The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักสูตรสถานศึกษา2563

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Somza Jeed, 2022-09-11 00:41:55

หลักสูตรสถานศึกษา2563

หลักสูตรสถานศึกษา2563

๔๘

ระดบั ประถมศึกษา
รายวิชาคณติ ศาสตร์พืน้ ฐาน
คําอธบิ ายรายวชิ า
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปี ท่ี ๑
รหสั วชิ า ค๑๑๑๐๑ เวลาเรียน ๕ ช่ัวโมง/สัปดาห์ เวลา ๒๐๐ ชั่วโมง
ศึกษาการอ่านและการเขยี นตวั เลขฮินดูอารบิก ตวั เลขไทย และตวั หนงั สือแสดงจาํ นวนนบั ๑ ถึง ๑๐๐ และ ๐

การแสดงจาํ นวนไมเ่ กิน ๒๐ในรูปแบบความสมั พนั ธ์ของจาํ นวนแบบส่วนยอ่ ย-ส่วนรวม การบอกอนั ดบั ท่ี หลกั ค่า

ประจาํ หลกั และคา่ ของเลขโดดในแตล่ ะหลกั การเขียนตวั เลขแสดงจาํ นวนในรูปกระจาย การเปรียบเทียบจาํ นวนนบั ๑

ถึง ๑๐๐และ ๐โดยใชเ้ ครื่องหมาย = ≠><การเรียงลาํ ดบั จาํ นวนนบั ๑ ถึง ๑๐๐ และ ๐ ต้งั แต่ ๓ ถึง ๕ จาํ นวน
ความหมายของการบวก ความหมายของการลบ การหาผลบวก การหาผลลบ การหาตวั ไมท่ ราบค่าในประโยค

สญั ลกั ษณ์ โจทยป์ ัญหาการบวก โจทยป์ ัญหาการลบ การสร้างโจทยป์ ัญหา รูปเรขาคณิตสองมิติ และรูปเรขาคณิตสาม

มิติ แบบรูปของจาํ นวนท่ีเพิ่มข้นึ ทีละ ๑ ทีละ ๑๐ แบบรูปซ้าํ ของจาํ นวน รูปเรขาคณิตและรูป อื่น ๆ การวดั ความยาว
โดยใชห้ น่วยที่ไม่ใช่หน่วยมาตรฐาน การวดั และเปรียบเทียบความยาวเป็นเซนติเมตร เป็นเมตร โจทยป์ ัญหาเกี่ยวกบั

ความยาวที่มีหน่วยเป็นเซนติเมตร เป็นเมตร การวดั น้าํ หนกั โดยใชห้ น่วยที่ไม่ใช่หน่วยมาตรฐาน การวดั และ
เปรียบเทียบน้าํ หนกั เป็นกิโลกรัม เป็นขีด โจทยป์ ัญหาเก่ียวกบั น้าํ หนกั ที่มีหน่วยเป็นกิโลกรัม เป็นขีด การอ่านแผนภูมิ
รูปภาพ

โดยการจดั ประสบการณ์หรือสร้างสถานการณ์ที่ใกลต้ วั ผเู้ รียนไดศ้ ึกษา คน้ ควา้ ฝึกทกั ษะ โดยการปฏิบตั ิจริง

ทดลอง สรุป รายงาน เพ่ือพฒั นาทกั ษะและกระบวนการในการคดิ คาํ นวณ อีกท้งั บคุ คลและชุมชนสามารถเตรียมความ
พร้อมสาํ หรับภยั พิบตั ิทางธรรมชาติท่ีอาจเกิดข้นึ ได้ การแกป้ ัญหา การใหเ้ หตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมายทาง
คณิตศาสตร์ และนาํ ประสบการณ์ดา้ นความรู้ ความคดิ ทกั ษะและกระบวนการท่ีไดใ้ ชใ้ นการเรียนรู้ส่ิงต่าง ๆ และใชใ้ น
ชีวิตประจาํ วนั อยา่ งสร้างสรรค์

เพ่ือใหเ้ ห็นคุณคา่ และมีเจตคติท่ีดีต่อคณิตศาสตร์ สามารถทาํ งานไดอ้ ยา่ งเป็นระบบ มีระเบียบ รอบคอบ มี

ความรับผดิ ชอบ มีวจิ ารณญาณ มีความคดิ ริเร่ิมสร้างสรรคแ์ ละมีความเชื่อมน่ั ในตวั เองและการกระทาํ ของเราในแตล่ ะ
วนั สามารถสร้างความยง่ั ยนื ในอนาคตได้
ตวั ชี้วัด
ค ๑.๑ ป.๑/๑ , ป.๑/๒ , ป.๑/๓ , ป.๑/๔ , ป.๑/๕
ค ๑.๒ ป.๑/๑
ค ๒.๑ ป.๑/๑ , ป.๑/๒
ค ๒.๒ ป.๑/๑
ค ๓.๑ ป.๑/๑
รวม ๑๐ ตวั ชีว้ ัด
ผลการเรียนรู้อาเซียน รวม ๒ ผลการเรียนรู้

๔๙

รายวชิ าคณติ ศาสตร์พืน้ ฐาน
คาํ อธบิ ายรายวิชา
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปี ที่ ๒
รหัสวิชา ค๑๒๑๐๑ เวลาเรียน ๕ ชั่วโมง/สัปดาห์ เวลา ๒๐๐ ช่ัวโมง
ศึกษาการอา่ นและการเขียนตวั เลขฮินดูอารบิก ตวั เลขไทย และตวั หนงั สือแสดงจาํ นวนนบั ไมเ่ กิน ๑,๐๐๐ และ ๐

การนบั ทีละ ๒ ทีละ ๕ ทีละ ๑๐ ทีละ ๑๐๐ จาํ นวนคู่ จาํ นวนค่ี หลกั ค่าประจาํ หลกั ของเลขโดดในแตล่ ะหลกั การเขยี น

ตวั เลขแสดงจาํ นวนในรูปกระจาย การเปรียบเทียบจาํ นวน การเรียงลาํ ดบั จาํ นวน การบวกจาํ นวนที่มีผลบวกไม่เกิน

๑,๐๐๐ การลบจาํ นวนที่มีตวั ต้งั ไม่เกิน ๑,๐๐๐ ความสมั พนั ธข์ องการบวกและการลบ การหาตวั ไมท่ ราบค่าในประโยค
สัญลกั ษณ์แสดงการบวกและการลบ โจทยป์ ัญหาการบวก โจทยป์ ัญหาการลบ การสร้างโจทยป์ ัญหา ความหมายของ

การคูณ ความหมายของการหาร การคูณจาํ นวนที่มีหน่ึงหลกั กบั จาํ นวนไมเ่ กินสองหลกั ความสมั พนั ธ์ของการคณู และ

การหารการหารที่ตวั หารและผลหารมีหน่ึงหลกั การหาตวั ไม่ทราบคา่ ในประโยคสญั ลกั ษณ์แสดงการคณู และการหาร

การแกโ้ จทยป์ ัญหาการคูณและโจทยป์ ัญหาการหาร การบวกลบ คูณ หารระคน การแกโ้ จทยป์ ัญหาการบวก ลบ คูณ

หารระคน แบบรูปของจาํ นวนท่ีเพิม่ ข้นึ หรือลดลงทีละ ๒ ทีละ๕ และทีละ ๑๐๐ แบบรูปซ้าํ การจาํ แนกลกั ษณะของรูป
หลายเหลี่ยม วงกลม และวงรี และการเขยี นรูปเรขาคณิตสองมิติโดยใชแ้ บบของรูป การวดั ความยาวเป็นเมตรและ

เซนติเมตร การคาดคะเนความยาวเป็นเมตร การเปรียบเทียบความยาวโดยใชค้ วามสัมพนั ธ์ระหวา่ งเมตรและเซนติเมตร

การแกโ้ จทยป์ ัญหาเก่ียวกบั ความยาวที่มีหน่วยเป็นเมตรและเซนติเมตร การบอกเวลาเป็นนาฬิกาและนาที การบอก

ระยะเวลาเป็นชวั่ โมง เป็นนาทีการเปรียบเทียบระยะเวลาเป็นชว่ั โมง เป็นนาที การอา่ นปฏิทิน การแกโ้ จทยป์ ัญหา
เกี่ยวกบั เวลา การวดั น้าํ หนกั เป็นกิโลกรัมและกรัม กิโลกรัมและขีด การคาดคะเนน้าํ หนกั เป็นกิโลกรัม การเปรียบเทียบ
น้าํ หนกั โดยใชค้ วามสมั พนั ธ์ระหวา่ งกิโลกรัมกบั กรัม กิโลกรัมกบั ขดี การแกโ้ จทยป์ ัญหาเก่ียวกบั น้าํ หนกั ท่ีมีหน่วยเป็น
กิโลกรัมและกรัม กิโลกรัมและขีด การวดั ปริมาตรและความจุโดยใชห้ น่วยที่ไมใ่ ช่หน่วยมาตรฐานและหน่วยมาตรฐาน

เป็นชอ้ นชา ชอ้ นโตะ๊ ถว้ ยตวง ลิตร การเปรียบเทียบปริมาตรและความจุเป็นชอ้ นชา ชอ้ นโตะ๊ ถว้ ยตวง ลิตร การแก้

โจทยป์ ัญหาเก่ียวกบั ปริมาตรและความจุท่ีมีหน่วยเป็นชอ้ นชา ชอ้ นโตะ๊ ถว้ ยตวง ลิตร การอา่ นแผนภูมิรูปภาพและการ

ใชข้ อ้ มลู จากแผนภูมิรูปภาพในการหาคาํ ตอบของโจทยป์ ัญหา

โดยการจดั ประสบการณ์หรือสร้างสถานการณ์ที่ใกลต้ วั ผเู้ รียนไดศ้ ึกษา คน้ ควา้ ฝึกทกั ษะ โดยการปฏิบตั ิจริง

ทดลอง สรุป รายงาน เพื่อพฒั นาทกั ษะและกระบวนการในการคิดคาํ นวณ การแกป้ ัญหา การใหเ้ หตุผล การสื่อสาร การ

ส่ือความหมายทางคณิตศาสตร์ และนาํ ประสบการณ์ดา้ นความรู้ ความคิด ทกั ษะและกระบวนการท่ีไดใ้ ชใ้ นการเรียนรู้

ส่ิงตา่ ง ๆ และใชใ้ นชีวิตประจาํ วนั อยา่ งสร้างสรรค์
เพ่ือใหเ้ ห็นคณุ ค่าและมีเจตคติท่ีดีต่อคณิตศาสตร์ สามารถทาํ งานไดอ้ ยา่ งเป็นระบบ มีระเบียบ รอบคอบ มีความ

รับผดิ ชอบ มีวจิ ารณญาณ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรคแ์ ละมีความเชื่อมน่ั ในตวั เอง
ตัวชี้วดั
ค ๑.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓ , ป.๒/๔ , ป.๒/๕, ป.๒/๖ , ป.๒/๗ , ป.๒/๘
ค ๒.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓ , ป.๒/๔ , ป.๒/๕, ป.๒/๖

๕๐

ค ๒.๒ ป ๒/๑
ค ๓.๑ ป ๒/๑
รวม ๑๖ ตัวชีว้ ัด

๕๑

รายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน
คาํ อธบิ ายรายวิชา
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปี ที่ ๓
รหสั วชิ า ค๑๓๑๐๑ เวลาเรียน ๕ ชั่วโมง/สัปดาห์ เวลา ๒๐๐ ชั่วโมง
อ่านและเขียน ตวั เลขฮินดูอารบิก ตวั เลขไทย และตวั หนงั สือแสดงจาํ นวนนบั ไมเ่ กิน ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐

เปรียบเทียบและเรียงลาํ ดบั จาํ นวนนบั ไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ จากสถานการณ์ตา่ ง ๆ บอก อา่ นและเขียนเศษส่วนท่ี

แสดงปริมาณส่ิงตา่ ง ๆ และแสดงส่ิงต่าง ๆ ตามเศษส่วนท่ีกาํ หนด เปรียบเทียบเศษส่วนที่ตวั เศษเทา่ กนั โดยที่ตวั เศษ
นอ้ ยกวา่ หรือเท่ากบั ตวั ส่วน หาค่าของตวั ไม่ทราบคา่ ในประโยคสัญลกั ษณ์แสดงการบวกและการลบของจาํ นวนนบั ไม่

เกิน ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ หาคา่ ของตวั ไมท่ ราบคา่ ในประโยคสญั ลกั ษณ์แสดงการคณู ของจาํ นวน ๑ หลกั กบั จาํ นวนไม่เกิน

๔ หลกั และจาํ นวน ๒ หลกั กบั จาํ นวน ๒ หลกั หาคา่ ของตวั ไมท่ ราบคา่ ในประโยคสญั ลกั ษณ์แสดงการหารที่ตวั ต้งั ไม่
เกิน ๔ หลกั ตวั หาร ๑ หลกั และหาผลลพั ธก์ ารบวก ลบ คณู หารระคนและแสดงวธิ ีการหาคาํ ตอบของโจทยป์ ัญหา ๒

ข้นั ตอนของจาํ นวนนบั ไมเ่ กิน ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐
หาผลบวกและแสดงวธิ ีหาคาํ ตอบของโจทยป์ ัญหาการบวกของเศษส่วนที่มีตวั ส่วนเทา่ กนั และผลบวกไมเ่ กิน

๑ และหาผลลบพร้อมท้งั แสดงวธิ ีหาคาํ ตอบของโจทยป์ ัญหาการลบของเศษส่วนที่มีตวั ส่วนเท่ากนั ระบุจาํ นวนที่
หายไปในแบบรูปของจาํ นวนท่ีเพ่ิมข้นึ หรือลดลงทีละเทา่ ๆ กนั แสดงวิธีหาคาํ ตอบของโจทยป์ ัญหาเก่ียวกบั เงิน เวลา
และระยะเวลา เลือกใชเ้ ครื่องมือความยาวท่ีเหมาะสม วดั และบอกความยาวของส่ิงต่าง ๆ เป็นเซนติเมตรและมิลลิเมตร
เมตรและเซนติเมตร คาดคะเนความยาวเป็นเมตรและเป็นเซนติเมตรเปรียบเทียบความยาวและแสดงวิธีหาคาํ ตอบของ

โจทยป์ ัญหาเกี่ยวกบั ระหวา่ งเซนติเมตรกบั มิลลิเมตร เมตรกบั เซนติเมตร กิโลเมตรกบั เมตร จากสถานการณ์ต่าง ๆ

เลือกใชเ้ ครื่องชงั่ ท่ีเหมาะสม วดั และบอกน้าํ หนกั เป็นกิโลกรัมและขีด กิโลกรัมและกรัม คาดคะเนน้าํ หนกั เป็นกิโลกรัม
และเป็นขดี เปรียบเทียบน้าํ หนกั และแสดงวธิ ีหาคาํ ตอบของโจทยป์ ัญหาเกี่ยวกบั น้าํ หนกั ท่ีมีหน่วยเป็นกิโลกรัมกบั กรัม
เมตริกตนั กบั กิโลกรัม จากสถานการณ์ตา่ ง ๆ เลือกใชเ้ ครื่องตวงที่เหมาะสม

วดั และเปรียบเทียบปริมาตร ความจุเป็นลิตรและมิลลิลิตร คาดคะเนและแสดงวิธีหาคาํ ตอบของโจทยป์ ัญหา

เก่ียวกบั ปริมาตรและความจุเป็นลิตรและมิลลิเมตร ระบรุ ูปเรขาคณิตสองมิติท่ีมีแกนสมมาตรและจาํ นวนแกนสมมาตร

เขยี นแผนภมู ิรูปภาพและใชข้ อ้ มลู จากแผนภมู ิรูปภาพในการหาคาํ ตอบของโจทยป์ ัญหา เขียนตารางทางเดียวจากขอ้ มลู

ที่เป็นจาํ นวนนบั และใชข้ อ้ มลู จากตารางทางเดียวในการหาคาํ ตอบของโจทยป์ ัญหา
ตัวชี้วัด
ค ๑.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖, ป.๓/๗, ป.๓/๘, ป.๓/๙, ป.๓/๑๐ ,
ป.๓/๑๑
ค ๑.๒ ป.๓/๑
ค ๒.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖, ป.๓/๗, ป.๓/๘, ป.๓/๙, ป.๓/๑๐,
ป.๓/๑๑, ป.๓/๑๒, ป.๓/๑๓

๕๒

ค ๒.๒ ป.๓/๑
ค ๓.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒
รวม ๒๘ ตวั ชีว้ ัด

๕๓

กลุ่มสาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ รายวชิ าคณติ ศาสตร์พืน้ ฐาน ช้ันประถมศึกษาปี ที่ ๔
รหสั วิชา ค๑๔๑๐๑ เวลา ๑๖๐ ชั่วโมง
คาํ อธบิ ายรายวชิ า
เวลาเรียน ๔ ช่ัวโมง/สัปดาห์

ศึกษา ฝึกทกั ษะการอ่านและเขียนตวั เลขฮินดูอารบิก ตวั เลขไทย และตวั หนงั สือแสดงจาํ นวนนบั ท่ีมากกวา่

๑๐๐,๐๐๐ พร้อมท้งั เปรียบเทียบและเรียงลาํ ดบั จาํ นวนนบั ที่มากกวา่ ๑๐๐,๐๐๐ จากสถานการณ์ตา่ ง ๆ บอก อ่านและ
เขยี นเศษส่วน จาํ นวนคละแสดงปริมาณส่ิงตา่ ง ๆ และแสดงส่ิงตา่ ง ๆ ตามเศษส่วน จาํ นวนคละท่ีกาํ หนด เปรียบเทียบ
เรียงลาํ ดบั เศษส่วนและจาํ นวนคละท่ีตวั ส่วนตวั หน่ึงเป็นพหูคูณของอีกตวั หน่ึง อ่านและเขยี นทศนิยมไม่เกิน ๓
ตาํ แหน่ง แสดงปริมาณของส่ิงตา่ ง ๆ ตามทศนิยมท่ีกาํ หนด เปรียบเทียบและเรียงลาํ ดบั ทศนิยมไมเ่ กิน ๓ ตาํ แหน่ง และ
ประมาณผลลพั ธ์ของการบวก การลบการคูณ การหาร จากสถานการณ์ต่าง ๆ อยา่ งสมเหตสุ มผล หาค่าของตวั ไม่ทราบ
ค่าในประโยคสญั ลกั ษณ์ แสดงการบวก การลบของจาํ นวนนบั ที่มากกวา่ ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ แสดงการคูณของจาํ นวน
หลายหลกั ๒ จาํ นวน ท่ีมีผลคณู ไมเ่ กิน ๖ หลกั และแสดงการหารที่ตวั ต้งั ไม่เกิน ๖ หลกั ตวั หารไม่เกิน ๒ หลกั หา
ผลลพั ธก์ ารบวก ลบ คูณ หารระคนของจาํ นวนนบั และ ๐ แสดงวธิ ีหาคาํ ตอบของโจทยป์ ัญหา ๒ ข้นั ตอนของจาํ นวน
นบั ท่ีมากกวา่ ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ สร้างโจทยป์ ัญหา ๒ ข้นั ตอนของจาํ นวนนบั และ ๐ พร้อมท้งั หาคาํ ตอบ หาคาํ ตอบและ
แสดงวิธีหาคาํ ตอบของโจทยป์ ัญหาการบวก การลบของเศษส่วนและจาํ นวนคละท่ีตวั ส่วนตวั หน่ึงเป็นพหูคูณของอีก
ตวั หน่ึง หาผลบวก ผลลบของทศนิยมไมเ่ กิน ๓ ตาํ แหน่ง และแสดงวธิ ีหาคาํ ตอบของโจทยป์ ัญหาการบวก การลบ ๒
ข้นั ตอนของทศนิยมไม่เกิน ๓ ตาํ แหน่ง

แสดงวธิ ีหาคาํ ตอบของโจทยป์ ัญหาเกี่ยวกบั เวลา วดั และสร้างมมุ โดยใชโ้ พรแทรกเตอร์ แสดงวธิ ีหาคาํ ตอบ
ของโจทยป์ ัญหาเกี่ยวกบั ความยาวรอบรูปและพ้นื ที่ของรูปส่ีเหลี่ยมมุมฉาก จาํ แนกชนิดของมุม บอกชื่อมมุ
ส่วนประกอบของมุมและเขียนสญั ลกั ษณ์แสดงมมุ สร้างรูปสี่เหลี่ยมมมุ ฉากเม่ือกาํ หนดความยาวของดา้ น และใชข้ อ้ มลู
จากแผนภมู ิแท่ง ตารางสองทางในการหาคาํ ตอบของโจทยป์ ัญหา

มีวิจารณญาณและเชื่อมน่ั ในตนเองสามารถนาํ ความรู้ไปใชใ้ หเ้ กิดประโยชนโ์ ดยใชว้ ธิ ีการของเศรษฐกิจ
พอเพียงและสามารถนาํ ไปประยกุ ตใ์ ชก้ บั ชีวติ ประจาํ วนั ไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ งเหมาะสม

ตัวชี้วดั
ค ๑.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖, ป.๔/๗, ป.๔/๘, ป.๔/๙, ป.๔/๑๐, ป.๔/๑๑, ป.๔/๑๒,
ป.๔/๑๓, ป.๔/๑๔, ป.๔/๑๕, ป.๔/๑๖
ค ๒.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓
ค ๒.๒ ป.๔/๑, ป.๔/๒
ค ๓.๑ ป.๔/๑

รวม ๒๒ ตวั ชีว้ ัด

๕๔

รายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน
คาํ อธบิ ายรายวิชา
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปี ที่ ๕
รหัสวชิ า ค๑๕๑๐๑ เวลาเรียน ๔ ชั่วโมง/สัปดาห์ เวลา ๑๖๐ ช่ัวโมง

ศึกษา เขียนเศษส่วนที่มีตวั ส่วนเป็นตวั ประกอบของ ๑๐ หรือ ๑๐๐ หรือ ๑,๐๐๐ ในรูปทศนิยม แสดงวธิ ีหา

คาํ ตอบของโจทยป์ ัญหาโยใชบ้ ญั ญตั ิไตรยางค์ หาผลบวก ผลลบของเศษส่วนและจาํ นวนคละ หาผลคูณ ผลหารของ
เศษส่วนและจาํ นวนคละ แสดงวธิ ีหาคาํ ตอบของโจทยป์ ัญหาการบวก การลบ การคณู การหารเศษส่วน ๒ ข้นั ตอน หา
ผลคูณของทศนิยมท่ีผลคณู เป็นทศนิยมไม่เกิน ๓ ตาํ แหน่ง หาผลหารท่ีตวั ต้งั เป็นจาํ นวนนบั หรืทศนิยมไมเ่ กิน ๓
ตาํ แหน่ง และตวั หารเป็นจาํ นวนนบั ผลหารเป็นทศนิยมไม่เกิน ๓ ตาํ แหน่ง แสดงวธิ ีหาคาํ ตอบของโจทยป์ ัญหาการ
บวก การลบ การคณู การหารทศนิยม ๒ ข้นั ตอน แสดงวธิ ีหาคาํ ตอบของโจทยป์ ัญหาร้อยละไมเ่ กิน ๒ ข้นั ตอน แสดง
วิธีหาคาํ ตอบของโจทยป์ ัญหาเก่ียวกบั ความยาวที่มีการเปลี่ยนหน่วยและเขยี นในรูปทศนิยม แสดงวิธีหาคาํ ตอบของ
โจทยป์ ัญหาเก่ียวกบั น้าํ หนกั ท่ีมีการเปลี่ยนหน่วยและเขยี นในรูปทศนิยม แสดงวิธีหาคาํ ตอบของโจทยป์ ัญหาเก่ียวกบั
ปริมาตรของทรงส่ีเหล่ียมมมุ ฉากและความจุของภาชนะทรงส่ีเหลี่ยมมุมฉาก แสดงวธิ ีหาคาํ ตอบของโจทยป์ ัญหา
เกี่ยวกบั ความยาวรอบรูปของรูปสี่เหลี่ยมและพ้นื ท่ีของรูปส่ีเหลี่ยมดา้ นขนานและรูปสี่เหลี่ยมขนมเปี ยกปนู สร้าง
เสน้ ตรงหรือส่วนของเส้นตรงใหข้ นานกบั เส้นตรงหรือส่วนของเส้นตรงท่ีกาํ หนดให้ จาํ แนกรูปสี่เหล่ียมโดยพจิ ารณา
จากสมบตั ิของรูปสร้างรูปส่ีเหลี่ยมชนิดต่างๆ เมื่อกาํ หนดความยาวของดา้ นและขนาดของมมุ หรือเมื่อกาํ หนดความ
ยาวของเสน้ ทแยงมุม บอกลกั ษณะของปริซึม ใชข้ อ้ มูลจากกราฟเสน้ ในการหาคาํ ตอบของโจทยป์ ัญหา เขียนแผนภูมิ
แท่งจากขอ้ มูลที่เป็นจาํ นวนนบั

