๒๔๘
อ๒๐๒๐๔ ภาษาองั กฤษในการท่องเทย่ี ว ๒
รายวิชาเพมิ่ เตมิ เวลา ๒๐ ชั่วโมง กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
ช้ันมธั ยมศึกษา จํานวน ๐.๕ หน่วยกติ
อธิบายและบรรยายเก่ียวกบั ประวตั ิความเป็นมา ประเพณีและวฒั นธรรมในทอ้ งถิ่น เรื่องราวสถานที่สําคญั ใน
ชุมชนไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ งเหมาะสมดว้ ยภาษาที่งา่ ย ๆ
โดยใชท้ กั ษะกระบวนการทางภาษา ในการส่ือสาร สามารถอธิบายขอ้ มลู ที่งา่ ย ๆ ไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ งและ
เหมาะสมกบั สถานการณ์
เพ่อื ใหเ้ กิดความรู้ ความเขา้ ใจ สามารถส่ือสารสิ่งที่เรียนรู้ เห็นคุณคา่ ของการนาํ ความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ใน
ชีวติ ประจาํ วนั มีเจตคติที่ดีต่อภาษาองั กฤษ รักการเรียนรู้ มีคุณธรรม จริยธรรมและคา่ นิยมท่ีพึงประสงค์ รักทอ้ งถิ่นที่
ตนเองอาศยั และภมู ิใจในทอ้ งถ่ิน
ผลการเรียนรู้
๑. มีความรู้ความเขา้ ใจ ในประวตั ิความเป็นมา ความสาํ คญั ของวฒั นธรรมประเพณี สถานท่ีสาํ คญั ของ
ทอ้ งถิ่น
๒. มีความรู้ ความเขา้ ใจธรรมชาติ ประเพณี มารยาทในสงั คมของเจา้ ของภาษา
๓. ใชภ้ าษาในการบรรยาย แนะนาํ ชกั ชวน ใหบ้ ริการต่อรอง ในบริบทและสถานการณ์ท่ีหลากหลายและ
เหมาะสมตามมารยาททางสงั คม
๔. ใชภ้ าษาองั กฤษในการแสดงความคิดเห็นไดอ้ ยา่ งสร้างสรรค์
๕. มีความรู้ ความเขา้ ใจในบทบาทหนา้ ที่ของการเป็นมคั คุเทศก์ มีจิตสาธารณะและการอนุรักษส์ ่ิงแวดลอ้ ม
รวม ๕ ผลการเรียนรู้
๒๔๙
บทที่ ๔
กจิ กรรมพฒั นาผ้เู รียน
หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนอนุบาลห้วยกระเจา พุทธศักราช ๒๕๖๓
ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑
ความหมายและความสําคญั ของกจิ กรรมพฒั นาผ้เู รียน
กิจกรรมพฒั นาผเู้ รียนเป็นกิจกรรมสาํ คญั ท่ีหลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนอนุบาลหว้ ยกระเจา
พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ กาํ หนดใหจ้ ดั ทาํ ข้ึนใหผ้ เู้ รียน
ทุกคน ทุกระดบั ช้นั เพ่ือส่งเสริมพฒั นาความสามารถของตนเองตามความถนดั ความสนใจ ใหเ้ ตม็ ศกั ยภาพ โดยมงุ่ เนน้
การพฒั นาองคร์ วมของความเป็นมนุษยท์ ้งั ดา้ นร่างกาย สติปัญญา อารมณ์และสังคม สร้างเยาวชนของชาติใหเ้ ป็น ผมู้ ี
ศีลธรรม จริยธรรม มีระเบียบวินยั ปลูกฝังและสร้างจิตสํานึกของการทาํ ประโยชน์เพ่ือสังคมและสามารถบริหารการจดั การ
ตนเอง
กิจกรรมพฒั นาผเู้ รียนเป็นกิจกรรมที่จะส่งเสริมให้ผเู้ รียนไดพ้ ฒั นาความสามารถของตนเองตามศกั ยภาพ
เพิม่ เติมจากกิจกรรมการเรียนรู้ตามกลมุ่ สาระการเรียนรู้ท้งั ๘ กลุ่ม การเขา้ ร่วม และปฏิบตั ิกิจกรรมท่ีเหมาะสมร่วมกบั
ผอู้ ื่นอยา่ งมีความสุขกบั กิจกรรมท่ีเลือกดว้ ยตนเองตามความถนดั ความสนใจอยา่ งแทจ้ ริงจะเสริมสร้างและพฒั นา
องคร์ วมของความเป็นมนุษยใ์ หค้ รบทุกดา้ นสร้างความเป็นมนุษยท์ ่ีสมบูรณ์ ปลกู ฝังและสร้างจิตสาํ นึกของการทาํ
ประโยชน์เพ่ือสงั คม
จดุ มุ่งหมายของกจิ กรรมพฒั นาผ้เู รียน
การจดั ทาํ กิจกรรมพฒั นาผเู้ รียนในหลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนอนุบาลหว้ ยกระเจา มีจุดประสงคส์ าํ คญั คือ
๑. เพอื่ ช่วยเพิม่ พนู ประสบการณ์ของผเู้ รียน ไดฝ้ ึกฝนทกั ษะ ไดเ้ รียนรู้ โดยการปฏิบตั ิจริง อนั เป็นการ
สอดคลอ้ งกบั แนวการจดั การเรียนรู้ท่ียดึ ผเู้ รียนเป็นสาํ คญั
๒. เพอ่ื เสริมสร้างคุณลกั ษณะดีเด่นของความเป็นประชาธิปไตย ฝึกการเป็นผนู้ าํ ผตู้ าม ฝึกการทาํ งานร่วมกนั
ฝึกการแสดงความคิดเห็น ฝึ กความรับผิดชอบ
๓. เพอ่ื ก่อใหเ้ กิดความสามคั คี รักหมคู่ ณะ เกิดความเขา้ ใจซ่ึงกนั และกนั เพราะการปฏิบตั ิกิจกรรมตอ้ ง
ทาํ งานเป็นกลมุ่ ตอ้ งร่วมกนั คิด ร่วมกนั ทาํ ไดพ้ บความสุข ความทุกขร์ ่วมกนั เกิดความประทบั ใจซ่ึงกนั และกนั
๒๕๐
๔. ส่งเสริมความคดิ ริเริ่มสร้างสรรค์ ความแปลกใหม่ เพราะการทาํ กิจกรรมร่วมกนั ตอ้ งร่วมกนั ศึกษาคน้ ควา้
คน้ หาวิธีการท่ีดีกวา่ ทาํ ใหค้ วามคิดแตกฉาน พบเทคนิค วิธีการที่แปลก ๆ ใหม่ ๆ ในการพฒั นาผลงาน
๕. เพ่อื ช่วยใหผ้ ูเ้ รียนมีทางเลือก มีโอกาสแสดงออกตามแนวคดิ ความสนใจของตนเอง มีโอกาสในการเลือก
ตามความตอ้ งการ ความถนดั ช่วยพฒั นาศกั ยภาพของผเู้ รียนเป็นรายบคุ คล
๖. เพ่ือฝึกผเู้ รียนใหเ้ ป็นสมาชิกที่ดีของสังคม ชุมชน และประเทศชาติ ท้งั ในปัจจุบนั และอนาคต เพราะ
กิจกรรมพฒั นาผเู้ รียนมีลกั ษณะเป็นสังคมเลก็ ที่จาํ ลองจากสงั คมใหญ่ มีกฎระเบียบ กติกา มีความรับผิดชอบท้งั ใน
สิทธิหนา้ ท่ีซ่ึงเป็นการปลูกฝังลกั ษณะนิสัยและคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงคข์ องการอยรู่ ่วมกนั ในสงั คมปกติ
๗. เพ่ือช่วยใหผ้ สู้ อนรู้จกั ผเู้ รียนแต่ละคนดีข้นึ เพราะผลงานในการทาํ กิจกรรมของผเู้ รียนจะช่วยใหผ้ สู้ อน
เขา้ ใจผเู้ รียนและประเมินคุณค่าคณุ ภาพของนกั เรียนไดด้ ี และถูกตอ้ งมากข้นึ รู้จกั และเขา้ ใจความสนใจของผเู้ รียน
ความถนดั ของผเู้ รียน ช่วยใหผ้ สู้ อนทราบขอ้ มูลพ้นื ฐานของผเู้ รียนที่ถูกตอ้ ง และสามารถส่งเสริม สนบั สนุน หรือแกไ้ ข
ขอ้ บกพร่องของผเู้ รียนไดถ้ ูกแนวทาง
๘. เพือ่ ใชเ้ ป็นขอ้ มลู ในการปรับปรุงหลกั สูตรและการเรียนการสอนของสถานศึกษา เพราะพฤติกรรม
การแสดงออกของผูเ้ รียนในการปฏิบตั ิกิจกรรม เป็นผลท่ีบง่ ช้ีถึงความสาํ เร็จของหลกั สูตรและการเรียนการสอน
ของสถานศึกษาวา่ บรรลุผลตามจุดมงุ่ หมายหรือไม่ มากนอ้ ยเพยี งใด หลกั สูตรควรจะตอ้ งมีการปรับปรุงหรือพฒั นา
ในส่วนใด
หลกั การจดั กจิ กรรมพฒั นาผ้เู รียน
๑. มีการกาํ หนดวตั ถปุ ระสงค์ และแนวปฏิบตั ิท่ีชดั เจนเป็นรูปธรรม
๒. จดั ใหเ้ หมาะสมกบั วยั วฒุ ิภาวะ ความสนใจ ความถนดั และความสามารถของผเู้ รียน
๓. บรู ณาการกบั ชีวิตจริง ใหผ้ เู้ รียนไดต้ ระหนกั ถึงความสาํ คญั ของการเรียนรู้ตลอดชีวิต
๔. ใชก้ ระบวนการกลุ่มในการจดั ประสบการณ์เรียนรู้ ฝึกใหค้ ิดวิเคราะห์ สร้างสรรค์ จินตนาการ ท่ีเป็น
ประโยชน์ และสมั พนั ธก์ บั ชีวติ ในแตล่ ะช่วงวยั อยา่ งต่อเนื่อง
๕. จาํ นวนสมาชิกเหมาะสมกบั ลกั ษณะของกิจกรรม
๖. มีการกาํ หนดเวลาในการจดั กิจกรรมใหเ้ หมาะสมตามโครงสร้างหลกั สูตรสถานศึกษา
๗. ผเู้ รียนเป็นผดู้ าํ เนินการ มีครูเป็นที่ปรึกษา ถือเป็นหนา้ ที่และงานประจาํ โดยคาํ นึงถึงความปลอดภยั
๘. ยดึ หลกั การมีส่วนร่วม โดยเปิ ดโอกาสใหค้ รู พ่อแม่ ผปู้ กครอง ชุมชน องคก์ ร ท้งั ภาครัฐและเอกชน
มีส่วนร่วมในการจดั กิจกรรม
๙. มีการประเมินผลการปฏิบตั ิกิจกรรม ดว้ ยวิธีท่ีหลากหลาย และสอดคลอ้ งกบั กิจกรรมอยา่ งเป็นระบบ
และต่อเนื่อง โดยใหถ้ ือวา่ เป็นเกณฑป์ ระเมินผลการผา่ นช่วงช้นั เรียน
๒๕๑
โครงสร้างและอตั ราเวลาจดั กจิ กรรม
กจิ กรรมพฒั นาผ้เู รียน ป. ๑ ระดับประถมศึกษา ป. ๕ ป. ๖
๑. กิจกรรมแนะแนว ๔๐ ๔๐ ๔๐
๒. ลกู เสือ – เนตรนารี ๔๐ ระดับประถมศึกษา ๔๐ ๔๐
๓. กจิ กรรมเพ่ือสังคม และ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ๔๐ ๔๐
๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๑๒๐ ๑๒๐
สาธารณประโยชน์/ชุมนุม ๔๐ ๔๐ ๔๐
เวลาเรียนรวม ๑๒๐ ม.๓
๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐
๔๐
๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๔๐
๑๒๐
กจิ กรรมพฒั นาผ้เู รียน ระดบั มธั ยมศึกษา
๑. กิจกรรมแนะแนว
๒. ลูกเสือ – เนตรนารี ระดบั มธั ยมศึกษา
๓. กจิ กรรมเพ่ือสังคม และ ม.๑ ม.๒
๔๐ ๔๐
สาธารณประโยชน์/ชุมนุม ๔๐ ๔๐
เวลาเรียนรวม
๔๐ ๔๐
๑๒๐ ๑๒๐
