คู่มื คู่ อ มื จัดจัทำ โดย : กองมาตรฐานการพัฒพันาสังสัคมและความมั่นมั่คงของมนุษนุย์ สำ นักนังานปลัดกระทรวงการพัฒพันาาสังสัคมและความมั่นมั่คงของมนุษนุย์ (ฉบับบั ปรับรั ปรุงรุปีงปีบประมาณ พ.ศ. 2567) สํานักงานพัฒนาสังคมและความมันคงของมนุษย์จังหวัด การประเมินตนเอง ตามมาตรฐานการปฏิบัติงานของ
(รองปก) “คู่มือการประเมินตนเองตามมาตรฐานการปฏิบัติหน้าที่ ของส านักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด” (ฉบับปรับปรุงปีงบประมาณ พ.ศ. 2567)
ข้อมูลทางบรรณานุกรม “ คู่มือการประเมินตนเองตามมาตรฐานการปฏิบัติหน้าที่ของส านักงานพัฒนาสังคม และความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด” (ฉบับปรับปรุงปีงบประมาณ พ.ศ. 2567) พิมพ์เมื่อ เมษายน 2567 จ านวน 201 หน้า จัดพิมพ์โดย กลุ่มการพัฒนามาตรฐานทางสังคม กองมาตรฐานการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ส านักงานปลัดกระทรวง กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
ค าน า ส านักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ โดยกองมาตรฐาน การพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ มีหน้าที่และอ านาจตามกฎกระทรวง แบ่งส่วนราชการส านักงาน ปลัดกระทรวง กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2563 ประการหนึ่ง คือ การก าหนด ปรับปรุง และขับเคลื่อนมาตรฐานด้านการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ซึ่งประกอบด้วย 30 มาตรฐาน รวมถึง มาตรฐานการปฏิบัติงานของส านักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดด้วย เนื่องจากส านักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ เป็นส่วนราชการส่วนภูมิภาค ที่มีหน้าที่และอ านาจทั้งในด้านการก าหนดนโยบายและยุทธศาสตร์การพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ในระดับจังหวัด รวมทั้งรายงานสถานการณ์ทางสังคม การประสานความร่วมมือกับหน่วยงานทั้งภายในและ ภายนอกกระทรวง รวมถึงส่งเสริมและประสานงานการช่วยเหลือและประสานส่งต่อผู้ประสบปัญหาทางสังคม จึงนับได้ว่ามีรูปแบบการท างานที่ต้องเกี่ยวข้องกับทั้งระดับนโยบาย กลุ่มเป้าหมาย และภาคีเครือข่าย แบบครบวงจร การด าเนินงานของส านักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จึงจ าเป็นต้องมีมาตรฐาน การปฏิบัติงาน เพื่อก ากับให้การด าเนินงานมีประสิทธิภาพและเกิดประโยชน์สูงสุดทั้งเชิงนโยบายและ ต่อประชาชน ให้ได้รับการป้องกัน แก้ไข ฟื้นฟูและพัฒนาคุณภาพชีวิตตามสิทธิอันพึงได้รับ ในการนี้ได้มี การปรับปรุงมาตรฐานการปฏิบัติหน้าที่ของส านักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด ในปีงบประมาณ 2567 โดยยึดตามหน้าที่และอ านาจของส านักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ จังหวัดที่ก าหนดในกฎกระทรวง 10 ข้อ และการก าหนดตัวชี้วัด เกณฑ์ และค่าเป้าหมายด าเนินการแบบ มีส่วนร่วมกับทุกหน่วยงาน รวมทั้งผ่านการวิพากษ์และความเห็นชอบของคณะท างานพัฒนามาตรฐานการ ปฏิบัติหน้าที่ของ สนง.พมจ. ตามมติที่ประชุม ครั้งที่ 1/2567 เมื่อวัน 20 กุมภาพันธ์ 2567 ทั้งนี้ มุ่งให้ตัวชี้วัดดังกล่าวส่งเสริม สนับสนุนให้การปฏิบัติงานมีความเป็นมืออาชีพ สอดคล้องกับเป้าหมายของ ภาพรวมกระทรวงที่มีการก าหนดแนวทางปฏิรูปบทบาทหน้าที่ให้สมารถเป็นเจ้าภาพหลักด้านการพัฒนาสังคม และความมั่นคงของมนุษย์ได้ในทุกระดับ และมีหลักฐานการปฏิบัติงานที่สามารถป้องกันความเสี่ยงจากปัญหา ที่มักพบในอดีต ทั้งยังเพื่อสร้างความโปร่งใส และมุ่งสร้างความรักความสามัคคีในองค์กร พม.จังหวัด (One Home) และภาคีเครือข่าย ให้เป็นองค์กรแห่งความส าเร็จและองค์กรแห่งความสุข นอกจากนั้นเพื่อ ส่งเสริมสนับสนุนให้มาตรฐานฯ เป็นเครื่องมือหนึ่งของ สสว. ในการส่งเสริมสนับสนุนด้านวิชาการ แบบพุ่งเป้า โดยกระทรวงก าหนดให้ สสว. มีหน้าที่และอ านาจในการนิเทศ ก ากับ ติดตาม และน าผลการประเมินตนเองของ ระดับจังหวัด/กลุ่มจังหวัดไปใช้ในการจัดท าแผนงานและข้อเสนอเพื่อการเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของ ส านักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดรวมถึงจัดท าข้อเสนอต่อผู้บริหารระดับต่างๆในการ ก าหนดนโยบายที่เกี่ยวข้องด้วย กองมาตรฐานการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ จึงหวังเป็นอย่างยิ่งว่า“ คู่มือ การประเมินตนเองตามมาตรฐานการปฏิบัติหน้าที่ของส านักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด (ฉบับปรุงปีงบประมาณ พ.ศ. 2567) ” จะเป็นประโยชน์และเป็นแนวทางในการปฏิบัติภารกิจขอองค์การ อย่างเป็นระบบเกิดการพัฒนาองค์การ ก่อให้เกิด Smart Organization บนพื้นฐานของ Good Governanceต่อไป กองมาตรฐานการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ส านักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ มีนาคม 2567
สารบัญ หน้าที่ ค าน า ก สารบัญ ข สารบัญตาราง ค สารบัญรูปภาพ ง บทที่ 1 - ข้อมูลพื้นฐาน อ านาจหน้าที่ของส านักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคม 1 และความมั่นคงของมนุษย์ - แผนภูมิโครงสร้างการแบ่งส่วนราชการ พม.ตามกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการ 3 - ข้อมูลพื้นฐาน อ านาจหน้าที่ส านักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ 6 - แผนภูมิโครงสร้างส านักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ 7 - อ านาจหน้าที่ส านักงานปลัดกระทรวงกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ 8 - แผนปฏิบัติราชการระยะ 5 ปี(พ.ศ. 2566 – 2570) 9 ของส านักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ - สาระส าคัญของแผนปฏิบัติราชการระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2566 - 2570) 10 ของส านักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ บทที่ 2 - บทบาท อ านาจหน้าที่ ของส านักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด 14 - โครงสร้างองค์กรและบุคลากร 15 - ตารางสรุปประเด็นการประชุมหารือเพื่อการปฏิรูปองค์กรของกระทรวง พม. 20 บทที่ 3 - การประเมินตนเองตามมาตรฐานการปฏิบัติหน้าที่ของส านักงานพัฒนาสังคม 29 และความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด 1.ที่มาและเหตุผล 29 2.วัตถุประสงค์ 31 3.ขั้นตอนการปฏิบัติงาน/ปฏิทินการปฏิบัติงาน 31 4. การประเมินตนเองตามมาตรฐานการปฏิบัติหน้าที่ของส านักงานพัฒนาสังคม 33 และความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด บทที่ 4 - แนวทางการบันทึกข้อมูล : แบบประเมินตนเองตามมาตรฐานการปฏิบัติ 39 - แบบประเมินตนเองตามมาตรฐานส านักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ 40 ประจ าปีงบประมาณ 2567 (ตาราง) - ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของ สนง.พมจ. 41 - ส่วนที่ 2 แบบประเมินตนเอง ตามมาตรฐาน สนง.พมจ. 49 - ส่วนที่ 3 ปัญหาอุปสรรคในการปฏิบัติงาน 81