โดยการจดั ประสบการณ์หรือสร้างสถานการณ์ที่ใกลต้ วั ผเู้ รียนไดศ้ ึกษา คน้ ควา้ ฝึกทกั ษะ โดยการปฏิบตั ิจริง
ทดลอง สรุป รายงาน เพ่อื พฒั นาทกั ษะและกระบวนการในการคดิ คาํ นวณ การแกป้ ัญหา การใหเ้ หตุผล การสื่อสาร การ
ส่ือความหมายทางคณิตศาสตร์ และนาํ ประสบการณ์ดา้ นความรู้ ความคิด ทกั ษะและกระบวนการท่ีไดใ้ ชใ้ นการเรียนรู้
สิ่งตา่ ง ๆ และใชใ้ นชีวติ ประจาํ วนั อยา่ งสร้างสรรค์

เพือ่ ใหเ้ ห็นคณุ คา่ และมีเจตคติท่ีดีต่อคณิตศาสตร์ สามารถทาํ งานไดอ้ ยา่ งเป็นระบบ มีระเบียบ รอบคอบ มี

ความรับผิดชอบ มีวิจารณญาณ มีความคดิ ริเริ่มสร้างสรรคแ์ ละมีความเช่ือมน่ั ในตวั เอง
ตวั ชีว้ ัด

ค ๑.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔ , ป.๕/๕, ป.๕/๖, ป.๕/๗, ป.๕/๘, ป.๕/๙
ค ๒.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔
ค ๒.๒ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔
ค ๓.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒
รวม ๑๙ ตัวชีว้ ดั

๕๕

รายวิชาคณิตศาสตร์พืน้ ฐาน
คําอธิบายรายวิชา
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปี ที่ ๖
รหัสวชิ า ค๑๖๑๐๑ เวลาเรียน ๔ ชั่วโมง/สัปดาห์ เวลา ๑๖๐ ช่ัวโมง
เปรียบเทียบ เรียงลาํ ดบั เศษส่วนและจาํ นวนคละจากสถานการณ์ตา่ ง ๆ จาํ แนกรูปสามเหลี่ยมโดยพิจารณา

จากสมบตั ิของรูปบอกลกั ษณะของรูปเรขาคณิตสามมิติชนิดต่าง ๆ ระบุรูปเรขาคณิตสามมิติท่ีประกอบจากรูปคล่ีและ

ระบรุ ูปคลี่ของรูปเรขาคณิตสามมิติ เขยี นอตั ราส่วนแสดงการเปรียบเทียบปริมาณ ๒ ปริมาณจากขอ้ ความหรือ

สถานการณ์ โดยท่ีปริมาณแต่ละปริมาณเป็นจาํ นวนนบั หาอตั ราส่วนท่ีเทา่ กบั อตั ราส่วนที่กาํ หนดให้ หา ห.ร.ม. และ

ค.ร.น. ของจาํ นวนนบั ไมเ่ กิน ๓ จาํ นวน แสดงวิธีหาคาํ ตอบของโจทยป์ ัญหาโดยใชค้ วามรู้เก่ียวกบั ห.ร.ม. และ ค.ร.น.

หาผลลพั ธ์ของการบวก ลบ คณู หารระคนของเศษส่วนและจาํ นวนคละ แสดงวธิ ีหาคาํ ตอบของโจทยป์ ัญหาเศษส่วน

และจาํ นวนคละ ๒ – ๓ ข้นั ตอน หาผลหารของทศนิยมท่ีตวั หารและผลหารเป็นทศนิยมไมเ่ กิน ๓ ตาํ แหน่ง แสดงวธิ ีหา
คาํ ตอบของโจทยป์ ัญหาการบวก การลบ การคูณ การหารทศนิยม ๓ ข้นั ตอน แสดงวธิ ีหาคาํ ตอบของโจทยป์ ัญหา
อตั ราส่วน ปัญหาร้อยละ ๒ – ๓ ข้นั ตอน แสดงวิธีคดิ และหาคาํ ตอบของปัญหาเก่ียวกบั แบบรูป
แสดงวธิ ีหาคาํ ตอบของโจทยป์ ัญหาเกี่ยวกบั ปริมาตรของรูปเรขาคณิตสามมิติท่ีประกอบดว้ ยทรงสี่เหล่ียมมุม

ฉาก และแสดงวิธีหาคาํ ตอบของโจทยป์ ัญหาเก่ียวกบั ความยาวรอบรูปและพ้ืนที่ของรูปหลายเหล่ียม ความยาวรอบรูป
และพ้ืนท่ีของวงกลม สร้างรูปสามเหลี่ยมเมื่อกาํ หนดความยาวของดา้ นและขนาดของมุม ใช้ขอ้ มูลจากแผนภูมิรูป
วงกลมในการหาคาํ ตอบของโจทยป์ ัญหา

เพ่ือใหเ้ ห็นคุณค่าและมีเจตคติท่ีดีต่อคณิตศาสตร์ สามารถทาํ งานไดอ้ ยา่ งเป็นระบบ มีระเบียบ รอบคอบ มี

ความรับผิดชอบ มีวจิ ารณญาณ มีความคดิ ริเร่ิมสร้างสรรคแ์ ละมีความเช่ือมน่ั ในตวั เอง

ตวั ชี้วัด

ค ๑.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖, ป.๖/๗, ป.๖/๘, ป.๖/๙, ป.๖/๑๐, ป.๖/๑๑ , ป.๖/๑๒
ค ๑.๒ ป.๖/๑
ค ๒.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓
ค ๒.๒ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔
ค ๓.๑ ป.๖/๑
รวม ๒๑ ตวั ชี้วัด

๕๖

ระดับมัธยมศึกษา
รายวชิ าคณติ ศาสตร์พืน้ ฐาน
คาํ อธิบายรายวิชา
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ รายวิชา คณิตศาสตร์ รหัสวชิ า ค๒๑๑๐๑ ช้ันมัธยมศึกษาปี ท่ี ๑
ภาคเรียนที่ ๑ จํานวน ๑.๕ หน่วยกติ เวลาเรียน ๓ ชั่วโมง/สัปดาห์ เวลา ๖๐ ช่ัวโมง/ภาคเรียน
ศึกษาเก่ียวกับ จาํ นวนเต็ม สมบัติของจาํ นวนเต็ม ทศนิยมและเศษส่วน จาํ นวนตรรกยะและสมบตั ิของ

จาํ นวนตรรกยะ เลขยกกาํ ลงั ท่ีมีเลขช้ีกาํ ลงั เป็ นจาํ นวนเต็มบวก การนาํ ความรู้เกี่ยวกับจาํ นวนเต็ม จาํ นวนตรรกยะ
และเลขยกกาํ ลงั ไปใชใ้ นการแกป้ ัญหา สมการเชิงเส้นตวั แปรเดียว การแกส้ มการเชิงเส้นตวั แปรเดียว การนาํ ความรู้

เกี่ยวกบั การแกส้ มการเชิงเส้นตวั แปรเดียวไปใชใ้ นชีวิตจริง การสร้างพ้นื ฐานทางเรขาคณิต การสร้างรูปเรขาคณิตสอง
มิติโดยใชก้ ารสร้างพ้นื ฐานทางเรขาคณิต การนาํ ความรู้เกี่ยวกบั การสร้างพ้นื ฐานทางเรขาคณิตไปใชใ้ นชีวติ
โดยจัดประสบการณ์หรือสร้างสถานการณ์ให้ผูเ้ รียนได้ศึกษาคน้ ควา้ ด้วยการปฏิบัติจริง ทดลอง สรุป

รายงาน เพื่อพฒั นาทกั ษะและกระบวนการในการคิดคาํ นวณ แกป้ ัญหา การให้เหตุผล และนําความรู้ ความคิด

ทกั ษะและกระบวนการที่ไดไ้ ปใชใ้ นชีวติ ประจาํ วนั อยา่ งสร้างสรรค์

เพือ่ ใหส้ ามารถใชค้ วามรู้ ทกั ษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ และเทคโนโลยใี นการแกป้ ัญหาในสถานการณ์

ต่าง ๆ ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม รู้จกั ใชว้ ิธีการท่ีหลากหลายในการในการแกป้ ัญหา ใชเ้ หตผุ ลประกอบการตดั สินใจ ใชภ้ าษา

และสัญลกั ษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร การส่ือความหมาย และการนาํ เสนอไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ งและชดั เจน สามารถ

เช่ือมโยงและนาํ ความรู้ หลกั การกระบวนการทางคณิตศาสตร์ไปใชใ้ นการเรียนรู้ส่ิงต่าง ๆ และใชช้ ีวิตประจาํ วนั
รวมท้งั เห็นคณุ คา่ และมีเจตคติท่ีดีต่อคณิตศาสตร์ มีความคดิ ริเร่ิมสร้างสรรค์ สามารถทาํ งานอยา่ งมีระบบ มีระเบียบ มี
ความรอบคอบ มีความรับผิดชอบ มีวจิ ารณญาณ และมีความเชื่อมนั่ ในตนเอง
ตวั ชี้วดั
ค ๑.๑ ม ๑/๑ , ม ๑/๒

ค ๒.๒ ม ๑/๑ , ม ๑/๒
รวม ๔ ตัวชีว้ ดั

๕๗

รายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน ช้ันมธั ยมศึกษาปี ท่ี ๑
เวลา ๖๐ ช่ัวโมง/ภาคเรียน
คําอธบิ ายรายวชิ า
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ รายวชิ า คณติ ศาสตร์ รหสั วิชา ค๒๑๑๐๒
ภาคเรียนที่ ๒ จํานวน ๑.๕ หน่วยกติ เวลาเรียน ๓ ชั่วโมง/สัปดาห์

ศึกษา อตั ราส่วน อตั ราส่วนของจาํ นวนหลายๆจาํ นวน สัดส่วน การนาํ ความรู้เก่ียวกบั อตั ราส่วน สัดส่วน
และร้อยละไปใชใ้ นการแกป้ ัญหา กราฟของความสัมพนั ธ์เชิงเส้น สมการเชิงเส้นสองตวั แปร การนาํ ความรู้เก่ียวกบั
สมการเชิงเสน้ สองตวั แปรและกราฟของความสมั พนั ธ์เชิงเส้นไปใชใ้ นชีวติ จริง หนา้ ตดั ของรูปเรขาคณิตสามมิติ ภาพ

ท่ีไดจ้ ากการมองดา้ นหนา้ ดา้ นขา้ ง ดา้ นบนของรูปเรขาคณิตสามมิติท่ีประกอบข้ึนจากลูกบาศก์ การต้งั คาํ ถามทาง
สถิติ การเก็บรวบรวมขอ้ มูล การนาํ เนอขอ้ มูลดว้ ย แผนภูมิรูปภาพ แผนภูมิแท่ง กราฟเส้น แผนภูมิรูปวงกลม การ
แปลความหมายขอ้ มลู การนาํ สถิติไปใชใ้ นชีวติ จริง

โดยจัดประสบการณ์หรือสร้างสถานการณ์ให้ผูเ้ รียนได้ศึกษาค้นควา้ ด้วยการปฏิบัติจริง ทดลอง สรุป
รายงาน เพื่อพฒั นาทกั ษะและกระบวนการในการคิดคาํ นวณ แกป้ ัญหา การให้เหตุผล และนําความรู้ ความคิด
ทกั ษะและกระบวนการท่ีไดไ้ ปใชใ้ นชีวิตประจาํ วนั อยา่ งสร้างสรรค์ โดยใช้วิธีการท่ีหลากหลายแก้ปัญหา ใช้ความรู้
ทกั ษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ในการแกป้ ัญหาในสถานการณ์ต่างๆไดอ้ ยา่ งเหมาะสม

เพ่ือพฒั นาทกั ษะ กระบวนการในการคิดคาํ นวณ การแก้ปัญหา การให้เหตุผล การส่ือความหมายทาง
คณิตศาสตร์ และนาํ ประสบการณ์ดา้ นความรู้ ความคิด ทกั ษะกระบวนการที่ไดไ้ ปใชใ้ นการเรียนรู้ส่ิงต่างๆและใชใ้ น
ชีวิตประจาํ วนั อย่างสร้างสรรค์ รวมท้งั เห็นคุณค่าและมีเจตคติท่ีดีต่อคณิตศาสตร์ สามารถทาํ งานอย่างเป็ นระบบ
ระเบียบ มีความรอบคอบ มีความรับผดิ ชอบ มีวิจารณญาณ และมีความเช่ือมนั่ ในตนเอง
ตวั ชี้วดั

ค ๑.๑ ม ๑/๓
ค ๑.๓ ม ๑/๑ , ม ๑/๒ , ม ๑/๓
ค ๓.๑ ม ๑/๑
รวม ๕ ตวั ชี้วดั

๕๘

รายวิชาคณิตศาสตร์พืน้ ฐาน ช้ันมัธยมศึกษาปี ที่ ๒
เวลา ๖๐ ช่ัวโมง/ภาคเรียน
คาํ อธิบายรายวชิ า
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ รายวิชา คณติ ศาสตร์ รหสั วชิ า ค๒๒๑๐๑
ภาคเรียนที่ ๑ จาํ นวน ๑.๕ หน่วยกติ เวลาเรียน ๓ ช่ัวโมง/สัปดาห์

ศึกษา คน้ ควา้ ฝึกทกั ษะ กระบวนการเก่ียวกบั ทฤษฏีบทพที าโกรัส ทฤษฎีบทพีทาโกรัสและบทกลบั การนาํ
ความรู้เกี่ยวกบั ทฤษฎีบทพีทาโกรัสและบทกลบั ไปใชใ้ นชีวติ จริง จาํ นวนจริง จาํ นวนอตรรกยะจาํ นวนจริงรากที่สอง
และรากท่ีสามของจาํ นวนตรรกยะการนาํ ความรู้เก่ียวกบั จาํ นวนจริงไปใช้ พ้นื ท่ีผิวและปริมาตร การหาพ้ืนท่ีผิวของ
ปริซึมและทรงกระบอก การนาํ ความรู้เกี่ยวกบั พ้ืนที่ผิวของปริซึมและทรงกระบอกไปใชใ้ นการแกป้ ัญหา การหา
ปริมาตรของปริซึมและทรงกระบอก การนาํ ความรู้เกี่ยวกบั ปริมาตรของปริซึมและทรงกระบอกไปใชใ้ นการแกป้ ัญหา
การแปลงทางเรขาคณิต การเล่ือนขนาน การสะทอ้ น การหมุน การนาํ ความรู้เก่ียวกบั การแปลงทางเรขาคณิตไปใชใ้ น
การแกป้ ัญหา จาํ นวนตรรกยะ เลขยกกาํ ลงั ที่มีเลขช้ีกาํ ลงั เป็นจาํ นวนเตม็ การนาํ ความรู้เกี่ยวกบั เลขยกกาํ ลงั ไปใชใ้ น
การแกป้ ัญหา พหุนาม พหุนาม การบวก การลบ และการคูณของพหุนาม การหารพหุนามดว้ ยเอกนามท่ีมีผลหารเป็น
พหุนาม

โดยจดั ประสบการณ์ กิจกรรม หรือ โจทยป์ ัญหาที่ส่งเสริมการพฒั นาทกั ษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ใน
การคดิ คาํ นวณ การใหเ้ หตุผล การวเิ คราะห์ การแกป้ ัญหา การส่ือสาร การส่ือความหมาย และการนาํ เสนอโดยใช้
วิธีการที่หลากหลายในการคิดคาํ นวณการแกป้ ัญหาการใหเ้ หตุผลประกอบการตดั สินใจและสรุปผลไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง
เหมาะสม

เพ่ือใหส้ ามารถใชค้ วามรู้ ทกั ษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ และเทคโนโลยใี นการแกป้ ัญหาในสถานการณ์
ต่าง ๆ ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม รู้จกั ใชว้ ธิ ีการที่หลากหลายในการในการแกป้ ัญหา ใชเ้ หตุผลประกอบการตดั สินใจ ใชภ้ าษา
และสัญลกั ษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร การสื่อความหมาย และการนาํ เสนอไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ งและชดั เจน สามารถ
เชื่อมโยงและนาํ ความรู้ หลกั การกระบวนการทางคณิตศาสตร์ไปใชใ้ นการเรียนรู้สิ่งต่าง ๆ และใชช้ ีวิตประจาํ วนั
รวมท้งั เห็นคุณค่าและมีเจตคติท่ีดีต่อคณิตศาสตร์ มีความคดิ ริเร่ิมสร้างสรรค์ สามารถทาํ งานอยา่ งมีระบบ มีระเบียบ มี
ความรอบคอบ มีความรับผดิ ชอบ มีวิจารณญาณ และมีความเช่ือมนั่ ในตนเอง
ตวั ชี้วดั

ค ๑.๑ ม.๒/๑, ม.๒/๒
ค ๑.๒ ม.๒/๑
ค ๒.๑ ม.๒/๑, ม.๒/๒
ค ๒.๒ ม.๒/๓, ม.๒/๕
รวม ๗ ตวั ชีว้ ัด

๕๙

รายวชิ าคณติ ศาสตร์พืน้ ฐาน
คําอธบิ ายรายวชิ า
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ รายวชิ า คณิตศาสตร์ รหัสวิชา ค๒๒๑๐๒ ช้ันมัธยมศึกษาปี ท่ี ๒
ภาคเรียนท่ี ๒ จํานวน ๑.๕ หน่วยกติ เวลาเรียน ๓ ช่ัวโมง/สัปดาห์ เวลา ๖๐ ช่ัวโมง/ภาคเรียน
ศึกษา คน้ ควา้ ฝึกทกั ษะ กระบวนการเก่ียวกบั สถิติ การนาํ เสนอและวเิ คราะห์ขอ้ มูล แผนภาพจุด แผนภาพตน้ -

ใบ ฮิสโตแกรม คา่ กลางของขอ้ มลู การแปลความหมายผลลพั ธ์ การนาํ สถิติไปใชใ้ นชีวติ จริง ความเท่ากนั ทกุ ประการ

ความเทา่ กนั ทกุ ประการของรูปสามเหล่ียม การนาํ ความรู้เกี่ยวกบั ความเท่ากนั ทุกประการไปใชใ้ นการแกป้ ัญหา เส้นขนาน

สมบตั ิเกี่ยวกบั เสน้ ขนานและรูปสามเหลี่ยม ความเท่ากนั ทุกประการ ความเทา่ กนั ทกุ ประการของรูปสามเหลี่ยมการนาํ

ความรู้เกี่ยวกบั ความเท่ากนั ทุกประการไปใชใ้ นการแกป้ ัญหา การสร้างทางเรขาคณิต การนาํ ความรู้เก่ียวกบั การสร้างทาง

เรขาคณิตไปใชใ้ นชีวติ จริงการแยกตวั ประกอบพหุนาม การแยกตวั ประกอบของพหุนามดีกรีสอง โดยใชส้ มบตั ิการแจกแจง

กาํ ลงั สองสมบรู ณ์ผลตา่ งของกาํ ลงั สอง

โดยจดั ประสบการณ์ กิจกรรม หรือ โจทยป์ ัญหาท่ีส่งเสริมการพฒั นาทกั ษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ใน

การคดิ คาํ นวณ การใหเ้ หตุผล การวิเคราะห์ การแกป้ ัญหา การส่ือสาร การสื่อความหมาย และการนาํ เสนอโดยใช้

วิธีการที่หลากหลายในการคดิ คาํ นวณการแกป้ ัญหาการใหเ้ หตุผลประกอบการตดั สินใจและสรุปผลไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง

เหมาะสม

เพือ่ ใหส้ ามารถใชค้ วามรู้ ทกั ษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ และเทคโนโลยใี นการแกป้ ัญหาในสถานการณ์ตา่ ง

ๆ ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม รู้จกั ใชว้ ิธีการท่ีหลากหลายในการในการแกป้ ัญหา ใชเ้ หตุผลประกอบการตดั สินใจ ใชภ้ าษา และ

สัญลกั ษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร การสื่อความหมาย และการนาํ เสนอไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ งและชดั เจน สามารถเช่ือมโยง

และนาํ ความรู้ หลกั การกระบวนการทางคณิตศาสตร์ไปใชใ้ นการเรียนรู้ส่ิงต่าง ๆ และใชช้ ีวิตประจาํ วนั รวมท้งั เห็นคณุ ค่า
และมีเจตคติท่ีดีต่อคณิตศาสตร์ มีความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ สามารถทาํ งานอยา่ งมีระบบ มีระเบียบ มีความรอบคอบ มีความ
รับผิดชอบ มีวจิ ารณญาณ และมีความเชื่อมนั่ ในตนเอง
ตวั ชีว้ ัด
ค ๑.๒ ม.๒/๒
ค ๒.๒ ม.๒/๑, ม.๒/๒, ม.๒/๔
ค ๓.๑ ม.๒/๑
รวม ๕ ตวั ชี้วัด

๖๐

รายวิชาคณติ ศาสตร์พืน้ ฐาน

คาํ อธบิ ายรายวิชา
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ รายวิชา คณติ ศาสตร์ รหัสวชิ า ค๒๓๑๐๑ ช้ันมัธยมศึกษาปี ท่ี ๓
ภาคเรียนที่ ๑ จาํ นวน ๑.๕ หน่วยกติ เวลาเรียน ๓ ชั่วโมง/สัปดาห์ เวลา ๖๐ ช่ัวโมง/ภาคเรียน
ศึกษา ฝึกทกั ษะ กระบวนการในระบบสมการระบบสมการเชิงเสน้ สองตวั แปรการแกร้ ะบบสมการเชิงเส้น

สองตวั แปรการนาํ ความรู้เกี่ยวกบั ระบบสมการเชิงเส้นสองตวั แปรไปใชใ้ นการแกป้ ัญหา พ้นื ที่ผวิ และปริมาตรการหา
พ้นื ที่ผวิ ของพีระมิด กรวยและทรงกลม การนาํ ความรู้พ้ืนที่ผวิ ของพรี ะมิด กรวย และทรงกลมไปใชใ้ นการแกป้ ัญหา
การหาปริมาตรของพีระมิด กรวย และทรงกลม การนาํ ความรู้เก่ียวกบั ปริมาตรของพีระมิด กรวย และทรงกลมไปใช้

ในการแกป้ ัญหาความคลา้ ยรูปสามเหลี่ยมที่คลา้ ยกนั การนาํ ความรู้เก่ียวกบั ความคลา้ ยไปใชใ้ นการแกป้ ัญหา

การแยกตวั ประกอบพหุนาม การแยกตวั ประกอบของพหุนามดีกรีสูงกวา่ สอง สมการกาํ ลงั สองตวั แปรเดียวสมการ

กาํ ลงั สองตวั แปรเดียว การแกส้ มการกาํ ลงั สองตวั แปรเดียว การนาํ ความรู้เกี่ยวกบั การแกส้ มการกาํ ลงั สองตวั แปรเดียว

ไปใชใ้ นการแกป้ ัญหา ฟังกช์ นั กาํ ลงั สองกราฟของฟังกช์ นั กาํ ลงั สอง การนาํ ความรู้เก่ียวกบั ฟังกช์ นั กาํ ลงั สองไปใชใ้ น

การแกป้ ัญหา

โดยจดั ประสบการณ์หรือสร้างสถานการณ์ในชีวติ ประจาํ วนั ท่ีใกลต้ วั ใหผ้ เู้ รียนไดศ้ ึกษา คน้ ควา้ โดยการ

ปฏิบตั ิจริง ทดลอง สรุป รายงาน เพื่อพฒั นาทกั ษะ/กระบวนการ ในการคิดคาํ นวณ การแกป้ ัญหา การใหเ้ หตผุ ล การส่ือ

