[29] บทที่ 3 การประเมินตนเองตามมาตรฐานการปฏิบัติหน้าที่ ของสำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด 1. ที่มาและเหตุผล มาตรฐานการปฏิบัติหน้าที่ของสำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดนี้ ได้มาจาก การศึกษาเพื่อจัดทำมาตรฐานและตัวชี้วัดตามโครงการกำหนดและพัฒนามาตรฐานและตัวชี้วัดการปฏิบัติหน้าที่ ของสำนักงานพัฒนาสังคมและสวัสดิการจังหวัด (พมจ.) ในปีงบประมาณ 2547 โดยสำนักงานปลัดกระทรวง การ พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ร่วมกับคณะพัฒนาสังคมและสิ่งแวดล้อม สถาบันบัณฑิตพัฒน า บริหาร ศาสตร์ ดำเนินโครงการภายใต้กรอบแนวคิดการพัฒนาสังคม สวัสดิการสังคม และความมั่นคงของมนุษย์ แนวคิดระบบบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ (Result-Based Management) และแนวคิดบทบาทหน้าที่ของสำนักงาน พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด และได้เริ่มทดลองใช้ในปีงบประมาณ 2548 โดยได้มีการติดตาม ประเมินผลและจัดสัมมนาพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดทั่วประเทศ เพื่อปรับปรุงมาตรฐานการ ปฏิบัติหน้าที่ของสำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดและคู่มือให้มีความเหมาะสมยิ่งขึ้น ในปี 2555 สำนักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ โดยสำนัก มาตรฐานการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ในขณะนั้น ได้ทำการทบทวน มาตรฐานและตัวชี้วัดการ ปฏิบัติหน้าที่ของสำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด ดังกล่าว โดยผ่านกระบวนการมีส่วน ร่วมของเจ้าหน้าที่สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดทั่วประเทศ ผ่านการกลั่นกรองจาก คณะทำงาน และผู้ทรวงคุณวุฒิ เพื่อให้ได้มาซึ่งมาตรฐานและตัวชี้วัดที่อยู่บนพื้นฐานของการปฏิบัติได้จริง เหมาะสม สอดคล้องกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไปของทั้งบุคลากร องค์กร และสังคม สามารถใช้เป็น เป้าหมายในการปฏิบัติภารกิจ การติดตามประเมินผลการพัฒนางานของสำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคง ของมนุษย์จังหวัดในภาพรวมได้ โดยมีองค์ประกอบ 4 มิติ 18 ด้าน 52 มาตรฐาน 106 ตัวชี้วัด ปี 2558 กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ได้มีการปรับโครงสร้างส่วนราชการ ใหม่ ตามพระราชบัญญัติ ปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม (ฉบับที่ 14) พ.ศ.2558 เพื่อรวมงานด้านนโยบาย ด้าน วิชาการ และด้านการปฏิบัติ ของกลุ่มเป้าหมายเดียวกันให้อยู่ในส่วนราชการเดียวกัน เพื่อให้สามารถกำหนด เป้าหมายและทิศทางการปฏิบัติงานของส่วนราชการ ให้สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ และลดการ ทำงานที่ซ้ำซ้อน รวมทั้งเป็นการประหยัดทรัพยากรภาครัฐมากยิ่งขึ้น โดยกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการ สำนักงานปลัดกระทรวง กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ พ.ศ.2559 กำหนดอำนาจหน้าที่ ของสำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด จากเดิม 8 ภารกิจ เป็น 10 ภารกิจ จึงเห็นว่าควรมี การดำเนินการทบทวนและปรับปรุงมาตรฐานการปฏิบัติหน้าที่ของสำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของ มนุษย์จังหวัดเป็นครั้งที่ 2 ในพ.ศ. 2559 โดยมีกระบวนการทบทวนแนวคิดการบริหารองค์การสมัยใหม่ การจัด ประชุมคณะทำงาน 4 ครั้ง การจัดประชุมร่วมระหว่างผู้ตรวจราชการกระทรวงและผู้อำนวยการสำนักงาน ส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 1 ครั้ง การจัดประชุมเชิงปฏิบัติการสำหรับบุคลากรสำนักงานพัฒนาสังคมและ ความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด 4 ภาค รวม 23 จังหวัด และจัดประชุมเพื่อนำเสนอและวิพากษ์มาตรฐาน การ ปฏิบัติหน้าที่ของสำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด 1 ครั้ง โดยผู้เข้าร่วมประชุมเป็น
[30] ผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องทั้งส่วนกลางและภูมิภาค โดยมีองค์ประกอบ 4 มิติ 20 ด้าน 56 มาตรฐาน 111 ตัวชี้วัด จากการที่กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ มีนโยบายการพัฒนาการดำเนินงาน ของหน่วยงานในสังกัดให้มีประสิทธิภาพได้มาตรฐาน และยกระดับคุณภาพมาตรฐานการบริการและบริหารจัดการ ของ พม. โดยมีมาตรฐานการปฏิบัติหน้าที่ของสำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด เป็นคู่มือ หรือเครื่องมือเพื่อให้สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด (สนง.พมจ.) ถือปฏิบัติเป็นแนวทางใน การปฏิบัติงาน ซึ่งในปี 2562 กองมาตรฐานการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (กมพ.) ได้ดำเนินการ นิเทศและตรวจประเมินมาตรฐานการปฏิบัติหน้าที่ของ สนง.พมจ. จำนวน 4 ครั้ง ใน 4 ภาค คือ ภาคเหนือ ภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง และภาคใต้ และมีข้อสรุปผลการนิเทศฯ ในประเด็นการพัฒนามาตรฐานโดยให้ ทบทวน ปรับปรุงมาตรฐานการปฏิบัติหน้าที่ของ สนง.พมจ. ให้กระชับและทันต่อเปลี่ยนแปลงของกระแส โลกาภิวัตน์ ซึ่งมีผลทำให้ตัวชี้วัดบางตัวดำเนินการได้ยากมากขึ้น เช่น จำนวนเครื่องโรเนียวดิจิทัล หรือเพิ่มความ กระชับ ลดความซ้ำซ้อนในตัวชี้วัดที่สามารถรวมกันได้ เช่น จำนวนครั้งในการรายงานผลตามแผนบูรณาการไปรวม กับตัวชี้วัดจำนวนแผนบูรณาการของหน่วยงานในพื้นที่จังหวัดและรายงานผลเป็นต้น ปี 2563 ได้มีการดำเนินการทบทวนเพื่อพัฒนามาตรฐานดังกล่าวให้เหมาะสม สอดคล้องตาม สถานการณ์ ซึ่งดำเนินการในรูปแบบคณะทำงานพัฒนามาตรฐานการปฏิบัติหน้าที่ของสำนักงานพัฒนาสังคม และความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด โดยมีผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้บริหารกระทรวง ผู้อำนวยการสำนักงานส่งเสริมและ สนับสนุนวิชาการ พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด และผู้เกี่ยวข้องร่วมเป็นคณะทำงานทบทวน มาตรฐาน และในปี พ.ศ. ๒๕๖๓ ได้มีการปรับปรุงมาตรฐานการปฏิบัติหน้าที่ของสำนักงานพัฒนาสังคมและ ความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด (สนง.พมจ.) เป็น ๔ มิติ ๒๐ ด้าน ๔๘ มาตรฐาน ๘๖ ตัวชี้วัด สำหรับมาตรฐานการปฏิบัติหน้าที่ของสำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดที่ได้ ปรับปรุงในปี 2563 มีมาตรฐาน 4 มิติ 20 ด้าน 48 มาตรฐาน 86 ตัวชี้วัด ดังนี้ 1. มิติปัจจัยนำเข้า มี 4 ด้าน 5 มาตรฐาน 31 ตัวชี้วัด 2. มิติระบบและกระบวนการ มี 4 ด้าน 8 มาตรฐาน 12 ตัวชี้วัด ได้แก่ 3. มิติวัฒนธรรมองค์การ มี 2 ด้าน 8 มาตรฐาน 9 ตัวชี้วัด 4. มิติผลผลิตและผลลัพธ์ มี 10 ด้าน 27 มาตรฐาน 34 ตัวชี้วัด และในปัจจุบันปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ได้ให้ความสำคัญในการ ขับเคลื่อนและยกระดับมาตรฐานหน้าที่ของสำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด และได้ให้ นโยบายเกี่ยวกับการขับเคลื่อนมาตรฐานการปฏิบัติหน้าที่ของสำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ จังหวัด ว่าเนื่องจากสำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด เป็นหน่วยขับเคลื่อนนโยบายด้าน สวัสดิการ และด้านการพัฒนาสังคม ในระดับพื้นที่ ตามพันธกิจของกระทรวง มาตรฐานการปฏิบัติหน้าที่ของ สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด จึงไม่ใช่เพียงการตรวจสอบประสิทธิภาพการทำงานของ สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด ให้เป็นไปตามมาตรฐาน แต่ต้องสามารถวัดผลได้ และ สามารถขับเคลื่อนและแก้ไขปัญหาเชิงยุทธศาสตร์และเชิงนโยบายในระดับพื้นที่ได้อย่างมีนัยสำคัญนำไปสู่ความ ยั่งยืน
[31] กองมาตรฐานการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จึงได้มีการปรับปรุงและพัฒนามาตรฐาน การปฏิบัติหน้าที่ของสำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด โดยมีกรอบแนวคิดการปรับปรุง และการพัฒนา ดังนี้ ๑. อ้างอิงจากหน้าที่และอำนาจของ สนง.พมจ. ตามกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการสำนักงาน ปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๓ จำนวน ๑๐ ข้อ ๒. ยึดหลักเกณฑ์การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA 4.0) ซึ่งสามารถแบ่งเกณฑ์ การประเมินสมรรถนะ ออกเป็น ๔ ด้าน ๑๗ ตัวชี้วัด ดังนี้ ๒.๑ ด้านประสิทธิผล จำนวน ๖ ตัวชี้วัด ๒.๒ ด้านประสิทธิภาพการให้บริการ จำนวน ๑ ตัวชี้วัด ๒.๓ ด้านประสิทธิภาพการปฏิบัติราชการ จำนวน ๓ ตัวชี้วัด ๒.๔ ด้านการพัฒนาองค์กร จำนวน ๗ ตัวชี้วัด 2. วัตถุประสงค์ เพื่อทบทวน ปรับปรุง ขับเคลื่อนและพัฒนามาตรฐานการปฏิบัติหน้าที่ของสำนักงานพัฒนา สังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด ให้สอดคล้องกับบริบทสังคมและการปฏิบัติงานของสำนักงานพัฒนา สังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด ในปัจจุบัน 3. ขั้นตอน/ปฏิทิน การปฏิบัติงาน ขั้นตอน/ปฏิทินการปฏิบัติงานมาตรฐานการปฏิบัติหน้าที่ของสำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด ที่ การดำเนินงาน ผลผลิต ระยะเวลา 1 รวบรวมวิเคราะห์ปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะจาก สนง.