The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

โครงสร้างและแผนการสอน วิชาคณิตศาสตร์ ป.2 เทอม 1-63

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by จิรพงศ์ ไมตรีจิตร, 2020-06-13 09:12:18

โครงสร้างและแผนการสอน วิชาคณิตศาสตร์ ป.2 เทอม 1-63

โครงสร้างและแผนการสอน วิชาคณิตศาสตร์ ป.2 เทอม 1-63

โครงสรา้ งการสอน วชิ า คณิตศาสตร์ ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 2 โปรแกรม ESC

ภาคเรียนที่ 1 ปีการศกึ ษา 2563 เวลา 80 ช่ัวโมง

หน่วยท่ี ชื่อหน่วยการ มาตรฐาน/ตวั ชี้วดั สาระสาคญั เวลา น้าหนัก
1 เรียนรู้ (ช่วั โมง) คะแนน

จำนวนนบั ไม่เกิน มาตรฐาน ค 1.1 เขำ้ ใจควำม - กำรนบั เพมิ่ ครัง้ ละเทำ่ ๆ 16 10
1,000และ 0
หลำกหลำยของกำรแสดงจำนวน กัน คือ กำรนบั เพ่ิมจำก

ระบบจำนวน กำรดำเนนิ กำรของ จำนวนทเ่ี รม่ิ ต้นคร้งั ละเทำ่

จำนวน ผลที่เกดิ ขน้ึ จำกกำรดำเนินกำร ๆ กนั

สมบัติของกำรดำเนนิ กำร และนำไปใช้ - บอกจำนวนของส่งิ ต่ำงๆ

ตัวชีว้ ดั ท่ี ป. 2/1 บอกจำนวนของ ไดจ้ ำกกำรนบั

สงิ่ ตำ่ ง ๆ แสดงสงิ่ ต่ำง ๆ ตำม - กำรนบั เพ่มิ คร้ังละเทำ่ ๆ

จำนวนทก่ี ำหนด อ่ำนและเขยี น กัน คอื กำรนับเพ่ิมจำก

ตวั เลขฮนิ ดอู ำรบิก ตัวเลขไทย จำนวนที่เริม่ ตน้ คร้ังละเท่ำ

ตัวหนังสือแสงจำนวนนับไมเ่ กิน ๆ กนั

1,000 และ 0 -จำนวนสำมหลัก ถ้ำเลข

ตวั ชวี้ ดั ที่ ป. 2/2 เปรยี บเทียบจำนวน โดด 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9

นับไม่เกิน 1,000 และ 0 โดยใช้ อยู่ในหลักหนว่ ย มคี ำ่ เปน็

เคร่ืองหมำย = * > < 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 ถำ้

ตัวช้ีวดั ที่ ป. 2/3 เรียงลำดับจำนวน อยู่ในหลักสิบ มีค่ำเป็น 0

นับไม่เกนิ 1,000 และ 0 ตง้ั แต่ 3 ถึง 10 20 30 40 50 60 70

4 จำนวนจำกสถำนกำรณต์ ่ำง ๆ 80 90 และเลขโดด 1 2 3

4 5 6 7 8 9 ถำ้ อยู่ในหลัก

ร้อย มคี ำ่ เป็น 100 200

300 400 500 600 700

800 900 ตำมลำดบั

-1,000 เป็นจำนวนสีห่ ลัก

เลขโดด 1 ในหลักพันมีคำ่

1,000

-กำรเขียนแสดงจำนวนใน

รปู กระจำยเปน็ กำรเขยี น

ในรปู กำรบวกค่ำของเลข

โดดในหลักตำ่ ง ๆ ของ

จำนวนนน้ั

โครงสรา้ งการสอน วชิ า คณติ ศาสตร์ ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 2 โปรแกรม ESC

ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศึกษา 2563 เวลา 80 ชว่ั โมง

หนว่ ย ช่ือหน่วยการ มาตรฐาน/ตวั ชี้วัด สาระสาคัญ เวลา(ชม.) น้าหนกั
ที่ เรยี นร/ู้ เรอื่ ง / สปั ดาห์ คะแนน

1 จำนวนนับไม่ มาตรฐาน ค 1.1 เขำ้ ใจควำม -กำรเปรียบเทียบจำนวน

เกิน1,000และ หลำกหลำยของกำรแสดงจำนวน ระบบ สองจำนวนจะใชค้ ำวำ่

0 จำนวน กำรดำเนินกำรของจำนวน ผลท่ี เทำ่ กบั มำกกวำ่ น้อย

เกิดข้ึนจำกกำรดำเนนิ กำร สมบตั ิของกำร กว่ำ ซงึ่ แทนดว้ ย

ดำเนินกำร และนำไปใช้ เครื่องหมำย = < >

ตวั ชว้ี ัดที่ ป. 2/1 บอกจำนวนของส่ิง ตำมลำดับโดยพิจำรณำ

ต่ำง ๆ แสดงสิง่ ตำ่ ง ๆ ตำมจำนวนท่ี ดังนี้

กำหนด อ่ำนและเขียนตวั เลขฮินดอู ำ -จำนวนทีม่ จี ำนวนหลกั

รบกิ ตัวเลขไทย ตวั หนงั สอื แสง มำกกว่ำจะมำกกวำ่

จำนวนนับไมเ่ กนิ 1,000 และ 0 จำนวนทมี่ ีจำนวนหลัก

ตวั ช้ีวัดที่ ป. 2/2 เปรยี บเทียบจำนวนนับ น้อยกว่ำ
ไม่เกิน 1,000 และ 0 โดยใชเ้ ครอ่ื งหมำย
=*>< − จำนวนทีม่ ีจำนวน
หลักเท่ำกนั ถ้ำเลขโดดใน
ตวั ชว้ี ัดที่ ป. 2/3 เรยี งลำดบั จำนวนนับไม่ หลักรอ้ ยมีค่ำมำกกวำ่
เกนิ 1,000 และ 0 ตง้ั แต่ 3 ถงึ 4
จะมำกกวำ่ ถำ้ เลขโดด
จำนวนจำกสถำนกำรณ์ตำ่ ง ๆ
ในหลกั รอ้ ยมีค่ำเท่ำกัน

จำนวนท่ีเลขโดดในหลกั

สิบมคี ำ่ มำกกว่ำจะ

มำกกวำ่ ถ้ำเลขโดดใน

หลักรอ้ ย หลกั สบิ มีคำ่

เท่ำกนั จำนวนทีเ่ ลขโดด

ในหลกั หนว่ ยมคี ่ำ

มำกกว่ำจะมำกกว่ำ

โครงสร้างการสอน วิชา คณติ ศาสตร์ ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 2 โปรแกรม ESC

ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563 เวลา 80 ช่วั โมง

หน่วยที่ ชอ่ื หน่วยการ มาตรฐาน/ตัวช้ีวัด สาระสาคญั เวลา นา้ หนัก
1 เรยี นรู้ (ชว่ั โมง) คะแนน

จำนวนนับไมเ่ กิน มาตรฐาน ค 1.1 เข้ำใจควำม -กำรเรยี งลำดบั จำนวน

1,000และ 0 หลำกหลำยของกำรแสดงจำนวน อำจทำได้โดยหำจำนวนท่ี

ระบบจำนวน กำรดำเนินกำรของ มำกท่สี ดุ และน้อยทส่ี ดุ

จำนวน ผลทีเ่ กดิ ขนึ้ จำกกำรดำเนนิ กำร ก่อนจำกนน้ั นำจำนวนมำ

สมบตั ขิ องกำรดำเนนิ กำร และนำไปใช้ เรยี งลำดบั จำกมำกไปน้อย

ตัวช้วี ดั ท่ี ป. 2/1 บอกจำนวนของ หรอื จำกน้อยไปมำก

สง่ิ ตำ่ ง ๆ แสดงส่งิ ต่ำง ๆ ตำม - จำนวนท่หี ลักหน่วยเปน็

จำนวนท่ีกำหนด อ่ำนและเขยี น 0 2 4 6 8 เปน็ จำนวนคู่

ตัวเลขฮินดูอำรบกิ ตัวเลขไทย - จำนวนทห่ี ลักหนว่ ยเปน็

ตวั หนงั สอื แสงจำนวนนับไมเ่ กิน 1 3 5 7 9 เปน็ จำนวนค่ี

1,000 และ 0 -แบบรปู ของจำนวนที่

ตัวชว้ี ดั ที่ ป. 2/2 เปรียบเทียบจำนวน เพมิ่ ข้นึ ทลี ะ 2ทลี ะ 5 หรอื

นับไมเ่ กิน 1,000 และ 0 โดยใช้ ทีละ 100 เป็นชุดของ

เครือ่ งหมำย = * > < จำนวนท่มี คี วำมสัมพนั ธ์

ตัวชวี้ ัดท่ี ป. 2/3 เรยี งลำดบั จำนวน กันอย่ำงตอ่ เนื่องใน

นับไมเ่ กิน 1,000 และ 0 ตัง้ แต่ 3 ถงึ ลักษณะของกำรเพิ่มขึน้ ที

4 จำนวนจำกสถำนกำรณต์ ่ำง ๆ ละ 2 ทีละ 5 หรอื ทลี ะ

100

- แบบรูปของจำนวนท่ี

ลดลงทลี ะ 2 ทีละ 5 หรอื

ทีละ 100 เป็นชุดของ

จำนวนทม่ี ีควำมสมั พนั ธ์

กนั อย่ำงต่อเน่ืองใน

ลกั ษณะของกำรลดลงทลี ะ

2 ทลี ะ 5 หรือทลี ะ 100

โครงสรา้ งการสอน วชิ า คณิตศาสตร์ ชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 2 โปรแกรม ESC

ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2563 เวลา 80 ช่วั โมง

หน่วยที่ ชอ่ื หน่วยการ มาตรฐาน/ตวั ชี้วัด สาระสาคัญ เวลา น้าหนัก
2 เรยี นรู้ (ช่วั โมง) คะแนน

กำรบวกและกำร มาตรฐาน ค 1.1 เข้ำใจควำม -กำรบวกจำนวนสอง 20 15

ลบจำนวนนับไม่ หลำกหลำยของกำรแสดงจำนวน จำนวนอำจหำผลบวกได้

เกนิ 1,000 ระบบจำนวน กำรดำเนนิ กำรของ โดยใช้เส้นจำนวน หรือ

จำนวน ผลที่เกิดข้ึนจำกกำรดำเนนิ กำร แผน่ ตำรำงร้อย แผน่

สมบัตขิ องกำรดำเนินกำร และนำไปใช้ ตำรำงสิบ และแผ่นตำรำง
ตวั ชี้วัดท่ี ป. 2/4 หำคำ่ ของตัวไม่
หนว่ ย

ทรำบคำ่ ใน ประโยคสัญลักษณแ์ สดง - กำรหำผลบวกโดยกำรตงั้

กำบวก และประโยคสญั ลกั ษณ์แสดง บวก ตอ้ งเขยี นเลขโดดใน

กำรลบของจำนวนนบั ไมเ่ กนิ 1,000 หลักเดยี วกันใหต้ รงกัน

และ 0 แลว้ จงึ นำจำนวนทอี่ ยู่ใน

ตวั ช้วี ัดท่ี ป. 2/8 แสดงวิธีหำคำตอบ หลกั เดยี วกันมำบวกกัน

ของโจทย์ปัญหำ 2 ขนั้ ตอนของ โดยเร่มิ จำกหลกั หน่วย
จำนวนนบั ไมเ่ กนิ 1,000 และ 0
หลักสบิ และหลกั ร้อย

ตำมลำดบั ถ้ำผลบวกใน

หลักหน่วยเป็น 1 สิบ หรอื

มำกกว่ำ 1 สบิ ตอ้ งทด 1

สิบ ไปรวมกับจำนวนใน

หลักสิบ หรอื ถำ้ ผลบวกใน

หลกั สบิ เป็น 1 ร้อยหรือ

มำกกวำ่ 1 รอ้ ย ต้องทด 1

ร้อยไปรวมกับจำนวนใน

หลักรอ้ ย

โครงสรา้ งการสอน วชิ า คณติ ศาสตร์ ชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ 2 โปรแกรม ESC

ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2563 เวลา 80 ชวั่ โมง

หน่วยท่ี ชอ่ื หน่วยการ มาตรฐาน/ตวั ชี้วดั สาระสาคัญ เวลา นา้ หนัก
2 เรยี นรู้ (ชวั่ โมง) คะแนน

กำรบวกและกำร มาตรฐาน ค 1.1 เข้ำใจควำม -กำรบวกจำนวนสอง
จำนวนสำมำรถสลับท่ีได้
ลบจำนวนนับไม่ หลำกหลำยของกำรแสดงจำนวน ผลบวกยังคงเท่ำเดิม กำร
บวกจำนวนสำมจำนวนจะ
เกิน 1,000 ระบบจำนวน กำรดำเนินกำรของ บวกสองจำนวนใดก่อนก็
ได้ แล้วบวกจำนวนท่เี หลือ
จำนวน ผลทีเ่ กิดขึ้นจำกกำรดำเนนิ กำร ผลบวกเท่ำกนั หำผลบวก
โดยกำรตั้งบวกทำไดโ้ ดย
สมบตั ิของกำรดำเนนิ กำร และนำไปใช้ นำจำนวนในหลักเดียวกนั
ตวั ชวี้ ัดท่ี ป. 2/4 หำค่ำของตัวไมท่ รำบ มำบวกกนั ถ้ำผลบวกใน
หลักใดเป็นจำนวนสอง
ค่ำใน ประโยคสญั ลักษณ์แสดงกำบวก หลักใหท้ ดจำนวนในหลกั
สบิ ไปรวมกับจำนวนใน
และประโยคสัญลักษณ์แสดงกำรลบ หลกั ถดั ไปทำงซำ้ ย
-กำรลบจำนวนสองจำนวน
ของจำนวนนบั ไม่เกิน 1,000 และ 0 อำจหำผลลบไดโ้ ดยใช้เสน้
จำนวน หรือ แผน่ ตำรำง
ตวั ช้วี ัดท่ี ป. 2/8 แสดงวิธีหำคำตอบ ร้อยแผ่นตำรำงสิบ และ
แผ่นตำรำงหน่วย
ของโจทย์ปญั หำ 2 ขน้ั ตอนของ
จำนวนนับไมเ่ กิน 1,000 และ 0 -กำรหำผลลบของจำนวน
สองจำนวนโดยกำรตง้ั ลบ
ตอ้ งเขียนเลขโดดในหลัก
เดยี วกนั ให้ตรงกนั แลว้ จึง
นำจำนวนทอี่ ยู่ในหลัก
เดียวกันมำลบกันโดยเร่ิม
จำกหลักหน่วยหลักสิบ
และหลักรอ้ ย ตำมลำดบั

โครงสร้างการสอน วชิ า คณิตศาสตร์ ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 2 โปรแกรม ESC

ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2563 เวลา 80 ชั่วโมง

หน่วยท่ี ชื่อหน่วยการ มาตรฐาน/ตัวช้ีวัด สาระสาคัญ เวลา น้าหนกั
2 เรียนรู้ (ช่วั โมง) คะแนน

กำรบวกและกำร มาตรฐาน ค 1.1 เขำ้ ใจควำม -กำรหำผลลบของจำนวน
สองจำนวนโดยกำรต้ังลบ
ลบจำนวนนับไม่ หลำกหลำยของกำรแสดงจำนวน ตอ้ งเขยี นเลขโดดในหลัก
เดียวกนั ให้ตรงกนั แลว้ จงึ
เกิน 1,000 ระบบจำนวน กำรดำเนินกำรของ นำจำนวนทอ่ี ยู่ในหลกั
เดียวกนั มำลบกนั โดยเร่มิ
จำนวน ผลทเ่ี กดิ ขนึ้ จำกกำรดำเนินกำร จำกหลกั หน่วยหลกั สบิ
และหลักร้อย ตำมลำดบั
สมบตั ขิ องกำรดำเนนิ กำร และนำไปใช้ − ถำ้ เลขโดดในหลกั หน่วย
ตวั ช้ีวดั ที่ ป. 2/4 หำคำ่ ของตัวไมท่ รำบ ของตัวตง้ั มีค่ำน้อยกวำ่ เลข
โดดในหลกั หน่วยของตวั
ค่ำใน ประโยคสญั ลักษณ์แสดงกำบวก ลบ ตอ้ งกระจำยจำนวน
จำกหลักสบิ ไปหลักหนว่ ย
และประโยคสัญลักษณ์แสดงกำรลบ − ถ้ำเลขโดดในหลักสบิ
ของตวั ตง้ั มคี ่ำน้อยกว่ำเลข
ของจำนวนนบั ไม่เกนิ 1,000 และ 0 โดดในหลกั สิบของตวั ลบ
ตอ้ งกระจำยจำนวนจำก
ตัวช้วี ดั ท่ี ป. 2/8 แสดงวิธีหำคำตอบ หลกั ร้อยไปหลักสบิ กำร
หำผลลบของจำนวนสำม
ของโจทย์ปัญหำ 2 ข้นั ตอนของ จำนวนโดยกำรตงั้ ลบ ให้
จำนวนนับไมเ่ กิน 1,000 และ 0 นำจำนวนสองจำนวนมำ
ลบกนั ก่อน แลว้ นำผลลบ
ไปลบกบั จำนวนท่เี หลือ
-กำรหำผลลบของจำนวน
สำมจำนวนโดยกำรต้งั ลบ
ให้นำจำนวนสองจำนวน
มำลบกันก่อน แลว้ นำผล
ลบไปลบกบั จำนวนทเ่ี หลอื

โครงสรา้ งการสอน วิชา คณติ ศาสตร์ ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 2 โปรแกรม ESC

ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2563 เวลา 80 ชว่ั โมง
สาระสาคญั
หนว่ ยที่ ช่ือหน่วยการ มาตรฐาน/ตัวช้ีวดั เวลา นา้ หนกั
2 เรียนรู้ (ช่ัวโมง) คะแนน