ความหมายทางคณิตศาสตร์ และนาํ ประสบการณ์ดา้ นความรู้ ความคดิ ทกั ษะกระบวนการท่ีไดไ้ ปใชใ้ นการเรียนรู้สิ่ง
ต่างๆ และใชใ้ นชีวิตประจาํ วนั อยา่ งสร้างสรรค์ รวมท้งั เห็นคณุ ค่าและเจตคติท่ีดีตอ่ คณิตศาสตร์ สามารถทาํ งานอยา่ ง
เป็นระบบระเบียบ มีความรอบคอบ มีความรับผดิ ชอบ มีวิจารณญาณ และมีความเชื่อมน่ั ในตนเอง
การวดั ผลประเมินผล ใชว้ ิธีการท่ีหลากหลายตามสภาพความเป็นจริงใหส้ อดคลอ้ งกบั เน้ือหา และทกั ษะที่
ตอ้ งการวดั
ตวั ชี้วัด
ค ๑.๒ ม. ๓/๑, ม. ๓/๒

ค ๑.๓ ม.๓/๒, ม.๓/๓

ค ๒.๑ ม.๓/๑, ม.๓/๒

ค ๒.๒ ม.๓/๑
รวม ๗ ตวั ชี้วัด

๖๑

รายวชิ าคณติ ศาสตร์พืน้ ฐาน ช้ันมธั ยมศึกษาปี ที่ ๓
เวลา ๖๐ ชั่วโมง/ภาคเรียน
คาํ อธิบายรายวชิ า
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ รายวิชา คณติ ศาสตร์ รหสั วชิ า ค๒๓๑๐๒
ภาคเรียนที่ ๒ จาํ นวน ๑.๕ หน่วยกติ เวลาเรียน ๓ ชั่วโมง/สัปดาห์

ศึกษา ฝึกทกั ษะ กระบวนการ อสมการ อสมการเชิงเส้นตวั แปรเดียวและการนาํ ไปใช้ สถิติ การเกบ็ รวบรวม
ขอ้ มลู การนาํ เสนอขอ้ มูล การวเิ คราะห์ขอ้ มูลจากการนาํ เสนอ ค่ากลางของขอ้ มูลและการนาํ ไปใช้ การใชค้ วามรู้
เก่ียวกบั สถิติประกอบการตดั สินใจ ความน่าจะเป็น การทดลองสุ่มและเหตุการณ์ ความน่าจะเป็นของเหตกุ ารณ์ การ
ใชค้ วามรู้เกี่ยวกบั ความน่าจะเป็ นในการคาดการณ์ การใช้ความรู้เก่ียวกบั ความน่าจะเป็ นประกอบการตดั สินใจ การ

เสริมทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ การเสริมทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์เกี่ยวกับเลขยกกําลัง
อตั ราส่วนและร้อยละ ปริมาตรและพ้ืนท่ีผิว สถิติ ความน่าจะเป็น

โดยใชว้ ิธีการท่ีหลากหลายแกป้ ัญหา ใชค้ วามรู้ ทกั ษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ในการแกป้ ัญหาใน
สถานการณ์ต่างๆไดอ้ ยา่ งเหมาะสม เพอื่ พฒั นาทกั ษะ / กระบวนการในการคดิ คาํ นวณ การแกป้ ัญหา การใหเ้ หตุผล
การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และนาํ ประสบการณ์ดา้ นความรู้ ความคิด ทกั ษะกระบวนการท่ีไดไ้ ปใชใ้ นการ
เรียนรู้สิ่งต่างๆและใช้ในชีวิตประจาํ วนั อย่างสร้างสรรค์ รวมท้งั เห็นคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์ สามารถ
ทาํ งานอยา่ งเป็นระบบระเบียบ มีความรอบคอบ มีความรับผดิ ชอบ มีวิจารณญาณ และมีความเช่ือมน่ั ในตนเอง

การวดั ผลประเมินผล ใชว้ ิธีการท่ีหลากหลายตามสภาพความเป็นจริงใหส้ อดคลอ้ งกบั เน้ือหา และทกั ษะที่
ตอ้ งการวดั
ตวั ชี้วดั

ค ๑.๓ ม.๓/๑
ค ๒.๒ ม.๓/๒, ม.๓/๓
ค ๓.๑ ม.๓/๑
ค ๓.๒ ม ๓/๑
รวม ๕ ตวั ชีว้ ดั

๖๒

กล่มุ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ทาํ ไมต้องเรียนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มีบทบาทสําคญั ย่ิงในสังคมโลกปัจจุบนั และอนาคต เพราะวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี เกี่ยวขอ้ งกบั ทุกคนท้งั ในชีวิตประจาํ วนั และการงานอาชีพต่าง ๆ ตลอดจนเทคโนโลยี เครื่องมือเคร่ืองใช้
และผลผลิตต่าง ๆ ท่ีมนุษยไ์ ด้ใช้เพื่ออาํ นวยความสะดวกในชีวิตและการทาํ งาน เหล่าน้ีล้วนเป็ นผลของความรู้
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ผสมผสานกบั ความคิดสร้างสรรคแ์ ละศาสตร์อ่ืน ๆ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช่วยให้
มนุษยไ์ ดพ้ ฒั นาวิธีคิด ท้งั ความคิดเป็ นเหตุเป็ นผล คิดสร้างสรรค์ คิดวิเคราะห์ วิจารณ์ มีทกั ษะสําคญั ในการคน้ ควา้
หาความรู้ มีความสามารถในการแกป้ ัญหาอยา่ งเป็นระบบ สามารถตดั สินใจโดยใชข้ อ้ มูลท่ีหลากหลายและมีประจกั ษ์
พยานท่ีตรวจสอบได้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เป็ นวฒั นธรรมของโลกสมยั ใหม่ซ่ึงเป็ นสังคมแห่งการเรียนรู้ (K
knowledge-based society) ดงั น้นั ทุกคนจึงจาํ เป็ นตอ้ งไดร้ ับการพฒั นาให้รู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพื่อท่ีจะมีความรู้
ความเขา้ ใจในธรรมชาติและเทคโนโลยี ที่มนุษยส์ ร้างสรรคข์ ้ึน สามารถนาํ ความรู้ไปใชอ้ ย่างมีเหตุผล สร้างสรรค์ และ
มีคุณธรรม

เรียนรู้อะไรในวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มุ่งหวงั ให้ผเู้ รียนไดเ้ รียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ที่เนน้
การเช่ือมโยงความรู้กบั กระบวนการ มีทกั ษะสาํ คญั ในการคน้ ควา้ และสร้างองคค์ วามรู้ โดยใชก้ ระบวนการในการสืบ
เสาะหาความรู้ และแกป้ ัญหาท่ีหลากหลาย ให้ผเู้ รียนมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ทุกข้นั ตอน มีการทาํ กิจกรรมดว้ ยการลง
มือปฏิบตั ิจริงอยา่ งหลากหลาย เหมาะสมกบั ระดบั ช้นั โดยกาํ หนดสาระสาํ คญั ดงั น้ี

• วิทยาศาสตร์ชีวภาพ เรียนรู้เกี่ยวกับ ชีวิตในส่ิงแวดล้อม องค์ประกอบของส่ิงมีชีวิตการดาํ รงชีวิตของ
มนุษยแ์ ละสตั ว์ การดาํ รงชีวติ ของพชื พนั ธุกรรม ความหลากหลายทางชีวภาพ และววิ ฒั นาการของสิ่งมีชีวติ

• วิทยาศาสตร์กายภาพ เรียนรู้เก่ียวกบั ธรรมชาติของสาร การเปลี่ยนแปลงของสารการเคลื่อนที่ พลงั งาน
และคล่ืน

• วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ เรียนรู้เก่ียวกับ องค์ประกอบของเอกภพ ปฏิสัมพันธ์ภายในระบบสุริยะ
เทคโนโลยีอวกาศ ระบบโลก การเปลี่ยนแปลงทางธรณีวิทยา กระบวนการเปล่ียนแปลงลมฟ้าอากาศ และผลต่อ
ส่ิงมีชีวิตและสิ่งแวดลอ้ ม

• เทคโนโลยี
-การออกแบบและเทคโนโลยี เรียนรู้เกี่ยวกบั เทคโนโลยเี พือ่ การดาํ รงชีวิตในสังคมที่มีการเปล่ียนแปลง

อย่างรวดเร็ว ใช้ความรู้และทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และศาสตร์อ่ืน ๆ เพ่ือแก้ปัญหาหรือ
พัฒนางานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ด้วยกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม เลือกใช้เทคโนโลยีอย่าง
เหมาะสมโดยคาํ นึงถึงผลกระทบตอ่ ชีวติ สังคม และสิ่งแวดลอ้ ม

๖๓

-วิทยาการคํานวณ เรียนรู้เกี่ยวกบั การคิดเชิงคาํ นวณ การคิดวิเคราะห์ แกป้ ัญหาเป็ นข้นั ตอนและเป็ น
ระบบ ประยุกต์ใช้ความรู้ด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ในการ
แกป้ ัญหาที่พบในชีวติ จริงไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ

สาระและมาตรฐานการเรียนรู้

สาระที่ ๑ วทิ ยาศาสตร์ชีวภาพ
มาตรฐาน ว ๑. ๑ เขา้ ใจความหลากหลายของระบบนิเวศ ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งส่ิงไมม่ ีชีวิตกบั ส่ิงมีชีวติ และ

ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งส่ิงมีชีวิตกบั ส่ิงมีชีวิตต่าง ๆ ในระบบนิเวศ การถา่ ยทอดพลงั งาน
การเปลี่ยนแปลงแทนที่ในระบบนิเวศ ความหมายของประชากร ปัญหาและผลกระทบท่ีมีตอ่
ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม แนวทางในการอนุรักษท์ รัพยากรธรรมชาติและการแกไ้ ข
ปัญหาสิ่งแวดลอ้ ม รวมท้งั นาํ ความรู้ไปใชป้ ระโยชน์
มาตรฐาน ว ๑.๒ เขา้ ใจสมบตั ิของสิ่งมีชีวติ หน่วยพ้ืนฐานของส่ิงมีชีวติ การลาํ เลียงสารเขา้ และออกจากเซลล์
ความสมั พนั ธข์ องโครงสร้าง และหนา้ ท่ีของระบบตา่ ง ๆ ของสตั วแ์ ละมนุษยท์ ่ีทาํ งานสัมพนั ธ์กนั
ความสัมพนั ธข์ องโครงสร้าง และหนา้ ที่ของอวยั วะต่าง ๆ ของพชื ที่ทาํ งานสมั พนั ธก์ นั รวมท้งั นาํ
ความรู้ไปใชป้ ระโยชน์
มาตรฐาน ว ๑.๓ เขา้ ใจกระบวนการและความสาํ คญั ของการถ่ายทอดลกั ษณะทางพนั ธุกรรม สารพนั ธุกรรม
การเปลี่ยนแปลงทางพนั ธุกรรมที่มีผลต่อสิ่งมีชีวติ ความหลากหลายทางชีวภาพและววิ ฒั นาการของ
สิ่งมีชีวิต รวมท้งั นาํ ความรู้ไปใชป้ ระโยชน์

สาระท่ี ๒ วิทยาศาสตร์กายภาพ
มาตรฐาน ว ๒. ๑ เขา้ ใจสมบตั ิของสสาร องคป์ ระกอบของสสาร ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งสมบตั ิของสสารกบั โครงสร้าง

และแรงยดึ เหน่ียวระหวา่ งอนุภาค หลกั และธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะของสสาร การเกิด
สารละลาย และการเกิดปฏกิ ิริยาเคมี
มาตรฐาน ว ๒.๒ เขา้ ใจธรรมชาติของแรงในชีวิตประจาํ วนั ผลของแรงท่ีกระทาํ ต่อวตั ถุลกั ษณะการเคล่ือนท่ีแบบต่าง ๆ
ของวตั ถุ รวมท้งั นาํ ความรู้ไปใชป้ ระโยชน์
มาตรฐาน ว ๒.๓ เขา้ ใจความหมายของพลงั งาน การเปลี่ยนแปลงและการถ่ายโอนพลงั งาน ปฏิสมั พนั ธ์ระหวา่ งสสาร
และพลงั งาน พลงั งานในชีวติ ประจาํ วนั ธรรมชาติของคล่ืน ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวขอ้ งกบั เสียง แสง
และคล่ืนแม่เหลก็ ไฟฟ้า รวมท้งั นาํ ความรู้ไปใชป้ ระโยชน์

๖๔

สาระท่ี ๓ วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ
มาตรฐาน ว ๓. ๑ เขา้ ใจองคป์ ระกอบ ลกั ษณะ กระบวนการเกิด และวิวฒั นาการของเอกภพ กาแลก็ ซี ดาวฤกษ์ และ

ระบบสุริยะ รวมท้งั ปฏิสมั พนั ธ์ภายในระบบสุริยะท่ีส่งผลตอ่ ส่ิงมีชีวติ และการประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคโนโลยี
อวกาศ
มาตรฐาน ว ๓.๒ เขา้ ใจองคป์ ระกอบและความสัมพนั ธข์ องระบบโลก กระบวนการเปลี่ยนแปลงภายในโลก และบน
ผิวโลก ธรณีพิบตั ิภยั กระบวนการเปล่ียนแปลงลมฟ้าอากาศและภมู ิอากาศโลก รวมท้งั ผลตอ่ ส่ิงมีชีวิต
และส่ิงแวดลอ้ ม

สาระท่ี ๔ เทคโนโลยี
มาตรฐาน ว ๔. ๑ เขา้ ใจแนวคดิ หลกั ของเทคโนโลยเี พือ่ การดาํ รงชีวติ ในสังคมท่ีมีการเปล่ียนแปลงอยา่ งรวดเร็ว

ใชค้ วามรู้และทกั ษะทางดา้ นวทิ ยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และศาสตร์อ่ืน ๆ เพื่อแกป้ ัญหาหรือพฒั นางาน
อยา่ งมีความคิดสร้างสรรคด์ ว้ ยกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม เลือกใชเ้ ทคโนโลยีอยา่ งเหมาะสม
โดยคาํ นึงถึงผลกระทบต่อชีวิต สังคม และสิ่งแวดลอ้ ม
มาตรฐาน ว ๔.๒ เขา้ ใจและใชแ้ นวคิดเชิงคาํ นวณในการแกป้ ัญหาท่ีพบในชีวิตจริงอยา่ งเป็นข้นั ตอนและเป็นระบบ
ใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู้ การทาํ งาน และการแกป้ ัญหาไดอ้ ยา่ งมี
ประสิทธิภาพ รู้เท่าทนั และมีจริยธรรม

๖๕

คุณภาพผู้เรียน

จบช้ันประถมศึกษาปี ที่ ๓
• เขา้ ใจลกั ษณะทว่ั ไปของสิ่งมีชีวติ และการดาํ รงชีวิตของส่ิงมีชีวิตรอบตวั
• เขา้ ใจลกั ษณะที่ปรากฏ ชนิดและสมบตั ิบางประการของวสั ดุที่ใช้ทาํ วตั ถุ และการเปลี่ยนแปลงของวสั ดุ
รอบตวั
• เขา้ ใจการดึง การผลกั แรงแม่เหลก็ และผลของแรงท่ีมีต่อการเปล่ียนแปลง การเคล่ือนท่ีของวตั ถุ พลงั งาน
ไฟฟ้า และการผลิตไฟฟ้า การเกิดเสียง แสงและการมองเห็น
• เขา้ ใจการปรากฏของดวงอาทิตย์ ดวงจนั ทร์ และดาว ปรากฏการณ์ข้ึนและตกของดวงอาทิตย์ การเกิด
กลางวนั กลางคืน การกาํ หนดทิศ ลกั ษณะของหิน การจาํ แนกชนิดดินและการใช้ประโยชน์ ลกั ษณะและความสําคญั
ของอากาศ การเกิดลม ประโยชน์และโทษของลม
• ต้งั คาํ ถามหรือกาํ หนดปัญหาเก่ียวกบั สิ่งท่ีจะเรียนรู้ตามท่ีกาํ หนดให้หรือตามความสนใจสังเกต สํารวจ
ตรวจสอบโดยใช้เครื่องมืออย่างง่าย รวบรวมขอ้ มูล บนั ทึก และอธิบายผลการสํารวจตรวจสอบดว้ ยการเขียนหรือวาด
ภาพ และส่ือสารสิ่งท่ีเรียนรู้ดว้ ยการเลา่ เร่ือง หรือดว้ ยการแสดงทา่ ทางเพอ่ื ใหผ้ อู้ ื่นเขา้ ใจ
• แกป้ ัญหาอย่างง่ายโดยใชข้ ้นั ตอนการแกป้ ัญหา มีทกั ษะในการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร
เบ้ืองตน้ รักษาขอ้ มลู ส่วนตวั
• แสดงความกระตือรือร้น สนใจที่จะเรียนรู้ มีความคิดสร้างสรรค์เกี่ยวกบั เร่ืองท่ีจะศึกษาตามที่กาํ หนดให้
หรือตามความสนใจ มีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น และยอมรับฟังความคดิ เห็นผอู้ ื่น
• แสดงความรับผิดชอบดว้ ยการทาํ งานที่ไดร้ ับมอบหมายอย่างมุ่งมนั่ รอบคอบ ประหยดั ซ่ือสัตย์ จนงาน
ลลุ ่วงเป็นผลสาํ เร็จ และทาํ งานร่วมกบั ผอู้ ื่นอยา่ งมีความสุข
• ตระหนักถึงประโยชน์ของการใช้ความรู้และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในการดาํ รงชีวิต ศึกษาหา
ความรู้เพิม่ เติม ทาํ โครงงานหรือชิ้นงานตามท่ีกาํ หนดใหห้ รือตามความสนใจ

จบช้ันประถมศึกษาปี ท่ี ๖
• เขา้ ใจโครงสร้าง ลกั ษณะเฉพาะและการปรับตวั ของสิ่งมีชีวติ รวมท้งั ความสัมพนั ธ์ของสิ่งมีชีวติ ในแหลง่
ท่ีอยู่ การทาํ หนา้ ท่ีของส่วนต่าง ๆ ของพชื และการทาํ งานของระบบยอ่ ยอาหารของมนุษย์
• เขา้ ใจสมบตั ิและการจาํ แนกกลมุ่ ของวสั ดุ สถานะและการเปล่ียนสถานะของสสารการละลาย การ
เปล่ียนแปลงทางเคมี การเปล่ียนแปลงที่ผนั กลบั ไดแ้ ละผนั กลบั ไมไ่ ด้ และการแยกสารอยา่ งง่าย
• เขา้ ใจลกั ษณะของแรงโนม้ ถ่วงของโลก แรงลพั ธ์ แรงเสียดทาน แรงไฟฟ้าและผลของแรงต่างๆ ผลที่เกิด
จากแรงกระทาํ ตอ่ วตั ถุ ความดนั หลกั การที่มีต่อวตั ถุ วงจรไฟฟ้าอยา่ งงา่ ย ปรากฏการณ์เบ้ืองตน้ ของเสียง และแสง
• เขา้ ใจปรากฏการณ์การข้นึ และตก รวมถึงการเปลี่ยนแปลงรูปร่างปรากฏของดวงจนั ทร์ องคป์ ระกอบของ
ระบบสุริยะ คาบการโคจรของดาวเคราะห์ ความแตกต่างของดาวเคราะห์และดาวฤกษ์ การข้นึ และตกของกลมุ่ ดาวฤกษ์
การใชแ้ ผนท่ีดาว การเกิดอุปราคา พฒั นาการและประโยชนข์ องเทคโนโลยอี วกาศ

๖๖

• เขา้ ใจลกั ษณะของแหลง่ น้าํ วฏั จกั รน้าํ กระบวนการเกิดเมฆ หมอก น้าํ คา้ ง น้าํ คา้ งแขง็ หยาดน้าํ ฟ้า
กระบวนการเกิดหิน วฏั จกั รหิน การใชป้ ระโยชนห์ ินและแร่ การเกิดซากดึกดาํ บรรพ์ การเกิดลมบก ลมทะเล มรสุม
ลกั ษณะและผลกระทบของภยั ธรรมชาติ ธรณีพิบตั ิภยั การเกิดและผลกระทบของปรากฏการณ์เรือนกระจก

• คน้ หาขอ้ มูลอยา่ งมีประสิทธิภาพและประเมินความน่าเชื่อถือ ตดั สินใจเลือกขอ้ มูลใชเ้ หตผุ ลเชิงตรรกะใน
การแกป้ ัญหา ใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารในการทาํ งานร่วมกนั เขา้ ใจสิทธิและหนา้ ท่ีของตน เคารพสิทธิ
ของผอู้ ่ืน

• ต้งั คาํ ถามหรือกาํ หนดปัญหาเกี่ยวกบั สิ่งท่ีจะเรียนรู้ตามท่ีกาํ หนดใหห้ รือตามความสนใจ คาดคะเนคาํ ตอบ
หลายแนวทาง สร้างสมมติฐานที่สอดคลอ้ งกบั คาํ ถามหรือปัญหาที่จะสาํ รวจตรวจสอบ วางแผนและสาํ รวจตรวจสอบ
โดยใชเ้ ครื่องมือ อปุ กรณ์ และเทคโนโลยสี ารสนเทศที่เหมาะสม ในการเก็บรวบรวมขอ้ มูลท้งั เชิงปริมาณและคณุ ภาพ

• วเิ คราะห์ขอ้ มลู ลงความเห็น และสรุปความสมั พนั ธข์ องขอ้ มลู ที่มาจากการสาํ รวจตรวจสอบในรูปแบบที่
เหมาะสม เพ่ือสื่อสารความรู้จากผลการสาํ รวจตรวจสอบไดอ้ ยา่ งมีเหตุผลและหลกั ฐานอา้ งอิง

• แสดงถึงความสนใจ มงุ่ มนั่ ในสิ่งท่ีจะเรียนรู้ มีความคิดสร้างสรรคเ์ กี่ยวกบั เร่ืองที่จะศึกษาตามความสนใจ
ของตนเอง แสดงความคิดเห็นของตนเอง ยอมรับในขอ้ มูลท่ีมีหลกั ฐานอา้ งอิง และรับฟังความคดิ เห็นผอู้ ่ืน

• แสดงความรับผิดชอบดว้ ยการทาํ งานท่ีไดร้ ับมอบหมายอยา่ งมงุ่ มน่ั รอบคอบ ประหยดั ซื่อสัตย์ จนงาน
ลุล่วงเป็นผลสาํ เร็จ และทาํ งานร่วมกบั ผูอ้ ื่นอยา่ งสร้างสรรค์

• ตระหนกั ในคุณค่าของความรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ใชค้ วามรู้และกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ใน
การดาํ รงชีวติ แสดงความชื่นชม ยกยอ่ ง และเคารพสิทธิในผลงานของผคู้ ิดคน้ และศึกษาหาความรู้เพม่ิ เติม ทาํ โครงงาน
หรือชิ้นงานตามท่ีกาํ หนดใหห้ รือตามความสนใจ

• แสดงถึงความซาบซ้ึง ห่วงใย แสดงพฤติกรรมเกี่ยวกบั การใช้ การดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติและ
ส่ิงแวดลอ้ มอยา่ งรู้คณุ ค่า

จบช้ันมธั ยมศึกษาปี ที่ ๓
• เขา้ ใจลกั ษณะและองคป์ ระกอบท่ีสาํ คญั ของเซลลส์ ิ่งมีชีวติ ความสัมพนั ธข์ องการทาํ งานของระบบต่าง ๆ
ในร่างกายมนุษย์ การดาํ รงชีวิตของพืช การถา่ ยทอดลกั ษณะทางพนั ธุกรรม การเปล่ียนแปลงของยนี หรือโครโมโซม
และตวั อยา่ งโรคที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงทางพนั ธุกรรม ประโยชนแ์ ละผลกระทบของสิ่งมีชีวิตดดั แปรพนั ธุกรรม
ความหลากหลายทางชีวภาพ ปฏิสมั พนั ธ์ขององคป์ ระกอบของระบบนิเวศและการถา่ ยทอดพลงั งานในส่ิงมีชีวติ
• เขา้ ใจองคป์ ระกอบและสมบตั ิของธาตุ สารละลาย สารบริสุทธ์ิ สารผสม หลกั การแยกสาร การ
เปล่ียนแปลงของสารในรูปแบบของการเปล่ียนสถานะ การเกิดสารละลาย และการเกิดปฏิกิริยาเคมี และสมบตั ิทาง
กายภาพ และการใชป้ ระโยชนข์ องวสั ดุประเภทพอลิเมอร์ เซรามิกส์ และวสั ดุผสม
• เขา้ ใจการเคลื่อนท่ี แรงลพั ธ์และผลของแรงลพั ธ์กระทาํ ตอ่ วตั ถุ โมเมนตข์ องแรงแรงท่ีปรากฏใน
ชีวิตประจาํ วนั สนามของแรง ความสมั พนั ธข์ องงาน พลงั งานจลน์ พลงั งานศกั ยโ์ นม้ ถว่ ง กฎการอนุรักษพ์ ลงั งาน การ
ถา่ ยโอนพลงั งาน สมดุลความร้อน ความสมั พนั ธข์ องปริมาณทางไฟฟ้า การตอ่ วงจรไฟฟ้าในบา้ น พลงั งานไฟฟ้า และ
หลกั การเบ้ืองตน้ ของวงจรอิเลก็ ทรอนิกส์