พมจ. เพื่อดำเนินการปรับปรุงการประเมินตนเองตาม มาตรฐานการปฏิบัติงานของ สนง.พมจ. หนังสือกระทรวง พม.ถึง สนง.พมจ. ที่ พม ๐๒๐๘/ว๑๔๘๐๔ ลงวันที่ ๒๗ กันยายน ๒๕๖๖ ขอความอนุเคราะห์จัดทำแบบสรุป ถอดบทเรียน/ปัญหาอุปสรรค/ข้อเสนอแนะ ตุลาคม - พฤศจิกายน ๒๕๖๖ 2 ประชุมทบทวนมาตรฐานการปฏิบัติหน้าที่ของสนง.พมจ. ที่จะดำเนินการปรับปรุงให้มีความสอดคล้องกับ สถานการณ์การดำเนินงานของ สนง.พมจ. ในปัจจุบัน มีหนังสือเชิญประชุมถึง สนง.พมจ. และ สสว. ที่ พม ๐๒๐๘/ว๑๘๓๐๑ ลงวันที่ ๑๐ พฤศจิกายน ๒๕๖๖ ๒๙ พฤศจิกายน ๒๕๖๖ 3 จัดทำร่างมาตรฐานการปฏิบัติหน้าที่ของ สนง.พมจ. ฉบับ ปรับปรุงใหม่ ปี 2567 จากการทบทวนร่วมกับหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง ร่างมาตรฐานการปฏิบัติหน้าที่ของ สนง.พมจ. (ร่าง ๑) พฤศจิกายน - ธันวาคม ๒๕๖๖ 4 ยกร่างคู่มือและแนวทางการติดตามและประเมินผล การประเมินตนเองมาตรฐานการปฏิบัติหน้าที่ของ สนง.พมจ. ฉบับปรับปรุงใหม่ ปี 2567 - มกราคม – กุมภาพันธ์ ๒๕๖๗ 5 ประชุมคณะทำงานพัฒนามาตรฐานการปฏิบัติหน้าที่ของ สนง.พมจ. เพื่อเห็นชอบร่างมาตรฐานการปฏิบัติหน้าที่ของ สนง.พมจ. ฉบับปรับปรุงใหม่ ปี 2567 รายงานการประชุมคณะทำงานพัฒนา มาตรฐานการปฏิบัติหน้าที่ของ สนง.พมจ. ครั้งที่ ๑/๒๕๖๗ ๒๐ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๗ 6 วิพากษ์ร่าง การประเมินตนเองตามมาตรฐานการปฏิบัติ หน้าที่ของ สนง.พมจ.ฉบับปรับปรุงใหม่ ปี 2567 ๒๕ มีนาคม ๒๕๖๗
[32] ที่ การดำเนินงาน ผลผลิต ระยะเวลา 7 ประชุมซักซ้อมการประเมินตนเองตามมาตรฐานการ ปฏิบัติหน้าที่ของ สนง.พมจ.ฉบับปรับปรุงใหม่ ปี 2567 มีหนังสือเชิญประชุมถึง สนง.พมจ. และ สสว. ที่ พม ๐๒๐๘/ว๕๔๐๗ และ ๐๒๐๘/ ว๕๔๐๘ ลงวันที่ ๒๐ มีนาคม ๒๕๖๗ ๒๕ มีนาคม ๒๕๖๗ 8 ประชุมชี้แจงแนวทางการนิเทศงาน การประเมินตนเอง ตามมาตรฐานการปฏิบัติหน้าที่ของ สนง.พมจ.ฉบับ ปรับปรุงใหม่ ปี 2567 ให้แก่ สำนักงานส่งเสริมและ สนับสนุนวิชาการ (สสว.) ๒๖ มีนาคม ๒๕๖๗ 9 จัดทำคู่มือและแนวทางการติดตามและประเมินผล การ ประเมินตนเองตามมาตรฐานการปฏิบัติหน้าที่ของ สนง.พมจ. ฉบับปรับปรุงใหม่ ปี 2567 คู่มือและแนวทางการติดตามและ ประเมินผลมาตรฐานการปฏิบัติหน้าที่ของ สนง.พมจ. เมษายน ๒๕๖๗ 10 สนง.พมจ. ดำเนินการประเมินตนเองตามมาตรฐานการ ปฏิบัติหน้าที่ของ สนง.พมจ. ฉบับปรับปรุงใหม่ ปี 2567 ผ่านระบบ Google Form และแบบรายงาน/หลักฐาน ประกอบการประเมินตนเองฯ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๗ (ไตรมาสที่ ๑ – ไตรมาสที่ ๒) ผลการประเมินตนเองตามมาตรฐาน การ ปฏิบัติหน้าที่ของ สนง.พมจ. ประจำปี งบประมาณ ๒๕๖๗ ในไตรมาสที่ ๑ – ๒ เสร็จสิ้น (มีเจ้าหน้าที่ประสานงานตามกลุ่มจังหวัด จำแนกตามพื้นที่ปฏิบัติงานของ สสว.) ภายในวันที่ ๒๐ พฤษภาคม ๒๕๖๗ 11 รวบรวม ติดตาม และเป็นพี่เลี้ยง ในการจัดเก็บข้อมูลการ ประเมินตนเองมาตรฐานการปฏิบัติหน้าที่ของ สนง.พมจ. 12 สนง.พมจ. ดำเนินการประเมินตนเองตามมาตรฐานการ ปฏิบัติหน้าที่ของ สนง.พมจ. ฉบับปรับปรุงใหม่ ปี 2567 ผ่านระบบ Google Form และแบบรายงาน/หลักฐาน ประกอบการประเมินตนเองฯ ตลอดปีงบประมาณ 2567 ผลการประเมินตนเองตามมาตรฐาน การ ปฏิบัติหน้าที่ของ สนง.พมจ. ประจำปี งบประมาณ ๒๕๖๗ ในไตรมาสที่ ๑ – ๔ เสร็จสิ้น และนำส่ง กมพ./สสว. เพื่อประมวลผลตาม ระยะเวลาที่กำหนด ภายในวันที่ ๓๐ สิงหาคม ๒๕๖๗ 1๓ รวบรวม ติดตาม และเป็นพี่เลี้ยง ในการจัดเก็บข้อมูลการ ประเมินตนเองมาตรฐานการปฏิบัติหน้าที่ของ สนง.พมจ. ๑๔ สรุปเล่มรายงานผลการประเมินตนเองตามมาตรฐานการ ปฏิบัติหน้าที่ของ สนง.พมจ. ประจำปีงบประมาณ๒๕๖๗ เล่มรายงานผลการประเมินตนเองตาม มาตรฐานการปฏิบัติหน้าที่ของสนง.พมจ. ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๗ เสร็จสมบูรณ์ ๓๐ กันยายน ๒๕๖๗ 1๕ ส่งคืนข้อมูลผลการประเมินตนเองตามมาตรฐานการปฏิบัติ หน้าที่ของ สนง.พมจ. ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๗ ให้กับ สสว. 1-11 เพื่อดำเนินการนิเทศงานฯ จากผลการ ประเมินตนเองฯ ของจังหวัด ในพื้นที่ สสว 1- 11 รับผิดชอบ รายงานผลการประเมินตนเองตามมาตรฐาน การปฏิบัติหน้าที่ของ สนง.พมจ. ประจำปี งบประมาณ ๒๕๖๗ ตุลาคม ๒๕๖๗ 1๖ ส่งคืนข้อมูลให้กองตรวจราชการ เพื่อนำไปใช้ในการวาง แผนการตรวจราชการประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๘ - รอบที่ ๑ (เดือนมีนาคม ๒๕๖๘) - รอบที่ ๒ (เดือนมีนาคม-สิงหาคม ๒๕๖๘) รายงานผลการประเมินตนเองตามมาตรฐาน การปฏิบัติหน้าที่ของ สนง.พมจ. ประจำปี งบประมาณ ๒๕๖๗ ตุลาคม ๒๕๖๗
[3๔. การประเมินตนเองตามมาตรฐานการปฏิบัติหน้าที่ของ8 ภาพที่ 6 กรอบแนวคิดมาตรฐานการปฏิบัติหน้าที่ของ สนง.พมจ.,กองมาตรฐานการพัฒนาสังคม
3] งสำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด 8 มและความมั่นคงของมนุษย์
[34] แบบประเมินตนเองตามมาตรฐานสำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคง ของมนุษย์จังหวัด ประจำปีงบประมาณ 2567 แบบประเมินตนเองตามมาตรฐานสำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด ฉบับ ปรับปรุงใหม่ ปี 2567 เป็นแบบประเมินที่มุ่งให้ สนง.พมจ.ทบทวนการบริหารงานและการขับเคลื่อนงานตาม อำนาจหน้าที่ของ สนง.พมจ. ตามกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการ สป.พม. (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๓ ให้มีความ สอดคล้องกับทิศทางการพัฒนาประเทศ รวมถึงสอดคล้องกับนโยบาย/แผนปฏิบัติราชการของกระทรวงฯ นโยบาย/แผนพัฒนาจังหวัด/แผนพัฒนากลุ่มจังหวัด และสอดคล้องกับบริบทของพื้นที่ โดยแบบประเมินตนเอง ฉบับนี้ เป็นแบบประเมินตนเองเชิงปฏิบัติการให้ สนง.พมจ.มีกระบวนการทำงานที่เป็นไปตามอำนาจหน้าที่และมี หลักฐานสำคัญที่แสดงถึงการปฏิบัติงานที่ได้มาตรฐาน เป็นที่ยอมรับได้ในงานราชการ ซึ่งหากหน่วยงาน ดำเนินการครบถ้วนตามเกณฑ์ที่กำหนด ย่อมเป็นการรับรองว่าเป็นการปฏิบัติงานตามอำนาจหน้าที่และมี มาตรฐานโดยมีหลักฐานเชิงประจักษ์เป็นเครื่องยืนยัน ซึ่งนอกจากจะสร้างความเป็นองค์กรมืออาชีพอมจะส่งผล ต่อการให้บริการประชาชนที่ได้มาตรฐานในท้ายที่สุด และแบบประเมินฉบับนี้หน่วยงานสามารถนำข้อมูลม า ประมวลผลตามระบบประมวลผลที่กระทรวงฯกำหนดได้ด้วยตนเอง เพื่อนำผลการประเมินมาใช้วางแผนในการ พัฒนาระบบการทำงานของ สนง.พมจ.ให้มีประสิทธิผลและประสิทธิภาพแบบประเมินตนเองฉบับนี้ประกอบด้วย 3 ส่วน รายละเอียดตามแบบฟอร์ม แบบรายงาน/หลักฐานตามแบบที่กระทรวงกำหนด ในภาคผนวก ก และ ภาคผนวก ข โดยสรุปสาระสำคัญ ดังนี้ ส่วนที่ 1 : ข้อมูลทั่วไปของ สนง.พมจ. เป็นข้อมูลที่ไม่นำมาคิดคะแนน เนื่องจากเป็นการ ดำเนินงานที่ส่วนใหญ่มาจากการสนับสนุนของส่วนกลาง แต่เนื่องจากเป็นข้อมูลที่ส่งผลทางตรงและทางอ้อมต่อ ประสิทธิผลและประสิทธิภาพการดำเนินงานของ สนง.พมจ. จึงขอให้หน่วยงานให้ความสำคัญและตอบตาม ข้อเท็จจริง เพื่อการวิเคราะห์และการจัดทำข้อเสนอเพื่อการส่งเสริมสนับสนุนการดำนเนงานของ สนง.พมจ. ตรงตามปัญหาความต้องการของหน่วยงาน (ไม่นำมาคิดค่าคะแนน) ประกอบด้วย ๘ ข้อ ส่วนที่ 2 : แบบประเมินตนเอง ตามมาตรฐาน สนง.พมจ. จำแนกหมวดหมู่ตามอำนาจหน้าที่ ของ สนง.พมจ. เป็นสำคัญ โดยให้หน่วยงานตอบตามข้อเท็จจริงและแนบหลักฐานประกอบ โดยระบุเป็นไฟล์ หรือ รูปถ่าย หรือ QR Code หรือ แหล่งข้อมูลอื่นๆ ตามแนวทางที่กำหนด โดยหากไม่มีหลักฐานแสดงตามที่ กำหนดถือว่าไม่ผ่านเกณฑ์ประกอบด้วย ๑๗ ตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ ๑ ระดับความสำเร็จการจัดทำรายงานสถานการณ์ทางสังคมแบบมีส่วนร่วมสอดคล้อง กับบริบทของจังหวัดและแผนพัฒนาจังหวัด (ด้านประสิทธิผล) ตัวชี้วัดที่ 2 ระดับความสำเร็จในการจัดทำแผนการจัดสวัสดิการสังคมจังหวัด /แผนปฏิบัติการ ด้านการพัฒนาสังคมจังหวัด แบบมีส่วนร่วมและผลักดันให้เป็นแผนงานหลักด้านการพัฒนาสังคมและความมั่นคง ของมนุษย์ระดับจังหวัด (ด้านประสิทธิผล) ตัวชี้วัดที่ 3 ระดับความสำเร็จในการเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรมและได้รับการบรรจุและ หรือได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากแผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด และหรือได้รับการสนับสนุนงบประมาณ จากกองทุนในสังกัดกระทรวง พม. หรือแหล่งทุนอื่นๆ (ด้านประสิทธิผล) ตัวชี้วัดที่ 4 ระดับความสำเร็จของการส่งเสริมและประสานการดำเนินงานหน่วยงาน พม. จังหวัด และภาคีเครือข่ายเพื่อขับเคลื่อนแผนการจัดสวัสดิการสังคมจังหวัด/แผนปฏิบัติการด้านการพัฒนาสังคม จังหวัด (ด้านประสิทธิผล)