สารบัญ (ต่อ) หน้าที่ รายชื่อผู้ประสานงาน 82 บทที่ 5 – แนวทางการบันทึกข้อมูล : แบบประเมินตนเองตามมาตรฐาน 83 การปฏิบัติหน้าที่ของ สนง. พมจ. ภาคผนวก ภาคผนวก ก - แบบประเมินตนเองตามมาตรฐานส านักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ 114 ประจ าปีงบประมาณ 2567(ตาราง) ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของ สนง.พมจ. 115 ส่วนที่ 2 แบบประเมินตนเอง ตามมาตรฐาน สนง.พมจ. 123 ส่วนที่ 3 ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอ 149 ภาคผนวก ข - หลักฐานประกอบการพิจารณา ประเภทแบบรายงาน 150 ภาคผนวก ค - หลักฐานประกอบการพิจารณา ประเภทตัวอย่างค าสั่ง 175 ฐานข้อมูลทางสังคมที่เกี่ยวกับการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ 188 คณะผู้จัดท า 198 บรรณานุกรม 199
สารบัญภาพ ภาพประกอบ หน้าที่ ภาพที่ 1 โครงสร้างการแบ่งส่วนราชการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ 3 ภาพที่ 2 โครงสร้างการแบ่งส่วนราชการ พม. ตามกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการ 4 ภาพที่ 3 แผนภูมิการจัดกลุ่มภารกิจในกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ 5 ภาพที่ 4 แผนภูมิโครงสร้างส านักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ 7 ภาพที่ 5 แผนปฏิบัติราชการระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2566 – 2570) 9 ของส านักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคม และความมั่นคงของมนุษย์ ภาพที่ 6 กรอบแนวคิดมาตรฐานการปฏิบัติหน้าที่ของ สนง.พมจ. 34
สารบัญตาราง ตาราง หน้าที่ 1 ปัญหา อุปสรรค และแนวทางการปรับปรุงแก้ไขการขับเคลื่อนทีม พม. จังหวัด(One Home) 17 2 แนวทาง “การพัฒนา” การขับเคลื่อนงานทีม พม. จังหวัด ภายใต้แนวคิดบ้านเดียวกัน 18 (One Home) 3 สรุปประเด็นการประชุมหารือเพื่อการปฏิรูปองค์กรของกระทรวง พม. 20 4 ขั้นตอน / ปฏิทิน การปฏิบัติงาน 31 5 ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป 1.อัตราก าลังและจ านวนบุคลากรที่ปฏิบัติงานจริงของ สนง.พมจ.ปัจจุบัน 43 2.การพัฒนาศักยภาพบุคลากร 47 3.การจัดพื้นที่และวัสดุอุปกรณ์ในการปฏิบัติงานให้บริการประชาชนตามภารกิจ 48 สนง.พมจ. ส่วนที่ 2 ตารางแสดงผลการปฏิบัติงานเพื่อประกอบการพิจารณาตามมาตรฐาน 49 ส านักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด จ าแนกตามอ านาจหน้าที่ ที่กฎหมายก าหนด ตัวชี้วัดและเกณฑ์ที่ก าหนด ส่วนที่ 3 ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอ 81 6 รายชื่อผู้ประสานงาน 82 7 ภาคผนวก ก การประเมินตนเองตามมาตรฐานการปฏิบัติหน้าที่ของส านักงานพัฒนาสังคม 114 และความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด ส่วนที่ 1 – ส่วนที่ 3 ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป 1.อัตราก าลังและจ านวนบุคลากรที่ปฏิบัติงานจริงของ สนง.พมจ.ปัจจุบัน 117 2.การพัฒนาศักยภาพบุคลากร 121 3.การจัดพื้นที่และวัสดุอุปกรณ์ในการปฏิบัติงานให้บริการประชาชนตามภารกิจ 122 สนง.พมจ. ส่วนที่ 2 ตารางแสดงผลการปฏิบัติงานเพื่อประกอบการพิจารณาตามมาตรฐาน 123 ส านักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด จ าแนกตามอ านาจหน้าที่ ที่กฎหมายก าหนด ตัวชี้วัดและเกณฑ์ที่ก าหนด ส่วนที่ 3 ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอ 149 8 ภาคผนวก ข หลักฐานประกอบการพิจารณา ประเภทแบบรายงาน 150 - แบบรายงาน Check list การจัดท าแผนการจัดสวัสดิการสังคมจังหวัด 152 - แบบสรุปรายงานผลการเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรมเข้าสู่แผนพัฒนาจังหวัด 153 -แบบรายงานการมีส่วนร่วมของเครือข่ายด้านการพัฒนาสังคมในการขับเคลื่อนแผนงาน 154 - แบบรายงานผลการด าเนินงานตามแผนการจัดสวัสดิการสังคมจังหวัด 155 - แบบรายงานข้อมูล/ท าเนียบองค์กรเครือข่ายด้านการพัฒนาสังคมในจังหวัด 156 -แบบรายงานการมีส่วนร่วมเป็นกลไกการขับเคลื่อนงานด้านการพัฒนาสังคมระดับจังหวัด 157 ขององค์กรเครือข่าย
สารบัญตาราง (ต่อ) ตาราง หน้าที่ - แบบรายงานการจัดท าแผนงานและจัดกิจกรรมเพื่อให้เกิดความรัก ความสามัคคี 158 - แผนการพัฒนาบุคลากรที่เหมาะสมต่อการปฏิบัติหน้าที่ของ สนง.พมจ. 159 - แบบรายงานการพัฒนาด้านทักษะดิจิทัลและทักษะที่สอดคล้องกับการปฏิบัติงาน 160 ตามภารกิจของ สนง.พมจ. - แบบรายงานระยะเวลาการส่งต่อข่าวสาร/หนังสือราชการเพื่อการถ่ายทอดนโยบาย 161 สู่ผู้ปฏิบัติอย่างเท่าทันสถานการณ์ - แบบสรุปผลการด าเนินงานรายกลุ่ม/ฝ่ายและรายบุคคล 162 - แบบสรุปผลการด าเนินงานของส านักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ 163 - แผนการส่งเสริมหรือจัดกิจกรรมที่เสริมสร้างสมดุลการปฏิบัติงาน (work life balance) 164 - แบบรายงานผลการจัดกิจกรรมตามแผนการส่งเสริมหรือจัดกิจกรรมที่เสริมสร้างสมดุล 165 การปฏิบัติงาน (work life balance) - แผนการด าเนินงานด้านศูนย์ข้อมูลทางสังคมระดับจังหวัด 166 - สรุปผลการด าเนินงานตามแผนศูนย์ข้อมูลทางสังคมระดับจังหวัดและการน าข้อมูล 167 ไปสู่การปฏิบัติ -แผนปฏิบัติการของการจัดการความรู้ด้านการจัดสวัสดิการสังคมและการพัฒนาสังคม 168 - แบบรายงานแผนการจัดการความรู้ด้านการจัดสวัสดิการสังคมและการพัฒนาสังคม 169 และการส่งเสริมการน าไปใช้ประโยชน์ด้านการพัฒนาสังคม - แผนปฏิบัติการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ภารกิจและผลงานของหน่วยงาน พม. 170 ระดับจังหวัด และ One home - แบบรายงานผลการผลิตและเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ภารกิจและผลงานของหน่วยงาน พม. 174 ระดับจังหวัด และ One home 9 ภาคผนวก ค หลักฐานประกอบการพิจารณา ประเภทตัวอย่างค าสั่ง 175 10 ฐานข้อมูลทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ 188