๖๗

• เขา้ ใจสมบตั ิของคล่ืน และลกั ษณะของคลื่นแบบตา่ ง ๆ แสง การสะทอ้ น การหกั เหของแสงและทศั น
อุปกรณ์

• เขา้ ใจการโคจรของดาวเคราะหร์ อบดวงอาทิตย์ การเกิดฤดู การเคล่ือนที่ปรากฏของดวงอาทิตย์ การเกิด
ขา้ งข้นึ ขา้ งแรม การข้ึนและตกของดวงจนั ทร์ การเกิดน้าํ ข้ึนน้าํ ลง ประโยชน์ของเทคโนโลยอี วกาศ และความกา้ วหนา้
ของโครงการสาํ รวจอวกาศ

• เขา้ ใจลกั ษณะของช้นั บรรยากาศ องคป์ ระกอบและปัจจยั ที่มีผลต่อลมฟ้าอากาศ การเกิดและผลกระทบ
ของพายฟุ ้าคะนอง พายหุ มุนเขตร้อน การพยากรณ์อากาศ สถานการณ์การเปลี่ยนแปลงภมู ิอากาศโลก กระบวนการเกิด
เช้ือเพลิงซากดึกดาํ บรรพแ์ ละการใชป้ ระโยชน์ พลงั งานทดแทนและการใชป้ ระโยชน์ ลกั ษณะโครงสร้างภายในโลก
กระบวนการเปล่ียนแปลงทางธรณีวิทยาบนผิวโลก ลกั ษณะช้นั หนา้ ตดั ดิน กระบวนการเกิดดิน แหลง่ น้าํ ผิวดิน แหลง่
น้าํ ใตด้ ิน กระบวนการเกิดและผลกระทบของภยั ธรรมชาติ และธรณีพบิ ตั ิภยั

• เขา้ ใจแนวคิดหลกั ของเทคโนโลยี ไดแ้ ก่ ระบบทางเทคโนโลยี การเปล่ียนแปลงของเทคโนโลยี
ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งเทคโนโลยกี บั ศาสตร์อ่ืน โดยเฉพาะวิทยาศาสตร์ หรือคณิตศาสตร์ วเิ คราะห์ เปรียบเทียบ และ
ตดั สินใจเพื่อเลือกใชเ้ ทคโนโลยี โดยคาํ นึงถึงผลกระทบต่อชีวิต สงั คม และสิ่งแวดลอ้ ม ประยกุ ตใ์ ชค้ วามรู้ ทกั ษะ และ
ทรัพยากรเพ่ือออกแบบและสร้างผลงานสาํ หรับการแกป้ ัญหาในชีวิตประจาํ วนั หรือการประกอบอาชีพ โดยใช้
กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม รวมท้งั เลือกใชว้ สั ดุ อุปกรณ์ และเคร่ืองมือไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง เหมาะสม ปลอดภยั
รวมท้งั คาํ นึงถึงทรัพยส์ ินทางปัญญา

• นาํ ขอ้ มูลปฐมภูมิเขา้ สู่ระบบคอมพิวเตอร์ วิเคราะห์ ประเมิน นาํ เสนอขอ้ มูลและสารสนเทศไดต้ าม
วตั ถปุ ระสงค์ ใชท้ กั ษะการคดิ เชิงคาํ นวณในการแกป้ ัญหาท่ีพบในชีวติ จริง และเขยี นโปรแกรมอยา่ งง่ายเพือ่ ช่วยในการ
แกป้ ัญหา ใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสารอยา่ งรู้เท่าทนั และรับผิดชอบต่อสังคม

• ต้งั คาํ ถามหรือกาํ หนดปัญหาท่ีเชื่อมโยงกบั พยานหลกั ฐาน หรือหลกั การทางวทิ ยาศาสตร์ที่มีการกาํ หนด
และควบคมุ ตวั แปร คดิ คาดคะเนคาํ ตอบหลายแนวทาง สร้างสมมติฐานที่สามารถนาํ ไปสู่การสาํ รวจตรวจสอบ
ออกแบบและลงมือสาํ รวจตรวจสอบโดยใชว้ สั ดุและเครื่องมือที่เหมาะสม เลือกใชเ้ ครื่องมือและเทคโนโลยสี ารสนเทศ
ที่เหมาะสมในการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล ท้งั ในเชิงปริมาณและคณุ ภาพที่ไดผ้ ลเที่ยงตรงและปลอดภยั

• วิเคราะห์และประเมินความสอดคลอ้ งของขอ้ มูลที่ไดจ้ ากการสาํ รวจตรวจสอบจากพยานหลกั ฐาน โดยใช้
ความรู้และหลกั การทางวทิ ยาศาสตร์ในการแปลความหมายและลงขอ้ สรุปและส่ือสารความคดิ ความรู้ จากผลการ
สาํ รวจตรวจสอบหลากหลายรูปแบบ หรือใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศเพื่อใหผ้ ูอ้ ่ืนเขา้ ใจไดอ้ ยา่ งเหมาะสม

• แสดงถึงความสนใจ มงุ่ มน่ั รับผดิ ชอบ รอบคอบ และซ่ือสตั ย์ ในสิ่งที่จะเรียนรู้ มีความคิดสร้างสรรค์
เกี่ยวกบั เร่ืองท่ีจะศึกษาตามความสนใจของตนเอง โดยใชเ้ ครื่องมือและวธิ ีการท่ีใหไ้ ดผ้ ลถกู ตอ้ ง เช่ือถือได้ ศึกษา
คน้ ควา้ เพ่มิ เติมจากแหลง่ ความรู้ตา่ ง ๆ แสดงความคิดเห็นของตนเอง รับฟังความคิดเห็นผอู้ ่ืน และยอมรับการ
เปล่ียนแปลงความรู้ที่คน้ พบ เมื่อมีขอ้ มูลและประจกั ษพ์ ยานใหม่เพิ่มข้นึ หรือโตแ้ ยง้ จากเดิม

• ตระหนกั ในคุณคา่ ของความรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยที ี่ใชใ้ นชีวิตประจาํ วนั ใชค้ วามรู้และ
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยใี นการดาํ รงชีวติ และการประกอบอาชีพ แสดงความช่ืนชม ยกยอ่ ง และ

๖๘

เคารพสิทธิในผลงานของผคู้ ิดคน้ เขา้ ใจผลกระทบท้งั ดา้ นบวกและดา้ นลบของการพฒั นาทางวิทยาศาสตร์ต่อ
สิ่งแวดลอ้ มและต่อบริบทอ่ืน ๆ และศึกษาหาความรู้เพม่ิ เติม ทาํ โครงงานหรือสร้างชิ้นงานตามความสนใจ

• แสดงถึงความซาบซ้ึง ห่วงใย มีพฤติกรรมเกี่ยวกบั การดูแลรักษาความสมดุลของระบบนิเวศ และความ
หลากหลายทางชีวภาพ

จบช้ันมัธยมศึกษาปี ที่ ๖
• เขา้ ใจการลาํ เลียงสารเขา้ และออกจากเซลล์ กลไกการรักษาดุลยภาพของมนุษย์ ภูมิคมุ้ กนั ในร่างกายของ
มนุษยแ์ ละความผิดปกติของระบบภูมิคุม้ กนั การใชป้ ระโนชนจ์ ากสารตา่ ง ๆ ที่พืชสร้างข้นึ การถา่ ยทอดลกั ษณะทาง
พนั ธุกรรม การเปล่ียนแปลงทางพนั ธุกรรม ววิ ฒั นาการที่ทาํ ใหเ้ กิดความหลากหลายของส่ิงมีชีวิต ความสาํ คญั และผล
ของเทคโนโลยที างดีเอ็นเอต่อมนุษย์ ส่ิงมีชีวิต และสิ่งแวดลอ้ ม
• เขา้ ใจความหลากหลายของไบโอมในเขตภมู ิศาสตร์ต่าง ๆ ของโลก การเปล่ียนแปลงแทนท่ีในระบบนิเวศ
ปัญหาและผลกระทบท่ีมีตอ่ ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม แนวทางในการอนุรักษท์ รัพยากรธรรมชาติ และการ
แกไ้ ขปัญหาสิ่งแวดลอ้ ม
• เขา้ ใจชนิดของอนุภาคสาํ คญั ที่เป็นส่วนประกอบในโครงสร้างอะตอม สมบตั ิบางประการของธาตุ การ
จดั เรียงธาตใุ นตารางธาตุ ชนิดของแรงยดึ เหน่ียวระหวา่ งอนุภาคและสมบตั ิตา่ ง ๆ ของสารท่ีมีความสมั พนั ธ์กบั แรงยดึ
เหน่ียว พนั ธะเคมี โครงสร้างและสมบตั ิของพอลิเมอร์ การเกิดปฏิกิริยาเคมี ปัจจยั ท่ีมีผลต่ออตั ราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
และการเขยี นสมการเคมี
• เขา้ ใจปริมาณที่เก่ียวกบั การเคลื่อนท่ี ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งแรง มวลและความเร่ง ผลของความเร่งที่มีต่อ
การเคล่ือนท่ีแบบต่าง ๆ ของวตั ถุ แรงโนม้ ถ่วง แรงแม่เหลก็ ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งสนามแม่เหลก็ และกระแสไฟฟ้า
และแรงภายในนิวเคลียส
• เขา้ ใจพลงั งานนิวเคลียร์ ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งมวลและพลงั งาน การเปลี่ยนพลงั งานทดแทนเป็นพลงั งาน
ไฟฟ้า เทคโนโลยดี า้ นพลงั งาน การสะทอ้ น การหกั เห การเล้ียวเบนและการรวมคล่ืน การไดย้ นิ ปรากฏการณ์ท่ี
เก่ียวขอ้ งกบั เสียง สีกบั การมองเห็นสี คล่ืนแม่เหลก็ ไฟฟ้าและประโยชนข์ องคล่ืนแมเ่ หลก็ ไฟฟ้า
• เขา้ ใจการแบ่งช้นั และสมบตั ิของโครงสร้างโลก สาเหตุ และรูปแบบการเคล่ือนที่ของแผน่ ธรณีที่สมั พนั ธ์
กบั การเกิดลกั ษณะธรณีสัณฐาน สาเหตุ กระบวนการเกิดแผน่ ดินไหว ภูเขาไฟระเบิด สึนามิ ผลกระทบ แนวทางการเฝ้า
ระวงั และการปฏิบตั ิตนใหป้ ลอดภยั
• เขา้ ใจผลของแรงเน่ืองจากความแตกตา่ งของความกดอากาศ แรงคอริออลิส ที่มีต่อการหมุนเวียนของ
อากาศ การหมุนเวียนของอากาศตามเขตละติจูด และผลที่มีตอ่ ภูมิอากาศ ความสมั พนั ธข์ องการหมุนเวียนของอากาศ
และการหมนุ เวียนของกระแสน้าํ ผวิ หนา้ ในมหาสมทุ ร และผลตอ่ ลกั ษณะลมฟ้าอากาศ ส่ิงมีชีวติ และสิ่งแวดลอ้ ม ปัจจยั
ต่าง ๆ ท่ีมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงภมู ิอากาศโลก และแนวปฏิบตั ิเพ่อื ลดกิจกรรมของมนุษยท์ ี่ส่งผลตอ่ การเปลี่ยนแปลง
ภูมิอากาศโลก รวมท้งั การแปลความหมายสญั ลกั ษณ์ลมฟ้าอากาศท่ีสาํ คญั จากแผนท่ีอากาศ และขอ้ มูลสารสนเทศ
• เขา้ ใจการกาํ เนิดและการเปลี่ยนแปลงพลงั งาน สสาร ขนาด อณุ หภูมิของเอกภพ หลกั ฐานท่ีสนบั สนุน
ทฤษฎีบิกแบง ประเภทของกาแลก็ ซี โครงสร้างและองคป์ ระกอบของกาแลก็ ซีทางชา้ งเผอื ก กระบวนการเกิดและการ

๖๙

สร้างพลงั งาน ปัจจยั ท่ีส่งผลตอ่ ความส่องสวา่ งของดาวฤกษ์ และความสมั พนั ธ์ระหวา่ งความส่องสวา่ งกบั โชติมาตร
ของดาวฤกษ์ ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งสี อณุ หภมู ิผิว และสเปกตรัมของดาวฤกษ์ ววิ ฒั นาการและการเปล่ียนแปลงสมบตั ิ
บางประการของดาวฤกษ์ กระบวนการเกิดระบบสุริยะ การแบง่ เขตบริวารของดวงอาทิตย์ ลกั ษณะของดาวเคราะห์ที่
เอ้ือตอ่ การดาํ รงชีวติ การเกิดลมสุริยะ พายสุ ุริยะและผลท่ีมีต่อโลก รวมท้งั การสาํ รวจอวกาศและการประยกุ ตใ์ ช้
เทคโนโลยอี วกาศ

• ระบปุ ัญหา ต้งั คาํ ถามที่จะสาํ รวจตรวจสอบ โดยมีการกาํ หนดความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งตวั แปรตา่ ง ๆ สืบคน้
ขอ้ มูลจากหลายแหลง่ ต้งั สมมติฐานท่ีเป็นไปไดห้ ลายแนวทาง ตดั สินใจเลือกตรวจสอบสมมติฐานท่ีเป็นไปได้

• ต้งั คาํ ถามหรือกาํ หนดปัญหาที่อยบู่ นพ้ืนฐานของความรู้และความเขา้ ใจทางวิทยาศาสตร์ ที่แสดงให้เห็น
ถึงการใชค้ วามคดิ ระดบั สูงที่สามารถสาํ รวจตรวจสอบหรือศึกษาคน้ ควา้ ไดอ้ ยา่ งครอบคลุมและเช่ือถือได้ สร้าง
สมมติฐานท่ีมีทฤษฎีรองรับหรือคาดการณ์ส่ิงท่ีจะพบ เพื่อนาํ ไปสู่การสาํ รวจตรวจสอบ ออกแบบวิธีการสาํ รวจ
ตรวจสอบตามสมมติฐานท่ีกาํ หนดไวไ้ ดอ้ ยา่ งเหมาะสม มีหลกั ฐานเชิงประจกั ษ์ เลือกวสั ดุ อุปกรณ์ รวมท้งั วิธีการใน
การสาํ รวจตรวจสอบอยา่ งถกู ตอ้ งท้งั ในเชิงปริมาณและคณุ ภาพ และบนั ทึกผลการสาํ รวจตรวจสอบอยา่ งเป็นระบบ

• วเิ คราะห์ แปลความหมายขอ้ มูล และประเมินความสอดคลอ้ งของขอ้ สรุปเพื่อตรวจสอบกบั สมมติฐาน
ท่ีต้งั ไว้ ใหข้ อ้ เสนอแนะเพือ่ ปรับปรุงวิธีการสาํ รวจตรวจสอบ จดั กระทาํ ขอ้ มลู และนาํ เสนอขอ้ มลู ดว้ ยเทคนิควิธีท่ี
เหมาะสม ส่ือสารแนวคิด ความรู้จากผลการสาํ รวจตรวจสอบ โดยการพดู เขียน จดั แสดงหรือใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ
เพอ่ื ใหผ้ ูอ้ ื่นเขา้ ใจโดยมีหลกั ฐานอา้ งอิงหรือมีทฤษฎีรองรับ

• แสดงถึงความสนใจ มุ่งมนั่ รับผิดชอบ รอบคอบ และซ่ือสัตย์ ในการสืบเสาะหาความรู้ โดยใชเ้ ครื่องมือ
และวธิ ีการท่ีใหไ้ ดผ้ ลถกู ตอ้ ง เช่ือถือได้ มีเหตุผลและยอมรับไดว้ า่ ความรู้ทางวทิ ยาศาสตร์อาจมีการเปล่ียนแปลงได้

• แสดงถึงความพอใจและเห็นคุณค่าในการคน้ พบความรู้ พบคาํ ตอบ หรือแกป้ ัญหาได้ ทาํ งานร่วมกบั ผอู้ ื่น
อยา่ งสร้างสรรค์ แสดงความคิดเห็นโดยมีขอ้ มูลอา้ งอิงและเหตผุ ลประกอบ เกี่ยวกบั ผลของการพฒั นาและการใช้
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยอี ยา่ งมีคุณธรรมตอ่ สงั คมและส่ิงแวดลอ้ ม และยอมรับฟังความคิดเห็นของผูอ้ ื่น

• เขา้ ใจความสัมพนั ธ์ของความรู้วิทยาศาสตร์ที่มีผลต่อการพฒั นาเทคโนโลยปี ระเภทตา่ ง ๆ และการพฒั นา
เทคโนโลยที ่ีส่งผลใหม้ ีการคดิ คน้ ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ท่ีกา้ วหนา้ ผลของเทคโนโลยตี ่อชีวิต สังคม และสิ่งแวดลอ้ ม

• ตระหนกั ถึงความสาํ คญั และเห็นคณุ คา่ ของความรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยที ่ีใชใ้ นชีวิตประจาํ วนั ใช้
ความรู้และกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยใี นการดาํ รงชีวิต และการประกอบอาชีพ แสดงความชื่นชม
ภูมิใจ ยกยอ่ ง อา้ งอิงผลงาน ชิ้นงานท่ีเป็นผลมาจากภูมิปัญญาทอ้ งถ่ิน และการพฒั นาเทคโนโลยที ี่ทนั สมยั ศึกษาหา
ความรู้เพิม่ เติม ทาํ โครงงานหรือสร้างชิ้นงานตามความสนใจ

• แสดงความซาบซ้ึง ห่วงใย มีพฤติกรรมเก่ียวกบั การใชแ้ ละรักษาทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ มอยา่ ง
รู้คุณคา่ เสนอตวั เองร่วมมือปฏิบตั ิกบั ชุมชนในการป้องกนั ดูแลทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ มของทอ้ งถ่ิน

• วเิ คราะห์แนวคดิ หลกั ของเทคโนโลยี ไดแ้ ก่ ระบบทางเทคโนโลยที ี่ซบั ซอ้ น การเปล่ียนแปลงของ
เทคโนโลยี ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งเทคโนโลยกี บั ศาสตร์อ่ืน โดยเฉพาะวิทยาศาสตร์ หรือคณิตศาสตร์ วิเคราะห์
เปรียบเทียบ และตดั สินใจเพื่อเลือกใชเ้ ทคโนโลยี โดยคาํ นึงถึงผลกระทบต่อชีวิต สงั คม เศรษฐกิจ และส่ิงแวดลอ้ ม

๗๐

ประยกุ ตใ์ ชค้ วามรู้ ทกั ษะ ทรัพยากรเพือ่ ออกแบบ สร้างหรือพฒั นาผลงาน สาํ หรับแกป้ ัญหาท่ีมีผลกระทบต่อสงั คม
โดยใชก้ ระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม ใชซ้ อฟตแ์ วร์ช่วยในการออกแบบและนาํ เสนอผลงาน เลือกใชว้ สั ดุ
อุปกรณ์ และเคร่ืองมือไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง เหมาะสม ปลอดภยั รวมท้งั คาํ นึงถึงทรัพยส์ ินทางปัญญา

• ใชค้ วามรู้ทางดา้ นวทิ ยาการคอมพิวเตอร์ สื่อดิจิทลั เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร เพื่อรวบรวม
ขอ้ มลู ในชีวิตจริงจากแหลง่ ต่าง ๆ และความรู้จากศาสตร์อ่ืน มาประยกุ ตใ์ ช้ สร้างความรู้ใหม่ เขา้ ใจการเปลี่ยนแปลง
ของเทคโนโลยที ่ีมีผลตอ่ การดาํ เนินชีวิต อาชีพ สงั คม วฒั นธรรม และใชอ้ ยา่ งปลอดภยั มีจริยธรรม

๗๑

โครงสร้างรายวชิ า

รายวชิ าตามโครงสร้างหลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนอนุบาลหว้ ยกระเจา พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓
ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ กล่มุ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ระดับประถมศึกษา รายวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีพืน้ ฐาน

ระดบั ช้ัน รหสั ช่ือรายวิชา เวลาเรียนรายปี

ช้นั ป. ๑ ว๑๑๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ๒ ชวั่ โมง/สัปดาห์ (๘๐ชวั่ โมง/ปี )

ช้นั ป. ๒ ว๑๒๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ๒ ชวั่ โมง/สปั ดาห์ (๘๐ชวั่ โมง/ปี )

ช้นั ป. ๓ ว๑๓๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ๒ ชวั่ โมง/สปั ดาห์ (๘๐ชวั่ โมง/ปี )

ช้นั ป. ๔ ว๑๔๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ๓ ชวั่ โมง/สปั ดาห์ (๑๒๐ชวั่ โมง/ปี )

ช้นั ป. ๕ ว๑๕๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์ ๓ ชวั่ โมง/สัปดาห์ (๑๒๐ชวั่ โมง/ปี )

ช้นั ป. ๖ ว๑๖๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ๓ ชวั่ โมง/สปั ดาห์ (๑๒๐ชวั่ โมง/ปี )

ระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น รายวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีพืน้ ฐาน

ระดับช้ัน รหสั ช่ือรายวิชา เวลาเรียนรายภาค
ช้นั ม. ๑
ช้นั ม. ๒ ว๒๑๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ๓ ชวั่ โมง/สัปดาห์ (๑.๕ หน่วยกิต)
ช้นั ม. ๓ ว๒๑๑๐๒ เทคโนโลยี ๑ ชวั่ โมง/สัปดาห์ (๐.๕ หน่วยกิต)
ว๒๑๑๐๓ วทิ ยาศาสตร์ ๓ ชวั่ โมง/สัปดาห์ (๑.๕ หน่วยกิต)
ว๒๑๑๐๔ เทคโนโลยี ๑ ชวั่ โมง/สปั ดาห์ (๐.๕ หน่วยกิต)
ว๒๒๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ๓ ชวั่ โมง/สัปดาห์ (๑.๕ หน่วยกิต)
ว๒๒๑๐๒ เทคโนโลยี ๑ ชวั่ โมง/สัปดาห์ (๐.๕ หน่วยกิต)
ว๒๒๑๐๓ วิทยาศาสตร์ ๓ ชวั่ โมง/สัปดาห์ (๑.๕ หน่วยกิต)
ว๒๒๑๐๔ เทคโนโลยี ๑ ชวั่ โมง/สปั ดาห์ (๐.๕ หน่วยกิต)
ว๒๓๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์ ๓ ชวั่ โมง/สปั ดาห์ (๑.๕ หน่วยกิต)
ว๒๓๑๐๒ เทคโนโลยี ๑ ชวั่ โมง/สปั ดาห์ (๐.๕ หน่วยกิต)
ว๒๓๑๐๓ วิทยาศาสตร์ ๓ ชวั่ โมง/สปั ดาห์ (๑.๕ หน่วยกิต)
ว๒๓๑๐๔ เทคโนโลยี ๑ ชวั่ โมง/สัปดาห์ (๐.๕ หน่วยกิต)

๗๒

ระดับประถมศึกษา
รายวิชาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยีพืน้ ฐาน
คาํ อธบิ ายรายวชิ า
กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้ันประถมศึกษาปี ที่ ๑
รหัสวิชา ว๑๑๑๐๑ เวลาเรียน ๒ ช่ัวโมง/สัปดาห์ เวลา ๘๐ ช่ัวโมง

