิ ภค การใชพ ลังงานจะ
ทําใหปริมาณของคารบอนไดออกไซดในบรรยากาศเพ่ิมมากข้ึนเน่ืองการการเผาไหม และจะทําให
โลกรอนข้ึน การใชเช้ือเพลิงในการผลิตบรรจุภัณฑจึงนับไดวาทําใหทรัพยากรลดลงและทําใหเกิด
มลพิษอีกดว ย

11.5.2 การใชก ลยุทธบรรจภุ ัณฑเพอ่ื ลดปญ หาส่งิ แวดลอ ม
1. กลยุทธการหมุนเวียนนํากลับไปใชประโยชน (Recycle) โดยการรวบรวมนํา

บรรจภัณฑท่ีใชแลว กลับมาแปรรูป เพื่อหมุนเวียนผลิตใหมวัสดุท่ีสามารถนํามาแปรรูปกลับมาใช
ผลติ เปนบรรจภุ ณั ฑไ ดใ หม ไดแก กระดาษ พลาสติก แกว

2. การลดการใชบรรจุภัณฑ (Reduce) โดยการหลีกเล่ียงการใชบ รรจุภัณฑท่ีไม
จาํ เปนในการกระจาย การขายปลีก การเก็บหรือความปลอดภัยของสินคา บรรจุภัณฑท่ีจําเปนตอง
ใชค วรมีโครงสรางนํา้ หนักที่เบาเทา ท่จี ะทําได การออกแบบบรรจภุ ณั ฑใ หมควรใชวัสดเุ ทาทจ่ี ําเปน

3. การใชซ้ํา (Reuse) การนําบรรจุภัณฑท่ีใชแลว ทําความสะอาดและใชบรรจุ
สนิ คาซํ้าอีกจะชวยประหยัดทรัพยากร การใชซํ้าเปนการนําบรรจุภัณฑมาใชในลักษระเดิมโดยไมตอง
แปรรปู หรือเปลีย่ นรูปทรง อาจทาํ โดยผูผ ลติ เชน รับซอ้ื ขวดแกวที่ใชแลวมาบรรจสุ ินคา

4. หลีกเลี่ยงการใชบรรจภุ ณั ฑท ่ที าํ ลายสิ่งแวดลอ ม (Reject) บางประเทศหา มใช
พลาสติกพีวซี ีเปน บรรจภุ ัณฑที่เปนผลจากความกลวั ท่ีวาเม่ือนําไปเผาแลวจะทาํ ใหก ลดไฮโดรลกิ และ
สารไดออกซนิ แพรกระจาย สารไดออกซินมพี ษิ รุน แรงตอมนษุ ยและสัตว และเปนสารกอ มะเร็ง

5. การใชบรรจุภัณฑชนิดเติม (Refill) เปนวิธีการสืบเน่ืองจากความพยายามใน
การลดการใชทรัพยากรในการผลิตบรรจุภัณฑจึงเกิดวิธีการบรรจุสินคาในถุงเดิม เพ่ือประหยัดท้ัง
คาใชจายของผูบริโภค และคาบรรจุภัณฑดวย เชน ครีมอาบนํ้า ซื้อคร้ังแรกซ้ือแบบมีฝาจุก เม่ือใช
หมดแลว ซอื้ ถุงชนิดเตมิ มาใชแทนซง่ึ มีราคาทตี่ า่ํ กวา

การออกแบบบรรจภุ ัณฑ | 227

6. การใชวัสดธุ รรมชาติหรือวัสดทุ ่ียอยสลายได มาทําบรรจุภณั ฑ วัสดุธรรมชาติ
หลายชนิด เชน กระดาษ ไม เย่ือไม พลาสติกชีวภาพ สามารถยอยสลายไดตามธรรมชาติในเวลาไม
นานนัก

7. การใชฉลากสินคาเพ่ือสิ่งแวดลอม (Eco-Labeling) ฉลากสินคาเพื่อ
ส่ิงแวดลอม คือ การใชส ัญลักษณ แสดงวาสินคา และบรรจุภณั ฑน้นั มีผลกระทบตอสิ่งแวดลอมนอย
มาก

ภาพท่ี 11.4 ฉลากสินคา เพอ่ื สิ่งแวดลอ ม

11.6บรรจภุ ณั ฑเพ่อื การนาํ เขา และสงออก

11.6.1 ปจ จยั ในการพิจารณาบรรจุภัณฑเ พื่อโลจิสติกสและการสง ออก
ปจจัยในการพิจารณาบรรจุภัณฑเพื่อโลจิสติกสและการสงออก ตองสอดคลอง