การดําเนนิ การกจิ กรรมพฒั นาผ้เู รียนโรงเรียนอนุบาลห้วยกระเจา
โรงเรียนอนุบาลหว้ ยกระเจา จดั กิจกรรมพฒั นาผเู้ รียนโดยมุ่งใหผ้ เู้ รียนเกิดการเรียนรู้จากประสบการณ์ตรง
ไดฝ้ ึกปฏิบตั ิจริงและคน้ พบความถนดั ของตนเอง สามารถคน้ ควา้ หาความรู้เพ่มิ เติมตามความสนใจจากแหลง่ เรียนรู้
ที่หลากหลาย บาํ เพญ็ ประโยชนเ์ พ่ือสังคม มีทกั ษะในการดาํ เนินงาน ส่งเสริมใหม้ ีวุฒิภาวะทางอารมณ์ สงั คม ศีลธรรม
จริยธรรม ใหผ้ เู้ รียนรู้จกั และเขา้ ใจตนเอง สามารถวางแผนชีวิตและอาชีพไดอ้ ยา่ งเหมาะสม
๒๕๒
กจิ กรรมพฒั นาผ้เู รียนโรงเรียนอนุบาลห้วยกระเจา
๑. กจิ กรรมแนะแนว โรงเรียนอนุบาลหว้ ยกระเจาไดจ้ ดั กิจกรรมแนะแนวเพ่ือช่วยเหลือและพฒั นาผูเ้ รียน ดงั น้ี
๑. จดั กิจกรรมเพื่อใหค้ รูไดร้ ู้จกั และช่วยเหลือผเู้ รียนมากข้ึน โดยใชก้ ระบวนการทางจิตวทิ ยา
การจดั บริการสนเทศ โดยจดั ใหม้ ีเอกสารเพ่ือใชส้ าํ รวจขอ้ มลู เก่ียวกบั ตวั ผเู้ รียน ดว้ ยการสังเกต การสมั ภาษณ์ การใช้
แบบสอบถาม การเขียนประวตั ิ การพบผปู้ กครองก่อนและระหวา่ งเรียน การเยยี่ มบา้ นนกั เรียน การใหค้ วามช่วยเหลือ
ผเู้ รียนในเร่ืองสุขภาพจิต เศรษฐกิจ การจดั ทาํ ระเบียนสะสม สมุดรายงานประจาํ ตวั นกั เรียน และบตั รสุขภาพ
๒. จดั กิจกรรมพฒั นาวุฒิภาวะทางอารมณ์ โดยทาํ แบบทดสอบเพื่อรู้จกั และเขา้ ใจตนเอง มีทกั ษะ
ในการตดั สินใจ การปรับตวั และการวางแผนเพ่ือเลือกศึกษาต่อ เลือกอาชีพ
๓. จดั บริการใหค้ าํ ปรึกษาแก่ผเู้ รียนเป็นรายบคุ คล และรายกลุ่ม ในดา้ นการศึกษา อาชีพ และส่วนตวั
โดยมีผใู้ หค้ าํ ปรึกษาท่ีมีคณุ วุฒิ และมีความเช่ียวชาญในเร่ืองการใหค้ าํ ปรึกษา ตลอดจนมีหอ้ งใหค้ าํ ปรึกษาที่เหมาะสม
๓.๑ ช่วยเหลือผเู้ รียนท่ีประสบปัญหาดา้ นการเงิน โดยการใหท้ ุนการศึกษาแก่ผเู้ รียน
๓.๒ ติดตามเกบ็ ขอ้ มลู ของนกั เรียนท่ีสาํ เร็จการศึกษา
๒. กจิ กรรมลกู เสือ – เนตรนารี ผเู้ รียนในระดบั ช้นั ประถมศึกษาปี ท่ี ๑ – ๖ และผเู้ รียนระดบั ช้นั มธั ยมศึกษา
ปี ท่ี ๑ - ๓ ทุกคน ไดฝ้ ึกอบรมวชิ าลูกเสือ – เนตรนารี เพื่อส่งเสริมหลกั การปกครองระบอบประชาธิปไตย อนั มี
พระมหากษตั ริยเ์ ป็นประมขุ ส่งเสริมความสามคั คี มีวินยั และบาํ เพญ็ ประโยชน์ต่อสงั คม โดยดาํ เนินการจดั กิจกรรม
ตามขอ้ กาํ หนดของคณะกรรมการลกู เสือแห่งชาติ
กจิ กรรมลกู เสือ – เนตรนารี ช้ันประถมศึกษาปี ท่ี ๑ – ๓
เปิ ดประชุมกอง ดาํ เนินการตามกระบวนการของลกู เสือ และจดั กิจกรรมใหศ้ ึกษา วเิ คราะห์ วางแผน ปฏิบตั ิ
กิจกรรมตามฐาน โดยเนน้ ระบบหมู่ สรุปผลการปฏิบตั ิกิจกรรม ปิ ดประชุมกอง โดยใหผ้ เู้ รียนศึกษาและฝึกปฏิบตั ิ
ในเรื่อง
๑. เตรียมลูกเสือสาํ รอง นิยายเร่ืองเมาคลี ประวตั ิการเริ่มกิจการลกู เสือสาํ รอง การทาํ ความเคารพเป็นหมู่
(แกรนดฮ์ าวล)์ การทาํ ความเคารพเป็นรายบคุ คล การจบั มือซา้ ย ระเบียบแถวเบ้ืองตน้ คาํ ปฏิญาณ กฎ และคติพจน์
ของลกู เสือสาํ รอง
๒. ลกู เสือสาํ รองดาวดวงท่ี ๑ ๒ และ ๓ อนามยั ความสามารถเชิงทกั ษะ การสาํ รวจ การคน้ หาธรรมชาติ
ความปลอดภยั บริการ ธง และประเทศต่าง ๆ การฝีมือ กิจกรรมกลางแจง้ การบนั เทิง การผกู เง่ือน คาํ ปฏิญาณ และ
กฎ ของลูกเสือสาํ รองโดยใชก้ ระบวนการทาํ งาน กระบวนการแกป้ ัญหา กระบวนการกลุม่ กระบวนการจดั การ
กระบวนการคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ กระบวนการฝึกปฏิบตั ิทางลูกเสือ กระบวนการทางเทคโนโลยี และ
ภมู ิปัญญาทอ้ งถ่ินไดอ้ ยา่ งเหมาะสม
เพอ่ื ใหม้ ีความรู้ ความเขา้ ใจในกิจกรรมลกู เสือ สามารถปฏิบตั ิตามคาํ ปฏิญาณ กฎ และคติพจน์
ของลกู เสือสาํ รอง มีนิสยั ในการสังเกต จดจาํ เชื่อฟัง และพ่งึ ตนเอง ซื่อสัตย์ สุจริต มีระเบียบวินยั และเห็นอกเห็นใจ
ผอู้ ื่น บาํ เพญ็ ตนเพื่อสาธารณประโยชน์ รู้จกั ทาํ การฝีมือ พฒั นากาย จิตใจ และศีลธรรม ท้งั น้ีโดยไมเ่ ก่ียวขอ้ ง
กบั ลทั ธิการเมืองใด ๆ สนใจและอนุรักษธ์ รรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม นาํ ไปใชใ้ นชีวิตประจาํ วนั ไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ
๒๕๓
หมายเหตุ - เม่ือผเู้ รียนผา่ นการทดสอบในขอ้ ๑ แลว้ จะไดร้ ับเครื่องหมายลูกเสือสาํ รอง
- เม่ือผเู้ รียนไดป้ ฏิบตั ิกิจกรรมและผา่ นการสอบแลว้ จะไดร้ ับเคร่ืองหมายดาวดวงที่ ๑ ,๒ และ ๓
ตามลาํ ดบั
- สาํ หรับวชิ าพิเศษ ใหใ้ ชข้ อ้ บงั คบั คณะลกู เสือแห่งชาติวา่ ดว้ ยการปกครองหลกั สูตร และวิชาพเิ ศษ
ลูกเสือสาํ รอง (ฉบบั ท่ี ๑๐) พ.ศ. ๒๕๒๒
กจิ กรรมลูกเสือ – เนตรนารี ช้ันประถมศึกษาปี ท่ี ๔ - ๖
เปิ ดประชุมกอง ดาํ เนินการตามกระบวนการของลูกเสือ และจดั กิจกรรมใหศ้ ึกษา วเิ คราะห์ วางแผน ปฏิบตั ิ
กิจกรรมตามฐาน โดยเนน้ ระบบหมู่ สรุปผลการปฏิบตั ิกิจกรรม ปิ ดประชุมกอง โดยให้ผเู้ รียนศึกษาและฝึกปฏิบตั ิ
ในเรื่อง
๑. ลูกเสือตรี ความรู้เกี่ยวกบั ขบวนการลกู เสือ คาํ ปฏิญาณและกฎของลูกเสือสามญั กิจกรรมกลางแจง้
ระเบียบแถว
๒. ลูกเสือโท การรู้จกั ดูแลตนเอง การช่วยเหลือผอู้ ่ืน การเดินทางไปยงั สถานท่ีตา่ ง ๆ ทกั ษะ
ในทางวิชาลูกเสือ งานอดิเรกและเรื่องท่ีน่าสนใจ คาํ ปฏิญาณ และกฎของลกู เสือ ระเบียบแถว
๓. ลกู เสือเอก การพ่งึ ตนเอง การบริการ การผจญภยั วชิ าการของลกู เสือ ระเบียบแถว
โดยใชก้ ระบวนการทาํ งาน กระบวนการแกป้ ัญหา กระบวนการกลมุ่ กระบวนการจดั การ กระบวนการ
คดิ ริเริ่ม สร้างสรรค์ กระบวนการฝึกปฏิบตั ิทางลกู เสือ กระบวนการทางเทคโนโลยี และภูมิปัญญาทอ้ งถ่ิน
ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม
เพ่อื ใหม้ ีความรู้ ความเขา้ ใจในกิจกรรมลูกเสือ สามารถปฏิบตั ิตามคาํ ปฏิญาณ กฎ และคติพจน์ ของ
ลูกเสือสามญั มีนิสัยในการสงั เกต จดจาํ เช่ือฟัง และพ่งึ ตนเอง ซื่อสัตย์ สุจริต มีระเบียบวินยั และเห็นอกเห็นใจผอู้ ื่น
บาํ เพญ็ ตนเพอื่ สาธารณประโยชน์ รู้จกั ทาํ การฝีมือ พฒั นากาย จิตใจ และศีลธรรม ท้งั น้ีโดยไมเ่ ก่ียวขอ้ งกบั
ลทั ธิการเมืองใด ๆ สนใจและอนุรักษธ์ รรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม นาํ ไปใชใ้ นชีวิตประจาํ วนั ไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ
หมายเหตุ - เม่ือผเู้ รียนไดป้ ฏิบตั ิกิจกรรม และผา่ นการทดสอบแลว้ จะไดร้ ับเครื่องหมายลกู เสือตรี ลูกเสือโท และ
ลูกเสือเอก ตามลาํ ดบั
- สาํ หรับวชิ าพเิ ศษ ใหใ้ ชข้ อ้ บงั คบั คณะลกู เสือแห่งชาติวา่ ดว้ ยการปกครองหลกั สูตร และวิชาพเิ ศษ
ลูกเสือสามญั (ฉบบั ท่ี ๑๓) พ.ศ. ๒๕๒๕
กจิ กรรมลูกเสือ – เนตรนารี ช้ันมัธยมศึกษาปี ท่ี ๑ - ๓
เปิ ดประชุมกอง ดาํ เนินการตามกระบวนการของลกู เสือ และจดั กิจกรรมใหศ้ ึกษา วเิ คราะห์ วางแผน ปฏิบตั ิ
กิจกรรมตามฐาน โดยเนน้ ระบบหมู่ สรุปผลการปฏิบตั ิกิจกรรม ปิ ดประชุมกอง โดยให้ผเู้ รียนศึกษาและฝึกปฏิบตั ิ
ในเร่ือง
๒๕๔
๑. เครื่องหมายลกู เสือโลก (ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ ๑)
๒. เคร่ืองหมายลกู เสือช้นั พิเศษ (ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี ๒)
๓. เคร่ืองหมายลกู เสือหลวง (ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ ๓)
โดยใชก้ ระบวนการทาํ งาน กระบวนการแกป้ ัญหา กระบวนการกลมุ่ กระบวนการจดั การ กระบวนการ
คิดริเริ่ม สร้างสรรค์ กระบวนการฝึกปฏิบตั ิทางลกู เสือ กระบวนการทางเทคโนโลยี และภูมิปัญญาทอ้ งถ่ิน
ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม
เพ่ือใหม้ ีความรู้ ความเขา้ ใจในกิจกรรมลกู เสือ สามารถปฏิบตั ิตามคาํ ปฏิญาณ กฎ และคติพจน์ ของ
ลกู เสือสามญั รุ่นใหญ่ มีนิสยั ในการสังเกต จดจาํ เชื่อฟัง และพ่ึงตนเอง ซื่อสตั ย์ สุจริต มีระเบียบวินยั และเห็นอก