[35] ตัวชี้วัดที่ 5 ระดับความสำเร็จของการส่งเสริม สนับสนุน และประสานการดำเนินงานกับ องค์กรเครือข่ายในจังหวัดทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคธุรกิจเอกชนและภาคประชาสังคมเป็นกลไ(คณะกรรมการ/ คณะอนุกรรมการ/คณะทำงานฯ) ขับเคลื่อนงานด้านการพัฒนาสังคม (ด้านประสิทธิภาพการปฏิบัติราชการ) ตัวชี้วัด ที่ 6 ระดับความสำเร็จของการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบปัญหาทางสังคม/ครัวเรือน เปราะบาง รวมทั้งการส่งต่อ (ด้านประสิทธิผล) ตัวชี้วัดที่ 7 ระดับความสำเร็จในการกำกับติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงานตาม แผนปฏิบัติราชการประจำปีของสำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์และหน่วยงานในสังกัด กระทรวง พม. (One Home) (ด้านประสิทธิผล) ตัวชี้วัดที่ 8 ร้อยละของนักสังคมสงเคราะห์หรือผู้ปฏิบัติหน้าที่นักสังคมสงเคราะห์ รับอนุญาต ตาม พ.ร.บ. วิชาชีพสังคมสงเคราะห์พ.ศ.2556(ด้านการพัฒนาองค์กร) ตัวชี้วัดที่ ๙ ระดับความสำเร็จการพัฒนาศักยภาพบุคลากรให้สามารถปฏิบัติงานตามตำแหน่ง หน้าที่ กฎหมาย รวมถึงตามนโยบายและภารกิจ สนง.พมจ. (ด้านการพัฒนาองค์กร) ตัวชี้วัดที่ ๑๐ ระดับความสำเร็จในการพัฒนาทักษะด้านดิจิทัลและทักษะอื่นๆที่สอดคล้องกับ การปฏิบัติงานตามภารกิจ (ด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ) ตัวชี้วัดที่ 1๑ ระดับประสิทธิภาพของระบบการถ่ายทอดนโยบาย และการสื่อสารในองค์กร (ด้านประสิทธิภาพการปฏิบัติราชการ) ตัวชี้วัดที่ 1๒ ระดับความโปร่งใส และเป็นธรรมในการบริหารงาน การติดตาม และการ ประเมินผลการปฏิบัติงานรายบุคคลอย่างเป็นธรรมและเสมอภาค (ด้านการพัฒนาองค์กร) ตัวชี้วัดที่ ๑๓ ระดับความสำเร็จในการสร้างเสริมวัฒนธรรมองค์กรที่ดี มุ่งสร้างสมดุลในชีวิต และการปฏิบัติงานของบุคลากร สนง.พมจ. (Work-Life Balance) (ด้านการพัฒนาองค์กร) ตัวชี้วัดที่ 1๔ ระดับความสำเร็จของการเป็นศูนย์ข้อมูลด้านการพัฒนาสังคมและความมั่นคง ของมนุษย์ในระดับจังหวัด (ด้านการพัฒนาองค์กร) ตัวชี้วัดที่ ๑๕ ระดับความสำเร็จของการจัดการความรู้ใน สนง.พมจ. (ด้านการพัฒนาองค์กร) ตัวชี้วัดที่ ๑๖ ระดับความสำเร็จในการสร้างภาพลักษณ์ที่ดีขององค์กร การเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ และรณรงค์ให้มีการรับรู้ผลงานและการดำเนินกิจกรรมเกี่ยวกับการพัฒนาสังคมและความมั่นคง ของมนุษย์ รวมทั้งความก้าวหน้าทางวิชาการและผลการปฏิบัติงานของสนง.พมจ.และภาพรวมกระทรวง พม. (ด้านการพัฒนาองค์กร) ตัวชี้วัดที่ ๑๗ ระดับความสำเร็จในการบริหารจัดการเกี่ยวกับเรื่องราวร้องทุกข์ การขอรับความ ช่วยเหลือ และแก้ไขปัญหาสังคม ในระดับจังหวัด (ด้านประสิทธิการให้บริการ) ส่วนที่ 3 :ปัญหาอุปสรรคในการปฏิบัติงาน และข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาระบบงาน/ระบบ สนับสนุนการปฏิบัติงานของ สนง.พมจ.ให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น (ไม่นำมาคิดค่าคะแนน) อำนาจหน้าที่ เป้าหมาย ตัวชี้วัด (๑) จัดทำนโยบายและ ยุทธศาสตร์การพัฒนาสังคม และความมั่นคงของมนุษย์ใน ระดับจังหวัด รวมทั้งรายงาน 1. สนง.พมจ.เป็นผู้นำด้านการ จัดทำข้อมูลทางสังคมและการ จัดทำรายงานสถานกาณ์ทางสังค จังหวัดที่ได้รับการยอมรับสามารถ นำไปใช้ประกอบการจัดทำ ตัวชี้วัดที่ ๑ ระดับความสำเร็จ การจัดทำรายงานสถานการณ์ทาง สังคมแบบมีส่วนร่วมสอดคล้องกับ
[36] อำนาจหน้าที่ เป้าหมาย ตัวชี้วัด สถานการณ์ทางสังคมและ เสนอแนะแนวทางแก้ไข แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมเพื่อ การพัฒนาจังหวัดได้ บริบทของจังหวัดและแผนพัฒนา จังหวัด (ด้านประสิทธิผล) (2) ประสานและจัดทำแผน โครงการ และกิจกรรมด้าน การพัฒนาสังคมและความ มั่นคงของมนุษย์ระดับจังหวัด ให้เป็นไปตามนโยบายของ กระทรวง 2. การผลักดันให้แผนการจัด สวัสดิการสังคมจังหวัด (ตาม พ.ร.บ.ส่งเสริมการจัดสวัสดิการ สังคม พ.ศ. 2546 และที่แก้ไข เพิ่มเติม) /แผนปฏิบัติการด้านการ พัฒนาสังคมจังหวัด เป็นแผนงาน หลักด้านการพัฒนาสังคมและ ความมั่นคงของมนุษย์ระดับจังหวัด แบบมีส่วนร่วมกับภาคีเครือข่ายที่ เกี่ยวข้อง ตัวชี้วัดที่ 2 ระดับความสำเร็จในการจัดทำแผนการ จัดสวัสดิการสังคมจังหวัด /แผนปฏิบัติ การด้านการพัฒนาสังคมจังหวัด แบบ มีส่วนร่วมและผลักดันให้เป็นแผนงาน หลักด้านการพัฒนาสังคมและความ มั่นคงของมนุษย์ระดับจังหวัด (ด้านประสิทธิผล) 3. สนง.พมจ.สามารถผลักดัน แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมด้าน การพัฒนาสังคมและความมั่นคง ของมนุษย์หรือ แผนงาน/โครงการ กิจกรรมจากแผนการจัดสวัสดิการ สังคมจังหวัด แผนปฏิบัติการด้าน การพัฒนาสังคมจังหวัด บรรจุเป็น แผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด และหรือได้รับการสนับสนุน งบประมาณจากแหล่งทุนอื่น ตัวชี้วัดที่ 3 ระดับความสำเร็จในการเสนอ แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมและได้รับ การบรรจุและหรือได้รับการสนับสนุน งบประมาณจากแผนพัฒนาจังหวัด/ กลุ่มจังหวัด และหรือได้รับการ สนับสนุนงบประมาณจากกองทุนใน สังกัดกระทรวง พม. หรือแหล่งทุน อื่นๆ (ด้านประสิทธิผล) (๓) ส่งเสริมและประสานการ ดำเนินงานการจัดกิจกรรม ต่าง ๆ ตามภารกิจและ เป้าหมาย ของหน่วยงานใน กระทรวง 4. พม.จังหวัด มีความเป็นเอกภาพ ตามหลักคิดเรื่อง One home/One Roof และมีการบูร ณาการและมีความร่วมมือในการ จัดกิจกรรมต่าง ๆ ตามภารกิจและ เป้าหมาย ของกระทรวง พม. ตัวชี้วัดที่ 4 ระดับความสำเร็จของการส่งเสริมและ ประสานการดำเนินงานหน่วยงาน พม. จังหวัด และภาคีเครือข่ายเพื่อ ขับเคลื่อนแผนการจัดสวัสดิการสังคม จังหวัด/แผนปฏิบัติการด้านการพัฒนา สังคมจังหวัด (ด้านประสิทธิผล) (๔) ส่งเสริม สนับสนุน และ ประสานการดำเนินงานกับ องค์กรเครือข่ายในจังหวัดทั้ง ภาครัฐ และภาคเอกชน (10) ปฏิบัติงานร่วมกับหรือ สนับสนุนการปฏิบัติงานของ 5.พม.จังหวัด ได้รับการยอมรับ และได้รับความร่วมมือและการมี ส่วนร่วมจากภาคีเครือข่ายในการ ขับเคลื่อนงานด้านการพัฒนาสังคม ตัวชี้วัดที่ 5 ระดับความสำเร็จของการส่งเสริม สนับสนุน และประสานการดำเนินงาน กับองค์กรเครือข่ายในจังหวัดทั้ง ภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคธุรกิจเอกชนและภาคประชาสังคม เป็นกลไก(คณะกรรมการ/ คณะอนุกรรมการ/คณะทำงานฯ)
[37] อำนาจหน้าที่ เป้าหมาย ตัวชี้วัด หน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง หรือที่ ปลัดกระทรวงมอบหมาย ขับเคลื่อนงานด้านการพัฒนาสังคม (ด้านประสิทธิภาพการปฏิบัติราชการ) (๕) ส่งเสริมและประสานงาน การช่วยเหลือผู้ประสบปัญหา ทางสังคม รวมทั้งการส่งต่อ ให้หน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง ทั้งภาครัฐและภาคเอกชน ที่มี หน้าที่และอำนาจในการจัด สวัสดิการสังคม 6. ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้รับ บริการสวัสดิการสังคมและการ พัฒนาสังคมตามภารกิจกระทรวง พม. และการประสานส่งต่อ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง อย่างทั่วถึง และเป็นธรรม ลดช่องว่างทางสังคม และเพิ่มโอกาสการเข้าถึงบริการ ภาครัฐ ตัวชี้วัดที่ 6 ระดับความสำเร็จของการให้ความ ช่วยเหลือผู้ประสบปัญหาทางสังคม/ ครัวเรือนเปราะบาง รวมทั้งการส่งต่อ (ด้านประสิทธิผล) (๖) กำกับดูแล และสนับสนุน การปฏิบัติงานของสำนักงาน พัฒนาสังคมและความมั่นคง ของมนุษย์จังหวัดสาขา และ หน่วยงานในสังกัดกระทรวง ให้ดำเนินการตาม กฎหมาย นโยบายของกระทรวง และ ติดตามและประเมินผลแผนการ ปฏิบัติราชการของกระทรวงใน ความรับผิดชอบของส่วน ราชการ และหน่วยงานสังกัด กระทรวง ในระดับจังหวัด 7. สนง.พมจ.เป็นหน่วยงานหลักใน การกำกับและสนับสนุนหน่วยงาน พม.จังหวัดมีความเป็นเอกภาพ ดำเนินงานร่วมกันตามแนวคิดตาม หลักคิดเรื่อง One home/One Roof ตัวชี้วัดที่ 7 ระดับความสำเร็จในการกำกับติดตาม และประเมินผลการปฏิบัติงานตาม แผนปฏิบัติราชการประจำปีของ สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคง ของมนุษย์และหน่วยงานในสังกัด กระทรวง พม. (One Home) (ด้านประสิทธิผล) ตัวชี้วัดที่ 8 ร้อยละของนักสังคมสงเคราะห์หรือผู้ ปฏิบัติหน้าที่นักสังคมสงเคราะห์ รับ อนุญาตตาม พ.ร.บ. วิชาชีพสังคม สงเคราะห์พ.ศ.2556 (ด้านการพัฒนาองค์กร) ตัวชี้วัดที่ ๙ ระดับความสำเร็จการพัฒนาศักยภาพ บุคลากรให้สามารถปฏิบัติงานตาม ตำแหน่งหน้าที่ กฎหมาย รวมถึงตาม นโยบายและภารกิจ สนง.พมจ. (ด้านการพัฒนาองค์กร) ตัวชี้วัดที่ ๑๐ ระดับความสำเร็จในการพัฒนาทักษะ ด้านดิจิทัลและทักษะอื่นๆที่สอดคล้อง กับการปฏิบัติงานตามภารกิจ (ด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติ ราชการ) ตัวชี้วัดที่ 1๑ ระดับประสิทธิภาพของระบบการ ถ่ายทอดนโยบาย และการสื่อสารใน องค์กร (ด้านประสิทธิภาพการปฏิบัติราชการ)
[38] อำนาจหน้าที่ เป้าหมาย ตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 1๒ ระดับความโปร่งใส และเป็นธรรมใน การบริหารงาน การติดตาม และการ ประเมินผลการปฏิบัติงานรายบุคคล อย่างเป็นธรรมและเสมอภาค (ด้านการพัฒนาองค์กร) ตัวชี้วัดที่ ๑๓ ระดับความสำเร็จในการสร้างเสริม วัฒนธรรมองค์กรที่ดี มุ่งสร้างสมดุลใน ชีวิตและการปฏิบัติงานของบุคลากร สนง.พมจ. (Work-Life Balance) (ด้านการพัฒนาองค์กร) (๗) เป็นศูนย์ข้อมูลด้านการ พัฒนาสังคมและความมั่นคง ของมนุษย์ในระดับจังหวัด 8. หน่วยงานในสังกัด พม.มีการ ดำเนินงาน การวางแผนงาน/ โครงการ/กิจกรรมบนฐานข้อมูล ทางสังคม และเป็นเจ้าภาพหลักใน การจัดทำและเผยแพร่ข้อมูลทาง สังคมที่สำคัญระดับจังหวัด ตัวชี้วัดที่ 1๔ ระดับความสำเร็จของการเป็นศูนย์ ข้อมูลด้านการพัฒนาสังคมและความ มั่นคงของมนุษย์ในระดับจังหวัด (ด้านการพัฒนาองค์กร) ตัวชี้วัดที่ ๑๕ ระดับความสำเร็จของการจัดการ ความรู้ใน สนง.พมจ. (ด้านการพัฒนาองค์กร) (๘) เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ และรณรงค์ให้มีการดำเนิน กิจกรรมเกี่ยวกับการพัฒนา สังคม และความมั่นคงของ มนุษย์ รวมทั้งความก้าวหน้า ทางวิชาการและผลการ ปฏิบัติงานของกระทรวง 9.พม.มีภาพลักษณ์ที่ดี เป็นที่ ยอมรับจากสังคมสาธารณะ และ ประชาชน รับทราบและพึงพอใจ ผล การดำเนินงาน ของ พม.จังหวัด เป็นการเพิ่มโอกาสการเข้าถึงสิทธิ ของประชาชนกลุ่มเป้าหมายตามที่ กฎหมายกำหนด ตัวชี้วัดที่ ๑๖ ระดับความสำเร็จในการสร้าง ภาพลักษณ์ที่ดีขององค์กร การเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ และรณรงค์ให้มีการรับรู้ ผลงานและการดำเนินกิจกรรมเกี่ยวกับ การพัฒนาสังคมและความมั่นคงของ มนุษย์ รวมทั้งความก้าวหน้าทาง วิชาการและผลการปฏิบัติงานของ สนง.พมจ.และภาพรวมกระทรวง พม. (ด้านการพัฒนาองค์กร) (๙) รับเรื่องราวร้องทุกข์และ แก้ไขปัญหาสังคมในระดับ จังหวัด 10.ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย สามารถเข้าถึงบริการและเข้าถึง สิทธิสวัสดิการตามภารกิจ พม. และตามที่กฎหมายกำหนดได้ โดยง่าย สะดวก รวดเร็ว ทั่วถึงและ เป็นธรรม ตัวชี้วัดที่ ๑๗ ระดับความสำเร็จในการบริหารจัดการ เกี่ยวกับเรื่องราวร้องทุกข์ การขอรับ ความช่วยเหลือ และแก้ไขปัญหาสังคม ในระดับจังหวัด (ด้านประสิทธิการให้บริการ)