[1] บทที่ ๑ บทนำ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ เป็นกระทรวงที่จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติ ปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. 2545 ซึ่งเป็นกระทรวงภาคสังคมในการทำหน้าที่เกี่ยวกับการพัฒนา สังคม การสร้างความเป็นธรรมและความเสมอภาคในสังคม การส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพและความมั่นคง ในชีวิต สถาบันครอบครัวและชุมชนโดยรวมส่วนราชการด้านนโยบายและการปฏิบัติโดยมีโครงสร้างการแบ่ง ส่วนราชการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ตาม พ.ร.บ. ปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม (ฉบับที่ ๑๔) พ.ศ. 25๕๘ ประกอบด้วย สำนักงานรัฐมนตรี สำนักงานปลัดกระทรวง กรมกิจการเด็กและ เยาวชน กรมกิจการผู้สูงอายุ กรมกิจการสตรีและ สถาบันครอบครัว กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ กรมส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ การเคหะแห่งชาติสำนักงานธนานุเคราะห์ และสถาบัน พัฒนาองค์กรชุมชน ข้อมูลพื้นฐาน อำนาจหน้าที่กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ การจัดกลุ่มภารกิจในกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ดังนี้ สำนักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ • เป็นศูนย์กลางการบริหารราชการของกระทรวงฯ • พัฒนายุทธศาสตร์และแปลงนโยบายของกระทรวงฯเป็นแผนปฏิบัติงาน • จัดสรรทรัพยากรและบริหารราชการทั่วไปของกระทรวงฯ เพื่อให้บรรลุเป้าหมาย และเกิดผลสัมฤทธิ์ตามภารกิจของกระทรวงฯ • พัฒนานโยบายและยุทธศาสตร์ด้านการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ ช่วยเหลือคุ้มครองผู้เสียหายจากการค้ามนุษย์ผู้ประสบปัญหาทางสังคม กลุ่มภารกิจด้านพัฒนาศักยภาพมนุษย์และสังคม ประกอบด้วย กรมกิจการเด็กและ เยาวชน กรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว กรมกิจการผู้สูงอายุ เป้าหมาย : การมุ่งเน้นพัฒนาศักยภาพมนุษย์ให้มีศักยภาพสูง และพัฒนาทุกช่วงวัยและ ตลอดช่วงชีวิต ให้เต็มศักยภาพสามารถอยู่ได้อย่างมีศักดิ์ศรี และสร้างพลังในการพัฒนาสังคมให้ เข้มแข็ง (Empowerment) ภารกิจสำคัญ : ๑. กำหนดนโยบาย/มาตรการการพัฒนา คุ้มครอง และส่งเสริมสวัสดิการให้แก่ กลุ่มเป้าหมาย (เด็ก สตรี ผู้สูงอายุ และครอบครัว) ๒. การส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพกลุ่มเป้าหมายให้มีภูมิคุ้มกันต่อความเปลี่ยนแปลง ๓. การคุ้มครองและพิทักสิทธิ และการส่งเสริมสวัสดิการให้แก่กลุ่มเป้าหมาย เพื่อให้มี คุณภาพชีวิตที่ดีและมีความมั่นคงในการดำรงชีวิต รวมถึงการช่วยเหลือ บำบัด ฟื้นฟู และเยียวยา ผู้ถูกกระทำรุนแรงหรือปฏิบัติอย่างไม่เป็นธรรม ๔. ส่งเสริมการสร้างและพัฒนานวัตกรรมทางสังคม และองค์ความรู้ ขีดความสามารถ และระบบการบริหารจัดการด้านการพัฒนากลุ่มเป้าหมาย
[2] ๕. ส่งเสริมและสร้างความตระหนักด้านคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมที่พึงประสงค์ สำหรับกลุ่มเป้าหมาย รวมถึงธรรมาภิบาลและความรับผิดชอบต่อสังคม ๖. สร้างสถาบันครอบครัว ชุมชน และสังคม ให้มีความอบอุ่นและเข้มแข็ง โดยทุกภาคมี ส่วนร่วม ภารกิจด้านพัฒนาสวัสดิการสังคมและคุณภาพชีวิต ประกอบด้วย กรมพัฒนาสังคมและ สวัสดิการ และกรมส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ เป้าหมาย : การพัฒนาระบบสวัสดิการสังคมที่สมบูรณ์ และการพัฒนายกระดับคุณภาพ ชีวิตกลุ่มเป้าหมายเฉพาะที่ต้องการการดูแลเป็นพิเศษให้ดำรงชีวิตได้อย่างมีคุณภาพ ภารกิจสำคัญ : ๑. กำหนดนโยบาย/มาตรการการพัฒนาสังคม และระบบสวัสดิการสังคมที่เหมาะสม กับประชาชนทุกกลุ่ม ชุมชน และสังคมไทย ๒. ช่วยเหลือ ฟื้นฟู และพัฒนาศักยภาพคนพิการ คนไร้ที่พึ่ง ขอทาน ราษฎรบนพื้นที่สูง สมาชิกนิคมสร้างตนเอง ฯลฯ ให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ๓. คุ้มครองส่งเสริมสิทธิ และส่งเสริมสวัสดิการให้แก่กลุ่มเป้าหมาย ๔. ส่งเสริมการสร้างและพัฒนานวัตกรรมทางสังคม และองค์ความรู้ ขีดความสามารถ และระบบการบริหารจัดการด้านการพัฒนากลุ่มเป้าหมาย ๕. เสริมสร้างโอกาสในการเข้าถึงบริการทางสังคมให้แก่กลุ่มเป้าหมาย ๖. สร้างและพัฒนากลไกความร่วมมือกับภาคีเครือข่าย เพื่อเป็นหุ้นส่วนในการจัด สวัสดิการสังคมและการพัฒนาสังคม วิสัยทัศน์ “ ประชาชนเข้าถึงโอกาส และการคุ้มครองทางสังคม มีความมั่นคงในชีวิต ” พันธกิจ 1. เสริมสร้างศักยภาพคนและสร้างความเข้มแข็งของสถาบันครอบครัว 2. เสริมสร้างโอกาสและการคุ้มครองทางสังคมอย่างเท่าเทียม 3. ส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมและเป็นหุ้นส่วนในการพัฒนาสังคมอย่างยั่งยืน 4. ยกระดับองค์กรให้มีผลสัมฤทธิ์สูงด้วยธรรมาภิบาลและเทคโนโลยีดิจิทัล ค่านิยมองค์กร “ อุทิศตน อาสางาน เอื้ออาทร อำนวยประโยชน์สุข” ประเด็นยุทธศาสตร์ 1. พัฒนาศักยภาพคนและสร้างความเข้มแข็งของสถาบันครอบครัวอย่างยั่งยืน 2. สร้างโอกาสและยกระดับการคุ้มครองทางสังคมสำหรับคนทุกช่วงวัย 3.พัฒนาทุนทางสังคมสร้างการมีส่วนร่วมเสริมเศรษฐกิจฐานรากสู่การเป็นหุ้นส่วนการพัฒนาสังคมที่ยั่งยืน 4. มุ่งพัฒนาองค์กรให้มีสมรรถนะและผลสัมฤทธิ์สูงเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงในยุคดิจิทัล
[3] 1 โครงสร้างการแบ่งส่วนราชการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ภาพที่ 1 โครงสร้างการแบ่งส่วนราชการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ 1 โครงสร้างการแบ่งส่วนราชการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์https://www.m-society.go.th
แผนภูมิโครงสร้างการแบ่งส่วนราช2 ภาพที่ 2 โครงสร้างการแบ่งส่วนราชการ พม. ตามกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการ https://ww
[4] ชการ พม. ตามกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการ 2 ww.m-society.go.th
[5แผนภูมิการจัดกลุ่มภารกิจในกระทรวงกา3 3 ภาพที่ 3 แผนภูมิการจัดกลุ่มภารกิจในกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ https://www
5] ารพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ w.m-society.go.th