เห็นใจผอู้ ื่น บาํ เพญ็ ตนเพ่ือสาธารณประโยชน์ รู้จกั ทาํ การฝี มือ พฒั นากาย จิตใจ และศีลธรรม ท้งั น้ีโดยไมเ่ กี่ยวขอ้ ง
กบั ลทั ธิการเมืองใด ๆ สนใจและอนุรักษธ์ รรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม นาํ ไปใชใ้ นชีวิตประจาํ วนั ไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ
หมายเหตุ - ผเู้ รียนจะไดร้ ับเคร่ืองหมายลูกเสือโลก เม่ือเรียนและสอบผา่ นวชิ าในขอ้ ๑
- ผเู้ รียนจะไดร้ ับเครื่องหมายลูกเสือช้นั พเิ ศษ ตอ้ ง
๑. ไดร้ ับเครื่องหมายลกู เสือโลกแลว้
๒. เรียนและสอบไดว้ ชิ าในขอ้ ๒. การเดินทางสาํ รวจ และการบริการ และตอ้ งเลือกเรียนและสอบ
ผา่ นอีก ๓ วชิ าจาก ๖ วชิ า ในระดบั ลูกเสือช้นั พเิ ศษ
๓. ผา่ นการฝึกอบรมความคิดริเริ่ม (การเดินทางไกล และการอยคู่ ่ายพกั แรม)
- ผเู้ รียนจะไดร้ ับเคร่ืองหมายลูกเสือหลวง ตอ้ ง
๑. ไดร้ ับเครื่องหมายลกู เสือช้นั พเิ ศษ
๒. เรียนและสอบไดว้ ชิ าพ้ืนฐานอีก ๓ วิชา ในระดบั ลูกเสือช้นั พเิ ศษที่ไมซ่ ้าํ กบั วชิ าพ้นื ฐาน
ในช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ ๒
๓. สอบไดว้ ิชาการบริการและวิชาพ้นื ฐานอีก ๓ วิชา ในระดบั ลกู เสือหลวง
๔. ผา่ นการฝึกอบรมวิชาการเป็นผนู้ าํ ตามหลกั สูตรท่ีกาํ หนด
- สาํ หรับวิชาพเิ ศษ ใหใ้ ชข้ อ้ บงั คบั คณะลกู เสือแห่งชาติ วา่ ดว้ ยการปกครองหลกั สูตร และวิชาพิเศษ
ลกู เสือสามญั รุ่นใหญ่ (ฉบบั ท่ี ๑๔) พ.ศ. ๒๕๒๘
ผลการเรียนรู้กจิ กรรมลูกเสือ - เนตรนารี
๑. รู้ เขา้ ใจ และสามารถปฏิบตั ิตนตามคาํ ปฏิญาณ กฎ และคติพจน์ของลกู เสือ - เนตรนารี
๒. เขา้ ใจความเป็นมาและววิ ฒั นาการของลูกเสือ - เนตรนารี
๓. ปฏิบตั ิตนดว้ ยความซ่ือสัตย์ สุจริต มีความกลา้ หาญ อดทน เช่ือมน่ั ในตนเอง มีระเบียบวินยั
มีความสามคั คี เห็นอกเห็นใจผอู้ ่ืน มีความเสียสละ บาํ เพญ็ ตนเพื่อสาธารณประโยชน์
๔. มีทกั ษะการสงั เกต จดจาํ การใชม้ ือ เครื่องมือ การแกไ้ ขปัญหา และทกั ษะในการทาํ งานร่วมกนั
๕. พฒั นาตนเองอยู่เสมอ สร้างสรรคง์ านฝีมือ สนใจ และพฒั นาเรื่องของธรรมชาติ
๒๕๕
๓. กจิ กรรมส่งเสริมจริยธรรม/ชุมนุม ในระดับประถมศึกษา และระดับมธั ยมศึกษา ผูเ้ รียนสามารถเลือก
เขา้ เป็นสมาชิกชุมนุม วางแผนการดาํ เนินกิจกรรมร่วมกนั โดยมีชุมนุมที่หลากหลาย เหมาะสมกบั เพศ วยั และ
ความสนใจของผูเ้ รียน ประกอบดว้ ยกิจกรรมดา้ นคุณธรรม จริยธรรม วฒั นธรรม อนุรักษส์ ิ่งแวดลอ้ ม ส่งเสริม
ประชาธิปไตย ส่งเสริมการเรียนรู้ และคา่ ยวิชาการ การศึกษาดูงาน การฝึกปฏิบตั ิ การบรรยายพเิ ศษ ดงั ตวั อยา่ ง
พอสังเขปต่อไปน้ี
๓.๑ กิจกรรมพฒั นาวฒุ ิภาวะทางอารมณ์ ศีลธรรมและจริยธรรม จดั สอนจริยธรรมในห้องเรียน
จดั ใหม้ ีการปฏิบตั ิกิจกรรมเน่ืองในวนั สาํ คญั ท้งั ทางชาติ ศาสนา และพระมหากษตั ริย์ โดยผเู้ รียนมีส่วนร่วมในการ
จดั กิจกรรมท้งั ในดา้ นวฒั นธรรม ประเพณี กีฬา และศิลปะ
๓.๒ กิจกรรมพฒั นาทกั ษะชีวติ จดั กิจกรรมแข่งขนั กีฬาสีทุกช่วงช้นั โดยผเู้ รียนไดฝ้ ึกทกั ษะ
การทาํ งาน และการแกป้ ัญหาทกุ ข้นั ตอน
๓.๓ กิจกรรมส่งเสริมนิสัยรักการทาํ งาน จดั กิจกรรมวนั วิชาการโดยผเู้ รียนมีโอกาสลงมือปฏิบตั ิจริง
และฝึกทกั ษะการจดั การ
๓.๔ กิจกรรมเพื่ออนุรักษส์ ิ่งแวดลอ้ มและวฒั นธรรม โดยจดั กิจกรรมสืบสานวฒั นธรรมไทย
เช่น ประเพณีไหวค้ รู ประเพณีลอยกระทง
๓.๕ กิจกรรมส่งเสริมการปกครองระบอบประชาธิปไตย จดั ใหม้ ีการเลือกคณะกรรมการนกั เรียน
โดยใหน้ าํ กระบวนการประชาธิปไตยไปใชใ้ นการร่วมวางแผนดาํ เนินงานพฒั นาโรงเรียน
๓.๖ กิจกรรมคนดีของสงั คม จดั ใหม้ ีการบรรยายใหค้ วามรู้ เพอ่ื ป้องกนั ปัญหาโรคติดตอ่ ร้ายแรง
ปัญหายาเสพติด ปัญหาวยั รุ่น ใหค้ วามรู้เพื่อปลูกฝังใหเ้ ป็นสุภาพบรุ ุษ สุภาพสตรี
๓.๗ กิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ โดยจดั แหล่งเรียนรู้ ไดแ้ ก่ หอ้ งสมดุ หอ้ งปฏิบตั ิการทางภาษา
หอ้ งปฏิบตั ิการวทิ ยาศาสตร์ หอ้ งเทคโนโลยสี ารสนเทศ
๓.๘ กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพอนามยั ใหบ้ ริการหอ้ งพยาบาล มีบริการใหค้ วามรู้แก่ ผูเ้ รียน
เพื่อป้องกนั โรคระบาดอยา่ งทนั เหตุการณ์
๔. กจิ กรรมเพ่ือสังคมและสาธารณะประโยชน์ เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมใหผ้ ูเ้ รียนไดท้ าํ ประโยชน์ตาม
ความสามารถ ความถนดั และความสนใจในลกั ษณะอาสาสมคั ร เพือ่ แสดงถึงความรับผดิ ชอบ ความดีงาม
ความเสียสละตอ่ สงั คม มีจิตใจมุ่งทาํ ประโยชน์ตอ่ ครอบครัว ชุมชนและสังคม กิจกรรมสาํ คญั ไดแ้ ก่ กิจกรรม
บาํ เพญ็ ประโยชน์ กิจกรรมสร้างสรรคส์ งั คม กิจกรรมดาํ รงรักษา สืบสานศาสนา ศิลปะและวฒั นาธรรม กิจกรรม
พฒั นานวตั กรรมและเทคโนโลยเี พื่อสงั คม
เวลาเรียนสาํ หรับกิจกรรมเพื่อสงั คมและสาธารณประโยชน์ในส่วนกิจกรรมเพื่อสงั คมและสาธารณประโยชน์
จดั สรรเวลาให้ผเู้ รียน ดงั น้ี
- ระดบั ประถมศึกษาปี ที่ ๑-๖ รวม ๖ ปี จาํ นวน ๖๐ ชวั่ โมง (เฉลี่ยปี ละ ๑๐ ชวั่ โมง)
- ระดบั มธั ยมศึกษาปี ท่ี ๑-๓ รวม ๓ ปี จาํ นวน ๔๕ ชวั่ โมง (เฉลี่ยปี ละ ๑๕ ชวั่ โมง)
๒๕๖
การจดั กิจกรรมเพื่อสงั คมและสาธารณะประโยชน์ ในระดบั ประถมศึกษาปี ที่ ๑-๖ และในระดบั มธั ยมศึกษา
ตอนตน้ สอดแทรกในกิจกรรมชุมนุม ท้งั น้ีการทาํ กิจกรรมเพ่อื สังคมและสาธารณประโยชน์ใหผ้ เู้ รียนรายงานแสดงการ
เขา้ ร่วมกิจกรรมลงในสมดุ บนั ทึก และมีผรู้ ับรองผลการเขา้ ร่วมกิจกรรมทุกคร้ังท้งั กิจกรรมในสถานศึกษาและกิจกรรม
นอกสถานศึกษา
แนวทางการประเมินผลกจิ กรรมพฒั นาผ้เู รียน
การประเมินกิจกรรมพฒั นาผูเ้ รียนรายกิจกรรมใหค้ รูผสู้ อนดาํ เนินการดงั น้ี
๑. ตรวจสอบเวลาเขา้ ร่วมกิจกรรมของผเู้ รียน โดยผูเ้ รียนตอ้ งมีเวลาเขา้ ร่วมกิจกรรมอยา่ งนอ้ ย ๘๐ ของเวลา
ที่กาํ หนดในโครงสร้างหลกั สูตร
๒. ใหค้ รูผสู้ อนและผเู้ รียนกาํ หนดจุดประสงค์ คุณลกั ษณะและความสามารถในการร่วมกิจกรรมโดยมงุ่ เนน้
ไดพ้ ฒั นา ความถนดั ความสนใจ วฒุ ิภาวะของผเู้ รียนสอดคลอ้ งกบั ลกั ษณะของกิจกรรมน้นั ๆ ประเมินกิจกรรม
พฒั นาผเู้ รียนจากการปฏิบตั ิกิจกรรมและผลงาน/ ชิ้นงานของผเู้ รียนดว้ ยวิธีท่ีหลากหลาย และใชก้ ารประเมินตาม
สภาพจริง
ผเู้ รียนตอ้ งไดร้ ับการประเมินกิจกรรมพฒั นาผเู้ รียนและผา่ นเกณฑต์ ามที่กาํ หนด ดงั น้ี
๑. กาํ หนดคุณภาพหรอเกณฑใ์ นการประเมินตามหลกั สูตรโรงเรียนอนุบาลหว้ ยกระเจา กาํ หนดไว้
๒ ระดบั คอื ผา่ นและไมผ่ า่ น
๒.กาํ หนดประเด็นการประเมินใหส้ อดคลอ้ งตามจุดประสงคใ์ นแตล่ ะกิจกรรมและกาํ หนดเกณฑก์ ารผา่ นการ
ประเมิน ดงั น้ี
ก. เกณฑก์ ารตดั สินผลการประเมินรายกิจกรรม
ผา่ น หมายถึง ผเู้ รียนมีเวลาเขา้ ร่วมกิจกรรมครบตามเกณฑแ์ ละปฏิบตั ิกิจกรรมและผลงาน
ของผเู้ รียนตามเกณฑท์ ี่สถานศึกษากาํ หนด
ไมผ่ า่ น หมายถึง ผเู้ รียนมีเวลาเขา้ ร่วมกิจกรรมไม่ครบตามเกณฑ์ หรือไม่ปฏิบตั ิกิจกรรม
และผลงานของผเู้ รียนตามเกณฑท์ ่ีสถานศึกษากาํ หนด
ข. เกณฑก์ ารตดั สินผลการประเมินกิจกรรมพฒั นาผเู้ รียนรายปี / รายภาค
ผา่ น หมายถึง ผเู้ รียนมีผลการประเมินระดบั “ผา่ น” ในกิจกรรมสาํ คญั ท่ี ๓ กิจกรรม
คอื กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมนกั เรียน กิจกรรมเพ่อื สงั คมและ
สาธารณประโยชน์
ไม่ผา่ น หมายถึง ผเู้ รียนมีผลการประเมินระดบั “ไม่ผา่ น” ในกิจกรรมสาํ คญั ที่ ๓
กิจกรรม คือ กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมนกั เรียน กิจกรรมเพ่ือสงั คม
และสาธารณประโยชน์
