The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ebookrayong, 2020-09-11 09:58:50

การประชุมสัมมนาวิชาการนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ

Full-Paper-NACED-Education

329

ข้อเสนอแนะ
1. ข้อเสนอแนะและในการนาไปใช้โดยการจดั การเรยี นรกู้ ลวธิ ีช่วยจา
1.1 การจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากกลวิธีช่วยจาและเกิดใฝ่รู้อย่างต่อเนื่องสามารถ

นาไปฝกึ ปฏบิ ัติไดจ้ รงิ
1.2 นาเทคนิคหรือกลวิธีช่วยจาไปประยุกต์ใช้กับรายวิชาอ่ืน ๆ หรือทาการทดลองกับ

ผู้เรียนช่วงช้ันอ่นื ๆ เพื่อทาการศกึ ษาเปรยี บเทียบ
1.3 การจัดกิจกรรมดา้ นทักษะกับความสนใจและการใชก้ ลวธิ ชี ว่ ยจาตามความถนัดของผเู้ รียน
1.4 ฝึกทักษะ กระบวนการคิด และการเผชิญสถานการณ์โดยการใช้กลวิธีช่วยจาสื่อการ

เรียนรู้เพ่ือพัฒนาการเรียนรู้คาศัพท์ภาษาอังกฤษ ให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้และมีความรอบรู้เป็น
กระบวนการของผสู้ อนในการวจิ ัยท้ังผเู้ รยี นเรยี นรูไ้ ปพร้อมกนั

2. ข้อเสนอแนะในการค้นคว้าครงั้ ตอ่ ไป
2.1 ควรจัดการเรียนการสอนโดยผสมผสานสาระความรู้อื่น ๆ โดยการใช้กลวิธีชว่ ยจาและ

ได้เรียนรู้จากประสบการณ์ ฝึกการปฏิบัติให้ทาได้ด้วยการใช้กลวิธีอ่ืน ๆ เช่น เทคนิคคาสาคัญ (The
Keyword Method)

2.2 ควรให้ผู้เรียนสามารถศึกษาในเวลาเรียนและนอกเวลาเรียนได้ ไม่ควรจากัดเวลาของ
ผู้เรียนใช้กลวิธกี ารชว่ ยจา

2.3 ควรศึกษาค้นควา้ วจิ ยั เก่ียวกบั การจดั การเรียนรดู้ ว้ ยกลวธิ ีช่วยจาอน่ื ๆ เช่น การทอ่ งจา
ในใจและเขยี น การท่องจาออกเสียงเพมิ่ ขน้ึ

2.4 ควรศึกษาการสร้างกิจกรรมการเรียนการสอนเสริมทักษะความรู้ภาษาอังกฤษในช่วง
ช้ันอนื่ ๆ โดยใช้กลวิธชี ่วยจา

เอกสารอ้างอิง
คู่มอื ครูสาระการเรียนร้พู ื้นฐานภาษาองั กฤษ ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 2 กลุม่ สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ

ตามหลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2544. (2549) พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : โรง
พมิ พ์คุรสุ ภาลาดพรา้ ว.
กชกร ธิปัตดี. (2542) การพัฒนาความสามารถในการจาศัพท์ภาษาอังกฤษด้วยรูปแบบการสอนเพื่อการ
ชว่ ยจาสาหรบั นกั ศกึ ษาเอกภาษาองั กฤษ. อุบลราชธานี : สถาบันราชภฎั อุบลราชธานี
โรงเรียนระดมวิทยานุสรณ.์ (2548) เอกสารรายงานข้อมลู คุณภาพการศึกษาช้ันประถมศึกษาปีที่ 1-6.
นครราชสีมา : สานักงานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษานครราชสมี า เขต 4.
อภิรดี จริยารังษีโรจน.์ (2545). การศึกษากลวิธีการรู้คาศัพทเ์ กี่ยวกบั ศัพท์ทางวฒั นธรรมของนักเรียนชนั้
มธั ยมศึกษาปที ี่ 5 ท่ีมีความสามารถในการอ่านภาษาอังกฤษต่างกนั . วทิ ยานิพนธ์ ค.ม.
กรงุ เทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย.
British Council. Teaching English. (2007). <http://www.teachingenglish.org.uk/think/
Bocabulary/Vocab_autonomy.shtml> 23 March, 2006.
Language Centre. Remembering Vocabulary. (2006).
<http://lc.ust.hk/~sac/advice/English/vocabulary/V4.htm> 23 March, 2006.
Lorraine, Cleeton. Dyslexia and Memory. (2002). <http://www.dyslexiaparent.com/mag
39.html> 26 December, 2005.
Thompson, Irene. (2006) Vocabulary Learning Strategies. Available,.
<http://www.public.asu.edu/~ickpl/learningvocab.htm> 23 March, 2006.

330

การสร้างโปรแกรมทดสอบความสามารถทางดา้ นภาษาอังกฤษทางการบัญชี
ของนกั ศกึ ษาสาขาวิชาการบัญชี มหาวิทยาลยั แม่โจ้-แพร่ เฉลมิ พระเกยี รติ

THE CREATION IN TESTING ENGLISH ABILITY PROGRAM IN ACCOUNTING FOR
ACCOUNT STUDENT IN MAEJO UNIVERSITY PHRAE CAMPUS

กรรณิการ์ มอญแก้ว, ดร.พัชรณัฐ ดาวดงึ ส์, ดร.อารกี มล ต.ไชยสวุ รรณ
มหาวิทยาลยั แม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกยี รติ

บทคดั ย่อ
วัตถุประสงค์ของการสร้างโปรแกรมทดสอบความสามารถทางด้านภาษาอังกฤษทางการบัญชี

ของนักศึกษาสาขาวิชาการบัญชี มหาวทิ ยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ ใช้รปู การพัฒนาให้เช่ือมต่อกับ
ระบบออนไลน์ โดยนักศึกษาสามารถเข้าใช้งานโปรแกรมผ่านทางเว็บไซต์ของสาขาการบญั ชี มหาวทิ ยาลัย
แม่โจ้-แพร่เฉลิมพระเกียรติ เพ่ือเป็นแหล่งการเรียนรู้เสริมทักษะคาศัพท์ทางการบัญชีของนักศึกษา
ประกอบด้วยส่วนของการจัดการคาศัพท์ทางด้านบัญชี การค้นหาคาศัพท์ทางด้านการบัญชี และส่วนของ
การทาแบบทดสอบเพื่อวดั ความรู้เก่ียวกับคาศพั ทเ์ ฉพาะทางการบัญชี

การสร้างโปรแกรมทดสอบความสามารถทางด้านภาษาอังกฤษทางการบัญชี ผู้วิจัยได้ใช้เร่ืองมือ
ในการพัฒนาระบบดังน้ี สว่ นของการพัฒนาส่วนตดิ ต่อกับผใู้ ช้ได้ใชภ้ าษา PHP, HTML, CSS, Java Script
ในส่วนของการตกแต่งเทมเพส Bootstrap Framework และโดยใช้เครื่องมือ โปรแกรม Notepad++
เป็นเคร่ืองมือในการพัฒนา ในส่วนติดต่อกับผู้ใช้ได้ใช้เครื่องมือ PHPmyadmin และในส่วนการจัดการ
ฐานข้อมลู ใช้ MySQL

การประเมินผลการใช้งานโปรแกรมทดสอบความสามารถทางด้านภาษาอังกฤษทางการบัญชีของ
นักศึกษาสาขาวชิ าการบัญชี มหาวทิ ยาลยั แมโ่ จ้ – แพร่ เฉลิมพระเกียรติ แบง่ การประเมนิ ออกเป็น 2 ส่วน
คือ ผู้ใช้งานท่ัวไป กับ ผู้ดูแลระบบ ในส่วนของผู้ใช้งานท่ัวไปคือนักศึกษาสาขาวิชาการบัญชี ตั้งแต่ชั้นปีท่ี
1 – 4 ของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ – แพร่ เฉลมิ พระเกยี รติ พบว่า ภาพรวมของการใช้ระบบอยู่ในระดับ ดี โดย
ทผ่ี ใู้ ช้มีความคิดเหน็ ว่าฟงั ก์ชันการใช้งานของระบบมีคะแนนค่าเฉล่ียอยู่ในระดับสูงสุดอยู่ที่ 3.95 แต่พบว่า
ผู้ใช้งานท่ัวไปมีความเห็นว่าระบบความปลอดภัยมีคะแนนค่าเฉล่ียน้อยที่สุดอยู่ที่ 3.82 ส่วนของผู้ดูแล
ระบบคืออาจารย์ประจาสาขาการบัญชี มีความคิดเห็นว่าภาพรวมของระบบดีมาก และมีข้อเสนอแนะว่า
ควรมีการพฒั นาใหร้ ะบบแบบทดสอบสามารถ เพมิ่ ลบ และแกไ้ ข แบบทดสอบได้

คาสาคญั : โปรแกรม, ความสามารถทางด้านภาษาองั กฤษ, นักศึกษาสาขาวชิ าการบญั ชี

Abstract
The Creation in Testing English Ability Program in Accounting for Account Student in

Maejo University Phrae Campus was using the development model in order to connect
with the online system. Therefore, students were able to use this program via the
department of accountancy, Maejo University Phrae campus website in order to be an
accountancy vocabulary learning resource. The program consisted of accountancy
vocabulary management and achievement tests in order to measure the accountancy
vocabulary knowledge of students.

331

In the construction of the English language proficiency test program in accountancy
for students department of accountancy, Maejo University Phrae campus, the researchers
used the following instruments : 1. PHP HTML CSS Java Script in order to develop the
user connection 2. Bootstrap Framework for template decoration 3. Notepad++ for program
development 4. PHPmyadmin and 5. MySQL for data base management.

The evaluation of the using English language proficiency test program in
accountancy for students department of accountancy, Maejo University Phrae campus was
divided into 2 sections: 1. the users and 2. the administers. In the section of the user, the
users were students in the department of accountancy (first year, second year, third year
and fourth year students) of Maejo University Phrae campus. The result found that the
whole system was using at an excellent level. The user opinion towards the program found
that the system function was at high level (3.95). But the user opinion towards the security
system was at a poor level (3.82).The administers are the lecturers in the department of
accountancy. Their opinion towards the whole system was at high level. They also
suggested that the program should have system development in order to add, delete, and
edit the achievement test.

