The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

โครงสร้างและแผนการสอน วิชาคณิตศาสตร์ ป.2 เทอม 1-63

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by จิรพงศ์ ไมตรีจิตร, 2020-06-13 09:12:18

โครงสร้างและแผนการสอน วิชาคณิตศาสตร์ ป.2 เทอม 1-63

โครงสร้างและแผนการสอน วิชาคณิตศาสตร์ ป.2 เทอม 1-63

สปั ดาห์ท่ี 7

โรงเรียนขจรเกยี รตพิ ฒั นา

แผนการจัดการเรียนรู้

ภาคเรียนท่ี ……1…/………... ชือ่ ผูส้ อน ….……………………………….…….............

กลุ่มสาระการเรยี นรู้ คณิตศาสตร์ ช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ 2 จานวน 1 คาบ

หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 2 การบวกและการลบจานวน เรอื่ ง กิจกรรมร่วมคิดรว่ มทา (กลุม่ ของฉนั อยู่ไหน)

นับไม่เกิน 1,000

1. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวชี้วัด

มาตรฐาน ค 1.1 เขา้ ใจความหลากหลายของการแสดงจานวน ระบบจานวน การดาเนนิ การของจานวน ผลทเี่ กิดขนึ้

จากการดาเนนิ การ สมบัตขิ องการดาเนินการ และนาไปใช้
ตวั ชว้ี ัดที่ ป.2/4 หาค่าของตัวไม่ทราบคา่ ใน ประโยคสัญลักษณ์แสดงการบวก และประโยคสญั ลกั ษณแ์ สดงการลบ

ของจานวนนบั ไมเ่ กิน 1,000 และ 0
ป.2/8 แสดงวธิ หี าคาตอบของโจทย์ปัญหา 2 ข้นั ตอนของจานวนนับไมเ่ กิน 1,000 และ 0

2. สาระสาคญั /ความคิดรวบยอด

การสร้างโจทยป์ ญั หา ต้องมที งั้ สว่ นท่โี จทยบ์ อกและส่วนท่โี จทย์ถาม และโจทย์ปัญหาท่ีสรา้ งตอ้ งมคี วามเป็นไปได้

3. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้

ดา้ นความรู้ (K)

1. หาผลบวกในประโยคสัญลักษณ์แสดงการบวกของจานวนนับไมเ่ กิน 1,000

2. หาผลลบในประโยคสญั ลักษณแ์ สดงการลบของจานวนนับไม่เกิน 1,000

3. หาค่าของตัวไมท่ ราบค่าในประโยคสญั ลักษณ์แสดงการบวก และประโยคสญั ลักษณ์แสดงการลบของ

จานวนนับไมเ่ กิน 1,000

4. แสดงวิธหี าคาตอบของโจทย์ปัญหาการบวก และโจทยป์ ัญหาการลบ

5. สรา้ งโจทย์ปญั หาการบวกและโจทยป์ ญั หาการลบ

ดา้ นทักษะกระบวนการ (P)

ใช้วิธกี ารทเ่ี หมาะสมในการแกป้ ญั หา และคานวณหาคาตอบได้

ด้านคุณลักษณะ(A)

มีวิจารณญาณในการคิดและตอบคาถามดว้ ยความมนั่ ใจ

4. สาระการเรียนรู้

สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง สาระการเรียนรทู้ ้องถิน่

การบวกและการลบ จานวนนบั ไมเ่ กิน 1,000 พิจารณาตามหลกั สตู รของสถานศึกษา

5. กจิ กรรมการเรยี นรู้

คาบที่ 1

ขั้นนา

ขั้นกระตุ้นความสนใจ

1. ครใู หน้ กั เรียนทาแบบทดสอบหลงั เรยี น 15 นาที
2. แบ่งนักเรียนเปน็ กลุม่ กลุ่มละเทา่ ๆ กันแลว้ แจกอปุ กรณ์ให้นกั เรียนกลมุ่ ละ 1 ชดุ
3. ครใู ห้นกั เรยี นจดั กล่มุ บัตรโจทยป์ ญั หา บตั รประโยคสัญลักษณ์และบตั รคาตอบทส่ี อดคล้องกัน เช่น
- พอ่ เลย้ี งปลา 150 ตวั ซือ้ มาเพิม่ อีก 70 ตวั พอ่ มปี ลาท้งั หมดกีต่ วั
- 150 + 70 = 
- พอ่ มปี ลาทั้งหมด 220 ตวั

ขั้นสอน

ขนั้ สารวจคน้ หา

1. ครใู หน้ กั เรียนทาแบบทดสอบหลงั เรยี น 15 นาที

2. แบง่ นกั เรยี นเปน็ กล่มุ กลมุ่ ละเทา่ ๆ กันแล้วแจกอุปกรณ์ให้นกั เรียนกล่มุ ละ 1 ชดุ

3. ครูให้นกั เรยี นจัดกลุ่มบัตรโจทยป์ ญั หา บัตรประโยคสญั ลักษณ์และบัตรคาตอบทสี่ อดคล้องกนั เช่น

- พอ่ เลย้ี งปลา 150 ตวั ซอ้ื มาเพม่ิ อกี 70 ตวั พอ่ มีปลาท้ังหมดก่ตี ัว

- 150 + 70 = 

- พอ่ มีปลาท้ังหมด 220 ตวั

ขั้นขยายความเข้าใจ

4. ครูตรวจสอบความเขา้ ใจของนกั เรยี นโดยใหน้ ักเรียนสรา้ งโจทยป์ ัญหาการบวกและโจทย์ปัญหาการลบเป็นรายบุคคลตาม

หนงั สอื เรยี นหนา้ 144 ถ้าพบว่ามีนกั เรียนยังสรา้ งโจทย์ปัญหาไมถ่ ูกต้อง ครใู หน้ กั เรียน

มาฝึกเพิ่มเติมกับครูเป็นรายบุคคล จากน้นั ครูและนกั เรยี นร่วมกนั ตรวจสอบความถกู ต้องและสรปุ สิ่งทีไ่ ด้เรียนรู้

- การสร้างโจทยป์ ัญหา ตอ้ งมที ้ังสว่ นทโี่ จทย์บอกและส่วนที่โจทยถ์ าม นอกจากนีโ้ จทยป์ ัญหาท่ีสร้างตอ้ งมคี วามเป็นไปได้

ขนั้ ตรวจสอบผล

5. ถา้ เวลาไม่เพียงพอครูอาจแจกบตั รโจทยป์ ัญหาใหน้ ้อยลงตามความเหมาะสมจากนั้นครูใหน้ ักเรียนทาแบบฝึกทา้ ทาย หนา้

93

6. การวัดและประเมินผล

การวัดและประเมนิ ผลจดุ ประสงค์ วิธีการวัดผล เครื่องมอื วดั เกณฑ์การประเมนิ ผล

ความรูค้ วามเข้าใจ (K) -ทดสอบ - คาถามกระต้นุ ความคดิ 70% ขน้ึ ไป ถือวา่ ผา่ น

-การสงั เกต เกณฑ์การประเมิน

ทกั ษะ/กระบวนการ (P) -การจาแนก แบบฝึกหัด 70% ขน้ึ ไป ถือวา่ ผ่าน

-การใหเ้ หตุผล เกณฑ์การประเมนิ

-การสรุปความรูก้ ารปฏิบัติ

คุณลกั ษณะนิสยั (A) - สังเกตพฤติกรรมขณะ - แบบประเมินพฤติกรรม 70% ขึน้ ไป ถือวา่ ผา่ น
ทางานร่วมกบั กลุม่ ขณะ ทางานร่วมกับกลุ่ม เกณฑ์การประเมิน

7. ส่ือ/แหล่งการเรียนรู้
7.1 ส่อื การเรยี นรู้

1. บตั รโจทย์ปัญหา 5 บัตร
2. บตั รประโยคสัญลักษณ์ 10 บัตร
3. บัตรคาตอบ 10 บัตร
4. แบบทดสอบหลังเรียน

7.2 แหล่งการเรยี นรู้

. 1. บัตรภาพ
2. บัตรตัวเลข

8. กจิ กรรมเสนอแนะ
................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ...............................
................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................

ลงช่ือ............................................ครูผู้สอน ลงชอ่ื ...................................................ฝา่ ยวิชาการ
(...........................................................) (...........................................................)

ลงชอ่ื ................................................... ผู้บริหาร
(...........................................................)

สปั ดาห์ที่ 7

โรงเรียนขจรเกยี รตพิ ัฒนา

แผนการจดั การเรียนรู้

ภาคเรยี นที่ ……1…/………... ชอ่ื ผสู้ อน ….……………………………….…….............
กล่มุ สาระการเรียนรู้ คณติ ศาสตร์ ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ 2 จานวน 1 คาบ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 การวัดความยาว เรื่อง การแก้ปัญหาการวดั ความยาวเป็นเซนติเมตร

1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชีว้ ดั

มาตรฐาน ค 2.1 เข้าใจพนื้ ฐานเกยี่ วกับการวดั วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งท่ีต้องการวดั และไปใช้

ตัวช้ีวดั ที่ ป.2/2 วดั และเปรียบเทียบความยาวเป็นเมตร และเซนตเิ มตร

ป.2/3 แสดงวธิ ีหาคาตอบของโจทยป์ ัญหา การบวก การลบเก่ียวกับความยาวทีม่ ี

2. สาระสาคญั /ความคิดรวบยอด

การวดั ความยาวหรือความสงู ของสง่ิ ตา่ ง ๆ เปน็ เซนติเมตร อาจวางเคร่ืองมือวดั เริ่มท่ี 0 หรือไม่เริ่มที่ 0 กไ็ ด้

3. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้

ด้านความรู้ (K)

วัดและบอกความยาวเปน็ เมตรและเซนติเมตร

ดา้ นทักษะกระบวนการ (P)

ใชว้ ธิ กี ารท่ีเหมาะสมในการแกป้ ัญหา และคานวณหาคาตอบได้

ดา้ นคุณลักษณะ(A)

มีวจิ ารณญาณในการคิดและตอบคาถามด้วยความมั่นใจ

4. สาระการเรียนรู้

สาระการเรยี นร้แู กนกลาง สาระการเรยี นรู้ทอ้ งถิ่น

การวัดความยาว พจิ ารณาตามหลกั สูตรของสถานศกึ ษา

5. กิจกรรมการเรยี นรู้

คาบท่ี 1
ขนั้ นา

ข้นั กระตนุ้ ความสนใจ

1. ครใู ห้นกั เรียนทาแบบทดสอบก่อนเรยี น 15 นาที
2. ครใู ชห้ นา้ เปิดบทสนทนาเกีย่ วกับการแขง่ ขันกระโดดไกลของนกั กรีฑาประเภทลาน ครูอาจ

ให้ความรูเ้ พิ่มเตมิ วา่ กระโดดไกลเป็นกรีฑาประเภทลานที่ใช้การว่งิ เพ่ือกระโดดโดยกระโดดออกจากจุดกระโดดไปให้ไกลที่สุด
ครใู ช้การถาม-ตอบกระตุ้นความสนใจของนกั เรียน เช่น

- ในภาพมกี รฑี าประเภทลานอะไรบ้าง (กระโดดไกล กระโดดสูง)
- เคยแข่งกระโดดสูงหรือไม่

- รู้ไดอ้ ยา่ งไรว่าใครกระโดดสูงทสี่ ดุ
- เคยแขง่ กระโดดไกลหรอื ไม่
- รไู้ ดอ้ ยา่ งไรว่าใครกระโดดไกลทส่ี ดุ
- วัดระยะทางการกระโดดไกลไดอ้ ยา่ งไร
โดยท่ีบางคาถามนักเรยี นอาจตอบได้ แต่บางคาถามครูอาจเลือกเพอ่ื ถามนาเขา้ สู่บทเรยี นว่าจะหาคาตอบได้ตอ้ งใช้ความรทู้ จ่ี ะ
เรยี นในบทน้ี จากนน้ั ครูทากิจกรรมเตรียมความพร้อม

ขั้นสอน

ขนั้ สารวจคน้ หา

1. ครใู ห้นกั เรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน 15 นาที

2. ครูใช้หน้าเปดิ บทสนทนาเกี่ยวกับการแขง่ ขันกระโดดไกลของนักกรีฑาประเภทลาน ครูอาจ

ให้ความรู้เพ่ิมเติมว่า กระโดดไกลเป็นกรีฑาประเภทลานท่ีใช้การวิง่ เพื่อกระโดดโดยกระโดดออกจากจุดกระโดดไปให้ไกลทีส่ ดุ

ครูใช้การถาม-ตอบกระต้นุ ความสนใจของนักเรียน เชน่

- ในภาพมีกรฑี าประเภทลานอะไรบา้ ง (กระโดดไกล กระโดดสงู )

- เคยแข่งกระโดดสงู หรือไม่

- รู้ไดอ้ ยา่ งไรวา่ ใครกระโดดสูงทสี่ ุด

- เคยแข่งกระโดดไกลหรอื ไม่

- รู้ได้อยา่ งไรวา่ ใครกระโดดไกลที่สุด

- วัดระยะทางการกระโดดไกลไดอ้ ย่างไร

โดยทบี่ างคาถามนักเรยี นอาจตอบได้ แต่บางคาถามครอู าจเลอื กเพื่อถามนาเข้าสู่บทเรยี นวา่ จะหาคาตอบได้ตอ้ งใช้ความรทู้ ีจ่ ะ

เรยี นในบทนี้ จากน้นั ครูทากจิ กรรมเตรียมความพร้อม

3. ครูและนกั เรยี นใชห้ นังสือเรียนหน้า 148 ใหน้ ักเรียนทากิจกรรมรว่ มด้วยช่วยกันวดั ความยาวเชอื กในการเตรยี มความพร้อม

เพื่อตรวจสอบความรู้พน้ื ฐานของนักเรียนในการใช้เคร่ืองมือวัดความยาว เชน่ ไมเ้ มตรไม้บรรทดั ในการวดั ความยาวของเชอื ก

ท่ีมีความยาวเป็นเมตร ความยาวเป็นเซนตเิ มตร

ขนั้ ขยายความเข้าใจ

4. เม่ือนกั เรียนวดั ความยาวของเชอื กและจดบันทึกในใบกจิ กรรมแล้วให้เปรยี บเทียบความยาวของเชือกที่มีหน่วยเดยี วกัน

ตามทคี่ รูกาหนด เชน่ เชือกสีแดง ยาวกวา่ หรอื ส้นั กว่า เชอื กสีน้าเงิน และยาวกวา่ หรือสั้นกว่าอยูเ่ ทา่ ไร เพอ่ื นักเรียนจะได้

ทบทวนความร้เู กี่ยวกับการวดั ความยาวเป็นเมตร เปน็ เซนตเิ มตรและเปรยี บเทยี บความยาวเป็นเมตร เปน็ เซนติเมตรครูอาจทา

กจิ กรรมเพ่มิ เติมโดยการใชภ้ าพสงิ่ ของที่อยรู่ อบตวั เชน่ โต๊ะนกั เรียน โต๊ะครู ตู้หนงั สอื ทก่ี าหนดความยาวให้

ขั้นตรวจสอบผล

5. นกั เรยี นฝกึ การเปรียบเทยี บความยาว หน้า 94 – 96

6. การวดั และประเมนิ ผล

การวัดและประเมินผลจดุ ประสงค์ วธิ ีการวัดผล เครอื่ งมอื วดั เกณฑก์ ารประเมินผล

ความรคู้ วามเข้าใจ (K) -ทดสอบ - คาถามกระตนุ้ ความคดิ 70% ขนึ้ ไป ถอื ว่าผา่ น

-การสังเกต เกณฑ์การประเมิน

ทกั ษะ/กระบวนการ (P) -การจาแนก แบบฝึกหดั 70% ขนึ้ ไป ถือวา่ ผา่ น
เกณฑ์การประเมิน
-การให้เหตผุ ล

-การสรุปความรู้การปฏิบัติ

คุณลักษณะนิสัย (A) - สังเกตพฤติกรรมขณะ - แบบประเมินพฤติกรรม 70% ข้นึ ไป ถือวา่ ผา่ น

ทางานร่วมกบั กลมุ่ ขณะ ทางานร่วมกับกลุ่ม เกณฑ์การประเมิน

7. สื่อ/แหลง่ การเรียนรู้

7.1 สอื่ การเรียนรู้

1. ไมบ้ รรทดั
2. ไม้เมตร
3. ตลับเมตร

4. สายวัดตัว

7.2 แหล่งการเรียนรู้

. 1. บตั รภาพ

2. บตั รตวั เลข

8. กจิ กรรมเสนอแนะ

................................................................................................................................................................................

............................................................................................................................. ...............................

................................................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................................

ลงชือ่ ............................................ครูผสู้ อน ลงชอื่ ...................................................ฝา่ ยวชิ าการ
(...........................................................) (...........................................................)

ลงชื่อ................................................... ผบู้ ริหาร
(...........................................................)

สปั ดาหท์ ี่ 7

โรงเรียนขจรเกยี รตพิ ฒั นา

แผนการจดั การเรียนรู้

ภาคเรยี นท่ี ……1…/………... ชอ่ื ผู้สอน ….……………………………….…….............
กลมุ่ สาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 2 จานวน 1 คาบ
หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 3 การวัดความยาว เรือ่ ง การวัดความยาวเป็นเมตรและเซนตเิ มตร

1. มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตวั ชวี้ ัด

มาตรฐาน ค 2.1 เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวดั วดั และคาดคะเนขนาดของส่ิงทตี่ อ้ งการวดั และไปใช้

ตวั ชี้วดั ที่ ป.2/2 วดั และเปรียบเทียบความยาวเป็นเมตร และเซนตเิ มตร

ป.2/3 แสดงวิธีหาคาตอบของโจทย์ปัญหา การบวก การลบเกีย่ วกับความยาวที่มี

2. สาระสาคัญ/ความคดิ รวบยอด

การวัดความยาวหรือความสงู ของสิง่ ต่าง ๆ เปน็ เซนตเิ มตร อาจวางเครื่องมือวัดเริม่ ท่ี 0 หรือไม่เรมิ่ ท่ี 0 กไ็ ด้

3. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้

ดา้ นความรู้ (K)

วดั และบอกความยาวเปน็ เมตรและเซนตเิ มตร

ดา้ นทักษะกระบวนการ (P)

ใชว้ ิธีการท่ีเหมาะสมในการแกป้ ญั หา และคานวณหาคาตอบได้

ด้านคณุ ลักษณะ(A)

มีวจิ ารณญาณในการคิดและตอบคาถามด้วยความมัน่ ใจ

4. สาระการเรยี นรู้

สาระการเรยี นรู้แกนกลาง สาระการเรยี นรทู้ ้องถ่นิ

การแกป้ ัญหาการวดั ความยาวเปน็ เซนติเมตร พิจารณาตามหลกั สูตรของสถานศกึ ษา

5. กิจกรรมการเรียนรู้

คาบที่ 1
ข้ันนา

ขนั้ กระตุ้นความสนใจ

1. ครูให้ตัวแทนนักเรียนนาไม้เมตรออกมาวัดความยาวของกระดานที่หน้าห้องเรียน โดยครูแนะนาการวัดความยาวของ
กระดานไปทีละเมตร และใหเ้ พ่ือนในหอ้ งชว่ ยกันบันทึกความยาว เช่น ตัวแทนนักเรียนวัดได้ 1 เมตรแล้วขีดรอยขีดไว้ แล้ววัด
ต่อจากรอยขีดเปน็ 2 เมตร ขีดรอยขดี ไว้ แลว้ วัดตอ่ จากรอยขดี อีกจนกระทง่ั ส่วนท่ีไม่ได้วัดความยาว ยาวไม่ถึง 1 เมตร ครูถาม
นักเรียนว่า ขอบกระดานอีกข้างพอดี 1 เมตรหรือไม่ ถ้าไม่พอดีขอบกระดานตรงกับตัวเลขใด ครูบอกความยาวของกระดานท่ี
วัดได้เป็นเมตรและเซนติเมตร จากนั้นครูให้นักเรียนดูภาพที่อยู่ในหนังสือเรียนหน้า 153 แล้วให้นักเรียนบอกความยาวของ

กระดานว่ายาวเท่าไร นักเรียนอาจตอบได้ตามหนังสือเรียนหน้า 153 เช่น กระดานยาว 280 เซนติเมตร หรือ 2 เมตร 80
เซนติเมตร ซ่ึงครูควรจะเน้นย้าว่า จากความสัมพันธ์ 1 เมตร เท่ากับ 100 เซนติเมตร ดังนั้น ความยาว 280 เซนติเมตร
เท่ากับความยาว 2 เมตร 80 เซนติเมตร ครูอาจให้นักเรียนลองวัดความยาวของโต๊ะครู หรือโต๊ะนักเรียนที่อยู่ในห้องเรียน
เพ่ือใหน้ กั เรียนมที ักษะการวัดมากข้นึ