[6] ข้อมูลพื้นฐาน อำนาจหน้าที่สำนักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ วิสัยทัศน์ “ เสริมพลัง สร้างโอกาส พัฒนาคุณภาพชีวิตคนทุกช่วงวัย” พันธกิจ 1. พัฒนาและขับเคลื่อนนโยบายและยุทธศาสตร์การพัฒนาสังคมสู่การปฏิบัติ 2. ส่งเสริม พัฒนากลไก และบูรณาการภาคีเครือข่ายทางสังคมทุกภาคส่วนและทุกระดับ 3.ส่งเสริมการวิจัย งานวิชาการ และพัฒนานวัตกรรมทางสังคมเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตคนทุกช่วงวัย 4. พัฒนาระบบบริหารจัดการองค์กรให้มีขีดสมรรถนะสูง ค่านิยมองค์กร “อุทิศตน อาสางาน เอื้ออาทร อำนวยประโยชน์สุข” ประเด็นยุทธศาสตร์ 1. พัฒนานโยบายการพัฒนาคุณภาพชีวิตคนทุกช่วงวัยแบบพุ่งเป้า 2. ยกระดับการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์แบบบูรณาการ 3. พัฒนาระบบสวัสดิการและนวัตกรรมทางสังคม เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิต คนทุกช่วงวัย 4. ยกระดับการพัฒนาองค์กรให้มีผลสัมฤทธิ์สูงเพื่อรองรับยุคดิจิทัล
[7แผนภูมิโครงสร้างสำนักงานปลัดกระทร4 4 ภาพที่ 4 แผนภูมิโครงสร้างสำนักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษ
7] รวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ษย์https://www.m-society.go.th
อำนาจหน้าที่สำนักงานปลัดกระทรวงกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ กฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการสำนักงานปลัดกระทรวงกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2563 กำหนดให้สำนักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์เป็นศูนย์กลาง การบริหารของกระทรวงในการพัฒนายุทธศาสตร์และแปลงนโยบายของกระทรวงเป็นแผนปฏิบัติงาน จัดสรรทรัพยากร และรับผิดชอบการบริหารราชการทั่วไปของกระทรวง เพื่อให้บรรลุเป้าหมายและเกิดผลสัมฤทธิ์ตามภารกิจของกระทรวง โดยให้มีหน้าที่และอำนาจ ดังต่อไปนี้ 1. พัฒนานโยบายและมาตรการด้านการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จัดทำนโยบายและ ยุทธศาสตร์ของกระทรวงและสำนักงานปลัดกระทรวง และนำนโยบายและมาตรการดังกล่าวไปสู่การปฏิบัติตลอดจน ขับเคลื่อนยุทธศาสตร์และแผนตามกรอบความร่วมมือระหว่างประเทศ 2. พัฒนาปรับปรุงและดำเนินการเกี่ยวกับงานกฎหมายในความรับผิดชอบของกระทรวง 3. พัฒนาวิชาการและมาตรฐานด้านการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์และเฝ้าระวังติดตาม วิเคราะห์ คาดการณ์ เตือนภัยและรายงานสถานการณ์ทางสังคมของประเทศในภาพรวม 4. พัฒนานโยบายยุทธศาสตร์และมาตรการด้านการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์และกำกับติดตาม ผลและรายงานผลการดำเนินงานตามนโยบาย ยุทธศาสตร์และมาตรการรวมทั้งการช่วยเหลือและคุ้มครองสวัสดิภาพ ผู้เสียหาย จากการค้ามนุษย์และบริหารจัดการกองทุนเพื่อการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ 5. ดำเนินการเกี่ยวกับการตรวจราชการของผู้ตรวจราชการกระทรวง รับเรื่องราวร้องทุกข์ที่อยู่ในหน้าที่และ อำนาจของกระทรวง และการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบปัญหาทางสังคม 6. กำกับเร่งรัด ติดตาม และประเมินผลการปฏิบัติราชการของส่วนราชการในสังกัดกระทรวง 7. จัดสรรและบริหารทรัพยากร บริหารงานบุคคล งบประมาณ การเงินการบัญชีและการตรวจสอบของ กระทรวงและสานักงานปลัดกระทรวง 8. พัฒนาและจัดให้มีระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารให้เป็นศูนย์ข้อมูลกลางของกระทรวง เพื่อสนับสนุนการบริหารงานของกระทรวง การเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ข้อมูลของกระทรวงและการให้บริการแก่หน่วยงาน ของรัฐและประชาชน 9. พัฒนาและฝึกอบรมบุคลากรของกระทรวง และบุคลากรอื่นที่เกี่ยวข้องกับภารกิจของกระทรวง 10. ปฏิบัติการอื่นใดตามที่กฎหมายกำหนดให้เป็นหน้าที่และอำนาจของสำนักงานปลัดกระทรวง หรือ ตามที่รัฐมนตรีหรือคณะรัฐมนตรีหรือปลัดกระทรวงมอบหมาย โดยให้แบ่งส่วนราชการบริหาร ดังต่อไปนี้ 1. ราชการบริหารส่วนกลาง 1.1 กองกลาง 1.2 กองกฎหมาย 1.3 กองการต่างประเทศ 1.4 กองตรวจราชการ 1.5 กองต่อต้านการค้ามนุษย์ 1.6 กองเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ 1.7 กองพัฒนานโยบายและนวัตกรรมทางสังคม 1.8 กองมาตรฐานการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ 1.9 กองยุทธศาสตร์และแผนงาน 1.10 ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 1.11 สถาบันพระประชาบดี 1.12 สานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 1 – 11 2. ราชการบริหารส่วนภูมิภาค สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด 8
แผนปฏิบัติราชการระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2566 – 2570) ของสำนั5 5 ภาพที่ 5 แผนปฏิบัติราชการระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2566 – 2570) ของสำนักงานปลัดกระทรวงกา[ 9 ]
นักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ารพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์https://www.m-society.go.th/ewtadmin/ewt/mso_web/
[10] สรุปสาระสำคัญของแผนปฏิบัติราชการระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2566 - 2570) ของสำนักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ 1. วัตถุประสงค์ 1.1. นโยบายและยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาสังคม สามารถชี้นำการขับเคลื่อนการพัฒนาคน ทุกช่วงวัย ครัวเรือนเปราะปราง ได้อย่างมีประสิทธิภาพในทุกมิติ 1.2. องค์กรเครือข่ายมีความเข้มแข็ง และเป็นหุ้นส่วนทางสังคมอย่างยั่งยืน รวมถึงยกระดับ บทบาทของไทยในเวทีระหว่างประเทศ 1.๓. ยกระดับองค์กรให้มีผลสัมฤทธิ์สูงด้วยธรรมมาภิบาลและเทคโนโลยีดิจิทัล 2. เป้าหมายและตัวชี้วัดรวม 2.1. ครัวเรือนเปราะบางที่ได้รับการพัฒนาในทุกมิติ (กลุ่มเป้าหมายระหว่างปี พ.ศ. 2566 – 2570 รวมจำนวน 42,665 ครัวเรือน) 2.2. กลุ่มเปราะบาง กลุ่มผู้ประสบปัญหาทางสังคม กลุ่มเป้าหมายตามภารกิจได้รับการช่วยเหลือ คุ้มครอง และพัฒนา (กลุ่มเป้าหมายระหว่างปี พ.ศ. 2566 – 2570 รวมจำนวน 1,336,030 คน) 2.3. ศูนย์ช่วยเหลือสังคมระดับตำบลมีการจัดตั้งครอบคลุมทั่วประเทศมีมาตรฐาน ในการปฏิบัติงาน (กลุ่มเป้าหมายระหว่างปี พ.