The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ebookrayong, 2020-09-11 09:58:50

การประชุมสัมมนาวิชาการนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ

Full-Paper-NACED-Education

โครงการสมั มนาวชิ าการระดบั ชาติ ครง้ั ท่ี 1 ปี 2562

มหาวิทยาลยั มหามกฏุ ราชวิทยาลยั วิทยาเขตลา้ นนา
เร่ือง “วชิ าการลา้ นนาเพื่อการศึกษาและพฒั นา ยคุ 4.0”
ร่วมกับ
สานกั งานคณะกรรมการวจิ ยั แหง่ ชาติ (วช.)
สานกั งานกองทนุ สนบั สนุนการวจิ ัย (สกว.)
สถาบันระดับอุดมศกึ ษา หนว่ ยงานภาครฐั และเอกชนในจงั หวดั เชยี งใหม่

ทปี่ รกึ ษา : อธิการบดมี หาวิทยาลยั มหามกฏุ ราชวทิ ยาลัย
รองอธกิ ารบดฝี ่ายวชิ าการ
รองอธิการบดี วทิ ยาเขตลา้ นนา

ผ้อู านวยการสถาบันวจิ ยั ญาณสงั วร
สานกั งานคณะกรรมการการวิจัยแห่งชาติ (วช.)
สานักงานกองทุนสนับสนนุ การวิจัย (สกว.)

รศ.สมหมาย เปรมจติ ต์
รศ.ดร.สวุ ทิ ย์ รุ่งวสิ ัย
ศ.ดร.พศิน แตงจวง

รศ.ดร.บญุ รว่ ม คาเมืองแสน
ผศ.ดร.ดารงค์ เบญจครี ี
ดร.ยุทธภัณฑ์ เตชะแก้ว

บรรณาธกิ าร : ผศ.ดร.ตระกลู ชานาญ
กองบรรณาธิการ : พระมหาวเิ ศษ ปญฺ าวชโิ ร,รศ.ดร.

ผศ.ดร.โผน นามณี
ผศ.ดร.ทรงศกั ดิ์ พรมดี
ดร.อเุ ทน ลาพิงค์

ดร.ณรงศกั ด์ิ ลุนสาโรง
อาจารย์วิราษ ภมู าศรี
อาจารย์กิตติคุณ ภูลายยาว

นายบญุ นา สุนามถาวร

พิมพ์เมื่อ : กุมภาพนั ธ์ 2562

พมิ พ์เน่ืองในงาน : ประชุมสัมมนาวิชาการระดบั ชาติ ครัง้ ที่ 1 ปี 2562

มหาวิทยาลยั มหามกุฏราชวิทยาลัย วทิ ยาเขตล้านนา
วันท่ี 13 กุมภาพันธ์ 2562
พมิ พ์ที่ : ธนกฤตพรนิ ส์ 297 ถนนมลู เมือง อาเภอเมือง จงั หวดั เชยี งใหม่

สัมโมทนยั กถา

มหาวิทยาลิยมหามกิฏราชวิทยาลิย ดาเนินการจิดการ
เริยนการสอนเพื่อใหิเปินไปตามปริชญาของ มหาวทิ ยาลยิ คอิื
“ความเปินเลศิ ทางวชิ าการตามแนวพระพทธศาสนา” โดยไดิขยาย
การศิกษาไปสิภมิภาคติางิๆ ท่วประเทศ ปจั จบิ นนมิ้ อยิ๗ วิทยาเขต
๓ วทิ ยาลิย ไดอิ านวยความสะดวกใหิแกิผทิ ่สนใจในการแสวงหา
ความริเขาิ มาศิกษาเลาิ เรยนในสาขาวิชาตาิงิๆ ท้งระดบิ ปริญญาตร
ปรญิ ญาโท และปรญิ ญาเอก ซ่งไดดิ าเนนิ การจดิ การเรยิ น การสอน
ใ หิเ ปิน ไป ต า ม ก ร อ บ ม า ต ร ฐ า น คิณ วิฒิร ะ ดิบ อิด ม ศิก ษ า
แหิงชาติแล ะเกณฑิมาตรฐานห ลิกสิตร ระดบิ อดิ มศิกษา มิ
วติ ถิประสงคิในการใหิการศิกษา วจิ ิย สิงเสริมและใหิบริการทาง
วชิ าการพระพิทธศาสนาแก พระภกิ ษสามเณรและคฤหิสถ รวมท้ง
ทะนิบาริงศิลปวฒิ นธรรม โดยมิปณิธาน มิงเนินใหิมิการเริยนริ
ตลอดชิวิต ผลิตบิณฑิตใหิมิความเปินเลิศทางวิชาการตามแนว
พระพิทธศาสนา พิฒนากระบวนการดารงชิวิตในสิงคมดิวย ศลธรรม ช้ินาและแกไิขปญั หาสิงคมดิวยหลิก
พทธธรรม

ตามท่มหาวิทยาลิยมหามกิฏราชวิทยาลิย วิทยาเขตลิานนาิจิดการประชิมสิมมนาวิชาการ
นาเสนอ ผลงานวิจยิ ระดิบชาติคร้งท่ 1 หวขอิ “วชิ าการลิานนาเพ่ือการศิกษาพฒนา ยคิ 4.0” คร้งท่ 1
(The 1st National Academic Conference on Education and Development, Thailand 4.0) เพ่ือ
เปนิ เวทิทางดาิ นวิชาการ ในการแลกเปลยิ่ นเริยนริความคิดเหิน ประสบการณิดิานการวิจิยระหวาิ ง
คณาจารยินิกวิชาการ นิกศิกษาและผิสนใจ ในยิค 4.0 ซ่งเปินการสริางเคริือขิายนิกวิจิยกิบหนิวยงาน
ติางิๆ ภายในประเทศ ใหิตระหนิกถิง ความสาคญของการขบเคลิ่อื นและผลกิ ดินงานวิจิยใหิไดิองคความริอิน
จะเป็นประโยชนิติอชิมชนและสิงคม

การนาองคิความริจากงานวจิ ิยหรืิอผลงานวชิ าการ ไปใชิพฒนาทริพยากรบิคคลใหิเปินผมิ ิศกิ ยภาพ
และ ทกษะการเรยนร ทกษะชวิ ติ ในสงิคมของวชิ าการ วิชาชิพ และการสิงเสรมใหคิ ณาจารยนิ ิกวิจิยไดิมิสิวน
ริวมในการ ทางานวิจิยและเผยแพริติอสาธารณะในริปแบบของการประชิมวิชาการ อินเปินการเปิด
โอกาสใหิเปินเวท แลกเปลิย่ นความริระหวิางนิกวิชาการในวงการศิกษา ศาสนาปริชญา ภาษาและการ
ปกครอง ท่สามารถคินควิา ขิอมิลเพื่อนามาผลิตผลงานทางวิชาการท่มิคิณภาพ ท่เปินประโยชนิติอ
การศิกษาและประเทศชาติไดิติอไปใน อนาคต

ขออนโิมทนาผบิ ริหารและคณะทางานของมหาวทิ ยาลยิ มหามกิฏราชวิทยาลิย วทิ ยาเขตลาินนา ท่
จดิ การ ประชิมสิมมนาวชิ าการนาเสนอผลงานวจิ ิยระดิบชาติคร้งท่ 1 ปี 2562 ตลอดถิงผิเขิาริวมการ
นาเสนองานวิจิย และผทิ ่เก่ยวขิองทิกทิาน ขออานาจคิณพระศริริตนตริยและคิณงามความดิท่ไดปิ ระพฤติ
ปฏิบิติบาเพิญมา จงดล บินดาลใหิทิกทิานมิความสิข มิสิขภาพกายและใจแขิงแรง มิพลิงสติปิญญาใน
การดาเนินชิวิตอยิางมิความสิข ตลอดไป

(พระเทพบณฑิต)
อธกิ ารบดิมหาวทิ ยาลยิ มหามกฏิ ราชวทิ ยาลยิ

สารรองอธกิ ารบดัวทิ ยาเขตลา้ นนา

มหาวทยาลยมหามกฏราชวทยาลยิวทยาเขต
ลานนาิเราคงไมใชเพยงแคท่ผลตบณฑตและสรางงาน
วชาการเทาน้นิแตตองสรางผนาท่มความรและมคณธรรม
จรยธรรมิสามารถขบเคลื่อนการเปล่ยนแปลงินาไปสการ
สรางประโยชนตอสงคมไทยและสงคมโลกไดิเรามองไกล
ไป ถ ง ต ร ง น้น ิว ส ย ท ศ น ข อ ง เ ร า ิจ ง ม ง เน น ค ว า ม เป ็น
ระดบชาตและพฒนาไปสระดบนานาชาติสรางนกศกษา
พนธใหมิท่พรอมรบความทาทายิในดานการเรยนการสอน
ตองมท้งในและนอกหองเรยนิเพื่อใหเดกอยในโลกแหง
ความเป็นจรงิส่งเห ลาน้คือความ ทาทายิเราจงกาห น ด
ทกษะท่นกศกษาจาเป็นตองริเชนิความเป็นผนาิความ
เป็นผมจตอาสาิความเป็นผมความซื่อสตยความเป็นผม
ความเมตตาิและภาษาท่ควรจะส่ือสารในยคปัจจบนิและท่
สาคญตองมทกษะของการเป็นคนในศตวรรษท่ิ21ิ

การ อย ในโ ลก ใบ น้ตอ งม ความคดส รา งสร รคแล ะแก ปั ญ ห าได ิโด ยใชหล กพ ทธธร รมิรวมท้ง
ทางานรวมกบคนอื่นไดิทาใหเดกออกสโลกภายนอกดาเนนชวตไดอยางปกตสข

(พระครสนทรมหาเจตยานรกษ,ดร.)
รองอธการบดวทยาเขตลานนา
มหาวิทยาลยิ มหามกฏิ ราชวทิ ยาลิย

บทบรรณาธกิ าร

มหาวทยาลยมหากฏราชวทยาลยิิิวทยาเขตลานนาิิได
ตระหนกถงความสาคญของงานวชาการวจยท่ไดมาตรฐานทาง
วชาการิสามารรถเป็นองคประกอบในการนาเสนอผลงานทาง
วชาการท่ไดรบการเผยแพรตามหลกเกณฑทก่ าหนดในการกาหนด
คณสมบตของผท่จะเป็นอาจารยผรบผดชอบและประจาหลกสตริ
ตล อดถงเงื่อนไขของการสาเรจหลกส ตรระดบบณฑตศกษาของ
นกศกษาระดบบณฑตศกษาจากสถาบนระดบอดมศกษาท่ว
ประเทศิรวมท้งการยกระดบคณภาพงานวชาการของนกวชาการท่
สนใจท่วไปในิ๔ิกลมวชาิคือิศาสนาและปรชญาิิมนษยภาษาิ
การศกษาิสงคมศาสตริิ

ท้งน้เพื่อเป็นเวทนาเสนอกรอบนโยบายงานวจยของหนวย
ผลงานทร่ บผดชอบงานวจยระดบประเทศิการแลกเปล่ยนเรยนรและ
เปิดโลกทศนทางวชาการของผนาเสนอผลงานิและเป็นการดาเนนงานตามพนธกจหลกดานวจยของสถาบนิ
จงไดจดการประชมสมมนาวชาการนาเสนอผลงานวจยระดบชาติคร้งทิ่ ๑ิภายใตหวขอิ“วชาการลานนาเพื่อ
การศกษาและพฒนาิยคิ4.0” ( The 1ST National Academic Conference 2019 on Education
and Development in Thailand 4.0)ิในวนพธท่ิ๑๓ิิกมภาพนธิพ.ศ.๒๕๖๒ิมกจกรรมดานวชาการ
รปแบบการอภปรายทางวชาการโดยผแทนสานกงานคณะกรรมการวจยแหงชาต(วช.)ิผแทนสานกงานกองทน
สนบสนนการวจยิ(สกว.)ิการนาเสนอผลงานแบบกลมยอยและนาเสนอในรปแบบโปสเตอร

มหาวทยาลยมหามกฏราชวทยาลยิิวทยาเขตลานนาิขอกราบขอบพระคณพระเดชพระคณพระเทพ
บณฑติิอธการบดิทอ่ นมตการโครงการจดงานิพระเมธาวนยรส,รศ.ดร.รองอธการบดฝ่ายวชาการิท่เมตตา
มาเป็นประธานในพธใหโอวาทกบผเขารวมงานิิขอขอบคณสานกงานคณะกรรมการวจยแหงชาต(วช.)
สานกงานกองทนสนบสนนการวจยิ(สกว.)ิท่อนญาตใหใชตราสญลกษณของหนวยงานในการจดงานและรบ
เปน็ องคปาฐกรวมิ

ขอขอบคณผบรหารทกระดบของมหาวทยาลยมหามกฏราชวทยาลยและทกวทยาเขติวทยาลยิและ
ขอขอบคณสถาบนการศกษาเครือขายทางวชาการในจงหวดเชยงใหมิ๑๒ิสถาบนิคอื มหาวทยาลยเชยงใหม,ิ
มหาวทยาลยแมโจ,ิมหาวทยาลยราชภฏเชยงใหม,ิมหาวทยาลยเทคโนโลยราชมงคลลานนา,ิมหาวทยาลย
พายพ,ิมหาวทยาลยนอรท-เชยงใหม,ิมหาวทยาลยฟารอสเทอรน,ิมหาวทยาลยมหาจฬาลงกรณราชวทยาลยิ
วทยาเขตเชยงใหม,ิสถาบนบณฑตพฒนศลป์เชยงใหม,ิวทยาลยพยาบาลบรมราชชนนิเชยงใหม,สถาบนการ
พลศกษาิวทยาเขตเชยงใหมิท่อนญาตใหใชตราสญลกษณของสถาบนในการจดงานและใหเกยรตรวมในงานิิ

และขอขอบคณทกทานท่ใหเกยรตสงบทความทางวชาการทกเร่ืองท้งนาเสนอในรปแบบประชมนาเสนอกลม
ยอยและรปแบบโปสเตอริิถงแมนครง้ น้จะเป็นคร้งแรกในการจดงานกยงไดรบความสนใจเป็นอยางมากิคร้ง
ตอไปทางวทยาเขตลานนาิจะพฒนาการจดใหมมาตรฐานทกมตในระดบสากลตอไป.

ผศ.ดร.ตระกลิิชานาญ
ผชวยอธการบดิิวทยาเขตลานนา

บรรณาธการ

ิิ



โครงการสมมนาวิชาการระดบชาติ ครง้ ท่ั1ัปี 2562
หวข้อ “วิชาการลา้ นนาเพือ่ การศึกษาและพฒนาัยุคั4.0” คร้งท่ั1
(The 1st National Academic Conference 2019 on Education and Development, Thailand 4.0)

วนพธท่ 13 เดอื นกมภาพนธิพ.ศ.ิ2562
ณ อาคารพระพทธพจนวราภรณ หองประชมพระราชปรยตโยดม อาคาริMBUิ4ิ
อาคารปฏบตธรรมิสมเดจพระอรยวงศาคตญาณิสมเดจพระสงฆราชิสกลมหาสงฆปรณายกิ

(อมพฺ รมหาเถร) วดเจดยหลวงิวรวหาริต.พระสงหิอ.เมืองิจ.เชยงใหม

หลกการและเหตผุ ล
มหาวทยาลยมหามกฏราชวทยาลยิวทยาเขตลานนาิไดตระหนกถงความสาคญของ

การศกษาและพฒนาทรพยากรบคคลใหเป็นผมศกยภาพและทกษะการเรยนริทกษะชวติในสงคมของ
วชาการิวชาชพ และการสงเสรมใหคณาจารยินกวจยไดมสวนรวมในการทางานวจยและเผยแพรตอสาธารณะ
ในรปแบบของการประชมวชาการ และเพื่อเปิดโอกาสใหเป็นเวทแลกเปลย่ นความรระหวางนกวชาการในวง
การศกษาิศาสนาปรชญาิภาษาและการปกครอง สามารถคนควาขอมลเพือ่ นามาผลตผลงานทางวชาการท่ม
คณภาพ ซ่งคาดวาจะเป็นประโยชนตอการศกษาและประเทศชาตไดตอไปในอนาคต กอปรในวาระปี 2562 น้
เปน็ ปที ่มหาวทยาลยมหามกฏราชวทยาลยิวทยาเขตลานนาิจะไดเปิดสวนขยายวทยาเขตลานนาิณิท่ต้งบาน
ป่าตาลิตาบลบวกคางิอาเภอสนกาแพงิจงหวดเชยงใหมิชวงคลายวนสถาปนาคือ วนท่ 13-15 กมภาพนธิ
พ.ศ.ิ2562 จงถือโอกาสเดยวกนน้เปิดโลกทศนทางวชาการในเชงประชมสมมนาทางวชาการนาเสนอผลงาน
ทางวชาการระดบชาติครง้ ท่ 1ิฉลองในความปตี ยนดกบทางวทยาเขตลานนาทไ่ ดทาคณงามความดสรางสรรค
ผลงานดานใหการศกษาและพฒนาศกยภาพทรพยากรมนษยิใหมคณคาและกจกรรมบรการวชาการท่เป็น
ประโยชนตอสาธารณะตลอดระยะเวลาท่ผานมา 28 ปีิท้งน้เพื่อเป็นการเผยแพรและประชาสมพนธ
มหาวทยาลยมหามกฏราชวทยาลยิวทยาเขตลานนา ใหกบหนวยงานตางิๆ ภาคการศกษา ท้งภาครฐและ
เอกชนอ่ืนิๆ ใหทราบโดยทว่ กน ดงน้นมหาวทยาลยมหามกฏราชวทยาลยิวทยาเขตลานนาิจงไดรเร่มการจด
สมมนาวชาการระดบชาตคร้งท่ 1ภายใตหวขอ “วชาการลานนาเพื่อการศกษาพฒนาิยคิ4.0ิ” คร้งท่ิ1ิิิิ
(The 1st National Conference 2019 on Lanna for Education Development, Thailand 4.0 )

ท้งน้ไดรบความอนเคราะหจากสถาบนทางการศกษาตางิๆ ในระดบอดมศกษาิหนวยงาน
ภาครฐและเอกชนิรวมจดการประชมในคร้งน้ อนประกอบดวย มหาวทยาลยมหามกฏราชวทยาลย,ิ
สถาบนวจยญาณสงวร,ิมหาวทยาลยเชยงใหม,ิมหาวทยาลยแมโจ,ิมหาวทยาลยราชภฏเชยงใหม,ิ
มหาวทยาลยเทคโนโลยราชมงคลลานนา,ิมหาวทยาลยพายพ,ิมหาวทยาลยนอรท -เชยงใหม,ิ
มหาวทยาลยฟารอสเทอรน,ิมหาวทยาลยมหาจฬาลงกรณราชวทยาลยิวทยาเขตเชยงใหม,ิสถาบนบณฑต
พฒนศลป์เชยงใหม,ิวทยาลยพยาบาลบรมราชชนนเชยงใหม,ิสถาบนการพลศกษาิวทยาเขตเชยงใหม,ิ
สานกงานคณะกรรมการการอดมศกษาแหงชาติ(สกอ.),ิสถาบนวจยแหงชาติ(วช .),ิสานกงานกองทน

สนบสนนการวจยิ(สกว.) เพื่อเป็นการใหเกยรตกบมหาวทยาลยมหามกฏราชวทยาลยิวทยาเขตลานนา ใน
การรวมมือทางวชาการ สรางเครือขายความรวมมือทางวชาการและวจยระหวางสถาบนการศกษา
ระดบอดมศกษาอยางดย่ง ในโอกาสการจดการประชมสมมนาวชาการระดบชาตคร้งน้ นบเป็นโอกาสดของ
คณาจารย นกวจย นสต นกศกษา ตลอดจนผท่สนใจในงานวชาการ ท่จะไดแลกเปล่ยนองคความรและ
งานวจยระหวางกน เพ่อื ท่จะนาผลงานวจยท่มคณภาพและมความนาสนใจไปใชในการประกอบการเรยนการ
สอน ซ่งถือไดวาเป็นกรณศกษาท่นาสนใจอกทางหน่ง นอกจากน้ยงเป็นการสงเสรมศกยภาพในการพฒนา
การศกษาทจ่ ะสงผลตอการพฒนาของชมชน สงคม ภมภาคิและประเทศชาต บนพ้ืนฐานของการพฒนาอยาง
ยง่ ยืนในยคิThailand 4.0

วตถปุ ระสงค์
1. เพื่อสงเสรมใหคณาจารย นกวจย/นกศกษา ท้งภาครฐและเอกชนไดนาเสนอผลงานวจย

และเผยแพรผลงานวจยสสาธารณชน
2. เพ่ือเปน็ เวททางดานวชาการในการแลกเปล่ยนเรยนรความคดเหน ประสบการณดานการ

วจย ระหวาง คณาจารย นกวชาการ นกศกษาและผสนใจ ในยคิ4.0
3. เพื่อเปน็ การสรางเครอื ขายนกวจยกบหนวยงานตาง ๆ ภายในประเทศ
4. เพอ่ื ประชาสมพนธและเฉลมฉลองในโอกาสท่วทยาเขตลานนาิไดเปิดสวนขยายวทยาเขต

ลานนา

ระยะเวลาดาเนินการ
ิ วนพธท่ 13ิ เดือนกมภาพนธิพ.ศ. 2562ิ เวลา 08.30 น. – 16.30 น.

สถานท่จดประชุมสมมนาทางวิชาการ
ิ มหาวทยาลยมหามกฏราชวทยาลยิิวทยาเขตลานนาิ อาคารพระพทธพจนวราภรณิ หอง
ประชมพระราชปรยตโยดมตกิMBUิ4ิต.พระสงหิอ.เมืองิจ.เชยงใหม

อาคารปฏบตธรรมิสมเดจพระอรยวงศาคตญาณิสมเดจพระสงฆราชิสกลมหา
สงฆปรณายกิ(อมฺพรมหาเถร) วดเจดยหลวงวรวหาริต.พระสงหิอ.เมืองิจ.เชยงใหม

กลุ่มเป้าหมาย
ิ คณาจารย นกวจยินกศกษา และนกวชาการ ท้งจากหนวยงานภายในมหาวทยาลยิและ
หนวยงานภายนอกมหาวทยาลย จานวน 300 รป/ คน

การติดตามประเมินผล
1. ตดตามประเมนผลโดยใชแบบสอบถามผเขารวมสมมนา
2. ประเมนผลจากการสงผลงานวจยิสอ่ื สง่ พมพิเขารวมเผยแพร

ผลท่คาดว่าจะไดร้ บ
1. มผลงานเผยแพรผลงานวจยของคณาจารย นกวจย นกศกษา จากหนวยงานภายใน

มหาวทยาลยิและหนวยงานภายนอกมหาวทยาลย
2. ไดแลกเปลย่ นความร แนวคดวธปฏบตและประสบการณในการวจย ระหวางนกวจยและ

ผสนใจ
3. ไดสรางเครือขายนกวจยภายในประเทศโดยจดกลมงานวจย โดยเฉพาะอยางยง่ ระหวาง

สถาบนอดมศกษา

รปู แบบการประชุมสมมนา
1.ิการบรรยายพเศษ (Keynote Lecture) / เสวนา (Panel Discussion) / อภปราย
2. การเสนอผลงานวจยภาคบรรยาย (Oral Presentation)
3. การเสนอผลงานวจยภาพโปสเตอร (Poster Presentation)
4. การแสดงนทรรศการ (Exhibition)

กลุ่มสาขาทร่ บพจิ ารณาผลงาน
ิ พทธศาสนาิปรชญาิ มนษยศาสตริสงคมศาสตร และศกษาศาสตร

การส่งบทความ
บทความวจยท่นาเสนอตองเป็นผลงานทไ่ มเคยเผยแพรมากอน และเป็นบทความท่สมบรณ

แลวความยาวประมาณ 8-10 หนากระดาษ A4 จดทาตามรปแบบการเขยนบทความวจยท่คณะกรรมการ
กาหนดไวแลว โดยลงทะเบยนและสงบทความฉบบเตมิ(Full Paper)ิเป็นแฟ้มขอมลอเลกทรอนกสในรปแบบ
“*.doc” หรอื “.docx” และดรายละเอยดเพม่ เตมจากเวบ็ ไซตว์ ิทยาเขตลา้ นนาิwww.lanna.mbu.ac.th

สงบทความทาง Email:ิ[email protected]

กาหนดการส่งผลงานและลงทะเบยน

ลงทะเบยนและสงบทความฉบบเตม (Full Paper) ต้งแตบดนจ้ นถง วนท่ิ20ิมกราคมิพ.ศ.ิ2562
พร้อมชาระเงิน
แจงผลการพจารณาบทความจากผทรงคณวฒ วนท่ 20 มกราคม พ.ศ.ิ2562
วนสดทายของการรบบทความฉบบแกไข วนท่ 25ิมกราคมิพ.ศ.ิ2562
วนท่ 26ิมกราคม พ.ศ. 2562
ประกาศผลบทความทผ่ านเขารวมนาเสนอ
วนสมมนาทางวชาการระดบชาต (NCLAED2019) วนท่ 13 กมภาพนธ พ.ศ.ิ2562
หวขอ “วชาการลานนาเพอ่ื การศกษาพฒนาิยคิ4.0ิ”
ครง้ ท่ิ1

การลงทะเบยนและชาระเงนิ
ิ 1.ิอตราคาลงทะเบยนนาเสนอผลงานิ2,500 บาท

ิ 2.ิชาระคาลงทะเบยนผานิธนาคารกรงไทยิสาขาพระสงหิชอื่ ิมหามกฏราชวทยาลยิวทยา

เขตลานนาิิบญชเลขท่ิ540-1-10411-1

ิ 3.ิสงหลกฐานการชาระเงนทางิ[email protected]

ผู้ประสานงานโครงการิิ
ิ ผชวยอธการบดิวทยาเขตลานนา:ิ053-270976,089-558-9551, โทรสาร :ิ053-814752
ิ ดร.ณรงคศกดิ์ ิลนสาโรงิ:ิ087-914-6682ิ,ิิ

ดร.อเทนิิลาพงค : 093-136-8322
ิ อาจารยวราษิิภมาศริ:ิ086-689-7396

กาหนดการ
งานประชุมสมมนาวิชาการระดบชาติัครง้ ท่ั๑ัปัี ๒๕๖๒
หวข้อั“วชิ าการล้านนาเพอ่ื การศกึ ษาและพฒนาัยุคั๔.๐ั”
The 1st National Academic Conference on Education and Development In Thailandั4.0

วนพุธท่ ๑๓ัเดอื นักุมภาพนธ์ัพ.ศ.ั๒๕๖๒
ณัอาคารปฏิบตธิ รรมสมเดจ็ พระอริยวงศาคตญาณัสมเด็จพระสงฆราชัสกลมหาสงฆปริณายกั(อมฺพรมหาเถร)

