หลกั สูตรสถานศึกษา
โรงเรียนอนุบาลห้วยกระเจา
พุทธศักราช ๒๕๖๓
ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน
พทุ ธศักราช ๒๕๕๑
สํานักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๒
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ
ประกาศโรงเรยี นอนบุ าลหวยกระเจา
เรอ่ื ง ใหใ ชหลกั สูตรโรงเรยี นอนุบาลหวยกระเจา พุทธศกั ราช ๒๕๖๑
ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑
……………………………….
ตามทโ่ี รงเรยี นอนุบาลหวยกระเจา ไดประกาศใชห ลกั สตู รโรงเรียนอนบุ าลหวยกระเจา
พทุ ธศักราช ๒๕๖๑ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ โดยเร่ิมใชหลักสูตร
ดังกลา วกบั นักเรียนทกุ ระดับชน้ั ในปการศกึ ษา ๒๕๖๑ เพื่อใหส อดคลองรบั กบั นโยบายเรงดว นของ
รฐั มนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ เพ่อื ใหผ ูเรยี นพัฒนาทักษะกระบวนการคิด วิเคราะห มีเวลาในการ
ทำกิจกรรมเพื่อพฒั นาความรู ความสามารถและทักษะ การปลูกฝงคุณธรรมจริยธรรม การสรางวนิ ัย
การมีจิตสำนกึ รับผดิ ชอบตอ สังคม ยึดมน่ั ในสถาบันชาติศาสนา พระมหากษัตรยิ และมคี วามภาคภมู ใิ จ
ในความเปน ไทย ตลอดจนการเรยี นการสอนในวชิ าประวตั ิศาสตร และหนาท่ีพลเมือง รวมถงึ การสอนศลี ธรรม
แกน ักเรยี น โรงเรยี นอนบุ าลหว ยกระเจา ไดด ำเนินการจดั ทำหลักสตู รโรงเรยี นอนุบาลหว ยกระเจา
พทุ ธศักราช ๒๕๖๑ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ สอดคลองตามประกาศ
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร เรือ่ ง การบรหิ ารจดั การเวลาเรียน และปรับมาตรฐานและตวั ชี้วดั สอดคลอ งกับ คำสั่ง
สพฐ. ท่ี ๑๒๓๙/๖๐ และประกาศสพฐ.ลงวันท่ี ๘ มกราคม ๒๕๖๑ เปน ท่เี รยี บรอ ยแลว
ท้งั นห้ี ลักสตู รโรงเรียนอนุบาลหวยกระเจา ไดร บั ความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษา
ขัน้ พ้ืนฐาน เมื่อวันท่ี ๒๐ เมษายน ๒๕๖๑ จงึ ประกาศใหใชหลกั สูตรโรงเรยี นตั้งแตบ ดั น้เี ปน ตนไป
ประกาศ ณ วนั ที่ ๒๐ เดือน เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๑
(นางอนงค หอมทวนลม)
ผอู ำนวยการโรงเรียนอนุบาลหว ยกระเจา
ประกาศโรงเรียนอนุบาลหว ยกระเจา
เรื่อง ใหใ ชหลกั สตู รโรงเรียนอนบุ าลหวยกระเจา พุทธศกั ราช ๒๕๖๓
ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑
……………………………….
ดวยสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีคำสั่งที่ ๙๒๑/๒๕๖๑ ลงวันที่ ๓ พฤษภาคม
๒๕๖๑ เร่ือง ยกเลิกมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดสาระท่ี ๒ การออกแบบและเทคโนโลยี และสาระที่ ๓
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ในกลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี ตามหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และเปลี่ยนช่ือสาระการเรียนรู ต้ังแตปการศึกษา ๒๕๖๓
เปนตนไปนั้น มีผลใหโรงเรียนอนุบาลหวยกระเจา ตองมีการปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา ตามหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ใหสอดคลองกับการเปลี่ยนแปลงชื่อกลุมสาระการเรียนรู
ตามคำสั่งดงั กลา ว โดยใหมกี ารเปลย่ี นแปลงชอ่ื กลุมสาระการเรียนรูตามคำสง่ั ทุกชน้ั ป
ทง้ั นี้ หลกั สตู รโรงเรยี นอนบุ าลหว ยกระเจา พทุ ธศักราช ๒๕๖๓ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษา
ข้ันพ้ืนฐานพุทธศักราช ๒๕๕๑ ไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน เมื่อวันที่ ๓๐
เดือน มิถุนายน พ.ศ.๒๕๖๓ จึงประกาศใหใชหลักสูตรโรงเรียนอนุบาลหวยกระเจา พุทธศักราช ๒๕๖๓ ตั้งแต
ภาคเรียนท่ี ๑ ปการศกึ ษา ๒๕๖๓ เปน ตนไป
ประกาศ ณ วนั ที่ ๓๐ เดอื น มิถุนายน พ.ศ.๒๕๖๓
(นางอนงค หอมทวนลม)
ผูอำนวยการโรงเรยี นอนบุ าลหว ยกระเจา
๑
บทที่ ๑
ส่ วนนํา
ความหมาย
หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนอนุบาลหว้ ยกระเจา พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษา
ข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒ ๕๕๑ เป็ นแผน แนวทาง หรื อข้อกําหนดของการจัดการศึกษาของโรงเรี ยน
อนุบาลหว้ ยกระเจา ท่ีจะใชใ้ นการจดั การเรียนการสอนเพ่อื พฒั นาผเู้ รียนใหม้ ีคุณภาพตามมาตรฐานที่กาํ หนด ม่งุ พฒั นา
ผเู้ รียนให้เป็นคนดี มีปัญญา มีความสุข มีศกั ยภาพในการศึกษาต่อ และประกอบอาชีพโดยมุ่งหวงั ให้มีความสมบูรณ์
ท้ังด้านร่างกาย จิตใจ และสติปัญญา อีกท้ังมีความรู้และทักษะท่ีจาํ เป็ นสําหรับการดํารงชีวิต และมีคุณภาพได้
มาตรฐานสากลเพื่อการแข่งขันในยุคปัจจุบัน ดังน้ันหลักสู ตรสถานศึกษาโรงเรี ยนอนุบาลห้วยกระเจา
พุทธศกั ราช ๒๕๖๓ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ จึงประกอบดว้ ยสาระสําคญั
ของหลกั สูตรแกนกลาง สาระความรู้ท่ีเกี่ยวขอ้ งกับชุมชนทอ้ งถิ่น และสาระสําคญั ท่ีสถานศึกษาพฒั นาเพิ่มเติม
โดยจดั เป็ นสาระการเรียนรู้รายวิชาพ้ืนฐานตามมาตรฐานการเรียนรู้และตวั ช้ีวดั และสาระการเรียนรู้รายวิชาเพ่ิมเติม
จดั กิจกรรมพัฒนาผูเ้ รียนเป็ นรายปี ในระดับประถมศึกษา เป็ นรายภาคในระดับมัธยมศึกษาตอนตน้ และกาํ หนด
คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ของสถานศึกษาตามคุณลกั ษณะอนั พึงประสงคข์ องหลกั สูตรแกนการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน
พุทธศกั ราช ๒๕๕๑
ความสําคญั
หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนอนุบาลห้วยกระเจา พุทธศกั ราช ๒๕๖๓ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษา
ข้นั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ มีความสําคญั ในการพฒั นาผูเ้ รียนให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ ตวั ช้ีวดั และ
คุณลกั ษณะอนั พึงประสงคต์ ามท่ีกาํ หนดไวเ้ ป็นแนวทางใหผ้ บู้ ริหารสถานศึกษา ครู อาจารย์ ตลอดจนผเู้ ก่ียวขอ้ งกบั การ
จดั การศึกษาของสถานศึกษา ในการจดั มวลประสบการณ์ให้แก่ผเู้ รียน ไดพ้ ฒั นาใหบ้ รรลุถึงคุณภาพตามมาตรฐานใน
การพฒั นาเยาวชนของชาติ นอกเหนือจากการใชเ้ ป็ นแนวทาง หรือขอ้ กาํ หนดในการจดั การศึกษาของสถานศึกษาให้
บรรลุตามจุดหมายของการจดั การศึกษาแลว้ หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนอนุบาลห้วยกระเจา พุทธศกั ราช ๒๕๖๓
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ที่พัฒนาข้ึนยงั เป็ นหลักสูตรท่ีมีจุดมุ่งหมาย
ใหค้ รอบครัว ชุมชน องคก์ รในทอ้ งถิ่น ท้งั ภาครัฐและเอกชนเขา้ ร่วมจดั การศึกษาของสถานศึกษา โดยมีแนวทางสําคญั
ที่สถานศึกษากาํ หนดไวใ้ นหลกั สูตรสถานศึกษา ดงั น้ี
๒
๑. หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนอนุบาลหว้ ยกระเจา พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓ ตามหลกั สูตรแกนกลาง
การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ มุ่งพฒั นาให้ผูเ้ รียนเกิดความสนุกสนาน และความเพลิดเพลินในการเรียนรู้
เปรียบเสมือนเป็ นวิธีสร้างกาํ ลงั ใจ และเร้าให้เกิดความกา้ วหน้าแก่ผูเ้ รียนให้มากท่ีสุด มีความรู้สูงสุด ผเู้ รียนทุกคนมี
ความเขม้ แข็ง ความสนใจ มีประสบการณ์ และความมน่ั ใจ เรียนและทาํ งานอย่างเป็ นอิสระและร่วมใจกนั มีทกั ษะ
ในการอ่านออกเขียนได้ คิดเลขเป็ น รู้ขอ้ มูลสารสนเทศ และเทคโนโลยีส่ือสาร ส่งเสริมจิตใจที่อยากรู้อยากเห็น และ
มีกระบวนการคดิ อยา่ งมีเหตุผล
๒. หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนอนุบาลหว้ ยกระเจา พุทธศกั ราช ๒๕๖๓ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษา
ข้นั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ ส่งเสริมการพฒั นาดา้ นจิตวิญญาณ จริยธรรม สังคม และวฒั นธรรม พฒั นาหลกั การ
ในการจาํ แนกระหวา่ งถูกและผิด เขา้ ใจและศรัทธาในความเชื่อของตน ความเช่ือและวฒั นธรรมที่แตกต่างกนั พฒั นา
หลกั คุณธรรมและความอิสระของผูเ้ รียน และช่วยให้เป็ นพลเมืองที่มีความรับผิดชอบ สามารถช่วยพฒั นาสังคม
ให้เป็นธรรมข้ึน มีความเสมอภาค พฒั นาความตระหนกั เขา้ ใจ และยอมรับสภาพแวดลอ้ มท่ีตนดาํ รงชีวติ อยู่ ยดึ มนั่
ในขอ้ ตกลงร่วมกนั ต่อการพฒั นาท่ียง่ั ยนื ท้งั ในระดบั ส่วนตน ระดบั ทอ้ งถ่ิน ระดบั ชาติ และระดบั โลก สร้างใหผ้ เู้ รียน
มีความพร้อมในการเป็นผบู้ ริโภคที่ตดั สินใจแบบมีขอ้ มลู เป็นอิสระ และมีความรับผดิ ชอบ
ลกั ษณะของหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนอนุบาลห้วยกระเจา พุทธศักราช ๒๕๖๓
หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนอนุบาลห้วยกระเจา พุทธศกั ราช ๒๕๖๓ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษา
ข้นั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ เป็ นหลกั สูตรที่สถานศึกษาไดพ้ ฒั นาข้ึนเพ่ือพฒั นาผูเ้ รียนในระดบั ประถมศึกษา และ
มธั ยมศึกษาตอนตน้ โดยยดึ องคป์ ระกอบหลกั สาํ คญั ๔ ส่วนคอื หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน
พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) หลักสูตรอาเซียน สาระการเรียนรู้ท้องถ่ิน และสาระสําคัญ
ที่สถานศึกษาพฒั นาเพ่ิมเติม เป็ นกรอบในการจดั ทาํ รายละเอียดเพื่อให้เป็ นไปตามมาตรฐานการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน
ท่ีกาํ หนด เหมาะสมกับสภาพชุมชนและทอ้ งถ่ิน และจุดเน้นของสถานศึกษา โดยหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียน
อนุบาลห้วยกระเจา พุทธศักราช ๒๕๖๓ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
ที่พฒั นาข้นึ มีลกั ษณะของหลกั สูตร ดงั น้ี
๑. เป็นหลกั สูตรเฉพาะของสถานศึกษาโรงเรียนอนุบาลหว้ ยกระเจา สาํ หรับจดั การศึกษาในหลกั สูตแกนกลาง
การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน จดั ระดบั การศึกษาเป็น ๒ ระดบั คือ ระดบั ประถมศึกษา(ช้นั ประถมศึกษาปี ที่ ๑ – ๖) และระดบั
มธั ยมศึกษาตอนตน้ (ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ ๑ – ๓)
๒. มีความเป็นเอกภาพ หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนอนุบาลหว้ ยกระเจา พุทธศกั ราช ๒๕๖๓ ตามหลกั สูตร
แกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ เป็นหลกั สูตรของสถานศึกษาสาํ หรับใหค้ รูผสู้ อน
นาํ ไปจดั การเรียนรู้ไดอ้ ยา่ งหลากหลาย โดยกาํ หนดให้
๒.๑ มีสาระการเรียนรู้ที่สถานศึกษาใชเ้ ป็นหลกั เพอื่ สร้างพ้นื ฐานการคิด การเรียนรู้ และ
การแกป้ ัญหา ประกอบดว้ ย ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม
๓
๒.๒ มีสาระการเรียนรู้ท่ีเสริมสร้างความเป็นมนุษย์ ศกั ยภาพการคดิ และการทาํ งาน ประกอบดว้ ย
สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยี และภาษาองั กฤษ
๒.๓ มีสาระการเรียนรู้เพิม่ เติม โดยจดั ทาํ เป็นรายวิชาเพ่ิมเติมตามความเหมาะสมและสอดคลอ้ งกบั
โครงสร้างเวลาเรียน สาระการเรียนรู้ทอ้ งถ่ิน ความตอ้ งการของผเู้ รียน และบริบทของสถานศึกษา
๒.๓ มีกิจกรรมพฒั นาผเู้ รียน เพื่อพฒั นาผเู้ รียนท้งั ดา้ นร่างกาย จิตใจ สติปัญญา อารมณ์ และ สงั คม
เสริมสร้างการเรียนรู้นอกจากสาระการเรียนรู้ ๘ กลุ่ม และการพฒั นาตนตามศกั ยภาพ
๒.๔ มีการกาํ หนดมาตรฐานของสถานศึกษาท่ีสอดคลอ้ งกบั มาตรฐานระดบั ตา่ ง ๆ เพ่ือเป็นเป้าหมาย
ของการพฒั นาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา จดั ทาํ รายละเอียดสาระการเรียนรู้ และจดั กระบวนการเรียนรู้
ใหส้ อดคลอ้ งกบั สภาพในชุมชน สังคม และภมู ิปัญญาทอ้ งถิ่น
๓. มีมาตรฐานการเรียนรู้เป็ นเป้าหมายสําคญั ของการพฒั นาคุณภาพผูเ้ รียน หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียน
อนุบาลห้วยกระเจา พุทธศักราช ๒๕๖๓ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
เป็นหลกั สูตร ท่ีมีมาตรฐานเป็นตวั กาํ หนดเก่ียวกบั คุณลกั ษณะที่พึงประสงคข์ องผเู้ รียน เพอื่ เป็นแนวทางในการประกนั
คุณภาพการศึกษา โดยมีการกาํ หนดมาตรฐานไว้ ดงั น้ี
๓.๑ มาตรฐานหลกั สูตร เป็นมาตรฐานดา้ นผเู้ รียนหรือผลผลิตของหลกั สูตรสถานศึกษา อนั เกิดจาก
การไดร้ ับการอบรมสั่งสอนตามโครงสร้างของหลกั สูตรท้งั หมดใชเ้ ป็นแนวทางในการตรวจสอบคุณภาพโดยรวมของ
การจดั การศึกษาตามหลกั สูตรในทกุ ระดบั และสถานศึกษาตอ้ งใชส้ าํ หรับการประเมินตนเองเพ่ือจดั ทาํ รายงานประจาํ ปี
ตามบทบญั ญตั ิในพระราชบญั ญตั ิการศึกษา นอกจากน้ียงั เป็นแนวทางในการกาํ หนดแนวปฏิบตั ิในการส่งเสริม กาํ กบั
ติดตาม ดูแล และปรับปรุงคุณภาพ เพอ่ื ใหไ้ ดต้ ามมาตรฐานที่กาํ หนด
๓.๒ มีตวั ช้ีวดั ช้นั ปี เป็ นเป้าหมายระบุสิ่งที่นกั เรียนพึงรู้และปฏิบตั ิได้ รวมท้งั คุณลกั ษณะของผเู้ รียน
ในแต่ละระดับช้ัน ซ่ึงสะท้อนถึงมาตรฐานการเรียนรู้ มีความเฉพาะเจาะจง และมีความเป็ นรูปธรรม นําไปใช้
ในการกาํ หนดเน้ือหา จดั ทาํ หน่วยการเรียนรู้ จดั การเรียนการสอน และเป็นเกณฑส์ าํ คญั สาํ หรับการวดั ประเมินผล
เพื่อตรวจสอบคณุ ภาพผูเ้ รียน ตรวจสอบพฒั นาการผเู้ รียน ความรู้ ทกั ษะ กระบวนการ คณุ ธรรม จริยธรรม
และคา่ นิยมอนั พึงประสงค์ และเป็นหลกั ในการเทียบโอนความรู้และประสบการณ์จากการศึกษาในระบบ นอกระบบ
และตามอธั ยาศยั
๓.๓ มีความเป็นสากล ของหลกั สูตรสถานศึกษา คอื มงุ่ ใหผ้ เู้ รียนมีความรู้ ความสามารถในเร่ือง
เทคโนโลยสี ารสนเทศ ภาษาองั กฤษ การจดั การส่ิงแวดลอ้ ม ภูมิปัญญาทอ้ งถ่ิน มีคุณลกั ษณะที่จาํ เป็นในการอยใู่ นสงั คม
ไดแ้ ก่ ความซ่ือสัตย์ ความรับผดิ ชอบ การตรงต่อเวลา การเสียสละ การเอ้ือเฟ้ื อ โดยอยู่บนพ้ืนฐานของความพอดี
ระหวา่ งการเป็นผนู้ าํ และผตู้ าม การทาํ งานเป็นทีม และการทาํ งานตามลาํ พงั การแขง่ ขนั การรู้จกั พอ และการร่วมมือกนั
เพ่อื สังคม วิทยาการสมยั ใหม่ และภูมิปัญญาทอ้ งถ่ิน การรับวฒั นธรรมตา่ งประเทศ และการอนุรักษว์ ฒั นธรรมไทย
การฝึกฝนทกั ษะเฉพาะทาง และการบรู ณาการในลกั ษณะท่ีเป็นองคร์ วม
๔. มีความยดื หยนุ่ หลากหลาย หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนอนุบาลหว้ ยกระเจา พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓
๔
ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ เป็นหลกั สูตรท่ีสถานศึกษาจดั ทาํ รายละเอียดต่าง ๆ
โดยยดึ โครงสร้างหลกั ที่กาํ หนดไวใ้ นหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง
พ.ศ. ๒๕๖๐) เป็ นขอบข่ายในการจดั ทาํ จึงทาํ ให้หลกั สูตรของสถานศึกษามีความยดื หยุ่น หลากหลาย สอดคลอ้ งกบั
สภาพปัญหา และความตอ้ งการของทอ้ งถ่ิน โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ มีความเหมาะสมกบั ตวั ผเู้ รียน
๕. การวดั และประเมินผล เนน้ หลกั การพ้ืนฐานสองประการคือการประเมินเพื่อพฒั นาผูเ้ รียนและเพื่อตดั สิน
ผลการเรียน โดยผูเ้ รียนตอ้ งไดร้ ับการพฒั นาและประเมินตามตวั ช้ีวดั เพื่อให้บรรลุตามมาตรฐานการเรียนรู้ สะทอ้ น
สมรรถนะสาํ คญั และคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงคข์ องผเู้ รียนเป็นเป้าหมายหลกั ในการวดั และประเมินผลการเรียนรู้
ในทุกระดับไม่ว่าจะเป็ นระดบั ช้ันเรียน ระดับสถานศึกษา ระดบั เขตพ้ืนท่ีการศึกษา และระดับชาติ การวดั และ
ประเมินผลการเรียนรู้ เป็นกระบวนการพฒั นาคุณภาพผเู้ รียน และใชผ้ ลการประเมินเป็นขอ้ มูลและสารสนเทศที่แสดง
พฒั นาการ ความกา้ วหนา้ และความสําเร็จทางการเรียนของผูเ้ รียน ตลอดจนขอ้ มูลที่เป็นประโยชน์ต่อการส่งเสริมให้
ผเู้ รียนเกิดการพฒั นาและเรียนรู้อยา่ งเตม็ ตามศกั ยภาพ
วิสัยทัศน์
หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนอนุบาลหว้ ยกระเจา พุทธศกั ราช ๒๕๖๓ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั
พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ จดั การศึกษาใหผ้ เู้ รียนไดร้ ับการพฒั นาเตม็ ตามศกั ยภาพ มีคุณธรรม จริยธรรม
รักษค์ วามเป็นไทย นอ้ มนาํ ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งโดยชุมชนมีส่วนร่วมในการจดั การศึกษา
หลกั การ
หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนอนุบาลหว้ ยกระเจา พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษา
ข้นั พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ มีหลกั การที่สาํ คญั ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑
(ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) มีหลกั การที่สาํ คญั ดงั น้ี
๑. เป็นหลกั สูตรการศึกษาเพ่อื ความเป็นเอกภาพของชาติ มีจุดหมายและมาตรฐานการเรียนรู้เป็นเป้าหมาย
สาํ หรับพฒั นาเด็ก และเยาวชน ใหม้ ีความรู้ ทกั ษะ เจตคติ และคุณธรรมบนพ้นื ฐานของความเป็นไทยควบค่กู บั
ความเป็ นสากล
๒. เป็นหลกั สูตรการศึกษาเพ่ือปวงชน ที่ประชาชนทุกคนมีโอกาสไดร้ ับการศึกษาอยา่ งเสมอภาค และมีคุณภาพ
๓. เป็นหลกั สูตรการศึกษาท่ีสนองการกระจายอาํ นาจ ใหส้ งั คมมีส่วนร่วมในการจดั การศึกษาใหส้ อดคลอ้ งกบั
สภาพและความตอ้ งการของทอ้ งถ่ิน
๔. เป็นหลกั สูตรการศึกษาท่ีมีโครงสร้างยดื หยนุ่ ท้งั ดา้ นสาระการเรียนรู้ เวลา และการจดั การเรียนรู้
๕. เป็นหลกั สูตรการศึกษาที่เนน้ ผูเ้ รียนเป็นสาํ คญั
๖. เป็นหลกั สูตรการศึกษาสาํ หรับการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอธั ยาศยั ครอบคลมุ
ทกุ กลมุ่ เป้าหมาย สามารถเทียบโอนผลการเรียนรู้ และประสบการณ์
๕
จดุ หมาย
หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนอนุบาลหว้ ยกระเจา พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั
พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ ม่งุ พฒั นาผเู้ รียนใหเ้ ป็นคนดี มีปัญญา มีความสุข มีศกั ยภาพในการศึกษาตอ่ และ
ประกอบอาชีพ จึงกาํ หนดเป็นจุดหมายเพื่อใหเ้ กิดกบั ผเู้ รียน เมื่อจบการศึกษาตามหลกั สูตร ดงั น้ี
๑. มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมท่ีพงึ ประสงค์ เห็นคณุ ค่าของตนเอง มีวนิ ยั และปฏิบตั ิตนตามหลกั ธรรม
ของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนบั ถือ ยดึ หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
๒. มีความรู้ ความสามารถในการสื่อสาร การคดิ การแกป้ ัญหา การใชเ้ ทคโนโลยี และมีทกั ษะชีวิต
๓. มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตท่ีดี มีสุขนิสยั และรักการออกกาํ ลงั กาย
๔. มีความรักชาติ มีจิตสาํ นึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยดึ มน่ั ในวิถีชีวิตและการปกครองตาม
ระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษตั ริยท์ รงเป็นประมุข
๕. มีจิตสาํ นึกในการอนุรักษว์ ฒั นธรรมและภมู ิปัญญาไทย การอนุรักษแ์ ละพฒั นาส่ิงแวดลอ้ ม มีจิตสาธารณะ
ท่ีมุ่งทาํ ประโยชน์และสร้างส่ิงท่ีดีงามในสังคม และอยรู่ ่วมกนั ในสงั คมอยา่ งมีความสุข
สมรรถนะสําคัญของผ้เู รียน และคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์
ในการพฒั นาผูเ้ รียนตามหลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนอนุบาลหว้ ยกระเจา พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓ ตามหลกั สูตร
แกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ ม่งุ เนน้ พฒั นาผูเ้ รียนใหม้ ีคุณภาพตามมาตรฐานที่กาํ หนด ซ่ึงจะ
ช่วยใหผ้ เู้ รียนเกิดสมรรถนะสาํ คญั และคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ ดงั น้ี
สมรรถนะสําคัญของผ้เู รียน
หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนอนุบาลหว้ ยกระเจา พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั
พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ ม่งุ ใหผ้ เู้ รียนเกิดสมรรถนะสาํ คญั ๕ ประการ ดงั น้ี
๑. ความสามารถในการส่ือสาร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร มีวฒั นธรรมในการใชภ้ าษาถ่ายทอด
ความคิด ความรู้ความเขา้ ใจ ความรู้สึก และทศั นะของตนเองเพื่อแลกเปล่ียนขอ้ มูลขา่ วสารและประสบการณ์อนั จะเป็น
ประโยชนต์ ่อการพฒั นาตนเอง และสังคม รวมท้งั การเจรจาตอ่ รองเพื่อขจดั และลดปัญหาความขดั แยง้ ต่าง ๆ
การเลือกรับหรือไมร่ ับขอ้ มลู ข่าวสารดว้ ยหลกั เหตผุ ลและความถูกตอ้ ง ตลอดจนการเลือกใชว้ ิธีการสื่อสาร ที่มี
ประสิทธิภาพ โดยคาํ นึงถึงผลกระทบท่ีมีตอ่ ตนเองและสังคม
๒. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคดิ สังเคราะห์ การคดิ อยา่ งสร้างสรรค์
การคดิ อยา่ งมีวิจารณญาณ และการคดิ อยา่ งเป็นระบบ เพื่อนาํ ไปสู่การสร้างองคค์ วามรู้หรือสารสนเทศเพื่อการตดั สินใจ
เก่ียวกบั ตนเองและสังคมไดอ้ ยา่ งเหมาะสม
๓. ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแกป้ ัญหาและอปุ สรรคตา่ ง ๆ ท่ีเผชิญไดอ้ ยา่ ง
ถูกตอ้ งเหมาะสมบนพ้นื ฐานของหลกั เหตุผล คณุ ธรรมและขอ้ มลู สารสนเทศ เขา้ ใจความสมั พนั ธ์และการเปล่ียนแปลง
๖
ของเหตกุ ารณ์ต่าง ๆ ในสงั คม แสวงหาความรู้ ประยกุ ตค์ วามรู้มาใชใ้ นการป้องกนั และแกไ้ ขปัญหา และมีการตดั สินใจ
ท่ีมีประสิทธิภาพโดยคาํ นึงถึงผลกระทบที่เกิดข้นึ ต่อตนเอง สังคมและส่ิงแวดลอ้ ม
๔. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวติ เป็นความสามารถในการนาํ กระบวนการต่าง ๆ ไปใชใ้ นการดาํ เนิน
ชีวติ ประจาํ วนั การเรียนรู้ดว้ ยตนเอง การเรียนรู้อยา่ งต่อเนื่อง การทาํ งาน และการอย่รู ่วมกนั ในสังคมดว้ ยการสร้างเสริม
ความสัมพนั ธ์อนั ดีระหวา่ งบคุ คล การจดั การปัญหาและความขดั แยง้ ตา่ ง ๆ อยา่ งเหมาะสม การปรับตวั ใหท้ นั กบั การ
เปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดลอ้ ม และการรู้จกั หลีกเลี่ยงพฤติกรรมไมพ่ งึ ประสงคท์ ี่ส่งผลกระทบต่อตนเอง
และผอู้ ่ืน
๕. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือก และใช้ เทคโนโลยดี า้ นตา่ ง ๆ และมีทกั ษะ
กระบวนการทางเทคโนโลยี เพอื่ การพฒั นาตนเองและสังคม ในดา้ นการเรียนรู้ การสื่อสาร การทาํ งาน การแกป้ ัญหาอยา่ ง
สร้างสรรค์ ถกู ตอ้ ง เหมาะสม และมีคุณธรรม
คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์
หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนอนุบาลหว้ ยกระเจา พุทธศกั ราช ๒๕๖๓ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษา
ข้นั พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ ม่งุ พฒั นาผูเ้ รียนใหม้ ีคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ เพื่อใหส้ ามารถอยรู่ ่วมกบั ผูอ้ ่ืน
ในสังคมไดอ้ ยา่ งมีความสุข ในฐานะเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ดงั น้ี
๑. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
๒. ซื่อสัตย์สุจริต
๓. มีวินยั
๔. ใฝ่ เรียนรู้
๕. อยู่อย่างพอเพยี ง
๖. มุ่งม่ันในการทํางาน
๗. รักความเป็ นไทย
๘. มีจิตสาธารณะ
๗
บทท่ี ๒
โครงสร้างหลกั สูตรสถานศึกษา
โครงสร้างหลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนอนุบาลห้วยกระเจา
หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนอนุบาลหว้ ยกระเจา พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษา
ข้นั พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ ไดก้ าํ หนดโครงสร้างของหลกั สูตรสถานศึกษา เพ่อื ใหผ้ สู้ อน และผทู้ ี่เกี่ยวขอ้ ง
ในการจดั การเรียนรู้ตามหลกั สูตรของสถานศึกษามีแนวปฏิบตั ิ ดงั น้ี
๑. ระดบั การศึกษา กาํ หนดหลกั สูตรเป็น ๒ ระดบั ตามโครงสร้างของหลกั สูตรแกนกลางการศึกษา
ข้นั พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ และตามภารกิจหลกั ของการจดั การเรียนการสอนในระดบั ประถมศึกษา และ
มธั ยมศึกษาตอนตน้ ของสถานศึกษา ดงั น้ี
๑.๑ ระดบั ประถมศึกษา (ช้นั ประถมศึกษาปี ท่ี ๑ – ๖) การศึกษาระดบั น้ีเป็นช่วงแรกของการศึกษา
ภาคบงั คบั มงุ่ เนน้ ทกั ษะพ้นื ฐานดา้ นการอ่าน การเขยี น การคดิ คาํ นวณ ทกั ษะการคิดพ้ืนฐาน การติดตอ่ สื่อสาร
กระบวนการเรียนรู้ทางสังคม และพ้นื ฐานความเป็นมนุษย์ การพฒั นาคณุ ภาพชีวิตอยา่ งสมบูรณ์และสมดุล
ท้งั ในดา้ นร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ สังคม และวฒั นธรรม โดยเนน้ จดั การเรียนรู้แบบบรู ณาการ
๑.๒ ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้ (ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ ๑ – ๓) เป็ นช่วงสุดทา้ ยของการศึกษาภาคบงั คบั
มุง่ เนน้ ให้ผูเ้ รียนไดส้ าํ รวจความถนดั และความสนใจของตนเอง ส่งเสริมการพฒั นาบุคลิกภาพส่วนตน มีทกั ษะในการคิด
วจิ ารณญาณ คดิ สร้างสรรค์ และคิดแกป้ ัญหา มีทกั ษะในการดาํ เนินชีวิต มีทกั ษะการใชเ้ ทคโนโลยเี พอื่ เป็นเครื่องมือ
ในการเรียนรู้ มีความรับผดิ ชอบต่อสังคม มีความสมดุลท้งั ดา้ นความรู้ ความคิด ความดีงาม และมีความภูมิใจ
ในความเป็นไทย ตลอดจนใชเ้ ป็นพ้นื ฐานในการประกอบอาชีพ หรือการศึกษาตอ่
๒. สาระการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ในหลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนอนุบาลหว้ ยกระเจา พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓
ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ ไดก้ าํ หนดไวใ้ นหลกั สูตร ประกอบดว้ ยองคค์ วามรู้
ทกั ษะหรือกระบวนการเรียนรู้ และคณุ ลกั ษณะหรือคา่ นิยม คุณธรรม จริยธรรมของผูเ้ รียน ๘ กลุ่ม คือ
๒.๑ ภาษาไทย
๒.๒ คณิตศาสตร์
๒.๓ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
๒.๔ สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม
๒.๕ สุขศึกษาและพลศึกษา
๒.๖ ศิลปะ
๒.๗ การงานอาชีพ
๒.๘ ภาษาองั กฤษ
๘
๓. กิจกรรมพฒั นาผเู้ รียน กิจกรรมพฒั นาผูเ้ รียน มุง่ ใหผ้ เู้ รียนไดพ้ ฒั นาตนเองตามศกั ยภาพ พฒั นา
อยา่ งรอบดา้ นเพ่ือความเป็นมนุษยท์ ี่สมบูรณ์ ท้งั ร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ และสังคม เสริมสร้างใหเ้ ป็นผมู้ ีศีลธรรม
จริยธรรม มีระเบียบวินยั ปลกู ฝังและสร้างจิตสาํ นึกของการทาํ ประโยชนเ์ พอื่ สงั คม สามารถจดั การตนเองได้ และ
อยรู่ ่วมกบั ผูอ้ ื่นอยา่ งมีความสุข แบ่งเป็น ๓ ลกั ษณะ ดงั น้ี
๓.๑ กิจกรรมแนะแนว เป็นกิจกรรมท่ีส่งเสริมและพฒั นาผเู้ รียนให้รู้จกั ตนเอง รู้รักษส์ ่ิงแวดลอ้ ม
สามารถคิดตดั สินใจ คิดแกป้ ัญหา กาํ หนดเป้าหมาย วางแผนชีวติ ท้งั ดา้ นการเรียน และอาชีพ สามารถปรับตนไดอ้ ย่าง
เหมาะสม นอกจากน้ียงั ช่วยใหค้ รูรู้จกั และเขา้ ใจผเู้ รียน ท้งั ยงั เป็นกิจกรรมที่ช่วยเหลือและใหค้ าํ ปรึกษาแก่ผปู้ กครอง
ในการมีส่วนร่วมพฒั นาผูเ้ รียน
๓.๒ กิจกรรมนกั เรียน เป็นกิจกรรมท่ีมงุ่ พฒั นาความมีระเบียบ วินยั ความเป็นผนู้ าํ ผตู้ ามที่ดี
ความรับผิดชอบ การทาํ งานร่วมกนั การรู้จกั แกป้ ัญหา การตดั สินใจท่ีเหมาะสม ความมีเหตุผล การช่วยเหลือแบ่งปันกนั
เอ้ืออาทร และสมานฉันท์ โดยจดั ใหส้ อดคลอ้ งกบั ความสามารถ ความถนดั และความสนใจของผูเ้ รียน ใหไ้ ดป้ ฏิบตั ิ
ดว้ ยตนเองในทกุ ข้นั ตอน ไดแ้ ก่ การศึกษาวิเคราะห์วางแผน ปฏิบตั ิตามแผน ประเมินและปรับปรุงการทาํ งาน เนน้
การทาํ งานร่วมกนั เป็นกลุ่ม ตามความเหมาะสมและสอดคลอ้ งกบั วฒุ ิภาวะของผเู้ รียน บริบทของสถานศึกษา และ
ทอ้ งถิ่น กิจกรรมนกั เรียนในหลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนอนุบาลหว้ ยกระเจา พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓ ตามหลกั สูตร
แกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ ประกอบดว้ ย
๓.๒.๑ กิจกรรมลูกเสือ - เนตรนารี
๓.๒.๒ กิจกรรมชุมนุม
๓.๓ กิจกรรมเพอื่ สังคมและสาธารณประโยชน์ เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมใหผ้ เู้ รียนบาํ เพญ็ ตน
ใหเ้ ป็นประโยชนต์ ่อสงั คม ชุมชน และทอ้ งถิ่นตามความสนใจในลกั ษณะอาสาสมคั ร เพอ่ื แสดงถึงความรับผิดชอบ
ความดีงาม ความเสียสละต่อสังคม มีจิตสาธารณะ
๔. เวลาเรียน หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนอนุบาลหว้ ยกระเจา พุทธศกั ราช ๒๕๖๓ ตามหลกั สูตรแกนกลาง
การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ ไดก้ าํ หนดกรอบโครงสร้างเวลาเรียนข้นั ต่าํ สาํ หรับกลุม่ สาระการเรียนรู้
๘ กลุ่ม และกิจกรรมพฒั นาผเู้ รียน ซ่ึงผสู้ อนสามารถเพิ่มเติมไดต้ ามความพร้อมและจุดเนน้ ของสถานศึกษา โดย
สามารถปรับใหเ้ หมาะสมตามบริบทของสถานศึกษา และสภาพของผเู้ รียน ดงั น้ี
๑. ระดบั ช้นั ประถมศึกษา (ช้นั ประถมศึกษาปี ท่ี ๑ – ๖) ใหจ้ ดั เวลาเรียนเป็นรายปี โดยมีเวลาเรียนวนั ละ
ไม่ต่าํ กวา่ ๕ ชวั่ โมง
๓. ระดบั ช้นั มธั ยมศึกษาตอนตน้ (ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี ๑ – ๓) ใหจ้ ดั เวลาเรียนเป็นรายภาค มีเวลาเรียนวนั ละ
ไมต่ ่าํ กวา่ ๖ ชว่ั โมง คิดน้าํ หนกั ของรายวิชาที่เรียนเป็นหน่วยกิต ใชเ้ กณฑ์ ๔๐ ชวั่ โมงต่อภาคเรียน มีค่าน้าํ หนกั วิชา
เทา่ กบั ๑ หน่วยกิต (นก.)
๙
การปรับลดเวลาเรียนของโรงเรียนอนุบาลห้วยกระเจา
โครงสร้างและอตั ราเวลาการจดั การเรียนรู้
หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนอนุบาลห้วยกระเจา พทุ ธศักราช ๒๕๖๓
ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
ระดับช้ันประถมศึกษา
กล่มุ สาระการเรียนรู้/ กจิ กรรม ป. ๑ เวลาเรียน ป. ๖
ระดับประถมศึกษา
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ๒๐๐ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ๑๖๐
ภาษาไทย ๒๐๐ ๑๖๐
คณติ ศาสตร์ ๘๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๒๐
วิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี ๑๒๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๒๐
สังคมศึกษา ศาสนาและ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๘๐
วฒั นธรรม ๔๐ ๘๐
สุขศึกษาและพลศกึ ษา ๔๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๔๐
ศิลปะ ๑๒๐ ๘๐
การงานอาชีพ ๘๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๘๔๐
ภาษาต่างประเทศ
รวมเวลาเรียน (พื้นฐาน) ๘๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๔๐
รายวชิ าเพมิ่ เติม ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐
ภาษาองั กฤษเพ่ือการส่ือสาร ๔๐ ๔๐
๔๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๘๐ ๘๐ ๔๐
กจิ กรรมพฒั นาผู้เรียน
กิจกรรม ลดเวลาเรียน เพมิ่ เวลารู้ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐
๑. กจิ กรรมแนะแนว ๘๐ ๘๐ ๔๐ ๔๐
๒. ลูกเสือ – เนตรนารี
๓. กจิ กรรมเพ่ือสังคม ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐
๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐
และสาธารณประโยชน์ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐
รวมเวลาเรียนท้งั หมดตาม
ไม่น้อยกว่า ๑,๐๐๐ ชั่วโมง/ปี
หลกั สูตรกาํ หนด
๑๐
โครงสร้างหลกั สูตรสถานศึกษา ระดับช้ันประถมศึกษา
ช้ันประถมศึกษาปี ที่ ๑
รายวชิ า/กจิ กรรม เวลาเรียน (ชม./ปี )
รายวิชาพื้นฐาน ๘๔๐
ท๑๑๑๐๑ ภาษาไทย ๒๐๐
ค๑๑๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๒๐๐
ว๑๑๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๘๐
ส๑๑๑๐๑ สังคมศึกษา ๘๐
ส๑๑๑๐๒ ประวตั ิศาสตร์ ๔๐
พ๑๑๑๐๑ สุขศึกษาและ พลศึกษา ๔๐
ศ๑๑๑๐๑ ศิลปะ ๔๐
ง๑๑๑๐๑ การงานอาชีพ ๔๐
อ๑๑๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๑๒๐
รายวิชาเพม่ิ เติม ๘๐
อ๑๑๒๐๑ ภาษาองั กฤษเพอ่ื การสื่อสาร ๑ ๘๐
กจิ กรรมพฒั นาผู้เรียน ๑๒๐
กจิ กรรม “ลดเวลาเรียน เพม่ิ เวลารู้” ๔๐
๔๐
๑. แนะแนว ๓๐
๒. ลกู เสือ-เนตรนารี ๑๐