[39] บทที่ 4 แนวทางการนิเทศติดตามประเมินผลของสำนักงานส่งเสริมสนับสนุนวิชาการ (สสว.) ตามแบบประเมินตนเองตามมาตรฐานสำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคง ของมนุษย์จังหวัด ฉบับปรับปรุงใหม่ ปี 2567 ด้วยคณะทำงานพัฒนามาตรฐานการปฏิบัติหน้าที่ของสำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของ มนุษย์จังหวัด มีมติที่ประชุม ในการประชุม ครั้งที่ ๑/๒๕๖๗ เมื่อวันที่ ๒๐ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๗ เวลา ๐๙.๓๐ – ๑๔.๐๐ น. เห็นชอบในหลักการเสนอปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ โดยมีข้อสั่งการมอบหมาย ให้สำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ ๑ - ๑๑ มีบทบาทหน้าที่ในการศึกษาร่างผลการทบทวนมาตรฐาน การปฏิบัติหน้าที่ของสำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด (สนง.พมจ.) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๗ พร้อมเป็นหน่วยงานสนับสนุนการนิเทศงานติดตามประเมินผลมาตรฐานการปฏิบัติหน้าที่ ของ สนง.พมจ. และปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์เห็นชอบและมอบนโยบาย ตามข้อเสนอของคณะทำงานพัฒนามาตรฐานการปฏิบัติหน้าที่ของสำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคง ของมนุษย์จังหวัด ตามหนังสือ ที่ พม ๐๒๐๘/๑๒๘๐ ลงวันที่ 18 เมษายน 2567 เรื่องการประเมินตนเอง ตามมาตรฐานการปฏิบัติหน้าที่ของสำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด ประจำปีงบประมาณ 2567 กองมาตรฐานการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ สำนักงานปลัดกระทรวงการพัฒนา สังคมและความมั่นคงของมนุษย์ จึงได้จัดทำแนวทางที่เป็นข้อสังเกต ซึ่งมุ่งให้เป็นประเด็นสำคัญที่ควรคำนึงถึง ในการนิเทศติดตาม เพื่อในท้ายที่สุด สสว. ๑-๑๑ สามารถนำผลการประเมินตนเองของจังหวัด/กลุ่มจังหวัด ไป พิจารณาร่วมกับผลการนิเทศติดตาม ซึ่งจะทำให้เห็นข้อมูลทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ สามารถวิเคราะห์สภาพ การปฏิบัติงานของ สนง.พมจ. รวมถึงข้อจำกัด ปัญหา อุปสรรค เพื่อจัดทำข้อเสนอในการเพิ่มประสิทธิภาพ ของ สนง.พมจ. ให้สามารถปฏิบัติตามมาตรฐาน สนง.พมจ. ซึ่งย่อมสะท้อนถึงประสิทธิผลและประสิทธิภาพ ของ สนง.พมจ. ในการดำเนินงานตามบทบาทหน้าที่ตามที่กำหนดในกฎกระทรวงได้นั่นเอง และในขณะเดียวกัน สสว. ๑ – ๑๑ ในฐานะหน่วยงานที่กำกับติดตามระดับกลุ่มจังหวัดยังสามารถนำผลการนิเทศติดตามในแต่ละ จังหวัด/กลุ่มจังหวัด มาจัดทำแผนเพื่อการส่งเสริมสนับสนุนวิชาการได้อย่างตรงจุด พุ่งเป้า นอกจากนั้น สสว. ๑–๑๑ยังเป็นเสมือนโซ่ข้อกลางในการนำผลการประเมินตนเองและข้อค้นพบจากการนิเทศติดตามจัดทำเป็น ข้อเสนอ เพื่อการพัฒนาประสิทธิภาพการทำงานของ สนง.พมจ. ได้อย่างแหลมคม เสนอต่อผู้ตรวจราชการและ ผู้บริหาร ทั้งระดับกรม/เทียบเท่า และผู้บริหารระดับสูงของกระทรวง เพื่อกำหนดนโยบายที่สอดคล้องกับ บริบทพื้นที่และเสริมพลังให้การปฏิบัติงานของ สนง.พมจ. มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ป้องกันและแก้ปัญหาการ บริหารงานที่มีความเสี่ยงได้อย่างทันสถานการณ์ ซึ่งในท้ายที่สุดย่อมเกิดประโยชน์สูงสุดทั้งต่อประชาชนและสร้าง ภาพลักษณ์ความน่าเชื่อถือ สามารถเป็นที่พึ่งได้ของประชาชน ตามแนวทางที่ผู้บริหารกระทรวง พม. มุ่งให้ “พม.พอใจ : ให้ทุกวัยพึงใจในพม.” สรุปแนวทาง/ข้อสังเกตประเด็นเบื้องต้นที่ สสว.ควรนำไปใช้ในการนิเทศติดตามงานเพื่อเสริม ประสิทธิภาพการขับเคลื่อนงานตามมาตรฐานการปฏิบัติงานของ สนง.พมจ. โดย สสว.อาจมีประเด็นอื่นๆ ที่สอดคล้องตามบริบทแต่ละพื้นที่ประกอบด้วยได้ ดังนี้
[4แบบประเมินตนเองตามมาตรฐานสำนักงานพัฒนาสังคมและคำชี้แจง : แบบประเมินตนเองตามมาตรฐานสำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคการขับเคลื่อนงานตามอำนาจหน้าที่ของ สนง.พมจ. ตามกฎกระทรวงแการพัฒนาประเทศ รวมถึงสอดคล้องกับนโยบาย/แผนปฏิบัติราชการขกับบริบทของพื้นที่ โดยแบบประเมินตนเองฉบับนี้ เป็นแบบประเมินตนมีหลักฐานสำคัญที่แสดงถึงการปฏิบัติงานที่ได้มาตรฐาน เป็นที่ยอมรับย่อมเป็นการรับรองว่าเป็นการปฏิบัติงานตามอำนาจหน้าที่และมีมาตรมืออาชีพย่อมจะส่งผลต่อการให้บริการประชาชนที่ได้มาตรฐานในท้ายประมวลผลที่กระทรวงฯกำหนดได้ด้วยตนเอง เพื่อนำผลการประเมิประสิทธิภาพแบบประเมินตนเองฉบับนี้ประกอบด้วย 3 ส่วน ดังนี้ ส่วนที่ 1 : ข้อมูลทั่วไปของ สนง.พมจ. เป็นข้อมูลที่ไม่นำมาคิดคะแนน เนื่อ ข้อมูลที่ส่งผลทางตรงและทางอ้อมต่อประสิทธิผลและประสิทธิ ข้อเท็จจริง เพื่อการวิเคราะห์และการจัดทำข้อเสนอเพื่อการส่งส่วนที่ 2 : แบบประเมินตนเอง ตามมาตรฐาน สนง.พมจ. จำแนกหมวดหมู่ต แนบหลักฐานประกอบ โดยระบุเป็นไฟล์ หรือ รูปถ่าย หรือ QR กำหนดถือว่าไม่ผ่านเกณฑ์ ส่วนที่ 3 :ปัญหาอุปสรรคในการปฏิบัติงาน และข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒน
40] ะความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด ประจำปีงบประมาณ 2567 คงของมนุษย์จังหวัด เป็นแบบประเมินที่มุ่งให้ สนง.พมจ.ทบทวนการบริหารงานและ แบ่งส่วนราชการ สป.พม. (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๓ ให้มีความสอดคล้องกับทิศทาง ของกระทรวงฯ นโยบาย/แผนพัฒนาจังหวัด/แผนพัฒนากลุ่มจังหวัด และสอดคล้อง นเองเชิงปฏิบัติการให้ สนง.พมจ.มีกระบวนการทำงานที่เป็นไปตามอำนาจหน้าที่และ บได้ในงานราชการ ซึ่งหากหน่วยงานดำเนินการครบถ้วนตามเกณฑ์ที่กำหนด รฐานโดยมีหลักฐานเชิงประจักษ์เป็นเครื่องยืนยัน ซึ่งนอกจากจะสร้างความเป็นองค์กร ยที่สุด และแบบประเมินฉบับนี้หน่วยงานสามารถนำข้อมูลมืประมวลผลตามระบบ มินมาใช้วางแผนในการพัฒนาระบบการทำงานของ สนง.พมจ.ให้มีประสิทธิผลและ องจากเป็นการดำเนินงานที่ส่วนใหญ่มาจากการสนับสนุนของส่วนกลาง แต่เนื่องจากเป็น ธิภาพการดำเนินงานของ สนง.พมจ. จึงขอให้หน่วยงานให้ความสำคัญและตอบตาม งเสริมสนับสนุนการดำนเนงานของ สนง.พมจ.ตรงตามปัญหาความต้องการของหน่วยงาน ตามอำนาจหน้าที่ของ สนง.พมจ. เป็นสำคัญ โดยให้หน่วยงานตอบตามข้อเท็จจริงและ R Code หรือ แหล่งข้อมูลอื่นๆ ตามแนวทางที่กำหนด โดยหากไม่มีหลักฐานแสดงตามที่ นาระบบงาน/ระบบสนับสนุนการปฏิบัติงานของ สนง.พมจ.ให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น
[4ส่วนที่ 1: ข้อมูลทั่วไปของ สนง.พมจ. 1. ชื่อสำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด.................................................................2. ที่ตั้ง เลขที่.............หมู่ที่...............ถนน.......................................ตำบล...........................อำเภอ............................. 2.1 ตั้งอยู่ในศาลากลางจังหวัด 2.2 มีอาคาร 2.3 มีอาคารเช่าแยกจากศาลากลางจังหวัด 2.4 รูปแบบ3. เบอร์โทรศัพท์................................เบอร์โทรสาร..........................e-mail………………………4. Website.......................................Facebook…………………………สื่อสารสนเทศอื่น ระบุ. 4.1 ปรับปรุงข้อมูล/มีความเคลื่อนไหวเป็นประจำ อย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง 4.3 ปรับปรุงข้อมูล/มีความเคลื่อนไหว อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง 5. จำนวนบุคลากร ข้อมูล ณ วันที่................................. 5.1ข้าราชการมีจำนวน เหมาะสม/เพียงพอต่อการปฏิบัติงาน 5.2 ข้าราชการมีจำนวน ไม่เหมาะสม/ไม่เพียงพอต่อการปฏิบัติงาน ตำแหน่งที่ขาด/ต้องการเพิ่ม คือ ระบุชื่อตำแหน่ง 5.2.1 .......................................จำนวน........ 5.2.3 .......................................จำนวน........ ๕.๓ ลูกจ้างประจำมีจำนวน เหมาะสม/เพียงพอต่อการปฏิบัติงาน ๕.๔ ลูกจ้างประจำมีจำนวน ไม่เหมาะสม/ไม่เพียงพอต่อการปฏิบัติงาน ตำแหน่งที่ขาด/ต้องการเพิ่ม คือ ระบุชื่อตำแหน่ง 5.๔.1 ................................ 5.๔.3 ................................ 5.๕ พนักงานราชการมีจำนวน เหมาะสม/เพียงพอต่อการปฏิบัติงาน 5.๖ พนักงานราชการมีจำนวน ไม่เหมาะสม/ไม่เพียงพอต่อการปฏิบัติงาน ตำแหน่งที่ขาด/ต้องการเพิ่ม คือ ระบุชื่อตำแหน่ง 5.๖.1 ................................ 5.๖.3 ................................