Keywords : Program, English Ability , Account Student

บทนา
จากนโยบายการส่งเสริมการลงทุนของภาครัฐบาล ทาให้ประเทศไทยมีบริษัทข้ามชาติเข้ามา

ลงทุนประกอบธุรกิจอย่างมากมาย บริษัทเหล่าน้ันจะต้องมีการจัดทาบัญชีและนาส่งงบการเงินตาม
กฎหมายไทยให้กับหน่วยงานของรัฐเช่นเดียวกับบรษิ ัททลี่ งทุนโดยคนไทย ซึ่งในการจัดทาบัญชีของบริษัท
ท่ีลงทุนโดยชาวต่างชาติหรือบริษัทใหญ่ ๆ จะใช้โปรแกรมบริหารจัดการทรัพยากร ERP (Enterprise
Resource Planning) ในการวางแผนทรัพยากรทางธรุ กิจขององค์กรโดยรวม เปน็ ระบบที่ใช้ในการจัดการ
และวางแผนการใช้ทรัพยากรต่าง ๆ ขององค์กร โดยการเชื่อมโยงระบบงานต่าง ๆ ขององค์กรเข้าด้วยกัน
เช่น ระบบงานทางด้านบัญชีและการเงิน ระบบงานทรัพยากรบุคคล ระบบบริหารการผลิต รวมถึงระบบ
การกระจายสินค้า เพ่ือชว่ ยให้การวางแผนและบริหารทรัพยากรของบริษัทนั้นเปน็ ไปอย่างมีประสิทธิภาพ
ท้ังยังช่วยลดเวลาและขั้นตอนการทางาน โปรแกรม ERP ส่วนใหญ่จะเป็นโปรแกรมภาษาอังกฤษ จึงต้อง
บันทึกรายการและจัดทางบการเงินเป็นภาษาอังกฤษ เน่ืองจากการใช้งานระบบซอฟต์แวร์ของงานบัญชี
โดยสว่ นใหญ่จะเป็นภาษาองั กฤษ นกั บัญชีในฐานะที่เป็นบุคลากรของหนว่ ยงานหรือในฐานะของผู้ทาบัญชี
ในสานักงานบัญชีและผู้ตรวจสอบบัญชี ซ่ึงมีความเก่ียวข้องกับบริษัทเหล่านี้ จาเป็นต้องมีทักษะในการใช้
คาศพั ท์เฉพาะด้านการบัญชีได้เปน็ อย่างดี

ในแต่ละปีท่ีผ่านมาอาจารย์ประจาสาขาวิชาการบัญชี มหาวิทยาลัยแม่โจ้ – แพร่ เฉลิมพระ
เกียรติ มีการออกนิเทศงานนักศึกษาท่ีไปสหกิจศึกษาตามสถานประกอบการต่าง ๆ ได้รับข้อเสนอแนะมา
จากสถานประกอบการส่วนมาก โดยเฉพาะบริษัทที่อยู่ในเขตกรุงเทพฯและปริมณฑล รวมถึงบริษัทในเขต
นิคมอุตสาหกรรม ในเรื่องของภาษาอังกฤษท่ีเกี่ยวข้องกับงานบัญชี นักศึกษาไม่มีความรู้เพียงพอในด้าน
คาศัพท์เฉพาะทางบัญชีท่ีต้องใช้ในงานประจา ซึ่งเป็นสิ่งสาคัญในการแข่งขันในตลาดแรงงานและการ
ประกอบวชิ าชพี ในอนาคต

332

จากปัญหาท่ีกล่าวมาข้างต้นทางผู้วิจัยจึงมีความคิดท่ีจะนาเทคโนโลยีสารสนเทศมาพัฒนา
โปรแกรมทักษะภาษาอังกฤษเฉพาะทางสาขาวิชาการบัญชี มหาวิทยาลัยแม่โจ้ –แพร่ เฉลิมพระเกียรติ จึง
ทาให้เกิดความคิดในการสร้างโปรแกรมเพ่ือทดสอบทักษะทางด้านภาษาอังกฤษทางการบัญชี ของนักศึกษา
สาขาวิชาการบัญชี มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ เพ่ือเป็นการทดสอบทักษะความรู้
ความสามารถด้านภาษาอังกฤษทางการบัญชี และสร้างความกระตือรือร้นในการพัฒนาตนเองให้แก่
นักศึกษา เพื่อเตรียมความพร้อมให้แก่นักศึกษาในการออกสหกิจครั้งต่อไป เป็นการเสริมสร้างศักยภาพใน
การก้าวสู่ความเป็นมืออาชีพและเป็นท่ีต้องการของตลาดแรงงานในอนาคต สามารถนาไปประยุกต์ใช้ในการ
เรียนการสอนของสาขาวิชาการบัญชี ซ่ึงโปรแกรมถูกออกแบบให้ใช้งานได้ง่ายและสะดวกในการจัดเก็บ
ข้อมูล รวมท้ังนาเอาเทคโนโลยีสารสนเทศมาประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอน โดยโปรแกรมทดสอบทักษะ
ภาษาอังกฤษทางการบัญชี จะสามารถค้นคว้าหาคาศัพท์เฉพาะทางการบัญชี ทาแบบทดสอบก่อนเรียน–
หลงั เรยี นในบทเรยี นต่าง ๆ ได้อกี ดว้ ย รวมถึงมีการเชอ่ื มโยงไปยังเว็บไซต์ต่าง ๆ ท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั งานบัญชี

วตั ถุประสงคข์ องการวิจัย
1. เพื่อพัฒนาโปรแกรมทดสอบความรู้คาศัพทท์ างด้านการบัญชี
2. เป็นแหล่งเรียนรู้เสรมิ ทักษะทางดา้ นภาษาองั กฤษทางด้านการบญั ชเี พื่อเตรียมความพร้อม

ของนักศึกษาก่อนการออกไปสหกจิ ศึกษา

วธิ ดี าเนินการวิจัย
1. ประชากร
ประชากรทใ่ี ช้ในการวิจยั คร้งั น้ี หมายถงึ กลุม่ เปา้ หมายท่ีเปน็ ผู้ใช้โปรแกรม ได้แก่ นกั ศึกษา

สาขาวชิ าการบญั ชี ชั้นปที ่ี 1-4 จานวน 126 คน
2. เคร่ืองมือที่ใชใ้ นการวจิ ยั
เครื่องมือท่ีใช้ในการวิจยั ประกอบด้วย
2.1 โปรแกรมประยกุ ตส์ าหรับการออกแบบและพัฒนาโปรแกรมทดสอบทักษะทาง

ภาษาองั กฤษทางการบัญชี ของนักศกึ ษาสาขาวิชาการบัญชี มหาวิทยาลยั แมโ่ จ้-แพร่ เฉลิมพระเกยี รติ
2.1.1 ฮาร์ดแวร์ เครอื่ งคอมพวิ เตอร์สว่ นบุคคล 1 เครื่อง โดยมีคุณลกั ษณะ ดังน้ี
- หนว่ ยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit: CPU) รุ่น Core i3
Duo ความเร็ว 2.27 GHz
- หนว่ ยความจาหลัก (Random Access Memory: RAM) ความจุ 3 GB
- ฮาร์ดดสิ ก์ (Hard Disk Drive) 350 GB
2.1.2 ซอฟต์แวร์
- ระบบปฏิบตั ิการไมโครซอฟท์ วินโดวส์ เอท (Microsoft Windows 10)
- ระบบจัดการฐานข้อมลู มายแอสควิ แอล (MySQL)
- โปรแกรมจัดการฐานข้อมูล แอพเซิรฟ์ (AppServ)
- โปรแกรมไมโครซอฟท์ อนิ เทอรเ์ น็ตเอกซ์พลอเรอร์ รนุ่ สบิ (Microsoft
Internet Explorer 10)
- โปรแกรม อะโดบี โฟโตชอป รุ่น ซี เอส ห้า (Adobe Photoshop CS5)
- โปรแกรม โนต๊ แพด พลัส พลสั (Notepad++)

333

2.1.3 ระบบปฏิบตั ิการ
- ระบบปฏิบัติการ Microsoft Windows 10

2.1.4 ภาษาคอมพวิ เตอร์และโปรแกรมที่ใช้
- ภาษา พี เอช พี (PHP)
- ภาษา เอช ที เอ็มแอล (HTML)
- ซี เอส เอส (CSS)
- จาวาสคริปต์ (Java Script)
- โปรแกรม XAMPP
- โปรแกรม Notepad++
- โปรแกรม MySQL
- Bootstrap Framework

2.2 แบบสอบถามเพ่ือประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้โปรแกรมทดสอบทักษะทาง
ภาษาอังกฤษทางการบัญชี ของนักศึกษาสาขาวิชาการบัญชี มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ ได้
แบ่งส่วนประกอบออกเป็น 3 ส่วน ได้แก่

2.2.1 ส่วนท่ี 1 ข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถาม เป็นคาถามเกี่ยวกับ
สถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม

2.2.2 ส่วนที่ 2 การประเมินความพึงพอใจที่มีต่อการใช้งานระบบ เป็นการสอบถาม
ข้อมูลความคิดเห็นของผู้ตอบแบบสอบถามภายหลังจากท่ีได้ทดลองใช้โปรแกรมท่ีพัฒนาขึ้น ซึ่ง
แบบสอบถามแบ่งออกเปน็ 3 ดา้ น คอื

- แบบสอบถามประเมินความพึงพอใจด้าน ตรงตามความต้องการของผู้ใชร้ ะบบ
- แบบสอบถามความพึงพอใจด้านการทางานได้ตามฟังกช์ ันงานของระบบ
- แบบสอบถามความพึงพอใจด้านความง่ายต่อการใช้งานระบบ
2.2.3 สว่ นท่ี 3 ขอ้ เสนอแนะความคิดเห็น เปน็ คาถามปลายเปิดเพ่ือสอบถามเก่ียวกับ
ข้อเสนอแนะเพ่ือการปรับปรงุ ระบบ
3. การเก็บรวบรวมข้อมลู
3.1 การสรา้ งโปรแกรมทดสอบความสามารถทางดา้ นภาษาองั กฤษทางการบัญชีของนักศึกษา
สาขาวิชาการบัญชี มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ ผู้วิจัยได้แบ่งขั้นตอนในการดาเนินงานและ
เก็บรวบรวมข้อมูล ตามแผนภาพ ดังน้ี

ศึกษาปัญหาและความต้องการของระบบ
การวเิ คราะหแ์ ละออกแบบระบบ
การพัฒนาระบบ
การทดสอบระบบ
การประเมนิ ความพึงพอใจ

ภาพท่ี 1 ขัน้ ตอนในการดาเนินงานและเกบ็ รวบรวมข้อมลู

334

3.1.1 ศึกษาปัญหาและความต้องการของระบบ
ในข้ันตอนน้ีผู้วิจัยได้มีการสัมภาษณ์อาจารย์ประจาหลักสูตรสาขาวิชาการ

บญั ชี
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ – แพร่ เฉลิมพระเกียรติ ถึงความต้องการในการสร้างแหล่งเก็บรวบรวมคาศัพท์เฉพาะ
ทางบัญชี ท่ีมีความถูกต้องและมีคาศัพท์ท่ีจาเป็นและพบเจอในบทเรียน รวมถึงคาศัพท์ท่ีมีความ
จาเป็นต้องใช้ในการปฏิบัติงานจริง และเน่ืองจากสาขาวิชาการบัญชีมีนักศึกษาจานวนมาก เวลาทาการ
ทดสอบจะต้องใช้กระดาษจานวนมากและจาเป็นต้องจัดการเวลาเพ่ือให้มีห้องเพียงพอแก่นักศึกษา อาจ
เกิดข้อผดิ พลาดในการตรวจและลงคะแนน เนอื่ งจากจานวนนักศึกษามีจานวนมากกว่าอาจารยผ์ ูส้ อน การ
สอบปากเปล่า หรือการทาแบบทดสอบในห้องเรียนจึงเป็นปัญหาท่ีทาให้อาจารย์ใช้เวลาในการตรวจสอบ
นาน หรอื การชารุดสูญหายของการคาตอบ อีกท้ังเม่ือนักศึกษาออกสหกิจ นักศึกษามีความรู้ไม่เพียงพอใน
การใช้ภาษาอังกฤษทางบัญชี การที่จะสืบค้นเพ่ือหาความหมายของคาศัพท์นั้นอาจจะจาเป็นต้องค้นหา
จากหลาย ๆ แหล่ง เพ่อื ให้ไดค้ วามหมายที่ถูกต้องตามหมวดหมูท่ ่ีต้องการ

3.1.2 การวเิ คราะห์และออกแบบระบบ
3.1.2.1 การวิเคราะห์ระบบโปรแกรมทดสอบความสามารถทางด้าน

ภาษาอังกฤษทางการบัญชี ของนกั ศกึ ษาสาขาวิชาการบัญชี ได้มกี ารออกแบบระบบ โดยการนาข้อมูลที่ได้
จากการสัมภาษณ์มาทาการวิเคราะห์ จากการวิเคราะห์สามารถนามาเขียนเป็น Entity Relationship
Diagram ได้ดงั น้ี