วดเจดย์หลวงวรวหิ ารัอาเภอเมืองัจงหวดเชยงใหม่
และัหอ้ งประชุมพระราชปริยตโยดมััอาคารพระพทุ ธพจนวราภรณั์ ัMBU ๔

มหาวทิ ยาลยมหามกฏุ ราชวิทยาลยััวทิ ยาเขตลา้ นนา

วนพุธทั่ ๑๓ััเดอื นักุมภาพนธ์ััพ.ศ.ั๒๕๖๒ั

๐๘.๐๐-๐๘.๓๐ิน. -ิลงทะเบยน/รบเอกสาริณัอาคารปฏิบตธิ รรมสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ ฯ
๐๘.๓๐-๐๙.๓๐ิน. -ิประธานในพธิพระเมธาวนยรส,ิรศ.ดร.ิรองอธการบดฝ่ายวชาการิ
ิิมหาวทยาลยมหามกฏราชวทยาลย
๐๙.๓๐-๑๑.๓๐ิน. ิิจดธปเทยนบชาพระรตนตรยิและกลาวนาไหวพระ
-ิพระครสนทรมหาเจตยานรกษ,ิดร.ิิรองอธการบดิวทยาเขตลานนา
๑๑.๓๐-๑๒.๓๐ิน. ิิถวายเครอ่ื งสกการะิและิกลาวถวายรายงาน
๑๒.๓๐-๑๖.๓๐ิน. -ิพระเมธาวนยรส,ิรศ.ดร.ิรองอธการบดฝา่ ยวชาการิกลาวใหโอวาทและกลาวเปิดงานิ
๑๖.๓๐ิน. -ประธานในพธมอบโลใหกบหนวยงาน/สถาบนการศกษาทร่ วมเป็นเจาภาพ
-ชมการแสดงศลปวฒนธรรมตอนรบผเขารวมงาน
-ิอภปรายในหวขอเรอ่ื ง“การวิจยเพ่อื การศกึ ษาและพฒนาประเทศัยุคไทยแลนดั์ ๔.๐” ัั
ััโดยิ
ิิรศ.ดร.อภศกด์ิิธระวสษฐิิิิรองผอานวยการดานการบรหาร
ิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิสานกงานกองทนสนบสนนการวจยิ(สกว.)
ิินายสมปรารถนาิิสขทวิิิิิิผอานวยการกองนโยบายและแผนการวจย
ิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิสานกงานคณะกรรมการวจยแหงชาติ(วช.)
-ิพกฉนภตตาหารเพล/รบประทานอาหาร
-ิประชมสมมนาวชาการลานนาเพื่อนาเสนอบทความิกลมยอย
ิิณิหองประชมพระราชปรยตโยดม อาคารพระพทธพจนวราภรณิMBU ๔
-ิประธานในพธกลาวปิดการประชมสมมนาวชาการลานนาิ

เป็นอนเสรจพธ

*หมายเหติิกาหนดการอาจมการเปล่ยนตามความเหมาะสม

สารบัญ

เรื่อง หนา้

ความพงึ พอใจของผู้บริหารสถานศกึ ษาและครูพเี่ ลีย้ งทม่ี ตี อ่ นกั ศึกษาปฏิบัติการสอน 196
คณะศึกษาศาสตร์ ปีการศกึ ษา 2561 วทิ ยาลัยศาสนศาสตรเ์ ฉลมิ พระเกยี รติกาฬสินธ์ุ 203
มหาวทิ ยาลยั มหามกุฏราชวิทยาลยั 210
 พระครูสุนทรวินยั รส 219

แรงจูงใจในการเลือกเขา้ ศกึ ษาต่อในวทิ ยาลยั ศาสนศาสตร์เฉลมิ พระเกียรตกิ าฬสนิ ธ์ุ 226
มหาวทิ ยาลยั มหามกุฏราชวิทยาลัย 236
 หาญ เถาตาจนั ทร์ 244
คุณภาพตามมาตรฐานผลการเรียนรขู้ องนกั ศึกษาปฏิบัตกิ ารสอนในสถานศึกษา 254
วิทยาลยั ศาสนศาสตรเ์ ฉลิมพระเกยี รติกาฬสนิ ธ์ุ มหาวิทยาลัยมหามกฏุ ราชวทิ ยาลัย 262
 วิชิต นาชยั สินธุ์ 270
ปจั จยั ที่มอี ทิ ธิพลต่อพฤตกิ รรมเสยี่ งใชส้ ารเสพตดิ ของนักเรียนระดบั มัธยมศกึ ษาตอน 278
ปลาย จงั หวดั หนองบัวลาภู
 นัสพงษ์ กลิน่ จาปา
การพัฒนารูปแบบการบริหารงานวิชาการ ตามแนวทาง LKS SMART School
Model โดยใช้การจัดการความรู้ กล่มุ สาระการเรยี นรูค้ ณิตศาสตร์ โรงเรยี นลาปาง
กัลยาณี
 บรรเจดิ สระปญั ญา
อิทธิพลของเชาวนอ์ ารมณ์ทส่ี ่งผลต่อความคดิ สรา้ งสรรค์ของพระสังฆาธกิ าร
 ผศ.ดร.เฉลิมชัย กติ ตศิ กั ดิน์ าวิน
การพัฒนาชดุ ฝกึ อบรมการเรียนรูเ้ พศศกึ ษาบรู ณาการแบบมสี ่วนรว่ ม
สาหรับนกั ศึกษาครศุ าสตร์ช้ันปที ่ี 4 มหาวทิ ยาลัยราชภฏั อตุ รดติ ถ์ สโู่ รงเรียนและชมุ ชน
 รศ.ดร.นิตยา สวุ รรณศรี
การพัฒนาทกั ษะปฏิบัติเครือ่ งดนตรโี หวดตามแนวคดิ ของครูภมู ิปัญญาไทย ประกอบชดุ ฝึก
 วทิ ยา เอ้อื การ
การใชภ้ าษาไทยกับการคดิ อยา่ งมีวจิ ารณญาณในยุคศตวรรษที่ 21
 นายกัญจณ์ปภัสส์ สวุ รรณวิหค
การสร้างเกณฑ์ทดสอบทักษะกีฬาวอลเลย์บอล สาหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาตอนต้น
โรงเรยี นบา้ นหนองปลงิ สานกั งานเขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษากาญจนบรุ ี เขต 4
 สรุ ยิ า สาราญจิตต์
ภาวะผู้นาการเปลีย่ นแปลงเพอื่ การบรหิ ารจัดการทรพั ยากรและสง่ิ แวดลอ้ มของชมุ ชน
เศรษฐกิจสีเขียวในจงั หวดั อตุ รดติ ถ์
 พุทธินันทน์ บญุ เรือง

เรอ่ื ง หนา้
287
การใช้ประโยชนจ์ ากทรพั ยากรชุมชนในตาบลเวยี งเหนอื อาเภอเวียงชยั จงั หวัดเชียงราย 294
 กฤษณกัณฑ์ ภาโพธิรตั น์ 304
การบริหารพระบรมราโชบายในโรงเรียนการศึกษาสงเคราะห์ 318
 อมั ไพ อตุ ตาธรรม
การศึกษาบทบาทการนิเทศภายในของผู้บริหารสถานศึกษาข้ันพื้นฐานในจังหวัด 330
จนั ทบุรี ระยอง และตราด 340
 ญาณี ญาณะโส 346
การใช้กลวิธกี ารเรียนร้คู าศพั ทภ์ าษาองั กฤษเพอ่ื ส่งเสรมิ ความสามารถด้านการพดู ภาษาอังกฤษ 356
ของนกั ศึกษาชน้ั ปที ่ี 1 สาขาวิชาเกษตรป่าไม้ มหาวิทยาลยั แมโ่ จ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ 364
 ศศิมนิ ตรา บุญรักษา 373
การสร้างโปรแกรมทดสอบความสามารถทางด้านภาษาอังกฤษทางการบัญชีของ 380
นักศึกษาสาขาวชิ าการบญั ชี มหาวทิ ยาลยั แม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกยี รติ
 กรรณิการ์ มอญแก้ว 392
ผลการจดั การเรียนรโู้ ดยใช้วิธีการสอนแบบเน้นกระบวนการคิด โดยใช้เทคนิค KWDL 399
ที่มีต่อผลสมั ฤทธิ์ระวทิ างการเรยี นในรายวิชาสถิตศิ าสตรไ์ มอ่ ิงพารามิเตอร์
 รงุ่ กานต์ ใจวงค์ยะ
องค์ประกอบการพดู โน้มนา้ วของตัวละครในนวนยิ าย เส้นไหมสีเงนิ ของ ว.วินจิ ฉยั กลุ
 ประภาพร ธนกติ ติเกษม
การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยนื ยันทักษะทางสงั คมของนักเรียนระดับประกาศนียบัตร
วิชาชีพ ประเภทวชิ าพาณชิ ยกรรม ในวทิ ยาลยั อาชวี ศึกษาเอกชน จงั หวัดชลบรุ ี
 ลดั ดา แสงเพ็ชร
การวเิ คราะหอ์ งค์ประกอบเชงิ ยืนยันทักษะชีวิตของนักเรียนระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น
จังหวดั สระบุรี
 วชั รนิ ทร์ ยอดคดั เค้า
การพัฒนาการบริหารงานแนะแนวของสถานศึกษา สังกัดสานักงานเขตพื้นที่
การศกึ ษามัธยมศกึ ษาเขต 39
 คฑาวธุ ขันไชย
การศกึ ษาแหล่งเรียนร้ทู างชวี วทิ ยาในเขตมหาวิทยาลัยเชยี งใหม่
 ผศ.ดร.สุทธกิ ญั จน์ ทิพยเกษร
รูปแบบการพัฒนาการจัดการเรียนรู้โดยใช้หลักการจัดการความรู้ที่มีผลต่อความคิด
สร้างสรรค์และสร้างนวัตกรรมนักศึกษาพหุชาติพันธ์วิชาเทคโนโลยีและนวัตกรรมทาง
การศึกษานกั ศึกษาระดบั ปรญิ ญาตรมี หาวทิ ยาลยั มหามกฏุ ราชวิทยาลยั วทิ ยาเขตลา้ นนา
 ฉัตรชยั ศิริกุลพนั ธ์
การพัฒนาการอ่านออกเสยี งที่ถูกตอ้ งโดยใช้แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย ของ
นักศึกษากล่มุ ชาติพนั ธุ์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวทิ ยาลัย วทิ ยาเขตลา้ นนา
 พระณฐกร ปฏิภาณเมธี

เรื่อง หนา้
409
การจัดการเรยี นรู้แบบปัญหาเป็นฐาน เพื่อสง่ เสริมทกั ษะการคดิ เชิงสร้างสรรค์ 418
 ทติ ตยิ า ม่ันดี 425
แนวทางการพฒั นาการบริหารงานวิชาการในโรงเรยี นทีม่ ีนักเรยี นชนเผ่าของโรงเรียน 431
แม่วินสามคั คี อาเภอแม่วาง จังหวดั เชยี งใหม่
 สมั พันธ์ คีรไี พรภักดี 438

มโนอปุ ลักษณใ์ นวรรณกรรมพทุ ธธรรมของสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป.อ.ปยตุ โฺ ต) 446
 พระครูปริยัตกิ ติ ติวิมล 453
รูปแบบการพัฒนาสมรรถนะด้านเทคโนโลยีของผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอนโรงเรยี น 462
บ้านแม่งาวใต้ อาเภองาว สงั กดั สานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1
 พิทักษช์ ัย วงศต์ ระกลู
การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ผ่านกิจกรรม (Active learning) โดยใช้แหล่งเรียนรู้
และสิง่ แวดลอ้ มเป็นฐาน เพอ่ื สง่ เสรมิ ทักษะการเรยี นรูใ้ นศตวรรษที่ 21 ของนกั ศึกษา ชน้ั ปที ่ี
3 คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วทิ ยาเขตลา้ นนา
 ชาลี ภกั ดี
การสร้างรูปแบบการปฏิบัติงานท่ีเป็นเลิศด้านระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนตาม
แนวทางโรงเรียนลาปางกัลยาณี SMART School Model (SPS-4S : SMART
STUDENT SUPPORT SYSTEM)
 ทรงพล เฟื่องฟู
ยุทธศาสตร์การพัฒนาครูเพ่ือจัดการเรียนการสอนตามแนว STEM Education ใน
สถานศกึ ษาขนาดเล็ก
 พศิน แตงจวง
ลลี าการเทศนม์ หาชาติในท้องถ่ินล้านนา
 พระใบฎีกา นพ

รายช่ือผนู้ าเสนอ กลมุ่ ศึกษาศาสตร์
ห้อง 4203 อาคารพระพทุ ธพจนวราภรณ์ (MBU4)
ผทู้ รงคณุ วุฒิ

1. พระมหาวเิ ศษ เสาะพบด,ี รศ. ดร. (มมร วิทยาเขตลา้ นนา)
2. ดร.ภเู บศ พวงแก้ว (ม.นอรท์ -เชียงใหม)่
3. ดร.พรรณี สุวตั ถี (ม.ราชภัฏเชยี งใหม่)

ลาดบั รหสั ผู้นาเสนอ บทความ หมายเหตุ

1 ED-02 พระครสู ุนทรวินัยรส ความพึงพอใจของผบู้ รหิ ารสถานศึกษาและครพู เี่ ลยี้ งทมี่ ตี อ่

นักศึกษาปฏิบตั กิ ารสอนคณะศึกษาศาสตร์ ปีการศกึ ษา 2561

วิทยาลัยศาสนศาสตรเ์ ฉลิมพระเกยี รติกาฬสนิ ธุ์ มหาวทิ ยาลยั

มหามกุฏราชวิทยาลัย

2 ED-03 หาญ เถาตาจนั ทร์ แรงจงู ใจในการเลอื กเข้าศกึ ษาต่อในวิทยาลัยศาสนศาสตรเ์ ฉลิม

พระเกียรตกิ าฬสินธ์ุ มหาวิทยาลัยมหามกฏุ ราชวทิ ยาลยั

3 ED-04 วิชิต นาชยั สนิ ธ์ุ คณุ ภาพตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ของนกั ศึกษาปฏิบัตกิ ารสอน

ในสถานศกึ ษาวิทยาลยั ศาสนศาสตรเ์ ฉลิมพระเกียรติกาฬสินธ์ุ

มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลยั

4 ED-05 นัสพงษ์ กล่นิ จาปา ปัจจยั ท่มี อี ทิ ธพิ ลต่อพฤติกรรมเสี่ยงใช้สารเสพติดของนักเรยี น

ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย จังหวัดหนองบวั ลาภู

5 ED-06 บรรเจดิ สระปญั ญา การพัฒนารูปแบบการบรหิ ารงานวิชาการ ตามแนวทาง LKS

SMART School Model โดยใช้การจดั การความรู้ กล่มุ สาระการ

เรียนรคู้ ณติ ศาสตร์ โรงเรียนลาปางกลั ยาณี

6 ED-07 ดร.เฉลิมชัย กติ ติศกั ดิ์ อทิ ธิพลของเชาวน์อารมณท์ สี่ ง่ ผลต่อความคดิ สรา้ งสรรคข์ องพระ

นาวิน สงั ฆาธกิ าร

7 ED-08 รศ.ดร.นติ ยา สวุ รรณศรี การพัฒนาชุดฝึกอบรมการเรยี นร้เู พศศึกษาบูรณาการแบบมสี ว่ น

รว่ มสาหรบั นกั ศกึ ษาครุศาสตรช์ ้นั ปีที่ 4 มหาวทิ ยาลัยราชภฏั

อตุ รดติ ถ์ สู่โรงเรยี นและชุมชน

8 ED-13 วิทยา เอ้ือการ การพัฒนาทักษะปฏบิ ัติเครอ่ื งดนตรโี หวดตามแนวคดิ ของครภู มู ิ

ปญั ญาไทย ประกอบชุดฝกึ

9 ED-14 นายกัญจณป์ ภสั ส์ การใช้ภาษาไทยกบั การคดิ อยา่ งมีวจิ ารณญาณในยคุ ศตวรรษที่

สวุ รรณวหิ ค 21

10 ED-15 สุรยิ า สาราญจติ ต์ การสรา้ งเกณฑ์ทดสอบทักษะกฬี าวอลเลย์บอล สาหรบั นกั เรยี น

ชน้ั มัธยมศกึ ษาตอนตน้ โรงเรยี นบ้านหนองปลงิ สานักงานเขต

พนื้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษากาญจนบุรี เขต 4

11 ED-16 พทุ ธินันทน์ บญุ เรอื ง ภาวะผนู้ าการเปล่ียนแปลงเพอื่ การบรหิ ารจดั การทรพั ยากรและ

ส่ิงแวดลอ้ มของชมุ ชนเศรษฐกจิ สีเขยี วในจงั หวัดอุตรดิตถ์

รปู แบบการนาเสนอ : นาเสนอ 10 นาที ถาม-ตอบ 5 นาที

หมายเหตุ : ใหผ้ ูน้ าเสนอจัดทา PowerPoint

รายชื่อผนู้ าเสนอ กลุ่มศึกษาศาสตร์
ห้อง 4203อาคารพระพุทธพจนวราภรณ์ (MBU4)
ผทู้ รงคณุ วฒุ ิ

1. ศ.ดร.พศนิ แตงจวง (มมร วิทยาเขตลา้ นนา)
2. ดร.สนทิ หาจตั รุ ัส (ม.ราชภัฏเชยี งใหม)่
3. พระครสู งั ฆรกั ษ์ จกั รกฤษณ์ ภูรปิ ญฺโญ, ผศ.ดร. (ม.มจร)

ลาดับ รหัส ผนู้ าเสนอ บทความ หมายเหตุ

1 ED-17 กฤษณกัณฑ์ ภาโพธิรตั น์ การใช้ประโยชนจ์ ากทรัพยากรชมุ ชนในตาบลเวยี งเหนือ อาเภอ

เวยี งชัย จงั หวัดเชียงราย

2 ED-18 นางอัมไพ อตุ ตาธรรม การบรหิ ารพระบรมราโชบายในโรงเรยี นการศกึ ษาสงเคราะห์

3 ED-19 ญาณี ญาณะโส การศึกษาบทบาทการนิเทศภายในของผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษาขน้ั

พ้ืนฐานในจังหวัดจนั ทบรุ ี ระยอง และตราด

4 ED-20 ศศมิ นิ ตรา บุญรกั ษา การใช้กลวิธีการเรยี นรูค้ าศพั ทภ์ าษาองั กฤษเพอ่ื สง่ เสรมิ

ความสามารถดา้ นการพดู ภาษาองั กฤษของนกั ศึกษาชน้ั ปที ี่ 1

สาขาวชิ าเกษตรป่าไม้ มหาวทิ ยาลัยแมโ่ จ้-แพร่ เฉลมิ พระเกยี รติ

5 ED-21 กรรณกิ าร์ มอญแก้ว การสร้างโปรแกรมทดสอบความสามารถทางด้านภาษาอังกฤษ

ทางการบญั ชีของนกั ศกึ ษาสาขาวชิ าการบญั ชี มหาวิทยาลยั แม่

โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกยี รติ

6 ED-22 รงุ่ กานต์ ใจวงคย์ ะ ผลการจัดการเรียนรู้โดยใชว้ ธิ กี ารสอนแบบเน้นกระบวนการคิด

โดยใชเ้ ทคนิค KWDL ทีม่ ตี ่อผลสมั ฤทธ์ริ ะวิทางการเรยี นใน

รายวชิ าสถิติศาสตร์ไม่องิ พารามิเตอร์

7 ED-23 ประภาพร ธนกติ ตเิ กษม องคป์ ระกอบการพูดโนม้ นา้ วของตวั ละครในนวนยิ าย เส้นไหมสี

เงนิ ของ ว.วินิจฉัยกุล

8 ED-24 ลดั ดา แสงเพ็ชร การวิเคราะหอ์ งค์ประกอบเชิงยืนยันทกั ษะทางสังคมของ

นกั เรียนระดบั ประกาศนยี บัตรวชิ าชพี ประเภทวิชาพาณชิ ยก

รรม ในวิทยาลยั อาชวี ศึกษาเอกชน จงั หวดั ชลบุรี

9 ED-25 วชั รินทร์ ยอดคดั เคา้ การวิเคราะห์องคป์ ระกอบเชงิ ยนื ยันทกั ษะชีวิตของนกั เรียน

ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้ จังหวัดสระบรุ ี

10 ED-26 คฑาวธุ ขนั ไชย การพัฒนาการบรหิ ารงานแนะแนวของสถานศกึ ษา สงั กดั

สานักงานเขตพนื้ ทีก่ ารศึกษามัธยมศึกษาเขต 39

11 ED-27 ผศ.ดร.สุทธิกญั จน์ ทิพย การศึกษาแหล่งเรียนร้ทู างชีววทิ ยาในเขตมหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม่

เกษร

รูปแบบการนาเสนอ : นาเสนอ 10 นาที ถาม-ตอบ 5 นาที
หมายเหตุ : ใหผ้ ู้นาเสนอจัดทา PowerPoint

รายช่ือผนู้ าเสนอ กลมุ่ ศึกษาศาสตร์
หอ้ ง 4205 อาคารพระพุทธพจนวราภรณ์ (MBU4)
ผู้ทรงคณุ วุฒิ

1. ดร.ฉตั รชัย ศริ ิกลพุ นั ธุ์ (มมร วทิ ยาเขตล้านนา)
2. รศ.ดร.สุธรรม ธรรมทศั นานนท์ (ม.มหาสารคาม)
3. พระมหาฉตั รชัย สฉุ ตตฺ ชโย,ผศ.ดร. (มมร)

ลาดับ รหัส ผู้นาเสนอ บทความ หมายเหตุ

1 ED-28 ธนวัฒน์ ชาวโพธ์ิ ความพึงพอใจตอ่ กิจกรรมการเรียนรู้รายวชิ า ED1003 การวจิ ัยทาง

การศกึ ษาและการวิจัยในชน้ั เรียนของนักศกึ ษาสาขาการสอน

ภาษาอังกฤษ มหาวทิ ยาลยั มหามกุฏราชวิทยาลยั วทิ ยาเขตศรีลา้ น

ชา้ ง ภาคการศกึ ษา 1/2561

2 ED-29 ฉตั รชยั ศิรกิ ุลพันธ์ รูปแบบการพัฒนาการจัดการเรียนรู้โดยใชห้ ลกั การจดั การความรู้ทม่ี ี

ผลตอ่ ความคิดสร้างสรรค์และสร้างนวตั กรรมนกั ศึกษาพหุชาตพิ นั ธ์

วชิ าเทคโนโลยแี ละนวัตกรรมทางการศกึ ษานกั ศึกษาระดับปรญิ ญาตรี

มหาวทิ ยาลยั มหามกฏุ ราชวิทยาลยั วทิ ยาเขตล้านนา

3 ED-30 พระณฐกร ปฏภิ าณ การพัฒนาการอ่านออกเสียงทถ่ี ูกต้องโดยใชแ้ บบฝึกเสรมิ ทักษะการ

เมธี อา่ นภาษาไทย ของนกั ศกึ ษากล่มุ ชาติพนั ธ์ุ มหาวิทยาลยั มหามกฏุ ราช

วิทยาลยั วิทยาเขตลา้ นนา

4 ED-31 นางสาวทติ ตยิ า ม่ันดี การจดั การเรียนรูแ้ บบปัญหาเป็นฐาน เพ่อื สง่ เสรมิ ทกั ษะการคดิ เชิง

สร้างสรรค์

5 ED-32 สมั พนั ธ์ คีรีไพรภักดี แนวทางการพฒั นาการบรหิ ารงานวชิ าการในโรงเรยี นทมี่ ีนักเรยี น

ชนเผ่าของโรงเรยี นแม่วนิ สามคั คี อาเภอแมว่ าง จงั หวัดเชยี งใหม่

6 ED-33 พระครปู รยิ ตั กิ ติ ติ มโนอุปลักษณใ์ นวรรณกรรมพทุ ธธรรมของสมเด็จพระพทุ ธโฆษา

วมิ ล จารย์ (ป.อ.ปยตุ โฺ ต)

7 ED-34 พิทกั ษ์ชยั วงศ์ รูปแบบการพฒั นาสมรรถนะด้านเทคโนโลยขี องผบู้ รหิ าร

ตระกลู สถานศกึ ษาและครผู สู้ อนโรงเรยี นบ้านแมง่ าวใต้ อาเภองาว สังกัด

สานกั งานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1

8 ED-35 ชาลี ภักดี การพัฒนารปู แบบการจดั การเรยี นร้ผู า่ นกจิ กรรม(Active

learning)โดยใชแ้ หลง่ เรยี นรแู้ ละสง่ิ แวดลอ้ มเปน็ ฐาน เพ่ือสง่ เสรมิ

ทกั ษะการเรยี นรู้ในศตวรรษท่ี21 ของนกั ศกึ ษา ช้นั ปที ี่ 3 คณะ

ศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั มหามกุฏราชวิทยาลัย วทิ ยาเขตลา้ นนา

9 ED-38 ทรงพล เฟอ่ื งฟู การสร้างรูปแบบการปฏิบัตงิ านทเี่ ป็นเลิศดา้ นระบบดูแลช่วยเหลือ

นกั เรียนตามแนวทางโรงเรียนลาปางกัลยาณี SMART School

Model (SPS-4S : SMART STUDENT SUPPORT SYSTEM)

10 ED-39 พศิน แตงจวง ยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาครูเพ่อื จัดการเรียนการสอนตามแนว STEM

Educationในสถานศกึ ษาขนาดเลก็

11 ED-40 พระใบฎีกา นพ ลลี าการเทศน์มหาชาตใิ นทอ้ งถน่ิ ลา้ นนา

196

ความพึงพอใจของผูบ้ ริหารสถานศึกษาและครูพี่เลี้ยงท่ีมตี อ่ นกั ศึกษาปฏิบัตกิ ารสอน
คณะศกึ ษาศาสตร์ ปีการศึกษา 2561 วทิ ยาลัยศาสนศาสตร์เฉลมิ พระเกยี รตกิ าฬสนิ ธุ์

มหาวทิ ยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย

THE SATISFACTION OF THE DIRECTOR AND THE TEACHER TOWARD THE STUDENTS.
FACULTY OF EDUCATION, ACADEMIC YEAR 2018, KALASIN BUDDHIST COLLEGE,
MAHAMAKUT BUDDHIST UNIVERSITY.