ศ. 2566 – 2570 รวมจำนวน 7,305 ศูนย์) แผนย่อยภายใต้แผนปฏิบัติราชการระยะ 5 ปี เรื่องที่ 1 พัฒนานโยบายการพัฒนาคุณภาพชีวิตคนทุกช่วงวัยแบบพุ่งเป้า เป้าหมายที่ 1 : นโยบายและยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาสังคม สามารถชี้นาการขับเคลื่อนการพัฒนา สังคมได้อย่างมีประสิทธิภาพ ตัวชี้วัดและค่าเป้าหมาย : 1. จำนวนนโยบายและยุทธศาสตร์ที่ได้รับการพัฒนาและขับเคลื่อนไปสู่การปฏิบัติ (135 เรื่อง) 2. ระดับความสำเร็จของการขับเคลื่อนนโยบาย ยุทธศาสตร์ และแผนปฏิบัติการด้านการป้องกันและ แก้ไขปัญหาการค้ามนุษย์สู่การปฏิบัติ (ระดับ 5) 3. ระดับความสำเร็จของกองทุนเพื่อการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ (ระดับ 3) 4. จำนวนแผนงาน/โครงการด้านสังคมที่ได้รับการบรรจุในแผนพัฒนาจังหวัด (30 แผนงาน) แนวทาง : 1. จัดทำนโยบายและยุทธศาสตร์ที่สอดคล้องกับทิศทางยุทธศาสตร์ชาติ แผนแม่บทรวมถึงนโยบาย และยุทธศาสตร์ระหว่างประเทศที่เกี่ยวข้อง 2. ขับเคลื่อนนโยบายยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติการด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหาการค้ามนุษย์ 3. พัฒนาและขับเคลื่อนแผนการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ระดับจังหวัดสู่การปฏิบัติ แผนงาน/โครงการสำคัญ : 1. โครงการจัดทำข้อเสนอเชิงนโยบายเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตคนทุกช่วงวัยแบบพุ่งเป้า 2. โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาการค้ามนุษย์ 3. กองทุนเพื่อการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ 4. โครงการพัฒนาและขับเคลื่อนแผนการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ระดับจังหวัดสู่การปฏิบัติ
[11] เป้าหมายที่ 2 : ประชาชนและครัวเรือนเป้าหมายได้รับการพัฒนาในทุกมิติ ตัวชี้วัดและค่าเป้าหมาย : 1. จำนวนครัวเรือนเปราะบางที่ได้รับการพัฒนาในทุกมิติ (42,665 ครัวเรือน) 2. ระดับความสำเร็จในการพัฒนาระบบการให้ความช่วยเหลือกลุ่มเปราะบาง กลุ่มเป้าหมาย ตามภารกิจในสถานการณ์วิกฤติอย่างทันท่วงทีและมีประสิทธิภาพ (ระดับ 5) 3. จานวนกลุ่มเปราะบาง กลุ่มผู้ประสบปัญหาทางสังคม กลุ่มเป้าหมายตามภารกิจได้รับ การช่วยเหลือ คุ้มครอง และพัฒนา (1,336,030 คน) แนวทาง : 1. สร้างโอกาสและขับเคลื่อนการพัฒนาคุณภาพชีวิตครัวเรือนเปราะบางแบบพุ่งเป้า 2. พัฒนาระบบการให้ความช่วยเหลือกลุ่มเปราะบาง กลุ่มเป้าหมายตามภารกิจในสถานการณ์วิกฤต อย่างทันท่วงทีและมีประสิทธิภาพ แผนงาน/โครงการ : 1. โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตกลุ่มเปราะบางรายครัวเรือน 2. โครงการพัฒนาระบบการคุ้มครองทางสังคม เรื่องที่ 2 ยกระดับการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์แบบบูรณาการ เป้าหมาย : เกิดการบูรณาการความร่วมมือกับภาคีเครือข่ายอย่างมีประสิทธิภาพและ เป็นหุ้นส่วนทางสังคมอย่างยั่งยืน ตัวชี้วัดและค่าเป้าหมาย : 1. จำนวนภาคีเครือข่ายที่เข้ามาเป็นหุ้นส่วนในการพัฒนาสังคม (400 คน) 2. ร้อยละความสำเร็จในการสร้างและพัฒนาเครือข่ายและกลไกความร่วมมือด้านการ ต่างประเทศเพื่อยกระดับบทบาทของไทยในเวทีระหว่างประเทศ (เพิ่มขึ้น/ดีขึ้น ร้อยละ 5-10) 3. ร้อยละความสำเร็จความร่วมมือของเครือข่ายการพัฒนาสังคมสาหรับคนไทย ในต่างประเทศ(ร้อยละ 100) 4. จำนวนศูนย์ช่วยเหลือสังคมระดับตาบลที่มีการจัดตั้งให้ครอบคลุมทั่วประเทศ มีมาตรฐาน ในการปฏิบัติงาน (7,305 ศูนย์) แนวทาง : 1. บูรณาการความร่วมมือกับภาคีเครือข่ายทุกระดับและทุกภาคส่วน เพื่อเป็นหุ้นส่วนการ พัฒนาสังคมให้เกิดความมั่นคงและยั่งยืนทางเศรษฐกิจและสังคม และลดความเหลื่อมล ้าได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2. พัฒนาเครือข่ายและกลไกความร่วมมือระหว่างประเทศ 3. ขับเคลื่อนกลไกศูนย์ช่วยเหลือสังคมระดับตาบลเพื่อพัฒนาสังคมแบบองค์รวม แผนงาน/โครงการสำคัญ : 1. โครงการสร้างและพัฒนาความร่วมมือกับภาคีเครือข่ายในการเป็นหุ้นส่วนทางสังคม 2. โครงการพัฒนาและยกระดับการให้บริการศูนย์ช่วยเหลือสังคมตำบล
[12] เรื่องที่ 3 พัฒนาระบบสวัสดิการและนวัตกรรมทางสังคม เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตคนทุกช่วงวัย เป้าหมาย : คุณภาพชีวิต ศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ และความเสมอภาคทางสังคมได้รับการ ยกระดับเพิ่มขึ้นจากผลการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมทางสังคม ตัวชี้วัดและค่าเป้าหมาย 1. ร้อยละของงานวิจัยที่ได้รับการพัฒนาและขับเคลื่อนสู่การปฏิบัติ (ร้อยละ 100) 2. ระดับความสำเร็จของการจัดทาดัชนีชี้วัดความมั่นคงของมนุษย์ (ระดับ 5) 3. จำนวนรายงานการวิเคราะห์สถานการณ์ทางสังคมและรายงานการวิเคราะห์แนวโน้ม ด้านสังคมที่สามารถชี้นำทางสังคมได้ (4 รายงาน) 4. ระดับความสำเร็จนวัตกรรมทางสังคมที่ได้รับการพัฒนาและสามารถขับเคลื่อนไปสู่ การปฏิบัติอย่างมีประสิทธิภาพ (ระดับ 5) แนวทาง : 1. พัฒนางานวิชาการ งานวิจัย และมาตรฐานการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ เพื่อพัฒนาระบบ สวัสดิการและยกระดับคุณภาพชีวิตคนทุกช่วงวัยอย่างตรงจุด 2. ขับเคลื่อนการจัดทาสถานการณ์ทางสังคมและการพยากรณ์แนวโน้มทางสังคมเพื่อชี้นาการพัฒนาสังคม 3. พัฒนานวัตกรรมทางสังคมเพื่อตอบโจทย์ปัญหาสังคมและลดความเหลื่อมล้าทางสังคม แผนงาน/โครงการ : 1. โครงการพัฒนาองค์ความรู้สู่การพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ 2. โครงการขับเคลื่อนการจัดทาสถานการณ์ทางสังคมและการพยากรณ์แนวโน้มเพื่อชี้นำ การพัฒนาทางสังคม 3. โครงการพัฒนานวัตกรรมทางสังคมเพื่อตอบโจทย์ปัญหาสังคมและลดความเหลื่อมล้าทางสังคม เรื่องที่ 4 ยกระดับการพัฒนาองค์กรให้มีผลสัมฤทธิ์สูงเพื่อรองรับยุคดิจิทัล เป้าหมายที่ : สป.พม. เป็นองค์กรที่มีผลสัมฤทธิ์สูงรองรับการเปลี่ยนแปลงในยุคดิจิทัล อย่างมีประสิทธิภาพ ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละความสำเร็จในการพัฒนาระบบราชการสู่การเป็นองค์กรที่มีผลสัมฤทธิ์สูง (ร้อยละ 95) 2. จำนวนการพัฒนาและปรับปรุงกฎหมาย ระเบียบ ประกาศของ สป.พม. ให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลง (16 ฉบับ) 3. ระดับคะแนน ITA ที่เพิ่มขึ้นของ สป.พม (90 คะแนนขึ้นไป) 4. ร้อยละของหน่วยรับตรวจนาข้อเสนอเชิงนโยบายไปปรับปรุงการปฏิบัติงาน (ร้อยละ 95) 5. ระดับความสำเร็จในการพัฒนาเทคโนโลยีดิจิทัลของ สป.พม. (5 ระดับ) 6. จำนวนกระบวนงานและการให้บริการที่ใช้ระบบดิจิทัลในการปฏิบัติงาน (35 ระบบ) 7. ร้อยละของบุคลากร สป.พม. ได้รับการพัฒนาความรู้และทักษะ (ร้อยละ 100) 8. จำนวนช่องทางการสื่อสารสังคมที่มีความหลากหลายและกลุ่มเป้าหมายสามารถเข้าถึงรับรู้เข้าใจ การขับเคลื่อนภารกิจของกระทรวงอย่างมีประสิทธิภาพ (210 ช่องทาง) แนวทาง : 1. เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการองค์กร การปรับโครงสร้างให้มีความยืดหยุ่น ตลอดจนการพัฒนา กฎหมาย ระเบียบ ประกาศต่าง ๆ ให้สอดคล้องกับสถานการณ์และการเปลี่ยนแปลงรวมถึงสร้างธรร มาภิบาลในการบริหารองค์กร 2.