ภาพท่ี 2 แผนภาพแสดง Entity Relationship Diagram ของโปรแกรมพฒั นาทักษะด้านภาษาอังกฤษ
เฉพาะทางสาขาวิชาการบญั ชี

335

จากแผนภาพแสดงแสดง Entity Relationship Diagram ของโปรแกรมทดสอบความสามารถ
ทางด้านภาษาอังกฤษทางการบัญชี ของนกั ศึกษาสาขาวชิ าการบัญชี นาผู้วจิ ยั ได้นาข้อมูลดังกล่าวมาสร้าง
เป็นตารางเพื่ออธิบายรายละเอยี ดของแตล่ ะตารางที่ใช้ในการเก็บข้อมลู ต่อไป

3.1.2.2 การออกแบบระบบ
- การแสดงความสัมพันธ์ของผู้ใช้ที่เกี่ยวกับระบบและระบบจะแสดง

ด้วย Context Diagram ซ่ึงความสัมพันธ์นี้จะได้มาจากการเก็บข้อมูลและความต้องการของระบบ
ฐานขอ้ มูล สมาชกิ ผู้ดแู ลระบบ การไหลของข้อมูลในลาดบั แรกจะใช้ Context Diagram ซ่งึ แสดงส่วนท่ีอยู่
ภายนอกระบบ เพ่ือท่ีจะบอกว่าระบบนั้นได้รับข้อมูลมาจากท่ีไหน และผลลัพธ์ต่าง ๆ ของระบบจะถูก
ส่งไปที่ไหนบา้ ง โดยจะมพี จนานุกรมข้อมูล (Data Dictionary) เป็นคาอธิบายในสว่ นประกอบการไหลของ
ขอ้ มูลตา่ ง ๆ ทเี่ กดิ ขึ้นในระบบ

ภาพที่ 3 แผนภาพแสดงการไหลของ (Data Flow Diagram : DFD) ของระบบโปรแกรมทดสอบความสามารถ
ทางด้านภาษาองั กฤษทางการบญั ชี ระดับสูงสุด (Context Diagram)
- ผังเว็บไซต์ (Site Map) คือ แผนท่ีเว็บไซต์หรือแผนผังเว็บไซต์ มีหน้าท่ี

อธิบายโครงสร้างทั้งหมดของเว็บไซต์ เพื่อเป็นการสร้างปฏิสัมพันธ์ที่ดีต่อ Search Engine (Google,
Yahoo) และผู้ใช้งานท่ัวไปด้วย ซึ่งในหน้า Sitemap นี้จะเป็นการรวม Link ทั้งหมดภายในเว็บไซต์ให้อยู่
เพียงหนา้ น้ีหน้าเดยี ว Site Map ท่ีออกแบบในระบบโปรแกรมทดสอบความสามารถทางด้านภาษาอังกฤษ
ทางการบัญชี มีรายละเอยี ดดังภาพ

336

ภาพท่ี 4 แผนผังเวบ็ ไซต์ระบบโปรแกรมทดสอบความสามารถทางด้านภาษาอังกฤษทางการบัญชี
3.1.2.3 การออกแบบสว่ นติดต่อผู้ใช้
ในขนั้ ตอนการออกแบบโปรแกรมทดสอบความสามารถทางด้านภาษาอังกฤษ

ทางการบัญชี ผู้ศึกษาได้ทาการออกแบบส่วนติดต่อกับผู้ใช้งานโดยแยกออกเป็น 2 ส่วนดังน้ี ส่วนติดต่อ
ผใู้ ช้สาหรับผู้งานท่วั ไป สว่ นติดตอ่ สาหรบั ผดู้ แู ลระบบ

- ส่วนติดตอ่ ผใู้ ชส้ าหรบั ผ้ใู ช้งานท่ัวไป ประกอบด้วย หนา้ จอหลกั ของผู้ใช้งาน
การเข้าสู่ระบบ การสมคั รสมาชกิ การคน้ หาคาศัพท์ และการเขา้ ทาแบบทดสอบ เป็นตน้

- ส่วนติดต่อสาหรับผู้ดูแลระบบ ประกอบด้วย หน้าจอหลักของผู้ดูแลระบบ
และอาจารย์ประจาสาขา การสมัครสมาชิก การค้นหาและเพิ่มคาศัพท์ การดูคะแนนสอบของนักศึกษา
เป็นตน้

3.1.3 การพัฒนาระบบ
ในการกระบวนการพัฒนาระบบได้เริ่มต้นขึ้นเม่ือมีการวิเคราะห์และออกแบบเสร็จ

สิ้น ผู้พัฒนาได้เริ่มต้นทาการพัฒนาระบบตามส่วนต่าง ๆ ท่ีมีการออกแบบไว้ ซึ่งได้ข้อมูลมากจากความ
ต้องการของผู้ใช้งานระบบ แล้วนามาพัฒนาให้เกิดระบบ ในกระบวนการพัฒนาระบบน้ันได้มี การ
ปฏิบัติงานไปตาม SDLC ท่ีมีการวางแผนไว้ ในขั้นตอนน้ีเป็นการนาเอาข้อมูลที่ได้จากการวิเคราะห์และ
ออกแบบระบบมาทาการพฒั นา

3.1.4 การทดสอบและพฒั นาระบบ
ในการทดสอบระบบจะแบง่ การทดสอบออกเปน็ 2 ส่วน คือ
3.1.4.1 ส่วนของนักศึกษา จะทดสอบการทางานในแต่ละส่วนที่เกี่ยวข้องท้ังใน

ส่วนของการค้นหาคาศัพท์ การสมัครสมาชิก Login การทาแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน และการดูผล
คะแนนการทาแบบทดสอบก่อนและหลังเรยี น วา่ จะต้องทางานได้ครบถ้วนและถกู ตอ้ ง

337

3.1.4.2 ส่วนของอาจารย์ ส่วนนี้จะเป็นการทดสอบการค้นหาคาศัพท์ การเพิ่ม
ขอ้ มลู การลบคาศัพท์ การสมัครสมาชิก Login และการดูคะแนนการทาแบบทดสอบก่อนเรียนและหลัง
เรียนของนักศึกษารายบุคคลและการสรุปคะแนนทั้งหมด ซ่ึงผู้ดูแลระบบสามารถเรียกดูข้อมูลใน
ฐานขอ้ มลู ไดท้ ัง้ หมด

3.1.5 การประเมินความพงึ พอใจ
ใช้กลุ่มตัวอย่างนักศึกษาสาขาวิชาการบัญชี จานวน 126 คน แบ่งออกเป็น 4 ชั้นปี

ให้ผู้ใช้ทาการทดลองใช้งานระบบค้นหาคาศัพท์ สมัครสมาชิก Login และทาแบบทดสอบก่อนเรียนและ
หลังเรียนและทาการดูผลคะแนนหลังจากทดลองใช้งานระบบเรียบร้อยแล้วว่าการนาเสนอข้อมูลความ
ครบถ้วนของคาศัพท์ ความยากง่ายของแบบทดสอบ รูปแบบการจัดวางต่าง ๆ รวมถึงมีความพึงพอใจที่มี
ตอ่ ระบบมากน้อยเพียงใด

3.2 การประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้โปรแกรมทดสอบทักษะทางภาษาอังกฤษทางการ
บัญชีของนักศึกษาสาขาวิชาการบัญชี มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ เม่ือกลุ่มตัวอย่างได้
ทดลองใช้งานโปรแกรมทดสอบทักษะทางภาษาอังกฤษทางการบัญชีเสร็จส้ินแล้ว ผู้วิจัยดาเนินการแจก
แบบสอบถามประเมินความพงึ พอใจของผู้ใชร้ ะบบ เมอื่ ได้ข้อมลู แบบสอบถาม ผูว้ ิจัยรวบรวมข้อมูลและนา
ข้อมูลไปวเิ คราะห์ทางสถิติ

4. การวเิ คราะหข์ ้อมลู
การวเิ คราะหข์ ้อมลู ความพึงพอใจของผูใ้ ช้งานโดยใชเ้ ครื่องคอมพิวเตอร์ประมวลผลดว้ ย

โปรแกรมสาเรจ็ รูป SPSS for windows ซ่ึงไดเ้ ลือกใชส้ ถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ อตั ราส่วนร้อยละ
คา่ ความถ่ี ค่าเฉลยี่ เลขคณติ และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เพื่อวัดค่าเฉล่ียและการกระจายขอ้ มูล เพ่ือ
วเิ คราะหป์ ัจจัยที่มีผลต่อความพงึ พอใจของนักศึกษาทท่ี ดลองใชโ้ ปรแกรม

สรุปผลการวจิ ัย
การวเิ คราะห์ข้อมูลจากแบบสอบถาม โดยผ้ตู อบแบบสอบถามเป็นนักศึกษาสาขาวิชาการบัญชี ชน้ั

ปีท่ี 1-4 จานวน 126 คน สามารถสรุปผลความพึงพอใจของผู้ใช้โปรแกรมทดสอบทักษะทางภาษาอังกฤษ
ทางการบญั ชี ของนกั ศึกษาสาขาวชิ าการบัญชี มหาวทิ ยาลยั แมโ่ จ้-แพร่ เฉลมิ พระเกียรติ ได้ดงั นี้

ส่วนที่ 1 ข้อมูลสว่ นบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถาม พบวา่
ผู้ตอบแบบสอบถาม จานวน 126 คน เป็นเพศหญิง 78 คน คิดเป็นร้อยละ 78.9 เพศ

ชาย 26 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 21.1 ชน้ั ปีทศี่ กึ ษา ประกอบดว้ ยชั้นปที ี่ 1 จานวน 26 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 20.8
ช้ันปที ี่ 2 จานวน 33 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 26.4 ชน้ั ปที ี่ 3 จานวน 41 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 32.8 และช้นั ปีที่ 4
จานวน 26 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 20

ส่วนท่ี 2 แสดงความพงึ พอใจท่ีมตี ่อระบบหลังการทดลองใชง้ าน
การประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาสาขาวิชาการบัญชี มหาวิทยาลัยแม่โจ้ – แพร่

เฉลมิ พระเกยี รติ ผใู้ ช้งานระบบโปรแกรมพฒั นาทักษะด้านภาอังกฤษเฉพาะทางสาขาวชิ าการบัญชี โดยมี
รายละเอยี ดดงั ต่อไปนี้

- ด้านตรงตามความต้องการของผู้ใช้งานระบบ
นักศึกษามีความพึงพอใจด้าน ตรงตามความต้องการของผู้ใช้งานระบบ อยู่ในระดับ
“มาก” มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.85 ในเร่ืองของความชัดเจนของข้อความท่ีแสดงบนหน้าจอ อยู่ในระดับ
“มาก” มีค่าเฉล่ีย 3.87 รองลงมาพบว่าความง่ายในการใช้งาน อยู่ในระดับ “มาก” มีค่าเฉลี่ย 3.87 และ
ความหมาะสมของตาแหน่งการจดั วางส่วนต่าง ๆ บนจอภาพ อย่ใู นระดบั “มาก” มคี ่าเฉล่ยี 3.83

338

- ด้านการทางานไดต้ ามฟงั ก์ชันงานของระบบ
นักศึกษามีความพึงพอใจต่อการทางานได้ตามฟังก์ชันงานของระบบ อยู่ในระดับ
“มาก” มคี ่าเฉลย่ี เท่ากับ 3.95 ในเรอื่ งของความน่าเชื่อถือของระบบ อยู่ในระดับ “มาก” มคี า่ เฉลย่ี 3.99
รองลงมาพบว่าผู้ใช้งานได้รับประโยชน์จากการใช้งานระบบ อยู่ในระดับ “มาก” มีค่าเฉล่ีย 3.95 และ
ภาพรวมการใชง้ านของระบบ อยู่ในระดบั “มาก” มีค่าเฉลีย่ 3.91
- ด้านความงา่ ยตอ่ การใชง้ านระบบ
นักศกึ ษามีความพึงพอใจต่อความง่ายในการใช้งานระบบ อยู่ในระดับ “มาก” คา่ เฉลีย่
เท่ากับ 3.87 ในเรื่องของความสามารถในการสืบค้นคาศัพท์ อยู่ในระดับ “มาก” มีค่าเฉลี่ย 3.92 และ
พบว่าระบบแบบทดสอบมีความถูกต้อง อยู่ในระดบั “มาก” มคี ่าเฉลย่ี 3.81