พระครสู ุนทรวนิ ยั รส, อโนชา สมิ พา, เศรษฐา ภูศรโี สม
มหาวทิ ยาลยั มหามกฏุ ราชวทิ ยาลยั วิทยาลัยศาสนศาสตรเ์ ฉลมิ พระเกียรติกาฬสินธุ์

สทุ ธพิ งษ์ สายาพฒั น์
มหาวิทยาลยั มหามกุฏราชวทิ ยาลยั วิทยาเขตอสี าน

บทคดั ยอ่
การวิจัยครงั้ นี้มวี ัตถปุ ระสงค์เพอ่ื ศึกษาความพงึ พอใจของผบู้ รหิ ารสถานศึกษาและครูพ่ีเลี้ยงท่ีมี

ต่อนักศึกษาปฏิบัติการสอน เพ่ือศึกษาข้อมูลและแนวทางในการกากับดูแลคุณภาพการปฏิบัติการสอน
ในสถานศึกษา ประชากรและกลมุ่ ตัวอย่าง คอื ผู้บริหารสถานศึกษา ครพู ่ีเลี้ยง และครูท่ีมสี ว่ นเกยี่ วข้อง
จานวน 94 คน เคร่ืองมือท่ีใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ สถิติท่ีใช้ในการวิเคราะห์
ข้อมูล คือ ค่าความถ่ี ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัย พบว่า ผู้บริหาร
สถานศึกษา ครูพ่ีเล้ียง และครูท่ีมีส่วนเก่ียวข้อง มีความพึงพอใจ โดยรวมท้ัง 6 ด้าน อยู่ในระดับมาก
ท่ีสุด โดยเรียงจากมากไปหาน้อย คือ ด้านคุณธรรมจริยธรรม ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล
และความรับผิด้านชอบ ด้านความรู้ ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้
เทคโนโลยีสารสนเทศ ด้านทกั ษะการจดั การเรยี นรู้ และด้านทกั ษะทางปัญญา ตามลาดับ

แนวทางในการกากับคุณภาพการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา พบว่า มีการดาเนินการดังนี้
1) ปฐมนิเทศนักศึกษา 2) ประสานงานสถานศึกษาเครือข่าย 3) จัดประชุมผู้บริหารสถานศึกษาและครู
พี่เล้ียง 4) ส่งนักศึกษาเข้าปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 5) นิเทศการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 6)
ติดตามและประเมนิ ผล

คาสาคัญ : ความพึงพอใจ, การปฏิบตั กิ ารสอน

Abstract
The purpose of this research was to study the satisfaction of school

administrators and mentors towards teaching students. To study information and
guidelines for quality supervision of teaching practices in educational institutions the
population and the sample group were 94 school administrators, mentors and teachers
who were involved in the research. The research instruments were interview
questionnaires. The statistics used in data analysis were frequency, percentage, mean
and deviation. The results of the research found that school administrators, mentors
and teachers involved were satisfied with the overall 6 aspects at the highest level. The

197

6 aspects are moral, ethical skills in interpersonal relationships, acceptance of
knowledge in numerical analysis skills, communication and use of information
technology, learning management skills, and intellectual skills, respectively

Guidelines for directing the quality of teaching practices in educational
institutions showed that the following actions were conducted: 1) Student orientation
2 ) Coordinating educational institutions, networks 3 ) Organizing school administrators
and mentors study program 4 ) Sending students to practice teaching in educational
institutions 5) Supervising teaching practices in educational institutions 6) Monitoring
and evaluation

Keywords : Satisfaction, teaching practice.

บทนา
คณะกรรมการการอุดมศึกษามีหน้าท่ีหลักสาคัญในการพิจารณาเสนอนโยบายแผนพัฒนา

และมาตรฐานการอุดมศึกษาให้สอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติและ แผนการ
ศึกษาแห่งชาติ โดยคานึงถึงความเป็นอิสระและความเป็นเลิศทางวิชาการของสถาบันศึกษา
ระดับอุดมศึกษา โดยได้จัดทามาตรฐานการอุดมศึกษาและเกณฑ์มาตรฐานต่างๆ ท่ีเก่ียวข้อง เพื่อ
ส่งเสริมให้สถาบันอุดมศึกษาได้พัฒนาด้านวิชาการและวชิ าชพี รวมทั้งการพัฒนาคุณภาพและยกระดบั
มาตรฐานในการจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาให้มีความทัดเทียมกันและได้ประกาศใช้เกณฑ์มาตรฐาน
หลักสูตรต่างๆ มาอย่างต่อเน่ือง ซ่ึงปัจจุบันได้มีประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เร่ืองเกณฑ์มาตรฐาน
หลักสูตรระดับต่างๆ พ.ศ. 2548 เพ่ือประโยชน์ในการรักษามาตรฐานวิชาการและวชิ าชีพเป็นส่วนหน่ึง
ของเกณฑ์การรับรองวิทยฐานะและมาตรฐานการศึกษา โดยสถาบันอุดมศึกษาท่ีเปิดดาเนินการ
หลักสูตรใหม่หรือหลกั สูตรปรับปรุงต้องใช้เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร พ.ศ. 2548 เป็นหลักในการพัฒนา
หลกั สูตรและดาเนินการใหเ้ ป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรดังกลา่ ว

พันธกจิ ทสี่ าคัญท่สี ุดของสถาบันอุดมศึกษาคือ การผลติ บัณฑิต หรอื การจัดกจิ กรรมการเรียน
การสอนให้ผู้เรียนมีความรู้ในวิชาการและวิชาชีพ มีคุณลักษณะตามหลักสูตรท่ีกาหนด บัณฑิต
ระดับอุดมศึกษาจะต้องเป็นผู้มีความรู้ มีคุณธรรมจริยธรรม มีความสามารถในการเรียนรู้และพัฒนา
ตนเอง สามารถประยกุ ต์ใช้ความรเู้ พื่อการดารงชวี ิตในสงั คมได้อย่างมคี วามสุขทัง้ ทางร่างกายและจิตใจ
มีความสานึกและความรับผิดชอบในฐานะพลเมืองและพลโลก มีคุณลักษณะตามอัตลักษณ์ของ
สถาบันอดุ มศึกษา

ในส่วนของวิทยาลัยศาสนศาสตร์เฉลิมพระเกียรติกาฬสินธ์ุมีเป้าหมายหลักคือ การผลิต
บัณฑติ ทมี่ คี ณุ ภาพภายใต้พนั ธกิจหลัก 4 ประการ คือ

พันธกจิ ประการที่ 1 คือ ผลิตบัณฑติ ทางด้านพระพุทธศาสนา ให้มคี ุณสมบัติตามปรัชญาของ
มหาวทิ ยาลัย และกระจายโอกาสให้พระภิกษสุ ามเณร คฤหัสถ์ และผ้สู นใจมโี อกาสศึกษามากขึน้

พันธกิจประการท่ี 2 คือ ให้บริการวิชาการตามแนวพระพุทธศาสนาแก่สังคม ชุมชน และ
ท้องถิ่น โดยเฉพาะวิชาการทางพระพุทธศาสนา เพ่ือมุ่งเน้นการเผยแผ่พุทธธรรม การแก้ปัญหาสังคม
การนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันให้เกิดสันติสุข การชี้นาสังคมในทางสร้างสรรค์ และการยุติข้อ
ขดั แย้งด้วยหลักวิชาการพระพุทธศาสนา

198

พันธกิจประการท่ี 3 คือ วิจัยและพัฒนางานวิชาการเชิงลึกด้านพระพุทธศาสนา เพื่อสร้าง
องค์ความรู้ทางด้านวิชาการพระพุทธศาสนาใหม่ ๆ ให้สอดคล้องกับสภาพเศรษฐกิจและสังคมของ
ประเทศ และเผยแผ่องคค์ วามร้ใู นระบบเครอื ขา่ ยการเรียนรู้ทีท่ นั สมัย

พันธกิจประการที่ 4 คือ รวบรวมและจัดเก็บข้อมูลด้านศาสนาและศิลปวัฒนธรรมเพื่อให้
มหาวิทยาลัยเป็นแหล่งค้นคว้า ทานุบารุงรักษาภูมิปัญญาไทยและท้องถิ่น รวมทั้งสร้างชุมชนท่ีเข้มแขง็
เพือ่ ให้มีภมู ิคุ้มกันวฒั นธรรมท่ีไมเ่ หมาะสม

สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (2552) ในฐานะที่เป็นหน่วยงานในการกากับและ
ส่งเสริมการดาเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา ได้จัดทามาตรฐานต่างๆ ที่เก่ียวข้องกับการผลิตบัณฑิต
เช่น เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ เพื่อมุ่งเน้นเป้าหมาย
การจัดการศึกษาท่ีผลการเรียนรู้ของนักศึกษา ซ่ึงเป็นการประกันคุณภาพบัณฑิตที่ได้รับคุณวุฒิแต่ละ
คณุ วุฒแิ ละส่อื สารให้สังคม ชมุ ชน รวมทง้ั หนว่ ยงานท่ีเกี่ยวข้องต่างๆ ได้เชื่อม่นั ถงึ คุณภาพของบัณฑิตที่
ผลติ ออกมาเปน็ ไปตามที่กาหนดไว้ในผลลัพธก์ ารเรียนรใู้ นแตล่ ะหลักสูตร

ในส่วนของวิทยาลัยศาสนศาสตร์เฉลมิ พระเกียรติกาฬสินธ์ุได้กาหนดมาตรฐานผลการเรยี นรู้
แตล่ ะด้านของคณุ วฒุ ริ ะดับปรญิ ญาตรี ไว้ตอ้ งเปน็ ดงั น้ี

1. ผลการเรียนรู้ด้านคุณธรรมจริยธรรม จะต้องเป็นผู้ท่ีมีคุณธรรมจริยธรรมสาหรับครู
เช่น กัลยาณมิตรธรรม 7 จรรยาบรรณวิชาชีพ ที่กาหนดโดยองค์การวิชาชพี คือ คุรุสภา มีวินัย ตรงต่อ
เวลา ซื่อสัตย์สุจริต และมีความรับผิดชอบเพ่ือสร้างสรรค์สังคมให้น่าอยู่ เคารพสิทธิและรับฟังความ
คิดเหน็ ของผู้อนื่ ยอมรับในคุณค่าของความแตกต่าง

2. ผลการเรียนรู้ด้านความรู้ จะต้องเป็นผู้ท่ีมีความรู้ทางวิชาชีพครูบูรณาการความรู้
วิชาชีพครูให้ครอบคลุมเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพของคุรุสภา ความรู้เชิงบูรณาการระหว่างวิชาชีพครูกับ
วิชาเฉพาะจะต้องบูรณาการระหว่างวิชาชีพครูกับวิชาเฉพาะให้ครอบคลุมด้านหลักการและทฤษฎี
สาคัญทางพระพุทธศาสนาจิตวิทยาครู การพัฒนาหลักสูตร การจัดการเรียนรู้ การจัดการชั้นเรียน
นวัตกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศ และการวัดประเมินผลการศกึ ษา

3. ผลการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญา มีความสามารถคิดค้นหาข้อเท็จจริง ทาความเข้าใจ
และประเมินข้อมูลสารสนเทศ และแนวคิดจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายเพ่ือนามาใช้ในการปฏิบัติงาน
สอน และงานครูรวมท้ังการวินิจฉัยผู้เรียนและการวิจัยเพ่ือพัฒนาผู้เรียนสามารถคิดแก้ปัญหาในการ
จดั การเรยี นร้ทู ่ีมีความสลับซับซ้อน เสนอทางออกและนาไปสู่การแก้ไขได้อย่างสรา้ งสรรค์ และมคี วามเป็น
ผนู้ าทางปญั ญาในการคิดพฒั นาการจดั การเรียนรู้อย่างสร้างสรรค์และมีวิสยั ทัศน์

4. ผลการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ จะต้องมี
ภาวะผู้นา มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
ตระหนักในความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทางานร่วมกับ ผู้อ่ืนได้ดี มี
ความสัมพันธ์ท่ีดีกับผู้เรียน เป็นผู้นาและผู้ตามที่มีความรับผิดชอบต่อส่วนรวม ท้ังด้านเศรษฐกิจ สังคม
และสงิ่ แวดลอ้ ม

5. ผลการเรียนรู้ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การส่ือสารและการใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศ จะต้องมีความไวในการวิเคราะห์และเข้าใจข้อมูลสารสนเทศท่ีไดร้ ับจากผูเ้ รียนอย่างรวดเร็วท้ัง
ท่ีเป็นตัวเลขเชิงสถิติหรือคณิตศาสตร์ ภาษาพูดหรือภาษาเขียน มีความสามารถในการใช้ดุลยพินิจที่ดีใน
การประมวลผล แปลความหมาย และเลือกใชข้ ้อมูลสารสนเทศเก่ียวกบั วิชาท่สี อน และงานครูท่ีรบั ผิดชอบ

199

โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้ดี มีความสามารถในการใช้คอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การ
แสวงหาความรู้ ด้วยตนเอง การจัดเกบ็ และประมวลผลข้อมูลและการนาเสนอข้อมลู สารสนเทศ

6. ผลการเรยี นรู้ด้านทักษะการจัดการเรียนรู้ จะตอ้ งมีความเชี่ยวชาญในการจัดการเรียนรู้ท่ี
มีรูปแบบหลากหลาย ทั้งรูปแบบที่เป็นทางการ (Formal) รูปแบบกึ่งทางการ (Non-formal) และรูปแบบ
ไม่เป็นทางการ (Informal) อย่างสร้างสรรค์ มีความเช่ียวชาญในการจัดการเรียนรู้สาหรับผู้เรียนที่
หลากหลาย ทั้งผู้เรียนที่มีความสามารถพิเศษ ผู้เรียนที่มีความสามารถปานกลาง และผู้เรียนที่มีความ
ตอ้ งการพิเศษอย่างมีนวตั กรรมมคี วามเช่ยี วชาญในการจัดการเรยี นรู้ในวชิ าเอกทจ่ี ะสอนอย่างบูรณาการ

วิทยาลัยศาสนศาสตรเ์ ฉลิมพระเกียรติกาฬสินธุ์ให้ความสาคัญต่อการผลิตบัณฑิตให้เปน็ ผู้ทีม่ ี
ความขยัน ซ่ือสัตย์ ประหยัด อดทน และมีความรับผิดชอบ เป็นผู้ท่ีมีความรู้คู่คุณธรรมมาโดยตลอด
เพื่อผลิตบัณฑิตท่ีมีคุณภาพออกสู่สังคมตามที่สังคมไทยในยุคปัจจุบันต้องการดังปรัชญาของ
มหาวิทยาลัยคือ "ความเป็นเลิศทางวิชาการ ตามแนวพระพุทธศาสนา" อย่างไรก็ตามเพ่ือให้การพัฒนา
มาตรฐานและคุณภาพของบัณฑิตสอดคล้องกับความต้องการของสังคมที่เปล่ียนแปลงไป การศึกษา
เก่ยี วกบั ความพงึ พอใจจากผลการปฏิบตั ิการสอนของนักศึกษาโดยการประเมินจากผู้บรหิ ารสถานศึกษา
ครูพี่เล้ียงและครูผู้ท่ีมีส่วนเก่ียวข้อง จึงเป็นวิธีการหน่ึงในการตรวจสอบคุณภาพของบัณฑิตที่สาเร็จ
การศึกษาจากวิทยาลัยศาสนศาสตร์เฉลิมพระเกียรติกาฬสินธ์ุ ซึ่งผลจากการศึกษาจะเป็นประโยชนต์ ่อ
การวางแผนและพัฒนาการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพมากย่ิงข้ึน รวมท้ังจะเป็นประโยชน์ต่อการ
วางแผนเขา้ สู่ตลาดแรงงานของนักศึกษาทีจ่ ะสาเรจ็ การศึกษาต่อไป

วตั ถุประสงคข์ องการวจิ ัย
เพื่อศึกษาความพึงพอใจของผู้บริหารสถานศึกษาครูพี่เล้ียงท่ีมีต่อนักศึกษาปฏิบัติการสอน

คณะศึกษาศาสตร์ และเพื่อศึกษาข้อมูล และแนวทางในการกากับดูแลคุณภาพการปฏิบัติการสอนใน
สถานศกึ ษา

ประชากรและกลุ่มตวั อยา่ ง
ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครง้ั นี้ คอื ผ้บู รหิ ารสถานศกึ ษา จานวน 31 คน ครพู ีเ่ ล้ียงและครูที่มี

สว่ นเก่ยี วขอ้ ง จานวน 94 คน รวมทงั้ ส้นิ 125 คน
กลมุ่ ตวั อย่างท่ใี ช้ในการวิจยั ครั้งนี้ คือ ผบู้ รหิ ารสถานศึกษา จานวน 18 คน ครูพีเ่ ลีย้ งและครูผู้

ท่ีมีส่วนเกี่ยวข้อง จานวน 76 คน รวมท้ังสิ้น 94 คน โดยใช้ตารางกาหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างของ เครจซี
และมอร์แกน (Krejcie and Morgan)

เคร่อื งมือทใ่ี ชใ้ นการวจิ ยั
เคร่ืองมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งน้ีเป็นแบบสอบถามเก่ียวกับความพึงพอใจของผู้บริหารและครูพี่

เลี้ยง แบ่งออกเป็น 2 ตอน ตอนท่ี 1 เป็นข้อคาถามเก่ียวกับข้อมูลท่ัวไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ตอนที่ 2
เป็นแบบสอบถามเก่ียวกับความพึงพอใจ โดยมีลักษณะเป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า
(Rating Scale) 5 ระดับ ซึ่งผู้วิจัยได้กาหนดค่าน้าหนกั คะแนนไว้ 5 ระดับ ให้ผู้ตอบแบบสอบถามเลอื ก
คือ 1 หมายถึง มีความพึงพอใจอยู่ในระดับน้อยท่ีสดุ ไปจนถึงระดับ 5 หมายถึง มีความพึงพอใจอยู่ใน
ระดับมากที่สุด และกาหนดเกณฑ์เพ่ือการแปลความหมายค่าคะแนนเฉลี่ยของคะแนน 5 ระดับ ค่า
คะแนนเฉล่ีย 4.50 -5.00 หมายถึง ผู้ตอบมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากทีส่ ุด ค่าคะแนนเฉลี่ย 3.50 -

200

4.49 หมายถึง ผู้ตอบมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ค่าคะแนนเฉล่ีย 2.50 -3.49 หมายถึง ผู้ตอบมี
ความพึงพอใจอยู่ในระดบั ปานกลาง คา่ คะแนนเฉลยี่ 1.50 -2.49 หมายถึง ผูต้ อบมคี วามพึงพอใจอยู่ใน
ระดับนอ้ ย และคา่ คะแนนเฉล่ยี 1.00 -1.49 หมายถงึ ผตู้ อบมคี วามพงึ พอใจอยใู่ นระดบั นอ้ ยท่ีสดุ

วิธวี ิเคราะหข์ อ้ มลู
ผู้วิจัยดาเนินการประมวลผลข้อมูล โดยใช้สถิติเชิงพรรณนา การวิเคราะห์ข้อมูลท่ัวไปของ

ผู้ตอบแบบสอบถามในส่วนท่ีเก่ียวกับเพศ ตาแหน่ง และสภาพหน่วยงาน โดยการหาค่าร้อยละ
(Percentage) และค่าความถี่ (Frequency) การวิเคราะห์ข้อมูลท่ีเก่ียวกับความพึงพอใจ โดยรวมและ
เป็นรายด้าน โดยการหาค่าคะแนนเฉลี่ย (Mean) และค่าส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (Standard
Deviation) การวเิ คราะหข์ ้อมลู เกี่ยวกบั แนวทางในการกากับคุณภาพการปฏบิ ตั ิการสอนในสถานศึกษา
โดยสถิติทีใ่ ช้ในการวเิ คราะห์ข้อมูล คือ สถติ เิ ชงิ บรรยาย

ผลการวจิ ยั
ข้อมูลทว่ั ไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ผลการวจิ ยั พบวา่ ผ้ตู อบแบบสอบถามสว่ นใหญเ่ ปน็ เพศ

หญิง จานวน 61 คน คิดเป็นร้อยละ 64.9 รองลงมาเป็นเพศชาย จานวน 33 คน คิดเป็นร้อยละ 35.1
ส่วนใหญ่มีตาแหน่งเป็นครูพ่ีเลี้ยง จานวน 74 คน คิดเป็นร้อย ละ 78.7 รองลงมาคือผู้มีตาแหน่งเป็น
ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา จานวน 18 คน คิดเปน็ ร้อยละ 19.1 และส่วนใหญส่ ังกัดหน่วยงานรฐั บาล จานวน
84 คน คิดเปน็ ร้อย ละ 89.4 รองลงมาสงั กัดหนว่ ยงานเอกชน จานวน 10 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 10.6

ข้อมูลความพึงพอใจของผู้บริหารสถานศึกษา/ครูพี่เล้ียงและครูผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง
ผลการวิจัย พบว่า มีความพึงพอใจด้านคุณธรรมจริยธรรม ในภาพรวม อยู่ในระดับมากท่ีสุด มีค่าเฉล่ีย
เท่ากับ 4.89 โดย มีความพึงพอใจในเรื่องการเคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นยอมรับใน
คุณค่าของความแตกต่างอยู่ในระดับมากท่ีสุด มีค่าเฉล่ียเท่ากับ 4.93 ด้านความรู้ ในภาพรวม อยู่ใน
ระดับมากที่สุด มีค่าเฉล่ียเท่ากับ 4.61 โดยมีความพึงพอใจในเร่ืองนักศึกษามีความรู้ในศาสตร์ที่เป็น
พ้ืนฐานของ ชีวิต และสามารถนามาปรับใช้ในการดาเนินชีวิตได้อยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าเฉล่ียเท่ากับ
4.69 ด้านทักษะทางปญั ญา ในภาพรวม อยู่ในระดับมาก มคี ่าเฉลีย่ เท่ากับ 4.46 โดยมีความพึงพอใจใน
เร่ืองนักศึกษาสามารถคิดแก้ปัญหาในการ จัดการเรียนรู้ท่ีมีความสลับซับซ้อน เสนอทางออกและ
นาไปสู่การแก้ไขได้อย่างสร้างสรรค์อยู่ในระดับมากท่ีสุด มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.52 ด้านทักษะ
ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ในภาพรวม อยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าเฉล่ียเท่ากับ
4.77 โดยมีความพึงพอใจในเรื่อง นักศึกษามีความสัมพันธ์ที่ดีกับผู้เรียน เป็นผู้นาและผู้ตามที่มีความ
รบั ผิดชอบต่อส่วนรวมอยู่ในระดับมากท่ีสุด มี คา่ เฉล่ยี เท่ากับ 4.94 ดา้ นทกั ษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข
การส่ือสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ในภาพรวม อยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.55
โดยมคี วามพึงพอใจในเรื่องนักศึกษามีความสามารถในการใช้คอมพวิ เตอรแ์ ละสารสนเทศในการส่ือสาร
การแสวงหา ความรู้ด้วยตนเอง การจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลและการนาเสนอข้อมูลสารสนเทศอยู่
ในระดับมากท่ีสุด มีค่าเฉล่ียเท่ากับ 4.62 ด้านทักษะการจัดการเรียนรู้ ในภาพรวม อยู่ในระดับมาก มี
ค่าเฉล่ียเท่ากับ 4.47 โดยมีความพึงพอใจในเร่ืองนักศึกษามีความเช่ียวชาญในการ จัดการเรียนรู้ใน
วชิ าเอกท่ีจะสอนอยา่ งบรู ณาการอยใู่ นระดับมากที่สดุ มคี า่ เฉล่ยี เทา่ กบั 4.66

201

ข้อมูลและแนวทางในการกากับดูแลคุณภาพการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา ผลการวิจัย
พบว่า นักศึกษาส่วนใหญ่เข้าร่วมกิจกรรมและจัดทาโครงการร่วมกับทางโรงเรียน เป็นอย่างดี มีส่วน
น้อยท่ียังไม่ได้ให้ความสาคัญ เป็นเพราะนักศึกษามีงานประจาที่ต้องทาอยู่แล้ว เช่น เป็นพนักงานของ
รัฐ เป็นต้น นักศึกษาส่วนใหญ่สอนไม่ตรงกับแผนการจัดประสบการณ์เรียนรู้ หมายถึง แผนที่นาเสนอ
ต่ออาจารย์นิเทศก์มีการกาหนดวัตถปุ ระสงค์ เน้อื หา เคร่ืองมือหรือสื่อต่างๆ แตไ่ ม่ได้นาเสนอและ ไม่ได้
นามาใช้ประกอบในการสอน

อาจารย์นิเทศจึงได้แนะนากระบวนการจัดการเรียนการสอนหรือจัดประสบการณ์เป็นท่ี
เรยี บร้อยแลว้

ข้อด:ี 1) นักศึกษาทเี่ ปน็ ครูประจาทาหน้าที่ครูไดส้ มบูรณ์และเป็นมอื อาชีพ
2) มีการพัฒนาสือ่ การเรยี นการสอนพร้อมใชง้ านไดจ้ รงิ
3) มคี วามรกั ความเมตตา และเอาใจใสเ่ ดก็ ๆ ดมี าก

ขอ้ จากดั : นกั ศกึ ษาท่ีมงี านประจาไม่ได้เตรยี มตัวสอน ไม่มเี ทคนคิ ในการถา่ ยทอดประสบการณ์

อภปิ รายผล
ผู้บริหารสถานศึกษา/ครูพี่เล้ียงและครูผู้ท่ีมีส่วนเกี่ยวข้องมีความพึงพอใจโดยรวมท้ัง 6 ด้านอยู่

ในระดับมากท่ีสุด โดยเรียงจากมากไปหาน้อย คือ ด้านคุณธรรมจริยธรรม ด้านทักษะความสัมพันธ์
ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ด้านความรู้ ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การส่ือสารและการใช้
เทคโนโลยีสารสนเทศ ด้านทักษะการจัดการเรียนรู้ และด้านทักษะทางปัญญา ตามลาดับ โดย 1) ด้าน
คุณธรรมจริยธรรม พบว่า มีความพึงพอใจในภาพรวมอยู่ในระดับมากท่ีสุด อันดับแรกคือ นักศึกษามี
เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อ่ืนยอมรับในคุณค่าของความแตกต่าง รองลงมาคือ นักศึกษามี
จรรยาบรรณวิชาชีพ ที่กาหนดโดยองค์การวิชาชีพ คือ คุรุสภา มีคุณธรรมจริยธรรมสาหรับครู เช่น
กัลยาณมิตรธรรม 7 มีวนิ ัย ตรงต่อเวลา ซ่อื สตั ยส์ ุจริต และมีความรับผิดชอบเพ่ือสร้างสรรค์สังคมให้น่าอยู่
2) ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ พบว่า มีความพึงพอใจในภาพรวมอยู่ใน
ระดับมากที่สุด อันดับแรกคือ มีความสัมพันธ์ที่ดีกับผู้เรียน เป็นผู้นาและผู้ตามท่ีมีความรับผิดชอบต่อ
ส่วนรวม รองลงมาคือตระหนักในความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทางาน
ร่วมกับ ผู้อ่ืนได้ดี และมีภาวะผู้นา มีความคิดริเร่ิมในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของ
ตนเอง 3) ด้านความรู้ พบว่า มีความพึงพอใจในภาพรวมอยู่ในระดับมากท่ีสุด อันดับแรกคือ นักศึกษามี
ความรู้ในศาสตร์ที่เป็นพ้ืนฐานของชีวิต และสามารถนามาปรับใช้ในการดาเนินชีวิตได้ รองลงมาคือ
สามารถใช้ความรู้มาอธิบายปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นได้อย่างมีเหตุผล และมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับ
หลักการ ทฤษฎี และเนื้อหา 4) ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศ พบว่า มคี วามพึงพอใจในภาพรวมอยู่ในระดับมากทีส่ ดุ อนั ดบั แรกคือมีความสามารถในการใช้
คอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ ด้วยตนเอง การจัดเก็บและประมวลผล
ข้อมูลและการนาเสนอข้อมูลสารสนเทศ รองลงมาคือ มีความสามารถในการใช้ดุลพินิจท่ีดีในการ
ประมวลผล แปลความหมาย และเลือกใช้ ข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับวิชาท่ีสอน และงานครูที่รับผิดชอบ
โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้ดี และมีความไวในการวิเคราะห์และเข้าใจข้อมูลสารสนเทศที่ได้รับจาก
ผ้เู รียนอย่างรวดเร็ว ทงั้ ทีเ่ ปน็ ตวั เลขเชิงสถิติหรือคณิตศาสตร์ ภาษาพูดหรือภาษาเขียน 5) ด้านทักษะการ
จัดการเรียนรู้ พบว่า มีความพึงพอใจในภาพรวมอยู่ในระดับมาก อันดับแรกคือ มีความเช่ียวชาญในการ