41] ................... ..จังหวัด...........................รหัสไปรษณีย์.................. รสำนักงานของหน่วยงานเอง บอื่น ระบุ...................................................... ………………………………….. ....................................... 4.2 ปรับปรุงข้อมูล/มีความเคลื่อนไหว อย่างน้อยไตรมาสละ 1 ครั้ง 4.4 ปรับปรุงข้อมูล/มีความเคลื่อนไหว นานมากกว่า ปี/ครั้ง ........คน 5.2.2 .......................................จำนวน..............คน ........คน 5.2.4 .......................................จำนวน.............คน .......จำนวน...........คน 5.๔.2 .......................................จำนวน...........คน ........จำนวน...........คน 5.๔.4 .......................................จำนวน...........คน .......จำนวน...........คน 5.๖.2 .......................................จำนวน...........คน .......จำนวน...........คน 5.๖.4 .......................................จำนวน...........คน
[4 ๕.๗ พนักงานกองทุนมีจำนวน เหมาะสม/เพียงพอต่อการปฏิบัติงาน ๕.๘ พนักงานกองทุนมีจำนวน ไม่เหมาะสม/ไม่เพียงพอต่อการปฏิบัติงาน ตำแหน่งที่ขาด/ต้องการเพิ่ม คือ ระบุชื่อตำแหน่ง 5.๘.1 ................................ 5.๘.3 ................................ 5.๙ พนักงานจ้างเหมาบริการ/โครงการมีจำนวน เหมาะสม/เพียงพอต่อการปฏิบัติง 5.๑๐ พนักงานจ้างเหมาบริการ/โครงการมีจำนวน ไม่เหมาะสม/ไม่เพียงพอต่อการป ตำแหน่งที่ขาด/ต้องการเพิ่ม คือ ระบุชื่อตำแหน่ง 5.๑๐.1 ............................... 5.๑๐.3 ...............................แนวทางการนิเทศงานมาตรฐานการปฏิบัติหน้าที่ของ สนง.พมจ. ต่อ สสว. 1-11• อาคารที่ตั้ง และระบบสาธารณูปโภค (ไฟฟ้า ประปา) แยกส่วนจากศาลากลางหด้านต่างๆ • ความเป็นปัจจุบันของข้อมูลโดยเฉพาะข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับรายงานสถานการณ์ทWebsite และการปรับปรุงข้อมูลของศูนย์ข้อมูล • บุคลากรเหมาะสมตามกรอบอัตรากำกลัง และหรือ เพียงพอกับการปฏิบัติงานห• บุคลาการโดยเฉพาะตำแหน่งที่จำเป็นต้องมีใบประกอบวิชาชีพ/มีบัตรเจ้าพนักงากลุ่มเป้าหมาย/ขนาดจังหวัดตามที่กระทรวงกำหนด หรือไม่ หากมีปัญหาตำแหนข้อเสนอแนะเพิ่มเติมใมได้) ในการนี้ สสว.ควรมีข้อมูลที่เป็นปัจจุบัน ซึ่งสามารถร้
42] .......จำนวน...........คน 5.๘.2 .......................................จำนวน...........คน ........จำนวน...........คน 5.๘.4 .......................................จำนวน...........คน งาน ปฏิบัติงาน .........จำนวน...........คน 5.๑๐.2 .......................................จำนวน...........คน .........จำนวน...........คน 5.๑๐.4 .......................................จำนวน...........คน 1 หรือไม่ เพื่อนำไปประกอบการพิจารณาเรื่องงบประมาณและประสิทธิภาพการให้บริการใน ทางสังคม แผนปฏิบัติการด้านการพัฒนาสังคม/แผนการจัดสวัสดิการสังคมจังหวัด การมี หรือไม่ านตามที่กฎหมายกำหนด มีหรือไม่ และมีเพียงพอสอดคล้องกับภาระงาน/ น่งใดที่ขาดแล้วส่งผลกระทบต่อประสิทธิภาพของงานทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพ (ระบุใน ร้องขอได้จากกองกลาง สป.พม. เพื่อวิเคราะห์และให้ข้อเสนอแนะในส่วนนี้
[46.อัตรากำลังและจำนวนบุคลากรที่ปฏิบัติงานจริงของ สนง.พมจ.ปัจจุบัน ลำ ดับ ตำแหน่ง กรอบ อัตรากำลัง (คน) ปฏิบัติงาน จริง (คน) ช่วยราชการ/ปฏิบัติงาน ที่อื่น (คน) ๑ ภาพรวม สนง.พมจ. ๑.๑ ข้าราชการ ๑) นักสังคมสงเคราะห์ (๑) ชำนาญการพิเศษ (๒) ชำนาญการ (๓) ปฏิบัติการ ๒) นักพัฒนาสังคม (๑) ชำนาญการพิเศษ (๒) ชำนาญการ (๓) ปฏิบัติการ ๓) ตำแหน่งอื่น (ระบุชื่อตำแหน่ง) ๑.๒ พนักงานราชการ ๑) นักสังคมสงเคราะห์ ๒) นักพัฒนาสังคม ๓) นิติกร ๔) ตำแหน่งอื่น (ระบุชื่อตำแหน่ง) ๑.๓ พนักงานกองทุน ๑.๔ พนักงานจ้างเหมาบริการ/โครงการ
43] / ตำแหน่งว่าง (คน) จำนวนนักสังคมฯที่มี ใบประกอบวิชาชีพ (คน) จำนวนผู้มีบัตรพนักงาน เจ้าหน้าที่ตามที่ กม. กำหนด (คน) เกษียณ ลาออก โอน ย้าย มี ไม่มี มี ไม่มี
[4ลำ ดับ ตำแหน่ง กรอบ อัตรากำลัง (คน) ปฏิบัติงาน จริง (คน) ช่วยราชการ/ปฏิบัติงาน ที่อื่น (คน) ๒ จำแนกบุคลากร รายกลุ่ม/ฝ่าย ๒.๑ กลุ่มการพัฒนาสังคมและสวัสดิการ ๒.๑.๑ ข้าราชการ ๑) นักสังคมสงเคราะห์ ๒) นักพัฒนาสังคม ๓) ตำแหน่งอื่น (ระบุชื่อ ตำแหน่ง) ๒.๑.๒ พนักงานราชการ ๑) นักสังคมสงเคราะห์ ๒) นักพัฒนาสังคม ๓) ตำแหน่งอื่น (ระบุชื่อ ตำแหน่ง) ๒.๑.๓ พนักงานจ้างเหมาบริการ/ โครงการ ๒.๒ กลุ่มนโยบายและวิชาการ ๒.๒.๑ ข้าราชการ ๑) นักสังคมสงเคราะห์ ๒) นักพัฒนาสังคม ๓) ตำแหน่งอื่น (ระบุชื่อ ตำแหน่ง)
44] / ตำแหน่งว่าง (คน) จำนวนนักสังคมฯที่มี ใบประกอบวิชาชีพ (คน) จำนวนผู้มีบัตรพนักงาน เจ้าหน้าที่ตามที่ กม. กำหนด (คน) เกษียณ ลาออก โอน ย้าย มี ไม่มี มี ไม่มี
[4ลำ ดับ ตำแหน่ง กรอบ อัตรากำลัง (คน) ปฏิบัติงาน จริง (คน) ช่วยราชการ/ปฏิบัติงาน ที่อื่น (คน) ๒.๒.๒ พนักงานราชการ ๑) นักสังคมสงเคราะห์ ๒) นักพัฒนาสังคม ๓) ตำแหน่งอื่น (ระบุชื่อ ตำแหน่ง) ๒.๒.๓ พนักงานจ้างเหมาบริการ/ โครงการ ๒.๓ ฝ่ายบริหารทั่วไป ๒.๓.๑ ข้าราชการ ๑) นักสังคมสงเคราะห์ ๒) นักพัฒนาสังคม ๓) เจ้าพนักงานการเงินและ บัญชี ๔) ตำแหน่งอื่น (ระบุชื่อ ตำแหน่ง) ๒.๓.๒ พนักงานราชการ ๑) นักสังคมสงเคราะห์ ๒) นักพัฒนาสังคม ๓) ตำแหน่งอื่น (ระบุชื่อ ตำแหน่ง)
45] / ตำแหน่งว่าง (คน) จำนวนนักสังคมฯที่มี ใบประกอบวิชาชีพ (คน) จำนวนผู้มีบัตรพนักงาน เจ้าหน้าที่ตามที่ กม. กำหนด (คน) เกษียณ ลาออก โอน ย้าย มี ไม่มี มี ไม่มี
[4ลำ ดับ ตำแหน่ง กรอบ อัตรากำลัง (คน) ปฏิบัติงาน จริง (คน) ช่วยราชการ/ปฏิบัติงาน ที่อื่น (คน) ๒.๓.๓ พนักงานจ้างเหมาบริการ/ โครงการ ๒.๔ ศูนย์บริการคนพิการ ๒.๔.๑ ข้าราชการ ๑) นักสังคมสงเคราะห์ ๒) นักพัฒนาสังคม ๓) ตำแหน่งอื่น (ระบุชื่อ ตำแหน่ง) ๒.๔.๒ พนักงานราชการ ๑) นักสังคมสงเคราะห์ ๒) นักพัฒนาสังคม ๓) ตำแหน่งอื่น (ระบุชื่อ ตำแหน่ง) ๒.๔.๓ พนักงานจ้างเหมาบริการ/ โครงการ แนวทางการนิเทศงานมาตรฐานการปฏิบัติหน้าที่ของ สนง.พมจ. ต่อสสว. 1-11 • บุคลากรเหมาะสมตามกรอบอัตรากำกลัง และหรือ เพียงพอกับการปฏิบัติงานหรือไม่ • บุคลาการโดยเฉพาะตำแหน่งที่จำเป็นต้องมีใบประกอบวิชาชีพ/มีบัตรเจ้าพนักงานตามจังหวัดตามที่กระทรวงกำหนด หรือไม่ หากมีปัญหาตำแหน่งใดที่ขาดแล้วส่งผลกระทบในการนี้ สสว.ควรมีข้อมูลที่เป็นปัจจุบัน ซึ่งสามารถร้องขอได้จากกองกลาง สป.พม. เพื
46] / ตำแหน่งว่าง (คน) จำนวนนักสังคมฯที่มี ใบประกอบวิชาชีพ (คน) จำนวนผู้มีบัตรพนักงาน เจ้าหน้าที่ตามที่ กม. กำหนด (คน) เกษียณ ลาออก โอน ย้าย มี ไม่มี มี ไม่มี มที่กฎหมายกำหนด มีหรือไม่ และมีเพียงพอสอดคล้องกับภาระงาน/กลุ่มเป้าหมาย/ขนาด บต่อประสิทธิภาพของงานทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพ (ระบุในข้อเสนอแนะเพิ่มเติมใมได้) พื่อวิเคราะห์และให้ข้อเสนอแนะในส่วนนี้
[47.การพัฒนาศักยภาพบุคลากร ลำดับ รายการ จำนวนผู้มีคุณสมบัทั้งหมด ๑ พมจ. ได้เข้ารับการอบรมหลักสูตรนักบริหาร ระดับสูง หรือเทียบเท่า ตามที่หลักเกณฑ์กำหนด ๒ หัวหน้ากลุ่ม/ฝ่าย ที่มีคุณสมบัติได้รับการอบรม หลักสูตรนักบริหารระดับกลางหรือหลักสูตร เทียบเท่าระดับกลาง แนวทางการนิเทศงานมาตรฐานการปฏิบัติหน้าที่ของ สนง.พมจ. ต่อ สสว. 1-11 • พมจ. เป็นผู้มีคุณสมบัติจำนวนเท่าใด /ไม่มีคุณสมบัติแต่ปฏิบัติงานปัจจุบันจำนวนเท• เฉพาะ พม.ผู้มีคุณสมบัติ.ผ่านการฝึกอบรม นักบริหารระดับสูง (นบส.)/เทียบเท่า แข้อเสนอให้กระทรวงส่งเสริมสนับสนุนผู้มีคุณสมบัติได้เข้ารับการพัฒนาศักยภาพให้ค• หัวหน้ากลุ่ม/ฝ่าย โดยเฉพาะในกลุ่มที่กำหนดให้เป็นผู้ดำเรงตำแหน่งชำนาญการพิเศอัตรากำลัง/ปฏิบัติหน้าที่อื่นด้วยเหตุผลใด • หัวหน้าฝ่ายบริหาร/การเงิน/นิติกร และตำแหน่งอื่นๆ ปฏิบัติหน้าที่ตรงตามตำแหน่• ผู้มีคุณสมบัติเข้ารับการฝึกอบรม นักบริหารระดับกลาง (นบก.) ได้เข้ารับการอบรมตตำแหน่งอำนวยการต้น/อำนวยการสูง
47] บัติ จำนวนผู้ที่ผ่านเกณฑ์ จำนวนผู้ที่ไม่ผ่านเกณฑ์ หมายเหตุ ท่าใด แต่ยังไม่ได้เข้ารับการอบรม อาจเป็นข้อจำกัดในการเลื่อนระดับที่สูงขึ้น และควรเป็น ครบถ้วนตามลำดับต่อไป ศษ เป็นไปตามกรอบอัตรากำลังหรือไม่ หรือ ชพ.ไม่ได้ดำรงตำแหน่งตามกรอบ นงหรือไม่ อย่างไร เพราะเหตุใด ตามที่มีคุณสมบัติหรือไม่ เนื่องจากเป็นคุณสมบัติที่ใช้ประกอบการพิจารณาเลื่อน
[48.การจัดพื้นที่และวัสดุอุปกรณ์ในการปฏิบัติงานให้บริการประชาชนตามภารกิจ สลำดับ รายการพื้นที่ ขนาด พื้นที่ ตร.ม ขนาดเพียงพอ/เห(กา ตามที่มีจเหมาะสม/เพียงพอ ไ1 สถานที่ปฏิบัติงานของกลุ่ม/ฝ่าย 1.1 ฝ่ายบริหารงานทั่วไป 1.2 กลุ่มการพัฒนาสังคมและสวัสดิการ 1.3 กลุ่มนโยบายและวิชาการ 1.4 ศูนย์บริการคนพิการ 2 ห้องประชุม/พื้นที่ใช้เป็นสถานที่ประชุมใน สนง.พมจ. 3 ห้องประชุม/พื้นที่ใช้เป็นสถานที่ประชุมทางไกล ออนไลน์/VDO Conference 4 ห้อง/พื้นที่สอบข้อเท็จจริง และให้คำแนะนำปรึกษาที่ เป็นสัดส่วนชัดเจน 5 ห้อง/พื้นที่จัดเก็บพัสดุ (หากจัดเก็บนอก สนง.พมจ. กรุณาระบุในหมายเหตุให้ชัดเจน 6 พื้นที่ให้บริการสำหรับผู้ที่มาขอรับบริการ (ที่นั่งพื้นที่ใช้เพื่อการให้บริการ) 7 มีพื้นที่อเนกประสงค์สำหรับบริการประชาชนและ บุคลากร ของสนง.พมจ. (เช่น ที่นั่งรอ/จุดบริการ น้ำดื่ม จุดบริการข้อมูลทำการ จุดพักผ่อนหย่อนใจ) รวม แนวทางการนิเทศงานมาตรฐานการปฏิบัติหน้าที่ของ สนง.พมจ. ต่อสสว. 1-11 • ข้อที่ 3,4,5 และ 6 มีความสำคัญเป็นลำดับที่ 1 /ข้อที่ 1ประกอบด้วย 1.1,1.2,1.3,ความสำคัญเป็นลำดับที่ 4 • สนง.พมจ./สสว. สามารถใช้การประเมินผลส่วนนี้เพื่อประกอบการจัดทำข้อเสนอในการเกี่ยวข้อง และหรือ ต่อผู้ตรวจราชการกระทรวง เพื่อสนับสนุนในส่วนที่เกี่ยวข้องต่อไป
48] สนง.พมจ. หมาะสม จริง) วัสดุอุปกรณ์ในการปฏิบัติงาน(กา ตามที่มีจริง) ระบุปัญหา/ความต้องการ (เฉพาะที่มีผลต่อ ประสิทธิภาพการให้บริการประชาชน โดยเทียบค่ากลางตามภาคผนวก 1 ) ไม่เหมาะสม/ ไม่เพียงพอ เหมาะสม/เพียงพอ ไม่เหมาะสม/ ไม่เพียงพอ ,1.4 มีความสำคัญเป็นลำดับที่ 2 /ข้อที่ 2 มีความสำคัญเป็นลำดับที่ 3 /ข้อที่ 7 มี รเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติประกอบหลักฐานอื่นๆที่เกี่ยวข้องต่อส่วนราชการที่
[4ส่วนที่ 2 ตารางแสดงผลการปฏิบัติงานเพื่อประกอบการพิจารณ จังหวัด จำแนกตามอำนาจหน้าที่ที่กฎหมายกำหนด ตัอำนาจหน้าที่ สนง.พมจ. ตามกฎกระทรวง แบ่งส่วนราชการ สป.พม. (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2563 เป้าหมาย (Goal) ตัวชี้วัด (KPI : Key Performance Indicator) เกณฑ์/ค(๑) จัดทำนโยบายและยุทธศาสตร์ การพัฒนาสังคมและความมั่นคง ของมนุษย์ในระดับจังหวัด รวมทั้ง รายงานสถานการณ์ทางสังคมและ เสนอแนะแนวทางแก้ไข 1. สนง.พมจ.เป็น ผู้นำด้านการจัดทำ ข้อมูลทางสังคม และการจัดทำ รายงานสถานการณ์ ทางสังคมจังหวัดที่ ได้รับการยอมรับ สามารถนำไปใช้ ประกอบการจัดทำ แผนงาน/โครงการ/ กิจกรรมเพื่อการ พัฒนาจังหวัดได้ ตัวชี้วัดที่ ๑. ระดับความสำเร็จ การจัดทำรายงาน สถานการณ์ทางสังคม แบบมีส่วนร่วม สอดคล้องกับบริบท ของตจังหวัดและ แผนพัฒนาจังหวัด (ประสิทธิผล) ๑.๑ มีการจัดทำรายงานสถจากฐานข้อมูลทางสังคกำหนด โดยมีความสอแผนพัฒนาจังหวัดและความมั่นคงของมนุษย์ 1.2 หน่วยงานทั้งภาครัฐแลรายงานสถานการณ์ทาโดยรับเป็นหน่วยงานหตามข้อเสนอเชิงนโยบาย๑.3 ผู้ว่าราชการจังหวัด/ คการ (ก.บ.จ.) /คณะกรจังหวัด (ก.ส.จ.) รับทรทางสังคมระดับจังหวัดจากรายงานสถานการนโยบายและแผนด้านระดับจังหวัดให้สอดคล๑.4 มีการเผยแพร่/แจ้งเวียเกี่ยวข้องทราบและหรืรายงานสถานการณ์ทานโยบาย/แผนงาน/โครจังหวัด/กลุ่มจังหวัด หเกี่ยวข้อง
49] ณาตามมาตรฐานสำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ตัวชี้วัดและเกณฑ์ที่กำหนด ค่าเป้าหมาย (Target) หลักฐานประกอบ การพิจารณา การให้คะแนน ถานการณ์ทางสังคมจังหวัดประจำปี คมครบตามรายการข้อมูลพื้นฐานที่กระทรวง อดคล้องกับบริบทของพื้นที่และสอดคล้องกับ ะนโยบายของกระทรวงการพัฒนาสังคมและ จำนวน 1 เล่ม/ปี มีหลักฐาน ๑.เล่มรายงานสถานการณ์ทางสังคม จังหวัด ๒.การนำเข้าข้อมูลสถานการณ์ทางสังคม ตามรายการข้อมูล/รูปแบบ(Template) ที่ กมพ. สป.พม. /กระทรวง พม. กำหนด ไม่มีหลักฐาน เหตุผล...................................................... อื่นๆ ................................................. ไม่ได้ดำเนินการ = 0 คะแนน ผ่าน ข้อ 1.๑-๑.2 = 1 คะแนน ผ่าน ข้อ 1.๑-๑.3 = 3 คะแนน ผ่าน ข้อ 1.๑-๑.4 = 5 คะแนน ละภาคีที่เกี่ยวข้องมีส่วนร่วมในการจัดทำ างสังคมและการจัดทำข้อเสนอเชิงนโยบาย หลัก/หน่วยงานสนับสนุนในการขับเคลื่อนงาน ยของรายงานสถานการณ์ทางสังคมจังหวัด คณะกรรมการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณา รรมการส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคม ราบและให้การยอมรับรายงานสถานการณ์ ดประจำปี และเห็นชอบให้นำข้อมูล/ข้อเสนอ รณ์ทางสังคมประจำปีใช้ประกอบการจัดทำ การพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ล้องบริบทของพื้นที่ มีหลักฐาน สำเนาหนังสือนำเสนอรายงานสถานการณ์ ทางสังคมจังหวัดประจำปีต่อผู้ว่าราชการจังหวัด และหนังสือ สสว. และ ปพม. ไม่มีหลักฐาน เหตุผล...................................................... อื่นๆ.................................................. ยนให้หน่วยงาน พม.จังหวัดและหน่วยงานที่ รือการนำข้อมูล/ข้อเสนอเชิงนโยบายจาก างสังคมประจำปีไปใช้ประกอบการจัดทำ รงการ/กิจกรรมในแผนระดับต่างๆของ หรือร่วมบูรณาการการดำเนินงานในภารกิจที่ มีหลักฐาน ๑.สำเนาหนังสือแจ้งเวียน/หนังสือเพื่อการ เผยแพร่ประชาสัมพันธ์รายงานสถานการณ์ทาง สังคมประจำปี ๒.แสดงช่องทางการเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์อื่นๆ ไม่มีหลักฐาน เหตุผล...................................................... อื่นๆ..................................................