[13] 2. พัฒนาระบบเทคโนโลยีดิจิทัลและข้อมูลสารสนเทศให้ได้มาตรฐานเพื่อมุ่งสู่การเป็นองค์กรดิจิทัล 3. มุ่งเน้นการพัฒนาทักษะบุคลากร (Skillsets) ในการทางานยุคดิจิทัล และศตวรรษที่ 21 ทั้งการปลูกฝังบุคลากรให้มีกรอบความคิด (Mindset) ในการเรียนรู้และพัฒนาตนเอง มุ่งประโยชน์ส่วนรวม ถึงการปรับสภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อการทางาน 4. สื่อสารสังคมเพื่อสร้างภาพลักษณ์องค์กรทั้งในเชิงนโยบายและการขับเคลื่อนภารกิจ เพื่อสร้างการรับรู้ของกลุ่มเป้าหมายและภาคส่วนต่าง ๆ อย่างมีประสิทธิภาพ แผนงาน/โครงการสำคัญ : 1. โครงการพัฒนาระบบบริหารจัดการ สป.พม. ให้ทันสมัยด้วยหลักธรรมาภิบาล 2. โครงการพัฒนาและเสริมสร้างการบังคับใช้กฎหมาย 3. โครงการบริหารจัดการการป้องกันและแก้ไขปัญหาการทุจริต 4. โครงการขับเคลื่อน สป.พม. สู่การเป็นองค์กรดิจิทัล (พม. ดิจิทัลเพื่อประชาชน) 5. โครงการเสริมสร้างบุคลากรให้มีขีดสมรรถนะสูง (คน พม. พันธุ์ใหม่มีทักษะให้คนไทยอยู่รอด อยู่ได้อย่างพอเพียงและยั่งยืน) 6. โครงการประชาสัมพันธ์และสื่อสารองค์กร
[14] บทที่ 2 แนวคิดที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานของ สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์มีพันธกิจในการพัฒนา สร้างความมั่นคงทาง สังคม พัฒนาคนและสังคมให้มีคุณภาพเต็มศักยภาพ และมีภูมิคุ้มกันต่อการเปลี่ยนแปลง สร้างเสริมเครือข่าย จากทุกภาคส่วนในการมีส่วนร่วมพัฒนาสังคม พัฒนาองค์ความรู้ ขีดความสามารถ และระบบการบริหาร จัดการด้านการพัฒนาสังคม จัดระบบสวัสดิการที่เหมาะสมกับบริบทของประเทศไทย เพื่อให้ประชาชนมี หลักประกันและมีความมั่นคงในชีวิต โดยมีหน่วยงานปฏิบัติหน้าที่ในระดับจังหวัดทั้งที่เป็นหน่วยงานในกำกับ ของสำนักปลัดกระทรวง และหน่วยงานในกำกับของกรมต่าง ๆ ซึ่งโครงสร้างการบริหารงานของกระทรวงการ พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์นั้น มีเพียงในระดับจังหวัด โดยมีหน่วยงานในสังกัดสำนักงาน ปลัดกระทรวง คือ สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด ตำแหน่งผู้บริหาร คือ พัฒนาสังคม และความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด (ระดับอำนวยการสูง) และมีหน่วยงานในสังกัดภูมิภาคของกรม/เทียบเท่า กรม เช่น บ้านพักเด็กและครอบครัวจังหวัด ศูนย์คุ้มครองคนไร้ที่พึ่งจังหวัด สถานสงเคราะห์/สถานคุ้มครอง กลุ่มเป้าหมายแต่ละประเภท นิคมสร้างตนเอง เป็นต้น แต่ในโครงสร้างดังกล่าวไม่มีระดับอำเภอ ตำบล และหมู่บ้าน 2.1 อำนาจหน้าที่ของสำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด(สนง.พมจ.) เป็นราชการบริหารส่วน ภูมิภาคของกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ตามกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการสำนักงาน ปลัดกระทรวงกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์พ.ศ.2559 โดยมีอำนาจหน้าที่ดังต่อไป 1. จัดทำนโยบายและยุทธศาสตร์การพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ในระดับจังหวัด รวมทั้งรายงานสถานการณ์ทางสังคมและเสนอแนะแนวทางแก้ไข 2. ประสานและจัดทำแผนงานโครงการและกิจการด้านการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของ มนุษย์ในระดับจังหวัดให้เป็นไปตามนโยบายของกระทรวง 3. ส่งเสริมและประสานการดำเนินงาน การจัดกิจกรรมต่างๆตามภารกิจและเป้าหมายของ หน่วยงานในกระทรวง 4. ส่งเสริมสนับสนุนและประสานการดำเนินงานกับองค์กรเครือข่ายในจังหวัด ทั้งภาครัฐและ ภาคเอกชน 5. ส่งเสริมและประสานงานการช่วยเหลือผู้ประสบปัญหาทางสังคมรวมทั้งการส่งต่อให้หน่วยงาน อื่นที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและภาคเอกชนที่มีอำนาจหน้าที่ในการจัดสวัสดิการสังคมตามกฎหมาย 6. กำกับดูแลหน่วยงานในสังกัดกระทรวงให้ดำเนินการตามกฎหมายนโยบายของกระทรวงและ ติดตามและประเมินผล แผนการปฏิบัติราชการของกระทรวงในความรับผิดชอบของส่วนราชการและหน่วยงาน สังกัดกระทรวงในระดับจังหวัด 7. เป็นศูนย์ข้อมูลด้านการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ในระดับจังหวัด 8. เผยแพร่ประชาสัมพันธ์และรณรงค์ให้มีการดำเนินกิจกรรมเกี่ยวกับการพัฒนาสังคมและความ มั่นคงของมนุษย์รวมทั้งความก้าวหน้าทางวิชาการและผลการปฏิบัติงานของกระทรวง 9. รับเรื่องราวร้องทุกข์และแก้ไขปัญหาสังคมในระดับจังหวัด
[15] 10. ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องหรือที่ได้รับ มอบหมาย โดยที่สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด เป็นกลไกระดับภูมิภาคที่สำคัญของ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ที่จะสามารถปฏิบัติภารกิจด้านการพัฒนาสังคมเพื่อ เสริมสร้างความมั่นคงของมนุษย์ให้เข้าถึงและครอบคลุมประชาชนทุกพื้นที่ทั่วประเทศดังนั้นกระทรวงการ พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จึงเห็นความจำเป็นที่จะมีการปฏิบัติตามมาตรฐานการปฏิบัติหน้าที่ของ สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดเพื่อเป็นแนวทางในการปฏิบัติและพัฒนางานของ สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดให้สอดคล้องกับบทบาทหน้าที่การปฏิบัติงานตาม ภารกิจใหม่ทั้งนี้เพื่อให้สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดปฏิบัติหน้าที่บรรลุผลสำเร็จ อย่างมีประสิทธิภาพมุ่งสู่วิสัยทัศน์ของกระทรวงที่จะเป็นองค์การและกลไกระดับชาติที่เอื้ออำนวยและ ประสาน