กำรบวกและกำร มาตรฐาน ค 1.1 เข้ำใจควำม - -ควำมสมั พันธ์ของกำร
ลบจำนวนนับไม่ หลำกหลำยของกำรแสดงจำนวน บวกและกำรลบเมื่อ
เกิน 1,000 ระบบจำนวน กำรดำเนินกำรของ จำนวนสองจำนวนบวกกนั
ผลบวกทไี่ ดล้ บด้วยจำนวน
จำนวน ผลทีเ่ กดิ ขึน้ จำกกำรดำเนินกำร ใดจำนวนหน่งึ ในสอง
จำนวนนน้ั ผลลบคอื
สมบตั ิของกำรดำเนินกำร และนำไปใช้ จำนวนอกี จำนวนหน่งึ
ตวั ชีว้ ัดท่ี ป. 2/4 หำค่ำของตัวไมท่ รำบ -กำรหำค่ำของตัวไม่ทรำบ
คำ่ ในประโยคสัญลักษณ์
ค่ำใน ประโยคสญั ลักษณ์แสดงกำบวก กำรบวกและประโยค
สญั ลักษณ์กำรลบ สำมำรถ
และประโยคสัญลักษณ์แสดงกำรลบ ใชค้ วำมสมั พนั ธข์ องกำร
บวกและกำรลบ
ของจำนวนนับไมเ่ กนิ 1,000 และ 0 -กำรแกโ้ จทย์ปญั หำทำได้
โดย อำ่ นทำควำมเข้ำใจ
ตัวชวี้ ัดท่ี ป. 2/8 แสดงวิธหี ำคำตอบ ปัญหำ วำงแผนแกป้ ัญหำ
หำคำตอบและตรวจสอบ
ของโจทย์ปญั หำ 2 ขัน้ ตอนของ ควำมสมเหตสุ มผลของ
จำนวนนบั ไมเ่ กิน 1,000 และ 0 คำตอบ
-กำรสรำ้ งโจทย์ปัญหำ
ตอ้ งมีทง้ั สว่ นทโ่ี จทย์บอก
และส่วนที่โจทย์ถำม และ
โจทย์ปัญหำท่ีสร้ำงตอ้ งมี
ควำมเปน็ ไปได้

โครงสร้างการสอน วิชา คณิตศาสตร์ ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 2 โปรแกรม ESC

ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2563 เวลา 80 ชั่วโมง

หนว่ ยที่ ชื่อหน่วยการ มาตรฐาน/ตัวชี้วดั สาระสาคัญ เวลา น้าหนัก
3 เรยี นรู้ (ช่ัวโมง) คะแนน

กำรวดั ควำมยำว มาตรฐาน ค 2.1 เข้ำใจพ้ืนฐำน -กำรวดั ควำมยำวหรือ 16 10

เก่ียวกับกำรวัด วดั และคำดคะเนขนำด ควำมสูงของส่ิงต่ำง ๆ เป็น

ของส่ิงทีต่ ้องกำรวัดและไปใช้ เซนติเมตร อำจวำง

ตัวชี้วัดท่ี ป.2/2 วัดและเปรียบเทียบ เครอ่ื งมือวดั เร่มิ ที่ 0

ควำมยำวเปน็ เมตร และเซนตเิ มตร หรอื ไมเ่ ร่ิมท่ี 0 กไ็ ด้

ตวั ชว้ี ัดท่ี ป.2/3 แสดงวธิ ีหำคาตอบ - กำรคำดคะเนควำมยำว

ของโจทยป์ ัญหำ กำรบวก กำรลบ หรอื ควำมสูงเป็นเมตรเป็น

เกี่ยวกับควำมยำวที่มี กำรบอกควำมยำวหรือ

ควำมสูงเปน็ เมตรให้

ใกลเ้ คยี งกับควำมยำวหรือ

ควำมสูงจริงอำจเทยี บกบั

ควำมยำวหรอื ควำมสูง 1

เมตร โดยไม่ใชเ้ คร่ืองมือ

วดั

- กำรเปรียบเทยี บควำม

ยำวเปน็ เมตรและ

เซนตเิ มตรของสิ่งต่ำง ๆ

สองสิ่ง ส่งิ ท่ีมคี วำมยำว

เป็นเมตรมำกกว่ำจะยำว

กวำ่ ถ้ำควำมยำวเปน็ เมตร

เท่ำกนั สงิ่ ท่มี ีควำมยำว

เปน็ เซนตเิ มตรมำกกว่ำจะ

ยำวกวำ่

-กำรเปรยี บเทยี บควำม

ยำวท่มี ีหน่วยตำ่ งกันต้อง

เปล่ียนหน่วยให้เปน็ หน่วย

เดียวกันก่อนแล้วนำมำ

เปรยี บเทียบกนั

โครงสร้างการสอน วชิ า คณิตศาสตร์ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 2 โปรแกรม ESC

ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2563 เวลา 80 ช่ัวโมง

หน่วยท่ี ช่ือหน่วยการ มาตรฐาน/ตัวชี้วดั สาระสาคัญ เวลา นา้ หนกั
3 เรยี นรู้ (ชว่ั โมง) คะแนน

4 กำรวดั ควำมยำว มาตรฐาน ค 2.1 เข้ำใจพนื้ ฐำน -กำรหำผลบวกหรอื ผลลบ

เก่ียวกับกำรวดั วัดและคำดคะเนขนำด เก่ยี วกับควำมยำวเปน็

ของส่ิงทต่ี ้องกำรวัดและไปใช้ เมตรและเซนติเมตร ทำได้

ตัวชี้วัดที่ ป.2/2 วัดและเปรียบเทียบ โดยนำควำมยำวทเ่ี ปน็

ควำมยำวเปน็ เมตร และเซนตเิ มตร หน่วยเดยี วกนั มำบวกหรอื

ตัวชว้ี ัดท่ี ป.2/3 แสดงวธิ ีหำคาตอบ ลบกัน

ของโจทย์ปญั หำ กำรบวก กำรลบ -กำรหำผลบวกหรอื ผลลบ

เกีย่ วกบั ควำมยำวท่ีมี เกีย่ วกบั ควำมยำวเปน็

เมตรและเซนตเิ มตร ทำได้

โดยนำควำมยำวทีเ่ ปน็

หนว่ ยเดียวกันมำบวกหรอื

ลบกนั

-กำรแก้โจทยป์ ัญหำทำได้

โดยอ่ำนทำควำมเขำ้ ใจ

ปญั หำ วำงแผนแก้ปญั หำ

หำคำตอบ และตรวจสอบ

ควำมสมเหตสุ มผลของ

คำตอบ

สอบกลางภาคเรียนที่ 1/2563 สัปดาห์ที่ 10 15

การวดั น้าหนกั มาตรฐาน ค 2.1 เข้ำใจพน้ื ฐำน -กำรบอกน้ำหนกั ของสิ่ง 16 15

เกย่ี วกบั กำรวดั วัดและคำดคะเนขนำด ตำ่ ง ๆ อำจบอกน้ำหนัก

ของส่ิงท่ีต้องกำรวดั และไปใช้ เปน็ กรัม เปน็ กิโลกรมั และ

ตวั ชี้วดั ที่ ป.2/4 วดั และเปรยี บเทยี บ ขีดเปน็ กโิ ลกรมั และกรัม

นำ้ หนกั เป็นกโิ ลกรัม และกรัม กโิ ลกรัม -ควำมสมั พันธ์ของหน่วย

และขดี น้ำหนกั

ตัวช้ีวัดท่ี ป.2/5 แสดงหำคำตอบของ 1 กิโลกรมั เทำ่ กับ 10 ขดี

โจทย์ปัญหำ กำรบวก กำรลบเก่ียวกับ 1 ขีด เทำ่ กบั 100 กรัม

น้ำหนักหน่วยเป็นกิโลกรัมและกรัม 1 กิโลกรัม เท่ำกับ 1,000

กโิ ลกรมั และขดี กรัม

โครงสร้างการสอน วชิ า คณิตศาสตร์ ชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี 2 โปรแกรม ESC

ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศกึ ษา 2563 เวลา 80 ชว่ั โมง

หน่วยที่ ชอื่ หน่วยการ มาตรฐาน/ตวั ช้ีวัด สาระสาคัญ เวลา น้าหนัก
4 เรยี นรู้ (ชัว่ โมง) คะแนน

การวัดนา้ หนกั มาตรฐาน ค 2.1 เข้ำใจพ้นื ฐำน -กำรเปรียบเทียบนำ้ หนัก

เกย่ี วกบั กำรวัด วดั และคำดคะเนขนำด เป็นกโิ ลกรมั และกรมั หรือ

ของสงิ่ ทตี่ อ้ งกำรวัดและไปใช้ กิโลกรัมและขีด ส่งิ ท่มี ี

ตัวช้ีวัดท่ี ป.2/4 วดั และเปรยี บเทียบ นำ้ หนกั กิโลกรัมมำกกว่ำ

นำ้ หนักเปน็ กิโลกรัม และกรัม กิโลกรมั จะหนกั กว่ำ ถำ้ น้ำหนกั

และขดี เปน็ กิโลกรัมเท่ำกนั สง่ิ ท่ีมี

ตัวช้ีวัดท่ี ป.2/5 แสดงหำคำตอบของ น้ำหนักเปน็ กรัมหรือเป็น

โจทย์ปัญหำ กำรบวก กำรลบเกี่ยวกับ ขีดมำกกว่ำจะมีนำ้ หนัก

น้ำหนักหน่วยเป็นกิโลกรัมและกรัม มำกกว่ำ กำรเปรยี บเทียบ

กิโลกรัม และขดี นำ้ หนักท่มี หี น่วยตำ่ งกัน

ต้องเปลีย่ นหนว่ ยให้เป็น

หนว่ ยเดยี วกัน

-กำรหำผลบวกหรอื ผลลบ

เก่ยี วกบั น้ำหนกั เปน็

กโิ ลกรัมและขดี หรอื

กิโลกรัมและกรมั ทำได้

โดยนำนำ้ หนกั ทเี่ ปน็ หน่วย

เดียวกันมำบวกหรือลบกัน

-กำรหำผลบวกหรอื ผลลบ

เกยี่ วกบั น้ำหนักเปน็

กิโลกรมั และขีด หรอื

กิโลกรัมและกรมั ทำได้

โดยนำน้ำหนักทเี่ ป็นหน่วย

เดียวกนั มำบวกหรือลบกนั

-กำรแกโ้ จทยป์ ัญหำทำได้

โดย อ่ำนทำควำมเขำ้ ใจ

ปญั หำ วำงแผนแกป้ ัญหำ

หำคำตอบและตรวจสอบ

ควำมสมเหตสุ มผล

โครงสรา้ งการสอน วิชา คณิตศาสตร์ ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 2 โปรแกรม ESC

ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563 เวลา 80 ชว่ั โมง

หนว่ ยที่ ช่อื หน่วยการ มาตรฐาน/ตวั ช้ีวดั สาระสาคญั เวลา น้าหนกั
5 เรยี นรู้ (ช่ัวโมง) คะแนน

การคูณ มาตรฐาน ค 1.1 เขำ้ ใจควำม -ส่งิ ตำ่ ง ๆ ทจ่ี ัดเปน็ กลมุ่ 16 20

หลำกหลำยของกำรแสดงจำนวน หรือเปน็ แถวท่ีแตล่ ะกลุ่ม

ระบบจำนวน กำรดำเนนิ กำรของ หรือแต่ละแถวมีจำนวน

จำนวน ผลทเี่ กิดขนึ้ จำกกำรดำเนินกำร สมำชิกเท่ำกันสำมำรถ

สมบัติของกำรดำเนินกำร และนำไปใช้ เขียนในรูปกำรคูณของ
ตัวชี้วดั ท่ี ป.2/5 หำค่ำของตัวไมท่ รำบ จำนวนสองจำนวน คอื

คำ่ ใน ประโยคสญั ลักษณ์แสดงกำรคูณ จำนวนกลุม่ หรอื จำนวน

ของจำนวน 1 หลักตับจำนวนไมเ่ กนิ 2 แถวคณู กบั จำนวนสมำชิก

หลัก ในแต่ละกลมุ่ หรอื จำนวน

ตวั ชี้วัดท่ี ป.2/8 แสดงวธิ ีหำคำตอบ สมำชกิ ในแต่ละแถว ผล

ของโจทยป์ ญั หำ 2 ข้ันตอนของจำนวน คูณของจำนวนสองจำนวน

นับไมเ่ กนิ 1,000 และ 0 นัน้ คือ จำนวนสมำชกิ

ทั้งหมด

- จำนวนใดคณู กับ 1 ผล

คูณเทำ่ กับจำนวนนัน้ และ

จำนวนใดคณู กับ 0 ผลคณู

เทำ่ กบั 0

- กำรคูณจำนวน 1 หลัก

กบั จำนวน 1 หลกั หำผล

คณู โดยใชส้ ตู รคณู แม่ 2

แม่ 3 แม่ 4 แม่ 5 แม่ 6

แม่ 7 แม่ 8 หรอื แม่ 9

-จำนวน 1 หลัก คณู กบั

10 20 30 40 50 60 70

80 90 หำผลคูณโดยนำ

จำนวน 1 หลักน้ันคูณกบั

123456789

ตำมลำดบั แล้วเตมิ 0

ตอ่ ท้ำย

โครงสรา้ งการสอน วิชา คณิตศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปที ี่ 2 โปรแกรม ESC

ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศึกษา 2563 เวลา 80 ช่ัวโมง

หน่วยท่ี ชอ่ื หน่วยการ มาตรฐาน/ตัวชี้วัด สาระสาคัญ เวลา นา้ หนัก
5 เรียนรู้ (ช่ัวโมง) คะแนน

การคูณ มาตรฐาน ค 1.1 เขำ้ ใจควำม - กำรหำผลคูณของจำนวน

หลำกหลำยของกำรแสดงจำนวน 1 หลักกบั จำนวน2 หลัก

ระบบจำนวน กำรดำเนินกำรของ โดยกำรต้งั คูณ ตอ้ งคูณใน

จำนวน ผลทเ่ี กิดขน้ึ จำกกำรดำเนินกำร หลกั หนว่ ยก่อน แลว้ คณู

สมบัตขิ องกำรดำเนินกำร และนำไปใช้ ในหลกั สิบ ถ้ำผลคณู ใน
ตัวชี้วดั ท่ี ป.2/5 หำค่ำของตัวไมท่ รำบ หลกั ใดครบสบิ หรอื

ค่ำใน ประโยคสญั ลักษณ์แสดงกำรคูณ มำกกว่ำสิบ ให้ทดจำนวน

ของจำนวน 1 หลกั ตับจำนวนไมเ่ กิน 2 ทค่ี รบสบิ ไปหลกั ถัดไป

หลกั ทำงซำ้ ย

ตัวชว้ี ัดท่ี ป.2/8 แสดงวธิ ีหำคำตอบ -ควำมรสู้ ึกเชิงจำนวน

ของโจทยป์ ัญหำ 2 ขัน้ ตอนของจำนวน เก่ียวกบั กำรคูณเปน็ กำร

นบั ไมเ่ กนิ 1,000 และ 0 บอกว่ำผลคูณของจำนวน

สองจำนวนใดมีคำ่

มำกกว่ำกนั น้อยกว่ำกัน

หรือเท่ำกันโดยไมต่ ้องหำ

ผลคณู ของสองจำนวนนน้ั

-กำรหำคำ่ ของตวั ไม่ทรำบ

คำ่ ในประโยคสญั ลักษณ์

กำรคูณ อำจใช้สตู รคณู

-กำรแก้โจทยป์ ัญหำทำได้

โดยอ่ำนทำควำมเขำ้ ใจ

ปญั หำ วำงแผนแก้ปญั หำ

หำคำตอบ และตรวจสอบ

-กำรสร้ำงโจทย์ปญั หำตอ้ ง

มที ้งั สว่ นทโี่ จทย์บอกและ

ส่วนท่ีโจทย์ถำม

นอกจำกน้โี จทย์ปัญหำท่ี

สรำ้ งต้องมีควำมเปน็ ไปได้

สอบปลายภาคเรียนที่ 1/2563 สัปดาห์ที่ 20 15

โครงสรา้ งการสอน วิชา คณติ ศาสตร์ ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 2 โปรแกรมไทย

ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศึกษา 2563 เวลา 120 ชวั่ โมง

หน่วยที่ ชื่อหน่วยการ มาตรฐาน/ตัวชี้วดั สาระสาคญั เวลา น้าหนัก
1 เรยี นรู้ (ช่ัวโมง) คะแนน

จำนวนนับไม่เกนิ มาตรฐาน ค 1.1 เขำ้ ใจควำม - กำรนับเพิ่มครงั้ ละเทำ่ ๆ 16 10
1,000และ 0
หลำกหลำยของกำรแสดงจำนวน กัน คอื กำรนับเพ่ิมจำก

ระบบจำนวน กำรดำเนินกำรของ จำนวนทเ่ี รม่ิ ต้นคร้งั ละเทำ่

จำนวน ผลที่เกดิ ข้ึนจำกกำรดำเนินกำร ๆ กนั

สมบตั ขิ องกำรดำเนินกำร และนำไปใช้ - บอกจำนวนของสิ่งตำ่ งๆ

ตัวชี้วดั ที่ ป. 2/1 บอกจำนวนของ ได้จำกกำรนบั

สิง่ ตำ่ ง ๆ แสดงสิ่ง ต่ำง ๆ ตำม - กำรนับเพิ่มครัง้ ละเท่ำๆ

จำนวนทีก่ ำหนด อำ่ นและเขยี น กัน คือ กำรนับเพิ่มจำก

ตัวเลขฮนิ ดูอำรบิก ตวั เลขไทย จำนวนที่เริ่มต้นครงั้ ละเทำ่

ตัวหนงั สอื แสงจำนวนนบั ไม่เกิน ๆ กัน

1,000 และ 0 -จำนวนสำมหลกั ถ้ำเลข

ตัวชีว้ ัดท่ี ป. 2/2 เปรียบเทียบจำนวน โดด 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9