[5แนวทางการนิเทศงานของ สสว. ตัวชี้วัดที่ 1 ระดับความสำเร็จการจัดทำรายงานสถานการณ์ทางสังคมแบบมีส่วน• มุ่งเน้นผลผลิตเรื่องการจัดทำข้อมูลทางสังคมของศูนย์ข้อมูลทางสังคมระดับจังห• มุ่งการจัดทำรายงานสถานการณ์ทางสังคมแบบมีส่วนร่วมกับส่วนราชการในจังหการรายงานผลในรายงานสถานการณ์ทางสังคมที่ถูกต้อง ได้รับการยอมรับจากห• รายงานสถานการณ์ทางสังคมและข้อเสนอทางสังคมที่จังหวัดจัดทำขึ้น มีหลักฐารูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง เช่น ผ่านการมอบนโยบายของผู้ว่าราชการจังหวัด หรือ คณะกรรมการ กสจ. เป็นต้น • รายงานสถานการณ์ทางสังคมจังหวัดมีหลักฐานที่แสดงว่า หน่วยงานภาครัฐ องสถานการณ์ทางสังคมขจังหวัด/ข้อมูลทางสังคมจังหวัดที่ สนง.พมจ.จัดทำขึ้นไปใข้อบัญญัติ เทศบัญญัติ หรือ การเข้าถึงแหล่งทรัพยากรอื่นๆ แบบพุ่งเป้า ในทิศท• การจัดทำข้อเสนอเชิงนโยบายควรมีความสอดคล้องกับสถานการณ์ ปัญหาและบแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม เพื่อผลักดันเข้าสู่แผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด/กเอกสาร/หลักฐาน • การจัดทำรายงานสถานการณ์ทางสังคม ในบทที่ 1-3 มีการกำหนดรายการข้อมข้อมูลมาจากแหล่งข้อมูลเดียวกันทั้งประเทศ เมื่อสรุปภาพรวมประเทศข้อมูลจะซึ่งรายการข้อมูล/Template เป็นไปตามที่ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย คือ หน่วยงานระดดำเนินการในแต่ละปีอยู่แล้ว (หลักฐานชุดนี้จึงสำคัญมาก เป็นการป้องกันปัญครบถ้วน ถูกต้อง และเป็นไปในทิศทางเดียวกัน) • การจัดทำรายงานสถานการณ์ทางสังคม ในบทที่ 4 เป็นการเปิดพื้นที่ให้จังหวัดนสอดคล้องกับบริบทของพื้นที่มากที่สุด • การจัดทำรายงานสถานการณ์ทางสังคมมีการนำข้อมูลจากระบบสมุดพกครอบคตระหนักถึงความสำคัญในการตรวจสอบความถูกต้อง ความครบถ้วนของข้อมูล กรณี จะสามารถยกระดับการทำงานด้านการจัดสวัสดิการสังคมระดับจังหวัดได้อย่างมืออาชีพ และเกิดประโยชน์เชิงความร่วมมือกับภาคีเครือข่าย เป็นช่องทางซึ่งย่อมจะเกิดประโยชน์สูงสุดต่อประชาชนด้วยในท้ายที่สุด
50] นร่วมสอดคล้องกับบริบทของจังหวัดและแผนพัฒนาจังหวัด หวัดที่ถูกต้อง ได้รับการยอมรับจากภาคส่วนที่เกี่ยวข้องระดับจังหวัด หวัด โดยมีการพิจารณา/ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลและการแปลค่า หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และสะท้อนสถานการณ์ของจังหวัด านที่แสดงว่าได้รับการรับทราบ/รับรู้และส่งเสริมการนำไปใช้จากผู้บริหารจังหวัดใน กลไกคณะกรรมการระดับจังหวัดที่มีอำนาจให้การรับทราบ/เห็นชอบ เช่น ค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ภาคเอกชน และภาคธุรกิจเอกชน มีส่วนร่วมในนำรายงาน ใช้ประโยชน์ในการจัดทำแผนงาน/โครงการกิจกรรม ในแผนพัฒนาจังหวัด ทางเดียวกันตามนโยบายการเพิ่มประสิทธิภาพของผู้ว่าราชการจังหวัดแบบพุ่งเป้า บริบทของจังหวัดและสามารถใช้รายงานสถานการณ์ทางสังคมไปประกอบการจัดทำ กองทุนต่างๆ/แหล่งทรัพยากรอื่นๆ มูลซึ่งส่วนใหญ่เป็นข้อมูลที่กระทรวงกำหนดแหล่งค้นหา/URL มาให้แล้ว เพื่อให้ ะได้ตรงกัน และมีบางส่วนเท่านั้นที่เก็บเพิ่มเติมจากการปฏิบัติงานของจังหวัด ดับกรม/เทียบเท่า กองใน สป.พม. กมพ. สสว. และ สนง.พมจ.ตกลง/วิพากษ์กันก่อน ญหาสรุปข้อมูลภาพรวมกลุ่มจังหวัด/ประเทศไม่ได้ สสว.ต้องกำกับติดตามให้ข้อมูล นำเสนอข้อมูลเฉพาะด้านตามบริบทของพื้นที่ เพื่อให้การจัดทำข้อเสนอเชิงนโยบาย ครัวอิเล็กทรอนิกส์ (MSO Logbook) ซึ่งเป็นการกระตุ้นและเน้นย้ำให้จังหวัด และการที่ สนง.พมจ. นำข้อมูลครัวเรือนเปราะบางมาใช้วางแผนการจัดการรายการ ้แบบพุ่งเป้า ตอบโจทย์และสนับสนุนการพัฒนาจังหวัดของผู้ว่าราชการจังหวัดได้ งและเครื่องมือสนับสนุนให้เกิดการใช้ทรัพยากรในจังหวัดให้เกิดประโยชน์สูงสุด
[5อำนาจหน้าที่ สนง.พมจ. ตามกฎกระทรวง แบ่งส่วนราชการ สป.พม. (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2563 เป้าหมาย (Goal) ตัวชี้วัด (KPI : Key Performance Indicator) เกณฑ์/ค่า(2) ประสานและจัดทำแผน โครงการ และกิจกรรมด้านการ พัฒนาสังคมและความมั่นคงของ มนุษย์ระดับจังหวัด ให้เป็นไปตาม นโยบายของกระทรวง 2. การผลักดันให้ แผนการจัด สวัสดิการสังคม จังหวัด (ตาม พ.ร.บ.ส่งเสริมการ จัดสวัสดิการสังคม พ.ศ. 2546 และที่ แก้ไขเพิ่มเติม) / แผนปฏิบัติการด้าน การพัฒนาสังคม จังหวัด เป็น แผนงานหลักด้าน การพัฒนาสังคม และความมั่นคง ของมนุษย์ระดับ จังหวัด แบบมีส่วนร่วมกับ ภาคีเครือข่ายที่ เกี่ยวข้อง ตัวชี้วัดที่ 2 ระดับความสำเร็จใน การจัดทำแผนการจัด สวัสดิการสังคม จังหวัด /แผนปฏิบัติ การด้านการพัฒนา สังคมจังหวัด แบบมี ส่วนร่วมและผลักดัน ให้เป็นแผนงานหลัก ด้านการพัฒนาสังคม และความมั่นคงของ มนุษย์ระดับจังหวัด (ประสิทธิผล) ๒.๑ มีการนำข้อมูลจากรายประจำปี ข้อมูลจากระแผนพัฒนาจังหวัด แลจังหวัด/ประเทศ และฐจัดทำแผนการจัดสวัสดิการด้านการพัฒนาสังคภารกิจกระทรวง พม.แการค้ามนุษย์ การป้องกัความเสมอภาคทางเพศ๒.๒ หน่วยงานภาคีเครือข่าหน่วยงานรับผิดชอบหสวัสดิการสังคมจังหวัด ภาครัฐ ภาคเอกชน ภาส่วนท้องถิ่น และภาคปการพัฒนาสังคมและกา๒.3 มีกระบวนการนำเสนอแผนปฏิบัติการด้านการะดับนโยบาย ต่อผู้ว่ารระดับจังหวัด เช่น คกกพม. เพื่อสร้างการยอมรักระบวนการ
51] เป้าหมาย (Target) หลักฐานประกอบ การพิจารณา การให้คะแนน ยงานสถานการณ์ทางสังคมจังหวัด ะบบ MSO Logbook และ ข้อมูลจาก ละหรือข้อมูลจากข้อเสนอสมัชชาระดับ านข้อมูลทางสังคมอื่นๆมาใช้ประกอบการ ดิการสังคมในระดับจังหวัด /แผนปฏิบัติ คมจังหวัด ครอบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมายตาม ละตามกฎหมายกำหนด เช่น การป้องกัน กันความรุนแรงในครอบครัว การส่งเสริม ศ คนไร้ที่พึ่ง/ขอทาน เป็นต้น มีหลักฐาน ๑.แผนการพัฒนาสังคมจังหวัด หรือ แผนปฏิบัติการด้านการพัฒนาสังคมจังหวัด (อาจเป็นแผน ๓-๕ ปี) 2.แบบรายงาน Check list การจัดทำ แผนการจัดสวัสดิการสังคมจังหวัด /แผนปฏิบัติการ ด้านการพัฒนาสังคมจังหวัด (แบบ ๑) ไม่มีหลักฐาน เหตุผล........................................................ อื่นๆ ................................................... ไม่ได้ดำเนินการ = 0 คะแนน ผ่าน ข้อ ๒.๑ = 1 คะแนน ผ่าน ข้อ ๒.๑-๒.2 = 3 คะแนน ผ่าน ข้อ ๒.๑-๒.3 = 5 คะแนน าย/ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย มีส่วนร่วมเป็น หลัก/หน่วยงานสนับสนุน ในแผนการจัด มีการบูรณาการกับภาคีที่เกี่ยวข้องทั้ง คธุรกิจเอกชน CSR/SE องค์กรปกครอง ประชาสังคม เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมใน ารจัดสวัสดิการสังคมจังหวัด มีหลักฐาน การบูรณาการกับภาคีที่เกี่ยวข้องใน ฐานะหน่วยงานหลัก หรือ หน่วยงานสนับสนุน ไม่มีหลักฐาน เหตุผล..................................................... อื่นๆ ................................................ อแผนการจัดสวัสดิการสังคมจังหวัด/ รพัฒนาสังคมจังหวัด อย่างเป็นทางการ ราชการจังหวัด/กลไกคณะกรรมการบริหาร .ก.ส.จ./กบจ. เป็นต้น/ผู้บริหารกระทรวง รับแผนระดับนโยบายอย่างน้อย 1 มีหลักฐาน สำเนารายงานการประชุมที่มีการนำ แผนเข้าสู่คณะกรรมการระดับจังหวัด (คกก. ก.ส.จ./กบจ.) ไม่มีหลักฐาน เหตุผล........................................................ อื่นๆ ...................................................
