๑๔๘
กล่มุ สาระการเรียนรู้ศิลปะ
ทาํ ไมต้องเรียนศิลปะ
กลมุ่ สาระการเรียนรู้ศิลปะเป็นกลมุ่ สาระที่ช่วยพฒั นาใหผ้ เู้ รียนมีความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ มีจินตนาการทาง
ศิลปะ ชื่นชมความงาม มีสุนทรียภาพ ความมีคุณค่า ซ่ึงมีผลต่อคณุ ภาพชีวิตมนุษย์ กิจกรรมทางศิลปะช่วยพฒั นา
ผเู้ รียนท้งั ดา้ นร่างกาย จิตใจ สติปัญญา อารมณ์ สังคม ตลอดจน การนาํ ไปสู่การพฒั นาส่ิงแวดลอ้ ม ส่งเสริมใหผ้ เู้ รียนมี
ความเช่ือมน่ั ในตนเอง อนั เป็นพ้ืนฐานในการศึกษาต่อหรือประกอบอาชีพได้
เรียนรู้อะไรในศิลปะ
กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะมุ่งพฒั นาใหผ้ เู้ รียนเกิดความรู้ความเขา้ ใจ มีทกั ษะวิธีการทางศิลปะ เกิดความซาบซ้ึง
ในคุณค่าของศิลปะ เปิ ดโอกาสใหผ้ เู้ รียนแสดงออกอยา่ งอิสระในศิลปะแขนงตา่ ง ๆ ประกอบดว้ ยสาระสาํ คญั คอื
• ทศั นศิลป์ มีความรู้ความเขา้ ใจองคป์ ระกอบศิลป์ ทศั นธาตุ สร้างและนาํ เสนอผลงานทางทศั นศิลป์ จาก
จินตนาการ โดยสามารถใชอ้ ุปกรณ์ที่เหมาะสม รวมท้งั สามารถใชเ้ ทคนิค วิธีการของศิลปิ นในการสร้างงานไดอ้ ยา่ งมี
ประสิทธิภาพ วิเคราะห์ วิพากษ์ วจิ ารณ์คณุ คา่ งานทศั นศิลป์ เขา้ ใจความสมั พนั ธ์ระหวา่ งทศั นศิลป์ ประวตั ิศาสตร์
และวฒั นธรรม เห็นคุณค่างานศิลปะท่ีเป็นมรดกทางวฒั นธรรม ภูมิปัญญาทอ้ งถิ่น ภูมิปัญญาไทยและสากล ช่ืนชม
ประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวิตประจาํ วนั
• ดนตรี มีความรู้ความเขา้ ใจองคป์ ระกอบดนตรีแสดงออกทางดนตรีอยา่ งสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วพิ ากษ์
วจิ ารณ์คุณคา่ ดนตรี ถ่ายทอดความรู้สึก ทางดนตรีอยา่ งอิสระ ช่ืนชมและประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวิตประจาํ วนั เขา้ ใจ
ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งดนตรี ประวตั ิศาสตร์ และวฒั นธรรม เห็นคณุ คา่ ดนตรี ที่เป็นมรดกทางวฒั นธรรม ภูมิปัญญา
ทอ้ งถิ่น ภูมิปัญญาไทย และสากล ร้องเพลง และเลน่ ดนตรี ในรูปแบบต่าง ๆ แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกบั เสียงดนตรี
แสดงความรู้สึกท่ีมีต่อดนตรีในเชิงสุนทรียะ เขา้ ใจความสัมพนั ธ์ระหวา่ งดนตรีกบั ประเพณีวฒั นธรรม และเหตุการณ์
ในประวตั ิศาสตร์
• นาฏศิลป์ มีความรู้ความเขา้ ใจองค์ประกอบนาฏศิลป์ แสดงออกทางนาฏศิลป์ อย่างสร้างสรรค์ ใช้ศพั ท์
เบ้ืองตน้ ทางนาฏศิลป์ วิเคราะห์วิพากษ์ วิจารณ์คุณคา่ นาฏศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดอยา่ งอิสระ สร้างสรรคก์ าร
เคลื่อนไหวในรูปแบบต่าง ๆ ประยุกต์ใช้นาฏศิลป์ ในชีวิตประจาํ วนั เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างนาฏศิลป์ กับ
ประวตั ิศาสตร์ วฒั นธรรม เห็นคุณค่า ของนาฏศิลป์ ท่ีเป็นมรดกทางวฒั นธรรม ภูมิปัญญาทอ้ งถิ่น ภูมิปัญญาไทย และ
สากล
๑๔๙
สาระและมาตรฐานการเรียนรู้
สาระที่ ๑ ทัศนศิลป์
มาตรฐาน ศ ๑.๑ สร้างสรรคง์ านทศั นศิลป์ ตามจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์คณุ ค่า
งานทศั นศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่องานศิลปะอยา่ งอิสระ ชื่นชม และประยกุ ตใ์ ช้
ในชีวติ ประจาํ วนั
มาตรฐาน ศ ๑.๒ เขา้ ใจความสมั พนั ธ์ระหวา่ งทศั นศิลป์ ประวตั ิศาสตร์ และวฒั นธรรม เห็นคุณค่า งานทศั นศิลป์
ที่เป็นมรดกทางวฒั นธรรม ภมู ิปัญญาทอ้ งถิ่น ภมู ิปัญญาไทย และสากล
สาระท่ี ๒ ดนตรี
มาตรฐาน ศ ๒.๑ เขา้ ใจและแสดงออกทางดนตรีอยา่ งสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษว์ ิจารณ์คณุ คา่ ดนตรี ถา่ ยทอด
ความรู้สึก ความคิดต่อดนตรีอยา่ งอิสระ ช่ืนชม และประยุกตใ์ ชใ้ นชีวติ ประจาํ วนั
มาตรฐาน ศ ๒.๒ เขา้ ใจความสัมพนั ธ์ระหวา่ งดนตรี ประวตั ิศาสตร์ และวฒั นธรรม เห็นคุณค่าของดนตรีที่ เป็นมรดก
ทางวฒั นธรรม ภูมิปัญญาทอ้ งถิ่น ภูมิปัญญาไทย และสากล
สาระที่ ๓ นาฏศิลป์
มาตรฐาน ศ ๓.๑ เขา้ ใจ และแสดงออกทางนาฏศิลป์ อยา่ งสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษว์ ิจารณ์คณุ ค่านาฏศิลป์
ถ่ายทอดความรู้สึก ความคดิ อยา่ งอิสระ ช่ืนชม และประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวติ ประจาํ วนั
มาตรฐาน ศ ๓.๒ เขา้ ใจความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งนาฏศิลป์ ประวตั ิศาสตร์และวฒั นธรรม เห็นคณุ คา่ ของนาฏศิลป์
ท่ีเป็น มรดกทางวฒั นธรรม ภมู ิปัญญาทอ้ งถ่ิน ภูมิปัญญาไทย และสากล
๑๕๐
คณุ ภาพผ้เู รียน
จบช้ันประถมศึกษาปี ท่ี ๓
• รู้และเขา้ ใจเก่ียวกบั รูปร่าง รูปทรง และจาํ แนกทศั นธาตขุ องส่ิงต่าง ๆ ในธรรมชาติส่ิงแวดลอ้ มและงาน
ทศั นศิลป์ มีทกั ษะพ้นื ฐานการใชว้ สั ดุอปุ กรณ์ในการสร้างงานวาดภาพระบายสี โดยใชเ้ สน้ รูปร่าง รูปทรง สี และพ้นื ผวิ
ภาพปะติด และงานป้ัน งานโครงสร้างเคลื่อนไหวอยา่ งง่าย ๆ ถา่ ยทอดความคดิ ความรู้สึกจากเรื่องราว เหตุการณ์ ชีวิต
จริง สร้างงานทศั นศิลป์ ตามท่ีตนช่ืนชอบ สามารถแสดงเหตผุ ลและวธิ ีการในการปรับปรุงงานของตนเอง
• รู้และเขา้ ใจความสาํ คญั ของงานทศั นศิลป์ ในชีวติ ประจาํ วนั ที่มาของงานทศั นศิลป์ ในทอ้ งถ่ิน ตลอดจน
การใชว้ สั ดุ อุปกรณ์ และวธิ ีการสร้างงานทศั นศิลป์ ในทอ้ งถ่ิน
• รู้และเขา้ ใจแหล่งกาํ เนิดเสียง คณุ สมบตั ิของเสียง บทบาทหนา้ ท่ี ความหมาย ความสาํ คญั ของบทเพลงใกล้
ตวั ที่ไดย้ นิ สามารถท่องบทกลอน ร้องเพลง เคาะจงั หวะ เคล่ือนไหวร่างกายใหส้ อดคลอ้ งกบั บทเพลง อา่ น เขยี น และ
ใชส้ ัญลกั ษณ์แทนเสียงและเคาะจงั หวะ แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกบั ดนตรี เสียงขบั ร้องของตนเอง มีส่วนร่วมกบั
กิจกรรมดนตรีในชีวิตประจาํ วนั
• รู้และเขา้ ใจเอกลกั ษณ์ของดนตรีในทอ้ งถ่ิน มีความช่ืนชอบ เห็นความสาํ คญั และประโยชน์ของดนตรีตอ่
การดาํ เนินชีวิตของคนในทอ้ งถ่ิน
• สร้างสรรคก์ ารเคล่ือนไหวในรูปแบบตา่ ง ๆ สามารถแสดงท่าทางประกอบจงั หวะเพลง ตามรูปแบบ
นาฏศิลป์ มีมารยาทในการชมการแสดง รู้หนา้ ท่ีของผแู้ สดงและผชู้ ม รู้ประโยชนข์ องการแสดงนาฏศิลป์ ใน
ชีวติ ประจาํ วนั เขา้ ร่วมกิจกรรมการแสดงท่ีเหมาะสมกบั วยั
• รู้และเขา้ ใจการละเลน่ ของเด็กไทยและนาฏศิลป์ ทอ้ งถ่ิน ช่ืนชอบและภาคภูมิใจ ในการละเลน่ พ้นื บา้ น
สามารถเช่ือมโยงส่ิงท่ีพบเห็นในการละเล่นพ้นื บา้ นกบั การดาํ รงชีวติ ของคนไทย บอกลกั ษณะเด่นและเอกลกั ษณ์ของ
นาฏศิลป์ ไทยตลอดจนความสาํ คญั ของการแสดงนาฏศิลป์ ไทยได้
จบช้ันประถมศึกษาปี ที่ ๖
• รู้และเขา้ ใจการใชท้ ศั นธาตุ รูปร่าง รูปทรง พ้นื ผวิ สี แสงเงา มีทกั ษะพ้นื ฐานในการใชว้ สั ดุอปุ กรณ์
ถ่ายทอดความคิด อารมณ์ ความรู้สึก สามารถใชห้ ลกั การจดั ขนาด สัดส่วนความสมดุล น้าํ หนกั แสงเงา ตลอดจนการ
ใชส้ ีคู่ตรงขา้ มที่เหมาะสมในการสร้างงานทศั นศิลป์ ๒ มิติ ๓ มิติ เช่น งานส่ือผสม งานวาดภาพระบายสี งานป้ัน งาน
พมิ พภ์ าพ รวมท้งั สามารถสร้างแผนภาพ แผนผงั และภาพประกอบเพื่อถ่ายทอดความคิดจินตนาการเป็นเร่ืองราว
เกี่ยวกบั เหตกุ ารณ์ตา่ ง ๆ และสามารถเปรียบเทียบความแตกตา่ งระหวา่ งงานทศั นศิลป์ ท่ีสร้างสรรคด์ ว้ ยวสั ดุอปุ กรณ์
และวธิ ีการที่แตกตา่ งกนั เขา้ ใจปัญหาในการจดั องคป์ ระกอบศิลป์ หลกั การลด และเพม่ิ ในงานป้ัน การส่ือความหมาย
๑๕๑
ในงานทศั นศิลป์ ของตน รู้วิธีการปรับปรุงงานใหด้ ีข้ึน ตลอดจน รู้และเขา้ ใจคุณคา่ ของงานทศั นศิลป์ ที่มีผลตอ่ ชีวิตของ
คนในสังคม
• รู้และเขา้ ใจบทบาทของงานทศั นศิลป์ ที่สะทอ้ นชีวติ และสังคม อิทธิพลของความเชื่อความศรัทธา ใน
ศาสนา และวฒั นธรรมที่มีผลต่อการสร้างงานทศั นศิลป์ ในทอ้ งถ่ิน
• รู้และเขา้ ใจเก่ียวกบั เสียงดนตรี เสียงร้อง เครื่องดนตรี และบทบาทหนา้ ที่รู้ถึงการเคลื่อนท่ีข้นึ ลง ของ
ทาํ นองเพลง องคป์ ระกอบของดนตรี ศพั ทส์ งั คตี ในบทเพลง ประโยคและอารมณ์ของบทเพลงท่ีฟัง ร้องและบรรเลง
เครื่องดนตรี ดน้ สดอยา่ งงา่ ย ใชแ้ ละเก็บรักษาเครื่องดนตรีอยา่ งถูกวธิ ี อ่าน เขียนโนต้ ไทยและสากลในรูปแบบตา่ ง ๆ รู้
ลกั ษณะของผทู้ ี่จะเลน่ ดนตรีไดด้ ี แสดงความคิดเห็นเก่ียวกบั องคป์ ระกอบดนตรี ถ่ายทอดความรู้สึกของบทเพลงท่ีฟัง
สามารถใชด้ นตรีประกอบกิจกรรมทางนาฏศิลป์ และ การเล่าเร่ือง
• รู้และเขา้ ใจความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งดนตรีกบั วิถีชีวิต ประเพณี วฒั นธรรมไทยและวฒั นธรรมต่าง ๆ เร่ืองราว
ดนตรีในประวตั ิศาสตร์ อิทธิพลของวฒั นธรรมต่อดนตรี รู้คณุ คา่ ดนตรีที่มาจากวฒั นธรรมต่างกนั เห็นความสาํ คญั ใน
การอนุรักษ์
• รู้และเขา้ ใจองคป์ ระกอบนาฏศิลป์ สามารถแสดงภาษาทา่ นาฏยศพั ทพ์ ้นื ฐาน สร้างสรรคก์ ารเคล่ือนไหว
และการแสดงนาฏศิลป์ และการละครงา่ ย ๆ ถ่ายทอดลีลาหรืออารมณ์ และสามารถออกแบบเคร่ืองแตง่ กายหรือ
อปุ กรณ์ประกอบการแสดงงา่ ย ๆ เขา้ ใจความสัมพนั ธ์ระหวา่ งนาฏศิลป์ และการละครกบั ส่ิงที่ประสบในชีวิตประจาํ วนั
แสดงความคดิ เห็นในการชมการแสดง และบรรยายความรู้สึกของตนเองท่ีมีตอ่ งานนาฏศิลป์
• รู้และเขา้ ใจความสัมพนั ธแ์ ละประโยชน์ของนาฏศิลป์ และการละคร สามารถเปรียบเทียบการแสดง
ประเภทตา่ ง ๆ ของไทยในแต่ละทอ้ งถ่ิน และส่ิงท่ีการแสดงสะทอ้ นวฒั นธรรมประเพณีเห็นคณุ ค่าการรักษาและสืบ
ทอดการแสดงนาฏศิลป์ ไทย
จบช้ันมัธยมศึกษาปี ท่ี ๓
• รู้และเขา้ ใจเร่ืองทศั นธาตแุ ละหลกั การออกแบบและเทคนิคท่ีหลากหลายในการสร้างงานทศั นศิลป์ ๒ มิติ
และ ๓ มิติ เพอื่ ส่ือความหมายและเรื่องราวต่าง ๆ ไดอ้ ยา่ งมีคณุ ภาพ วิเคราะหร์ ูปแบบเน้ือหาและประเมินคุณคา่ งาน
ทศั นศิลป์ ของตนเองและผอู้ ื่น สามารถเลือกงานทศั นศิลป์ โดยใชเ้ กณฑท์ ่ีกาํ หนดข้นึ อยา่ งเหมาะสม สามารถออกแบบ
รูปภาพ สัญลกั ษณ์ กราฟิ กในการนาํ เสนอขอ้ มูลและมีความรู้ ทกั ษะที่จาํ เป็นดา้ นอาชีพท่ีเกี่ยวขอ้ งกนั กบั งานทศั นศิลป์
• รู้และเขา้ ใจการเปลี่ยนแปลงและพฒั นาการของงานทศั นศิลป์ ของชาติและทอ้ งถ่ินแต่ละยคุ สมยั เห็น
คณุ ค่างานทศั นศิลป์ ที่สะทอ้ นวฒั นธรรมและสามารถเปรียบเทียบงานทศั นศิลป์ ท่ีมาจากยคุ สมยั และวฒั นธรรมต่าง ๆ
• รู้และเขา้ ใจถึงความแตกตา่ งทางดา้ นเสียง องคป์ ระกอบ อารมณ์ ความรู้สึกของบทเพลงจากวฒั นธรรมตา่ ง
ๆ มีทกั ษะในการร้อง บรรเลงเคร่ืองดนตรี ท้งั เด่ียวและเป็นวงโดยเนน้ เทคนิคการร้องบรรเลงอยา่ งมีคุณภาพ มีทกั ษะใน
การสร้างสรรคบ์ ทเพลงอยา่ งงา่ ย อ่านเขียนโนต้ ในบนั ไดเสียงท่ีมีเครื่องหมาย แปลงเสียงเบ้ืองตน้ ได้ รู้และเขา้ ใจถึง
ปัจจยั ที่มีผลตอ่ รูปแบบของผลงานทางดนตรี องคป์ ระกอบของผลงานดา้ นดนตรีกบั ศิลปะแขนงอ่ืน แสดงความคิดเห็น
และบรรยายอารมณ์ความรู้สึกท่ีมีตอ่ บทเพลง สามารถนาํ เสนอบทเพลงที่ช่ืนชอบไดอ้ ย่างมีเหตผุ ล มีทกั ษะในการ
๑๕๒
ประเมินคณุ ภาพของบทเพลงและการแสดงดนตรี รู้ถึงอาชีพตา่ ง ๆ ท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั ดนตรีและบทบาทของดนตรีในธุรกิจ
บนั เทิง เขา้ ใจถึงอิทธิพลของดนตรีที่มีต่อบคุ คลและสังคม
• รู้และเขา้ ใจท่มี า ความสมั พนั ธ์ อิทธิพลและบทบาทของดนตรีแตล่ ะวฒั นธรรมในยคุ สมยั ต่าง ๆ วิเคราะหป์ ัจจยั
ที่ทาํ ใหง้ านดนตรีไดร้ ับการยอมรับ
• รู้และเขา้ ใจการใชน้ าฏยศพั ทห์ รือศพั ทท์ างการละครในการแปลความและส่ือสารผา่ นการแสดง รวมท้งั
พฒั นารูปแบบการแสดง สามารถใชเ้ กณฑง์ ่าย ๆ ในการพจิ ารณาคุณภาพการแสดง วจิ ารณ์เปรียบเทียบงานนาฏศิลป์
โดยใชค้ วามรู้เร่ืององคป์ ระกอบทางนาฏศิลป์ ร่วมจดั การแสดง นาํ แนวคิดของการแสดงไปปรับใชใ้ นชีวติ ประจาํ วนั
• รู้และเขา้ ใจประเภทละครไทยในแตล่ ะยคุ สมยั ปัจจยั ที่มีผลตอ่ การเปลี่ยนแปลงของนาฏศิลป์ ไทย
นาฏศิลป์ พ้ืนบา้ น ละครไทย และละครพ้ืนบา้ น เปรียบเทียบลกั ษณะเฉพาะของการแสดงนาฏศิลป์ จากวฒั นธรรมต่าง ๆ
รวมท้งั สามารถออกแบบและสร้างสรรคอ์ ปุ กรณ์ เคร่ืองแต่งกายในการแสดงนาฏศิลป์ และละคร มีความเขา้ ใจ
ความสาํ คญั บทบาทของนาฏศิลป์ และละครในชีวิตประจาํ วนั
จบช้ันมัธยมศึกษาปี ที่ ๖
• รู้และเขา้ ใจเก่ียวกบั ทศั นธาตุและหลกั การออกแบบในการสื่อความหมาย สามารถใชศ้ พั ทท์ างทศั นศิลป์
อธิบายจุดประสงคแ์ ละเน้ือหาของงานทศั นศิลป์ มีทกั ษะและเทคนิคในการใชว้ สั ดุ อปุ กรณ์และกระบวนการท่ีสูงข้ึน
ในการสร้างงานทศั นศิลป์ วิเคราะห์เน้ือหาและแนวคดิ เทคนิควธิ ีการ การแสดงออกของศิลปิ นท้งั ไทยและสากล
ตลอดจนการใชเ้ ทคโนโลยตี ่าง ๆ ในการออกแบบสร้างสรรคง์ านที่เหมาะสมกบั โอกาส สถานท่ี รวมท้งั แสดงความ
คิดเห็นเกี่ยวกบั สภาพสังคมดว้ ยภาพลอ้ เลียนหรือการ์ตูน ตลอดจนประเมินและวจิ ารณ์คุณคา่ งานทศั นศิลป์ ดว้ ยหลกั
ทฤษฎีวจิ ารณ์ศิลปะ
• วเิ คราะห์เปรียบเทียบงานทศั นศิลป์ ในรูปแบบตะวนั ออกและรูปแบบตะวนั ตก เขา้ ใจอิทธิพลของมรดก
ทางวฒั นธรรมภูมิปัญญาระหวา่ งประเทศที่มีผลต่อการสร้างสรรคง์ านทศั นศิลป์ ในสังคม
• รู้และเขา้ ใจรูปแบบบทเพลงและวงดนตรีแตล่ ะประเภท และจาํ แนกรูปแบบของวงดนตรีท้งั ไทยและสากล