นับไม่เกนิ 1,000 และ 0 โดยใช้ อยใู่ นหลกั หน่วย มคี ่ำเปน็

เครอ่ื งหมำย = * > < 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 ถ้ำ

ตวั ช้วี ดั ที่ ป. 2/3 เรยี งลำดับจำนวน อยู่ในหลักสบิ มีค่ำเปน็ 0

นับไม่เกนิ 1,000 และ 0 ตัง้ แต่ 3 ถงึ 10 20 30 40 50 60 70

4 จำนวนจำกสถำนกำรณ์ตำ่ ง ๆ 80 90 และเลขโดด 1 2 3

4 5 6 7 8 9 ถ้ำอยใู่ นหลกั

รอ้ ย มีค่ำเป็น 100 200

300 400 500 600 700

800 900 ตำมลำดบั

-1,000 เปน็ จำนวนส่ีหลกั

เลขโดด 1 ในหลักพันมีค่ำ

1,000

-กำรเขยี นแสดงจำนวนใน

รูปกระจำยเปน็ กำรเขยี น

ในรูปกำรบวกค่ำของเลข

โดดในหลักต่ำง ๆ ของ

จำนวนนนั้

โครงสร้างการสอน วชิ า คณติ ศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 2 โปรแกรมไทย

ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศึกษา 2563 เวลา 120 ชัว่ โมง

หน่วย ชอ่ื หน่วยการ มาตรฐาน/ตัวช้ีวดั สาระสาคญั เวลา(ชม.) น้าหนกั
ที่ เรียนรู้/ เรอื่ ง / สัปดาห์ คะแนน

1 จำนวนนบั ไม่ มาตรฐาน ค 1.1 เข้ำใจควำม -กำรเปรียบเทยี บจำนวน

เกิน1,000และ หลำกหลำยของกำรแสดงจำนวน ระบบ สองจำนวนจะใชค้ ำวำ่

0 จำนวน กำรดำเนินกำรของจำนวน ผลท่ี เท่ำกบั มำกกวำ่ น้อย

เกิดข้นึ จำกกำรดำเนนิ กำร สมบัตขิ องกำร กว่ำ ซ่ึงแทนดว้ ย

ดำเนนิ กำร และนำไปใช้ เครอื่ งหมำย = < >

ตัวชว้ี ัดท่ี ป. 2/1 บอกจำนวนของสง่ิ ตำมลำดับโดยพจิ ำรณำ

ตำ่ ง ๆ แสดงส่ิง ต่ำง ๆ ตำมจำนวนท่ี ดังน้ี

กำหนด อ่ำนและเขียนตัวเลขฮินดูอำ -จำนวนท่ีมีจำนวนหลกั

รบกิ ตัวเลขไทย ตวั หนงั สือแสง มำกกว่ำจะมำกกวำ่

จำนวนนับไมเ่ กิน 1,000 และ 0 จำนวนทีม่ ีจำนวนหลัก

ตัวชว้ี ัดท่ี ป. 2/2 เปรียบเทยี บจำนวนนบั น้อยกว่ำ
ไม่เกิน 1,000 และ 0 โดยใช้เครื่องหมำย
=*>< − จำนวนท่ีมีจำนวน
หลักเทำ่ กันถ้ำเลขโดดใน
ตัวช้ีวดั ที่ ป. 2/3 เรียงลำดับจำนวนนับไม่ หลักร้อยมีค่ำมำกกวำ่
เกนิ 1,000 และ 0 ตงั้ แต่ 3 ถึง 4
จะมำกกว่ำ ถำ้ เลขโดด
จำนวนจำกสถำนกำรณต์ ่ำง ๆ
ในหลักรอ้ ยมีคำ่ เทำ่ กัน

จำนวนท่ีเลขโดดในหลกั

สบิ มคี ่ำมำกกว่ำจะ

มำกกว่ำถำ้ เลขโดดใน

หลกั ร้อย หลักสบิ มีคำ่

เทำ่ กนั จำนวนที่เลขโดด

ในหลกั หนว่ ยมคี ่ำ

มำกกว่ำจะมำกกว่ำ

โครงสร้างการสอน วชิ า คณติ ศาสตร์ ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 2 โปรแกรมไทย

ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2563 เวลา 120 ชัว่ โมง

หน่วยที่ ชอ่ื หน่วยการ มาตรฐาน/ตัวชี้วัด สาระสาคัญ เวลา น้าหนกั
1 เรยี นรู้ (ชว่ั โมง) คะแนน

จำนวนนบั ไมเ่ กิน มาตรฐาน ค 1.1 เข้ำใจควำม -กำรเรยี งลำดบั จำนวน
1,000และ 0
หลำกหลำยของกำรแสดงจำนวน อำจทำไดโ้ ดยหำจำนวนที่

ระบบจำนวน กำรดำเนนิ กำรของ มำกที่สุดและน้อยท่สี ดุ

จำนวน ผลที่เกิดขึน้ จำกกำรดำเนนิ กำร ก่อนจำกนั้นนำจำนวนมำ

สมบัตขิ องกำรดำเนนิ กำร และนำไปใช้ เรยี งลำดับจำกมำกไปน้อย

ตัวช้วี ดั ท่ี ป. 2/1 บอกจำนวนของ หรอื จำกน้อยไปมำก

สิง่ ต่ำง ๆ แสดงสง่ิ ต่ำง ๆ ตำม - จำนวนทีห่ ลกั หนว่ ยเป็น

จำนวนท่ีกำหนด อ่ำนและเขยี น 0 2 4 6 8 เป็นจำนวนคู่

ตัวเลขฮินดูอำรบิก ตัวเลขไทย - จำนวนที่หลกั หน่วยเป็น

ตวั หนงั สือแสงจำนวนนบั ไม่เกิน 1 3 5 7 9 เป็นจำนวนคี่

1,000 และ 0 -แบบรปู ของจำนวนท่ี

ตัวช้วี ดั ท่ี ป. 2/2 เปรียบเทียบจำนวน เพ่ิมขึ้นทีละ 2ทลี ะ 5 หรือ

นับไม่เกิน 1,000 และ 0 โดยใช้ ทลี ะ 100 เป็นชดุ ของ

เครอ่ื งหมำย = * > < จำนวนทมี่ คี วำมสมั พนั ธ์

ตวั ชี้วดั ที่ ป. 2/3 เรยี งลำดบั จำนวน กันอยำ่ งตอ่ เน่ืองใน

นับไมเ่ กนิ 1,000 และ 0 ตั้งแต่ 3 ถงึ ลักษณะของกำรเพ่ิมขึ้นที

4 จำนวนจำกสถำนกำรณต์ ่ำง ๆ ละ 2 ทีละ 5 หรอื ทีละ

100

- แบบรปู ของจำนวนที่

ลดลงทลี ะ 2 ทีละ 5 หรือ

ทีละ 100 เปน็ ชดุ ของ

จำนวนที่มคี วำมสมั พนั ธ์

กันอยำ่ งต่อเนื่องใน

ลกั ษณะของกำรลดลงทีละ

2 ทลี ะ 5 หรอื ทีละ 100

โครงสรา้ งการสอน วิชา คณติ ศาสตร์ ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 2 โปรแกรมไทย

ภาคเรียนที่ 1 ปีการศกึ ษา 2563 เวลา 120 ชั่วโมง

หน่วยท่ี ชื่อหน่วยการ มาตรฐาน/ตัวช้ีวดั สาระสาคัญ เวลา น้าหนกั
2 เรียนรู้ (ช่ัวโมง) คะแนน

กำรบวกและกำร มาตรฐาน ค 1.1 เขำ้ ใจควำม -กำรบวกจำนวนสอง 20 15
ลบจำนวนนับไม่
เกิน 1,000 หลำกหลำยของกำรแสดงจำนวน จำนวนอำจหำผลบวกได้

ระบบจำนวน กำรดำเนนิ กำรของ โดยใชเ้ ส้นจำนวน หรอื

จำนวน ผลท่เี กิดขน้ึ จำกกำรดำเนนิ กำร แผ่นตำรำงรอ้ ย แผ่น
สมบตั ิของกำรดำเนินกำร และนำไปใช้ ตำรำงสบิ และแผ่นตำรำง
ตัวชว้ี ดั ท่ี ป. 2/4 หำค่ำของตัวไม่ หน่วย
ทรำบคำ่ ใน ประโยคสญั ลักษณแ์ สดง - กำรหำผลบวกโดยกำรต้งั
กำบวก และประโยคสญั ลกั ษณ์แสดง บวก ตอ้ งเขียนเลขโดดใน
กำรลบของจำนวนนบั ไมเ่ กนิ 1,000 หลกั เดยี วกันให้ตรงกัน
และ 0 แลว้ จึงนำจำนวนทอ่ี ยู่ใน
ตัวชีว้ ัดที่ ป. 2/8 แสดงวิธหี ำคำตอบ หลักเดยี วกนั มำบวกกนั
โดยเร่มิ จำกหลักหน่วย
ของโจทย์ปัญหำ 2 ข้ันตอนของ
หลักสบิ และหลักรอ้ ย
จำนวนนับไมเ่ กนิ 1,000 และ 0
ตำมลำดับ ถ้ำผลบวกใน

หลกั หนว่ ยเปน็ 1 สบิ หรือ

มำกกวำ่ 1 สบิ ต้องทด 1

สบิ ไปรวมกับจำนวนใน

หลกั สิบ หรอื ถำ้ ผลบวกใน

หลกั สิบเป็น 1 รอ้ ยหรอื

มำกกว่ำ 1 ร้อย ต้องทด 1

รอ้ ยไปรวมกบั จำนวนใน

หลกั ร้อย

โครงสร้างการสอน วิชา คณติ ศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 2 โปรแกรมไทย

ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศึกษา 2563 เวลา 120 ช่วั โมง

หนว่ ยที่ ชอ่ื หน่วยการ มาตรฐาน/ตวั ช้ีวัด สาระสาคญั เวลา นา้ หนัก
2 เรยี นรู้ (ชัว่ โมง) คะแนน

กำรบวกและกำร มาตรฐาน ค 1.1 เข้ำใจควำม -กำรบวกจำนวนสอง
ลบจำนวนนับไม่ หลำกหลำยของกำรแสดงจำนวน จำนวนสำมำรถสลับทีไ่ ด้
เกิน 1,000 ผลบวกยังคงเทำ่ เดิม กำร
ระบบจำนวน กำรดำเนนิ กำรของ บวกจำนวนสำมจำนวนจะ
บวกสองจำนวนใดก่อนก็
จำนวน ผลทเี่ กิดขน้ึ จำกกำรดำเนินกำร ได้ แล้วบวกจำนวนท่ีเหลือ
สมบตั ขิ องกำรดำเนินกำร และนำไปใช้ ผลบวกเท่ำกนั หำผลบวก
ตัวชี้วดั ท่ี ป. 2/4 หำค่ำของตัวไมท่ รำบ โดยกำรตงั้ บวกทำไดโ้ ดย
นำจำนวนในหลักเดยี วกนั
ค่ำใน ประโยคสญั ลักษณ์แสดงกำบวก มำบวกกันถ้ำผลบวกใน
และประโยคสญั ลักษณ์แสดงกำรลบ หลักใดเปน็ จำนวนสอง
หลักให้ทดจำนวนในหลกั
ของจำนวนนับไม่เกนิ 1,000 และ 0

ตัวชวี้ ดั ที่ ป. 2/8 แสดงวิธีหำคำตอบ
ของโจทย์ปัญหำ 2 ข้นั ตอนของ
จำนวนนับไมเ่ กิน 1,000 และ 0

สบิ ไปรวมกับจำนวนใน

หลกั ถดั ไปทำงซำ้ ย

-กำรลบจำนวนสองจำนวน

อำจหำผลลบได้โดยใช้เสน้

จำนวน หรอื แผน่ ตำรำง

รอ้ ยแผ่นตำรำงสิบ และ

แผน่ ตำรำงหน่วย

-กำรหำผลลบของจำนวน

สองจำนวนโดยกำรตงั้ ลบ

ต้องเขยี นเลขโดดในหลัก

เดยี วกนั ใหต้ รงกนั แลว้ จึง

นำจำนวนทอี่ ยใู่ นหลกั

เดยี วกนั มำลบกันโดยเร่มิ

จำกหลกั หน่วยหลักสิบ

และหลกั รอ้ ย ตำมลำดบั

โครงสร้างการสอน วิชา คณติ ศาสตร์ ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 2 โปรแกรมไทย

ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563 เวลา 120 ชั่วโมง

หน่วยท่ี ชือ่ หน่วยการ มาตรฐาน/ตวั ชี้วัด สาระสาคัญ เวลา นา้ หนัก
2 เรียนรู้ (ชั่วโมง) คะแนน

กำรบวกและกำร มาตรฐาน ค 1.1 เข้ำใจควำม -กำรหำผลลบของจำนวน
ลบจำนวนนบั ไม่ หลำกหลำยของกำรแสดงจำนวน สองจำนวนโดยกำรตง้ั ลบ
เกนิ 1,000 ระบบจำนวน กำรดำเนนิ กำรของ ตอ้ งเขยี นเลขโดดในหลกั

จำนวน ผลที่เกิดขึ้นจำกกำรดำเนินกำร เดยี วกนั ใหต้ รงกนั แลว้ จึง
สมบัตขิ องกำรดำเนนิ กำร และนำไปใช้ นำจำนวนท่อี ยู่ในหลัก
ตวั ชว้ี ัดที่ ป. 2/4 หำคำ่ ของตัวไมท่ รำบ เดยี วกนั มำลบกนั โดยเรมิ่
ค่ำใน ประโยคสญั ลักษณ์แสดงกำบวก จำกหลกั หน่วยหลักสิบ
และประโยคสัญลักษณ์แสดงกำรลบ และหลกั ร้อย ตำมลำดับ
ของจำนวนนับไม่เกนิ 1,000 และ 0 − ถ้ำเลขโดดในหลักหน่วย
ตัวชี้วัดท่ี ป. 2/8 แสดงวิธีหำคำตอบ ของตวั ต้งั มคี ำ่ น้อยกวำ่ เลข
ของโจทย์ปญั หำ 2 ข้ันตอนของ
โดดในหลกั หนว่ ยของตวั
จำนวนนบั ไมเ่ กนิ 1,000 และ 0
ลบ ต้องกระจำยจำนวน

จำกหลักสบิ ไปหลักหนว่ ย

− ถำ้ เลขโดดในหลกั สบิ

ของตวั ต้ังมคี ่ำน้อยกว่ำเลข

โดดในหลกั สิบของตัวลบ

ต้องกระจำยจำนวนจำก

หลักรอ้ ยไปหลักสบิ กำร

หำผลลบของจำนวนสำม

จำนวนโดยกำรตัง้ ลบ ให้

นำจำนวนสองจำนวนมำ

ลบกันก่อน แล้วนำผลลบ

ไปลบกับจำนวนทีเ่ หลือ

-กำรหำผลลบของจำนวน

สำมจำนวนโดยกำรตัง้ ลบ

ใหน้ ำจำนวนสองจำนวน

มำลบกันก่อน แล้วนำผล

ลบไปลบกบั จำนวนทเี่ หลือ

โครงสร้างการสอน วิชา คณิตศาสตร์ ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 2 โปรแกรมไทย

ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2563 เวลา 120 ช่วั โมง

หนว่ ยที่ ช่ือหน่วยการ มาตรฐาน/ตัวช้ีวัด สาระสาคญั เวลา น้าหนกั
2 เรียนรู้ (ช่วั โมง) คะแนน

กำรบวกและกำร มาตรฐาน ค 1.1 เขำ้ ใจควำม - -ควำมสมั พนั ธข์ องกำร
ลบจำนวนนับไม่ หลำกหลำยของกำรแสดงจำนวน บวกและกำรลบเม่ือ
เกนิ 1,000 ระบบจำนวน กำรดำเนินกำรของ จำนวนสองจำนวนบวกกนั

จำนวน ผลทีเ่ กิดขึน้ จำกกำรดำเนนิ กำร ผลบวกท่ีได้ลบดว้ ยจำนวน

สมบตั ขิ องกำรดำเนนิ กำร และนำไปใช้ ใดจำนวนหน่งึ ในสอง

ตวั ชวี้ ดั ที่ ป. 2/4 หำคำ่ ของตัวไมท่ รำบ จำนวนน้นั ผลลบคอื

ค่ำใน ประโยคสัญลักษณ์แสดงกำบวก จำนวนอกี จำนวนหนงึ่

และประโยคสญั ลักษณ์แสดงกำรลบ -กำรหำค่ำของตัวไม่ทรำบ

ของจำนวนนับไมเ่ กิน 1,000 และ 0 คำ่ ในประโยคสญั ลักษณ์

ตัวชีว้ ัดท่ี ป. 2/8 แสดงวธิ หี ำคำตอบ กำรบวกและประโยค

ของโจทย์ปญั หำ 2 ขั้นตอนของ สญั ลกั ษณ์กำรลบ สำมำรถ
จำนวนนบั ไมเ่ กนิ 1,000 และ 0 ใชค้ วำมสัมพันธข์ องกำร

บวกและกำรลบ

-กำรแกโ้ จทย์ปัญหำทำได้

โดย อำ่ นทำควำมเข้ำใจ

ปัญหำ วำงแผนแกป้ ญั หำ

หำคำตอบและตรวจสอบ

ควำมสมเหตสุ มผลของ

คำตอบ

-กำรสร้ำงโจทย์ปัญหำ

ต้องมีท้งั ส่วนที่โจทยบ์ อก

และสว่ นที่โจทย์ถำม และ

โจทย์ปญั หำท่ีสร้ำงต้องมี

ควำมเป็นไปได้

โครงสรา้ งการสอน วิชา คณิตศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 2 โปรแกรมไทย

ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2563 เวลา 120 ช่ัวโมง

หน่วยท่ี ชือ่ หน่วยการ มาตรฐาน/ตวั ช้ีวดั สาระสาคัญ เวลา น้าหนัก
3 เรียนรู้ (ชวั่ โมง) คะแนน