ค. เกณฑก์ ารตดั สินผลการประเมินกิจกรรมพฒั นาผเู้ รียนเพื่อจบการศึกษา
ผา่ น หมายถึง ผเู้ รียนมีผลการประเมิน “ผา่ น” ทุกช้นั ปี ในระดบั การศึกษาน้นั
๒๕๗
ไม่ผา่ น หมายถึง ผเู้ รียนมีผลการประเมิน “ไม่ผา่ น” ทุกช้ันปี ในระดบั การศึกษาน้นั
กรณีท่ีผเู้ รียนไม่ผา่ นกิจกรรม ให้เป็ฯหนา้ ที่ของครูหรือผรู้ ับผิดชอบกิจกรรมน้นั ๆ ท่ีจะตอ้ งซ่อมเสริม โดยใหผ้ ุ้
เรียนดาํ เนินกิจกรรมจนครบตามเวลาที่ขาดหรือปฏิบตั ิกิจกรรมใหบ้ รรลตุ ามวตั ถปุ ระสงคข์ องกิจกรรมน้นั แลว้ จึง
ประเมินใหผ้ า่ นกิจกรรม ยกวนั มีเหตสุ ุดวิสยั ใหร้ ายงานผบู้ ริหารสถานศึกษาทราบเพ่ือดาํ เนินการช่วยเหลือผเู้ รียนอยา่ ง
เหมาะสมเป็ นรายกรณีไป
๒๕๘
บทท่ี ๕
การจัดการเรียนรู้และการส่ งเสริมการเรียนรู้
ตามหลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนอนุบาลห้วยกระเจา
การจดั การเรียนรู้เป็นกระบวนการสาํ คญั ในการนาํ หลกั สูตรสู่การปฏิบตั ิ หลกั สูตรแกนกลางการศึกษา
ข้นั พ้นื ฐาน เป็นหลกั สูตรท่ีมีมาตรฐานการเรียนรู้ สมรรถนะสาํ คญั และคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงคข์ องผเู้ รียน
เป็นเป้าหมายสาํ หรับพฒั นาเดก็ และเยาวชน
ในการพฒั นาผเู้ รียนใหม้ ีคณุ สมบตั ิตามเป้าหมายหลกั สูตร ผสู้ อนพยายามคดั สรรกระบวนการเรียนรู้
จดั การเรียนรู้โดยช่วยให้ผูเ้ รียนเรียนรู้ผ่านสาระท่ีกาํ หนดไวใ้ นหลกั สูตร ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ รวมท้ังปลูกฝัง
เสริมสร้างคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ พฒั นาทกั ษะต่าง ๆ อนั เป็นสมรรถนะสาํ คญั ใหผ้ เู้ รียนบรรลุตามเป้าหมาย
หลกั การจดั การเรียนรู้ตามหลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนอนุบาลห้วยกระเจา
การจดั การเรียนรู้ตามหลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนอนุบาลห้วยกระเจา พุทธศกั ราช ๒๕๖๓ ตามหลกั สูตร
แกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ยึดหลักการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางของพระราชบัญญัติ
การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๔๒ ที่เน้นผูเ้ รียนมีความสําคญั ที่สุด เช่ือวา่ ทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพฒั นาตนเอง
ได้ ยดึ ประโยชนท์ ่ีเกิดกบั ผเู้ รียน โดยมีเป้าหมายใหผ้ เู้ รียนเป็นคนดี เก่ง มีความเป็นไทย และทาํ งานร่วมกบั ผอู้ ื่น
ไดอ้ ยา่ งมีความสุข ในกลุม่ สาระการเรียนรู้ท้งั ๘ กลุ่ม กระบวนการจดั การเรียนรู้ตอ้ งส่งเสริมใหผ้ ูเ้ รียน สามารถพฒั นา
ตามธรรมชาติและเตม็ ตามศกั ยภาพ คาํ นึงถึงความแตกต่างระหวา่ งบุคคลและพฒั นาการทางสมอง เนน้ ใหค้ วามสาํ คญั
ท้งั ความรู้ และคุณธรรม คิดเป็ นองค์รวม และร่วมมือกนั พฒั นาสังคมไทย การจดั การเรียนรู้เพื่อให้ผูเ้ รียนมีความรู้
ความสามารถตามมาตรฐานการเรียนรู้ สมรรถนะสําคญั และคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ตามที่กาํ หนดไวใ้ นหลกั สูตร
แกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน กระบวนการจดั การเรียนรู้ตอ้ งส่งเสริมให้ผูเ้ รียน สามารถพฒั นาตามธรรมชาติ และ
เต็มตามศกั ยภาพ คาํ นึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคลและพฒั นาการทางสมอง เน้นให้ความสําคญั ท้งั ความรู้ และ
คุณธรรม การจดั การเรียนรู้ตามหลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนอนุบาลห้วยกระเจา พุทธศกั ราช ๒๕๖๓ ตามหลกั สูตร
แกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ จึงไดก้ าํ หนดแนวดาํ เนินการเพอื่ ใหก้ ารจดั การเรียนรู้
ตามหลกั สูตรประสบความสาํ เร็จตามจุดมงุ่ หมาย ดงั น้ี
๑. จดั ประสบการณ์การเรียนรู้โดยยดึ หลกั การพฒั นาผเู้ รียนใหถ้ ึงศกั ยภาพสูงสุด คือ ผเู้ รียนได้ พฒั นาตนเอง
ท้งั ร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ และสงั คม มีความรู้สึกท่ีดีเก่ียวกบั ตนเอง ภาคภมู ิใจในผลการปฏิบตั ิ
๒. จดั ประสบการณ์การเรียนรู้โดยยดึ ชีวิตจริงของผเู้ รียนเป็นหลกั เนน้ ใหผ้ ูเ้ รียนมีศกั ยภาพในการคิดเชิง
ระบบ และคดิ อยา่ งมีวจิ ารณญาณ มีรูปแบบการคิดของตนเอง คน้ พบตนเอง
๒๕๙
๓. จดั ประสบการณ์การเรียนรู้โดยยดึ หลกั ความแตกต่างระหวา่ งบุคคล และหลกั การเรียนรู้ในเชิงพหุปัญญา
และใชก้ ระบวนการวิจยั ในการแกป้ ัญหาและพฒั นาผเู้ รียน
๔. จดั ประสบการณ์โดยใชค้ ุณธรรมนาํ ความรู้ บูรณาการคณุ ธรรมในการจดั ประสบการณ์ทกุ กล่มุ สาระ
การเรียนรู้ และทกุ ข้นั ตอนในการจดั การเรียนรู้ ถือวา่ ครูทุกคนมีหนา้ ท่ีพฒั นาผเู้ รียนใหป้ ระพฤติตนยดึ หลกั คณุ ธรรม
และพฒั นาตนใหม้ ีค่านิยมอนั พึงประสงค์
๕. จดั บรรยากาศใหเ้ อ้ือตอ่ การแสวงหาความรู้ดว้ ยตนเอง มีอิสระในการคดิ ไดล้ งมือปฏิบตั ิจริง ครูพร้อม
ใหค้ าํ ปรึกษา ใหก้ าํ ลงั ใจ เสริมแรงใหผ้ เู้ รียนมีความเช่ือมนั่ วา่ ตนเองมีศกั ยภาพในการเรียนรู้ในเชิงพหุปัญญา
ไมด่ า้ นใดกด็ า้ นหน่ึงหรือหลายดา้ นพร้อมกนั
๖. จดั ประสบการณ์การเรียนรู้ใหม้ ีความสัมพนั ธ์ เชื่อมโยง หรือบูรณาการท้งั ภายในกลมุ่ สาระการเรียนรู้ และ
ระหวา่ งกลมุ่ สาระการเรียนรู้ใหม้ ากที่สุด
๗. จดั ประสบการณ์การเรียนรู้ใหย้ ดื หยนุ่ ตามเหตกุ ารณ์ และสภาพทอ้ งถ่ิน โดยใชแ้ หล่งการเรียนรู้ และ
ภมู ิปัญญาทอ้ งถ่ินในการจดั การเรียนรู้ตามความเหมาะสม
๘. จดั ประสบการณ์การเรียนรู้โดยมุ่งเนน้ กระบวนการเรียนรู้ กระบวนการคดิ อยา่ งมีเหตผุ ล และสร้างสรรค์
กระบวนการกลุ่ม
การจดั การเรียนรู้ท่ีเนน้ ผเู้ รียนเป็นสาํ คญั ผเู้ รียนจะตอ้ งอาศยั กระบวนการเรียนรู้ท่ีหลากหลาย เป็นเคร่ืองมือ
ที่จะนาํ พาตนเองไปสู่เป้าหมายของหลกั สูตร กระบวนการเรียนรู้ท่ีจาํ เป็นสาํ หรับผเู้ รียน อาทิ กระบวนการเรียนรู้
แบบบูรณาการ กระบวนการสร้างความรู้ กระบวนการคิด กระบวนการทางสังคม กระบวนการเผชิญสถานการณ์
และแก้ปัญหา กระบวนการเรียนรู้จากประสบการณ์จริง กระบวนการปฏิบัติ ลงมือทาํ จริง กระบวนการจัดการ
กระบวนการวิจยั กระบวนการเรียนรู้การเรียนรู้ของตนเอง กระบวนการพฒั นาลกั ษณะนิสยั
กระบวนการเหล่าน้ีเป็ นแนวทางในการจดั การเรียนรู้ท่ีผูเ้ รียนควรไดร้ ับการฝึ กฝน พฒั นา เพราะจะสามารถ
ช่วยใหผ้ เู้ รียนเกิดการเรียนรู้ไดด้ ี บรรลเุ ป้าหมายของหลกั สูตร ดงั น้นั ผสู้ อนจึงจาํ เป็นตอ้ งศึกษาทาํ ความเขา้ ใจ
ในกระบวนการเรียนรู้ตา่ ง ๆ เพอ่ื ใหส้ ามารถเลือกใชใ้ นการจดั กระบวนการเรียนรู้ไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ
การออกแบบการจดั การเรียนรู้
ผสู้ อนตอ้ งศึกษาหลกั สูตรสถานศึกษาให้เขา้ ใจถึงมาตรฐานการเรียนรู้ ตวั ช้ีวดั สมรรถนะสําคญั ของผูเ้ รียน
คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ และสาระการเรียนรู้ที่เหมาะสมกบั ผเู้ รียน แลว้ จึงพิจารณาออกแบบการจดั การเรียนรู้
โดยเลือกใชว้ ิธีสอนและเทคนิคการสอน สื่อ/แหล่งเรียนรู้ การวดั และประเมินผล เพอ่ื ใหผ้ เู้ รียนไดพ้ ฒั นาเตม็
ตามศกั ยภาพและบรรลุตามเป้าหมายที่กาํ หนด
๑. บทบาทของผู้สอนและผู้เรียน
การจดั การเรียนรู้เพ่อื ใหผ้ เู้ รียนมีคณุ ภาพตามเป้าหมายของหลกั สูตร ท้งั ผสู้ อนและผเู้ รียนควรมีบทบาท ดงั น้ี
๒๖๐
๑.๑ บทบาทของผู้สอน
๑) ศึกษาวเิ คราะหผ์ ูเ้ รียนเป็นรายบุคคล แลว้ นาํ ขอ้ มูลมาใชใ้ นการวางแผนการจดั การเรียนรู้
ที่ทา้ ทายความสามารถของผเู้ รียน
๒) กาํ หนดเป้าหมายที่ตอ้ งการใหเ้ กิดข้ึนกบั ผเู้ รียน ดา้ นความรู้และทกั ษะกระบวนการ
ที่เป็นความคิดรวบยอด หลกั การ และความสมั พนั ธ์ รวมท้งั คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์