ข้ันสอน

ข้นั สารวจคน้ หา

1. ครูให้ตัวแทนนักเรียนนาไม้เมตรออกมาวัดความยาวของกระดานที่หน้าห้องเรียน โดยครูแนะนาการวัดความยาวของ
กระดานไปทีละเมตร และให้เพือ่ นในหอ้ งชว่ ยกันบันทึกความยาว เช่น ตัวแทนนักเรียนวัดได้ 1 เมตรแล้วขีดรอยขีดไว้ แล้ววัด
ตอ่ จากรอยขดี เปน็ 2 เมตร ขดี รอยขดี ไว้ แลว้ วัดต่อจากรอยขดี อีกจนกระทั่งส่วนท่ีไม่ได้วัดความยาว ยาวไม่ถึง 1 เมตร ครูถาม
นกั เรียนว่า ขอบกระดานอีกข้างพอดี 1 เมตรหรือไม่ ถ้าไม่พอดีขอบกระดานตรงกับตัวเลขใด ครูบอกความยาวของกระดานท่ี
วัดได้เป็นเมตรและเซนติเมตร จากนั้นครูให้นักเรียนดูภาพที่อยู่ในหนังสือเรียนหน้า 153 แล้วให้นักเรียนบอกความยาวของ
กระดานว่ายาวเท่าไร นักเรียนอาจตอบได้ตามหนังสือเรียนหน้า 153 เช่น กระดานยาว 280 เซนติเมตร หรือ 2 เมตร 80
เซนติเมตร ซ่ึงครูควรจะเน้นย้าว่า จากความสัมพันธ์ 1 เมตร เท่ากับ 100 เซนติเมตร ดังนั้น ความยาว 280 เซนติเมตร
เท่ากับความยาว 2 เมตร 80 เซนติเมตร ครูอาจให้นักเรียนลองวัดความยาวของโต๊ะครู หรือโต๊ะนักเรียนท่ีอยู่ในห้องเรียน
เพื่อให้นกั เรยี นมีทักษะการวัดมากขึน้

2. ครูติดบัตรภาพการวัดความสูงตามหนังสือเรียนหน้า 154 แล้วให้นักเรียนบอกความสูงของตู้เสื้อผ้า พัดลมและ
ตู้เย็น เช่น นักเรียนอาจตอบว่า ตู้เสื้อผ้าสูง 1 เมตร 90 เซนติเมตร หรือตู้เสื้อผ้าสูง 190 เซนติเมตร ถ้านักเรียนบอกความสูง
ของสิ่งต่าง ๆ เพยี งอยา่ งเดยี ว เช่น ตอบเปน็ เซนติเมตรอย่างเดียว หรือตอบเป็นเมตรและเซนติเมตรอย่างเดียว ครูควรกระตุ้น
ใหน้ กั เรียนบอกความสูงของสิ่งตา่ ง ๆ ทั้ง 2 ลักษณะ ครใู หน้ กั เรียนตอบความสงู ของพดั ลมและตเู้ ยน็ ในลกั ษณะเดยี วกนั นี้

3. ครูให้นักเรียนทากิจกรรมสนุกกับการวัด ตามหนังสือเรียนหน้า 155 โดยแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่มกลุ่มละเท่า ๆ กัน
และแจกอปุ กรณก์ ลุ่มละ 1 ชดุ แล้วใหน้ กั เรยี นวดั ความยาวหรอื ความสงู ของส่ิงต่าง ๆที่ครูกาหนด เช่น ความสูงประตูห้องเรียน
ความยาวของห้องเรียน ความยาวของโต๊ะครู เป็นต้นแล้วบันทึกสิ่งที่วัดและผลการวัดลงในแบบบันทึกกิจกรรม จากนั้นให้แต่
ละกลุม่ ออกมานาเสนอ โดยครแู ละเพ่อื นในหอ้ งเรียนร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง ถ้ามีกลุ่มใดวัดสิ่งเดียวกัน แต่ผลการวัดได้
ไม่เท่ากันครูควรสาธิตการวัดที่ถูกต้องเพ่ือตรวจสอบอีกครั้ง ซ่ึงก่อนการทากิจกรรม ครูควรสนทนากับนักเรียนเก่ียวกับ
เคร่ืองมือวัดความยาวและความเหมาะสมในการเลอื กเครื่องมือวัดความยาวกับส่งิ ทต่ี อ้ งการวดั ทง้ั นีก้ ารกาหนดสิ่งท่ีต้องการวัด
ครอู าจใหน้ ักเรยี นเลอื กเองตามความเหมาะสมกบั เครอื่ งมอื วัด

ขั้นสรุป
ขนั้ ขยายความเข้าใจ

4. ตรวจสอบความเข้าใจของนกั เรียนโดยใหน้ ักเรยี นบอกความยาวของสิ่งตา่ ง ๆ ทอี่ ยู่ในภาพ
ที่กาหนดให้ตามหนังสือเรยี นหน้า 156 เปน็ รายบุคคลถ้าพบวา่ มนี กั เรียนคนใดบอกความยาวของสงิ่ ต่าง ๆ ไม่ได้ใหน้ ักเรียนมา
ฝึกวดั ความยาวหรือความสูงกับครเู ปน็ รายบุคคล จากน้นั ครูและนักเรยี นร่วมกนั ตรวจสอบ
ความถูกต้องและสรปุ สิ่งท่ีไดเ้ รียนรูก้ ารบอกความยาวหรือความสงู ของสิง่ ต่าง ๆ อาจบอกเปน็ เมตรและเซนติเมตร

ขัน้ ตรวจสอบผล

- การบอกความยาวหรือความสงู ของสงิ่ ต่าง ๆ อาจบอกเปน็ เมตรและเซนตเิ มตร จากนน้ั ใหน้ กั เรียนทาแบบฝกึ หดั

หนา้ 97 – 99

6. การวัดและประเมนิ ผล

การวดั และประเมนิ ผล วิธีการวดั ผล เคร่ืองมอื วดั เกณฑก์ าร

จุดประสงค์ ประเมินผล

ความรคู้ วามเขา้ ใจ (K) - ทดสอบ - คาถามกระตุ้น 70% ขึ้นไป ถือว่า

- การสงั เกต ความคดิ ผ่านเกณฑ์การ

ประเมนิ

ทกั ษะ/กระบวนการ (P) - การจาแนก แบบฝกึ หัด 70% ขึ้นไป ถอื วา่
- การให้เหตผุ ล ผ่านเกณฑ์การ
- การสรปุ ความรู้การปฏบิ ตั ิ ประเมนิ

คุณลักษณะนิสัย (A) - สังเกตพฤติกรรมขณะทางานร่วมกบั กลุ่ม - แบบประเมินพฤติกรรม 70% ข้นึ ไป ถอื วา่
ขณะ ทางานรว่ มกับกล่มุ ผา่ นเกณฑ์การ

ประเมนิ

7. ส่ือ/แหลง่ การเรยี นรู้

7.1 สอื่ การเรียนรู้

1. บตั รภาพแสดงการวัดความยาวหรอื ความสูงในสถานการณ์ต่าง ๆ

2. ไมเ้ มตร สายวดั ชนิดตลับ (ชนิดผา้ )

3. สงิ่ ที่ตอ้ งการวดั เชน่ ดินสอ ไมก้ วาด ขวดนา้

7.2 แหล่งการเรยี นรู้

. 1. บัตรภาพ

2. บัตรตวั เลข

8. กจิ กรรมเสนอแนะ

................................................................................................................................................................................

............................................................................................................................. ...............................

................................................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................................

ลงช่อื ............................................ครผู สู้ อน ลงช่ือ...................................................ฝ่ายวิชาการ

(...........................................................) (...........................................................)

ลงชื่อ................................................... ผู้บริหาร
(...........................................................)

สปั ดาห์ท่ี 7

โรงเรียนขจรเกยี รติพัฒนา

แผนการจดั การเรยี นรู้

ภาคเรยี นท่ี ……1…/………... ชือ่ ผู้สอน ….……………………………….…….............
กลุ่มสาระการเรยี นรู้ คณิตศาสตร์ ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 2 จานวน 1 คาบ
หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 3 การวดั ความยาว เรือ่ ง การคาดคะเนความยาวเป็นเมตร

1. มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตวั ช้วี ัด

มาตรฐาน ค 2.1 เข้าใจพื้นฐานเกยี่ วกบั การวัด วดั และคาดคะเนขนาดของส่ิงท่ตี ้องการวัดและไปใช้

ตัวชีว้ ดั ที่ ป.2/2 วดั และเปรียบเทยี บความยาวเป็นเมตร และเซนตเิ มตร

ป.2/3 แสดงวิธีหาคาตอบของโจทย์ปญั หา การบวก การลบเกีย่ วกบั ความยาวทม่ี ี

2. สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด

การคาดคะเนความยาวหรือความสงู เปน็ เมตรเปน็ การบอกความยาวหรอื ความสงู เป็นเมตรให้ใกลเ้ คียงกับความยาว

หรอื ความสงู จริงอาจเทียบกบั ความยาวหรือความสูง 1 เมตร โดยไมใ่ ชเ้ ครอ่ื งมือวดั

3. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้

ด้านความรู้ (K)

เปลยี่ นหนว่ ยความยาวหรอื ความสงู โดยใช้ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งเมตรกบั เซนติเมตร

ดา้ นทักษะกระบวนการ (P)

ใช้วิธกี ารท่ีเหมาะสมในการแกป้ ัญหา และคานวณหาคาตอบได้

ดา้ นคณุ ลักษณะ(A)

มวี จิ ารณญาณในการคิดและตอบคาถามด้วยความม่นั ใจ

4. สาระการเรยี นรู้

สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรียนร้ทู ้องถนิ่

การคาดคะเนความยาวเปน็ เมตร พิจารณาตามหลักสูตรของสถานศึกษา

5. กจิ กรรมการเรยี นรู้

คาบที่ 1
ข้นั นา

ข้ันกระตนุ้ ความสนใจ

1. ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับการคาดคะเนความยาวเป็นเซนติเมตร โดยทบทวนความรู้ว่า การคาดคะเนความยาว
เป็นเซนติเมตรนั้นต้องเทียบกับความยาว 1 เซนติเมตร จากนั้นครูถามนักเรียนว่า ถ้าต้องการคาดคะเนความยาวของกระดาน
เป็นเมตร ต้องเทียบกับความยาวก่ีเมตร นักเรียนอาจยังตอบไม่ได้ ครูสาธิตการคาดคะเนความยาวของกระดาน ดังน้ี ครูให้
ตัวแทนนกั เรียนออกมายนื ถือไมเ้ มตรวางท่ีขอบกระดานให้เห็นความยาว 1 เมตร

ขัน้ สอน

ขน้ั สารวจคน้ หา

1. ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับการคาดคะเนความยาวเป็นเซนติเมตร โดยทบทวนความรู้ว่า การคาดคะเนความยาวเป็น
เซนตเิ มตรนั้นต้องเทียบกับความยาว 1 เซนติเมตร จากนั้นครูถามนักเรียนว่า ถ้าต้องการคาดคะเนความยาวของกระดานเป็น
เมตร ต้องเทยี บกบั ความยาวกเี่ มตร นักเรยี นอาจยังตอบไม่ได้ ครูสาธิตการคาดคะเนความยาวของกระดาน ดังน้ี ครูให้ตัวแทน
นักเรียนออกมายืนถือไม้เมตรวางท่ีขอบกระดานให้เห็นความยาว 1 เมตร ดังรูปแรกในหนังสือเรียนหน้า 161 ครูให้นักเรียน
คาดคะเนวา่ กระดานน้นี า่ จะยาวกเ่ี มตร เมื่อนักเรยี นตอบคาถามครูแล้ว ครูใหต้ วั แทนนกั เรียนวดั ความยาวของกระดาน พร้อม
ทั้งบอกความยาวจริงของกระดานท่ีวัดได้จากน้ันครูถามต่อไปว่า ใครคาดคะเนได้ใกล้เคียงกับความยาวจริงมากที่สุด ถ้า
นักเรยี นคาดคะเนว่า กระดานน่าจะยาว 3 เมตร แต่วัดจริงได้ 2 เมตร 80 เซนติเมตร แสดงว่า นักเรียนคาดคะเนได้ใกล้เคียง
กบั ความยาวจริง หรือถา้ วัดจรงิ ได้ 3 เมตร 10 เซนตเิ มตร ก็แสดงวา่ นักเรียนคาดคะเนได้ใกล้เคียงกบั ความยาวจริง ครูเน้นย้า
ว่า ความยาวจริงที่วัดได้อาจมากกว่าหรือน้อยกว่าความยาวที่เราคาดคะเนไว้ก็ได้ จากนั้นครูให้นักเรียนคาดคะเนความยาว
ของส่ิงท่อี ย่รู อบตัว เชน่ ความยาวของหอ้ งเรียน ครูและนักเรยี นรว่ มกันวดั ความยาวจรงิ ของสง่ิ นน้ั

2. ครูให้นักเรียนคาดคะเนความสูงของประตูห้องเรียน โดยให้ตัวแทนนักเรียนนาไม้เมตรมาเทียบให้เป็นความสูง 1
เมตร ดงั รูปแรกตามหนังสอื เรยี นหนา้ 162 ครูถามนักเรยี นวา่ ประตูน่าจะสูงกี่เมตร เมื่อนักเรียนตอบคาถามของครูแล้ว ครูให้
ตัวแทนนักเรียนวัดความสูงจริงของประตูพร้อมทั้งบอกความสูงจริงของประตูท่ีวัดได้ จากนั้นครูถามต่อไปว่า ใครคาดคะเนได้
ใกล้เคยี งกบั ความสูงจริงมากท่ีสุด ถ้านักเรียนคาดคะเนวา่ ประตูนา่ จะยาว 2 เมตร แตว่ ดั จริงได้ 2 เมตร 20 เซนติเมตร แสดง
ว่า นักเรียนคาดคะเนได้ใกล้เคียงกับความสูงจริง หรือถ้าวัดจริงได้ 1 เมตร 90 เซนติเมตร ก็แสดงว่า นักเรียนคาดคะเนได้
ใกลเ้ คียงกบั ความสงู จรงิ ครูเน้นยา้ ว่า ความสูงจรงิ ที่วัดได้อาจมากกว่าหรือน้อยกว่าความสูงที่เราคาดคะเนไว้ก็ได้จากนั้นครูให้
นักเรียนคาดคะเนความสูงของส่ิงท่ีอยู่รอบตัว เช่น ความสูงของช้ันวางหนังสือ ครูและนักเรียนร่วมกันวัดความสูงจริงของสิ่ง
น้ัน

3. ครูใหน้ ักเรยี นทากจิ กรรม สนุกกับการคาดคะเนตามหนังสอื เรียนหน้า 163 โดยแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่มกลุ่มละเท่า ๆ
กัน แล้วแจกอุปกรณ์กลุ่มละ 1 ชุด โดยครูกาหนดสิ่งของท่ีต้องการวัด 3 อย่าง จากนั้นให้นักเรียนแต่ละกลุ่มคาดคะเนความ
ยาวหรือความสูงของสิ่งต่าง ๆ ท่ีครูกาหนดให้เป็นเมตร แล้วบันทึกลงในใบบันทึกกิจกรรมครูให้นักเรียนส่งตัวแทนกลุ่มมา
ช่วยกนั วัดความยาวหรือความสูงจรงิ ของสง่ิ ของ 3 อยา่ งน้ัน แล้วบันทกึ ลงในใบกจิ กรรม ครอู าจถามคาถามเพ่ิมเติมว่า นักเรียน
กลุ่มใดคาดคะเนความยาวหรือความสูงไดใ้ กลเ้ คยี งกับความยาวหรือความสูงจริงท่ีวัดได้ แล้วให้กลุ่มนั้นออกมานาเสนอผลงาน
ครแู ละเพอ่ื นในหอ้ งเรียนช่วยกันตรวจสอบความถกู ตอ้ ง

ขน้ั สรปุ

ขัน้ ขยายความเข้าใจ

4. ตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียนโดยให้นักเรียนคาดคะเนความยาวของสิ่งของ 1 อย่าง และความสูงของส่ิงของ
1 อย่าง เขียนลงในสมุดเป็นรายบุคคล ครูและนักเรียนร่วมกันวัดความยาวและความสูงจริงของส่ิงนั้นพร้อมท้ังให้นักเรียนแต่
ละคนตรวจสอบว่า นักเรียนคาดคะเนความยาวและความสูงได้ใกล้เคียงกับความยาวและความสูงจริงหรือไม่ จากน้ันครูและ
นักเรียนรว่ มกนั สรุปสิ่งที่ได้เรยี นรู้

- การคาดคะเนความยาวหรอื ความสงู เป็นเมตร เปน็ การบอกความยาวหรือความสูงเปน็ เมตร
ให้ใกลเ้ คียงกบั ความยาวหรือความสูงจรงิ โดยไมใ่ ช้เครื่องมือวัด

- การคาดคะเนความยาวหรอื ความสงู เปน็ เมตร อาจเทียบกับความยาวหรอื ความสงู 1 เมตร

ขนั้ ตรวจสอบผล

- การคาดคะเนความยาวหรอื ความสงู เปน็ เมตร เป็นการบอกความยาวหรือความสูงเปน็ เมตร

ให้ใกล้เคยี งกบั ความยาวหรอื ความสูงจรงิ โดยไม่ใชเ้ คร่ืองมือวัด

- การคาดคะเนความยาวหรอื ความสงู เป็นเมตร อาจเทยี บกับความยาวหรือความสงู 1 เมตรจากน้นั ให้นักเรยี นทา

แบบฝึกหัด หนา้ 103 – 104

6. การวดั และประเมินผล

การวัดและประเมนิ ผลจุดประสงค์ วธิ ีการวดั ผล เคร่ืองมอื วัด เกณฑก์ ารประเมินผล

ความรคู้ วามเข้าใจ (K) -ทดสอบ - คาถามกระตนุ้ ความคิด 70% ขน้ึ ไป ถือว่าผ่าน

-การสังเกต เกณฑ์การประเมิน

ทกั ษะ/กระบวนการ (P) -การจาแนก แบบฝกึ หดั 70% ขนึ้ ไป ถอื วา่ ผ่าน

-การให้เหตผุ ล เกณฑ์การประเมิน

-การสรปุ ความรูก้ ารปฏิบตั ิ

คณุ ลกั ษณะนิสยั (A) - สงั เกตพฤติกรรมขณะ - แบบประเมินพฤติกรรม 70% ข้นึ ไป ถือวา่ ผ่าน

ทางานรว่ มกับกลมุ่ ขณะ ทางานรว่ มกับกลมุ่ เกณฑ์การประเมิน

7. ส่อื /แหล่งการเรียนรู้

7.1 สอ่ื การเรยี นรู้

1. บตั รภาพแสดงการวดั ความยาวหรอื ความสงู ในสถานการณ์ต่าง ๆ

2. ไมเ้ มตร สายวัดชนิดตลบั (ชนิดผา้ )

3. สงิ่ ทตี่ ้องการวดั เชน่ ดนิ สอ ไม้กวาด ขวดนา้

7.2 แหลง่ การเรยี นรู้

. 1. บตั รภาพ

2. บตั รตวั เลข

8. กจิ กรรมเสนอแนะ

................................................................................................................................................................................

............................................................................................................................. ...............................

................................................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................................

ลงชอ่ื ............................................ครูผู้สอน ลงชื่อ...................................................ฝา่ ยวิชาการ
(...........................................................) (...........................................................)

ลงชอื่ ................................................... ผู้บริหาร
(...........................................................)