กำรวัดควำมยำว มาตรฐาน ค 2.1 เข้ำใจพื้นฐำน -กำรวดั ควำมยำวหรอื 16 10

เกี่ยวกับกำรวดั วัดและคำดคะเนขนำด ควำมสงู ของสิ่งต่ำง ๆ เป็น

ของสง่ิ ท่ตี อ้ งกำรวดั และไปใช้ เซนติเมตร อำจวำง

ตัวช้ีวัดที่ ป.2/2 วัดและเปรียบเทียบ เครอ่ื งมือวัดเรม่ิ ที่ 0

ควำมยำวเป็นเมตร และเซนตเิ มตร หรอื ไม่เริ่มที่ 0 ก็ได้

ตวั ชี้วัดท่ี ป.2/3 แสดงวธิ ีหำคาตอบ - กำรคำดคะเนควำมยำว

ของโจทยป์ ญั หำ กำรบวก กำรลบ หรือควำมสงู เปน็ เมตรเปน็

เกย่ี วกับควำมยำวที่มี กำรบอกควำมยำวหรือ

ควำมสงู เปน็ เมตรให้

ใกล้เคยี งกบั ควำมยำวหรือ

ควำมสูงจรงิ อำจเทียบกับ

ควำมยำวหรือควำมสงู 1

เมตร โดยไมใ่ ช้เคร่ืองมือ

วัด

- กำรเปรยี บเทียบควำม

ยำวเป็นเมตรและ

เซนติเมตรของสิ่งต่ำง ๆ

สองสิ่ง สงิ่ ท่มี ีควำมยำว

เป็นเมตรมำกกว่ำจะยำว

กวำ่ ถำ้ ควำมยำวเปน็ เมตร

เทำ่ กนั สงิ่ ที่มีควำมยำว

เป็นเซนตเิ มตรมำกกว่ำจะ

ยำวกวำ่

-กำรเปรียบเทียบควำม

ยำวทมี่ ีหนว่ ยต่ำงกนั ต้อง

เปลยี่ นหนว่ ยให้เปน็ หน่วย

เดียวกนั กอ่ นแล้วนำมำ

เปรยี บเทียบกนั

โครงสรา้ งการสอน วชิ า คณิตศาสตร์ ชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ 2 โปรแกรมไทย

ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2563 เวลา 120 ชวั่ โมง

หน่วยที่ ชือ่ หน่วยการ มาตรฐาน/ตัวชี้วัด สาระสาคญั เวลา นา้ หนกั
3 เรยี นรู้ (ชัว่ โมง) คะแนน

4 กำรวดั ควำมยำว มาตรฐาน ค 2.1 เข้ำใจพน้ื ฐำน -กำรหำผลบวกหรือผลลบ 15

เก่ยี วกับกำรวัด วัดและคำดคะเนขนำด เก่ยี วกบั ควำมยำวเปน็ 15

ของส่ิงท่ตี อ้ งกำรวดั และไปใช้ เมตรและเซนตเิ มตร ทำได้

ตัวชี้วัดท่ี ป.2/2 วัดและเปรียบเทียบ โดยนำควำมยำวทเ่ี ปน็

ควำมยำวเป็นเมตร และเซนตเิ มตร หนว่ ยเดยี วกันมำบวกหรือ

ตวั ชี้วัดท่ี ป.2/3 แสดงวธิ ีหำคาตอบ ลบกัน

ของโจทย์ปัญหำ กำรบวก กำรลบ -กำรหำผลบวกหรอื ผลลบ

เกย่ี วกับควำมยำวท่ีมี เกี่ยวกบั ควำมยำวเป็น

เมตรและเซนติเมตร ทำได้

โดยนำควำมยำวที่เปน็

หนว่ ยเดียวกันมำบวกหรือ

ลบกนั

-กำรแกโ้ จทย์ปญั หำทำได้

โดยอำ่ นทำควำมเข้ำใจ

ปญั หำ วำงแผนแก้ปญั หำ

หำคำตอบ และตรวจสอบ

ควำมสมเหตสุ มผลของ

คำตอบ

สอบกลางภาคเรยี นที่ 1/2563 สัปดาหท์ ี่ 10

การวัดน้าหนัก มาตรฐาน ค 2.1 เข้ำใจพื้นฐำน -กำรบอกน้ำหนกั ของส่งิ 16

เกี่ยวกับกำรวดั วดั และคำดคะเนขนำด ตำ่ ง ๆ อำจบอกน้ำหนัก

ของสิ่งทีต่ ้องกำรวัดและไปใช้ เป็นกรมั เป็นกโิ ลกรัมและ

ตวั ชวี้ ัดที่ ป.2/4 วัดและเปรยี บเทียบ ขดี เปน็ กิโลกรัมและกรัม

นำ้ หนักเปน็ กิโลกรัม และกรัม กโิ ลกรมั -ควำมสมั พนั ธข์ องหนว่ ย

และขดี นำ้ หนัก

ตัวชี้วัดที่ ป.2/5 แสดงหำคำตอบของ 1 กโิ ลกรัม เท่ำกับ 10 ขีด

โจทย์ปัญหำ กำรบวก กำรลบเก่ียวกับ 1 ขดี เทำ่ กับ 100 กรัม

น้ำหนักหน่วยเป็นกิโลกรัมและกรัม 1 กโิ ลกรัม เทำ่ กับ 1,000

กโิ ลกรมั และขีด กรมั

โครงสรา้ งการสอน วชิ า คณิตศาสตร์ ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 2 โปรแกรมไทย

ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2563 เวลา 120 ชวั่ โมง

หนว่ ยท่ี ชือ่ หน่วยการ มาตรฐาน/ตวั ชี้วดั สาระสาคญั เวลา น้าหนกั
4 เรียนรู้ (ชั่วโมง) คะแนน

การวัดน้าหนกั มาตรฐาน ค 2.1 เข้ำใจพืน้ ฐำน -กำรเปรียบเทยี บน้ำหนัก

เกี่ยวกับกำรวัด วัดและคำดคะเนขนำด เป็นกิโลกรัมและกรมั หรือ

ของสง่ิ ทีต่ อ้ งกำรวดั และไปใช้ กิโลกรมั และขีด สิ่งทีม่ ี

ตัวชีว้ ัดท่ี ป.2/4 วดั และเปรยี บเทยี บ น้ำหนักกโิ ลกรมั มำกกวำ่

น้ำหนักเป็นกิโลกรัม และกรัม กิโลกรมั จะหนักกวำ่ ถ้ำน้ำหนกั

และขดี เป็นกโิ ลกรัมเทำ่ กัน ส่งิ ทม่ี ี

ตัวช้ีวัดที่ ป.2/5 แสดงหำคำตอบของ นำ้ หนกั เป็นกรัมหรือเป็น

โจทย์ปัญหำ กำรบวก กำรลบเกี่ยวกับ ขดี มำกกวำ่ จะมนี ำ้ หนกั

น้ำหนักหน่วยเป็นกิโลกรัมและกรัม มำกกว่ำ กำรเปรียบเทยี บ

กิโลกรัม และขีด นำ้ หนักทม่ี หี นว่ ยตำ่ งกนั

ตอ้ งเปลี่ยนหนว่ ยให้เปน็

หน่วยเดยี วกนั

-กำรหำผลบวกหรอื ผลลบ

เกี่ยวกบั น้ำหนกั เปน็

กิโลกรัมและขีด หรือ

กิโลกรัมและกรมั ทำได้

โดยนำน้ำหนักทเ่ี ป็นหน่วย

เดียวกันมำบวกหรือลบกนั

-กำรหำผลบวกหรือผลลบ

เก่ยี วกบั น้ำหนักเป็น

กิโลกรัมและขดี หรือ

กโิ ลกรัมและกรัม ทำได้

โดยนำน้ำหนกั ที่เปน็ หนว่ ย

เดยี วกนั มำบวกหรือลบกัน

-กำรแก้โจทย์ปญั หำทำได้

โดย อ่ำนทำควำมเข้ำใจ

ปญั หำ วำงแผนแก้ปญั หำ

หำคำตอบและตรวจสอบ

ควำมสมเหตุสมผล

โครงสรา้ งการสอน วชิ า คณิตศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปที ี่ 2 โปรแกรมไทย

ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศึกษา 2563 เวลา 120 ชวั่ โมง

หนว่ ยที่ ชอื่ หน่วยการ มาตรฐาน/ตัวชี้วดั สาระสาคัญ เวลา นา้ หนกั
5 เรยี นรู้ (ชัว่ โมง) คะแนน

การคณู มาตรฐาน ค 1.1 เข้ำใจควำม -สงิ่ ตำ่ ง ๆ ทจี่ ดั เป็นกลุม่ 16 20

หลำกหลำยของกำรแสดงจำนวน หรือเป็นแถวท่ีแตล่ ะกลุม่

ระบบจำนวน กำรดำเนินกำรของ หรือแต่ละแถวมีจำนวน

จำนวน ผลทเ่ี กดิ ขน้ึ จำกกำรดำเนนิ กำร สมำชิกเทำ่ กันสำมำรถ

สมบัติของกำรดำเนนิ กำร และนำไปใช้ เขียนในรปู กำรคูณของ

ตวั ชี้วัดที่ ป.2/5 หำค่ำของตัวไมท่ รำบ จำนวนสองจำนวน คอื

ค่ำใน ประโยคสญั ลักษณ์แสดงกำรคูณ จำนวนกลุม่ หรือจำนวน

ของจำนวน 1 หลกั ตับจำนวนไม่เกนิ 2 แถวคณู กับจำนวนสมำชกิ

หลัก ในแต่ละกล่มุ หรือจำนวน

ตวั ช้วี ดั ท่ี ป.2/8 แสดงวธิ หี ำคำตอบ สมำชิกในแตล่ ะแถว ผล

ของโจทยป์ ญั หำ 2 ข้นั ตอนของจำนวน คณู ของจำนวนสองจำนวน

นับไม่เกนิ 1,000 และ 0 นน้ั คือ จำนวนสมำชกิ

ทัง้ หมด

- จำนวนใดคณู กับ 1 ผล

คณู เทำ่ กับจำนวนน้ันและ

จำนวนใดคณู กับ 0 ผลคูณ

เทำ่ กับ 0

- กำรคูณจำนวน 1 หลกั

กับจำนวน 1 หลกั หำผล

คูณโดยใชส้ ูตรคณู แม่ 2

แม่ 3 แม่ 4 แม่ 5 แม่ 6

แม่ 7 แม่ 8 หรือแม่ 9

-จำนวน 1 หลัก คูณกับ

10 20 30 40 50 60 70

80 90 หำผลคณู โดยนำ

จำนวน 1 หลกั นน้ั คณู กบั

123456789

ตำมลำดบั แลว้ เตมิ 0

ตอ่ ทำ้ ย

โครงสร้างการสอน วชิ า คณิตศาสตร์ ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 2 โปรแกรมไทย

ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563 เวลา 120 ช่วั โมง

หนว่ ยที่ ชอ่ื หน่วยการ มาตรฐาน/ตัวชี้วดั สาระสาคญั เวลา น้าหนัก
5 เรียนรู้ (ชวั่ โมง) คะแนน

การคูณ มาตรฐาน ค 1.1 เขำ้ ใจควำม - กำรหำผลคูณของจำนวน 15

หลำกหลำยของกำรแสดงจำนวน 1 หลกั กบั จำนวน2 หลัก

ระบบจำนวน กำรดำเนินกำรของ โดยกำรต้ังคูณ ตอ้ งคูณใน

จำนวน ผลทเี่ กิดขึ้นจำกกำรดำเนนิ กำร หลักหน่วยกอ่ น แลว้ คณู

สมบัติของกำรดำเนนิ กำร และนำไปใช้ ในหลกั สิบ ถ้ำผลคูณใน

ตวั ช้ีวดั ที่ ป.2/5 หำคำ่ ของตัวไมท่ รำบ หลักใดครบสิบ หรือ

ค่ำใน ประโยคสญั ลักษณ์แสดงกำรคูณ มำกกวำ่ สบิ ใหท้ ดจำนวน

ของจำนวน 1 หลกั ตับจำนวนไม่เกิน 2 ท่ีครบสบิ ไปหลักถดั ไป

หลัก ทำงซำ้ ย

ตัวช้วี ดั ที่ ป.2/8 แสดงวิธีหำคำตอบ -ควำมรสู้ ึกเชิงจำนวน

ของโจทย์ปญั หำ 2 ข้ันตอนของจำนวน เก่ียวกับกำรคณู เป็นกำร

นบั ไม่เกิน1,000 และ 0 บอกวำ่ ผลคูณของจำนวน

สองจำนวนใดมีคำ่

มำกกวำ่ กัน นอ้ ยกว่ำกนั

หรือเท่ำกันโดยไม่ต้องหำ

ผลคูณของสองจำนวนนนั้

-กำรหำคำ่ ของตัวไม่ทรำบ

คำ่ ในประโยคสัญลักษณ์

กำรคูณ อำจใช้สตู รคูณ

-กำรแก้โจทยป์ ัญหำทำได้

โดยอำ่ นทำควำมเขำ้ ใจ

ปัญหำ วำงแผนแกป้ ัญหำ

หำคำตอบ และตรวจสอบ

-กำรสรำ้ งโจทย์ปัญหำต้อง

มที ้ังส่วนที่โจทยบ์ อกและ

สว่ นทโี่ จทยถ์ ำม

นอกจำกนโ้ี จทยป์ ญั หำท่ี

สรำ้ งตอ้ งมีควำมเปน็ ไปได้

สอบปลายภาคเรยี นท่ี 1/2563 สัปดาห์ท่ี 20



สัปดาห์ท่ี 1

โรงเรยี นขจรเกียรติพัฒนา

แผนการจัดการเรยี นรู้

ภาคเรียนท่ี ……1…/………... ชื่อผู้สอน ….……………………………….…….............

กลุม่ สาระการเรียนรู้ คณติ ศาสตร์ ช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ 2 จานวน 1 คาบ

หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 1 จานวนนบั ไม่เกิน1,000และ 0 เร่อื ง เตรยี มความพร้อม

1. มาตรฐานการเรียนร้/ู ตวั ช้ีวดั

มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจานวน ระบบจานวน การดาเนินการของจานวน ผลท่ีเกิดข้ึน

จากการดาเนนิ การ สมบัตขิ องการดาเนินการ และนาไปใช้

ตัวช้ีวัดท่ี ป. 2/1 บอกจานวนของสิ่งต่าง ๆ แสดงส่ิง ต่าง ๆ ตามจานวนท่ีกาหนด อ่านและเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก

ตัวเลขไทย ตัวหนังสือแสงจานวนนบั ไม่เกิน 1,000 และ 0

2. สาระสาคัญ/ความคดิ รวบยอด

การนบั เพ่มิ คร้งั ละเทา่ ๆ กนั คอื การนบั เพ่ิมจากจานวนที่เรม่ิ ตน้ คร้งั ละเทา่ ๆ กนั

3.จุดประสงค์การเรียนรู้

ด้านความรู้ (K)

นกั เรยี นสามารถนับและเปรยี บเทียบจานวนได้

ดา้ นทักษะกระบวนการ (P)

ใช้วธิ กี ารทเ่ี หมาะสมในการแกป้ ญั หา และคานวณหาคาตอบได้

ด้านคุณลกั ษณะ(A)

มวี ิจารณญาณในการคิดและตอบคาถามด้วยความมัน่ ใจ

4. สาระการเรยี นรู้

สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง สาระการเรยี นรู้ท้องถนิ่

การนบั และการเปรียบเทยี บจานวน พจิ ารณาตามหลกั สูตรของสถานศึกษา

5. กจิ กรรมการเรียนรู้ คาบท่ี 1
ขั้นนา

ขัน้ กระต้นุ ความสนใจ

1. นักเรยี นทาแบบทดสอบกอ่ นเรียนจานวน 10 ข้อ เวลา 10 นาที
2. นกั เรยี นช่วยกันร้องเพลง นบั เลข เพอ่ื ทบทวนความร้เู ดิม

เพลงนบั เลข
ทานอง...อารย์ ูสลปิ ปง้ิ

หนง่ึ สอง สาม ส่ี (ซ้า) ห้า หก เจ็ด (ซา้ )
อกี ท้ังแปดและเกา้ สบิ จาให้ดี (ซ้า)

ขัน้ สอน

ข้นั สารวจคน้ หา

3. ใชข้ อ้ มูลในหนงั สือเรียนหน้าเปดิ บท เพื่อกระตุ้นความสนใจเกย่ี วกบั ผลไม้และจานวนผลไม้
ชนดิ ตา่ ง ๆ โดยใช้คาถาม เช่น

• ในภาพมีผลไม้อะไรบา้ ง
• ผลไม้แต่ละชนิดมจี านวนเท่าไร
• ผลไมช้ นิดใดมีจานวนมากที่สุด
• ผลไม้ชนดิ ใดมีจานวนนอ้ ยท่ีสุด
4. สนทนาเกีย่ วกับการนาความร้เู รื่องการนับไปใชใ้ นการบอกจานวนของสิ่งต่าง ๆ ทม่ี จี านวนมาก เชน่ การนับจานวนผลไม้ใน
หนา้ เปดิ บท เราควรใช้การนับทลี ะ 100 ทีละ 10 ทลี ะ 5 หรือทลี ะ 2 เพอ่ื นาเขา้ สู่บทเรยี น
5. ครสู ุ่มใหน้ ักเรยี นแต่ละคนนาเสนอวธิ กี ารนบั จากน้ันครูถามว่า นักเรยี นมวี ิธีการนบั ผลไม้อยา่ งไร จนไดข้ ้อสรุปเกีย่ วกบั การ
นบั ทีละ 10 ทาใหน้ ับไดร้ วดเร็วข้ึน เม่ือได้ข้อสรุปเกย่ี วกบั วธิ ีการนับแล้ว ครใู ห้นกั เรียนร่วมกนั ตรวจสอบ โดยการถาม - ตอบ
เกย่ี วกบั การเขียนแสดงจานวน การเปรียบเทยี บและเรยี งลา ดบั จานวนผลไม้ในแบบบันทึกกิจกรรม หากมนี ักเรยี นท่ีมีความรู้
พน้ื ฐานการนบั และการเขียนแสดงจานวนยงั ไมเ่ พยี งพอ