๓) ออกแบบการเรียนรู้และจดั การเรียนรู้ท่ีตอบสนองความแตกต่างระหวา่ งบุคคลและพฒั นาการ
ทางสมอง เพอื่ นาํ ผูเ้ รียนไปสู่เป้าหมาย
๔) จดั บรรยากาศท่ีเอ้ือต่อการเรียนรู้ และดูแลช่วยเหลือผเู้ รียนใหเ้ กิดการเรียนรู้
๕) จดั เตรียมและเลือกใชส้ ื่อใหเ้ หมาะสมกบั กิจกรรม นาํ ภมู ิปัญญาทอ้ งถิ่น เทคโนโลยี
ที่เหมาะสมมาประยกุ ตใ์ ชใ้ นการจดั การเรียนการสอน
๖) ประเมินความกา้ วหนา้ ของผเู้ รียนดว้ ยวิธีการที่หลากหลาย เหมาะสมกบั ธรรมชาติของวิชา
และระดบั พฒั นาการของผูเ้ รียน
๗) วเิ คราะหผ์ ลการประเมินมาใชใ้ นการซ่อมเสริมและพฒั นาผเู้ รียน รวมท้งั ปรับปรุง
การจดั การเรียนการสอนของตนเอง
๑.๒ บทบาทของผู้เรียน
๑) กาํ หนดเป้าหมาย วางแผน และรับผดิ ชอบการเรียนรู้ของตนเอง
๒) เสาะแสวงหาความรู้ เขา้ ถึงแหลง่ การเรียนรู้ วเิ คราะห์ สังเคราะห์ขอ้ ความรู้ ต้งั คาํ ถาม คดิ หา
คาํ ตอบหรือหาแนวทางแกป้ ัญหาดว้ ยวิธีการตา่ ง ๆ
๒) ลงมือปฏิบตั ิจริง สรุปสิ่งที่ไดเ้ รียนรู้ดว้ ยตนเอง และนาํ ความรู้ไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นสถานการณ์
ตา่ ง ๆ
๓) มีปฏิสมั พนั ธ์ ทาํ งาน ทาํ กิจกรรมร่วมกบั กลุม่ และครู
๔) ประเมินและพฒั นากระบวนการเรียนรู้ของตนเองอยา่ งตอ่ เน่ือง
การส่งเสริมการเรียนรู้
ปัจจยั สาํ คญั ท่ีเป็นส่วนหน่ึงของการจดั การศึกษาใหม้ ีคณุ ภาพ และประสบความสาํ เร็จตามจุดมุ่งหมาย
ของหลกั สูตร คอื การพฒั นาระบบการส่งเสริม สนบั สนุน ของสถานศึกษาในดา้ นต่าง ๆ ท่ีจะเอ้ือใหส้ ามารถ
จดั การเรียนการสอนไดอ้ ยา่ งมีคณุ ภาพ สาํ หรับแนวปฏิบตั ิในการส่งเสริมการเรียนรู้ และสนบั สนุนการจดั
กิจกรรมการเรียนการสอนของสถานศึกษา ไดก้ าํ หนดแนวในการส่งเสริมการเรียนรู้ ดงั ตอ่ ไปน้ี
๑. การจดั สภาพแวดลอ้ มในสถานศึกษาใหเ้ อ้ือตอ่ การใชห้ ลกั สูตร เป็นหนา้ ท่ีโดยตรงของบุคลากรทุกคน
ในสถานศึกษาท่ีจะตอ้ งร่วมมือกัน โดยยึดเป้าหมาย หลักการ และจุดเน้นต่าง ๆ ของหลักสูตร เป็ นหลักในการ
ดาํ เนินการ ท้งั น้ีเพ่ือใหผ้ เู้ รียนไดเ้ รียนรู้และพฒั นาตนเองไดอ้ ยา่ งเตม็ ศกั ยภาพ
๒๖๑
๒. การจดั ใหม้ ีแหล่งการเรียนรู้ หอ้ งสมดุ และมมุ หนงั สือ หรือแหลง่ วิชาที่จะใหผ้ เู้ รียนไดศ้ ึกษา คน้ ควา้
หาความรู้ดว้ ยตนเอง เพื่อเพ่ิมพูนประสบการณ์และความชาํ นาญ โดยเฉพาะหอ้ งสมุดเป็นแหล่งการเรียนรู้ที่สาํ คญั ย่งิ
เพราะเป็นแหลง่ ที่รวบรวมองคค์ วามรู้ท่ีเป็นประโยชน์กบั ผเู้ รียนโดยตรง นอกจากน้ียงั จดั ใหม้ ีแหล่งการเรียนรู้
ในรูปของศูนยก์ ารเรียนรู้แบบพ่ึงพาตนเอง คอมพิวเตอร์ ห้องปฏิบตั ิการทางภาษา ห้องปฏิบตั ิการทางวิทยาศาสตร์
และ เทคโนโลยตี ่าง ๆ
๓. การจดั ใหม้ ีบริเวณสาํ หรับใหผ้ เู้ รียนไดฝ้ ึกปฏิบตั ิกิจกรรมในกล่มุ สาระการเรียนรู้ตา่ ง ๆ เพอื่ ใหผ้ เู้ รียน
ไดเ้ รียนรู้จากประสบการณ์จริง ไดค้ ิด ไดท้ าํ ไดแ้ สดงออก ไดเ้ รียนรู้เอง และคน้ พบความรู้ดว้ ยตนเองตามศกั ยภาพ
ของนกั เรียนแตล่ ะคน
๔. การจดั ใหม้ ีแหลง่ การเรียนรู้ในทอ้ งถิ่น และการใชภ้ ูมิปัญญาทอ้ งถ่ิน การจดั การเรียนรู้ตามหลกั สูตร
เนน้ การเรียนรู้จากแหล่งการเรียนรู้ท้งั ในและนอกห้องเรียน ท้งั น้ีเพือ่ ผเู้ รียนจะไดม้ ีโอกาสท่ีจะสมั ผสั กบั ชีวิตจริง
นอกหอ้ งเรียนหรือนอกโรงเรียน ไดพ้ บปะกบั ผคู้ น ผรู้ ู้ ภมู ิปัญญาของทอ้ งถ่ินเพื่อจะไดเ้ รียนรู้สิ่งตา่ ง ๆ มากข้นึ
มีประสบการณ์กวา้ งขวางข้ึน เรียนรู้ได้ทุกเวลาและทุกสถานท่ีไม่จาํ กดั ว่าจะตอ้ งเรียนรู้จากผูส้ อนในสถานศึกษา
เท่าน้นั
๕. การวิจยั เพื่อพฒั นาคุณภาพ การวิจยั เป็ นกระบวนการที่ควบคู่กบั กระบวนการเรียนรู้ และกระบวนการ
ทาํ งานของผทู้ ่ีเก่ียวขอ้ งกบั การศึกษา ซ่ึงเป็นกลไกที่นาํ ไปสู่สงั คมแห่งภมู ิปัญญาและการเรียนรู้ ดงั น้นั ในการจดั
การเรียนรู้ ผสู้ อนตอ้ งนาํ กระบวนการวจิ ยั มาผสมผสานหรือบรู ณาการเพื่อพฒั นาคุณภาพของผเู้ รียน และสามารถ
ใชก้ ระบวนการการวิจยั เป็นส่วนหน่ึงของกระบวนการเรียนรู้ นอกจากน้ีผลการวิจยั ยงั เป็นประโยชน์ต่อการแกป้ ัญหา
หรือพฒั นาคณุ ภาพของผเู้ รียนไดเ้ ป็นอยา่ งดี
๖. การจัดเครือข่ายวิชาการ ผู้สอนนับว่ามีส่วนสําคัญที่จะทําให้การจัดการเรี ยนรู้ประสบผลสําเร็จ
สถานศึกษาจึงจดั ใหม้ ีเครือขา่ ยเชื่อมโยงกบั สถานศึกษาอื่น ซ่ึงเป็นสถานศึกษาในโครงการโรงเรียนเครือขา่ ย
การใชห้ ลกั สูตรสถานศึกษาของจงั หวดั กาญจนบุรี ท้งั น้ีเพื่อใหผ้ สู้ อนไดแ้ ลกเปลี่ยนเรียนรู้ แลกเปลี่ยนประสบการณ์
ในการจดั การเรียนรู้ซ่ึงกนั และกนั ทาํ ให้ไดร้ ับความรู้ และแนวคิดใหม่ ๆ ท่ีหลากหลาย และกวา้ งขวาง ท่ี สามารถ
นาํ ไปพฒั นาการจดั การเรียนการสอนไดอ้ ย่างมีคุณภาพ นอกจากน้ียงั ส่งเสริม และสนับสนุนให้มีการแลกเปลี่ยน
เรียนรู้ทางวชิ าการ จากผสู้ อนในสถานศึกษาเดียวกนั และสถานศึกษาอื่น ๆ ตลอดจนชมรมวชิ าการตา่ ง ๆ เพื่อให้
ผสู้ อนไดร้ ับการพฒั นาตนเองอยา่ งสม่าํ เสมอ
๒๖๒
บทท่ี ๖
การวดั และประเมินผลการเรียน
ตามหลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนอนุบาลห้วยกระเจา
หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนอนุบาลห้วยกระเจา พุทธศกั ราช ๒๕๖๓ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั
พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ จดั ทาํ ข้ึนภายใตก้ รอบของหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑
บริบทของสภาพชุมชนและสังคม ภูมิปัญญาทอ้ งถิ่นของสถานศึกษา เพื่อใช้จดั ในการศึกษาของสถานศึกษาเพ่ือ
พฒั นาให้ผูเ้ รียนเป็ นสมาชิกที่ดีของครอบครัว ชุมชน สังคม ประเทศชาติ และพลโลก ดว้ ยเหตุผล ดงั กล่าว การวดั
และประเมินผลการเรียนตามหลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนอนุบาลห้วยกระเจา พุทธศักราช ๒๕๖๓ หลกั สูตร
แกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ จึงตอ้ งปฏิบัติตามขอ้ กาํ หนดการประเมินผลตามหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ เป็นหลกั ซ่ึงการดาํ เนินการในการวดั และประเมินผลการเรียนรู้
ของหลกั สูตรสถานศึกษาไดก้ าํ หนดแนวทางในการดาํ เนินการ ดงั ตอ่ ไปน้ี
การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้
การวดั และประเมินผลการเรียนรู้ของผเู้ รียนตอ้ งอยบู่ นหลกั การพ้นื ฐานสองประการคือการประเมิน
เพื่อพฒั นาผูเ้ รียนและเพื่อตดั สินผลการเรียน ในการพฒั นาคุณภาพการเรียนรู้ของผูเ้ รียนให้ประสบผลสําเร็จน้ัน
ผูเ้ รียนจะตอ้ งไดร้ ับการพฒั นาและประเมินตามตวั ช้ีวดั เพ่ือให้บรรลุตามมาตรฐานการเรียนรู้ สะทอ้ นสมรรถนะสาํ คญั
และคุณลกั ษณะอนั พึงประสงคข์ องผูเ้ รียนซ่ึงเป็นเป้าหมายหลกั ในการวดั และประเมินผลการเรียนรู้ในทุกระดบั ไม่ว่า
จะเป็ นระดบั ช้นั เรียน ระดบั สถานศึกษา ระดบั เขตพ้ืนท่ีการศึกษา และระดบั ชาติ การวดั และประเมินผลการเรียนรู้
เป็ นกระบวนการพัฒนาคุณภาพผู้เรี ยนโดยใช้ผลการประเมินเป็ นข้อมูลและสารสนเทศท่ีแสดงพัฒนาการ
ความกา้ วหน้า และความสําเร็จทางการเรียนของผูเ้ รียน ตลอดจนขอ้ มูลที่เป็ นประโยชน์ต่อการส่งเสริมให้ผูเ้ รียนเกิด
การพฒั นา และเรียนรู้อยา่ งเตม็ ตามศกั ยภาพ
การวดั และประเมินผลการเรียนรู้ตามหลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนอนุบาลหว้ ยกระเจา พุทธศกั ราช ๒๕๖๓
ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ แบง่ ออกเป็น ๔ ระดบั ไดแ้ ก่ ระดบั ช้นั เรียน
ระดบั สถานศึกษา ระดบั เขตพ้ืนท่ีการศึกษา และระดบั ชาติ มีรายละเอียด ดงั น้ี
