[5อำนาจหน้าที่ สนง.พมจ. ตามกฎกระทรวง แบ่งส่วนราชการ สป.พม. (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2563 เป้าหมาย (Goal) ตัวชี้วัด (KPI : Key Performance Indicator) เกณฑ์/ค่าเป้า(๕) ส่งเสริมและประสานงานการ ช่วยเหลือผู้ประสบปัญหาทาง สังคม รวมทั้งการส่งต่อ ให้ หน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง ทั้ง ภาครัฐและภาคเอกชน ที่มีหน้าที่ และอำนาจในการจัดสวัสดิการ สังคม 6. ประชาชน กลุ่มเป้าหมาย ได้รับบริการ สวัสดิการสังคม และการพัฒนา สังคมตามภารกิจ กระทรวง พม. และการประสาน ส่งต่อหน่วยงานที่ เกี่ยวข้อง อย่าง ทั่วถึง และเป็น ธรรม ลดช่องว่าง ทางสังคม และเพิ่ม โอกาสการเข้าถึง บริการภาครัฐ ตัวชี้วัดที่ 6 ระดับความสำเร็จ ของการให้ความ ช่วยเหลือ ผู้ประสบปัญหาทาง สังคม/ครัวเรือน เปราะบาง รวมทั้ง การส่งต่อ (ด้านประสิทธิผล) 6.๑ มีการจัดทำแผนการจัดการปัญหาทางสังคม/ครัวเรือนอิเล็กทรอนิกส์ (MSO Logช่วยเหลือ ครบตามจำนวนประจำปีที่กำหนด และมีผกำหนด 6.2 มีการจัดทำแผนปฏิบัติการบันทึกข้อมูลตามที่กระทรวSmart เป็นต้น เพื่อบูรณาประสานงานการช่วยเหลือเปราะบาง รวมทั้งการส่งต่อองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น6.3 มีการจัดทำรายงานผลดำเนบทเรียนรู้ประจำปี เพื่อเสริเป็นการพัฒนางานให้มีปรนโยบายต่อผู้บริหารระดับจกระทรวงกำหนด
59] าหมาย (Target) หลักฐานประกอบ การพิจารณา การให้คะแนน รรายกรณี/รายครัวเรือนผู้ประสบ นเปราะบาง ในระบบสมุดพกครอบครัว gbook/พม. Smart) และมีการ นที่กำหนด หรือแผนปฏิบัติการ ลการเบิกจ่ายครบตามที่กระทรวง มีหลักฐาน แบบรายงานจากระบบรายงานผลของระบบ MSO Logbook ไม่มีหลักฐาน เหตุผล........................................................ อื่นๆ ................................................... ไม่ได้ดำเนินการ = 0 คะแนน ผ่าน ข้อ 6.1 = 1 คะแนน ผ่าน ข้อ 6.1-6.2 = 3 คะแนน ผ่าน ข้อ 6 .1-6.3 = 5 คะแนน รประจำปีจากฐานข้อมูลจากระบบ วงกำหนด เช่น MSO Logbook/ พม. การการช่วยเหลือและส่งเสริมและ อผู้ประสบปัญหาทางสังคม/ครัวเรือน อ ให้หน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องรวมถึง น มีหลักฐาน แผนปฏิบัติการประจำปีของ สนง.พมจ. และพม.จังหวัด (One Home) เชิงบูรณาการ การช่วยเหลือผู้ประสบปัญหาทางสังคม/ครัวเรือน เปราะบาง จำนวน 1 แผน ไม่มีหลักฐาน เหตุผล........................................................ อื่นๆ ................................................... นินงานประจำปี และสรุป ริมพลังในระดับจังหวัดร่วมกับภาคี ะสิทธิภาพและจัดทำข้อเสนอเชิง จังหวัด/กระทรวง ตามแบบที่ มีหลักฐาน แผนปฏิบัติการประจำปีของ สนง.พมจ. และพม.จังหวัด (One Home) เชิงบูรณาการ การช่วยเหลือผู้ประสบปัญหาทางสังคม/ครัวเรือน เปราะบาง จำนวน 1 แผน รายงานผลดำเนินงานประจำปี และสรุป บทเรียนรู้ประจำปี เพื่อเสริมพลังในระดับจังหวัด ร่วมกับภาคี เป็นการพัฒนางานให้มีประสิทธิภาพและ จัดทำข้อเสนอเชิงนโยบายต่อผู้บริหารระดับจังหวัด/ กระทรวง ตามแบบที่ กตร.กำหนด ไม่มีหลักฐาน เหตุผล........................................................ อื่นๆ ...................................................
[6แนวทางการนิเทศงานของ สสว. ตัวชี้วัดที่ 6 ระดับความสำเร็จของการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบปัญหาทางสั• มุ่งเน้นการส่งเสริม สนับสนุนให้ สนง.พมจ. และพม.จังหวัดมีการจัดทำระบบการจัดทำแผนการจัดการรายกรณีในส่วนที่ 4 ของระบบ MSO Logbook ใหวิกฤต/ระยะสั้น/ระยะต่อเนื่องได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งย่อมจะเป็นประโยชเปราะบางระดับต่าง ๆ ไปใช้ในการกำหนดนโยบาย/การวางแผนเพื่อ การยกระดับคุณภาพชีวิตครัวเรือนเปราะบางอย่างรอบด้าน • ตัวชี้วัด/เกณฑ์ในข้อนี้นับว่ามีไว้เพื่อเป็นการผลักดันให้ สนง.พมจ.ปรับปรุงระงานที่สะท้อนความเป็นมืออาชีพของงานสังคมสงเคราะห์ และเป็นช่องทางให้เติมเต็มกระบวนงานให้การช่วยเหลือครบวงจรยิ่งขึ้นได้ด้วยทางหนึ่ง • แผนปฏิบัติการช่วยเหลือคุณภาพชีวิตกลุ่มเป้าหมายจาการแผนการจัดการราแผนการยกระดับคุณภาพชีวิตครัวเรือนเปราะบาง/แผนปฏิบัติการยกระดับคุสอดคล้องกับปัญหา ความต้องการ ทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ และหากดำเนินการอย่างเป็นระบบสามารถวาความน่าเชื่อถือ และมีความเป็นมืออาชีพ วัดผลได้ประเมินผลได้อย่างเป็นระบบมากขึ้น เอกสาร/หลักฐาน • ควรมีการแสดงหลักฐานว่ามีการนำข้อมูลจากระบบ MSO logbook ไปใช้วาประสบปัญหาทางสังคม/ครัวเรือนเปราะบาง ซึ่งอาจรวมอยู่ในแผนด้านการจักลุ่มเป้าหมายครัวเรือนเปราะบางเป็นกลุ่มเป้าหมาย ในการดำเนินงานที่มีผลการดำเนินงานที่เป็นรูปธรรม
0] สังคม/ครัวเรือนเปราะบาง รวมทั้งการส่งต่อ บฐานข้อมูลในระบบฐานข้อมูล MSO Logbook ที่ถูกต้อง ครบถ้วน โดยเฉพาะมี ห้ครบถ้วน ซึ่งจะทำให้สามารถแสดงผลเป็นแผนงาน/แผนงบประมาณ ระยะ ชน์ในการนำข้อมูลทั้งเชิงปริมาณ ปัญหา ความต้องการของกลุ่มเป้าหมายครัวเรือน บบฐานข้อมูลโดยเฉพาะการจัดทำแผนการจัดการรายกรณี/รายครัวเรือน นับเป็น ห้ประสานส่งต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้มองเห็นความสำคัญในการสนับสนุนเพื่อ ายกรณี+รายครัวเรือนเมื่อเป็นภาพรวมระดับตำบล/อำเภอ/จังหวัด ย่อมทำให้เกิด คุณภาพชีวิตครัวเรือนเปราะบางที่สามารถเป็นทั้งแผนงาน และแผนงบประมาณที่ างแผนการทำงานเพื่อการยุติเคสได้ทั้งในระยะวิกฤต ระยะสั้น ระยะยาว ซึ่งจะเพิ่ม างแผนแผนปฏิบัติการประจำปีของ สนง.พมจ. เชิงบูรณาการการช่วยเหลือผู้ จัดสวัสดิการสังคมจังหวัด/แผนปฏิบัติการด้านการพัฒนาสังคมก็ได้ แต่ใช้
[6อำนาจหน้าที่ สนง.พมจ. ตามกฎกระทรวง แบ่งส่วนราชการ สป.พม. (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2563 เป้าหมาย (Goal) ตัวชี้วัด (KPI : Key Performance Indicator) เกณฑ์/ค่าเป้าห(๖) กำกับดูแล และสนับสนุน การปฏิบัติงานของสำนักงาน พัฒนาสังคมและความมั่นคง ของมนุษย์จังหวัดสาขา และ หน่วยงานในสังกัดกระทรวง ให้ดำเนินการตาม กฎหมาย นโยบายของกระทรวง และ ติดตามและประเมินผลแผนการ ปฏิบัติราชการของกระทรวงใน ความรับผิดชอบของส่วน ราชการ และหน่วยงานสังกัด กระทรวง ในระดับจังหวัด 7. สนง.พมจ.เป็น หน่วยงานหลักใน การกำกับและ สนับสนุน หน่วยงาน พม. จังหวัดมีความเป็น เอกภาพ ดำเนินงานร่วมกัน ตามแนวคิดตาม หลักคิดเรื่อง One home /One Roof ตัวชี้วัดที่ 7 ระดับความสำเร็จ ในการกำกับติดตาม และประเมินผลการ ปฏิบัติงานตาม แผนปฏิบัติราชการ ประจำปีของสำนักงาน พัฒนาสังคมและความ มั่นคงของมนุษย์และ หน่วยงานในสังกัด กระทรวง พม. (One Home) (ด้านประสิทธิผล) 7.1 สนง.พมจ. เป็นหน่วยงานหลัพม. ในจังหวัด จัดทำแผนบูรกระทรวง พม.ระดับจังหวัด (กลุ่มเป้าหมาย พื้นที่ ประเด็นรับผิดชอบการดำเนินงานในภงานภาพรวมกระทรวง พม. อในรูปแบบการดำเนินงานที่เกืทรัพยากรทุกประเภทเพื่อให้กระทรวงกำหนด และเพื่อให้7.2 สนง.พมจ. เป็นหน่วยงานหลัในสังกัดกระทรวง พม. ในจัง(คณะกรรมการ/คณะอนุกรรกระทรวง พม. 7.3 สนง.พมจ. เป็นหน่วยงานหลักระทรวง พม. ในจังหวัด ในการจัดทำแผนงความสามัคคี ของหน่วยงานใอย่างเป็นทางการ หรือ ไม่เป็ประโยชน์ร่วมกัน การจัดกีฬ