๓. ชุมนุม
๔. กิจกรรมเพอ่ื สังคมและสาธารณะประโยชน์
รวมเวลาเรียนท้งั สิ้น ๑,๐๔๐
*หมายเหตุ ๑.ผเู้ รียนทาํ กิจกรรมเพือ่ สังคมและสาธารณประโยชนใ์ นกิจกรรมชุมนุม
๒.กิจกรรมพฒั นาผเู้ รียนจดั เป็นกิจกรรม” ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” บงั คบั ตามหลกั สูตรประกอบดว้ ย
กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมนกั เรียนและกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารประโยชน์
๓.วิชาหนา้ ท่ีพลเมือง จดั เป็นรายวชิ าเพิ่มเติมแตจ่ ดั การเรียนการสอนใหบ้ รู ณาการลงสู่กิจกรรมโรงเรียน
ดาํ เนินการอยแู่ ลว้ โดยไม่เพิม่ ช่ัวโมง ไดแ้ ก่กิจกรรมหนา้ เสาธง กิจกรรมวนั สาํ คญั ตา่ งๆ กิจกรรมลกู เสือ เนตรนารี
เพื่อปลูกฝังใหเ้ กิดการปฏิบตั ิและเป็นพฤติกรรมในชีวิตประจาํ วนั
๑๑
โครงสร้างหลกั สูตรสถานศึกษา ระดับช้ันประถมศึกษา
ช้ันประถมศึกษาปี ที่ ๒
รายวชิ า/กจิ กรรม เวลาเรียน (ชม./ปี )
รายวิชาพื้นฐาน ๘๔๐
ท๑๒๑๐๑ ภาษาไทย ๒๐๐
ค๑๒๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๒๐๐
ว๑๒๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๘๐
ส๑๒๑๐๑ สงั คมศึกษา ๘๐
ส๑๒๑๐๒ ประวตั ิศาสตร์ ๔๐
พ๑๒๑๐๑ สุขศึกษาและ พลศึกษา ๔๐
ศ๑๒๑๐๑ ศิลปะ ๔๐
ง๑๒๑๐๑ การงานอาชีพ ๔๐
อ๑๒๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๑๒๐
รายวชิ าเพมิ่ เตมิ ๘๐
อ๑๒๒๐๑ ภาษาองั กฤษเพอ่ื การสื่อสาร ๒ ๘๐
กจิ กรรมพฒั นาผู้เรียน ๑๒๐
๑. แนะแนว ๔๐
๒. ลกู เสือ-เนตรนารี ๔๐
๓. ชุมนุม ๓๐
๔.กิจกรรมเพอ่ื สังคมและสาธารณะประโยชน์ ๑๐
รวมเวลาเรียน ๑,๐๔๐
*หมายเหตุ ๑.ผเู้ รียนทาํ กิจกรรมเพอื่ สังคมและสาธารณประโยชน์ในกิจกรรมชุมนุม
๒.กิจกรรมพฒั นาผเู้ รียนจดั เป็นกิจกรรม” ลดเวลาเรียน เพิม่ เวลารู้” บงั คบั ตามหลกั สูตรประกอบดว้ ย
กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมนกั เรียนและกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารประโยชน์
๓.วชิ าหนา้ ที่พลเมือง จดั เป็นรายวชิ าเพิม่ เติมแตจ่ ดั การเรียนการสอนใหบ้ ูรณาการลงสู่กิจกรรมโรงเรียน
ดาํ เนินการอยแู่ ลว้ โดยไม่เพม่ิ ชั่วโมง ไดแ้ ก่กิจกรรมหนา้ เสาธง กิจกรรมวนั สาํ คญั ต่างๆ กิจกรรมลกู เสือ เนตรนารี
เพอื่ ปลกู ฝังใหเ้ กิดการปฏิบตั ิและเป็นพฤติกรรมในชีวติ ประจาํ วนั
๑๒
โครงสร้างหลกั สูตรสถานศึกษา ระดบั ช้ันประถมศึกษา
ช้ันประถมศึกษาปี ที่ ๓
รายวชิ า/กจิ กรรม เวลาเรียน (ชม./ปี )
รายวิชาพืน้ ฐาน ๘๔๐
ท๑๓๑๐๑ ภาษาไทย ๒๐๐
ค๑๓๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๒๐๐
ว๑๓๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๘๐
ส๑๓๑๐๑ สงั คมศึกษา ๘๐
ส๑๓๑๐๒ ประวตั ิศาสตร์ ๔๐
พ๑๓๑๐๑ สุขศึกษาและ พลศึกษา ๔๐
ศ๑๓๑๐๑ ศิลปะ ๔๐
ง๑๓๑๐๑ การงานอาชีพ ๔๐
อ๑๓๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๑๒๐
รายวชิ าเพม่ิ เตมิ ๘๐
อ๑๓๒๐๑ ภาษาองั กฤษเพือ่ การสื่อสาร ๓ ๘๐
กจิ กรรมพฒั นาผู้เรียน ๑๒๐
๑. แนะแนว ๔๐
๒. ลกู เสือ-เนตรนารี ๔๐
๓. ชุมนุม ๓๐
๔. กิจกรรมเพ่ือสังคมและสาธารณะประโยชน์ ๑๐
รวมเวลาเรียน ๑,๐๔๐
*หมายเหตุ ๑.ผเู้ รียนทาํ กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ในกิจกรรมชุมนุม
๒.กิจกรรมพฒั นาผเู้ รียนจดั เป็นกิจกรรม” ลดเวลาเรียน เพิม่ เวลารู้” บงั คบั ตามหลกั สูตรประกอบดว้ ย
กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมนกั เรียนและกิจกรรมเพ่ือสังคมและสาธารประโยชน์
๓.วิชาหนา้ ที่พลเมือง จดั เป็นรายวชิ าเพิ่มเติมแตจ่ ดั การเรียนการสอนใหบ้ ูรณาการลงสู่กิจกรรมโรงเรียน
ดาํ เนินการอยแู่ ลว้ โดยไม่เพิ่มชั่วโมง ไดแ้ ก่กิจกรรมหนา้ เสาธง กิจกรรมวนั สาํ คญั ต่างๆ กิจกรรมลกู เสือ เนตรนารี
เพอื่ ปลูกฝังใหเ้ กิดการปฏิบตั ิและเป็นพฤติกรรมในชีวติ ประจาํ วนั
๑๓
โครงสร้างหลกั สูตรสถานศึกษา ระดบั ช้ันประถมศึกษา
ช้ันประถมศึกษาปี ท่ี ๔
รายวิชา/กจิ กรรม เวลาเรียน (ชม./ปี )
รายวชิ าพื้นฐาน ๘๔๐
ท๑๔๑๐๑ ภาษาไทย ๑๖๐
ค๑๔๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๑๖๐
ว๑๔๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๑๒๐
ส๑๔๑๐๑ สงั คมศึกษา ๘๐
ส๑๔๑๐๒ ประวตั ิศาสตร์ ๔๐
พ๑๔๑๐๑ สุขศึกษาและ พลศึกษา ๘๐
ศ๑๔๑๐๑ ศิลปะ ๘๐
ง๑๔๑๐๑ การงานอาชีพ ๔๐
อ๑๔๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๘๐
รายวชิ าเพมิ่ เตมิ ๔๐
อ๑๔๒๐๑ ภาษาองั กฤษเพ่ือการสื่อสาร ๔ ๔๐
กจิ กรรมพฒั นาผู้เรียน ๑๒๐
๑. แนะแนว ๔๐
๒. ลูกเสือ-เนตรนารี และ กิจกรรมเพอ่ื สังคมและสาธารณะประโยชน์ ๔๐
๓. ชุมนุม ๔๐
รวมเวลาเรียน ๑,๐๐๐
*หมายเหตุ ๑.ผเู้ รียนทาํ กิจกรรมเพื่อสงั คมและสาธารณประโยชนใ์ นกิจกรรมชุมนุม
๒.กิจกรรมพฒั นาผเู้ รียนจดั เป็นกิจกรรม” ลดเวลาเรียน เพม่ิ เวลารู้” บงั คบั ตามหลกั สูตรประกอบดว้ ย
กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมนกั เรียนและกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารประโยชน์
๓.วชิ าหนา้ ที่พลเมือง จดั เป็นรายวชิ าเพิ่มเติมแต่จดั การเรียนการสอนใหบ้ รู ณาการลงสู่กิจกรรมโรงเรียน
ดาํ เนินการอยแู่ ลว้ โดยไม่เพมิ่ ชั่วโมง ไดแ้ ก่กิจกรรมหนา้ เสาธง กิจกรรมวนั สาํ คญั ตา่ งๆ กิจกรรมลกู เสือ เนตรนารี
เพ่อื ปลกู ฝังใหเ้ กิดการปฏิบตั ิและเป็นพฤติกรรมในชีวติ ประจาํ วนั
๑๔
โครงสร้างหลกั สูตรสถานศึกษา ระดบั ช้ันประถมศึกษา
ช้ันประถมศึกษาปี ท่ี ๕
รายวิชา/กจิ กรรม เวลาเรียน (ชม./ปี )
รายวชิ าพืน้ ฐาน ๘๔๐
ท๑๕๑๐๑ ภาษาไทย ๑๖๐
ค๑๕๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๑๖๐
ว๑๕๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๑๒๐
ส๑๕๑๐๑ สังคมศึกษา ๘๐
ส๑๕๑๐๒ ประวตั ิศาสตร์ ๔๐
พ๑๕๑๐๑ สุขศึกษาและ พลศึกษา ๘๐
ศ๑๕๑๐๑ ศิลปะ ๘๐
ง๑๕๑๐๑ การงานอาชีพ ๔๐
อ๑๕๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๘๐
รายวิชาเพม่ิ เติม ๔๐
อ๑๕๒๐๑ ภาษาองั กฤษเพอ่ื การส่ือสาร ๕ ๔๐
กจิ กรรมพฒั นาผู้เรียน ๑๒๐
๑. แนะแนว ๔๐
๒. ลกู เสือ-เนตรนารี และ กิจกรรมเพอื่ สังคมและสาธารณะประโยชน์ ๔๐
๓. ชุมนุม ๔๐
รวมเวลาเรียน ๑,๐๐๐
*หมายเหตุ ๑.ผเู้ รียนทาํ กิจกรรมเพ่อื สงั คมและสาธารณประโยชนใ์ นกิจกรรมชุมนุม
๒.กิจกรรมพฒั นาผเู้ รียนจดั เป็นกิจกรรม” ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” บงั คบั ตามหลกั สูตรประกอบดว้ ย
กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมนกั เรียนและกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารประโยชน์
๓.วิชาหนา้ ท่ีพลเมือง จดั เป็นรายวชิ าเพิม่ เติมแตจ่ ดั การเรียนการสอนใหบ้ รู ณาการลงสู่กิจกรรมโรงเรียน
ดาํ เนินการอยแู่ ลว้ โดยไม่เพ่มิ ชั่วโมง ไดแ้ ก่กิจกรรมหนา้ เสาธง กิจกรรมวนั สาํ คญั ตา่ งๆ กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี
เพ่อื ปลกู ฝังใหเ้ กิดการปฏิบตั ิและเป็นพฤติกรรมในชีวิตประจาํ วนั
๑๕
โครงสร้างหลกั สูตรสถานศึกษา ระดับช้ันประถมศึกษา
ช้ันประถมศึกษาปี ที่ ๖
รายวชิ า/กจิ กรรม เวลาเรียน (ชม./ปี )
รายวิชาพืน้ ฐาน ๘๔๐
ท๑๖๑๐๑ ภาษาไทย ๑๖๐
ค๑๖๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๑๖๐
ว๑๖๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๑๒๐
ส๑๖๑๐๑ สงั คมศึกษา ๘๐
ส๑๖๑๐๒ ประวตั ิศาสตร์ ๔๐
พ๑๖๑๐๑ สุขศึกษาและ พลศึกษา ๘๐
ศ๑๖๑๐๑ ศิลปะ ๘๐
ง๑๖๑๐๑ การงานอาชีพ ๔๐
อ๑๖๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๘๐
รายวิชาเพม่ิ เตมิ ๔๐
อ๑๖๒๐๑ ภาษาองั กฤษเพือ่ การสื่อสาร ๖ ๔๐
กจิ กรรมพฒั นาผู้เรียน ๑๒๐
๑. แนะแนว ๔๐
๒. ลูกเสือ-เนตรนารี และ กิจกรรมเพ่ือสงั คมและสาธารณะประโยชน์ ๔๐
๓. ชุมนุม ๔๐
รวมเวลาเรียน ๑,๐๐๐
*หมายเหตุ ๑.ผเู้ รียนทาํ กิจกรรมเพอื่ สังคมและสาธารณประโยชน์ในกิจกรรมชุมนุม
๒.กิจกรรมพฒั นาผเู้ รียนจดั เป็นกิจกรรม” ลดเวลาเรียน เพิม่ เวลารู้” บงั คบั ตามหลกั สูตรประกอบดว้ ย
กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมนกั เรียนและกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารประโยชน์
๓.วชิ าหนา้ ท่ีพลเมือง จดั เป็นรายวชิ าเพิม่ เติมแต่จดั การเรียนการสอนใหบ้ รู ณาการลงสู่กิจกรรมโรงเรียน
ดาํ เนินการอยแู่ ลว้ โดยไม่เพิ่มช่ัวโมง ไดแ้ ก่กิจกรรมหนา้ เสาธง กิจกรรมวนั สาํ คญั ตา่ งๆ กิจกรรมลกู เสือ เนตรนารี
เพ่อื ปลกู ฝังใหเ้ กิดการปฏิบตั ิและเป็นพฤติกรรมในชีวิตประจาํ วนั
๑๖
รายวชิ าเพม่ิ เตมิ ในระดบั ช้ันประถมศึกษา
หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลห้วยกระเจา พุทธศักราช ๒๕๖๓
ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑
ช้ันประถมศึกษาปี ท่ี ๑
อ๑๑๒๐๑ ภาษาองั กฤษเพอ่ื การส่ือสาร ๑ เวลาเรียน ๔๐ ชวั่ โมง/ปี
ช้ันประถมศึกษาปี ที่ ๒
อ๑๒๒๐๑ ภาษาองั กฤษเพือ่ การส่ือสาร ๒ เวลาเรียน ๔๐ ชวั่ โมง/ปี
ช้ันประถมศึกษาปี ท่ี ๓
อ๑๓๒๐๑ ภาษาองั กฤษเพอื่ การสื่อสาร ๓ เวลาเรียน ๔๐ ชวั่ โมง/ปี
ช้ันประถมศึกษาปี ที่ ๔
อ๑๔๒๐๑ ภาษาองั กฤษเพื่อการส่ือสาร ๔ เวลาเรียน ๔๐ ชวั่ โมง/ปี
ช้ันประถมศึกษาปี ท่ี ๕
อ๑๕๒๐๑ ภาษาองั กฤษเพ่ือการส่ือสาร ๕ เวลาเรียน ๔๐ ชวั่ โมง/ปี
ช้ันประถมศึกษาปี ที่ ๖
อ๑๖๒๐๑ ภาษาองั กฤษเพ่ือการสื่อสาร ๖ เวลาเรียน ๔๐ ชวั่ โมง/ปี
ช้ันประถมศึกษาปี ที่ ๔
ว๑๔๒๐๑ สมุนไพรรอบตวั เวลาเรียน ๔๐ ชวั่ โมง/ปี
ช้ันประถมศึกษาปี ท่ี ๕
ว๑๕๒๐๑ พืชดอกในทอ้ งถ่ิน เวลาเรียน ๔๐ ชวั่ โมง/ปี
ช้ันประถมศึกษาปี ท่ี ๖
ว๑๖๒๐๑ พชื ไร้ดอกในทอ้ งถิ่น เวลาเรียน ๔๐ ชวั่ โมง/ปี
๑๗
โครงสร้างและอตั ราเวลาการจดั การเรียนรู้
หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนอนุบาลห้วยกระเจา พทุ ธศักราช ๒๕๖๓
ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑
ระดบั ช้ันมธั ยมศึกษาตอนต้น
เวลาเรียน
กล่มุ สาระการเรียนรู้/ กจิ กรรม ระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น
ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓
กลุ่มสาระการเรียนรู้
ภาษาไทย
๑๒๐ (๓ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.)
คณติ ศาสตร์ ๑๒๐ (๓ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.)
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๑๖๐ (๔ นก.) ๑๖๐ (๔ นก.) ๑๖๐ (๔ นก.)
สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ๑๖๐ (๔ นก.) ๑๖๐ (๔ นก.) ๑๖๐ (๔ นก.)
สุขศึกษาและพลศกึ ษา ๘๐ (๒นก.) ๘๐ (๒ นก.) ๘๐ (๒ นก.)
ศิลปะ ๘๐ (๒นก.) ๘๐ (๒ นก.) ๘๐ (๒ นก.)
การงานอาชีพ ๔๐ (๑นก.) ๔๐ (๑นก.) ๔๐ (๑นก.)
ภาษาต่างประเทศ ๑๒๐ (๓ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.)
รวมเวลาเรียน (พื้นฐาน) ๘๘๐ (๒๒นก.) ๘๘๐ (๒๒นก.) ๘๘๐ (๒๒นก.)
๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐
กจิ กรรมพฒั นาผู้เรียน
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพม่ิ เวลารู้
๑. กิจกรรมแนะแนว
๔๐ ๔๐ ๔๐
๒. ลูกเสือ – เนตรนารี/เพ่ือสังคม ๔๐ ๔๐ ๔๐
๓. กิจกรรมชุมนุม ๔๐ ๔๐ ๔๐
รายวิชาเพม่ิ เติม ปี ละไม่น้อยกว่า ๒๐๐ ชั่วโมง
๑ ..........................
๔๐ (๑นก.) ๔๐ (๑นก.) ๔๐ (๑นก.)
๒.......................... ๔๐ (๑นก.) ๔๐ (๑นก.) ๔๐ (๑นก.)
๓........................... ๔๐ (๑นก.) ๔๐ (๑นก.) ๔๐ (๑นก.)
๔.......................... ๘๐ (๒นก.) ๘๐ (๒นก.) ๘๐ (๒นก.)
รวมเวลาเรียนท้งั หมด ไม่น้อยกว่า ๑,๒๐๐ ชั่วโมง/ปี
*หมายเหตุ ๑.ผเู้ รียนทาํ กิจกรรมเพ่ือสงั คมและสาธารณประโยชนใ์ นกิจกรรมชุมนุม
๒.กิจกรรมพฒั นาผเู้ รียนจดั เป็นกิจกรรม” ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” บงั คบั ตามหลกั สูตรประกอบดว้ ย
กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมนกั เรียนและกิจกรรมเพ่ือสงั คมและสาธารประโยชน์
๓.วิชาหนา้ ท่ีพลเมือง จดั เป็นรายวิชาเพ่มิ เติมแต่จดั การเรียนการสอนใหบ้ ูรณาการลงสู่กิจกรรมโรงเรียน
ดาํ เนินการอยแู่ ลว้ โดยไม่เพม่ิ ชั่วโมง ไดแ้ ก่กิจกรรมหนา้ เสาธง กิจกรรมวนั สาํ คญั ตา่ งๆ กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี
เพอื่ ปลกู ฝังใหเ้ กิดการปฏิบตั ิและเป็นพฤติกรรมในชีวติ ประจาํ วนั
๑๘
โครงสร้างหลกั สูตรสถานศึกษา ระดบั มธั ยมศึกษา
ระดับช้ันมัธยมศึกษาปี ที่ ๑
ช้ันมัธยมศึกษาปี ท่ี ๑ ( ภาคเรียนที่ ๑ ) ช้ันมัธยมศึกษาปี ท่ี ๑ ( ภาคเรียนที่ ๒ )
รหัสวชิ า รายวชิ าพืน้ ฐาน นก. ชม. ชม/สป. รหสั วชิ า รายวชิ าพื้นฐาน นก. ชม. ชม/สป.
ท๒๑๑๐๑ ภาษาไทย ๑.๕ ๖๐ ๓ ท๒๑๑๐๒ ภาษาไทย ๑.๕ ๖๐ ๓
ค๒๑๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๑.๕ ๖๐ ๓ ค๒๑๑๐๒ คณิตศาสตร์ ๑.๕ ๖๐ ๓
ว๒๑๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ๑.๕ ๖๐ ๓ ว๒๑๑๐๓ วิทยาศาสตร์ ๑.๕ ๖๐ ๓
ว๒๑๑๐๒ เทคโนโลยี (การ ๐.๕ ๒๐ ๑ ว๒๑๑๐๔ เทคโนโลยี (วทิ ยาการ ๐.๕ ๒๐ ๑
ออกแบบและ คาํ นวน)
เทคโนโลยี)
ส๒๑๑๐๑ สังคมศึกษา ๑.๕ ๖๐ ๓ ส๒๑๑๐๓ สงั คมศึกษา ๑.๕ ๖๐ ๓
ส๒๑๑๐๒ ประวตั ิศาสตร์ ๐.๕ ๒๐ ๑ ส๒๑๑๐๔ ประวตั ิศาสตร์ ๐.๕ ๒๐ ๑
พ๒๑๑๐๑ สุขศึกษา ๑.๐ ๔๐ ๒ พ๒๑๑๐๒ สุขศึกษา ๑.๐ ๔๐ ๒
และพลศึกษา และพลศึกษา
ศ๒๑๑๐๑ ศิลปะ ๑.๐ ๔๐ ๒ ศ๒๑๑๐๒ ศิลปะ ๑.๐ ๔๐ ๒
ง๒๑๑๐๑ การงานอาชีพ ๐.๕ ๒๐ ๑ ง๒๑๑๐๒ การงานอาชีพ ๐.๕ ๒๐ ๑
อ๒๑๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๑.๕ ๖๐ ๓ อ๒๑๑๐๒ ภาษาองั กฤษ ๑.๕ ๖๐ ๓
รวม ๑๑.๐ ๔๔๐ ๒๒ รวม ๑๑.๐ ๔๔๐ ๒๒
รหัสวชิ า รายวชิ าเพมิ่ เติม นก. ชม. ชม./สป. รหสั วิชา รายวชิ าเพม่ิ เตมิ นก. ชม. ชม./สป.
ท๒๐๒๐๑ การเขยี นการ ๐.๕ ๒๐ ๑ ท๒๐๒๐๒ การเขยี นการ ๐.๕ ๒๐ ๑
สร้างสรรค๑์ สร้างสรรค๒์
ค๒๐๒๐๑ คณิตในชีวิต ๐.๕ ๒๐ ๑ ค๒๐๒๐๒ คณิตในชีวิต ๐.๕ ๒๐ ๑
ประจาํ วนั ๑ ประจาํ วนั ๒
ส๒๐๒๐๓ วถิ ีสหกรณ์พอเพยี ง ๐.๕ ๒๐ ๑ ท๒๐๒๐๓ การเลา่ นิทาน ๑ ๐.๕ ๒๐ ๑
ง๒๐๒๐๒ งานประดิษฐฯ์ ๑.๐ ๔๐ ๒ ว๒๐๒๐๕ Power point ๑.๐ ๔๐ ๒
รวม ๒.๕ ๑๐๐ ๕ รวม ๒.๕ ๑๐๐ ๕
กจิ กรรมพฒั นาผ้เู รียน นก. ชม. ชม./สป. กิจกรรมพฒั นาผ้เู รียน นก. ชม. ชม./สป.
กจิ กรรมลดเวลาเรียน เพมิ่ เวลารู้ กจิ กรรมลดเวลาเรียน เพม่ิ เวลารู้
กิจกรรมแนะแนว - ๒๐ ๑ กิจกรรมแนะแนว - ๒๐ ๑
กิจกรรมลกู เสือ/เนตรนารี - ๒๐ ๑ กิจกรรมลกู เสือ/เนตรนารี - ๒๐ ๑
กิจกรรมเพ่ือสังคม/ชุมนุม - ๒๐ ๑ กิจกรรมเพื่อสังคม/ชุมนุม - ๒๐ ๑
รวม - ๖๐ ๓ รวม - ๖๐ ๓
รวมจาํ นวน รวมจาํ นวน
/หน่วยกิจ/ช่ัวโมง/ภาค ๑๓.๕ ๖๐๐ ๓๐ /หน่วยกจิ /ชั่วโมง/ภาค ๑๓.๕ ๖๐๐ ๓๐
รวมท้งั หมดจํานวนชั่งโมง / ปี ๒๗.๐ ๑,๒๐๐
๑๙
โครงสร้างหลกั สูตรสถานศึกษา ระดับมัธยมศึกษา
ระดับช้ันมัธยมศึกษาปี ท่ี ๒
ช้ันมธั ยมศึกษาปี ท่ี ๒ ( ภาคเรียนท่ี ๑ ) ช้ันมธั ยมศึกษาปี ที่ ๒ ( ภาคเรียนท่ี ๒ )
รหสั วิชา รายวิชาพืน้ ฐาน นก. ชม. ชม/สป. รหสั วชิ า รายวชิ าพื้นฐาน นก. ชม. ชม/สป.
ท๒๒๑๐๑ ภาษาไทย ๑.๕ ๖๐ ๓ ท ๒๒๑๐๒ ภาษาไทย ๑.๕ ๖๐ ๓
ค๒๒๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๑.๕ ๖๐ ๓ ค๒๒๑๐๒ คณิตศาสตร์ ๑.๕ ๖๐ ๓
ว๒๒๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์ ๑.๕ ๖๐ ๓ ว๒๒๑๐๓ วทิ ยาศาสตร์ ๑.๕ ๖๐ ๓
ว๒๒๑๐๒ เทคโนโลยี (การออกแบบ ๐.๕ ๒๐ ๑ ว๒๒๑๐๔ เทคโนโลยี (วทิ ยาการ ๐.๕ ๒๐ ๑
๓ ส๒๒๑๐๓ ๑.๕ ๖๐ ๓
และเทคโนโลยี) คาํ นวน)
ส๒๒๑๐๑ สังคมศึกษา ๑.๕ ๖๐ สงั คมศึกษา
ส๒๒๑๐๒ ประวตั ิศาสตร์ ๐.๕ ๒๐ ๑ ส๒๒๑๐๔ ประวตั ิศาสตร ๐.๕ ๒๐ ๑
พ๒๒๑๐๑ สุขศึกษา ๑.๐ ๔๐ ๒ พ๒๒๑๐๒ สุขศึกษา ๑.๐ ๔๐ ๒
และพลศึกษา และพลศึกษา
ศ๒๒๑๐๑ ศิลปะ ๑.๐ ๔๐ ๒ ศ๒๒๑๐๒ ศิลปะ ๑.๐ ๔๐ ๒
ง๒๒๑๐๑ การงานอาชีพ ๐.๕ ๒๐ ๑ ง๒๒๑๐๒ การงานอาชีพ ๐.๕ ๒๐ ๑
อ๒๒๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๑.๕ ๖๐ ๓ อ๒๒๑๐๒ ภาษาองั กฤษ ๑.๕ ๖๐ ๓
รวม ๑๑.๐ ๔๔๐ ๒๒ รวม ๑๑.๐ ๔๔๐ ๒๒
รหัสวชิ า รายวชิ าเพม่ิ เตมิ นก. ชม. ชม./สป. รหสั วิชา รายวิชาเพม่ิ เติม นก. ชม. ชม./สป.