เชื่อมโยงกับภาคีทุกภาคส่วนเพื่อให้ประชาชนมีความมั่นคงในการดำรงชีวิตมีบริการสวัสดิการและการ คุ้มครอง อย่างทั่วถึงเป็นธรรมและเสมอภาคสามารถช่วยเหลือและพัฒนาตนเองครอบครัวและชุมชนเป็นสังคม สันติสุขน่าอยู่และยั่งยืนต่อไป โครงสร้างองค์กรและบุคลากร สำนักงานพัฒนาสังคม และความม ั่ นคงของมนุษย์จังหวัด ฝ่ายบริหารทั่วไป กลุ่มนโยบายและ วิชาการ กลุ่มการพัฒนาสังคม และสวัสดิการ สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด มีการแบ่งฝ่าย กลุ่ม อย่างเป็นทางการ/ เป็น 1 ฝ่าย 2 กลุ่ม คือ 1. ฝ่ายบริหารทั่วไป ทำหน้าที่ด้านงบประมาณ การเงิน บัญชี วัสดุอุปกรณ์ อาคารสถานที่ ยานพาหนะ บุคลากร สารบรรณ ธุรการ และงานอื่นๆ ที่ได้รับมอบหมาย 2. กลุ่มนโยบายและวิชาการ ทำหน้าที่ในหน้าที่ งานวิเคราะห์สถานการณ์และจัดทำรายงาน งานจัดทำยุทธศาสตร์การพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ระดับจังหวัด งานวางแผนยุทธศาสตร์ร่วมกับ จังหวัด งานแผนงานและโครงการ งานวิจัย งานเฝ้าระวังทางสังคม งานศูนย์ข้อมูล งานประชาสัมพัน ธ์ของ หน่วยงาน งานพัฒนาเทคโนโลยี และงานมาตรฐานองค์การ และงานอื่นๆ ที่ได้รับมอบหมาย 3. กลุ่มการพัฒนาสังคมและสวัสดิการ ทำหน้าที่ งานศูนย์ประสานงานเครือข่าย งานส่งเสริม สนับสนุนและประสานงานองค์การเอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น งานประสานองค์การสวัสดิการสังคม งานส่งเสริมอาสาสมัครพัฒนาสังคม งานอาสาสมัครต่างประเทศ งานส่งเสริมสถาบันครอบครัว งานส่งเสริม และ พัฒนาบทบาทเด็ก เยาวชน สตรี ผู้สูงอายุ คนพิการ ผู้ด้อยโอกาส งานส่งเสริมและพัฒนาภูมิปัญญา
[16] ท้องถิ่น งานรับเรื่องราวร้องทุกข์ ให้บริการสงเคราะห์และคุ้มครองพิทักษ์สิทธิกลุ่มเป้าหมาย เด็ก เยาวชน สตรี ผู้สูงอายุ คนพิการ ผู้ด้อยโอกาส และผู้ประสบปัญหาสังคมอื่นๆ งานป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ งาน มาตรฐาน การให้บริการกลุ่มเป้าหมายตามกฎหมายที่เกี่ยวข้อง งานฌาปนกิจสงเคราะห์ และงานอื่นๆ ที่ได้รับ มอบหมาย 2.2 แนวคิดเรื่องการขับเคลื่อนทีม พม.จังหวัด ภายใต้แนวคิดบ้านเดียวกัน (One Home) กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์เห็นถึงปัญหาดังกล่าว จึงยกประเด็นปัญหา ดังกล่าวนำมาศึกษาหาแนวทางการวิจัยเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพทีม พม. จังหวัด ภายใต้แนวคิดบ้านเดียวกัน (One Home) เป้าหมาย คือ เพื่อให้เกิดการบูรณาการการทำงานเป็นไปในทิศทางเดียวกัน มีเอกภาพ บรรลุ ตามภารกิจของกระทรวง และเพื่อประโยชน์สุขแก่ประชาชน โดยสำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของ มนุษย์จังหวัด (พมจ.) มีหน้าที่กำกับดูแลหน่วยงานในสังกัดกระทรวง ให้ดำเนินการตามกฎหมายนโยบายของ กระทรวง ติดตาม ประเมินผลแผนการปฏิบัติราชการของกระทรวงในความรับผิดชอบของส่วนราชการ และ หน่วยงานสังกัดกระทรวงในระดับจังหวัดซึ่งเป็นไปตามที่กฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการสำนักงานปลัดกระทรวง การพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ พ.ศ. 2559 กำหนด โดยให้ความสำคัญในระดับที่ใช้ผลการ ดำเนินงานตามนโยบายดังกล่าวเป็นแนวทางหนึ่งในการตรวจราชการของผู้ตรวจราชการกระทรวงการพัฒนา สังคมและความมั่นคงของมนุษย์เป็นประจำทุกปี และมีการประเมินระดับการดำเนินงานของทีม พม. จังหวัด ภายใต้ภายใต้แนวคิดบ้านเดียวกัน (One Home) ด้วย และเนื่องจากการดำเนินงานภายใต้แนวนโยบาย ดังกล่าวยังคงมีปัญหาอุปสรรคในการขับเคลื่อนงานในระดับพื้นที่ ดังสรุปผลการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อถอด บทเรียนการขับเคลื่อนงานตามนโยบายกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ในระดับพื้นที่ ประจำปี พ.ศ. 2562 ระหว่างวันที่ 20-22 พฤษภาคม 2562 ณ โรงแรมแอมบาสเดอร์ กรุงเทพมหานคร สะท้อนปัญหาและแนวทางการแก้ไขปัญหา โดยสรุป ดังนี้6 6 สำนักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์, 2562, หน้า 19-20
[17] ตารางที่ 1.1 ปัญหา อุปสรรค และแนวทางการปรับปรุงแก้ไขการขับเคลื่อนทีม พม. จังหวัด (One Home) สรุปผลจากการประชุมเชิงปฏิบัติการ เพื่อถอดบทเรียนการขับเคลื่อนงานตามนโยบายกระทรวง การพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ในระดับพื้นที่ ประจำปี พ.ศ. 2562ระหว่างวันที่ 20 -22 พฤษภาคม 2562 ประเด็น ปัญหา อุปสรรค แนวทางการปรับปรุง แก้ไข โครงสร้าง โครงสร้างอำนาจหน้าที่ ไม่มีความชัดเจน และไม่เป็นระบบ มีคำสั่งมอบหมายจากส่วนกลาง เป็นนโยบายที่ ชัดเจน ปรับเปลี่ยนโครงสร้าง กระบวนการ ทำงานให้ชัดเจน และเป็นไปในทิศทางเดียวกัน ระบบ 1. ไม่มีการกำหนดตัวชี้วัด/มาตรฐาน การทำงานทีม พม. จังหวัด (One Home) 2. ขาดการบูรณาการในระดับกระทรวง 3. แนวทาง แผนผัง ลำดับขั้นตอน และการ ปฏิบัติของทีม พม. จังหวัด (One Home) ไม่มีความชัดเจน 1. การบูรณาการในระดับกระทรวง 2. ขอให้สำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ (สสว.) เป็นพี่เลี้ยงในการขับเคลื่อนงาน 3. กำหนดแนวทางปฏิบัติงานของทีม พม. จังหวัด (One Home) อย่างชัดเจน และต้องมี การนิยามความหมาย One Home ให้ชัดเจน บุคลากร 1. ข้อจำกัดด้านทรัพยากร และขาดการ บูรณาการและการแบ่งปันทรัพยากร 2. บุคลากรไม่เพียงพอในการขับเคลื่อนงาน ของทีม พม. จังหวัด (One Home) 3. หัวหน้าหน่วยบางท่าน (หัวหน้าหน่วย ที่เข้ารับตำแหน่งใหม่) ไม่รับทราบบทบาท และไม่ให้ความสำคัญ รวมถึงมีการ ปรับเปลี่ยนบ่อย ทำให้ไม่มีความรู้ ความเข้าใจและทัศนคติในภารกิจของทีม พม. จังหวัด (One Home) อย่างชัดเจน และขาดการถ่ายทอดจากรุ่นสู่รุ่น 1. การหมุนเวียนคน เป็นผู้นำหัวหน้าหน่วยงาน 2. การบูรณาการทำงานของหน่วยงาน พม. (Teamwork) และพนักงานเจ้าหน้าที่ตาม พ.