สปั ดาห์ท่ี 8

โรงเรยี นขจรเกียรตพิ ัฒนา

แผนการจัดการเรียนรู้

ภาคเรียนที่ ……1…/………... ชอื่ ผสู้ อน ….……………………………….…….............
กลุ่มสาระการเรยี นรู้ คณติ ศาสตร์ ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 2 จานวน 1 คาบ
หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 3 การวดั ความยาว เร่อื ง การเปรียบเทยี บความยาว (1)

1. มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตัวชีว้ ัด

มาตรฐาน ค 2.1 เขา้ ใจพนื้ ฐานเกย่ี วกบั การวัด วดั และคาดคะเนขนาดของสิ่งทต่ี อ้ งการวัดและไปใช้

ตวั ชีว้ ัดท่ี ป.2/2 วดั และเปรยี บเทยี บความยาวเป็นเมตร และเซนตเิ มตร

ป.2/3 แสดงวธิ ีหาคาตอบของโจทย์ปัญหา การบวก การลบเกีย่ วกับความยาวที่มี

2. สาระสาคญั /ความคดิ รวบยอด

• การเปรียบเทียบความยาวเป็นเมตรและเซนติเมตรของส่งิ ต่าง ๆ สองสิง่ สิ่งทม่ี ีความยาวเป็นเมตรมากกว่าจะยาว

กว่า ถา้ ความยาวเป็นเมตรเท่ากนั ส่งิ ทม่ี ีความยาวเปน็ เซนตเิ มตรมากกวา่ จะยาวกว่า

• การเปรียบเทยี บความยาวท่ีมีหนว่ ยต่างกนั ต้องเปลย่ี นหน่วยให้เป็นหนว่ ยเดียวกนั ก่อนแลว้ นามาเปรียบเทียบกนั

3. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้

ด้านความรู้ (K)

เปรียบเทยี บความยาวหรือความสูงได้

ดา้ นทกั ษะกระบวนการ (P)

ใชว้ ิธีการทีเ่ หมาะสมในการแกป้ ัญหา และคานวณหาคาตอบได้

ด้านคณุ ลกั ษณะ(A)

มวี ิจารณญาณในการคิดและตอบคาถามดว้ ยความม่ันใจ

4. สาระการเรยี นรู้

สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง สาระการเรยี นรูท้ ้องถิ่น

การเปรียบเทียบความยาว พิจารณาตามหลกั สูตรของสถานศึกษา

5. กจิ กรรมการเรยี นรู้

คาบที่ 1
ขน้ั นา

ขั้นกระตนุ้ ความสนใจ

1. ครสู นทนากับนักเรียนเก่ียวกับความสูงของนักเรียนแต่ละคน แล้วให้นักเรียนบอกความสูงของตนเอง แล้วใช้การถาม-ตอบ
ว่าใครสงู กวา่ และใครเต้ียกว่า จากนน้ั ครูใช้ขอ้ มูลในหนงั สือเรยี นหนา้ 165 ถามนกั เรยี นวา่ ใบบัวสูงกว่าแกว้ ตาเทา่ ไร
หาคาตอบได้อย่างไร

ข้นั สอน

ขนั้ สารวจคน้ หา

1. ครสู นทนากับนักเรียนเก่ียวกับความสูงของนักเรียนแต่ละคน แล้วให้นักเรียนบอกความสูงของตนเอง แล้วใช้การถาม-ตอบ
ว่าใครสูงกว่า และใครเตี้ยกว่า จากนั้นครูใช้ข้อมูลในหนังสือเรียนหน้า 165 ถามนักเรียนว่าใบบัวสูงกว่าแก้วตาเท่าไร หา
คาตอบไดอ้ ยา่ งไร
นักเรยี นตอบวา่ ใบบัวสงู กวา่ แก้วตา 132 – 120 = 12 เซนตเิ มตร

ครถู ามต่อไปวา่ ขุนสงู เทา่ ไรและสูงกวา่ ใบบวั เท่าไร
นกั เรยี นตอบวา่ ขนุ สงู 141 เซนตเิ มตร และขุนสงู กว่าใบบัว 141 - 132 = 9 เซนติเมตร
จากนั้นครูใหน้ ักเรยี นช่วยกนั เปรียบเทียบความยาวของกระดาษสายรุ้งสีแดงและกระดาษสายรุ้งสีเขียวในกรอบท้ายหน้า 165
ว่ากระดาษสายรงุ้ สใี ดสน้ั กว่า และส้นั กวา่ กนั เท่าไร (สีเขียวสั้นกว่าและ สั้นกวา่ 450 – 372 = 78 เซนติเมตร)
2. ครยู กตัวอย่างการเปรยี บเทียบความยาวท่ีมีหนว่ ยเมตรตา่ งกันตามหนงั สือเรยี นหน้า 166 โดย
การเปรียบความยาวของธงราวเส้นท่ี 1 กบั เสน้ ที่ 2 ครใู ห้นักเรียนบอกความยาวของธงราวเส้นท่ี 1 (ยาว 2 เมตร 25
เซนตเิ มตร) และธงราวเสน้ ที่ 2 (ยาว 3 เมตร 15 เซนติเมตร) ให้นักเรียนสงั เกตความยาวที่เป็นหน่วย
เมตรว่า ธงราวใดมคี วามยาวเปน็ เมตรมากกว่าธงราวน้นั จะมคี วามยาวมากกว่า ดังนั้น ธงราวเส้นท่ี 2 ยาวกว่า เส้นที่ 1 แล้วครู
ถามนักเรียนว่า ธงราวเส้นที่ 2 กับ เส้นท่ี 3 ธงราว เส้นใดส้ันกว่า (ธงราวเส้นท่ี 3 ส้ันกว่าธงราวเส้นที่ 2) ครูให้นักเรียน
พิจารณาความยาวของธงราวทั้ง 2 เส้น จนได้ข้อสรุปร่วมกันว่า ธงราวใดมีความยาวเป็นเมตร น้อยกว่า ธงราวนั้นจะมีความ
ยาวสน้ั กว่า ดังนน้ั ธงราวเส้นที่ 3 ส้นั กว่า ธงราวเสน้ ท่ี 2 จากนัน้ ครูยกตวั อย่างการเปรยี บเทยี บความยาวที่มีหน่วยเมตรเท่ากัน
โดยใหน้ ักเรยี นพจิ ารณาว่า ธงราวเส้นที่ 1 กบั ธงราวเสน้ ท่ี 3 เส้นใดยาวกว่า เพราะเหตุใด โดยให้สังเกตความยาวเป็นเมตร ซ่ึง
ความยาวเปน็ เมตรเทา่ กนั แล้วใหส้ ังเกตความยาวเป็นเซนติเมตร จะได้ว่าความยาวเป็นเซนติเมตรของธงราวเส้นท่ี 3 มากกว่า
ดังนั้น ธงราวเส้นที่ 3 ยาวกว่า ธงราวเส้นที่ 1 ครูอาจยกตัวอย่างการเปรียบเทียบในลักษณะเดียวกันน้ีเพิ่มเติมอีก 2 – 3
ตวั อย่าง จากนั้นครใู หน้ กั เรยี นชว่ ยกันตอบคาถามข้อ 1 และ 2 ในกรอบท้ายหน้า 166 ครูและนักเรียนร่วมกันตรวจสอบความ
ถูกตอ้ ง
3. ครใู หน้ กั เรียนช่วยกันตอบคาถามตามหนังสือเรียนหน้า 167 ซึ่งเป็นการเปรียบเทียบความสูงของอาคาร A อาคาร
B และอาคาร C และจากน้ันให้นักเรียนเปรียบเทียบระยะทางจากอาคาร A ไปอาคาร B ระยะทางจากอาคาร B ไปอาคาร C
ระยะทางจากอาคาร A ไปอาคาร C โดยใช้หลักการเปรียบเทียบตามข้อสรุปท่ีได้จากหน้า 166ครูและนักเรียนร่วมกัน
ตรวจสอบความถกู ตอ้ ง

ขั้นสรุป

ขนั้ ขยายความเข้าใจ

4. ตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียนโดยให้นักเรียนเปรียบเทียบความยาวหรือความสูงของส่ิงท่ีกาหนดให้ เป็น
รายบุคคล ครแู ละนกั เรียนร่วมกันตรวจสอบความถกู ต้อง และร่วมกนั สรุปสง่ิ ท่ไี ดเ้ รียนรู้

- การเปรียบเทียบความยาวเป็นเมตรและเซนติเมตรของสิ่งต่าง ๆ สองส่ิง สิ่งท่ีมีความยาวเป็นเมตรมากกว่าจะยาว
กวา่ ถ้าความยาวเป็นเมตรเทา่ กันส่ิงทีม่ คี วามยาวเปน็ เซนติเมตรมากกวา่ จะยาวกว่า

ขน้ั ตรวจสอบผล

- การเปรียบเทยี บความยาวเป็นเมตรและเซนตเิ มตรของส่ิงต่าง ๆ สองส่งิ ส่งิ ทมี่ คี วามยาวเป็นเมตรมากกว่าจะยาว

กวา่ ถา้ ความยาวเปน็ เมตรเท่ากนั ส่งิ ที่มีความยาวเป็นเซนติเมตรมากกวา่ จะยาวกวา่ จากนัน้ ใหน้ กั เรียนทาแบบฝึกหดั หน้า

105 - 106

6. การวัดและประเมินผล

การวดั และประเมนิ ผลจดุ ประสงค์ วธิ ีการวัดผล เคร่อื งมือวดั เกณฑ์การประเมนิ ผล

ความรคู้ วามเขา้ ใจ (K) -ทดสอบ - คาถามกระตุน้ ความคดิ 70% ข้ึนไป ถอื ว่าผา่ น

-การสงั เกต เกณฑ์การประเมนิ

ทกั ษะ/กระบวนการ (P) -การจาแนก แบบฝกึ หดั 70% ขนึ้ ไป ถือว่าผ่าน

-การให้เหตผุ ล เกณฑ์การประเมนิ

-การสรปุ ความรู้การปฏิบัติ

คุณลักษณะนิสยั (A) - สังเกตพฤติกรรมขณะ - แบบประเมนิ พฤติกรรม 70% ขน้ึ ไป ถือวา่ ผา่ น

ทางานรว่ มกับกลุ่ม ขณะ ทางานร่วมกับกลุม่ เกณฑ์การประเมิน

7. สอื่ /แหลง่ การเรยี นรู้

7.1 สอ่ื การเรียนรู้

1. บตั รภาพแสดงการวดั ความยาวหรอื ความสูงในสถานการณต์ า่ ง ๆ

2. ไมเ้ มตร สายวดั ชนดิ ตลบั (ชนิดผ้า)

3. สิ่งทต่ี อ้ งการวัด เชน่ ดินสอ ไม้กวาด ขวดนา้

7.2 แหล่งการเรยี นรู้

. 1. บัตรภาพ

2. บัตรตวั เลข

8. กจิ กรรมเสนอแนะ

................................................................................................................................................................................

............................................................................................................................. ...............................

................................................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................................

ลงช่อื ............................................ครูผูส้ อน ลงช่อื ...................................................ฝา่ ยวิชาการ

(...........................................................) (...........................................................)

ลงชือ่ ................................................... ผบู้ ริหาร
(...........................................................)

สปั ดาห์ท่ี 8

โรงเรยี นขจรเกียรติพฒั นา

แผนการจัดการเรียนรู้

ภาคเรยี นท่ี ……1…/………... ชอ่ื ผ้สู อน ….……………………………….…….............
กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณติ ศาสตร์ ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 2 จานวน 1 คาบ
หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 3 การวัดความยาว เร่ือง การเปรยี บเทยี บความยาว (2)

1. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ชวี้ ัด

มาตรฐาน ค 2.1 เข้าใจพ้ืนฐานเกี่ยวกับการวดั วัดและคาดคะเนขนาดของส่งิ ทต่ี อ้ งการวดั และไปใช้

ตัวชว้ี ัดที่ ป.2/2 วัดและเปรียบเทียบความยาวเป็นเมตร และเซนตเิ มตร

ป.2/3 แสดงวิธีหาคาตอบของโจทยป์ ญั หา การบวก การลบเกย่ี วกบั ความยาวท่มี ี

2. สาระสาคัญ/ความคดิ รวบยอด

• การเปรียบเทยี บความยาวเปน็ เมตรและเซนตเิ มตรของสง่ิ ต่าง ๆ สองสงิ่ ส่ิงที่มีความยาวเป็นเมตรมากกวา่ จะยาว

กว่า ถ้าความยาวเป็นเมตรเท่ากัน ส่งิ ท่ีมีความยาวเปน็ เซนตเิ มตรมากกวา่ จะยาวกว่า

• การเปรียบเทยี บความยาวที่มหี น่วยต่างกนั ต้องเปลยี่ นหน่วยใหเ้ ป็นหนว่ ยเดยี วกนั ก่อนแลว้ นามาเปรยี บเทียบกนั

3. จุดประสงค์การเรียนรู้

ด้านความรู้ (K)

เปรยี บเทียบความยาวหรือความสูงได้

ดา้ นทักษะกระบวนการ (P)

ใชว้ ิธีการท่เี หมาะสมในการแก้ปญั หา และคานวณหาคาตอบได้

ดา้ นคุณลักษณะ(A)

มวี ิจารณญาณในการคิดและตอบคาถามด้วยความมนั่ ใจ

4. สาระการเรียนรู้

สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง สาระการเรียนร้ทู อ้ งถ่นิ

การเปรียบเทยี บความยาว พจิ ารณาตามหลักสตู รของสถานศกึ ษา

5. กิจกรรมการเรยี นรู้

คาบที่ 1
ข้นั นา

ขัน้ กระตุน้ ความสนใจ

1. ครสู นทนากบั นักเรียนเก่ยี วกบั การเปรียบเทยี บความยาวท่เี ปน็ หน่วยเดยี วกนั โดยอาจเปรียบเทียบความสูงของ
นักเรียน 2 คน แล้วนาเข้าสกู่ ารเปรยี บเทยี บความยาวที่มีหน่วยต่างกันทีใ่ ชค้ วามสัมพนั ธ์ 1 เมตร เทา่ กบั 100 เซนตเิ มตร

ขน้ั สอน

ข้นั สารวจคน้ หา

1. ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับการเปรียบเทียบความยาวที่เป็นหน่วยเดียวกันโดยอาจเปรียบเทียบความสูงของนักเรียน 2
คน แล้วนาเข้าสู่การเปรียบเทียบความยาวท่ีมีหน่วยต่างกันท่ีใช้ความสัมพันธ์ 1 เมตร เท่ากับ 100 เซนติเมตร จากน้ันครู
ยกตัวอย่างตามหนังสือเรียนหน้า 169 ครูถามนักเรียนว่าต้นกล้าสูงเท่าไร ช้ันวางหนังสือสูงเท่าไร ต้นกล้ากับชั้นวางหนังสือ
อะไรสงู กว่า ซง่ึ ในการเปรียบเทยี บความสูงของตน้ กล้า
132 เซนติเมตร หรือ 1 เมตร 32 เซนติเมตร และความสูงของชั้นวางหนังสือ 1 เมตร 20 เซนติเมตร หรือ 120 เซนติเมตร
อาจเปรียบเทียบในหน่วยเซนติเมตร หรือเปรียบเทียบในหน่วยเมตรและเซนติเมตรก็ได้ แต่ในการเปรียบเทียบในหน่วยเมตร
และเซนติเมตร จานวนในเมตรเป็น 1 เมตร เท่ากัน จึงต้องเปรียบเทียบในหน่วยเซนติเมตร ครูอาจยกตัวอย่างอ่ืนเพิ่มเติมเช่น
ประตูหอ้ งเรียนสูง 220 เซนตเิ มตร ประตูหอ้ งน้าสงู 2 เมตร 10 เซนตเิ มตร นกั เรียนเปรียบเทียบประตูท้ังสองบาน จากน้ันครู
และนักเรียนร่วมกันสรุปว่า การเปรียบเทียบความยาวท่ีมีหน่วยต่างกันต้องเปล่ียนหน่วยความยาวให้เป็นหน่วยเดียวกันก่อน
แลว้ จึงนามาเปรียบเทียบกัน

2. ครูยกตัวอยา่ งความยาวของเชือกชนิดต่าง ๆ ตามหนังสือเรียนหน้า 170 แล้วให้นักเรียนช่วยกันเปรียบเทียบความ
ยาวโดยการเปลี่ยนหน่วยความยาวของเชือกไนล่อน เชอื กฟาง และไหมพรม ให้เป็นหน่วยความยาวเดียวกัน เช่น เชือกไนล่อน
ยาว 3 ม.75 ซม. หรือ375 เซนติเมตร เชือกฟางยาว 410 เซนติเมตร หรือ 4 ม. 10 ซม. ไหมพรมยาว 5 ม. หรือ 500
เซนติเมตร แล้วนักเรยี นชว่ ยกันตอบคาถามข้อ 1 - 4 ในกรอบท้ายหนา้ 170

3. ครูจัดกิจกรรมสนุกกับการเปรียบเทียบ โดยเตรียมบัตรภาพ 2 ชุด ชุดที่ 1 บัตรภาพความยาว ชุดที่ 2 บัตรภาพ
ความสงู แลว้ แบง่ นกั เรยี นออกเป็นกลุม่ ตามความเหมาะสมกับจานวนนักเรยี นในชั้นเรยี น แนะนาการทางานร่วมกันเป็นทีม ครู
ตดิ บตั รภาพชดุ ที่ 1 บนกระดาน ให้นักเรยี นแต่ละกลุ่มระดมความคิดในการเปรียบเทียบความยาวของสิ่งของในภาพเชือกยาว
2 ม. 20 ซม หรือ 220 ซม. ริบบ้ินยาว 1 ม. 50 ซม. หรือ 150 ซม. โซ่ยาว 2 ม. 50 ซม. หรือ 250 ซม. แล้วเรียงลาดับความ
ยาวของ โซ่ เชือก และ ริบบ้ิน พร้อมท้ังให้เหตุผลประกอบการเปรียบเทียบ ครูและนักเรียนร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง
จากน้นั ครตู ดิ บัตรภาพชุดที่ 2 ใหน้ ักเรยี นแต่ละกลมุ่ ระดมความคิดในการเปรยี บเทยี บความสูงของสิ่งของในภาพเสาธงสูง 8 ม.
หรือ 800 ซม.หอนาฬิกาสูง 750 ซม. หรือ 7 ม. 50 ซม. เสาไฟถนนสูง 6 ม. 50 ซม. หรือ 650 ซม. แล้วเรียงลาดับความสูง
ของ เสาธง หอนาฬิกา และ เสาไฟถนน พร้อมท้ังให้เหตุผลประกอบการเปรียบเทียบ ครูและนักเรียนร่วมกันตรวจสอบความ
ถูกต้อง

ขั้นสรปุ

ขั้นขยายความเข้าใจ

4. ตรวจสอบความเขา้ ใจของนกั เรียนโดยให้นกั เรียนเปรยี บเทียบความยาวหรอื ความสงู ของสง่ิ ทกี่ าหนดให้ตามหนังสือ
เรยี น หนา้ 172 เป็นรายบคุ คล ครูอาจเสริมกิจกรรมโดยกาหนดส่ิงของมาให้เช่น เชือกสีฟ้ายาว 2 ม. 20 ซม. ให้นักเรียนบอก
ความยาวของเชือกสีแดงท่ียาวน้อยกว่า เชือกสีฟ้า และให้บอกความยาวของเชือกสีเขียวที่ยาวมากกว่าเชือกสีฟ้าโดยให้
นกั เรียนระบคุ วามยาวเองครูและนกั เรยี นรว่ มกันตรวจสอบความถูกต้องและรว่ มกันสรุปส่ิงท่ีไดเ้ รยี นรู้

- การเปรยี บเทยี บความยาวทีม่ หี น่วยตา่ งกันต้องเปล่ียนหนว่ ยให้เป็นหนว่ ยเดยี วกันกอ่ นแลว้ นามาเปรยี บเทียบกนั

ข้ันตรวจสอบผล

- การเปรยี บเทยี บความยาวท่มี ีหนว่ ยต่างกันต้องเปล่ยี นหนว่ ยใหเ้ ป็นหนว่ ยเดียวกันก่อนแล้วนามาเปรียบเทียบกัน
จากนน้ั ให้นกั เรยี นทาแบบฝึกหดั หนา้ 107 – 108

6. การวดั และประเมนิ ผล

การวดั และประเมินผลจุดประสงค์ วธิ กี ารวดั ผล เครอ่ื งมอื วดั เกณฑก์ ารประเมนิ ผล
- คาถามกระต้นุ ความคดิ 70% ข้ึนไป ถือว่าผา่ น
ความรคู้ วามเข้าใจ (K) -ทดสอบ เกณฑ์การประเมนิ
แบบฝกึ หดั 70% ขน้ึ ไป ถอื วา่ ผา่ น
-การสงั เกต เกณฑ์การประเมนิ
- แบบประเมินพฤติกรรม
ทกั ษะ/กระบวนการ (P) -การจาแนก ขณะ ทางานรว่ มกับกลุม่ 70% ข้นึ ไป ถอื วา่ ผา่ น
เกณฑ์การประเมิน
-การใหเ้ หตผุ ล

-การสรปุ ความรู้การปฏิบตั ิ

คณุ ลกั ษณะนิสยั (A) - สงั เกตพฤติกรรมขณะ

ทางานรว่ มกับกลุ่ม

7. สอ่ื /แหลง่ การเรยี นรู้
7.1 สอื่ การเรยี นรู้

1. บัตรภาพแสดงการวดั ความยาวหรอื ความสงู ในสถานการณต์ ่าง ๆ
2. ไม้เมตร สายวัดชนดิ ตลับ (ชนิดผา้ )
3. สง่ิ ทีต่ อ้ งการวัด เช่น ดินสอ ไม้กวาด ขวดนา้

7.2 แหลง่ การเรียนรู้

. 1. บัตรภาพ
2. บัตรตวั เลข

8. กจิ กรรมเสนอแนะ
................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ...............................
................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................