กับกฎระเบียบและระบบการตลาดของประเทศผนู าํ เขา สนิ คาเพือ่ การสง ออก โดยมีรายละเอียดดังนี้
11.6.1.1 ปจจัยพิจารณาการบรรจุภัณฑเพื่อการขนสง ในระบบการขนสงและ

กระจายสินคาไปยังผูบริโภคนั้น ในการเคล่ือนยาย เก็บรักษาและขนสงสินคา จากตนทางไปยัง
ปลายทาง สามารถทําไดโดยพจิ ารณาจากปจจยั ตาง ๆ ดังนี้

1. ปจ จัยเกีย่ วกับลักษณะความเสยี หายที่อาจเกิดข้นึ กบั สนิ คา
- ทราบรายละเอียดเกี่ยวกับธรรมชาติของสินคา วามีคุณสมบัติ

ตา งๆ อยางไร รวมถึงภาชนะบรรจทุ ี่ใช
x คุณสมบัติของกายภาพของสินคา เชน สินคาท่ีสถานะเปน

ของแขง็ ของเหลว กา ซ มีลกั ษณะเปนเม็ด เกลด็ ผล แทง เปนตน

228 | การออกแบบบรรจภุ ณั ฑ

x คุณลักษณะหรือธรรมชาติของสินคา เชน แตกหักงาย
มีกล่ิน บดู เนา ไดง า ยเปน พษิ ระเหยไดง าย เหนียว สึกกรอนได เปนตน

สินคาถูกทําใหเสียหายไดอยางไรบาง เชน การชนหรือกระแทก
การสั่นหรือเขยา การบดขยี้ การเปล่ียนแปลงของสภาวะอากาศ การขดั สี การถูกแสง การสัมผัสกับ
กา ซชนิดตาง ๆ วางปนกบั สนิ คา บางประเภทไมได เปน ตน

- ทราบรายละเอียดระบบการขนสงที่จะใชวาวิธีการขนสงและ
เสนทางการขนสงท่ีจะใชข้ันตอนตาง ๆ เชน การขนสงข้ึนหรอื ลง การเคลื่อนยาย การเก็รักษา และ
สภาพอากาศแวดลอม และเหตุการณืทีท่ าํ ใหสินคาเสยี หาย

x ความเสียหายจากเหตกุ ารณตางๆ ที่อาจเกิดกับสินคา เชน
การกระแทก และการถกู ชน การเขยา การสน่ั การกดทบั การลาก และบดิ ใหเ สียรปู การทมิ่ การฉีก
เปน ตน

x ความเสียหายจากสภาพอากาศแวดลอม เปนผลมาจาก
การเปลย่ี นแปลงความช้นื สัมพัทธข องอากาศ การเปล่ียนแปลงของอุณภมู ิ การสัมผัสกบั แสง เปน ตน

x ความเสียหายจากสาเหตุอ่ืน ๆ เชน จากสิ่งมีชีวติ จากการ
ปนเปอ น

2. ปจ จัยเกี่ยวกับความประหยัดในระบบการขนสงและการกระจาย
สินคาเปนปจจัยที่ตองพิจารณาเพ่ือใหเกิดความประหยัดในระบบการขนสง ควรคํานึงถึง
ขนาด นํ้าหนัก จํานวน ปริมาตร และเสถียรภาพของสินคา วามีความเหมาะสมกับอุปกรณหรือ
พาหนะตาง ๆ ที่เกี่ยวของในการเคล่ือนยายเก็บรักษา และขนสงหรือไม จะสามารถทําใหเกิดความ
เหมาะสมเพ่อื ใหเกิดความประหยดั ในระบบการขนสง ไดอยางไร

3. ปจจยั ดา นการผลติ สินคา ควรคาํ นึงถงึ เรอื่ งตอ ไปน้ี
- การปดภาชนะบรรจภุ ณั ฑ มีวิธีปดอยางไร
- การบรรจุ ตองมีภาชนะบรรจุมีความเหมาะสมดานขนาด

และรูปทรางกบั ระบบการบรรจุหรอื ไม
- การเสริมความแข็งแรงของภาชนะบรรจุในระหวา งการผลติ
- การจดั สินคา เปน หนว ยเดียวสามารถทําไดห รอื ไม
- การลําเลืองหรือเคล่ือนยายระหวางบรรจุ ซึ่งภาชนะบรรจุมี

ขนาดท่เี หมาะสมกับอุปกรณลําเลยี ง หรอื เคล่ือนยายหรือไม
4. ปจจัยดานความสะดวกในการใชงานของผูบริโภค ควรคํานึง

ถึงเร่อื งตอไปน้ี


Click to View FlipBook Version