ขน้ั อธิบายความรู้

1. ใช้หนังสือเรยี นหน้าเตรยี มความพร้อมเพอื่ ตรวจสอบความรพู้ ืน้ ฐานของนักเรยี นเรือ่ งการนบั การเขียนแสดงจานวนด้วย
ตวั เลข ตวั หนังสือ การเปรยี บเทียบ และการเรยี งลาดบั จานวนนับไมเ่ กนิ 100 โดยทา กจิ กรรมสนกุ กบั จานวน เม่อื นกั เรียนทา
กจิ กรรมเสร็จแลว้

ข้ันสรุป

ขั้นขยายความเข้าใจ

1. ครูสุ่มให้นักเรยี นแต่ละคนนาเสนอวิธกี ารนับ จากนัน้ ครูถามว่า นกั เรยี นมีวธิ ีการนับผลไม้อยา่ งไร จนได้ข้อสรุปเกย่ี วกับการ
นับทลี ะ 10 ทาใหน้ ับไดร้ วดเร็วข้ึน เมื่อได้ข้อสรปุ เกยี่ วกับวธิ ีการนบั แล้ว ครใู ห้นกั เรียนร่วมกันตรวจสอบ โดยการถาม - ตอบ
เกี่ยวกับการเขยี นแสดงจานวน การเปรียบเทียบและเรยี งลา ดบั จานวนผลไม้ในแบบบันทกึ กิจกรรม หากมีนักเรยี นที่มีความรู้
พ้นื ฐานการนบั และการเขียนแสดงจานวนยงั ไม่เพียงพอ

ขน้ั ตรวจสอบผล

1. ครอู าจให้ทาแบบฝกึ หดั เตรียมความพร้อมในหนงั สอื แบบฝกึ หัดหน้า 2

6. การวดั และประเมนิ ผล วธิ กี ารวดั ผล เครอื่ งมอื วัด เกณฑ์การ
ประเมินผล
การวัดและประเมนิ ผล - ทดสอบ - คาถามกระตุน้ 70% ขนึ้ ไป ถอื ว่า
จุดประสงค์ - การสังเกต ความคดิ ผา่ นเกณฑ์การ
ความร้คู วามเข้าใจ (K) ประเมิน
- การจาแนก แบบฝึกหัด 70% ขึน้ ไป ถือว่า
ทักษะ/กระบวนการ (P) - การใหเ้ หตผุ ล ผา่ นเกณฑ์การ
ประเมนิ
- การสรปุ ความรู้การปฏบิ ตั ิ

คุณลกั ษณะนิสยั (A) - สงั เกตพฤตกิ รรมขณะทางาน - แบบประเมนิ พฤตกิ รรม 70% ขึ้นไป ถอื ว่า

รว่ มกับกลมุ่ ขณะ ทางานรว่ มกบั กลุ่ม ผ่านเกณฑ์การ

ประเมนิ

7. สอื่ /แหลง่ การเรยี นรู้

7.1 สอื่ การเรยี นรู้

1. หนงั สือพิมพ์

2. บัตรตัวเลข บตั รภาพจานวนต่าง ๆ

3. บัตรภาพลูกคดิ

4. หนงั สือเรียนสาระการเรียนรพู้ ้นื ฐาน คณติ ศาสตร์/สอื่ การเรียน ร้คู ณิตศาสตร์

7.2 แหล่งการเรียนรู้

. 1. บตั รภาพ

2. บตั รตัวเลข

8. กิจกรรมเสนอแนะ

................................................................................................................................................................................

............................................................................................................................ ................................

................................................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................................

ลงชอ่ื ............................................ครูผสู้ อน ลงช่ือ...................................................ฝ่ายวชิ าการ
(...........................................................) (...........................................................)

ลงชอื่ ................................................... ผบู้ ริหาร
(...........................................................)

สัปดาหท์ ี่ 1

โรงเรียนขจรเกยี รติพัฒนา

แผนการจดั การเรียนรู้

ภาคเรียนที่ ……1…/………... ช่อื ผู้สอน ….……………………………….…….............

กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ คณติ ศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปที ่ี 2 จานวน 1 คาบ

หน่วยการเรยี นรู้ที่ 1 จานวนนับไม่เกนิ 1,000และ 0 เรื่อง การนบั ทีละ 2

1. มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตวั ชี้วดั

มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจานวน ระบบจานวน การดาเนินการของจานวน ผลที่เกดิ ขึ้น

จากการดาเนินการ สมบตั ขิ องการดาเนินการ และนาไปใช้

ตัวช้ีวัดท่ี ป. 2/1 บอกจานวนของส่ิงต่าง ๆ แสดงส่ิง ต่าง ๆ ตามจานวนท่ีกาหนด อ่านและเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก

ตวั เลขไทยตวั หนังสือแสงจานวนนบั ไม่เกิน 1,000 และ 0

2. สาระสาคัญ/ความคดิ รวบยอด

การนับเพ่ิมครง้ั ละเท่าๆ กนั คือ การนับเพ่มิ จากจานวนท่ีเริ่มต้นคร้งั ละเท่า ๆ กัน

3.จดุ ประสงค์การเรยี นรู้

ดา้ นความรู้ (K)

นกั เรียนสามารถนับและเปรียบเทยี บจานวนได้

ดา้ นทักษะกระบวนการ (P)

ใช้วิธกี ารทีเ่ หมาะสมในการแกป้ ญั หา และคานวณหาคาตอบได้

ด้านคุณลกั ษณะ(A)

มวี จิ ารณญาณในการคิดและตอบคาถามดว้ ยความมั่นใจ

4. สาระการเรียนรู้

สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง สาระการเรยี นรทู้ อ้ งถ่ิน

การนบั ทีละ 2 พจิ ารณาตามหลักสูตรของสถานศึกษา

5. กจิ กรรมการเรยี นรู้ คาบท่ี 1
ข้นั นา

ข้ันกระตุ้นความสนใจ

ทบทวนการนบั ส่ิงของต่าง ๆ ทลี ะ 1 และทลี ะ 10 เป็นรายบคุ คลหรือรายกลุ่ม โดยใช้ส่ิงของหรือบัตรภาพส่ิงของต่าง
ๆ มาใช้ในการนับ โดยเร่ิมนับทีละ 1 จาก หน่ึง สอง สาม สี่ ห้า ... เก้า สิบ จากนั้นให้นับจานวนส่ิงของหรือบัตรภาพที่เป็น
กอง กองละ 10 จาก สิบ ย่ีสบิ สามสบิ สี่สิบ หา้ สบิ ... สบิ สบิ หรือ หนึง่ ร้อย

ขน้ั สอน

ขัน้ สารวจคน้ หา

1. เมื่อนกั เรียนทบทวนการนับทีละ 1 และทลี ะ 10 แลว้ ครยู กตวั อย่างการนบั สิ่งของตา่ ง ๆ ทีละ 2 เช่น เหรียญบาท 30
เหรยี ญ ตามหนังสอื เรยี นหนา้ 5 โดยการนบั ทลี ะ 2 จาก สอง ส่ี หก แปด สบิ สิบสอง ... สามสิบ
2. ครใู หน้ ักเรยี นดภู าพโบในหนังสือเรยี นหนา้ 6 แล้วชว่ ยกนั นบั ทลี ะ 2 พร้อมกัน จากน้ันครูใหน้ กั เรยี นฝึกการนับสง่ิ ของต่าง ๆ
ทีละ 2 โดยให้ดภู าพกบ๊ิ และแกว้ นา้ ในหนงั สือเรยี นทีละภาพแล้วใหน้ กั เรยี นชว่ ยกนั นับทีละ 2 พรอ้ มกนั หากนกั เรยี นคนใดยัง
นบั ไม่คล่อง ครอู าจให้ฝึกนับทีละ 2 เปน็ รายบุคคล โดยใชส้ อ่ื ของจริง ครอู าจเริ่มต้นนบั สอง ส่ี ให้ แลว้ ให้นกั เรยี นนับต่อจน
ครบ
3. หลังจากนักเรียนฝึกจนครบทกุ คนแลว้ ครใู ห้นกั เรียนฝึกนบั และบอกจานวนขนมบ้าบิ่นในหนังสอื เรยี นหนา้ 7 พรอ้ มกนั ซง่ึ
การนับจานวนขนมบา้ บิ่นจะเป็นการนบั ทลี ะ 10 ก่อน แล้วนับทีละ 2 แล้วบอกจานวนขนมบา้ บิ่นตามทน่ี บั ได้ ทานองเดียวกนั
ครูใหน้ ักเรียนฝึกนบั และบอกจานวนขนมตาล ซึ่งการนบั จานวนขนมตาลจะเป็นการนับทีละ 10 กอ่ น ส่วนทเี่ หลือจะนับทีละ 2
และ นบั ทีละ 1 ตามลาดับ พรอ้ มทัง้ บอกจานวนขนมตาลท่ีนับได้

ข้ันสรปุ

ขนั้ ขยายความเข้าใจ

1. ครใู ห้นักเรยี นช่วยกนั นับจานวนขนมนา้ ดอกไม้แล้วบอกจานวน โดยครูใชค้ าถามว่า นักเรียนมีวิธีการนบั อย่างไร
2. ครแู ละนักเรียนชว่ ยกันสรุปว่า การนบั ขนมน้าดอกไม้อาจนบั ทลี ะ 10 กอ่ น ส่วนทเ่ี หลอื ก็นบั ทลี ะ 2 และนับทีละ 1
ตามลาดับ หรอื นับทีละ 10 ก่อน และส่วนทเี่ หลอื ก็นบั ทลี ะ 1

ขั้นตรวจสอบผล

1. ครูตรวจสอบความเขา้ ใจของนกั เรยี น โดยให้นักเรียนแต่ละคนนบั ขนมทองหยอดพร้อมท้งั วงรอบภาพแสดงการนบั ทีละ 2
แล้วเขยี นตวั เลขแสดงจานวนท่นี บั ได้ หรือให้นักเรียนแสดงการนับทลี ะ 10 กอ่ นแลว้ ส่วนที่เหลอื จึงนบั ทีละ 2 จากนนั้ ครูและ
นักเรียนรว่ มกนั สรุปสงิ่ ที่ไดเ้ รียนรู้ จากนน้ั ให้นกั เรียนทาแบบฝกึ หดั หนา้ 3 – 4 ถ้าพบวา่ มีนักเรียนคนใดนับทลี ะ 2 หรือนบั ที
ละ 10 ยงั ไม่คล่องใหน้ ักเรียนนาแบบฝึกหัดมาฝึกนับเปน็ รายบุคคลกับครู

6. การวดั และประเมนิ ผล

การวดั และประเมนิ ผลจุดประสงค์ วธิ ีการวดั ผล เคร่อื งมือวัด เกณฑก์ ารประเมินผล
70% ขนึ้ ไป ถอื ว่าผ่าน
ความรู้ความเขา้ ใจ (K) - ทดสอบ - คาถามกระตนุ้ ความคิด เกณฑ์การประเมิน

- การสงั เกต 70% ข้ึนไป ถือว่าผา่ น
เกณฑ์การประเมนิ
ทกั ษะ/กระบวนการ (P) - การจาแนก แบบฝึกหดั

- การให้เหตผุ ล

- ก า ร ส รุ ป ค ว า ม รู้ ก า ร

ปฏิบัติ

คณุ ลักษณะนสิ ัย (A) - สงั เกตพฤติกรรมขณะทางาน - แบบประเมนิ พฤตกิ รรม 70% ขน้ึ ไป ถือวา่ ผ่าน

ร่วมกับกล่มุ ขณะ ทางานรว่ มกบั กลุ่ม เกณฑ์การประเมิน

7. สอื่ /แหล่งการเรยี นรู้
7.1 สอ่ื การเรยี นรู้

1. หนงั สือพิมพ์
2. บัตรตัวเลข บตั รภาพจานวนตา่ ง ๆ
3. บตั รภาพลกู คิด
4. หนังสอื เรยี นสาระการเรียนร้พู ้นื ฐาน คณิตศาสตร์/สอ่ื การเรียน รคู้ ณิตศาสตร์

7.2 แหล่งการเรียนรู้

. 1. บตั รภาพ
2. บัตรตัวเลข

8. กิจกรรมเสนอแนะ
................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ...............................
................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................

ลงชอ่ื ............................................ครผู ้สู อน ลงชื่อ...................................................ฝ่ายวิชาการ
(...........................................................) (...........................................................)

ลงช่อื ................................................... ผบู้ ริหาร
(...........................................................)

สัปดาหท์ ่ี 1

โรงเรียนขจรเกยี รตพิ ฒั นา

แผนการจัดการเรยี นรู้

ภาคเรยี นท่ี ……1…/………... ชือ่ ผู้สอน ….……………………………….…….............

กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ คณติ ศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 2 จานวน 1 คาบ

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 1 จานวนนบั ไมเ่ กนิ 1,000และ 0 เรื่อง การนับทีละ 5

1. มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตวั ชีว้ ดั

มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจานวน ระบบจานวน การดาเนินการของจานวน ผลทเ่ี กิดขึน้

จากการดาเนินการ สมบตั ิของการดาเนินการ และนาไปใช้

ตัวช้ีวัดท่ี ป. 2/1 บอกจานวนของสิ่งต่าง ๆ แสดงสิ่ง ต่าง ๆ ตามจานวนที่กาหนด อ่านและเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก

ตวั เลขไทย ตวั หนงั สือแสงจานวนนบั ไมเ่ กนิ 1,000 และ 0

2. สาระสาคัญ/ความคดิ รวบยอด

การนับเพ่มิ ครั้งละเท่าๆ กัน คอื การนบั เพิม่ จากจานวนทเี่ ร่ิมต้นครง้ั ละเท่า ๆ กนั

3.จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้

ด้านความรู้ (K)

นบั และบอกจานวนของสิ่งต่าง ๆ โดยการนบั ทีละ 5 ได้

ด้านทักษะกระบวนการ (P)

ใช้วิธกี ารท่ีเหมาะสมในการแก้ปัญหา และคานวณหาคาตอบได้

ดา้ นคุณลักษณะ(A)

มีวิจารณญาณในการคิดและตอบคาถามด้วยความมั่นใจ

4. สาระการเรียนรู้

สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น

การนบั ทีละ 5 พจิ ารณาตามหลกั สตู รของสถานศกึ ษา

5. กจิ กรรมการเรียนรู้ คาบที่ 1
ขน้ั นา

ขน้ั กระตุ้นความสนใจ

1. ครูให้นกั เรียนทากิจกรรม สนกุ กับการนบั ทลี ะ 5 ตามรายละเอยี ดในหนงั สอื เรยี นหน้า 9 เพื่อฝึกการนับทลี ะ 5 จากลกู อม
100 เม็ด โดยให้นักเรยี นจัดลูกอมเป็นกอง กองละ 5 เม็ด เม่อื จัดเสร็จแลว้ ให้เร่มิ นบั จากกองแรก 5 เมด็ ครใู ชค้ า ถามว่า

- มีอยู่ 5 เพ่ิมอีก 5 เปน็ เทา่ ไร
- นกั เรียนตอบ 10 ครแู ละนักเรยี นเขยี น 10 ลงในตาราง

ขั้นสอน

ขัน้ สารวจคน้ หา

1. ครใู ห้นักเรยี นทากิจกรรม สนุกกบั การนบั ทีละ 5 ตามรายละเอยี ดในหนงั สือเรียนหน้า 9 เพ่ือฝึกการนบั ทลี ะ 5 จากลกู อม
100 เมด็ โดยให้นกั เรยี นจดั ลกู อมเป็นกอง กองละ 5 เม็ด เมื่อจัดเสรจ็ แลว้ ใหเ้ รมิ่ นบั จากกองแรก 5 เม็ด ครูใช้คา ถามวา่

- มอี ยู่ 5 เพมิ่ อกี 5 เป็นเท่าไร
- นักเรยี นตอบ 10 ครแู ละนักเรียนเขียน 10 ลงในตาราง
ครถู ามต่ออีกว่า มีอยู่ 10 เพิม่ อกี 5 เป็นเทา่ ไรแลว้ เขยี นตัวเลขแสดงจานวนลงในตารางต่อเนื่องไปเร่ือย ๆ จนครบทุกกอง จะ
ได้ หา้ สิบ สิบห้า ยส่ี บิ ยี่สิบหา้ สามสบิ สามสบิ หา้ ส่ีสบิ สีส่ บิ หา้ ห้าสบิ ห้าสบิ หา้ หกสบิ หกสิบหา้ เจ็ดสบิ เจ็ดสบิ ห้า แปดสบิ
แปดสิบห้า เกา้ สิบ เก้าสบิ ห้า หนง่ึ รอ้ ย ครแู ละนักเรยี นรว่ มกันสรปุ กจิ กรรมการนับส่งิ ของทลี ะ 5 โดยใหน้ ักเรยี นนับพรอ้ มกัน
ดังนี้ ห้า สิบ สิบหา้ ยส่ี ิบ ยสี่ ิบห้า สามสิบ สามสบิ หา้ สีส่ บิ ส่ีสิบห้า ห้าสิบ ห้าสิบห้า หกสบิ หกสบิ ห้า เจ็ดสิบ เจด็ สบิ ห้า แปด
สบิ แปดสิบห้า เก้าสบิ เก้าสบิ ห้า หนง่ึ ร้อย
2. ครใู ห้นักเรยี นดูภาพในหนงั สอื เรยี น หนา้ 10 และให้นักเรียนช่วยกันนับขา้ วโพดอ่อนทีละ 5 พรอ้ มกัน แล้วบอกจานวน
ขา้ วโพดอ่อน จากนนั้ ให้นักเรียนชว่ ยกันนบั บวบทลี ะ 5 พร้อมกันแลว้ บอกจานวนบวบและชว่ ยกนั นับมะเขอื ม่วงทลี ะ 5 พร้อม
กนั แล้วบอกจานวนมะเขือม่วง