202

จัดการเรียนรู้ในวิชาเอกท่ีจะสอนอย่างบูรณาการ รองลงมาคือมีความเช่ียวชาญในการจัดการเรียนรู้
สาหรับผู้เรียนท่ีหลากหลาย ท้ังผู้เรียนที่มี ความสามารถพิเศษ ผู้เรียนที่มีความสามารถปานกลาง และ
ผู้เรียนท่ีมีความต้องการพิเศษอย่างมีนวัตกรรม และมีความเชี่ยวชาญในการจัดการเรียนรู้ที่มีรูปแบบ
หลากหลาย ทั้งรูปแบบที่เป็นทางการ (Formal) รูปแบบก่ึงทางการ (Non-formal) และรูปแบบไม่เป็น
ทางการ (Informal) อย่างสร้างสรรค์ 6) ด้านทักษะทางปัญญา พบว่า มีความพึงพอใจในภาพรวมอยู่ใน
ระดับมาก อันดับแรกคือ สามารถคิดแก้ปัญหาในการจัดการเรียนรู้ที่มีความสลับซับซ้อน เสนอทางออก
และนาไปสู่การแก้ไขได้อย่างสร้างสรรค์ รองลงมาคือมีความเป็นผู้นาทางปัญญาในการคิดพัฒนาการ
จดั การเรียนรอู้ ยา่ งสรา้ งสรรค์และมีวสิ ยั ทัศน์ และสามารถคิดคน้ หาข้อเทจ็ จริง ทาความเข้าใจและประเมิน
ขอ้ มูลสารสนเทศ และแนวคิดจากแหล่งข้อมลู ท่ีหลากหลายเพื่อนามาใช้ในการปฏบิ ัติงานสอน และงานครู
รวมท้ังการวนิ จิ ฉัยผู้เรียนและการวิจยั เพ่ือพัฒนาผู้เรียน

ข้อมูล และแนวทางในการกากับดูแลคุณภาพการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 4 ประเด็น
ประเด็นท่ี 1 การปฏิบัติหน้าที่ครู ของนักศึกษาฝึกสอน เช่น ความมีวินัย ตรงต่อเวลา ซ่ือสัตย์สุจริต
และมคี วามรบั ผดิ ชอบต่อหน้าท่ีในฐานผู้สอนนกั ศกึ ษาสว่ นใหญ่ทาหนา้ ที่ได้สมบรู ณ์ ประเดน็ ที่ 2 การให้
ความรว่ มมือในการทากิจกรรม/โครงการท่ีทางโรงเรียนจดั ขึน้ นักศึกษาส่วนใหญใ่ ห้ความสาคญั และเป็น
กาลังสาคัญในการทากิจกรรม/และในการดาเนินโครงการ ประเด็นท่ี 3 การทางานอื่นตามที่ได้รับ
มอบหมายจากผู้บรหิ าร ครพู ่เี ลีย่ ง หรอื ผ้ทู ีม่ สี ่วนเก่ียวข้องส่วนใหญน่ ักศึกษาเช่ือฟังและกระทาตามงาน
ท่ไี ด้รับมอบหมายดมี าก และประเด็นที่ 4 สังเกตการณ์สอน 15 นาที ข้อด:ี นกั ศกึ ษาท่ีเป็นครปู ระจาทา
หน้าท่ีครูได้สมบูรณ์และเป็นมืออาชีพ มีการพัฒนาสื่อการเรียนการสอนพร้อมใช้งานได้จริง มีความรัก
ความเมตตา และเอาใจใส่เด็กๆ ดีมากข้อจากัด: นักศึกษาท่ีมีงานประจา ไม่ได้เตรียมตัวสอน ไม่มี
เทคนคิ ในการถา่ ยทอดประสบการณ์

แหลง่ อา้ งอิง
จิรณี ตันติรัตนวงศ์. (2552). กรอบมาตรฐานคุณวุฒิ, เอกสารประกอบการบรรยายพิเศษในการ

ประชุมสัมมนาเรื่อง “กรอบมาตรฐานคุณวุฒิ: การพัฒนารายละเอียดของหลักสูตรและ
รายวชิ าใหม้ คี ุณภาพ”. กรุงเทพฯ.
จุรินทร์ ลักษณวิศิษฏ์. (2552). ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง กรอบมาตรฐานคุ ณวุฒิ
ระดับอดุ มศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ.2552. กรุงเทพฯ.
พิเชษฐ์ พรหมผุย. (2553). ความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตมหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล จังหวัด
นครราชสีมา ร่นุ ปกี ารศกึ ษา 2551. นครราชสมี า.
วิชัย ริ้วตระกูล. (2554). ประกาศคณะกรรมการการอุดมศึกษา เร่ือง แนวทางการปฏิบัติตามกรอบ
มาตรฐานคุณวฒุ ิระดบั อดุ มศึกษาแห่งชาติ (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2554. กรุงเทพฯ.
สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (2552) .เอกสารแนวทางการนากรอบมาตรฐานคุณวุฒิ
ระดบั อดุ มศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2552 และแนวทางการปฏบิ ัต.ิ กรงุ เทพฯ.

203

แรงจงู ใจในการเลอื กเข้าศึกษาต่อในวทิ ยาลัยศาสนศาสตรเ์ ฉลิมพระเกยี รติกาฬสนิ ธ์ุ
มหาวิทยาลยั มหามกฏุ ราชวิทยาลัย

MOTIVATION IN SELECTED STUDY IN KALASIN BUDDHIST COLLEGE,
MAHAMAKUT BUDDHIST UNIVERSITY

หาญ เถาตาจนั ทร์, เนรมติ ร กลุ มนิ ท์, พระฌานพิ ทิ ย์ สรุ ศกั ดิ์
มหาวทิ ยาลยั มหามกุฏราชวิทยาลยั วทิ ยาลัยศาสนศาสตรเ์ ฉลมิ พระเกยี รตกิ าฬสนิ ธ์ุ

พมิ ภัสสร เด็ดขาด
มหาวิทยาลยั มหามกฏุ ราชวิทยาลยั วทิ ยาเขตล้านนา

บทคัดย่อ
การวิจัยคร้ังนี้เพ่ีอศึกษาแรงจูงใจในการเลือกเข้าศึกษาต่อในวิทยาลัยศาสนศาสตร์เฉลิมพระ

เกียรติกาฬสินธุ์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ด้านเหตุผลส่วนตัว ด้านการประกอบอาชีพ ด้าน
สังคม ด้านบุคคลท่ีเก่ียวข้อง ประชาการและกลมุ่ ตัวอย่างท่ีใช้ในการวจิ ัยคร้ังนี้ คือ นักศึกษาสาขาวชิ า
การปกครอง นักศึกษาสาขาวิชาการสอนพระพุทธศาสนา และนักศึกษาสาขาวิชาการสอนภาษาไทย
จานวน 55 รูป/คน ซ่ึงใช้แบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูล ผลการวิจัยพบว่า แรงจูงใจในการ
เลือกเข้าศึกษาตอ่ โดยรวมทั้ง 4 ดา้ น มีระดบั แรงจูงใจอยใู่ นระดบั มาก (มคี า่ เฉลี่ย = 4.36, S.D.= 0.37)
โดยรายด้านพบว่า มีแรงจูงใจด้านการประกอบอาชีพมากที่สุด (มีค่าเฉลี่ย = 4.58, S.D.= 0.48) ด้าน
บุคคลท่ีเกี่ยวข้อง (มีค่าเฉลี่ย = 4.53, S.D.= 0.60) ด้านเหตุผลส่วนตัว (มีค่าเฉลี่ย = 4.25, S.D.=
0.41) ด้านสังคม (มีค่าเฉลี่ย = 4.14, S.D.= 0.53) ตามลาดับ แรงจูงใจด้านอื่นๆ หรือข้อเสนอแนะ
อื่นๆ พบว่า เป็นสถาบันการศึกษาที่เปิดโอกาสให้พระภิกษุและสามเณรได้ศึกษาในระดับอุดมศึกษา
เน้นวิชาการตามแนวพระพุทธศาสนา และทานุบารุงศิลปวัฒนธรรม เม่ือสาเร็จการศึกษาแล้วจะ
สามารถวุฒกิ ารศึกษาไปประกอบอาชีพท่มี ั่นคงได้ เป็นสถาบันการศกึ ษาอันเปน็ ทย่ี อมรับของสังคม ค่า
บารงุ การศกึ ษาถกู ทาใหบ้ ดิ า-มารดา ผปู้ กครอง มีกาลงั ทนุ ทรัพย์พอทีจ่ ะสง่ ลกู -หลานเรียนให้จบได้

คาสาคญั : แรงจูงใจ, การเลือกเข้าศึกษาต่อ

Abstract
This research was to study the motivation to choose to study at Kalasin Buddhist

Collage. Mahamakut Buddhist University. The population and the sample group used in
this research were students in the academic department. The group consisted of
students in the Department of Teaching Buddhism and 5 5 Thai language teaching
students. People user questionnaires to collect data. The research found that
motivation in choosing to study further, including 4 aspects, with the motivation level
at a high level (with average = 4.36, S.D. = 0.37). The most occupational motivations
(with average = 4.58, SD = 0.48) were related persons (with average = 4.53, SD = 0.60)
for personal reasons (with average = 4.25, SD = 0.41) and society (with average = 4.14,
SD = 0. 53) , according to other incentives. Other motivations were that it is an
educational institution that allows monks and novices to study in higher education, the

204

emphasis on academic principles according to Buddhism, and maintenance were arts
and culture. Upon graduation, you can qualify for a stable career. It is an institution that
is socially acceptable. Education fee is cheap. The parents - the parents have the power
to send their children to complete their education.

Keywords : Motivation, admission

บทนา
การศึกษาถือว่าเป็นสิ่งสาคัญสาหรับมนุษย์ทุกเพศทุกวัยเพราะการศึกษาช่วยยกระดับ

สถานภาพชีวิตและจิตใจของมนุษย์ให้สูงข้ึน รวมทั้งมีคุณสมบัติความเป็นมนุษย์ท่ีมีปัญญา มีคุณธรรม
และมีความสามารถพื้นฐานและศักยภาพที่จะพัฒนาเศรษฐกิจและประเทศในอนาคตทาให้สังคม
ประเทศชาติมีความสงบสุขร่มเย็น ตลอดท้ังการพัฒนาประเทศชาติในทุกด้านจะต้องอาศัยการศึกษา
เป็นหลัก เพ่ือให้การศึกษาพัฒนาคุณลักษณะของประชากรของประเทศได้อย่างมีคุณภาพ และมี
ประสิทธิภาพ ซ่ึงการศึกษาถือเป็นปัจจัยสาคัญในการพัฒนาประเทศ เพราะการศึกษาเป็นเคร่ืองมือที่
สาคัญที่สุดท่ีจะพัฒนาคนในชาติให้มีความรู้ความสามารถ การศึกษาเป็นกระบวนการท่ีช่วยเพ่ิมพูน
ความรู้ ความคิด ทักษะ และทัศนะคติแก่ผู้เรียน ทาให้ผู้เรียนรู้จักตนอง รู้จักใช้ชีวิต เข้าใจสังคมและ
สิ่งแวดล้อม สามารถนาความรู้ความเข้าใจไปใช้แก้ปัญหา เสริมสร้างสังคมและชีวิตให้ดีข้ึน รวมทั้งเป็น
สมาชิกท่ีดีของสังคมและเป็นกาลังในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของชาติ (สานักงานคณะกรรมการ
ศึกษาแหง่ ชาต,ิ 2529 : 25) วทิ ยาลยั ศาสนศาสตรเ์ ฉลิมพระเกียรติกาฬสนิ ธุ์ มหาวทิ ยาลัยมหามกุฏราช
วิทยาลัย เป็นสถาบันอุดมศึกษาในกากับของรัฐที่เน้นด้านวิชาชพี และวชิ าการตามแนวพระพุทธศาสนา
ที่มีวัตถุประสงค์ให้ การศึกษาส่งเสริมวิชาการและวิชาชีพช้ันสูง (วิชาชีพครู) ให้บริการทางวิชาการใน
ด้านพระพุทธศาสนา และทานุบารุงศิลปะและวัฒนธรรม ภายใต้พันธกิจหลัก 4 ประการ คือ (คู่มือ
นักศึกษา ระดับปริญญญาตรี มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาลัยศาสนศาสตร์เฉลิมพระ
เกียรติกาฬสินธุ์, 2557 : 4)

วิทยาลัยศาสนศาสตร์เฉลมิ พระเกียรติกาฬสินธ์ุ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย เปิดสอน
ในระดับปริญญาตรี หลักสูตร 4 ปี และ 5 ปี จานวน 3 หลักสูตร ได้แก่ 1) หลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต
คณะสังคมศาสตร์ สาขาวิชาการปกครอง 2) หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต คณะศึกษาศาสตร์
สาขาวิชาการสอนพระพุทธศาสนา 2) หลักสูตรศึกษาศาสตรบณั ฑิต สาขาวิชาการสอนภาษาไทย (ท่มี า
: ระเบียบการรับสมัครสอบคัดเลือกนักศึกษาใหม่ ประจาปีการศึกษา 2561 ระดับปริญญาตรี
วิทยาลัยศาสนศาสตร์เฉลิมพระเกียรติกาฬสินธุ์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย) และด้วย
สถาบันอุดมศึกษาท่ีมีอยู่จานวนมากท้ังสถาบันของรัฐและสถาบันของเอกชน จึงทาให้การศึกษา
ระดับอดุ มศกึ ษามกี ารแขง่ ขันกนั มากขึน้ เพอ่ื เป็นการดึงดดู ใจให้นักเรียนระดบั ช้ันมัธยมศึกษา ปีท่ี 6 (ม.
6) นักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) และนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
(ปวส.) ที่กาลังจะสาเร็จการศึกษาได้มีโอกาสและมีทางเลือกในการตัดสินใจเลือกสถานศึกษามากขึ้น
ดังนั้น วิทยาลัยศาสนศาสตร์เฉลิมพระเกียรติกาฬสินธุ์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย จึงมีความ
จาเป็นอย่างย่ิงที่จะต้องมีกลยุทธใ์ นการหาวิธีการที่จะให้นักเรยี นกลุ่มเป้าหมายตัดสนิ ใจเลือกเข้าศึกษา
ต่อระดับปริญญาตรีในวิทยาลัยศาสนศาสตร์เฉลิมพระเกียรติกาฬสินธุ์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราช

205

วทิ ยาลัย โดยการจัดกิจกรรมตา่ งๆ และรปู แบบการแนะแนวประชาสมั พันธ์ หลายช่องทาง เชน่ ส่งแผ่น
พับประชาสัมพันธ์ไปยังสถานศึกษา แนะนาเว็บไซด์ จัดกิจกรรมธรรมสัญจร แต่งต้ังอาจารย์แนะแนว
อออกแนะแนวไปตามสถานศึกษาเพ่ือประชาสัมพันธ์รับสมัครนักศึกษาใหม่ ซึ่งเป็นกิจกรรมที่
มหาวิทยาลยั จดั ขน้ึ เป็นประจาทุกปี เพ่อื ให้นักเรียนมีความเข้าใจและรสู้ ึกสนใจในการทจี่ ะตัดสินใจเข้า
ศกึ ษาตอ่ ในมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวทิ ยาลยั วทิ ยาลัยศาสนศาสตรเ์ ฉลมิ พระเกยี รตกิ าฬสนิ ธ์ุ

ด้วยเหตุผลดังกล่าว จึงทาให้ผู้วิจัยมีความสนในท่ีจะทาการศึกษาแรงจูงใจในการเลือกเข้า
ศึกษาต่อในวิทยาลัยศาสนศาสตร์เฉลิมพระเกียรติกาฬสินธ์ุ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ทั้งนี้
เพราะแรงจูงใจเป็นตัวช้ีสาคัญในการเลือกศึกษาต่อนักศึกษาซ่ึงผลวิจัยในคร้ังนี้จะนาไปไปสู่การวาง
แผนการจัดการเรียนการสอนและการจัดกิจกรรมการศึกษาให้มีประสิทธิภาพมากย่ิงขึ้นและสอดคล้อง
กบั ความคาดหวงั และความต้องการของผูเ้ รยี นและสงั คมตอ่ ไป

วตั ถปุ ระสงคข์ องการวิจัย
เพี่อศึกษาแรงจูงใจในการเลือกเข้าศึกษาต่อในวิทยาลัยศาสนศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ

กาฬสินธุ์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย 1) ด้านเหตุผลส่วนตวั 2) ด้านการประกอบอาชีพ 3)
ด้านสังคม 4) ด้านบุคคลที่เก่ียวข้อง

ประชากรและกลุ่มตวั อย่าง
ประชากรท่ีใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ นึกศึกษาท่ีเข้าศึกษาต่อในวิทยาลัยศาสนศาสตร์เฉลิม

พระเกียรติกาฬสินธุ์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ปีการศึกษา 2561 ประกอบด้วย นักศึกษา
สาขาวิชาการปกครอง จานวน 39 รูป/คน สาขาวิชาการสอนพระพุทธศาสนา จานวน 12 รูป/คน
สาขาวิชาการสอนภาษาไทย จานวน 12 รูป/คน รวมท้ังสน้ิ 63 รูป/คน

กลุ่มตัวอย่างท่ีใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ นักศึกษาสาขาวิชาการปกครอง จานวน 33 รูป/คน
สาขาวิชาการสอนพระพุทธศาสนา จานวน 11 รูป/คน สาขาวิชาการสอนภาษาไทย จานวน 11 รูป/คน
รวมท้งั สิ้น 55 รูป/คน

เครอื่ งมอื ทีใ่ ชใ้ นการวจิ ัย
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับแรงจูงใจในการเลือกเข้าศึกษาต่อ

แบ่งออกเปน็ 2 ตอน คือ ตอนที่ 1 เป็นขอ้ คาถามเกี่ยวกับข้อมูลท่วั ไปของผตู้ อบแบบสอบถาม ตอนท่ี 2
เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับแรงจูงใจในการเลือกเข้าศึกษาต่อ โดยมีลักษณะเป็นแบบสอบถามมาตรา
ส่วนประมาณค่า (Rating Scale) 5 ระดับ ซึ่งผู้วิจัยได้กาหนดค่าน้าหนักคะแนนไว้ 5 ระดับ ให้ผู้ตอบ
แบบสอบถามเลือก คือ

5 หมายถึง มแี รงจงู ใจอยู่ในระดบั มากท่สี ุด
4 หมายถงึ มีแรงจูงใจอยใู่ นระดบั มาก
3 หมายถงึ มแี รงจงู ใจอยู่ในระดับปานกลาง
2 หมายถึง มแี รงจูงใจอยู่ในระดบั น้อย
1 หมายถึง มแี รงจงู ใจอยใู่ นระดบั นอ้ ยท่สี ุด
และกาหนดเกณฑเ์ พอื่ การแปลความหมายคา่ คะแนนเฉลี่ยของคะแนน 5 ระดับ
ค่าคะแนนเฉล่ีย 4.51-5.00 หมายถงึ ผู้ตอบแบบสอบถามมแี รงจงู ใจอยู่ในระดบั มากทีส่ ดุ

206

ค่าคะแนนเฉลี่ย 3.51-4.50 หมายถึง ผูต้ อบแบบสอบถามมีแรงจงู ใจอยู่ในระดับมาก
ค่าคะแนนเฉลี่ย 2.51-3.50 หมายถึง ผตู้ อบแบบสอบถามมีแรงจงู ใจอยู่ในระดับปานกลาง
คา่ คะแนนเฉลี่ย 1.51-2.50 หมายถึง ผู้ตอบแบบสอบถามมีแรงจงู ใจอยูใ่ นระดับนอ้ ย
ค่าคะแนนเฉล่ีย 1.00-1.50 หมายถึง ผตู้ อบแบบสอบถามมีแรงจงู ใจอยู่ในระดบั นอ้ ยท่ีสุด

วิธีวิเคราะหข์ ้อมลู
ผู้วิจัยดาเนินการประมวลผลข้อมูล โดยใช้สถิติเชิงพรรณนา การวิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปของ

ผู้ตอบแบบสอบถามในส่วนที่เกี่ยวกับเพศ สถานภาพ และสาขาวิชา โดยการหาค่าร้อยละ
(Percentage) และค่าความถี่ (Frequency) การวิเคราะห์ข้อมูลท่ีเกี่ยวกับแรงจูงใจในการเลือกเข้า
ศึกษาตอ่ โดยรวมและเป็นรายด้าน โดยการหาค่าคะแนนเฉลี่ย (Mean) และคา่ ส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐาน
(Standard Deviation) การวิเคราะห์ข้อมูลเก่ียวกับแรงจูงใจในด้านอ่ืนๆหรือข้อเสนอแนะอื่นๆ โดย
สถิติทใ่ี ชใ้ นการวิเคราะห์ขอ้ มลู คอื สถิตเิ ชงิ บรรยาย

ผลการวิจัย
ข้อมลู ทวั่ ไปของผตู้ อบแบบสอบถาม ผลการวิจัยพบว่า ผตู้ อบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศชาย

จานวน 37 รูป/คน คิดเป็นร้อยละ 67.25 และเป็นเพศหญิงจานวน 18 คน คิดเป็นร้อยละ 32.75 ส่วน
ใหญ่มีสถานภาพเป็นคฤหัสถ์จานวน 40 คน คิดเป็นร้อยละ 72.73 และเป็นบรรพชิต จานวน 15 รูป คิด
เป็นร้อยละ 27.27 ส่วนใหญ่กาลังศึกษาในสาขาวิชาการปกครอง จานวน 33 รูป/คน คิดเป็นร้อยละ
60.00 รองลงมาคือสาขาวิชาการสอนพระพุทธศาสนา จานวน 11 รูป/คน คิดเป็นร้อยละ 20.00 และ
สาขาวิชาการสอนภาษาไทย จานวน 11 รปู /คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 20.00

ข้อมูลผลของแรงจูงใจในการเลือกเข้าศึกษาต่อ ผลการวิจัยพบว่า นักศึกษามีแรงจูงใจในการ
เลือกเข้าศึกษาต่อ ด้านเหตุผลส่วนตัว อยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ย (̅X = 4.25) และค่าเบ่ียงเบน
มาตรฐาน (S.D.= 0.41) โดยมีแรงจูงใจในการเลือกเข้าศึกษาต่อในเรือ่ งค่าเทอมมีอัตราที่เหมาะสม ไม่
แพง อยู่ในระดับมากท่ีสุด มีค่าเฉล่ีย (X̅ = 4.79) และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D. = 0.41) ด้านการ
ประกอบอาชีพ อยู่ในระดับมากท่ีสุด มีค่าเฉล่ีย (̅X = 4.58) และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.= 0.48)
โดยนกั ศกึ ษามีแรงจูงใจในการเลือกเข้าศึกษาต่อในเรื่องเมื่อสาเรจ็ การศกึ ษาสามารถเลือกงานไดต้ รงกับ
ความต้องการของตนเองได้ อยู่ในระดับมากท่ีสุด มีค่าเฉล่ีย (̅X = 4.68) และค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน
(S.D.= 0.47) ด้านสังคม อยู่ในระดับมาก มีค่าเฉล่ีย (̅X = 4.10) และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.=
0.53) โดยนักศึกษามีแรงจูงใจในการเลือกเข้าศึกษาต่อในเรื่องสาขาวิชาท่ีเลือกเรียนมีความเหมาะสม
กับสภาพสังคมในปัจจุบัน อยู่ในระดับมากท่ีสุด มีค่าเฉล่ีย (X̅ = 4.51) และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน
(S.D.= 0.56)และด้านบุคคลท่ีเกี่ยวข้อง อยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าเฉล่ีย (X̅ = 4.53) และค่าเบ่ียงเบน
มาตรฐาน (S.D.= 0.60) โดยนักศึกษามีแรงจูงใจในการเลือกเข้าศึกษาต่อในเรื่องผู้ปกครองของ
นักศึกษาแนะนาให้ศึกษาต่อในมหาวิทยาลัยแหง่ น้ี อยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าเฉล่ีย (̅X = 4.59) และค่า
เบ่ยี งเบนมาตรฐาน (S.D.= 0.54)

ข้อมูลเก่ียวกับแรงจูงใจด้านอื่นๆ หรือข้อเสนอแนะอ่ืนๆ ผลการวิจัยพบว่า เป็น
สถาบันการศึกษาท่ีเปิดโอกาสให้พระภิกษุและสามเณรได้ศึกษาในระดับอุดมศึกษา เน้นวิชาการตาม
แนวพระพุทธศาสนา และทานุบารงุ ศลิ ปวัฒนธรรม โดยเฉพาะดนตรีพ้ืนบ้าน (วงโปงลาง) จึงมปี ระสงค์

207

ท่ีจะเลือกศึกษาต่อ เพ่ือที่จะเรียนรู้เพิ่มเติมในทางที่นักศึกษาสนใจ นักศึกษาส่วนใหญ่คิดว่าเมื่อสาเร็จ
การศึกษาแล้วจะสามารถวุฒิการศึกษาไปสอบบรรจุเป็นข้าราชการได้ ซ่ึงจะทาให้มีอาชีพท่ีม่ันคง มี
เงินเดอื นเลีย้ งครอบครัว มหาวิทยาลัยเป็นทีย่ อมรับของสงั คม โดยเฉพาะอยา่ งยิ่งในเขตจงั หวดั กาฬสินธุ์
มีผู้ท่ีสาเร็จการศึกษาจากสถาบันแห่งนี้แทบทุกหน่วยงานทั้งหน่วยงานของรัฐและหน่วยงานเอกชน
และบิดา-มารดา ผู้ปกครองของนักศึกษามีฐานะค่อนข้างยากจน การท่ีสถาบันแห่งนี้มีค่าเล่าเรียนถูก
ทาให้บดิ า-มารดา ผ้ปู กครอง มีกาลงั ทุนทรพั ยพ์ อทีจ่ ะสง่ ลกู -หลานให้เรียนจบได้