1] หมาย (Target) หลักฐานประกอบ การพิจารณา การให้คะแนน ลัก ร่วมกับหน่วยงานในสังกัดกระทรวง รณาการการขับเคลื่อนงานตามภารกิจ (One Plan) แบบพุ่งเป้าในเชิง น โดยมีการมอบหมาย/แบ่งความ ภารกิจเชิงนโยบาย และการขับเคลื่อน อย่างเหมาะสมตามภารกิจหน่วยงาน กื้อกูลกัน ส่งเสริม สนับสนุนกันใช้ ห้บรรลุตามเป้าหมาย/ตัวชี้วัดที่ ห้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อประชาชน มีหลักฐาน แผนปฏิบัติการประจำปีของ สนง.พมจ. และ พม.จังหวัด (One Home) เชิงบูรณาการ การช่วยเหลือผู้ประสบปัญหาทางสังคม/ครัวเรือน เปราะบาง จำนวน 1 แผน ไม่มีหลักฐาน เหตุผล........................................................ อื่นๆ .................................................. ไม่ได้ดำเนินการ = 0 คะแนน ผ่าน ข้อ 7.1-7.2 = 1 คะแนน ผ่าน ข้อ 7.1-7.3 = 3 คะแนน ผ่าน ข้อ 7.1-7.4 = 5 คะแนน ลักในการส่งเสริมสนับสนุนให้หน่วยงาน งหวัด มีส่วนร่วมในการเป็นกลไก รมการ/คณะทำงาน) ตามภารกิจของ มีหลักฐาน ๑.สำเนาคำสั่ง (คณะกรรมการ/ คณะอนุกรรมการ/คณะทำงาน) ๒.แบบรายงานการมีส่วนร่วมเป็นกลไกการ ขับเคลื่อนงานด้านการพัฒนาสังคมระดับจังหวัดของ หน่วยงาน พม.จังหวัด (แบบ ๖) (เช่น ร่วมเป็น คณะกรรมการ/คณะอนุกรรมการ/คณะทำงานฯ) ขับเคลื่อนงานด้านการพัฒนาสังคม ไม่มีหลักฐาน เหตุผล........................................................ อื่นๆ ................................................... ลัก ร่วมกับ หน่วยงานในสังกัด งานและจัดกิจกรรมเพื่อให้เกิดความรัก ในสังกัดกระทรวง พม. ในจังหวัด ทั้ง ปนทางการ เช่น กิจกรรมบำเพ็ญ า พม.จังหวัด เป็นต้น มีหลักฐาน แบบรายงานการจัดทำแผนงานและจัด กิจกรรมเพื่อให้เกิดความรัก ความสามัคคี ของ หน่วยงานในสังกัดกระทรวง พม. ในจังหวัด(แบบ 7) ไม่มีหลักฐาน เหตุผล........................................................ อื่นๆ ...................................................
[6อำนาจหน้าที่ สนง.พมจ. ตามกฎกระทรวง แบ่งส่วนราชการ สป.พม. (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2563 เป้าหมาย (Goal) ตัวชี้วัด (KPI : Key Performance Indicator) เกณฑ์/ค่าเป้าหมาย (Target) 7.4 สนง.พมจ. เป็นหน่วยงานหลักและการรายงานผลการดำเนิพม. ในจังหวัด ให้บรรลุตามนมาตรการตามกรอบแนวทางกระทรวงกำหนด แนวทางการนิเทศงานของ สสว. ตัวชี้วัดที่ 7 ระดับความสำเร็จในการกำกับติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงานตามแผหน่วยงานในสังกัด กระทรวง พม. (One Home) • มุ่งส่งเสริมสนับสนุนให้หน่วยงาน พม.จังหวัด นำโดย สนง.พมจ.มีความเป็นหนึ่งเดียว (ความมั่นคงของมนุษย์และหน่วยงานในสังกัดกระทรวง พม. (One Home) โดยสามารเพิ่มเติมได้ โดยใส่หมายเหตุในการแสดงหลักฐาน เนื่องจากอาจมีข้อสั่งการเรื่องการจัดเพิ่มเติมได้) • การส่งเสริม สนับสนุนให้ สนง.พมจ. เป็นหน่วยงานหลักในการบูรณาการแผนของ พม.ความรับผิดชอบ หรือร่วมการดำเนินงานทั้งเชิงกลุ่มเป้าหมาย เชิงพื้นที่ เชิงประเด็นได้ตเกื้อกูลกันได้ เพื่อให้การดำเนินงานเกิดความเป็นเอกภาพ พุ่งเป้าเดียวกัน แหลมคม เกื้• จากการถอดบทเรียนการดำเนินงานและข้อเสนอเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินงานขร่วม มีกิจกรรมทั้งที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการเป็นประจำ ต่อเนื่อง จะเสริมพลังค• เนื่องจากในแต่ละจังหวัดมีหน่วยงาน พม.จังหวัดแตกต่างกัน และแต่ละหน่วยอาจมีกาเอกสาร/หลักฐาน • การจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปีของสำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมแผนงานที่อาจเป็นชุดเดียวกันแต่มีองค์ประกอบอาจตอบหลายตัวชี้วัดเพิ่มเติมได้ โดยใหน่วยงาน หากมีการรวมเป็นแผนร่วม/ร่วมใหญ่-ย่อย สามารถชี้แจงเพิ่มเติมได้)
2] หลักฐานประกอบ การพิจารณา การให้คะแนน กกระบวนการกำกับ ติดตามประเมินผล นินงานของหน่วยงานในสังกัดกระทรวง นโยบาย/ตัวชี้วัด/กฎหมาย/ระเบียบ/ /ระยะเวลา/และตามแบบรายงานที่ มีหลักฐาน แบบรายงานการตรวจราชการตามที่กอง ตรวจราชการ สป.พม. /กระทรวง พม. กำหนด ไม่มีหลักฐาน เหตุผล........................................................ อื่นๆ ................................................... ผนปฏิบัติราชการประจำปีของสำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์และ (One Home) มีการจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปีของสำนักงานพัฒนาสังคมและ รถชี้แจงเรื่องชื่อแผนงานที่อาจเป็นชุดเดียวกันแต่มีองค์ประกอบอาจตอบหลายตัวชี้วัด ทำแผนจากหลายหน่วยงาน หากมีการรวมเป็นแผนร่วม/ร่วมใหญ่-ย่อย สามารถชี้แจง .จังหวัดเป็น One Plan ซึ่งหน่วยงาน พม.จังหวัดอาจมีการตำลง/มีคำสั่งแบ่งงาน แบ่ง ตามความเหมาะสม โดยบูรณาการแผนงาน/แผนงบ บุคลากร วัสดุอุปกรณ์ที่สามารถ กื้อกูลและรอบด้านมากขึ้น ของ พม.จังหวัด (One Home) ประการหนึ่ง คือ การที่หน่วยงาน พม.จังหวัดมีแผนงาน วามรักความสามัคคีมากกว่าการประสานงานอย่างเป็นทางการเท่านั้น รสับเปลี่ยนโยกย้ายบ่อยครั้ง นุษย์และหน่วยงานในสังกัดกระทรวง พม. (One Home) โดยสามารถชี้แจงเรื่องชื่อ ใส่หมายเหตุในการแสดงหลักฐาน เนื่องจากอาจมีข้อสั่งการเรื่องการจัดทำแผนจากหลาย
[6อำนาจหน้าที่ สนง.พมจ. ตามกฎกระทรวง แบ่งส่วนราชการ สป.พม. (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2563 เป้าหมาย (Goal) ตัวชี้วัด (KPI : Key Performance Indicator) เกณฑ์/ค่าเป้าหมาย (Tตัวชี้วัดที่ 8 ร้อยละของนักสังคม สงเคราะห์หรือผู้ปฏิบัติ หน้าที่นักสังคม สงเคราะห์รับอนุญาต ตาม พ.ร.บ. วิชาชีพ สังคมสงเคราะห์ พ.ศ.2556 (ด้านการพัฒนา องค์กร) ๘. ร้อยละของนักสังคมสงเคราะนักสังคมสงเคราะห์รับอนุวิชาชีพสังคมสงเคราะห์ พตัวชี้วัดที่ ๙ ระดับความสำเร็จการ พัฒนาศักยภาพ บุคลากรให้สามารถ ปฏิบัติงานตามตำแหน่ง หน้าที่ กฎหมาย รวมถึง ตามนโยบายและภารกิจ สนง.พมจ. (ด้านการพัฒนาองค์กร) ๙.๑ จำนวนบุคลากรที่เข้าประชความรู้ที่เกี่ยวข้องกับงานในคน/ปี)