ข้ันอธิบายความรู้

3. ครใู ห้นกั เรยี นดูภาพในหนงั สือเรียน หน้า 11 และใหน้ ักเรยี นฝึกนับแคร์รอต มะเขือเทศและพริกหยวก ทีละ 5 พรอ้ มทง้ั
บอกจานวนเปน็ รายบุคคลหรือรายกลมุ่ ถ้าพบวา่ นักเรยี นคนใดยังนับทลี ะ 5 ไม่คลอ่ ง ใหฝ้ กึ นับโดยใช้สอ่ื ของจรงิ เปน็ รายบคุ คล
กับครู ครอู าจนับ ห้า สิบ นาก่อนเพือ่ ใหน้ ักเรียนเกิดความมั่นใจในการนับ

ขนั้ สรปุ

ขัน้ ขยายความเข้าใจ

4. ครูตรวจสอบความเขา้ ใจของนกั เรยี นโดยให้นักเรยี นแต่ละคนนบั หอมหัวใหญ่ มะระขี้นก พรกิ ชฟี้ า้ พรอ้ มทัง้ วงรอบภาพ
แสดงการนบั ทลี ะ 5 แล้วเขียนตวั เลขแสดงจานวนทีน่ ับได้ ครูอาจส่มุ นักเรียนใหน้ ับหอมหวั ใหญ่ มะระขี้นก พริกช้ีฟ้า และ
บอกจานวนเพอ่ื เป็นการตรวจสอบความถูกต้องจากนั้นครแู ละนักเรยี น
ร่วมกนั สรุปสิ่งทีไ่ ดเ้ รียนรู้

ขั้นตรวจสอบผล

1. ครูตรวจสอบความเขา้ ใจของนักเรียน โดยให้นกั เรยี นแต่ละคนนบั ขนมทองหยอดพร้อมทั้งวงรอบภาพแสดงการนบั ทลี ะ 5
แลว้ เขยี นตัวเลขแสดงจานวนท่ีนบั ได้ หรอื ให้นกั เรียนแสดงการนบั ทลี ะ 5 ก่อนแลว้ ส่วนท่ีเหลอื จงึ นับทีละ 5 จากนน้ั ครูและ
นกั เรียนรว่ มกนั สรปุ ส่ิงท่ีได้เรียนรู้ จากนน้ั ให้นักเรยี นทาแบบฝกึ หดั หนา้ 5 – 6 ถ้าพบวา่ มนี กั เรียนคนใดนับทลี ะ 5 หรือนบั ที
ยังไม่คล่องให้นักเรียนนาแบบฝกึ หัดมาฝึกนบั เปน็ รายบุคคลกับครู

6. การวัดและประเมินผล

การวดั และประเมนิ ผลจุดประสงค์ วธิ ีการวัดผล เครอื่ งมอื วดั เกณฑ์การประเมนิ ผล
ทดสอบ - คาถามกระตุน้ ความคดิ 70% ข้ึนไป ถอื ว่าผ่าน
ความร้คู วามเข้าใจ (K) - การสงั เกต เกณฑ์การประเมิน
การจาแนก แบบฝึกหดั 70% ข้นึ ไป ถือว่าผ่าน
- เกณฑ์การประเมนิ
การใหเ้ หตผุ ล
ทกั ษะ/กระบวนการ (P) -
การสรุปความรู้การ
-
ปฏิบตั ิ
-

คณุ ลักษณะนสิ ยั (A) - สงั เกตพฤตกิ รรมขณะ - แบบประเมนิ พฤติกรรม 70% ขึ้นไป ถือวา่ ผา่ น
ทางานรว่ มกับกลุม่ ขณะทางานรว่ มกับกล่มุ เกณฑ์การประเมิน

7. สื่อ/แหล่งการเรยี นรู้
7.1 ส่อื การเรยี นรู้

1. หนงั สือพิมพ์
2. บตั รตวั เลข บัตรภาพจานวนต่าง ๆ
3. บตั รภาพลกู คดิ
4. หนงั สือเรียนสาระการเรียนรพู้ นื้ ฐาน คณติ ศาสตร์/ส่ือการเรยี น รู้คณติ ศาสตร์

7.2 แหล่งการเรยี นรู้

. 1. บตั รภาพ
2. บัตรตวั เลข

8. กิจกรรมเสนอแนะ
................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ...............................
................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................

ลงชอ่ื ............................................ครูผู้สอน ลงชอ่ื ...................................................ฝา่ ยวชิ าการ
(...........................................................) (...........................................................)

ลงชือ่ ................................................... ผ้บู ริหาร
(...........................................................)

สัปดาห์ท่ี 1

โรงเรยี นขจรเกียรติพัฒนา

แผนการจัดการเรยี นรู้

ภาคเรียนท่ี ……1…/………... ชอ่ื ผู้สอน ….……………………………….…….............

กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ คณติ ศาสตร์ ช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี 2 จานวน 1 คาบ

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 1 จานวนนบั ไมเ่ กิน1,000และ 0 เร่อื ง จานวนนบั ไม่เกิน 200

1. มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตัวชวี้ ัด

มาตรฐาน ค 1.1 เขา้ ใจความหลากหลายของการแสดงจานวน ระบบจานวน การดาเนนิ การของจานวน ผลท่เี กิดขึ้น

จากการดาเนนิ การ สมบัตขิ องการดาเนนิ การ และนาไปใช้

ตัวช้ีวัดที่ ป. 2/1 บอกจานวนของส่ิงต่าง ๆ แสดงสิ่ง ต่าง ๆ ตามจานวนที่กาหนด อ่านและเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก

ตวั เลขไทย ตัวหนังสือแสงจานวนนับไมเ่ กนิ 1,000 และ 0

2. สาระสาคญั /ความคดิ รวบยอด

- บอกจานวนของสิง่ ตา่ งๆ ไดจ้ ากการนบั

- การนบั เพมิ่ คร้งั ละเท่าๆ กัน คอื การนับเพมิ่ จากจานวนที่เริ่มตน้ ครัง้ ละเทา่ ๆ กนั

3. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้

ด้านความรู้ (K)

- นบั และบอกจานวนของสงิ่ ต่าง ๆ ไม่เกนิ 200

- อ่านและเขยี นตัวเลขฮินดูอารบกิ ตัวเลขไทยและตวั หนังสือแสดงจานวนนับไมเ่ กนิ 200

ด้านทักษะกระบวนการ (P)

ใชว้ ิธีการท่เี หมาะสมในการแกป้ ัญหา และคานวณหาคาตอบได้

ด้านคุณลกั ษณะ(A)

มีวิจารณญาณในการคิดและตอบคาถามดว้ ยความมั่นใจ

4. สาระการเรียนรู้

สาระการเรียนรแู้ กนกลาง สาระการเรียนรูท้ อ้ งถ่ิน

จานวนนับไมเ่ กิน 200 พจิ ารณาตามหลักสูตรของสถานศึกษา

5. กจิ กรรมการเรยี นรู้ คาบที่ 1
ขน้ั นา

ข้นั กระตุ้นความสนใจ

1. ครูให้นักเรยี นนบั มะพรา้ วท่ีจดั เป็นกอง กองละ10 พรอ้ มกนั ตามหนงั สอื เรยี นหนา้ 13 โดยเริม่ นบั ต่อจาก 100 หรือ 10 สิบ
จนครบทุกกอง ดังน้ี 11 สบิ 12 สิบ 13 สบิ 14 สิบ 15 สิบ 16 สิบ 17 สิบ 18 สิบ 19 สิบ 20 สบิ ครแู นะนาวา่

- 11 สบิ คือ 10 สบิ กับ 1 สิบ หรือ 100 กับ 10 หรอื 110
- 12 สิบ คอื 10 สบิ กบั 2 สบิ หรอื 100 กับ 20 หรอื 120
- 13 สบิ คอื 10 สบิ กบั 3 สิบ หรือ 100 กบั 30 หรอื 130 ฯลฯ
- 20 สิบ คอื 10 สิบ กับ 10 สบิ หรือ 100 กบั 100 หรอื 200
- 20 สบิ หรือ 200 เขียนแสดงด้วยตัวเลขฮินดูอารบกิ 200 ตวั เลขไทย ๒๐๐ และตวั หนังสือสองร้อย ครูอาจ
ใหน้ ักเรยี นทากจิ กรรมนบั นิ้วมือของนักเรียนแต่ละคนทีละ 10 ไปจนครบ 20 สบิ หรอื สองรอ้ ย

ขั้นสอน

ขั้นสารวจคน้ หา

2. ครูให้นกั เรียนดภู าพแผน่ ตารางรอ้ ย และแผ่นตารางสิบ ตามหนังสือเรยี นหนา้ 14 และ 15 ให้นกั เรียนนับและออก
เสียงนับพรอ้ มกัน เม่ือครูเห็นวา่ นักเรยี นสามารถนับแผน่ ตารางรอ้ ยและแผน่ ตารางสบิ ได้คลอ่ งแลว้ ครูอาจให้นกั เรียนทา
กจิ กรรมเปน็ กลุม่ กลุ่มละ 4 คน โดยแตล่ ะกลุ่มให้นักเรียนหนงึ่ คนออกมาตดิ แผน่ ตารางรอ้ ย แผ่นตารางสบิ แลว้ ใหเ้ พือ่ นใน
กลุ่มอีก 3 คนออกมาเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตวั หนงั สอื โดยแข่งขันคร้งั ละ 2 กล่มุ กลุม่ ใดสามารถเขียน
ตวั เลขฮนิ ดูอารบิก ตัวเลขไทย และตวั หนังสือเสร็จก่อนและถกู ต้องเปน็ ผูช้ นะ

3. จากนนั้ ให้นกั เรียนแต่ละกลมุ่ เขยี นตวั เลขฮนิ ดูอารบิก ตัวเลขไทย และตวั หนังสือแสดงจานวนของแผน่ ตารางร้อย
แผ่นตารางสิบ และแผ่นตารางหน่วย ในข้อ 1 และ 2 ทา้ ยหน้า 15 ลงในกระดาษทีค่ รูแจกให้ ครแู ละนักเรียนรว่ มกนั
ตรวจสอบความถูกตอ้ ง

ขั้นสรุป

ขน้ั ขยายความเข้าใจ

ครตู รวจสอบความเขา้ ใจของนกั เรยี นโดยให้นกั เรยี นแตล่ ะคนเขยี นตวั เลขฮินดูอารบิกตวั เลขไทย และตัวหนงั สือแสดง
จานวนของแผน่ ตารางร้อย แผน่ ตารางสิบ และแผ่นตารางหน่วยทกี่ าหนดให้ ครแู ละนักเรียนรว่ มกนั ตรวจสอบความถูกตอ้ ง ถ้า
พบว่านักเรียนคนใดเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตวั เลขไทยและตัวหนงั สอื แสดงจานวนไม่ถูกต้อง ให้แก้ไขใหมใ่ ห้ถูกตอ้ ง จากนัน้
ครแู ละนักเรียนร่วมกนั สรปุ ส่งิ ที่ไดเ้ รียนรู้

- สามารถบอกจานวนของส่งิ ต่าง ๆ ไดจ้ ากการนับ
- สามารถเขยี นตวั เลขฮินดอู ารบิก ตวั เลขไทยและตัวหนงั สือแสดงจานวน

ขั้นตรวจสอบผล

1. นักเรียนร่วมกนั ตรวจสอบความถูกต้อง ถา้ พบวา่ นักเรียนคนใดเขยี นตัวเลขฮนิ ดูอารบิก ตัวเลขไทยและตัวหนังสือแสดง
จานวนไมถ่ ูกตอ้ ง ใหแ้ ก้ไขใหม่ใหถ้ ูกต้อง จากนั้นครแู ละนกั เรียนร่วมกันสรปุ สง่ิ ที่ไดเ้ รยี นรู้

- สามารถบอกจานวนของสิ่งต่าง ๆ ได้จากการนับ
- สามารถเขียนตวั เลขฮินดอู ารบกิ ตวั เลขไทยและตัวหนงั สือแสดงจานวนจากนั้นให้นักเรียนทาแบบฝกึ หัด หนา้ 7 - 8

6. การวัดและประเมินผล

การวดั และประเมนิ ผลจุดประสงค์ วิธีการวัดผล เครือ่ งมอื วัด เกณฑ์การประเมินผล
70% ขน้ึ ไป ถอื ว่าผา่ น
ความร้คู วามเข้าใจ (K) - ทดสอบ - คาถามกระตุน้ ความคิด เกณฑ์การประเมิน
การสังเกต 70% ขนึ้ ไป ถอื วา่ ผา่ น
- เกณฑ์การประเมนิ

ทกั ษะ/กระบวนการ (P) - การจาแนก แบบฝึกหัด

- การใหเ้ หตผุ ล

- ก า ร ส รุ ป ค ว า ม รู้ ก า ร

ปฏบิ ตั ิ

คณุ ลกั ษณะนิสยั (A) - สังเกตพฤติกรรมขณะทางาน - แบบประเมนิ พฤตกิ รรม 70% ขน้ึ ไป ถือว่าผ่าน

ร่วมกับกลุ่ม ขณะ ทางานร่วมกับกล่มุ เกณฑ์การประเมิน

7. สื่อ/แหล่งการเรยี นรู้
7.1 ส่อื การเรยี นรู้

1. หนังสือพิมพ์
2. บตั รตวั เลข บัตรภาพจานวนตา่ ง ๆ
3. บัตรภาพลูกคดิ
4. หนงั สอื เรยี นสาระการเรียนรู้พนื้ ฐาน คณติ ศาสตร์/สื่อการเรียน รคู้ ณติ ศาสตร์

7.2 แหล่งการเรยี นรู้

. 1. บตั รภาพ
2. บตั รตวั เลข

8. กิจกรรมเสนอแนะ
................................................................................................................................................................................
................................................................................................... .........................................................
................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................

ลงชอ่ื ............................................ครผู ูส้ อน ลงชื่อ...................................................ฝ่ายวิชาการ
(...........................................................) (...........................................................)

ลงชอื่ ................................................... ผบู้ ริหาร
(...........................................................)

สัปดาห์ท่ี 1

โรงเรียนขจรเกยี รตพิ ัฒนา

แผนการจดั การเรยี นรู้

ภาคเรยี นท่ี ……1…/………... ชอื่ ผู้สอน ….……………………………….…….............

กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ คณิตศาสตร์ ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 2 จานวน 1 คาบ

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 1 จานวนนับไม่เกนิ 1,000และ 0 เรื่อง จานวนนับไม่เกิน 201 ถึง 1,000

1. มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตัวชี้วัด

มาตรฐาน ค 1.1 เขา้ ใจความหลากหลายของการแสดงจานวน ระบบจานวน การดาเนนิ การของจานวน ผลทเี่ กดิ ข้นึ

จากการดาเนนิ การ สมบัตขิ องการดาเนนิ การ และนาไปใช้

ตัวช้ีวัดที่ ป. 2/1 บอกจานวนของสิ่งต่าง ๆ แสดงสิ่ง ต่าง ๆ ตามจานวนที่กาหนด อ่านและเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก

ตัวเลขไทยตวั หนงั สือแสงจานวนนบั ไม่เกนิ 1,000 และ 0

ป.2/2 เปรียบเทียบจานวนนับไม่เกนิ 1,000 และ 0 โดยใชเ้ ครอ่ื งหมาย = * > <

ป.2/3 เรยี งลาดับจานวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0 ต้ังแต่ 3 ถึง 4 จานวนจากสถานการณต์ า่ ง ๆ

2. สาระสาคญั /ความคดิ รวบยอด

จานวนสามหลัก ถ้าเลขโดด 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 อยใู่ นหลักหนว่ ย มคี ่าเปน็ 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 ถ้าอยใู่ นหลักสิบ

มีคา่ เป็น 0 10 20 30 40 50 60 70 80 90 และเลขโดด 1 2 3 4 5 6 7 8 9 ถ้าอยใู่ นหลักรอ้ ย มคี า่ เป็น 100 200 300 400

500 600 700 800 900 ตามลาดับ

3. จุดประสงค์การเรียนรู้

ด้านความรู้ (K)

-นบั และบอกจานวนของส่งิ ต่าง ๆ ไม่เกนิ 1,000

-อ่านและเขยี นตวั เลขฮินดูอารบกิ ตัวเลขไทย และตวั หนงั สอื แสดงจานวนนบั ไม่เกนิ 1,000

ด้านทกั ษะกระบวนการ (P)

ใชว้ ิธกี ารทเี่ หมาะสมในการแกป้ ญั หา และคานวณหาคาตอบได้

ด้านคุณลักษณะ(A)

มีวิจารณญาณในการคิดและตอบคาถามด้วยความมัน่ ใจ

4. สาระการเรยี นรู้

สาระการเรยี นรู้แกนกลาง สาระการเรียนรู้ท้องถ่นิ

จานวนนบั 201 ถงึ 1,000 พิจารณาตามหลกั สูตรของสถานศึกษา

5. กิจกรรมการเรยี นรู้ คาบที่ 1
ขนั้ นา

ข้นั กระต้นุ ความสนใจ

1. ครูทบทวนความรเู้ ดิมโดยการใหน้ กั เรยี นนบั จานวนและสนทนาเร่อื งคา่ ประจาหลกั ของหลักหน่วย และหลักสบิ แลว้ ให้
นกั เรยี นเปิดหนงั สอื เรียนหนา้ 17 จากภาพต้นกลา้ ดาวเรอื ง ครใู ช้คาถามว่า มีตน้ กลา้ ดาวเรืองก่ีกระบะ กระบะละกตี่ น้
นักเรยี นตอบวา่ มี 10 กระบะ กระบะละ 100 ตน้ จากนนั้ ครูใหน้ กั เรียนชว่ ยกนั นบั จานวนต้นกล้าดาวเรอื งทีละ 100 ดงั น้ี 1
รอ้ ย 2 รอ้ ย ... 10 รอ้ ย ดังนน้ั มีต้นกลา้ ดาวเรือง 10 ร้อย ตน้ ครแู นะนาว่า 10 ร้อย หรอื หนึง่ พัน เขยี นแสดงด้วยตวั เลขฮนิ ดู
อารบกิ 1,000 ตวั เลขไทย ๑,๐๐๐ และตัวหนงั สอื หน่ึงพัน และการเขยี นตวั เลขแสดงจานวนท่มี ากกว่าสามหลักนยิ มใช้
เครื่องหมายจุลภาค ( , ) คน่ั