๑. การประเมนิ ระดบั ช้ันเรียน เป็นการวดั และประเมินผลท่ีอยใู่ นกระบวนการจดั การเรียนรู้ ผสู้ อนดาํ เนินการ
เป็นปกติและสม่าํ เสมอ ในการจดั การเรียนการสอน ใชเ้ ทคนิคการประเมินอยา่ งหลากหลาย เช่น การซกั ถาม การสงั เกต
การตรวจการบา้ น การประเมินโครงงาน การประเมินชิ้นงาน/ ภาระงาน แฟ้มสะสมงาน การใชแ้ บบทดสอบ ฯลฯ
โดยผสู้ อนเป็นผปู้ ระเมินเองหรือเปิ ดโอกาสใหผ้ เู้ รียนประเมินตนเอง เพ่ือนประเมินเพ่ือน ผปู้ กครอง
๒๖๓
ร่วมประเมิน ในกรณีที่ไม่ผา่ นตวั ช้ีวดั ใหม้ ีการสอนซ่อมเสริม
การประเมินระดบั ช้นั เรียนเป็นการตรวจสอบวา่ ผเู้ รียนมีพฒั นาการความกา้ วหนา้ ในการเรียนรู้ อนั เป็น
ผลมาจากการจดั กิจกรรมการเรียนการสอนหรือไม่ และมากนอ้ ยเพยี งใด มีส่ิงท่ีจะตอ้ งไดร้ ับการพฒั นาปรับปรุง
และส่งเสริมในดา้ นใด นอกจากน้ียงั เป็นขอ้ มูลใหผ้ สู้ อนใชป้ รับปรุงการเรียนการสอนของตนดว้ ย ท้งั น้ีโดยสอดคลอ้ ง
กบั มาตรฐานการเรียนรู้และตวั ช้ีวดั
๒. การประเมนิ ระดบั สถานศึกษา เป็นการประเมินที่สถานศึกษาดาํ เนินการเพื่อตดั สินผลการเรียนของผเู้ รียน
เป็นรายปี /รายภาค ผลการประเมินการอ่าน คิดวเิ คราะห์และเขยี น คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ และกิจกรรมพฒั นา
ผเู้ รียน นอกจากน้ีเพ่อื ใหไ้ ดข้ อ้ มลู เกี่ยวกบั การจดั การศึกษาของสถานศึกษาวา่ ส่งผลตอ่ การเรียนรู้ของผเู้ รียนตาม
เป้าหมายหรือไม่ ผเู้ รียนมีจุดพฒั นาในดา้ นใด รวมท้งั สามารถนาํ ผลการเรียนของผเู้ รียนในสถานศึกษาเปรียบเทียบกบั
เกณฑร์ ะดบั ชาติ ผลการประเมินระดบั สถานศึกษาจะเป็นขอ้ มลู และสารสนเทศเพ่อื การปรับปรุงนโยบาย หลกั สูตร
โครงการ หรือวิธีการจดั การเรียนการสอน ตลอดจนเพ่อื การจดั ทาํ แผนพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา ของสถานศึกษา
ตามแนวทางการประกนั คณุ ภาพการศึกษาและการรายงานผลการจดั การศึกษา ตอ่ คณะกรรมการสถานศึกษา
สาํ นกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษา สาํ นกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน ผปู้ กครอง และชุมชน
๓. การประเมินระดบั เขตพื้นทีก่ ารศึกษา เป็นการประเมินคุณภาพผเู้ รียนในระดบั เขตพ้ืนที่การศึกษา
ตามมาตรฐานการเรียนรู้ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน เพือ่ ใชเ้ ป็นขอ้ มลู พ้นื ฐานในการพฒั นาคุณภาพ
การศึกษาของเขตพ้นื ที่การศึกษา ตามภาระความรับผิดชอบ สามารถดาํ เนินการโดยประเมินคุณภาพผลสัมฤทธ์ิ
ของผเู้ รียนดว้ ยขอ้ สอบมาตรฐานท่ีจดั ทาํ และดาํ เนินการโดยเขตพ้นื ที่การศึกษา หรือดว้ ยความร่วมมือกบั หน่วยงาน
ตน้ สงั กดั ในการดาํ เนินการจดั สอบ นอกจากน้ียงั ไดจ้ ากการตรวจสอบทบทวนขอ้ มลู จากการประเมินระดบั สถานศึกษา
ในเขตพ้นื ท่ีการศึกษา
๔. การประเมินระดบั ชาติ เป็นการประเมินคุณภาพผูเ้ รียนในระดบั ชาติตามมาตรฐานการเรียนรู้ตาม
หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน สถานศึกษาตอ้ งจดั ใหผ้ เู้ รียนทุกคนท่ีเรียนในช้นั ประถมศึกษาปี ท่ี ๓
ช้นั ประถมศึกษาปี ท่ี ๖ ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี ๓ เขา้ รับการประเมินผลจากการประเมินใชเ้ ป็นขอ้ มลู ในการเทียบเคยี ง
คณุ ภาพการศึกษาในระดบั ตา่ งๆ เพือ่ นาํ ไปใชใ้ นการวางแผนยกระดบั คณุ ภาพการจดั การศึกษา ตลอดจนเป็นขอ้ มูล
สนบั สนุนการตดั สินใจในระดบั นโยบายของประเทศ
ขอ้ มลู การประเมินในระดบั ต่าง ๆ ขา้ งตน้ เป็นประโยชน์ต่อสถานศึกษาในการตรวจสอบทบทวนพฒั นา
คณุ ภาพผเู้ รียน ถือเป็นภาระความรับผดิ ชอบของสถานศึกษาท่ีจะตอ้ งจดั ระบบดูแลช่วยเหลือ ปรับปรุงแกไ้ ข ส่งเสริม
สนบั สนุนเพ่ือใหผ้ เู้ รียนไดพ้ ฒั นาเตม็ ตามศกั ยภาพบนพ้ืนฐานความแตกตา่ งระหวา่ งบุคคลท่ีจาํ แนกตามสภาพปัญหา
และความตอ้ งการ ไดแ้ ก่ กลุม่ ผเู้ รียนทวั่ ไป กลุ่มผเู้ รียนที่มีความสามารถพเิ ศษ กล่มุ ผเู้ รียนที่มีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน
ต่าํ กล่มุ ผเู้ รียนท่ีมีปัญหาดา้ นวนิ ยั และพฤติกรรม กลุม่ ผเู้ รียนที่ปฏิเสธโรงเรียน กลุ่มผเู้ รียนท่ีมีปัญหาทางเศรษฐกิจ และ
๒๖๔
สงั คม กลุม่ พิการทางร่างกายและสติปัญญา เป็นตน้ ขอ้ มลู จากการประเมินจึงเป็นหวั ใจของสถานศึกษาในการ
ดาํ เนินการช่วยเหลือผเู้ รียนไดท้ นั ท่วงที เปิ ดโอกาสใหผ้ เู้ รียนไดร้ ับการพฒั นาและประสบความสาํ เร็จในการเรียน
สถานศึกษาในฐานะผรู้ ับผิดชอบจดั การศึกษา จะตอ้ งจดั ทาํ ระเบียบวา่ ดว้ ยการวดั และประเมินผลการเรียน
ของสถานศึกษาใหส้ อดคลอ้ งและเป็นไปตามหลกั เกณฑแ์ ละแนวปฏิบตั ิที่เป็นขอ้ กาํ หนดของหลกั สูตรแกนกลาง
การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน เพือ่ ให้บคุ ลากรท่ีเกี่ยวขอ้ งทุกฝ่ายถือปฏิบตั ิร่วมกนั
เกณฑ์การวดั และประเมนิ ผลการเรียน
๑. การตัดสิน การให้ระดับและการรายงานผลการเรียน
๑.๑ การตดั สินผลการเรียน
ในการตดั สินผลการเรียนของกลุ่มสาระการเรียนรู้ การอา่ น คิดวิเคราะห์และเขียน คุณลกั ษณะ
อนั พึงประสงค์ และกิจกรรมพฒั นาผเู้ รียนน้นั ผสู้ อนตอ้ งคาํ นึงถึงการพฒั นาผเู้ รียนแต่ละคนเป็นหลกั และตอ้ งเก็บ
ขอ้ มลู ของผเู้ รียนทกุ ดา้ นอยา่ งสม่าํ เสมอและต่อเนื่อง ในแต่ละภาคเรียน รวมท้งั สอนซ่อมเสริมผูเ้ รียนใหพ้ ฒั นา
จนเตม็ ตามศกั ยภาพ
ระดบั ประถมศึกษา
(๑) ผเู้ รียนตอ้ งมีเวลาเรียนไมน่ อ้ ยกวา่ ร้อยละ ๘๐ ของเวลาเรียนท้งั หมด
(๒) ผเู้ รียนตอ้ งไดร้ ับการประเมินทกุ ตวั ช้ีวดั และผา่ นตามเกณฑท์ ี่สถานศึกษากาํ หนด
(๓) ผเู้ รียนตอ้ งไดร้ ับการตดั สินผลการเรียนทกุ รายวิชา
(๔) ผเู้ รียนตอ้ งไดร้ ับการประเมิน และมีผลการประเมินผา่ นตามเกณฑท์ ี่สถานศึกษากาํ หนด
ในการอา่ น คิดวิเคราะหแ์ ละเขียน คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ และกิจกรรมพฒั นาผเู้ รียน
ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
(๑) ตดั สินผลการเรียนเป็นรายวิชา ผเู้ รียนตอ้ งมีเวลาเรียนตลอดภาคเรียนไมน่ อ้ ยกวา่ ร้อยละ ๘๐
ของเวลาเรียนท้งั หมดในรายวิชาน้นั ๆ
(๒) ผเู้ รียนตอ้ งไดร้ ับการประเมินทกุ ตวั ช้ีวดั และผา่ นตามเกณฑท์ ี่สถานศึกษากาํ หนด
(๓) ผเู้ รียนตอ้ งไดร้ ับการตดั สินผลการเรียนทุกรายวชิ า
(๔) ผเู้ รียนตอ้ งไดร้ ับการประเมิน และมีผลการประเมินผา่ นตามเกณฑท์ ่ีสถานศึกษากาํ หนด
ในการอ่าน คิดวเิ คราะหแ์ ละเขยี น คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ และกิจกรรมพฒั นาผเู้ รียน
การพิจารณาเล่ือนช้นั ท้งั ระดบั ประถมศึกษาและมธั ยมศึกษา ถา้ ผเู้ รียนมีขอ้ บกพร่องเพยี งเลก็ นอ้ ย และ
สถานศึกษาพจิ ารณาเห็นวา่ สามารถพฒั นาและสอนซ่อมเสริมได้ ใหอ้ ยใู่ นดุลพนิ ิจของสถานศึกษาที่จะผอ่ นผนั ใหเ้ ลื่อน
ช้นั ได้ แต่หากผเู้ รียนไมผ่ า่ นรายวชิ าจาํ นวนมาก และมีแนวโนม้ วา่ จะเป็นปัญหาต่อการเรียนในระดบั ช้นั ท่ีสูงข้นึ
สถานศึกษาอาจต้งั คณะกรรมการพิจารณาให้เรียนซ้าํ ช้นั ได้ ท้งั น้ีใหค้ าํ นึงถึงวฒุ ิภาวะและความรู้ความสามารถของ
ผเู้ รียนเป็นสาํ คญั
๒๖๕
๑.๒ การให้ระดบั ผลการเรียน
ระดับประถมศึกษา ในการตดั สินเพ่ือใหร้ ะดบั ผลการเรียนรายวิชา สถานศึกษาสามารถใหร้ ะดบั ผลการ
เรียนหรือระดบั คณุ ภาพการปฏิบตั ิของผเู้ รียน เป็นระบบตวั เลขโดยใหใ้ ชต้ วั เลขแสดงระดบั ผลการเรียนเป็น ๘ ระดบั
การประเมินการอา่ น คดิ วิเคราะห์และเขยี น และคุณลกั ษณะอนั พึงประสงคน์ ้นั ใหร้ ะดบั ผลการประเมิน
เป็น ดีเยยี่ ม ดี และผา่ นเกณฑก์ ารประเมิน มีพฤติกรรมบางประการที่ตอ้ งปรับปรุง
การประเมินกิจกรรมพฒั นาผเู้ รียน จะตอ้ งพิจารณาท้งั เวลาการเขา้ ร่วมกิจกรรม การปฏิบตั ิกิจกรรม และ