3] Target) หลักฐานประกอบ การพิจารณา การให้คะแนน ะห์หรือผู้ปฏิบัติหน้าที่ นญาตตาม พ.ร.บ. .ศ.2556 มีหลักฐาน ใบอนุญาตผู้ประกอบวิชาชีพนักสังคมสงเคราะห์ รับอนุญาตตาม พ.ร.บ. วิชาชีพสังคมสงเคราะห์ พ.ศ.2556 (ไม่หมดอายุ) ไม่มีหลักฐาน เหตุผล........................................................ อื่นๆ ................................................ ร้อยละ ๑0 ของผู้นัก สังคมฯ = 1 คะแนน ร้อยละ ๒๐ = ๒ คะแนน ร้อยละ ๓๐ = ๓ คะแนน ร้อยละ ๔๐ = ๔ คะแนน ร้อยละ ๕๐ = ๕ คะแนน ชุมหรืออบรมพัฒนา นแต่ละปี (๓ ครั้ง/ มีหลักฐาน ๑.แผนการพัฒนาบุคลากรที่เหมาะสมต่อการปฏิบัติหน้าที่ของ สนง.พมจ.(แบบ8) ๒.วุฒิบัตร หรือประกาศนียบัตร ๓.หนังสือส่งตัวเข้ารับการฝึกอบรมหรือศึกษาดูงาน ๔.หนังสือขออนุมัติ/อนุญาตให้เข้าฝึกอบรมหรือศึกษาดูงาน ๕.บันทึกการเรียนรู้ด้วยตนเอง ๖.บันทึกการจัดกิจกรรมหรือภาพถ่ายของผู้เข้ารับการฝึกอบรม ๗.เอกสาร/หลักฐานตามที่หลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่แต่ละหลักสูตร กำหนด ไม่มีหลักฐาน เหตุผล........................................................ อื่นๆ ................................................... ไม่ได้ดำเนินการ = 0 คะแนน ผ่าน ข้อ ๙.1 = ๓ คะแนน ผ่าน ข้อ ๙.1-๙.2 = ๕ คะแนน
[6อำนาจหน้าที่ สนง.พมจ. ตามกฎกระทรวง แบ่งส่วนราชการ สป.พม. (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2563 เป้าหมาย (Goal) ตัวชี้วัด (KPI : Key Performance Indicator) เกณฑ์/ค่าเป้าหมาย (T๙.๒ จำนวนบุคลากรที่ได้เข้าร่วมปศึกษาดูงาน หรือประชุมวิชาต่างประเทศตามเป้าหมายที่กตัวชี้วัดที่ ๑๐ ระดับความสำเร็จใน การพัฒนาทักษะด้าน ดิจิทัลและทักษะอื่นๆที่ สอดคล้องกับการ ปฏิบัติงานตามภารกิจ (ด้านประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ) ๑๐.๑ มีแผนการพัฒนาทักษะดิจิทัลขสนง.พมจ. ตามแนวทางการพัฒบุคลากร สป.พม. โดยมีการนำขด้านทักษะดิจิทัลตามแบบฟอร์มจัดทำแผนฯ ๑๐.๒ ข้าราชการและพนักงานราชกาดิจิทัลและทักษะที่สอดคล้องกับภารกิจ โดย เข้ารับการอบรมหอย่างน้อย ๒ หลักสูตร/คน/ปีแทักษะที่สอดคล้องกับการปฏิบัติฝึกอบรมหรือสัมมนาหรือประชุหลักสูตรหรือ ๒ วิชา หรือ ๒ เรื๑๐.3 มีการสรุปรายงานผล และจัดทำสสว. เพื่อยกระดับการพัฒนาทัทักษะอื่นๆที่สอดคล้องกับการปขึ้นต่อไป
4] Target) หลักฐานประกอบ การพิจารณา การให้คะแนน ประชุม หรืออบรม หรือ การในประเทศ หรือ กำหนด มีหลักฐาน ๑.แผนการพัฒนาบุคลากรที่เหมาะสมต่อการปฏิบัติหน้าที่ ของ สนง.พมจ. (แบบ 8) ๒.วุฒิบัตร หรือประกาศนียบัตร ๓.หนังสือส่งตัวเข้ารับการฝึกอบรมหรือศึกษาดูงาน ๔.หนังสือขออนุมัติ/อนุญาตให้เข้าฝึกอบรมหรือศึกษาดูงาน ๕.บันทึกการเรียนรู้ด้วยตนเอง ๖.บันทึกการจัดกิจกรรมหรือภาพถ่ายของผู้เข้ารับการ ฝึกอบรม ๗.เอกสาร/หลักฐานตามที่หลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่แต่ละ หลักสูตรกำหนด ไม่มีหลักฐาน เหตุผล........................................................ อื่นๆ .................................................. ของบุคลากรในสังกัด ฒนาทักษะดิจิทัลของ ข้อมูลการประเมินตนเอง มออนไลน์ มาใช้ในการ มีหลักฐาน แบบรายงานการพัฒนาด้านทักษะดิจิทัลและทักษะที่ สอดคล้องกับการปฏิบัติงานตามภารกิจของ สนง.พมจ. ประจำปี (แบบ 9) ไม่มีหลักฐาน เหตุผล........................................................ อื่นๆ ................................................... ไม่ได้ดำเนินการ = 0 คะแนน ผ่าน ข้อ 10.1 = 1 คะแนน ผ่าน ข้อ 10.1 - 10.2 = 3 คะแนน ผ่าน ข้อ 10.1 - 10.3 = 5 คะแนน รได้รับการพัฒนาทักษะ บการปฏิบัติงานตาม ลักสูตรทักษะดิจิทัล และหรือเข้ารับการพัฒนา ติงานตามภารกิจ โดย ชุม ฯลฯ อย่างน้อย ๒ รื่อง/คน/ปี ทำข้อเสนอต่อ พมจ.และ ทักษะด้านดิจิทัลและ ปฏิบัติงานตามภารกิจมาก
[6แนวทางการนิเทศงานของ สสว. ตัวชี้วัดที่ 8 : ร้อยละของนักสังคมสงเคราะห์หรือผู้ปฏิบัติหน้าที่นักสังคมสงเคราะห์รับอนุญ• มุ่งส่งเสริมสนับสนุนให้ สนง.พมจ.ทุกแห่งต้องมีนักสังคมสงเคราะห์วิชาชีพที่มีใบอนุญาตผู้ป(ไม่หมดอายุ) โดยจำนวนควรสอดคล้องกับปริมาณงานตามที่กฎหมาย/ระเบียบกำหนด ตัวชี้วัดที่ 9. : ระดับความสำเร็จการพัฒนาศักยภาพบุคลากรให้สามารถปฏิบัติงานตามตำแห• มุ่งส่งเสริมการให้บุคลากรได้รับโอกาสในการพัฒนาศักยภาพตนเอง เพื่อให้เท่าทันการเปลี่ยร่วมกับคนอื่นในสังคมด้วยทางหนึ่ง โดยเฉพาะทักษะที่จำเป็นต่อการปฏิบัติงาน ตัวชี้วัดที่ 10 : ระดับความสำเร็จในการพัฒนาทักษะด้านดิจิทัลและทักษะอื่นๆที่สอดคล้องกั• มุ่งส่งเสริมการให้บุคลากรได้รับโอกาสในการพัฒนาศักยภาพตนเอง ผ่านทักษะด้านดิจิทัลเพืวุฒิภาวะในการเรียนรู้ร่วมกับคนอื่นในสังคมด้วยทางหนึ่ง โดยเฉพาะทักษะที่จำเป็นต่อการป
5] ญาตตาม พ.ร.บ. วิชาชีพสังคมสงเคราะห์ พ.ศ.2556 ประกอบวิชาชีพนักสังคมสงเคราะห์ รับอนุญาตตาม พ.ร.บ. วิชาชีพสังคมสงเคราะห์ พ.ศ.2556 หน่งหน้าที่ กฎหมาย รวมถึงตามนโยบายและภารกิจ สนง.พมจ. ยนของสังคม กฎหมาย และความรู้ที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็วและพัฒนาวุฒิภาวะในการเรียนรู้ กับการปฏิบัติงานตามภารกิจ พื่อให้เท่าทันการเปลี่ยนของสังคม กฎหมาย และความรู้ที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็วและพัฒนา ปฏิบัติงาน
[6อำนาจหน้าที่ สนง.พมจ. ตามกฎกระทรวง แบ่งส่วนราชการ สป.พม. (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2563 เป้าหมาย (Goal) ตัวชี้วัด (KPI : Key Performance Indicator) เกณฑ์/ค่าเป้าหตัวชี้วัดที่ 1๑ ระดับประสิทธิภาพ ของระบบการถ่ายทอด นโยบาย และการ สื่อสารในองค์กร (ด้านประสิทธิภาพการ ปฏิบัติราชการ) 1๑.๑ จำนวนช่องทาง/รูปแบบการสื่อสสนง.พมจ. รวมถึง กับหน่วยงาน พและสื่อสาร ได้อย่างมีประสิทธิภาพทั่รูปแบบ 1๑.2 ระยะเวลาการส่งต่อข่าวสาร/หนโยบายสู่ผู้ปฏิบัติอย่างเท่าทันสามารถส่งถึงผู้รับผิดชอบได้ภหนังสือ สนง.พมจ. 1๑.3 สนง.พมจ.มีการประชุมถ่ายทองค์กรหลักในรูปแบบการประประชุมอื่นๆเพื่อการถ่ายทอดน
6] หมาย (Target) หลักฐานประกอบ การพิจารณา การให้คะแนน สารระหว่าง พมจ.และบุคลากรใน พม.จังหวัดอย่างมีความยืดหยุ่น คล่องตัว ัวถึงตลอดทั่วทั้งองค์กร อย่างน้อย 5 มีหลักฐาน หลักฐานที่เป็นเอกสาร/รายงานการ ประชุม/รูปที่แสดงช่องทาง/รูปแบบการสื่อสาร ระหว่าง พมจ.และบุคลากรใน สนง.พมจ.อย่าง น้อย 5 รูปแบบ ไม่มีหลักฐาน เหตุผล........................................................ อื่นๆ ................................................... ไม่ได้ดำเนินการ = 0 คะแนน ผ่าน ข้อ ๑๑.1 = 1 คะแนน ผ่าน ข้อ ๑1.1-๑1.2 = 3 คะแนน ผ่าน ข้อ ๑๑.1-๑๑.3 = 5 คะแนน หนังสือราชการเพื่อการถ่ายทอด นสถานการณ์กรณีหนังสือราชการ ภายใน 1 วันทำการหลังลงรับ มีหลักฐาน แบบรายงานระยะเวลาการส่งต่อ ข่าวสาร/หนังสือราชการเพื่อการถ่ายทอดนโยบาย สู่ผู้ปฏิบัติอย่างเท่าทันสถานการณ์ ประจำปี (แบบ 10) ไม่มีหลักฐาน เหตุผล........................................................ อื่นๆ ................................................... อดนโยบาย และการสื่อสารใน ะชุมประจำเดือน และหรือ การ นโยบายอย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง มีหลักฐาน สำเนารายงานการประชุมประจำเดือน/ การประชุมอื่นๆเพื่อการถ่ายทอดนโยบาย ไม่มีหลักฐาน เหตุผล........................................................ อื่นๆ ...................................................