เขา้ ใจอิทธิพลของวฒั นธรรมต่อการสร้างสรรคด์ นตรี เปรียบเทียบอารมณ์และความรู้สึกท่ีไดร้ ับจากดนตรีท่ีมาจาก
วฒั นธรรมต่างกนั อา่ น เขียน โนต้ ดนตรีไทยและสากล ในอตั ราจงั หวะตา่ ง ๆ มีทกั ษะในการร้องเพลงหรือเลน่ ดนตรี
เดี่ยวและรวมวงโดยเนน้ เทคนิคการแสดงออกและคุณภาพของการแสดง สร้างเกณฑส์ าํ หรับประเมินคณุ ภาพการ
ประพนั ธ์การเล่นดนตรีของตนเองและผอู้ ื่นไดอ้ ยา่ งเหมาะสม สามารถนาํ ดนตรีไประยกุ ตใ์ ชใ้ นงานอื่น ๆ
• วิเคราะห์ เปรียบเทียบรูปแบบ ลกั ษณะเด่นของดนตรีไทยและสากลในวฒั นธรรมตา่ ง ๆ เขา้ ใจบทบาทของ
ดนตรีท่ีสะทอ้ นแนวความคิดและคา่ นิยมของคนในสงั คม สถานะทางสังคมของนกั ดนตรีในวฒั นธรรมต่าง ๆ สร้าง
แนวทางและมีส่วนร่วมในการส่งเสริมและอนุรักษด์ นตรี
• มีทกั ษะในการแสดงหลากหลายรูปแบบ มีความคิดริเร่ิมในการแสดงนาฏศิลป์ เป็นคู่และเป็นหมู่
สร้างสรรคล์ ะครส้นั ในรูปแบบท่ีช่ืนชอบ สามารถวเิ คราะหแ์ ก่นของการแสดงนาฏศิลป์ และละครท่ีตอ้ งการสื่อ
ความหมายในการแสดง อิทธิพลของเครื่องแต่งกาย แสง สี เสียง ฉาก อุปกรณ์ และสถานท่ีที่มีผลตอ่ การแสดง วจิ ารณ์
๑๕๓
การแสดงนาฏศิลป์ และละคร พฒั นาและใชเ้ กณฑก์ ารประเมินในการประเมินการแสดง และสามารถวิเคราะหท์ า่ ทาง
การเคลื่อนไหวของผคู้ นในชีวิตประจาํ วนั และนาํ มาประยุกตใ์ ชใ้ นการแสดง
• เขา้ ใจววิ ฒั นาการของนาฏศิลป์ และการแสดงละครไทย และบทบาทของบคุ คลสาํ คญั ในวงการนาฏศิลป์
และการละครของประเทศไทยในยคุ สมยั ต่าง ๆ สามารถเปรียบเทียบการนาํ การแสดงไปใชใ้ นโอกาสต่าง ๆ และเสนอ
แนวคิดในการอนุรักษน์ าฏศิลป์ ไทย
๑๕๔
โครงสร้างรายวชิ า
รายวิชาตามโครงสร้างหลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนอนุบาลหว้ ยกระเจา พุทธศกั ราช ๒๕๖๓
ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
ระดับประถมศึกษา รายวชิ าศิลปะพื้นฐาน
ระดับช้ัน รหัส ชื่อรายวิชา เวลาเรียนรายปี
ช้นั ป. ๑ ศ๑๑๑๐๑ ศิลปะ ๑ ชวั่ โมง/สัปดาห์ (๔๐/ปี )
ช้นั ป. ๒ ศ๑๒๑๐๑ ศิลปะ ๑ ชวั่ โมง/สปั ดาห์ (๔๐/ปี )
ช้นั ป. ๓ ศ๑๓๑๐๑ ศิลปะ ๑ ชวั่ โมง/สัปดาห์ (๔๐/ปี )
ช้นั ป. ๔ ศ๑๔๑๐๑ ศิลปะ ๒ ชวั่ โมง/สัปดาห์ (๘๐/ปี )
ช้นั ป. ๕ ศ๑๕๑๐๑ ศิลปะ ๒ ชวั่ โมง/สัปดาห์ (๘๐/ปี )
ช้นั ป. ๖ ศ๑๖๑๐๑ ศิลปะ ๒ ชวั่ โมง/สปั ดาห์ (๘๐/ปี )
ระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น รายวิชารายวิชาศิลปะพืน้ ฐาน
ระดับช้ัน รหสั ช่ือรายวิชา เวลาเรียนรายภาค
ช้นั ม. ๑ ศ๒๑๑๐๑ ศิลปะ ๒ ชวั่ โมง/สปั ดาห์ (๑.๐ หน่วยกิต)
ช้นั ม. ๒ ศ๒๑๑๐๒ ศิลปะ ๒ ชวั่ โมง/สปั ดาห์ (๑.๐ หน่วยกิต)
ช้นั ม. ๓ ศ๒๒๑๐๑ ศิลปะ ๒ ชวั่ โมง/สัปดาห์ (๑.๐ หน่วยกิต)
ศ๒๒๑๐๒ ศิลปะ ๒ ชวั่ โมง/สปั ดาห์ (๑.๐ หน่วยกิต)
ศ๒๓๑๐๑ ศิลปะ ๒ ชวั่ โมง/สปั ดาห์ (๑.๐ หน่วยกิต)
ศ๒๓๑๐๒ ศิลปะ ๒ ชวั่ โมง/สปั ดาห์ (๑.๐ หน่วยกิต)
๑๕๕
กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ระดบั ประถมศึกษา ช้ันประถมศึกษาปี ท่ี ๑
รหสั วชิ า ศ๑๑๑๐๑ เวลา ๔๐ ช่ัวโมง
รายวิชาศิลปะพื้นฐาน
คําอธิบายรายวชิ า
เวลาเรียน ๑ ชั่วโมง/สัปดาห์
ศึกษา วเิ คราะหร์ ูปร่างลกั ษณะขนาดของส่ิงต่างๆรอบตวั ในธรรมชาติและสิ่งท่ีมนุษยส์ ร้างข้นึ ความรู้สึก ท่ีมี
ต่อธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ มรอบตวั ฝึกทกั ษะการใชว้ สั ดุอปุ กรณ์ดินเหนียวดินนาํ มนั ดินสอสีพูก่ นั กระดาษสีเทียนสีน้าํ
มนั สร้างงานทศั นศิลป์ ทดลองการใชส้ ีน้าํ โปสเตอร์สีเทียนสีจากธรรมชาติที่มีในทอ้ งถ่ินการวาดภาพระบายสีตาม
ความรู้สึกของตนเองการระบุงานทศั นศิลป์ ในชีวติ ประจาํ วนั ศึกษาการกาํ เนิดของเสียงลกั ษณะของเสียงดงั เบาและ
ความชา้ เร็วของจงั หวะการท่องบทกลอนการร้องเพลงงา่ ยๆศึกษาบทเพลงของทอ้ งถ่ินเช่น เพลงเหยย่ การเขา้ ร่วม
กิจกรรมดนตรีการร้องเพลงการเคาะจงั หวะการเคล่ือนไหวประกอบเพลงการบอกเพลงท่ีใชใ้ นชีวิตประจาํ วนั บทเพลง
กลอ่ มเด็กบทเพลงประกอบการละเล่นการเลา่ การระบทุ ่ีมาของบทเพลงในทอ้ งถ่ินความน่าสนใจของบทเพลงใน
ทอ้ งถิ่น ศึกษาการเลียนแบบการเคล่ือนไหวลกั ษณะต่างๆของธรรมชาติคนสตั วส์ ่ิงของการแสดงทา่ ทางง่ายๆโดยใช้
ภาษาทา่ การแสดงประกอบเพลงที่เก่ียวกบั ธรรมชาติสัตวก์ ารเป็นผชู้ มที่ดีการระบกุ ารบอกการเลน่ การละเลน่ ของ
เด็กไทยการแสดงนาฏศิลป์ การเห็นคุณคา่ งานทศั นศิลป์ ดนตรีนาฏศิลป์ ที่เป็นมรดกทางวฒั นธรรมภมู ิปัญญาทอ้ งถ่ินภูมิ
ปัญญาไทยการชื่นชมและการนาํ ไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวิตประจาํ วนั
โดยใชก้ ระบวนการคดิ วิเคราะห์ การอภิปราย กระบวนการกล่มุ การสืบคน้ ขอ้ มลู และการบนั ทึกขอ้ มูล
เพ่ือใหเ้ กิดความรู้ ความเขา้ ใจ ความสามารถในการสื่อสารและเห็นคุณค่าของการนาํ ความรู้ไปใชใ้ หเ้ กิด
ประโยชน์ในการดาํ เนินชีวิตประจาํ วนั
ตวั ชีว้ ัด
ศ ๑.๑ ป.๑/๑ , ป.๑/๒ , ป.๑/๓ , ป.๑/๔ , ป.๑/๕
ศ ๑.๒ ป.๑/๑
ศ ๒.๑ ป.๑/๑ , ป.๑/๒ , ป.๑/๓ , ป.๑/๔ , ป.๑/๕
ศ ๒.๒ ป.๑/๑ , ป.๑/๒
ศ ๓.๑ ป.๑/๑ , ป.๑/๒ , ป.๑/๓
ศ ๓.๒ ป.๑/๑ , ป.๑/๒
รวม ๑๘ ตวั ชีว้ ัด
๑๕๖
รายวชิ าศิลปะพืน้ ฐาน
คําอธิบายรายวชิ า
กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ช้ันประถมศึกษาปี ที่ ๒
รหัสวชิ า ศ๑๒๑๐๑ เวลาเรียน ๑ ชั่วโมง/สัปดาห์ เวลา ๔๐ ชั่วโมง
ศึกษา วเิ คราะห์ การบรรยายรูปร่างรูปทรงที่พบในธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ มทศั นธาตุและงานทศั นศิลป์ เรื่อง
เส้นสีรูปร่างและรูปทรงเร่ืองราวการเลือกสร้างงานทศั นศิลป์ ตา่ งๆโดยใชเ้ สน้ เช่นงานวาดงานป้ัน และงานพมิ พภ์ าพ
รูปแบบงานโครงสร้างเคล่ือนไหวการฝึกทกั ษะการใชว้ สั ดุอุปกรณ์การสร้างงานทศั นศิลป์ ๓มิติการสร้างภาพปะติดโดย
การตดั หรือฉีกกระดาษการวาดภาพ เพอ่ื ถา่ ยทอดเรื่องราวสามารถสื่อสารโดยใชศ้ ิลปะ เกี่ยวกบั ครอบครัวของตนเอง
และเพอ่ื นบา้ นประเทศสมาชิกในกลุม่ อาเซียนโดยผา่ นงานทศั นศิลป์ การบอกความสาํ คญั ของงานทศั นศิลป์ ท่ีพบเห็น
ในชีวิตประจาํ วนั การอภิปรายเก่ียวกบั งานทศั นศิลป์ ประเภทตา่ งๆในทอ้ งถ่ินโดยเนน้ ถึงวธิ ีการสร้างงานและวสั ดุ
อุปกรณ์ท่ีใชข้ องด่านเจดียส์ ามองค์ สะพานขา้ มแมน่ ้าํ แคว ทางรถไฟสายสายมรณะ โบราณสถานพระปรางคเ์ ขารักษ์
หลวงพอ่ ขาว การแต่งกายไทยทรงดาํ ศึกษาการจาํ แนกแหล่งกาํ เนิดของเสียงท่ีไดย้ นิ คุณสมบตั ิของเสียงสูงต่าํ - ดงั เบา
ยาวส้นั ของดนตรีส่ิงตา่ งๆที่ก่อกาํ เนิดเสียงท่ีแตกตา่ งกนั ลกั ษณะของเสียงดงั เบาและความชา้ เร็วของจงั หวะความ
เกี่ยวขอ้ งของเพลงที่ใช้ ในชีวิตประจาํ วนั การเคาะจงั หวะหรือการเคลื่อนไหวร่างกายใหส้ อดคลอ้ งกบั เน้ือหาของเพลง
การร้องเพลงงา่ ยๆ ที่เหมาะสมกบั วยั การร้องเพลงเหยย่ เพลงร่อยพรรษา ทาํ ขวญั ขา้ ว เพลงลงแขก ศึกษาวิเคราะห์การ
บอกความหมายและความสาํ คญั ของเพลงปลุกใจเพลงสอนใจความสัมพนั ธข์ องเสียงร้องเสียงเคร่ืองดนตรีในเพลง
ทอ้ งถ่ินโดยใชค้ าํ งา่ ยๆ การระบมุ ารยาทในการชมการแสดงการเลน่ การละเลน่ การเคล่ือนไหวขณะอยกู่ บั ที่และการ
เคล่ือนที่อยา่ งมีรูปแบบ ขี่มา้ ส่งเมือง มอญซ่อนผา้ เดินกะลาการเคลื่อนไหวท่ีสะทอ้ นอารมณ์ของตนเองอยา่ งอิสระ
ทา่ ทางเพือ่ สื่อความหมายแทนคาํ พดู ท่าทางประกอบจงั หวะอยา่ งสร้างสรรคก์ ารใชภ้ าษาท่าและนาฏยศพั ท์ ประกอบ
จงั หวะการแสดงและการเขา้ ร่วมกิจกรรมทางดนตรีของทอ้ งถ่ินในโอกาสพเิ ศษการละเลน่ พ้นื บา้ นการเชื่อมโยง
การละเล่นพ้ืนบา้ นกบั การดาํ รงชีวิตของคนไทยการระบุส่ิงที่ชื่นชอบและภาคภูมิใจในการละเลน่ พ้ืนบา้ น
โดยใชก้ ระบวนการคิดวิเคราะห์ การอภิปราย กระบวนการกลุ่ม การสืบคน้ ขอ้ มูลและการบนั ทึกขอ้ มลู
เพอ่ื ใหเ้ กิดความรู้ ความเขา้ ใจ ความสามารถในการสื่อสารและเห็นคุณค่าของการนาํ ความรู้ไปใชใ้ หเ้ กิด
ประโยชน์ ในการดาํ เนินชีวิตประจาํ วนั
ตัวชี้วดั
ศ ๑.๑ ป.๒/๑ , ป.๒/๒ , ป.๒/๓ , ป.๒/๔ , ป.๒/๕ , ป.๒/๖ , ป.๒/๗ , ป.๒/๘
ศ ๑.๒ ป.๒/๑ , ป.๒/๒
ศ ๒.๑ ป.๒/๑ , ป.๒/๒ , ป.๒/๓ , ป.๒/๔ , ป.๒/๕
ศ ๒.๒ ป.๒/๑ , ป.๒/๒
ศ ๓.๑ ป.๒/๑ , ป.๒/๒ , ป.๒/๓ , ป.๒/๔ , ป.๒/๕
ศ ๓.๒ ป.๒/๑ , ป.๒/๒ , ป.๒/๓
รวม ๒๕ ตัวชีว้ ดั
๑๕๗
ผลการเรียนรู้อาเซียน
สามารถสื่อสารโดยใชศ้ ิลปะ
รวม ๑ ผลการเรียนรู้
๑๕๘
กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ รายวิชาศิลปะพื้นฐาน ช้ันประถมศึกษาปี ท่ี ๓
รหสั วิชา ศ๑๓๑๐๑ เวลา ๔๐ ช่ัวโมง
คาํ อธิบายรายวชิ า
เวลาเรียน ๑ ชั่วโมง/สัปดาห์
ศึกษา วเิ คราะห์ การบรรยายรูปร่างรูปทรงในธรรมชาติส่ิงแวดลอ้ มและงานทศั นศิลป์ ระบวุ สั ดุอุปกรณ์ ท่ีใช้
สร้างผลงานเม่ือชมงานทศั นศิลป์ การบรรยายเหตุผลและวิธีการในการสร้างงานทศั นศิลป์ โดยเนน้ ถึงเทคนิค และวสั ดุ
อุปกรณ์การจาํ แนกทศั นธาตุของส่ิงต่างๆในธรรมชาติส่ิงแวดลอ้ มและงานทศั นศิลป์ โดยเนน้ เร่ืองเสน้ สีรูปร่างรูปทรง
และพ้นื ผวิ มีทกั ษะพ้ืนฐานในการใชว้ สั ดุอปุ กรณ์สร้างสรรคง์ านป้ันการวาดภาพการระบายสีส่ิงของรอบตวั การ
ถ่ายทอดความคิดความรู้สึกจากเหตุการณ์ชีวติ จริงโดยใชเ้ ส้นรูปร่างรูปทรงสีและพ้นื ผิวการระบสุ ่ิง ที่ช่ืนชมและสิ่งท่ี
ควรปรับปรุงในงานทศั นศิลป์ ของตนเองการระบแุ ละการจดั กลุม่ ของภาพตามทศั นธาตทุ ่ีเนน้ ในงานทศั นศิลป์ น้นั ๆการ
บรรยายลกั ษณะรูปร่างรูปทรงในงานการออกแบบส่ิงต่างๆที่มีในบา้ นและโรงเรียน การเล่าถึงท่ีมาของงานทศั นศิลป์
ในทอ้ งถิ่นด่านเจดียส์ ามองค์ สะพานขา้ มแม่น้าํ แควทางรถไฟสายมรณะ หลวงพอ่ ขาว พวงมะโหด การอธิบาย
เก่ียวกบั วสั ดุอุปกรณ์และวธิ ีการสร้างงานทศั นศิลป์ ในทอ้ งถิ่น ศึกษาวเิ คราะห์ การระบรุ ูปร่างลกั ษณะของเครื่องดนตรี
ที่เห็นและไดย้ นิ ในชีวิตประจาํ วนั ลกั ษณะเด่น และเอกลกั ษณ์ของดนตรีในทอ้ งถ่ินความสาํ คญั และประโยชน์ของ
ดนตรีต่อการดาํ เนินชีวิตของคนในทอ้ งถ่ินใชร้ ูปภาพหรือสญั ลกั ษณ์แทนเสียงและจงั หวะเคาะการบอกบทบาทหนา้ ที่
ของเพลงที่ไดย้ นิ การขบั ร้องและบรรเลงดนตรีงา่ ยๆการเคล่ือนไหวทา่ ทางสอดคลอ้ งกบั อารมณ์ของเพลงท่ีฟังเพลง
เหยย่ ทาํ ขวญั ขา้ วการแสดงความคดิ เห็นเกี่ยวกบั เสียงดนตรี เสียงขบั ร้องของตนเองและผอู้ ื่นการนาํ ดนตรีไปใชใ้ น
ชีวิตประจาํ วนั หรือโอกาสตา่ งๆไดอ้ ยา่ งเหมาะสม ศึกษาวเิ คราะห์การสร้างสรรคก์ ารเคลื่อนไหวในรูปแบบตา่ งๆราํ วง
มาตรฐานเพลงพระราชนิพนธ์สถานการณ์ส้นั ๆสถานการณ์ท่ีกาํ หนดการแสดงทา่ ทางประกอบเพลงตามรูปแบบ
นาฏศิลป์ การเปรียบเทียบบทบาทหนา้ ที่ของผูแ้ สดงและผชู้ มการมีส่วนร่วมในกิจกรรมการแสดงท่ีเหมาะสมกบั วยั การ
บอกประโยชนข์ องการแสดงนาฏศิลป์ ในชีวิตประจาํ วนั รําเหยย่ รําโทน เพลงร่อยพรรษาการเล่าการแสดงนาฏศิลป์ ท่ี
เคยเห็นในทอ้ งถ่ินการระบุส่ิงที่เป็นลกั ษณะเด่น และเอกลกั ษณ์ของการแสดงนาฏศิลป์ การอธิบายความสาํ คญั ของการ
แสดงนาฏศิลป์
โดยใชก้ ระบวนการคดิ วิเคราะห์ การอภิปราย กระบวนการกลมุ่ การสืบคน้ ขอ้ มลู และการบนั ทึกขอ้ มลู
เพือ่ ใหเ้ กิดความรู้ ความเขา้ ใจ ความสามารถในการส่ือสาร สามารถแลก เปล่ียนความคิด เทคโนโลยี และ
สุนทรียศาสตร์ตา่ งๆระหวา่ งกนั ได้ และเห็นคณุ ค่าของการนาํ ความรู้ไปใชใ้ หเ้ กิดประโยชน์ในการดาํ เนินชีวิตประจาํ วนั
ตวั ชี้วดั
ศ ๑.๑ ป.๓/๑ , ป.๓/๒ , ป.๓/๓ , ป.๓/๔ , ป.๓/๕ , ป.๓/๖ , ป.๓/๗ , ป.๓/๘ , ป.๓/๙ , ป.๓/๑๐
ศ ๑.๒ ป.๓/๑ , ป.๓/๒
ศ ๒.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒ , ป.๓/๓ , ป.๓/๔ , ป.๓/๕ , ป.๓/๖ , ป.๓/๗
ศ ๒.๒ ป.๓/๑ , ป.๓/๒
๑๕๙
ศ ๓.๑ ป.๓/๑ , ป.๓/๒ , ป.๓/๓ ,ป.๓/๔ , ป.๓/๕
ศ ๓.๒ ป.๓/๑ , ป.๓/๒ , ป.๓/๓
รวม ๒๙ ตวั ชีว้ ดั
ผลการเรียนรู้อาเซียน
สามารถแลก เปลี่ยนความคิด เทคโนโลยี และสุนทรียศาสตร์ตา่ งๆระหวา่ งกนั ได้
รวม ๑ ผลการเรียนรู้
๑๖๐
รายวชิ าศิลปะพื้นฐาน
คําอธบิ ายรายวชิ า
กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ช้ันประถมศึกษาปี ท่ี ๔
รหสั วิชา ศ๑๔๑๐๑ เวลาเรียน ๒ ช่ัวโมง/สัปดาห์ เวลา ๘๐ ช่ัวโมง
ศึกษาเปรียบเทียบรูปลกั ษณะของรูปร่าง รูปทรงในธรรมชาติ สิ่งแวดลอ้ ม และงานทศั นศิลป์ ถ่ายทอดความคดิ
ความรู้สึก ความประทบั ใจผา่ นงานทศั นศิลป์ ของตนเองและบคุ คลอ่ืน การอภิปรายเกี่ยวกบั อิทธิพลของสีวรรณะอ่นุ
และสีวรรณะเยน็ ที่มีตอ่ อารมณ์ของมนุษย์ เหตกุ ารณ์ และงานเฉลิมฉลองของวฒั นธรรมในทอ้ งถ่ิน จาํ แนกทศั นธาตุ
ของส่ิงตา่ ง ๆในธรรมชาติส่ิงแวดลอ้ มและงานทศั นศิลป์ โดยเนน้ เรื่องเสน้ สี รูปร่าง รูปทรงพ้นื ผิว และพ้ืนที่วา่ ง ฝึก
ทกั ษะพ้นื ฐานในการใชว้ สั ดุ อปุ กรณ์สร้างสรรคง์ านพมิ พภ์ าพ งานวาดภาพระบายสี บรรยายลกั ษณะของภาพ โดย
เนน้ เรื่องการจดั ระยะ ความลึก น้าํ หนกั แสงเงาในภาพ และงานทศั นศิลป์ ท่ีมาจากวฒั นธรรมต่าง ๆ วาดภาพ ระบายสี
โดยใชส้ ีวรรณะอนุ่ และสีวรรณะเยน็ ถา่ ยทอดความรู้สึกและจินตนาการ เลือกใชว้ รรณะสีเพ่ือถา่ ยทอดอารมณ์
ความรู้สึกในการสร้างงานทศั นศิลป์ ศึกษาโครงสร้างของบทเพลง ความหมาย จาํ แนกประเภทของเคร่ืองดนตรี ระบุ