อภิปรายผลการวจิ ัย
1. การสร้างโปรแกรมทดสอบความสามารถทางดา้ นภาษาองั กฤษทางการบญั ชี ของนกั ศึกษา

สาขาวิชาการบัญชี มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ ผู้วิจัยได้ดาเนินการอย่างเป็นระบบในการ
วิเคราะห์และออกแบบโปรแกรมตามข้ันตอนในการสร้างโปรแกรม รวมทั้งมีการทดลองใช้งานโปรแกรม
และนาเอาผลการทดลองมาปรับปรุงพัฒนาจุดบกพร่อง เพื่อให้สามารถตอบสนองจุดมุ่งหมายเฉพาะของ
โปรแกรม คือ เป็นแหล่งเรียนรู้เสริมทักษะทางด้านภาษาอังกฤษทางด้านการบัญชีเพื่อเตรียมความพร้อม
ของนกั ศึกษาก่อนการออกไปสหกิจศึกษา

2. จากการรวบรวมข้อมูลแบบสอบถามการใช้งานของระบบสาหรบั นักศึกษาสาขาวิชาการบัญชี
ทาให้ทราบถึงความพึงพอใจของผู้ใช้งานที่มีต่อระบบ โดยสรุปได้ว่า ด้านตรงตามความต้องการของ
ผู้ใช้งานระบบ นักศึกษามีความพึงพอใจในภาพรวมในระดับ “มาก” มีความพึงพอใจสูงสุดในเรื่องของ
ความชดั เจนของข้อความท่ีแสดงบนหน้าจอ รองลงมาพบว่าความง่ายในการใช้งาน และความหมาะสมของ
ตาแหน่งการจัดวางส่วนต่าง ๆ บนจอภาพ ด้านการทางานได้ตามฟังก์ชันงานของระบบ นักศึกษามีความ
พึงพอใจในภาพรวม ในระดับ “มาก” โดยพึงพอใจสูงสุดในเรื่องของความน่าเชื่อถือของระบบ รองลงมา
พบวา่ ผใู้ ชง้ านไดร้ ับประโยชน์จากการใชง้ านระบบ และภาพรวมการใช้งานของระบบตามลาดับ ดา้ นความ
ง่ายต่อการใช้งานระบบนักศึกษามีความพึงพอใจในภาพรวมในระดับ “มาก” โดยพึงพอใจสูงสุดในเร่ือง
ของความสามารถในการสืบคน้ คาศัพท์ และพบวา่ ระบบแบบทดสอบมีความถกู ตอ้ ง

3. ผลการแสดงความคิดเหน็ ของนักศึกษา ตอ่ การใชง้ านโปรแกรม มีดังต่อไปน้ี
1. ระบบเปน็ แหลง่ สบื ค้นคาศัพทท์ ี่ดี
2. ระบบสามารถค้นหาคาศัพทง์ ่ายดี
3. มีประโยชนต์ อ่ การเรียนมากขึ้น
4. มีประโยชนต์ ่อการนาไปใชใ้ นการออกสหกิจศึกษา
5. เปน็ โปรแกรมทีใ่ ช้เตรียมคาพร้อมดา้ นการใช้คาศัพทเ์ ฉพาะทางก่อนออกสหกิจศกึ ษาทด่ี ี

ข้อเสนอแนะ
1. ข้อเสนอแนะเพ่ือการนาผลการวิจัยไปใช้
1.1 ควรมีการพัฒนาใหร้ ะบบคาศัพท์มกี ารจาแนกหมวดหมู่ในการใช้งานคาศัพท์
1.2 ควรมีการพัฒนาระบบเพมิ่ ลบ แก้ไข แบบทดสอบ

339

แหล่งอ้างอิง
กิตติ ภักดีวฒั นะกุล และจาลอง ครูอตุ สาหะ. (2545). คัมภีร์ระบบฐานข้อมลู (พิมพ์คร้ังที่ 8). กรุงเทพฯ:

เคทีพี คอมพ์ แอนด์ คอนซัลท์.
ณฏั ฐพนั ธ์ เขจรนนั ทน์. (2558). วิเคราะหอ์ อกแบบระบบสารสนเทศ. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคช่ัน.
ธนากร เกตุสุขา. (2556). ระบบบริหารการจัดการข้อสอบออนไลน.์ ปริญญาวิทยาศาสตรบ์ ัณฑิต ภาควิชา

วทิ ยาการคอมพวิ เตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลยั สยาม.
สุชาดา กรเพชรปาณี ปิยะทิพย์ ตินวร และโสฬส สุขานนท์สวัสดิ์. (2559). การพัฒนาโปรแกรมการ

ทดสอบ แบบปรับเหมาะด้วยคอมพิวเตอรส์ าหรับการจัดสอบ O-NET. วารสารวทิ ยาการวิจัยและ
วทิ ยาการปญั ญา. 14(1), 14-31.
อรวรรณ อ่ิมสมบัติ และฐากรพฤกษวันประสุต. (2557). การวิเคราะห์การประเมินคุณภาพแบบทดสอบ
ออนไลน.์ ใน การประชมุ วิชาการระดับชาติด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ. นครราชสมี า: โรงแรมทอง
สมบูรณ์คลบั .
อลิสา วานิชดี สุพิมพ์ ศรีพนัธ์วรสกุล และนรินทร์ทิพย์ ทองศรี. (2551). การพัฒนาแบบทดสอบวัด
ความสามารถด้านการใช้ภาษาอังกฤษ โดยใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ในระบบการศึกษาทางไกล.
กรงุ เทพฯ: มหาวทิ ยาลัยสุโขทัยธรรมาธริ าช.

340

ผลการจดั การเรียนรโู้ ดยใช้วธิ ีการสอนแบบเนน้ กระบวนการคดิ โดยใช้เทคนคิ KWDL ที่
มตี ่อผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนในรายวชิ าสถิติศาสตร์ไมอ่ ิงพารามเิ ตอร์

THE EFFECTS OF THE THINKING PROCESS LEARNING WITH KWDL TECHNIQUE ON
LEARNING ACHIEVEMENT IN NONPARAMETRIC STATISTICS COURSE

รุ่งกานต์ ใจวงคย์ ะ
สาขาวิชาสถติ ิ คณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวิทยาลยั แม่โจ้

บทคดั ยอ่
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาผลการเรียนรู้ของนักศึกษาท่ีเรียนรู้โดยใช้วิธีการ

สอนแบบเน้นกระบวนการคิด โดยใช้เทคนิค KWDL ในรายวิชา สต423 สถิติศาสตร์ไม่อิงพารามิเตอร์
และ 2) เพ่ือศึกษาความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิค KWDL ในรายวิชา สต423
สถิติศาสตร์ไม่อิงพารามิเตอร์ โดยศึกษาจากนักศึกษาที่เรียนรายวิชา สต423 สถิติศาสตร์ไม่อิง
พารามิเตอร์ ภาคเรียนที่ 1/2560 ทั้งหมด จานวน 29 คน และเครื่องมือท่ีใช้คือ แบบทดสอบวัด
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชา สต423 สถิติศาสตร์ไม่อิงพารามิเตอร์ และแบบสอบถามความพึงพอใจ
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้เทคนิค KWDL ในรายวิชาสถิติศาสตร์ไม่อิงพารามิเตอร์ ผลการวิจัย
สรุปไดว้ า่ นกั ศึกษาที่เรยี นโดยใช้วธิ ีการสอนแบบเนน้ กระบวนการคิด โดยใชเ้ ทคนิค KWDL ในรายวิชา
สต423 สถิตศิ าสตรไ์ ม่อิงพารามิเตอร์ ผา่ นเกณฑ์ที่กาหนดทกุ คน โดยส่วนใหญ่ ได้เกรด B+ รองลงมาได้
เกรด A และนกั ศึกษามคี วามพงึ พอใจต่อการจดั การเรียนในภาพรวมอย่ใู นระดับมากทีส่ ุด

คาสาคัญ: การจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้เทคนคิ KWDL, ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียน, ความ
พึงพอใจในการเรียน

ABSTRACT
The objectives of this research were to study the learning achievement and study

satisfaction of student with teaching and learning management in nonparametric statistics
course (ST423) by KWDL technique. The population was 29 students enrolled in ST423
nonparametric statistics course of the first semester in academic year 2017. And
achievement tests and questionnaires were used as the tool for gathering information. The
result of this research concluded that all of student in this course passes the criteria of
assessment by mostly got B+ and A respectively. And the point of satisfaction of student
was found that the mostly student satisfied in the highest level

Keywords: KWDL Technique, learning achievement, satisfaction of learning

บทนา
การจัดการศึกษาในปัจจุบันได้ยึดตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ซ่ึงได้

กาหนดให้มีการจัดการศึกษาท่ีมุ่งเน้นความสาคัญทงั้ ด้านรา่ งกาย ความรู้ คุณธรรม มีความรู้และทักษะ
พน้ื ฐาน รวมท้ังเจตคติทจ่ี าเป็นตอ่ การศกึ ษาต่อ การประกอบอาชีพและการศึกษาตลอดชีวติ โดยมงุ่ เน้น
ผู้เรียนเป็นสาคัญ บนพื้นฐานความเช่ือว่า ทุกคนสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้เต็มตามศักยภาพ

341

(กระทรวงศึกษาธิการ, 2551) ดังนั้นครูผู้สอนจึงต้องมีแนวทางในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่
มุ่งให้ผู้เรียนเกิดสมรรถนะสาคัญ 5 ประการ คือ ความสามารถในการส่ือสาร ความสามารถในการคดิ
ความสามารถในการแกป้ ัญหา ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ติ และความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี
โดยการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนท่ีส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความสามารถในการคิดมีหลายเทคนิค หนึ่ง
ในนั้นคือการจัดการเรียนการสอนด้วยเทคนิค KWDL ซึ่งถือได้ว่าเป็นวิธีการจัดการเรียนการสอนให้แก่
นักศกึ ษาผ่านการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ท่เี นน้ ทักษะกระบวนการคิด กระบวนการกลุม่ การบันทกึ และ
การอภิปราย ซ่ึงเป็นการฝึกทักษะทางด้านสังคม ส่งเสริมให้นักศึกษามีความรับผิดชอบต่อตนเองและ
ตอ่ กล่มุ และสามารถสร้างนักศึกษาให้มีความเชื่อม่ันในตนเอง กลา้ คดิ กล้าตัดสนิ ใจ กล้าแสดงออก ซ่งึ
ตรงกับมาตรฐานผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2552 ทั้ง 5
ด้าน ได้แก่ 1) ด้านคุณธรรม จริยธรรม 2) ด้านความรู้ 3) ด้านทักษะทางปัญญา 4) ด้านทักษะ
ความสมั พนั ธร์ ะหว่างบคุ คลและความรับผดิ ชอบ และ 5) ด้านทกั ษะการวิเคราะห์เชงิ ตวั เลข การส่อื สาร
และการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ (คณะกรรมการการอุดมศึกษา, 2552)