[6แนวทางการนิเทศงานของ สสว. ตัวชี้วัดที่ 11 ระดับประสิทธิภาพของระบบการถ่ายทอดนโยบาย และการสื่อสารในองค์กร • การประเมินตนเองตามมาตรฐาน สนง.พมจ. ยังคงปรากฏว่ามี สนง.พมจ.บางแห่งที่มีค่าคะแข้าราชการเจ้าหน้าที่ และมีการติดตามงานเรื่องที่ค้างส่งแล้วเจ้าหน้าที่หาเรื่องไม่พบหรือรับตลอดเวลา หากมีปัญหาอุปสรรคเรื่องการถ่ายทอดนโยบาย การสื่อสารในองค์กรไม่สมบูรณ์ย่อมส่งผลให้ความตั้งใจปฏิบัติงานอย่างเหนื่อยยากอาจล้มเหลวได้ทางหนึ่ง ดังนั้น จึงควรนิทางการ ไม่เป็นทางการและการส่งต่อหนังสือราชการและข้อมูลราชการอย่างรวดเร็วทันต่อส
7] แนนในตัวชี้วัดนี้ค่อนข้างต่ำ โดยมักให้เหตุผลว่ามีภารกิจมาก ไม่ว่างจัดการประชุมประจำเดือน เรื่องช้า มีผลต่อประสิทธิภาพงาน ซึ่งธรรมชาติการดำเนินงานทางสังคมมีการเปลี่ยนแปลง ์ ไม่เข้าถึงบุคลากร และสื่อสารกับผู้บังคับบัญชาและสาธารณะได้อย่างไม่มีประสิทธิภาพ เทศให้ สนง.พมจ.ยึดมั่น จริงจังและให้ความสำคัญกับการจัดให้มีทั้งช่องทางการสื่อสาร ทั้งเป็น สถานการณ์และการปฏิบัติงาน
[6อำนาจหน้าที่ สนง.พมจ. ตามกฎกระทรวง แบ่งส่วนราชการ สป.พม. (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2563 เป้าหมาย (Goal) ตัวชี้วัด (KPI : Key Performance Indicator) เกณฑ์/ค่าเป้าหมตัวชี้วัดที่ 1๒ ระดับความโปร่งใส และเป็นธรรมในการ บริหารงาน การ ติดตาม และการ ประเมินผลการ ปฏิบัติงานรายบุคคล อย่างเป็นธรรมและ เสมอภาค (ด้านการพัฒนา องค์กร) 1๒.๑ มีคำสั่ง หรือ การมอบหมายหน้าที่กฝ่าย ทั้งภารกิจที่รับผิดชอบอย่างชัความโปร่งใส ป้องกันการทุจริตปร
8] มาย (Target) หลักฐานประกอบ การพิจารณา การให้คะแนน การงานความรับผิดชอบของบุคลากร กลุ่ม/ ัดเจน และคำสั่งที่เกี่ยวข้องกับการสร้าง ระพฤติมิชอบในงานราชการ มีหลักฐาน ๑.สำเนาคำสั่งมอบหมายหน้าที่การงาน บุคลากรที่เป็นปัจจุบัน ๒.สำเนาคำสั่งแต่งตั้งรักษาการในตำแหน่ง พมจ. ๓.สำเนาคำสั่งแต่งตั้งการมอบหมายให้บุคคล เป็นผู้ใช้ GFMIS Token Key และรหัสผ่าน (Password) เพื่อใช้งานในระบบ New GFMIS Thai (ตัวอย่างที่ 1) ๔.สำเนาคำสั่งแต่งตั้งกรรมการเก็บรักษาเงิน (ตัวอย่างที่ 2) ๕.สำเนาคำสั่งแต่งตั้งเจ้าหน้าที่ตรวจสอบ การรับ – จ่ายเงินประจำวัน (ตัวอย่างที่ 3) ๖.สำเนาคำสั่งแต่งตั้งเจ้าหน้าที่ตรวจสอบ รายการเคลื่อนไหวของเงินทดรองราชการ (ตัวอย่างที่ 4) ๗.สำเนาคำสั่งแต่งตั้งผู้มีสิทธิเข้าใช้งานใน ระบบ KTB Corporate Online (ตัวอย่างที่ 5) ไม่มีหลักฐาน เหตุผล........................................................ อื่นๆ ................................................... ไม่ได้ดำเนินการ = 0 คะแนน ผ่าน ข้อ 12.1-12.2 = 1 คะแนน ผ่าน ข้อ 12.1-12.4 = 3 คะแนน ผ่าน ข้อ 12.1-12.6 = 5 คะแนน
[6อำนาจหน้าที่ สนง.พมจ. ตามกฎกระทรวง แบ่งส่วนราชการ สป.พม. (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2563 เป้าหมาย (Goal) ตัวชี้วัด (KPI : Key Performance Indicator) เกณฑ์/ค่าเป้าหม1๒.๒ มีตัวชี้วัดรายบุคคล มีเครื่องมือ แบและหน้าที่ความรับผิดชอบเป็นประจ๑ ครั้ง หรือทุก ๖ เดือน 1๒.3 มีการตั้งคณะกรรมการและ/หรือ กร่วม อย่างเป็นธรรม โดยยึดผลงาน
9] มาย (Target) หลักฐานประกอบ การพิจารณา การให้คะแนน บบรายงานผลการปฏิบัติงานตามตัวชี้วัด จำหรือไตรมาสละ มีหลักฐาน ๑.สำเนาการจัดทำตัวชี้วัดและคำรับรอง ตัวชี้วัดรายบุคคลตามแบบที่กระทรวงกำหนด ๒.สำเนารายงานการประชุมที่มีการ ถ่ายทอดตัวชี้วัดรายบุคคลตามแบบที่กระทรวง กำหนด ๓.แบบสรุปผลการดำเนินงานรายกลุ่ม/ ฝ่ายและรายบุคคล (แบบ 11) ๔.แบบสรุปผลการดำเนินงานของ สนง.พมจ. ประจำปี (แบบ 12) ไม่มีหลักฐาน เหตุผล........................................................ อื่นๆ ................................................... การประเมินผลการปฏิบัติงานแบบมีส่วน มีหลักฐาน ๑.สำเนาคำสั่งแต่งตั้งคณะทำงาน พิจารณาผลการปฏิบัติงานของบุคลากรใน สังกัด สนง.พมจ. (ตัวอย่างที่ 6) ๒.สำเนาหนังสือแจ้งเวียนหลักเกณฑ์ การพิจารณาความดีความชอบให้บุคลากร รับทราบโดยทั่วกัน ๓.แบบรายงานการประชุมพิจารณาผล การพิจารณาผลการปฏิบัติงานของบุคลากรใน สังกัด สนง.พมจ. ๔.สำเนาประกาศผลการประเมินการ ปฏิบัติงาน/หนังสือแจ้งเวียน ไม่มีหลักฐาน เหตุผล........................................................ อื่นๆ ...................................................