สรปุ และอภิปรายผล
แรงจูงใจในการเลือกเข้าศึกษาต่อ ผลการวิจัยพบว่า นักศึกษามีระดับแรงจูงใจท้ัง 4 ด้าน

โดยรวม อยใู่ นระดับมาก มคี ่าเฉลี่ย (X̅ = 4.36) และคา่ เบย่ี งเบนมาตรฐาน (S.D.= 0.37) เมื่อพจิ ารณา
เป็นรายด้านพบว่า นักศึกษามีแรงจูงใจในการเลือกเข้าศึกษาต่อ ด้านการประกอบอาชีพมากท่ีสุด มี
ค่าเฉลี่ย (̅X = 4.58) และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.= 0.48) รองลงมาคือด้านบุคคลท่ีเกี่ยวข้อง มี
ค่าเฉล่ีย (̅X = 4.53) และค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.= 0.60) ต่อมาคือด้านเหตุผลส่วนตัว มีค่าเฉลี่ย
(̅X = 4.25) และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.= 0.41) และด้านสังคม มีค่าเฉลี่ย (X̅ = 4.10) และค่า
เบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.= 0.53) โดยเฉพาะด้านการประกอบอาชีพ แสดงให้เห็นว่านักศึกษาต้องการ
ความมั่นคงในการประกอบอาชีพ และจะเห็นได้ว่าแรงจูงใจด้านสังคม มีค่าเฉล่ียน้อยกว่าด้านอ่ืน อาจ
เป็นเพราะนักศึกษามุ่งเน้นในการท่ีจะพัฒนาคุณภาพของตัวเองมากกว่า เม่ือพิจารณาเป็นรายด้าน
พบว่า 1) ด้านเหตุผลส่วนตัว นักศึกษามีแรงจูงใจในการเลือกเข้าศึกษาต่อ โดยรวม อยู่ในระดับมาก มี
ค่าเฉลี่ย (X̅ = 4.25) และค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.= 0.41) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า นักศึกษา
มีแรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกเข้าศึกษาต่อในเรื่องค่าเทอมมีอัตราท่ีเหมาะสมไม่แพง อยู่ในระดับมาก
ที่สุด มีค่าเฉลี่ย (X̅ = 4.79) และค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.= 0.41) รองลงมาคือเร่ืองเป็นวิชาชีพท่ี
สามารถพัฒนาเองไปสู่ความก้าวหน้า อยู่ในระดับมากท่ีสุด มีค่าเฉลี่ย (X̅ = 4.68) และค่าเบ่ียงเบน
มาตรฐาน (S.D.= 0.47) ต่อมาคือเร่ืองสามารถนาความรู้ที่ได้ใช้ในชีวิตประจาวัน อยู่ในระดับมาก มี
ค่าเฉลย่ี (X̅ = 4.47) และคา่ เบยี่ งเบนมาตรฐาน (S.D.= 0.51) ต่อมาคอื เร่ืองค่าใช้จ่ายนอกเหนือจากค่า
เทอมไม่สูงเมื่อเทียบกับมหาวิทยาลัยอื่น อยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ย (̅X = 4.26) และค่าเบี่ยงเบน
มาตรฐาน (S.D.= 0.45) ต่อมาคือเรื่องมีหลักสูตรและสาขาวิชาตรงตามความต้องการของนักศึกษา อยู่
ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ย (̅X = 4.12) และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.= 0.33) ต่อมาคือเรื่องสาขาวชิ าที่
เลือกเรียนมีความเหมาะสมกับความรู้ความสามารถของตนเอง อยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ย (X̅ = 3.91)
และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.= 0.25) และมีความประทับใจบุคคลที่ประสบผลสาเร็จเมื่อสาเร็จ
การศกึ ษาไปแลว้ อยใู่ นระดบั มาก มคี า่ เฉล่ีย (̅X = 3.53) และค่าเบย่ี งเบนมาตรฐาน (S.D.= 0.51) ทัง้ นี้
อาจเป็นเพราะวิทยาลัยศาสนศาสตร์เฉลิมพระเกียรติกาฬสินธุ์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย มี
อัตราค่าเทมอท่ีถูกมาก เม่ือเทียบกับมหาวิทยาลัยอื่น ๆ จึ่งทาให้ระดับแรงจูงใจในเรื่องค่าเทอมมีอัตรา
ท่ีเหมาะสมไม่แพง มีค่าเฉลี่ยสูงท่ีสุด 2) ด้านการประกอบอาชีพ นักศึกษามีแรงจูงใจในการเลือกเข้า
ศึกษาต่อ โดยภาพรวม อยู่ในระดับมากท่ีสุด มีค่าเฉล่ีย (̅X = 4.58) และค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.=
0.48) เม่ือพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า นักศึกษามีแรงจูงใจในการเลือกเข้าศึกษาต่อในเรื่องเมื่อสาเร็จ
การศึกษาสามารถเลอื กงานได้ตรงกับความต้องการของตนเองได้ อยู่ในระดับมากท่ีสุด มีค่าเฉลี่ย (̅X =
4.68) และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.= 0.47) รองลงมาคือเรื่องเป็นวิชาชีพที่สามารถหารายได้ให้กับ

208

ตนและครอบครัว อยใู่ นระดบั มากท่สี ุด มคี ่าเฉลี่ย (X̅ = 4.65) และคา่ เบีย่ งเบนมาตรฐาน (S.D.= 0.45)
ต่อมาคือเร่ืองต้องการประสบผลสาเร็จในวิชาชีพที่เลือกเรียน อยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าเฉล่ีย (X̅ =
4.59) และค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.= 0.50) ต่อมาคือเร่ืองสาขาที่เลือกเรียนเป็นที่ต้องการของ
ตลาดแรงงานในปัจจุบันและอนาคต อยู่ในระดับมากท่ีสุด มีค่าเฉล่ีย (̅X = 4.58) และค่าเบี่ยงเบน
มาตรฐาน (S.D.= 0.50) ต่อมาคือเรื่องเป็นสาขาวิชาที่มีความก้าวหน้าในการประกอบอาชีพ อยู่ใน
ระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ย (X̅ = 4.56) และค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.= 0.50) และเป็นสาขาวชิ าทีห่ า
งานทาได้ง่าย อยูใ่ นระดบั มาก มคี า่ เฉลย่ี (X̅ = 4.47) และค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.= 0.51) อาจเป็น
เพราะว่านักศึกษาท่ีเลือกเรียนในวิทยาลัยศาสนศาสตร์เฉลิมพระเกียรติกาฬสินธุ์ คาดหวังว่าจะนาวุฒิ
การศกึ ษาที่สาเร็จจากสถาบันการศึกษาแห่งนี้ไปประกอบอาชีพเพ่ือความก้าวหนา้ ในอนาคตของตนเอง
ได้ 3) ด้านสังคม นักศึกษามีแรงจูงใจในการเลือกเข้าศกึ ษาต่อ โดยรวม อยูใ่ นระดับมาก มีคา่ เฉลยี่ (X̅ =
4.10) และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.= 0.53) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า นักศึกษามีแรงจูงใจใน
การเลือกเข้าศึกษาต่อในเร่ืองสาขาวิชาท่ีเลือกเรียนมีความเหมาะสมกับสภาพสังคมในปัจจุบัน อยู่ใน
ระดับมากที่สุด มีค่าเฉล่ีย (X̅ = 4.51) และค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.= 0.56) รองลงมาคือเรื่องเป็น
วิชาชีพที่ได้รับการยกย่องว่าต้องใช้ความรู้และความสามารถ อยู่ในระดับมาก มีค่าเฉล่ีย (X̅ = 4.35)
และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.= 0.49) ต่อมาคือเรื่องทาให้มีความรู้ก้าวทันกับการเปล่ียนแปลงของ
สังคม อยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ย (̅X = 4.26) และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.= 0.63) ต่อมาคือเรื่อง
เป็นวชิ าชีพทท่ี าให้มีชอ่ื เสียงในสังคม อยใู่ นระดบั มาก มีคา่ เฉลี่ย (X̅ = 4.03) และคา่ เบ่ียงเบนมาตรฐาน
(S.D.= 0.67) ต่อมาคือเร่ืองเป็นวิชาชีพท่ีมีความสาคัญต่อการพัฒนาสังคม อยู่ในระดับมาก มีค่าเฉล่ีย
(X̅ = 3.91) และค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.= 0.25) และต้องการนาความรู้ใหม่ๆ ท่ีได้เรียนไปพัฒนา
สังคม อยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ย (X̅ = 4.47) และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.= 0.51) ซ่ึงการที่
นักศึกษามีระดังแรงจูงใจในเรื่องสาขาวิชาที่เลอื กเรียนมคี วามเหมาะสมกับสภาพสังคมในปัจจุบนั อยู่ใน
ระดับสูงที่สุดน้ัน อาจเป็นเพราะว่านักศึกษามีความม่ันใจในหลักสูตรและสาขาวิชาที่เลือกเรียนว่าจะ
สามารถนาไปสอบบรรจุเป็นข้าราชการได้ 4) ด้านบุคคลท่ีเก่ียวข้อง นักศึกษามีแรงจูงใจในการเลือก
เข้าศึกษาต่อ โดยยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าเฉล่ีย (̅X = 4.53) และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.=
0.60) เมอ่ื พจิ ารณาเป็นรายข้อพบว่า นักศึกษามีแรงจงู ใจในการเลือกเข้าศกึ ษาต่อในเรื่องผปู้ กครองของ
นักศึกษาแนะนาให้ศึกษาต่อในมหาวทิ ยาลัยแห่งน้ี อยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ย (X̅ = 4.59) และค่า
เบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.= 0.54) รองลงมาคือเร่ืองครูท่ีปรึกษาเป็นผู้แนะนาให้เลือกเข้าศึกษาต่อใน
มหาวิทยาลัยแห่งนี้ อยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ย (̅X = 4.57) และค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.=
0.63) ต่อมาคือเร่ืองรุ่นพ่ีท่ีมหาวิทยาลัยแห่งนี้เป็นผู้แนะนาให้เข้าศึกษาต่อ อยู่ในระดับมากท่ีสุด มี
ค่าเฉล่ีย (X̅ = 4.56) และค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.= 0.57) ต่อมาคือผู้ปกครองหรือญาติเคยศึกษาที่
มหาวิทยาลัยแห่งนี้ อยู่ในระดับมากท่ีสุด มีค่าเฉลี่ย (̅X = 4.54) และค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.=
0.54) ต่อมาคือเรื่องครูแนะแนวท่ีโรงเรียนเดิมเป็นผู้แนะนาให้เลือกศึกษาต่อในมหาวิทยาลัยแห่งน้ี อยู่
ในระดับมากที่สุด มีค่าเฉล่ีย (̅X = 4.53) และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.= 0.63) ต่อมาคือเร่ืองเพ่ือน
สนิทเลือกเข้าศึกษาต่อในมหาวิทยาลัยแห่งนี้ อยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ย (X̅ = 4.51) และค่า
เบย่ี งเบนมาตรฐาน (S.D.= 0.62) และบคุ คลท่นี ักศกึ ษาประทับใจ (Idol) เปน็ ศษิ ยเ์ กา่ ของมหาวทิ ยาลัย
แห่งนี้ อยใู่ นระดบั มาก มีค่าเฉล่ีย (X̅ = 4.44) และคา่ เบีย่ งเบนมาตรฐาน (S.D.= 0.68)

209

แรงจงู ใจดา้ นอื่นๆ หรือขอ้ เสนอแนะอ่ืนๆ ท่เี ป็นแรงจูงใจให้ตัดสินใจเลือกศึกษาตอ่ พบว่า เป็น
สถาบันการศึกษาท่ีเปิดโอกาสให้พระภิกษุและสามเณรได้ศึกษาในระดับอุดมศึกษา เน้นวิชาการตาม
แนวพระพทุ ธศาสนา เนน้ ทานุบารุงศลิ ปวัฒนธรรม เมื่อสาเร็จการศกึ ษาแลว้ จะสามารถวฒุ กิ ารศึกษาไป
สอบบรรจุเป็นข้าราชการได้ มีอาชีพที่ม่ันคง มีเงินเดือนเล้ียงครอบครัวได้เป็นสถาบันการศึกษาอันเปน็
ท่ียอมรับของสังคม เพราะในเขตจังหวัดกาฬสินธ์ุมีผู้ที่สาเร็จการศึกษาจากสถาบันแห่งน้ีแทบทุก
หน่วยงานทั้งหน่วยงานของรัฐและหน่วยงานเอกชน นักศึกษาส่วนใหญ่บิดา-มารดา ผู้ปกครอง มีฐานะ
ค่อนข้างยากจน การท่ีสถาบันแห่งนี้มีค่าเล่าเรียนถูก ทาให้บิดา-มารดา ผู้ปกครอง มีกาลังทุนทรัพย์
พอที่จะสง่ บตุ ร-หลานใหเ้ รยี นจบได้

แหลง่ อ้างองิ
เกศรินทร์ งามเลิศ. (2559). แรงจูงใจท่ีมีผลต่อประสิทธิภาพในการทางานของพนักงาน และลูกจ้าง

องค์การคลังสนิ คา้ . บัณฑติ วทิ ยาลยั มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.
ฉัตรชฎา จับปรั่ง. (2554). ปัจจัยท่ีมีผลต่อความพึงพอใจในการทางานของพนักงานธนาคารพาณิชย์

ในเขตอาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่. รายงานวิชาการค้นคว้าอิสระ ปริญญามหาบัณฑิต.
มหาวทิ ยาลัยเชียงใหม่.
นัชชา สุวรรณวงศ์. (2560). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจเลือกเข้าศึกษาต่อระดับปริญญาตรีใน
มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอสี าน นครราชสีมา (ระบบโควตา) ประจาปกี ารศึกษา 2560.
งานบริหารงานท่ัวไป สานักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช
มงคลอีสาน.
ทิมมิกา เรืองเนตร. (2558) ภาวะผู้นากับแรงจูงในในการทางานของพนักงาน บริษัท ไทยฟู้ดส์กรุ๊ป
จากัด. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลอลงกรณ์ ในพระบ รม
ราชปู ถัมภ์.
บญุ ชม ศรสี ะอาด. (2545). การวจิ ยั เบอ้ื งต้น. พมิ พค์ รัง้ ท่ี 7. กรงุ เทพฯ: สวุ ีรยิ าสาสน์.
มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาลัยศาสนศาสตร์เฉลิมพระเกียรติกาฬสินธ์ุ, (2557). คู่ มือ
นักศึกษาระดบั ปริญญาตรี. กาฬสนิ ธ์:ุ กาฬสนิ ธก์ุ ารพมิ พ์.
เมธาวี สุขปาน. (2556). ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสนิ ใจเลือกศึกษาต่อในหลักสูตรประกาศนียบตั รวชิ าชีพ
ช้ันสูง (ปวส.) ของนักเรียน กรณีศึกษาวิทยาลัยพณิชยการธนบุรี. เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต.
มหาวทิ ยาลยั ธรุ กิจบณั ฑิต.
วิเชยี ร เกตสุ งิ ห์. (2552). คา่ เฉล่ยี กับการแปรความหมาย : เร่อื งง่ายๆ ท่ีบางครง้ั ก็พลาดได้.สบื คน้ เมื่อ
วันที่ 12 กนั ยายน 2555, จาก http:www.thaiedresearch.org/artcle/detail.php?id=92/
ศริ บิ ูรณ์ สายสมุ . (2548). จิตวทิ ยาศกึ ษา. กรุงเทพฯ: สานักพมิ พม์ หาวิทยาลัยรามคาแหง.
สานักงานคณะกรรมการศึกษาแห่งชาติ. (2529). แผนการพัฒนาการศึกษาแห่งชาติ (ฉบับท่ี 6) พ.ศ.
2530-2534. กรุงเทพฯ: รุ่งเรืองสาสน์ การพมิ พ์.

210

คณุ ภาพตามมาตรฐานผลการเรียนรขู้ องนักศึกษาปฏิบัติการสอนในสถานศกึ ษา
วทิ ยาลยั ศาสนศาสตรเ์ ฉลิมพระเกียรติกาฬสินธ์ุ มหาวทิ ยาลัยมหามกฏุ ราชวิทยาลยั

QUALITY OF LEARNING OUTCOMES OF THE INTERNS AT MAHAMAKUT BUDDHIST
UNIVERSITY, KALASIN BUDDHIST COLLEGE.

วิชิต นาชัยสินธ์ุ
มหาวิทยาลยั มหามกุฏราชวิทยาลยั วทิ ยาลัยศาสนศาสตรเ์ ฉลมิ พระเกยี รติกาฬสินธ์ุ

เขมนิ ทรา ตนั ธิกลุ , ทิตติยา มน่ั ดี
มหาวิทยาลยั มหามกุฏราชวิทยาลยั วทิ ยาเขตลา้ นนา

บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งน้ี เพื่อศึกษาคุณภาพตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ของนักศึกษาปฏิบัติการสอนใน

สถานศึกษา วิทยาลัยศาสนศาสตร์เฉลิมพระเกียรติกาฬสินธ์ุ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ปี
การศึกษา 2561 และเพ่ือเป็นข้อมูลในการเสนอแนะแนวทางการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาให้มี
คุณภาพและเป็นแนวทางการปรับปรุงหลักสูตรให้สอดคล้องกับมาตรฐานผลการเรียนรู้ตามกรอบคุณวุฒิ
ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ ประชากรกลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษาในโรง จานวน 23 คน ครูพ่ี
เล้ียงจานวน 36 คน อาจารย์นิเทศจานวน 20 รูป/คน และนักศึกษาปฏิบัติการสอน จานวน 36 รูป/คน
รวม 115 รูป/คน ซ่ึงใช้แบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูล ผลการวิจัยพบว่า นักศึกษาปฏิบัติการ
สอนในสถานศึกษามีระดับคุณภาพตามมาตรฐานผลการเรียนรู้โดยรวมทั้ง 6 ด้าน อยู่ในระดับมาก (มี
ค่าเฉล่ีย = 4.39, S.D.= 0.51) โดยรายด้านพบว่า ดา้ นทักษะทางปัญญาอย่ใู นระดบั มากท่ีสดุ (มีค่าเฉล่ีย
= 4.61, S.D.= 0.49) ด้านทักษะในการคิดวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศ (มีค่าเฉลี่ย = 4.61, S.D.= 0.48) ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความ
รับผดิ ชอบ (มีคา่ เฉลีย่ = 4.52, S.D.= 0.51) ดา้ นคุณธรรมและจรยิ ธรรม (มีคา่ เฉลีย่ 4.49, S.D.= 0.47)
ด้านความรู้ มีค่าเฉล่ีย = 4.43, S.D.= 0.61) และด้านทักษะการจัดการความรู้ มีค่าเฉลี่ย = 3.68,
S.D.= 0.53) ตามลาดับ

แนวทางการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาให้มีคุณภาพและแนวทางการปรับปรุงหลักสูตรให้
สอดคลอ้ งกับมาตรฐานผลการเรยี นรู้ตามกรอบคุณวฒุ ิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ นกั ศึกษาควรไดเ้ ข้ารับ
การอบรมกจิ กรรมเสริมหลักสูตรเพ่ือพฒั นาคุณธรรมจริยธรรมและเสริมความเป็นครูอยา่ งต่อเนอ่ื ง ควร
ได้นาเสนอความก้าวหน้าในการปฏิบัติการสอน จัดให้มีกิจกรรมการนิเทศการสอนเพื่อความเข้าใจท้ัง
ภาคทฤษฎีและภาคปฏบิ ัติ

คาสาคญั : คุณภาพ, มาตรฐานผลการเรียนรู้, ปฏบิ ตั ิการสอน

Abstract
This research is to study the Quality of Learning Outcomes for the Interns at the

Mahamakut Buddhist University, Kalasin Buddhist College, during the academic year
2018. The adjective is to provide a data that can guide teaching practices in educational
institutions to ensure quality and to serve as a guideline for curriculum improvement in
accordance with the learning standards found within the National Higher Education

211

Qualifications Framework. The sample population consists of 23 school administrators,
36 mentors, 20 supervisors and 36 students, teacher, totaling 115 individuals receiving
the questionnaires for data collection. The research found that students performing
teaching in educational institutions have a high quality level based on their performance
in the six areas representing the overall learning standard (with average = 4.39, S.D. =
0 . 5 1 ) . The intellectual skills were at the highest level in numerical analytical skills
average = 4.61, S.D. = 0.49. Results in the other areas were communication and use of
information technology ( with average = 4 . 6 1 , SD = 0 . 4 8 ) ; interpersonal skills and
responsibility (with mean = 4.52, SD = 0.51); morality and ethics (with a mean of 4.49,
SD = 0.47) Knowledge, average = 4.43, SD = 0.61); and knowledge management skills
have average = 3.68, SD = 0.53)

The results supported development of guidelines for both teaching practices in
schools to increase the quality and for curriculum improvement in accordance with the
National Higher Education Qualifications Framework learning standards. Student
teachers should receive training in extra- curricular activities to develop morality, ethics
and to enhance teachership. School Administrators should present student teachers
with advances in teaching practice and provide supervision and teaching activities that
encompass both theoretical and practical understanding.

Key words : Quality, learning standards, teaching practice

บทนา
คณะกรรมการการอดุ มศึกษามหี นา้ ท่ีหลักสาคัญในการพิจารณาเสนอนโยบายแผนพฒั นา และ

มาตรฐานการอุดมศึกษาให้สอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติและแผนการศึกษา
แห่งชาติ โดยคานึงถึงความเป็นอิสระและความเป็นเลิศทางวิชาการของสถาบันศึกษาระดับอุดมศึกษา
โดยได้จัดทามาตรฐานการอุดมศึกษาและเกณฑ์มาตรฐานต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อส่งเสริมให้
สถาบันอุดมศึกษาได้พัฒนาด้านวิชาการและวิชาชีพ รวมทั้งการพัฒนาคุณภาพและยกระดับมาตรฐาน
ในการจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาให้มีความทัดเทียมกันและได้ประกาศใช้เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร
ต่างๆ มาอย่างต่อเนื่อง ซึ่งปัจจุบันได้มีประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เร่ืองเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร
ระดับต่างๆ พ.ศ. 2548 เพ่ือประโยชน์ในการรักษามาตรฐานวิชาการและวิชาชีพเป็นส่วนหน่ึงของ
เกณฑ์การรับรองวิทยฐานะและมาตรฐานการศึกษา โดยสถาบันอุดมศึกษาท่ีเปิดดาเนินการหลักสูตร
ใหม่หรือหลักสูตรปรับปรุงต้องใช้เกณฑ์มาตรฐานหลักสตู ร พ.ศ. 2558 เป็นหลักในการพัฒนาหลกั สตู ร
และดาเนินการให้เป็นไปตามเกณฑม์ าตรฐานหลกั สตู รดงั กล่าว

พันธกิจท่ีสาคัญท่ีสุดของสถาบันอุดมศึกษาคือ การผลิตบัณฑิต หรือการจัดกิจกรรมการเรียน
การสอนให้ผู้เรียนมีความรู้ในวิชาการและวิชาชีพ มีคุณลักษณะตามหลักสูตรที่กาหนด บัณฑิต
ระดับอุดมศึกษาจะต้องเป็นผู้มีความรู้ มีคุณธรรมจริยธรรม มีความสามารถในการเรียนรู้และพัฒนา
ตนเอง สามารถประยกุ ต์ใช้ความรเู้ พ่ือการดารงชีวิตในสงั คมได้อยา่ งมคี วามสุขท้งั ทางร่างกายและจิตใจ

212

มีความสานึกและความรับผิดชอบในฐานะพลเมืองและพลโลก มีคุณลักษณะตามอัตลักษณ์ของ
สถาบันอดุ มศกึ ษา

สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาในฐานะท่ีเป็นหน่วยงานในการกากับและส่งเสริมกา ร
ดาเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา ได้จัดทามาตรฐานต่างๆ ท่ีเก่ียวข้องกับการผลิตบัณฑิต เช่น เกณฑ์
มาตรฐานหลักสูตร กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ เพ่ือมุ่งเน้นเป้าหมายการจัด
การศึกษาที่ผลการเรียนรู้ของนักศึกษา ซึ่งเป็นการประกันคุณภาพบัณฑิตที่ได้รับคุณวุฒิแต่ละคุณวุฒิ
และสื่อสารให้สังคม ชุมชน รวมท้ังหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต่างๆ ได้เชื่อม่ันถึงคุณภาพของบัณฑิตที่ผลิต
ออกมาเปน็ ไปตามท่ีกาหนดไว้ในผลลัพธ์การเรียนรู้ในแต่ละหลกั สูตร

วิทยาลัยศาสนศาสตร์เฉลมิ พระเกียรติกาฬสินธ์ุยังได้กาหนดมาตรฐานผลการเรียนรู้แตล่ ะดา้ น
ของคุณวุฒิระดับปริญญาตรี ให้สอดคล้องกับมาตรฐานผลการเรียนรู้ท่ีกาหนดไว้ในหลักสูตร (คณะ
ศึกษาศาสตร์, มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย มคอ.2 หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการ
สอนพระพทุ ธศาสนา, หลักสตู รปรับปรงุ 2554) 6 ด้านดังน้ี

1. ผลการเรียนรู้ด้านคุณธรรมจริยธรรม จะต้องเป็นผู้ท่ีมีคุณธรรมจริยธรรมสาหรับครู เช่น
กัลยาณมิตรธรรม 7 จรรยาบรรณวิชาชพี ที่กาหนดโดยองค์การวิชาชีพ คือ คุรุสภา มีวินัย ตรงต่อเวลา
ซ่ือสัตย์สุจริต และมีความรับผิดชอบเพื่อสร้างสรรค์สังคมให้น่าอยู่ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็น
ของผอู้ น่ื ยอมรบั ในคุณค่าของความแตกตา่ ง

2. ผลการเรียนรู้ด้านความรู้ จะต้องเป็นผู้ที่มีความรู้ทางวิชาชีพครูบูรณาการความรู้วชิ าชีพครู
ให้ครอบคลุมเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพของคุรุสภา ความรู้เชิงบูรณาการระหว่างวิชาชีพครูกับวิชาเฉพาะ
จะต้องบูรณาการระหว่างวิชาชีพครูกับวิชาเฉพาะให้ครอบคลุมด้าน หลักการและทฤษฎีสาคัญทาง
พระพุทธศาสนาจิตวิทยาครู การพัฒนาหลักสูตร การจัดการเรียนรู้ การจัดการชั้นเรียน นวัตกรรม
เทคโนโลยีสารสนเทศ และการวัดประเมินผลการศกึ ษา