ทิศทางการเคล่ือนที่ข้ึนลงง่าย ๆ ของทาํ นอง รูปแบบจงั หวะและความเร็ว ของจงั หวะในเพลงท่ีฟัง เครื่องหมายและ
สญั ลกั ษณ์ทางดนตรี การสืบทอดงานทางดนตรีที่เกี่ยวขอ้ งกบั ความสัมพนั ธ์ของวถิ ีชีวติ ไทยท่ีสะทอ้ นในดนตรีและ
เพลงทอ้ งถ่ิน การอนุรักษส์ ่งเสริมวฒั นธรรม ภูมิปัญญาทอ้ งถ่ิน ภูมิปัญญาไทยและสากล บอกความหมาย และ
สญั ลกั ษณ์ทางดนตรี โครงสร้างโนต้ เพลงไทย โดยอ่าน เขียนโนต้ ดนตรีไทยและสากล ร้องเพลงโดยใชช้ ่วงเสียงที่
เหมาะสมกบั ตนเอง ใชแ้ ละเกบ็ เคร่ืองดนตรีอยา่ งถกู ตอ้ งและปลอดภยั ระบวุ า่ ดนตรี สามารถใชใ้ นการสื่อเร่ืองราว
บอกแหลง่ ที่มาและความสมั พนั ธ์ของวถิ ีชีวิตไทย ความสําคญั ในการอนุรักษส์ ่งเสริมวฒั นธรรมทางดนตรี ท่ีสะทอ้ น
ในดนตรี เพลงทอ้ งถิ่นและโอกาสในการบรรเลงดนตรี เพ่ือนาํ ความรู้ และหลกั การ ทางดนตรีไปใชก้ บั กลมุ่ สาระการ
เรียนรู้อ่ืน ๆ และประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวิตประจาํ วนั ศึกษาทกั ษะพ้ืนฐานทางนาฏศิลป์ และการละครท่ีใชส้ ่ือความหมาย
อารมณ์ หลกั และวธิ ีการปฏิบตั ิ การเคล่ือนไหวในจงั หวะต่าง ๆ ตามความคดิ ของตน การแสดงนาฏศิลป์ เป็นคู่และหมู่
รําวงมาตรฐาน ระบาํ เล่าสิ่งท่ีชื่นชอบในการแสดงโดยเนน้ จุดสาํ คญั ของเรื่องและลกั ษณะเด่นของตวั ละคร อธิบาย
ประวตั ิความเป็นมาของนาฏศิลป์ หรือชุดการแสดงอยา่ งงา่ ย ๆ ใชภ้ าษาท่าและนาฏยศพั ทถ์ ่ายทอดเร่ืองราว อธิบาย
ประวตั ิความเป็นมา ของนาฏศิลป์
โดยใชภ้ าษาทา่ และนาฏยศพั ทห์ รือศพั ทท์ างการละครง่าย ๆ ในการถา่ ยทอดเรื่องราว ประดิษฐ์ทา่ ทาง
หรือท่าราํ ประกอบจงั หวะพ้ืนเมือง ชุดการแสดงอยา่ งง่าย ๆ เปรียบเทียบการแสดงนาฏศิลป์ กบั การแสดงท่ีมา
จากวฒั นธรรมอื่น
เพ่ือสืบทอดการแสดง นาฏศิลป์ และตระหนกั ในคุณคา่ ของการจดั กิจกรรมนาฏศิลป์ บ่งบอกถึงคา่ นิยม
วฒั นธรรมประเพณี ภมู ิปัญญาทอ้ งถ่ิน ภมู ิปัญญาไทยและสากล
ตัวชีว้ ัด
ศ ๑.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖, ป.๔/๗ , ป.๔/๘, ป.๔/๙
๑๖๑
ศ ๑.๒ ป.๔/๑, ป.๔/๒
ศ ๒.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖, ป.๔/๗
ศ ๒.๒ ป.๔/๑, ป.๔/๒
ศ ๓.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕
ศ ๓.๒ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป๔/๔
รวม ๒๙ ตัวชี้วดั
๑๖๒
รายวิชาศิลปะพื้นฐาน
คาํ อธบิ ายรายวชิ า
กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ช้ันประถมศึกษาปี ที่ ๕
รหัสวิชา ศ๑๕๑๐๑ เวลาเรียน ๒ ช่ัวโมง/สัปดาห์ เวลา ๘๐ ชั่วโมง
ศึกษา เกี่ยวกบั จงั หวะ ตาํ แหน่งของส่ิงต่าง ๆ ที่ปรากฏในส่ิงแวดลอ้ ม และสร้างสรรคง์ านทศั นศิลป์
ส่ือความคิด จินตนาการ เปรียบเทียบความแตกต่างระหวา่ งงานทศั นศิลป์ ท่ีสร้างสรรคด์ ว้ ยวสั ดุอุปกรณ์ และวิธีการ
ท่ีต่างกนั ใชค้ วามรู้ เทคนิค วิธีการ และวสั ดุอปุ กรณ์ประเภทตา่ ง ๆ จากแหล่งการเรียนรู้หรือนิทรรศการ แสดงออก
ถึงความรู้สึก ความคดิ เห็น ประโยชน์และคุณค่าของงานทศั นศิลป์ ที่มีผลตอ่ ชีวติ ของคนในสังคม สร้างสรรคง์ านป้ัน
จากดินน้าํ มนั หรือดินเหนียวงานพมิ พภ์ าพ โดยเนน้ การถ่ายทอดจินตนาการศิลปะและการจดั วางตาํ แหน่งของส่ิงตา่ ง ๆ
ในภาพ ศึกษาจงั หวะ ทาํ นอง องคป์ ระกอบดนตรีในเพลงท่ีใชใ้ นการสื่ออารมณ์ จาํ แนกลกั ษณะของเสียงขบั ร้อง และ
เครื่องดนตรี ที่อยใู่ นวงดนตรีประเภทต่าง ๆ การอ่าน เขยี นโนต้ ดนตรีไทย ดนตรีสากล ๕ ระดบั เสียง ร้องเพลงไทย
เพลงสากลหรือเพลงไทยสากลท่ีเหมาะสมกบั วยั ดน้ สดง่าย ๆ โดยใชป้ ระโยคเพลงแบบถามตอบ ใชเ้ ครื่องดนตรีบรรเลง
จงั หวะและทาํ นอง ร่วมกบั กิจกรรมในการแสดงออกตามจนิ ตนาการ ศึกษาความรู้พ้ืนฐานทางนาฏศิลป์ การบรรยาย
องคป์ ระกอบของนาฏศิลป์ การประดิษฐท์ า่ ทางประกอบเพลงหรือเรื่องราวตามความคิด องคป์ ระกอบของละคร
บอกท่ีมาของการแสดงนาฏศิลป์ ประโยชนท์ ี่ไดร้ ับจากการชมการแสดง
โดยเลือกเทคนิค วธิ ีการ วสั ดุอปุ กรณ์ในการสร้างสรรคอ์ ยา่ งเหมาะสม ใชก้ ระบวนการคดิ วิเคราะห์
เพอ่ื แสดงออกถึงความงาม ความประณีต สะทอ้ นวฒั นธรรม ประเพณี ภมู ิปัญญาทอ้ งถ่ิน ภูมิปัญญาไทยและสากล เห็น
คุณค่าของการนาํ ความรู้ไปใชใ้ หเ้ กิดประโยชนใ์ นการดาํ เนินชีวิตประจาํ วนั ฝึกปฏิบตั ิ การแสดงออกตามจินตนาการ
เพื่อส่ือความคิด จินตนาการ ความรู้สึกประทบั ใจ และเห็นคณุ คา่ อธิบายความสมั พนั ธ์ระหวา่ งดนตรีกบั
ประเพณีในวฒั นธรรมตา่ ง ๆ ใหส้ ัมพนั ธ์กนั เพ่อื นาํ ไปสร้างสรรคร์ ะหวา่ งดนตรีกบั ประเพณีในวฒั นธรรมทอ้ งถ่ิน เห็น
คณุ ค่าของดนตรีท่ีมาจากวฒั นธรรมท่ีต่างกนั โดยแสดงนาฏศิลป์ ละครสร้างสรรค์ การแสดงออก การถ่ายทอด
ความรู้สึกเพือ่ นาํ ความรู้และหลกั การทางดา้ นนาฏศิลป์ มาใชบ้ รู ณาการกบั กลุม่ สาระการเรียนรู้อื่น ๆ และชีวติ ประจาํ วนั
ที่สัมพนั ธก์ บั การแสดงนาฏศิลป์ พ้นื บา้ นที่สะทอ้ นถึงวฒั นธรรมและประเพณี ภูมิปัญญาทอ้ งถ่ิน ภมู ิปัญญาไทยและ
สากล
ตัวชี้วดั
ศ ๑.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕, ป.๕/๖, ป.๕/๗
ศ ๑.๒ ป.๕/๑, ป.๕/๒
ศ ๒.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕, ป.๕/๖, ป.๕/๗
ศ ๒.๒ ป.๕/๑, ป.๕/๒
ศ ๓.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕, ป.๕/๖
ศ ๓.๒ ป.๕/๑, ป.๕/๒
รวม ๒๖ ตัวชีว้ ดั
๑๖๓
รายวิชาศิลปะพืน้ ฐาน
คาํ อธบิ ายรายวิชา
กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ช้ันประถมศึกษาปี ที่ ๖
รหสั วชิ า ศ๑๖๑๐๑ เวลาเรียน ๒ ช่ัวโมง/สัปดาห์ เวลา ๘๐ ชั่วโมง
ศึกษา สร้างสรรคง์ านทศั นศิลป์ สื่อความคดิ ถา่ ยทอดจินตนาการ ใชส้ ีคู่ตรงขา้ ม แสงเงา น้าํ หนกั งานป้ัน
รูปแบบ เทคนิค และวธิ ีการต่าง ๆ แสดงเป็นแผนภาพ แผนผงั ภาพประกอบ อธิบายหลกั การจดั ขนาด สัดส่วน
ความสมดุลในการสร้างงานทศั นศิลป์ จากรูปแบบ ๒ มิติ เป็น ๓ มิติ บทบาทของงานทศั นศิลป์ ที่สะทอ้ นชีวติ และ
สังคม อภิปรายเก่ียวกบั อิทธิพลของความเชื่อ ความศรัทธาในศาสนาท่ีมีผลตอ่ งานทศั นศิลป์ ในทอ้ งถ่ินอนั เป็นมรดก
ทางวฒั นธรรม ภมู ิปัญญาทอ้ งถิ่น ภูมิปัญญาไทยและสากล วเิ คราะหอ์ งคป์ ระกอบดนตรี เพลงท่ีฟังและศพั ทส์ งั คีต
จาํ แนกประเภทเคร่ืองดนตรี ใชเ้ คร่ืองดนตรี และเครื่องดนตรีที่มาจากวฒั นธรรมตา่ ง ๆ อ่าน เขียนโนต้ ไทยและโนต้
สากล ร้องเพลง ดน้ สด สร้างสรรคร์ ูปแบบจงั หวะและทาํ นองดว้ ยเครื่องดนตรีไทยหรือเคร่ืองดนตรีท่ีมาจากวฒั นธรรม
ตา่ ง ๆ สืบทอดดนตรีไทย จาํ แนกดนตรีท่ีมาจากยคุ สมยั ที่ต่างกนั อิทธิพลของวฒั นธรรมต่อดนตรีในทอ้ งถ่ิน บรรยาย
ความรู้สึกและแสดงความคดิ เห็นท่ีมีต่อบทเพลง ความไพเราะของเสียงดนตรีศึกษาพ้นื ฐานความรู้ ความเขา้ ใจ
นาฏศิลป์ เบ้ืองตน้ แสดงออกอยา่ งอิสระในการประดิษฐ์ท่าทางประกอบเพลงปลุกใจหรือเพลงพ้นื เมืองหรือทอ้ งถ่ิน
การแสดงนาฏศิลป์ และละครสร้างสรรค์ การใชเ้ ร่ืองแตง่ จินตนาการ ประสบการณ์ ละครสร้างสรรค์ ระบาํ ฟ้อน รําวง
มาตรฐาน การอธิบายความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งนาฏศิลป์ และการละคร กบั ส่ิงท่ีประสบในชีวิตประจาํ วนั ใชห้ ลกั สุนทรี
ทางนาฏศิลป์ การบอกความหมาย ความเป็นมา ความสาํ คญั พร้อมท้งั ระบปุ ระโยชนท์ ี่ไดร้ ับจากการแสดงหรือการชม
การแสดงนาฏศิลป์ สร้างสรรคก์ ารเคล่ือนไหวและการถา่ ยทอดลีลา อารมณ์ สิ่งท่ีมีความสาํ คญั ต่อการแสดงนาฏศิลป์
และละคร ระบปุ ระโยชน์ท่ีไดร้ ับจากการแสดงหรือการชมการแสดงนาฏศิลป์ และละคร
โดยใชก้ ระบวนการคิดวิเคราะห์ การสร้างสรรคง์ าน การอภิปราย กระบวนการกลุ่มและรายบคุ คล
เพ่อื ใหเ้ กิดความรู้ ความเขา้ ใจ ตลอดจนนาํ ความรู้ ถ่ายทอดความคิดหรือเรื่องราวเก่ียวกบั เหตุการณ์ตา่ ง ๆและ
หลกั การทางดนตรีมาประยกุ ตใ์ ชใ้ หเ้ กิดประโยชนและเห็นคณุ ค่าในการสร้างสรรคน์ าํ ความรู้ไปใชใ้ นชีวิตประจาํ วนั
ตวั ชี้วดั
ศ ๑.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖, ป.๖/๗
ศ ๑.๒ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓
ศ ๒.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖
ศ ๒.๒ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓
ศ ๓.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖
ศ ๓.๒ ป.๖/๑, ป.๖/๒
รวม ๒๗ ตวั ชี้วดั
๑๖๔
ระดบั มัธยมศึกษา
รายวิชาศิลปะพืน้ ฐาน
คาํ อธิบายรายวิชา
กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ รายวชิ า ศิลปะ(ทัศนศิลป์ ) รหัสวชิ า ศ ๒๑๑๐๑ ช้ันมธั ยมศึกษาปี ท่ี ๑
ภาคเรียนท่ี ๑ จํานวน ๑.๐ หน่วยกติ เวลาเรียน ๒ ชั่วโมง/สัปดาห์ เวลา ๔๐ ช่ัวโมง/ภาคเรียน
ศึกษาวิเคราะหค์ วามแตกตา่ งและความคลา้ ยคลึงกนั ของงานทศั นศิลป์ และสิ่งแวดลอ้ มโดยใชค้ วามรู้เร่ืองทศั นธาตุ
หลกั การออกแบบงานทศั นศิลป์ โดยเนน้ ความเป็นเอกภาพความกลมกลืนและความสมดุล วาดภาพทศั นียภาพแสดง
ใหเ้ ห็นระยะไกลใกลเ้ ป็น ๓ มิติ รวบรวมงานป้ันหรือส่ือผสมมาสร้างเป็นเรื่องราว๓มิติโดยเนน้ ความเป็นเอกภาพ
ความกลมกลืน และการส่ือถงึ เร่ืองราวของงาน การออกแบบรูปภาพ สัญลกั ษณ์หรือกราฟิ กอ่ืน ๆ ในการนาํ เสนอ
ความคดิ และขอ้ มูล ประเมินงานทศั นศิลป์ และวธิ ีการปรับปรุงงานของตนเองและผอู้ ่ืนโดยใชเ้ กณฑท์ ่ีกาํ หนดให้
ลกั ษณะรูปแบบงานทศั นศิลป์ ของชาติและของทอ้ งถ่ินตนเองจากอดีตจนถึงปัจจุบนั งานทศั นศิลป์ ของภาคต่าง ๆ
ในประเทศไทย และการสร้างสรรคง์ านทศั นศิลป์ ของวฒั นธรรมไทยและสากล
โดยใชก้ ระบวนการคิดวิเคราะห์ การอภิปราย กระบวนการกลุ่ม
เพื่อใหเ้ กิดความรู้ ความเขา้ ใจความสามารถในการส่ือสาร การส่ือความคิดจินตนาการและเห็นคณุ คา่ ของการ
นาํ ความรู้ไปใชใ้ หเ้ กิดประโยชน์ในการดาํ เนินชีวิตประจาํ วนั
ตวั ชีว้ ดั
ศ ๑.๑ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๓, ม.๑/๔, ม.๑/๕, ม.๑/๖,
ศ ๑.๒ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๓,
รวม ๙ ตัวชีว้ ดั
๑๖๕
รายวชิ าศิลปะพืน้ ฐาน
คาํ อธิบายรายวิชา
กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ รายวิชา ศิลปะ(ดนตรีนาฏศิลป์ ) รหัสวิชา ศ๒๑๑๐๒ ช้ันมัธยมศึกษาปี ที่ ๑
ภาคเรียนท่ี ๒ จาํ นวน ๑.๐ หน่วยกติ เวลาเรียน ๒ ช่ัวโมง/สัปดาห์ เวลา ๔๐ ชั่วโมง/ภาคเรียน
ศึกษาวิเคราะหโ์ นต้ ไทย และโนต้ สากล เปรียบเทียบเสียงร้องและเสียงของเครื่องดนตรีท่ีมาจากวฒั นธรรม
ที่ตา่ งกนั ร้องเพลงและใชเ้ คร่ืองดนตรีบรรเลงประกอบการร้องเพลงดว้ ยบทเพลงท่ีหลากหลายรูปแบบ จดั ประเภท
ของวงดนตรีไทยและวงดนตรีที่มาจากวฒั นธรรมตา่ ง ๆ แสดงความคดิ เห็นที่มีต่ออารมณ์ของบทเพลงท่ีมีความเร็ว
ของจงั หวะและความดงั - เบา แตกตา่ งกนั เปรียบเทียบอารมณ์ ความรู้สึกในการฟังดนตรีแตล่ ะประเภท นาํ เสนอ
ตวั อยา่ งเพลงที่ตนเองชื่นชอบ และอภิปรายลกั ษณะเด่นที่ทาํ ใหง้ านน้นั น่าช่ืนชม การใชเ้ กณฑส์ าํ หรับประเมินคุณภาพ
งานดนตรีหรือเพลงท่ีฟัง การใชแ้ ละบาํ รุงรักษาเครื่องดนตรีอยา่ งระมดั ระวงั และรับผิดชอบ บทบาทความสมั พนั ธ์
และอิทธิพลของดนตรีท่ีมีต่อสังคมไทย และความหลากหลายขององคป์ ระกอบดนตรีในวฒั นธรรมตา่ งกนั ศึกษาวเิ คราะห์
อิทธิพลของนกั แสดงชื่อดงั ที่มีผลต่อการโนม้ นา้ วอารมณ์หรือความคดิ ของผชู้ ม นาฏยศพั ทห์ รือศพั ทท์ างการละครที่ใช้
ในการแสดง การแสดงนาฏศิลป์ และละครในรูปแบบงา่ ย ๆ การทาํ งานเป็นกลุ่มในกระบวนการผลิตการแสดง การใช้
เกณฑง์ ่าย ๆ ที่กาํ หนดใหใ้ นการพจิ ารณาคุณภาพการแสดงท่ีชมโดยเนน้ เร่ืองการใชเ้ สียง การแสดงทา่ และการ
เคล่ือนไหวปัจจยั ที่มีผลต่อการเปล่ียนแปลงของนาฏศิลป์ นาฏศิลป์ พ้นื บา้ น ละครไทย และละครพ้ืนบา้ นและประเภท
ของละครไทยในแตล่ ะยคุ สมยั
โดยใชก้ ระบวนการคดิ วิเคราะห์ การอภิปราย กระบวนการกลมุ่ การสืบคน้ ขอ้ มูลและการบนั ทึกขอ้ มูล
เพ่ือใหเ้ กิดความรู้ความเขา้ ใจตลอดจนนาํ ความรู้และหลกั การทางดนตรีมาประยกุ ตใ์ ชใ้ หเ้ กิดประโยชนใ์ น
การดาํ เนินชีวิตประจาํ วนั
ตัวชี้วดั
ศ ๒.๑ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๓, ม.๑/๔, ม.๑/๕, ม.๑/๖, ม.๑/๗, ม.๑/๘, ม.๑/๙
ศ ๒.๒ ม.๑/๑, ม.๑/๒
ศ ๓.๑ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๓, ม.๑/๔, ม.๑/๕
ศ ๓.๒ ม.๑/๑, ม.๑/๒
รวม ๑๘ ตัวชี้วดั
๑๖๖
รายวิชาศิลปะพืน้ ฐาน
คาํ อธบิ ายรายวิชา
กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ รายวชิ า ศิลปะ(ทัศนศิลป์ ) รหัสวิชา ศ๒๒๑๐๑ ช้ันมัธยมศึกษาปี ที่ ๒
ภาคเรียนที่ ๑ จาํ นวน ๑.๐ หน่วยกติ เวลาเรียน ๒ ชั่วโมง/สัปดาห์ เวลา ๔๐ ช่ัวโมง/ภาคเรียน
ศึกษาวิเคราะหท์ ศั นธาตุในดา้ นรูปแบบ และแนวคิดของงานทศั นศิลป์ ความเหมือนและความแตกตา่ งของ
รูปแบบการใชว้ สั ดุอุปกรณ์ในงานทศั นศิลป์ ของศิลปิ น การวาดภาพดว้ ยเทคนิคที่หลากหลายในการสื่อความหมาย
และเร่ืองราวตา่ ง ๆ การสร้างเกณฑใ์ นการประเมินและวิจารณ์งานทศั นศิลป์ และนาํ ผลการวจิ ารณ์ไปปรับปรุงแกไ้ ข
และพฒั นางานวาดภาพแสดงบคุ ลิกลกั ษณะของตวั ละครวธิ ีการใชง้ านทศั นศิลป์ ในการโฆษณาเพอ่ื โนม้ นา้ วใจและ