[5แนวทางการนิเทศงานของ สสว. ตัวชี้วัดที่ 2 ระดับความสำเร็จในการจัดทำแผนการจัดสวัสดิการสังคมจังหวัด /แผนปฏิบัติกา และความมั่นคงของมนุษย์ระดับจังหวัด • มุ่งเน้นผลผลิตเรื่องการจัดทำแผนการจัดสวัสดิการสังคมจังหวัดหรือ แผนปฏิบัติจังหวัด+ข้อมูลจากระบบสมุดพกครอบครัวอิเล็กทรอนิกส์ (MSO Logbook) ซึ่งLogbook (Cleansing Data) เพื่อในภาพรวมทั้งระดับจังหวัด และระดับประเทโดยเฉพาะสมารถใช้ประกอบการจัดทำแผนงาน/แผนงบประมาณที่สอดคล้องกับพึงได้รับการจัดสรรเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตประชาชนให้หลุดพ้นจากความยาก20 ปี หรือตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 • มุ่งเน้นให้การจัดทำแผนการจัดสวัสดิการสังคมจังหวัดหรือ แผนปฏิบัติการด้านกเพื่อให้การบริหารสถานการณ์ปัญหาของจังหวัดมีเอกภาพ พุ่งเป้าร่วมกัน และใช้แบบองค์รวมร่วมกันของทุกภาคส่วนอย่างครบวงจร ซึ่งการแก้ปัญหาจะสามารถแหลมคม และใช้เวลาในการยุติเคสได้มากขึ้น ประชาชนได้รับประโยชน์กว้างขวา• มุ่งแสดงหลักฐานที่แสดงว่า สนง.พมจ.ในฐานะเจ้าภาพหลักในการกำหนด/จัดทำแผนปฏิบัติการด้านการพัฒนาสังคมจังหวัดไปสู่การปฏิบัติได้อย่างมีรูปธรรม โดยเทศบัญญัติ หรือแหล่งทรัพยากรอื่น เอกสาร/หลักฐาน • สนง.พมจ.ทุกแห่งต้องมีแผนการจัดสวัสดิการสังคมจังหวัด (แผน กสจ.) หรือ แผเพื่อเป็นกรอบแนวทางในการดำเนินงานตามภารกิจของ สนง.พมจ. และเพื่อเป็น• การจัดทำแผนดังกล่าว ไม่ควรเป็นรูปแบบขนมชั้น โดยการนำแผนทุกกลุ่มเป้าหมจากรายงานสถานการณ์ทางสังคมจังหวัดมาประกอบการจัดทำแผนตามแนวทาง
52] ารด้านการพัฒนาสังคมจังหวัด แบบมีส่วนร่วมและผลักดันให้เป็นแผนงานหลักด้านการพัฒนาสังคม การด้านการพัฒนาสังคมจังหวัดจากฐานข้อมูลทางสังคม+รายงานสถานการณ์ทางสังคม เป็นการผลักดันให้จังหวัดมีการตรวจสอบความถูกต้อง ความครบถ้วนของข้อมูลใน MSO ศสามารถยกระดับฐานข้อมูลที่กระทรวง พม.จัดทำขึ้น ให้เป็นที่ยอมรับของทุกภาคส่วน บสภาพปัญหาและสอดคล้องกับจำนวนกลุ่มเป้าหมายอย่างเหมาะสมกับงบประมาณที่กระทรวง กจน/การเป็นประเทศรายได้ปานกลางตามที่รัฐบาลกำหนดในยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ การพัฒนาสังคมจังหวัด เป็นแผนเชิงบูรณาการ/สร้างความร่วมมือกับทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง ช้งบประมาณ/ทรัพยากรทุกภาคส่วนอย่างมีประสิทธิภาพ และเกิดการพัฒนาจังหวัด ถเข้าถึงความครบวงจร รอบด้านและมีโอกาสยกระดับคุณภาพชีวิตประชาชนได้อย่างพุ่งเป้า างขึ้น ำนโยบายด้านการจัดสวัสดิการสังคม สามารถขับเคลื่อนแผนการจัดสวัสดิการสังคมจังหวัดหรือ ยสามารถผลักดันแผนงาน/โครงการ/กิจกรรมตามแผนฯ ไปสู่แผนพัฒนาจังหวัด/ข้อบัญญัติ/ ผนปฏิบัติการด้านการพัฒนาสังคมจังหวัด ตามที่ กยผ. สป.พม.ประสานให้ทุกจังหวัดจัดทำขึ้น นแผนเชิงบูรณาการกับภาคีที่เกี่ยวข้อง มายมาเรียงต่อกัน แต่ควรใช้ข้อมูลโดยเฉพาะข้อมูลจากระบบ MSO Logbook และข้อเสนอ งการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจังหวัดแบบพุ่งเป้าหมาย+การดำเนินงานเชิงบูรณาการ
[5อำนาจหน้าที่ สนง.พมจ. ตามกฎกระทรวง แบ่งส่วนราชการ สป.พม. (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2563 เป้าหมาย (Goal) ตัวชี้วัด (KPI : Key Performance Indicator) เกณฑ์/3. สนง.พมจ. สามารถผลักดัน แผนงาน/โครงการ/ กิจกรรมด้านการ พัฒนาสังคมและ ความมั่นคงของ มนุษย์หรือ แผนงาน/โครงการ กิจกรรมจาก แผนการจัด สวัสดิการสังคม จังหวัด แผนปฏิบัติ การด้านการพัฒนา สังคมจังหวัด บรรจุ เป็นแผนพัฒนา จังหวัด/กลุ่มจังหวัด และหรือได้รับการ สนับสนุน งบประมาณจาก แหล่งทุนอื่น ตัวชี้วัดที่ 3 ระดับความสำเร็จในการ เสนอแผนงาน/โครงการ/ กิจกรรมและได้รับการ บรรจุและหรือได้รับการ สนับสนุนงบประมาณ จากแผนพัฒนาจังหวัด/ กลุ่มจังหวัด และหรือ ได้รับการสนับสนุน งบประมาณจากกองทุน ในสังกัดกระทรวง พม. หรือแหล่งทุนอื่นๆ (ประสิทธิผล) 3.1 การผลักดันการเสนอแผสนง.พมจ. และ พม.จังหประชาชนและสอดคล้อจังหวัด /กลุ่มจังหวัดแลของ อปท.ที่เกี่ยวข้อง รเพื่อขับเคลื่อนกงานแก้ไ3.2 แผนงาน/โครงการ/กิจกงบประมาณจากแผนพัฒเทศบัญญัติของ อปท.ทีแหล่งทรัพยากรอื่นๆ อ3.๓ แผนงาน/โครงการ/กิจกงบประมาณจากแผนพัฒเทศบัญญัติของ อปท.ทีแหล่งทรัพยากรอื่นๆ มา
53] /ค่าเป้าหมาย (Target) หลักฐานประกอบ การพิจารณา การให้คะแนน ผนงาน/โครงการ/กิจกรรมตามภารกิจของ หวัด ที่สอดคล้องกับปัญหาความต้องการของ องกับบริบทของพื้นที่ เพื่อบรรจุเป็นแผนพัฒนา ละหรือ ผลักดันเข้าสู่แผน/ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติ รวมถึงการเข้าถึงแหล่งทรัพยากรต่างๆ ไขปัญหาสังคมระดับจังหวัด มีหลักฐาน ๑.สำเนาแผนพัฒนาจังหวัด/และ หรือ แผน/ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติของ อปท.ที่เกี่ยวข้อง รวมถึงเข้าถึงแหล่ง ทรัพยากรต่างๆ ๒.แบบสรุปรายงานผลการเสนอ แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมเข้าสู่ แผนพัฒนาจังหวัด และหรือแหล่งทุนอื่น เพื่อขับเคลื่อนงานแก้ไขปัญหาสังคมระดับ จังหวัด (แบบ ๒) ไม่มีหลักฐาน เหตุผล........................................................ อื่นๆ.................................................... ไม่ได้ดำเนินการ = 0 คะแนน ผ่าน ข้อ ๓.1 = 1 คะแนน ผ่าน ข้อ ๓.1-๓.2 = 3 คะแนน ผ่าน ข้อ ๓.1-๓.3 = 5 คะแนน กรรม ที่ สนง.พมจ.จัดทำขึ้นได้รับการสนับสนุน ฒนาจังหวัด /กลุ่มจังหวัดและหรือ ข้อบัญญัติ/ ที่เกี่ยวข้อง กองทุนในสังกัดกระทรวง พม. รวมถึง ย่างน้อย 1 - 2 โครงการ กรรม ที่ สนง.พมจ.จัดทำขึ้นได้รับการสนับสนุน ฒนาจังหวัด /กลุ่มจังหวัดและหรือ ข้อบัญญัติ/ ที่เกี่ยวข้อง กองทุนในสังกัดกระทรวง พม. รวมถึง ากกว่า 2 โครงงการขึ้นไป
[5อำนาจหน้าที่ สนง.พมจ. ตามกฎกระทรวง แบ่งส่วนราชการ สป.พม. (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2563 เป้าหมาย (Goal) ตัวชี้วัด (KPI : Key Performance Indicator) เกณฑ์/(๓) ส่งเสริมและประสานการ ดำเนินงานการจัดกิจกรรม ต่าง ๆ ตามภารกิจและ เป้าหมาย ของหน่วยงานใน กระทรวง 4. พม.จังหวัด มี ความเป็นเอกภาพ ตามหลักคิดเรื่อง One home/One Roof และมีการ บูรณาการและมี ความร่วมมือในการ จัดกิจกรรมต่าง ๆ ตามภารกิจและ เป้าหมาย ของ กระทรวง พม. ตัวชี้วัดที่ 4 ระดับความสำเร็จของ การส่งเสริมและประสาน การดำเนินงานหน่วยงาน พม.จังหวัด และภาคี เครือข่ายเพื่อขับเคลื่อน แผนการจัดสวัสดิการ สังคมจังหวัด/แผนปฏิบัติ การด้านการพัฒนาสังคม จังหวัด ประสิทธิผล) 4.1 หน่วยงานภาครัฐ ภาคและภาคประชาชนอื่นแผนการจัดสวัสดิการสังคมจังหวัด รวมถึงกแผนงาน/โครงการ/กิจบุคลากร วัสดุสิ่งของ 4.2 มีการถ่ายทอดและเผเครือข่าย รวมถึงประชจังหวัด /แผนปฏิบัติกเห็นชอบของจังหวัด/กยอมรับและเป็นชองทเป็นระบบ อย่างน้อย การแขวนใน websiteการประชาสัมพันธ์ใน
54] /ค่าเป้าหมาย (Target) หลักฐานประกอบ การพิจารณา การให้คะแนน คเอกชน ภาคธุรกิจเอกชน ภาคประชาสังคม นๆ มีส่วนร่วมเป็นหน่วยงานหลัก/สนับสนุนใน สังคมจังหวัด/แผนปฏิบัติการด้านการพัฒนา การมีส่วนร่วมในการสนับสนุนการขับเคลื่อน จกรรมในด้านต่างๆ เช่น สนับสนุนงบประมาณ สถานที่ เป็นต้น มีหลักฐาน ๑.สำเนาแผนพัฒนาจังหวัด/และ หรือ แผน/ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติของ อปท.ที่เกี่ยวข้อง รวมถึงเข้าถึงแหล่ง ทรัพยากรต่างๆ ๒.แบบรายงานการมีส่วนร่วมของ เครือข่ายด้านการพัฒนาสังคมในการ ขับเคลื่อนแผนงาน/โครงการ/กิจกรรมด้าน การพัฒนาสังคม/แผนปฏิบัติการด้านการ พัฒนาสังคมจังหวัด (แบบ ๓) ไม่มีหลักฐาน เหตุผล........................................................ อื่นๆ.................................................... ไม่ได้ดำเนินการ = 0 คะแนน ผ่าน ข้อ ๔.1-๔.2 = 1 คะแนน ผ่าน ข้อ ๔.1-๔.3 = 3 คะแนน ผ่าน ข้อ ๔.1-๔.4 = 5 คะแนน ผยแพร่ให้หน่วยงาน พม.จังหวัด และภาคี ชาชนรับทราบแผนการจัดสวัสดิการสังคม การด้านการพัฒนาสังคมจังหวัด ที่ผ่านความ กระทรวงแล้วในสื่อสาธารณะ เพื่อสร้างการ ทางการบูรณาการของภาคส่วนที่เกี่ยวข้องอย่าง 3 ช่องทาง เช่น แจ้งเวียนหนังสือราชการ e ของหน่วยงาน พม.จังหวัด หรือ รูปสารสนเทศอื่นๆ เช่น คลิป TikTok เป็นต้น มีหลักฐาน หลักฐาน เช่น สำเนาหนังสือ/ เอกสาร/ข่าว INFO Graphic /หลักฐานที่ แสดงถึงการเผยแพร่ให้หน่วยงาน/ภาคีที่ เกี่ยวข้องรับทราบในสาธารณะ ไม่มีหลักฐาน เหตุผล........................................................ อื่นๆ....................................................