ลงชอ่ื ............................................ครผู สู้ อน ลงชื่อ...................................................ฝา่ ยวชิ าการ
(...........................................................) (...........................................................)

ลงชือ่ ................................................... ผู้บริหาร
(...........................................................)

สัปดาห์ท่ี 8

โรงเรยี นขจรเกยี รตพิ ัฒนา

แผนการจดั การเรียนรู้

ภาคเรียนท่ี ……1…/………... ช่อื ผู้สอน ….……………………………….…….............
กลุ่มสาระการเรยี นรู้ คณิตศาสตร์ ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 2 จานวน 1 คาบ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 การวดั ความยาว เร่ือง การวดั และเปรยี บเทียบระยะทาง

1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวช้ีวดั

มาตรฐาน ค 2.1 เขา้ ใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวดั วัดและคาดคะเนขนาดของสง่ิ ทต่ี ้องการวดั และไปใช้

ตวั ช้วี ดั ท่ี ป.2/2 วัดและเปรียบเทียบความยาวเป็นเมตร และเซนติเมตร

ป.2/3 แสดงวธิ ีหาคาตอบของโจทย์ปญั หา การบวก การลบเก่ียวกับความยาวทีม่ ี

2. สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด

• การเปรียบเทียบความยาวเปน็ เมตรและเซนติเมตรของสงิ่ ต่าง ๆ สองสง่ิ ส่ิงที่มีความยาวเปน็ เมตรมากกวา่ จะยาว

กวา่ ถา้ ความยาวเป็นเมตรเท่ากัน สง่ิ ท่ีมีความยาวเป็นเซนติเมตรมากกวา่ จะยาวกวา่

• การเปรยี บเทียบความยาวที่มีหน่วยตา่ งกนั ต้องเปลี่ยนหนว่ ยให้เปน็ หน่วยเดียวกันกอ่ นแลว้ นามาเปรียบเทียบกนั

3. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้

ดา้ นความรู้ (K)

วดั และเปรียบเทียบระยะทางระหว่างตาแหน่งสองตาแหนง่ ท่กี าหนดให้

ด้านทักษะกระบวนการ (P)

ใชว้ ธิ ีการท่ีเหมาะสมในการแกป้ ญั หา และคานวณหาคาตอบได้

ด้านคณุ ลักษณะ(A)

มวี จิ ารณญาณในการคิดและตอบคาถามด้วยความมัน่ ใจ

4. สาระการเรียนรู้

สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรยี นรู้ท้องถน่ิ

การวัดและเปรยี บเทยี บระยะทาง พจิ ารณาตามหลักสตู รของสถานศกึ ษา

5. กิจกรรมการเรยี นรู้

คาบท่ี 1
ขั้นนา

ขัน้ กระตุ้นความสนใจ

1. ครูสนทนากบั นักเรยี นเกยี่ วกบั ภาพในหนงั สือเรียนหนา้ 173 วา่ เปน็ ภาพเก่ียวกับระยะทางจากบา้ นใบบัวไปยงั สถานที่ต่าง ๆ
เชน่ โรงเรียน หอนาฬิกา และตลาด ครูใช้การถาม-ตอบ เพ่ือใหน้ กั เรยี นดภู าพแลว้ ตอบคาถาม เช่น

ระยะทางจากบ้านใบบัวถงึ หอนาฬกิ าเป็นเทา่ ไร (192 เมตร)
ระยะทางจากหอนาฬิกาถึงตลาดเป็นเทา่ ไร (380 เมตร)

ระยะทางจากหอนาฬิกาถงึ โรงเรยี นเป็นเท่าไร (220 เมตร)

ขน้ั สอน

ขน้ั สารวจค้นหา

1. ครสู นทนากับนกั เรียนเก่ียวกบั ภาพในหนังสือเรียนหนา้ 173 วา่ เปน็ ภาพเกีย่ วกับระยะทางจากบ้านใบบวั ไปยงั สถานที่ต่าง ๆ
เช่น โรงเรยี น หอนาฬกิ า และตลาด ครูใช้การถาม-ตอบ เพอื่ ให้นักเรยี นดูภาพแลว้ ตอบคาถาม เช่น

ระยะทางจากบ้านใบบัวถงึ หอนาฬิกาเปน็ เท่าไร (192 เมตร)
ระยะทางจากหอนาฬกิ าถงึ ตลาดเป็นเทา่ ไร (380 เมตร)
ระยะทางจากหอนาฬิกาถึงโรงเรียนเป็นเท่าไร (220 เมตร)
ครูให้นักเรียนสังเกตเส้นประสีแดงในภาพว่ามีลักษณะเป็นเส้นตรงและมีตัวเลขกากับไว้นั้นเป็นการบอกระยะห่างระหว่าง
ตาแหน่งสองตาแหนง่ ครใู ห้นักเรียนบอกว่า ระยะทางกับระยะห่างเหมือนหรือต่างกันอย่างไร ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปราย
จนได้ข้อสรุปว่า ระยะทางกับระยะห่างต่างกัน แต่ถ้าเส้นทางเป็นแนวเส้นตรง ระยะทางที่วัดได้อาจเรียกว่าระยะห่างระหว่าง
ตาแหนง่ สองตาแหน่งนน้ั จากน้นั ครใู หน้ ักเรียนดูภาพในหนังสอื เรียนหน้า 173 เพอ่ื ตอบคาถาม เช่น
บา้ นใบบวั อย่หู ่างจากตลาดเท่าไร (425 เมตร)
ระยะทางจากโรงเรยี นไปตลาดโดยผ่านหอนาฬิกาเปน็ เทา่ ไร (220 + 380 = 600 เมตร)
ระยะห่างระหวา่ งโรงเรียนกับตลาด (510 เมตร)
ครใู ห้นักเรียนสรปุ เกย่ี วกับระยะทางกับระยะหา่ งอีกครงั้ วา่ ต่างกนั อย่างไร (ระยะทางวัดตามความยาวเส้นทางทีก่ าหนด
ระยะหา่ งวดั จากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่งเป็นเสน้ ตรง)
ครูอาจถามนกั เรยี นวา่ ระยะจากบา้ นใบบวั ถึง หอนาฬิกา 192 ม. คอื ระยะทางหรือระยะห่าง (ระยะทาง เพราะเป็นเส้นทางท่ี
สามารถเดินไปหอนาฬกิ าได้ และเป็นระยะห่าง เพราะเส้นทางจากบ้านใบบัวไปหอนาฬิกาเป็นเส้นตรง) จากน้ันครูให้นักเรียน
ช่วยกันตอบคาถาม ขอ้ 1 – 3 ในกรอบท้ายหน้า 173
2. ครูกบั นักเรยี นสนทนาเกยี่ วกบั ภาพการกระโดดไกลของนักกีฬาสขี องโรงเรียนเพื่อนาระยะทางทน่ี ักกฬี าสีตา่ ง ๆ
กระโดดไดม้ าเปรียบเทยี บกัน เพอื่ จดั ลาดับการแข่งขนั โดยใชก้ ารถาม-ตอบ ดงั น้ี
นักกีฬาสีฟา้ กระโดดไดร้ ะยะทางเท่าไร (1 ม. 20 ซม.)
นกั กฬี าสแี ดงกระโดดไดร้ ะยะทางเท่าไร (95 ซม.)
นกั กฬี าสเี ขียวกระโดดได้ระยะทางเทา่ ไร (1 ม. 25 ซม.)
นกั กฬี าสเี หลืองกระโดดไดร้ ะยะทางเทา่ ไร (1 ม. 50 ซม.)
จากนัน้ ครถู ามนักเรียนว่า นักกีฬาสีใดกระโดดได้ระยะทางมากที่สุด แล้วให้เรียงลาดับระยะทางที่กระโดด จากน้ันให้นักเรียน
บอกวา่ สีใดได้รับรางวัลเหรียญทอง (นักกีฬาสีเหลือง) เหรียญเงิน (นักกีฬาสีเขียว) และเหรียญทองแดง (นักกีฬาสีฟ้า) ครูถาม
วา่ นักกฬี าสีใดกระโดดได้ระยะทางน้อยทส่ี ุด (นกั กีฬาสแี ดง)
3. ครูจัดกิจกรรม เคร่ืองบินกระดาษของกลุ่มใดพุ่งไกลที่สุด ตามหนังสือเรียนหน้า 175 โดยแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม
แล้วแจกเครื่องบินกระดาษให้กลุ่มละ 1 ลา ครูบอกกติกาและสาธิตวิธีการวัดระยะทางจากจุดที่ปล่อยเคร่ืองบินถึงจุดที่
เครื่องบินหยดุ นิ่ง แล้วใหต้ ัวแทนแตล่ ะกลุ่มพุ่งเคร่ืองบินแข่งกันแล้วให้สมาชิกในกลุ่มช่วยกันวัดระยะทางท่ีพุ่งได้และจดบันทึก
ระยะทางบนกระดาน จากน้นั นาระยะทางของแต่ละกลมุ่ ที่พุ่งไดม้ าเปรียบเทยี บกนั แล้วช่วยกันตัดสินว่ากลุ่มใดพุ่งเคร่ืองบินได้
ระยะทางมากทีส่ ดุ จะเป็นกล่มุ ทช่ี นะ ถา้ มีเวลาเพียงพอครอู าจให้นกั เรียนพบั เคร่ืองบินกระดาษเอง

ข้ันสรุป

ขั้นขยายความเข้าใจ

4. ตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียนโดยให้นักเรียนดูภาพในหนังสือเรียนหน้า 176 แล้วตอบคาถามเก่ียวกับ

ระยะทางและระยะห่างเป็นรายบคุ คล ครแู ละนกั เรยี นรว่ มกนั ตรวจสอบความถกู ต้อง และรว่ มกนั สรปุ

ส่งิ ท่ีไดเ้ รยี นรู้

- การวัดระยะทางระหว่างตาแหน่งสองตาแหน่ง ทาได้โดยวัดความยาวตามเส้นทางที่กาหนดจากตาแหน่งหน่ึงไปอีก

ตาแหน่งหน่งึ ถ้าเสน้ ทางเปน็ แนวเสน้ ตรง ความยาวท่วี ดั ไดอ้ าจเรียกวา่ ระยะห่างระหว่างตาแหนง่ สองตาแหน่งน้ัน

ข้ันตรวจสอบผล

- การวดั ระยะทางระหวา่ งตาแหน่งสองตาแหน่ง ทาได้โดยวัดความยาวตามเส้นทางที่กาหนดจากตาแหน่งหน่ึงไปอีก

ตาแหน่งหนึ่งถ้าเส้นทางเป็นแนวเส้นตรง ความยาวที่วัดได้อาจเรียกว่าระยะห่างระหว่างตาแหน่งสองตาแหน่งนั้นจากนั้นให้

นักเรยี นทาแบบฝกึ หัด หนา้ 109 - 111

6. การวดั และประเมนิ ผล

การวดั และประเมนิ ผลจดุ ประสงค์ วธิ กี ารวัดผล เครื่องมือวดั เกณฑก์ ารประเมินผล

ความร้คู วามเขา้ ใจ (K) -ทดสอบ - คาถามกระตนุ้ ความคิด 70% ขึ้นไป ถือวา่ ผ่าน

-การสงั เกต เกณฑ์การประเมิน

ทกั ษะ/กระบวนการ (P) -การจาแนก แบบฝึกหัด 70% ข้นึ ไป ถอื ว่าผ่าน

-การใหเ้ หตุผล เกณฑ์การประเมนิ

-การสรุปความรู้การปฏิบัติ

คณุ ลักษณะนสิ ยั (A) - สังเกตพฤติกรรมขณะ - แบบประเมินพฤติกรรม 70% ขน้ึ ไป ถอื ว่าผา่ น

ทางานรว่ มกบั กลุ่ม ขณะ ทางานรว่ มกับกลมุ่ เกณฑ์การประเมนิ

7. สอ่ื /แหลง่ การเรยี นรู้
7.1 สอ่ื การเรยี นรู้

1. เครอ่ื งมือวดั ความยาว เชน่ ไม้เมตร สายวัดชนดิ ตลับ
2. เคร่ืองบินกระดาษ

7.2 แหลง่ การเรยี นรู้

. 1. บัตรภาพ
2. บตั รตวั เลข

8. กิจกรรมเสนอแนะ
................................................................................................................................................................................
........................................................................... .................................................................................
................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................

ลงชอ่ื ............................................ครผู ู้สอน ลงชอ่ื ...................................................ฝ่ายวิชาการ
(...........................................................) (...........................................................)

ลงชื่อ................................................... ผบู้ ริหาร
(...........................................................)

สปั ดาหท์ ี่ 8

โรงเรียนขจรเกยี รตพิ ัฒนา

แผนการจดั การเรยี นรู้

ภาคเรยี นท่ี ……1…/………... ชอ่ื ผสู้ อน ….……………………………….…….............
กลุ่มสาระการเรยี นรู้ คณิตศาสตร์ ชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ 2 จานวน 2 คาบ
หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 3 การวดั ความยาว เร่ือง การบวกและการลบเกีย่ วกับความยาว

1. มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตัวช้วี ดั

มาตรฐาน ค 2.1 เข้าใจพนื้ ฐานเกยี่ วกับการวัด วดั และคาดคะเนขนาดของส่ิงท่ตี อ้ งการวัดและไปใช้

ตัวชี้วดั ที่ ป.2/2 วดั และเปรยี บเทียบความยาวเป็นเมตร และเซนติเมตร

ป.2/3 แสดงวธิ ีหาคาตอบของโจทยป์ ัญหา การบวก การลบเก่ยี วกับความยาวทีม่ ี

2. สาระสาคญั /ความคดิ รวบยอด

การหาผลบวกหรือผลลบเก่ียวกบั ความยาวเป็นเมตรและเซนตเิ มตร ทาไดโ้ ดยนาความยาวท่ีเป็นหนว่ ยเดยี วกันมา

บวกหรอื ลบกนั

3. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้

ด้านความรู้ (K)

หาผลบวกและผลลบเกีย่ วกับความยาวทก่ี าหนดให้

ด้านทักษะกระบวนการ (P)

ใชว้ ิธีการทเ่ี หมาะสมในการแก้ปัญหา และคานวณหาคาตอบได้

ดา้ นคณุ ลกั ษณะ(A)

มวี จิ ารณญาณในการคิดและตอบคาถามด้วยความมนั่ ใจ

4. สาระการเรียนรู้

สาระการเรยี นรู้แกนกลาง สาระการเรยี นรู้ทอ้ งถิ่น

การบวกและการลบเกยี่ วกับความยาว พจิ ารณาตามหลกั สูตรของสถานศึกษา

5. กิจกรรมการเรียนรู้

คาบท่ี 1
ขน้ั นา

ขน้ั กระตุ้นความสนใจ

1. ครูทบทวนวิธีการบวกเก่ียวกับความยาวที่มีหน่วยเดียวกัน เช่น 3 เมตร รวมกับ 5 เมตรเท่ากับเท่าไร(8 เมตร) 40
เซนติเมตร รวมกับ 25 เซนติเมตร เท่ากับเท่าไร (65 เซนติเมตร) ครูสนทนากับนักเรียนเก่ียวกับการบวกความยาวท่ีมีหน่วย
ต่างกัน ตามภาพในหนังสือเรียนหน้า 177 แล้วถามนักเรียนว่ากระดาษสายรุ้งสีแดงยาวเท่าไร (3 เมตร 42 เซนติเมตร)
กระดาษสายรงุ้ สีเขียวยาวเท่าไร (4 เมตร 50 เซนติเมตร)

ข้นั สอน

ขน้ั สารวจคน้ หา

1. ครทู บทวนวิธกี ารบวกเก่ยี วกับความยาวท่ีมีหน่วยเดยี วกนั เช่น 3 เมตร รวมกับ 5 เมตรเท่ากับเทา่ ไร(8 เมตร) 40
เซนตเิ มตร รวมกับ 25 เซนตเิ มตร เท่ากับเทา่ ไร (65 เซนติเมตร) ครูสนทนากบั นักเรียนเกยี่ วกบั การบวกความยาวทมี่ ีหนว่ ย
ต่างกัน ตามภาพในหนังสือเรียนหนา้ 177 แล้วถามนักเรียนว่ากระดาษสายรุ้งสีแดงยาวเท่าไร (3 เมตร 42 เซนติเมตร)
กระดาษสายรงุ้ สีเขยี วยาวเทา่ ไร (4 เมตร 50 เซนตเิ มตร)กระดาษสายร้งุ ท้ังหมดยาวเทา่ ไร โดยครูใหน้ กั เรยี นนาความยาวที่
เปน็ หน่วยเดยี วกันมาบวกกนั ก่อน ซงึ่ จะได้3 เมตร รวมกบั 4 เมตร ได้ 7 เมตร และ 42 เซนติเมตรรวมกับ 50 เซนติเมตร ได้
92 เซนตเิ มตร ดังนัน้ กระดาษสายรุง้ ทั้งหมดยาว 7 เมตร 92 เซนติเมตร จากนั้นครูสาธติ การเขยี นแสดงวธิ ีหาคาตอบตาม
หนงั สือเรียนหนา้ 177 ครูอาจทากิจกรรมเพิ่มเตมิ โดยการนาเชือกสีแดง ยาว 1 ม. 15 ซม. เชอื กสีฟ้ายาว 2 ม. 25 ซม. มาวาง
ต่อกนั แลว้ ถามวา่ เชอื กทงั้ หมดยาวเท่าไร นกั เรยี นอาจหาคาตอบโดยการวัดความยาวของเชือกสองเสน้ ว่ายาวเทา่ ไร หรอื
นกั เรียนอาจหาคาตอบโดยการนาความยาวของเชือกแตล่ ะเสน้ มาบวกกัน

2. ครูยกตัวอย่างการบวกเก่ียวกับความยาวโดยการเขียนแสดงวิธีหาคาตอบตามหนังสือเรียนหน้า 178 ซ่ึงคล้ายกับ
การต้ังบวก แต่ให้เขียนหน่วยไว้บรรทัดบน แล้วนาความยาวที่มีหน่วยเดียวกันมาบวกกัน ถ้าผลรวมในหน่วยเซนติเมตร
มากกว่า 100 เซนติเมตรต้องทด 1 เมตรไปรวมกับผลบวกของความยาวในหน่วยเมตร เช่น ตัวอย่างแรก 50 เซนติเมตร บวก
กับ 75 เซนติเมตร ได้ 125 เซนติเมตรต้องทด 100 เซนติเมตร หรือ 1 เมตร ไปรวมกับผลบวกที่ได้ในหน่วยเมตร ครูอาจให้
นกั เรยี นฝกึ การบวกเกยี่ วกบั ความยาวเพิ่มเตมิ เม่อื กาหนดความยาวทม่ี ีหน่วยต่างกัน เช่น 475 เซนติเมตร รวมกับ 5 เมตร 85
เซนตเิ มตร เท่ากบั เทา่ ไร โดยครูถามนักเรียนวา่ 475 เซนติเมตร เท่ากบั กีเ่ มตร ก่ีเซนติเมตร (4 ม. 75 ซม.) แล้วครูให้นักเรียน
เขยี นแสดงวิธีหาคาตอบและตรวจสอบความถูกต้อง จากนั้นให้นักเรียนช่วยกันแสดงวิธีหาคาตอบ ข้อ 1 และ 2 ในกรอบท้าย
หนา้ 178

3. ครยู กตวั อย่างการลบเกย่ี วกับความยาวโดยการเขียนแสดงวิธีหาคาตอบตามหนังสือเรียนหน้า 179ซึ่งคล้ายกับการ
ต้งั ลบ แต่ใหเ้ ขยี นหนว่ ยไวบ้ รรทัดบนแล้วนาความยาวท่ีมีหน่วยเดียวกันมาลบกัน ถ้าตัวตั้งในหน่วยเซนติเมตรมีค่าน้อยกว่าตัว
ลบ ให้กระจายความยาวในหนว่ ยเมตรมา 1 เมตร หรือ 100 เซนตเิ มตร มารวมกับตัวตั้งในหน่วยเซนติเมตร เช่น ตัวอย่างแรก
0 เซนติเมตร ลบดว้ ย 70 เซนติเมตร ต้องกระจายจาก 5 เมตรมา 1 เมตร หรือ 100 เซนติเมตร ไปรวมกับตัวต้ัง 0 เซนติเมตร
ได้ 100 เซนติเมตร แล้วนา 100 เซนติเมตร ลบด้วย 70 เซนติเมตร ได้ 30 เซนติเมตร สาหรับความยาวในหน่วยเมตร 5
เมตร กระจายไปแล้ว 1 เมตรเหลือ 4 เมตร นา 4 เมตร ลบด้วย 3 เมตร ได้ 1 เมตร จากนั้นให้นักเรียนช่วยกันแสดงวิธีหา
คาตอบในกรอบท้ายหน้า 179 ครูอาจให้นักเรียนฝึกการลบเก่ียวกับความยาวเพิ่มเติมเมื่อกาหนดความยาวที่มีหน่วยเดียวกัน
หรือท่ีมีหน่วยตา่ งกันมาให้นกั เรยี นแสดงวิธหี าคาตอบ เชน่ กาหนดโจทย์ 6 เมตร ยาวกวา่ 4 เมตร
25 เซนติเมตรอยู่เท่าไร ครอู าจถามคาถาม ดงั นี้