[7อำนาจหน้าที่ สนง.พมจ. ตามกฎกระทรวง แบ่งส่วนราชการ สป.พม. (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2563 เป้าหมาย (Goal) ตัวชี้วัด (KPI : Key Performance Indicator) เกณฑ์/ค่าเป้าหม1๒.4 มีการประกาศหลักเกณฑ์การประเเปิดเผย 1๒.5 มีการประกาศผลการประเมินผลงาและระยะเวลาที่กระทรวงกำหนดใ1๒.6 มีการกำหนดแนวทางการควบคุมภทราบ ถือปฏิบัติและมีการรายงานผ
0] มาย (Target) หลักฐานประกอบ การพิจารณา การให้คะแนน เมินผลการปฏิบัติงานให้ทราบทั่วกันอย่าง มีหลักฐาน สำเนาประกาศ สนง.พมจ./หนังสือแจ้ง เวียน เรื่องหลักเกณฑ์การประเมินผลการ ปฏิบัติงาน ไม่มีหลักฐาน เหตุผล........................................................ อื่นๆ ............................................. านตามรูปแบบ วิธีการ ให้ทราบทั่วกันอย่างเปิดเผย มีหลักฐาน สำเนาประกาศ สนง.พมจ./หนังสือแจ้ง เวียน เรื่องหลักเกณฑ์การประเมินผลการ ปฏิบัติงาน ไม่มีหลักฐาน เหตุผล........................................................ อื่นๆ ............................................. ภายในของสำนักงาน ประกาศให้บุคลากร ผลการดำเนินงานเป็นระยะ มีหลักฐาน ๑.สำเนาคำสั่งแต่งตั้งคณะทำงานจัด วางระบบและติดตามประเมินผลควบคุมภายใน ของ สนง.พมจ. (ตัวอย่างที่ 7) ๒.รายงานผลการประเมินองค์ประกอบ ของการควบคุมภายใน (แบบ ปย.๑) ๓.รายงานการประเมินผลและการ ปรับปรุงการควบคุมภายใน (แบบ ปย. ๒) ไม่มีหลักฐาน เหตุผล........................................................ อื่นๆ...................................................
[7แนวทางการนิเทศงานของ สสว. ตัวชี้วัดที่ 12 : ระดับความโปร่งใส และเป็นธรรมในการบริหารงาน การติดตาม • จากการตรวจติดตามการปฏิบัติงานของหน่วยงานในสังกัด พม. ทั้งส่วนกลาง แยังคงพบปัญหาเรื่องการปฏิบัติงานของ สนง.พมจ.ที่ไม่เป็นไปตามกฎหมาย ระเบแยกแยะการดำเนินงานตามขั้นตอน หลักการแนวทางที่กระทรวงโดยเฉพาะตามครบถ้วนหรือไม่ มีเอกสารหลักฐานเชิงประจักษ์หรือไม่ และแยกผู้ที่ปฏิบัติงานแเอกสาร/หลักฐาน • การกำหนดหลักฐานและกระบวนการทำงานเป็นไปตามที่กองตรวจราชการ แลหลักฐานในมาตรฐาน สนง.พมจ. ดังนั้น สสว.จึงจำเป็นต้องนิเทศให้มีการปฏิบัติราชการ
1] และการประเมินผลการปฏิบัติงานรายบุคคลอย่างเป็นธรรมและเสมอภาค และส่วนภูมิภาค ทั้งโดยหน่วยงานภายในกระทรวง และหน่วยงานภายนอก บียบ ทั้งที่จงใจหรือที่รู้เท่าไม่ถึงการ ซึ่งในการนิเทศติดตามต้องมีการจำแนก มที่หน่วยตรวจสอบภายในของกระทรวง/กรม/เทียบเท่ากรมแนะนำ ถูกต้อง แล้วขาดความรู้เพื่อเพิ่มทักษะ ละหน่วยตรวจสอบภายในกระทรวง พม. เป็นผู้กำหนดรายละเอียด เกณฑ์ และ ติตามมาตรฐานโดยเคร่งครัดเพื่อป้องกันการทุจริตประพฤติมิชอบต่อทาง
[7อำนาจหน้าที่ สนง.พมจ. ตามกฎกระทรวง แบ่งส่วนราชการ สป.พม. (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2563 เป้าหมาย (Goal) ตัวชี้วัด (KPI : Key Performance Indicator) เกณฑ์/ค่าเป้าหตัวชี้วัดที่ ๑๓ ระดับความสำเร็จในการ สร้างเสริมวัฒนธรรม องค์กรที่ดี มุ่งสร้างสมดุล ในชีวิตและการ ปฏิบัติงานของบุคลากร สนง.พมจ. (Work-Life Balance) (ด้านการพัฒนาองค์กร) 1๓.1 สนง.พมจ.มีการกำหนดวิสัยทัศน์ พค่าเป้าหมาย กลยุทธ์ และแผนงนาเพื่อขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์องค์1๓.2 สนง.พมจ.มีการจัดทำค่านิยมองค์กนำไปใช้ในองค์กรอย่างจริงจัง 1๓.3 มีแผนงาน/โครงการ/กิจกรรมที่เสริbalance) สร้างความรักความสามักายการจัดกิจกรรมเนื่องในวันสำคัไม่น้อยกว่า ๒ กิจกรรม/ปี
2] หมาย (Target) หลักฐานประกอบ การพิจารณา การให้คะแนน พันธกิจ ประเด็นยุทธศาสตร์ ตัวชี้วัด า/โครงการ/กิจกรรม ค์กร สนง.พมจ. มีหลักฐาน ๑.แผนยุทธศาสตร์องค์กรของ สนง.พมจ. ๒.สำเนาประกาศ/หนังสือแจ้งเวียน/ รายงานการประชุมที่มีการถ่ายทอดยุทธศาสตร์ ให้บุคลากรรับรู้และใช้เป็นแนวทางการ ปฏิบัติงาน ไม่มีหลักฐาน เหตุผล........................................................ อื่นๆ ................................................... ไม่ได้ดำเนินการ = 0 คะแนน ผ่าน ข้อ 1๓.๑ = 1 คะแนน ผ่าน ข้อ ๑๓.1-๑๓.2 = 3 คะแนนผ่าน ข้อ ๑๓.1-๑๓.3 = 5 คะแนน กรแบบมีส่วนร่วมของบุคลากรและมีการ มีหลักฐาน ๑.ค่านิยมองค์กร สนง.พมจ. ๒.สำเนาประกาศ/หนังสือแจ้งเวียน/ รายงานการประชุมที่มีการถ่ายทอดค่านิยม องค์กรให้บุคลากรรับรู้และใช้เป็นแนวทางการ ปฏิบัติงานในองค์กรให้เกิดความรักความ สามัคคีและเกิดสมดุลในการปฏิบัติงานและการ ใช้ชีวิตประจำวัน ไม่มีหลักฐาน เหตุผล........................................................ อื่นๆ ................................................... ไม่ได้ดำเนินการ = 0 คะแนน ผ่าน ข้อ 13.1 = 1 คะแนน ผ่าน ข้อ ๑3.1-๑3.2 = 3 คะแนน ผ่าน ข้อ ๑3.1-๑3.3 = 5 คะแนน ริมสร้างสมดุลการปฏิบัติงาน (work life มัคคีของบุคลากรในองค์กร เช่น การออกกำลัง คัญในแต่ละเดือน กิจกรรมบำเพ็ญประโยชน์ มีหลักฐาน ๑.แผนการส่งเสริมหรือจัดกิจกรรมที่ เสริมสร้างสมดุลการปฏิบัติงาน (work life balance) (แบบ 13) ๒.Infographic /สรุปกิจกรรม ๓.บันทึกการจัดกิจกรรม ๔.ภาพถ่ายกิจกรรม
[7อำนาจหน้าที่ สนง.พมจ. ตามกฎกระทรวง แบ่งส่วนราชการ สป.พม. (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2563 เป้าหมาย (Goal) ตัวชี้วัด (KPI : Key Performance Indicator) เกณฑ์/ค่าเป้าหแนวทางการนิเทศงานของ สสว. ตัวชี้วัดที่ 13 : ระดับความสำเร็จในการสร้างเสริมวัฒนธรรมองค์กรที่ดี มุ่งสร้าง• การบริหารงานของ สนง.พมจ. ควรมีการกำหนดยุทธศาสตร์องค์กร และค่านิยองค์กรเพื่อบุคลากรมีข้อตกลงที่เป็นแนวปฏิบัติร่วมกันที่ชัดเจนแบบถ้อยทีถ้อยการใช้รถยนต์สำนักงาน การใช้ห้องประชุม เป็นต้น • การดำเนินงานของ สนง.พมจ.ในฐานะที่เป็นหน่วยงานส่วนภูมิภาคโดยไม่มีโครกรม/เทียบเท่ากรม ผู้ว่าราชการจังหวัด และหน่วยงานภายนอกที่มีผลต่อการดำเนินงาน ทำให้การที่ดีจึงต้องมีมาตรการ/แผนงานที่สร้างสมดุลการปฏิบัติงานของบุคลากร ในรูปแบุคลากรจริง และมีการประเมินผลเพื่อพัฒนาการดำเนินงานให้เอื้ออำนวยและเอกสาร/หลักฐาน • มีเอกสาร/หลักฐานเชิงประจักษ์ที่เป็นรูปธรรมทั้งที่เป็นทางการและไม่เป็นทางกเป็นเอกภาพในองค์กร