ศึกษา คน้ ควา้ ทดลอง ระบชุ ่ือพืชและสตั วท์ ่ีอาศยั อยบู่ ริเวณทอ้ งถ่ิน รวบรวมขอ้ มูลเก่ียวกบั ความแตกต่างของ
แหล่งท่ีอยู่อาศยั ของพืชและสัตว์ที่พบเห็นในบริเวณโรงเรียนหรือชุมชนบอกสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมกับการ
ดาํ รงชีวิต ของสัตวใ์ นบริเวณท่ีอาศยั อยลู่ กั ษณะหน�าท่ีของอวยั วะภายนอกของมนุษย�ตลอดจนการป้องกนั ดูแล

รักษาอวยั วะต่างๆของสัตวท์ ี่มีลกั ษณะและหน้าที่แตกต่างกัน ส่วนประกอบของพืชและหน้าที่ อธิบายลกั ษณะท่ี
ปรากฏหรือสมบตั ิของวสั ดุที่สังเกตได้ การจาํ แนกวสั ดุที่ใช�ทาํ ของเล�นของใช�ตามลกั ษณะที่ปรากฏหรือ
สมบตั ิ บรรยายการเกิดเสียง ชนิดของแหล่งกาํ เนิดเสียงและทิศทางการเคลื่อนท่ีของเสียงดาวท่ีปรากฏให้เห็นใน
ทอ้ งฟ้าเวลากลางวนั และกลางคนื ลกั ษณะภายนอกของหินจากลกั ษณะเฉพาะตวั ท่ีสงั เกตได้

ท้งั น้ีโดยใช�กระบวนการแกป้ ัญหาอยา่ งง่าย ไดแ้ ก่ การลองผิดลองถูก การเปรียบเทียบ แสดงลาํ ดบั ข้นั ตอน
การทาํ งานหรือการแกป้ ัญหาอย่างง่ายโดยใชภ้ าพ สัญลกั ษณ์หรือขอ้ ความ เขียนโปรแกรมอย่างง่ายโดยใช้ซอฟต์แวร์
หรือส่ือ ใช้เทคโนโลยีในการสร้าง จดั เก็บ เรียกใช้ข้อมูลตามวตั ถุประสงค์ และใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่าง
ปลอดภยั ปฏิบตั ิตามขอ้ ตกลงในการใชค้ อมพิวเตอร์ ร่วมกนั ดูแลรักษาอุปกรณ์เบ้ืองตน้ ใชง้ านอยา่ งเหมาะสม

เพ่ือให�เกิดความรู�ความคิดความเข�าใจหลกั การ ทฤษฎี และกฎท่ีเป็ นพ้ืนฐานในวิชาวิทยาศาสตร์มี
ทกั ษะท่ีสําคญั ในการศึกษาคน้ ควา้ และคิดคน้ ทางเทคโนโลยนี าํ ความรู้ความเขา้ ใจไปใชใ้ หเ้ กิดประโยชน์ต่อสังคมและ
การดาํ รงชีวิตพฒั นากระบวนการคิดและจินตนาการ ความสามารถในการแกป้ ัญหาและการจดั การ ทกั ษะในการ
ส่ือสาร และความสามารถในการตดั สินใจมีจิตวิทยาศาสตร์ มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมในการใช้วิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยีอยา่ งสร้างสรรคว์ ดั ผลและประเมินผลตามสภาพจริง ดว้ ยวิธีการท่ีหลากหลายและต่อเนื่อง ไดแ้ ก่ การ
ทดสอบ การสัมภาษณ์ การตรวจชิ้นงาน สังเกตพฤติกรมและคุณลกั ษณะที่พงึ ประสงค์ พร้อมท้งั เจตคติในการทาํ งาน
ตัวชี้วดั

ว ๑.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒
ว ๑.๒ ป.๑/๑, ป.๑/๒
ว ๒.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒
ว ๒.๓ ป.๑/๑
ว ๓.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒
ว ๓.๒ ป.๑/๑
ว ๔.๒ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓, ป.๑/๔, ป.๑/๕
รวม ๑๕ ตวั ชี้วดั

รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยีพืน้ ฐาน ๗๓
คําอธบิ ายรายวชิ า
กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้ันประถมศึกษาปี ท่ี ๒
รหัสวิชา ว๑๒๑๐๑ เวลาเรียน ๒ ช่ัวโมง/สัปดาห์ เวลา ๘๐ ชั่วโมง

ระบุว่าพืชตอ้ งการแสงและน้าํ เพื่อการเจริญเติบโตโดยใช้ขอ้ มูลจากหลกั ฐานเชิงประจกั ษ์ตระหนักถึงความ
จาํ เป็ นท่ีพืชตอ้ งการได้รับน้ําและแสงเพ่ือการเจริญเติบโตโดยดูแลพืชให้ได้รับสิ่งดังกล่าวอย่างเหมาะสม สร้าง
แบบจาํ ลองที่บรรยายวฏั จกั รชีวิตของพืชดอก เปรียบเทียบลกั ษณะสิ่งมีชีวิตและส่ิงไม่มีชีวิตจากขอ้ มูลท่ีรวบรวมได้
เปรียบเทียบสมบตั ิการดูดซบั น้าํ ของวสั ดุไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นการทาํ วสั ดุในชีวติ ประจาํ วนั อธิบายสมบตั ิที่นาํ วสั ดุมาผสม
กนั โดยใชห้ ลกั ฐานเชิงประจกั ษก์ ารนาํ มาทาํ เป็นวสั ดุในการใชง้ านการนาํ กลบั มาใชใ้ หม่ตระหนกั ถึงประโยชน์ของการ
นาํ วสั ดุท่ีใชแ้ ลว้ กลบั มาใช้ใหม่ บรรยายแนวทางการเคล่ือนที่ของแสงจากแหล่งกาํ เนิดแสงและอธิบายการมองเห็น
วตั ถุจากหลกั ฐานเชิงประจกั ษ์ ตระหนักในการเห็นคุณค่าของความรู้ของการมองเห็นโดยเสนอแนะแนวทางการ
ป้องกนั อนั ตรายจากการมองเห็นวตั ถุในท่ีมีแสงสว่างไม่เหมาะสม ระบุส่วนประกอบของดินและจาํ แนกชนิดของดิน
โดยใชล้ กั ษณะเน้ือดินและการจบั ตวั เป็นเกณฑ์ อธิบายการใชป้ ระโยชน์จากดินจากขอ้ มูลที่รวบรวมได้

โดยใชก้ ระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ สืบเสาะ หาความรู้ สาํ รวจ ตรวจสอบ สืบคน้ ขอ้ มูลและอภิปราย
เพือ่ ใหเ้ กิดความรู้ ความคดิ ความเขา้ ใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้มีความสามารถในการตดั สินใจนาํ ความรู้ไปใช้
ในชีวติ ประจาํ วนั มีจิตวทิ ยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และค่านิยมท่ีเหมาะสม

เพ่ือใหร้ ักการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ มีทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เกิดความรู้ ความคิด ความเขา้ ใจ มีจิต
วิทยาศาสตร์ สามารถส่ือสารสิ่งท่ีเรียนรู้ สามารถตดั สินใจ มีทกั ษะในการดาํ รงชีวิต และนาํ ความรู้วิทยาศาสตร์เป็ น
เคร่ืองมือในการเรียนรู้วชิ าอ่ืนและนาํ ไปใชใ้ นชีวติ ประจาํ วนั ไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ งและเหมาะสม

ตัวชีว้ ดั
ว ๑.๒ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓
ว ๑.๓ ป.๒/๑
ว ๒.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔
ว ๒.๓ ป.๒/๑, ป.๒/๒
ว ๓.๒ ป.๒/๑, ป.๒/๒
ว ๔.๒ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔

รวม ๑๖ ตวั ชีว้ ดั

๗๔

รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยีพื้นฐาน
คําอธบิ ายรายวชิ า
กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้ันประถมศึกษาปี ที่ ๓
รหสั วิชา ว๑๓๑๐๑ เวลาเรียน ๒ ชั่วโมง/สัปดาห์ เวลา ๘๐ ช่ัวโมง

บรรยายส่ิงที่จาํ เป็นตอ่ การดาํ รงชีวิตและการเจริญเติบโตโดยใชข้ อ้ มูลจากที่รวบรวมได้ ตระหนกั ถึงประโยชน์
ของอาหาร น้าํ และอากาศโดยการดูแลตนเองและสตั วใ์ หไ้ ดร้ ับส่ิงเหล่าน้ีอยา่ งเหมาะสม สร้างแบบจาํ ลองท่ีบรรยายวฏั
จกั รชีวิตของสัตวแ์ ละเปรียบเทียบวฏั จกั รชีวิตของสัตวบ์ างชนิดคุณค่าของชีวิตสัตวโ์ ดยไม่ทาํ ให้วฏั จกั รชีวิตของสัตว์
เปล่ียนแปลง อธิบายวา่ วตั ถุประกอบกนั เป็นวตั ถุชิ้นใหม่ไดโ้ ดยใชห้ ลกั ฐานเชิงประจกั ษ์ อธิบายการเปลี่ยนแปลงของ
วสั ดุเม่ือทาํ ให้ร้อนข้ึนหรือทาํ ให้เยน็ ลงโดยใชห้ ลกั ฐานเชิงประจกั ษร์ ะบุผลของแรงเปล่ียนแปลงการเคล่ือนที่ของวตั ถุ
จากหลกั ฐานเชิงประจกั ษ์ เปรียบเทียบและยกตวั อยา่ งแรงสัมผสั และแรงสัมผสั ท่ีมีผลต่อการเคลื่อนที่การจาํ แนกวตั ถุ
โดยใช้การดึงดูดกบั แม่เหล็กเป็นเกณฑ์ระบุข้วั แม่เหลก็ และพยากรณ์ผลท่ีเกิดข้ึนระหวา่ งข้วั แม่เหล็กเม่ือนาํ มาเขา้ ใกล้
กนั จากหลกั ฐานเชิงประจกั ษ์ ยกตวั อยา่ งการเปล่ียนพลงั งานหน่ึงไปเป็นอีกพลงั งานหน่ึง การทาํ งานของเครื่องกาํ เนิด
ไฟฟ้าและระบุแหล่งพลงั งานในการผลิตไฟฟ้าประโยชน์ของไฟฟ้าโดยการนําเสนอวิธีการใช้อย่างประหยดั และ
ปลอดภยั อธิบายแบบรูปเส้นทางการข้ึนละตกของดวงอาทิตยก์ ารเกิดกลางวนั กลางคืนและการกาํ หนดทิศโดยใช้
แบบจาํ ลองตระหนกั ถึงความสาํ คญั ของดวงอาทิตยป์ ระโยชน์ของดวงอาทิตยต์ ่อส่ิงมีชีวติ

โดยมุ่งหวงั ให้ผเู้ รียนไดเ้ รียนรู้วิทยาศาสตร์ที่สามารถนาํ ไปใชอ้ ธิบาย แกไ้ ขปัญหา หรือสร้างสรรคพ์ ฒั นางาน
ในชีวิตจริงได้ ซ่ึงเน้นการเชื่อมโยงความรู้ทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี กับกระบวนการทาง
วิศวกรรมศาสตร์ และให้มีทกั ษะสําคญั ในการคน้ ควา้ และสร้างองคค์ วามรู้โดยใชก้ ระบวนการสืบเสาะหาความรู้และ
การแกป้ ัญหาที่หลากหลาย

เพื่อให้ผูเ้ รียนเกิดความรู้ ความเข้าใจ มีทักษะการคิด และมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ทุกข้ันตอน รวมท้ัง
ส่งเสริมใหผ้ เู้ รียนเกิดจิตวิทยาศาสตร์และมีเจตคติที่ดีต่อการเรียนวทิ ยาศาสตร์
ตัวชีว้ ดั

ว ๑.๒ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔
ว ๒.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒
ว ๒.๒ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔
ว ๒.๓ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓
ว ๓.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓
ว ๓.๒ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔
ว ๔.๒ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕
รวม ๒๕ ตวั ชี้วัด

๗๕

รายวิชาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยีพื้นฐาน
คําอธิบายรายวชิ า
กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้ันประถมศึกษาปี ท่ี ๔
รหสั วิชา ว๑๔๑๐๑ เวลาเรียน ๓ ชั่วโมง/สัปดาห์ เวลา ๑๒๐ ช่ัวโมง

บรรยายหน้าที่ของราก ลาํ ต้น ใบและดอกของพืชดอกโดยใช้ข้อมูลท่ีรวบรวมได้ จาํ แนกสิ่งมีชีวิตโดย
ใชค้ วามเหมือนและความแตกต่างของลกั ษณะของสิ่งมีชีวิต ออกเป็ นกลุ่มพืช กลุ่มสัตวแ์ ละกลุ่มที่ไม่ใช่พืชและสัตว์
จาํ แนกพืชออกเป็ นพืชดอกและพืชไม่มีดอกโดยใช้การมีดอกเป็ นเกณฑ์ โดยใช้ข้อมูลที่รวบรวมได้ จาํ แนกสัตว์
ออกเป็ นสัตวม์ ีกระดูกสันหลงั และสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลงั โดยใช้การมีกระดูกสันหลงั เป็ นเกณฑ์ โดยใช้ขอ้ มูลที่

รวบรวมได้ บรรยายลกั ษณะเฉพาะที่สังเกตไดข้ องสัตวม์ ีกระดูกสันหลงั ในกลุ่มปลา กลุ่มสัตวส์ ะเทินน้าํ สะเทินบก
กลุ่มสัตวเ์ ล้ือยคลาน กลุ่มนก และกลุ่มสัตวเ์ ลียงลูกดว้ ยนม และตวั อย่างสิ่งมีชีวิตในแต่ละกลุ่ม เปรียบเทียบสมบัติ
ทางกายภาพ ดา้ นความแข็ง สภาพยดื หยนุ่ การนาํ ความร้อนและการนาํ ไฟฟ้าของวสั ดุโดยใชห้ ลกั ฐานเชิงประจกั ษจ์ าก
การทดลองและระบุการนําสมบัติเร่ืองความแข็งสภาพยืดหยุ่นการนําความร้อนและการนําไฟฟ้าของวสั ดุไปใช้
ในชีวิตประจาํ วนั ผ่านกระบวนการออกแบบชิ้นงาน แลกเปลี่ยนความคิดกับผูอ้ ื่นโดยการอภิปรายเกี่ยวกบั สมบัติ
ทางกายภาพของวสั ดุอยา่ งมีเหตุผลจากการทดลอง เปรียบเทียบสมบตั ิของสสารท้งั ๓ สถานะ จากขอ้ มูลที่ไดจ้ ากการ
สังเกตมวล การตอ้ งการที่อยู่รูปร่างและปริมาตรของสสาร ใช้เครื่องมือเพ่ือวดั มวล และปริมาตรของสสารท้ัง ๓
สถานะ ระบุผลของแรงโน้มถ่วงที่มีต่อวตั ถุจากหลกั ฐานเชิงประจกั ษ์ ใช้เครื่องชง่ั สปริงในการวดั น้าํ หนักของวตั ถุ
บรรยายมวลของวตั ถุท่ีมีผลต่อการเปล่ียนแปลงการเคล่ือนท่ีของวตั ถุจากหลกั ฐานเชิงประจกั ษ์ จาํ แนกวตั ถเุ ป็นตวั กลาง

โปร่งใส ตวั กลางโปร่งแสงและวตั ถุทึบแสงโดยใชล้ กั ษณะการมองเห็นส่ิงต่างๆผา่ นวตั ถุน้นั เป็นเกณฑจ์ ากหลกั ฐานเชิง
ประจกั ษ์ อธิบายแบบรูปเส้นทางการข้ึนและตกของดวงจนั ทร์ โดยใชห้ ลกั ฐานเชิงประจกั ษ์ สร้างแบบจาํ ลองที่อธิบาย
แบบรูปการเปลี่ยนแปลงรูปร่างปรากฏของดวงจนั ทร์และพยากรณ์รูปร่างของดวงจนั ทร์ สร้างแบบจาํ ลองแสดง
องคป์ ระกอบของระบบสุริยะและอธิบายเปรียบเทียบคาบการโคจรของดาวเคราะห์ต่างๆจากแบบจาํ ลอง

ศึกษาการใชเ้ หตุผลเชิงตรรกะในการแกป้ ัญหาการอธิบายการทาํ งานการคาดการณ์ผลลพั ธ์จากปัญหาอยา่ งง่าย
ออกแบบและเขียนโปรแกรมอย่างง่ายโดยใชซ้ อฟต์แวร์หรือสื่อและตรวจหาขอ้ ผิดพลาดปรับปรุงแกไ้ ขสามารถใช้
อินเทอร์เน็ตคน้ หาความรู้และประเมินความน่าเช่ือถือของขอ้ มูลรวบรวมประเมินนาํ เสนอขอ้ มลู และสารสนเทศโดยใช้
ซอฟต์แวร์ท่ีหลากหลายเพ่ือแกป้ ัญหาในชีวิตประจาํ วนั และใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภยั เขา้ ใจสิทธิและ
หนา้ ที่ของตนเคารพในสิทธิของผอู้ ่ืนแจง้ ผเู้ กี่ยวขอ้ งเม่ือพบขอ้ มูลหรือบุคคลท่ีไม่เหมาะสม

เพื่อให้�เกิดความรู�ความคิดความเข�้ าใจหลกั การ ทฤษฎี และกฎท่ีเป็ นพ้ืนฐานในวิชาวิทยาศาสตร์มี
ทกั ษะ ท่ีสําคญั ในการศึกษาคน้ ควา้ และคิดคน้ ทางเทคโนโลยีนาํ ความรู้ความเขา้ ใจไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อ
สังคมและ การดาํ รงชีวิตพฒั นากระบวนการคิดและจินตนาการ ความสามารถในการแก้ปัญหาและการจดั การ
ทกั ษะในการส่ือสาร และความสามารถในการตดั สินใจมีจิตวิทยาศาสตร์ มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมในการใช้
วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยอี ยา่ งสร้างสรรคว์ ดั ผลและประเมินผลตามสภาพจริง ดว้ ยวิธีการที่หลากหลายและต่อเนื่อง

๗๖

ไดแ้ ก่ การทดสอบ การสัมภาษณ์ การตรวจชิ้นงาน สังเกตพฤติกรมและคุณลกั ษณะท่ีพึงประสงค์ พร้อมท้งั เจตคติใน
การทาํ งาน
ตัวชี้วดั

ว ๑.๒ ป.๔/๑
ว ๑.๓ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔
ว ๒.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔
ว ๒.๒ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓
ว ๒.๓ ป.๔/๑
ว ๓.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓
ว ๔.๒ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕
รวม ๒๑ ตวั ชี้วดั

๗๗

รายวิชาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยีพืน้ ฐาน
คําอธิบายรายวชิ า
กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้ันประถมศึกษาปี ที่ ๕
รหัสวชิ า ว๑๕๑๐๑ เวลาเรียน ๓ ชั่วโมง/สัปดาห์ เวลา ๑๒๐ ชั่วโมง

บรรยายโครงสร้างและลกั ษณะของส่ิงมีชีวิตที่เหมาะสมกบั การดาํ รงชีวิตซ่ึงเป็ นผลมาจากการปรับตวั ของ
ส่ิงมีชีวิตในแต่ละแหล่งท่ีอยู่ อธิบายความสัมพนั ธ์ระหวา่ งสิ่งมีชีวิตกบั ส่ิงมีชีวติ และความสมั พนั ธ์ระหว่างสิ่งมีชีวติ กบั
สิ่งไม่มีชีวิตเพ่ือประโยชน์ต่อการดาํ รงชีวิต เขียนโซ่อาหารและระบุบทบาทหน้าที่ของสิ่งมีชีวิตที่เป็ นผูผ้ ลิตและ
ผบู้ ริโภคในโซ่อาหาร ตระหนกั ในคุณค่าของส่ิงแวดลอ้ มที่มีต่อการดาํ รงชีวิตของสิ่งมีชีวิตโดยมีส่วนร่วมในการดูแล
รักษาส่ิงแวดลอ้ ม อธิบายลกั ษณะทางพนั ธุกรรมที่มีการถ่ายทอดจากพ่อแม่สู่ลูกของ พืช สัตว์ และมนุษย์ แสดงความ
อยากรู้อยากเห็นโดยการถามคาํ ถามเกี่ยวกบั ลกั ษณะที่คลา้ ยคลึงกนั ของตนเองกบั พ่อแม่ อธิบายการเปล่ียนสถานะของ
สสารเม่ือทาํ ใหส้ สารร้อนข้ึนหรือเยน็ ลง โดยใชห้ ลกั ฐานเชิงประจกั ษ์ อธิบายการละลายของสารในน้าํ โดยใชห้ ลกั ฐาน
เชิงประจกั ษ์ วิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงของสารเม่ือเกิดการเปล่ียนแปลงทางเคมี โดยใชห้ ลกั ฐานเชิงประจกั ษ์ วิเคราะห์
และระบุการเปลี่ยนแปลงที่ผนั กลบั ไดแ้ ละการเปลี่ยนแปลงท่ีผนั กลบั ไม่ได้ อธิบายวิธีการหาแรงลพั ธ์ของแรงหลาย
แรงในแนวเดียวกนั ท่ีกระทาํ ต่อวตั ถุในกรณีที่วตั ถุอยนู่ ิ่งจากหลกั ฐานเชิงประจกั ษ์ เขยี นแผนภาพแสดงแรงที่กระทาํ ต่อ
วตั ถุที่อยู่ในแนวเดียวกนั และแรงลพั ธ์ท่ีกระทาํ ต่อวตั ถุ ใช้เคร่ืองชงั่ สปริงในการวดั แรงที่กระทาํ ต่อวตั ถุ ระบุผลของ
แรงเสียดทานท่ีมีต่อการเปลี่ยนแปลงการเคลื่อนที่ของวตั ถุจากหลกั ฐานเชิงประจกั ษ์ เขียนแผนภาพแสดงแรงเสียดทาน
และแรงที่อยใู่ นแนวเดียวกนั ท่ีกระทาํ ต่อวตั ถุ อธิบายการไดย้ นิ เสียงผา่ นตวั กลางจากหลกั ฐานเชิงประจกั ษ์ ระบุตวั แปร

ทดลองและอธิบายลกั ษณะและการเกิดเสียงสูง เสียงต่าํ ออกแบบการทดลองและอธิบายลกั ษณะและการเกิดเสียงดงั
เสียงค่อย วดั ระดับเสียงโดยใช้เคร่ืองมือวดั ระดับเสียง ตระหนักในคุณค่าของความรู้เรื่องระดับเสียงโดยเสนอ
แนะแนวทางในการหลีกเลี่ยงและลดมลพิษทางเสียง เปรียบเทียบความแตกต่างของดาวเคราะห์และดาวฤกษ์จาก
แบบจาํ ลอง ใช้แผนท่ีดาวระบุตาํ แหน่งและเส้นทางการข้ึนและตกของกลุ่มดาวฤกษ์บนทอ้ งฟ้าและอธิบายแบบรูป
เสน้ ทางการข้นึ และตกของกลุ่มดาวฤกษบ์ นทอ้ งฟ้าในรอบปี เปรียบเทียบปริมาณน้าํ ในแต่ละแหล่งและระบุปริมาณน้าํ
ท่ีมนุษยส์ ามารถนาํ มาใชป้ ระโยชน์ไดจ้ ากขอ้ มูลที่รวบรวมได้ ตระหนกั ถึงคุณคา่ ของน้าํ โดยนาํ เสนอแนวทางการใชน้ ้าํ
อย่างประหยดั และการอนุรักษ์น้ํา สร้างแบบจําลองที่อธิบายการหมุนเวียนของน้ําในวฏั จักรน้ํา เปรียบเทียบ
กระบวนการเกิดเมฆ หมอก น้าํ คา้ ง และน้าํ คา้ งแข็ง จากแบบจาํ ลอง เปรียบเทียบกระบวนการเกิด ฝน หิมะ และลูกเห็บ
จากขอ้ มลู ที่รวบรวมได้ บุคคลและชุมชนสามารถเตรียมความพร้อมสาํ หรับภยั พบิ ตั ิทางธรรมชาติท่ีอาจเกิดข้นึ ได้