ผลงานของผเู้ รียน ตามเกณฑท์ ี่สถานศึกษากาํ หนด และใหผ้ ลการเขา้ ร่วมกิจกรรมเป็นผ่าน และไมผ่ า่ น
ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ในการตดั สินเพ่ือใหร้ ะดบั ผลการเรียนรายวิชา ใหใ้ ชต้ วั เลขแสดงระดบั
ผลการเรียนเป็น ๘ ระดบั
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขยี น และคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงคน์ ้นั ให้ระดบั ผลการประเมิน
เป็น ดีเยย่ี ม ดี และผา่ นเกณฑก์ ารประเมิน มีพฤติกรรมบางประการท่ีตอ้ งปรับปรุง
การประเมินกิจกรรมพฒั นาผูเ้ รียน จะตอ้ งพิจารณาท้งั เวลาการเขา้ ร่วมกิจกรรม การปฏิบตั ิกิจกรรม และ
ผลงานของผเู้ รียน ตามเกณฑท์ ี่สถานศึกษากาํ หนด และใหผ้ ลการเขา้ ร่วมกิจกรรมเป็นผา่ น และไม่ผา่ น
๑.๓ การรายงานผลการเรียน
การรายงานผลการเรียนเป็นการสื่อสารใหผ้ ปู้ กครองและผเู้ รียนทราบความกา้ วหนา้ ในการเรียนรู้
ของผเู้ รียน ซ่ึงสถานศึกษาตอ้ งสรุปผลการประเมินและจดั ทาํ เอกสารรายงานใหผ้ ปู้ กครองทราบภาคเรียนละ ๑ คร้ัง
การรายงานผลการเรียนสามารถรายงานเป็นระดบั คุณภาพการปฏิบตั ิของผเู้ รียนท่ีสะทอ้ นมาตรฐาน
การเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้
๒. เกณฑ์การจบการศึกษา
หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน กาํ หนดเกณฑก์ ลางสาํ หรับการจบการศึกษาเป็น ๓ ระดบั คือ
ระดบั ประถมศึกษา ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้ และระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย
๒.๑ เกณฑ์การจบระดบั ประถมศึกษา
(๑) ผเู้ รียนเรียนรายวิชาพ้ืนฐาน และรายวชิ า/กิจกรรมเพิ่มเติมตามโครงสร้างเวลาเรียนท่ีหลกั สูตร
แกนกลางการศึกษาข้นั พ้นื ฐานกาํ หนด
(๒) ผเู้ รียนตอ้ งมีผลการประเมินรายวิชาพ้นื ฐาน ผ่านเกณฑก์ ารประเมินตามที่สถานศึกษากาํ หนด
(๓) ผเู้ รียนมีผลการประเมินการอา่ น คดิ วิเคราะห์ และเขยี นในระดบั ผา่ นเกณฑ์ การประเมินตามท่ี
สถานศึกษากาํ หนด
(๔) ผเู้ รียนมีผลการประเมินคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงคใ์ นระดบั ผา่ นเกณฑก์ ารประเมินตามท่ี
สถานศึกษากาํ หนด
๒๖๖
(๕) ผเู้ รียนเขา้ ร่วมกิจกรรมพฒั นาผูเ้ รียนและมีผลการประเมินผา่ นเกณฑก์ ารประเมินตามท่ี
สถานศึกษากาํ หนด
๒.๒ เกณฑ์การจบระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น
(๑) ผเู้ รียนเรียนรายวิชาพ้ืนฐานและเพม่ิ เติมไม่เกิน ๘๑ หน่วยกิต โดยเป็นรายวิชาพ้ืนฐาน
๖๖ หน่วยกิต และรายวิชาเพิ่มเติมตามท่ีสถานศึกษากาํ หนด
(๒) ผเู้ รียนตอ้ งไดห้ น่วยกิตตลอดหลกั สูตรไม่นอ้ ยกวา่ ๗๗ หน่วยกิต โดย เป็นรายวชิ าพ้ืนฐาน
๖๖ หน่วยกิต และ รายวิชาเพิ่มเติมไมน่ อ้ ยกวา่ ๑๕ หน่วยกิต
(๓) ผเู้ รียนมีผลการประเมิน การอา่ น คิดวเิ คราะหแ์ ละเขียน ในระดบั ผา่ น เกณฑก์ ารประเมิน
ตามท่ีสถานศึกษากาํ หนด
(๔) ผเู้ รียนมีผลการประเมินคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ ในระดบั ผา่ นเกณฑก์ ารประเมินตามที่
สถานศึกษากาํ หนด
(๕) ผเู้ รียนเขา้ ร่วมกิจกรรมพฒั นาผเู้ รียนและมีผลการประเมินผา่ นเกณฑก์ ารประเมินตามท่ี
สถานศึกษากาํ หนด
เอกสารหลกั ฐานการศึกษา
เอกสารหลกั ฐานการศึกษา เป็นเอกสารสาํ คญั ที่บนั ทึกผลการเรียน ขอ้ มลู และสารสนเทศ ที่เกี่ยวขอ้ ง
กบั พฒั นาการของผเู้ รียนในดา้ นตา่ ง ๆ แบง่ ออกเป็น ๒ ประเภท ดงั น้ี
๑. เอกสารหลกั ฐานการศึกษาทก่ี ระทรวงศึกษาธกิ ารกาํ หนด
๑.๑ ระเบียนแสดงผลการเรียน เป็นเอกสารแสดงผลการเรียนและรับรองผลการเรียนของผเู้ รียน
ตามรายวิชา ผลการประเมินการอ่าน คิดวเิ คราะหแ์ ละเขยี น ผลการประเมินคุณลกั ษณะอนั พึงประสงคข์ องสถานศึกษา
และผลการประเมินกิจกรรมพฒั นาผเู้ รียน สถานศึกษาจะตอ้ งบนั ทึกขอ้ มูลและออกเอกสารน้ีใหผ้ เู้ รียนเป็นรายบุคคล
เมื่อผเู้ รียนจบการศึกษาระดบั ประถมศึกษา (ช้นั ประถมศึกษาปี ที่ ๖) จบการศึกษาภาคบงั คบั (ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ ๓)
จบการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน (ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ ๖) หรือเม่ือลาออกจากสถานศึกษาในทกุ กรณี
๑.๒ ประกาศนียบัตร เป็นเอกสารแสดงวุฒิการศึกษาเพ่อื รับรองศกั ด์ิและสิทธ์ิของผจู้ บการศึกษา
ท่ีสถานศึกษาใหไ้ วแ้ ก่ผจู้ บการศึกษาภาคบงั คบั และผจู้ บการศึกษาข้นั พ้ืนฐานตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษา
ข้นั พ้นื ฐาน
๑.๓ แบบรายงานผู้สําเร็จการศึกษา เป็นเอกสารอนุมตั ิการจบหลกั สูตรโดยบนั ทึกรายช่ือและขอ้ มลู
ของผจู้ บการศึกษาระดบั ประถมศึกษา (ช้นั ประถมศึกษาปี ท่ี ๖) ผจู้ บการศึกษาภาคบงั คบั (ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี ๓)
๒๖๗
๒. เอกสารหลกั ฐานการศึกษาที่สถานศึกษากาํ หนด
เป็นเอกสารท่ีสถานศึกษาจดั ทาํ ข้นึ เพื่อบนั ทึกพฒั นาการ ผลการเรียนรู้ และขอ้ มลู สาํ คญั เกี่ยวกบั ผเู้ รียน
เช่น แบบรายงานประจาํ ตวั นกั เรียน แบบบนั ทึกผลการเรียนประจาํ รายวชิ า ระเบียนสะสม ใบรับรองผลการเรียน
และ เอกสารอ่ืน ๆ ตามวตั ถปุ ระสงคข์ องการนาํ เอกสารไปใช้
๒.๑ แบบบนั ทกึ ผลการเรียนประจํารายวชิ า เป็นเอกสารที่จดั ทาํ ข้ึน เพ่ือใหค้ รูผสู้ อนใชบ้ นั ทึกพฒั นาการ
ผลการเรียนรู้ กิจกรรมพฒั นาผเู้ รียน คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ และการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน สาํ หรับ การ
พิจารณาตดั สินผลการเรียนแต่ละรายวิชาเป็นรายหอ้ งเรียนเอกสารบนั ทึกผลการเรียนประจาํ รายวชิ า นาํ ไปใชป้ ระโยชน์
ดงั น้ี
- ใชบ้ นั ทึกพฒั นาการ ผลการเรียนรู้ คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ การอ่าน คิดวิเคราะห์และเขยี น
และผลการประเมินกิจกรรมพฒั นาผเู้ รียนของผเู้ รียนแตล่ ะรายวิชา
- ใชเ้ ป็นหลกั ฐานสาํ หรับตรวจสอบ รายงาน และรับรองขอ้ มูลเก่ียวกบั พฒั นาการ และผลการเรียนรู้
ของผเู้ รียน
๒.๒ แบบรายงานประจําตัวนกั เรียน เป็นเอกสารที่จดั ทาํ ข้นึ เพ่ือบนั ทึกขอ้ มลู ผลการเรียนรายวชิ า และ
พฒั นาการดา้ นตา่ ง ๆ ของผเู้ รียนแต่ละคน ตามเกณฑก์ ารตดั สินการผา่ นระดบั ช้นั ของหลกั สูตรแกนกลางการศึกษา
ข้นั พ้นื ฐาน รวมท้งั ขอ้ มูลดา้ นอ่ืน ๆ ของผเู้ รียนท่ีบา้ นและสถานศึกษา โดยจดั ทาํ เป็นเอกสารรายบุคคล เพือ่ ใชส้ าํ หรับ
สื่อสารใหผ้ ปู้ กครองของผูเ้ รียนแตล่ ะคนไดร้ ับทราบผลการเรียนและพฒั นาการดา้ นต่าง ๆ ของผเู้ รียนอยา่ งต่อเน่ือง
แบบรายงานประจาํ ตวั นกั เรียน นาํ ไปใชป้ ระโยชน์ ดงั น้ี
- รายงานผลการเรียน ความประพฤติ และพฒั นาการของผเู้รียนใหผ้ ปู้ กครองไดร้ ับทราบ
- ใชเ้ ป็นเอกสารสื่อสาร ประสานงาน เพือ่ ความร่วมมือในการพฒั นาและปรับปรุงแกไ้ ขผเู้ รียน
- เป็นเอกสารหลกั ฐานสาํ หรับตรวจสอบ ยนื ยนั และรับรองผลการเรียนและพฒั นาการต่างๆ
ของผเู้ รียน
๒.๓ ระเบียนสะสม เป็นเอกสารท่ีจดั ทาํ ข้นึ เพอ่ื บนั ทึกขอ้ มูลเก่ียวกบั พฒั นาการของผเู้ รียนในดา้ นตา่ ง ๆ
เป็นรายบุคคล โดยจะบนั ทึกขอ้ มูลของผเู้ รียนอยา่ งตอ่ เนื่อง ตลอดช่วงระยะเวลาการศึกษาตามหลกั สูตรสถานศึกษา
โรงเรียนอนุบาลหว้ ยกระเจา พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑
สามารถนาํ ไปใชป้ ระโยชน์ ดงั น้ี
- ใชเ้ ป็นขอ้ มูลในการแนะแนวทางการศึกษาและการประกอบอาชีพของผูเ้ รียน
- ใชเ้ ป็นขอ้ มลู ในการพฒั นาปรับปรุงบุคลิกภาพ ผลการเรียนและการปรับตวั ของผเู้ รียน
- ใชต้ ิดต่อส่ือสาร รายงานพฒั นาคุณภาพของผูเ้ รียนระหวา่ งสถานศึกษากบั ผปู้ กครอง