รายวิชา สต 423 สถิติศาสตร์ไม่อิงพารามิเตอร์ เป็นรายวิชาที่จัดให้นักศึกษาชั้นปีท่ี 4 ของ
สาขาวิชาสถิติ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ได้เรียนเป็นวิชาเอกบังคับ โดยคาดหวังว่าหาก
นักศึกษาเรยี นผ่านแล้วจะต้องมผี ลการเรียนรูต้ ามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอดุ มศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.
2552 ครบท้ัง 5 ด้าน ดังน้ันผู้วิจัยจึงได้จัดการเรียนการสอนโดยใช้เทคนิค KWDL และศึกษาผลของ
การเรียนแบบร่วมมือโดยใช้เทคนิค KWDL ท่ีมีต่อผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนในรายวิชาสถิติศาสตร์ไม่อิง
พารามเิ ตอร์ เพอื่ เป็นแนวทางในการพัฒนาผลสัมฤทธิท์ างการเรยี น ใหเ้ ปน็ ไปตามเกณฑ์ท่กี าหนดตอ่ ไป

วัตถุประสงค์ของการวจิ ัย
1. เพ่ือศึกษาผลการเรียนรู้ของนักศึกษาที่เรียนรู้โดยใช้วิธีการสอนแบบเน้นกระบวนการคิด โดย

ใชเ้ ทคนิค KWDL ในรายวิชา สต423 สถิตศิ าสตรไ์ มอ่ ิงพารามเิ ตอร์
2. เพ่ือศึกษาความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิค KWDL ในรายวิชา สต423

สถติ ิศาสตร์ไม่องิ พารามเิ ตอร์

วิธดี าเนนิ การวิจยั
การวจิ ยั ในคร้ังนี้มวี ิธีดาเนินการวิจยั ดงั น้ี
1. ประชากร
ประชากรที่ใช้ในงานวิจัยน้ี คือ นักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียนรายวิชา สต423 สถิติศาสตร์ ไม่อิง

พารามเิ ตอร์ ภาคเรียนที่ 1/2560 จานวน 29 คน โดยการวจิ ัยครัง้ นที้ าการเก็บข้อมลู จากกลมุ่ ประชากร
ท้งั หมด

2. เครื่องมือทใี่ ช้ในการวิจยั และการเก็บรวบรวมขอ้ มูล
ผูว้ ิจัยดาเนินการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล ดงั น้ี
1) เก็บข้อมูลผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชา สต423 สถิติศาสตร์ไม่อิงพารามิเตอร์ โดยใช้
แบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนทผ่ี ูว้ ิจัยสรา้ งขึ้น
2) เก็บข้อมูลความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้เทคนิค KWDL โดยใช้
แบบสอบถามทผ่ี ูว้ จิ ยั สร้างขน้ึ โดยแบบสอบถามประกอบไปดว้ ย 2 สว่ น คือความพงึ พอใจของนักศึกษา
ต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้เทคนิค KWDL มีลักษณะเป็นแบบมาตราประเมินค่า (Rating

342

Scale) ชนิด 5 ชว่ ง (Likert Scale) และข้อเสนอแนะต่อการจดั การเรียนการสอน โดยผวู้ จิ ยั ดาเนินการ

เกบ็ รวบรวมข้อมูลดว้ ยตนเอง

3. การวเิ คราะห์ข้อมูล

ผู้วจิ ยั ทาการวเิ คราะห์ขอ้ มูลดังนี้

1) คะแนนจากแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน รายวิชา สต423 สถิติศาสตร์ไม่อิง

พารามเิ ตอร์ นามาวเิ คราะห์โดยใช้โปรแกรมสาเรจ็ รูปทางสถติ ิ เพอื่ วิเคราะห์หาจานวน ร้อยละ

2) ข้อมูลท่ีรวบรวมได้จากแบบสอบถามนามาทาการวิเคราะห์ โดยใช้โปรแกรมสาเร็จรูปทาง

สถิติ เพ่ือวเิ คราะหห์ าคา่ สถติ ติ ่าง ๆ ตามลาดบั ดังน้ี

2.1 ข้อมลู ความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้โดยใชเ้ ทคนิค KWDL ทาการวิเคราะห์

ข้อมูลโดยการหาค่าเฉล่ียถ่วงน้าหนัก (weighted mean) และค่าส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (standard

deviation) โดยมีเกณฑ์การใหค้ ะแนนระดับความพงึ พอใจ ดงั น้ี

5 หมายถึง มีระดับความพงึ พอใจมากที่สดุ

4 หมายถึง มรี ะดับความพึงพอใจมาก

3 หมายถึง มีระดับความพึงพอใจปานกลาง

2 หมายถึง มีระดบั ความพงึ พอใจน้อย

1 หมายถึง มรี ะดับความพงึ พอใจนอ้ ยท่สี ดุ

จากนั้นนาคะแนนที่ได้มาหาค่าเฉลย่ี และแปลความหมายของคะแนน โดยวธิ กี ารคานวณ

อนั ตรภาคช้ัน เพ่ือแบ่งชว่ งระดบั คะแนนเฉลีย่ (กลั ยา วานชิ ยบ์ ัญชา, 2553) ดังน้ี
คะแนนสดูงสุ คะแนนตด่ำสุ
 5  1  0.8
5
จำนวนชน้ั

โดยกาหนดเกณฑก์ ารแปลผลจากค่าเฉล่ยี ของระดับความพึงพอใจดังนี้

ระดับคะแนนเฉล่ยี ความหมาย

4.21 – 5.00 มรี ะดับความพงึ พอใจมากทีส่ ุด

3.41 – 4.20 มรี ะดับความพึงพอใจมาก

2.61 – 3.40 มีระดับความพงึ พอใจปานกลาง

1.81 – 2.60 มีระดับความพงึ พอใจน้อย

1.00– 1.80 มรี ะดบั ความพึงพอใจนอ้ ยท่ีสุด

2.2 ขอ้ เสนอแนะต่อการจัดการเรยี นการสอน ทาการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชงิ พรรณนา

ผลการวจิ ยั
ผลการวิจัยจะนาเสนอเป็น 2 ส่วน คือ ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน และ ข้อมูลเกี่ยวกับความ พึง

พอใจของนักศึกษา ท่ีมีต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้วธิ กี ารสอนแบบเน้นกระบวนการคิด โดยใช้
เทคนคิ KWDL โดยไดผ้ ลการวิจยั ดงั น้ี

1. ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน
ในส่วนของผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน พบว่า นักศึกษาท่ีเรียนโดยใช้กิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้
เทคนิค KWDL ในรายวิชา สต423 สถิติศาสตร์ไม่อิงพารามิเตอร์ ส่วนใหญ่ได้เกรด B+ จานวน 10 คน
คดิ เป็น รอ้ ยละ 34.48 รองลงมา ไดเ้ กรด A จานวน 9 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 31.03 ดังแสดงในตารางที่ 1

343

ตารางที่ 1: ค่าคะแนน และผลการศกึ ษาของนกั ศกึ ษาในรายวชิ า สต423 สถติ ศิ าสตร์

ไมอ่ ิงพารามิเตอร์

ค่าคะแนน เกรด จานวน (คน) ร้อยละ

85.00 – 100.00 A 9 31.03

77.00 – 84.99 B+ 10 34.48

70.00 – 76.99 B 7 24.14

65.00 – 69.99 C+ 1 3.45

59.00 – 64.99 C 1 3.45

52.00 – 58.99 D+ 1 3.45

รวม 29 100.00

2. ขอ้ มลู เกี่ยวกบั ความพงึ พอใจของนักศึกษาต่อการจัดการเรียนการสอนโดยใชก้ ิจกรรมการ

เรยี นรู้โดยใชเ้ ทคนคิ KWDL

ในส่วนของการวิเคราะห์ข้อมูลเก่ียวกับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อการจัดการเรียน การ

สอน โดยใช้กิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้เทคนิค KWDL จะแบ่งเป็น 2 ส่วน คือ ผลการศึกษาความพึง

พอใจของนักศึกษาตอ่ การจดั การเรียนการสอน และ ขอ้ เสนอแนะต่อการจดั การเรยี นการสอน ดงั นี้

1) ผลการศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาต่อการจัดการเรียนการสอน โดยใช้กิจกรรมการ

เรียนรู้โดยใช้เทคนิค KWDL จากนักศึกษาที่เรียนรายวิชา สต423 สถิติศาสตร์ไม่อิงพารามิเตอร์ พบว่า

นักศึกษาส่วนใหญ่มีความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนการสอนในภาพรวมในระดับมากที่สุด (ค่าเฉล่ีย

4.33) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ทั้ง 3 ด้าน ได้แก่ ด้านบรรยากาศการจัดการเรียนรู้ ด้านการ

จัดการเรียนรู้ และ ด้านประโยชน์ท่ีได้รับจากการทากิจกรรม ทาให้นักศึกษามีความพึงพอใจอยู่ใน

ระดับมากท่ีสดุ โดยมคี ่าเฉลีย่ 4.36, 4.28 และ 4.37 ตามลาดบั และเมอ่ื พิจารณาเปน็ รายขอ้ พบว่า ข้อ

ที่มีความพึงพอใจมากกว่าข้ออ่ืน ๆ ได้แก่ ได้รับความสนุกสนานจากการเรียนรู้ (ค่าเฉล่ีย 4.52) ทาให้

นักศึกษาได้รับการกระตุ้นการเรียนรู้จากเพ่ือนสมาชิกกลุ่ม (ค่าเฉล่ีย 4.48) และ ได้ฝึกการวิเคราะห์

โจทยป์ ญั หาอย่างเปน็ ขนั้ ตอน (คา่ เฉลยี่ 4.48) รายละเอยี ดแสดงดงั ตารางท่ี 2

ตารางที่ 2 : คา่ เฉลี่ย สว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐาน และระดับความพงึ พอใจในการจัดกจิ กรรม แต่ละด้าน

ดา้ น ระดบั ความพึงพอใจ
Mean S.D. ความหมาย

รวมทุกดา้ น 4.53 0.65 มากทส่ี ุด

ด้านบรรยากาศการจัดการเรยี นรู้ 4.36 0.61 มากทีส่ ุด

ทาให้มีการกระตอื รือรน้ ในการเรยี นรูม้ ากขนึ้ 4.31 0.53 มากทส่ี ดุ

ได้รบั ความสนุกสนานจากการเรยี นรู้ 4.52 0.62 มากทสี่ ุด

ไดเ้ รียนรู้อย่างมีความสุข 4.34 0.66 มากท่สี ุด

เกดิ การแลกเปลย่ี นความรู้กับเพื่อน 4.28 0.58 มากทีส่ ดุ

ได้ทางานกลุ่มร่วมกับเพื่อนมากย่งิ ขึ้น 4.34 0.60 มากทส่ี ุด

344

ดา้ น ระดับความพึงพอใจ
ด้านการจัดการเรียนรู้
ช่วยให้นกั ศึกษามีความเข้าใจเนื้อหาสาระไดด้ ีขึ้น Mean S.D. ความหมาย
ส่งเสริมให้นกั ศึกษามโี อกาสแสดงความคดิ เหน็ 4.28 0.67 มากทส่ี ุด
ทาใหน้ กั ศึกษาได้รับการกระตุ้นการเรียนรู้จากเพอ่ื นสมาชกิ กลุ่ม 4.24 0.62 มากทส่ี ุด
ทาใหป้ ระสทิ ธิภาพการเรียนรู้ของนักศึกษาเพิม่ ขน้ึ 4.17 0.75 มาก
สง่ เสริมให้นักศึกษามีการเรยี นรูร้ ่วมกนั ระหว่างกลมุ่ 4.48 0.62 มากทส่ี ุด
4.24 0.68 มากท่ีสุด
4.24 0.62 มากท่ีสุด