3] หมาย (Target) หลักฐานประกอบ การพิจารณา การให้คะแนน ๕.แบบรายงานผลการจัดกิจกรรมตาม แผนการส่งเสริมหรือจัดกิจกรรมที่เสริมสร้าง สมดุลการปฏิบัติงาน (work life balance) (แบบ 14) ไม่มีหลักฐาน เหตุผล........................................................ อื่นๆ ................................................... งสมดุลในชีวิตและการปฏิบัติงานของบุคลากร สนง.พมจ. (Work-Life Balance) ยมองค์กร เพื่อเป็นกรอบแนวทางการปฏิบัติงานในทิศทางเดียวกัน และมีการตกลงค่านิยม อาศัย ลดความขัดแย้งในองค์กร เช่น การลงเวลาปฏิบัติงาน การเข้า-ออกในเวลาราชการ รงสร้างระดับอำเภอ/ตำบลรองรับ และต้องดำเนินงานตามแนวนโยบายของกระทรวง รดำเนินงานของสนง.พมจ.มีความตึงเครียด ดังนั้น สนง.พมจ.ที่มีมาตรฐานการปฏิบัติงาน แบบแผนงาน work life balance ที่มีการขับเคลื่อนจริง และมีการมีส่วนร่วมของ ะส่งเสริมพลังใจในการปฏิบัติงานในทุกปีงบประมาณ การ เพราะมีผลต่อการดำเนินงานให้มีประสิทธิภาพ เกิดความรักความสามัคคีและความ
[7อำนาจหน้าที่ สนง.พมจ. ตามกฎกระทรวง แบ่งส่วนราชการ สป.พม. (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2563 เป้าหมาย (Goal) ตัวชี้วัด (KPI : Key Performance Indicator) เกณฑ์/ค่าเป้าห(๗) เป็นศูนย์ข้อมูลด้านการ พัฒนาสังคมและความ มั่นคงของมนุษย์ในระดับ จังหวัด 8. หน่วยงานใน สังกัด พม.มีการ ดำเนินงาน การ วางแผนงาน/ โครงการ/กิจกรรม บนฐานข้อมูลทาง สังคม และเป็น เจ้าภาพหลักใน การจัดทำและ เผยแพร่ข้อมูลทาง สังคมที่สำคัญ ระดับจังหวัด ตัวชี้วัดที่ 1๔ ระดับความสำเร็จ ของการเป็นศูนย์ ข้อมูลด้านการ พัฒนาสังคมและ ความมั่นคงของ มนุษย์ในระดับ จังหวัด (ด้านการพัฒนา องค์กร) 1๔.1 มีการบริหารจัดการศูนย์ข้อมูลทางและส่งเสริมสนับสนุนการนำข้อมูลภารกิจของกระทรวง พม. 1๔.2 มีการจัดทำแผนปฏิบัติการขับเคลื่อประจำปี และมีผลการดำเนินงานต
4] หมาย (Target) หลักฐานประกอบ การพิจารณา การให้คะแนน งสังคมอย่างมีประสิทธิภาพ ลทางสังคม ไปใช้ขับเคลื่อน มีหลักฐาน ๑.สำเนาคำสั่งแต่งตั้งคณะทำงานศูนย์ ข้อมูลทางสังคมระดับจังหวัด ๒.สำเนารายงานการประชุมคณะทำงาน ศูนย์ข้อมูลทางสังคมระดับจังหวัด อย่างน้อย ไตรมาสละ 1 ครั้ง เพื่อมุ่งปรับปรุงข้อมูลให้เป็น ปัจจุบันและส่งเสริมการนำไปใช้ในการ ดำเนินงานด้านการพัฒนาสังคม ไม่มีหลักฐาน เหตุผล........................................................ อื่นๆ.................................................... ไม่ได้ดำเนินการ = 0 คะแนน ผ่าน ข้อ ๑๔.1 = 1 คะแนน ผ่าน ข้อ ๑๔.1-๑๔.2 = 3 คะแนน ผ่าน ข้อ ๑๔.1-๑๔.3 = 5 คะแนน อนศูนย์ข้อมูลทางสังคมระดับจังหวัด ตามแผนไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของแผน มีหลักฐาน ๑.แผนการดำเนินงานด้านศูนย์ข้อมูล ทางสังคมระดับจังหวัด ประจำปี(แบบ 15) ๒.สรุปผลการดำเนินงานตามแผนศูนย์ ข้อมูลทางสังคมระดับจังหวัดและการนำข้อมูลไปสู่ การปฏิบัติ ประจำปี (แบบ 16) ไม่มีหลักฐาน เหตุผล........................................................ อื่นๆ ...................................................
[7อำนาจหน้าที่ สนง.พมจ. ตามกฎกระทรวง แบ่งส่วนราชการ สป.พม. (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2563 เป้าหมาย (Goal) ตัวชี้วัด (KPI : Key Performance Indicator) เกณฑ์/ค่าเป้าห1๔.3 มี website และมีระบบฐานข้อมูลและมีการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ให้ตัวชี้วัดที่ ๑๕ ระดับความสำเร็จ ของการจัดการ ความรู้ ใน สนง.พมจ. (ด้านการพัฒนา องค์กร) 1๕.1 มีบริหารจัดการเรื่องการจัดการควพัฒนาสังคม มีผู้รับผิดชอบร่วมกันเพื่อสนับสนุนการดำเนินงานให้ครอจังหวัด 1๕2 มีการขับเคลื่อนกิจกรรมตามแผนกสังคมและการพัฒนาสังคม ร้อยละ
5] หมาย (Target) หลักฐานประกอบ การพิจารณา การให้คะแนน ลทางสังคมจังหวัด มีแหล่งสืบค้น/ช่องทาง ้สาธารณชนรับทราบข้อมูลทางสังคม มีหลักฐาน ๑.สำเนารูปถ่ายจำนวนผู้เข้าชมเว็บไซต์ ไม่น้อยกว่า ๖,๐๐๐ ครั้ง/ปีงบประมาณ ๒.สรุปผลการดำเนินงานตามแผนศูนย์ ข้อมูลทางสังคมระดับจังหวัดและการนำข้อมูล ไปสู่การปฏิบัติ ประจำปี (แบบ 16) ไม่มีหลักฐาน เหตุผล........................................................ อื่นๆ ................................................... ามรู้ด้านการจัดสวัสดิการสังคมและการ นของทุกกลุ่ม/ฝ่าย อบคลุมข้อมูลทุกกลุ่มเป้าหมายในระดับ มีหลักฐาน ๑.สำเนาคำสั่งคณะทำงานการจัดการ ความรู้ด้านการจัดสวัสดิการสังคมและการ พัฒนาสังคม ๒.แผนปฏิบัติการของการจัดการความรู้ ด้านการจัดสวัสดิการสังคมและการพัฒนา สังคม (แบบ ๑7) ไม่มีหลักฐาน เหตุผล........................................................ อื่นๆ ................................................... ไม่ได้ดำเนินการ = 0 คะแนน ผ่าน ข้อ ๑๕.๑ = 1 คะแนน ผ่าน ข้อ ๑๕.1-๑๕.2 = 3 คะแนน ผ่าน ข้อ ๑๕.1-๑๕.3 = 5 คะแนน การจัดการความรู้ด้านการจัดสวัสดิการ 80 ของแผน มีหลักฐาน แบบรายงานแผนการจัดการความรู้ด้าน การจัดสวัสดิการสังคมและการพัฒนาสังคม และการส่งเสริมการนำไปใช้ประโยชน์ด้านการ พัฒนาสังคม (แบบ 18) ไม่มีหลักฐาน เหตุผล........................................................ อื่นๆ ...................................................