นาํ เสนอตวั อยา่ งประกอบระบเุ กี่ยวกบั วฒั นธรรมตา่ งๆ ที่สะทอ้ นถึงงานทศั นศิลป์ ในปัจจุบนั การเปล่ียนแปลงของงาน
ทศั นศิลป์ ของไทยในแต่ละยคุ สมยั โดยเนน้ ถึงแนวคดิ และเน้ือหาของงานและเปรียบเทียบแนวคดิ ในการออกแบบงาน
ทศั นศิลป์ ท่ีมาจากวฒั นธรรมไทยและสากล
โดยใชก้ ระบวนการคดิ วิเคราะห์ การอภิปราย กระบวนการกลมุ่ การสืบคน้ ขอ้ มลู และการบนั ทึกขอ้ มลู
เพือ่ ใหเ้ กิดความรู้ ความเขา้ ใจ ความสามารถในการสื่อสารและเห็นคุณค่าของการนาํ ความรู้ไปใชใ้ ห้
เกิดประโยชนใ์ นการดาํ เนินชีวติ ประจาํ วนั
ตัวชี้วัด
ศ ๑.๑ ม.๒/๑, ม.๒/๒, ม.๒/๓, ม.๒/๔, ม.๒/๕, ม.๒/๖, ม.๒/๗
ศ ๑.๒ ม.๒/๑, ม.๒/๒, ม.๒/๓
รวม ๑๐ ตวั ชี้วดั
๑๖๗
รายวชิ าศิลปะพืน้ ฐาน
คาํ อธิบายรายวชิ า
กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ รายวชิ า ศิลปะ(ดนตรีนาฏศิลป์ ) รหสั วิชา ศ๒๒๑๐๔ ช้ันมธั ยมศึกษาปี ที่ ๒
ภาคเรียนที่ ๒ จาํ นวน ๑.๐ หน่วยกติ เวลาเรียน ๒ ช่ัวโมง/สัปดาห์ เวลา ๔๐ ช่ัวโมง/ภาคเรียน
ศึกษาและเปรียบเทียบการใชอ้ งคป์ ระกอบดนตรีที่มาจากวฒั นธรรมต่างกนั โนต้ ไทยและโนต้ สากลท่ีมี
เคร่ืองหมายแปลงเสียง ปัจจยั สาํ คญั ที่มีอิทธิพลต่อการสร้างสรรคง์ านดนตรีร้องเพลง และเล่นดนตรีเด่ียว และ รวมวง
อารมณ์ของเพลงและความรู้สึกท่ีมีต่อบทเพลงที่ฟังประเมิน พฒั นาการทกั ษะทางดนตรีของตนเองหลงั จากการ
ฝึกปฏิบตั ิ ระบุงานอาชีพต่าง ๆ ท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั ดนตรีและบทบาทของดนตรีในธุรกิจบนั เทิง บทบาทและอิทธิพล
ของดนตรีในวฒั นธรรมของประเทศตา่ ง ๆ อิทธิพลของวฒั นธรรมและเหตกุ ารณ์ในประวตั ิศาสตร์ท่ีมีต่อรูปแบบ
ของดนตรีในประเทศไทย ศึกษาวเิ คราะห์การบูรณาการศิลปะแขนงอ่ืน ๆ กบั การแสดง หลกั และวธิ ีการสร้างสรรค์
การแสดงโดยใชอ้ งคป์ ระกอบนาฏศิลป์ และการละคร วิเคราะห์การแสดงของตนเองและผอู้ ื่นโดยใชน้ าฏยศพั ทห์ รือ
ศพั ทท์ างการละครท่ีเหมาะสม เสนอขอ้ คดิ เห็นในการปรับปรุงการแสดงเช่ือมโยงการเรียนรู้ระหวา่ งนาฏศิลป์ และการ
ละคร กบั สาระการเรียนรู้อ่ืน ๆ ลกั ษณะเฉพาะของการแสดงนาฏศิลป์ จากวฒั นธรรมตา่ งๆ การแสดงนาฏศิลป์
นาฏศิลป์ พ้ืนบา้ น ละครไทย ละครพ้ืนบา้ น หรือมหรสพอื่นที่เคยนิยมกนั ในอดีต และอิทธิพลของวฒั นธรรมท่ีมีผล
ต่อเน้ือหาของละคร
โดยใชก้ ระบวนการคิดวิเคราะห์ การอภิปราย กระบวนการกลมุ่ การสืบคน้ ขอ้ มูลและการบนั ทึกขอ้ มลู
เพ่ือใหเ้ กิดความรู้ ความเขา้ ใจ ความสามารถในการส่ือสารและเห็นคุณคา่ ของการนาํ ความรู้ไปใชใ้ ห้
เกิดประโยชนใ์ นการดาํ เนินชีวิตประจาํ วนั โดยมีจิตสาธารณะและรักความเป็นไทย
ตัวชีว้ ัด
ศ ๒.๑ ม.๒/๑, ม.๒/๒, ม.๒/๓, ม.๒/๔, ม.๒/๕, ม.๒/๖, ม.๒/๗
ศ ๒.๒ ม.๒/๑, ม.๒/๒
ศ ๓.๑ ม.๒/๑, ม.๒/๒,ม.๒/๓, ม.๒/๔, ม.๒/๕
ศ ๓.๒ ม.๒/๑, ม.๒/๒, ม.๒/๓
รวม ๑๗ ตวั ชี้วัด
๑๖๘
รายวชิ าศิลปะพื้นฐาน
คําอธบิ ายรายวชิ า
กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ รายวชิ า ศิลปะ(ทัศนศิลป์ ) รหสั วิชา ศ๒๓๑๐๑ ช้ันมธั ยมศึกษาปี ท่ี ๓
ภาคเรียนท่ี ๑ จํานวน ๑.๐ หน่วยกติ เวลาเรียน ๒ ช่ัวโมง/สัปดาห์ เวลา ๔๐ ชั่วโมง/ภาคเรียน
ศึกษาวเิ คราะหส์ ่ิงแวดลอ้ มและงานทศั นศิลป์ ท่ีเลือกมาโดยใชค้ วามรู้เร่ืองทศั นธาตุ และหลกั การออกแบบ
เทคนิค วธิ ีการ ของศิลปิ นในการสร้างงาน ทศั นศิลป์ วิธีการใช้ ทศั นธาตุ และหลกั การออกแบบในการสร้างงาน
ทศั นศิลป์ ของตนเองใหม้ ีคุณภาพ การสร้างงานทศั นศิลป์ อยา่ งนอ้ ย ๓ ประเภท การผสมผสานวสั ดุต่าง ๆ ในการ
สร้างงานทศั นศิลป์ โดยใชห้ ลกั การออกแบบสร้างงานทศั นศิลป์ ท้งั ๒ มิติ และ ๓ มิติ เพ่ือถา่ ยทอดประสบการณ์ และ
จินตนาการ สร้างสรรคง์ านทศั นศิลป์ ส่ือความหมายเป็นเรื่องราวโดยประยกุ ตใ์ ชท้ ศั นธาตุ และหลกั การออกแบบ
รูปแบบ เน้ือหาและคณุ คา่ ในงานทศั นศิลป์ ของตนเอง และผอู้ ื่น หรือของศิลปิ น สร้างสรรคง์ านทศั นศิลป์ เพ่อื บรรยาย
เหตกุ ารณ์ต่าง ๆ โดยใชเ้ ทคนิคท่ีหลากหลาย งานทศั นศิลป์ และทกั ษะท่ีจาํ เป็นในการประกอบอาชีพ เลือกงาน
ทศั นศิลป์ โดยใชเ้ กณฑท์ ี่กาํ หนดข้นึ อยา่ งเหมาะสม และนาํ ไปจดั นิทรรศการ งานทศั นศิลป์ ท่ีสะทอ้ นคณุ คา่ ของ
วฒั นธรรม และเปรียบเทียบความแตกตา่ งของงานทศั นศิลป์ ในแตล่ ะยคุ สมยั ของวฒั นธรรมไทยและสากล
โดยใชก้ ระบวนการคดิ วิเคราะห์ การอภิปราย กระบวนการกลุ่ม การสืบคน้ ขอ้ มูลและการบนั ทึกขอ้ มูล
เพื่อใหเ้ กิดความรู้ ความเขา้ ใจ และเห็นคณุ คา่ ของการนาํ ความรู้ไปใชใ้ หเ้ กิดประโยชน์ในการดาํ เนิน
ชีวติ ประจาํ วนั โดยมีจิตสาธารณะและรักความเป็นไทย
ตัวชี้วัด
ศ ๑.๑ ม.๓/๑, ม.๓/๒, ม.๓/๓, ม.๓/๔, ม.๓/๕, ม.๓/๖, ม.๓/๗, ม.๓/๘, ม.๓/๙, ม.๓/๑๐, ม.๓/๑๑
ศ ๑.๒ ม.๓/๑, ม.๓/๒
รวม ๑๓ ตัวชีว้ ดั
๑๖๙
รายวิชาศิลปะพื้นฐาน
คําอธบิ ายรายวิชา
กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ รายวชิ า ศิลปะ (ดนตรีนาฏศิลป์ ) รหสั วชิ า ศ๒๓๑๐๒ ช้ันมธั ยมศึกษาปี ท่ี ๓
ภาคเรียนที่ ๒ จํานวน ๑.๐ หน่วยกติ เวลาเรียน ๒ ชั่วโมง/สัปดาห์ เวลา ๔๐ ชั่วโมง/ภาคเรียน
ศึกษาวเิ คราะหอ์ งคป์ ระกอบท่ีใชใ้ นงานดนตรีและงานศิลปะอ่ืน เทคนิคและการแสดงออกในการร้องเพลง
เลน่ ดนตรีเด่ียวและรวมวง แตง่ เพลงส้ัน ๆ จงั หวะงา่ ย ๆ การเลือกใชอ้ งคป์ ระกอบดนตรีในการสร้างสรรคง์ านดนตรี
ของตนเอง ความแตกตา่ งระหวา่ งงานดนตรีของตนเองและผอู้ ื่นอิทธิพลของดนตรีท่ีมีต่อบคุ คลและสงั คม นาํ เสนอ
หรือจดั การแสดงดนตรีที่เหมาะสมโดยการบรู ณาการกบั สาระการเรียนรู้อ่ืนในกลุ่มศิลปะ วิวฒั นาการของดนตรี
แต่ละยคุ สมยั และลกั ษณะเด่นที่ทาํ ใหง้ านดนตรีน้นั ไดร้ ับการยอมรับ ศึกษาวเิ คราะห์โครงสร้างของบทละครโดยใช้
ศพั ทท์ างการละคร นาฏยศพั ท์ หรือ ศพั ทท์ างการละครท่ีเหมาะสม บรรยายเปรียบเทียบการแสดงอากปั กิริยาของ
ผคู้ นในชีวิตประจาํ วนั และในการแสดง การใชค้ วามคิด ในการพฒั นารูปแบบการแสดง การแปลความและการ
ส่ือสารผา่ นการแสดง การวิจารณ์เปรียบเทียบงานนาฏศิลป์ ท่ีมีความแตกตา่ งกนั โดยใชค้ วามรู้เร่ืององคป์ ระกอบ
นาฏศิลป์ การแสดงในบทบาทหนา้ ท่ีตา่ ง ๆ การเสนอแนวคดิ จากเน้ือเร่ืองของการแสดงท่ีสามารถนาํ ไปปรับใชใ้ น
ชีวติ ประจาํ วนั การออกแบบและสร้างสรรคอ์ ุปกรณ์ และ เคร่ืองแตง่ กาย เพอ่ื แสดงนาฏศิลป์ และละครที่มาจาก
วฒั นธรรมตา่ ง ๆ ความสาํ คญั และบทบาทของนาฏศิลป์ และการละครในชีวิตประจาํ วนั และการแสดงความคิดเห็นใน
การอนุรักษน์ าฏศิลป์
โดยใชก้ ระบวนการคิดวิเคราะห์ การอภิปราย กระบวนการกลุ่ม การสืบคน้ ขอ้ มลู และการบนั ทึกขอ้ มลู
เพอื่ ใหเ้ กิดความรู้ ความเขา้ ใจ ความสามารถในการส่ือสารและเห็นคุณค่าของการนาํ ความรู้ไปใชใ้ หเ้ กิด
ประโยชน์ในการดาํ เนินชีวิตประจาํ วนั
ตวั ชีว้ ดั
ศ ๒.๑ ม.๓/๑, ม.๓/๒, ม.๓/๓, ม.๓/๔, ม.๓/๕, ม.๓/๖, ม.๓/๗
ศ ๒.๒ ม.๓/๑, ม.๓/๒
ศ ๓.๑ ม.๓/๑, ม.๓/๒, ม.๓/๓, ม.๓/๔, ม.๓/๕, ม.๓/๖, ม.๓/๗
ศ ๓.๒ ม.๓/๑, ม.๓/๒, ม.๓/๓
รวม ๑๙ ตัวชี้วดั
๑๗๐
กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ
ทาํ ไมต้องเรียนการงานอาชีพ
กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพเป็ นกลุ่มสาระที่ช่วยพฒั นาให้ผูเ้ รียน มีความรู้ ความเขา้ ใจ มีทักษะ
พ้ืนฐานท่ีจาํ เป็ นต่อการดาํ รงชีวิต และรู้เท่าทนั การเปลี่ยนแปลง สามารถนาํ ความรู้เกี่ยวกบั การดาํ รงชีวิต การ
อาชีพ และเทคโนโลยี มาใชป้ ระโยชน์ในการทาํ งานอยา่ งมีความคิดสร้างสรรค์ และแข่งขนั ในสังคมไทยและสากล
เห็นแนวทางในการประกอบอาชีพ รักการทาํ งาน และมีเจตคติที่ดีต่อการทาํ งาน สามารถดาํ รงชีวิตอย่ใู นสังคมได้
อยา่ งพอเพียง และมีความสุข
เรียนรู้อะไรในการงานอาชีพ
กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ มุ่งพฒั นาผูเ้ รียนแบบองคร์ วม เพ่ือให้มีความรู้ความสามารถ มีทกั ษะใน
การทาํ งาน เห็นแนวทางในการประกอบอาชีพและการศึกษาต่อ ไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ โดยมีสาระสาํ คญั ดงั น้ี
• การดํารงชีวิตและครอบครัว เป็นสาระเก่ียวกบั การทาํ งานในชีวิตประจาํ วนั ช่วยเหลือตนเอง ครอบครัว
และสังคมได้ในสภาพเศรษฐกิจที่พอเพียง ไม่ทาํ ลายส่ิงแวดลอ้ ม เน้นการปฏิบัติจริงจนเกิดความม่นั ใจและภูมิใจใน
ผลสาํ เร็จของงาน เพื่อใหค้ น้ พบความสามารถ ความถนดั และความสนใจของตนเอง
• การอาชีพ เป็ นสาระที่เก่ียวขอ้ งกบั ทกั ษะท่ีจาํ เป็ นต่ออาชีพ เห็นความสําคญั ของคุณธรรม จริยธรรม
และเจตคติที่ดีต่ออาชีพ ใช้เทคโนโลยีไดเ้ หมาะสม เห็นคุณค่าของอาชีพสุจริต และเห็นแนวทางในการประกอบ
อาชีพ
๑๗๑
สาระและมาตรฐานการเรียนรู้
สาระท่ี ๑ การดาํ รงชีวิตและครอบครัว
มาตรฐาน ง๑.๑ เขา้ ใจการทาํ งาน มีความคดิ สร้างสรรค์ มีทกั ษะกระบวนการทาํ งาน ทกั ษะการจดั การ ทกั ษะ
กระบวนการแกป้ ัญหา ทกั ษะการทาํ งานร่วมกนั และทกั ษะการแสวงหาความรู้ มีคุณธรรม
และลกั ษณะนิสยั ในการทาํ งาน มีจิตสาํ นึกในการใชพ้ ลงั งาน ทรัพยากร และส่ิงแวดลอ้ มเพื่อการ
ดาํ รงชีวิตและครอบครัว
สาระที่ ๒ การอาชีพ
มาตรฐาน ง๒.๑ เขา้ ใจ มีทกั ษะที่จาํ เป็น มีประสบการณ์ เห็นแนวทางในงานอาชีพ ใชเ้ ทคโนโลยเี พอ่ื พฒั นาอาชีพ
มีคุณธรรม และมีเจตคติที่ดีต่ออาชีพ
คณุ ภาพผ้เู รียน
จบช้ันประถมศึกษาปี ท่ี ๓
• เขา้ ใจวิธีการทาํ งานเพอื่ ช่วยเหลือตนเอง ครอบครัว และส่วนรวม ใชว้ สั ดุ อุปกรณ์ และเคร่ืองมือถูกตอ้ ง
ตรงกบั ลกั ษณะงาน มีทกั ษะกระบวนการทาํ งาน มีลกั ษณะนิสยั การทาํ งานท่ีกระตือรือร้น ตรงเวลา ประหยดั ปลอดภยั
สะอาด รอบคอบ และมีจิตสาํ นึกในการอนุรักษส์ ่ิงแวดลอ้ ม
• เขา้ ใจประโยชนข์ องส่ิงของเคร่ืองใชใ้ นชีวิตประจาํ วนั มีความคดิ ในการแกป้ ัญหาหรือสนองความ
ตอ้ งการอยา่ งมีความคิดสร้างสรรค์ มีทกั ษะในการสร้างของเล่น ของใชอ้ ยา่ งงา่ ย โดยใชก้ ระบวนการเทคโนโลยี
ไดแ้ ก่ กาํ หนดปัญหาหรือความตอ้ งการ รวบรวมขอ้ มลู ออกแบบโดยถา่ ยทอดความคิดเป็นภาพร่าง ๒ มิติ ลงมือสร้าง
และประเมินผล เลือกใชว้ สั ดุ อปุ กรณ์อยา่ งถูกวธิ ี เลือกใชส้ ่ิงของเครื่องใชใ้ นชีวิตประจาํ วนั อยา่ งสร้างสรรคแ์ ละมีการ
จดั การส่ิงของเคร่ืองใชด้ ว้ ยการนาํ กลบั มาใชซ้ ้าํ
จบช้ันประถมศึกษาปี ท่ี ๖
• เขา้ ใจการทาํ งานและปรับปรุงการทาํ งานแต่ละข้นั ตอน มีทกั ษะการจดั การ ทกั ษะการทาํ งานร่วมกนั
ทาํ งานอยา่ งเป็นระบบและมีความคิดสร้างสรรค์ มีลกั ษณะนิสยั การทาํ งานที่ขยนั อดทน รับผิดชอบ ซ่ือสัตย์ มีมารยาท
และมีจิตสาํ นึกในการใชน้ ้าํ ไฟฟ้าอยา่ งประหยดั และคุม้ ค่า
• รู้และเขา้ ใจเกี่ยวกบั อาชีพ รวมท้งั มีความรู้ ความสามารถและคณุ ธรรมที่สมั พนั ธก์ บั อาชีพ
๑๗๒
จบช้ันมัธยมศึกษาปี ที่ ๓
• เขา้ ใจกระบวนการทาํ งานท่ีมีประสิทธิภาพ ใชก้ ระบวนการกล่มุ ในการทาํ งาน มีทกั ษะการแสวงหา
ความรู้ ทกั ษะกระบวนการแกป้ ัญหาและทกั ษะการจดั การ มีลกั ษณะนิสยั การทาํ งานที่เสียสละ มีคณุ ธรรม ตดั สินใจ
อยา่ งมีเหตุผลและถกู ตอ้ ง และมีจิตสาํ นึกในการใชพ้ ลงั งาน ทรัพยากรและส่ิงแวดลอ้ มอยา่ งประหยดั และคุม้ ค่า
• เขา้ ใจแนวทางการเลือกอาชีพ การมีเจตคติท่ีดีตอ่ และเห็นความสาํ คญั ของการประกอบอาชีพ วธิ ีการหา
งานทาํ คุณสมบตั ิท่ีจาํ เป็นสาํ หรับการมีงานทาํ วเิ คราะหแ์ นวทางเขา้ สู่อาชีพ มีทกั ษะพ้นื ฐานท่ีจาํ เป็นสาํ หรับการ
ประกอบอาชีพ และประสบการณ์ต่ออาชีพท่ีสนใจ และประเมินทางเลือก ในการประกอบอาชีพท่ีสอดคลอ้ งกบั ความรู้
ความถนดั และความสนใจ
จบช้ันมัธยมศึกษาปี ท่ี ๖
• เขา้ ใจวธิ ีการทาํ งานเพ่อื การดาํ รงชีวติ สร้างผลงานอยา่ งมีความคดิ สร้างสรรค์ มีทกั ษะการทาํ งานร่วมกนั
ทกั ษะการจดั การ ทกั ษะกระบวนการแกป้ ัญหา และทกั ษะการแสวงหาความรู้ ทาํ งานอยา่ งมีคณุ ธรรม และมีจิตสาํ นึก
ในการใชพ้ ลงั งานและทรัพยากรอยา่ งคุม้ คา่ และยง่ั ยนื
• เขา้ ใจแนวทางสู่อาชีพ การเลือก และใชเ้ ทคโนโลยอี ยา่ งเหมาะสมกบั อาชีพ มีประสบการณ์ในอาชีพที่
ถนดั และสนใจ และมีคณุ ลกั ษณะที่ดีตอ่ อาชีพ
๑๗๓
โครงสร้างรายวชิ า
รายวิชาตามโครงสร้างหลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนอนุบาลหว้ ยกระเจา พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓
ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ กลมุ่ สาระการเรียนรู้การงานอาชีพ
ระดบั ประถมศึกษา รายวชิ าการงานอาชีพ
ระดบั ช้ัน รหัส ช่ือรายวชิ า เวลาเรียนรายปี
ช้นั ป. ๑ ง๑๑๑๐๑ การงานอาชีพ ๑ ชวั่ โมง/สปั ดาห์ (๔๐/ปี )
ช้นั ป. ๒ ง๑๒๑๐๑ การงานอาชีพ ๑ ชวั่ โมง/สปั ดาห์ (๔๐/ปี )
ช้นั ป. ๓ ง๑๓๑๐๑ การงานอาชีพ ๑ ชวั่ โมง/สปั ดาห์ (๔๐/ปี )
ช้นั ป. ๔ ง๑๔๑๐๑ การงานอาชีพ ๑ ชวั่ โมง/สัปดาห์ (๔๐/ปี )
ช้นั ป. ๕ ง๑๕๑๐๑ การงานอาชีพ ๑ ชวั่ โมง/สัปดาห์ (๔๐/ปี )
ช้นั ป. ๖ ง๑๖๑๐๑ การงานอาชีพ ๑ ชวั่ โมง/สปั ดาห์ (๔๐/ปี )
ระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น รายวิชาการงานอาชีพพืน้ ฐาน
ระดับช้ัน รหสั ชื่อรายวิชา เวลาเรียนรายภาค
ช้นั ม. ๑ ง๒๑๑๐๑ การงานอาชีพ ๑ ชวั่ โมง/สัปดาห์ (๐.๕ หน่วยกิต)