ง๒๐๒๐๑ ห้องสมดุ และเทคโนฯ ๐.๕ ๒๐ ๑ อ๒๐๒๐๓ ภาษาองั กฤษ ๐.๕ ๒๐ ๑
เพื่อการท่องเที่ยว ๑
ค๒๐๒๐๓ กระบวนการคิด ๐.๕ ๒๐ ๑ ค๒๐๒๐๔ กระบวนการคดิ ๐.๕ ๒๐ ๑
ทางคณิต ๑ ทางคณิต ๒
ว๒๐๒๐๑ การทาํ โครงงานวทิ ยาศาสตร์ ๐.๕ ๒๐ ๑ ว๒๐๒๐๒ พนั ธุกรรม ๐.๕ ๒๐ ๑
ว๒๐๒๐๓ การจดั ทาํ หนงั สือ ๑.๐ ๔๐ ๒ ว๒๐๒๐๔ โครงงาน ๑.๐ ๔๐ ๒
อิเลก็ ทรอนิกส์ ๒.๕ ๑๐๐ ๕ คอมพวิ เตอร์ ๒.๕ ๑๐๐ ๕
นก. ชม. ชม./สป. นก. ชม. ชม./สป.
รวม รวม
กจิ กรรมพฒั นาผ้เู รียน กจิ กรรมพฒั นาผ้เู รียน
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพม่ิ เวลารู้ กจิ กรรมลดเวลาเรียน เพม่ิ เวลารู้
กิจกรรมแนะแนว - ๒๐ ๑ กิจกรรมแนะแนว - ๒๐ ๑
- ๒๐ ๑ - ๒๐ ๑
กิจกรรมลกู เสือ/เนตรนารี - ๒๐ ๑ กิจกรรมลูกเสือ/เนตรนารี - ๒๐ ๑
- ๖๐ ๓ - ๖๐ ๓
กิจกรรมเพือ่ สังคม/ชุมนุม กิจกรรมเพ่ือสังคม/ชุมนุม
รวม รวม
รวมจาํ นวน รวมจํานวน
/หน่วยกจิ /ชั่วโมง/ภาค ๑๓.๕ ๖๐๐ ๓๐ /หน่วยกจิ /ช่ัวโมง/ภาค ๑๓.๕ ๖๐๐ ๓๐
รวมท้งั หมดจาํ นวนชั่งโมง / ปี ๒๗.๐ ๑,๒๐๐
๒๐
โครงสร้างหลกั สูตรสถานศึกษา ระดบั มธั ยมศึกษา
ระดบั ช้ันมธั ยมศึกษาปี ท่ี ๓
ช้ันมัธยมศึกษาปี ที่ ๓ ( ภาคเรียนที่ ๑ ) ช้ันมธั ยมศึกษาปี ท่ี ๓ ( ภาคเรียนท่ี ๒ )
รหสั วชิ า รายวิชาพื้นฐาน นก. ชม. ชม/สป. รหัสวิชา รายวชิ าพื้นฐาน นก. ชม. ชม/สป.
๓
ท๒๓๑๐๑ ภาษาไทย ๑.๕ ๖๐ ๓ ท๒๓๑๐๒ ภาษาไทย ๑.๕ ๖๐ ๓
๓
ค๒๓๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๑.๕ ๖๐ ๑ ค๒๓๑๐๒ คณิตศาสตร์ ๑.๕ ๖๐ ๓
ว๒๓๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์ ๑.๕ ๖๐ ๓ ว๒๓๑๐๓ วิทยาศาสตร์ ๑.๕ ๖๐ ๓
๑
ว๒๓๑๐๒ เทคโนโลยี (การออกแบบ ๐.๕ ๒๐ ว๒๓๑๐๔ เทคโนโลยี (วิทยาการ ๐.๕ ๒๐ ๑
และเทคโนโลยี) ๒ คาํ นวน)
ส๒๓๑๐๑ สังคมศึกษา ๑.๕ ๖๐ ๒ ส๒๓๑๐๓ สังคมศึกษา ๑.๕ ๖๐ ๓
๑
ส๒๓๑๐๒ ประวตั ิศาสตร์ ๐.๕ ๒๐ ๓ ส๒๓๑๐๔ ประวตั ิศาสตร์ ๐.๕ ๒๐ ๑
๒๒
พ๒๓๑๐๑ สุขศึกษา ๑.๐ ๔๐ ชม./สป. พ๒๓๑๐๒ สุขศึกษา ๑.๐ ๔๐ ๒
และพลศึกษา และพลศึกษา
ศ๒๓๑๐๑ ศิลปะ ๑.๐ ๔๐ ศ๒๓๑๐๒ ศิลปะ ๑.๐ ๔๐ ๒
ง๒๓๑๐๑ การงานอาชีพ ๐.๕ ๒๐ ง๒๓๑๐๒ การงานอาชีพ ๐.๕ ๒๐ ๑
อ๒๓๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๑.๕ ๖๐ อ๒๓๑๐๒ ภาษาองั กฤษ ๑.๕ ๖๐ ๓
รหสั วชิ า รวม ๑๑.๐ ๔๔๐ รวม ๑๑.๐ ๔๔๐ ๒๒
รายวชิ าเพมิ่ เตมิ นก. ชม. รหสั วชิ า รายวิชาเพมิ่ เติม นก. ชม. ชม./สป.
ส๒๐๒๐๒ กาญจนบรุ ี ๐.๕ ๒๐ ๑ อ๒๐๒๐๔ ภาษาองั กฤษ ๐.๕ ๒๐ ๑
เพอื่ การทอ่ งเท่ียว ๒
ส๒๐๒๐๔ กรุงรัตนโกสินทร์ ๐.๕ ๒๐ ๑ ส๒๐๒๐๕ โครงงานสงั คมศึกษา ๐.๕ ๒๐ ๑
๐.๕ ๒๐ ๑
ค๒๐๒๐๕ คณิตคิดสร้างสรรค์ ๑ ๑.๐ ๔๐ ๒ ค๒๐๒๐๖ คณิตคิดสร้างสรรค์ ๒ ๐.๕ ๒๐ ๑
ศ๒๐๒๐๑ พ้ืนฐานการร่ายราํ ๒.๕ ๑๐๐ ๕
นก. ชม. ชม./สป. ง๒๐๒๐๓ งานเยบ็ ปักถกั ร้อย ๑.๐ ๔๐ ๒
รวม
กิจกรรมพฒั นาผ้เู รียน - ๒๐ ๑ รวม ๒.๕ ๑๐๐ ๕
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพม่ิ เวลารู้ - ๒๐ ๑ กิจกรรมพฒั นาผ้เู รียน นก. ชม. ชม./สป.
กิจกรรมแนะแนว - ๒๐ ๑ กิจกรรมลดเวลาเรียน เพมิ่ เวลารู้
- ๖๐ ๓
กิจกรรมลกู เสือ/เนตรนารี กิจกรรมแนะแนว - ๒๐ ๑
๑๓.๕ ๖๐๐ ๓๐
กิจกรรมเพ่ือสงั คม/ชุมนุม กิจกรรมลกู เสือ/เนตรนารี - ๒๐ ๑
รวม รวมท้งั หมดจํานวนชั่งโมง / ปี
กิจกรรมเพื่อสังคม/ชุมนุม - ๒๐ ๑
รวมจํานวน
/หน่วยกิจ/ช่ัวโมง/ภาค รวม - ๖๐ ๓
รวมจํานวน
/หน่วยกิจ/ชั่วโมง/ภาค ๑๓.๕ ๖๐๐ ๓๐
๒๗.๐ ๑,๒๐๐
๒๑
รายวชิ าเพม่ิ เติมในระดบั ช้ันมัธยมศึกษา
หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนอนุบาลห้วยกระเจา พทุ ธศักราช ๒๕๖๓
ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑
ท๒๐๒๐๑ การเขยี นการสร้างสรรค์ ๑ เวลาเรียน ๒๐ ชวั่ โมง/ภาคเรียน
ท๒๐๒๐๒ การเขียนการสร้างสรรค์ ๒ เวลาเรียน ๒๐ ชวั่ โมง/ภาคเรียน
ท๒๐๒๐๓ การเลา่ นิทาน ๑ เวลาเรียน ๒๐ ชวั่ โมง/ภาคเรียน
ท๒๐๒๐๔ การเลา่ นิทาน ๒ เวลาเรียน ๒๐ ชวั่ โมง/ภาคเรียน
ค๒๐๒๐๑ คณิตในชีวิตประจาํ วนั ๑ เวลาเรียน ๒๐ ชวั่ โมง/ภาคเรียน
ค๒๐๒๐๒ คณิตในชีวติ ประจาํ วนั ๒ เวลาเรียน ๒๐ ชวั่ โมง/ภาคเรียน
ค๒๐๒๐๓ กระบวนการคิดทางคณิต ๑ เวลาเรียน ๒๐ ชวั่ โมง/ภาคเรียน
ค๒๐๒๐๔ กระบวนการคิดทางคณิต ๒ เวลาเรียน ๒๐ ชวั่ โมง/ภาคเรียน
ค๒๐๒๐๕ คณิตคิดสร้างสรรค์ ๑ เวลาเรียน ๒๐ ชวั่ โมง/ภาคเรียน
ค๒๐๒๐๖ คณิตคิดสร้างสรรค์ ๒ เวลาเรียน ๒๐ ชวั่ โมง/ภาคเรียน
ว๒๐๒๐๑ การทาํ โครงงานวิทยาศาสตร์ เวลาเรียน ๒๐ ชวั่ โมง/ภาคเรียน
ว๒๐๒๐๒ พนั ธุกรรม เวลาเรียน ๒๐ ชัว่ โมง/ภาคเรียน
ว๒๐๒๐๓ การจดั ทาํ หนงั สืออิเลก็ ทรอนิกส์ เวลาเรียน ๔๐ ชวั่ โมง/ภาคเรียน
ว๒๐๒๐๔ โครงงานคอมพิวเตอร์ เวลาเรียน ๔๐ ชวั่ โมง/ภาคเรียน
ว๒๐๒๐๕ การใชโ้ ปรแกรม Microsoft Powerpoint เวลาเรียน ๔๐ ชวั่ โมง/ภาคเรียน
ส๒๐๒๐๑ ประวตั ิศาสตร์การต้งั ถิ่นฐานไทย เวลาเรียน ๒๐ ชวั่ โมง/ภาคเรียน
ส๒๐๒๐๒ กาญจนบุรี เวลาเรียน ๒๐ ชวั่ โมง/ภาคเรียน
ส๒๐๒๐๓ วิถีสหกรณ์พอเพียง เวลาเรียน ๒๐ ชวั่ โมง/ภาคเรียน
ส๒๐๒๐๔ กรุงรัตน์โกสินทร์ เวลาเรียน ๒๐ ชัว่ โมง/ภาคเรียน
ส๒๐๒๐๕ โครงงานสงั คมศึกษา เวลาเรียน ๒๐ ชวั่ โมง/ภาคเรียน
ศ๒๐๒๐๑ พ้ืนฐานการร่ายรํา เวลาเรียน ๔๐ ชวั่ โมง/ภาคเรียน
ง๒๐๒๐๑ หอ้ งสมดุ และเทคโนโลยเี พ่ือการศึกษาคน้ ควา้ เวลาเรียน ๒๐ ชวั่ โมง/ภาคเรียน
ง๒๐๒๐๒ งานประดิษฐจ์ ากเศษวสั ดุเหลือใช้ เวลาเรียน ๔๐ ชวั่ โมง/ภาคเรียน
ง๒๐๒๐๓ งานเยบ็ ปักถกั ร้อย เวลาเรียน ๔๐ ชวั่ โมง/ภาคเรียน
๒๒
อ๒๐๒๐๑ การฟัง พดู ภาษาองั กฤษ ๑ เวลาเรียน ๒๐ ชวั่ โมง/ภาคเรียน
อ๒๐๒๐๒ การฟัง พูด ภาษาองั กฤษ ๒ เวลาเรียน ๒๐ ชวั่ โมง/ภาคเรียน
อ๒๐๒๐๓ ภาษาองั กฤษเพอ่ื การทอ่ งเท่ียว ๑ เวลาเรียน ๒๐ ชวั่ โมง/ภาคเรียน
อ๒๐๒๐๔ ภาษาองั กฤษเพื่อการท่องเท่ียว ๒ เวลาเรียน ๒๐ ชวั่ โมง/ภาคเรียน
๒๓
บทท่ี ๓
สาระการเรียนรู้
หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนอนุบาลห้วยกระเจา พุทธศักราช ๒๕๖๓
ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
สาระการเรียนรู้ ประกอบดว้ ย องคค์ วามรู้ ทกั ษะหรือกระบวนการเรียนรู้ และคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์
ซ่ึงกาํ หนดใหผ้ เู้ รียนทุกคนในระดบั การศึกษาข้นั พ้ืนฐานจาํ เป็นตอ้ งเรียนรู้ โดยแบ่งเป็น ๘ กลมุ่ สาระการเรียนรู้
ทําไมต้องเรียนภาษาไทย กล่มุ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย
ภาษาไทยเป็ นเอกลกั ษณ์ของชาติเป็ นสมบตั ิทางวฒั นธรรมอนั ก่อให้เกิดความเป็ นเอกภาพและเสริมสร้าง
บุคลิกภาพของคนในชาติใหม้ ีความเป็นไทย เป็นเคร่ืองมือในการติดต่อสื่อสารเพ่ือสร้างความเขา้ ใจและความสัมพนั ธ์
ที่ดีต่อกนั ทาํ ให้สามารถประกอบกิจธุระ การงาน และดาํ รงชีวิตร่วมกนั ในสังคมประชาธิปไตยไดอ้ ย่างสันติสุข และ
เป็นเครื่องมือในการแสวงหาความรู้ ประสบการณ์จากแหล่งขอ้ มลู สารสนเทศต่างๆ เพ่ือพฒั นาความรู้ พฒั นากระบวนการ
คิดวิเคราะห์ วิจารณ์ และสร้างสรรค์ให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคม และความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์
เทคโนโลยี ตลอดจนนาํ ไปใชใ้ นการพฒั นาอาชีพให้มีความมนั่ คงทางเศรษฐกิจ นอกจากน้ียงั เป็นส่ือแสดงภูมิปัญญา
ของบรรพบุรุษดา้ นวฒั นธรรม ประเพณี และสุนทรียภาพ เป็นสมบตั ิล้าํ ค่าควรแก่การเรียนรู้ อนุรักษ์ และสืบสาน
ใหค้ งอยคู่ ูช่ าติไทยตลอดไป
เรียนรู้อะไรในภาษาไทย
ภาษาไทยเป็ นทักษะท่ีต้องฝึ กฝนจนเกิดความชํานาญในการใช้ภาษาเพ่ือการส่ือสาร การเรียนรู้อย่างมี
ประสิทธิภาพ และเพ่ือนาํ ไปใชใ้ นชีวิตจริง
• การอ่าน การอ่านออกเสียงคาํ ประโยค การอ่านบทร้อยแกว้ คาํ ประพนั ธ์ชนิดต่างๆ การอ่านในใจเพื่อ
สร้างความเขา้ ใจ และการคดิ วเิ คราะห์ สังเคราะหค์ วามรู้จากส่ิงที่อ่าน เพ่อื นาํ ไป ปรับใชใ้ นชีวติ ประจาํ วนั
• การเขียน การเขียนสะกดตามอกั ขรวิธี การเขียนสื่อสาร โดยใชถ้ อ้ ยคาํ และรูปแบบต่างๆ ของการเขียน
ซ่ึงรวมถึงการเขยี นเรียงความ ยอ่ ความ รายงานชนิดต่างๆ การเขียนตามจินตนาการ วเิ คราะหว์ จิ ารณ์ และเขยี น
เชิงสร้างสรรค์
๒๔
• การฟัง การดู และการพดู การฟังและดูอยา่ งมีวจิ ารณญาณ การพดู แสดงความคิดเห็น ความรู้สึก
พูดลาํ ดบั เร่ืองราวต่างๆ อยา่ งเป็นเหตเุ ป็นผล การพูดในโอกาสต่างๆ ท้งั เป็นทางการและไมเ่ ป็นทางการ และการพูด
เพือ่ โนม้ นา้ วใจ
• หลักการใช้ภาษาไทย ธรรมชาติและกฎเกณฑ์ของภาษาไทย การใชภ้ าษาใหถ้ ูกตอ้ งเหมาะสมกบั โอกาส
และบุคคล การแต่งบทประพนั ธ์ประเภทตา่ งๆ และอิทธิพลของภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
• วรรณคดีและวรรณกรรม วิเคราะหว์ รรณคดีและวรรณกรรมเพอ่ื ศึกษาขอ้ มูล แนวความคดิ คณุ คา่ ของงาน
ประพนั ธ์ และความเพลิดเพลิน การเรียนรู้และทาํ ความเขา้ ใจบทเห่ บทร้องเลน่ ของเด็ก เพลงพ้นื บา้ นที่เป็นภมู ิปัญญา
ท่ีมีคุณคา่ ของไทย ซ่ึงไดถ้ ่ายทอดความรู้สึกนึกคิด ค่านิยม ขนบธรรมเนียมประเพณี เร่ืองราวของสังคมในอดีต และความ
งดงามของภาษา เพื่อใหเ้ กิดความซาบซ้ึงและภมู ิใจ ในบรรพบุรุษที่ไดส้ ัง่ สมสืบทอดมาจนถึงปัจจุบนั
สาระและมาตรฐานการเรียนรู้
สาระที่ ๑ การอ่าน
มาตรฐาน ท ๑.๑ ใชก้ ระบวนการอา่ นสร้างความรู้และความคิดเพื่อนาํ ไปใชต้ ดั สินใจ แกป้ ัญหา ในการดาํ เนินชีวิต
และ มีนิสยั รักการอ่าน
สาระท่ี ๒ การเขียน
มาตรฐาน ท ๒.๑ ใชก้ ระบวนการเขียนเขยี นสื่อสาร เขียนเรียงความ ยอ่ ความ และเขียนเร่ืองราวในรูปแบบต่างๆ
เขยี นรายงานขอ้ มูลสารสนเทศ และรายงานการศึกษาคน้ ควา้ อยา่ งมีประสิทธิภาพ
สาระท่ี ๓ การฟัง การดู และการพูด
มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลือกฟังและดูอยา่ งมีวจิ ารณญาณ และพดู แสดงความรู้ ความคิด และความรู้สึกในโอกาส
ต่างๆ อยา่ งมีวิจารณญาณและสร้างสรรค์
สาระที่ ๔ หลกั การใช้ภาษาไทย
มาตรฐาน ท ๔.๑ เขา้ ใจธรรมชาติของภาษาและหลกั ภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลงั ของภาษา ภมู ิปัญญา
ทางภาษา และรักษาภาษาไทยไวเ้ ป็นสมบตั ิของชาติ
สาระท่ี ๕ วรรณคดีและวรรณกรรม
มาตรฐาน ท ๕.๑ เขา้ ใจและแสดงความคิดเห็น วจิ ารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอยา่ งเห็นคณุ ค่า และนาํ มา
ประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวติ จริง
๒๕
คณุ ภาพผ้เู รียน
จบช้ันประถมศึกษาปี ที่ ๓
• อ่านออกเสียงคาํ คาํ คลอ้ งจอง ขอ้ ความ เร่ืองส้ันๆ และบทร้อยกรองง่ายๆ ไดถ้ ูกตอ้ งคล่องแคล่ว เขา้ ใจ
ความหมายของคาํ และขอ้ ความท่ีอ่าน ต้งั คาํ ถามเชิงเหตุผล ลาํ ดบั เหตุการณ์ คาดคะเนเหตุการณ์ สรุปความรู้ขอ้ คิด
จากเร่ืองท่ีอ่าน ปฏิบตั ิตามคาํ สั่ง คาํ อธิบายจากเรื่องท่ีอ่านได้ เขา้ ใจความหมายของขอ้ มูลจากแผนภาพ แผนที่ และ
แผนภมู ิ อ่านหนงั สืออยา่ งสม่าํ เสมอ และมีมารยาทในการอ่าน
• มีทักษะในการคดั ลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด เขียนบรรยาย บันทึกประจาํ วนั เขียนจดหมายลาครู
เขียนเรื่องเก่ียวกบั ประสบการณ์ เขยี นเร่ืองตามจินตนาการและมีมารยาทในการเขียน
• เล่ารายละเอียดและบอกสาระสาํ คญั ต้งั คาํ ถาม ตอบคาํ ถาม รวมท้งั พูดแสดงความคดิ ความรู้สึกเกี่ยวกบั
เร่ืองที่ฟังและดู พูดส่ือสารเลา่ ประสบการณ์และพดู แนะนาํ หรือพูดเชิญชวนใหผ้ อู้ ื่นปฏิบตั ิตาม และมีมารยาท
ในการฟัง ดู และพูด
• สะกดคาํ และเขา้ ใจความหมายของคาํ ความแตกต่างของคาํ และพยางค์ หนา้ ที่ของคาํ ในประโยค
มีทกั ษะการใชพ้ จนานุกรมในการคน้ หาความหมายของคาํ แตง่ ประโยคงา่ ยๆ แต่งคาํ คลอ้ งจอง แต่งคาํ ขวญั และ
เลือกใชภ้ าษาไทยมาตรฐานและภาษาถ่ินไดเ้ หมาะสมกบั กาลเทศะ
• เขา้ ใจและสามารถสรุปขอ้ คดิ ที่ไดจ้ ากการอา่ นวรรณคดีและวรรณกรรมเพอ่ื นาํ ไปใชใ้ นชีวติ ประจาํ วนั
แสดงความคิดเห็นจากวรรณคดีที่อ่าน รู้จกั เพลงพ้ืนบา้ น เพลงกล่อมเด็ก ซ่ึงเป็นวฒั นธรรมของทอ้ งถิ่น ร้องบทร้องเลน่
สาํ หรับเด็กในทอ้ งถิ่น ทอ่ งจาํ บทอาขยานและบทร้อยกรองท่ีมีคุณคา่ ตามความสนใจได้
จบช้ันประถมศึกษาปี ที่ ๖
• อ่านออกเสียงบทร้อยแกว้ และบทร้อยกรองเป็นทาํ นองเสนาะไดถ้ กู ตอ้ ง อธิบายความหมายโดยตรงและ
ความหมายโดยนยั ของคาํ ประโยค ขอ้ ความ สาํ นวนโวหาร จากเรื่องท่ีอา่ น เขา้ ใจคาํ แนะนาํ คาํ อธิบายในคมู่ ือต่างๆ
แยกแยะขอ้ คดิ เห็นและขอ้ เท็จจริง รวมท้งั จบั ใจความสาํ คญั ของเร่ืองท่ีอา่ นและนาํ ความรู้ความคดิ จากเรื่องท่ีอ่านไป
ตดั สินใจแกป้ ัญหาในการดาํ เนินชีวติ ไดม้ ีมารยาทและมีนิสยั รักการอา่ น และเห็นคณุ คา่ ส่ิงท่ีอ่าน
• มีทกั ษะในการคดั ลายมือตวั บรรจงเตม็ บรรทดั และคร่ึงบรรทดั เขียนสะกดคาํ แต่งประโยคและเขยี น
ขอ้ ความ ตลอดจนเขยี นสื่อสารโดยใชถ้ อ้ ยคาํ ชดั เจนเหมาะสม ใชแ้ ผนภาพ โครงเร่ืองและแผนภาพความคิด เพื่อ
พฒั นางานเขยี น เขียนเรียงความ ยอ่ ความ จดหมายส่วนตวั กรอกแบบรายการตา่ งๆ เขยี นแสดงความรู้สึกและความ
คดิ เห็น เขียนเร่ืองตามจินตนาการอยา่ งสร้างสรรค์ และมีมารยาทในการเขียน
• พูดแสดงความรู้ ความคดิ เก่ียวกบั เร่ืองที่ฟังและดู เลา่ เร่ืองยอ่ หรือสรุปจากเร่ืองท่ีฟังและดู ต้งั คาํ ถาม
ตอบคาํ ถามจากเรื่องท่ีฟังและดู รวมท้งั ประเมินความน่าเชื่อถือจากการฟังและดูโฆษณาอยา่ งมีเหตุผล พูดตามลาํ ดบั
๒๖
ข้นั ตอนเรื่องตา่ งๆ อยา่ งชดั เจน พูดรายงานหรือประเดน็ คน้ ควา้ จาก การฟัง การดู การสนทนา และพูดโนม้ นา้ วได้
อยา่ งมีเหตุผล รวมท้งั มีมารยาทในการดูและพูด
• สะกดคาํ และเขา้ ใจความหมายของคาํ สาํ นวน คาํ พงั เพยและสุภาษิต รู้และเขา้ ใจ ชนิดและหนา้ ที่
ของคาํ ในประโยค ชนิดของประโยค และคาํ ภาษาต่างประเทศในภาษาไทย ใชค้ าํ ราชาศพั ทแ์ ละคาํ สุภาพไดอ้ ยา่ ง
เหมาะสม แตง่ ประโยค แตง่ บทร้อยกรองประเภทกลอนส่ี กลอนสุภาพ และกาพยย์ านี ๑๑
• เขา้ ใจและเห็นคุณคา่ วรรณคดีและวรรณกรรมที่อ่าน เลา่ นิทานพ้นื บา้ น ร้องเพลงพ้นื บา้ นของทอ้ งถ่ิน