3. ผลการเรยี นรู้ด้านทกั ษะทางปัญญา มีความสามารถคิดค้นหาขอ้ เท็จจรงิ ทาความเขา้ ใจและ
ประเมินข้อมูลสารสนเทศ และแนวคิดจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายเพื่อนามาใช้ในการปฏิบัติการสอน
และงานครูรวมท้ังการวินิจฉัยผู้เรียนและการวิจัยเพื่อพัฒนาผู้เรียนสามารถคิดแก้ปัญหาในการจัดการ
เรยี นรูท้ ม่ี คี วามสลับซบั ซ้อน เสนอทางออกและนาไปสกู่ ารแก้ไขได้อยา่ งสร้างสรรค์ และมคี วามเป็นผ้นู า
ทางปญั ญาในการคดิ พฒั นาการจัดการเรยี นรอู้ ย่างสรา้ งสรรค์และมวี สิ ัยทัศน์

4. ผลการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ จะต้องมีภาวะ
ผู้นา มีความคิดริเร่ิมในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพ้ืนฐานของตนเองและของกลุ่ม
ตระหนักในความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวฒั นธรรม สามารถทางานรว่ มกับ ผอู้ ่นื ได้ดี มี
ความสัมพันธ์ที่ดีกับผู้เรียน เป็นผู้นาและผู้ตามที่มีความรับผิดชอบต่อส่วนรวม ท้ังด้านเศรษฐกิจ สังคม
และสงิ่ แวดลอ้ ม

5. ผลการเรียนรู้ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การส่ือสารและการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ
จะต้องมีความไวในการวเิ คราะห์และเข้าใจข้อมลู สารสนเทศท่ีได้รบั จากผู้เรียนอย่างรวดเรว็ ท้งั ท่เี ป็นตัวเลข
เชิงสถิติหรือคณิตศาสตร์ ภาษาพูดหรือภาษาเขียน มีความสามารถในการใช้ดุลยพินิจท่ีดีในการ
ประมวลผล แปลความหมาย และเลอื กใชข้ ้อมูลสารสนเทศเก่ียวกบั วิชาที่สอน และงานครูท่รี ับผิดชอบโดย
ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้ดี มีความสามารถในการใช้คอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การ
แสวงหาความรู้ ด้วยตนเอง การจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลและการนาเสนอข้อมูลสารสนเทศ

213

6. ผลการเรียนรู้ด้านด้านทักษะพิสัย มีความสามารถในการผลิตและประยุกต์ใช้นวัตกรรม
และไอที (IT) ทางการศึกษาได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย มีความสามารถในการใช้ทักษะทางภาษาทัง้
วจนะภาษาและอวัจนภาษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีความสามารถในการใช้ทักษะการนาเสนอ กล้า
คิด กลา้ ทาและกล้าแสดงออก

วิทยาลัยศาสนศาสตร์เฉลิมพระเกียรติกาฬสินธ์ุให้ความสาคัญต่อการผลิตบัณฑิตให้เป็นผู้ที่มี
ความขยัน ซ่ือสัตย์ ประหยัด อดทน และมีความรับผิดชอบ เป็นผู้ที่มีความรู้คู่คุณธรรมมาโดยตลอด
เพ่ือผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพออกสู่สังคมตามท่ีสังคมไทยในยุคปัจจุบันต้องการดังปรัชญาของ
มหาวิทยาลัยคือ "ความเป็นเลศิ ทางวชิ าการ ตามแนวพระพุทธศาสนา" อย่างไรก็ตามเพื่อให้การพัฒนา
มาตรฐานและคุณภาพของบัณฑิตสอดคล้องกับความต้องการของสังคมท่ีเปลี่ยนแปลงไป การศึกษา
เก่ียวกับคุณภาพตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ของนักศึกษาปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา มหาวิทยาลัย
มหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาลัยศาสนศาสตร์เฉลิมพระเกียรติกาฬสินธ์ุ จึงเป็นวิธีการหนึ่งในการ
ตรวจสอบคุณภาพของบณั ฑิตทส่ี าเร็จการศึกษาจากมหาวิทยาลัยมหามกฏุ ราชวิทยาลัย วทิ ยาลัยศาสน
ศาสตร์เฉลิมพระเกียรติกาฬสินธ์ุ ซ่ึงผลจากการศึกษาจะเป็นประโยชน์ต่อการวางแผนและพัฒนาการ
เรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพมากย่ิงข้ึน รวมทั้งจะเป็นประโยชน์ต่อการวางแผนเข้าสู่ตลาดแรงงาน
ของนกั ศึกษาทจี่ ะสาเรจ็ การศกึ ษาต่อไป

วัตถปุ ระสงค์ของการวิจยั
1. เพื่อศกึ ษาคุณภาพตามมาตรฐานผลการเรียนร้ขู องนักศกึ ษาปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา
2. เพ่ือศึกษาข้อเสนอแนะแนวทางการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาให้มีคุณภาพและแนว

ทางการปรับปรุงหลักสูตรสอดให้คล้องกับมาตรฐานผลการเรียนรู้ตามกรอบคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา
แห่งชาติ

ประชากรและกลุ่มตวั อยา่ ง
ประชากรท่ีใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ ผู้บริหารสถานศึกษาจานวน 23 คน ครูพ่ีเลี้ยงจานวน 36 คน

อาจารย์นิเทศก์จานวน 20 รูป/คน และนักศึกษาปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา จานวน 36 รูป/คน รวม
ทั้งสนิ้ 115 รูป/คน

กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งน้ี คือ ผู้บริหารสถานศึกษา จานวน 21 คน ครูพ่ีเล้ียง จานวน
33 คน อาจารย์นิเทศก์ จานวน 19 รูป/คน และนักศึกษาปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา จานวน 33
รูป/คน รวมทั้งสนิ้ 106 คน

เครอ่ื งมือทีใ่ ช้ในการวจิ ัย
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคร้ังนี้เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับคุณภาพมาตรฐานผลการเรียนรู้ของ

นักศึกษาปฏิบตั ิการสอนในสถานศึกษา แบ่งออกเป็น 3 ตอน คอื ตอนที่ 1 เปน็ ข้อคาถามเก่ยี วกบั ข้อมูล
ทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ตอนท่ี 2 เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับคุณภาพมาตรฐานผลการเรียนร้ขู อง
นกั ศกึ ษาปฏบิ ัติการสอนในสถานศึกษาโดยมลี ักษณะเป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า (Rating
Scale) 5 ระดับ ซึ่งผู้วิจัยได้กาหนดค่าน้าหนักคะแนนไว้ 5 ระดับ ให้ผู้ตอบแบบสอบถามเลือก คือ 1
หมายถึง มีคุณภาพมาตรฐานผลการเรียนรู้อยู่ในระดับน้อยท่ีสุด ไปจนถึงระดับ 5 หมายถึง มีคุณภาพ

214

มาตรฐานผลการเรยี นรอู้ ยใู่ นระดบั มากที่สุด และกาหนดเกณฑเ์ พื่อการแปลความหมายคา่ คะแนนเฉลี่ย
ของคะแนน 5 ระดบั โดยคา่ คะแนนเฉล่ีย 4.51 -5.00 หมายถึง มีคณุ ภาพมาตรฐานผลการเรียนรู้อยู่ใน
ระดับมากทสี่ ุด คา่ คะแนนเฉลี่ย 3.51 -4.50 หมายถึง มีคุณภาพมาตรฐานผลการเรยี นร้อู ยใู่ นระดับมาก
ค่าคะแนนเฉลี่ย 2.51 -3.50 หมายถึง มีคุณภาพมาตรฐานผลการเรียนรู้อยู่ในระดับปานกลาง ค่า
คะแนนเฉลี่ย 1.51 -2.50 หมายถึง มีคุณภาพมาตรฐานผลการเรียนรู้อยู่ในระดับน้อย ค่าคะแนนเฉล่ีย
1.00 -1.10 หมายถึง มีคุณภาพมาตรฐานผลการเรียนรู้อยู่ในระดับน้อยที่สุด ตอนท่ี 3 เป็น
แบบสอบถามปลายเปิดเกี่ยวกับข้อมูลเพื่อเสนอแนะแนวทางการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาให้มี
คุณภาพและแนวทางการปรับปรุงหลักสูตรสอดให้คล้องกับมาตรฐานผลการเรียนรู้ตามกรอบคุณวุฒิ
ระดบั อดุ มศกึ ษาแหง่ ชาติ

วิธีวเิ คราะหข์ อ้ มูล
ผู้วิจัยดาเนินการประมวลผลข้อมูล โดยใช้สถิติเชิงพรรณนา การวิเคราะห์ข้อมูลท่ัวไปของ

ผู้ตอบแบบสอบถามในส่วนที่เก่ียวกับ เพศ สถานภาพ และตาแหน่ง โดยการหาค่าร้อยละ
(Percentage) และค่าความถ่ี (Frequency) การวิเคราะห์ข้อมูลท่ีเก่ียวกับคุณภาพตามมาตรฐานผล
การเรียนรู้ของนักศึกษาปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา โดยรวมและเป็นรายด้าน โดยการหาค่าคะแนน
เฉล่ยี (Mean) และคา่ สว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) การวิเคราะห์ขอ้ มลู ข้อเสนอแนะ
แนวทางการปฏบิ ัติการสอนในสถานศึกษาให้มีคุณภาพและแนวทางการปรบั ปรุงหลกั สูตรสอดให้คลอ้ ง
กับมาตรฐานผลการเรียนรู้ตามกรอบคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ โดยสถิติท่ีใช้ในการวิเคราะห์
ข้อมลู คือ สถิตเิ ชงิ บรรยาย

ผลการวิจยั
ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ผลการวิจัยพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศ

หญิง จานวน 78 คน คิดเป็นร้อยละ 73.58 และเป็นเพศชายจานวน 28 รูป/คน คิดเป็นร้อยละ 26.42
ส่วนใหญ่มีสถานภาพเป็นคฤหัสถ์จานวน 91 คน คิดเป็นร้อยละ 85.84 และเป็นบรรพชิต จานวน 15
รปู คิดเป็นร้อยละ 14.16 ส่วนใหญเ่ ปน็ ครูพ่เี ลย้ี ง จานวน 33 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 31.13 และนักศึกษา
จานวน 33 รูป/คน คิดเป็นร้อยละ 31.13 รองลงมาเป็นผู้บริหารสถานศึกษา จานวน 21 คน คิดเป็น
รอ้ ยละ 19.82 และเป็นอาจารย์นเิ ทศ 19 คน คิดเป็นร้อยละ 17.92

ข้ อ มู ล ผ ล ข อ ง คุ ณ คุ ณ ภ า พ ต า ม ม า ต ร ฐ า น ผ ล ก า ร เ รี ย น รู้ ข อ ง นั ก ศึ ก ษ า ป ฏิ บั ติ ก า ร ส อ น ใ น
สถานศึกษา ผลการวิจัยพบว่า ระดับคุณภาพตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ของนักศึกษาปฏิบัติการสอน
ในสถานศึกษา ด้านคุณธรรมจริยธรรม อยู่ในระดับมาก มีค่าเฉล่ีย (̅X = 4.49) และค่าเบ่ียงเบน
มาตรฐาน (S.D.= 0.47) โดยนักศึกษาปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาส่วนใหญ่มีคุณภาพตามมาตรฐาน
ผลการเรยี นรู้ในเรื่องมีวินยั ตรงตอ่ เวลา ซอื่ สัตยส์ ุจรติ และมคี วามรับผิดชอบเพ่ือสร้างสรรค์สังคม ให้
นา่ อยู่ ด้านความรู้ อย่ใู นระดบั มาก มีคา่ เฉลี่ย (X̅ = 4.43) และคา่ เบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.= 0.61) โดย
นักศึกษาปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาส่วนใหญ่มีคุณภาพตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ ในเรื่องมีความรู้
ความเข้าใจเกยี่ วกับหลักการ ทฤษฎี และเนื้อหา ด้านทกั ษะทางปัญญา อยูใ่ นระดบั มากที่สุด มีค่าเฉล่ีย
(X̅ = 4.61) และค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.= 0.49) โดยนักศึกษาปฏิบัติการสอนในสถานศึกษามี
คุณภาพตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ในเร่ืองสามารถคิดค้นหาข้อเท็จจริง ทาความเข้าใจและประเมิน
ข้อมูลสารสนเทศ และแนวคิดจากแหล่งข้อมูลท่ีหลากหลายเพ่ือนามาใช้ในการ ปฏิบัติการสอน และ

215

งานครูรวมท้ังการวินิจฉัยผู้เรียนและการวิจัยเพื่อพัฒนาผู้เรียน ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล
และความรับผิดชอบ อยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ย (X̅ = 4.52) และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.=
0.51) โดยนกั ศึกษาปฏบิ ัตกิ ารสอนในสถานศึกษามคี ุณภาพตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ในเรื่องตระหนัก
ในความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทางานร่วมกับ ผู้อ่ืนได้ดี ด้านทักษะใน
การคดิ วเิ คราะห์เชงิ ตัวเลข การสอ่ื สารและการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ อย่ใู นระดับมากทสี่ ุด มคี า่ เฉล่ยี
(X̅ = 4.61) และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.= 0.48) โดยนักศึกษาปฏิบัติการสอนในสถานศึกษามี
คณุ ภาพตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ในเร่ืองมีความสามารถในการใช้ดลุ พินิจที่ดีในการประมวลผล แปล
ความหมาย และเลอื กใช้ ข้อมูลสารสนเทศเก่ยี วกบั วชิ าท่ีสอน และงานครูที่รับผิดชอบโดยใชเ้ ทคโนโลยี
สารสนเทศได้ดี ด้านทักษะพิสัย อยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ย (X̅ = 3.68) และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน
(S.D.= 0.53) โดยนักศึกษาปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาส่วนใหญ่มีคุณภาพตามมาตรฐานผลการ
เรียนรู้ในเร่ืองมีมีความสามารถในการผลิตและประยุกต์ใช้นวัตกรรมและไอที (IT) ทางการศึกษาได้
อย่างถกู ตอ้ งและปลอดภยั

แนวทางการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาให้มีคุณภาพและแนวทางการปรับปรุงหลักสูตรสอด
ให้คล้องกับมาตรฐานผลการเรียนรู้ตามกรอบคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ 1. ด้านคุณธรรม
จริยธรรมนักศกึ ษาควรสอดแทรกศีลธรรม คุณธรรมและจริยธรรม ในการปฏิบตั กิ ารสอน นักศกึ ษาควร
ได้เข้ารับการอบรมกิจกรรมเสริมหลักสูตรเพื่อพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม สถานศึกษาควรปฐมนิเทศ/
รายงานตวั นักศกึ ษากอ่ นเข้าปฏบิ ัติงานเพอื่ ให้นกั ศึกษาไดร้ ับทราบถึงกฎระเบียบ ข้อบงั คับ ข้อพึงปฏิบตั ิ
ของสถานศึกษา 2. ด้านความรู้นักศึกษาต้องปฏิบัติการสอนเต็มความสามารถของนักศึกษา ควรเปิด
โอกาสให้นักศึกษานาเสนอความก้าวหน้าในการปฏิบัติการสอน และนาเสนอผลงานเมื่อสิ้นสุดการ
ปฏิบัติการสอน 3. ด้านทักษะทางปัญญา สถานศึกษาจัดตารางสอนให้นักศึกษาปฏิบัติการสอนโดย
กาหนดช้ันท่ีจะปฏิบัติการสอน จัดให้มีกิจกรรมการนิเทศการสอนเพ่ือความเข้าใจทั้งภาคทฤษฎีและ
ภาคปฏิบัติ 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ผู้บริหารสถานศึกษาควร
มอบหมายงานให้นักศึกษาปฏิบัติในลักษณะการทางานเป็นทีมเพื่อสร้างสัมพันธ์ที่ดีระหว่างบุคคล 5.
ด้านทักษะในการคิดวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ควรมอบหมาย
งานท่ีเก่ียวข้องกับการศึกษาค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งต่างๆ ท้ังเอกสารและอิเล็กทรอนิกส์ โดยใช้
เทคโนโลยีสารสนเทศ ควรมอบหมายงานการวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูลท่ีได้จากการศึกษาโดยใช้
เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องเพื่อหาแนวทางในการแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม ควรมอบหมายงานท่ีต้องใช้
เทคโนโลยีในการนาเสนอผลงานท้ังระหว่างและเมื่อส้ินสุดการปฏบิ ัติงาน 6. ด้านทักษะพิสัย นักศึกษา
ควรได้เข้าร่วมกิจกรรมทางศาสนา เข้าค่ายคุณธรรม ค่ายปฏิบัติธรรมต่างๆ นักศึกษาควรได้เข้าร่วม
กิจกรรมเสริมความเป็นครู เป็นรายปีตลอดหลักสูตร นักศึกษาควรได้ฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูก่อน
ปฏิบตั กิ ารสอนในสถานศกึ ษา

สรุปและอภิปรายผล
นักศึกษาปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาของวิทยาลัยศาสนศาสตร์เฉลิมพระเกียรติกาฬสินธ์ุ

มหาวิทยาลัยมหามกฏุ ราชวิทยาลัย มีระดบั คณุ ภาพตามมาตรฐานผลการเรียนรโู้ ดยรวมท้ัง 6 ด้าน อยู่
ในระดับมาก มคี า่ เฉลีย่ (̅X = 4.39) และค่าเบีย่ งเบนมาตรฐาน (S.D.= 0.51) เมื่อพิจารณาเปน็ รายด้าน
พบว่า 1) ดา้ นคณุ ธรรมจริยธรรม นักศึกษาปฏิบตั ิการสอนในสถานศึกษา มรี ะดบั คุณภาพตามมาตรฐาน
ผลการเรียนรู้ด้านคุณธรรมจริยธรรม โดยรวม อยู่ในระดับมาก มีค่าเฉล่ีย (̅X = 4.49) และค่าเบ่ียงเบน

216

มาตรฐาน (S.D.= 0.47) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า นักศึกษาปฏิบัติการสอนในสถานศึกษามี
คณุ ภาพตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ในเร่อื งมวี ินยั ตรงต่อเวลา ซ่ือสตั ยส์ ุจรติ และมีความรบั ผิดชอบเพ่ือ
สรา้ งสรรค์สังคมใหน้ า่ อยู่ อยใู่ นระดับมากที่สดุ มคี ่าเฉล่ยี (̅X = 4.79) และคา่ เบยี่ งเบนมาตรฐาน (S.D.=
0.41) รองลงมาคอื เรื่องมีคุณธรรมจริยธรรมสาหรบั ครู เชน่ กลั ยาณมิตรธรรม 7 อย่ใู นระดบั มากท่สี ดุ มี
ค่าเฉลี่ย (X̅ = 4.59) และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.= 0.50) ต่อมาคือเรื่องมีจรรยาบรรณวิชาชีพ ที่
กาหนดโดยองค์การวิชาชีพ คือ คุรุสภา อยู่ในระดับมาก มีค่าเฉล่ีย (X̅ = 4.47) และค่าเบี่ยงเบน
มาตรฐาน (S.D.= 0.41) และเคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อ่ืนยอมรับในคุณค่าของความ
แตกต่าง อยู่ในระดับมาก มคี ่าเฉล่ีย (X̅ = 4.12) และคา่ เบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.= 0.33) ส่วนหนึ่งเป็น
ผลจากการท่ีหลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต ของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาลัยศาสน
ศาสตร์เฉลิมพระเกียรติกาฬสินธ์ุ มีรายวิชาเฉพาะทางพระพุทธศาสนาที่นักศึกษาจะต้องเรียน 30
หน่วยกิต เปน็ อยา่ งนอ้ ย และนกั ศึกษาส่วนหน่งึ เป็นพระภกิ ษุ-สามเณร ซง่ึ เป็นผ้มู ีคณุ ธรรมจริยธรรมอยู่
แล้ว 2) ด้านความรู้ นักศึกษาปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา มีระดับคุณภาพตามมาตรฐานผลการ
เรียนรู้ด้านความรู้ โดยรวม อยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ย (X̅ = 4.43) และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.=
0.61) เม่ือพิจารณาเปน็ รายขอ้ พบวา่ นกั ศึกษาปฏบิ ัติการสอนในสถานศึกษามคี ุณภาพตามมาตรฐานผล
การเรียนรู้ในเรื่องมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการ ทฤษฎี และเน้ือหา อยู่ในระดับมากที่สุด มี
ค่าเฉล่ีย (X̅ = 4.85) และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.= 0.44) รองลงมาคือเร่ืองสามารถใช้ความรู้มา
อธิบายปรากฏการณ์ท่ีเกิดขึ้นได้อย่างมีเหตผุ ล อยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ย (X̅ = 4.32) และค่าเบ่ียงเบน
มาตรฐาน (S.D.= 0.64) และต่อมาคือเร่ืองมีความรู้ในศาสตรท์ ี่เป็นพ้ืนฐานของชีวิต และสามารถนามา
ปรับใช้ในการดาเนินชีวิตได้ อยู่ในระดับมาก มีค่าเฉล่ีย (X̅ = 4.12) และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.=
0.77) การที่นักศึกษาปฏิบัติการสอนในสถานศึกษามีผลการเรียนรู้ในในเรื่องมีความรู้ ความเข้าใจ
เก่ียวกับหลักการ ทฤษฎี และเน้ือหาอยู่ในระดับมากที่สุด เป็นผลการจากเข้มงวด หล่อหลอม และการ
เรียนการสอนอย่างมีประสิทธิภาพของอาจารย์ประจาวิชา อีกทั้งมีการนิเทศติดตามและให้คาปรึกษา
นักศึกษาอย่างใกล้ชิดของอาจารย์นิเทศก์ 3) ด้านทักษะทางปัญญา นักศึกษาปฏิบัติการสอนใน
สถานศึกษา มีระดับคุณภาพตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ โดยรวม อยู่ในระดับมากที่สดุ มีค่าเฉลี่ย (X̅ =
4.61) และคา่ เบ่ยี งเบนมาตรฐาน (S.D.= 0.49) เม่ือพิจารณาเปน็ รายข้อพบว่า นกั ศกึ ษาปฏบิ ตั กิ ารสอน
ในสถานศกึ ษามีคณุ ภาพตามมาตรฐานผลการเรยี นรู้ในเรื่องสามารถคดิ ค้นหาข้อเทจ็ จรงิ ทาความเขา้ ใจ
และประเมนิ ข้อมูลสารสนเทศ และแนวคิดจากแหล่งข้อมูลทห่ี ลากหลายเพ่ือนามาใช้ในการ ปฏบิ ัติงาน
สอน และงานครูรวมทั้งการวินิจฉัยผู้เรียนและการวิจัยเพ่ือพัฒนาผู้เรียน อยู่ในระดับมากท่ีสุด มี
ค่าเฉล่ยี (X̅ = 4.68) และค่าเบย่ี งเบนมาตรฐาน (S.D.= 0.47) รองลงมาคือเร่ืองสามารถคิดแกป้ ัญหาใน
การจัดการเรียนรู้ท่ีมีความสลับซับซ้อน เสนอทางออกและนาไปสู่การแก้ไขได้อย่างสร้างสรรค์ อยู่ใน
ระดับมากที่สุด มีค่าเฉล่ีย (X̅ = 4.59) และค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.= 0.50) และต่อมาคือเร่ืองมี
ความรู้ในศาสตร์ที่เป็นพ้ืนฐานของชีวิต และสามารถนามาปรับใช้ในการดาเนินชีวิตได้ อยู่ในระดับมาก
ที่สุด มีค่าเฉล่ีย (X̅ = 4.55) และค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.= 0.50) ส่วนหนึ่งเป็นผลมาจากการท่ีการ
เรียนการสอนของอาจารย์ได้ใช้เทคโนโลยที ี่ทันสมัย และนักศึกษาสามารถสืบค้นงานและหาข้อมูลจาก
แหล่งข้อมูลต่างๆ ผ่านส่ือเทคโนโลยีได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว 4) ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่าง
บุคคล และความรับผิดชอบ นักศึกษาปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา มีระดับคุณภาพตามมาตรฐานผล
การเรียนรู้ ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล และความรับผิดชอบ โดยรวม อยู่ในระดับมากที่สุด

217

มีค่าเฉล่ยี (X̅ = 4.52) และคา่ เบีย่ งเบนมาตรฐาน (S.D.= 0.51) เมอื่ พิจารณาเปน็ รายขอ้ พบว่า นกั ศึกษา
ปฏิบัติการสอนในสถานศึกษามีคุณภาพตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ในเรื่องตระหนักในความแตกต่าง
หลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทางานร่วมกับ ผู้อื่นได้ดี อยู่ในระดับมากท่ีสุด มีค่าเฉลี่ย
(̅X = 4.71) และคา่ เบ่ยี งเบนมาตรฐาน (S.D.= 0.47) รองลงมาคือเรื่องมีความสมั พันธ์ท่ีดีกับผ้เู รียน เปน็
ผู้นาและผู้ตามท่ีมีความรับผิดชอบตอ่ ส่วนรวม อยู่ในระดับมาก มีค่าเฉล่ีย (̅X = 4.47) และค่าเบ่ียงเบน
มาตรฐาน (S.D.= 0.51) และต่อมาคือเรื่องมีภาวะผู้นา มีความคิดริเร่ิมในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่าง
เหมาะสมบนพื้นฐานของตนเอง อยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ย (X̅ = 4.38) และค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน
(S.D.= 0.56) ซ่ึงเป็นผลมาจากการท่ีวิทยาลัยศาสนศาสตร์เฉลิมพระเกียรติกาฬสินธุ์ ได้จัดกิจกรรม
เสริมทักษะความเป็นครูอย่างต่อเนื่องและหลากหลายกิจกรรม อันเป็นสร้างความสัมพันธ์ระหว่าง
นักศึกษากับนักศึกษา ระหว่างนักศึกษากับชุมชน และนักศึกษากับสถานศึกษา เป็นต้น 5) ด้านทักษะ
การวิเคราะห์เชิงตัวเลข และส่ือสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ นักศึกษาปฏิบัติการสอนใน
สถานศึกษา มรี ะดับคุณภาพตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ ดา้ นทกั ษะการวเิ คราะห์เชิงตวั เลข และสื่อสาร
และการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ โดยรวม อยู่ในระดับมากทสี่ ุด มีค่าเฉลีย่ (X̅ = 4.61) และคา่ เบ่ียงเบน
มาตรฐาน (S.D.= 0.48) เม่ือพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า นักศึกษาปฏิบัติการสอนในสถานศึกษามี
คณุ ภาพตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ในเร่ืองมีความสามารถในการใช้ดุลพินจิ ทด่ี ีในการประมวลผล แปล
ความหมาย และเลอื กใช้ ข้อมลู สารสนเทศเก่ียวกับวชิ าท่สี อน และงานครทู รี่ บั ผิดชอบโดยใชเ้ ทคโนโลยี
สารสนเทศได้ดี อยู่ในระดับมากท่ีสุด มีค่าเฉล่ีย (̅X = 4.76) และค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.= 0.43)
รองลงมาคือเรื่องมีความสามารถในการใช้คอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหา
ความรู้ ดว้ ยตนเอง การจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลและการนาเสนอข้อมลู สารสนเทศ อย่ใู นระดบั มาก
ที่สดุ มีค่าเฉลีย่ (̅X = 4.56) และคา่ เบยี่ งเบนมาตรฐาน (S.D.= 0.50) และตอ่ มาคอื เร่อื งมีความไวในการ
วิเคราะห์และเข้าใจข้อมูลสารสนเทศที่ได้รับจากผู้เรียนอย่างรวดเร็ว ท้ังที่เป็นตัวเลขเชิงสถิติหรือ
คณิตศาสตร์ ภาษาพูดหรือภาษาเขียน อยู่ในระดับมากท่ีสุด มีค่าเฉลี่ย (X̅ = 4.53) และค่าเบ่ียงเบน
มาตรฐาน (S.D.= 0.51) ซึง่ เปน็ ผลมาจากการปลูกฝงั การหลอ่ หลอม จากการเรยี นการสอนในหลักสูตร
ท่ีได้ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีของศตวรรษท่ี 21 คือ การใช้เทคโนโลยีในการติดต่อสื่อสาร เก็บรวบรวม
ข้อมลู และนาเสนอผลงาน 6) ด้านทกั ษะพิสัย นกั ศกึ ษาปฏิบัตกิ ารสอนในสถานศึกษา มรี ะดับคณุ ภาพ
ตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ ด้านทักษะพิสัย โดยรวม อยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ย (̅X = 3.68) และค่า
เบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.= 0.53) เม่ือพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า นักศึกษาปฏิบัติการสอนใน
สถานศึกษามีคุณภาพตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ในเรื่องมีความสามารถในการผลิตและประยุกต์ใช้
นวัตกรรมและไอที (IT) ทางการศึกษาได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย อยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ย (X̅ =
3.83) และค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.= 0.61) รองลงมาคือเร่ืองมีความสามารถในการใช้ทักษะทาง
ภาษาท้ังวจนะภาษาและอวัจนภาษาได้อย่าง มีประสิทธิภาพ อยู่ในระดับมาก มีค่าเฉล่ีย (̅X = 3.68)
และคา่ เบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.= 0.47) และตอ่ มาคือเรื่องมีความสามารถในการใช้ทักษะการนาเสนอ
กล้าคิด กล้าทาและกล้าแสดงออก อยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ย (̅X = 3.53) และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน
(S.D.= 0.51)

แนวทางการปรับปรุงปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาให้มีคุณภาพและแนวทางการปรับปรุง
หลักสูตรสอดให้คล้องกับมาตรฐานผลการเรียนรู้ตามกรอบคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ 1. ด้าน
คุณธรรม จรยิ ธรรม นักศกึ ษาควรสอดแทรกศีลธรรม คุณธรรมและจริยธรรม ในการปฏิบัติการสอน 2.