ดา้ นประโยชนท์ ่ีได้รับจากการทากจิ กรรม 4.37 0.66 มากท่สี ดุ
ได้ฝกึ การทางานอยา่ งเปน็ ระบบ 4.38 0.67 มากที่สุด
ได้ฝกึ การวเิ คราะหโ์ จทย์ปญั หาอยา่ งเป็นข้ันตอน 4.48 0.62 มากที่สดุ
ได้ฝึกการทางานร่วมกบั ผูอ้ ื่น 4.31 0.65 มากที่สดุ
ส่งเสรมิ ให้เกิดความสามัคครี ะหว่างสมาชิกกลุ่ม 4.34 0.66 มากทส่ี ดุ
นักศกึ ษาสามารถนาความรู้ที่ได้จากการจัดกจิ กรรมไปประยุกตใ์ ช้ได้ 4.31 0.70 มากที่สุด
2) ขอ้ เสนอแนะต่อการจดั การเรียนการสอน ในรายวิชา สต423 สถติ ิศาสตร์ไม่อิงพารามิเตอร์
นกั ศึกษาเหน็ ว่ากจิ กรรมนี้ เป็นกิจกรรมท่ีดี ทาใหไ้ ด้มีการเรียนรู้การทางานรว่ มกับเพ่ือน ๆ ใน
กลุ่ม และได้รับความสนุกสนานจากการเรียนรู้ นอกจากน้ันยัง ได้มีการคิดวิเคราะห์โจทย์ปัญหาอย่าง
เปน็ ขน้ั ตอน รวมท้ังนาความรทู้ ่ีได้รบั ไปประยกุ ตใ์ ช้กับข้อมลู จริง จึงต้องการให้อาจารยจ์ ดั กิจกรรมแบบ
นอี้ กี ทกุ สัปดาห์

สรุปและอภิปรายผลการวจิ ัย
จากการวิจัยพบว่าในประเด็นผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนโดยใช้วิธีการสอนแบบเน้นกระบวนการ

คิด โดยใช้เทคนิค KWDL จากนักศึกษารายวิชา สต423 สถิติศาสตร์ไม่อิงพารามิเตอร์ จานวน 29 คน
พบว่านักศึกษาท้ังหมดผ่านเกณฑ์ที่กาหนดไว้ โดยผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 70 จานวน 26 คน (เกรด C ข้ึน
ไป) จานวน 26 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 89.66 สอดคลอ้ งกบั งานวจิ ยั ของ อัมราพร เรอื งรวมศลิ ป์ (2559) ที่
พบว่าผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง โจทย์ปัญหาการบวก การลบ การคูณ การหาร และการบวก ลบ
คูณ หารระคนของทศนิยม ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 6 ภายหลังได้รับการจัดการเรียนรู้ตาม
แนวคิด อภิปัญญาร่วมกับ KWDL สูงกว่าก่อนได้รับการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดอภิปัญญาร่วมกับ
KWDL อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และ ความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ของ
นักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 6 ภายหลังได้รับการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดอภิปัญญาร่วมกับ KWDL
เร่ือง โจทย์ปัญหาการบวก การลบ การคูณ การหาร และ การบวก ลบ คูณ หารระคนของทศนิยม สูง
กว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ ที่ระดับ .01 และเช่นเดียวกับงานวิจัยของ ชญาณิศา
เป็งจันทร์ และคณะ (2560) ท่ีพบว่า ประสิทธิภาพรวมของแผนการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์โดยใช้
เทคนิค KWDL เรื่องโจทย์ปัญหาของนักเรียนชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 6 สานักเขตพ้ืนท่ีการศึกษาเชยี งใหม่
เขต 1 จานวน 9 แผนการจัดการเรยี นรู้ มีคา่ ประสทิ ธิภาพเท่ากับ 77.31/79.25 มีประสทิ ธิภาพสูงกว่า
เกณฑ์ 75/75 อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ .01 ซึ่งอาจจะเป็นเพราะการจัดการเรียนการสอน
วิธีการสอนแบบเน้นกระบวนการคิด โดยใช้เทคนิค KWDL ทาให้นักศึกษาได้มีการฝึกวิเคราะห์โจทย์
ปัญหาอย่างเป็นขั้นตอน มีการปรึกษาหารือและได้แลกเปล่ียนความรู้กับเพ่ือน ๆ ในกลุ่ม ทาให้เกิด
ความเข้าใจในเนอ้ื หาที่เรยี นไดด้ ยี ิ่งขนึ้

345

ในส่วนของความพึงพอใจของนกั ศึกษาต่อการจดั การเรยี นโดยใช้เทคนิค KWDL จากนักศึกษา
รายวิชา สต423 สถิติศาสตร์ไม่อิงพารามิเตอร์ พบว่านักศึกษาส่วนใหญ่มีความพึงพอใจต่อการจัด
กิจกรรมในภาพรวมในระดับมากท่สี ุด สอดคล้องกับงานวิจัยของชญาณศิ า เปง็ จันทร์ และคณะ (2560)
ที่พบว่าความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้การแก้โจทย์ปัญหาโดยใช้เทคนิค KWDL
เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เร่ืองโจทย์ปัญหาของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 โดยมีความพงึ
พอใจอยู่ในระดับพึงพอใจมาก เช่นเดียวกับ ศศิธร แก้วมี (2555) ที่พบว่าความพึงพอใจของนักเรียนที่
ไดร้ ับการจัดการเรยี นรู้การแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์โดยใช้เทคนิค K-W-D-L อย่ใู นระดบั มาก รวมถึง
องั สนา ศรีสวนแตง (2556) ทีพ่ บวา่ นกั เรียนพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรโู้ ดยใช้สมองเป็นฐาน
(BBL) รว่ มกบั เทคนิค KWDL ในระดบั มาก

ขอ้ เสนอแนะ
จากผลการวิจัยในครั้งนี้แสดงให้เห็นว่า การจัดการเรียนการสอนโดยใช้เทคนิค KWDL ทาให้

นกั ศึกษาผ่านเกณฑ์ที่กาหนดไว้ทุกคน รวมท้ังยังได้รับความสนุกสนานจากการเรียนรู้ ไดร้ ับการกระตุ้น
การเรียนรู้จากเพื่อนสมาชิกกลุ่มตลอดจนได้ฝึกการวิเคราะห์โจทย์ปัญหาอย่างเป็นขั้นตอน ส่งผลทาให้
นักศึกษามีความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอนในระดับมากที่สุด ดังนั้นอาจารย์ผู้สอนจึงควร
พิจารณาจัดการเรยี นการสอนในลกั ษณะนต้ี อ่ ไป

กิตตกิ รรมประกาศ
ขอขอบคุณคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ท่ีให้การสนับสนุนทุนวิจัยประจาปี

งบประมาณ 2560

แหล่งอา้ งอิง
กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551.

กรงุ เทพมหานคร: โรงพมิ พ์ชมุ นุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จากดั .
ชญาณิศา เป็งจันทร์, นพพร ธนะชัยขันธ์ และ สุดาพร ปัญญาพฤกษ์. (2560). การจัดการเรียนรู้โดยใช้

เทคนิค KWDL เพ่ือพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ เร่ืองโจทย์ปัญหาของนักเรียนชนั้
ประถมศกึ ษาปีที่ 6. วารสารบัณฑิตวจิ ัย.8 (1).72–82.
ศศิธร แก้วมี. (2555). การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้การแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ โดยใช้เทคนิค
K–W–D–L สาหรับนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 3. วิทยานิพนธ์ศึกษามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์,
มหาวทิ ยาลัยทกั ษณิ .
อังสนา ศรสี วนแตง. (2556). การพัฒนาผลการเรียนรเู้ รื่องโจทย์ปญั หาระคน ของนักเรยี นชนั้ ประถมศึกษา
ปีท่ี 4 ท่ีจัดการเรียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐาน (BBL) ร่วมกับเทคนิค KWDL. วารสารวิชาการ
Veridian E–Journal , Silpakorn University. 6(2). 223 - 236.
อมั ราพร เรอื งรวมศลิ ป์. (2559). การศกึ ษาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนและความสามารถในการแกป้ ัญหาทาง
คณิตศาสตร์ เร่ือง โจทย์ปัญหาการบวก การลบ การคูณ การหาร และการบวก ลบ คูณ หาร
ระคนของ ทศนิยม ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดอภิ
ปัญญาร่วมกับ KWDL. วารสารวิชาการ Veridian E-Journal, Silpakorn University (ฉบับ
ภาษาไทย สาขามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ). 9 (2). 1467 – 1480.

346

องคป์ ระกอบการพดู โน้มน้าวของตัวละครในนวนิยาย เสน้ ไหมสีเงนิ ของ ว.วินิจฉัยกุล

THE ELEMENTS OF PERSUAIVE SPEECH USED BY CHARACTERS IN SEN MAI SI NGERN
OF V.VINICHCHAIKUL

ประภาพร ธนกติ ตเิ กษม
นิสิตระดบั ปรญิ ญาดษุ ฎบี ณั ฑิต สาขาวชิ าภาษาไทย มหาวิทยาลยั พะเยา

ผศ.ดร.วรวรรธน์ ศรียาภัย
อาจารย์ที่ปรึกษาหลกั , คณะศิลปศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั พะเยา

รศ.ดร.บุญยงค์ เกศเทศ
อาจารยท์ ีป่ รกึ ษา, คณะศลิ ปศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยวลัยลกั ษณ์

รศ.ดร. สมเกียรติ วฒั นาพงษากลุ
คณะศลิ ปศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั สุโขทัยธรรมาธริ าช

บทคดั ย่อ
การวิเคราะห์องค์ประกอบการพูดโน้มน้าวของตัวละครในนวนิยายเร่ือง เส้นไหมสีเงินของ ว.

วินิจฉัยกุล วัตถุประสงค์เพ่ือวิเคราะห์องค์ประกอบหลักการพูดโน้มน้าวใจของตัวละคร ดังนี้ 1. การ
จาแนกตัวละครในบริบทการเจรจาโน้มน้าว 2. กระบวนการเจรจาโน้มน้าวใจ โดยศึกษาจากนวนิยายเรื่อง
เส้นไหมสเี งิน และเสนอผลการศึกษาค้นควา้ แบบพรรณนาวิเคราะห์

จากการศึกษาการจาแนกตัวละครในบริบทการเจรจาโน้มน้าว พบว่าตัวละครผู้โน้มน้าวและผู้ถูก
โน้มน้าวเป็นไดท้ ้งั ตวั ละครหลกั ตัวละครรอง และตวั ละครประกอบ เปน็ ได้ทง้ั ตัวละครหญิงและชาย ผู้โนม้
น้าวพบมากท่ีสุดคือตัวละครหลัก ส่วนกระบวนการเจรจาโน้มน้าวใจของตัวละครในนวนิยาย เร่ือง เส้น
ไหมสีเงิน ของ ว.วนิ จิ ฉยั กลุ พบวา่ มกี ารใช้คาและความหมายเชงิ ชักชวนหรือโน้มน้าวใจ ดงั นี้ มีการใช้คาท่ี
มีความหมายเน้นหนัก ตรงตามตัวชัดเจน แสดงความคาดหมายหรือข้อแม้ บอกข้อเท็จจริง แสดงเหตุผล
คาถามที่ไม่ต้องการคาตอบ คาสั่งแกมบังคับ คาประกอบท้ายความหมายไปในทางชักชวนหรือให้ทาตาม
คาพูดวิงวอนหรือขอร้องให้ปฏิบัติ คาท่ีแสดงมุ่งหมายเจาะจงให้ได้ตามเจตนา คาบอกห้าม โวหารคมคาย
คาเปรียบเทียบ ใช้สานวน ใช้คาแสดงความมุ่งหมายพูดให้เขาให้ส่ิงที่ต้องการ ใช้คาแสดงความรู้สึก เข้าใจ
ยอมรับ ใช้คาขยายให้เฉพาะเจาะจง ใช้คาความหมายเชิงลบ ใช้คาถามหยั่ง ใช้คาขยายเน้นน้าหนัก ใช้คา
บอกบทบาทหน้าท่ี ใช้การอุปมาอุปไมย ใช้คาประกอบเพ่ือเน้นความหมาย ใช้คาแสดงสภาพ ใช้ข้อคิด
เตือนใจ ใช้หลักธรรมคาสอน ใชค้ าประกอบท้ายคาอ่ืนเพื่อเสริมข้อความให้เด่นใหส้ ละสลวย สว่ นหลักการ
พดู โน้มนา้ วของตัวละครท่ีปรากฏในเร่ือง มีจานวน 6 แบบ ดังนี้ 1. หลกั ใหค้ วามสนใจผ้ฟู ัง 2. หลักอยู่ฝ่าย
เดียวกับผู้ฟัง 3. หลักอ้างอิงข้อเท็จจริง 4. หลักสร้างความพึงพอใจ 5. หลักภาษามีพลัง 6. หลักการ
ยกตัวอย่างเหตกุ ารณต์ ่างๆ รอบตัวมาอธบิ าย

คาสาคัญ : องค์ประกอบ, การพูดโน้มนา้ วของตัวละคร, เสน้ ไหมสเี งิน, ว.วินจิ ฉัยกุล

ABSTRACT
The analysis the Elements of Persuasive Speech Used by Characters in Sen Mai See

Ngern of V.Vinichchaikul aimed to analyze the factors of persuasion of the characters in Sen

347

Mai Si Ngern composed by V. Vinichayakul involving the classification of characters in
persuasion context and persuasion process, and propose the findings in descriptive analysis.