นาํ ขอ้ คิดเห็นจากเร่ืองที่อา่ นไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวติ จริง และทอ่ งจาํ บทอาขยานตามที่กาํ หนดได้
จบช้ันมธั ยมศึกษาปี ที่ ๓
• อา่ นออกเสียงบทร้อยแกว้ และบทร้อยกรองเป็นทาํ นองเสนาะไดถ้ กู ตอ้ ง เขา้ ใจความหมายโดยตรงและ
ความหมายโดยนยั จบั ใจความสาํ คญั และรายละเอียดของส่ิงท่ีอ่าน แสดงความคดิ เห็นและขอ้ โตแ้ ยง้ เก่ียวกบั เร่ืองที่
อ่าน และเขยี นกรอบแนวคดิ ผงั ความคดิ ยอ่ ความ เขียนรายงานจาก สิ่งที่อา่ นได้ วิเคราะห์ วิจารณ์ อยา่ งมีเหตุผล
ลาํ ดบั ความอยา่ งมีข้นั ตอนและความเป็นไปไดข้ องเร่ืองที่อ่าน รวมท้งั ประเมินความถูกตอ้ งของขอ้ มลู ที่ใชส้ นบั สนุน
จากเรื่องท่ีอ่าน
• เขยี นส่ือสารดว้ ยลายมือท่ีอา่ นงา่ ยชดั เจน ใชถ้ อ้ ยคาํ ไดถ้ ูกตอ้ งเหมาะสมตามระดบั ภาษาเขียนคาํ ขวญั คาํ คม
คาํ อวยพรในโอกาสตา่ งๆ โฆษณา คติพจน์ สุนทรพจน์ ชีวประวตั ิ อตั ชีวประวตั ิและประสบการณ์ตา่ งๆ เขียนยอ่ ความ
จดหมายกิจธุระ แบบกรอกสมคั รงาน เขยี นวิเคราะห์ วิจารณ์ และแสดงความรู้ความคิดหรือโตแ้ ยง้ อยา่ งมีเหตุผล
ตลอดจนเขียนรายงานการศึกษาคน้ ควา้ และเขียนโครงงาน
• พดู แสดงความคดิ เห็น วิเคราะห์ วจิ ารณ์ ประเมินสิ่งท่ีไดจ้ ากการฟังและดู นาํ ขอ้ คิดไปประยกุ ตใ์ ชใ้ น
ชีวติ ประจาํ วนั พูดรายงานเรื่องหรือประเด็นท่ีไดจ้ ากการศึกษาคน้ ควา้ อยา่ งเป็นระบบ มีศิลปะในการพูด พูดในโอกาส
ตา่ งๆ ไดต้ รงตามวตั ถปุ ระสงค์ และพูดโนม้ นา้ วอยา่ งมีเหตุผลน่าเช่ือถือ รวมท้งั มีมารยาทในการฟัง ดู และพดู
• เขา้ ใจและใชค้ าํ ราชาศพั ท์ คาํ บาลีสันสกฤต คาํ ภาษาตา่ งประเทศอ่ืนๆ คาํ ทบั ศพั ท์ และศพั ทบ์ ญั ญตั ิใน
ภาษาไทย วเิ คราะหค์ วามแตกต่างในภาษาพูด ภาษาเขียน โครงสร้างของประโยครวม ประโยคซอ้ น ลกั ษณะภาษา
ท่ีเป็นทางการ ก่ึงทางการและไม่เป็นทางการ และแตง่ บทร้อยกรองประเภทกลอนสุภาพ กาพย์ และโคลงสี่สุภาพ
• สรุปเน้ือหาวรรณคดีและวรรณกรรมที่อา่ น วิเคราะห์ตวั ละครสาํ คญั วถิ ีชีวิตไทย และคณุ ค่าที่ไดร้ ับจาก
วรรณคดีวรรณกรรมและบทอาขยาน พร้อมท้งั สรุปความรู้ขอ้ คิดเพ่อื นาํ ไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวิตจริง
จบช้ันมัธยมศึกษาปี ท่ี ๖
• อ่านออกเสียงบทร้อยแกว้ และบทร้อยกรองเป็นทาํ นองเสนาะไดถ้ กู ตอ้ งและเขา้ ใจ ตีความ แปลความ
และขยายความเร่ืองที่อ่านได้ วิเคราะหว์ ิจารณ์เรื่องที่อ่าน แสดงความคดิ เห็นโตแ้ ยง้ และเสนอความคิดใหม่จากการ
อา่ นอยา่ งมีเหตุผล คาดคะเนเหตุการณ์จากเร่ืองที่อ่าน เขียนกรอบแนวคดิ ผงั ความคดิ บนั ทึก ยอ่ ความ และเขียน
รายงานจากส่ิงที่อ่าน สังเคราะห์ ประเมินคา่ และนาํ ความรู้ความคิดจากการอ่านมาพฒั นาตน พฒั นาการเรียน และ
๒๗
พฒั นาความรู้ทางอาชีพ และ นาํ ความรู้ความคดิ ไปประยกุ ตใ์ ชแ้ กป้ ัญหาในการดาํ เนินชีวติ มีมารยาทและมีนิสยั รัก
การอ่าน
• เขยี นส่ือสารในรูปแบบต่างๆ โดยใชภ้ าษาไดถ้ ูกตอ้ งตรงตามวตั ถุประสงค์ ยอ่ ความจากส่ือที่มีรูปแบบ
และเน้ือหาที่หลากหลาย เรียงความแสดงแนวคิดเชิงสร้างสรรคโ์ ดยใชโ้ วหารตา่ งๆ เขียนบนั ทึก รายงานการศึกษา
คน้ ควา้ ตามหลกั การเขยี นทางวิชาการ ใชข้ อ้ มูลสารสนเทศในการอา้ งอิง ผลิตผลงานของตนเองในรูปแบบตา่ งๆ
ท้งั สารคดีและบนั เทิงคดี รวมท้งั ประเมินงานเขยี นของผอู้ ื่นและนาํ มาพฒั นางานเขยี นของตนเอง
• ต้งั คาํ ถามและแสดงความคดิ เห็นเกี่ยวกบั เรื่องที่ฟังและดู มีวิจารณญาณในการเลือกเร่ืองท่ีฟังและดู
วเิ คราะห์วตั ถปุ ระสงค์ แนวคดิ การใชภ้ าษา ความน่าเช่ือถือของเร่ืองท่ีฟังและดู ประเมินสิ่งที่ฟังและดูแลว้ นาํ ไป
ประยกุ ตใ์ ชใ้ นการดาํ เนินชีวิต มีทกั ษะการพดู ในโอกาสต่างๆ ท้งั ที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการโดยใชภ้ าษาที่
ถูกตอ้ ง พดู แสดงทรรศนะ โตแ้ ยง้ โนม้ นา้ ว และเสนอแนวคดิ ใหม่อยา่ งมีเหตผุ ล รวมท้งั มีมารยาทในการฟัง ดู
และพูด
• เขา้ ใจธรรมชาติของภาษา อิทธิพลของภาษา และลกั ษณะของภาษาไทย ใชค้ าํ และกลมุ่ คาํ สร้างประโยค
ไดต้ รงตามวตั ถุประสงค์ แต่งคาํ ประพนั ธ์ประเภท กาพย์ โคลง ร่ายและฉนั ท์ ใชภ้ าษาไดเ้ หมาะสมกบั กาลเทศะและ
ใชค้ าํ ราชาศพั ทแ์ ละคาํ สุภาพไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง วิเคราะห์หลกั การ สร้างคาํ ในภาษาไทย อิทธิพลของภาษาตา่ งประเทศใน
ภาษาไทยและภาษาถ่ิน วเิ คราะหแ์ ละประเมินการใชภ้ าษาจากส่ือส่ิงพมิ พแ์ ละสื่ออิเลก็ ทรอนิกส์
• วิเคราะหว์ ิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมตามหลกั การวจิ ารณ์วรรณคดีเบ้ืองตน้ รู้และเขา้ ใจลกั ษณะเด่น
ของวรรณคดี ภมู ิปัญญาทางภาษาและวรรณกรรมพ้ืนบา้ น เชื่อมโยงกบั การเรียนรู้ทางประวตั ิศาสตร์และวถิ ีไทย
ประเมินคุณค่าดา้ นวรรณศิลป์ และนาํ ขอ้ คดิ จากวรรณคดีและวรรณกรรมไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวิตจริง
๒๘
โครงสร้างรายวชิ า
รายวชิ าตามโครงสร้างหลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนอนุบาลหว้ ยกระเจา พุทธศกั ราช ๒๕๖๓
ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย
ระดบั ประถมศึกษา รายวชิ าภาษาไทยพื้นฐาน
ระดบั ช้ัน รหัส ชื่อรายวชิ า เวลาเรียนรายปี
ช้นั ป. ๑ ท๑๑๑๐๑ ภาษาไทย ๕ ชวั่ โมง/สปั ดาห์ (๒๐๐/ปี )
ช้นั ป. ๒ ท๑๒๑๐๑ ภาษาไทย ๕ ชวั่ โมง/สปั ดาห์ (๒๐๐/ปี )
ช้นั ป. ๓ ท๑๓๑๐๑ ภาษาไทย ๕ ชวั่ โมง/สัปดาห์ (๒๐๐/ปี )
ช้นั ป. ๔ ท๑๔๑๐๑ ภาษาไทย ๔ ชวั่ โมง/สัปดาห์ (๑๖๐/ปี )
ช้นั ป. ๕ ท๑๕๑๐๑ ภาษาไทย ๔ ชวั่ โมง/สปั ดาห์ (๑๖๐/ปี )
ช้นั ป. ๖ ท๑๖๑๐๑ ภาษาไทย ๔ ชวั่ โมง/สัปดาห์ (๑๖๐/ปี )
ระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น
รายวชิ าภาษาไทยพื้นฐาน
ระดบั ช้ัน รหสั ช่ือรายวิชา เวลาเรียนรายภาค
ช้นั ม. ๑
ช้นั ม. ๒ ท๒๑๑๐๑ ภาษาไทย ๓ ชวั่ โมง/สปั ดาห์ (๑.๕ หน่วยกิต)
ช้นั ม. ๓ ท๒๑๑๐๒ ภาษาไทย ๓ ชวั่ โมง/สัปดาห์ (๑.๕ หน่วยกิต)
ท๒๒๑๐๑ ภาษาไทย ๓ ชวั่ โมง/สปั ดาห์ (๑.๕ หน่วยกิต)
ท๒๒๑๐๒ ภาษาไทย ๓ ชวั่ โมง/สปั ดาห์ (๑.๕ หน่วยกิต)
ท๒๓๑๐๑ ภาษาไทย ๓ ชวั่ โมง/สัปดาห์ (๑.๕ หน่วยกิต)
ท๒๓๑๐๒ ภาษาไทย ๓ ชวั่ โมง/สปั ดาห์ (๑.๕ หน่วยกิต)
๒๙
ระดบั ประถมศึกษา
รายวิชาภาษาไทยพื้นฐาน
คาํ อธิบายรายวิชา
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย เวลาเรียน ๕ ช่ัวโมง/สัปดาห์ ช้ันประถมศึกษาปี ท่ี ๑
รหสั วิชา ท๑๑๑๐๑ เวลา ๒๐๐ ชั่วโมง
ฝึกอ่านออกเสียงคาํ คาํ คลอ้ งจอง และขอ้ ความส้ัน ๆบอกความหมายของคาํ และขอ้ ความตอบคาํ ถามเล่าเรื่อง
ย่อคาดคะเนเหตุการณ์เลือกอ่านหนังสือตามความสนใจอย่างสม่าํ เสมอนําเสนอเรื่องที่อ่าน บอกความหมายของ
เคร่ืองหมายหรือสัญลกั ษณ์สาํ คญั ท่ีมกั พบเห็นในชีวิตประจาํ วนั มีมารยาทในการอ่านฝึกคดั ลายมือดว้ ยตวั บรรจง
เตม็ บรรทดั เขียนส่ือสารดว้ ยคาํ และประโยคง่ายๆมีมารยาทการเขียนฝึ กทกั ษะในการฟัง ฟังคาํ แนะนาํ คาํ สั่งง่ายๆและ
ปฏิบตั ิตามตอบคาํ ถาม เล่าเรื่องพูดแสดงความคดิ เห็นและความรู้สึกจากเร่ืองที่ฟังและดูพูดสื่อสารไดต้ ามวตั ถุประสงค์
เนน้ มารยาทในการฟังการดูและการพูดฝึ กทกั ษะการเขียนพยญั ชนะ สระ วรรณยกุ ต์ และเลขไทยเขียนสะกดคาํ และ
บอกความหมายของคาํ เรียบเรียงคาํ เป็นประโยคง่าย ๆ ต่อคาํ คลอ้ งจองง่ายๆประชาชนในอาเซียนแลกเปล่ียนเร่ืองราว
ขนบธรรมเนียมประเพณีอยา่ งมากมาย
บอกขอ้ คิดท่ีไดจ้ ากการอ่านหรือการฟังวรรณกรรมร้อยแกว้ และร้อยกรองสําหรับเด็กฝึ กท่องจาํ บทอาขยาน
ตามท่ีกาํ หนดและบทร้อยกรองตามความสนใจ
โดยใชก้ ระบวนการอ่าน กระบวนการเขียน กระบวนการแสวงหาความรู้ กระบวนการกลุ่ม กระบวนการคิด
การฝึ กปฏิบตั ิ อธิบาย บนั ทึก การต้งั คาํ ถาม ตอบคาํ ถาม ใชท้ กั ษะการฟัง การดูและการพูด พูดแสดงความคิดเห็น
กระบวนการสร้างความคดิ รวบยอด เพ่ือใหเ้ กิดความรู้ ความคิด ความเขา้ ใจ ส่ือสารไดถ้ ูกตอ้ ง รักการเรียนภาษาไทย
เห็นคุณค่าของการอนุรักษภ์ าษาไทย และตวั เลขไทย สามารถนาํ ความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ในชีวิตประจาํ วนั ได้
อยา่ งถกู ตอ้ งเหมาะสมประชาชนสามารถทาํ งานร่วมกนั โดยขา้ มพน้ อุปสรรคเร่ืองภาษา
ตวั ชี้วัด
ท ๑.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓, ป.๑/๔, ป.๑/๕, ป.๑/๖, ป.๑/๗, ป.๑/๘
ท ๒.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓
ท ๓.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓, ป.๑/๔, ป.๑/๕
ท ๔.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓, ป.๑/๔
ท ๕.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒
รวม ๒๒ ตัวชีว้ ัด
๓๐
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย รายวิชาภาษาไทยพืน้ ฐาน ช้ันประถมศึกษาปี ท่ี ๒
รหสั วิชา ท๑๒๑๐๑ เวลา ๒๐๐ ช่ัวโมง
คาํ อธิบายรายวชิ า
เวลาเรียน ๕ ช่ัวโมง/สัปดาห์
ฝึกอ่านออกเสียงคาํ คาํ คลอ้ งจอง ขอ้ ความ และบทร้อยกรองง่ายๆ อธิบายความหมายของคาํ และขอ้ ความท่ี
อ่านต้งั คาํ ถาม ตอบคาํ ถามระบุใจความสําคญั และรายละเอียดแสดงความคิดเห็นและคาดคะเนเหตุการณ์เลือกอ่าน
หนังสือตามความสนใจอย่างสม่าํ เสมอและนําเสนอเร่ืองที่อ่านอ่านข้อเขียนเชิงอธิบาย และปฏิบัติตามคาํ ส่ังหรือ
ขอ้ แนะนาํ มีมารยาทในการอ่านฝึกคดั ลายมือดว้ ยตวั บรรจงเตม็ บรรทดั เขียนเร่ืองส้นั ๆ เกี่ยวกบั ประสบการณ์
เขียนเรื่องส้ันๆ ตามจินตนาการมีมารยาทในการเขียน ฝึ กทกั ษะการฟัง ฟังคาํ แนะนาํ คาํ สั่งที่ซับซอ้ นและปฏิบตั ิตาม
เลา่ เร่ือง บอกสาระสาํ คญั ของเร่ืองต้งั คาํ ถามตอบคาํ ถามพดู แสดงความคิดเห็นความรู้สึก พดู ส่ือสารไดช้ ดั เจนตรงตาม
วตั ถปุ ระสงคม์ ีมารยาทในการฟังการดูและการพูดฝึกทกั ษะการเขียนพยญั ชนะ สระ วรรณยกุ ต์ และเลขไทย
เขียนสะกดคาํ และบอกความหมายของคาํ เรียบเรียงคาํ เป็ นประโยคไดต้ รงตามเจตนาของการสื่อสารบอกลกั ษณะคาํ
คลอ้ งจองเลือกใช้ภาษาไทยมาตรฐาน และ ภาษาถ่ินได้เหมาะสมกบั กาลเทศะฝึ กจบั ใจความสําคญั จากเร่ือง ระบุ
ขอ้ คิดท่ีไดจ้ ากการอ่านหรือการฟังวรรณกรรมสาํ หรับเด็กเพื่อนาํ ไปใชใ้ นชีวิตประจาํ วนั ร้องบทร้องเล่นสําหรับเด็กใน
ทอ้ งถิ่นเช่น ภาษาลาวโซ่ง การพูดสําเนียงทอ้ งถ่ิน และภาษาลาวโซ่ง ท่องจาํ บทอาขยานตามท่ีกาํ หนดและบทร้อย
กรองท่ีมีคณุ คา่ ตามความสนใจ
โดยใชก้ ระบวนการอ่าน กระบวนการเขยี น กระบวนการแสวงหาความรู้ กระบวนการกล่มุ กระบวนการ
คดิ วเิ คราะห์ กระบวนการสื่อความ กระบวนการแกป้ ัญหา การฝึกปฏิบตั ิ อธิบาย บนั ทึก การต้งั คาํ ถาม ตอบคาํ ถาม
ใชท้ กั ษะการฟัง การดูและการพูด พดู แสดงความคดิ เห็น กระบวนการสร้างความคิดรวบยอด
เพ่ือใหเ้ กิดความรู้ ความคดิ ความเขา้ ใจ ส่ือสารไดถ้ ูกตอ้ ง รักการเรียนภาษาไทย เห็นคุณค่าของการอนุรักษ์
ภาษาไทย และตวั เลขไทย สามารถนาํ ความรู้ไปใชใ้ หเ้ กิดประโยชน์ในชีวติ ประจาํ วนั ไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ งเหมาะสม
ตวั ชี้วดั
ท ๑.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕, ป.๒/๖, ป.๒/๗, ป.๒/๘
ท ๒.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔
ท ๓.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕, ป.๒/๖, ป.๒/๗
ท ๔.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕
ท ๕.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓
รวม ๒๗ ตวั ชี้วัด
๓๑
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย รายวชิ าภาษาไทยพืน้ ฐาน ช้ันประถมศึกษาปี ที่ ๓
รหสั วชิ า ท๑๓๑๐๑ เวลา ๒๐๐ ช่ัวโมง
คาํ อธบิ ายรายวิชา
เวลาเรียน ๕ ช่ัวโมง/สัปดาห์
ฝึกอา่ นออกเสียงคาํ ขอ้ ความ เรื่องส้ัน ๆ และบทร้อยกรองงา่ ยๆ อธิบายความหมายของคาํ และขอ้ ความท่ีอา่ น
ต้งั คาํ ถาม ตอบคาํ ถามเชิงเหตุผล ลาํ ดบั เหตุการณ์ คาดคะเนเหตุการณ์สรุปความรู้ขอ้ คิดจากเร่ืองท่ีอ่าน เพื่อนําไปใช้ใน
ชีวติ ประจาํ วนั เลือกอ่านหนงั สือตามความสนใจอยา่ งสม่าํ เสมอและนาํ เสนอเร่ืองที่อ่านอา่ นขอ้ เขียนเชิงอธิบาย และปฏิบตั ิตาม
คาํ ส่ังหรือขอ้ แนะนาํ อธิบายความหมายของขอ้ มูลจากแผนภาพ แผนที่ และแผนภมู ิ มีมารยาทในการอา่ น ฝึกคดั ลายมือ
ดว้ ยตวั บรรจงเตม็ บรรทดั เขียนบรรยาย เขียนบนั ทึกประจาํ วนั เขียนเร่ืองตามจินตนาการ มีมารยาทในการเขยี น ฝึกทกั ษะ
การฟัง การดูและการพูด เล่ารายละเอียดบอกสาระสําคญั ต้งั คาํ ถาม ตอบคาํ ถาม พูดแสดงความคิดเห็น ความรู้สึก พูด
ส่ือสารไดช้ ดั เจนตรงตามวตั ถุประสงค์ มีมารยาทในการฟังการดูและการพูด ฝึ กเขียนตามหลกั การเขียน เขียนสะกดคาํ และ
บอกความหมายของคาํ ระบุชนิด หน้าท่ีของคาํ ใชพ้ จนานุกรมคน้ หาความหมายของคาํ แต่งประโยคง่ายๆแต่งคาํ คลอ้ งจอง
และคาํ ขวญั เลือกใชภ้ าษาไทยมาตรฐานและภาษาถิ่นไดเ้ หมาะสมกบั กาลเทศะ
ระบุขอ้ คดิ ที่ไดจ้ ากการอ่านวรรณกรรมเพ่ือนาํ ไปใชใ้ นชีวติ ประจาํ วนั รู้จกั เพลงพ้ืนบา้ น เพลงเหยย่ เพลง ร่อยพรรษา
ภาษาถิ่น การพดู สาํ เนียงทอ้ งถิ่น เพลงกล่อมเด็ก บทกวอี ธิบายถึงความสมั พนั ธข์ องคนกบั ธรรมชาติ เพื่อปลกู ฝังความชื่น
ชมวฒั นธรรมทอ้ งถิ่นแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกบั วรรณคดีที่อ่าน ทอ่ งจาํ บทอาขยานตามท่ีกาํ หนดและบทร้อยกรองท่ีมีคุณค่า
ตามความสนใจ
โดยใชก้ ระบวนการอา่ น กระบวนการเขยี น กระบวนการแสวงหาความรู้ กระบวนการกลมุ่ กระบวนการคิด
วเิ คราะห์ กระบวนการส่ือความ กระบวนการแกป้ ัญหา การฝึกปฏิบตั ิ อธิบาย บนั ทึก การต้งั คาํ ถาม ตอบคาํ ถาม ใชท้ กั ษะ
การฟัง การดูและการพดู พดู แสดงความคดิ เห็น กระบวนการสร้างความคดิ รวบยอด เพือ่ ใหเ้ กิดความรู้ ความคิด ความเขา้ ใจ