ข้นั สอน

ขั้นสารวจคน้ หา

2. จากภาพแผ่นตารางร้อย แผน่ ตารางสบิ และแผ่นตารางหน่วยในหนังสือเรียนหน้า 18 และ 19 ใหน้ กั เรียนนบั และเขยี น
ตวั เลขฮนิ ดอู ารบิกตัวเลขไทย และตัวหนังสอื แสดงจานวน เช่น ภาพแรก นักเรยี นนบั ได้ 200 กบั 1 หน่วย เขยี นเป็นตัวเลข
ฮินดอู ารบิก 201 ตวั เลขไทย ๒๐๑ และตัวหนงั สอื สองร้อยเอด็ จนครบทกุ ภาพ ครคู วรเน้นตรงภาพสุดทา้ ยนับแผน่ ตารางรอ้ ย
ได้ 10 รอ้ ย หรอื หนึ่งพัน อาจแสดงดว้ ยภาพ ดังนี้

3. ถา้ พบวา่ มนี ักเรียนนับและเขียนแสดงจานวนยังไม่คล่องและไม่ถูกต้อง ครูควรแก้ไขเป็นรายบคุ คลโดยให้นักเรยี นออกมานบั
และเขียนแสดงจานวนบนกระดาน

ขนั้ สรปุ

ขั้นขยายความเข้าใจ

4. ครูตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียนโดยใหน้ ักเรยี นแต่ละคนนับแผ่นตารางรอ้ ย แผ่นตารางสบิ
และแผ่นตารางหน่วย แล้วเขียนตวั เลขฮนิ ดูอารบิกตัวเลขไทย และตวั หนงั สือแสดงจานวน จากน้นั ครแู ละนักเรียนร่วมกนั
ตรวจสอบความถูกตอ้ งและสรุปสิง่ ท่ีไดเ้ รียนรู้

ขั้นตรวจสอบผล

1. นกั เรยี นสามารถบอกจานวนของสงิ่ ต่าง ๆ ไดจ้ ากการนบั • สามารถเขยี นตัวเลขฮินดูอารบกิ ตวั เลขไทย และตวั หนงั สือ
แสดงจานวนจากนัน้ ให้นักเรยี นทาแบบฝึกหัด หนา้ 9 – 10

6. การวดั และประเมนิ ผล

การวดั และประเมนิ ผลจุดประสงค์ วิธีการวดั ผล เคร่อื งมอื วดั เกณฑ์การประเมินผล
ทดสอบ - คาถามกระตุ้นความคิด 70% ขึน้ ไป ถอื วา่ ผา่ น
ความร้คู วามเข้าใจ (K) - การสงั เกต เกณฑ์การประเมิน
การจาแนก แบบฝึกหดั 70% ข้ึนไป ถือว่าผา่ น
- เกณฑ์การประเมนิ
การให้เหตุผล
ทกั ษะ/กระบวนการ (P) -
การสรุปความรู้การ
-
ปฏบิ ตั ิ
-

คณุ ลกั ษณะนสิ ยั (A) - สังเกตพฤตกิ รรมขณะทางาน - แบบประเมนิ พฤตกิ รรม 70% ขน้ึ ไป ถือว่าผา่ น

ร่วมกับกลมุ่ ขณะ ทางานรว่ มกับกลุ่ม เกณฑ์การประเมิน

7. สื่อ/แหล่งการเรยี นรู้
7.1 ส่อื การเรยี นรู้

1. หนงั สือพิมพ์
2. บตั รตวั เลข บัตรภาพจานวนต่าง ๆ
3. บตั รภาพลกู คดิ
4. หนังสือเรียนสาระการเรียนร้พู ื้นฐาน คณติ ศาสตร์/ส่ือการเรียน รู้คณิตศาสตร์

7.2 แหล่งการเรยี นรู้

. 1. บตั รภาพ
2. บัตรตวั เลข

8. กิจกรรมเสนอแนะ
................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ...............................
................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................

ลงชอ่ื ............................................ครูผูส้ อน ลงช่อื ...................................................ฝ่ายวิชาการ
(...........................................................) (...........................................................)

ลงช่ือ................................................... ผู้บริหาร
(...........................................................)

สปั ดาหท์ ่ี 1

โรงเรียนขจรเกียรตพิ ัฒนา

แผนการจัดการเรียนรู้

ภาคเรียนท่ี ……1…/………... ช่อื ผู้สอน ….……………………………….…….............

กล่มุ สาระการเรยี นรู้ คณติ ศาสตร์ ชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ 2 จานวน 1 คาบ

หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 1 จานวนนบั ไม่เกนิ 1,000และ 0 เรอ่ื ง หลัก ค่าของเลขโดดในแต่ละหลักของจานวน

นบั ไม่เกิน 1,000

1. มาตรฐานการเรียนร้/ู ตัวชวี้ ัด

มาตรฐาน ค 1.1 เขา้ ใจความหลากหลายของการแสดงจานวน ระบบจานวน การดาเนนิ การของจานวน ผลที่เกิดขนึ้

จากการดาเนนิ การ สมบัตขิ องการดาเนนิ การ และนาไปใช้

ตัวช้ีวัดท่ี ป. 2/1 บอกจานวนของส่ิงต่าง ๆ แสดงสิ่ง ต่าง ๆ ตามจานวนท่ีกาหนด อ่านและเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก

ตัวเลขไทยตัวหนังสือแสงจานวนนบั ไม่เกนิ 1,000 และ 0

ป.2/2 เปรยี บเทยี บจานวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0 โดยใช้เคร่อื งหมาย = * > <

ป.2/3 เรยี งลาดับจานวนนบั ไมเ่ กนิ 1,000 และ 0 ตงั้ แต่ 3 ถงึ 4 จานวนจากสถานการณ์ต่าง ๆ

2. สาระสาคญั /ความคดิ รวบยอด

• การเขียนแสดงจานวนอาจเขียนเป็นตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย หรือตัวหนังสอื

• จานวนสามหลัก ถ้าเลขโดด 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 อย่ใู นหลกั หน่วย มคี า่ เปน็ 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 ถา้ อย่ใู นหลกั

สบิ มีคา่ เปน็ 0 10 20 30 40 50 60 70 80 90 และเลขโดด 1 2 3 4 5 6 7 8 9 ถ้าอยใู่ นหลักรอ้ ย มีคา่ เปน็ 100 200 300

400 500 600 700 800 900 ตามลาดับ

• 1,000 เปน็ จานวนสห่ี ลัก เลขโดด 1 ในหลกั พันมีคา่ 1,000

• การเขียนแสดงจานวนในรปู กระจายเป็นการเขียนในรปู การบวกคา่ ของเลขโดดในหลักตา่ ง ๆ ของจานวนน้ัน

3. จุดประสงค์การเรยี นรู้

ด้านความรู้ (K)

บอกหลัก คา่ ของเลขโดดในแตล่ ะหลักและเขยี นแสดงจานวนในรูปกระจาย

ด้านทักษะกระบวนการ (P)

ใชว้ ธิ ีการทเี่ หมาะสมในการแก้ปญั หา และคานวณหาคาตอบได้

ด้านคุณลกั ษณะ(A)

มวี จิ ารณญาณในการคิดและตอบคาถามด้วยความมน่ั ใจ

4. สาระการเรียนรู้

สาระการเรียนรแู้ กนกลาง สาระการเรยี นรู้ท้องถ่ิน

หลกั คา่ ของเลขโดดในแตล่ ะหลกั ของจานวนนับไม่เกนิ พจิ ารณาตามหลกั สูตรของสถานศึกษา

1,000

5. กจิ กรรมการเรยี นรู้ คาบที่ 1
ข้นั นา

ขน้ั กระตนุ้ ความสนใจ

1. จากภาพปลาในหนังสือเรียนหนา้ 21 ครสู นทนากบั นักเรียนเกี่ยวกับภาพ เช่น
- มีปลานลิ ถุงละ 100 ตวั กีถ่ ุง
- มีปลานลิ ทง้ั หมดเท่าไร มปี ลาทองถุงละ 10 ตวั ก่ถี งุ
- มปี ลาทองทั้งหมดเท่าไร มีปลากัดขวดละ 1 ตวั กี่ขวด
- มีปลากัดทัง้ หมดเท่าไร

ครถู ามนักเรียนว่า แมข่ องขุนซื้อปลาท้ังหมดกต่ี ัว โดยนบั จานวนปลาทั้งหมดเปน็ 3 รอ้ ยกับ 1 สิบ กบั 2 เทา่ กบั 312 ตวั ครู
แนะนาวา่ 312 เป็นจานวนสามหลกั

- 3 ในหลกั ร้อย มีคา่ 300
- 1 ในหลักสบิ มีคา่ 10 และ
- 2 ในหลกั หน่วย มคี ่า 2

ขัน้ สอน

ข้นั สารวจคน้ หา

1. จากภาพปลาในหนงั สือเรยี นหน้า 21 ครสู นทนากบั นักเรียนเก่ียวกบั ภาพ เช่น
- มปี ลานิลถุงละ 100 ตวั กีถ่ ุง
- มีปลานลิ ท้ังหมดเท่าไร มปี ลาทองถุงละ 10 ตวั กถ่ี งุ
- มีปลาทองท้ังหมดเท่าไร มีปลากดั ขวดละ 1 ตวั กี่ขวด
- มีปลากดั ทัง้ หมดเทา่ ไร

ครถู ามนักเรยี นวา่ แมข่ องขุนซอ้ื ปลาท้ังหมดก่ีตัว โดยนับจานวนปลาท้งั หมดเปน็ 3 ร้อยกบั 1 สบิ กบั 2 เทา่ กับ 312 ตวั ครู
แนะนาวา่ 312 เปน็ จานวนสามหลัก

- 3 ในหลกั ร้อย มคี า่ 300
- 1 ในหลักสิบ มคี า่ 10 และ
- 2 ในหลกั หนว่ ย มคี ่า 2
2. จากภาพในหนงั สอื เรียนหน้า 22 ใหน้ ักเรียนนบั แผน่ ตารางร้อย แผน่ ตารางสิบและแผ่นตารางหนว่ ย และบอกวา่
ภาพแต่ละภาพมีกี่ร้อย กีส่ ิบ กีห่ นว่ ย พรอ้ มทง้ั บอกค่าประจาหลกั ของเลขโดดแต่ละตัว เชน่ ในภาพแรกนบั แผ่นตารางร้อย
แผ่นตารางสบิ และแผ่นตารางหน่วยได้ 6 รอ้ ย กบั 0 สบิ กับ 7 หนว่ ย หรอื 607 6 ในหลักร้อย มีคา่ 600 0 ในหลักสบิ มีคา่ 0
และ 7 ในหลักหน่วย มคี ่า 7 จากนัน้ ครูแนะนาจานวนส่ีหลักคือ 1,000 หลกั พนั อย่หู ลักถัดไปทางซา้ ยของหลักร้อย เลขโดด 0
ในหลักรอ้ ย หลกั สิบ และหลักหนว่ ยมคี ่าเป็น 0 และ 1 ในหลักพัน มคี ่า 1,000
3. ครูใหน้ กั เรียนบอกคา่ ของเลขโดดในแต่ละหลกั ของ 423 ดงั น้ี 4 ในหลกั ร้อย มคี า่ 400 2 ในหลกั สบิ มคี ่า 20
และ 3 ในหลกั หน่วย มีคา่ 3 ครูแนะนาการเขียน 423 ในรูปกระจายได้ 423 = 400 + 20 + 3 ว่าเปน็ การเขียนในรปู การ
บวกค่าของเลขโดดในแตล่ ะหลักจากนัน้ ครูให้นักเรยี นเขยี น 590 และ 705

ในรปู กระจาย ตามหนงั สือเรยี นหน้า 23 และครูให้สังเกตว่าถา้ เลขโดดในหลกั ใดเปน็ 0 อาจละการเขียนเลขโดดนั้นได้ เช่น
705 = 700 + 5 ครยู กตวั อย่างจานวนอน่ื ๆ แล้วใหน้ ักเรยี นออกมาเขียนในรปู กระจายบนกระดานจากน้นั ครูใหน้ ักเรยี น
ช่วยกันเขียนแสดงจานวนในรูปกระจายในกรอบทา้ ยหนา้ 23

ขนั้ สรุป

ขั้นขยายความเข้าใจ

4. ครตู รวจสอบความเข้าใจของนกั เรยี นโดยให้นักเรียนเขยี นคา่ ของเลขโดดในแตล่ ะหลักและเขยี นแสดงจานวนในรปู

กระจาย จากนั้นครแู ละนักเรียนรว่ มกันตรวจสอบความถูกตอ้ งถา้ พบวา่ มีนักเรียนคนใดเขยี นคา่ ของเลขโดดในแตล่ ะหลักหรือ

เขยี นแสดงจานวนในรูปกระจายไมถ่ ูกต้อง ครูอาจแก้ไขเป็นรายบคุ คลโดยให้ฝกึ การเขยี นคา่ ของเลขโดดในแตล่ ะหลกั หรอื เขียน

แสดงจานวนในรูปกระจายกบั ครู ครูและนักเรียนร่วมกัน
- จานวนสามหลกั ถ้าเลขโดด 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 อยู่ในหลกั หน่วยมีคา่ เป็น 0 1 2 3 4

5 6 7 8 9 อยู่ในหลักสบิ มีคา่ เปน็ 0 10 20 30 40 50 60 70 80 90 และเลขโดด 1 2 3 4 5 6 7 8 9 ถ้าอยู่ในหลักร้อยมีค่า
เป็น 100 200 300 400 500 600 700 800 900 ตามลาดบั

- 1,000 เป็นจานวนสี่หลกั เลขโดด 0 ในหลักร้อย หลกั สบิ หลักหนว่ ย มีค่าเปน็ 0 เลขโดด 1 ในหลักพนั มีคา่ 1,000

ขัน้ ตรวจสอบผล

1. นักเรยี นสามารถการเขยี นแสดงจานวนในรูปกระจายเป็นการเขียนในรูปการบวกค่าของเลขโดดในหลักตา่ ง ๆ ของ
จานวนนนั้ จากนนั้ ให้นกั เรียนทาแบบฝกึ หัด หนา้ 11 - 13

6. การวัดและประเมินผล

การวดั และประเมนิ ผลจุดประสงค์ วธิ กี ารวัดผล เคร่อื งมือวัด เกณฑก์ ารประเมินผล

ความรู้ความเขา้ ใจ (K) - ทดสอบ - คาถามกระตุ้นความคิด 70% ขึน้ ไป ถือวา่ ผ่าน
- การสงั เกต เกณฑ์การประเมนิ

ทักษะ/กระบวนการ (P) - การจาแนก แบบฝกึ หดั 70% ขึน้ ไป ถือวา่ ผา่ น
- การใหเ้ หตผุ ล เกณฑ์การประเมนิ

- การสรุปความรู้การ

ปฏบิ ตั ิ

คณุ ลกั ษณะนิสยั (A) - สงั เกตพฤตกิ รรมขณะทางาน - แบบประเมนิ พฤติกรรม 70% ขน้ึ ไป ถอื วา่ ผ่าน

รว่ มกับกล่มุ ขณะ ทางานรว่ มกบั กลุ่ม เกณฑ์การประเมิน

7. สื่อ/แหล่งการเรยี นรู้
7.1 ส่อื การเรยี นรู้

1. หนงั สอื พมิ พ์
2. บตั รตวั เลข บัตรภาพจานวนตา่ ง ๆ
3. บตั รภาพลูกคิด
4. หนังสอื เรียนสาระการเรียนร้พู ้นื ฐาน คณิตศาสตร์/สือ่ การเรยี น รคู้ ณติ ศาสตร์

7.2 แหลง่ การเรยี นรู้

. 1. บตั รภาพ
2. บตั รตัวเลข

8. กิจกรรมเสนอแนะ
................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ...............................
................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................

ลงชือ่ ............................................ครผู ู้สอน ลงชอ่ื ...................................................ฝา่ ยวิชาการ
(...........................................................) (...........................................................)

ลงชอื่ ................................................... ผูบ้ ริหาร
(...........................................................)

สปั ดาห์ท่ี 2

โรงเรยี นขจรเกยี รติพฒั นา

แผนการจดั การเรียนรู้

ภาคเรยี นที่ ……1…/………... ชอื่ ผสู้ อน ….……………………………….…….............