The classification of characters in persuasion context indicated that the persuasive
character and the persuaded character could be the main character, secondary main
character, or minor role, and male or female character. Most of the persuasive characters
were the main character. In Sen Mai Si Ngern composed by V. Vinichayakul, word stress
with literal meaning to show expectation or condition, inform the fact, and clarify the
reason, rhetorical questions, forced command, end words, requests, prohibitive words,
diction, metaphor, idioms, persuasive request, expressive words to show comprehension,
emotion, and acceptance, specific modifiers, negative words, exploring questions, stress
modifiers, words identifying roles, and analogy were used. In addition, the use of words to
stress meaning and show status, thoughts, moral principles, and the end words to
complement the passage were also found in the book. Regarding the persuasion principle,
there were six types of principle used by the characters, which were audience-centered
approach, partisanship principle, factual reference, satisfaction principle, power of language,
exemplification.

Keywords: The Elements of Persuaive Speech, Used by Characters, V. Vinicchayakul

บทนา
เม่ือเปรียบเทียบมนษุ ย์กบั ตวั ละครแลว้ ย่อมไม่แตกต่างกัน เน่ืองจากผเู้ ขยี นได้กาหนดตวั ละครให้มีชีวิต

มีพฤติกรรมแสดงออกจาลองแบบมนุษย์ ตัวละครถูกถ่ายทอดผ่านจินตนาการผ่านสารอักษรจากนักเขียน ตัว
ละครเป็นสื่อสาคัญทาให้ผู้อ่านรับรู้เข้าใจและเข้าถึงส่ิงที่ผู้เขียนต้องการสื่อสาร รัญจวน อินทรกาแหง (2539,
หน้า 18) ได้กล่าวไวว้ ่า ภาพชวี ิตของตวั ละครตา่ งๆ เต้นเรา้ อยู่ในความรสู้ ึกของผู้อา่ น เพราะเปน็ ภาพของชวี ติ ซ่งึ
มีอารมณ์รัก อารมณ์หลง อารมณ์โกรธ อารมณ์ชิงชัง อารมณ์เบิกบานแจ่มใส อารมณ์ห่อเหี่ยวซึมเซาด้วยความ
ส้นิ หวงั ช่างเหมอื นกับอารมณค์ วามรสู้ ึกและจิตใจของมนุษยโ์ ลก ภาพชวี ิตจากนิยายจึงเปน็ เสมือนส่ือกลางที่นา
ชีวิตจาลองของมนุษย์มาส่องแสงสะท้อนให้เห็นภาพชีวิตจริงชัดเจนยิ่งข้ึน ชีวิตมนุษย์เป็นเสมือนหุ่นของนว
นิยาย และนวนิยายก็สะท้อนภาพของชีวิตมนุษย์ เพ่ือให้แต่ละชีวิตได้มองดูภาพของชีวิตแห่งความผันแปรใน
โลกนไี้ ด้ชดั เจนยิง่ ขึ้น มนษุ ยท์ กุ คนจึงมสี ิทธิท์ ีจ่ ะเปน็ พระเอก นางเอกหรือบางครงั้ กถ็ ูกกาหนดให้รบั บทบาทของ
ผู้ร้าย แต่ไมว่ ่าจะอยูบ่ ทบทใด มนั กค็ อื บทบาทชวี ิตมนษุ ยน์ ัน่ เอง ฉะน้ันชวี ิตกบั นยิ ายจงึ แยกกันไมอ่ อก

นักเขียนใช้จินตนาการ ใช้ภาษาเลา่ เรื่องราว ความรูส้ กึ อารมณ์ของตัวละคร ตลอดจนองค์ประกอบ
ของนิยายอย่างมีศิลปะชวนอ่าน ตัวละครในนวนิยายถือเป็นหัวใจสาคัญของเรื่อง ตัวละครทาหน้าที่แสดง
บทบาท เป็นสิ่งสมมติท่ีทาให้เรื่องดาเนินไปตั้งแต่ต้นจนจบ ดวงมน จิตร์จานงค์ (2528, หน้า 158) ได้
กล่าวถึงความสาคัญของตัวละครว่าในโลกแห่งศิลปะวรรณคดี ตัวละครท่ีครองใจผู้อ่านย่อมต้องมีความ
ซับซอ้ นในบคุ ลิกภาพ ความคดิ อารมณ์ ตัวละครที่เหน็ ไดร้ อบด้านย่อมโน้มน้าวความรูส้ ึกรว่ มได้มากกว่า

ตัวละครทุกตัว คือคนท่ีผู้เขียนสมมติข้ึนล้วนใช้บทพูดในการสื่อสารทาให้ผู้อ่านเข้าใจเร่ือง เมื่อใด
ท่ีตัวละครในเร่ืองเกิดปมปัญหาท่ีมาจากความต้องการจนส่งผลให้เกิดแรงจูงใจในการโน้มน้าวเพ่ืออีกฝ่าย
คล้อยตามจึงนาไปสู่บทพูดโน้มน้าว ผู้เขียนเล่าผ่านภาษาเพ่ือชักจูงโน้มน้าวชวนให้ผู้อ่านติดตามและเกิด
ความต้องการที่จะอ่านและเม่ืออ่านเรื่องราวน้ันแล้วทาให้ผู้อ่านเกิดอารมณ์คล้อยตามท้ังสุข สนุกสนาน

348

ต่ืนเต้นชวนฝันตามเน้ือเรื่อง การสร้างตัวละคร การดาเนินเรื่อง บทสนทนา สถานการณ์ หรือเหตุการณ์ท่ี
เกดิ ขน้ึ ในเรอ่ื งล้วนแตเ่ ป็นสิ่งทส่ี ร้างข้นึ ผ่านจินตนาการของผู้เขียน

ในนวนิยายการพดู โน้มน้าวเกิดขึน้ ระหวา่ งตวั ละครต้ังแต่ 2 ตัวขน้ึ ไป โดยมตี ัวละครฝ่ายหน่ึงฝา่ ย
หนึ่งฝ่ายใดพูดโน้มน้าวหรือท้ังสองฝา่ ยอาจพูดโต้ตอบกัน วัตถปุ ระสงค์หลักของตวั ละครในการเจรจาโน้ม
นา้ ว คือ เพ่ือต้องการชักจงู เกล้ียกล่อม กระตนุ้ เตอื นให้คดิ ตาม ปลกุ เร้าอีกฝ่ายให้เชื่อถือ คล้อยตาม
เปลยี่ นแปลงความคิด ทัศนคติ ทา่ ทีและการกระทา นาไปสู่ความสงบสุข สนั ติ สมพร มนั ตะสูตร (2540,
หนา้ 215) กล่าวว่าการโน้มนา้ วใจคือการใช้ความพยายามท่ีจะเปลีย่ นความเชื่อ ทัศนคติ ค่านยิ มและการ
กระทาของบุคคลอ่ืนดว้ ยกลวธิ ีท่ีเหมาะสมให้มผี ลกระทบใจบุคคลน้ันเกดิ การยอมรับและยอมเปล่ียน
ตามที่ผู้โน้มน้าวใจต้องการ นักเขียนจะต้องเลือกใช้คาให้สื่อความหมายตามที่ต้องการโดยคานึงถึงจงั หวะ
และความนมุ่ นวลในน้าเสยี งของคาดว้ ย

นกั เขยี นนวนิยายไทยหลายท่านท่มี ีประสบความสาเร็จในอาชีพและมีงานเขียนต่อเน่ืองจนได้รับ
การยกย่องและได้รบั คัดเลือกเปน็ ศลิ ปินแห่งชาติ สาขาวรรณศิลปใ์ นเวลาต่อมา เชน่ ม.ล.ศรีฟ้า ลดาวัลย์,
กฤษณา อโศกสิน, โบต๋นั เปน็ ต้น ซ่งึ นักเขียนแต่ละทา่ นนน้ั ไดพ้ ฒั นางานเขยี นและเป็นที่นิยมช่ืนชอบของ
นักอ่านมาโดยตลอด

ผลงานนวนิยายของนักเขียน ท่ีโดดเด่น สมจริง น่าสนใจ นักเขียนผูกเร่ืองและคล่ีคลายเร่ืองได้
ชวนติดตาม ทง้ั บทพูดในเนื้อเร่ืองยังสะท้อนลักษณะบุคลิกภาพและพฤติกรรมของมนุษยผ์ า่ นตัวละครและ
จาลองบทพูดได้อย่างสมจริง จนมีการนานวนิยายไปสร้างเป็นละครโทรทัศน์ ภาพยนตร์และผลิตซ้าอยู่
หลายครั้งจึงทาให้ผู้วิจัยสนใจศึกษาวิเคราะห์องค์ประกอบการพูดโน้มน้าวของตัวละครในนวนิยาย เรื่อง
เส้นไหมสีเงิน ของ ว.วินิจฉัยกุล เพื่อให้เห็นถึงศิลปะการพูดโน้มน้าวของตัวละคร ตัวละครหลัก รอง และ
ตัวละครประกอบสามารถเป็นได้ท้ังผู้โน้มน้าวและผู้ถูกโน้มน้าว ศึกษาบทเจรจาโน้มน้าวท่ีปรากฏในนว
นยิ าย บรบิ ทการพูดก่อนและเข้าสู่การโน้มน้าว และหลกั การพูดโน้มน้าวสื่อออกมาในรูปแบบใด ประกอบ
กับยังไม่มีการศึกษาองค์ประกอบการพูดโน้มน้าวใจของตัวละครในนวนิยาย เร่ือง เส้นไหมสีเงิน ของ
ว.วินิจฉัยกุล, ผู้วิจัยจึงสนใจที่จะศึกษาโดยการจาแนกตัวละครในบริบทการเจรจาโน้มน้าว และ
กระบวนการเจรจาโน้มนา้ วใจ

วตั ถุประสงคข์ องการวจิ ัย
เพ่อื วิเคราะห์องค์ประกอบศิลปะการเจรจาโน้มนา้ วใจของตวั ละครในนวนิยายของศิลปินแห่งชาติ

สาขาวรรณศลิ ป์ ของ ว.วนิ จิ ฉัยกลุ เรอื่ ง เสน้ ไหมสีเงนิ

วธิ ีดาเนนิ การวิจยั (ประเภท/ระเบียบวธิ ที ี่ใช้)
การวิจัยในคร้ังน้ีเป็นการวิจัยตามรูปแบบพรรณนาวิเคราะห์ (Descriptive Analysis) โดย