ส่ือสารไดถ้ ูกตอ้ ง รักการเรียนภาษาไทย เห็นคุณคา่ ของการอนุรักษภ์ าษาไทย และตวั เลขไทย สามารถนาํ ความรู้ไปใชใ้ หเ้ กิด
ประโยชนใ์ นชีวิตประจาํ วนั ไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ งเหมาะสม
ตัวชีว้ ัด
ท ๑.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖, ป.๓/๗, ป.๓/๘, ป.๓/๙
ท ๒.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖
ท ๓.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖
ท ๔.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖
ท ๕.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔
รวม ๓๑ ตวั ชี้วดั
ผลการเรียนรู้ของอาเซียน
- บทกวีอธิบายถึงความสมั พนั ธ์ของคนกบั ธรรมชาติ
รวม ๑ ผลการเรียนรู้
๓๒
รายวชิ าภาษาไทยพืน้ ฐาน
คาํ อธบิ ายรายวชิ า
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ช้ันประถมศึกษาปี ท่ี ๔
รหสั วิชา ท๑๔๑๐๑ เวลาเรียน ๔ ชั่วโมง/สัปดาห์ เวลา ๑๖๐ ช่ัวโมง
ฝึกอ่านออกเสียงบทร้อยแกว้ และบทร้อยกรอง อธิบายความหมายของคาํ ประโยคและสาํ นวนจากเรื่องที่อ่าน
อา่ นเร่ืองส้นั ๆ ตามเวลาที่กาํ หนดและตอบคาํ ถามจากเร่ืองที่อ่าน แยกขอ้ เทจ็ จริงและขอ้ คิดเห็นจากเรื่องที่อ่าน
คาดคะเนเหตกุ ารณ์จากเรื่องท่ีอ่าน โดยระบุเหตุผลประกอบ สรุปความรู้และขอ้ คิดจากเรื่องที่อา่ น เพ่อื นาํ ไปใช้
ในชีวติ ประจาํ วนั เลือกอ่านหนงั สือที่มีคุณค่าตามความสนใจอยา่ งสม่าํ เสมอและแสดงความคดิ เห็นเก่ียวกบั เรื่องที่อา่ น
มีมารยาทในการอ่าน ฝึกคดั ลายมือดว้ ยตวั บรรจงเตม็ บรรทดั และคร่ึงบรรทดั เขียนส่ือสารโดยใชค้ าํ ไดถ้ กู ตอ้ ง ชดั เจน
และเหมาะสม เขียนแผนภาพโครงเร่ืองและแผนภาพความคิดเพ่ือใชพ้ ฒั นางานเขียน เขียนยอ่ ความจากเรื่องส้นั ๆ
เขียนจดหมายถึงเพื่อน บิดา มารดา เขียนบนั ทึกและเขียนรายงานจากการศึกษาคน้ ควา้ เขยี นเร่ืองตามจินตนาการ
มีมารยาทในการเขยี น ฝึกทกั ษะการฟัง การดูและการพูด จาํ แนกขอ้ เทจ็ จริงและขอ้ คิดเห็นเรื่องที่ฟังและดู พูดสรุป
จากการฟังและดู พูดแสดงความรู้ ความคดิ เห็นและความรู้สึกเกี่ยวกบั เร่ืองท่ีฟังและดู ต้งั คาํ ถามและตอบคาํ ถามเชิง
เหตุผลจากเรื่องที่ฟังและดู พดู รายงานเร่ืองหรือประเดน็ ที่ศึกษาคน้ ควา้ จากการฟัง การดูและการสนทนา มีมารยาทใน
การฟัง การดู และการพดู ฝึ กเขียนตามหลกั การเขยี น เขียนสะกดคาํ และบอกความหมายของคาํ ในบริบทตา่ ง ๆ ระบุ
ชนิดและหนา้ ท่ี ของคาํ ในประโยค ใชพ้ จนานุกรมคน้ หาความหมายของคาํ แต่งประโยคไดถ้ กู ตอ้ งตามหลกั ภาษา
แต่งบทร้อยกรองและคาํ ขวญั บอกความหมายของสาํ นวน เปรียบเทียบภาษาไทยมาตรฐาน และภาษาถิ่นได้ ระบุ
ขอ้ คิดจากนิทานพ้นื บา้ นหรือนิทานคติธรรม อธิบายขอ้ คิดจากการอ่านเพื่อนาํ ไปใชใ้ นชีวติ จริง ร้องเพลงพ้นื บา้ น
ท่องจาํ บทอาขยานตามที่กาํ หนด และบทร้อยกรองท่ีมีคุณคา่ ตามความสนใจ
โดยใชก้ ระบวนการอ่าน กระบวนการเขียน กระบวนการแสวงหาความรู้ กระบวนการกล่มุ กระบวนการ
คดิ วิเคราะห์และสรุปความ กระบวนการคิดอยา่ งมีวิจารณญาณ กระบวนการส่ือความ กระบวนการแกป้ ัญหา
การฝึกปฏิบตั ิ อธิบาย บนั ทึก การต้งั คาํ ถาม ตอบคาํ ถาม ใชท้ กั ษะการฟัง การดูและการพดู พดู แสดงความคิดเห็น
กระบวนการสร้างความคดิ รวบยอด
เพ่ือใหเ้ กิดความรู้ ความคดิ ความเขา้ ใจ สื่อสารไดถ้ กู ตอ้ ง รักการเรียนภาษาไทย เห็นคณุ คา่ ของการอนุรักษ์
ภาษาไทย และตวั เลขไทย สามารถนาํ ความรู้ไปใชใ้ หเ้ กิดประโยชนใ์ นชีวิตประจาํ วนั ไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ งเหมาะสม
ตวั ชี้วัด
ท ๑.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖, ป.๔/๗, ป.๔/๘
ท ๒.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖, ป.๔/๗, ป.๔/๘
ท ๓.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖
ท ๔.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖, ป.๔/๗
ท ๕.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔
รวม ๓๓ ตวั ชีว้ ัด
๓๓
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย รายวิชาภาษาไทยพืน้ ฐาน ช้ันประถมศึกษาปี ที่ ๕
รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ เวลา ๑๖๐ ช่ัวโมง
คําอธิบายรายวิชา
เวลาเรียน ๔ ชั่วโมง/สัปดาห์
ฝึกอ่านออกเสียงบทร้อยแกว้ และบทร้อยกรอง อธิบายความหมายของคาํ ประโยคและขอ้ ความที่เป็น
การบรรยายและการพรรณนา อธิบายความหมายโดยนยั แยกขอ้ เทจ็ จริง ขอ้ คิดเห็น วิเคราะห์ แสดงความคดิ เห็น
อา่ นงานเขยี นเชิงอธิบาย คาํ สั่ง ขอ้ แนะนาํ และปฏิบตั ิตาม เลือกอา่ นหนงั สือที่มีคณุ ค่าตามความสนใจ มีมารยาท
ในการอ่าน ฝึกคดั ลายมือดว้ ยตวั บรรจงเตม็ บรรทดั และคร่ึงบรรทดั เขียนสื่อสาร เขยี นแผนภาพโครงเรื่อง
แผนภาพความคิด เขยี นยอ่ ความ เขยี นจดหมายถึงผปู้ กครองและญาติ เขยี นแสดงความรู้สึกและความคดิ เห็น
กรอกแบบรายการต่าง ๆ เขียนเร่ืองตามจินตนาการ มีมารยาทในการเขียน ฝึกทกั ษะการฟัง การดูและการพูด พดู
แสดงความรู้ ความคิดเห็นและความรู้สึก ต้งั คาํ ถาม ตอบคาํ ถาม วเิ คราะหค์ วาม พดู รายงาน มีมารยาทในการฟัง
การดูและการพดู ระบชุ นิดและหนา้ ที่ของคาํ ในประโยค จาํ แนกส่วนประกอบของประโยค เปรียบเทียบภาษาไทย
มาตรฐานและภาษาถ่ิน ใชค้ าํ ราชาศพั ท์ บอกคาํ ภาษาตา่ งประเทศในภาษาไทย แตง่ บทร้อยกรอง ใชส้ าํ นวน
ไดถ้ กู ตอ้ งสรุปเรื่องจากวรรณคดีหรือวรรณกรรมที่อ่าน ระบุความรู้ ขอ้ คดิ จากการอ่านวรรณคดีและวรรณกรรม
ท่ีสามารถนาํ ไปใชใ้ นชีวติ จริง อธิบายคุณคา่ ของวรรณคดี และวรรณกรรม ท่องจาํ บทอาขยานตามที่กาํ หนด และ
บทร้อยกรองท่ีมีคุณค่าตามความสนใจ
โดยใชก้ ระบวนการอ่าน กระบวนการเขยี น กระบวนการแสวงหาความรู้ กระบวนการกลมุ่ กระบวนการ
คิดวิเคราะห์และสรุปความ กระบวนการคิดอยา่ งมีวิจารณญาณ กระบวนการสื่อความ กระบวนการแกป้ ัญหา
การฝึกปฏิบตั ิ อธิบาย บนั ทึก การต้งั คาํ ถาม ตอบคาํ ถาม ใชท้ กั ษะการฟัง การดูและการพูด พดู แสดงความคิดเห็น
กระบวนการสร้างความคดิ รวบยอด
เพือ่ ใหเ้ กิดความรู้ ความคิด ความเขา้ ใจ ส่ือสารไดถ้ กู ตอ้ ง รักการเรียนภาษาไทย เห็นคณุ ค่าของการอนุรักษ์
ภาษาไทย และตวั เลขไทย สามารถนาํ ความรู้ไปใชใ้ ห้เกิดประโยชน์ในชีวิตประจาํ วนั
ไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ งเหมาะสม
ตวั ชี้วดั
ท ๑.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕, ป.๕/๖, ป.๕/๗, ป.๕/๘
ท ๒.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕, ป.๕/๖, ป.๕/๗, ป.๕/๘, ป.๕/๙
ท ๓.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕
ท ๔.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕, ป.๕/๖, ป.๕/๗
ท ๕.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔
รวม ๓๓ ตัวชีว้ ัด
๓๔
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย รายวชิ าภาษาไทยพื้นฐาน ช้ันประถมศึกษาปี ท่ี ๖
รหสั วชิ า ท๑๖๑๐๑ เวลา ๑๖๐ ชั่วโมง
คาํ อธิบายรายวิชา
เวลาเรียน ๔ ชั่วโมง/สัปดาห์
ฝึกอ่านออกเสียงบทร้อยแกว้ และบทร้อยกรอง อธิบายความหมายของคาํ ประโยคและขอ้ ความท่ีเป็นโวหาร
อ่านเร่ืองส้นั ๆอยา่ งหลากหลาย แยกขอ้ เทจ็ จริงและขอ้ คิดเห็นจากเรื่องท่ีอ่านวเิ คราะห์และแสดงความคิดเห็นเก่ียวกบั
เร่ืองท่ีอา่ นเพื่อนาํ ไปใชใ้ นการดาํ เนินชีวิตอา่ นงานเขียนเชิงอธิบาย คาํ ส่งั ขอ้ แนะนาํ และปฏิบตั ิตามอธิบาย
ความหมายของขอ้ มลู จากการอา่ นแผนผงั แผนที่ แผนภูมิและกราฟเลือกอา่ นหนงั สือตามความสนใจ และอธิบาย
คณุ คา่ ท่ีไดร้ ับมีมารยาทในการอา่ น ฝึกคดั ลายมือดว้ ยตวั บรรจงเตม็ บรรทดั และคร่ึงบรรทดั เขยี นส่ือสารโดยใชค้ าํ ได้
ถูกตอ้ ง ชดั เจน และเหมาะสมเขียนแผนภาพโครงเรื่องและแผนภาพความคิดเพอ่ื ใชพ้ ฒั นางานเขียนเขียนเรียงความ
เขียนยอ่ ความ จากเร่ืองอ่านเขยี นจดหมายส่วนตวั กรอกแบบรายการตา่ ง ๆเขียนเรื่องตามจินตนาการและสร้างสรรคม์ ี
มารยาทในการเขียน ฝึกทกั ษะการฟัง การดูและการพูด พดู แสดงความรู้ ความเขา้ ใจจุดประสงคข์ องเร่ืองที่ฟังและดู
ต้งั คาํ ถามและตอบคาํ ถามเชิงเหตุผลจากเร่ืองที่ฟังและดูวเิ คราะห์ความน่าเช่ือถือจากเร่ืองที่ฟังและดูส่ือโฆษณาอยา่ งมี
เหตผุ ล พูดรายงานเร่ืองหรือประเดน็ ท่ีศึกษาคน้ ควา้ จากการฟัง การดูและการสนทนาพูดโนม้ นา้ วอยา่ งมีเหตผุ ลและ
น่าเชื่อถือมีมารยาทในการฟังการดูและการพดู ฝึกวิเคราะหช์ นิดและหนา้ ท่ีของคาํ ในประโยคใชค้ าํ ไดเ้ หมาะสมกบั
กาลเทศะและบคุ คลรวบรวม และบอกความหมายของคาํ ภาษาต่างประเทศท่ีใชใ้ นภาษาไทยระบลุ กั ษณะของประโยค
แตง่ บทร้อยกรองวิเคราะหเ์ ปรียบเทียบสาํ นวนท่ีเป็นคาํ พงั เพย และสุภาษิตฝึกแสดงความคิดเห็นจากวรรณคดีหรือ
วรรณกรรมท่ีอ่านเลา่ นิทานพ้ืนบา้ นทอ้ งถ่ินตนเองเพลงพ้ืนบา้ น เพลงเหยย่ เพลงร่อยพรรษา และนิทานพ้นื บา้ นของ
ทอ้ งถิ่นอ่ืนตาํ นานบา้ นทวน ตาํ นานพระแท่นดงรังอธิบายคุณคา่ ของวรรณคดีและวรรณกรรมที่อ่าน เร่ืองราว
วรรณกรรมมีอิทธิพลต่ออตั ลกั ษณ์ของประชาชน และนาํ ไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวิตจริงเหตุการณ์ต่างๆที่เกิดข้ึนทว่ั โลกช่วย
กาํ หนดวรรณกรรม ท่องจาํ บทอาขยานตามท่ีกาํ หนดและบทร้อยกรองบทกวอี ธิบายถึงความสมั พนั ธ์ของคนกบั
ธรรมชาติ
โดยใชก้ ระบวนการอ่าน กระบวนการเขียน กระบวนการแสวงหาความรู้ กระบวนการกลุม่ กระบวนการคิด
วิเคราะห์และสรุปความ กระบวนการคดิ อยา่ งมีวจิ ารณญาณ กระบวนการสื่อความ กระบวนการแกป้ ัญหา
กระบวนการสังเกต กระบวนการแยกขอ้ เทจ็ จริง กระบวนการคน้ ควา้ กระบวนการใชเ้ ทคโนโลยใี นการส่ือสาร
กระบวนการใชท้ กั ษะทางภาษา การฝึกปฏิบตั ิ อธิบาย บนั ทึก การต้งั คาํ ถาม ตอบคาํ ถาม ใชท้ กั ษะการฟัง การดูและ
การพดู พดู แสดงความคิดเห็น กระบวนการสร้างความคิดรวบยอด
เพอ่ื ใหเ้ กิดความรู้ ความคิด ความเขา้ ใจ สื่อสารไดถ้ กู ตอ้ ง รักการเรียนภาษาไทย เห็นคุณคา่ ของการอนุรักษ์
ภาษาไทย และตวั เลขไทย สามารถนาํ ความรู้ไปใชใ้ ห้เกิดประโยชน์ในชีวิตประจาํ วนั ไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ งเหมาะสม
๓๕
ตวั ชี้วัด
ท ๑.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖, ป.๖/๗, ป.๖/๘, ป.๖/๙
ท ๒.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖, ป.๖/๗, ป.๖/๘, ป.๖/๙
ท ๓.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖
ท ๔.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖
ท ๕.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔
รวม ๓๔ ตัวชี้วัด
ผลการเรียนรู้ของอาเซียน
- เร่ืองราววรรณกรรมมีอิทธิพลตอ่ อตั ลกั ษณ์ของประชาชน
-เหตุการณ์ต่างๆที่เกิดข้นึ ทว่ั โลกช่วยกาํ หนดวรรณกรรม
-บทกวีอธิบายถึงความสมั พนั ธข์ องคนกบั ธรรมชาติ
รวม ๓ ผลการเรียนรู้
๓๖
ระดบั มธั ยมศึกษา
รายวิชาภาษาไทยพืน้ ฐาน
คําอธบิ ายรายวิชา
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย รายวิชา ภาษาไทย รหัสวิชา ท๒๑๑๐๑ ช้ันมธั ยมศึกษาปี ท่ี ๑
ภาคเรียนท่ี ๑ จํานวน ๑.๕ หน่วยกติ เวลาเรียน ๓ ชั่วโมง/สัปดาห์ เวลา ๖๐ ช่ัวโมง/ภาคเรียน
ฝึกทกั ษะการอ่านออกเสียงท้งั ร้อยแกว้ และร้อยกรอง สรุปใจความสาํ คญั ระบเุ หตุผลจากเร่ืองที่อ่าน
อธิบายคาํ เปรียบเทียบ ตีความคาํ ยากในเอกสารวิชาการ คดั ลายมือตวั บรรจงคร่ึงบรรทดั เขยี นสื่อสาร เขียนบรรยาย
บนั ทึกความทรงจาํ น้นั เป็นการแสดงความคดิ เห็นทางประวตั ิศาสตร์อยา่ งหน่ึง เรียงความ ยอ่ ความ พดู สรุปใจความ
สาํ คญั พดู แสดงความคดิ เห็นเชิงสร้างสรรค์ เล่าเรื่องยอ่ อธิบายลกั ษณะของเสียงในภาษาไทย การสร้างคาํ ประสม
คาํ ซ้าํ คาํ ซอ้ น คาํ พอ้ ง วิเคราะหช์ นิดและหนา้ ท่ีของคาํ ในประโยค สรุปเน้ือหาวรรณคดี และวรรณกรรมที่อา่ น
วเิ คราะห์และอธิบายคณุ คา่ ของวรรณคดีและวรรณกรรมที่อา่ นภาษาท่ีไมไ่ ดเ้ ป็นภาษาราชการ หรือภาษาหลกั มีขนม
ธรรมเนียมประเพณีท่ีหลากหลาย เพอ่ื นาํ ไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวติ จริง
โดยใชก้ ระบวนการทางภาษา การสืบคน้ ความรู้ การจดบนั ทึก ใชค้ วามสามารถในการคิด การอภิปราย
เพ่อื ใหเ้ กิดความรู้ ความเขา้ ใจในการเรียนรู้ ใชค้ วามสามารถในการสื่อสารกบั ผูอ้ ่ืนใหเ้ ขา้ ใจตรงกนั เห็นคุณค่า
ของภาษาไทย นาํ ความรู้ไปในการแกป้ ัญหาใหเ้ กิดประโยชนใ์ นชีวติ
เป็นผมู้ ีคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ มีมารยาทในการอา่ น การเขียน การฟัง การดูและการพูด เห็นคณุ ค่า
ภาษาไทยซ่ึงเป็นเอกลกั ษณ์ของชาติ รักชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ ซ่ือสตั ยส์ ุจริต มีวินยั ใฝ่เรียนรู้ อยอู่ ยา่ งพอเพียง มุ่งมนั่
ในการทาํ งาน รักความเป็นไทยและมีจิตสาธารณะเพอื่ ใหเ้ กิดการเรียนรู้อยา่ งมีประสิทธิภาพ ภาคภมู ิใจในภาษาไทย
และรักษาไวเ้ ป็นสมบตั ิของชาติ
ตัวชีว้ ัด
ท ๑.๑ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๓, ม.๑/๔, ม.๑/๕
ท ๒.๑ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๓, ม.๑/๔, ม.๑/๕, ม.๑/๙
ท ๓.๑ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๓
ท ๔.๑ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๓, ม.๑/๔
ท ๕.๑ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๓
รวม ๒๑ ตวั ชี้วัด
ผลการเรียนรู้อาเซียน
- บนั ทึกความทรงจาํ น้นั เป็นการแสดงความคิดเห็นทางประวตั ิศาสตร์อยา่ งหน่ึง
- ภาษาท่ีไมไ่ ดเ้ ป็นภาษาราชการ หรือภาษาหลกั มีขนมธรรมเนียมประเพณีท่ีหลากหลาย
รวม ๒ ผลการเรียนรู้
๓๗
รายวิชาภาษาไทยพื้นฐาน ช้ันมัธยมศึกษาปี ที่ ๑
เวลา ๖๐ ช่ัวโมง/ภาคเรียน
คําอธิบายรายวชิ า