ช้นั ม. ๒ ง๒๑๑๐๒ การงานอาชีพ ๑ ชวั่ โมง/สัปดาห์ (๐.๕ หน่วยกิต)
ช้นั ม. ๓ ง๒๒๑๐๑ การงานอาชีพ ๑ ชวั่ โมง/สัปดาห์ (๐.๕ หน่วยกิต)
ง๒๒๑๐๒ การงานอาชีพ ๑ ชวั่ โมง/สัปดาห์ (๐.๕ หน่วยกิต)
ง๒๓๑๐๑ การงานอาชีพ ๑ ชวั่ โมง/สัปดาห์ (๐.๕ หน่วยกิต)
ง๒๓๑๐๒ การงานอาชีพ ๑ ชวั่ โมง/สัปดาห์ (๐.๕ หน่วยกิต)
๑๗๔
ระดับประถมศึกษา
รายวชิ าการงานอาชีพพืน้ ฐาน
คาํ อธบิ ายรายวชิ า
กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ ช้ันประถมศึกษาปี ท่ี ๑
รหสั วชิ า ง๑๑๑๐๑ เวลาเรียน ๑ ช่ัวโมง/สัปดาห์ เวลา ๔๐ ช่ัวโมง
ศึกษา ฝึกฝนการทาํ งานช่วยเหลือตนเอง เกี่ยวกบั การแตง่ กาย การเก็บของใช้ การหยิบจบั และใชข้ องใช้
ส่วนตวั การจดั โตะ๊ ตู้ ช้นั การใชว้ สั ดุ อุปกรณ์ และเครื่องมืองา่ ย ๆ ในการบาํ รุงรักษาตน้ ไม้ การพบั กระดาษเป็น
ของเล่น ความสาํ คญั ของขอ้ มูลท่ีสนใจรวมท้งั แหล่งขอ้ มูลที่อยใู่ กลต้ วั ภมู ิปัญญาทอ้ งถิ่น ผรู้ ู้ ส่ือสิ่งพมิ พ์ และสื่อ
เทคโนโลยี ประโยชน์ของอุปกรณ์เทคโนโลยสี ารสนเทศที่ใชใ้ นการเรียน การวาดภาพ และการติดต่อส่ือสาร
โดยใชก้ ระบวนการทาํ งาน การสงั เกต การฝึกปฏิบตั ิ และการแสวงหาความรู้
เพอื่ ใหเ้ กิดความรู้ความเขา้ ใจ มีความคิดสร้างสรรค์ สื่อสารส่ิงท่ีเรียนรู้ไดด้ ี มีทกั ษะในการใชม้ ือ เครื่องมือ
เคร่ืองใชใ้ นการทาํ งานอยา่ งปลอดภยั สามารถทาํ งานตามข้นั ตอนกระบวนการทาํ งาน เห็นคุณคา่ ของการนาํ ความรู้ไป
ใชป้ ระโยชนใ์ นชีวิตประจาํ วนั รักการทาํ งาน ทาํ งานดว้ ยความกระตือรือร้น และตรงเวลา มีเจตคติท่ีดีต่อการทาํ งาน
มีลกั ษณะนิสัยการทาํ งานท่ีเหมาะสม
ตัวชีว้ ัด
ง ๑.๑ ป. ๑/๑ , ป. ๑/๒ , ป. ๑/๓
รวม ๓ ตวั ชีว้ ัด
๑๗๕
รายวิชาการงานอาชีพพืน้ ฐาน
คาํ อธบิ ายรายวชิ า
กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ ช้ันประถมศึกษาปี ท่ี ๒
รหสั วชิ า ง๑๒๑๐๑ เวลาเรียน ๑ ช่ัวโมง/สัปดาห์ เวลา ๔๐ ช่ัวโมง
ศึกษา ฝึกฝนการทาํ งานช่วยเหลือตนเองและครอบครัว ตามบทบาทและหนา้ ท่ีของสมาชิกในบา้ น ดว้ ยการจดั
วางส่ิงของ การเกบ็ เส้ือผา้ และรองเทา้ การช่วยครอบครัวเตรียมประกอบอาหารการกวาดบา้ น การลา้ งจาน การใช้
วสั ดุ อุปกรณ์ และเครื่องมือในการทาํ งาน การเพาะเมลด็ การดูแลแปลงเพาะกลา้ การทาํ ของเลน่ และการประดิษฐ์
ของใช้ ของตกแตง่ จากวสั ดุในโรงเรียนหรือทอ้ งถ่ินในอาํ เภอหว้ ยกระเจา เช่น ลูกตีนเป็ดน้าํ ขา้ วโพด ใบตาล มะพร้าว
รากไม้ ไมไ้ ผต่ น้ มะขาม ตน้ กลว้ ย ลกั ษณะและประโยชนข์ องส่ิงของเครื่องใชใ้ นชีวติ ประจาํ วนั การออกแบบสร้างของ
เล่นของใชง้ ่าย ๆ การถา่ ยทอดความคดิ เป็นภาพร่าง ๒ มิติ การสร้างชิ้นงาน และประเมินผลงาน ความสาํ คญั และ
ประโยชน์ของขอ้ มูล การรวบรวมขอ้ มูลที่สนใจจากแหล่งขอ้ มูลท่ีเชื่อถือได้ และแหล่งขอ้ มลู ในทอ้ งถิ่น ประโยชน์
ของแหล่งขอ้ มลู และการรักษาแหลง่ ขอ้ มลู หนา้ ที่ของอุปกรณ์พ้นื ฐานท่ีเป็นส่วนประกอบหลกั ของคอมพวิ เตอร์
โดยใชก้ ระบวนการทาํ งาน กระบวนการเทคโนโลยี กระบวนการแกป้ ัญหา การสังเกต การฝึกปฏิบตั ิ การ
อภิปราย และการแสวงหาความรู้
เพือ่ ใหเ้ กิดความรู้ ความคิด ความเขา้ ใจ สามารถถา่ ยทอดความคิดและสื่อสาร สามารถติดต่อกนั ผา่ น
เทคโนโลยเี พอื่ ทาํ หนา้ ท่ีในชีวติ ประจาํ วนั สิ่งท่ีเรียนรู้ไดด้ ี มีทกั ษะในการใชม้ ือ เครื่องมือ เคร่ืองใช้ ในการทาํ งาน
อยา่ งเหมาะสมกบั งานและประหยดั เห็นคณุ ค่าของการทาํ งาน และเทคโนโลยสี ารสนเทศ มีลกั ษณะความคดิ
สร้างสรรค์ ทาํ งานเป็นข้นั ตอน ถูกวธิ ี และปลอดภยั ปฏิบตั ิงานตามบทบาทหนา้ ท่ี ทาํ งานร่วมกบั สมาชิกใน
ครอบครัวได้ มีการปรับปรุงการทาํ งาน สามารถนาํ ความรู้ไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นการทาํ งาน ในชีวิตประจาํ วนั รักการ
ทาํ งาน มีเจตคติที่ดีตอ่ การทาํ งาน และ มีลกั ษณะนิสยั การทาํ งานท่ีเหมาะสม
ตัวชี้วัด
ง ๑.๑ ป. ๒/๑ , ป. ๒/๒ , ป. ๒/๓
รวม ๓ ตัวชี้วัด
ผลการเรียนรู้อาเซียน
เทคโนโลยชี ่วยใหป้ ระชาชนต่างวฒั นธรรมส่ือสารกนั ไดใ้ นชีวติ ประจาํ วนั
รวม ๑ ผลการเรียนรู้
๑๗๖
รายวิชาการงานอาชีพพื้นฐาน
คาํ อธิบายรายวิชา
กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ ช้ันประถมศึกษาปี ท่ี ๓
รหสั วชิ า ง๑๓๑๐๑ เวลาเรียน ๑ ชั่วโมง/สัปดาห์ เวลา ๔๐ ชั่วโมง
ศึกษา ฝึกฝนการทาํ งานช่วยเหลือตนเอง ครอบครัว และส่วนรวม ในการเลือกใชเ้ ส้ือผา้ และการดูแลรักษา
เส้ือผา้ การทาํ ความสะอาดบา้ น การทาํ ความสะอาดและตกแต่งห้องเรียน การใชว้ สั ดุ อปุ กรณ์ และ เครื่องมือ
ในการทาํ งานตา่ ง ๆ การปลูกพชื ผกั สวนครัว การบาํ รุงรักษาของเลน่ การซ่อมแซมของใชส้ ่วนตวั การประดิษฐ์
ของใชใ้ นโอกาสต่าง ๆโดยใชว้ สั ดุ และวสั ดุเหลือใชใ้ นทอ้ งถ่ิน การสร้างของเล่น หรือของใชอ้ ยา่ งง่าย ดว้ ยการ
กาํ หนดปัญหา หรือความตอ้ งการ รวบรวมขอ้ มลู ออกแบบ การถา่ ยทอดความคดิ เป็นภาพร่าง ๒ มิติ หรือภาพ ๒ มิติ
สร้างชิ้นงาน และประเมินผลงาน การใชเ้ ทคโนโลยที ่ีเป็นภูมิปัญญาทอ้ งถ่ินในการสร้างงานต่าง ๆ การเลือกใชส้ ่ิงของ
เคร่ืองใชใ้ นชีวิตประจาํ วนั การสาํ รวจ คน้ หา และรวบรวมขอ้ มูลจากแหล่งขอ้ มลู ในทอ้ งถ่ินและแหลง่ ขอ้ มูล
ท่ีเช่ือถือได้ การพจิ ารณาและสรุปผล การนาํ เสนอขอ้ มูล วิธีดูแลและรักษาอปุ กรณ์เทคโนโลยสี ารสนเทศ
โดยใชก้ ระบวนการทาํ งาน การจดั การ การทาํ งานร่วมกนั กระบวนการแกป้ ัญหา กระบวนการเทคโนโลยี
กระบวนการเทคโนโลยสี ารสนเทศ การฝึกปฏิบตั ิ และการแสวงหาความรู้
เพ่ือใหเ้ กิดความรู้ ความคิด ความเขา้ ใจ สามารถทาํ งานตามข้นั ตอนกระบวนการทาํ งาน มีทกั ษะในการ
เลือกใชว้ สั ดุ อุปกรณ์ และเครื่องมือ ตรงกบั ลกั ษณะงาน สามารถออกแบบและสร้างชิ้นงานตามความคดิ
สร้างสรรคแ์ ละกระบวนการเทคโนโลยี มีความสามารถในการจดั การส่ิงของเคร่ืองใชด้ ว้ ยการนาํ กลบั มาใชซ้ ้าํ
ถ่ายทอดความคิดและส่ือสารส่ิงท่ีเรียนรู้ได้ สามารถคน้ หาขอ้ มลู ท่ีตอ้ งการอยา่ งมีข้นั ตอนและนาํ เสนอขอ้ มลู ไดอ้ ยา่ ง
หลากหลาย ใชง้ าน ดูแลและรักษาอปุ กรณ์เทคโนโลยสี ารสนเทศไดถ้ ูกวิธี เห็นคุณคา่ และประโยชน์ของการทาํ งาน
ของแหลง่ ขอ้ มลู ใกลต้ วั มีความคิดสร้างสรรค์ ทาํ งานร่วมกบั ผอู้ ื่นอยา่ งรู้หนา้ ท่ี มีการปรับปรุงการทาํ งานอยเู่ สมอ
สามารถนาํ ความรู้ไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวิตประจาํ วนั มีจิตสาํ นึกในการอนุรักษส์ ่ิงแวดลอ้ ม มีคุณธรรมจริยธรรม และ
ลกั ษณะนิสัยในการทาํ งานที่เหมาะสม รักการทาํ งาน มีเจตคติที่ดีตอ่ การทาํ งาน
ตัวชี้วดั
ง ๑.๑ ป. ๓/๑ , ป. ๓/๒ , ป. ๓/๓
รวม ๓ ตวั ชี้วัด
๑๗๗
รายวิชาการงานอาชีพพื้นฐาน
คาํ อธิบายรายวิชา
กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ ช้ันประถมศึกษาปี ท่ี ๔
รหสั วชิ า ง๑๔๑๐๑ เวลาเรียน ๑ ชั่วโมง/สัปดาห์ เวลา ๔๐ ช่ัวโมง
ศึกษา สงั เกต ฝึกปฏิบตั ิ และอภิปรายสรุปเก่ียวกบั การทาํ งาน การดูแลรักษาของใชส้ ่วนตวั การจดั ตูเ้ ส้ือผา้
โตะ๊ เขียนหนงั สือ และกระเป๋ านกั เรียน การปลกู ไมด้ อก หรือไมป้ ระดบั การซ่อมแซมวสั ดุ อุปกรณ์ และเครื่องมือ
การประดิษฐ์ของใช้ ของตกแตง่ จากใบตอง และกระดาษ การจดั เก็บเอกสารส่วนตวั มารยาทในการตอ้ นรับ
บิดามารดา หรือผปู้ กครอง ในโอกาสต่าง ๆ มารยาทในการรับประทานอาหาร การใชห้ อ้ งเรียน ห้องน้าํ และห้องสว้ ม
ความหมาย และความสาํ คญั ของอาชีพในทอ้ งถ่ิน
โดยใชก้ ระบวนการทาํ งาน การจดั การ การทาํ งานร่วมกนั กระบวนการแกป้ ัญหา การฝึกปฏิบตั ิ
การอภิปราย และการแสวงหาความรู้
เพือ่ ใหเ้ กิดความรู้ ความคดิ ความเขา้ ใจ สามารถทาํ งานไดต้ ามข้นั ตอนกระบวนการทาํ งานจนบรรลุเป้าหมาย
ท่ีวางไว้ สามารถอธิบายเหตุผลในการทาํ งานใหบ้ รรลเุ ป้าหมาย อธิบายความหมายและความสาํ คญั ของอาชีพใน
ทอ้ งถ่ิน ถา่ ยทอดความคิดและส่ือสารส่ิงที่เรียนรู้ไดด้ ี เห็นคณุ คา่ ของการทาํ งาน และทาํ งานร่วมกบั ผูอ้ ่ืนอยา่ งรู้หนา้ ที่
มีมารยาทในการทาํ งาน ปรับปรุงการทาํ งานอยเู่ สมอ สามารถนาํ ความรู้ความเขา้ ใจไปประยกุ ตใ์ ช้ ในการทาํ งาน และ
ในชีวิต ประจาํ วนั ใชพ้ ลงั งานและทรัพยากรอยา่ งประหยดั และคุม้ คา่ มีคณุ ธรรมจริยธรรม และลกั ษณะนิสัยการ
ทาํ งานท่ีเหมาะสม รักการทาํ งาน มีเจตคติท่ีดี ต่อการทาํ งานและอาชีพสุจริต
ตวั ชี้วดั
ง ๑.๑ ป. ๔/๑ , ป. ๔/๒ , ป. ๔/๓ , ป. ๔/๔
ง ๒.๑ ป. ๔/๑
รวม ๕ ตัวชี้วัด
๑๗๘
รายวิชาการงานอาชีพพืน้ ฐาน
คําอธิบายรายวิชา
กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ ช้ันประถมศึกษาปี ที่ ๕
รหสั วิชา ง๑๕๑๐๑ เวลาเรียน ๑ ช่ัวโมง/สัปดาห์ เวลา ๔๐ ช่ัวโมง
ศึกษา สงั เกต ฝึกฝน และอภิปรายสรุปเก่ียวกบั ข้นั ตอนการทาํ งาน การทาํ ความสะอาด จดั เกบ็ และ
ดูแลรักษา เส้ือผา้ การปลกู พืช การทาํ บญั ชีครัวเรือน การจดั การในการจดั โต๊ะอาหาร ตูอ้ าหาร ตูเ้ ยน็ และหอ้ งครัว
การทาํ ความสะอาดหอ้ งน้าํ และหอ้ งสว้ ม การซ่อมแซมอุปกรณ์ของใชใ้ นบา้ น การประดิษฐ์ของใช้ ของตกแต่ง
จากวสั ดุเหลือใชท้ ่ีมีอยใู่ นทอ้ งถ่ิน การจดั เกบ็ เอกสารสาํ คญั การดูแลรักษาและใชส้ มบตั ิส่วนตวั สมาชิกในครอบครัว
และส่วนรวม มารยาทในการทาํ งานกบั สมาชิกในครอบครัว ความหมายและวิวฒั นาการของเทคโนโลยี
การสร้างส่ิงของเคร่ืองใช้ ตามความสนใจ โดยกาํ หนดปัญหา หรือความตอ้ งการ รวบรวมขอ้ มูล เลือกวธิ ีการออกแบบ
เป็นภาพร่าง ๓ มิติ สร้างชิ้นงาน และประเมินผลงาน การใชเ้ ทคโนโลยที ่ีเป็นภมู ิปัญญาทอ้ งถ่ินในการสร้างงาน
การใชอ้ ปุ กรณ์ เคร่ืองมือท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั กลไกและการควบคมุ ไฟฟ้า - อิเลก็ ทรอนิกส์ การเลือกใชเ้ ทคโนโลยี
อยา่ งสร้างสรรค์ การแปรรูปส่ิงของเครื่องใช้ การสาํ รวจขอ้ มลู เกี่ยวกบั อาชีพตา่ ง ๆ ในชุมชน และความแตกต่าง
ของแต่ละอาชีพ
โดยใชก้ ระบวนการทาํ งาน การจดั การ การทาํ งานร่วมกนั กระบวนการแกป้ ัญหา กระบวนการเทคโนโลยี
การฝึกปฏิบตั ิ การอภิปราย และการแสวงหาความรู้
เพอื่ ใหเ้ กิดความรู้ความคดิ ความเขา้ ใจ สามารถทาํ งานตามข้นั ตอนกระบวนการทาํ งาน อธิบายเหตุผลการ
ทาํ งานแต่ละข้นั ตอนได้ มีทกั ษะการจดั การการทาํ งานอยา่ งเป็นระบบ ใช้ และประยกุ ตใ์ ชอ้ ปุ กรณ์ และเครื่องมือได้
อยา่ งคลอ่ งแคล่ว รวดเร็ว และถกู ตอ้ ง สามารถออกแบบและสร้างชิ้นงานตามความคิดสร้างสรรค์ และกระบวนการ
เทคโนโลยี สามารถคน้ หาขอ้ มลู ที่ตอ้ งการอยา่ งมีข้นั ตอนและนาํ เสนอขอ้ มลู ได้ ถ่ายทอดความคิดและส่ือสารส่ิงที่
เรียนรู้ไดด้ ี เห็นคณุ คา่ ของการทาํ งาน ทาํ งานร่วมกบั ผูอ้ ่ืนอยา่ งรู้หนา้ ที่ มีมารยาทในการทาํ งาน นาํ ความรู้ความเขา้ ใจ
ไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นการทาํ งาน ในชีวิตประจาํ วนั ได้ ใชพ้ ลงั งานและทรัพยากร อยา่ งประหยดั และคมุ้ ค่า มีคุณธรรม
จริยธรรม และลกั ษณะนิสัยการทาํ งานที่เหมาะสม รักการทาํ งาน มีเจตคติท่ีดี ต่อการทาํ งานและอาชีพสุจริต
ตวั ชีว้ ัด
ง ๑.๑ ป. ๕/๑ , ป. ๕/๒ , ป. ๕/๓ , ป. ๕/๔
ง ๒.๑ ป. ๕/๑ , ป. ๕/๒
รวม ๖ ตัวชีว้ ดั
๑๗๙
รายวชิ าการงานอาชีพพื้นฐาน
คาํ อธิบายรายวิชา
กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ ช้ันประถมศึกษาปี ท่ี ๖
รหัสวชิ า ง๑๖๑๐๑ เวลาเรียน ๑ ชั่วโมง/สัปดาห์ เวลา ๔๐ ชั่วโมง
ศึกษา สงั เกต ฝึกฝน และอภิปรายแนวทางในการทาํ งานดูแลรักษาสมบตั ิภายในบา้ น การปลกู ไมด้ อก
ไมป้ ระดบั ปลกู ผกั หรือเล้ียงปลาสวยงาม การบนั ทึกรายรับ - รายจ่ายของหอ้ งเรียน การจดั เกบ็ เอกสารการเงิน
การจดั การในการทาํ งานเกี่ยวกบั การเตรียม ประกอบ จดั อาหารใหส้ มาชิกในครอบครัว การติดต้งั ประกอบของใช้
ในบา้ น การประดิษฐข์ องใช้ ของตกแต่งจากวสั ดุในทอ้ งถ่ินใหส้ มาชิกในครอบครัว หรือเพอ่ื นในโอกาสต่าง ๆ
การปฏิบตั ิตนอยา่ งมีมารยาทในการทาํ งานกบั สมาชิกในครอบครัวและผอู้ ื่น สร้างชิ้นงาน และประเมินผลงาน การใช้
เทคโนโลยที ี่เป็นภมู ิปัญญาทอ้ งถ่ินในการสร้างงานต่าง ๆ การนาํ ความรู้และทกั ษะการสร้างชิ้นงานไปประยกุ ตใ์ ช้ ใน
เครื่องใชท้ ี่เกี่ยวขอ้ งกบั ชิ้นงานอื่นอีก เช่น กลไกและการควบคุมไฟฟ้า อิเลก็ ทรอนิกส์ การสาํ รวจตนเองเกี่ยวกบั ความ
สนในความสามารถ และทกั ษะ คณุ ธรรมในการประกอบอาชีพ
โดยใชก้ ระบวนการทาํ งาน การจดั การ การทาํ งานร่วมกนั กระบวนการแกป้ ัญหา กระบวนการเทคโนโลยี
การฝึกปฏิบตั ิ การอภิปราย และการแสวงหาความรู้
เพือ่ ใหเ้ กิดความรู้ความคิด ความเขา้ ใจและมีความสามารถทาํ งานตามข้นั ตอนกระบวนการทาํ งาน มีทกั ษะการ
จดั การในงานตา่ ง ๆ เป็นระบบ ใชค้ วามรู้และทกั ษะการสร้างชิ้นงานไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นงานอื่นใชอ้ ุปกรณ์ และ
เคร่ืองมือไดอ้ ยา่ งคลอ่ งแคล่ว รวดเร็ว ปลอดภยั สามารถออกแบบ และสร้างชิ้นงานตามความคิดสร้างสรรคแ์ ละ
กระบวนการเทคโนโลยี รู้วิธีที่จะไดข้ อ้ มลู เป็นข้นั ตอนถ่ายทอดความคิด และสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ไดด้ ี เห็นคุณค่าของ