ศึกษาการใชเ้ หตุผลเชิงตรรกะในการแกป้ ัญหาการอธิบายการทาํ งานการคาดการณ์ผลลพั ธ์จากปัญหาอย่างง่าย
ออกแบบและเขียนโปรแกรมที่มีการใชเ้ หตุผลเชิงตรรกะอยา่ งง่ายตรวจหาขอ้ ผิดพลาดและแกไ้ ขใชอ้ ินเทอร์เน็ตคน้ หา
ข้อมู ลติ ด ต่อส่ื อ ส ารและทํางาน ร่ วมกัน ป ระเมิ น ค วาม น่ าเชื่ อถื อ ของข้อมู ลรวบ รวมป ระเมิ น นําเส น อข้อมู ลแล ะ
สารสนเทศตามวตั ถปุ ระสงคโ์ ดยใชซ้ อฟตแ์ วร์หรือบริการบนอินเทอร์เน็ตท่ีหลากหลายเพือ่ แกป้ ัญหาในชีวติ ประจาํ วนั
สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภยั มีมารยาทเขา้ ใจสิทธิและหน้าที่ของตนเคารพในสิทธิของผูอ้ ื่นแจ้ง
ผเู้ กี่ยวขอ้ งเมื่อพบขอ้ มูลหรือบคุ คลท่ีไมเ่ หมาะสม

๗๘

เพื่อให้เกิดความรู้�ความคดิ ความเข�้ าใจหลกั การ ทฤษฎี และกฎที่เป็นพ้ืนฐานในวิชาวิทยาศาสตร์มีทกั ษะ
ที่สําคญั ในการศึกษาคน้ ควา้ และคิดคน้ ทางเทคโนโลยีนําความรู้ความเข้าใจไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อสังคมและ
การดาํ รงชีวิตพฒั นากระบวนการคิดและจินตนาการ ความสามารถในการแก้ปัญหาและการจดั การ ทกั ษะในการ
ส่ือสาร และความสามารถในการตดั สินใจมีจิตวิทยาศาสตร์ มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมในการใช้วิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยีอย่างสร้างสรรค์วดั ผลและประเมินผลตามสภาพจริง ด้วยวิธีการที่หลากหลายและต่อเนื่อง ได้แก่
การทดสอบ การสัมภาษณ์ การตรวจชิ้นงาน สังเกตพฤติกรมและคุณลกั ษณะท่ีพึงประสงค์ พร้อมท้งั เจตคติในการ
ทาํ งาน

ตวั ชี้วดั
ว ๑.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔
ว ๑.๓ ป.๕/๑, ป.๕/๒
ว ๒.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔
ว ๒.๒ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕
ว ๒.๓ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕
ว ๓.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒
ว ๓.๒ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕
ว ๔.๒ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕

รวม ๓๒ ตัวชีว้ ดั

ผลการเรียนรู้อาเซียน
บุคคลและชุมชนสามารถเตรียมความพร้อมสาํ หรับภยั พบิ ตั ิทางธรรมชาติท่ีอาจเกิดข้นึ ได้

รวม ๑ ผลการเรียนรู้

๗๙

รายวชิ าวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีพื้นฐาน
คาํ อธบิ ายรายวชิ า
กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้ันประถมศึกษาปี ที่ ๖
รหสั วิชา ว๑๖๑๐๑ เวลาเรียน ๓ ชั่วโมง/สัปดาห์ เวลา ๑๒๐ ช่ัวโมง

ระบุสารอาหารและบอกประโยชน์ของสารอาหารแต่ละประเภทจากอาหารท่ีตนเองรับประทานบอกแนวทาง
ในการเลือกรับประทานอาหารให้ไดส้ ารอาหารครบถว้ นในสัดส่วนท่ีเหมาะสมกบั เพศและวยั รวมท้งั ความปลอดภยั
ต่อสุขภาพ ตระหนกั ถึงความสําคญั ของสารอาหาร โดยการเลือกรับประทานอาหารท่ีมีสารอาหารครบถว้ นในสัดส่วน
ท่ีเหมาะสมกบั เพศและวยั รวมท้งั ความปลอดภยั ต่อสุขภาพ สร้างแบบจาํ ลองระบบย่อยอาหารและบรรยายหนา้ ที่ของ
อวยั วะในระบบย่อยอาหาร รวมท้งั อธิบายการยอ่ ยอาหารและการดูดซึมสารอาหาร ตระหนกั ถึงความสาํ คญั ของระบบ
ย่อยอาหาร โดยการบอก แนวทางในการดูแลรักษาอวยั วะในระบบย่อยอาหารให้ทํางานเป็ นปกติ อธิบายและ
เปรียบเทียบการแยกสารผสมโดยการหยิบออก การร่อน การใช้แม่เหล็กดึงดูด การรินออก การกรอง และ

การตกตะกอน โดยใชห้ ลกั ฐานเชิงประจกั ษ์ รวมท้งั ระบุวิธีแกป้ ัญหาในชีวติ ประจาํ วนั เกี่ยวกบั การแยกสาร อธิบายการ
เกิดและผลของแรงไฟฟ้าซ่ึงเกิดจากวตั ถุที่ผ่านการขดั ถูโดยใช้หลกั ฐานเชิงประจกั ษ์ ระบุส่วนประกอบและบรรยาย
หน้าที่ของแต่ละส่วนประกอบของวงจรไฟฟ้าอย่างง่ายจากหลกั ฐานเชิงประจกั ษ์ เขียนแผนภาพและต่อวงจรไฟฟ้า
อย่างง่าย ออกแบบการทดลองด้วยวิธีท่ีเหมาะสมในการอธิบายวิธีการและผลของการต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบอนุกรม
ตระหนักถึงประโยชน์ของความรู้ของการต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบอนุกรมโดยบอกประโยชน์และการประยุกต์ใช้ใน
ชีวิตประจาํ วนั ออกแบบการทดลองและทดลองดว้ ยวิธีที่เหมาะสมในการอธิบายการต่อหลอดไฟฟ้าแบบอนุกรมและ

แบบขนาน ตระหนกั ถึงประโยชน์ของความรู้ของการต่อไฟฟ้าแบบอนุกรม แบบขนาน อธิบายการเกิดเงามืดเงามวั จาก
หลกั ฐานเชิงประจกั ษ์ เขียนแผนภาพรังสีของแสงแสดงการเกิดเงามืดเงามวั สร้างแบบจาํ ลองท่ีอธิบายการเกิดและ
เปรียบเทียบปรากฏการณ์สุริยุปราคาและจนั ทรุปราคา อธิบายพฒั นาการของเทคโนโลยีอวกาศ และการใชป้ ระโยชน์
ในชีวิตประจาํ วนั จากข้อมูลท่ีรวบรวมได้ เปรียบเทียบกระบวนการเกิดหินอคั นี หินตะกอน และหินแปร สร้าง
แบบจาํ ลองที่อธิบายการเกิดซากดึกดาํ บรรพแ์ ละคาดคะเนสภาพแวดลอ้ มในอดีตของซากดึกดาํ บรรพ์ ลกั ษณะต่าง ๆ
ทางภมู ิศาสตร์มีส่วนเชื่อมโยงและแบ่งแยกชุมชนต่างๆ ออกจากโลก การเกิดลมบก ลมทะเล มรสุมรวมท้งั อธิบายผลท่ี
มีตอ่ ส่ิงมีชีวติ และสิ่งแวดลอ้ มจากแบบจาํ ลอง อธิบายผลของมรสุมตอ่ การเกิดฤดูของประเทศไทย จากขอ้ มูลท่ีรวบรวม
บรรยายลกั ษณะและผลกระทบของน้าํ ท่วม การกดั เซาะชายฝ่ังดินถล่ม แผ่นดินไหว ตระหนักถึงผลกระทบของภยั
ธรรมชาติและธรณีพิบตั ิภยั โดยนาํ เสนอแนวทางในการเฝ้าระวงั และปฏิบตั ิตนให้ปลอดภยั จากภยั ธรรมชาติและธรณี

พบิ ตั ิภยั ที่อาจเกิดในทอ้ งถิ่น บุคคลและชุมชนสามารถเตรียมความพร้อมสาํ หรับภยั พิบตั ิทางธรรมชาติที่อาจเกิดข้นึ ได้
การกระทาํ ของเราในแต่ละวนั สามารถสร้างความยง่ั ยืนในอนาคตไดก้ ารลดความเส่ียงจากภยั พิบตั ิรู้จกั ภยั และการ
เตรียมพร้อมรับมือภัยพิบัติ ก่อน ระหว่าง และหลังภัยพิบัติ อธิบายการเกิดปรากฏการณ์เรือนกระจกและผลของ
ปรากฏการณ์เรือนกระจกต่อส่ิงมีชีวิต ตระหนักถึงผลกระทบองปรากฏการณ์เรือนกระจกโดยนาํ เสนอแนวทางการ
ปฏิบตั ิตนเพ่อื ลดกิจกรรมที่ก่อใหเ้ กิดแกส๊ เรือนกระจก

๘๐

ศึกษาการใชเ้ หตุผลเชิงตรรกะในการอธิบายและออกแบบวธิ ีการแกป้ ัญหาที่พบในชีวติ ประจาํ วนั การออกแบบ
โปรแกรมสามารถทาํ ไดโ้ ดยเขียนเป็นขอ้ ความหรือผงั งานการออกแบบและเขียนโปรแกรมท่ีมีการใชต้ วั แปรการวนซ้าํ
การตรวจสอบเง่ือนไขหากมีขอ้ ผิดพลาดให้ตรวจสอบการทาํ งานทีละคาํ สั่งเมื่อพบจุดที่ทาํ ให้ผลลพั ธ์ไม่ถูกตอ้ งให้ทาํ
การแกไ้ ขจนกว่าจะไดผ้ ลลพั ธ์ที่ถูกตอ้ งการฝึ กตรวจหาขอ้ ผิดพลาดจากโปรแกรมของผอู้ ื่นจะช่วยพฒั นาทกั ษะการหา
สาเหตุของปัญหาไดด้ ียงิ่ ข้ึนเพ่ือแกป้ ัญหาในชีวิตประจาํ วนั ตรวจหาขอ้ ผิดพลาดของโปรแกรมและแกไ้ ขใชอ้ ินเทอร์เน็ต
ในการค้นหาข้อมูลอย่างมีประสิทธิภาพเป็ นการค้นหาข้อมูลที่ได้ตรงตามความต้องการในเวลาท่ีรวดเร็วจาก
แหล่งขอ้ มูลท่ีน่าเช่ือถือหลายแหล่งและข้อมูลมีความสอดคล้องกันการใช้เทคนิคการค้นหาข้นั สูงใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศทาํ งานร่วมกันอย่างปลอดภยั เขา้ ใจสิทธิและหนา้ ท่ีของตนเคารพในสิทธิของผูอ้ ่ืนแจง้ ผูเ้ กี่ยวขอ้ งเม่ือพบ
ขอ้ มูลหรือบคุ คลท่ีไมเ่ หมาะสม

เพ่ือให้เกิดความรู้ความคิดความเขา้ ใจหลกั การ ทฤษฎี และกฎท่ีเป็ นพ้ืนฐานในวิชาวิทยาศาสตร์มีทกั ษะท่ี
สําคญั ในการศึกษาคน้ ควา้ และคิดคน้ ทางเทคโนโลยีนําความรู้ความเขา้ ใจไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อสังคมและการ
ดาํ รงชีวิตพฒั นากระบวนการคิดและจินตนาการ ความสามารถในการแกป้ ัญหาและการจดั การ ทกั ษะในการสื่อสาร
และความสามารถในการตดั สินใจมีจิตวิทยาศาสตร์ มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมในการใช้วิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยีอย่างสร้างสรรค์วดั ผลและประเมินผลตามสภาพจริง ด้วยวิธีการที่หลากหลายและต่อเนื่อง ได้แก่
การทดสอบ การสัมภาษณ์ การตรวจชิ้นงาน สังเกตพฤติกรมและคุณลกั ษณะที่พึงประสงค์ พร้อมท้งั เจตคติในการ
ทาํ งาน

ตวั ชีว้ ัด
ว ๑.๒ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕
ว ๒.๑ ป.๖/๑
ว ๒.๒ ป.๖/๑
ว ๒.๓ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖, ป.๖/๗, ป.๖/๘
ว ๓.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒
ว ๓.๒ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖, ป.๖/๗, ป.๖/๘, ป.๖/๙
ว ๔.๒ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔

รวม ๓๐ ตัวชี้วดั

๘๑

ระดับมธั ยมศึกษา

รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์พืน้ ฐาน

คาํ อธบิ ายรายวชิ า
กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวิชา วิทยาศาสตร์ รหัสวิชา ว๒๑๑๐๑ ช้ันมัธยมศึกษาปี ที่ ๑
ภาคเรียนท่ี ๑ จํานวน ๑.๕ หน่วยกติ เวลาเรียน ๓ ช่ัวโมง/สัปดาห์ เวลา ๖๐ ชั่วโมง/ภาคเรียน

การศึกษาวิเคราะห์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ สมบัติของสารบริสุทธ์ิ การจําแนกและองค์ประกอบของ
สารบริสุทธ์ิ เซลล์ โดยใช้กลอ้ งจุลทรรศน์ การลาํ เลียงสารเขา้ ออกจากเซลล์ การสืบพนั ธุ์และขยายพนั ธุ์พืชดอก
การสังเคราะหด์ ว้ ยแสง การลาํ เลียงน้าํ ธาตอุ าการ และอาหารของพชื ท้งั น้ี

โดยใชก้ ารสืบเสาะหาความรู้ การสํารวจตรวจสอบ ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และทกั ษะการเรียนรู้
ในศตวรรษท่ี 21 การสืบค้นข้อมูลและการอภิปราย และวิเคราะห์สาเหตุหรือปัจจัยท่ีส่งผลต่อ ปัญหาหรือ
ความตอ้ งการ รวบรวม วิเคราะห์ขอ้ มูลและแนวคิดที่เก่ียวขอ้ ง กบั ปัญหา ออกแบบวิธีการแกป้ ัญหา โดยวิเคราะห์
เปรียบเทียบ และตดั สินใจเลือกขอ้ มูลที่จาํ เป็น นาํ เสนอแนวทางการแกป้ ัญหาให้ผูอ้ ื่นเขา้ ใจ วางแผนและดาํ เนินการ
แกป้ ัญหา ทดสอบ ประเมินผล และระบุขอ้ บกพร่อง ท่ีเกิดข้ึน พร้อมท้งั หาแนวทางการปรับปรุงแกไ้ ข

เพ่ือแก้ปัญหา และใช้เทคโนโลยีได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม และปลอดภัยเพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด
ความเข้าใจ สามารถส่ือสารส่ิงท่ีเรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ การแก้ปัญหา การนําความรู้ไปใช้ใน
ชีวิตประจาํ วนั มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และคา่ นิยมท่ีเหมาะสม

ตวั ชีว้ ดั
ว ๑.๒ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๓, ม.๑/๔, ม.๑/๕, ม.๑/๖, ม.๑/๗, ม.๑/๘, ม.๑/๙, ม.๑/๑๐, ม.๑/๑๑, ม.๑/๑๒,
ม.๑/๑๓, ม.๑/๑๔, ม.๑/๑๕, ม.๑/๑๖, ม.๑/๑๗, ม.๑/๑๘
ว ๒.๑ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๓, ม.๑/๔, ม.๑/๕, ม.๑/๖, ม.๑/๗, ม.๑/๘

รวม ๒๖ ตวั ชีว้ ัด

๘๒

รายวิชาวทิ ยาศาสตร์พื้นฐาน

คาํ อธิบายรายวชิ า
กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวิชา วิทยาศาสตร์ รหสั วิชา ว๒๑๑๐๓ ช้ันมัธยมศึกษาปี ที่ ๑
ภาคเรียนที่ ๒ จาํ นวน ๑.๕ หน่วยกติ เวลาเรียน ๓ ช่ัวโมง/สัปดาห์ เวลา ๖๐ ช่ัวโมง/ภาคเรียน

ศึกษาวิเคราะห์ความร้อนกบั การเปลี่ยนแปลงของสสาร การถ่ายโอนความร้อน ลมฟ้าอากาศรอบตวั มนุษยก์ บั
การเปลี่ยนแปลงลมฟ้าอากาศ ท้งั น้ีโดยใช้ โดยใชก้ ารสืบเสาะหาความรู้ การสํารวจตรวจสอบ ทกั ษะกระบวนการทาง
วทิ ยาศาสตร์ และทกั ษะการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 การสืบคน้ ขอ้ มูลและการอภิปราย และวิเคราะห์สาเหตุหรือปัจจยั ที่
ส่งผลต่อ ปัญหาหรือความตอ้ งการ รวบรวม วิเคราะห์ข้อมูลและแนวคิดที่เกี่ยวขอ้ ง กับปัญหา ออกแบบวิธีการ
แกป้ ัญหา

โดยวิเคราะห์ เปรียบเทียบ และตดั สินใจเลือกข้อมูลที่จาํ เป็ น นําเสนอแนวทางการแก้ปัญหาให้ผูอ้ ่ืนเขา้ ใจ
วางแผนและดําเนินการแก้ปัญหา ทดสอบ ประเมินผล และระบุขอ้ บกพร่อง ท่ีเกิดข้ึน พร้อมท้ังหาแนวทางการ
ปรับปรุงแกไ้ ข เพอื่ แกป้ ัญหา และใชเ้ ทคโนโลยไี ดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง เหมาะสม และปลอดภยั

เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเขา้ ใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ การ
แกป้ ัญหา การนาํ ความรู้ไปใชใ้ นชีวิตประจาํ วนั มีจิตวทิ ยาศาสตร์ จริยธรรม คณุ ธรรม และคา่ นิยมท่ีเหมาะสม

ตัวชี้วัด
ว ๒.๑ ม.๑/๙, ม.๑/๑๐
ว ๒.๒ ม.๑/๑
ว ๒.๓ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๓, ม.๑/๔, ม.๑/๕, ม.๑/๖, ม.๑/๗
ว ๓.๒ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๓, ม.๑/๔, ม.๑/๕, ม.๑/๖, ม.๑/๗

รวม ๑๗ ตวั ชี้วดั

๘๓

รายวิชาวทิ ยาศาสตร์พื้นฐาน

คาํ อธิบายรายวชิ า
กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวชิ า วทิ ยาศาสตร์ รหสั วิชา ว๒๒๑๐๑ ช้ันมัธยมศึกษาปี ท่ี ๒
ภาคเรียนท่ี ๑ จาํ นวน ๑.๕ หน่วยกติ เวลาเรียน ๓ ช่ัวโมง/สัปดาห์ เวลา ๖๐ ช่ัวโมง/ภาคเรียน

ศึกษาวเิ คราะห์ การแยกสารผสมโดยการระเหยแหง้ การตกผลึก การกลน่ั อยา่ งงา่ ย โครมาโทรกราฟี
แบบกระดาษ การสกดั ดว้ ยตวั ทาํ ละลาย ตระหนกั ถึงความสาํ คญั ของการนาํ ความรู้เร่ืองความเขม้ ขน้ ของสารไปใช้
โดยยกตวั อยา่ งการใชส้ ารละลายในชีวติ ประจาํ วนั อยา่ งถกู ตอ้ งและปลอดภยั การเคล่ือนท่ีของวตั ถุที่เป็นผลของ
แรงลพั ธ์ท่ีเกิดจากแรงหลายแรงที่กระทาํ ต่อวตั ถใุ นแนวเดียวกนั วเิ คราะห์แรงพยงุ และการจม การลอยของวตั ถใุ น
ของเหลว แรงเสียดทานสถิตและแรงเสียดทานจลน์ โมเมนตข์ องแรง สนามแมเ่ หลก็ สนามไฟฟ้า และสนาม
โนม้ ถว่ งและทิศทางของแรงที่กระทาํ ตอ่ วตั ถุ คาํ นวณอตั ราเร็วและความเร็วของการเคล่ือนท่ีของวตั ถุโดยใช้
สมการ v= s/t

โดยใชก้ ระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ วสั ดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ กลไก ไฟฟ้า และอิเลก็ ทรอนิกส์เพื่อแกป้ ัญหา
หรือพฒั นางานไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ งเหมาะสม และปลอดภยั

เพื่อใหเ้ กิดความรู้ความเขา้ ใจ สามารถส่ือสารส่ิงท่ีเรียนรู้ มีความสามารถในการตดั สินใจ การออกแบบวธิ ีการ
แกป้ ัญหา การใชท้ กั ษะชีวิต การใช้เทคโนโลยี การนําความรู้ไปใชใ้ นชีวิตประจาํ วนั ไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง เหมาะสม และ
ปลอดภยั มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คณุ ธรรม และคา่ นิยมที่เหมาะสม

ตวั ชีว้ ดั
ว ๑.๒ ม.๒/๑, ม.๒/๒, ม.๒/๓, ม.๒/๔, ม.๒/๕, ม.๒/๖, ม.๒/๗, ม.๒/๘, ม.๒/๙, ม.๒/๑๐, ม.๒/๑๑,
ม.๒/๑๒, ม.๒/๑๓, ม.๒/๑๔, ม.๒/๑๕, ม.๒/๑๖, ม.๒/๑๗
ว ๒.๑ ม.๒/๔, ม.๒/๕, ม.๒/๖
ว ๒.๒ ม.๒/๑, ม.๒/๒, ม.๒/๓, ม.๒/๔, ม.๒/๕, ม.๒/๖, ม.๒/๗, ม.๒/๘, ม.๒/๙, ม.๒/๑๐, ม.๒/๑๑,
ม.๒/๑๒, ม.๒/๑๓, ม.๒/๑๔, ม.๒/๑๕

รวม ๓๕ ตัวชี้วัด

๘๔

รายวิชาวิทยาศาสตร์พืน้ ฐาน
คําอธบิ ายรายวิชา
กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวชิ า วทิ ยาศาสตร์ รหสั วชิ า ว๒๒๑๐๓ ช้ันมัธยมศึกษาปี ที่ ๒
ภาคเรียนที่ ๒ จํานวน ๑.๕ หน่วยกติ เวลาเรียน ๓ ชั่วโมง/สัปดาห์ เวลา ๖๐ ชั่วโมง/ภาคเรียน

ศึกษาวิเคราะห์ หนา้ ท่ีของอวยั วะท่ีเกี่ยวขอ้ งในระบบหายใจ กลไกการหายใจเขา้ และออก อวยั วะในระบบ
ขบั ถ่ายในการกาํ จดั ของเสียทางไต โครงสร้างและหน้าที่ของหัวใจ หลอดเลือดและเลือด การทาํ งานของระบบ
หมุนเวียนเลือด หน้าท่ีของอวยั วะในระบบประสาทส่วนกลางในการควบคุมการทํางานต่าง ๆ ของร่างกาย
ความสําคญั ของระบบประสาทสมองและไขสันหลงั หน้าที่ของอวยั วะในระบบสืบพนั ธุ์ของเพศชายและเพศหญิง

ฮอร์โมนเพศชายและเพศหญิง การตกไข่ การมีประจาํ เดือน การปฏิสนธิ และการพฒั นาของไซโกตจนคลอดเป็ น
ทารกกระบวนการเกิดสมบัติ การใช้ประโยชน์รวมท้ังอธิบายผลกระทบจากการใช้เช้ือเพลิงซากดึกดําบรรพ์
โครงสร้างภายในโลก การผุพงั อยกู่ บั ท่ี การกร่อน และการสะสมตวั ของตะกอน ช้นั หนา้ ตดั ดินและกระบวนการเกิดดิน
ตรวจวดั สมบตั ิของดิน การเกิดแหล่งน้าํ ผวิ ดินและแหลง่ น้าํ ใตด้ ิน

โดยใชก้ ระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เพ่ือฝึ กทกั ษะเปรียบเทียบ ทดลอง เขียนแผนภาพ นาํ เสนอแนวทางแกไ้ ข
วิเคราะห์ สรุปผล และการใชห้ ลกั ฐานเชิงประจกั ษ์

เพ่ือให้เกิดความตระหนัก ความรู้ ความคิด ความเขา้ ใจ สามารถส่ือสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการ
ตดั สินใจ การออกแบบวิธีการแกป้ ัญหา การใชท้ กั ษะชีวิต การใชเ้ ทคโนโลยี การนาํ ความรู้ไปใชใ้ นชีวิตประจาํ วนั ได้
อยา่ งถกู ตอ้ ง เหมาะสม และปลอดภยั มีจิตวทิ ยาศาสตร์ จริยธรรม คณุ ธรรม และคา่ นิยมท่ีเหมาะสม