[5อำนาจหน้าที่ สนง.พมจ. ตามกฎกระทรวง แบ่งส่วนราชการ สป.พม. (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2563 เป้าหมาย (Goal) ตัวชี้วัด (KPI : Key Performance Indicator) เกณฑ์/4.3 มีการขับเคลื่อนแผนงสวัสดิการสังคม/แผนปการปฏิบัติ และสามาบรรจุในแผนพัฒนาจังปกครองส่วนท้องถิ่น กลุ่มเป้าหมายละ 1 แผนเยาวชน/คนพิการ/ผู้สูท้องถิ่น) 4.4 มีการสรุปบทเรียนเพื่อและข้อเสนอเชิงนโยบตามแนวทางและระย
55] /ค่าเป้าหมาย (Target) หลักฐานประกอบ การพิจารณา การให้คะแนน าน/โครงการ/กิจกรรมในแผนการจัดจัด ปฏิบัติการด้านการพัฒนาสังคมจังหวัด ไปสู่ รถผลักดันแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ไป งหวัด และหรือ แผน/ข้อบัญญัติขององค์กร และหรือแผนคำของบประมาณประจำปี อย่างน้อย นงาน/โครงการ/กิจกรรม ต่อปีงบประมาณ (เด็กและ สูงอายุ/สตรีและครอบครัว/คนไร้ที่พึ่ง/ชุมชน มีหลักฐาน แบบรายงานผลการดำเนินงานตาม แผนการจัดสวัสดิการสังคมจังหวัด/ แผนปฏิบัติการด้านการพัฒนาสังคม จังหวัด (แบบ ๔) ไม่มีหลักฐาน เหตุผล........................................................ อื่นๆ ................................................... การพัฒนาการปฏิบัติงานให้มีประสิทธิภาพ บายต่อผู้บริหารระดับจังหวัด/กระทรวง ะเวลาที่กระทรวง/หน่วยเจ้าของทุนกำหนด มีหลักฐาน แบบรายงานผลการดำเนินงานตาม แผนการจัดสวัสดิการสังคมจังหวัด/ แผนปฏิบัติการด้านการพัฒนาสังคม จังหวัด (แบบ ๔) ไม่มีหลักฐาน เหตุผล........................................................ อื่นๆ ...................................................
[5แนวทางการนิเทศงานของ สสว. ตัวชี้วัดที่ 3 : ระดับความสำเร็จในการเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรมและได้รและหรือได้รับการ สนับสนุนงบประมาณจากกองทุนในสังกัดกระทรวง พม. หรือแหล• มุ่งเน้นการดำเนินงานตามมติ ครม.เมื่อวันที่ 4 ธันวาคม 2566 ตามที่สำนักงาเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารงานเชิงพื้นที่ของผู้ว่าราชการจังหวัด โดยให้ความพื้นที่อย่างมีประสิทธิภาพร่วมกับหน่วยงานของรัฐ ภาคประชาชน ภาคเอกชน แท้จริง โดยกำหนดแนวทางให้กระทรวง/กรม จะต้องจัดทำแผนงาน/โครงการพ.ศ. 2569 เป็นต้นไป สนง.พมจ. และหน่วยงาน พม.จังหวัดจึงจำเป็นอย่างยิ่การจัดสวัสดิการสังคม/แผนปฏิบัติการด้านการพัฒนาสังคมจังหวัดอย่างเป็นรเพื่อให้เป็นไปตามหน้าที่อำนาจของ สนง.พมจ.อย่างแท้จริง และมีส่วนร่วมหลักอื่นๆ แหล่งทรัพยากรอื่นๆ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการขับเคลื่อนงานด้านการพัฒ• มุ่งเน้นให้มีการขับเคลื่อนแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม อย่างเป็นรูปธรรมภายใตกระทรวง พม. โดยเฉพาะ CSR/SE และส่งผลต่อการยกระดับคุณภาพชีวิตครัวกลุ่มเป้าหมายสอดคล้องกับแผนพัฒนาจังหวัด/ กลุ่มจังหวัด แผนระดับ อปท./อบจ. ตัวชี้วัดที่ 4 : ระดับความสำเร็จของการส่งเสริมและประสานการดำเนินงานหน่แผนปฏิบัติการด้านการ พัฒนาสังคมจังหวัด • มุ่งเน้นการจัดทำแผนงานด้านการจัดสวัสดิการสังคม/แผนปฏิบัติการด้านการพพื้นที่ CSR หรือ SE เพื่อลดข้อจำกัดทั้งในแง่จำนวนวงเงินงบประมาณของ พม.ที่มีอยู่จำกัด ระเบียต้องการหากมุ่งยกระดับครอบครัวเปราะบาง ย่อมต้องอาศัยความร่วมมือของหเอกสาร/หลักฐาน • ควรมีหลักฐาน/สำเนาโครงการที่ได้รับการสนับสนุนความร่วมมือทั้งในเชิงทรัพบรรจุ+ได้รับสนับสนุนงบประมาณจากแผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด/ข้อบัญ
56] รับการบรรจุและหรือได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากแผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด ล่งทุนอื่นๆ านสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เสนอเรื่องข้อเสนอการกระจายอำนาจเพื่อ สำคัญในการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัดเพื่อการขับเคลื่อนการพัฒนาและการแก้ไขปัญหาใน และภาคีเครือข่ายในพื้นที่ โดยจัดทำแผนในลักษณะบูรณาการมิติพื้นที่ (Area) อย่าง ร/กิจกรรมให้สอดคล้องกับแผนพัฒนาจังหวัด และให้มีผลต่อการจัดทำคำของบประมาณ ยิ่งที่ต้องทำงานบนฐานข้อมูลที่ครบถ้วน ถูกต้อง เชื่อถือได้ และนำมาจัดทำเป็นแผนงานด้าน ะบบ และควรมีการผลักดันแผนงาน/โครงการ/กิจกรรมตามแผนไปสู่แผนพัฒนาจังหวัด กด้านการพัฒนาสังคม/การจัดสวัสดิการสังคมของจังหวัด หรือ แผนระดับ อปท. กองทุน ฒนาสังคม ต้การมีส่วนร่วมและหรือส่งเสริมสนับสนุนทรัพยากรของหน่วยงานภาคีเครือข่ายภายนอก วเรือนเปราะบาง และสามารถตอบโจทย์การป้องกัน แก้ไข ฟื้นฟูคุณภาพชีวิตประชาชน วยงาน พม.จังหวัด และภาคีเครือข่ายเพื่อขับเคลื่อนแผนการจัดสวัสดิการสังคมจังหวัด/ พัฒนาสังคมจังหวัดเชิงความร่วมมือของภาครัฐ ภาคประชาชน ภาคเอกชน ภาคีเครือข่ายใน บ/กฎหมายของ พม.ไม่สามารถให้บริการสวัสดิการได้อย่างครบวงจร เพราะปัญหาความ หลายภาคส่วน เช่น ด้านสุขภาพ ด้านการศึกษา ด้านความมั่นคง เป็นต้น พยากร งบประมาณ และเรื่องอื่นๆ จากแหล่งทุนอื่นปกงบประมาณปกติ โดยเฉพาะการ ญัติ/เทศบัญญัติของ อบจ. หรือ อปท. /กองทุนต่างๆ/แหล่งทรัพยากรอื่นๆ
[5อำนาจหน้าที่ สนง.พมจ. ตามกฎกระทรวง แบ่งส่วนราชการ สป.พม. (ฉบับ ที่ 2) พ.ศ. 2563 เป้าหมาย (Goal) ตัวชี้วัด (KPI : Key Performance Indicator) เกณฑ์/ค่าเป(๔) ส่งเสริม สนับสนุน และ ประสานการดำเนินงานกับองค์กร เครือข่ายในจังหวัดทั้งภาครัฐ และภาคเอกชน (10) ปฏิบัติงานร่วมกับหรือ สนับสนุนการปฏิบัติงานของ หน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง หรือที่ ปลัดกระทรวงมอบหมาย 5.พม.จังหวัด ได้รับการยอมรับ และได้รับความ ร่วมมือและการมี ส่วนร่วมจากภาคี เครือข่ายในการ ขับเคลื่อนงานด้าน การพัฒนาสังคม ตัวชี้วัดที่ 5 ระดับความสำเร็จ ของการส่งเสริม สนับสนุน และ ประสานการ ดำเนินงานกับองค์กร เครือข่ายในจังหวัด ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคธุรกิจเอกชนและ ภาคประชาสังคม เป็นกลไก (คณะกรรมการ/ คณะอนุกรรมการ/ คณะทำงานฯ) ขับเคลื่อนงานด้าน การพัฒนาสังคม (ด้านประสิทธิภาพ การปฏิบัติราชการ) 5.๑ มีการจัดทำข้อมูล/ทำเนีทุกกลุ่มเป้าหมายในจังหเอกชน และภาคประชาส5.๒ มีการเปิดโอกาสให้องค์กรเคกลไก(คณะกรรมการ/คณะอด้านการพัฒนาสังคมทุกปรอย่างน้อย 1 กิจกรรม/ประ5.๓ เครือข่ายด้านการพัฒนาแผนงาน/โครงการ/กิจกสวัสดิการสังคม /แผนปฏระดับต่างๆ ทุกประเภทกประเภทกลุ่มเป้าหมายต
57] ป้าหมาย (Target) หลักฐานประกอบ การพิจารณา การให้คะแนน ยบองค์กรเครือข่ายด้านการพัฒนาสังคม หวัด ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคธุรกิจ สังคม มีหลักฐาน แบบรายงานข้อมูล/ทำเนียบองค์กร เครือข่ายด้านการพัฒนาสังคม ในจังหวัดประจำปี(แบบ ๕) ไม่มีหลักฐาน เหตุผล........................................................ อื่นๆ ................................................... ไม่ได้ดำเนินการ = 0 คะแนน ผ่าน ข้อ ๕.1 = 1 คะแนน ผ่าน ข้อ ๕.1-๕.2 = 3 คะแนน ผ่าน ข้อ ๕.1-๕.3 = 5 คะแนน ครือข่ายในจังหวัดมีบทบาทในการร่วมเป็น อนุกรรมการ/คณะทำงานฯ) ขับเคลื่อนงาน ระเภทกลุ่มเป้าหมาย เภทกลุ่มเป้าหมายตามภารกิจ พม. มีหลักฐาน ๑.สำเนาคำสั่ง (คณะกรรมการ/ คณะอนุกรรมการ/คณะทำงาน) ๒.แบบรายงานการมีส่วนร่วมเป็นกลไกการ ขับเคลื่อนงานด้านการพัฒนาสังคมระดับจังหวัดของ องค์กรเครือข่าย(แบบ ๖) (เช่น ร่วมเป็น คณะกรรมการ/คณะอนุกรรมการ/คณะทำงานฯ) ขับเคลื่อนงานด้านการพัฒนาสังคม ไม่มีหลักฐาน เหตุผล........................................................ อื่นๆ ................................................... าสังคมมีส่วนร่วมในการขับเคลื่อน รรมด้านการพัฒนาสังคม/แผนการจัด ฏิบัติการด้านการพัฒนาสังคมจังหวัด กลุ่มเป้าหมาย อย่างน้อย 1 กิจกรรม/ ามภารกิจ พม. มีหลักฐาน แบบรายงานการมีส่วนร่วมของเครือข่าย ด้านการพัฒนาสังคมในการขับเคลื่อนแผนงาน/ โครงการ/กิจกรรมด้านการพัฒนาสังคม/แผนการ จัดสวัสดิการสังคมประจำปี/แผนปฏิบัติการด้าน การพัฒนาสังคมจังหวัด ประจำปี(แบบ ๓) (เช่น ด้านงบประมาณ สถานที่ บุคลากร วัสดุ สิ่งของ เป็นต้น) ไม่มีหลักฐาน เหตุผล........................................................
[5แนวทางการนิเทศงานของ สสว. ตัวชี้วัดที่ 5 ระดับความสำเร็จของการส่งเสริม สนับสนุน และประสานการดำเนินภาคประชาสังคมเป็น กลไก(คณะกรรมการ/คณะอนุกรรมการ/คณะทำงานฯ) ขับเคลื่อนงา• มุ่งเน้นการมีระบบฐานข้อมูลของเครือข่ายด้านการพัฒนาสังคม/การจัดสวัสดิกาเครือข่ายได้จริง • การส่งเสริมสนับสนุนให้เครือข่ายที่เกี่ยวข้องมีส่วนร่วมในการเป็นทางกลไก หรือ• ในแผนการจัดสวัสดิการสังคมจังหวัด/แผนปฏิบัติการด้านการพัฒนาสังคมจังหวัตามแผนงาน/โครงการ/กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง โดยมีส่วนร่วมในรูปแบบใดรูปแบบหดำเนินงานเรื่องนั้นๆมีประสิทธิภาพมากขึ้น และเอื้ออำนวยให้การยกระดับคุณภสังคม/การจัดสวัสดิการสังคมมีประสิทธิภาพเพิ่มมากขึ้น/ครบวงจร แบบองค์รวมมากขึ้น เกิดประโยชน์ต่อประชาชน ชุมชน สังคมและประเทศกว้างเอกสาร/หลักฐาน • ควรมีหลักฐาน/สำเนาโครงการที่ได้รับการสนับสนุนความร่วมมือจากภาคีเครือขปกงบประมาณปกติ โดยเฉพาะการบรรจุ+ได้รับสนับสนุนงบประมาณจากแผนพต่างๆ/แหล่งทรัพยากรอื่นๆ
58] นงานกับองค์กรเครือข่ายในจังหวัดทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคธุรกิจเอกชนและ านด้านการพัฒนาสังคม ารสังคมที่เป็นทุนทางสังคมระดับจังหวัด ในรูปแบบทำเนียบที่สามารถเข้าถึงองค์กร อสนับสนุนการดำเนินงานด้านการพัฒนาสังคม/การจัดสวัสดิการสังคม วัดมีการระบุให้เครือข่ายมีส่วนร่วมเป็นเจ้าภาพหลัก/สนับสนุนการขับเคลื่อนงาน หนึ่ง เช่น ด้านงบประมาณ บุคลากร หรือความร่วมมืออื่นๆ ทั้งนี้เพื่อให้การ ภาพชีวิตครัวเรือนเปราะบาง หรือ การดำเนินงานตามวัตถุประสงค์ด้านการพัฒนา งขวางมากขึ้น ข่ายที่เกี่ยวข้องทั้งในเชิงทรัพยากร งบประมาณ และเรื่องอื่นๆ จากแหล่งทุนอื่น พัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด/ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติของ อบจ. หรือ อปท. /กองทุน