การทาํ งาน ทาํ งานร่วมกบั ผูอ้ ่ืนอยา่ งรู้หนา้ ที่ มีมารยาทในการทาํ งาน นาํ ความรู้ ความคดิ ความเขา้ ใจไปประยกุ ตใ์ ชใ้ น
การทาํ งานในชีวิตประจาํ วนั มีจิตสาํ นึกในการใชพ้ ลงั งาน และทรัพยากรอยา่ งประหยดั และคมุ้ คา่ ลกั ษณะนิสยั การ
ทาํ งานเหมาะสม รักการทาํ งาน มีเจตคติท่ีดีต่อการทาํ งาน มีคณุ ธรรมท่ีสัมพนั ธ์กบั อาชีพ
ตวั ชี้วดั
ง ๑.๑ ป. ๖/๑ , ป. ๖/๒ , ป. ๖/๓
ง ๒.๑ ป. ๖/๑ , ป. ๖/๒
รวม ๕ ตัวชี้วดั
๑๘๐
ระดบั มัธยมศึกษา
รายวิชาการงานอาชีพพื้นฐาน
คําอธบิ ายรายวิชา
กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ รายวชิ า การงานอาชีพ รหัสวชิ า ง๒๑๑๐๑
ช้ันมธั ยมศึกษาปี ที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๑ จาํ นวน ๐.๕ หน่วยกติ
เวลาเรียน ๑ ชั่วโมง/สัปดาห์ เวลา ๒๐ ชั่วโมง/ภาคเรียน
ศึกษาคน้ ควา้ อธิบาย เรียนรู้วธิ ีการตลอดจนมีความรู้ความเขา้ ใจทกั ษะในการเรียนรู้งานที่ตนเองรับผดิ ชอบ
และมีส่วนร่วม รู้จกั ทาํ งานร่วมกนั อยา่ งมีความสุข ผลิตผลงานท่ีมีคณุ ภาพมีความประณีตเรียบร้อย มีนิสยั รักการ
ทาํ งาน ขยนั อดทน มีความริเริ่มสร้างสรรค์ ตลอดจนนาํ ไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นการดาํ เนินชีวิตของตนเองได้
โดยใชก้ ระบวนการทาํ งาน การจดั การ การทาํ งานร่วมกนั กระบวนการแกป้ ัญหา การฝึกปฏิบตั ิ
การอภิปราย และการแสวงหาความรู้
เพื่อใหเ้ กิดความรู้ความคดิ ความเขา้ ใจและมีความสามารถทาํ งานตามข้นั ตอนกระบวนการทาํ งาน มีทกั ษะการ
จดั การในงานต่าง ๆ เป็นระบบ และส่ือสารสิ่งที่เรียนรู้ไดด้ ี เห็นคุณคา่ ของการทาํ งาน ทาํ งานร่วมกบั ผูอ้ ื่นอยา่ งรู้หนา้ ท่ี
มีมารยาทในการทาํ งาน นาํ ความรู้ ความคดิ ความเขา้ ใจไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นการทาํ งานในชีวติ ประจาํ วนั มีเจตคติท่ีดีตอ่
การทาํ งาน มีคณุ ธรรมที่สมั พนั ธก์ บั อาชีพ
ตวั ชีว้ ดั
ง ๑.๑ ม.๑/๑ , ม๑/๒
รวม ๒ ตวั ชี้วัด
๑๘๑
รายวชิ าการงานอาชีพพื้นฐาน
คําอธบิ ายรายวชิ า
กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ รายวชิ า การงานอาชีพ รหสั วิชา ง๒๑๑๐๒
ช้ันมธั ยมศึกษาปี ท่ี ๑ ภาคเรียนท่ี ๒ จาํ นวน ๐.๕ หน่วยกติ
เวลาเรียน ๑ ชั่วโมง/สัปดาห์ เวลา ๒๐ ชั่วโมง/ภาคเรียน
ศึกษาคน้ ควา้ ความรู้ ความเขา้ ใจ ทกั ษะ เจตคติ ท่ีดีต่อการประกอบอาชีพ มีความมุง่ มน่ั ในการทาํ งานเห็น
ความสาํ คญั ของการสร้างอาชีพ ทาํ งานดว้ ยความเสียสละ รู้จกั การแกป้ ัญหา อยา่ งมีเหตผุ ลวเิ คราะห์ข้นั ตอน การทาํ งาน
เพอ่ื ใหเ้ กิดความรู้ท่ีลึกซ้ึงยง่ิ ข้นึ วิเคราะห์ข้นั ตอน กระบวนการทาํ งานเลือกใช้ เครื่องมือ วสั ดุ อปุ กรณ์ อยา่ งสร้างสรรค์
และเหมาะสมกบั งานโดยคาํ นึงถึง ความคุม้ ค่า มีประสิทธิภาพ อนุรักษส์ ่ิงแวดลอ้ ม และสงั คม ลงมือผลิตชิ้นงานตาม
ข้นั ตอน กระบวนการทาํ งานโดยใชก้ ระบวนการกลมุ่ นาํ เสนอผลงาน และแนวทางการประกอบอาชีพไดอ้ ยา่ ง
สร้างสรรค์
โดยใชก้ ระบวนการทาํ งาน การจดั การ การทาํ งานร่วมกนั กระบวนการแกป้ ัญหา การฝึกปฏิบตั ิ
การอภิปราย และการแสวงหาความรู้
เพอื่ ใหเ้ กิดความรู้ความคดิ ความเขา้ ใจและมีความสามารถทาํ งานตามข้นั ตอนกระบวนการทาํ งาน มีทกั ษะการ
จดั การในงานตา่ ง ๆ เป็นระบบ และส่ือสารส่ิงท่ีเรียนรู้ไดด้ ี เห็นคุณคา่ ของการทาํ งาน ทาํ งานร่วมกบั ผูอ้ ื่นอยา่ งรู้หนา้ ท่ี
มีมารยาทในการทาํ งาน นาํ ความรู้ ความคดิ ความเขา้ ใจไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นการทาํ งานในชีวติ ประจาํ วนั มีเจตคติที่ดีต่อ
การทาํ งาน มีคณุ ธรรมที่สมั พนั ธ์กบั อาชีพ
ตัวชีว้ ดั
ง ๒.๑ ม.๑/๑ , ม๑/๒ ,ม๑/๓
รวม ๓ ตวั ชีว้ ดั
๑๘๒
รายวชิ าการงานอาชีพพืน้ ฐาน
คาํ อธบิ ายรายวิชา
กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ รายวชิ า การงานอาชีพ รหสั วชิ า ง๒๒๑๐๑
ช้ันมธั ยมศึกษาปี ท่ี ๒ ภาคเรียนท่ี ๑ จํานวน ๐.๕ หน่วยกติ
เวลาเรียน ๑ ชั่วโมง/สัปดาห์ เวลา ๒๐ ช่ัวโมง/ภาคเรียน
ศึกษา วิเคราะห์ สํารวจ และแสวงหาความรู้ เพื่อพฒั นาการทาํ งาน โดยใชก้ ระบวนการแกป้ ัญหา มีความคิด
สร้างสรรค์ มีทกั ษะกระบวนการทาํ งาน ทักษะการจดั การ ทกั ษะกระบวนการแก้ปัญหา ทักษะการทาํ งานร่วมกัน
ทกั ษะการแสวงหาความรู้ ศึกษา คน้ ควา้ วิเคราะห์ และอธิบายกระบวนการเทคโนโลยีและการสร้างสิงของเครื่องใช้
ตาม กระบวนการเทคโนโลยี อยา่ งปลอดภยั ถ่ายทอดความคิดของวธิ ีการเป็นแบบจาํ ลองความคิดและการรายงานผล
โดยใชก้ ระบวนการทาํ งาน การจดั การ การทาํ งานร่วมกนั กระบวนการแกป้ ัญหา การฝึกปฏิบตั ิ
การอภิปราย และการแสวงหาความรู้
เพ่ือใหเ้ กิดคุณธรรม เจตคติที่ดีต่ออาชีพ มีจิตสํานึกในการใชพ้ ลงั งานทพั ยากร และสิ่งแวดลอ้ มอย่างประหยดั
และคุ่มค่า เพ่ือการดํารงชีวิต และครอบครัว ในการประกอบอาชีพ เพื่อให้มีความรู้ ความเขา้ ใจ มีทักษะในการ
ดาํ รงชีวิต ครอบครัว และการทาํ งาน สามารถอยรู่ ่วมกนั ในสงั คมอยา่ งมีความสุข
ตวั ชีว้ ดั
ง ๑.๑ ม ๒/๑ , ม ๒/๒ , ม ๒/๓
รวม ๓ ตวั ชี้วดั
๑๘๓
รายวชิ าการงานอาชีพพืน้ ฐาน
คาํ อธบิ ายรายวิชา
กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ รายวชิ า การงานอาชีพ รหัสวิชา ง๒๒๑๐๒
ช้ันมธั ยมศึกษาปี ท่ี ๒ ภาคเรียนที่ ๒ จํานวน ๐.๕ หน่วยกติ
เวลาเรียน ๑ ช่ัวโมง/สัปดาห์ เวลา ๒๐ ชั่วโมง/ภาคเรียน
ศึกษา สาํ รวจ วเิ คราะห์ การจดั ประสบการณ์อาชีพ การเตรียมตวั เขา้ สู่อาชีพ และมีทกั ษะท่ีจาํ เป็นต่องานอาชีพ
ฝึ กปฏิบัติทักษะท่ีจาํ เป็ นต่อการประกอบอาชีพ ด้วยทกั ษะกระบวนการทาํ งาน การแก้ปัญหา การทาํ งานร่วมกัน
ตลอดจนการแสวงหาความรู้จากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ ถ่ายทอดความคิดของวิธีการเป็ นแบบจาํ ลองความคิดและการ
รายงานผล เพือ่ นาํ เสนอวิธีการ มีความคิดสร้างสรรคใ์ นการแกป้ ัญหาหรือสนองความตอ้ งการในงานที่ผลิตเอง เลือกใช้
เทคโนโลยีอย่างสร้างสรรค์ ต่อชีวิต สังคม สิ่งแวดลอ้ ม และมีการจดั การเทคโนโลยีดว้ ยการลดการใชท้ รัพยากรหรือ
เลือกใชเ้ ทคโนโลยดี ว้ ยการลดการใชท้ รัพยากร หรือเลือกใชเ้ ทคโนโลยที ี่ไมม่ ีผลกระทบตอ่ สิ่งแวดลอ้ ม
โดยใชก้ ระบวนการทาํ งาน การจดั การ การทาํ งานร่วมกนั กระบวนการแกป้ ัญหา การฝึกปฏิบตั ิ
การอภิปราย และการแสวงหาความรู้
เพ่ือใหเ้ กิดคุณธรรม เจตคติท่ีดีต่ออาชีพ มีจิตสาํ นึกในการใชพ้ ลงั งานทพั ยากร และสิ่งแวดลอ้ มอยา่ งประหยดั
และคุ่มค่า เพื่อการดํารงชีวิต และครอบครัว ในการประกอบอาชีพ เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจ มีทักษะในการ
ดาํ รงชีวิต ครอบครัว และการทาํ งาน สามารถอยรู่ ่วมกนั ในสงั คมอยา่ งมีความสุข
ตวั ชีว้ ดั
ง ๒.๑ ม ๒/๑ , ม ๒/๒ , ม ๒/๓
รวม ๓ ตวั ชี้วดั
๑๘๔
รายวชิ าการงานอาชีพพืน้ ฐาน
คําอธิบายรายวิชา
กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ รายวิชา การงานอาชีพ รหสั วชิ า ง๒๓๑๐๒
ช้ันมัธยมศึกษาปี ที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๑ จาํ นวน ๐.๕ หน่วยกติ
เวลาเรียน ๑ ช่ัวโมง/สัปดาห์ เวลา ๒๐ ชั่วโมง/ภาคเรียน
ศึกษาระดบั ของเทคโนโลยี แบง่ ตามระดบั ความรู้ที่ใชเ้ ป็น ๓ ระดบั คือ ระดบั พ้ืนบา้ นหรือพ้ืนฐานระดบั กลาง
และระดบั สูง การสร้างสิ่งของเคร่ืองใชห้ รือวิธีการตามกระบวนการเทคโนโลยี รู้จกั ทาํ งานอยา่ งเป็นระบบ ใชค้ วามรู้
เร่ืองขนาดและหน่วยวดั เพื่อนาํ ไปสร้างชิ้นงาน ศึกษา วิเคราะห์ อภิปราย สรุป การหางานหรือตาํ แหน่งท่ีว่างจากส่ือ
สิ่งพิมพแ์ ละสื่ออิเลก็ ทรอนิกส์ แนวทางเขา้ สู่อาชีพตามคุณสมบตั ิที่จาํ เป็ น การประเมินทางเลือกอาชีพตามหลกั แนว
ทางการประเมิน รูปแบบการประเมิน และเกณฑก์ ารประเมิน
โดยใชก้ ระบวนการสืบคน้ กระบวนการคดิ วเิ คราะห์ กระบวนการพฒั นาคา่ นิยม กระบวนการทาํ งานกลุ่ม และ
กระบวนการแกป้ ัญหา
เพื่อให้เกิดความรู้ ความเขา้ ใจ ความคิด การใช้ทรัพยากรส่ิงแวดลอ้ มอย่างประหยดั ใช้ทกั ษะในการทาํ งาน
ร่วมกนั อยา่ งมีคณุ ธรรม และทาํ งานอยา่ งมีประสิทธิภาพ ตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง นาํ ภูมิปัญญาทอ้ งถ่ินเขา้ มา
ประยกุ ตใ์ ชใ้ นการดาํ รงชีวติ อยใู่ นสงั คมร่วมกนั อยา่ งมีความสุข
ตวั ชีว้ ัด
ง ๑.๑ ม ๓/๑ , ม ๓/๒, ม ๓/๓
รวม ๓ ตวั ชีว้ ดั
๑๘๕
รายวชิ าการงานอาชีพพืน้ ฐาน
คําอธบิ ายรายวชิ า
กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ รายวิชา การงานอาชีพ รหสั วชิ า ง๒๓๑๐๒
ช้ันมัธยมศึกษาปี ท่ี ๓ ภาคเรียนที่ ๒ จาํ นวน ๐.๕ หน่วยกติ
เวลาเรียน ๑ ช่ัวโมง/สัปดาห์ เวลา ๒๐ ชั่วโมง/ภาคเรียน
ศึกษา วิเคราะห์ อภิปราย ประเมินทางเลือกในการประกอบอาชีพของตนเอง โดยนําภูมิปัญญาทอ้ งถิ่นมา
ประยุกตใ์ ชต้ ามหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการดาํ รงชีวิตมีความรู้ความเขา้ ใจ ความคิด สามารถสร้างชิ้นงานจาก
จินตนาการ หรืองานที่ทาํ ในชีวิตประจาํ วนั ตามหลกั การทาํ โครงงานท่ีหลากหลายจนสามารถ
โดยใชก้ ระบวนการสืบคน้ กระบวนการคิดวิเคราะห์ กระบวนการพฒั นาคา่ นิยม กระบวนการทาํ งานกลุ่ม และ
กระบวนการแกป้ ัญหา
เพื่อให้เกิดความรู้ ความเขา้ ใจ ความคิด การใช้ทรัพยากรส่ิงแวดลอ้ มอย่างประหยดั ใช้ทกั ษะในการทาํ งาน
ร่วมกนั อยา่ งมีคณุ ธรรม และทาํ งานอยา่ งมีประสิทธิภาพ ตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง นาํ ภูมิปัญญาทอ้ งถ่ินเขา้ มา
ประยกุ ตใ์ ชใ้ นการดาํ รงชีวิตอยใู่ นสังคมร่วมกนั อยา่ งมีความสุข
ตวั ชีว้ ัด
ง๒.๑ ม ๓/๑ , ม ๓/๒, ม ๓/๓
รวม ๓ ตัวชีว้ ัด
๑๘๖
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
ทําไมต้องเรียนภาษาต่างประเทศ
ในสังคมโลกปัจจุบนั การเรียนรู้ภาษาต่างประเทศมีความสาํ คญั และจาํ เป็นอยา่ งยใ่ิ นชีวิตประจาํ วนั เน่ืองจาก
เป็นเคร่ืองมือสาํ คญั ในการติดตอ่ สื่อสาร การศึกษา การแสวงหาความรู้ การประกอบอาชีพ การสร้างความเขา้ ใจ
เกี่ยวกบั วฒั นธรรมและวิสัยทศั นข์ องชุมชนโลก และตระหนกั ถึงความหลากหลายทางวฒั นธรรมและมุมมองของสงั คม
โลก นาํ มาซ่ึงมิตรไมตรีและความร่วมมือกบั ประเทศตา่ งๆ ช่วยพฒั นาผเู้ รียนใหม้ ีความเขา้ ใจตนเองและผอู้ ่ืนดีข้ึน
เรียนรู้และเขา้ ใจความแตกตา่ งของภาษาและวฒั นธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี การคิด สังคม เศรษฐกิจ การเมือง
การปกครอง มีเจตคติที่ดีต่อการใชภ้ าษาต่างประเทศ และใชภ้ าษาต่างประเทศเพ่ือการสื่อสารได้ รวมท้งั เขา้ ถึงองค์
ความรู้ต่างๆ ไดง้ ่ายและกวา้ งข้นึ และมีวิสยั ทศั น์ในการดาํ เนินชีวิต
ภาษาต่างประเทศท่ีเป็นสาระการเรียนรู้พ้นื ฐาน ซ่ึงกาํ หนดใหเ้ รียนตลอดหลกั สูตรการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน คือ
ภาษาองั กฤษ ส่วนภาษาตา่ งประเทศอื่น เช่น ภาษาฝร่ังเศส เยอรมนั จีน ญี่ป่ ุน อาหรับ บาลี และภาษากลุม่ ประเทศเพือ่ น
บา้ น หรือภาษาอื่นๆ ใหอ้ ยใู่ นดุลยพินิจของสถานศึกษาท่ีจะจดั ทาํ รายวิชาและจดั การเรียนรู้ตามความเหมาะสม
เรียนรู้อะไรในภาษาต่างประเทศ
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ มงุ่ หวงั ใหผ้ ูเ้ รียนมีเจตคติที่ดีต่อภาษาต่างประเทศ สามารถใช้
ภาษาตา่ งประเทศ ส่ือสารในสถานการณ์ต่าง ๆ แสวงหาความรู้ ประกอบอาชีพ และศึกษาต่อ ในระดบั ที่สูงข้ึน รวมท้งั มี
ความรู้ความเขา้ ใจในเร่ืองราวและวฒั นธรรมอนั หลากหลายของประชาคมโลก และสามารถถา่ ยทอดความคิดและ
วฒั นธรรมไทยไปยงั สังคมโลกไดอ้ ยา่ งสร้างสรรค์ ประกอบดว้ ยสาระสาํ คญั ดงั น้ี
• ภาษาเพ่ือการสื่อสาร การใชภ้ าษาต่างประเทศในการฟัง-พดู -อ่าน-เขยี น แลกเปล่ียนขอ้ มูล ข่าวสาร
แสดงความรู้สึกและความคิดเห็น ตีความ นาํ เสนอขอ้ มลู ความคิดรวบยอดและความคดิ เห็นในเร่ืองตา่ งๆ และสร้าง
ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งบุคคลอยา่ งเหมาะสม
• ภาษาและวฒั นธรรม การใชภ้ าษาตา่ งประเทศตามวฒั นธรรมของเจา้ ของภาษาความสัมพนั ธ์ ความ
เหมือนและความแตกตา่ งระหวา่ งภาษากบั วฒั นธรรมของเจา้ ของภาษา ภาษาและวฒั นธรรมของเจา้ ของภาษากบั
วฒั นธรรมไทย และนาํ ไปใชอ้ ยา่ งเหมาะสม
• ภาษากบั ความสัมพนั ธ์กบั กลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น การใชภ้ าษาตา่ งประเทศในการเชื่อมโยงความรู้กบั
กลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น เป็นพ้นื ฐานในการพฒั นา แสวงหาความรู้ และ
เปิ ดโลกทศั นข์ องตน
๑๘๗
• ภาษากบั ความสัมพนั ธ์กบั ชุมชนและโลก การใชภ้ าษาตา่ งประเทศในสถานการณ์ต่างๆ ท้งั ในหอ้ งเรียน
และนอกห้องเรียน ชุมชน และสงั คมโลก เป็นเคร่ืองมือพ้ืนฐานในการศึกษาต่อ
ประกอบอาชีพ และแลกเปลี่ยนเรียนรู้กบั สงั คมโลก
สาระและมาตรฐานการเรียนรู้
สาระที่ ๑ ภาษาเพื่อการสื่อสาร
มาตรฐาน ต ๑.๑ เขา้ ใจและตีความเรื่องที่ฟังและอา่ นจากสื่อประเภทต่างๆ และแสดงความคดิ เห็นอยา่ งมีเหตุผล
มาตรฐาน ต ๑.๒ มีทกั ษะการส่ือสารทางภาษาในการแลกเปล่ียนขอ้ มลู ขา่ วสาร แสดงความรู้สึก และความคิดเห็น