- ใชเ้ ป็นหลกั ฐานสาํ หรับการตรวจสอบ รับรอง และยนื ยนั คณุ สมบตั ิของผูเ้ รียน
๒.๔ ใบรับรองผลการเรียน เป็นเอกสารที่จดั ทาํ ข้นึ เพอื่ ใชเ้ ป็นเอกสารสาํ หรับรับรองความเป็นนกั เรียน
หรือผลการเรียนของผเู้ รียนเป็นการชว่ั คราวตามท่ีผเู้ รียนร้องขอ ท้งั กรณีท่ีผเู้ รียนกาํ ลงั ศึกษาอยใู่ นสถานศึกษา และ
เม่ือจบการศึกษาไปแลว้ นาํ ไปใชป้ ระโยชน์ ดงั น้ี
๒๖๘
- รับรองความเป็นนกั เรียนของสถานศึกษาที่เรียน หรือเคยเรียน
- รับรองและแสดงความรู้ วุฒิการศึกษาของผูเ้ รียน
- ใชเ้ ป็นหลกั ฐานแสดงคุณสมบตั ิของผเู้ รียนในการสมคั รเขา้ ศึกษาต่อ สมคั รเขา้ ทาํ งาน หรือเมื่อมีกรณี
อ่ืนใดที่ผเู้ รียนแสดงคณุ สมบตั ิเกี่ยวกบั วฒุ ิความรู้ หรือสถานการณ์เป็นผเู้ รียนของตน
- เป็นหลกั ฐานสาํ หรับการตรวจสอบ รับรอง ยนื ยนั การใชส้ ิทธ์ิความเป็นผเู้ รียน หรือการไดร้ ับ
การรับรองจากสถานศึกษา
การเทยี บโอนผลการเรียน
สถานศึกษาสามารถเทียบโอนผลการเรียนของผเู้ รียนในกรณีตา่ ง ๆ ไดแ้ ก่ การยา้ ยสถานศึกษา การเปลี่ยน
รูปแบบการศึกษา การยา้ ยหลกั สูตร การออกกลางคนั และขอกลบั เขา้ รับการศึกษาต่อ การศึกษาจากตา่ งประเทศ และ
ขอเขา้ ศึกษาต่อในประเทศ นอกจากน้ี ยงั สามารถเทียบโอนความรู้ ทกั ษะ ประสบการณ์จากแหล่งการเรียนรู้อื่น ๆ
เช่น สถานประกอบการ สถาบนั ศาสนา สถาบนั การฝึกอบรมอาชีพ การจดั การศึกษาโดยครอบครัว
การเทียบโอนผลการเรียนควรดาํ เนินการในช่วงก่อนเปิ ดภาคเรียนแรก หรือตน้ ภาคเรียนแรกที่สถานศึกษา
รับผขู้ อเทียบโอนเป็นผเู้ รียน ท้งั น้ี ผเู้ รียนที่ไดร้ ับการเทียบโอนผลการเรียนตอ้ งศึกษาตอ่ เน่ืองในสถานศึกษาท่ีรับ
เทียบโอนอยา่ งนอ้ ย ๑ ภาคเรียน โดยโรงเรียนอนุบาลหว้ ยกระเจาพจิ ารณาดาํ เนินการ ดงั น้ี
๑. พจิ ารณาจากหลกั ฐานการศึกษา ซ่ึงจะใหข้ อ้ มลู แสดงความรู้ ความสามารถของนกั เรียนในดา้ นต่าง ๆ
๒. พจิ ารณาจากความรู้ ประสบการณ์ตรงจากการปฏิบตั ิจริง การทดสอบ การสมั ภาษณ์
๓. พิจารณาจากความสามารถ และการปฏิบตั ิจริง
๔. ในกรณีมีเหตุผลจาํ เป็นระหวา่ งเรียน นกั เรียนสามารถแจง้ ความจาํ นงขอไปศกึ ษาบางรายวชิ าในสถานศึกษา/
สถานประกอบการอื่น แลว้ นาํ มาเทียบโอนได้ โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารหลกั สูตรและวิชาการของ
โรงเรียนอนุบาลหว้ ยกระเจา
๕. การเทียบโอนผลการเรียนใหค้ ณะกรรมการการเทียบโอนโรงเรียนอนุบาลหว้ ยกระเจา จาํ นวน ๕ คน
เป็นผดู้ าํ เนินการ
๖. การเทียบโอนใหด้ าํ เนินการ ดงั น้ี
๖.๑ กรณีผขู้ อเทียบโอนมีผลการเรียนมาจากหลกั สูตรอ่ืน ให้นาํ รายวชิ าหรือหน่วยกิตท่ีมีตวั ช้ีวดั /
มาตรฐานการเรียนรู้/ผลการเรียนรู้ที่คาดหวงั /จุดประสงค/์ เน้ือหาที่สอดคลอ้ งกนั ไมน่ อ้ ยกวา่ ร้อยละ ๖๐ มาเทียบโอน
ผลการเรียนและพจิ ารณาให้ระดบั ผลการเรียนใหส้ อดคลอ้ งกบั หลกั สูตรที่รับเทียบโอน
๖.๒ กรณีการเทียบโอนความรู้ ทกั ษะและประสบการณ์ ใหพ้ จิ ารณาจากเอกสารหลกั ฐาน โดยใหม้ ี
การประเมินดว้ ยเครื่องมือที่หลากหลาย และใหร้ ะดบั ผลใหส้ อดคลอ้ งกบั หลกั สูตรที่รับเทียบโอน
๖.๓ กรณีการเทียบโอนท่ีนกั เรียนเขา้ โครงการแลกเปลี่ยนตา่ งประเทศ ใหด้ าํ เนินการตามประกาศ
กระทรวงศึกษาธิการเรื่องหลกั การและแนวปฏิบตั ิการเทียบช้นั การศึกษาสาํ หรับนกั เรียนท่ีเขา้ ร่วมโครงการแลกเปลี่ยน
ท้งั น้ี วิธีการเทียบโอนผลการเรียนใหเ้ ป็นไปตามประกาศของกระทรวงศึกษาธิการ และ แนวปฏิบตั ิ
ที่เก่ียวขอ้ ง
๒๖๙
บทที่ ๗
การบริหารจัดการ
หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนอนุบาลห้วยกระเจา
การบริหารจัดการหลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนอนุบาลห้วยกระเจา
กระบวนการในการบริหารจดั การนาํ หลกั สูตรไปใชถ้ ือว่าเป็นปัจจยั ท่ีสําคญั เป็ นอย่างมากท่ีจะช่วยสนบั สนุน
ส่งเสริมให้การใช้หลกั สูตรของสถานศึกษาบรรลุผลสูงสุด ดังน้ันสถานศึกษาจึงได้กาํ หนดแผนการบริหารจดั การ
หลกั สูตรของสถานศึกษาข้นึ เพื่อใหผ้ ทู้ ่ีมีส่วนเกี่ยวขอ้ งกบั การจดั การศึกษาของสถานศึกษาในทุก ๆ ส่วน และ
ทกุ ระดบั เกิดความรู้ ความเขา้ ใจเกี่ยวกบั จุดหมายของหลกั สูตร การพฒั นาการเรียนการสอน การนิเทศการศึกษา
การบริหารหลกั สูตร การประเมินผล และแนวปฏิบตั ิของสถานศึกษาที่จะตอ้ งดาํ เนินการให้สอดคลอ้ งและเหมาะสม
กบั สภาพความตอ้ งการของหลกั สูตรสถานศึกษา สาํ หรับการบริหารจดั การหลกั สูตร ของสถานศึกษา
โรงเรียนอนุบาลหว้ ยกระเจา กาํ หนดแนวทางการบริหารจดั การไว้ ๓ ข้นั ตอน ๗ ภารกิจ ดงั น้ี
แนวทางการบริหารจดั การ
ข้ันตอนที่ ๑ การเตรียมความพร้อมของสถานศึกษา
ภารกจิ ที่ ๑ การเตรียมความพร้อมของสถานศึกษา
๑.๑ สร้างความตระหนกั ใหแ้ ก่บคุ ลากร ซ่ึงประกอบดว้ ย คณะกรรมการสถานศึกษา ผบู้ ริหาร ผสู้ อน
ผปู้ กครอง ชุมชน นกั เรียน ท้งั น้ีเพอื่ ให้เห็นความสาํ คญั ความจาํ เป็นท่ีจะตอ้ งร่วมมือกนั บริหารจดั การหลกั สูตร
สถานศึกษาของสถานศึกษา
๑.๒ แต่งต้งั คณะกรรมการ และคณะอนุกรรมการของสถานศึกษาตามระเบียบของ
กระทรวงศึกษาธิการวา่ ดว้ ยคณะกรรมการบริหารหลกั สูตรและงานวิชาการสถานศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พ. ศ. ๒๕๕๒
๑.๓ ประชาสมั พนั ธใ์ หน้ กั เรียน ผปู้ กครอง ชุมชน หน่วยงาน องคก์ รในชุมชนทกุ ฝ่ายไดร้ ับทราบ
และขอความร่วมมือในการบริหารจดั การหลกั สูตรของสถานศึกษา
๑.๔ จดั ทาํ ขอ้ มลู สารสนเทศของสถานศึกษาอยา่ งเป็นระบบ
๑.๕ จดั ทาํ แผนพฒั นาคุณภาพการศึกษา (ธรรมนูญสถานศึกษา)
๑.๖ พฒั นาบคุ ลากรของสถานศึกษาใหม้ ีความรู้ ความเขา้ ใจ และสามารถนาํ ความรู้ไปใชใ้ นการจดั ทาํ
สาระของหลกั สูตรสถานศึกษา
๒๗๐
ข้นั ตอนที่ ๒ การดําเนินการจดั ทําสาระของหลกั สูตรสถานศึกษา
ภารกจิ ที่ ๒ จดั ทาํ สาระของหลกั สูตรสถานศึกษา
๒.๑ ศึกษาวเิ คราะห์ขอ้ มูลท่ีเก่ียวขอ้ ง
๒.๒ กาํ หนดปรัชญา และเป้าหมายของการจดั การศึกษาของสถานศึกษา
๒.๓ กาํ หนดโครงสร้างของหลกั สูตรแต่ละรายช้นั และจดั สดั ส่วนเวลาเรียน
๒.๔ กาํ หนดตวั ช้ีวดั และสาระการเรียนรู้ของกลมุ่ วิชา
๒.๕ กาํ หนดสาระและกิจกรรมพฒั นาผเู้ รียน
๒.๖ กาํ หนดสื่อการเรียนรู้
๒.๗ กาํ หนดการวดั และประเมินผล
ภารกจิ ท่ี ๓ การวางแผนบริหารจดั การหลกั สูตรสถานศึกษา
๓.๑ การบริหารการจดั การกิจกรรมการเรียนรู้
๓.๒ การบริหารการจดั กิจกรรมพฒั นาผเู้ รียน
๓.๓ การส่งเสริมและสนบั สนุนการจดั การกิจกรรมการเรียนรู้ และกิจกรรมพฒั นาผเู้ รียน
ภารกจิ ท่ี ๔ ปฏิบตั ิการบริหารจดั การหลกั สูตรสถานศึกษา
๔.๑ ดาํ เนินการบริหารจดั การหลกั สูตรตามภารกิจที่ ๒ และภารกิจที่ ๓ ท่ีกาํ หนดไว้
ข้นั ตอนที่ ๓ การนิเทศ กาํ กบั ตดิ ตาม ประเมนิ ผล และรายงาน
ภารกจิ ท่ี ๕ การนิเทศ กาํ กบั ติดตาม ประเมินผล
๕.๑ การนิเทศ กาํ กบั ติดตาม ประเมินผลการบริหารหลกั สูตร และงานวิชาการภายในสถานศึกษา
๕.๒ การนิเทศ กาํ กบั ติดตาม ประเมินผลการบริหารหลกั สูตร และงานวิชาการจากภายนอก
สถานศึกษา
ภารกจิ ท่ี ๖ สรุปผลการดาํ เนินการบริหารจดั การหลกั สูตรของสถานศึกษา
๖.๑ สถานศึกษาสรุปผลการดาํ เนินการ และเขียนรายงาน
๖.๒ สรุปผลการดาํ เนินงานรูปแบบบริหารจดั การหลกั สูตรสถานศึกษา
๒๗๑
ภารกจิ ที่ ๗ ปรับปรุง และพฒั นากระบวนการบริหารจดั การหลกั สูตร
๗.๑ สถานศึกษานาํ ผลการดาํ เนินการ ปัญหา และขอ้ เสนอแนะต่าง ๆ มาใชเ้ ป็นขอ้ มลู พ้นื ฐาน
ในการวางแผนปรับปรุง และพฒั นากระบวนการบริหารจดั การหลกั สูตรของสถานศึกษา
๗.๒ สถานศึกษาดาํ เนินการปรับปรุง และพฒั นากระบวนการบริหารจดั การหลกั สูตร เพือ่ ใหเ้ กิด
ประโยชนม์ ากข้นึ