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย รายวิชา ภาษาไทย รหสั วชิ า ท๒๑๑๐๒
ภาคเรียนที่ ๒ จาํ นวน ๑.๕ หน่วยกติ เวลาเรียน ๓ ชั่วโมง/สัปดาห์
ฝึกอา่ นจบั ใจความสาํ คญั โดยระบุขอ้ สังเกตและความสมเหตุสมผลจากการอ่านงานเขียนประเภทชกั จูง
โนม้ นา้ วใจ ปฏิบตั ิตามเอกสารคู่มือแนะนาํ ต่าง ๆ เลือกอ่านหนงั สือตามความสนใจ วิเคราะห์คุณคา่ ที่ไดร้ ับจาก
การอ่าน งานเขียนตา่ ง ๆ เพื่อนาํ ไปใชแ้ กป้ ัญหาในชีวิต มีมารยาทในการอา่ นและการเขียน เขยี นแสดงความคิดเห็น
เขียนจดหมาย เขียนรายงานการศึกษาคน้ ควา้ และโครงงาน การอพยพของผคู้ นมีอิทธิพลในการเผยแพร่ภาษาในแถบ
เอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ พดู ประเมินความน่าเช่ือถือของสื่อ พูดรายงาน มีมารยาทในการฟัง การดูและการพดู ภาษา
ทุกภาษาไดร้ วบรวมรูปแบบของความสุภาพซ่ึงเช่ือมสมั พนั ธภพของประชาชนเขา้ ดว้ ยกนั วิเคราะหค์ วามแตกตา่ งของ
ภาษาพดู และภาษาเขียน แตง่ กาพยย์ านี จาํ แนกและใชส้ าํ นวนที่เป็นคาํ พงั เพยและสุภาษติ สรุปความรู้ ขอ้ คิดจากการ
อ่านวรรณคดีและวรรณกรรมเร่ืองและนิยายปรัมปราสามารถบอกเลา่ ดว้ ยวิธีที่หลากหลาย ทอ่ งจาํ บทอาขยานและบท
ร้อยกรองที่มีคุณคา่ ตามความสนใจ
โดยใชก้ ระบวนการทางภาษา กระบวนการกลมุ่ สมั พนั ธ์ จดั การเรียนรู้เพ่ือพฒั นาความคิด เรียนรู้
แบบโครงงาน ใหร้ ู้วิธีการแกป้ ัญหาอยา่ งเป็นระบบ วางแผน คดิ วิเคราะห์ ประเมินผล ฝึ กการเป็นผนู้ าํ และผตู้ าม
มีความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี สามารถสร้างองคค์ วามรู้ นาํ เสนอความรู้ เห็นคุณคา่ ของการนาํ ความรู้
ไปใชป้ ระโยชนใ์ นชีวติ ประจาํ วนั มีคุณธรรม จริยธรรม และมีมารยาทในการใชภ้ าษา
เป็นผมู้ ีคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ มีมารยาทในการอ่าน การเขียน การฟัง การดูและการพดู เห็นคณุ ค่า
ภาษาไทยซ่ึงเป็นเอกลกั ษณ์ของชาติ รักชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ ซื่อสัตยส์ ุจริต มีวนิ ยั ใฝ่เรียนรู้ อยอู่ ยา่ งพอเพียง
มุ่งมน่ั ในการทาํ งาน รักความเป็นไทยและมีจิตสาธารณะเพ่ือใหเ้ กิดการเรียนรู้อยา่ งมีประสิทธิภาพ ภาคภมู ิใจ
ในภาษาไทย และรักษาไวเ้ ป็นสมบตั ิของชาติ
ตวั ชีว้ ัด
ท ๑.๑ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๖, ม.๑/๗, ม.๑/๙
ท ๒.๑ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๖, ม.๑/๗, ม.๑/๘, ม.๑/๙
ท ๓.๑ ม.๑/๓, ม.๑/๔, ม.๑/๕, ม.๑/๖
ท ๔.๑ ม.๑/๔, ม.๑/๕, ม.๑/๖
ท ๕.๑ ม.๑/๒, ม.๑/๔, ม.๑/๕,
รวม ๒๒ ตัวชีว้ ดั
๓๘
ผลการเรียนรู้อาซียน
- การอพยพของผคู้ นมีอิทธิพลในการเผยแพร่ภาษาในแถบเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้
- ภาษาทกุ ภาษาไดร้ วบรวมรูปแบบของความสุภาพซ่ึงเชื่อมสมั พนั ธภพของประชาชนเขา้ ดว้ ยกนั
- เร่ืองและนิยายปรัมปราสามารถบอกเลา่ ดว้ ยวธิ ีท่ีหลากหลาย
รวม ๓ ผลการเรียนรู้
๓๙
รายวชิ าภาษาไทยพื้นฐาน ช้ันมัธยมศึกษาปี ท่ี ๒
เวลา ๖๐ ช่ัวโมง/ภาคเรียน
คําอธบิ ายรายวิชา
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย รายวิชา ภาษาไทย รหสั วชิ า ท๒๒๑๐๑
ภาคเรียนท่ี ๑ จํานวน ๑.๕ หน่วยกติ เวลาเรียน ๓ ชั่วโมง/สัปดาห์
ฝึกอ่านออกเสียงใหถ้ ูกตอ้ ง จบั ใจความสาํ คญั ของเร่ืองท่ีอา่ น เขียนแผนผงั ความคดิ แสดงความคดิ เห็น และ
ขอ้ โตแ้ ยง้ จากการอา่ น ฝึกคดั ลายมือตวั บรรจงคร่ึงบรรทดั เขยี นบรรยาย พรรณนา เรียงความ ยอ่ ความ พูดสรุป
ใจความสาํ คญั จากการฟังและการดู วเิ คราะห์ขอ้ เทจ็ จริงและขอ้ คิดเห็นบนั ทึกความทรงจาํ น้นั เป็นการแสดงความ
คดิ เห็นทางประวตั ิศาสตร์อยา่ งหน่ึง วจิ ารณ์เรื่องที่ฟังและดูไดอ้ ยา่ งมีเหตุผล สร้างคาํ สมาส วเิ คราะหโ์ ครงสร้างของ
ประโยค ฝึกการใชค้ าํ ราชาศพั ท์ สรุปเน้ือหา วเิ คราะห์และวิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมทอ้ งถิ่นท่ีอา่ นภาษาที่ไมไ่ ด้
เป็นภาษาราชการ หรือภาษาหลกั มีขนมธรรมเนียมประเพณีท่ีหลากหลาย สรุปความรู้และขอ้ คิดจากการอา่ น เร่ืองและ
นิยายปรัมปราสามารถบอกเล่าดว้ ยวธิ ีท่ีหลากหลาย ไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวิตจริง
โดยใชก้ ระบวนการทางภาษา การสืบคน้ ความรู้ การจดบนั ทึก ใชค้ วามสามารถในการคดิ การอภิปราย
เพอื่ ใหเ้ กิดความรู้ ความเขา้ ใจในการเรียนรู้ ใชค้ วามสามารถในการสื่อสารกบั ผูอ้ ่ืนให้เขา้ ใจตรงกนั เห็นคณุ คา่
ของภาษาไทย นาํ ความรู้ไปในการแกป้ ัญหาใหเ้ กิดประโยชนใ์ นชีวติ
เป็นผมู้ ีคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ มีมารยาทในการอา่ น การเขยี น การฟัง การดูและการพูด เห็นคุณคา่
ภาษาไทยซ่ึงเป็นเอกลกั ษณ์ของชาติ รักชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ ซ่ือสัตยส์ ุจริต มีวนิ ยั ใฝ่เรียนรู้ อยอู่ ยา่ งพอเพียง
มงุ่ มน่ั ในการทาํ งาน รักความเป็นไทยและมีจิตสาธารณะเพือ่ ใหเ้ กิดการเรียนรู้อยา่ งมีประสิทธิภาพ ภาคภูมิใจ
ในภาษาไทย และรักษาไวเ้ ป็นสมบตั ิของชาติ
ตวั ชี้วัด
ท ๑.๑ ม.๒/๑, ม.๒/๒, ม.๒/๓, ม.๒/๔, ม.๒/๘
ท ๒.๑ ม.๒/๑, ม.๒/๒, ม.๒/๓, ม.๒/๔, ม.๒/๘
ท ๓.๑ ม.๒/๑, ม.๒/๒, ม.๒/๓
ท ๔.๑ ม.๒/๑, ม.๒/๒, ม.๒/๔
ท ๕.๑ ม.๒/๑, ม.๒/๒, ม.๒/๓
รวม ๒๐ ตัวชี้วัด
ผลการเรียนรู้อาเซียน
- บนั ทึกความทรงจาํ น้นั เป็นการแสดงความคิดเห็นทางประวตั ิศาสตร์อยา่ งหน่ึง
- ภาษาที่ไมไ่ ดเ้ ป็นภาษาราชการ หรือภาษาหลกั มีขนมธรรมเนียมประเพณีที่หลากหลาย
- เร่ืองและนิยายปรัมปราสามารถบอกเล่าดว้ ยวิธีท่ีหลากหลาย
รวม ๓ ผลการเรียนรู้
๔๐
รายวิชาภาษาไทยพืน้ ฐาน ช้ันมธั ยมศึกษาปี ท่ี ๒
เวลา ๖๐ ชั่วโมง/ภาคเรียน
คําอธิบายรายวิชา
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย รายวชิ า ภาษาไทย รหัสวชิ า ท๒๒๑๐๒
ภาคเรียนท่ี ๒ จาํ นวน ๑.๕ หน่วยกติ เวลาเรียน ๓ ชั่วโมง/สัปดาห์
ศึกษาวเิ คราะหจ์ าํ แนกขอ้ เทจ็ จริงและขอ้ คิดเห็น ระบขุ อ้ สงั เกตการชวนเช่ือจากเร่ืองท่ีอ่าน อ่านหนงั สือ และ
ประเมินคุณคา่ จากการอ่านเพ่ือนาํ ไปใชแ้ กป้ ัญหาในชีวิต เขยี นรายงานจากการศึกษาคน้ ควา้ จดหมายกิจธุระ
วเิ คราะห์วิจารณ์แสดงความคิดเห็นเร่ืองที่อ่านอยา่ งมีเหตผุ ล พดู ในโอกาสตา่ ง ๆ พูดรายงานจากการศึกษาคน้ ควา้
การอพยพของผคู้ นมีอิทธิพลในการเผยแพร่ภาษาในแถบเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ แต่งกลอนสุภาพ รวบรวมและ
อธิบายความหมายของคาํ ภาษาตา่ งประเทศที่ใชใ้ นภาษาไทย อธิบายคณุ ค่าของ
วรรณคดีและวรรณกรรมที่อ่าน เร่ืองและนิยายปรัมปราสามารถบอกเลา่ ดว้ ยวิธีที่หลากหลาย ทอ่ งจาํ บทอาขยานและ
บทร้อยกรองท่ีมีคุณค่าตามความสนใจ
โดยใชก้ ระบวนการทางภาษา กระบวนการกล่มุ สัมพนั ธ์ จดั การเรียนรู้เพ่ือพฒั นาความคิด เรียนรู้
แบบโครงงาน ให้รู้วธิ ีการแกป้ ัญหาอยา่ งเป็นระบบ วางแผน คดิ วิเคราะห์ ประเมินผล ฝึกการเป็นผนู้ าํ และผตู้ าม
มีความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี สามารถสร้างองคค์ วามรู้ นาํ เสนอความรู้ เห็นคุณคา่ ของการนาํ ความรู้
ไปใชป้ ระโยชนใ์ นชีวติ ประจาํ วนั มีคุณธรรม จริยธรรม และมีมารยาทในการใชภ้ าษา
เป็นผมู้ ีคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ มีมารยาทในการอ่าน การเขียน การฟัง การดูและการพูดทกุ ภาษาได้
รวบรวมรูปแบบของความสุภาพซ่ึงเชื่อมสัมพนั ธภพของประชาชนเขา้ ดว้ ยกนั เห็นคุณค่าภาษาไทยซ่ึงเป็นเอกลกั ษณ์
ของชาติ รักชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ ซ่ือสัตยส์ ุจริต มีวินยั ใฝ่เรียนรู้ อยอู่ ยา่ งพอเพียง มงุ่ มนั่ ในการทาํ งาน รักความเป็น
ไทยและมีจิตสาธารณะเพอื่ ใหเ้ กิดการเรียนรู้อยา่ งมีประสิทธิภาพ ภาคภูมิใจในภาษาไทยและรักษาไวเ้ ป็นสมบตั ิ
ของชาติ
ตัวชี้วดั
ท ๑.๑ ม.๒/๑, ม.๒/๒, ม.๒/๕, ม.๒/๖, ม.๒/๗, ม.๒/๘
ท ๒.๑ ม.๒/๒, ม.๒/๕, ม.๒/๖, ม.๒/๗, ม.๒/๘
ท ๓.๑ ม.๒/๔, ม.๒/๕, ม.๒/๖
ท ๔.๑ ม.๒/๑, ม.๒/๒, ม.๒/๓, ม.๒/๔, ม.๒/๕
ท ๕.๑ ม.๒/๑, ม.๒/๒, ม.๒/๓, ม.๒/๔, ม.๒/๕
รวม ๒๕ ตัวชี้วัด
ผลการเรียนรู้อาเซียน
- การอพยพของผคู้ นมีอิทธิพลในการเผยแพร่ภาษาในแถบเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้
- เร่ืองและนิยายปรัมปราสามารถบอกเลา่ ดว้ ยวิธีที่หลากหลาย
- ทุกภาษาไดร้ วบรวมรูปแบบของความสุภาพซ่ึงเชื่อมสัมพนั ธภพของประชาชนเขา้ ดว้ ยกนั
รวม ๓ ผลการเรียนรู้
๔๑
รายวิชาภาษาไทยพื้นฐาน ช้ันมัธยมศึกษาปี ที่ ๓
เวลา ๖๐ ชั่วโมง/ภาคเรียน
คําอธิบายรายวิชา
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย รายวิชา ภาษาไทย รหสั วชิ า ท๒๓๑๐๑
ภาคเรียนที่ ๑ จํานวน ๑.๕ หน่วยกติ เวลาเรียน ๓ ช่ัวโมง/สัปดาห์
ฝึกอา่ นออกเสียงไดถ้ กู ตอ้ ง เหมาะสม ระบุความแตกตา่ งของคาํ ใจความสาํ คญั และรายละเอียดของขอ้ มลู
ท่ีสนบั สนุนจากเร่ืองที่อ่าน เขียนกรอบความคิด วเิ คราะห์วจิ ารณ์และประเมินเรื่องที่อา่ นโดยใชก้ ลวธิ ีการเปรียบเทียบ
ประเมินความถกู ตอ้ งของขอ้ มูลท่ีใชส้ นบั สนุนในเรื่องท่ีอ่าน ฝึกการคดั ลายมือ เขยี นขอ้ ความ ชีวประวตั ิ ยอ่ ความ
จดหมายกิจธุระ อธิบาย ช้ีแจงแสดงความคิดเห็น และโตแ้ ยง้ อยา่ งมีเหตผุ ล พดู แสดงความคดิ เห็น พดู วเิ คราะห์
วจิ ารณ์เร่ืองที่ฟังและดูเพื่อนาํ ขอ้ คิดมาประยกุ ตใ์ ชใ้ นการดาํ เนินชีวิต พูดรายงานการศึกษาคน้ ควา้ เก่ียวกบั ภูมิปัญญา
ทอ้ งถ่ิน จาํ แนกและใชค้ าํ ที่มาจากภาษาตา่ งประเทศ วิเคราะหป์ ระโยคซบั ซอ้ น ระดบั ภาษา สรุปเน้ือหาวรรณคดี
และวรรณกรรมทอ้ งถิ่นเช่นเพลงเขมรไทรโยค นิราศพระแทน่ ดงรัง บทกวรี ่วมสมยั ของเนาวรัตน์ พงษไ์ พบูลย์ นิราศ
กาญจนบุรี ของบุปผา พงษไ์ พบลู ย์ คาํ ขวญั จงั หวดั คาํ ขวญั อาํ เภอ วิเคราะหว์ ถิ ีไทยและคณุ ค่าจากการอ่านวรรณกรรม
โดยใชก้ ระบวนการทางภาษา การสืบคน้ ความรู้ การจดบนั ทึก ใชค้ วามสามารถในการคดิ การอภิปราย
เพื่อใหเ้ กิดความรู้ ความเขา้ ใจในการเรียนรู้ ใชค้ วามสามารถในการส่ือสารกบั ผอู้ ื่นให้เขา้ ใจตรงกนั เห็นคณุ คา่
ของภาษาไทย นาํ ความรู้ไปในการแกป้ ัญหาใหเ้ กิดประโยชน์ในชีวิต
เป็นผมู้ ีคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ มีมารยาทในการอ่าน การเขียน การฟัง การดูและการพูด เห็นคณุ ค่า
ของภาษาไทยซ่ึงเป็นเอกลกั ษณ์ของชาติ รักชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ ซ่ือสตั ยส์ ุจริต มีวนิ ยั ใฝ่เรียนรู้ อยอู่ ยา่ งพอเพียง
มุ่งมน่ั ในการทาํ งาน รักความเป็นไทยและมีจิตสาธารณะเพอ่ื ใหเ้ กิดการเรียนรู้อยา่ งมีประสิทธิภาพ ภาคภมู ิใจ
ในภาษาไทย และรักษาไวเ้ ป็นสมบตั ิของชาติ
ตวั ชี้วดั
ท ๑.๑ ม.๓/๑, ม.๓/๒, ม.๓/๓, ม.๓/๔, ม.๓/๕, ม.๓/๖,ม.๓/๑๐
ท ๒.๑ ม.๓/๑, ม.๓/๒, ม.๓/๓, ม.๓/๔, ม.๓/๕, ม.๓/๖,ม.๓/๑๐
ท ๓.๑ ม.๓/๑, ม.๓/๒, ม.๓/๓
ท ๔.๑ ม.๓/๑, ม.๓/๒, ม.๓/๓
ท ๕.๑ ม.๓/๑, ม.๓/๒
รวม ๒๒ ตวั ชี้วัด
๔๒
รายวชิ าภาษาไทยพื้นฐาน ช้ันมธั ยมศึกษาปี ท่ี ๓
เวลา ๖๐ ชั่วโมง/ภาคเรียน
คาํ อธิบายรายวชิ า
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย รายวชิ า ภาษาไทย รหัสวชิ า ท๒๓๑๐๒
ภาคเรียนท่ี ๒ จํานวน ๑.๕ หน่วยกติ เวลาเรียน ๓ ชั่วโมง/สัปดาห์
วเิ คราะห์ วิจารณ์ ความสมเหตสุ มผลของเรื่องที่อา่ น แสดงความคิดเห็น ตีความ ประเมินคุณค่าแนวคดิ
ท่ีไดจ้ ากการอา่ นงานเขียน เพ่อื นาํ ไปใชแ้ กป้ ัญหาในชีวติ เขยี นวิจารณ์แสดงความรู้ความคดิ เห็น เขยี นรายงาน
โครงงาน กรอกแบบสมคั รงาน ฝึกพดู ในโอกาสต่าง ๆ พดู โนม้ นา้ วอยา่ งมีเหตผุ ลและน่าเชื่อถือ ใชค้ าํ ทบั ศพั ท์
ศพั ทบ์ ญั ญตั ิ ศพั ทท์ างวชิ าการและวิชาชีพ แตง่ โคลงส่ีสุภาพ สรุปความรู้ ขอ้ คดิ จากการอ่านวรรณคดีและวรรณกรรม
เพ่ือนาํ ไปใชป้ ระยกุ ตใ์ นชีวิตประจาํ วนั ท่องจาํ และบอกคุณคา่ บทอาขยานและบทร้อยกรองตามความสนใจ และ
นาํ ไปใชอ้ า้ งอิง
โดยใชก้ ระบวนการทางภาษา กระบวนการกลุม่ สมั พนั ธ์ จดั การเรียนรู้เพื่อพฒั นาความคิด เรียนรู้
แบบโครงงาน ใหร้ ู้วธิ ีการแกป้ ัญหาอยา่ งเป็นระบบ วางแผน คดิ วิเคราะห์ ประเมินผล ฝึกการเป็นผนู้ าํ และผตู้ าม
มีความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี สามารถสร้างองคค์ วามรู้ นาํ เสนอความรู้ เห็นคุณค่าของการนาํ ความรู้
ไปใชป้ ระโยชนใ์ นชีวิตประจาํ วนั มีคุณธรรม จริยธรรม และมีมารยาทในการใชภ้ าษา
เป็นผมู้ ีคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ มีมารยาทในการอ่าน การเขียน การฟัง การดูและการพูด เห็นคุณค่า
ของภาษาไทยซ่ึงเป็นเอกลกั ษณ์ของชาติ รักชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ ซื่อสัตยส์ ุจริต มีวินยั ใฝ่เรียนรู้ อยอู่ ยา่ งพอเพียง
มงุ่ มน่ั ในการทาํ งาน รักความเป็นไทยและมีจิตสาธารณะเพื่อใหเ้ กิดการเรียนรู้อยา่ งมีประสิทธิภาพ ภาคภมู ิใจ
ในภาษาไทย และรักษาไวเ้ ป็นสมบตั ิของชาติ
ตวั ชีว้ ดั
ท ๑.๑ ม.๓/๑, ม.๓/๒, ม.๓/๕, ม.๓/๗, ม.๓/๘, ม.๓/๙, ม.๓/๑๐
ท ๒.๑ ม.๓/๑, ม.๓/๒, ม.๓/๗, ม.๓/๘, ม.๓/๙ , ม.๓/๑๐
ท ๓.๑ ม.๓/๓, ม.๓/๔, ม.๓/๕, ม.๓/๖
ท ๔.๑ ม.๓/๑, ม.๓/๓, ม.๓/๔, ม.๓/๕, ม.๓/๖
ท ๕.๑ ม.๓/๒, ม.๓/๓, ม.๓/๔
รวม ๒๕ ตัวชี้วัด
๔๓
กล่มุ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ทําไมต้องเรียนคณติ ศาสตร์
คณิตศาสตร์มีบทบาทสําคญั ย่ิงต่อความสําเร็จในการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี ๒๑ เน่ืองจากคณิตศาสตร์ช่วยให้
มนุษยม์ ีความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ คิดอย่างมีเหตุผล เป็นระบบ มีแบบแผน สามารถวิเคราะห์ปัญหาหรือสถานการณ์ได้
อย่างรอบคอบและถ่ีถว้ น ช่วยใหค้ าดการณ์ วางแผน ตดั สินใจแกป้ ัญหา ไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ งเหมาะสม และสามารถนาํ ไป