อยา่ งมีประสิทธิภาพ
มาตรฐาน ต ๑.๓ นาํ เสนอขอ้ มลู ขา่ วสาร ความคิดรวบยอด และความคิดเห็นในเรื่องตา่ งๆ โดยการพดู และการเขียน
สาระที่ ๒ ภาษาและวัฒนธรรม
มาตรฐาน ต ๒.๑ เขา้ ใจความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งภาษากบั วฒั นธรรมของเจา้ ของภาษา และนาํ ไปใช้ ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม
กบั กาลเทศะ
มาตรฐาน ต ๒.๒ เขา้ ใจความเหมือนและความแตกตา่ งระหวา่ งภาษาและวฒั นธรรมของเจา้ ของภาษากบั ภาษา
และวฒั นธรรมไทย และนาํ มาใชอ้ ยา่ งถกู ตอ้ งและเหมาะสม
สาระท่ี ๓ ภาษากบั ความสัมพนั ธ์กบั กลุ่มสาระการเรียนรู้อ่ืน
มาตรฐาน ต ๓.๑ ใชภ้ าษาต่างประเทศในการเชื่อมโยงความรู้กบั กลุ่มสาระการเรียนรู้อ่ืน และเป็นพ้นื ฐาน
ในการพฒั นา แสวงหาความรู้ และเปิ ดโลกทศั น์ของตน
สาระที่ ๔ ภาษากบั ความสัมพนั ธ์กบั ชุมชนและโลก
มาตรฐาน ต ๔.๑ ใชภ้ าษาต่างประเทศในสถานการณ์ต่างๆ ท้งั ในสถานศึกษา ชุมชน และสังคม
มาตรฐาน ต ๔.๒ ใชภ้ าษาต่างประเทศเป็นเคร่ืองมือพ้ืนฐานในการศึกษาต่อ การประกอบอาชีพ และ
การแลกเปลี่ยน เรียนรู้กบั สังคมโลก
๑๘๘
คุณภาพผ้เู รียน
จบช้ันประถมศึกษาปี ท่ี ๓
• ปฏิบตั ิตามคาํ สง่ั คาํ ขอร้องที่ฟัง อา่ นออกเสียงตวั อกั ษร คาํ กลุม่ คาํ ประโยคงา่ ยๆ และบทพูดเขา้ จงั หวะ
งา่ ยๆ ถูกตอ้ งตามหลกั การอา่ น บอกความหมายของคาํ และกลมุ่ คาํ ที่ฟังตรงตามความหมาย ตอบคาํ ถามจากการฟังหรือ
อา่ นประโยค บทสนทนาหรือนิทานงา่ ยๆ
• พดู โตต้ อบดว้ ยคาํ ส้ันๆ ง่ายๆ ในการสื่อสารระหวา่ งบคุ คลตามแบบท่ีฟัง ใชค้ าํ ส่งั และคาํ ขอร้องงา่ ยๆ บอก
ความตอ้ งการง่ายๆ ของตนเอง พดู ขอและใหข้ อ้ มลู เกี่ยวกบั ตนเองและเพือ่ นบอกความรู้สึกของตนเองเกี่ยวกบั ส่ิงต่างๆ
ใกลต้ วั หรือกิจกรรมตา่ งๆ ตามแบบที่ฟัง
• พูดใหข้ อ้ มลู เกี่ยวกบั ตนเองและเรื่องใกลต้ วั จดั หมวดหมู่คาํ ตามประเภทของบคุ คล สัตว์ และสิ่งของตามท่ี
ฟังหรืออ่าน
• พูดและทาํ ท่าประกอบ ตามมารยาทสังคม/วฒั นธรรมของเจา้ ของภาษา บอกช่ือและคาํ ศพั ทง์ า่ ยๆ เก่ียวกบั
เทศกาล/วนั สาํ คญั /งานฉลอง และชีวติ ความเป็นอยขู่ องเจา้ ของภาษา เขา้ ร่วมกิจกรรมทางภาษาและวฒั นธรรมท่ีเหมาะ
กบั วยั
• บอกความแตกต่างของเสียงตวั อกั ษร คาํ กลุ่มคาํ และประโยคง่ายๆ ของภาษาตา่ งประเทศและภาษาไทย
• บอกคาํ ศพั ทท์ ี่เกี่ยวขอ้ งกบั กลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น
• ฟัง/พดู ในสถานการณ์ง่ายๆ ท่ีเกิดข้นึ ในหอ้ งเรียน
• ใชภ้ าษาตา่ งประเทศ เพ่ือรวบรวมคาํ ศพั ทท์ ่ีเก่ียวขอ้ งใกลต้ วั
• มีทกั ษะการใชภ้ าษาตา่ งประเทศ (เนน้ การฟัง-พูด) ส่ือสารตามหวั เร่ืองเกี่ยวกบั ตนเอง ครอบครัว โรงเรียน
สิ่งแวดลอ้ มใกลต้ วั อาหาร เคร่ืองดื่ม และเวลาว่างและนนั ทนาการ ภายในวงคาํ ศพั ทป์ ระมาณ ๓๐๐-๔๕๐ คาํ
(คาํ ศพั ทท์ ี่เป็นรูปธรรม)
• ใชป้ ระโยคคาํ เดียว (One Word Sentence) ประโยคเดี่ยว (Simple Sentence) ในการสนทนาโตต้ อบตาม
สถานการณ์ในชีวิตประจาํ วนั
จบช้ันประถมศึกษาปี ที่ ๖
• ปฏิบตั ิตามคาํ สัง่ คาํ ขอร้อง และคาํ แนะนาํ ที่ฟังและอา่ น อ่านออกเสียงประโยค ขอ้ ความ นิทาน และบท
กลอนส้ันๆ ถูกตอ้ งตามหลกั การอ่าน เลือก/ระบุประโยคและขอ้ ความตรงตามความหมายของสญั ลกั ษณ์หรือ
เครื่องหมายท่ีอ่าน บอกใจความสาํ คญั และตอบคาํ ถามจากการฟังและอา่ น บทสนทนา นิทานงา่ ยๆ และเร่ืองเล่า
• พดู /เขียนโตต้ อบในการส่ือสารระหวา่ งบุคคล ใชค้ าํ สัง่ คาํ ขอร้อง และใหค้ าํ แนะนาํ พูด/เขยี นแสดงความ
ตอ้ งการ ขอความช่วยเหลือ ตอบรับและปฏิเสธการใหค้ วามช่วยเหลือในสถานการณ์ง่ายๆ พดู และเขยี นเพอื่ ขอและ
๑๘๙
ใหข้ อ้ มลู เกี่ยวกบั ตนเอง เพื่อน ครอบครัว และเร่ืองใกลต้ วั พดู /เขียนแสดงความรู้สึกเกี่ยวกบั เร่ืองต่างๆ ใกลต้ วั
กิจกรรมตา่ งๆ พร้อมท้งั ใหเ้ หตผุ ลส้นั ๆ ประกอบ
• พดู /เขียนใหข้ อ้ มลู เก่ียวกบั ตนเอง เพือ่ น และสิ่งแวดลอ้ มใกลต้ วั เขียนภาพ แผนผงั แผนภมู ิ และตารางแสดง
ขอ้ มูลต่างๆ ท่ีฟังและอา่ น พูด/เขียนแสดงความคดิ เห็นเก่ียวกบั เร่ืองตา่ งๆ ใกลต้ วั
• ใชถ้ อ้ ยคาํ น้าํ เสียง และกิริยาท่าทางอยา่ งสุภาพ เหมาะสม ตามมารยาทสงั คมและวฒั นธรรมของเจา้ ของ
ภาษา ใหข้ อ้ มลู เก่ียวกบั เทศกาล/วนั สาํ คญั /งานฉลอง/ชีวติ ความเป็นอยขู่ องเจา้ ของภาษา
เขา้ ร่วมกิจกรรมทางภาษาและวฒั นธรรมตามความสนใจ
• บอกความหมือน/ ความแตกตา่ งระหวา่ งการออกเสียงประโยคชนิดตา่ งๆ การใชเ้ คร่ืองหมายวรรคตอน
และการลาํ ดบั คาํ ตามโครงสร้างประโยคของภาษาตา่ งประเทศและภาษาไทย เปรียบเทียบความเหมือน/ความแตกตา่ ง
ระหวา่ งเทศกาล งานฉลองและประเพณีของเจา้ ของภาษากบั ของไทย
• คน้ ควา้ รวบรวมคาํ ศพั ทท์ ี่เก่ียวขอ้ งกบั กลมุ่ สาระการเรียนรู้อื่นจากแหล่งการเรียนรู้ และนาํ เสนอดว้ ยการพูด/การ
เขยี น
• ใชภ้ าษาสื่อสารในสถานการณ์ตา่ งๆ ที่เกิดข้นึ ในหอ้ งเรียนและสถานศึกษา
• ใชภ้ าษาตา่ งประเทศในการสืบคน้ และรวบรวมขอ้ มลู ตา่ งๆ
• มีทกั ษะการใชภ้ าษาต่างประเทศ (เนน้ การฟัง-พูด-อ่าน-เขียน) สื่อสารตามหวั เรื่องเก่ียวกบั ตนเอง ครอบครัว
โรงเรียน ส่ิงแวดลอ้ ม อาหาร เครื่องด่ืม เวลาวา่ งและนนั ทนาการ สุขภาพและสวสั ดิการ การซ้ือ-ขาย และลมฟ้าอากาศ
ภายในวงคาํ ศพั ทป์ ระมาณ ๑,๐๕๐-๑,๒๐๐ คาํ (คาํ ศพั ทท์ ี่เป็นรูปธรรมและนามธรรม)
• ใชป้ ระโยคเด่ียวและประโยคผสม (Compound Sentences) สื่อความหมายตามบริบทตา่ งๆ
จบช้ันมัธยมศึกษาปี ที่ ๓
• ปฏิบตั ิตามคาํ ขอร้อง คาํ แนะนาํ คาํ ช้ีแจง และคาํ อธิบายที่ฟังและอ่าน อ่านออกเสียงขอ้ ความ ข่าว โฆษณา
นิทาน และบทร้อยกรองส้ันๆ ถูกตอ้ งตามหลกั การอา่ น ระบ/ุ เขียนสื่อท่ีไมใ่ ช่ความเรียงรูปแบบต่างๆ สัมพนั ธก์ บั
ประโยคและขอ้ ความที่ฟังหรืออา่ น เลือก/ระบุหวั ขอ้ เร่ือง ใจความสาํ คญั รายละเอียดสนบั สนุน และแสดงความคดิ เห็น
เกี่ยวกบั เร่ืองท่ีฟังและอา่ นจากส่ือประเภทต่างๆ พร้อมท้งั ใหเ้ หตุผลและยกตวั อยา่ งประกอบ
• สนทนาและเขยี นโตต้ อบขอ้ มูลเก่ียวกบั ตนเองและเร่ืองต่างๆ ใกลต้ วั สถานการณ์ ข่าว เร่ืองท่ีอยใู่ นความ
สนใจของสงั คมและส่ือสารอยา่ งตอ่ เนื่องและเหมาะสม ใชค้ าํ ขอร้อง คาํ ช้ีแจง และคาํ อธิบาย ใหค้ าํ แนะนาํ อยา่ ง
เหมาะสม พดู และเขยี นแสดงความตอ้ งการ เสนอและใหค้ วามช่วยเหลือ ตอบรับและปฏิเสธการใหค้ วามช่วยเหลือ
พูดและเขียนเพ่ือขอและใหข้ อ้ มูล บรรยาย อธิบาย เปรียบเทียบ และแสดงความคดิ เห็นเก่ียวกบั เรื่องท่ีฟังหรืออา่ นอยา่ ง
เหมาะสม พูดและเขียนบรรยายความรู้สึกและความคิดเห็นของตนเองเกี่ยวกบั เรื่องตา่ งๆ กิจกรรม ประสบการณ์ และ
ขา่ ว/เหตกุ ารณ์ พร้อมท้งั ใหเ้ หตผุ ลประกอบอยา่ งเหมาะสม
๑๙๐
• พดู และเขียนบรรยายเกี่ยวกบั ตนเอง ประสบการณ์ ข่าว/เหตกุ ารณ์/เร่ือง/ประเด็นต่างๆ ที่อยใู่ นความสนใจ
ของสงั คม พดู และเขียนสรุปใจความสาํ คญั /แก่นสาระ หวั ขอ้ เรื่องที่ไดจ้ ากการวิเคราะห์เร่ือง/ข่าว/เหตกุ ารณ์/
สถานการณ์ท่ีอยใู่ นความสนใจ พดู และเขียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกบั กิจกรรม ประสบการณ์ และเหตกุ ารณ์ พร้อม
ใหเ้ หตผุ ลประกอบ
• เลือกใชภ้ าษา น้าํ เสียง และกิริยาทา่ ทางเหมาะกบั บุคคลและโอกาส ตามมารยาทสงั คม
และวฒั นธรรมของเจา้ ของภาษา อธิบายเก่ียวกบั ชีวติ ความเป็นอยู่ ขนบธรรมเนียมและประเพณี
ของเจา้ ของภาษา เขา้ ร่วม/จดั กิจกรรมทางภาษาและวฒั นธรรมตามความสนใจ
• เปรียบเทียบ และอธิบายความเหมือนและความแตกตา่ งระหวา่ งการออกเสียงประโยคชนิดต่างๆ และการ
ลาํ ดบั คาํ ตามโครงสร้างประโยคของภาษาตา่ งประเทศและภาษาไทย เปรียบเทียบและ อธิบายความเหมือนและความ
แตกต่างระหว่างชีวิตความเป็นอยแู่ ละวฒั นธรรมของเจา้ ของภาษากบั
ของไทย และนาํ ไปใชอ้ ยา่ งเหมาะสม
• คน้ ควา้ รวบรวม และสรุปขอ้ มลู /ขอ้ เทจ็ จริงท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั กลมุ่ สาระการเรียนรู้อ่ืนจาก
แหล่งการเรียนรู้ และนาํ เสนอดว้ ยการพูดและการเขยี น
• ใชภ้ าษาส่ือสารในสถานการณ์จริง/สถานการณ์จาํ ลองท่ีเกิดข้นึ ในห้องเรียน สถานศึกษา ชุมชน และสงั คม
• ใชภ้ าษาต่างประเทศในการสืบคน้ /คน้ ควา้ รวบรวม และสรุปความรู/้ ขอ้ มูลตา่ งๆ จากสื่อ
และแหลง่ การเรียนรู้ต่างๆ ในการศึกษาตอ่ และประกอบอาชีพ เผยแพร่/ประชาสมั พนั ธ์ขอ้ มูล ข่าวสารของโรงเรียน
ชุมชน และทอ้ งถ่ิน เป็นภาษาต่างประเทศ
• มีทกั ษะการใชภ้ าษาตา่ งประเทศ (เนน้ การฟัง-พูด-อา่ น-เขียน) ส่ือสารตามหวั เรื่องเกี่ยวกบั ตนเอง ครอบครัว
โรงเรียน สิ่งแวดลอ้ ม อาหาร เคร่ืองดื่ม เวลาวา่ งและนนั ทนาการ สุขภาพและสวสั ดิการ การซ้ือ-ขาย ลมฟ้าอากาศ
การศึกษาและอาชีพ การเดินทางทอ่ งเที่ยว การบริการ สถานท่ี ภาษา และวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ภายในวงคาํ ศพั ท์
ประมาณ ๒,๑๐๐-๒,๒๕๐ คาํ (คาํ ศพั ทท์ ี่เป็นนามธรรมมากข้ึน)
• ใชป้ ระโยคผสมและประโยคซบั ซอ้ น (Complex Sentences) สื่อความหมายตามบริบทต่างๆ
ในการสนทนาท้งั ที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ
จบช้ันมัธยมศึกษาปี ท่ี ๖
• ปฏิบตั ิตามคาํ แนะนาํ ในคมู่ ือการใชง้ านตา่ งๆ คาํ ช้ีแจง คาํ อธิบาย และคาํ บรรยายท่ีฟังและอา่ น อา่ นออกเสียง
ขอ้ ความ ขา่ ว ประกาศ โฆษณา บทร้อยกรอง และบทละครส้ันถกู ตอ้ งตามหลกั การอ่าน อธิบายและเขยี นประโยคและขอ้
ความสมั พนั ธ์กบั สื่อท่ีไมใ่ ช่ความเรียงรูปแบบตา่ งๆ ที่อา่ น รวมท้งั ระบุและเขียนส่ือที่ไมใ่ ช่ความเรียงรูปแบบตา่ งๆ
สัมพนั ธ์กบั ประโยคและขอ้ ความท่ีฟังหรืออ่านจบั ใจความสาํ คญั วิเคราะหค์ วาม สรุปความ ตีความ และแสดงความ
คดิ เห็นจากการฟังและอ่านเร่ืองท่ีเป็นสารคดีและบนั เทิงคดี พร้อมท้งั ใหเ้ หตุผลและยกตวั อยา่ งประกอบ
๑๙๑
• สนทนาและเขยี นโตต้ อบขอ้ มูลเกี่ยวกบั ตนเองและเร่ืองต่างๆ ใกลต้ วั ประสบการณ์ สถานการณ์ ข่าว/
เหตุการณ์ ประเด็นท่ีอยใู่ นความสนใจและส่ือสารอยา่ งต่อเน่ืองและเหมาะสม เลือกและใชค้ าํ ขอร้อง คาํ ช้ีแจง
คาํ อธิบาย และใหค้ าํ แนะนาํ พดู และเขยี นแสดงความตอ้ งการ เสนอและใหค้ วามช่วยเหลือ ตอบรับและปฏิเสธการให้
ความช่วยเหลือในสถานการณ์จาํ ลองหรือสถานการณ์จริงอยา่ งเหมาะสม พูดและเขยี นเพ่อื ขอและใหข้ อ้ มลู บรรยาย
อธิบาย เปรียบเทียบ และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกบั เรื่อง/ประเดน็ /ข่าว/เหตุการณ์ที่ฟังและอา่ นอยา่ งเหมาะสม พดู และ
เขยี นบรรยายความรู้สึกและแสดงความคดิ เห็นของตนเองเก่ียวกบั เร่ืองตา่ งๆ กิจกรรม ประสบการณ์ และข่าว/เหตกุ ารณ์
อยา่ งมีเหตุผล
• พดู และเขียนนาํ เสนอขอ้ มลู เก่ียวกบั ตนเอง/ประสบการณ์ ขา่ ว/เหตกุ ารณ์ เร่ืองและประเด็นตา่ งๆ ตามความ
สนใจ พดู และเขียนสรุปใจความสาํ คญั แก่นสาระท่ีไดจ้ ากการวิเคราะห์เรื่อง กิจกรรม ขา่ ว เหตุการณ์ และสถานการณ์
ตามความสนใจ พูดและเขยี นแสดงความคดิ เห็นเกี่ยวกบั กิจกรรม ประสบการณ์ และเหตกุ ารณ์ ท้งั ในทอ้ งถ่ิน สังคม
และโลก พร้อมท้งั ใหเ้ หตผุ ลและยกตวั อยา่ งประกอบ
• เลือกใชภ้ าษา น้าํ เสียง และกิริยาท่าทางเหมาะกบั ระดบั ของบคุ คล เวลา โอกาสและสถานท่ีตามมารยาท
สังคมและวฒั นธรรมของเจา้ ของภาษา อธิบาย/อภิปรายวิถีชีวิต ความคิด ความเชื่อ และท่ีมาของขนบธรรมเนียมและ
ประเพณีของเจา้ ของภาษา เขา้ ร่วม แนะนาํ และจดั กิจกรรมทางภาษาและวฒั นธรรมอยา่ งเหมาะสม
• อธิบาย/เปรียบเทียบความแตกต่างระหวา่ งโครงสร้างประโยค ขอ้ ความ สาํ นวน คาํ พงั เพย สุภาษิต และบทกลอน
ของภาษาต่างประเทศและภาษาไทย วิเคราะห/์ อภิปรายความเหมือนและความแตกตา่ งระหวา่ งวิถีชีวิต ความเชื่อ และ
วฒั นธรรมของเจา้ ของภาษากบั ของไทย และนาํ ไปใชอ้ ย่างมีเหตุผล
• คน้ ควา้ /สืบคน้ บนั ทึก สรุป และแสดงความคดิ เห็นเกี่ยวกบั ขอ้ มลู ท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั กล่มุ สาระการเรียนรู้อื่น
จากแหลง่ เรียนรู้ตา่ งๆ และนาํ เสนอดว้ ยการพูดและการเขียน
• ใชภ้ าษาส่ือสารในสถานการณ์จริง/สถานการณ์จาํ ลองท่ีเกิดข้นึ ในห้องเรียน สถานศึกษา ชุมชน และสงั คม
• ใชภ้ าษาต่างประเทศในการสืบคน้ /คน้ ควา้ รวบรวม วิเคราะห์ และสรุปความรู้/ขอ้ มูลตา่ งๆ จากสื่อและ
แหล่งการเรียนรู้ต่างๆ ในการศึกษาต่อและประกอบอาชีพ เผยแพร่/ประชาสัมพนั ธ์ ขอ้ มูล ขา่ วสาร ของโรงเรียน
ชุมชน และทอ้ งถิ่น/ประเทศชาติ เป็นภาษาต่างประเทศ
• มีทกั ษะการใชภ้ าษาตา่ งประเทศ (เนน้ การฟัง-พูด-อ่าน-เขียน) สื่อสารตามหวั เร่ืองเก่ียวกบั ตนเอง ครอบครัว
โรงเรียน สิ่งแวดลอ้ ม อาหาร เครื่องดื่ม ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งบุคคล เวลาวา่ งและนนั ทนาการ สุขภาพและสวสั ดิการ
การซ้ือ-ขาย ลมฟ้าอากาศ การศึกษาและอาชีพ การเดินทางทอ่ งเท่ียว การบริการ สถานที่ ภาษา และวทิ ยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี ภายในวงคาํ ศพั ทป์ ระมาณ ๓,๖๐๐-๓,๗๕๐ คาํ (คาํ ศพั ทท์ ่ีมีระดบั การใชแ้ ตกตา่ งกนั )