6 เมตร ยาวเท่ากับ 6 เมตร กี่เซนติเมตร (6 เมตร 0 เซนตเิ มตร)
6 เมตร 0 เซนตเิ มตร ยาวเท่ากบั 5 เมตร ก่ีเซนติเมตร (5 เมตร 100 เซนตเิ มตร)
5 เมตร 100 เซนตเิ มตร ยาวกวา่ 4 เมตร 25 เซนติเมตร เทา่ ไร (1 เมตร 75 เซนตเิ มตร)
ประกอบการใช้ Bar Model

จากแถบกระดาษสี (Bar Model) 6 เมตร ยาวกว่า 4 เมตร 25 เซนติเมตร อยู่ 1 เมตร 75 เซนติเมตรครูควรดูแลและ
ช่วยเหลือนักเรียนท่ียังไม่เข้าใจและสะท้อนการเรียนรู้ของนักเรียนอย่างต่อเน่ืองอาจให้นักเรียนมาฝึกเพ่ิมเติมกับครูเป็น
รายบุคคล จากนน้ั ให้นกั เรยี นช่วยกนั แสดงวิธีหาคาตอบข้อ 1 และ 2 ในกรอบทา้ ยหน้า 179

ขัน้ สรปุ

ขน้ั ขยายความเข้าใจ

4. ตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียนโดยให้นักเรียนบวกและลบเกี่ยวกับความยาวตามหนังสือเรียนหน้า 180 แล้ว

เขียนแสดงวิธีหาคาตอบเป็นรายบุคคล ครูและนักเรียนร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง ครูอาจเสริมกิจกรรมแข่งขันการหา

คาตอบด้วยการกาหนดโจทย์การบวกและการลบเก่ียวกับความยาวมาให้นักเรียนหาคาตอบให้ได้อย่างรวดเร็ว จากน้ันครูและ

นักเรยี นรว่ มกันสรปุ สง่ิ ทไ่ี ดเ้ รียนรู้

- การหาผลบวกหรือผลลบเก่ียวกับความยาวเป็นเมตรและเซนติเมตรทาได้โดยนาความยาวที่เป็นหน่วยเดียวกันมาบวก

หรือลบกนั

ข้นั ตรวจสอบผล

- การหาผลบวกหรือผลลบเก่ียวกบั ความยาวเปน็ เมตรและเซนติเมตรทาไดโ้ ดยนาความยาวทีเ่ ปน็ หนว่ ยเดยี วกนั มา

บวกหรอื ลบกนั จากน้ันใหน้ กั เรยี นทาแบบฝึกหดั หน้า 112 – 114

6. การวัดและประเมนิ ผล

การวดั และประเมนิ ผลจดุ ประสงค์ วธิ กี ารวดั ผล เคร่ืองมือวัด เกณฑ์การประเมินผล

ความรู้ความเข้าใจ (K) -ทดสอบ - คาถามกระตุ้นความคิด 70% ข้ึนไป ถือว่าผ่าน

-การสังเกต เกณฑ์การประเมนิ

ทกั ษะ/กระบวนการ (P) -การจาแนก แบบฝึกหดั 70% ขน้ึ ไป ถือวา่ ผา่ น

-การใหเ้ หตผุ ล เกณฑ์การประเมนิ
-การสรปุ ความร้กู ารปฏบิ ัติ

คณุ ลักษณะนิสัย (A) - สังเกตพฤติกรรมขณะ - แบบประเมินพฤติกรรม 70% ข้นึ ไป ถอื ว่าผา่ น

ทางานรว่ มกบั กล่มุ ขณะ ทางานร่วมกับกลมุ่ เกณฑ์การประเมิน

7. สือ่ /แหลง่ การเรียนรู้
7.1 สอื่ การเรียนรู้

1. เครื่องมือวดั ความยาว เชน่ ไม้เมตร สายวดั ชนดิ ตลบั
2. เครอื่ งบินกระดาษ

7.2 แหล่งการเรียนรู้

. 1. บตั รภาพ
2. บตั รตวั เลข

8. กิจกรรมเสนอแนะ
................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................

ลงชื่อ............................................ครูผู้สอน ลงชอ่ื ...................................................ฝา่ ยวิชาการ
(...........................................................) (...........................................................)

ลงช่อื ................................................... ผบู้ ริหาร
(...........................................................)

สปั ดาห์ที่ 8

โรงเรียนขจรเกยี รติพัฒนา

แผนการจัดการเรียนรู้

ภาคเรียนท่ี ……1…/………... ชอื่ ผู้สอน ….……………………………….…….............
กลุม่ สาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 2 จานวน 1 คาบ
หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 3 การวัดความยาว เรอ่ื ง โจทย์ปัญหาการบวกและโจทย์ปัญหาการลบ(1)

1. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวช้ีวัด

มาตรฐาน ค 2.1 เขา้ ใจพ้ืนฐานเกี่ยวกับการวัด วดั และคาดคะเนขนาดของสง่ิ ท่ตี อ้ งการวดั และไปใช้

ตัวชีว้ ดั ท่ี ป.2/2 วดั และเปรยี บเทียบความยาวเป็นเมตร และเซนติเมตร

ป.2/3 แสดงวิธีหาคาตอบของโจทยป์ ัญหา การบวก การลบเก่ียวกับความยาวท่มี ี

2. สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด

• การหาผลบวกหรือผลลบเก่ียวกับความยาวเป็นเมตรและเซนติเมตร ทาได้โดยนาความยาวท่ีเป็นหน่วยเดียวกันมา

บวกหรอื ลบกัน

• การแก้โจทย์ปัญหาทาได้โดยอ่านทาความเข้าใจปัญหา วางแผนแก้ปัญหา หาคาตอบ และตรวจสอบความ

สมเหตุสมผลของคาตอบ

3. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้

ดา้ นความรู้ (K)

แสดงวธิ หี าคาตอบของโจทยป์ ัญหาการบวกและโจทย์ปัญหาการลบเกย่ี วกับความยาวท่ีมีหน่วยเป็นเมตรและ

เซนติเมตร

ด้านทกั ษะกระบวนการ (P)

ใชว้ ิธีการทเ่ี หมาะสมในการแกป้ ัญหา และคานวณหาคาตอบได้

ดา้ นคุณลกั ษณะ(A)

มวี จิ ารณญาณในการคิดและตอบคาถามดว้ ยความมนั่ ใจ

4. สาระการเรยี นรู้

สาระการเรยี นรู้แกนกลาง สาระการเรียนรูท้ อ้ งถนิ่

โจทยป์ ญั หาการบวกและโจทย์ปญั หาการลบ พจิ ารณาตามหลกั สตู รของสถานศึกษา

5. กจิ กรรมการเรียนรู้

คาบที่ 1
ขน้ั นา

ขั้นกระตุ้นความสนใจ

1. ครตู ิดแถบโจทย์ปญั หาการบวกความยาวตามหนังสอื เรียนหน้า 181 ครูให้นกั เรยี นอ่านโจทย์แล้วร่วมกันวิเคราะห์โจทย์ โดย
ถามนักเรียนว่า โจทย์ถามอะไร โจทย์บอกอะไร และหาคาตอบได้อย่างไร นักเรียนฝึกการวิเคราะห์โจทย์ปัญหาการบวก แล้ว

ตอบคาถามจากโจทย์ “ม้าน่ังตัวหน่ึงยาว 1 เมตร 30 เซนติเมตรม้าน่ังอีกตัวหนึ่งยาว 1 เมตร 70 เซนติเมตร นามาวางต่อกัน
จะยาวเท่าไร” ใหน้ ักเรียนคดิ วา่ ความยาวทงั้ หมดของม้านั่งสองตวั เปน็ เท่าไร ครูถามคาถามกระตนุ้ การคิดของนักเรยี น เช่น

- ม้านง่ั ตวั แรกยาวเทา่ ไร (1 ม. 30 ซม.)
- มา้ นั่งตัวทสี่ องยาวเทา่ ไร (1 ม. 70 ซม.)
- เมอ่ื นามา้ น่ังมาวางต่อกันจะยาวมากข้ึนหรือน้อยกว่าเดิม (ยาวมากกว่าเดิม)
- ความยาวของม้านง่ั สองตวั เป็นเทา่ ไร (3 ม.)
- หาคา ตอบได้อยา่ งไร (นาความยาวของม้าน่งั มาบวกกนั )

ข้นั สอน

ขั้นสารวจค้นหา

1. ครูติดแถบโจทย์ปัญหาการบวกความยาวตามหนงั สอื เรียนหนา้ 181 ครูให้นักเรียนอ่านโจทย์แล้วร่วมกันวิเคราะห์โจทย์ โดย
ถามนักเรียนว่า โจทย์ถามอะไร โจทย์บอกอะไร และหาคาตอบได้อย่างไร นักเรียนฝึกการวิเคราะห์โจทย์ปัญหาการบวก แล้ว
ตอบคาถามจากโจทย์ “ม้าน่ังตัวหนึ่งยาว 1 เมตร 30 เซนติเมตรม้านั่งอีกตัวหนึ่งยาว 1 เมตร 70 เซนติเมตร นามาวางต่อกัน
จะยาวเทา่ ไร” ใหน้ ักเรยี นคดิ ว่าความยาวท้งั หมดของม้านัง่ สองตัวเป็นเท่าไร ครูถามคาถามกระตุน้ การคิดของนกั เรียน เชน่

- มา้ นั่งตัวแรกยาวเทา่ ไร (1 ม. 30 ซม.)
- มา้ นง่ั ตัวท่สี องยาวเทา่ ไร (1 ม. 70 ซม.)
- เมื่อนาม้านั่งมาวางต่อกันจะยาวมากขน้ึ หรือนอ้ ยกว่าเดมิ (ยาวมากกว่าเดมิ )
- ความยาวของม้าน่ังสองตัวเป็นเท่าไร (3 ม.)
- หาคา ตอบได้อยา่ งไร (นาความยาวของม้าน่ังมาบวกกนั )
ครใู ห้นกั เรียนเขียนแสดงวิธหี าคาตอบในสมุดแล้วสุ่มนักเรียนออกมาเขียนแสดงวิธีหาคาตอบบนกระดาน ครูและเพ่ือนในห้อง
ร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง และหากมีนักเรียนคนใดที่คิดต่างจากเพื่อนที่ออกมานาเสนอ ควรให้นักเรียนได้อธิบายเหตุผล
ครูอาจเตรยี มภาพม้าน่ังมาติดแสดงให้เห็นความยาวท่ีเพิ่มข้ึนจริงเม่ือนามาต่อกัน และให้นักเรียนสังเกตผลบวกของความยาว
ในหน่วยเซนติเมตรที่มีผลบวกเป็น 100 เซนติเมตร ซ่ึงมีความยาวเท่ากับ 1 เมตร นักเรียนต้องนาความยาว 1 เมตรน้ีไปรวม
กับผลบวกของความยาวในหน่วยเมตร ตามหนังสือเรียนหน้า 181 ครูควรเน้นย้าเร่ืองการตรวจสอบความสมเหตุสมผลของ
คาตอบทีไ่ ดว้ ่า มา้ นั่งแตล่ ะตัวยาวมากกวา่ 1 เมตร เมอ่ื นามาตอ่ กันตอ้ งมีความยาวมากกว่า 2 เมตร
2. ครูติดแถบโจทย์ปัญหาการลบความยาวตามหนังสือเรียนหน้า 182 ครูให้นักเรียนอ่านโจทย์แล้วร่วมกันวิเคราะห์
โจทย์ โดยถามนักเรยี นว่า โจทย์ถามอะไร โจทยบ์ อกอะไร และหาคาตอบได้อย่างไร นักเรียนฝึกการวิเคราะห์โจทย์ปัญหาการ
ลบ แล้วตอบคาถามจากโจทย์ “เชือกสีแดงยาว 3 เมตร 5 เซนติเมตรเชือกสีเขียวยาว 2 เมตร 75 เซนติเมตร เชือกสีเขียวส้ัน
กว่าเชอื กสแี ดงเท่าไร”
- โจทย์ถามอะไร (เชือกสเี ขยี วสัน้ กว่าเชอื กสีแดงเท่าไร)
- โจทย์บอกอะไร (เชอื กสแี ดงยาว 3 เมตร 5 เซนตเิ มตร เชอื กสเี ขียวยาว 2 เมตร 75 เซนตเิ มตร)
- ได้คาตอบเปน็ เท่าไร (30 เซนติเมตร)
ครใู หน้ ักเรยี นเขยี นแสดงวธิ หี าคาตอบในสมุดแล้วสุ่มนักเรียนออกมาเขียนแสดงวิธีหาคาตอบบนกระดาน ครูและเพ่ือนในห้อง
ร่วมกนั ตรวจสอบความถกู ตอ้ งและหากมนี กั เรียนคนใดที่คดิ ต่างจากเพื่อนที่ออกมานาเสนอ ควรให้นักเรียนได้อธิบายเหตุผลครู
อาจเตรียมภาพเชือกสีเขียวและเชือกสีแดงมาเปรียบเทียบความยาวให้เห็นจริง และให้นักเรียนสังเกตว่าความยาวเชือกใน
หนว่ ยเซนติเมตรตัวตง้ั น้อยกวา่ ตัวลบ จงึ ตอ้ งกระจาย 1 เมตร หรือ 100 เซนตเิ มตรจากความยาวเชอื กในหน่วยเมตรมารวมกับ
ความยาวเชือกในหน่วยเซนติเมตรที่เป็นตัวต้ังแล้วจึงนามาลบกัน และความยาวเชือกในหน่วยเมตรเม่ือกระจายไปแล้วความ

ยาวเชือกจะลดลง 1 เมตรตามหนังสือเรียนหน้า 182 ครูควรเน้นย้าเร่ืองการตรวจสอบความสมเหตุสมผลของคาตอบท่ีได้ว่า
เมอื่ นา 30 เซนตเิ มตร รวมกับ 2 เมตร 75 เซนติเมตรจะเท่ากับ 3 เมตร 5 เซตเิ มตร

3. ครใู หน้ กั เรยี นชว่ ยกันวิเคราะห์โจทย์ปญั หาและแสดงวิธีหาคาตอบตามหนังสือเรยี นหน้า 183โดยครูติดแถบโจทย์
ปัญหาอาจมีรูปประกอบเพ่อื ให้นกั เรียนเห็นภาพชดั เจนย่ิงข้ึน เชน่ เสาธงสูง 8 เมตร อาคารเรยี นสงู 11 เมตร 30 เซนตเิ มตร
เสาธงเต้ยี กว่าอาคารเรยี นเท่าไร โจทย์ถามอะไร โจทย์บอกอะไร และหาคาตอบได้อย่างไร ครใู ห้นักเรียนช่วยกนั หาคาตอบ จะ
ได้คาตอบตามหนงั สอื เรียนหนา้ 183 จากนน้ั ครูแบง่ กลุ่มนักเรียนกลุม่ ละเท่า ๆ กัน แล้วให้แตล่ ะกลุ่มช่วยกนั วิเคราะห์โจทย์
ปญั หาและแสดงวิธีหาคาตอบข้อ 1 - 3 กลุ่มละ 1 ขอ้ แลว้ ให้แตล่ ะกลุ่มออกมานาเสนอหนา้ ห้องเรยี นครูและเพื่อนในห้อง
ชว่ ยกันตรวจสอบความถูกต้อง

ข้ันสรปุ

ขนั้ ขยายความเข้าใจ

4. ตรวจสอบความเข้าใจของนกั เรยี นโดยใหน้ ักเรยี นวเิ คราะห์โจทย์ปญั หาการบวกและโจทยป์ ัญหาการลบแล้วเขยี น

แสดงวธิ ีหาคาตอบของโจทย์ปัญหาตามหนงั สอื เรยี นหน้า 184 เป็นรายบคุ คลครแู ละนักเรยี นร่วมกนั ตรวจสอบความถูกตอ้ งครู

อาจเสริมกจิ กรรมแขง่ ขนั การหาคาตอบดว้ ยการกาหนดโจทย์ปัญหาการบวกและโจทยป์ ัญหาการลบมาให้นักเรียนหาคาตอบ

ใหไ้ ด้อย่างรวดเรว็ จากนน้ั ครูและนกั เรยี นร่วมกนั สรปุ สิ่งที่ได้เรยี นรู้ หากพบว่ามนี ักเรียนวเิ คราะหโ์ จทย์ปญั หาและแสดงวธิ ีหา

คาตอบไม่ถกู ต้องครูควรสอนเพม่ิ เตมิ เป็นรายบุคคลหรือรายกลมุ่

- การแกโ้ จทย์ปัญหาทาได้โดย อา่ นทาความเขา้ ใจปัญหา วางแผนแกป้ ญั หา หาคาตอบและตรวจสอบความ

สมเหตสุ มผล

ขัน้ ตรวจสอบผล

- การแกโ้ จทยป์ ัญหาทาได้โดย อ่านทาความเข้าใจปัญหา วางแผนแก้ปญั หา หาคาตอบและตรวจสอบความ

สมเหตุสมผลจากนนั้ ใหน้ กั เรยี นทาแบบฝกึ หัด หนา้ 115 – 116

6. การวดั และประเมินผล

การวดั และประเมนิ ผลจดุ ประสงค์ วิธีการวัดผล เครื่องมอื วดั เกณฑก์ ารประเมนิ ผล

ความร้คู วามเข้าใจ (K) -ทดสอบ - คาถามกระตนุ้ ความคดิ 70% ขนึ้ ไป ถือว่าผา่ น

-การสงั เกต เกณฑ์การประเมนิ

ทกั ษะ/กระบวนการ (P) -การจาแนก แบบฝึกหัด 70% ข้นึ ไป ถอื วา่ ผา่ น

-การใหเ้ หตผุ ล เกณฑ์การประเมิน

-การสรุปความรู้การปฏิบัติ

คณุ ลกั ษณะนิสัย (A) - สงั เกตพฤติกรรมขณะ - แบบประเมินพฤติกรรม 70% ขึ้นไป ถอื วา่ ผ่าน

ทางานรว่ มกับกลุ่ม ขณะ ทางานร่วมกับกลมุ่ เกณฑ์การประเมิน

7. สื่อ/แหล่งการเรยี นรู้
7.1 สอื่ การเรยี นรู้

1. เครื่องมือวดั ความยาว เช่น ไมเ้ มตร สายวัดชนิดตลับ
2. เครื่องบนิ กระดาษ

7.2 แหล่งการเรียนรู้

. 1. บตั รภาพ
2. บัตรตวั เลข

8. กิจกรรมเสนอแนะ
................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ...............................
................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................

ลงช่อื ............................................ครผู ู้สอน ลงช่อื ...................................................ฝ่ายวิชาการ
(...........................................................) (...........................................................)

ลงชอื่ ................................................... ผบู้ ริหาร
(...........................................................)