[7อำนาจหน้าที่ สนง.พมจ. ตามกฎกระทรวง แบ่งส่วนราชการ สป.พม. (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2563 เป้าหมาย (Goal) ตัวชี้วัด (KPI : Key Performance Indicator) เกณฑ์/ค่าเป้าห1๕.3 มีการจัดทำสื่อสารสนเทศที่เป็นองสาธารณชนรับทราบข้อมูลทางสังคแนวทางการนิเทศงานของ สสว. ตัวชี้วัดที่ 13 : ระดับความสำเร็จของการเป็นศูนย์ข้อมูลด้านการพัฒนาสังคมและความม• เนื่องจากการเป็นศูนย์ข้อมูลทางสังคมเป็นหน้าที่อำนาจหลักของ สนง.พมจ. ควบคู่กับกส่งเสริมสนับสนุนให้ทุก สนง.พมจ.มีศูนย์ข้อมูลทางสังคมระดับจังหวัด มีช่องทางการเผยสามารถใช้ประกอบการจัดทำ รายงานสถานการณ์ทางสังคมระดับจังหวัด การกำหนดน• การบริหารจัดการศูนย์ข้อมูลต้องดำเนินการในรูปคณะทำงานหลายฝ่ายเพื่อให้ข้อมูลครปรับปรุงข้อมูลให้ถูกต้องเป็นปัจจุบันได้มากกว่าการผูกขาดคนใดคนหนึ่ง และเมื่อมีการใระหว่างผู้จัดทำรายงานข้อมูลทางสังคม/รายงานสถานการณ์ทางสังคม และการนำไปใช้ประสิทธิภาพ เอกสาร/หลักฐาน • มีเอกสาร/หลักฐานเชิงประจักษ์ที่เป็นรูปธรรมที่สะท้อนการบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วตัวชี้วัดที่ 14 : ระดับความสำเร็จของการจัดการความรู้ใน สนง.พมจ. • เนื่องจาก สนง.พมจ.มักมีปัญหาบุคลากรไม่เพียงพอปฏิบัติงาน โดยเฉพาะมีข้าราชการในทุกตำแหน่งต้องช่วยกันปฏิบัติงาน ดังนั้นการจัดให้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของบุคลากร• การจัดการความรู้ควรมีการดำเนินงานในเชิงเป็นวัฒนธรรมองค์กร เพื่อให้บุคลากรมีการการจัดตามตัวชี้วัด เพื่อการบริหารจัดการความรู้ในองค์กรนอกจากจะได้ความรู้ยังได้ควเอกสาร/หลักฐาน • มีเอกสาร/หลักฐานเชิงประจักษ์ที่เป็นรูปธรรมที่สะท้อนการบริหารจัดการแบบมีส่วนร่ว
6] หมาย (Target) หลักฐานประกอบ การพิจารณา การให้คะแนน ค์ความรู้ เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ให้ คม สามารถเข้าถึงข้อมูลได้โดยสะดวก มีหลักฐาน รูปถ่าย/สำเนาหลักฐานที่แสดงถึงการ จัดทำสื่อสารสนเทศและการเผยแพร่ชุดองค์ ความรู้ ไม่มีหลักฐาน เหตุผล........................................................ อื่นๆ .................................................. มั่นคงของมนุษย์ในระดับจังหวัด การกำหนดนโยบายด้านการจัดสวัสดิการสังคมและการพัฒนาสังคมระดับจังหวัด ดังนั้นจึงมุ่ง ยแพร่และให้บริการข้อมูลทางสังคมทั้งแก่หน่วยงานของ พม. อพม. เครือข่าย และผู้สนใจ นโยบาย จัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรมได้อย่างมีประสิทธิภาพ ง่ายต่อการใช้งาน รบถ้วนทุกการใช้งานและไม่เป็นภาระของบุคคลากรเฉพาะเจาะจงทั้งหมด และเพิ่มโอกาสการ ให้บริการข้อมูล หรือนำไปใช้สามารถวิเคราะห์ความถูกต้องเหมาะสม ไม่มีความขัดแย้ง ช้ตรงกับบริบท ปัญหาความต้องการที่ถูกต้อง พุ่งเป้าทำให้การทำงานบนฐานข้อมูลมี มและมีการนำไปใช้จริง นสัดส่วนที่ใกล้เคียงกับพนักงานราชการและจ้างเหมาบริการ ซึ่งในภาวะที่มีงานจำนวนมาก รจึงมีความสำคัญมากเพื่อลดช่องว่างเรื่องทักษะการทำงานของบุคลากร รสอนงานกันทั้งเป็นทางการ/ไม่เป็นทางการ ไม่ควรเน้นการจัดกิจกรรมเพื่อตอบจำนวนครั้ง วามสัมพันธ์ ความรักความสามัคคีทางอ้อมในองค์กรด้วย มและมีการนำไปใช้จริง
[7อำนาจหน้าที่ สนง.พมจ. ตามกฎกระทรวง แบ่งส่วนราชการ สป.พม. (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2563 เป้าหมาย (Goal) ตัวชี้วัด (KPI : Key Performance Indicator) เกณฑ์/ค่าเป้าห(๘) เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ และรณรงค์ ให้มีการดำเนินกิจกรรม เกี่ยวกับการพัฒนาสังคม และความมั่นคงของมนุษย์ รวมทั้งความก้าวหน้าทาง วิชาการและผลการ ปฏิบัติงานของกระทรวง 9.พม.มี ภาพลักษณ์ที่ดี เป็นที่ยอมรับจาก สังคมสาธารณะ และประชาชน รับทราบและพึง พอใจ ผลการ ดำเนินงาน ของ พม.จังหวัด เป็น การเพิ่มโอกาสการ เข้าถึงสิทธิของ ประชาชน กลุ่มเป้าหมาย ตามที่กฎหมาย กำหนด ตัวชี้วัดที่ ๑๖ ระดับความสำเร็จใน การสร้างภาพลักษณ์ ที่ดีขององค์กร การ เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ และ รณรงค์ให้มีการรับรู้ ผลงานและการ ดำเนินกิจกรรม เกี่ยวกับการพัฒนา สังคมและความ มั่นคงของมนุษย์ รวมทั้ง ความก้าวหน้าทาง วิชาการและผลการ ปฏิบัติงานของ สนง.พมจ.และ ภาพรวมกระทรวง พม. (ด้านการพัฒนา องค์กร) 1๖.1 มีการบริหารจัดการด้านงานประชาพม. ระดับจังหวัด และ One homพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ภารกิจแลจังหวัด และ One home เพื่อเส1๖.2 มีการผลิตและเผยแพร่สื่อประชาพม. ระดับจังหวัด และ One homพม. ระดับจังหวัด และ One homระดับจังหวัด เช่น หนังสือพิมพ์ วิต้น - ระดับจังหวัด อย่างน้อยเดือนรวมอย่างน้อย 12 สื่อต่อปี
7] หมาย (Target) หลักฐานประกอบ การพิจารณา การให้คะแนน าสัมพันธ์ภารกิจและผลงานของหน่วยงาน me โดยมีคำสั่งแต่งตั้ง โฆษกกระทรวงการ นุษย์ประจำจังหวัด และมีแผนปฏิบัติการ ละผลงานของหน่วยงาน พม. ระดับ สริมสร้างภาพลักษณ์องค์กรที่ดีของ พม. มีหลักฐาน ๑.สำเนาคำสั่ง/มีการมอบหมายหน้าที่ “โฆษกกระทรวง พม. ประจำจังหวัด” ตามแนวทาง ที่กองเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ สป.พม. / กระทรวง พม. กำหนด ๒.แผนปฏิบัติการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ ภารกิจและผลงานของหน่วยงาน พม. ระดับ จังหวัดและ One home (แบบ 19) ไม่มีหลักฐาน เหตุผล........................................................ อื่นๆ ................................................... ไม่ได้ดำเนินการ = 0 คะแนน ผ่าน ข้อ ๑๖.1 = 1 คะแนน ผ่าน ข้อ ๑๖.1-๑๖.2 = 3 คะแนน ผ่าน ข้อ ๑๖.1-๑๖.3 = 5 คะแนน าสัมพันธ์ภารกิจและผลงานของหน่วยงาน me ผ่านช่องทางการสื่อสารของหน่วยงาน me รวมทั้งช่องทางการสื่อสารสาธารณะใน วิทยุชุมชน เคเบิ้ลทีวีและสื่อออนไลน์เป็น นละ 1 สื่อ / อย่างน้อยไตรมาสละ 3 สื่อ มีหลักฐาน ๑.รูปถ่าย/สำเนาหลักฐานที่แสดงถึงการ ผลิตและเผยแพร่สื่อประชาสัมพันธ์ภารกิจและ ผลงานของหน่วยงาน พม. ระดับจังหวัด และ One home ๒.แบบรายงานผลการผลิตและเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ภารกิจและผลงานของหน่วยงาน พม. ระดับจังหวัดและ One home (แบบ 20) ไม่มีหลักฐาน เหตุผล........................................................ อื่นๆ ...................................................