• ใชป้ ระโยคผสมและประโยคซบั ซอ้ นสื่อความหมายตามบริบทต่างๆ ในการสนทนา ท้งั ท่ีเป็นทางการและ
ไมเ่ ป็นทางการ
๑๙๒
โครงสร้างรายวชิ า
รายวิชาตามโครงสร้างหลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนอนุบาลหว้ ยกระเจา พุทธศกั ราช ๒๕๖๓
ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
ระดับประถมศึกษา รายวิชาภาษาองั กฤษพืน้ ฐาน
ระดับช้ัน รหัส ช่ือรายวิชา เวลาเรียนรายปี
ช้นั ป. ๑ อ๑๑๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๓ ชวั่ โมง/สปั ดาห์ (๑๒๐/ปี )
ช้นั ป. ๒ อ๑๒๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๓ ชวั่ โมง/สัปดาห์ (๑๒๐/ปี )
ช้นั ป. ๓ อ๑๓๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๓ ชวั่ โมง/สัปดาห์ (๑๒๐/ปี )
ช้นั ป. ๔ อ๑๔๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๒ ชวั่ โมง/สปั ดาห์ (๘๐/ปี )
ช้นั ป. ๕ อ๑๕๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๒ ชวั่ โมง/สัปดาห์ (๘๐/ปี )
ช้นั ป. ๖ อ๑๖๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๒ ชวั่ โมง/สปั ดาห์ (๘๐/ปี )
ระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น รายวิชาภาษาองั กฤษพืน้ ฐาน
ระดับช้ัน รหัส ช่ือรายวชิ า เวลาเรียนรายภาค
ช้นั ม. ๑
ช้นั ม. ๒ อ๒๑๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๓ ชวั่ โมง/สปั ดาห์ (๑.๕ หน่วยกิต)
ช้นั ม. ๓ อ๒๑๑๐๒ ภาษาองั กฤษ ๓ ชวั่ โมง/สปั ดาห์ (๑.๕ หน่วยกิต)
อ๒๒๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๓ ชว่ั โมง/สัปดาห์ (๑.๕ หน่วยกิต)
อ๒๒๑๐๒ ภาษาองั กฤษ ๓ ชวั่ โมง/สปั ดาห์ (๑.๕ หน่วยกิต)
อ๒๓๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๓ ชวั่ โมง/สปั ดาห์ (๑.๕ หน่วยกิต)
อ๒๓๑๐๒ ภาษาองั กฤษ ๓ ชวั่ โมง/สปั ดาห์ (๑.๕ หน่วยกิต)
๑๙๓
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ระดับประถมศึกษา ช้ันประถมศึกษาปี ท่ี ๑
รหัสวิชา อ๑๑๑๐๑ เวลา ๑๖๐ ชั่วโมง
รายวิชาภาษาองั กฤษพื้นฐาน
คําอธิบายรายวิชา
เวลาเรียน ๔ ชั่วโมง/สัปดาห์
ปฏิบตั ิตามคาํ สง่ั งา่ ยๆท่ีฟัง ระบตุ วั อกั ษรและเสียงอา่ นออกเสียงและสะกดคาํ ง่ายๆถูกตอ้ งตามหลกั การ
อ่าน เลือกภาพตรงตามความหมายของคาํ และกลุ่มคาํ ที่ฟัง ตอบคาํ ถามจากการฟังเรื่องใกลต้ วั พูดโตต้ อบดว้ ยคาํ ส้ันๆ
ง่ายๆในการสื่อสารระหวา่ งบุคคลตามแบบที่ฟัง ใชค้ าํ ส่งั งา่ ยๆตามแบบท่ีสง่ั บอกความตอ้ งการงา่ ยๆของตนเองตาม
แบบที่ฟัง พดู ขอและใหข้ อ้ มูลงา่ ยๆท่ีเกี่ยวกบั ตนเองตามแบบที่ฟัง พูดใหข้ อ้ มูลเกี่ยวกบั ตนเองและเร่ืองใกลต้ วั พดู
และทาํ ท่าประกอบตามวฒั นธรรมของเจา้ ของภาษา บอกชื่อและคาํ ศพั ทเ์ กี่ยวกบั เทศกาลสาํ คญั ของเจา้ ของภาษา เขา้
ร่วมกิจกรรมทางภาษาและวฒั นธรรมท่ีเหมาะสมกบั วยั ระบุตวั อกั ษรและเสียงตวั อกั ษรของภาษาต่างประเทศและ
ภาษาไทย บอกคาํ ศพั ทท์ ่ีเกี่ยวขอ้ งกบั กลุม่ สาระการเรียนรู้อ่ืน ฟังพูดในสถานการณ์ง่ายๆท่ีเกิดข้นึ ในห้องเรียน ใช้
ภาษาต่างประเทศเพอ่ื รวบรวมคาํ ศพั ทท์ ่ีเก่ียวขอ้ งใกลต้ วั เห็นประโยชน์ในการเรียนภาษาต่างประเทศ โดยสนใจร่วม
กิจกรรมทางภาษาและวฒั นธรรม รักชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ มีความซื่อสตั ย์ สุจริต มีวินยั ใฝ่เรียนรู้ อยอู่ ยา่ งพอเพียง
มงุ่ มน่ั ในการทาํ งานรักความเป็นไทย มีจิตสาธารณะ เกิดความเพลิดเพลิน จากภาษาต่างประเทศท่ีเก่ียวขอ้ งกบั กลมุ่
สาระการเรียนรู้อื่นๆ
โดยใชก้ ระบวนการทางภาษา การส่ือสารและการสืบเสาะหาความรู้ การสืบคน้ ขอ้ มูล การฝึกปฏิบตั ิ
ตามสถานการณ์ต่าง ๆ
เพ่ือใหเ้ กิดความรู้ ความคิด ความเขา้ ใจ สามารถนาํ เสนอ ส่ือสาร เห็นคณุ ค่า นาํ ความรู้ ไปใชป้ ระโยชน์
ในการศึกษาต่อและประกอบอาชีพ มีคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมท่ีเหมาะสม
ตวั ชีว้ ดั
ต ๑.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓, ป.๑/๔
ต ๑.๒ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓, ป.๑/๔
ต ๑.๓ ป.๑/๑
ต ๒.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓
ต ๒.๒ ป.๑/๑
ต ๓.๑ ป.๑/๑
ต ๔.๑ ป.๑/๑
ต ๔.๒ ป.๑/๑
รวม ๑๖ ตัวชี้วัด
๑๙๔
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ รายวิชาภาษาองั กฤษพืน้ ฐาน ช้ันประถมศึกษาปี ที่ ๒
รหสั วชิ า อ๑๒๑๐๑ เวลา ๑๖๐ ชั่วโมง
คาํ อธบิ ายรายวชิ า
เวลาเรียน ๔ ช่ัวโมง/สัปดาห์
ปฏิบตั ิตามคาํ สง่ั คาํ ขอร้อง คาํ และประโยคง่าย ๆ ในสถานการณ์ใกลต้ วั สะกดคาํ อ่านออกเสียงคาํ และ
ประโยคงา่ ย ๆ ตามหลกั การอา่ นออกเสียง เขา้ ใจสนทนาส้นั ๆ บทอ่านและนิทานงา่ ย ๆ ที่มีภาพประกอบ พดู คาํ
หรือประโยคส้ัน ๆ เพ่ือสร้างความสมั พนั ธ์ระหวา่ งบคุ คลแสดงความตอ้ งการของตน ใหข้ อ้ มลู เกี่ยวกบั ตนเอง และ
เร่ืองใกลต้ วั ดว้ ยทา่ ทาง ภาพ คาํ และประโยคส้ัน ๆในการติดต่อปฏิสมั พนั ธ์ตามวฒั นธรรมของเจา้ ของภาษา ระบุ
และอ่านออกเสียงตวั อกั ษร สระของภาษาองั กฤษไดถ้ กู ตอ้ ง รู้จกั กิจกรรมและคาํ ศพั ทเ์ กี่ยวกบั วฒั นธรรม เทศกาล
ของเจา้ ของภาษา ตลอดจนรู้จกั และรวบรวมคาํ ศพั ทท์ ่ีเก่ียวขอ้ งกบั ส่ิงใกลต้ วั และกลมุ่ สาระการเรียนรู้อื่น
เห็นประโยชน์ของการรับรู้ภาษาองั กฤษในการแสวงหาความรู้ ความบนั เทิงในเร่ืองที่เก่ียวกบั ตนเอง ครอบครัว
และชีวติ ประจาํ วนั ดว้ ยความสนุกสนานเพลิดเพลินกบั ภาษาองั กฤษ และใชท้ า่ ทางประกอบการสนทนาตาม
วฒั นธรรมของเจา้ ของภาษา มีคณุ ธรรมจริยธรรมและคา่ นิยมที่เหมาะสม
โดยใชก้ ระบวนการทางภาษา การส่ือสารและการสืบเสาะหาความรู้ การสืบคน้ ขอ้ มลู การฝึกปฏิบตั ิ
ตามสถานการณ์ตา่ ง ๆ
เพื่อใหเ้ กิดความรู้ ความคิด ความเขา้ ใจ สามารถนาํ เสนอ สื่อสาร เห็นคณุ ค่า นาํ ความรู้ ไปใช้
ประโยชน์ในการศึกษาตอ่ และประกอบอาชีพ มีคณุ ธรรม จริยธรรมและค่านิยมที่เหมาะสม
ตัวชีว้ ดั
ต ๑.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔
ต ๑.๒ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔
ต ๑.๓ ป.๒/๑
ต ๒.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓
ต ๒.๒ ป.๒/๑
ต ๓.๑ ป.๒/๑
ต ๔.๑ ป.๒/๑
ต ๔.๒ ป.๒/๑
รวม ๑๖ ตวั ชี้วัด
๑๙๕
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ รายวิชาภาษาองั กฤษพืน้ ฐาน ช้ันประถมศึกษาปี ที่ ๓
รหัสวิชา อ๑๓๑๐๑ เวลา ๑๖๐ ชั่วโมง
คาํ อธบิ ายรายวิชา
เวลาเรียน ๔ ชั่วโมง/สัปดาห์
ปฏิบตั ิตามคาํ สง่ั คาํ ขอร้อง อ่านออกเสียงคาํ สะกดคาํ กลุม่ คาํ ประโยคบทพดู เขา้ จงั หวะง่ายๆ นิทานงา่ ยๆ
ถูกตามหลกั การอ่านออกเสียง พดู สนทนาส่ือสารดว้ ยคาํ ส้นั ๆ ง่าย ๆ ใหข้ อ้ มูลเก่ียวกบั ตนเองและเพื่อ ความตอ้ งการ
ความรู้สึกเกี่ยวกบั สิ่งต่าง ๆ ใกลต้ วั หรือกิจกรรมต่าง ๆ ตลอดจนสถานการณ์งา่ ย ๆ การจดั หมวดหมู่ คาํ
ตามประเภทของบคุ คลสตั วแ์ ละสิ่งของท่ีเกิดข้นึ ดว้ ยท่าทางประกอบการสนทนาตามวฒั นธรรมของเจา้ ของภาษา
และวฒั นธรรมของเจา้ ภาษา และวฒั นธรรมไทยในเรื่อง มารยาท เทศกาล วนั สาํ คญั งานฉลอง ชีวติ ความเป็นอยู่
ความแตกตา่ งของเสียงตวั อกั ษร คาํ กลุม่ คาํ และประโยคต่าง ๆ ของภาษาองั กฤษและภาษาไทย เขา้ ร่วมกิจกรรม
ดว้ ยความสนุกสนานเพลิดเพลินกบั ภาษาองั กฤษและนาํ มาใชไ้ ดอ้ ยา่ งถูกตอ้ งและเหมาะสม มีคณุ ธรรมจริยธรรม
และคา่ นิยมท่ีเหมาะสม
โดยใชก้ ระบวนการทางภาษา การสื่อสารและการสืบเสาะหาความรู้ การสืบคน้ ขอ้ มูล การฝึกปฏิบตั ิ
ตามสถานการณ์ตา่ ง ๆ
เพอื่ ใหเ้ กิดความรู้ ความคดิ ความเขา้ ใจ สามารถนาํ เสนอ ส่ือสาร เห็นคุณค่า นาํ ความรู้ ไปใชป้ ระโยชน์
ในการศึกษาตอ่ และประกอบอาชีพ มีคุณธรรม จริยธรรมและคา่ นิยมที่เหมาะสม
ตวั ชีว้ ัด
ต ๑.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔
ต ๑.๒ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕
ต ๑.๓ ป.๓/๑, ป.๓/๒
ต ๒.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓
ต ๒.๒ ป.๓/๑
ต ๓.๑ ป.๓/๑
ต ๔.๑ ป.๓/๑
ต ๔.๒ ป.๓/๑
รวม ๑๘ ตัวชี้วัด
๑๙๖
รายวชิ าภาษาองั กฤษพืน้ ฐาน
คําอธิบายรายวชิ า
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ช้ันประถมศึกษาปี ท่ี ๔
รหสั วชิ า อ๑๔๑๐๑ เวลาเรียน ๒ ชั่วโมง/สัปดาห์ เวลา ๘๐ ช่ัวโมง
ปฏิบตั ิตามคาํ ส่ัง คาํ ขอร้อง คาํ แนะนํา และคาํ ขออนุญาตง่าย ๆ อ่านออกเสียง คาํ สะกดคาํ กลุ่มคาํ
ประโยค ขอ้ ความส้ัน ๆ บทพูดเขา้ จงั หวะ บทสนทนา และนิทานงา่ ย ๆ ไดถ้ ูกตอ้ งตามหลกั การอ่านออกเสียง
พูดสนทนาสื่อสาร ใหข้ อ้ มลู เก่ียวกบั ตนเอง เพื่อน และครอบครัว แสดงความตอ้ งการ ขอความช่วยเหลือ
แสดงความรู้สึกและความสัมพนั ธ์ เก่ียวกบั สิ่งต่าง ๆ ใกลต้ ัวตลอดจนกิจกรรมต่าง ๆที่เกิดข้ึนในห้องเรียน และ
สถานศึกษา พูดแสดงความรู้สึกของตนเองเก่ียวกบั เร่ืองต่างๆ ใกลต้ วั หรือกิจกรรมต่างๆ ตามแบบท่ีฟัง คนที่ใชภ้ าษา
แตกต่างกนั สามารถทาํ งานร่วมกนั ได้ โดยใชท้ กั ษะการฟัง การอ่าน และการเขียน และวฒั นธรรมของเจา้ ภาษา และ
วฒั นธรรมไทยเกี่ยวกบั เรื่อง มารยาท เทศกาล วนั สําคญั งานฉลอง ชีวิตความเป็นอยู่ เสียงตวั อกั ษร คาํ กลุ่มคาํ
และประโยค และข้อความ พูดและทําท่าประกอบอย่างสุภาพตามมารยาทสังคม/วฒั นธรรมของเจ้าของภาษา
การทกั ทายบ่งบอกถึงสัมพนั ธภาพ เขา้ ร่วมกิจกรรมทางวฒั นธรรมและนาํ ไปใช้ตามวฒั นธรรมของเจา้ ของภาษากบั
ภาษาไทยไดอ้ ย่างถูกตอ้ งและเหมาะสม คน้ ควา้ ความสัมพนั ธ์ของคาํ ศพั ทภ์ าษาองั กฤษท่ีเก่ียวขอ้ งกบั กลุ่มสาระการ
เรียนรู้อื่น สามารถนาํ ภาษาองั กฤษไปใชใ้ นการสืบคน้ คน้ ควา้ ขอ้ มูลต่าง ๆ ไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ
โดยใชก้ ระบวนการทางภาษา การส่ือสารและการสืบเสาะหาความรู้ การสืบคน้ ขอ้ มูล การฝึกปฏิบตั ิ
ตามสถานการณ์ตา่ ง ๆ
เพ่อื ใหเ้ กิดความรู้ ความคิด ความเขา้ ใจ สามารถนาํ เสนอ สื่อสาร เห็นคณุ คา่ นาํ ความรู้
ไปใชป้ ระโยชนใ์ นการศึกษาต่อและประกอบอาชีพ มีคณุ ธรรม จริยธรรมและคา่ นิยมท่ีเหมาะสม
ตวั ชีว้ ดั
ต ๑.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔
ต ๑.๒ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕
ต ๑.๓ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓
ต ๒.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓
ต ๒.๒ ป.๔/๑, ป.๔/๒
ต ๓.๑ ป.๔/๑
ต ๔.๑ ป.๔/๑
ต ๔.๒ ป.๔/๑
รวม ๒๐ ตวั ชี้วัด
ผลการเรียนรู้
๑. คนที่ใชภ้ าษาแตกต่างกนั สามารถทาํ งานร่วมกนั ได้
๒. การทกั ทายบ่งบอกถึงสัมพนั ธภาพ
๑๙๗
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ รายวชิ าภาษาองั กฤษพืน้ ฐาน ช้ันประถมศึกษาปี ท่ี ๕
รหสั วชิ า อ๑๔๑๐๑ เวลา ๘๐ ช่ัวโมง
คาํ อธบิ ายรายวชิ า
เวลาเรียน ๒ ชั่วโมง/สัปดาห์
ปฏิบตั ิตามประโยคคาํ สง่ั คาํ ขอร้อง คาํ แนะนาํ การบอกใจความสาํ คญั และคาํ ตอบจากบทสนทนา นิทาน
ส้นั ๆ เหตุการณ์ต่างๆ ที่เกิดข้ึนทว่ั โลกช่วยกาํ หนดงานวรรณกรรม การเขยี นภาพ สัญลกั ษณ์ แผนผงั แผนภูมิ
เคร่ืองหมายตรงตามความหมายเก่ียวกบั ตนเอง ครอบครัว โรงเรียน สิ่งแวดลอ้ ม อาหาร เคร่ืองด่ืม เวลาวา่ ง
นนั ทนาการ สุขภาพ สวสั ดิการ การซ้ือ -ขาย และลมฟ้าอากาศ โดยใชท้ กั ษะการฟังและการอ่านท่ีถกู ตอ้ งตาม
หลกั การอา่ นเพื่อใชส้ ่ือสารในสถานการณ์ตา่ ง ๆ ที่เกิดข้ึนในหอ้ งเรียนและสถานศึกษา มีทกั ษะการพดู และการเขยี น
โตต้ อบในการสื่อสารระหวา่ งบุคคล การแสดงความตอ้ งการ ขอความช่วยเหลือ การตอบรับและปฏิเสธ การใหค้ วาม
ช่วยเหลือ การแสดงความรู้สึกของตนเองพร้อมท้งั ใหเ้ หตผุ ลส้นั ๆ ขอและใหข้ อ้ มูลเกี่ยวกบั ตนเอง เพื่อน ครอบครัว
และเรื่องใกลต้ วั คนท่ีใชภ้ าษาแตกต่างกนั สามารถทาํ งานร่วมกนั ได้ การตอบคาํ ถามบอกความสาํ คญั ของเทศกาล วนั
สาํ คญั งานฉลองและชีวติ ความเป็นอยงู่ า่ ย ๆ ของเจา้ ของภาษา บอกความเหมือนและความแตกตา่ งระหวา่ งการออก
เสียงประโยค การใชถ้ อ้ ยคาํ น้าํ เสียง และกิริยาทา่ ทางอยา่ งสุภาพตามมารยาทสงั คม/วฒั นธรรมของเจา้ ของภาษา การ
ทกั ทายบ่งบอกถึงสัมพนั ธภาพ การใชเ้ คร่ืองหมายวรรคตอน และการลาํ ดบั ตามโครงสร้างประโยคของ
ภาษาต่างประเทศและภาษาไทย
โดยใชก้ ระบวนการทกั ษะทางภาษาในการสืบคน้ คน้ ควา้ และรวบรวมคาํ ศพั ทใ์ หส้ ามารถนาํ เสนอขอ้ มูลท่ี
เรียนรู้ มีเจตคติและวฒั นธรรมในการใชภ้ าษาตา่ งประเทศใหเ้ หมาะสมตามสถานการณ์ตา่ ง ๆ
เพ่ือใหเ้ กิดความรู้ ความคดิ ความเขา้ ใจ สามารถนาํ เสนอ สื่อสาร เห็นคณุ คา่ นาํ ความรู้ ไปใชป้ ระโยชน์
ในการศึกษาต่อและประกอบอาชีพ มีคณุ ธรรม จริยธรรมและค่านิยมที่เหมาะสม
ตวั ชี้วัด
ต ๑.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔
ต ๑.๒ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕
ต ๑.๓ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓
ต ๒.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓
ต ๒.๒ ป.๕/๑ ,ป.๕/๒
ต ๓.๑ ป.๕/๑
ต ๔.๑ ป.๕/๑
ต ๔.๒ ป.๕/๑
รวม ๒๐ ตวั ชี้วัด