ตัวชี้วัด
ว ๒.๑ ม.๒/๑, ม.๒/๒, ม.๒/๓
ว ๒.๓ ม.๒/๑, ม.๒/๒, ม.๒/๓, ม.๒/๔, ม.๒/๕, ม.๒/๖
ว ๓.๒ ม.๒/๑, ม.๒/๒, ม.๒/๓, ม.๒/๔, ม.๒/๕, ม.๒/๖, ม.๒/๗, ม.๒/๘, ม.๒/๙, ม.๒/๑๐

รวม ๑๙ ตัวชีว้ ดั

๘๕

รายวิชาวทิ ยาศาสตร์พื้นฐาน
คาํ อธิบายรายวิชา
กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวชิ า วทิ ยาศาสตร์ รหัสวิชา ว๒๓๑๐๑ ช้ันมธั ยมศึกษาปี ท่ี ๓
ภาคเรียนท่ี ๑ จาํ นวน ๑.๕ หน่วยกติ เวลาเรียน ๓ ชั่วโมง/สัปดาห์ เวลา ๖๐ ช่ัวโมง/ภาคเรียน

ศึกษาวเิ คราะหป์ ฏิสมั พนั ธข์ ององคป์ ระกอบของระบบนิเวศน์ รูปแบบความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งสิ่งมีชีวติ กบั
ส่ิงมีชีวิตรูปแบบต่างๆในแหลง่ ที่อยเู่ ดียวกนั การถา่ ยทอดพลงั งานสายใยอาหาร ความสัมพนั ธข์ องผผู้ ลิต ผบู้ ริโภค และ
ผยู้ อ่ ยสลายอินทรียสารในระบบนิเวศน์ การสะสมสารพษิ ของส่ิงมีชีวติ ในห่วงโซ่อาหาร ความสัมพนั ธ์ของส่ิงมีชีวิต
และส่ิงแวดลอ้ มในระบบนิเวศนโ์ ดยไม่ทาํ ลายสมดุลในระบบนิเวศน์ ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งยนี ส์ ดีเอ็นเอ และ
โครโมโซม การถา่ ยทอดลกั ษณะทางพนั ธุกรรมจากการผสมลกั ษณะเดียวที่แอลลีนเด่นขม่ แอลลีนดอ้ ยอยา่ งสมบรู ณ์
การเกิดจีโนไทป์ และฟี โนไทป์ ของลูก การแบง่ เซลลแ์ บบไมโทรซีสและไมโอซีส การเปล่ียนแปลงของยนี หรือ
โครโมโซมท่ีทาํ ให้เกิดโรคทางพนั ธุกรรม ประโยชน์ของความรู้เรื่องโรคทางพนั ธุกรรม การใชป้ ระโยชน์จากส่ิงมีชีวิต
ดดั แปลงพนั ธุกรรม และผลกระทบท่ีอาจมีตอ่ มนุษยแ์ ละส่ิงแวดลอ้ ม ความหลากหลายทางชีวภาพ ความสาํ คญั ของ
ความหลากหลายทางชีวภาพท่ีมีตอ่ การรักษาสมดุลของระบบนิเวศน์และต่อมนุษย์ การดูแลรักษาความหลากหลายทาง
ชีวภาพ การโคจรของดาวเคราะห์รอบดวงอาทิตยด์ ว้ ยแรงโนม้ ถว่ ง การเกิดฤดูและการเคลื่อนท่ีปรากฏของดวงอาทิตย์
การเกิดขา้ งข้นึ ขา้ งแรม การเปล่ียนแปลงเวลาการข้นึ และตกของดวงจนั ทร์ และการเกิดน้าํ ข้นึ น้าํ ลง เทคโนโลยอี วกาศ
และความกา้ วหนา้ ของโครงการสาํ รวจอวกาศ

โดยใชก้ ระบวนการอธิบาย เปรียบเทียบ อภิปราย การสืบเสาะหาความรู้ การสืบคน้ และรวบรวมขอ้ มูล การ

สาํ รวจตรวจสอบ การออกแบบ การเขยี นแผนภาพและกราฟ การคาํ นวณ การใชท้ กั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
และทกั ษะการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21

เพือ่ ใหเ้ กิดความตระหนกั ความรู้ ความคดิ ความเขา้ ใจ สามารถสื่อสาร พฒั นา ส่ิงที่เรียนรู้ ใหม้ ี
ความสามารถในการตดั สินใจ การแกป้ ัญหา การใชท้ กั ษะชีวติ การใชเ้ ทคโนโลยี การนาํ ความรู้ไปใชใ้ นชีวิตประจาํ วนั
มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และคา่ นิยมที่เหมาะสม

ตัวชี้วัด
ว ๑.๓ ม.๓/๑, ม.๓/๒, ม.๓/๓, ม.๓/๔, ม.๓/๕, ม.๓/๖, ม.๓/๗, ม.๓/๘
ว ๒.๓ ม.๓/๑๐, ม.๓/๑๑, ม.๓/๑๒, ม.๓/๑๓, ม.๓/๑๔, ม.๓/๑๕, ม.๓/๑๖, ม.๓/๑๗, ม.๓/๑๘, ม.๓/๑๙,
ม.๓/๒๐, ม.๓/๒๑
ว ๓.๑ ม.๓/๑, ม.๓/๒, ม.๓/๓, ม.๓/๔

รวม ๒๔ ตวั ชีว้ ดั

๘๖

รายวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน

คําอธบิ ายรายวชิ า
กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวิชา วิทยาศาสตร์ รหัสวชิ า ว๒๓๑๐๓ ช้ันมธั ยมศึกษาปี ท่ี ๓
ภาคเรียนที่ ๒ จํานวน ๑.๕ หน่วยกติ เวลาเรียน ๓ ชั่วโมง/สัปดาห์ เวลา ๖๐ ชั่วโมง/ภาคเรียน

ศึกษาวิเคราะห์ การเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ สมบตั ิทางกายภาพและการใชป้ ระโยชน์ วสั ดุประเภทพอลิเมอร์
เซรามิกส์และวสั ดุผสม การเกิดปฏิกิริยาเคมี กฎทรงมวลของสาร ปฏิกิริยาดูดความร้อน และปฏิกิริยาคายความร้อน
จากการเปล่ียนแปลงพลงั งาน ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจาํ วนั ประโยชน์และโทษของปฏิกิริยาเคมีที่มีต่อสิ่งมีชีวิตและ
สิ่งแวดลอ้ ม ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งความตา่ งศกั ย์ กระแสไฟฟ้า และความตา้ นทาน ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งกระแสไฟฟ้า
และความตา่ งศกั ยไ์ ฟฟ้า การวดั ปริมาณทางไฟฟ้า พลงั งานไฟฟ้า การตอ่ ตวั ตา้ นทาน แบบอนุกรมและขนาน
ในวงจรไฟฟ้า การทาํ งานของชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ อย่างง่าย คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า กฎการสะท้อนของแสง การ
เคลื่อนที่ของแสง การเกิดภาพจากกระจกเงา การเกิดภาพจากเลนส์ การหักเหของแสงการกระจายแสงของแสงขาว
ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวกบั แสง และการทาํ งานของทศั นอปุ กรณ์ความสวา่ งของแสง

โดยใช้กระบวนการอธิบาย เปรียบเทียบ อภิปราย การสืบเสาะหาความรู้ การสืบค้นและรวบรวมข้อมูล
การสํารวจตรวจสอบ การออกแบบ การเขียนแผนภาพและกราฟ การคาํ นวณ การใช้ทักษะกระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์และทกั ษะการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21

เพอ่ื ใหเ้ กิดความตระหนกั ความรู้ ความคดิ ความเขา้ ใจ สามารถส่ือสาร พฒั นา สิ่งที่เรียนรู้ ใหม้ ีความสามารถ
ในการตัดสินใจ การแก้ปัญหา การใช้ทักษะชีวิต การใช้เทคโนโลยี การนําความรู้ไปใช้ในชีวิตประจาํ วนั มีจิต
วิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และค่านิยมที่เหมาะสม

ตัวชี้วดั
ว ๑.๑ ม.๓/๑, ม.๓/๒, ม.๓/๓, ม.๓/๔, ม.๓/๕, ม.๓/๖
ว ๑.๓ ม.๓/๙, ม.๓/๑๐, ม.๓/๑๑
ว ๒.๑ ม.๓/๑, ม.๓/๒, ม.๓/๓, ม.๓/๔, ม.๓/๕, ม.๓/๖, ม.๓/๗, ม.๓/๘
ว ๒.๓ ม.๓/๑, ม.๓/๒, ม.๓/๓, ม.๓/๔, ม.๓/๕, ม.๓/๖, ม.๓/๗, ม.๓/๘, ม.๓/๙

รวม ๒๖ ตัวชีว้ ัด

๘๗

รายวิชาเทคโนโลยีพืน้ ฐาน
คําอธบิ ายรายวชิ า
กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวชิ า เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี
รหัสวิชา ว๒๑๑๐๒ ช้ันมัธยมศึกษาปี ท่ี ๑ ภาคเรียนที่ ๑
จาํ นวน ๐.๕ หน่วยกติ เวลาเรียน ๑ ชั่วโมง/สัปดาห์ เวลา ๒๐ ช่ัวโมง/ภาคเรียน

ศึกษาแนวคิดหลกั ของเทคโนโลยีเพ่ือการดาํ รงชีวิตในสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ใช้ความรู้และ
ทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และศาสตร์อื่นๆ เพ่ือแก้ปัญหารือพฒั ฒนางานอย่าางมีความคิด
สร้างสรรค ดว้ ยกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมเลือกใชเ้ ทคโนโลยีอย่างเหมาะสม โดยคาํ นึงถึงผลกระทบต่อ
ชีวิต สังคม และสิ่งแวดลอ้ ม สามารถร่างภาพ เขียนแผนภาพ ผงั งาน กาํ หนดข้นั ตอนและระยะเวลาในการทาํ งานได้
ตามวตั ถุประสงค์ภายใตก้ รอบของปัญหา เพ่ือหาขอ้ บกพร่อง และดาํ เนินการปรับปรุง สามารถร่างภาพ เขียน
แผนภาพ ผงั งาน

โดยถ่ายทอดแนวคิด เพ่ือให้ผูอ้ ่ืนเขา้ ใจเกี่ยวกับกระบวนการทาํ งาน ท้งั ในรูป การเขียนรายงาน การทาํ แผ่น
นาํ เสนอ ผลงาน การจดั นิทรรศการ การนาํ เสนอผา่ น สื่อออนไลน์วเิ คราะหส์ มบตั ิของวสั ดุแต่ละประเภท เพ่ือเลือกใช้
ใหเ้ หมาะสมกบั ลกั ษณะของงาน สร้างชิ้นงานโดยใชค้ วามรู้ เรื่อง กลไก ไฟฟ้า อิเลก็ ทรอนิกส์ โดยพฒั นาเคร่ืองมือใน
การสร้างชิ้นงานหรือพฒั นาวิธีการใหถ้ กู ตอ้ ง เหมาะสมและปลอดภยั รวมท้งั รู้จกั เกบ็ รักษา

เพื่อใหผ้ เู้ รียนมีความรู้ความเขา้ ใจ การนาํ ขอ้ มลู ปฐมภมู ิเขา้ สู่ระบบคอมพิวเตอร์ วเิ คราะห์ ประเมิน นาํ เสนอ
ขอ้ มลู และสารสนเทศ ไดต้ ามวตั ถุประสงค์ ใชท้ กั ษะการคิดเชิงคาํ นวณในการแกป้ ัญหาที่พบในชีวิตจริง และเขียน
โปรแกรมอยา่ งงา่ ย เพ่ือช่วยในการแกป้ ัญหา ใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสารอยา่ งรู้เท่าทนั และรับผดิ ชอบต่อ
สงั คม ตลอดจนนาํ ความรู้ความเขา้ ใจในวชิ าวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยไี ปใชใ้ หเ้ กิดประโยชนต์ ่อสงั คม และการ
ดาํ รงชีวิต จนสามารถพฒั นากระบวนการคดิ และจินตนาการ ความสามารถในการแกป้ ัญหาและการจดั การทกั ษะใน
การส่ือสาร และความสามารถในการตดั สินใจ และเป็นผทู้ ่ีมีจิตวทิ ยาศาสตร์ มีคุณธรรม จริยธรรม และคา่ นิยมในการ

ใชว้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยอี ยา่ งสร้างสรรค์

ตัวชีว้ ดั
ว๔.๑ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๓, ม.๑/๔, ม.๑/๕

รวม ๕ ตัวชี้วัด

๘๘

รายวชิ าเทคโนโลยีพืน้ ฐาน
คาํ อธบิ ายรายวชิ า
กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวชิ า เทคโนโลยี(วิทยาการคํานวน)
รหัสวิชา ว๒๑๑๐๔ ช้ันมธั ยมศึกษาปี ท่ี ๑ ภาคเรียนท่ี ๒
จาํ นวน ๐.๕ หน่วยกติ เวลาเรียน ๑ ช่ัวโมง/สัปดาห์
เวลา ๒๐ ชั่วโมง/ภาคเรียน

ศึกษาแนวคคิ เชิงนามธรรม การคดั เลือกคุณลกั ษณะท่ีจาํ เป็นต่อการแกป้ ัญหา ข้นั ตอนการแกป้ ัญหา การเขียน
รหสั ลาํ ลองและผงั งาน การเขยี นออกแบบและเขียนโปรแกรมอยา่ งงา่ ยท่ีมีการใชง้ านตวั แปร เงื่อนไข และการวนซ้าํ
เพ่อื แกป้ ัญหาทางคณิตศาสตร์หรือวิทยาศาสตร์การรวบรวมขอ้ มลู ปฐมภูมิ การประมวลผลขอ้ มูล การสร้างทางเลือก
และประเมินผลเพอื่ ตดั สินใจซอฟตแ์ วร์และบริการบนอินเทอร์เน็ตท่ีใชใ้ นการจดั การขอ้ มลู แนวทางการใชง้ าน
เทคโนโลยสี ารสนเทศใหป้ ลอดภยั การจดั การอตั ลกั ษณ์ การพจิ ารณาความเหมาะสมของเน้ือหา ขอ้ ตกลงและ
ขอ้ กาํ หนดการใชส้ ื่อและแหล่งขอ้ มูล

โดยนาํ แนวคิดเชิงนามธรรมและข้นั ตอนการแกป้ ัญหา ไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นการเขยี นโปรแกรม หรือการ
แกป้ ัญหาในชีวิตจริง รวบรวมขอ้ มูลและสร้างทางเลือก ในการตดั สินใจไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพและตระหนกั ถึงการใช้
งานเทคโนโลยสี ารสนเทศอยา่ งปลอดภยั เกิดประโยชนต์ ่อการเรียนรู้ และไมส่ ร้างความเสียหายใหแ้ ก่ผอู้ ่ืน

เพ่ือใหเ้ กิดความรู้ความเขา้ ใจ สามารถส่ือสารส่ิงที่เรียนรู้ มีความสามารถในการตดั สินใจ การออกแบบวธิ ีการ
แกป้ ัญหา การใช้ทกั ษะชีวิต การใช้เทคโนโลยี การนําความรู้ไปใช้ในชีวิตประจาํ วนั ไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง เหมาะสม และ
ปลอดภยั มีจิตวทิ ยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และคา่ นิยมที่เหมาะสม

ตัวชี้วัด
ว ๔.๒ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๓, ม.๑/๔

รวม ๔ ตวั ชี้วดั

๘๙

รายวชิ าเทคโนโลยีพื้นฐาน
คาํ อธิบายรายวชิ า
กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวิชา เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี)
รหสั วชิ า ว๒๒๑๐๒ ช้ันมธั ยมศึกษาปี ที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๑
จํานวน ๐.๕ หน่วยกติ เวลาเรียน ๑ ชั่วโมง/สัปดาห์ เวลา ๒๐ ช่ัวโมง/ภาคเรียน

ศึกษาแนวโน้มเทคโนโลยีที่จะเกิดข้ึนโดยพิจารณาจากสาเหตุหรือปัจจยั ต่างๆเช่นความกา้ วหน้าของศาสตร์
ตา่ งๆการเปล่ียนแปลงทางดา้ นเศรษฐกิจสังคมวฒั นธรรมทาํ ให้เทคโนโลยมี ีการเปล่ียนแปลงตลอดเวลาเทคโนโลยแี ต่
ละป ระเภท มี ผล กระท บ ต่ อชี วิตสั งคมแล ะสิ่ งแวดล้อมท่ี แตกต่างกันจึ งต้องวิเคราะห์เป รี ยบ เที ยบ ข้อดี ข้อเสี ยแล ะ
ตดั สินใจเลือกใช้ให้เหมาะสมระบุปัญหาหรือความต้องการในชุมชนหรือท้องถิ่นมีหลายอย่างข้ึนกับบริบทหรือ
สถานการณ์ท่ีประสบเช่นดา้ นพลงั งานสิ่งแวดลอ้ มการเกษตรการอาหารปัญหาจาํ เป็ นตอ้ งมีการวิเคราะห์สถานการณ์
ของปัญหาเพอื่ สรุปกรอบของปัญหาแลว้ ดาํ เนินการสืบคน้ รวบรวมขอ้ มูลความรู้จากศาสตร์ตา่ งๆที่เก่ียวขอ้ งเพ่ือนาํ ไปสู่
การออกแบบแนวทางการแกป้ ัญหา การออกแบบวิธีการแกป้ ัญหา

โดยวิเคราะห์เปรียบเทียบและตดั สินใจเลือกขอ้ มูลที่จาํ เป็ นภายใตเ้ งื่อนไขและทรัพยากรท่ีมีอยู่นาํ เสนอแนว
ทางการแก้ปัญหาให้ผูอ้ ื่นเข้าใจวางแผนข้ันตอนการทํางานและดําเนินการแก้ปัญหาอย่างเป็ นข้ันตอนทดสอบ
ประเมินผลและอธิบายปัญหาหรือขอ้ บกพร่องที่เกิดข้ึนภายใตก้ รอบเง่ือนไขพร้อมท้งั หาแนวทางการปรับปรุงแกไ้ ข
และนาํ เสนอผลการแกป้ ัญหาใช้ความรู้และทกั ษะเก่ียวกบั วสั ดุอุปกรณ์เครื่องมือกลไกไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์เพื่อ
แกป้ ัญหาหรือพฒั นางานไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ งเหมาะสมและปลอดภยั

เพอ่ื ใหเ้ กิดความรู้ความเขา้ ใจ สามารถส่ือสารส่ิงที่เรียนรู้ มีความสามารถในการตดั สินใจ การออกแบบวิธีการ
แกป้ ัญหา การใชท้ กั ษะชีวิต การใชเ้ ทคโนโลยี การนาํ ความรู้ไปใช้ในชีวิตประจาํ วนั ไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง เหมาะสม และ
ปลอดภยั มีจิตวทิ ยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และคา่ นิยมที่เหมาะสม

ตวั ชีว้ ดั
ว ๔.๑ ม.๒/๑, ม.๒/๒, ม.๒/๓, ม.๒/๔, ม.๒/๕

รวม ๕ ตวั ชี้วดั

๙๐

รายวชิ าเทคโนโลยพี ื้นฐาน
คําอธบิ ายรายวิชา
กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวิชา เทคโนโลยี(วิทยาการคํานวน)
รหสั วิชา ว๒๒๑๐๔ ช้ันมธั ยมศึกษาปี ท่ี ๒ ภาคเรียนท่ี ๒
จํานวน ๐.๕ หน่วยกติ เวลาเรียน ๑ ช่ัวโมง/สัปดาห์
เวลา ๒๐ ชั่วโมง/ภาคเรียน

ศึกษาแนวคิดเชิงคาํ นวณการแกป้ ัญหาโดยใชแ้ นวคดิ เชิงคาํ นวณ ตวั อยา่ งปัญหาเช่นการเขา้ แถวตามลาํ ดบั ความ
สูงให้เร็วท่ีสุด จดั เรียงเส้ือให้หาได้ง่ายท่ีสุด ตวั ดาํ เนินการบูลีนฟังก์ชันการออกแบบและเขียนโปรแกรมที่มีการใช้
ตรรกะและฟังก์ชันการออกแบบอัลกอริทึมเพื่อแก้ปัญหาอาจใช้แนวคิดเชิงคาํ นวณในการออกแบบเพ่ือให้การ
แกป้ ัญหามีประสิทธิภาพการแกป้ ัญหาอย่างเป็นข้นั ตอนจะช่วยให้แกป้ ัญหาไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพซอฟตแ์ วร์ท่ีใชใ้ น
การเขียนโปรแกรมองคป์ ระกอบและหลกั การทาํ งานของระบบคอมพิวเตอร์เทคโนโลยีการสื่อสารการประยกุ ตใ์ ชง้ าน
และการแกป้ ัญหาเบ้ืองตน้ ใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศอยา่ งปลอดภยั

โดยเลือกแนวทางปฏิบตั ิเมื่อพบเน้ือหาท่ีไม่เหมาะสมเช่นแจง้ รายงานผเู้ กี่ยวขอ้ งป้องกนั การเขา้ มาของขอ้ มูลท่ี
ไม่เหมาะสมไม่ตอบโตไ้ ม่เผยแพร่การใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบเช่นตระหนกั ถึงผลกระทบใน
การเผยแพร่ขอ้ มลู การสร้างและแสดงสิทธิความเป็นเจา้ ของผลงานการกาํ หนดสิทธิการใชข้ อ้ มลู

เพื่อให้เกิดความตระหนกั ความรู้ ความคิด ความเขา้ ใจ สามารถส่ือสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการ
ตดั สินใจ การออกแบบวิธีการแกป้ ัญหา การใชท้ กั ษะชีวิต การใชเ้ ทคโนโลยี การนาํ ความรู้ไปใชใ้ นชีวิตประจาํ วนั ได้
อยา่ งถูกตอ้ ง เหมาะสม และปลอดภยั มีจิตวทิ ยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และค่านิยมท่ีเหมาะสม

ตวั ชี้วัด
ว ๔.๒ ม.๒/๑, ม.๒/๒, ม.๒/๓, ม.๒/๔

รวม ๔ ตวั ชี้วัด

๙๑

รายวิชาเทคโนโลยีพื้นฐาน
คําอธิบายรายวิชา
กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวชิ า เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี)
รหัสวิชา ว๒๓๑๐๒ ช้ันมัธยมศึกษาปี ท่ี ๓ ภาคเรียนท่ี ๑
จาํ นวน ๐.๕ หน่วยกติ เวลาเรียน ๑ ช่ัวโมง/สัปดาห์ เวลา ๒๐ ชั่วโมง/ภาคเรียน
ศึกษาเทคโนโลยมี ีการเปล่ียนแปลงตลอดเวลาต้งั แต่อดีตจนถึงปัจจุบนั ซ่ึงมีสาเหตุหรือปัจจยั มาจากหลายดา้ น
เช่นปัญหาหรือความตอ้ งการของมนุษยค์ วามก้าวหน้าของศาสตร์ต่างๆการเปล่ียนแปลงทางด้านเศรษฐกิจสังคม

วฒั นธรรมส่ิงแวดลอ้ มเทคโนโลยีมีความสัมพันธ์กับศาสตร์อื่นโดยเฉพาะวิทยาศาสตร์โดยวิทยาศาสตร์เป็ นพ้ืน
ฐานความรู้ท่ีนาํ ไปสู่การพฒั นาเทคโนโลยีและเทคโนโลยีที่ไดส้ ามารถเป็ นเคร่ืองมือท่ีใชใ้ นการศึกษาคน้ ควา้ เพื่อให้

ไดม้ าซ่ึงองคค์ วามรู้ใหม่ระบปุ ัญหาหรือความตอ้ งการของชุมชนหรือทอ้ งถ่ินเพื่อพฒั นางานอาชีพสรุปกรอบของปัญหา
รวบรวมวิเคราะห์ขอ้ มูลและแนวคิดท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั ปัญหา

โดยคาํ นึงถึงความถูกตอ้ งดา้ นทรัพยส์ ินทางปัญญาออกแบบวธิ ีการแกป้ ัญหาโดยวเิ คราะห์เปรียบเทียบและ