[7อำนาจหน้าที่ สนง.พมจ. ตามกฎกระทรวง แบ่งส่วนราชการ สป.พม. (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2563 เป้าหมาย (Goal) ตัวชี้วัด (KPI : Key Performance Indicator) เกณฑ์/ค่าเป้าห1๖.3 มีรายงานผลการดำเนินงานของโฆมั่นคงของมนุษย์ ประจำจังหวัด ตาภารกิจและผลงานของหน่วยงาน พเสริมสร้างภาพลักษณ์องค์กรที่ดีขอพัฒนาการบริหารจัดการด้านงานปหน่วยงาน พม. ระดับจังหวัด และ แนวทางการนิเทศงานของ สสว. ตัวชี้วัดที่ 16 : ระดับความสำเร็จในการสร้างภาพลักษณ์ที่ดีขององค์กร การเผยแพร่ ปรพัฒนาสังคมและความมั่นคง ของมนุษย์ รวมทั้งความก้าวหน้าทางวิชาการและผลการปฏิบัติงานของ• เนื่องจากในปัจจุบันภายใต้โลกยุคสื่อสารสังคมออนไลน์ทำให้การสื่อสารทั้งการแสดงตัวของปัผลกระทบทางเศรษฐกิจ สังคม การเมือง โครงสร้างสังคม โครงสร้างประชากร รวมถึงปัจจัยภภูมิอากาศ ซึ่งส่งผลกระทบอย่างยิ่งต่อประชาชนโดยเฉพาะ ในกลุ่มเปราะบาง เพราะอาจมีทางเลือก ทางรอดน้อยกว่าคนกลุ่มอื่น ดังนั้นภายใต้ความยุ่งเหความเชื่อมั่น เชื่อถือ ในกระทรวง พม. การดำเนินงานของโฆษกกระทรวงจึงมีบทบาทเพิ่มมากขึ้น สนง.พมจ.ต้องมีภาพลักษณ์ที่ดีของกระทรวงให้ถูกต้อง กว้างขวางมากขึ้น -เอกสาร/หลักฐาน • มีเอกสาร/หลักฐานเชิงประจักษ์ที่เป็นรูปธรรมที่สะท้อนการบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วตสื่อสารสนเทศ
8] หมาย (Target) หลักฐานประกอบ การพิจารณา การให้คะแนน ษกกระทรวงการพัฒนาสังคมและความ ามแผนปฏิบัติการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ พม. ระดับจังหวัด และ One home เพื่อ อง พม. พร้อมทั้งจัดทำข้อเสนอเพื่อ ประชาสัมพันธ์ภารกิจและผลงานของ One home อย่างน้อย ๑ ครั้ง/ปี มีหลักฐาน แบบรายงานผลการผลิตและเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ภารกิจและผลงานของหน่วยงาน พม. ระดับจังหวัด และ One home (แบบ 20) ไม่มีหลักฐาน เหตุผล........................................................ อื่นๆ ................................................... ระชาสัมพันธ์ และรณรงค์ให้มีการรับรู้ผลงานและการดำเนินกิจกรรมเกี่ยวกับการ สนง.พมจ.และภาพรวมกระทรวง พม. ปัญหารวดเร็ว มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นทั้งปริมาณปัญหาและความรุนแรงของปัญหา อันมาจาก ภายนอกที่ควบคุมได้ยาก เช่น ภัยสงคราม อุบัติภัย โรคระบาด และการเปลี่ยนแปลงสภาพ หยิง ยากต่อการควบคุมเช่นนี้ การใช้สื่อสารสนเทศเพื่อการสร้างภาพลักษณ์ที่ดี เพื่อประชาชนมี มีการแต่งตั้งผู้รับผิดชอบ และต้องมีการผลิตสื่อสารสนเทศเพื่อการเผยแพร่ผลงานและ มและมีการนำไปใช้จริง
[7อำนาจหน้าที่ สนง.พมจ. ตามกฎกระทรวง แบ่งส่วนราชการ สป.พม. (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2563 เป้าหมาย (Goal) ตัวชี้วัด (KPI : Key Performance Indicator) เกณฑ์/ค่าเป้าห(๙) รับเรื่องราวร้องทุกข์ และแก้ไขปัญหาสังคมใน ระดับจังหวัด 10.ประชาชน กลุ่มเป้าหมาย สามารถเข้าถึง บริการและเข้าถึง สิทธิสวัสดิการตาม ภารกิจ พม. และ ตามที่กฎหมาย กำหนดได้โดยง่าย สะดวก รวดเร็ว ทั่วถึงและเป็น ธรรม ตัวชี้วัดที่ ๑๗ ระดับความสำเร็จใน การบริหารจัดการ เกี่ยวกับเรื่องราวร้อง ทุกข์ การขอรับความ ช่วยเหลือ และแก้ไข ปัญหาสังคม ใน ระดับจังหวัด (ด้านประสิทธิการ ให้บริการ) 1๗.1 มีช่องทาง และคำสั่งมอบหมายเจ้าหรือ ผู้ปฏิบัติงานศูนย์เร่งรัดจัดการจังหวัดที่ชัดเจน 1๗.2 มีการผลิตและเผยแพร่สื่อประชาสัตามภารกิจของหน่วยงาน พม. ระกฎหมายที่กำหนด ผ่านช่องทางกาและ One home รวมทั้งช่องทางกหนังสือพิมพ์ วิทยุชุมชน เคเบิ้ลทีวีประชาชนเกิดการรับรู้ เข้าใจ และอย่างทั่วถึง 1๗.3 ให้บริการประชาชน เครือข่าย ทั้งภาขั้นตอน/ระยะเวลาที่ ศรส./กระทร
9] หมาย (Target) หลักฐานประกอบ การพิจารณา การให้คะแนน าหน้าที่รับผิดชอบรับเรื่องราวร้องทุกข์ และ รสวัสดิภาพประชาชน (ศรส.) ประจำ มีหลักฐาน สำเนาคำสั่งจัดตั้ง ศรส.ประจำจังหวัด (ถ้ามี) หรือ สำเนาคำสั่งมอบหมายหน้าที่การ งานบุคลากร สนง.พมจ. (ตัวอย่างที่ ๘) ไม่มีหลักฐาน เหตุผล........................................................ อื่นๆ ............................................... ไม่ได้ดำเนินการ = 0 คะแนน ผ่าน ข้อ ๑๗.1-๑๗.2 = 1 คะแนน ผ่าน ข้อ ๑๗.1-๑๗.3 = 3 คะแนน ผ่าน ข้อ ๑๗.1-๑๗.๔ = 5 คะแนน สัมพันธ์การบริการและสิทธิสวัสดิการต่างๆ ดับจังหวัด และ One home และตาม ารสื่อสารของหน่วยงาน พม. ระดับจังหวัด การสื่อสารสาธารณะในระดับจังหวัด เช่น และสื่อออนไลน์เป็นต้น เพื่อทำให้ เข้าถึงบริการและสิทธิสวัสดิการต่างๆ ได้ มีหลักฐาน แบบรายงานผลการผลิตและเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ภารกิจและ ผลงานของหน่วยงาน พม. ระดับจังหวัด และ One home (แบบ 20) ไม่มีหลักฐาน เหตุผล........................................................ อื่นๆ ............................................. ครัฐและเอกชน ตามกระบวนการ/ รวงกำหนด มีหลักฐาน ๑.แผนผัง/บอร์ด/แผ่นพับ/ Infographic/คู่มือ แสดงขั้นตอนในการ ให้บริการประชาชนทุกกลุ่มเป้าหมาย ๒.หลักฐานเช่น รูปถ่าย ที่แสดงแสดง ช่องทางการสื่อสารกับประชาชนให้รับรู้สิทธิ บริการอย่างกว้างขวาง ผ่านการอบรม/สื่อ สารสนเทศ/การเผยแพร่ในระบบสื่อสารมวลชน ท้องถิ่น อย่างน้อย 3 ช่องทาง ไม่มีหลักฐาน เหตุผล........................................................ อื่นๆ ...................................................
[8อำนาจหน้าที่ สนง.พมจ. ตามกฎกระทรวง แบ่งส่วนราชการ สป.พม. (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2563 เป้าหมาย (Goal) ตัวชี้วัด (KPI : Key Performance Indicator) เกณฑ์/ค่าเป้าห1๗.4 มีการสำรวจและรายงานความพึงพมีส่วนได้ส่วนเสียต่อการให้บริการขของมนุษย์จังหวัดกลุ่มเป้าหมายคือโดยดำเนินการสำรวจและจัดทำราวิชาการ โดยมีผลการประเมินความร้อยละ 85 แนวทางการนิเทศงานของ สสว. ตัวชี้วัดที่ 17 : ระดับความสำเร็จในการบริหารจัดการเกี่ยวกับเรื่องราวร้องทุกข์ • มุ่งเน้นการดำเนินงานของ ศรส.จังหวัด และช่องทางอื่นๆที่รับเรื่องร้องเรียนแล้วสาธารณะอย่างมืออาชีพ ทันต่อปัญหาความต้องการ และทันต่อสถานการณ์สื่อสารมวลชน • การผลิตสื่อสารสนเทศและการเผยแพร่ต่อผู้บริหารระดับต่าง ๆ เผยแพร่สื่อสาธเดือดร้อนและสังคม เป็นสังคมที่มีวุฒิภาวะได้รับประโยชน์ เกิดการเรียนรู้ และขยายการรับรู้เรื่องสิทเอกสาร/หลักฐาน • เป็นหลักฐานเชิงประจักษ์ ของการผลิตและเผยแพร่สื่อสารสนเทศในรูปแบบต่าง
0] หมาย (Target) หลักฐานประกอบ การพิจารณา การให้คะแนน พอใจเเละความผูกพันของผู้รับบริการเเละผู้ ของสำนักงานพัฒนาสังคมเเละความมั่นคง อผู้รับบริการทุกประเภทกลุ่มเป้าหมาย ยงานผลอย่างถูกต้องยอมรับได้ตามหลัก มพึงพอใจของผู้รับบริการไม่น้อยกว่า มีหลักฐาน แบบรายงานผลการประเมินผล ความพึงพอใจเเละความผูกพันของ ผู้รับบริการเเละผู้มีส่วนได้ส่วนเสียต่อ การให้บริการของสำนักงานพัฒนาสังคม เเละความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด ตาม แบบที่ กองตรวจราชการ สป.พม./กระทรวง พม. กำหนด ไม่มีหลักฐาน เหตุผล........................................................ อื่นๆ ................................................... การขอรับความช่วยเหลือ และแก้ไขปัญหาสังคม ในระดับจังหวัด มีการดำเนินงานให้ความช่วยเหลือหรือประสานส่งต่อและรายงานผล เผยแพร่สื่อ ารณะบนพื้นฐานของความถูกต้อง คำนึงศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ และประโยชน์ของผู้ ธิ งๆ ทั้งในระดับท้องถิ่น จังหวัดและในสาธารณะ เป็นภาพลักษณ์ที่ดีของ พม.
[8ส่วนที่ ๓ ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอ ที่ ปัญหา/อุปสรรค
1] ข้อเสนอแนะ ลงชื่อ.........................................................ผู้รายงาน (........................................................) ตำแหน่ง พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด................... วันที่รายงาน ............../................/..............
[82] รายชื่อผู้ประสานงาน
[8บททีแนวทางการบันทึกข้อมูล : แบบประเมินตนเอง
3] ที่ ๕ ตามมาตรฐานการปฏิบัติหน้าที่ของ สนง. พมจ.
[8