218

ด้านความรู้ ควรเปิดโอกาสให้นักศึกษานาเสนอความก้าวหน้าในการปฏิบัติการสอน และนาเสนอ
ผลงานเมื่อส้ินสุดการปฏิบัติการสอน 3. ด้านทักษะทางปัญญา สถานศึกษาจัดตารางสอนให้นักศึกษา
ปฏิบัติการสอนโดยกาหนดช้ันท่ีจะปฏิบัติการสอน จัดให้มีกิจกรรมการนิเทศการสอนเพื่อความเข้าใจ
ทง้ั ภาคทฤษฎีและภาค ปฏิบัติ 4. ดา้ นทักษะความสัมพนั ธร์ ะหว่างบคุ คลและความรับผิดชอบ ผู้บริหาร
สถานศึกษาควรมอบหมายงานให้นักศึกษาปฏิบัติในลักษณะการทางานเป็นทีมเพื่อสร้างสัมพันธ์ที่ดี
ระหว่างบุคคล 5. ด้านทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
และควรเน้นงานท่ีต้องอาศัยทักษะทางคณิตศาสตร์ การคานวณ และสถิติเพ่ือการนาเสนอข้อมูล ควร
มอบหมายงานที่เก่ียวข้องกับการศึกษาค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งต่างๆทั้งเอกสารและอิเลก็ ทรอนิกส์ โดย
ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ 6.ด้านทักษะพิสัย นักศึกษาควรได้ฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูก่อนปฏิบัติการ
สอนในสถานศึกษา นกั ศึกษาสามารถการสอนในรายวิชาศกึ ษาทว่ั ไปได้

แหลง่ อา้ งองิ
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. (2542). พระราชบัญญัตกิ ารศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542. กรงุ เทพฯ.
กรกนก อนรรฆธนะกุล. (2556). คุณลักษณะด้านความรู้ของบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ

ระดับอดุ มศึกษาแห่งชาติ. สาขาวิชาการท่องเท่ียวและสาขาวชิ าการโรงแรมคณะศลิ ปะศาสตร์
มหาวทิ ยาลยั ราเทคโนโลยีรารมงคลธญั บุร.ี
กฤตยา ฐานุวรภัทร์. (2555). คุณลกั ษณะบัณฑิตท่ีพึงประสงค์สาหรับสถานประกอบการ กรณีศคึกษา
บัณฑิตสาขาวิชาภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสาร. คณะสังคมศาสตร์และศิลปะศาสตร์
มหาวทิ ยาลยั นอร์ท-เชยี งใหม่. (รายงานการวจิ ัย) มหาวทิ ยาลัยนอรท์ -เชยี งใหม่.
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย. (2554). หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต
สาขาวิชาการสอนภาษาไทย (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2554). มหาวทิยาลัยมหามกุฏราช
วทิ ยาลยั .
ทิศนา แขมมณี. (2553). กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา: กลยุทธ์การสอน. กรุงเทพฯ: ภาคี
สมาชกิ สานักธรรมศาสตร์และการเมอื ง.
บญุ ชม ศรีสะอาด. (2545). การวจิ ัยเบือ้ งต้น (พมิ พ์คร้งั ที่ 6). กรุงเทพฯ: สุวรี ยิ าสาสน์.
มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาลัยศาสนศาสตร์เฉลิมพระเกียรติกาฬสินธุ์, (2557). คู่ มือ
นักศึกษาระดบั ปริญญาตรี. กาฬสนิ ธ:ุ์ กาฬสินธ์กุ ารพิมพ์.
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์. (2554). การประเมิน
คุณภาพของบัณฑิตตามคุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค์ สาขาสารสนเทศศาสตร์และ
บรรณารักษศาสตร.์ (รายงานการวจิ ัย) กรงุ เทพฯ : มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏบ้านสมเด็จเจา้ พระยา

219

ปัจจยั ท่ีมีอทิ ธพิ ลตอ่ พฤติกรรมเสย่ี งใชส้ ารเสพตดิ ของนักเรียน
ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย จงั หวดั หนองบวั ลาภู

FACTORS ON INFLUENCE OF RISKY BEHAVIOR
OF FINAL SECONDARY STUDENTS IN NONG BUA LAMPHU PROVINCE

นสั พงษ์ กลิน่ จาปา, ดนยั ลามคา, รฐั พล พรหมโคตร, ธนั นารี เจนวถิ ี
วทิ ยาลัยพชิ ญบณั ฑติ

บทคดั ย่อ
การวิจยั คร้งั น้ีมวี ัตถุประสงคห์ ลักเพ่ือศึกษาปจั จัยท่มี ีอิทธิพลต่อพฤติกรรมเส่ียงใช้สารเสพติดของ

นักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายในจังหวัดหนองบัวลาภู กลุ่มตัวอย่างท่ีใช้ในการศึกษาคร้ังนี้เป็น
นักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายในจังหวัดหนองบัวลาภู จานวน 380 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา
เป็นแบบสอบถามประกอบไปด้วย 3 ส่วน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ
ค่าเฉลี่ย ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์สมการเส้นตรงอย่างง่าย (Simple linear regression) ผล
การศึกษา พบว่า 1) พฤติกรรมเส่ียงต่อการใช้สารเสพติดโดยภาพรวมอยู่ในระดับต่า (X̅ = 1.61, S.D.=
.77) เม่ือพิจารณารายข้อ พบว่า ข้อท่ีมีค่าเฉลี่ยมากท่ีสุด ได้แก่ท่านพบเห็นเพื่อนของท่าน มีพฤติกรรม
เก่ียวข้องกับสารเสพติดเช่น รับประทาน ดม สูบ เสพ ค้า ฯลฯ (X̅ = 2.39, S.D.= 1.26) และรองลงมาคือ
ทา่ นพบเหน็ บุคคลในชุมชนของท่าน มีพฤตกิ รรมเกี่ยวข้องกับสารเสพติด เช่น รับประทาน ดม สบู เสพ ค้า
ฯลฯ (X̅ = 2.25, S.D.= .97) และน้อยท่ีสุดคือ ท่านเคยได้ให้ความช่วยเหลือ สนับสนุนผู้เกี่ยวข้องกับสาร
เสพติดเช่น อานวยความสะดวกในการเสพ การค้า (̅X = 1.27, S.D.= .70) 2) ผลการวิเคราะห์ปัจจัยท่ีมี
อิทธิพลต่อพฤติกรรมเส่ียงใช้สารเสพติดของนักเรียนระดับมัธยมศึกษา ตอนปลายในจังหวัดหนองบัวลาภู
พบว่าปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมเสี่ยงใช้สารเสพติดของนักเรียนคือ ปัจจัยด้านค่าใช้จ่ายต่อเดือนท่ี
ได้รับจากผู้ปกครอง และอาชีพของผู้ปกครอง อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ.05 ส่วนปัจจัยด้านเพศ
ระดับชั้นที่กาลังการศึกษา สภาพครอบครัว สถานที่อยู่อาศัย และเกรดเฉลี่ยสะสม พบว่าไม่มีอิทธิพลต่อ
พฤตกิ รรมเสีย่ งใช้สารเสพติดของนักเรียน

คาสาคญั : ปจั จัยเส่ียง, พฤตกิ รรม, สารเสพตดิ , นักเรยี น

Abstract
The main objectives of this research were to study the factors enhance the risk

behaviour on narcotic consumption for final level of secondary students in Nongbua
Lamphu province. The samples using for the study were 380 persons from the students as
mentioned above. The instruments using for data analysis included frequency, percentage,
mean, standard deviation and simple linear regression. The results of findings were as
follow: 1) For overall of risk behavior on narcotic consumption was in low level (̅X = 1.41,
S.D.= .77) considering on each aspect, it was founded that the highest level was on the
behavior connecting the narcotic such as eating, smelling, smoking consuming and trading
(X̅ = 2.39, S.D.= 1.26) .And the next was on the behaviour of people in communities on

220

narcotic concerning as mentioned (X̅ = 2.25, S.D.= .97) but the least level was on help for
narcotic consumers (̅X = 1.27, S.D.= .70). 2) The result of analysis on the factors enhancing
the risk behaviour on narcotic consuming for the final level of secondary students in
Nongbua Lamphu Province was on per month expense from the guardians and the
occupation of the guardians and was on the statistical significance of reliability for .05 level.
But the factors on gender, educational level, family status, resident and average credit were
not enhanced the risk behaviour on narcotic consuming of the students.

Keywords : Risk factor, Behaviour, Narcotic, Student

บทนา
ด้วยสานึกในพระมหากรุณาธิคุณของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้าฯ

พระบรมราชินีนาถ ที่ทรงห่วงใยพระสกนิกรชาวไทยท่ีได้รับความเดือดร้อนจากปัญหายาเสพติด และ
ตามท่ีรัฐบาลประกาศนโยบายด้านการรักษาความม่ันคงของรัฐและการต่างประเทศ โดยกาหนดให้การ
แก้ไขปัญหายาเสพติดเป็นนโยบายเร่งด่วน ซ่ึงเป็นปัญหาเฉพาะหน้าท่ีต้องได้รับการป้องกันและแก้ไขโดย
การบังคับใช้กฎหมายท่ีเข้มงวดและการจัดการปัญหาอ่ืนๆ ท่ีเชื่อมโยงอย่างเบ็ดเสร็จ พร้อมท้ังมีกลไกล
ติดตามช่วยเหลอื อยา่ งเป็นระบบการบริหารจัดการอย่างบรู ณาการและมีประสิทธิภาพ

พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ลงนามในคาสั่งสานักนายกรัฐมนตรี ที่ 156/2557
ลงวนั ท่ี 18 ตุลาคม 2557 เร่ือง จัดตง้ั ศูนย์อานวยการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดแห่งชาติ (ศอ.ปส.)
เป็นองค์กรอานวยการระดับชาติทาหน้าที่ในการอานวยการ และนานโยบายและยุทธศาสตร์การป้องกัน
และแก้ไขปัญหายาเสพติดขับเคลื่อนไปสู่การปฏิบตั ิใหบ้ ังเกิดผลอย่างเป็นรูปธรรม ต่อมาคณะรัฐมนตรีได้
มีมติเม่ือ วันที่ 10 มีนาคม 2558 เห็นชอบยุทธศาสตร์การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด พ.ศ. 2558 -
2562 เพื่อใหก้ ารปฏบิ ตั ิงานของหน่วยงานมีการบรู ณาการรว่ มกนั แตก่ ารดาเนนิ การแก้ไขปัญหายาเสพติด
ท่ีผ่านมานั้น เป็นเพียงการทาเพ่ือตอบสนองนโยบายของรัฐบาลในการแก้ไขปัญหาโดยมิได้คานึงถึงสภาพ
ปัญหาปัจจุบันและความต้องการของสถานศึกษาอย่างจริงจัง โดยผู้มีอานาจหน้าที่ในการดาเนินการ
ป้องกันยาเสพติดในสถานศึกษา คอื ผบู้ รหิ ารท่สี ามารถศึกษาหาวธิ ีการดาเนินการให้บรรลุวัตถุประสงค์ได้
แต่เมื่อการดาเนินการต้องทาเพียงเพ่ือตอบสนองนโยบายไม่ได้มาจากปัญหาและความต้องการของ
สถานศึกษาอย่างแท้จริง ในขณะเดียวกันผู้บริหารสถานศึกษาบางส่วนยังไม่ได้ตระหนักถึงการป้องกัน
อย่างจริงจังด้วยปัจจัยภายนอกหลายอย่างรวมถึงปัจจัยภายในตัวผู้บริหารเอง ส่งผลให้การดาเนินการท่ี
ผ่านมาจึงไม่สามารถแก้ไขปัญหาได้อย่างเต็มท่ี ปัญหาจึงยังคงเป็นปัญหาอยู่ในปัจจุบันยังคงเป็นปัญหา
และอุปสรรคในการพัฒนาประเทศอยู่ต่อไปและมีแนวโน้มเพ่ิมขึ้นด้วยกาลังสาคัญของชาติต่างอาศัย
สถานศกึ ษาเปน็ สถานท่ีเพ่ือพัฒนาศักยภาพในการดาเนินชวี ติ เพ่ือความอยู่รอดของเขาในอนาคต (สายสดุ า
สขุ แสง : 2551)

จากสภาพปัญหาเก่ียวกับยาเสพติดและสถานศึกษาเป็นหน่วยงานท่ีมีบทบาทสาคัญ ในการช่วย
แก้ปญั หา ดังนัน้ ผ้จู งึ ตง้ั หวั ข้อวิจยั เกีย่ วกบั ปัจจยั ท่ีมีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการใช้สารเสพติดของนักเรียนชั้น
มัธยมศึกษาตอนปลายในจังหวัดหนองบัวลาภูท่ีอยู่ในสถานศึกษาที่ถือเป็นศูนย์แห่งการเรียนรู้ เพ่ือเป็น
กระบวนการจดั การเรยี นการสอนและการจัดระบบการเรียนเพ่ือพฒั นาศักยภาพผู้เรยี น เพอ่ื นาหลักวิชาท่ี

221

ได้ไปใช้ในการพัฒนาบ้านเมือง คน สังคม โดยใช้กระบวนการเรียนรู้การศึกษาเป็นตัวขับเคลื่อน ในการ
แสวงหาแนวทางในการพัฒนาศักยภาพของนักเรียนให้มีความรู้ความสามารถ คิด วิเคราะห์ รวมถึงการมี
เจตคติที่เหมาะสม เพื่อช่วยในการเจริญงอกงามตาม วัยของกลุ่มเยาวชน เพิ่มความตระหนักให้เยาวชนได้
เล็งเห็นถึงพิษภัยของปัญหายาเสพติด ความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เพื่อก้าวสู่คนรุ่นต่อไปในการ
พฒั นาสังคมรอบตัว และสงั คม ประเทศชาติต่อไปอย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสทิ ธิผล ดังน้ันการวิจัย
ครั้งน้ีมีความต้องการเพ่ือศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการใช้สารเสพติดของนักเรียนชั้น
มัธยมศึกษาตอนปลายในจงั หวดั หนองบัวลาภูเพ่ือนาไปสู่การป้องกันและแก้ไขต่อไป

วตั ถปุ ระสงคข์ องการวิจัย
1. เพ่ือศึกษาพฤติกรรมเส่ียงต่อการใช้สารเสพติดของนักเรียนระดับมัธยมศึกษา ตอนปลายใน

จังหวัดหนองบวั ลาภู
2. เพ่ือศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมเส่ียงใช้สารเสพติดของนักเรียนระดับมัธยมศึกษา

ตอนปลายในจังหวดั หนองบัวลาภู
3. เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะปัจจัยท่ีมีผลต่อพฤติกรรมเส่ียงต่อยาเสพติดของนักเรียนระดับ

มัธยมศกึ ษาตอนปลายในจังหวัดหนองบัวลาภู

วิธดี าเนินการวจิ ยั

ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งน้ี ได้แก่ นักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายในจังหวัด

หนองบัวลาภู จานวน 7,569 คน ทั้งเพศชายและหญิงระดับมัธยมศึกษาปีที่ 4 -6 (สานักงานเขตพ้ืนท่ี

การศกึ ษามธั ยมศึกษา เขต 19. 2561)

กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคร้ังน้ี ได้แก่ นักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายในจังหวัด

หนองบัวลาภู จานวน 380 คน การกาหนดกลุ่มตัวอย่างจากสูตรของยามาเน่ (Yamane, 1967 : 886 -

887)

เคร่อื งมือในการวจิ ัย

เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือแบบสอบถาม (Questionnaire) ที่เกี่ยวกับ

ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมเสี่ยงใช้สารเสพติดของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จังหวัด

หนองบัวลาภู โดยแบ่งเป็น 3 ส่วนคือ ส่วนท่ี 1 แบบสอบถามเกี่ยวกับข้อมูลทั่วไป ส่วนท่ี 2 ปัจจัยที่มี

อิทธิพลต่อพฤติกรรมเส่ียงใช้สารเสพติด และส่วนที่ 3 ข้อเสนอแนะอ่ืนๆ เก่ียวกับปัจจัยท่ีมีอิทธิพลต่อ

พฤตกิ รรมเสยี่ งใช้สารเสพตดิ

การแปลผลคะแนนท่ีได้ แบง่ ตามเกณฑช์ ว่ งคะแนนตามแนวคดิ ของ (BOOM,1968)

การแบง่ คะแนนออกเปน็ 3 ระดบั ได้ดังน้ี

การปฏิบัติระดบั มาก คะแนน ร้อยละ 80 – 100 (ต้ังแต่ 4 คะแนนขนึ้ ไป)

การปฏิบตั ริ ะดบั ปานกลาง คะแนน ร้อยละ 60 – 79 (3.00 – 3.99 คะแนน)

การปฏิบัตริ ะดับต่า คะแนน ร้อยละ 0 – 59 (น้อยกว่า 3.00 คะแนน)

การเกบ็ รวบรวมข้อมูล

ผู้ศึกษานาแบบสอบถามซึ่งได้จัดเตรียมไว้แล้วนาไปส่งให้กับกลุ่มตัวอย่างด้วยตนเองตามที่ได้นัด

หมายไว้แล้ว เพ่อื แนะนาตวั พร้อมช้ีแจงวัตถุประสงคแ์ ละประโยชน์ของการวจิ ยั ขออนุญาตเก็บข้อมูล แจก

222

แบบสอบถามการวิจัยและขอรับกลับในวันเดียวกันด้วยตนเอง และนาแบบสอบถามท่ีได้รับมาตรวจสอบ
ความสมบูรณ์ ความถูกตอ้ ง และลงรหัสเพือ่ การวิเคราะห์ ข้อมูลตอ่ ไป

การตรวจสอบคณุ ภาพเคร่ืองมือ
ตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา (CONTENT VALIDITY) โดยศึกษาเนื้อหาจากเอกสารตาราจาก
การทบทวนวรรณกรรม งานวิจัยท่ีเกี่ยวข้อง ทาแบบสอบถาม ให้ผู้เชี่ยวชาญจานวน 3 ท่าน ความถูกต้อง
ครอบคลุม ครบถ้วนของแบบสอบถาม แล้วปรับปรุงแก้ไข นาแบบสอบถามไปทดสอบ (Try-Out) กับ
ประชาชนที่ไม่ใช่กลุ่มตัวอย่าง จานวน 30 ชุด แล้วนามาหาค่าความเช่ือม่ัน (RELIABILITY) โดยใช้วธิ ีหาค่า
สัมประสทิ ธ์แิ อลฟาครอนบาค (CRONBACH’S ALPHA COEFFICIENT)
การประมวลผลการวิเคราะห์ข้อมูล
วิเคราะห์ข้อมูลโดยโปรแกรมสาเร็จรูป SPSS (Statistical Package for the Social Science)
for Windows Version 22 โดยใช้สถิติพรรณนา แสดงค่าร้อยละ ค่าเฉล่ีย ค่าต่าสุด ค่าสูงสุด และส่วน
เบ่ียงเบนมาตรฐานสาหรับ ข้อมูลทั่วไป ปัจจัยท่ีมีอิทธิพลต่อพฤติกรรมเส่ียงใช้สารเสพติดของนักเรียน
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย และวิเคราะห์ด้วยสถิติเชิงอนุมาน เพ่ือศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรม
เสี่ยงใช้สารเสพติดของนักเรียนระดับมัธยมศึกษา ตอนปลายในจังหวัดหนองบัวลาภู โดยการใช้การ
วเิ คราะหส์ มการเสน้ ตรงอยา่ งง่าย (Simple linear regression)

ผลการวจิ ยั
1. ผลการศกึ ษาข้อมลู ทว่ั ไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ผลการศึกษาพบว่า ผ้ตู อบแบบสอบถามส่วน

ใหญ่เป็นเพศหญิง จานวน 222 คน คิดเป็นร้อยละ 58.42 และเป็นเพศชาย จานวน 158 คน คิดเป็นร้อย
ละ 41.58 ระดับช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 5 จานวน 134 คิดเป็นร้อยละ 35.26 และน้อยที่สุดมัธยมศึกษาปีที่ 6
จานวน 118 คน คิดเป็นร้อยละ 31.05 สภาพครอบครัวคือบิดา มารดามีชีวิตอยู่ จานวน 305 คน คิดเป็น
ร้อยละ 80.26 และน้อยท่ีสุดคือ บิดา มารดาอย่าร้าง จานวน 35 คิดเป็นร้อยละ 9.21 สถานที่อยู่อาศัย
พบว่าอยกู่ ับบิดา มารดา จานวน 237 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 62.37 และนอ้ ยที่สุด อยู่กบั เพื่อน จานวน 2 คน
คิดเปน็ ร้อยละ .53 อาชีพของผ้ปู กครองส่วนใหญ่รับจ้างทว่ั ไป จานวน 169 คน คิดเป็นร้อยละ 44.47 และ
น้อยที่สุด ไม่มีอาชีพท่ีแน่นอน จานวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ .26 เกรดเฉลี่ยสะสม 3.01 – 4.00 จานวน
190 คน คิดเป็นร้อยละ 50.00 และน้อยที่สุด มีเกรดเฉล่ียสะสม น้อยกว่า 2.00 จานวน 26 คน คิดเป็น
ร้อยละ 6.84 ค่าใช้จ่ายต่อเดือนท่ีได้รับจากผู้ปกครอง 2,001 – 4,000 บาท จานวน 182 คน คิดเป็นร้อย
ละ 47.89 และน้อยทีส่ ุด 8,001 – 10,000 บาท จานวน 9 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 2.37

2. พฤตกิ รรมเสี่ยงต่อการใช้สารเสพติดจากผลการวิเคราะห์ข้อมลู พบว่าโดยภาพรวมอยู่ในระดับ
ต่า (̅X = 1.61, S.D.= .77) เมื่อพิจารณารายข้อ พบว่า ข้อท่ีมีค่าเฉล่ียมากที่สุด ได้แก่ท่านพบเห็นเพื่อน
ของท่าน มีพฤติกรรมเกี่ยวข้องกับสารเสพติดเช่น รับประทาน ดม สูบ เสพ ค้า ฯลฯ (̅X = 2.39, S.D.=
1.26) และรองลงมาคือ ท่านพบเห็นบุคคลในชุมชนของท่าน มีพฤติกรรมเกี่ยวข้องกับสารเสพติด เช่น
รบั ประทาน ดม สูบ เสพ ค้า ฯลฯ (̅X = 2.25, S.D.= .97) และน้อยท่ีสุดคือ ท่านเคยได้ให้ความช่วยเหลือ
สนับสนุนผู้เก่ียวข้องกับสารเสพติดเช่น อานวยความสะดวกในการเสพ การค้า (̅X = 1.27, S.D.= .70)
และสามารถจาแนกออกเปน็ รายด้านดังน้ี

2.1 ด้านปัจจัยเก่ียวกับตัวบุคคลพบว่าโดยภาพรวมอยู่ในระดับต่า (̅X = 1.35, S.D.= .76)เมื่อ
พจิ ารณารายขอ้ พบว่า ข้อที่มคี ่าเฉลีย่ มากท่ีสดุ ได้แก่ทา่ นคบค้าสมาคมกบั ผูท้ ่ีเก่ยี วข้องกับสารเสพตดิ

223

โดยรู้หรือควรรู้ว่า ผู้นั้นเกี่ยวข้องกับสารเสพติดต่า (̅X = 1.55, S.D.= .93) และน้อยที่สุดคือท่านเคยได้
จัดหาหรือให้เงิน หรือทรัพย์สิน เช่น ยานพาหนะสถานท่ี หรือส่ิงใด ๆ เพ่ือประโยชน์หรืออา นวยความ
สะดวกแก่ผ้เู ก่ียวข้องกับสารเสพติด (X̅ = 1.22, S.D.= .64)