สัปดาห์ท่ี 9

โรงเรียนขจรเกยี รติพัฒนา

แผนการจดั การเรยี นรู้

ภาคเรยี นท่ี ……1…/………... ช่ือผูส้ อน ….……………………………….…….............
กลมุ่ สาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 2 จานวน 1 คาบ
หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 3 การวดั ความยาว เร่อื ง โจทย์ปญั หาการบวกและโจทยป์ ญั หาการลบ(1)

1. มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตวั ชวี้ ดั

มาตรฐาน ค 2.1 เข้าใจพ้นื ฐานเกีย่ วกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งท่ีต้องการวดั และไปใช้

ตวั ชว้ี ดั ท่ี ป.2/2 วัดและเปรียบเทยี บความยาวเป็นเมตร และเซนติเมตร

ป.2/3 แสดงวธิ ีหาคาตอบของโจทย์ปัญหา การบวก การลบเกยี่ วกับความยาวที่มี

2. สาระสาคัญ/ความคดิ รวบยอด

• การหาผลบวกหรือผลลบเกย่ี วกับความยาวเปน็ เมตรและเซนติเมตร ทาไดโ้ ดยนาความยาวทเ่ี ปน็ หนว่ ยเดยี วกันมา

บวกหรือลบกัน

• การแก้โจทยป์ ัญหาทาไดโ้ ดยอา่ นทาความเข้าใจปญั หา วางแผนแก้ปัญหา หาคาตอบ และตรวจสอบความ

สมเหตสุ มผลของคาตอบ

3. จดุ ประสงค์การเรียนรู้

ด้านความรู้ (K)

แสดงวธิ ีหาคาตอบของโจทยป์ ัญหาการบวกและโจทยป์ ญั หาการลบเก่ียวกับความยาวท่ีมหี นว่ ยเปน็ เมตรและ

เซนตเิ มตร

ดา้ นทักษะกระบวนการ (P)

ใชว้ ธิ ีการท่เี หมาะสมในการแกป้ ัญหา และคานวณหาคาตอบได้

ด้านคณุ ลกั ษณะ(A)

มีวิจารณญาณในการคิดและตอบคาถามดว้ ยความมั่นใจ

4. สาระการเรียนรู้

สาระการเรียนรแู้ กนกลาง สาระการเรียนรู้ทอ้ งถิ่น

โจทย์ปัญหาการบวกและโจทยป์ ญั หาการลบ พิจารณาตามหลักสตู รของสถานศกึ ษา

5. กิจกรรมการเรียนรู้

คาบท่ี 1
ข้นั นา

ข้ันกระตนุ้ ความสนใจ

1. ครตู ิดแถบโจทย์ปัญหาการบวกความยาวตามหนังสือเรยี นหน้า 181 ครูให้นักเรียนอ่านโจทยแ์ ล้วร่วมกันวเิ คราะห์โจทย์ โดย
ถามนักเรียนว่า โจทย์ถามอะไร โจทยบ์ อกอะไร และหาคาตอบได้อย่างไร นักเรียนฝึกการวเิ คราะห์โจทยป์ ญั หาการบวก แลว้

ตอบคาถามจากโจทย์ “มา้ น่งั ตัวหนึง่ ยาว 1 เมตร 30 เซนติเมตรมา้ นั่งอกี ตัวหนง่ึ ยาว 1 เมตร 70 เซนติเมตร นามาวางต่อกนั
จะยาวเท่าไร” ใหน้ ักเรียนคิดวา่ ความยาวท้งั หมดของม้านงั่ สองตัวเปน็ เทา่ ไร ครถู ามคาถามกระตนุ้ การคิดของนกั เรยี น เชน่

- ม้าน่งั ตวั แรกยาวเทา่ ไร (1 ม. 30 ซม.)
- มา้ นง่ั ตัวท่สี องยาวเทา่ ไร (1 ม. 70 ซม.)
- เม่ือนามา้ นงั่ มาวางต่อกันจะยาวมากขึ้นหรือนอ้ ยกวา่ เดิม (ยาวมากกว่าเดิม)
- ความยาวของม้านั่งสองตวั เป็นเท่าไร (3 ม.)
- หาคา ตอบได้อยา่ งไร (นาความยาวของม้านัง่ มาบวกกัน)

ข้นั สอน

ขน้ั สารวจคน้ หา

1. ครตู ดิ แถบโจทยป์ ญั หาการบวกความยาวตามหนงั สือเรียนหนา้ 181 ครใู ห้นักเรียนอา่ นโจทย์แล้วร่วมกนั วิเคราะหโ์ จทย์ โดย
ถามนักเรียนว่า โจทยถ์ ามอะไร โจทยบ์ อกอะไร และหาคาตอบได้อยา่ งไร นกั เรียนฝกึ การวเิ คราะห์โจทยป์ ัญหาการบวก แลว้
ตอบคาถามจากโจทย์ “ม้าน่งั ตัวหนึง่ ยาว 1 เมตร 30 เซนติเมตร
ม้านงั่ อีกตวั หนึ่งยาว 1 เมตร 70 เซนตเิ มตร นามาวางตอ่ กันจะยาวเทา่ ไร” ให้นกั เรียนคิดว่าความยาว
ทัง้ หมดของม้านง่ั สองตวั เป็นเทา่ ไร ครถู ามคาถามกระตุน้ การคิดของนกั เรียน เช่น

- ม้านง่ั ตวั แรกยาวเทา่ ไร (1 ม. 30 ซม.)
- ม้านั่งตวั ทีส่ องยาวเทา่ ไร (1 ม. 70 ซม.)
- เมือ่ นาม้านั่งมาวางต่อกันจะยาวมากข้นึ หรือน้อยกว่าเดมิ (ยาวมากกว่าเดมิ )
- ความยาวของม้านัง่ สองตวั เปน็ เท่าไร (3 ม.)
- หาคา ตอบได้อยา่ งไร (นาความยาวของม้านั่งมาบวกกัน)
ครูใหน้ ักเรียนเขียนแสดงวิธีหาคาตอบในสมดุ แล้วสุ่มนักเรียนออกมาเขียนแสดงวธิ ีหาคาตอบบนกระดาน ครแู ละเพือ่ นในห้อง
ร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง และหากมีนักเรียนคนใดท่ีคิดตา่ งจากเพ่อื นที่ออกมานาเสนอ ควรให้นกั เรยี นไดอ้ ธบิ ายเหตผุ ล
ครูอาจเตรียมภาพมา้ นั่งมาติดแสดงใหเ้ ห็นความยาวท่เี พิ่มขึ้นจรงิ เมอื่ นามาตอ่ กัน และให้นักเรยี นสังเกตผลบวกของความยาว
ในหน่วยเซนตเิ มตรทม่ี ีผลบวกเปน็ 100 เซนตเิ มตร ซึง่ มคี วามยาวเท่ากบั 1 เมตร นักเรียนตอ้ งนาความยาว 1 เมตรนไี้ ปรวม
กบั ผลบวกของความยาวในหนว่ ยเมตร ตามหนังสือเรียนหนา้ 181 ครูควรเน้นย้าเร่ืองการตรวจสอบความสมเหตสุ มผลของ
คาตอบที่ได้ว่า ม้าน่งั แตล่ ะตวั ยาวมากกว่า 1 เมตร เมือ่ นามาตอ่ กนั ต้องมีความยาวมากกว่า 2 เมตร
2. ครูติดแถบโจทยป์ ัญหาการลบความยาวตามหนังสอื เรียนหนา้ 182 ครใู ห้นักเรียนอ่านโจทยแ์ ลว้ รว่ มกนั วิเคราะห์
โจทย์ โดยถามนกั เรยี นวา่ โจทยถ์ ามอะไร โจทย์บอกอะไร และหาคาตอบไดอ้ ยา่ งไร นักเรียน
ฝึกการวิเคราะหโ์ จทย์ปญั หาการลบ แลว้ ตอบคาถามจากโจทย์ “เชือกสแี ดงยาว 3 เมตร 5 เซนตเิ มตร
เชือกสเี ขยี วยาว 2 เมตร 75 เซนติเมตร เชือกสเี ขียวส้นั กว่าเชือกสแี ดงเทา่ ไร”
- โจทยถ์ ามอะไร (เชอื กสีเขียวส้นั กวา่ เชือกสแี ดงเท่าไร)
- โจทย์บอกอะไร (เชอื กสแี ดงยาว 3 เมตร 5 เซนตเิ มตร เชอื กสีเขียวยาว 2 เมตร 75 เซนติเมตร)
- ไดค้ าตอบเป็นเท่าไร (30 เซนตเิ มตร)
ครใู ห้นกั เรยี นเขียนแสดงวิธีหาคาตอบในสมดุ แล้วสมุ่ นกั เรียนออกมาเขียนแสดงวธิ หี าคาตอบบนกระดาน ครูและเพอ่ื นในหอ้ ง
รว่ มกันตรวจสอบความถูกต้องและหากมีนักเรียนคนใดท่ีคิดตา่ งจากเพื่อนท่ีออกมานาเสนอ ควรให้นกั เรยี นไดอ้ ธิบายเหตุผลครู
อาจเตรยี มภาพเชือกสเี ขียวและเชอื กสีแดงมาเปรยี บเทยี บความยาวใหเ้ หน็ จริง และให้นักเรียนสงั เกตว่าความยาวเชือกใน
หนว่ ยเซนติเมตรตวั ต้ังน้อยกว่าตัวลบ จงึ ตอ้ งกระจาย 1 เมตร หรอื 100 เซนตเิ มตรจากความยาวเชือกในหน่วยเมตรมารวมกับ

ความยาวเชือกในหนว่ ยเซนติเมตรที่เปน็ ตัวตั้งแล้วจึงนามาลบกนั และความยาวเชอื กในหน่วยเมตรเมื่อกระจายไปแล้วความ
ยาวเชอื กจะลดลง 1 เมตรตามหนังสอื เรียนหนา้ 182 ครูควรเนน้ ย้าเรื่องการตรวจสอบความสมเหตุสมผลของคาตอบทไี่ ด้วา่
เมื่อนา 30 เซนตเิ มตร รวมกบั 2 เมตร 75 เซนตเิ มตรจะเทา่ กบั 3 เมตร 5 เซติเมตร

3. ครใู ห้นกั เรยี นช่วยกนั วเิ คราะหโ์ จทยป์ ญั หาและแสดงวิธหี าคาตอบตามหนงั สือเรยี นหนา้ 183
โดยครูติดแถบโจทย์ปญั หาอาจมีรูปประกอบเพ่ือให้นักเรียนเหน็ ภาพชัดเจนยง่ิ ข้ึน เช่น เสาธงสงู 8 เมตร อาคารเรยี นสูง 11
เมตร 30 เซนติเมตร เสาธงเตีย้ กว่าอาคารเรียนเท่าไร โจทย์ถามอะไร โจทยบ์ อกอะไร และหาคาตอบได้อย่างไร ครูใหน้ กั เรยี น
ชว่ ยกันหาคาตอบ จะได้คาตอบตามหนังสือเรียนหนา้ 183 จากนั้นครแู บ่งกล่มุ นักเรยี นกลุ่มละเทา่ ๆ กนั แล้วให้แตล่ ะกล่มุ
ช่วยกันวเิ คราะหโ์ จทยป์ ัญหาและแสดงวิธหี าคาตอบข้อ 1 - 3 กลุ่มละ 1 ขอ้ แล้วให้แต่ละกลุม่ ออกมานาเสนอหน้าห้องเรยี นครู
และเพื่อนในห้องชว่ ยกันตรวจสอบความถูกต้อง

ขัน้ สรปุ

ขน้ั ขยายความเข้าใจ

4. ตรวจสอบความเขา้ ใจของนกั เรยี นโดยใหน้ ักเรียนวิเคราะห์โจทยป์ ญั หาการบวกและโจทยป์ ัญหาการลบแล้วเขียน

แสดงวิธีหาคาตอบของโจทย์ปัญหาตามหนงั สอื เรยี นหนา้ 184 เป็นรายบคุ คลครแู ละนักเรียนร่วมกนั ตรวจสอบความถูกตอ้ งครู

อาจเสริมกิจกรรมแขง่ ขนั การหาคาตอบด้วยการกาหนดโจทยป์ ญั หาการบวกและโจทย์ปัญหาการลบมาใหน้ ักเรยี นหาคาตอบ

ให้ไดอ้ ย่างรวดเรว็ จากน้นั ครูและนักเรยี นรว่ มกนั สรุปสิง่ ทีไ่ ดเ้ รียนรู้ หากพบวา่ มีนักเรียนวเิ คราะห์โจทยป์ ัญหาและแสดงวธิ ีหา

คาตอบไม่ถูกต้องครูควรสอนเพิม่ เติมเป็นรายบุคคลหรอื รายกล่มุ

- การแก้โจทยป์ ัญหาทาได้โดย อ่านทาความเขา้ ใจปัญหา วางแผนแกป้ ญั หา หาคาตอบและตรวจสอบความ
สมเหตสุ มผล

ข้นั ตรวจสอบผล

- การแก้โจทยป์ ัญหาทาไดโ้ ดย อ่านทาความเข้าใจปัญหา วางแผนแกป้ ัญหา หาคาตอบและตรวจสอบความ

สมเหตสุ มผลจากนนั้ ให้นักเรยี นทาแบบฝึกหัด หน้า 116 – 117

6. การวัดและประเมนิ ผล

การวัดและประเมนิ ผลจุดประสงค์ วธิ กี ารวัดผล เคร่ืองมือวดั เกณฑ์การประเมินผล

ความรู้ความเข้าใจ (K) -ทดสอบ - คาถามกระตนุ้ ความคิด 70% ขน้ึ ไป ถือว่าผ่าน
-การสังเกต เกณฑ์การประเมิน

ทกั ษะ/กระบวนการ (P) -การจาแนก แบบฝึกหัด 70% ขึ้นไป ถือวา่ ผ่าน

-การให้เหตุผล เกณฑ์การประเมิน

-การสรุปความรกู้ ารปฏบิ ัติ

คุณลกั ษณะนิสัย (A) - สงั เกตพฤติกรรมขณะ - แบบประเมนิ พฤติกรรม 70% ขึ้นไป ถอื วา่ ผ่าน

ทางานรว่ มกบั กลุ่ม ขณะ ทางานรว่ มกับกล่มุ เกณฑ์การประเมนิ

7. สอื่ /แหล่งการเรยี นรู้
7.1 สอื่ การเรียนรู้

1. เคร่อื งมือวัดความยาว เช่น ไมเ้ มตร สายวัดชนดิ ตลับ
2. เคร่อื งบนิ กระดาษ

7.2 แหลง่ การเรยี นรู้

. 1. บตั รภาพ
2. บัตรตวั เลข

8. กจิ กรรมเสนอแนะ
................................................................................................................................................................................
................................................................................... .........................................................................
................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................

ลงชื่อ............................................ครูผสู้ อน ลงชื่อ...................................................ฝ่ายวิชาการ
(...........................................................) (...........................................................)

ลงชอื่ ................................................... ผู้บริหาร
(...........................................................)

สัปดาห์ท่ี 9

โรงเรยี นขจรเกยี รตพิ ฒั นา

แผนการจดั การเรียนรู้

ภาคเรยี นที่ ……1…/………... ช่อื ผ้สู อน ….……………………………….…….............
กล่มุ สาระการเรยี นรู้ คณิตศาสตร์ ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 2 จานวน 3 คาบ
หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี 3 การวัดความยาว เรือ่ ง โจทย์ปัญหาการบวกและโจทย์ปัญหาการลบ(2)

1. มาตรฐานการเรียนร้/ู ตัวช้วี ัด

มาตรฐาน ค 2.1 เขา้ ใจพื้นฐานเกย่ี วกบั การวดั วดั และคาดคะเนขนาดของส่งิ ทต่ี อ้ งการวดั และไปใช้

ตัวชวี้ ดั ที่ ป.2/2 วดั และเปรียบเทียบความยาวเป็นเมตร และเซนติเมตร

ป.2/3 แสดงวธิ ีหาคาตอบของโจทยป์ ญั หา การบวก การลบเกีย่ วกบั ความยาวทมี่ ี

2. สาระสาคัญ/ความคดิ รวบยอด

• การหาผลบวกหรือผลลบเกย่ี วกบั ความยาวเปน็ เมตรและเซนติเมตร ทาไดโ้ ดยนาความยาวที่เปน็ หน่วยเดียวกนั มา

บวกหรือลบกนั

• การแกโ้ จทย์ปัญหาทาไดโ้ ดยอ่านทาความเข้าใจปัญหา วางแผนแก้ปญั หา หาคาตอบ และตรวจสอบความ

สมเหตุสมผลของคาตอบ

3. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้

ด้านความรู้ (K)

แสดงวธิ หี าคาตอบของโจทยป์ ัญหาการบวกและโจทยป์ ญั หาการลบเก่ยี วกับความยาวทม่ี หี นว่ ยเปน็ เมตรและ

เซนตเิ มตร

ดา้ นทักษะกระบวนการ (P)

ใชว้ ิธกี ารท่เี หมาะสมในการแก้ปัญหา และคานวณหาคาตอบได้

ด้านคณุ ลักษณะ(A)

มวี จิ ารณญาณในการคิดและตอบคาถามด้วยความม่ันใจ

4. สาระการเรียนรู้

สาระการเรยี นร้แู กนกลาง สาระการเรยี นรทู้ อ้ งถน่ิ

โจทยป์ ญั หาการบวกและโจทยป์ ญั หาการลบ พจิ ารณาตามหลกั สตู รของสถานศึกษา

5. กจิ กรรมการเรียนรู้

คาบท่ี 1
ขั้นนา

ข้นั กระตุ้นความสนใจ

1. ครูติดแถบโจทย์ปัญหาการบวกความสูงตามหนังสือเรียนหน้า 185 ครูให้นักเรียนอ่านโจทย์แล้วร่วมกันวิเคราะห์โจทย์ ครู
อาจใช้คาถามกระตุ้นการคิดโดยถามนักเรียนว่า โจทย์ถามอะไร โจทย์บอกอะไร และหาคาตอบได้อย่างไร ท้ังนี้ครูอาจใช้

ภาพประกอบเพือ่ ให้นกั เรยี นเห็นภาพชัดเจนยิง่ ขึ้น เชน่ กระดานสปริง 2 ระดบั ระดับแรกสูงจากพนื้ 5 เมตร ถ้าระดับท่ีสองสูง
เทา่ กันจะสงู จากพนื้ เทา่ ไร (5 เมตร) ครอู าจแสดงภาพการเลอื่ นขึ้นหรือเลอ่ื นลงของกระดานสปริงให้นักเรียนเข้าใจความหมาย
ของการเท่ากัน มากกว่า หรือ น้อยกว่าในโจทย์ปัญหาข้อนี้ต้องเลื่อนกระดานสปริงระดับท่ีสองให้สูงกว่าระดับแรก นักเรียน
ควรตอบคาถามใหไ้ ด้ว่า จะหาคาตอบไดอ้ ยา่ งไร ครคู วรเปดิ โอกาสใหน้ ักเรยี นอธบิ ายแนวคิดของตนเอง

ข้นั สอน

ข้นั สารวจค้นหา

1. ครูติดแถบโจทย์ปัญหาการบวกความสูงตามหนังสือเรียนหน้า 185 ครูให้นักเรียนอ่านโจทย์แล้วร่วมกันวิเคราะห์โจทย์ ครู
อาจใช้คาถามกระตุ้นการคิดโดยถามนักเรียนว่า โจทย์ถามอะไร โจทย์บอกอะไร และหาคาตอบได้อย่างไร ทั้งนี้ครูอาจใช้
ภาพประกอบเพอื่ ใหน้ กั เรยี นเห็นภาพชัดเจนย่ิงข้ึน เชน่ กระดานสปริง 2 ระดับ ระดับแรกสูงจากพน้ื 5 เมตร ถ้าระดับท่ีสองสูง
เทา่ กันจะสูงจากพื้นเทา่ ไร (5 เมตร) ครูอาจแสดงภาพการเลื่อนขน้ึ หรอื เล่ือนลงของกระดานสปริงให้นักเรียนเข้าใจความหมาย
ของการเท่ากัน มากกว่า หรือ น้อยกว่าในโจทย์ปัญหาข้อนี้ต้องเลื่อนกระดานสปริงระดับท่ีสองให้สูงกว่าระดับแรก นักเรียน
ควรตอบคาถามใหไ้ ดว้ า่ จะหาคาตอบไดอ้ ย่างไร ครคู วรเปดิ โอกาสใหน้ กั เรียนอธบิ ายแนวคิดของตนเอง

2. ครตู ดิ แถบโจทย์ปัญหาตามหนังสือเรียนหน้า 186 แล้วให้นักเรียนช่วยกันวิเคราะห์โจทย์ปัญหา โดยครูอาจใช้ภาพ
อาคารเรียนและเสาธงทีเ่ สาธงสูงกวา่ และเตี้ยกว่าอาคารเรียน เพื่อให้นักเรียนเลือกภาพที่สอดคล้องกับโจทย์ปัญหา จากนั้นให้
นักเรียนวิเคราะห์ว่าจะหาคาตอบได้อย่างไร แล้วช่วยกันเขียนแสดงวิธีหาคาตอบ ครูควรเน้นย้าเร่ืองการลบที่มีการกระจาย
แล้วให้นักเรียนช่วยกันวิเคราะห์และหาคาตอบโจทย์ปัญหาข้อ 1 และ 2 ในกรอบท้ายหน้า 186 พร้อมทั้งตรวจสอบความ
ถกู ต้อง

3. ครูติดแถบโจทย์ปัญหาแล้วให้นักเรียนช่วยกันวิเคราะห์โจทย์ปัญหาตามหนังสือเรียนหน้า 187โดยครูอาจใช้ภาพ
ประกอบการวเิ คราะห์โจทยป์ ัญหาเพื่อสร้างความเขา้ ใจ แลว้ กระตุ้นการคิดวิเคราะห์เพ่ิมเติมด้วยคาถาม โจทย์ถามอะไร โจทย์
บอกอะไร นักเรียนจะหาคาตอบได้อย่างไร ในโจทย์ปัญหาข้อน้ีอาจใช้แถบกระดาษสี (Bar Model) มาประกอบการอธิบาย
เช่น วนั แรกพ่อปอู ิฐได้ระยะทาง 6 เมตร 10 เซนตเิ มตรครูตดิ แถบกระดาษสแี สดงระยะทางที่พ่อปูอิฐไดด้ ังนี้