ตดั สินใจเลือกขอ้ มลู ท่ีจาํ เป็นภายใตเ้ งื่อนไขและทรัพยากรท่ีมีอยนู่ าํ เสนอแนวทางการแกป้ ัญหาใหผ้ อู้ ื่นเขา้ ใจดว้ ย

เทคนิคหรือวธิ ีการท่ีหลากหลายวางแผนข้นั ตอนการทาํ งานและดาํ เนินการแกป้ ัญหาอยา่ งเป็นข้นั ตอน
เพอื่ ใหเ้ กิดความตระหนกั ความรู้ ความคดิ ความเขา้ ใจ สามารถส่ือสาร พฒั นา สิ่งที่เรียนรู้ใหม้ ีความสามารถ
ในการตดั สินใจ การแกป้ ัญหา การใชท้ กั ษะชีวิต การใชเ้ ทคโนโลยี การนาํ ความรู้ไปใชใ้ นชีวติ ประจาํ วนั

มีจิตวทิ ยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และค่านิยมที่เหมาะสม

ตวั ชี้วัด
ว ๔.๑ ม.๓/๑, ม.๓/๒, ม.๓/๓, ม.๒/๔, ม.๒/๕

รวม ๕ ตวั ชีว้ ัด

๙๒

รายวิชาเทคโนโลยีพื้นฐาน
คาํ อธิบายรายวชิ า
กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวิชา เทคโนโลยี(วิทยาการคาํ นวน)
รหัสวิชา ว๒๓๑๐๔ ช้ันมธั ยมศึกษาปี ที่ ๓ ภาคเรียนท่ี ๒
จํานวน ๐.๕ หน่วยกติ เวลาเรียน ๑ ชั่วโมง/สัปดาห์
เวลา ๒๐ ชั่วโมง/ภาคเรียน

ศึกษาข้นั ตอนการพฒั นาแอปพลิเคชนั Internet of Things (IoT) ซอฟตแ์ วร์ท่ีใชใ้ นการพฒั นาแอปพลิเคชนั ที่มี
การบูรณาการกบั วิชาอื่นอย่างสร้างสรรค์การรวบรวมขอ้ มูลจากแหล่งขอ้ มูลปฐมภูมิและทุติยภูมิประมวลผลสร้าง
ทางเลือกประเมินผลจะทาํ ให้ได้สารสนเทศเพ่ือใช้ในการแก้ปัญหาหรือการตัดสินใจได้อย่างมีประสิทธิภาพการ
ประมวลผลเป็ นการกระทาํ กับขอ้ มูลเพื่อให้ได้ผลลพั ธ์ที่มีความหมายและมีประโยชน์ต่อการนําไปใช้งานการใช้
ซอฟตแ์ วร์หรือบริการบนอินเทอร์เน็ตที่หลากหลายในการรวบรวมประมวลผลสร้างทางเลือกประเมินผลนาํ เสนอจะ
ช่วยให้แก้ปัญหาได้อย่างรวดเร็วถูกต้องและแม่นยาํ ตวั อย่างปัญหาเช่นการเลือกโปรโมชันโทรศัพท์ให้เหมาะกับ
พฤติกรรม การใชง้ านสินคา้ เกษตรท่ีตอ้ งการและสามารถปลูกไดใ้ นสภาพดินของทอ้ งถิ่นประเมินความน่าเช่ือถือของ
ขอ้ มูลวิเคราะห์สื่อและผลกระทบจากการให้ข่าวสารท่ีผิดเพื่อการใชง้ านอยา่ งรู้เท่าทนั ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอยา่ ง
ปลอดภยั และมีความรับผิดชอบต่อสังคมปฏิบตั ิตามกฎหมายเก่ียวกบั คอมพวิ เตอร์ใชล้ ิขสิทธ์ิของผอู้ ื่นโดยชอบธรรม

โดยใช้กระบวนการอธิบาย เปรียบเทียบ อภิปราย การสืบเสาะหาความรู้ การสืบค้นและรวบรวมข้อมูล
การสํารวจตรวจสอบ การออกแบบ การเขียนแผนภาพและกราฟ การคํานวณ การใช้ทักษะกระบวนการทาง
วทิ ยาศาสตร์และทกั ษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21

เพ่ือใหเ้ กิดความตระหนกั ความรู้ ความคิด ความเขา้ ใจ สามารถสื่อสาร พฒั นา ส่ิงที่เรียนรู้ ใหม้ ีความสามารถ
ในการตดั สินใจ การแกป้ ัญหา การใชท้ กั ษะชีวติ การใชเ้ ทคโนโลยี การนาํ ความรู้ไปใชใ้ นชีวติ ประจาํ วนั
มีจิตวทิ ยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และค่านิยมที่เหมาะสม

ตวั ชี้วดั
ว ๔.๒ ม.๓/๑, ม.๓/๒, ม.๓/๓, ม.๓/๔

รวม ๔ ตัวชี้วดั

๙๓

กล่มุ สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม

ทาํ ไมต้องเรียนสังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม

สังคมโลกมีการเปล่ียนแปลงอยา่ งรวดเร็วตลอดเวลา กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม
ช่วยให้ผูเ้ รียนมีความรู้ ความเขา้ ใจ ว่ามนุษยด์ าํ รงชีวิตอย่างไร ท้งั ในฐานะปัจเจกบุคคล และการอยู่ร่วมกนั ในสังคม
การปรับตวั ตามสภาพแวดลอ้ ม การจดั การทรัพยากรท่ีมีอยอู่ ย่างจาํ กดั นอกจากน้ี ยงั ช่วยให้ผูเ้ รียนเขา้ ใจถึงการพฒั นา
เปลี่ยนแปลงตามยคุ สมยั กาลเวลา ตามเหตุปัจจยั ต่างๆ ทาํ ใหเ้ กิดความเขา้ ใจในตนเอง และผูอ้ ื่น มีความอดทน อดกล้นั
ยอมรับในความแตกต่าง และมีคุณธรรม สามารถนาํ ความรู้ไปปรับใช้ในการดาํ เนินชีวิต เป็นพลเมืองดีของประเทศชาติ
และสงั คมโลก

เรียนรู้อะไรในสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรมวา่ ดว้ ยการอยรู่ ่วมกนั ในสงั คม ท่ีมีความเชื่อมสัมพนั ธ์
กนั และมีความแตกต่างกนั อย่างหลากหลาย เพื่อช่วยให้สามารถปรับตนเองกบั บริบทสภาพแวดลอ้ ม เป็นพลเมืองดี มี
ความรับผดิ ชอบ มีความรู้ ทกั ษะ คุณธรรม และคา่ นิยมท่ีเหมาะสม โดยไดก้ าํ หนดสาระตา่ งๆไว้ ดงั น้ี

• ศาสนา ศีลธรรมและจริยธรรม แนวคิดพ้ืนฐานเกี่ยวกับศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม หลักธรรมของ
พระพุทธศาสนาหรือศาสนาท่ีตนนบั ถือ การนาํ หลกั ธรรมคาํ สอนไปปฏิบตั ิในการพฒั นาตนเอง และการอยู่ร่วมกัน
อย่างสันติสุข เป็ นผูก้ ระทาํ ความดี มีค่านิยมที่ดีงาม พฒั นาตนเองอยู่เสมอ รวมท้ังบาํ เพ็ญประโยชน์ต่อสังคมและ
ส่วนรวม

• หน้าท่ีพลเมือง วฒั นธรรม และการดําเนินชีวิต ระบบการเมืองการปกครองในสังคมปัจจุบนั การปกครอง
ระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษตั ริยท์ รงเป็นประมุข ลกั ษณะและความสาํ คญั การเป็นพลเมืองดี ความแตกต่าง
และความหลากหลายทางวฒั นธรรม คา่ นิยม ความเชื่อ ปลกู ฝังค่านิยมดา้ นประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษตั ริยท์ รงเป็น
ประมุข สิทธิ หนา้ ท่ี เสรีภาพการดาํ เนินชีวิตอยา่ งสนั ติสุขในสังคมไทยและสังคมโลก

• เศรษฐศาสตร์ การผลิต การแจกจ่าย และการบริโภคสินคา้ และบริการ การบริหารจดั การทรัพยากรที่มีอยู่
อยา่ งจาํ กดั อยา่ งมีประสิทธิภาพ การดาํ รงชีวติ อยา่ งมีดุลยภาพ และการนาํ หลกั เศรษฐกิจพอเพียงไปใชใ้ นชีวติ ประจาํ วนั

• ประวัติศาสตร์ เวลาและยคุ สมยั ทางประวตั ิศาสตร์ วิธีการทางประวตั ิศาสตร์ พฒั นาการของมนุษยชาติจาก
อดีตถึงปัจจุบนั ความสมั พนั ธ์และเปล่ียนแปลงของเหตุการณ์ต่างๆ ผลกระทบที่เกิดจากเหตกุ ารณ์สาํ คญั ในอดีต บุคคล
สําคญั ท่ีมีอิทธิพลต่อการเปล่ียนแปลงต่างๆในอดีต ความเป็ นมาของชาติไทย วฒั นธรรมและภูมิปัญญาไทย แหล่ง
อารยธรรมท่ีสาํ คญั ของโลก

• ภูมิศาสตร์ ลกั ษณะของโลกทางกายภาพ ลักษณะทางกายภาพ แหล่งทรัพยากร และภูมิอากาศของ
ประเทศไทย และภูมิภาคต่างๆ ของโลก การใช้แผนท่ีและเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ ความสัมพนั ธ์กนั ของสิ่งต่างๆ ใน

๙๔

ระบบธรรมชาติ ความสัมพนั ธ์ของมนุษยก์ บั สภาพแวดลอ้ มทางธรรมชาติ และสิ่งที่มนุษยส์ ร้างข้ึน การนาํ เสนอขอ้ มูล
ภมู ิสารสนเทศ การอนุรักษส์ ิ่งแวดลอ้ มเพ่ือการพฒั นาท่ียง่ั ยนื

สาระและมาตรฐานการเรียนรู้

สาระที่ ๑ ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม
มาตรฐาน ส ๑.๑ รู้ และเขา้ ใจประวตั ิ ความสาํ คญั ศาสดา หลกั ธรรมของพระพทุ ธศาสนาหรือ ศาสนาที่ตนนบั ถือ

และศาสนาอื่น มีศรัทธาที่ถกู ตอ้ ง ยดึ มนั่ และปฏิบตั ิตามหลกั ธรรม เพอ่ื อยรู่ ่วมกนั อยา่ งสันติสุข
มาตรฐาน ส ๑.๒ เขา้ ใจ ตระหนกั และปฏิบตั ิตนเป็นศาสนิกชนท่ีดี และธาํ รงรักษาพระพทุ ธศาสนาหรือศาสนา

ท่ีตนนบั ถือ

สาระท่ี ๒ หน้าท่ีพลเมือง วฒั นธรรม และการดาํ เนินชีวิตในสังคม
มาตรฐาน ส ๒.๑ เขา้ ใจและปฏิบตั ิตนตามหนา้ ที่ของการเป็นพลเมืองดี มีคา่ นิยมที่ดีงาม และธาํ รงรักษาประเพณี

และวฒั นธรรมไทย ดาํ รงชีวติ อยรู่ ่วมกนั ในสังคมไทย และ สังคมโลกอยา่ งสันติสุข
มาตรฐาน ส ๒.๒ เขา้ ใจระบบการเมืองการปกครองในสงั คมปัจจุบนั ยดึ มนั่ ศรัทธา และธาํ รงรักษาไวซ้ ่ึง

การปกครองระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษตั ริยท์ รงเป็นประมุข

สาระท่ี ๓ เศรษฐศาสตร์
มาตรฐาน ส.๓.๑ เขา้ ใจและสามารถบริหารจดั การทรัพยากรในการผลิตและการบริโภคการใช้ ทรัพยากรท่ีมีอยู่

จาํ กดั ไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพและคมุ้ คา่ รวมท้งั เขา้ ใจหลกั การของเศรษฐกิจพอเพยี ง เพื่อการ
ดาํ รงชีวติ อยา่ งมีดุลยภาพ
มาตรฐาน ส.๓.๒ เขา้ ใจระบบ และสถาบนั ทางเศรษฐกิจตา่ ง ๆ ความสมั พนั ธ์ทางเศรษฐกิจ และความจาํ เป็น
ของการร่วมมือกนั ทางเศรษฐกิจในสังคมโลก

สาระที่ ๔ ประวตั ศิ าสตร์
มาตรฐาน ส ๔.๑ เขา้ ใจความหมาย ความสาํ คญั ของเวลาและยคุ สมยั ทางประวตั ิศาสตร์ สามารถใชว้ ธิ ีการทาง

ประวตั ิศาสตร์มาวเิ คราะห์เหตกุ ารณ์ตา่ งๆ อยา่ งเป็นระบบ
มาตรฐาน ส ๔.๒ เขา้ ใจพฒั นาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบนั ในดา้ นความสัมพนั ธ์และการเปลี่ยนแปลง

ของเหตุการณ์อยา่ งต่อเน่ือง ตระหนกั ถึงความสาํ คญั และสามารถ วิเคราะหผ์ ลกระทบท่ีเกิดข้นึ
มาตรฐาน ส ๔.๓ เขา้ ใจความเป็นมาของชาติไทย วฒั นธรรม ภมู ิปัญญาไทย มีความรัก ความภมู ิใจและธาํ รงความ

เป็ นไทย

๙๕

สาระท่ี ๕ ภูมิศาสตร์
มาตรฐาน ส ๕.๑ เขา้ ใจลกั ษณะของโลกทางกายภาพ และความสมั พนั ธ์ของสรรพสิ่งซ่ึงมีผลตอ่ กนั และกนั ในระบบ

ของธรรมชาติ ใชแ้ ผนที่และเครื่องมือทางภมู ิศาสตร์ ในการคน้ หาวิเคราะห์ สรุป และใชข้ อ้ มูล
ภูมิสารสนเทศอยา่ งมีประสิทธิภาพ
มาตรฐาน ส ๕.๒ เขา้ ใจปฏิสมั พนั ธร์ ะหวา่ งมนุษยก์ บั สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพท่ีก่อใหเ้ กิดการสร้างสรรค์
วฒั นธรรม มีจิตสาํ นึก และมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ ทรัพยากรและสิ่งแวดลอ้ ม เพือ่ การพฒั นา
ทียงั่ ยนื

คณุ ภาพผ้เู รียน

จบช้ันประถมศึกษาปี ที่ ๓

• ไดเ้ รียนรู้เร่ืองเก่ียวกบั ตนเองและผทู้ ี่อยรู่ อบขา้ ง ตลอดจนสภาพแวดลอ้ มในทอ้ งถิ่น ท่ีอยอู่ าศยั และ
เชื่อมโยงประสบการณ์ไปสู่โลกกวา้ ง

• ผเู้ รียนไดร้ ับการพฒั นาใหม้ ีทกั ษะกระบวนการ และมีขอ้ มูลท่ีจาํ เป็นต่อการพฒั นาใหเ้ ป็น ผมู้ ีคุณธรรม
จริยธรรม ประพฤติปฏิบตั ิตามหลกั คาํ สอนของศาสนาท่ีตนนบั ถือ มีความเป็นพลเมืองดี มีความรับผิดชอบ การอยู่
ร่วมกนั และการทาํ งานกบั ผูอ้ ื่น มีส่วนร่วมในกิจกรรมของหอ้ งเรียน และไดฝ้ ึกหดั ในการตดั สินใจ

• ไดศ้ ึกษาเรื่องราวเกี่ยวกบั ตนเอง ครอบครัว โรงเรียน และชุมชนในลกั ษณะการบูรณาการ ผเู้ รียนไดเ้ ขา้ ใจ
แนวคิดเกี่ยวกบั ปัจจุบนั และอดีต มีความรู้พ้นื ฐานทางเศรษฐกิจไดข้ อ้ คิดเก่ียวกบั รายรับ-รายจ่ายของครอบครัว เขา้ ใจ
ถึงการเป็นผผู้ ลิต ผบู้ ริโภค รู้จกั การออมข้นั ตน้ และวธิ ีการเศรษฐกิจพอเพยี ง

• ไดร้ ับการพฒั นาแนวคิดพ้นื ฐานเกี่ยวกบั ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม หนา้ ท่ีพลเมือง เศรษฐศาสตร์
ประวตั ิศาสตร์ และภมู ิปัญญา เพื่อเป็นพ้นื ฐานในการทาํ ความเขา้ ใจในข้นั ที่สูงต่อไป

• มีความรู้เก่ียวกบั ลกั ษณะทางกายภาพของสิ่งตา่ ง ๆ ที่อยรู่ อบตวั และชุมชน และสามารถปรับตวั เทา่ ทนั

การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ และมีส่วนร่วมในการจดั การทรัพยากรและส่ิงแวดลอ้ มใกลต้ วั

จบช้ันประถมศึกษาปี ที่ ๖

• ไดเ้ รียนรู้เรื่องของจงั หวดั ภาค และประทศของตนเอง ท้งั เชิงประวตั ิศาสตร์ ลกั ษณะทางกายภาพ สงั คม
ประเพณี และวฒั นธรรม รวมท้งั การเมืองการปกครอง สภาพเศรษฐกิจโดยเนน้ ความเป็นประเทศไทย

• ไดร้ ับการพฒั นาความรู้และความเขา้ ใจ ในเรื่องศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม ปฏิบตั ิตนตามหลกั คาํ สอนของ
ศาสนาท่ีตนนบั ถือ รวมท้งั มีส่วนร่วมศาสนพธิ ี และพิธีกรรมทางศาสนามากยง่ิ ข้นึ

• ไดศ้ ึกษาและปฏิบตั ิตนตามสถานภาพ บทบาท สิทธิหนา้ ท่ีในฐานะพลเมืองดีของทอ้ งถ่ิน จงั หวดั ภาค
และประเทศ รวมท้งั ไดม้ ีส่วนร่วมในกิจกรรมตามขนบธรรมเนียมประเพณี วฒั นธรรม ของทอ้ งถ่ินตนเองมากยง่ิ ข้นึ

๙๖

• ไดศ้ ึกษาเปรียบเทียบเรื่องราวของจงั หวดั และภาคต่างๆของประเทศไทยกบั ประเทศเพ่ือนบา้ น ไดร้ ับการ
พฒั นาแนวคดิ ทางสงั คมศาสตร์ เกี่ยวกบั ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม หนา้ ที่พลเมือง เศรษฐศาสตร์ ประวตั ิศาสตร์ และ
ภูมิศาสตร์เพ่ือขยายประสบการณ์ไปสู่การทาํ ความเขา้ ใจ ในภูมิภาค ซีกโลกตะวนั ออกและตะวนั ตกเก่ียวกบั ศาสนา
คณุ ธรรม จริยธรรม คา่ นิยมความเชื่อ ขนบธรรมเนียม ประเพณี วฒั นธรรม การดาํ เนินชีวิต การจดั ระเบียบทางสงั คม
และการเปลี่ยนแปลงทางสังคมจากอดีตสู่ปัจจุบนั

• มีความรู้เกี่ยวกบั ลกั ษณะทางกายภาพ ภยั พบิ ตั ิ ลกั ษณะกิจกรรมทางเศรษฐกิจและสงั คมในจงั หวดั
ภาค และประเทศไทย สามารถเตรียมรับมือกบั การเปล่ียนแปลงทางกายภาพกบั ภยั พิบตั ิต่าง ๆ ในประเทศไทย
และหาแนวทางในการจดั การทรัพยากรและสิ่งแวดลอ้ ม

จบช้ันมัธยมศึกษาปี ที่ ๓

• ไดเ้ รียนรู้และศึกษาเก่ียวกบั ความเป็นไปของโลก โดยการศึกษาประเทศไทยเปรียบเทียบ กบั ประเทศใน
ภูมิภาคตา่ งๆในโลก เพื่อพฒั นาแนวคิด เรื่องการอยรู่ ่วมกนั อยา่ งสันติสุข

• ไดเ้ รียนรู้และพฒั นาใหม้ ีทกั ษะท่ีจาํ เป็นต่อการเป็นนกั คิดอยา่ งมีวจิ ารณญาณไดร้ ับการพฒั นาแนวคดิ และ
ขยายประสบการณ์ เปรียบเทียบระหวา่ งประเทศไทยกบั ประเทศในภมู ิภาคต่าง ๆ ในโลก ไดแ้ ก่ เอเชีย โอเชียเนีย
แอฟริกา ยโุ รป อเมริกาเหนือ อเมริกาใต้ ในดา้ นศาสนา คุณธรรม จริยธรรม คา่ นิยม ความเชื่อ ขนบธรรมเนียม
ประเพณี วฒั นธรรม การเมืองการปกครอง ประวตั ิศาสตร์และภูมิศาสตร์ ดว้ ยวิธีการทางประวตั ิศาสตร์ และ
สงั คมศาสตร์

• ไดร้ ับการพฒั นาแนวคดิ และวิเคราะห์เหตกุ ารณ์ในอนาคต สามารถนาํ มาใชเ้ ป็นประโยชน์ ในการดาํ เนิน
ชีวติ และวางแผนการดาํ เนินงานไดอ้ ยา่ งเหมาะสม

• มีความรู้เกี่ยวกบั ลกั ษณะทางกายภาพ ภยั พิบตั ิ ลกั ษณะกิจกรรมทางเศรษฐกิจและสงั คม ในภูมิภาคต่าง ๆ
ของโลก ความร่วมมือดา้ นทรัพยากรและสิ่งแวดลอ้ มระหวา่ งประเทศ เพ่ือเตรียมรับมือภยั พบิ ตั ิและการจดั การ
ทรัพยากรและส่ิงแวดลอ้ มท่ียงั่ ยนื

จบช้ันมธั ยมศึกษาปี ท่ี ๖

• ไดเ้ รียนรู้และศึกษาความเป็นไปของโลกอยา่ งกวา้ งขวางและลึกซ้ึงยง่ิ ข้นึ
• ไดร้ ับการส่งเสริมสนบั สนุนให้พฒั นาตนเองเป็นพลเมืองท่ีดี มีคุณธรรม จริยธรรม ปฏิบตั ิตามหลกั ธรรม
ของศาสนาที่ตนนับถือ รวมท้งั มีค่านิยมอนั พึงประสงค์ สามารถอยู่ร่วมกบั ผูอ้ ่ืนและอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข
รวมท้งั มีศกั ยภาพเพ่อื การศึกษาต่อในช้นั สูงตามความประสงคไ์ ด้
• ไดเ้ รียนรู้เรื่องภูมิปัญญาไทย ความภูมิใจในความเป็ นไทย ประวตั ิศาสตร์ของชาติไทย ยึดมนั่ ในวิถีชีวิต
และการปกครองระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษตั ริยท์ รงเป็นประมขุ

๙๗

• ได้รับการส่ งเสริ มให้มีนิ สัยที่ดีในการบริ โภค เลือกและตัดสิ นใจบริ โภคได้อย่างเหมาะสม
มีจิตสาํ นึก และมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ ประเพณีวฒั นธรรมไทย และส่ิงแวดลอ้ ม มีความรักทอ้ งถิ่นและประเทศชาติ
มุ่งทาํ ประโยชน์ และสร้างส่ิงที่ดีงามใหก้ บั สังคม

• เป็ นผูม้ ีความรู้ความสามารถในการจดั การเรียนรู้ของตนเอง ช้ีนาํ ตนเองได้ และสามารถแสวงหาความรู้
จากแหลง่ การเรียนรู้ตา่ งๆในสังคมไดต้ ลอดชีวติ

• มีความรู้เก่ียวกบั การเปล่ียนแปลงทางกายภาพ ปัญหาทางกายภาพและภยั พบิ ตั ิ ซ่ึงไดร้ ับอิทธิพล
จากปัจจยั ทางภูมิศาสตร์ ปฏิสมั พนั ธ์ระหวา่ งสิ่งแวดลอ้ มทางกายภาพกบั การสร้างสรรคว์ ิถีการดาํ เนินชีวิต
ความร่วมมือดา้ นทรัพยากรและส่ิงแวดลอ้ มในประเทศและระหวา่ งประเทศ เพอื่ เตรียมรับมือการเปลี่ยนแปลง
ของโลก และการจดั การทรัพยากรและส่ิงแวดลอ้ มเพ่ือการพฒั นาท่ียง่ั ยนื


Click to View FlipBook Version