2.2 ด้านปัจจัยเกี่ยวกับครอบครัวพบว่าโดยภาพรวมอยู่ในระดับต่า (X̅ = 1.36, S.D.= .67)เม่ือ
พิจารณารายข้อ พบว่า ข้อท่ีมีค่าเฉลี่ยมากที่สุดได้แก่ท่านพบเห็นบุคคลในเครือญาติหรือครอบครัว มี
พฤติกรรมเกี่ยวข้องกับสารเสพติด เช่น รับประทาน ดม สูบ เสพ ค้า ฯลฯ (X̅ = 1.57, S.D.= .83) และ
นอ้ ยทีส่ ุดคอื ท่านพบเหน็ บุคคลในเครือญาติ ไดร้ บั เงิน ทรัพย์สนิ หรอื ประโยชนอ์ ่ืนใด จากผ้ทู ่เี กยี่ วข้องกับ
สารเสพตดิ ฯลฯ (X̅ = 1.28, S.D.= .59)

2.3 ด้านปัจจัยเก่ียวกับเพื่อนโดยภาพรวมอยู่ในระดับต่า (̅X = 1.81, S.D.= .90) เม่ือพิจารณา
รายข้อ พบว่า ข้อท่ีมีค่าเฉลี่ยมากที่สุดได้แก่ท่านพบเห็นเพื่อนของท่าน มีพฤติกรรมเกี่ยวข้องกับสารเสพ
ตดิ เชน่ รับประทาน ดม สบู เสพ ค้า ฯลฯ (X̅ = 2.39, S.D.=1.26) และนอ้ ยทส่ี ุดคือท่านพบเห็นเพ่ือนของ
ทา่ น ได้รับเงนิ ทรัพย์สนิ หรือประโยชนอ์ ื่นใดจากผทู้ ี่เก่ยี วข้องกับสารเสพติด (̅X = 1.55, S.D.=.75)

2.4 ด้านปัจจยั เก่ยี วกับสถานศึกษาโดยภาพรวมอยู่ในระดบั ต่า (̅X = 1.47, S.D.= .73) เม่ือพจิ ารณา
รายข้อ พบว่า ข้อที่มีค่าเฉลี่ยมากท่ีสุดได้แก่ท่านพบเห็นบุคคลในสถานศึกษา มีพฤติกรรมเกี่ยวข้องกับยา
สารติด เช่น รับประทาน ดม สูบ เสพ ค้า ฯลฯ (X̅ = 1.62, S.D.= .89) และน้อยท่ีสุดคือท่านพบเห็นบุคคล
ในสถานศึกษา ได้ใหค้ วามชว่ ยเหลือสนับสนุนผู้เก่ียวข้องกับสารเสพติด (̅X = 1.36, S.D.= .60)

2.5 ด้านปัจจัยเกี่ยวกับชุมชนโดยภาพรวมอยู่ในระดับต่า (̅X = 2.08, S.D.= .83) เม่ือพิจารณา
รายข้อ พบว่า ข้อที่มีค่าเฉล่ียมากท่ีสุดได้แก่ท่านพบเห็นบุคคลในชุมชนของท่าน มีพฤติกรรมเกี่ยวข้องกับ
สารเสพติด เช่น รับประทาน ดม สูบ เสพ ค้า ฯลฯต่า (X̅ = 2.25, S.D.= .97) และน้อยที่สุดคือท่านพบ
เห็นบุคคลในชุมชนของท่าน คบค้าสมาคมกับผู้ท่ีเกี่ยวข้องกับสารเสพติด โดยรู้หรือควรรู้ว่าผู้นั้นเก่ียวข้อง
กบั สารเสพติด (̅X = 1.96, S.D.= .74)

ตารางที่ 1 ปัจจัยทมี่ ีผลต่อคุณภาพชวี ติ ของประชาชนในเขตพ้นื ที่ตาบลตาดทอง อาเภอศรีธาตุ จังหวัด

อดุ รธานี

ตัวแปร B Beta t P-value

เพศ 1.172 .057 1.105 .270

ระดับชนั้ ที่กาลังการศึกษา -.314 -.025 -.482 .630

สภาพครอบครวั .978 .062 1.216 .225

สถานท่ีอยู่อาศยั .464 .037 .715 .475

อาชีพของผปู้ กครอง 1.344 .160 3.151 .002**

เกรดเฉลีย่ สะสมอยู่ในระดับ 1.627 .099 1.932 .054

คา่ ใช้จ่ายต่อเดือนที่ได้รบั จากผู้ปกครอง 2.918 .312 6.395 .000**

**แทน ระดับนยั สาคัญทางสถิติที่ .05

3. ผลการวิเคราะห์ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมเสี่ยงใช้สารเสพติดของนักเรียนระดับ

มัธยมศึกษา ตอนปลายในจังหวัดหนองบัวลาภู พบว่าปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมเส่ียงใช้สารเสพติด

ของนักเรียนคือ ปัจจัยด้านค่าใช้จ่ายต่อเดือนท่ีได้รับจากผู้ปกครอง และอาชีพของผู้ปกครอง อย่างมี

224

นยั สาคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 สว่ นปจั จยั ดา้ นเพศ ระดบั ชนั้ ท่กี าลังการศึกษา สภาพครอบครัว สถานท่ีอยู่
อาศยั และเกรดเฉลยี่ สะสมอยู่ในระดบั พบวา่ ไมม่ อี ทิ ธพิ ลต่อพฤติกรรมเสี่ยงใชส้ ารเสพติดของนักเรียน

4. ข้อเสนอแนะอื่นๆ เกี่ยวกับปัจจัยท่ีมีอิทธิพลต่อพฤติกรรมเสี่ยงใช้สารเสพติด พบว่า มีผู้ให้
ข้อเสนอแนะ จานวน 63 คน ซ่ึงจะแบ่งออกเป็นประเด็นข้อเสนอแนะ ดังน้ี จัดอบรมเกี่ยวกับยาเสพติด
รณรงค์ต่อตา้ นยาเสพติด ควรตรวจหาสารเสพติดในชุมชน จดั กจิ กรรมต่างๆ ทีเ่ กยี่ วกับยาเสพตดิ เพือ่ ห้าม
ผคู้ นในชมุ ชน จดั กีฬาหรือกิจกรรมต่างๆ ให้เกดิ ในชมุ ชน และตรวจสอบชุมชนอยเู่ ป็นประจาโดยหน่วยงาน
ที่เกยี่ วขอ้ ง

อภิปรายผลการวิจัย
1. พฤติกรรมเส่ียงต่อการใช้สารเสพติดจากผลการวิเคราะห์ข้อมลู พบว่าโดยภาพรวมอยู่ในระดับ

ต่า (X̅ = 1.61, S.D.= .77) เมื่อพิจารณารายข้อ พบว่า ข้อที่มีค่าเฉล่ียมากที่สุด ได้แก่ท่านพบเห็นเพื่อน
ของท่าน มีพฤติกรรมเกี่ยวข้องกับสารเสพติดเช่น รับประทาน ดม สูบ เสพ ค้า ฯลฯ (X̅ = 2.39, S.D.=
1.26) และรองลงมาคือ ท่านพบเห็นบุคคลในชุมชนของท่าน มีพฤติกรรมเก่ียวข้องกับสารเสพติด เช่น
รับประทาน ดม สูบ เสพ ค้า ฯลฯ (̅X = 2.25, S.D.= .97) และน้อยท่ีสุดคือ ท่านเคยได้ให้ความช่วยเหลือ
สนับสนนุ ผเู้ กี่ยวข้องกบั สารเสพติดเช่น อานวยความสะดวกในการเสพ การค้า (̅X = 1.27, S.D.= .70) ซึง่
สอดคลอ้ งกับการศึกษาของบรุ ฉัตร จันทรแ์ ดงและคณะ (2560) ทีพ่ บว่าระดับพฤติกรรมเสย่ี งต่อยาเสพติด
ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนดงหลวงวิทยา อาเภอดงหลวง จังหวัดมุกดาหาร โดยรวมอยู่
ในระดับน้อยที่สุด (X̅ = 1.56) เมื่อจาแนกเป็นรายด้าน พบว่า ระดับน้อยท่ีสุด 4 ด้าน ได้แก่ ด้านการคบ
เพ่ือนที่ติดยาเสพติด ด้านการนาสารเสพติดเข้าสู่ร่างกาย ด้านการแสดงออกเน่ืองจากความเครียด ด้าน
การใช้เวลาว่างไม่เกิดประโยชน์ และระดับน้อย 2 ด้าน ได้แก่ ด้านการไม่เข้าใจตนเอง และด้านการไม่
รบั ผดิ ชอบตอ่ สุขภาพ

2. ผลการวิเคราะห์ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมเส่ียงใช้สารเสพติดของนักเรียนระดับ
มัธยมศึกษา ตอนปลายในจังหวัดหนองบัวลาภู พบว่าปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมเส่ียงใช้สารเสพติด
ของนักเรียนคือ ปัจจัยด้านค่าใช้จ่ายต่อเดือนท่ีได้รับจากผู้ปกครอง และอาชีพของผู้ปกครอง อย่างมี
นัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ.05 ซ่ึงสอดคล้องกับการศึกษาของ ชวลิต กงเพชร (2558) ที่พบว่าปัจจัยท่ีมี
อิทธิพลต่อการใช้สารเสพติด (แรงจูงใจ) สามารถแบ่งแรงจูงออกเป็น กลุ่ม ๆได้ท้ังหมด 3 กลุ่มดังน้ีคือ
ปจั จยั หลัก (ความอยากรู้อยากลอง เพอ่ื น พ่นี ้อง แฟน และความเช่ือผิด ๆ) ปจั จยั เสรมิ (การดมื่ เครื่องดื่มที่
มีแอลกอฮอล์ เท่ียวสถานบันเทิง) และปัจจัยเอ้ือ (ครอบครัวไม่สมบูรณ์ ดาราใช้) โดยแต่ล่ะปัจจัยหนุน
เสริมทาให้เกิดนักเสพหน้าใหม่เพ่ิมสูงขึ้นเรื่อยๆ และยัวสอดคล้องกับการศึกษาของกิตติศักดิ์ จังพานิช
(2558) พบว่าปัจจยั ทส่ี ง่ ผลต่อความเสยี่ งในการติดยาเสพตดิ มี 3 ปัจจัย ไดแ้ ก่ ปัจจยั ด้านครอบครัว ปจั จยั
ด้านสังคม และปัจจัยด้านส่ิงแวดล้อมมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 สาหรับปัจจัยด้านการศึกษาไม่มี
ความสัมพันธ์กับความเสยี่ งในการติดยาเสพติด มีนยั สาคญั ทางสถติ ทิ ร่ี ะดบั .05

ขอ้ เสนอแนะ
1. ข้อเสนอแนะในการนาผลการวิจัยในครั้งน้ีไปใช้
1.1 องค์กร หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องกับการพัฒนาท้ังองค์กรของรัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

องคก์ รประชาชน และองค์กรเอกชน ควรตระหนักให้ความสาคัญให้ความสนใจกับการป้องกันแก้ปัญหายา

225

เสพติดของท้องถ่ินและชุมชนอย่างแท้จริง โดยใช้หลักการมีส่วนร่วมของทุกฝ่าย ประกอบด้วย หลักร่วม
คดิ ตดั สนิ ใจ รว่ มวางแผน รว่ มปฏบิ ัติ รว่ มรบั ประโยชน์ และร่วมตดิ ตามประเมนิ ผล

1.2 รัฐบาลควรกาหนดนโยบาย และยุทธศาสตร์การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด เป็นวาระ
แห่งชาติโดยมีมาตรการ หน่วยงานท่ีรับผิดชอบติดตาม เร่งรัดตรวจสอบ ให้มีผลในทางปฏิบัติโดยเฉพาะ
การป้องกันแก้ปัญหายาเสพติดในระดับชุมชนท้องถิ่น ซ่ึงมีความใกล้ชิดกับปัญหามีความครอบคลุมทั้ง
ประเทศ

แหล่งอ้างอิง
กนกรัตน์ แจม่ วัฏกลู . (2545). การศกึ ษาปจั จัยด้านครอบครัวและกลุ่มเพื่อนท่ีมีต่อการเสพยาบ้าของ

เด็กและเยาวชน. กรงุ เทพฯ : มหาวิทยาลัยศรีนครนิ ทร์วโิ รฒ
กิตติ บุญญาภาส.(2543).ปัจจัยที่มีผลต่อการป้องกันปัญหายาเสพติดในโรงเรียนระดับมัธยมศึกษาใน

เขตอาเภอเชยี งดาว จงั หวัดเชียงใหม.่ วทิ ยานพิ นธร์ ฐั ศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลยั เชยี งใหม.่
นุกูล วิเศษฤทธิ์ นฤมล โพธิขา และมยุรีย์ นะทีวาส. (2548). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อการติดยา

เสพติดของนักเรียนมัธยมศกึ ษา ในจังหวัดจนั ทบุร.ี มหาวิทยาลัยราชภัฏราไพพรรณี
บุญธรรม กิจปรีดาบริสุทธ์ิ. (2535).ระเบียบวิธีวิจัยทางสังคมศาสตร์.กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์และ

ทาปกเจริญผล. สานักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด.(2531). สานัก
นายกรฐั มนตรี, มาตรการป้องกันและปราบปรามยาเสพตดิ ในประเทศไทย, (กรุงเทพมหานคร:
โรงพมิ พ์สามเจริญ.
สานักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด.(2553). รายงานผลการดาเนินงานด้าน
บาบัดรกั ษาระหวา่ งวันท่ี 1 ตลุ าคม 2552- 30 กนั ยายน 2553.กรุงเทพมหานคร.
สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2548). การประชุมทางวิชาการ การวิจัยทางการศึกษา ครั้งท่ี
11. กรงุ เทพฯ : เลขาธิการสภาการศกึ ษา สานักงานฯ.
Bloom. B. S. ( 1968) . Mastery learning. UCLA – CSEIP Evaluation Comment. 1 ( 2)
Losangeles.University of California at Los Angeles.
Maslow, Abrahum H. (1970). Motivation and Personality. ๒nd ed., New York: Harper and
Row.
Taro Yamane( 1973 ) . Statistics: An Introductory Analysis. 3rdEd. New York. Harper and
RowPublications.

226

การพฒั นารปู แบบการบริหารงานวิชาการ ตามแนวทาง LKS SMART School Model
โดยใช้การจัดการความรู้ กลุ่มสาระการเรียนรูค้ ณติ ศาสตร์ โรงเรยี นลาปางกัลยาณี

THE DEVELOPMENT OF ACADEMIC MANAGEMENT THROUGH THE LKS SMART
SCHOOL MODEL USING KNOWLEDGE MANAGEMENT OF THE MATHEMATICS

DEPARTMENT, LAMPANG KANLAYANEE SCHOOL

บรรเจดิ สระปัญญา, พรนภสั เอ้ือแท้, วรัฐทยา ฟน่ั สืบ
กลมุ่ สาระการเรียนรคู้ ณิตศาสตร์ โรงเรียนลาปางกลั ยาณี

บทคัดยอ่
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพ่ือพัฒนารูปแบบบริหารงานวิชาการ ตามแนวทาง LKS SMART

School Model โดยใช้การจัดการความรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ และเพ่ือประเมินความพึงพอใจ
ของนักเรียน ผู้ปกครอง ผู้บริหารและคณะครู ต่อการพัฒนาการบริหารงานวิชาการ ของกลุ่มสาระการ
เรียนรูค้ ณติ ศาสตร์ โรงเรยี นลาปางกลั ยาณี จังหวดั ลาปาง สานักงานเขตพ้นื ที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 35

กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการประเมินคร้ังนี้ คือบุคคลที่เก่ียวข้องกับการพัฒนารูปแบบบริหารงาน
วิชาการ ตามแนวทาง LKS SMART School Model โดยใช้การจัดการความรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้
คณิตศาสตร์ ซ่ึงประกอบด้วยนักเรียน ผู้ปกครอง ผู้บริหารและคณะครู เคร่ืองมือที่ใช้ในการวิจัย
ประกอบด้วย แบบสัมภาษณ์ แบบประเมินความพึงพอใจ เอกสารแนวทางการพัฒนาโรงเรียน LKS
SMART School Model และเอกสารผลการปฏิบัติการ/โครงการ ประจาปีงบประมาณ 2560-2561
สถติ ิท่ีใช้วิเคราะห์ขอ้ มลู คือ คา่ เฉลย่ี เลขคณติ

ผลการวิจัยพบว่า
1. รูปแบบบริหารงานวิชาการ ตามแนวทาง LKS SMART School Model โดยใช้การจัดการ
ความรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนลาปางกัลยาณีได้รับการพัฒนา โดยผลการพัฒนา
รูปแบบบริหารงานวิชาการ พบว่า การพัฒนานักเรียนด้วยกิจกรรมหรือโครงการท่ีสอดคล้องกับ
ความสามารถหรือความสนใจของผู้เรียน มีค่าเฉล่ยี ในระดับสงู สุด คอื 4.73 การแปลผลอยู่ในระดับดีมาก
2. นักเรียน ผู้ปกครอง ผู้บริหารและคณะครู มีความพึงพอใจต่อการพัฒนารูปแบบบริหารงาน
วิชาการ ตามแนวทาง LKS Smart School Model โดยใช้การจัดการความรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้
คณิตศาสตร์ โดยพบว่า ผลสัมฤทธ์ิของการพัฒนาคุณภาพนักเรียน มีค่าเฉล่ียสูงสุด คือ 4.78 การแปล
ผลอย่ใู นระดับดมี าก

คาสาคัญ : การพฒั นารปู แบบการบริหารงานวิชาการ, LKS SMART School Model

Abstract
This research is aimed to develop an academic management model according

to LKS SMART SCHOOL MODEL. It applies the knowledge management of Learning Area
of Mathematics and evaluate the satisfaction of students, their guardians, school
teachers and executives towards the development of academic management for the
mentioned area at Lampang Kanlayanee School under the Secondary Educational
Service Area Office 35

227

Sampling group used in this evaluation are those relating with the development
of academic management according to LKS SMART SCHOOL MODEL. It applies the
knowledge management of Learning Area of Mathematics and works along with students,
their guardians, school teachers and executives. The tools for this research consist of
interview form, satisfaction evaluation, documents about procedure to develop LKS SMART
SCHOOL MODEL and performance of project. This research was conducted in fiscal year
2017-2018. The statistic “Average” is used to analyze data.

The research reveals that
1. The development of academic management according to LKS SMART
SCHOOL MODEL using the knowledge management of Learning Area of Mathematics has
progressed. It is found that holding activities or projects according to students’ abilities
and interest has the most statistic average of 4.73 which is considered excellent.
2. Students, their guardians, school teachers and executives are satisfied with the
development of academic management according to LKS SMART SCHOOL MODEL using the
knowledge management of Learning Area of Mathematics. It is found that the result of
student quality development has the most statistic of 4.78 which is considered excellent.

Keywords : The Development of Academic management, LKS SMART School
Model

บทนา
คณิตศาสตร์เป็นวิชาหน่ึงที่มีความสาคัญต่อการพัฒนาประเทศและการดารงชีวิตของมนุษย์

เพราะการพัฒนาและการเปล่ียนแปลงของมนุษย์ทั้งในอดีต ปัจจุบัน และอนาคต ต้องอาศัยวิชา
คณิตศาสตร์ ในชีวิตประจาวันเราได้ใช้วิชาคณิตศาสตร์อย่างไม่รู้ตัว คณิตศาสตร์เป็นวิชาท่ีช่วยก่อให้เกิด
ความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยี ทาให้โลกเจริญก้าวหน้าเพราะการคิดค้นทางด้านวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยีต้องอาศัยความรู้ทางด้านคณิตศาสตร์ ดังมีคากล่าวว่า “Mathematics is the queen of
science” (สิรพิ ร ทิพยค์ ง, 2533, : 1) ธรรมชาตขิ องวชิ าคณิตศาสตร์เปน็ วชิ าทต่ี ้องอาศัยความคิดรวบยอด
เพราะเนื้อหาวิชามีโครงสร้างที่แสดงความเป็นเหตุเป็นผลต่อกัน มีการสื่อความหมายโดยใช้สัญลักษณ์ ซ่ึง
มีลักษณะเป็นนามธรรมที่ยากต่อการเรียนรู้และยากต่อการทาความเข้าใจได้อย่างรวดเร็ว (วัลลภา อารี
รัตน์, 2528, : 57) การสอนคณิตศาสตร์จึงต้องสอนให้ผู้เรียนเกิดความเข้าใจในโครงสร้างทางคณิตศาสตร์
สามารถคิดได้อย่างเป็นเหตุและเป็นผล มีหลักเกณฑ์ในการจาแนกความสัมพันธ์หรือเงื่อนไขต่างๆ การ
เรยี นท่ีจะทาใหเ้ กิดทักษะดังกล่าวนี้ ผู้เรียนจะต้องเข้าใจในความคิดรวบยอดของเร่ืองท่ีเรียนเป็นสาคัญ (พี
ระพล ศิริวงศ,์ 2525, : 2) ดงั นัน้ กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ของแต่ละโรงเรียน จึงมบี ทบาทสาคัญใน
การพฒั นาระบบการบริหาร การพฒั นาครูตลอดจนมีการส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดทักษะทางการเรียนรู้
แก่ผูเ้ รยี น เพ่ือให้ผ้เู รียนไดร้ ับการพฒั นาเติมเตม็ อย่างมีประสิทธิภาพ

สภาพการบริหารจัดการวิชาการในรูปแบบเดิมของกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียน
ลาปางกัลยาณี ประกอบด้วย ผลงานของกลุ่มสาระการเรียนรู้ ผลงานของคณะครูและนักเรียน จาก
หลักฐานในการสังเคราะห์งานของกลุ่มสาระการเรียนรู้จานวนมาก แต่ยังขาดการเชื่อมโยงอย่างเป็นระบบ
กับการบริหารงานของโรงเรียนในภาพรวม แนวทาง LKS SMART School Model จึงเป็นรูปแบบการ

228

พัฒนางานท่ถี ูกกาหนดขนึ้ เพื่อเปน็ แนวทางในการบรหิ ารงานเชิงวิชาการของโรงเรียนลาปางกัลยาณีที่กลุ่ม
สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์และกลุ่มสาระการเรียนรู้อืน่ ๆ ของโรงเรียนลาปางกัลยาณี ใช้พฒั นากลุม่ สาระ
การเรียนรู้เพื่อใหเ้ กิดทิศทางเดยี วกันอย่างเปน็ ระบบ (บรรเจิด สระปญั ญาและคณะ, 2560, : 87)

ดังนั้น คณะผู้วิจัยจึงได้ศึกษาแนวทางในการพัฒนารูปแบบบริหารงานวิชาการโดยใช้การ
จัดการความรู้ LKS SMART School Model กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนลาปางกัลยาณี
ในการพัฒนาระบบการบริหารวิชาการของกลุ่มสาระการเรียนรู้ การพัฒนาครู การพัฒนาและส่งเสริม
ทักษะทางคณิตศาสตร์แก่นักเรียน และใช้ประเมินความพึงพอใจของผู้ท่ีเก่ียวข้องต่อการพัฒนาการ
บริหารงานวิชาการของกลุ่มสาระ การเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนลาปางกัลยาณี เพื่อเป็นประโยชน์ใน
การพัฒนาการบริหารงานวิชาการโดยใช้การจัดการความรู้ LKS SMART School Model และเพ่ือให้
เกิดประสทิ ธผิ ลของการบรหิ ารงานตรงตอ่ ความพึงพอใจของนักเรียน ผู้ปกครอง ผู้บริหารและคณะครู

วัตถุประสงค์ของการวิจัย
1. เพ่ือพัฒนารูปแบบบริหารงานวิชาการโดยใช้การจัดการความรู้ LKS SMART School

Model กลมุ่ สาระการเรียนรคู้ ณติ ศาสตร์ โรงเรียนลาปางกลั ยาณี
2. เพื่อประเมินความพึงพอใจนักเรียน ผู้ปกครอง ผู้บริหารและคณะครู ต่อการพัฒนารูปแบบ

บริหารงานวิชาการ ตามแนวทาง LKS SMART School Model โดยใช้การจัดการความรู้ ของกลุ่ม
สาระการเรียนรคู้ ณติ ศาสตร์ โรงเรยี นลาปางกัลยาณี

ขอบเขตของการวิจยั
ขอบเขตดา้ นกลุม่ ตัวอยา่ ง
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา เป็นนักเรียน ผู้ปกครอง ผู้บริหารและคณะครู โรงเรียนลาปาง

กัลยาณี จังหวัดลาปาง ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2561 จานวน 800 คน โดยแบ่งเป็น 4 กลุ่ม และ
คณะผู้วิจัยได้ทาการแจกแบบสัมภาษณ์และแบบประเมินความพึงพอใจ ตามตารางของเครจซ่ีและมอร์
แกน (Krejcie & Morgan, 1970 อ้างใน ธีรวุฒิ เอกะกุล, 2543) เพ่ือการประมาณค่าสัดส่วนของ
ประชากรโดยสรปุ ดงั นี้

1. นักเรยี น จากจานวนประชากรท้ังหมด 3,148 คน ใชเ้ ปน็ กลมุ่ ตัวอย่างจานวน 343 คน
2. ผู้ปกครอง จากจานวนประชากรท้ังหมด 3,148 คน ใชเ้ ปน็ กลุ่มตัวอย่างจานวน 343 คน
3. ผบู้ รหิ าร จากจานวนประชากรท้งั หมด 5 คน ใช้เป็นตัวอยา่ งจานวน 5 คน
4. คณะครู จากจานวนประชากรทั้งหมด 152 คน ใช้เปน็ กลุม่ ตัวอยา่ งจานวน 109 คน
ขอบเขตด้านเน้อื หา
รูปแบบการบริหารงานวิชาการ ตามแนวทาง LKS SMART School Model เป็นรูปแบบที่ได้
จากการวิเคราะห์ข้อมูลจากเอกสาร งานวิจัยที่เก่ียวข้อง ศึกษาข้อมูลจากการวิเคราะห์จากเอกสาร
สาคัญ โดยใช้ระยะเวลาดาเนินการระหว่างเดือนเมษายน พ.ศ.2561 ถึง เดือนมกราคม พ.ศ.2562 ปี
การศึกษา 2561 สถานที่เก็บข้อมูล คือ โรงเรียนลาปางกัลยาณี จังหวัดลาปาง สานักงานเขตพื้นท่ี
การศึกษามัธยมศึกษา เขต 35

เคร่ืองมือการวจิ ัย
1. แบบสัมภาษณ์ ใช้ในการสัมภาษณ์ครูผู้รับผิดชอบในส่วนโครงสร้างงานวิชาการกลุ่มสาระ

การเรยี นร้คู ณติ ศาสตร์ โรงเรยี นลาปางกัลยาณี
2. แบบสอบถาม ใช้ในการสอบถามกลุ่มตัวอย่าง จานวน 800 คน ได้แก่ นักเรียน ผู้ปกครอง

ผู้บริหารและคณะครู


Click to View FlipBook Version