ระยะทางท้ังหมดที่พ่อปูอฐิ ได้ 10 เมตร ครเู ขยี นรปู สเ่ี หลีย่ มต่ออกไปเพ่ือใหไ้ ด้ระยะทาง 10 เมตร ดงั นี้

จากรูป ครูให้นักเรียนบอกว่าส่วนท่ีต่อออกเป็นเป็นระยะทางเท่าไร แล้วให้นักเรียนแสดงวิธีหาคาตอบจากนั้นครูให้นักเรียน
ช่วยกันวิเคราะห์และหาคาตอบของโจทย์ปัญหาในกรอบท้ายหน้า 187 พร้อมท้ังตรวจสอบความถูกต้องท้ังนี้ครูอาจสร้าง
สถานการณ์เป็นเรื่องราวเพ่ิมความสนใจให้นักเรียน เช่น การทาความดีของต้นกล้า แม่ของต้นกล้ามีเชือกยาว 30 เมตร (ครู
เขียนรูปจาลองเชือกบนกระดาน) ต้นกล้าช่วยแม่ตัดเชือกทา ราวตากผ้า แล้วเหลือเชือกยาว 15 เมตร 25 เซนติเมตร (ครู
เขยี นรปู จาลองเชือกบนกระดาน)ใหน้ กั เรียนชว่ ยกนั หาคาตอบวา่ ต้นกลา้ ใช้เชือกทาราวตากผา้ เท่าไร (14 เมตร 75 เซนติเมตร)

ขนั้ สรุป

ข้นั ขยายความเข้าใจ

4. ตรวจสอบความเขา้ ใจของนกั เรยี นโดยให้นักเรียนวิเคราะห์โจทย์ปัญหาการบวกและโจทย์ปัญหาการลบ แล้วเขียน

แสดงวิธีหาคาตอบของโจทย์ปัญหาตามหนังสือเรียนหน้า 188 เป็นรายบุคคล ครูและนักเรียนร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง

ครูอาจเสริมกิจกรรมแข่งขันการหาคาตอบด้วยการกาหนด โจทย์ปัญหาการบวกและโจทย์ปัญหาการลบมาให้นักเรียนหา

คาตอบใหไ้ ด้อย่างรวดเร็ว จากนน้ั ครูและนักเรียนรว่ มกันสรุปส่ิงท่ีไดเ้ รยี นรู้หากพบว่ามีนกั เรียนวิเคราะห์โจทย์ปัญหาและแสดง

วธิ หี าคาตอบไมถ่ กู ต้อง ครูควรสอนเพิม่ เตมิ เป็นรายบุคคลหรอื รายกลุม่

- การแกโ้ จทย์ปญั หาทาไดโ้ ดยอา่ นทาความเข้าใจปัญหา วางแผนแกป้ ญั หาหาคาตอบ และตรวจสอบความสมเหตสุ มผล

ขัน้ ตรวจสอบผล

- การแก้โจทย์ปัญหาทาได้โดยอ่านทาความเข้าใจปัญหา วางแผนแก้ปัญหาหาคาตอบ และตรวจสอบความ

สมเหตุสมผลจากนั้นใหน้ กั เรียนทาแบบฝึกหดั หน้า 118 – 120

6. การวดั และประเมนิ ผล

การวดั และประเมนิ ผลจดุ ประสงค์ วธิ ีการวดั ผล เครอ่ื งมือวดั เกณฑก์ ารประเมนิ ผล

ความรู้ความเข้าใจ (K) -ทดสอบ - คาถามกระตนุ้ ความคิด 70% ขนึ้ ไป ถอื ว่าผา่ น

-การสังเกต เกณฑ์การประเมิน

ทกั ษะ/กระบวนการ (P) -การจาแนก แบบฝกึ หัด 70% ขน้ึ ไป ถือว่าผา่ น

-การใหเ้ หตผุ ล เกณฑ์การประเมนิ

-การสรปุ ความรกู้ ารปฏบิ ัติ

คุณลักษณะนิสยั (A) - สงั เกตพฤติกรรมขณะ - แบบประเมินพฤติกรรม 70% ขึ้นไป ถือวา่ ผ่าน

ทางานรว่ มกับกลุ่ม ขณะ ทางานร่วมกับกลมุ่ เกณฑ์การประเมิน

7. สื่อ/แหลง่ การเรียนรู้
7.1 สือ่ การเรียนรู้

1. เครอื่ งมือวัดความยาว เชน่ ไมเ้ มตร สายวัดชนิดตลบั
2. เครื่องบนิ กระดาษ

7.2 แหลง่ การเรียนรู้

. 1. บัตรภาพ
2. บัตรตวั เลข

8. กจิ กรรมเสนอแนะ
................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ...............................
................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................

ลงชอ่ื ............................................ครผู ู้สอน ลงชื่อ...................................................ฝ่ายวิชาการ
(...........................................................) (...........................................................)

ลงชื่อ................................................... ผบู้ ริหาร
(...........................................................)

สัปดาหท์ ่ี 9

โรงเรยี นขจรเกียรตพิ ัฒนา

แผนการจัดการเรยี นรู้

ภาคเรยี นที่ ……1…/………... ช่อื ผ้สู อน ….……………………………….…….............
กลุม่ สาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 2 จานวน 2 คาบ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 การวดั ความยาว เรอ่ื ง กิจกรรมรว่ มคดิ ร่วมทา (สารวจระยะทาง)

1. มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตัวชวี้ ดั

มาตรฐาน ค 2.1 เข้าใจพื้นฐานเก่ยี วกับการวดั วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งท่ีตอ้ งการวัดและไปใช้

ตวั ช้ีวัดท่ี ป.2/2 วัดและเปรยี บเทยี บความยาวเป็นเมตร และเซนติเมตร

ป.2/3 แสดงวิธีหาคาตอบของโจทย์ปัญหา การบวก การลบเกย่ี วกับความยาวท่ีมี

2. สาระสาคญั /ความคดิ รวบยอด

การวดั ความยาวหรอื ความสงู ของสิ่งตา่ ง ๆ เปน็ เซนตเิ มตร อาจวางเครอื่ งมือวัดเริ่มท่ี 0 หรอื ไมเ่ รมิ่ ที่ 0 กไ็ ด้

3. จุดประสงค์การเรยี นรู้

ดา้ นความรู้ (K)

แสดงวธิ หี าคาตอบของโจทย์ปัญหาการบวกและโจทย์ปัญหาการลบเก่ยี วกบั ความยาวทมี่ ีหนว่ ยเป็นเมตรและ

เซนตเิ มตร

ด้านทกั ษะกระบวนการ (P)

วดั ความยาวหรอื ระยะทางได้

ด้านคุณลักษณะ(A)

มีวจิ ารณญาณในการคิดและตอบคาถามด้วยความม่นั ใจ

4. สาระการเรียนรู้

สาระการเรยี นร้แู กนกลาง สาระการเรยี นรู้ทอ้ งถิน่

กิจกรรมรว่ มคิดรว่ มทา (สารวจระยะทาง) พิจารณาตามหลักสตู รของสถานศกึ ษา

5. กิจกรรมการเรยี นรู้

คาบท่ี 1
ข้นั นา

ข้ันกระต้นุ ความสนใจ

1. ครูให้นกั เรียนทาแบบทดสอบหลังเรยี น 15 นาที
2. ครแู บง่ นักเรยี นเป็นกลุม่ ตามความเหมาะสม แล้วแจกเครื่องมือวดั ความยาวและแบบบนั ทกึ กจิ กรรม

ขนั้ สอน

ขนั้ สารวจคน้ หา

1. ครใู ห้นกั เรยี นทาแบบทดสอบหลงั เรยี น 15 นาที
2. ครูแบ่งนักเรยี นเป็นกลุ่มตามความเหมาะสม แลว้ แจกเครือ่ งมอื วัดความยาวและแบบบนั ทกึ กิจกรรม
3. ครใู ห้นกั เรียนแตล่ ะกลุ่มสารวจระยะทาง เช่น จาก A ถงึ D โดยผ่าน B หรือผ่าน C เสน้ ทางใดมรี ะยะทางสัน้ กว่าและสั้น
กว่าเทา่ ไร
4. ครใู หน้ ักเรยี นแตล่ ะกล่มุ สรปุ ว่า ถ้าตอ้ งเดนิ ทางจากจุดเริ่มตน้ ไปยงั จดุ หมาย นักเรียนจะเลือกเส้นทางใด เพราะเหตุใดหมาย
เหตุ: ครอู าจกาหนดให้นักเรยี นสารวจระยะทางจาก A ถงึ D โดยผ่าน B และ C หรอื โดยผ่าน C และ B เส้นทางใดมีระยะทาง
ส้ันกวา่ และส้ันกว่าเท่าไร ซง่ึ ครตู ้องทาแบบบนั ทึกกิจกรรมเพ่ิมเติมจากนัน้ ให้นักเรยี นทาแบบฝกึ หดั ท้าทาย หนา้ 121 – 122

***หมายเหตุ ควรเป็นพ้ืนท่ีโล่งเพื่อการวางอุปกรณ์สาหรับกาหนดเส้นทาง อาจให้นักเรียนช่วยกันกาหนดจุดเร่ิมต้น
จดุ หมาย และเสน้ ทางตามจุดตา่ ง ๆ แลว้ ต้งั ช่ือจดุ ทีผ่ ่านตามหนงั สอื เรยี นหน้า 189 ครอู าจสรา้ งเป็นสถานการณ์หรือเหตุการณ์
ท่เี กดิ ขน้ึ ในนิทาน เชน่ หนูน้อยหมวกแดงต้องการเดินทางไปเยีย่ มคณุ ยาย เพอ่ื เสริมสร้างจติ นาการนกั เรียน โดยใช้กรวยจราจร
หรือขวดนา้ เป็นจดุ ทแ่ี สดงตาแหน่ง

ข้นั สรปุ

ขัน้ ขยายความเข้าใจ

4. ครใู ห้นักเรียนแตล่ ะกล่มุ สรุปว่า ถ้าต้องเดนิ ทางจากจุดเรม่ิ ต้นไปยงั จุดหมาย นกั เรยี นจะเลือกเส้นทางใด เพราะเหตุ
ใดหมายเหตุ: ครูอาจกาหนดให้นักเรียนสารวจระยะทางจาก A ถึง D โดยผ่าน B และ C หรือ โดยผ่าน C และ B เส้นทางใดมี
ระยะทางสั้นกวา่ และสน้ั กว่าเทา่ ไร ซึง่ ครตู อ้ งทาแบบบันทึกกจิ กรรมเพ่ิมเติมจากน้นั ให้

ข้นั ตรวจสอบผล

- นักเรียนทาแบบฝึกหัดท้าทาย หนา้ 121 – 122

6. การวัดและประเมนิ ผล

การวดั และประเมนิ ผลจดุ ประสงค์ วธิ ีการวดั ผล เครอ่ื งมอื วัด เกณฑก์ ารประเมินผล

ความรูค้ วามเขา้ ใจ (K) -ทดสอบ - คาถามกระต้นุ ความคิด 70% ขึ้นไป ถือว่าผา่ น
-การสงั เกต เกณฑ์การประเมนิ

ทกั ษะ/กระบวนการ (P) -การจาแนก แบบฝกึ หัด 70% ขึ้นไป ถือวา่ ผ่าน
เกณฑ์การประเมนิ
-การใหเ้ หตุผล

-การสรุปความรู้การปฏบิ ัติ

คุณลกั ษณะนสิ ัย (A) - สังเกตพฤติกรรมขณะ - แบบประเมินพฤติกรรม 70% ข้นึ ไป ถอื วา่ ผ่าน
ทางานรว่ มกบั กลุ่ม ขณะ ทางานรว่ มกับกลมุ่ เกณฑ์การประเมิน

7. สือ่ /แหลง่ การเรยี นรู้

7.1 สื่อการเรียนรู้

1. อปุ กรณส์ าหรับกาหนดเสน้ ทาง เชน่ กรวยจราจร ขวดน้า
2. เครอ่ื งมือวดั ความยาว เชน่ สายวดั ชนดิ ตลับ

7.2 แหลง่ การเรยี นรู้

. 1. บตั รภาพ
2. บตั รตวั เลข

8. กจิ กรรมเสนอแนะ
................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ...............................
................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................

ลงช่อื ............................................ครผู สู้ อน ลงชอื่ ...................................................ฝา่ ยวชิ าการ
(...........................................................) (...........................................................)

ลงชอ่ื ................................................... ผบู้ ริหาร
(...........................................................)

สปั ดาหท์ ี่ 11

โรงเรียนขจรเกียรตพิ ฒั นา

แผนการจัดการเรียนรู้

ภาคเรยี นท่ี ……1…/………... ชอื่ ผสู้ อน …………………………….…….......................
กลมุ่ สาระการเรียนรู้ คณติ ศาสตร์
หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ 4 การวัดนา้ หนัก ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 2 จานวน 2 คาบ

เรื่อง การวดั นา้ หนกั เปน็ กิโลกรมั ละขีด(1)

1. มาตรฐานการเรยี นรู/้ ตวั ชี้วัด

มาตรฐาน ค 2.1 เข้าใจพนื้ ฐานเกี่ยวกบั การวัด วดั และคาดคะเนขนาดของส่งิ ทต่ี ้องการวดั และไปใช้

ตัวช้วี ัด ป.2/4 วัดและเปรียบเทยี บน้าหนักเปน็ กิโลกรัม และกรัม กิโลกรมั และขีด

ป.2/5 แสดงหาคาตอบของโจทย์ปัญหา การบวก การลบเก่ียวกับน้าหนักหน่วยเป็นกิโลกรัมและกรัม กิโลกรัม

และขีด

2. สาระสาคัญ/ความคดิ รวบยอด

การบอกน้าหนักของส่ิงตา่ ง ๆ อาจบอกนา้ หนัก เป็นกรมั เปน็ กโิ ลกรมั และขีดเป็นกิโลกรมั และกรัม

3. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้

ด้านความรู้ (K)

บอกนา้ หนักของสง่ิ ตา่ ง ๆ เปน็ กโิ ลกรมั และขีด

ดา้ นทักษะกระบวนการ (P)

ใช้วิธีการทเี่ หมาะสมในการแกป้ ญั หา และคานวณหาคาตอบได้

ด้านคุณลกั ษณะ(A)

มีวจิ ารณญาณในการคิดและตอบคาถามดว้ ยความมน่ั ใจ

4. สาระการเรียนรู้

สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง สาระการเรยี นรทู้ ้องถน่ิ

การวดั น้าหนกั พจิ ารณาตามหลกั สูตรของสถานศกึ ษา

5. กจิ กรรมการเรียนรู้

คาบท่ี 1
ขนั้ นา

ข้นั กระตุ้นความสนใจ

1. ครูจดั กจิ กรรม บอกน้าหนักเป็นกิโลกรัมและขีด ตามหนังสือเรียนหน้า 193 – 194 โดยครูเตรียมอุปกรณ์ให้พร้อม
แล้วแนะนาการใช้เคร่ืองช่ังสปริงในการช่ังน้าหนัก ครูควรเน้นย้าว่าก่อนการช่ังน้าหนักสิ่งของต่าง ๆ ควรสังเกต เข็มชี้
น้าหนักตอ้ งชที้ ี่ตวั เลข 0 ก่อนชั่งทกุ คร้ัง

ขน้ั สอน

ขัน้ สารวจคน้ หา

1. ครูจัดกิจกรรม บอกน้าหนักเป็นกิโลกรัมและขีด ตามหนังสือเรียนหน้า 193 – 194 โดยครูเตรียมอุปกรณ์ให้พร้อมแล้ว
แนะนาการใช้เคร่ืองชั่งสปริงในการช่ังน้าหนัก ครูควรเน้นย้าว่าก่อนการช่ังน้าหนักสิ่งของต่าง ๆ ควรสังเกต เข็มช้ีน้าหนัก
ต้องชท้ี ตี่ ัวเลข 0 ก่อนช่ังทุกครั้งครูชั่งข้าวสารทีละถุงแล้วให้นักเรียนบอกน้าหนักที่ชั่งได้ จนครบ 5 ถุง ซ่ึงเข็มชี้น้าหนักจะช้ีท่ี
ตัวเลข 5 นกั เรียนอา่ นนา้ หนกั 5 ขีด ครูแนะนาว่า นา้ หนกั 5 ขีด เท่ากับน้าหนักครึง่ กโิ ลกรมั จากน้นั ครชู ่งั ข้าวสารเพิ่มทีละถุง
แล้วให้นักเรียนบอกน้าหนักท่ีชั่งได้ จนครบ 10 ถุง ซ่ึงเข็มจะช้ีที่ตัวเลข 1 ครูแนะนาว่า น้าหนัก 10 ขีดเท่ากับน้าหนัก 1
กิโลกรัม จากนั้นเปล่ียนถุงข้าวสาร 10 ถุง เป็นถุงข้าวสาร 1 กิโลกรัม 1 ถุง และครูนา ถุงข้าวสารที่หนัก 1 ขีด ชั่งเพิ่มทีละ 1
ถุง และให้นักเรียนอ่านน้าหนักเป็นกิโลกรัมและขีด จนครบ 5 ถุง ครูแนะนาว่า 1 กิโลกรัม 5 ขีด เรียกอีกอย่างหน่ึงว่า 1
กิโลกรัมครึ่ง แล้วครูช่ังข้าวสารเพ่ิมทีละถุงให้นักเรียนบอกน้าหนักท่ีชั่งได้เป็นกิโลกรัมและขีด จนครบ 10 ถุง ซ่ึงเข็มจะชี้ที่
ตวั เลข 2 ครูแนะนาวา่ 1 กิโลกรัม 10 ขดี เท่ากบั น้าหนัก 2 กโิ ลกรัม หรือ น้าหนัก 20 ขดี เท่ากบั นา้ หนัก 2 กโิ ลกรมั

2. ครูใหน้ ักเรยี นช่วยกันบอกน้าหนักเป็นกิโลกรัมและขีด ตามหนังสือเรียนหน้า 195 ครูอาจนาของจริงมาให้นักเรียน
ชง่ั และบอกนา้ หนัก เพือ่ ฝึกให้นักเรยี นอ่านน้าหนักเปน็ กโิ ลกรมั และขีด หรืออาจนาบัตรภาพการช่งั สง่ิ ตา่ ง ๆ มาให้นักเรียนอ่าน
น้าหนักเพื่อฝึกเพมิ่ เติม หากนักเรยี นอ่านน้าหนักของสงิ่ ตา่ ง ๆ เปน็ กิโลกรมั และขีดไมถ่ กู ตอ้ งครคู วรแกไ้ ขทนั ที

3. ตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียนโดยให้นักเรียนอ่านน้าหนักของส่ิงต่าง ๆ ตามหนังสือเรียนหน้า 196 ซ่ึงจะ
กาหนดภาพการชง่ั สง่ิ ของมาให้จากนั้นครูและนักเรียนร่วมกันตรวจสอบความถูกต้องและสรุปสิ่งท่ีได้เรียนรู้ หากนักเรียนอ่าน
น้าหนักของส่ิงต่าง ๆ เป็นกิโลกรัมและขีด ไม่ถูกต้อง ครูควรแก้ไขโดยให้นักเรียนฝึกชั่งน้าหนักของสิ่งของที่เป็นของจริงแล้ว
บอกน้าหนักเปน็ รายบคุ คล

ขั้นอธบิ ายความรู้

4. คาตอบ ครูอาจจัดกจิ กรรมเพม่ิ เติมโดยใช้บตั รภาพแสดงการชั่งนา้ หนกั ของสิง่ ต่าง ๆ ท่ีมีหน่วยเป็นขดี เพ่ือทบทวน
ความรู้เร่อื งการชง่ั น้าหนักและการบอกนา้ หนัก

ข้ันสรุป

ขั้นขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียนโดยให้นักเรียนอ่านน้าหนักของส่ิงต่าง ๆ ตามหนังสือเรียนหน้า 196 ซ่ึงจะกาหนด
ภาพการช่งั สง่ิ ของมาให้จากน้ันครูและนักเรียนร่วมกันตรวจสอบความถูกต้องและสรุปส่ิงท่ีได้เรียนรู้ หากนักเรียนอ่านน้าหนัก
ของส่ิงต่าง ๆ เป็นกิโลกรัมและขีด ไม่ถูกต้อง ครูควรแก้ไขโดยให้นักเรียนฝึกชั่งน้าหนักของสิ่งของที่เป็นของจริงแล้วบอก
น้าหนกั เป็นรายบุคคล

ขั้นตรวจสอบผล

- การบอกนา้ หนกั ของสิ่งตา่ ง ๆ ท่ีมากกว่า 1 กโิ ลกรัม อาจบอกนา้ หนกั เป็นกิโลกรัมและขีดจากนั้นให้นกั เรียนทา
แบบฝึกหดั หน้า 123 - 125

6. การวัดและประเมินผล

การวัดและประเมินผลจดุ ประสงค์ วิธกี ารวัดผล เครอื่ งมอื วดั เกณฑ์การประเมนิ ผล

ความรคู้ วามเขา้ ใจ (K) -ทดสอบ - คาถามกระตุ้นความคิด 70% ข้ึนไป ถอื วา่ ผ่าน

-การสงั เกต เกณฑ์การประเมิน

ทกั ษะ/กระบวนการ (P) -การจาแนก แบบฝึกหัด 70% ขึ้นไป ถือวา่ ผา่ น

-การให้เหตุผล เกณฑ์การประเมิน

-การสรปุ ความร้กู ารปฏิบตั ิ

คุณลกั ษณะนิสัย (A) - สงั เกตพฤติกรรมขณะ - แบบประเมินพฤติกรรม 70% ขน้ึ ไป ถือว่าผา่ น

ทางานร่วมกบั กลุ่ม ขณะ ทางานร่วมกับกลุ่ม เกณฑ์การประเมิน

7. สือ่ /แหลง่ การเรียนรู้

7.1 ส่ือการเรียนรู้

1. บัตรภาพแสดงการชั่งน้าหนักสิง่ ของตา่ ง ๆ

2. เครื่องชั่งสปรงิ

3. ข้าวสาร 10 ถุง หนกั ถุงละ 1 ขดี

4. ข้าวสาร 1 ถุง หนัก 1 กิโลกรัม

7.2 แหลง่ การเรยี นรู้

-

8. กิจกรรมเสนอแนะ

................................................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................................