ร.บ. ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ให้สามารถทำงาน ทดแทนกันได้ 3. ส่วนกลางจัดประชุม/อบรม/หลักสูตร ชี้แจง รับทราบบทบาท/ภารกิจของทีม พม. จังหวัด (One Home) อย่างชัดเจน การสื่อสาร การสื่อสารไม่ต่อเนื่อง/ช่องทาง ไม่ครอบคลุม การขับเคลื่อนต้องปรับมุมมองและแนวคิดในการ เป็นเจ้าภาพร่วมกัน กฎหมาย ไม่มีกฎหมาย/ระเบียบ รองรับการปฏิบัติงาน ในรูปแบบของทีม พม. จังหวัด (One Home) ควรมีกฎระเบียบ ข้อบังคับ กรอบการทำงานของ ทีม พม. จังหวัด (One Home) อย่างชัดเจน สามารถติดตามประเมินผลได้ ข้อมูล ข้อมูลกลุ่มเป้าหมายที่มีอยู่นั้น ไม่สามารถใช้ ร่วมกันได้/ไม่ครอบคลุม/ขาดความ น่าเชื่อถือ/ความถูกต้องของข้อมูล การบูรณาการฐานข้อมูลในพื้นที่ร่วมกัน ในทุกกลุ่มเป้าหมาย จากการประชุมข้างต้นในที่ประชุมได้มีการจัดทำข้อเสนอ แนวทาง “การพัฒนา” การขับเคลื่อนงานทีม พมจังหวัด ภายใต้แนวคิดบ้านเดียวกัน (One Home) ดังนี้ (สำนักงานปลัดกระทรวงการ พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์, 2562, หน้า 20)
[18] ตารางที่ 1.2 แนวทาง “การพัฒนา” การขับเคลื่อนงานทีม พม. จังหวัด ภายใต้แนวคิดบ้านเดียวกัน (One Home) ประเด็น แนวทางการพัฒนา นโยบาย 1. การนิยาม One Home อย่างชัดเจน ทั้งแผนงาน แผนเงินงบประมาณต้องเชื่อมโยงอยู่ใน ช่วงเวลาเดียวกัน และควรมีการบูรณาการร่วมกัน 2. นโยบายของผู้บริหารกรมต้องเป็นไปในแนวทางเดียวกัน ก่อนที่จะจัดสรรเป็นนโยบาย และแผนงานลงไปในส่วนภูมิภาค 3. กำหนดเป็นนโยบาย/ยุทธศาสตร์ในการขับเคลื่อน ตัวชี้วัด กรอบแนวทางการขับเคลื่อน ประเมินผล ติดตามความยั่งยืนของงาน One Home ทั้งส่วนกลาง และส่วนภูมิภาค บทบาท/ ภารกิจ การกำหนดบทบาท/ภารกิจอย่างชัดเจนของผู้นำทีม และต้องมีการสื่อสาร การบูรณาการ หน่วยงานอื่น ๆ รวมถึงสร้างความรับรู้ให้แก่หน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ข้อมูล มีข้อมูลด้านสังคมเช่นเดียวกันในทุกหน่วยงาน สามารถใช้ฐานข้อมูลร่วมกัน ทันสมัย เป็น ปัจจุบัน และอ้างอิงได้ กฎ/ระเบียบ 1. มีคำสั่งที่ชัดเจน มีการแต่งตั้ง มีระเบียบรองรับการขับเคลื่อนงาน One Home โดยมีคำสั่งจากส่วนกลางกำหนดขอบเขต/บทบาทหน้าที่ชัดเจน และมีการประเมินหน่วยงาน 2. ปรับรูปแบบหน่วยงานทุกหน่วยในจังหวัด ให้เป็นราชการบริหารส่วนภูมิภาค เป้าหมาย การจัดทำตัวชี้วัดร่วม การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการเชิงบูรณาการ และต้องมีการถอด บทเรียนโครงการเชิงบูรณาการ รวมถึงการสร้างโมเดลในการทำงานที่ดี ทั้งเชิงประเด็นและกลุ่มเป้าหมาย การบูรณาการ ควรมีการ “บูรณาการ” ใน 4 ด้าน 1.งาน: มีแผนบูรณาการ และขับเคลื่อนได้จริงการแบ่งภารกิจ/ความรับผิดชอบอย่างชัดเจน การแบ่งพื้นที่ความรับผิดชอบ (Zoning) 2. ระบบ: กำหนดการขับเคลื่อน One Home เป็นนโยบายสำคัญ กำหนดระบบการขับเคลื่อนงานอย่าง ชัดเจน และส่วนกลางต้องมีการบูรณาการจากระดับบนก่อนที่จะลงไปในพื้นที่/จังหวัด 3. คน : พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด ต้องปรับทัศนคติเชิงบวกในการทำงาน รับฟัง ให้ เกียรติ ถ่ายทอด พบปะ สร้างการมีส่วนร่วม และต้องมีการสื่อสารที่ชัดเจนในทีมจังหวัด รวมถึงส่วนกลาง ต้องมีการปรับ Mindsetและทัศนคติของบุคลากรให้ไปในทิศทางเดียวกัน รวมถึงหัวหน้าหน่วยงานต้อง ให้ความร่วมมือและบูรณาการกับหน่วยในพื้นที่ รวมถึงอาสาสมัคร พม. ทุกประเภท ให้เข้ามาร่วมในการ ขับเคลื่อนการดำเนินงาน One Home ประเด็น แนวทางการพัฒนา 4. งบประมาณ : การบูรณาการเนื้องาน กลุ่มเป้าหมาย งบประมาณ โดยกระทรวง ควรตั้งงบประมาณในการสนับสนุนการจัดกิจกรรมให้ทีม พม. จังหวัด (One Home) และส่งเสริมให้เกิดกระบวนการ One Home รวมถึงการบูรณาการแผนงาน แผนเงิน งบประมาณในห้วงเวลาเดียวกัน อย่างชัดเจน กระบวนการ ทำงาน 1. มีเวทีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กันของทีม พม. จังหวัด (One Home) 2. ตั้ง ศปก.จังหวัด เพื่อเป็นศูนย์กลางในการสื่อสารกับ ศปก.กระทรวง
[19] 2.3 แนวคิดเรื่องการปฏิรูปกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ในช่วงปีงบประมาณ 2566 สำนักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของ มนุษย์ โดยปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (นายอนุกูล ปีดแก้ว) ได้มีนโยบายให้ หน่วยงานในสังกัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ โดยเฉพาะหน่วยงานในสังกัดสำนักงาน ปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ได้แก่ หน่วยงานระดับกอง สสว. และ สนง.พมจ. 76 จังหวัด แบ่งกลุ่มตามประเด็นปฏิรูป 18 ประเด็น แล้วจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ภาพรวมทั้งกระทรวงฯ โดยในแต่ ละประเด็นมีผู้บริหารระดับสูงเป็นผู้กำกับการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ถอดบทเรียน และจัดทำข้อเสนอเพื่อการปฏิรูป กระทรวง โดยเฉพาะเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานของ สนง.พมจ.ดังนี้7 7 กองตรวจราชการ สป.พม. 2566. เอกสารสำเนา ประกอบการประชุมผู้บริหารสำนักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและ ความมั่นคงของมนุษย์.
[2
0]
[2
1]
[2
2]
[2
3]
[2
4]
[2
5]
[2
6]
[2
7]
[2
8]