กลมุ่ สาระการเรียนรู้ คณติ ศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปีที่ 2 จานวน 1 คาบ

หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 1 จานวนนบั ไมเ่ กนิ 1,000และ 0 เรือ่ ง การเปรียบเทยี บจานวน (1)

1. มาตรฐานการเรยี นร้/ู ตัวชี้วัด

มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจานวน ระบบจานวน การดาเนนิ การของจานวน ผลทเี่ กิดขึ้น

จากการดาเนินการ สมบัตขิ องการดาเนินการ และนาไปใช้

ตัวชี้วัดท่ี ป. 2/1 บอกจานวนของสิ่งต่าง ๆ แสดงสิ่ง ต่าง ๆ ตามจานวนท่ีกาหนด อ่านและเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก

ตวั เลขไทยตัวหนงั สือแสงจานวนนบั ไมเ่ กิน 1,000 และ 0

ป.2/2 เปรยี บเทยี บจานวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0 โดยใช้เครอ่ื งหมาย = * > <

ป.2/3 เรียงลาดับจานวนนับไม่เกนิ 1,000 และ 0 ต้งั แต่ 3 ถงึ 4 จานวนจากสถานการณ์ตา่ ง ๆ

2. สาระสาคัญ/ความคดิ รวบยอด

การเปรียบเทยี บจานวนสองจานวนจะใช้คาว่า เท่ากับ มากกว่า นอ้ ยกว่า ซึ่งแทนด้วยเครอื่ งหมาย = < > ตามลาดับ

โดยพิจารณาดังนี้

− จานวนทมี่ จี านวนหลกั มากกวา่ จะมากกว่าจานวนที่มีจานวนหลกั นอ้ ยกว่า

− จานวนที่มจี านวนหลักเทา่ กนั ถา้ เลขโดดในหลักรอ้ ยมคี ่ามากกว่า จะมากกว่า ถ้าเลขโดดในหลกั ร้อยมีค่าเท่ากัน

จานวนทเ่ี ลขโดดในหลักสิบมีคา่ มากกวา่ จะมากกว่าถ้าเลขโดดในหลกั รอ้ ย หลกั สิบมีคา่ เท่ากัน จานวนทเ่ี ลขโดดในหลักหนว่ ยมี

คา่ มากกว่าจะมากกว่า

3. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้

ด้านความรู้ (K)

เปรียบเทยี บจานวนสองจานวนทมี่ จี านวนหลักไมเ่ ทา่ กัน

ดา้ นทกั ษะกระบวนการ (P)

ใช้วธิ ีการทเ่ี หมาะสมในการแกป้ ัญหา และคานวณหาคาตอบได้

ด้านคุณลกั ษณะ(A)

มวี ิจารณญาณในการคิดและตอบคาถามดว้ ยความม่นั ใจ

4. สาระการเรียนรู้

สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง สาระการเรียนรู้ทอ้ งถนิ่

การเปรยี บเทียบจานวน พจิ ารณาตามหลักสูตรของสถานศกึ ษา

5. กจิ กรรมการเรยี นรู้ คาบที่ 1
ขั้นนา

ขน้ั กระตุ้นความสนใจ

1. จากภาพในหนงั สือเรยี นหนา้ 25 ครใู ช้คาถามว่า ใบบัวมเี งนิ ในกระปุกออมสนิ เท่าไร และแกว้ ตามเี งนิ ในกระปุก
ออมสนิ เท่าไร

นกั เรยี นตอบวา่ ใบบัวมเี งินในกระปุกออมสนิ 257 บาท แกว้ ตามเี งินในกระปุกออมสิน 89 บาท
จากนัน้ ครูถามวา่ ใครมเี งนิ ในกระปุกออมสินมากกวา่ กัน ครูแนะนาวิธกี ารเปรียบเทียบจานวนเงินดงั น้ี 257 เป็น
จานวนสามหลกั 89 เป็นจานวนสองหลกั ดังนน้ั 257 มากกวา่ 89 เพราะจานวนสามหลกั มีคา่ มากกวา่ จานวนสองหลกั ดังนน้ั
ใบบัวมเี งินในกระปุกออมสนิ มากกว่าแกว้ ตา

ขนั้ สอน

ขั้นสารวจค้นหา

1. จากภาพในหนงั สอื เรียนหนา้ 25 ครูใชค้ าถามว่า ใบบัวมีเงินในกระปกุ ออมสนิ เท่าไร และแก้วตามีเงนิ ในกระปุก
ออมสินเทา่ ไร

นกั เรยี นตอบว่า ใบบัวมีเงนิ ในกระปุกออมสนิ 257 บาท แกว้ ตามีเงินในกระปุกออมสิน 89 บาท
จากน้ันครถู ามว่าใครมีเงินในกระปุกออมสนิ มากกว่ากัน ครูแนะนาวธิ ีการเปรียบเทียบจานวนเงินดังน้ี 257 เป็น
จานวนสามหลัก 89 เป็นจานวนสองหลัก ดังน้ัน 257 มากกว่า 89 เพราะจานวนสามหลักมีค่ามากกว่าจานวนสองหลัก ดงั นั้น
ใบบวั มีเงนิ ในกระปุกออมสนิ มากกว่าแกว้ ตา
2. ครใู หน้ ักเรยี นเปรยี บเทยี บ 624 กบั 1,000 แล้วถามนักเรียนว่า 624 เปน็ จานวนกี่หลกั และ 1,000 เปน็ จานวนก่ี
หลัก
นักเรียนตอบว่า 624 เปน็ จานวนสามหลัก และ 1,000 เปน็ จานวนส่ีหลกั ดังนนั้ 624 < 1,000 หรอื
1,000 > 624 เพราะจานวนสามหลกั มีค่าน้อยกวา่ จานวนสี่หลัก
จากนั้นครูให้นักเรียนเปรียบเทยี บ 90 กับ 319 จะไดว้ ่า 90 < 319 หรอื 319 > 90 เพราะจานวนสองหลกั มคี า่ น้อย
กวา่ จานวนสามหลัก จากการเปรยี บเทียบจานวนข้างต้น พบวา่ จานวนสองหลักมคี ่าน้อยกว่าจานวนสามหลัก และจานวนสาม
หลักมีคา่ น้อยกวา่ จานวนสห่ี ลัก ครูและนักเรียนร่วมกันสรปุ ว่า จานวนทม่ี ีจา นวนหลักน้อยกกว่าจะน้อยกว่าจานวนท่ีมีจานวน
หลักมากกวา่ หรือจานวนที่มีจานวนหลักมากกว่าจะมากกวา่
จานวนทม่ี ีจานวนหลกั น้อยกว่าครใู ห้นักเรียนชว่ ยกนั เปรียบเทียบจานวนโดยเติมเครื่องหมาย > หรอื < ตามหนังสือเรียนหน้า
27 และอธบิ ายเนน้ ยา้ ในการใสเ่ ครอ่ื งหมายว่า จานวนที่มีจานวนหลักมากกว่าจะมีค่ามากกวา่ จานวนทีม่ ีหลกั น้อยกวา่ หรือ
จานวนทมี่ ีจานวนหลักน้อยกว่าจะมีค่านอ้ ยกว่าจานวนทีม่ ีจานวนหลักมากกว่า

ขน้ั สรปุ

ขน้ั ขยายความเข้าใจ

4. ครตู รวจสอบความเข้าใจของนกั เรยี นโดยให้นักเรยี นเตมิ เครื่องหมาย > หรอื < ตามหนังสือเรียนหนา้ 28 ครอู าจ
ถามนักเรยี นเป็นรายบุคคลถึงวิธีการเปรยี บเทียบจานวนสองจานวนที่มจี านวนหลักไม่เทา่ กัน โดยใหพ้ ิจารณาจากจานวนหลัก

ว่า ถา้ จานวนใดมีจานวนหลักมากกวา่ จะมากกว่า หรือจานวนใดมจี านวนหลักน้อยกว่าจะน้อยกวา่ การเปรียบเทียบจานวนสอง

จานวนทีม่ ีจานวนหลกั ไมเ่ ท่ากนั จานวนที่มจี านวนหลักมากกวา่ จะมากกว่าจานวนทมี่ จี านวนหลักน้อยกวา่

ข้ันตรวจสอบผล

1. นกั เรยี นสามารถการเปรียบเทียบจานวนสองจานวนทีม่ ีจานวนหลกั ไมเ่ ท่ากนั จานวนที่มีจานวนหลักมากกวา่

จะมากกว่าจานวนทีม่ ีจานวนหลกั นอ้ ยกว่าจากนน้ั ใหน้ กั เรียนทาแบบฝกึ หัด หนา้ 14 - 16

6. การวัดและประเมนิ ผล

การวดั และประเมินผลจดุ ประสงค์ วิธีการวดั ผล เคร่ืองมอื วัด เกณฑก์ ารประเมินผล

ความรคู้ วามเขา้ ใจ (K) -ทดสอบ - คาถามกระตนุ้ ความคิด 70% ขึ้นไป ถือว่าผา่ น

-การสงั เกต เกณฑ์การประเมนิ

ทกั ษะ/กระบวนการ (P) -การจาแนก แบบฝกึ หดั 70% ขน้ึ ไป ถอื ว่าผา่ น
-การใหเ้ หตผุ ล เกณฑ์การประเมนิ

-การสรุปความรกู้ ารปฏิบตั ิ

คุณลกั ษณะนสิ ยั (A) - สังเกตพฤตกิ รรมขณะทางาน - แบบประเมนิ พฤตกิ รรม 70% ขึ้นไป ถือว่าผ่าน

ร่วมกับกลุ่ม ขณะ ทางานร่วมกับกล่มุ เกณฑ์การประเมิน

7. สอื่ /แหล่งการเรียนรู้

7.1 ส่ือการเรยี นรู้

1. หนังสอื พิมพ์

2. บตั รตวั เลข บัตรภาพจานวนตา่ ง ๆ

3. บัตรภาพลกู คิด

4. หนังสอื เรียนสาระการเรียนรพู้ ้ืนฐาน คณิตศาสตร์/สื่อการเรยี น รคู้ ณิตศาสตร์

7.2 แหลง่ การเรยี นรู้

. 1. บัตรภาพ

2. บตั รตัวเลข

8. กิจกรรมเสนอแนะ

................................................................................................................................................................................

............................................................................................................................. ...............................

................................................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................................

ลงชื่อ............................................ครูผู้สอน ลงชื่อ...................................................ฝ่ายวชิ าการ
(...........................................................) (...........................................................)

ลงช่ือ................................................... ผบู้ ริหาร
(...........................................................)

สปั ดาหท์ ี่ 2

โรงเรียนขจรเกยี รตพิ ฒั นา

แผนการจัดการเรียนรู้

ภาคเรียนที่ ……1…/………... ชอ่ื ผสู้ อน ….……………………………….…….............

กลุม่ สาระการเรียนรู้ คณติ ศาสตร์ ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ 2 จานวน 1 คาบ

หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 1 จานวนนับไมเ่ กิน1,000และ 0 เร่ือง การเปรียบเทียบจานวน (2)

1. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวชี้วัด

มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจานวน ระบบจานวน การดาเนนิ การของจานวน ผลทเ่ี กดิ ขนึ้

จากการดาเนินการ สมบตั ขิ องการดาเนินการ และนาไปใช้

ตัวชี้วัดท่ี ป. 2/1 บอกจานวนของส่ิงต่าง ๆ แสดงสิ่ง ต่าง ๆ ตามจานวนที่กาหนด อ่านและเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก

ตัวเลขไทยตวั หนงั สือแสงจานวนนบั ไม่เกิน 1,000 และ 0

ป.2/2 เปรยี บเทยี บจานวนนบั ไมเ่ กนิ 1,000 และ 0 โดยใช้เคร่อื งหมาย = * > <

ป.2/3 เรียงลาดับจานวนนบั ไม่เกิน 1,000 และ 0 ตง้ั แต่ 3 ถงึ 4 จานวนจากสถานการณต์ ่าง ๆ

2. สาระสาคญั /ความคิดรวบยอด

การเปรยี บเทียบจานวนสองจานวนจะใชค้ าวา่ เท่ากบั มากกว่า น้อยกวา่ ซึง่ แทนดว้ ยเครอ่ื งหมาย = < > ตามลาดับ

โดยพจิ ารณาดังน้ี

− จานวนทม่ี จี านวนหลกั มากกว่าจะมากกวา่ จานวนที่มจี านวนหลกั นอ้ ยกวา่

− จานวนที่มีจานวนหลักเทา่ กันถา้ เลขโดดในหลักรอ้ ยมคี ่ามากกว่า จะมากกวา่ ถ้าเลขโดดในหลกั รอ้ ยมีค่าเทา่ กนั

จานวนทีเ่ ลขโดดในหลกั สิบมีคา่ มากกว่าจะมากกวา่ ถ้าเลขโดดในหลักร้อย หลักสบิ มีคา่ เทา่ กนั จานวนทเี่ ลขโดดในหลักหนว่ ยมี

คา่ มากกว่าจะมากกวา่

3. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้

ดา้ นความรู้ (K)

เปรยี บเทียบจานวนสองจานวนท่ีมีจานวนหลักไมเ่ ทา่ กนั

ดา้ นทักษะกระบวนการ (P)

ใช้วิธีการทเ่ี หมาะสมในการแกป้ ญั หา และคานวณหาคาตอบได้

ดา้ นคณุ ลกั ษณะ(A)

มีวิจารณญาณในการคิดและตอบคาถามดว้ ยความม่ันใจ

4. สาระการเรยี นรู้

สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง สาระการเรยี นรูท้ ้องถิน่

การเปรยี บเทยี บจานวน พิจารณาตามหลกั สูตรของสถานศกึ ษา

5. กิจกรรมการเรยี นรู้ คาบที่ 1
ข้นั นา

ขน้ั กระต้นุ ความสนใจ

1. จากภาพในหนงั สอื เรยี นหนา้ 29 ครูใชค้ า ถามว่า ตน้ กลา้ สะสมแสตมป์ได้ก่ดี วง ขนุ สะสมแสตมป์ไดก้ ่ีดวงนักเรยี นตอบวา่
ตน้ กลา้ สะสมแสตมป์ได้ 368 ดวง ขุนสะสมแสตมป์ได้ 612 ดวง ครถู ามต่อวา่ ใครสะสมแสตมปไ์ ด้มากกวา่ กนั

ขัน้ สอน

ขัน้ สารวจค้นหา

1. จากภาพในหนังสือเรยี นหนา้ 29 ครใู ชค้ า ถามวา่ ตน้ กลา้ สะสมแสตมป์ได้กด่ี วง ขุนสะสมแสตมป์ได้กี่ดวงนักเรยี นตอบวา่
ต้นกลา้ สะสมแสตมป์ได้ 368 ดวง ขนุ สะสมแสตมป์ได้ 612 ดวง ครูถามต่อว่า ใครสะสมแสตมป์ได้มากกวา่ กัน จากนั้นครู
แนะนา การหาคาตอบโดยการเปรยี บเทียบ 368 กบั 612 พจิ ารณาจากค่าของเลขโดดในแต่ละหลัก เร่ิมจากหลกั ทางซา้ ยสดุ
คอื หลักร้อยจะได้ 300 นอ้ ยกวา่ 600 ดงั นนั้ 368 < 612 หรอื 612 > 368 นักเรียนตอบคาถามไดว้ ่า ต้นกล้าสะสมแสตมปไ์ ด้
น้อยกว่าขุน ครแู ละนักเรยี นร่วมกันพจิ ารณาว่าในการเปรียบเทยี บจานวนสองจานวนให้พิจารณาจานวนที่มีคา่ ของเลขโดดใน
หลกั ซา้ ยสุดถา้ จานวนใดมคี ่าของเลขโดดในหลักซ้ายสดุ มากกว่าจานวนนั้นจะมากกว่า จากน้นั ครใู ห้นักเรยี นช่วยกนั
เปรียบเทียบ 685 กับ 558 และ 237 กับ 379โดยใชข้ อ้ สรุปท่ีไดจ้ ากขา้ งต้นจะได้ 685 > 558 หรอื 558 < 685 และ 237 <
379 หรือ 379 > 237 ครแู ละนักเรียนร่วมกันสรปุ วา่ ในการเปรยี บเทียบจานวนสามหลกั กับจานวนสามหลกั ให้เปรียบเทียบ
คา่ ของเลขโดดในหลักร้อยก่อน ถา้ จานวนใดมีคา่ ของเลขโดดในหลักร้อยมากกว่าจะมากกว่า
2. ครูให้นักเรยี นเปรยี บเทียบ 427 กบั 451 โดยให้นักเรยี นเปรียบเทยี บคา่ ของเลขโดดจากหลักทางซ้ายสดุ ก่อน จะไดว้ า่ 400
เท่ากับ 400 ดังนั้นจึงต้องพิจารณาค่าของเลขโดดในหลกั สบิ พบวา่ 20 นอ้ ยกวา่ 50 จะได้ 427 < 451 หรือ 451 > 427
จากนนั้ ครใู หน้ ักเรยี นชว่ ยกันเปรียบเทยี บจานวนในข้อ 1 – 4 ในกรอบทา้ ยหนา้ 30 พรอ้ มท้งั ชว่ ยกันตรวจสอบความถูกตอ้ ง
ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปวา่ ในการเปรยี บเทียบจานวนสามหลกั กบั จานวนสามหลัก ถ้าเลขโดดในหลกั รอ้ ยมีคา่ เท่ากันให้
เปรยี บเทยี บคา่ ของเลขโดดในหลกั สิบ ถา้ จานวนใดมีคา่ ของเลขโดดในหลักสิบมากกวา่ จะมากกวา่
3. ครูแสดงการเปรียบเทียบ 897 กบั 893 โดยพิจารณาเลขโดดในหลกั ร้อย หลกั สิบ ของทั้งสองจานวนวา่ มีค่าเทา่ กนั ดงั นน้ั
จึงใหพ้ จิ ารณาค่าของเลขโดดในหลกั หน่วยจะได้ 7 มากกว่า 3 ดังนัน้ 897 > 893 หรือ 893 < 897 จากนนั้ ครใู ห้นักเรยี น
ชว่ ยกนั เปรยี บเทยี บจานวนข้อ 1 - 4 ในกรอบท้ายหน้า 31 พร้อมทัง้ ตรวจสอบความถูกตอ้ ง ครแู ละนกั เรยี นช่วยกันสรุปวา่ ใน
การเปรียบเทยี บจานวนสามหลกั กบั จานวนสามหลกั ถ้าเลขโดดในหลกั ร้อยมีค่าเทา่ กนั และเลขโดดในหลกั สิบมีคา่ เท่ากันให้
เปรียบเทียบคา่ ของเลขโดดในหลกั หน่วยถ้าจานวนใดมีค่าของเลขโดดในหลักหนว่ ยมากกว่าจะมากกวา่

ขัน้ สรุป

ขัน้ ขยายความเข้าใจ

4. ครูตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียน โดยให้นักเรียนเปรียบเทยี บจานวนสามหลักสองจานวนและเตมิ เคร่อื งหมาย > หรอื
< ตามหนงั สือเรียนหนา้ 32 ครอู าจถามนักเรยี นเปน็ รายบุคคลถึงวธิ ีการเปรยี บเทียบจานวนสามหลกั สองจานวน โดยให้
พิจารณาว่า จานวนทมี่ คี า่ ของเลขโดดในหลักร้อยมากกว่าจะมากกว่าถ้าเลขโดดในหลกั ร้อยมีค่าเท่ากัน จานวนท่ีมคี า่ ของเลข


Click to View FlipBook Version