....................................................................................................................................................................

ลงชือ่ ............................................ครูผ้สู อน ลงชือ่ ...................................................ฝ่ายวิชาการ
(...........................................................) (...........................................................)

ลงช่ือ................................................... ผู้บริหาร
(...........................................................)

สปั ดาห์ที่ 11

โรงเรียนขจรเกียรตพิ ฒั นา

แผนการจดั การเรยี นรู้

ภาคเรียนท่ี ……1…/………... ช่อื ผ้สู อน …………………………….…….......................
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ คณติ ศาสตร์
หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 4 การวัดนา้ หนัก ชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 2 จานวน 2 คาบ

เร่อื ง การวัดนา้ หนักเป็นกโิ ลกรมั ละขีด(2)

1. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ชว้ี ัด

มาตรฐาน ค 2.1 เขา้ ใจพนื้ ฐานเก่ยี วกับการวดั วดั และคาดคะเนขนาดของส่งิ ทต่ี ้องการวัดและไปใช้

ตัวช้ีวดั ป.2/4 วดั และเปรียบเทยี บนา้ หนกั เปน็ กโิ ลกรัม และกรัม กโิ ลกรัมและขดี

ป.2/5 แสดงหาคาตอบของโจทย์ปัญหา การบวก การลบเก่ยี วกับน้าหนักหน่วยเป็นกิโลกรมั และกรมั

กโิ ลกรมั และขีด

2. สาระสาคญั /ความคิดรวบยอด

การบอกนา้ หนกั ของส่ิงตา่ ง ๆ อาจบอกน้าหนัก เปน็ กรัม เป็นกิโลกรมั และขีดเป็นกโิ ลกรัมและกรัม

3. จุดประสงค์การเรยี นรู้

ดา้ นความรู้ (K)

บอกน้าหนักของสง่ิ ตา่ ง ๆ เป็นกโิ ลกรัมและขดี

ด้านทกั ษะกระบวนการ (P)

ใช้วธิ กี ารท่เี หมาะสมในการแกป้ ัญหา และคานวณหาคาตอบได้

ด้านคุณลักษณะ(A)

มีวิจารณญาณในการคิดและตอบคาถามดว้ ยความมั่นใจ

4. สาระการเรียนรู้

สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง สาระการเรยี นรู้ทอ้ งถน่ิ

การวัดนา้ หนกั เปน็ กิโลกรมั และขีด พจิ ารณาตามหลกั สตู รของสถานศึกษา

5. กิจกรรมการเรยี นรู้

คาบที่ 1- 2

ขัน้ นา

ขัน้ กระต้นุ ความสนใจ

1. ครูจัดกิจกรรม บอกน้าหนักเป็นกิโลกรัมและขีด ตามหนังสือเรียนหน้า 193 – 194 โดยครูเตรียมอุปกรณ์ให้พร้อม
แล้วแนะนาการใช้เครื่องชั่งสปริงในการชั่งน้าหนัก ครูควรเน้นย้าว่าก่อนการชั่งน้าหนักส่ิงของต่าง ๆ ควรสังเกต เข็มชี้
น้าหนกั ตอ้ งชีท้ ตี่ วั เลข 0 กอ่ นช่งั ทกุ ครง้ั

ขนั้ สอน

ขน้ั สารวจค้นหา

2. ครูชัง่ ขา้ วสารทีละถุงแล้วใหน้ กั เรยี นบอกนา้ หนกั ท่ีชงั่ ได้ จนครบ 5 ถงุ ซึ่งเข็มชนี้ ้าหนกั จะชี้ท่ีตัวเลข 5 นักเรียนอ่าน
น้าหนัก 5 ขีด ครูแนะนาว่า น้าหนัก 5 ขีด เท่ากับน้าหนักคร่ึงกิโลกรัม จากน้ันครูช่ังข้าวสารเพ่ิมทีละถุงแล้วให้นักเรียนบอก
น้าหนักท่ีช่ังได้ จนครบ 10 ถุง ซึ่งเข็มจะช้ีท่ีตัวเลข 1 ครูแนะนาว่า น้าหนัก 10 ขีดเท่ากับน้าหนัก 1 กิโลกรัม จากน้ันเปลี่ยน
ถุงข้าวสาร 10 ถุง เป็นถุงข้าวสาร 1 กิโลกรัม 1 ถุง และครูนา ถุงข้าวสารที่หนัก 1 ขีด ชั่งเพ่ิมทีละ 1 ถุง และให้นักเรียนอ่าน
น้าหนักเป็นกิโลกรัมและขีด จนครบ 5 ถุง ครูแนะนาว่า 1 กิโลกรัม 5 ขีด เรียกอีกอย่างหน่ึงว่า 1 กิโลกรัมครึ่ง แล้วครูชั่ง
ข้าวสารเพิ่มทีละถุงให้นักเรียนบอกน้าหนักที่ชั่งได้เป็นกิโลกรัมและขีด จนครบ 10 ถุง ซ่ึงเข็มจะชี้ที่ตัวเลข 2 ครูแนะนาว่า 1
กโิ ลกรมั 10 ขีด เทา่ กับนา้ หนกั 2 กิโลกรัม หรอื นา้ หนัก 20 ขีด เท่ากับ นา้ หนัก 2 กิโลกรมั

ขน้ั อธบิ ายความรู้

3. ครูและนักเรียนร่วมกันตรวจสอบความถูกต้องและสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ หากนักเรียนอ่านน้าหนักของส่ิงต่าง ๆ เป็น
กิโลกรัมและขดี ไม่ถกู ตอ้ ง ครคู วรแกไ้ ขโดยใหน้ กั เรียนฝกึ ช่งั นา้ หนักของส่ิงของท่เี ปน็ ของจรงิ แล้วบอกนา้ หนักเปน็ รายบคุ คล

ข้นั สรุป

ขัน้ ขยายความเข้าใจ

- การบอกนา้ หนักของสิ่งตา่ ง ๆ ทม่ี ากกวา่ 1 กโิ ลกรัม อาจบอกน้าหนักเป็นกิโลกรมั และขีด

ขน้ั ตรวจสอบผล

- ให้นกั เรียนทาแบบฝกึ หดั หน้า 124

คาบท่ี 3

ข้นั นา

ขนั้ กระตนุ้ ความสนใจ

1. ครูจัดกจิ กรรม บอกน้าหนักเป็นกิโลกรัมและขีด ตามหนังสือเรียนหน้า 193 – 194 โดยครูเตรียมอุปกรณ์ให้พร้อม
แล้วแนะนาการใช้เครื่องช่ังสปริงในการชั่งน้าหนัก ครูควรเน้นย้าว่าก่อนการชั่งน้าหนักสิ่งของต่าง ๆ ควรสังเกต เข็มชี้
น้าหนกั ต้องชท้ี ีต่ วั เลข 0 กอ่ นชั่งทกุ ครง้ั

ข้ันสอน

ขน้ั สารวจค้นหา

2. ครใู ห้นกั เรียนช่วยกันบอกน้าหนักเป็นกิโลกรัมและขีด ตามหนังสือเรียนหน้า 195 ครูอาจนาของจริงมาให้นักเรียน
ช่งั และบอกน้าหนกั เพอื่ ฝกึ ให้นกั เรยี นอา่ นนา้ หนกั เปน็ กโิ ลกรมั และขีด หรอื อาจนาบัตรภาพการชง่ั สง่ิ ต่าง ๆ มาให้นักเรียนอ่าน
นา้ หนักเพ่อื ฝกึ เพิม่ เติม หากนกั เรียนอา่ นน้าหนักของสงิ่ ตา่ ง ๆ เป็นกโิ ลกรัมและขดี ไม่ถกู ต้องครูควรแก้ไขทันที

ขั้นอธบิ ายความรู้

3. ครูและนักเรียนร่วมกันตรวจสอบความถูกต้องและสรุปสิ่งท่ีได้เรียนรู้ หากนักเรียนอ่านน้าหนักของส่ิงต่าง ๆ เป็น
กิโลกรัมและขีด ไมถ่ ูกต้อง ครูควรแกไ้ ขโดยใหน้ กั เรียนฝกึ ชั่งนา้ หนักของสงิ่ ของทเ่ี ป็นของจริงแลว้ บอกน้าหนักเปน็ รายบคุ คล

ขนั้ สรุป

ขน้ั ขยายความเข้าใจ

- การบอกนา้ หนักของส่งิ ตา่ ง ๆ ท่มี ากกว่า 1 กิโลกรมั อาจบอกนา้ หนักเป็นกิโลกรมั และขดี

ขัน้ ตรวจสอบผล

- ให้นักเรยี นทาแบบฝกึ หัดหน้า 125

6. การวดั และประเมินผล

การวดั และประเมนิ ผลจุดประสงค์ วธิ กี ารวัดผล เครื่องมือวดั เกณฑก์ ารประเมินผล

ความรคู้ วามเข้าใจ (K) -ทดสอบ - คาถามกระตนุ้ ความคดิ 70% ขนึ้ ไป ถือว่าผา่ น

-การสงั เกต เกณฑ์การประเมิน

ทกั ษะ/กระบวนการ (P) -การจาแนก แบบฝกึ หดั 70% ขึน้ ไป ถือว่าผา่ น

-การใหเ้ หตุผล เกณฑ์การประเมิน

-การสรุปความรู้การปฏิบตั ิ

คณุ ลกั ษณะนสิ ัย (A) - สงั เกตพฤติกรรมขณะ - แบบประเมนิ พฤติกรรม 70% ขน้ึ ไป ถอื วา่ ผา่ น

ทางานร่วมกบั กล่มุ ขณะ ทางานรว่ มกับกล่มุ เกณฑ์การประเมนิ

7. ส่ือ/แหลง่ การเรียนรู้

7.1 สอ่ื การเรียนรู้

1. บตั รภาพแสดงการช่ังนา้ หนกั สิ่งของต่าง ๆ

2. เครือ่ งช่ังสปรงิ

3. ข้าวสาร 10 ถงุ หนกั ถงุ ละ 1 ขีด

4. ขา้ วสาร 1 ถงุ หนกั 1 กิโลกรมั

7.2 แหล่งการเรยี นรู้

-

8. กิจกรรมเสนอแนะ

................................................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................................

....................................................................................................................................................................

ลงช่อื ............................................ครูผูส้ อน ลงชอ่ื ...................................................ฝา่ ยวิชาการ

(...........................................................) (...........................................................)

ลงชื่อ................................................... ผู้บริหาร

(...........................................................)

สปั ดาห์ท่ี 11

โรงเรยี นขจรเกยี รตพิ ัฒนา

แผนการจัดการเรยี นรู้

ภาคเรียนท่ี ……1…/………... ชอ่ื ผ้สู อน …………………………….…….......................
กลมุ่ สาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์
หน่วยการเรียนรู้ท่ี 4 การวัดน้าหนัก ชั้นประถมศึกษาปที ่ี 2 จานวน 2 คาบ

เรอื่ ง การวดั นา้ หนักตัว

1. มาตรฐานการเรียนร้/ู ตวั ช้วี ัด

มาตรฐาน ค 2.1 เข้าใจพ้นื ฐานเกย่ี วกับการวัด วดั และคาดคะเนขนาดของส่งิ ท่ตี ้องการวดั และไปใช้
ตัวช้วี ัด ป.2/4 วดั และเปรียบเทียบนา้ หนกั เปน็ กิโลกรัม และกรัม กิโลกรมั และขดี

ป.2/5 แสดงหาคาตอบของโจทย์ปญั หา การบวก การลบเก่ยี วกับนา้ หนักหนว่ ยเปน็ กิโลกรมั และกรมั กิโลกรัม
และขดี

2. สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด

การบอกน้าหนกั ของส่ิงต่าง ๆ อาจบอกน้าหนัก เปน็ กรัม เป็นกโิ ลกรัมและขีดเป็นกิโลกรมั และกรัม

3. จดุ ประสงค์การเรียนรู้

ดา้ นความรู้ (K)

บอกน้าหนักตัวเป็นกิโลกรมั และขีด

ด้านทักษะกระบวนการ (P)

ใชว้ ิธีการท่ีเหมาะสมในการแกป้ ญั หา และคานวณหาคาตอบได้

ด้านคุณลกั ษณะ(A)

มีวจิ ารณญาณในการคิดและตอบคาถามดว้ ยความมนั่ ใจ

4. สาระการเรียนรู้

สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรยี นรทู้ อ้ งถนิ่

การวัดนา้ หนกั ตวั พจิ ารณาตามหลักสูตรของสถานศึกษา

5. กิจกรรมการเรียนรู้

คาบท่ี 1-2
ขนั้ นา

ขั้นกระต้นุ ความสนใจ

1. ครสู นทนากบั นักเรยี นเกย่ี วกับการชัง่ นา้ หนกั ตัววา่ ใช้เครือ่ งชง่ั ชนิดใดได้บ้าง เช่น เคร่อื งชัง่ แบบมเี ข็มเคร่ืองช่ังแบบ
ใชต้ ัวเลข จากนัน้ ครแู นะนาเครือ่ งชงั่ ทั้งสองแบบ และแนะนาเครื่องชนิดต่าง ๆ ตามหนังสือเรียนหน้า 197 ครูอาจใช้การถาม-
ตอบ เกี่ยวกบั การวัดนา้ หนกั ตวั ของนกั เรยี น เชน่ นักเรยี นหนักเท่าไร รไู้ ดอ้ ยา่ งไร

ขัน้ สอน

ขนั้ สารวจคน้ หา

2. ครูจัดกิจกรรม ใครหนักเท่าไร ตามหนังสือเรียนหน้า 198 โดยครูจัดเตรียมเครื่องช่ังน้าหนักตัวแบบมีเข็ม และ
แบบใช้ตัวเลขและเน้นย้าว่าให้นักเรียนสังเกตหน้าปัดเครื่องชั่งก่อนชั่งทุกคร้ังว่า เคร่ืองชั่งน้าหนักตัวแบบมีเข็มเข็มต้องช้ีที่
ตัวเลข 0 เคร่ืองช่ังน้าหนักตัวแบบใช้ตัวเลข หน้าปัดต้องข้ึนตัวเลข 0.0 (บางรุ่นอาจไม่ปรากฏตัวเลข จนกว่าจะข้ึนชั่งน้าหนัก)
แลว้ ใหน้ กั เรียนทุกคนชั่งน้า หนักตัวและอา่ นน้าหนักของตนเอง ครแู นะนาว่าในการอ่านน้าหนักจากเคร่ืองช่ังน้าหนักตัวแบบใช้
ตวั เลขให้อ่านดงั น้ี หน้าปดั เครอื่ งชัง่ ขึน้ ตัวเลข 49.5 อา่ นว่า สีส่ บิ เกา้ จดุ หา้ และให้บอกน้าหนกั วา่ 49 กิโลกรมั 5 ขีด

3. ครใู ห้นักเรยี นช่วยกนั บอกนา้ หนกั โดยใช้ภาพในหนังสือเรียนหน้า 199 เพ่ือฝึกให้นักเรียนอ่านน้าหนักจากเคร่ืองช่ัง
แบบมีเข็มและแบบใช้ตัวเลข ครอู าจนาบัตรภาพการชง่ั นา้ หนกั ตัวจากเครื่องช่งั แบบมเี ขม็ และแบบใชต้ วั เลขมาให้นักเรียนอ่าน
นา้ หนักเพื่อฝึกเพมิ่ เตมิ หากนักเรียนอา่ นนา้ หนกั ตัวไม่ถกู ตอ้ งครูควรแกไ้ ขทนั ที โดยครูเน้นย้าว่า การบอกน้าหนักจากเคร่ืองชั่ง
แบบใช้ตวั เลขตัวเลขท่ีอยูห่ นา้ จุดจะบอกน้าหนักเป็นกิโลกรัมตัวเลขท่ีอยู่หลังจุดจะบอกน้าหนักเป็นขีด เช่น 15.3 บอกน้าหนัก
วา่ 15 กโิ ลกรัม 3 ขีด

ข้นั อธิบายความรู้

4. ครูตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียนโดยให้นักเรียนอ่านน้าหนักตัวจากเคร่ืองช่ังแบบมีเข็มและ เครื่องชั่ง
แบบใช้ตัวเลขในแต่ละภาพตามหนังสือเรียนหน้า 200 จากนั้นครูและนักเรียนร่วมกันตรวจสอบความถูกต้องและสรุปสิ่งท่ีได้
เรยี นรู้หากนักเรียนอ่านน้าหนักตัวไม่ถูกต้อง ครูควรแก้ไขโดยการให้นักเรียนฝึกช่ังน้าหนักตัวของตนเองและเพื่อนในห้องแล้ว
บอกนา้ หนกั เปน็ รายบคุ คลจากน้ันรว่ มกันสรุปสิ่งทไี่ ด้เรียนรู้

ขนั้ สรุป

ขน้ั ขยายความเข้าใจ

- เคร่อื งชง่ั สาหรบั วัดน้าหนักตวั มที งั้ แบบมเี ข็มและแบบใชต้ ัวเลข

ขั้นตรวจสอบผล

- ใหน้ ักเรียนทาแบบฝึกหัดหนา้ 126 -127

6. การวดั และประเมนิ ผล

การวัดและประเมินผลจุดประสงค์ วธิ ีการวดั ผล เครือ่ งมือวดั เกณฑก์ ารประเมนิ ผล
70% ข้นึ ไป ถอื วา่ ผา่ น
ความร้คู วามเข้าใจ (K) -ทดสอบ - คาถามกระตนุ้ ความคดิ เกณฑ์การประเมนิ
70% ข้ึนไป ถอื ว่าผ่าน
-การสังเกต เกณฑ์การประเมิน

ทกั ษะ/กระบวนการ (P) -การจาแนก แบบฝึกหัด 70% ข้นึ ไป ถอื ว่าผา่ น
เกณฑ์การประเมิน
-การใหเ้ หตผุ ล

-การสรปุ ความร้กู ารปฏิบตั ิ

คุณลกั ษณะนิสยั (A) - สังเกตพฤติกรรมขณะ - แบบประเมินพฤติกรรม

ทางานร่วมกับกลุ่ม ขณะ ทางานรว่ มกับกล่มุ

7. สอื่ /แหลง่ การเรยี นรู้
7.1 ส่ือการเรยี นรู้

1. บัตรภาพแสดงการชัง่ น้าหนักส่งิ ของตา่ ง ๆ
2. เครือ่ งช่ังสปรงิ
3. ขา้ วสาร 10 ถงุ หนกั ถงุ ละ 1 ขีด
4. ข้าวสาร 1 ถุง หนกั 1 กโิ ลกรัม

7.2 แหล่งการเรยี นรู้

-

8. กิจกรรมเสนอแนะ
................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................

ลงชอ่ื ............................................ครผู ้สู อน ลงชอ่ื ...................................................ฝ่ายวชิ าการ
(...........................................................) (...........................................................)

ลงชื่อ................................................... ผูบ้ ริหาร
(...........................................................)


Click to View FlipBook Version