ใชใ้ นชีวิตจริงไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากน้ีคณิตศาสตร์ยงั เป็นเคร่ืองมือในการศึกษาดา้ นวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี
และศาสตร์อ่ืน ๆ อนั เป็นรากฐานในการพฒั นาทรัพยากรบุคคลของชาติใหม้ ีคุณภาพและพฒั นาเศรษฐกิจของประเทศ
ใหท้ ดั เทียมกบั นานาชาติ การศึกษาคณิตศาสตร์จึงจาํ เป็นตอ้ งมีการพฒั นาอยา่ งต่อเนื่อง เพื่อใหท้ นั สมยั
และสอดคลอ้ งกบั สภาพเศรษฐกิจ สังคม และความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยที ี่เจริญกา้ วหนา้
อยา่ งรวดเร็วในยคุ โลกาภิวตั น์
ตวั ช้ีวดั และสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ พุทธศกั ราช ๒๕๖๓ ตามหลกั สูตร
แกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ ฉบบั น้ี จดั ทาํ ข้ึนโดยคาํ นึงถึงการส่งเสริมให้ผูเ้ รียนมีทกั ษะท่ีจาํ
เป็ นสําหรับการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี ๒๑ เป็ นสําคญั นั่นคือ การเตรียมผูเ้ รียนให้มีทกั ษะดา้ นการคิดวิเคราะห์ การคิด
อยา่ งมีวิจารณญาณ การแกป้ ัญหาการคิดสร้างสรรค์ การใชเ้ ทคโนโลยี การสื่อสารและการร่วมมือ ซ่ึงจะส่งผลใหผ้ เู้ รียน
รู้เท่าทนั การเปล่ียนแปลงของระบบเศรษฐกิจ สังคม วฒั นธรรม และสภาพแวดลอ้ ม สามารถแข่งขนั และอยู่ร่วมกบั
ประชาคมโลกได้ ท้งั น้ีการจดั การเรียนรู้คณิตศาสตร์ท่ีประสบความสาํ เร็จน้นั จะตอ้ งเตรียมผเู้ รียนให้มีความพร้อมที่จะ
เรียนรู้ส่ิงต่าง ๆ พร้อมท่ีจะประกอบอาชีพเมื่อจบการศึกษา หรือสามารถศึกษาต่อในระดบั ที่สูงข้ึน ดงั น้ันสถานศึกษา
ควรจดั การเรียนรู้ใหเ้ หมาะสมตามศกั ยภาพของผเู้ รียน
เรียนรู้อะไรในคณติ ศาสตร์
กลมุ่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์จดั เป็น ๓ สาระ ไดแ้ ก่ จาํ นวนและพชี คณิต การวดั และเรขาคณิต และสถิติ
และความน่าจะเป็ น
• จํานวนและพีช คณิต เรียนร้เ กี่ยวกบั ระบบจาํ นวนจริง สมบตั ิเกี่ยวกบั จาํ นวนจริง อตั ราส่วนร้อยละ การ
ประมาณคา่ การแกป้ ัญหาเกี่ยวกบั จาํ นวน การใชจ้ าํ นวนในชีวติ จริง แบบรูป ความสัมพนั ธ์ฟังก์ชนั เซต ตรรกศาสตร์
นิพจน์ เอกนาม พหุนาม สมการ ระบบสมการ อสมการ กราฟ ดอกเบ้ียและมูลค่าของเงิน ลาํ ดบั และอนุกรม และการนาํ
ความรู้เก่ียวกบั จาํ นวนและพีชคณิตไปใชใ้ นสถานการณ์ต่าง ๆ
• การวัดและเรขาคณิต เรียนรู้เก่ียวกับ ความยาว ระยะทาง น้าํ หนัก พ้ืนที่ ปริมาตรและความจุเงินและเวลา
หน่วยวดั ระบบต่าง ๆ การคาดคะเนเกี่ยวกบั การวดั อตั ราส่วนตรีโกณมิติ รูปเรขาคณิตและสมบตั ิของรูปเรขาคณิต การ
นึกภาพ แบบจาํ ลองทางเรขาคณิต ทฤษฎีบททางเรขาคณิตการแปลงทางเรขาคณิตในเรื่องการเลื่อนขนาน การสะทอ้ น
การหมุน และการนาํ ความรู้เก่ียวกบั การวดั และเรขาคณิตไปใชใ้ นสถานการณ์ต่าง ๆ
• สถิติและความน่าจะเป็ น เรียนรู้เก่ียวกบั การต้งั คาํ ถามทางสถิติ การเก็บรวบรวมขอ้ มูลการคาํ นวณค่าสถิติ
การนาํ เสนอและแปลผลสาํ หรับขอ้ มลู เชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ หลกั การนบั เบ้ืองตน้ ความน่าจะเป็น การใชค้ วามรู้
เกี่ยวกบั สถิติและความน่าจะเป็นในการอธิบายเหตุการณ์ต่าง ๆและช่วยในการตดั สินใจ
๔๔
สาระและมาตรฐานการเรียนรู้
สาระที่ ๑ จาํ นวนและ พชี คณิต
มาตรฐาน ค ๑.๑ เขา้ ใจความหลากหลายของการแสดงจาํ นวน ระบบจาํ นวน การดาํ เนินการของจาํ นวน ผลที่เกิดข้ึน
จากการดาํ เนินการของจาํ นวน สมบตั ิของการดาํ เนินการ และนาํ ไปใช้
มาตรฐาน ค ๑.๒ เขา้ ใจและวเิ คราะห์แบบรูป ความสัมพนั ธ์ ฟังกช์ นั ลาํ ดบั และอนุกรม และนาํ ไปใช้
มาตรฐาน ค ๑.๓ ใชน้ ิพจน์ สมการ อสมการ และเมทริกซ์ อธิบายความสัมพนั ธ์ หรือช่วยแกป้ ัญหาท่ีกาํ หนดให้
สาระที่ ๒ การวดั และ เรขาคณติ
มาตรฐาน ค ๒.๑ เขา้ ใจพ้ืนฐานเก่ียวกบั การวดั วดั และคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ตอ้ งการวดั
และนาํ ไปใช้
มาตรฐาน ค ๒.๒ เขา้ ใจและวิเคราะห์รูปเรขาคณิต สมบตั ิของรูปเรขาคณิตความสมั พนั ธ์
ระหวา่ งรูปเรขาคณิตและทฤษฎีบททางเรขาคณิต และนาํ ไปใช้
สาระที่ ๓ สถิติและความน่าจะเป็ น
มาตรฐาน ค ๓.๑ เขา้ ใจกระบวนการทางสถิติและใชค้ วามรู้ทางสถิติในการแกป้ ัญหา
มาตรฐาน ค ๓.๒ เขา้ ใจหลกั การนบั เบ้ืองตน้ ความน่าจะเป็น และนาํ ไปใช้
คณุ ภาพผู้เรียน
จบช้ันประถมศึกษาปี ท่ี ๓
• อา่ น เขยี นตวั เลข ตวั หนงั สือแสดงจาํ นวนนบั ไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ มีความรู้สึกเชิงจาํ นวน มีทกั ษะการ
บวก การลบ กาํ รคณู การหาร และนeไปใชใ้ นสถานการณ์ต่าง ๆ
• มีความรู้สึกเชิงจาํ นวนเกี่ยวกบั เศษส่วนที่ไม่เกิน ๑ มีทกั ษะการบวก การลบ เศษส่วนท่ีตวั ส่วนเท่ากนั และ
นาํ ไปใชใ้ นสถานการณ์ต่าง ๆ
• คาดคะเนและวดั ความยาว น้าํ หนกั ปริมาตร ความจุ เลือกใชเ้ คร่ืองมือและหน่วยท่ีเหมาะสม บอกเวลา
บอกจาํ นวนเงิน และนาํ ไปใชใ้ นสถานการณ์ต่าง ๆ
• จาํ แนกและบอกลกั ษณะของรูปหลายเหลี่ยม วงกลม วงรี ทรงส่ีเหล่ียมมมุ ฉาก ทรงกลม ทรงกระบอก และ
กรวย เขียนรูปหลายเหลี่ยม วงกลม และวงรีโดยใชแ้ บบของรูป ระบุรูปเรขาคณิตที่มีแกนสมมาตรและ
จาํ นวนแกนสมมาตร และนาํ ไปใชใ้ นสถานการณ์ตา่ ง ๆ
• อา่ นและเขียนแผนภูมิรูปภาพ ตารางทางเดียวและนาํ ไปใชใ้ นสถานการณ์ตา่ ง ๆ
๔๕
จบช้ันประถมศึกษาปี ที่ ๖
• อา่ น เขยี นตวั เลข ตวั หนงั สือแสดงจาํ นวนนบั เศษส่วน ทศนิยมไม่เกิน ๓ ตาํ แหน่ง อตั ราส่วน และร้อยละ
มีความรู้สึกเชิงจาํ นวน มีทกั ษะการบวก การลบ การคูณ การหาร ประมาณผลลพั ธ์ และนาํ ไปใชใ้ น
สถานการณ์ต่าง ๆ
• อธิบายลกั ษณะและสมบตั ิของรูปเรขาคณิต หาความยาวรอบรูปและพ้นื ที่ของรูปเรขาคณิต สร้างรูป
สามเหล่ียม รูปส่ีเหลี่ยม และวงกลม หาปริมาตรและความจุของทรงสี่เหล่ียมมมุ ฉากและนาํ ไปใชใ้ น
สถานการณ์ต่าง ๆ
• นาํ เสนอขอ้ มลู ในรูปแผนภมู ิแทง่ ใชข้ อ้ มูลจากแผนภูมิแท่ง แผนภูมิรูปวงกลม ตารางสองทาง และกราฟ
เสน้ ในการอธิบายเหตกุ ารณ์ต่าง ๆ และตดั สินใจ
จบช้ันมัธยมศึกษาปี ท่ี ๓
• มีความคิดรวบยอดเก่ียวกบั จาํ นวนจริง มีความเขา้ ใจเกี่ยวกบั อตั ราส่วน สัดส่วน ร้อยละ เลขยกกาํ ลงั ที่มี
เลขช้ีกาํ ลงั เป็ นจาํ นวนเต็ม รากที่สองและรากที่สามของจาํ นวนจริง สามารถดาํ เนินการเก่ียวกบั จาํ นวนเต็ม เศษส่วน
ทศนิยม เลขยกกาํ ลงั รากท่ีสองและรากท่ีสามของจาํ นวนจริง ใชก้ ารประมาณค่าในการดาํ เนินการและแกป้ ัญหา และ
นาํ ความรู้เก่ียวกบั จาํ นวนไปใชใ้ นชีวติ จริงได้
• มีความรู้ความเขา้ ใจเก่ียวกบั พ้นื ที่ผิวของปริซึม ทรงกระบอก และปริมาตรของปริซึม ทรงกระบอก พีระมิด
กรวย และทรงกลม เลือกใชห้ น่วยการวดั ในระบบตา่ ง ๆ เก่ียวกบั ความยาว พ้ืนที่ และปริมาตรไดอ้ ยา่ งเหมาะสม พร้อม
ท้งั สามารถนาํ ความรู้เก่ียวกบั การวดั ไปใชใ้ นชีวติ จริงได้
• สามารถสร้างและอธิบายข้นั ตอนการสร้างรูปเรขาคณิตสองมิติโดยใชว้ งเวียนและสันตรง อธิบายลกั ษณะ
และสมบตั ิของรูปเรขาคณิตสามมิติซ่ึงไดแ้ ก่ ปริซึม พีระมิด ทรงกระบอก กรวย และทรงกลมได้
• มีความเขา้ ใจเก่ียวกบั สมบตั ิของความเท่ากนั ทุกประการและความคลา้ ยของรูปสามเหล่ียม เส้นขนาน
ทฤษฎีบทพีทาโกรัสและบทกลบั และสามารถนาํ สมบตั ิเหลา่ น้นั ไปใชใ้ นการให้เหตผุ ลและแกป้ ัญหาได้ มีความเขา้ ใจ
เกี่ยวกับการแปลงทางเรขาคณิ ต(geometric transformation)ในเรื่ องการเล่ือนขนาน(translation) การสะท้อน
(reflection) และการหมนุ (rotation) และนาํ ไปใชไ้ ด้
• สามารถนึกภาพและอธิบายลกั ษณะของรูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ
• สามารถวิเคราะหแ์ ละอธิบายความสมั พนั ธ์ของแบบรูป สถานการณ์หรือปัญหา และสามารถใชส้ มการเชิง
เส้นตวั แปรเดียว ระบบสมการเชิงเสน้ สองตวั แปร อสมการเชิงเส้นตวั แปรเดียว และกราฟในการแกป้ ัญหาได้
• สามารถกาํ หนดประเด็น เขียนขอ้ คาํ ถามเก่ียวกบั ปัญหาหรือสถานการณ์ กาํ หนดวิธีการศึกษา เก็บรวบรวม
ขอ้ มูลและนาํ เสนอขอ้ มลู โดยใชแ้ ผนภมู ิรูปวงกลม หรือรูปแบบอื่นท่ีเหมาะสมได้
• เขา้ ใจค่ากลางของขอ้ มูลในเรื่องค่าเฉลี่ยเลขคณิต มธั ยฐาน และฐานนิยมของขอ้ มูลที่ยงั ไม่ไดแ้ จกแจง
ความถี่ และเลือกใชไ้ ดอ้ ยา่ งเหมาะสม รวมท้งั ใชค้ วามรู้ในการพจิ ารณาขอ้ มลู ขา่ วสารทางสถิติ
• เขา้ ใจเกี่ยวกบั การทดลองสุ่ม เหตกุ ารณ์ และความน่าจะเป็นของเหตกุ ารณ์ สามารถใชค้ วามรู้เกี่ยวกบั ความ
น่าจะเป็นในการคาดการณ์และประกอบการตดั สินใจในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้
๔๖
• ใช้วิธีการท่ีหลากหลายแกป้ ัญหา ใช้ความรู้ ทกั ษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ และเทคโนโลยใี น
การแกป้ ัญหาในสถานการณ์ ต่าง ๆ ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม ให้เหตุผลประกอบการตดั สินใจ และสรุปผลไดอ้ ย่างเหมาะสม
ใชภ้ าษาและสัญลกั ษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการส่ือสาร การส่ือความหมาย และการนาํ เสนอ ไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง และชดั เจน
เช่ือมโยงความรู้ต่าง ๆ ในคณิตศาสตร์ และนาํ ความรู้ หลกั การ กระบวนการทางคณิตศาสตร์ไปเชื่อมโยงกบั ศาสตร์
อ่ืน ๆ และมีความคดิ ริเริ่มสร้างสรรค์
จบช้ันมัธยมศึกษาปี ท่ี ๖
• มีความคิดรวบยอดเก่ียวกบั ระบบจาํ นวนจริง ค่าสัมบูรณ์ของจาํ นวนจริง จาํ นวนจริงที่อยู่ในรูปกรณฑ์
และจาํ นวนจริงที่อยู่ในรูปเลขยกกาํ ลงั ท่ีมีเลขช้ีกาํ ลงั เป็ นจาํ นวนตรรกยะ หาค่าประมาณของจาํ นวนจริงท่ีอยู่ในรูป
กรณฑ์ และจาํ นวนจริงท่ีอยู่ในรูปเลขยกกาํ ลงั โดยใชว้ ิธีการคาํ นวณที่เหมาะสมและสามารถนาํ สมบตั ิของจาํ นวนจริง
ไปใชไ้ ด้
• นาํ ความรู้เรื่องอตั ราส่วนตรีโกณมิติไปใชค้ าดคะเนระยะทาง ความสูง และแกป้ ัญหาเก่ียวกบั การวดั ได้
• มีความคิดรวบยอดในเรื่องเซต การดาํ เนินการของเซต และใช้ความรู้เก่ียวกับแผนภาพเวนน์-ออยเลอร์แสดง
เซตไปใชแ้ กป้ ัญหา และตรวจสอบความสมเหตุสมผลของการใหเ้ หตุผล
• เขา้ ใจและสามารถใชก้ ารใหเ้ หตผุ ลแบบอปุ นยั และนิรนยั ได้
• มีความคิดรวบยอดเก่ียวกบั ความสัมพนั ธ์และฟังก์ชนั สามารถใชค้ วามสัมพนั ธ์และฟังก์ชนั แกป้ ัญหาใน
สถานการณ์ต่าง ๆ ได้
• เขา้ ใจความหมายของลาํ ดบั เลขคณิต ลาํ ดบั เรขาคณิต และสามารถหาพจน์ทวั่ ไปได้ เขา้ ใจความหมายของ
ผลบวกของ n พจน์แรกของอนุกรมเลขคณิต อนุกรมเรขาคณิต และหาผลบวก n พจน์แรกของอนุกรมเลขคณิต และ
อนุกรมเรขาคณิตโดยใชส้ ูตรและนาํ ไปใชไ้ ด้
• รู้และเขา้ ใจการแกส้ มการ และอสมการตวั แปรเดียวดีกรีไม่เกินสอง รวมท้งั ใชก้ ราฟของสมการ อสมการ
หรือฟังกช์ นั ในการแกป้ ัญหา
• เขา้ ใจวิธีการสาํ รวจความคดิ เห็นอยา่ งงา่ ย เลือกใชค้ ่ากลางไดเ้ หมาะสมกบั ขอ้ มูลและวตั ถปุ ระสงค์ สามารถ
หาค่าเฉลี่ยเลขคณิต มธั ยฐาน ฐานนิยม ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และเปอร์เซ็นไทลข์ องขอ้ มูล วิเคราะห์ขอ้ มูล และนาํ ผล
จากการวเิ คราะหข์ อ้ มลู ไปช่วยในการตดั สินใจ
• เขา้ ใจเก่ียวกบั การทดลองสุ่ม เหตุการณ์ และความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ สามารถใชค้ วามรู้เกี่ยวกบั ความ
น่าจะเป็นในการคาดการณ์ ประกอบการตดั สินใจ และแกป้ ัญหาในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้
• ใช้วิธีการที่หลากหลายแกป้ ัญหา ใช้ความรู้ ทกั ษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ และเทคโนโลยใี น
การแกป้ ัญหาในสถานการณ์ ต่าง ๆ ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม ใหเ้ หตุผลประกอบการตดั สินใจ และสรุปผลไดอ้ ย่างเหมาะสม
ใชภ้ าษาและสญั ลกั ษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร การส่ือความหมาย และการนาํ เสนอ ไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง และชดั เจน
เช่ือมโยงความรู้ต่าง ๆ ในคณิตศาสตร์ และนาํ ความรู้ หลกั การ กระบวนการทางคณิตศาสตร์ไปเช่ือมโยงกบั ศาสตร์
อื่น ๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
๔๗
โครงสร้างรายวชิ า
รายวชิ าตามโครงสร้างหลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนอนุบาลหว้ ยกระเจา พุทธศกั ราช ๒๕๖๓
ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ระดบั ประถมศึกษา รายวิชาคณิตศาสตร์พืน้ ฐาน
ระดับช้ัน รหสั ช่ือรายวชิ า เวลาเรียนรายปี
ช้นั ป. ๑ ค๑๑๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๕ ชวั่ โมง/สัปดาห์ (๒๐๐/ปี )
ช้นั ป. ๒ ค๑๒๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๕ ชวั่ โมง/สปั ดาห์ (๒๐๐/ปี )
ช้นั ป. ๓ ค๑๓๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๕ ชวั่ โมง/สปั ดาห์ (๒๐๐/ปี )
ช้นั ป. ๔ ค๑๔๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๔ ชวั่ โมง/สปั ดาห์ (๑๖๐/ปี )
ช้นั ป. ๕ ค๑๕๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๔ ชวั่ โมง/สัปดาห์ (๑๖๐/ปี )
ช้นั ป. ๖ ค๑๖๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๔ ชวั่ โมง/สัปดาห์ (๑๖๐/ปี )
ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น รายวิชาคณติ ศาสตร์พืน้ ฐาน
ระดบั ช้ัน รหัส ชื่อรายวิชา เวลาเรียนรายภาค
ช้นั ม. ๑
ช้นั ม. ๒ ค๒๑๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๓ ชวั่ โมง/สปั ดาห์ (๑.๕ หน่วยกิต)
ช้นั ม. ๓ ค๒๑๑๐๒ คณิตศาสตร์ ๓ ชวั่ โมง/สปั ดาห์ (๑.๕ หน่วยกิต)
ค๒๒๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๓ ชวั่ โมง/สปั ดาห์ (๑.๕ หน่วยกิต)
ค๒๒๑๐๒ คณิตศาสตร์ ๓ ชวั่ โมง/สัปดาห์ (๑.๕ หน่วยกิต)
ค๒๓๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๓ ชวั่ โมง/สัปดาห์ (๑.๕ หน่วยกิต)
ค๒๓๑๐๒ คณิตศาสตร์ ๓ ชวั่ โมง/สัปดาห์ (๑.๕ หน่วยกิต)