ศึกษาจากประชากรและกลุ่มเป้าหมาย ตอ่ ไปนี้

ประชากร / กลมุ่ เป้าหมาย
ศกึ ษาจากบทพดู โน้มน้าวใจของตัวละครในนวนยิ ายเรื่อง เสน้ ไหมสเี งนิ ของ ว.วินจิ ฉัยกลุ

แนวคิดและกรอบแนวคดิ การวิจัย
การวิจยั ครัง้ น้ี เปน็ การศึกษาวเิ คราะห์องค์ประกอบการพูดโน้มน้าวของตัวละครในนวนยิ าย เร่ือง

เสน้ ไหมสีเงิน ของ ว.วินจิ ฉยั กุล โดยใชแ้ นวคิดเพอ่ื เป็นกรอบในการวิเคราะหด์ งั นี้

349

1. แนวคิดตัวละครของสมทรง บุรุษพฒั น์ (2537, หน้า 104) สายทิพย์ นุกลู กิจ (2543, หน้า 104)
2. แนวคิดหลักการพูดเพื่อการโน้มน้าวใจของจันทิมา พรหมโชติกลุ (2530, หน้า 73-74)

การเกบ็ รวบรวมข้อมูล
ผู้วิจัยใช้เคร่ืองมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล ตัวละครหลัก รอง ประกอบ ภูมิหลังของเหตุการณ์

ข้อความเจรจาโน้มน้าว วิเคราะห์คาและความหมาย รายละเอียดการวิเคราะห์ข้อมูล เพ่ือนาไปศึกษา
วเิ คราะห์

สรปุ ผลการวจิ ยั
จากการวิเคราะห์นวนิยาย ได้ผลการวิเคราะห์ข้อมูล ดังน้ี การจาแนกตัวละครในบริบทการ

เจรจาโน้มน้าว สรุปเป็นตาราง ผู้วิจัยพบว่า ตัวละครหลัก ตัวละครรองและตัวละครประกอบ เป็นได้ท้ัง
ฝ่ายหญิงและฝ่ายชายซ่ึงตัวละครทุกตัวใช้บทพูดเป็นหลักในการสื่อสารทาให้ผู้อ่านเข้าใจเร่ืองและ
เหตกุ ารณ์ เม่อื ตัวละครในเร่ืองเกดิ ปมปัญหามาจากพฤติกรรมความต้องการจนสง่ ผลให้เกดิ แรงจูงใจในการ
โน้มน้าวเพื่อให้อีกฝ่ายคล้อยตาม นาไปสู่บทพูดโน้มน้าว ตัวละครผู้โน้มน้าวและผู้ถูกโน้มน้าวเป็นได้ท้ังตัว
ละครหลัก รองและประกอบ

ตัวละครหลัก คือ ตัวละครเอกเป็นตัวดาเนินเร่ืองท่ีสาคัญที่สุด เป็นตัวแสดงที่ปรากฏบทบาท
ตลอดหรือเกือบตลอดเร่ือง เป็นตัวละครสาคัญท่ีมีความขัดแย้งและทาให้เกิดเหตุการณ์ต่างๆ ในเร่ือง ผล
การศึกษาพบวา่ ตัวละครหลักเปน็ ตวั ละครผู้โน้มน้าวมากทสี่ ดุ

ตัวละครรอง คือ ตัวละครท่ีปรากฏบทบาทรองลงมาจากตัวละครหลัก เป็นตัวละครที่ทาให้
เร่ืองราวต่างๆ ท่ีเก่ียวข้องกับตัวละครหลักดาเนินไป เป็นตัวแสดงท่ีปรากฏบทบาทตลอดหรือเกือบตลอด
ทัง้ เร่อื งได้เช่นเดียวกับตัวละครหลักแต่ไมโ่ ดดเด่นเท่าตัวละครหลัก ผลการศกึ ษาพบว่าตวั ละครรองเป็นตัว
ละครท่โี นม้ นา้ วและถกู โน้มนา้ วแต่ไมโ่ ดดเดน่ เท่าตัวละครหลัก

ตวั ละครประกอบ คอื ตวั แสดงท่ปี รากฏบทบาทไม่ตลอดท้ังเรื่อง ในบางตอนไม่มีการกล่าวถึงเลย
บางตอนตวั ประกอบปรากฏบทบาทมากบางตอนปรากฏบทบาทน้อย ผลการศึกษาพบว่าตัวละครประกอบ
เป็นตัวละครทปี่ รากฏเปน็ ตัวละครผู้โน้มนา้ วและผูถ้ ูกโนม้ น้าวน้อยที่สุด

ตารางจาแนกตัวละครในบรบิ ทการเจรจาโน้มน้าว เรอื่ ง เส้นไหมสเี งิน ของ ว.วินจิ ฉัยกลุ

ตัวละครหลัก นวนิยายเรื่อง เสน้ ไหมสีเงิน ตัวละครผูถ้ กู โนม้ นา้ ว
ตวั ละครผู้โนม้ น้าว ตัวละครรอง ตัวละครประกอบ

ตัวละครรอง ตัวละครประกอบ ตัวละครหลัก

ญ ช ญช ญ ช ญ ช ญช ญ ช
-
บุหงา คุณตา อบุ ลวรรณ - ยวง วิรัช บุหงา คณุ ตา อบุ ลวรรณ - ยวง -
-
แพรวา สการ จงกลนี - บญุ ศรี - แพรวา สการ จงกลนี - บุญศรี

ไหมคา ยาตรา - - เอือ้ ม - ไหมคา ยาตรา - - เออื้ ม

ส้ม

ผลการศกึ ษากระบวนการเจรจาโน้มน้าว ผ้วู จิ ยั วิเคราะหบ์ ริบทการพูดก่อนและเข้าสู่ขั้นโนม้ น้าวมี
การใช้คาและความหมายท่ีมีลักษณะโน้มน้าวหรือชักจูง ท้ังตัวละครมีการใช้หลักการพูดเพื่อโน้มน้าวใจ 6
ประการ ดังตวั อย่าง ต่อไปนี้

350

1. หลกั ใหค้ วามสนใจผู้ฟัง
ภูมิหลังของเหตุการณไ์ หมคาและแพรวาน่ังฟังส้มเพอ่ื นของแพรวาพรา่ พูดถึงความโศกเศร้าเสียใจ
ยาตราหนุ่มท่ีเธอหมายปองไม่สนใจและไม่ให้ความสาคัญ แพรวาโนม้ น้าวใจเพ่ือนใหม้ องเหน็ คณุ ค่าและ
ความสาคัญของตนเอง ไหมคาเสริมแสดงความคิดเหน็ โน้มน้าวให้สม้ สนใจและรักตัวเองให้มาก ดังบทตัด
ตอนจาก นวนยิ ายต่อไปน้ี
“นายคนน้ัน (1) เขาไม่ได้สนใจเธอแล้ว (2) ไมไ่ ด้รกั เธอดว้ ย” หล่อนคดิ วา่ ควรจะฉุดส้มขึน้ มาจาก
การหลอกตวั เองเสยี ที ถึงจะเจ็บอยู่บ้างก็เหมือนผ่าฝีกลัดหนอง ดีกว่าให้เป็นแผลเรื้อรังอยู่บนตัว “แล้วเขา
แสดงออกอย่างไม่มีมารยาทเลย (3) ถ้าเป็นฉัน ฉันไม่มีวันมองหน้านายมอดคนน้ีเด็ดขาด ถือว่าเขาเป็น
มนษุ ย์ ตา่ งดาวไปนานแล้ว อยกู่ นั คนละโลก สม้ ถอนใจยดื ยาวคล้ายกับเสียงถอนสะอ้ืนลึกๆ “เธอไมเ่ คยรัก
ใคร ถึงพูดอย่างนี้ได้” “ส้มรู้ได้ยังไง” แพรวาย้อนถาม “(4) ถ้าเรารักใครสักคนก็ถือว่า (5) เป็นเร่ือง
ธรรมดามาก (6) คนเรามีหัวใจ (7) ทาไมจะรักไม่เป็น แต่เราก็ (8) ต้องควบคุมความรักเอาไว้ให้ได้ ไม่ใช่
ปล่อยไปเสียจนคนอน่ื เขาไม่เหน็ คณุ ค่า” “คณุ ยายแพรเร่มิ เทศนาโวหารแลว้ ตอ้ งพนมมือฟังด้วยม้ัย” แพร
วาขึงตากับน้องสาว “ไม่ใช่เร่ืองของเด็กน่ะ ยุ่งชะมัดเลย” “เค้าไม่เห็นว่าจะเป็นเร่ืองซับซ้อนอะไรเลย”
ไหมคาพูดต่อไปโดยไม่ใส่ใจกับเสียงดุ หล่อนชินเสียแล้ว “เร่ืองง่ายๆ ถ้าผู้ชายรักเราก็แฮปปี้ (9) ถ้าไม่รัก
เราเราไปร้องไห้ให้ด้ินตายยังไงก็ไม่เห็นประโยชน์ คิดยังงี้ซะได้ ปลง (10) ซะ (11) เถอะแม่จาเนียร คนเรา
จะเป็นแฟนกันได้ (12) ใจมันต้องตรงกัน...แล้วอย่าถามนะว่าเรารักเขาแทบดิ้นตาย ทาไมเขาไม่รักเรา ไม่
รักกแ็ ปลวา่ ไม่รกั ไม่ตอ้ งมคี าอธิบายให้ยุ่ง” (ว.วนิ ิจฉัยกุล, 2559, : 191)
การส่ือสารที่แสดงให้เห็นว่าตัวละครเจรจาโน้มน้าวหรือชักจูงใจ ปรากฏดังนี้คือ (1) ใช้คาท่ีมี
นาหนัก ดังท่ีว่า เขาไม่ได้สนใจ ในท่ีนี้เน้นให้เห็นว่าเขาไม่ได้ต้ังใจจดจ่อเป็นพิเศษ (2) ใช้คาที่มี
ความหมายตรงตามตัวและชัดเจน ดงั ท่ีว่า ไม่ไดร้ ักดว้ ย แสดงให้เห็นว่าไม่ไดม้ ีใจผูกพันดว้ ยความเสน่หา,
ไม่ได้ใจผูกพันฉันชู้สาว แล้วเขาแสดงออกอย่างไม่มีมารยาท เป็นการแสดงกิริยาวาจาที่ถือว่าไม่สุภาพ
เรียบร้อยไม่ถูกกาลเทศะ (3) ใช้คาแสดงข้อแม้ ดังประโยคที่ว่า ถ้าเป็นฉัน ฉันไม่มีวันมองหน้านายมอด
คนนี้เดด็ ขาด (4) ใช้คาแสดงความคาดหมาย ดังทวี่ า่ ถ้าเรารกั ใครสักคนก็ถือว่าเป็นเร่ืองธรรมดามาก (5)
ใช้คาบอกข้อเท็จจริง รักเป็นเรื่องธรรมดามาก แสดงถึงใจผูกพันด้วยความเสน่หาสามัญท่ีเป็นไปตาม
ธรรมชาติ (6) ใชค้ าท่ีแสดงเหตุผล คนเรามหี วั ใจ ในท่ีนผี้ ูพ้ ดู ตอ้ งการใช้เหตผุ ลในการโนม้ น้าวว่าคนทุกคน
ล้วนมีความรู้สึกนึกคิด (7) ใช้คาถามที่ไม่ต้องการคาตอบ ทาไมจะรักไม่เป็น โน้มน้าวใจให้ผู้ฟังคล้อย
ตามว่าทุกคนล้วนมีความรู้สึกนึกคิด ความรักเป็นธรรมดาโลก (8) ใช้คาส่ังแกมบังคับ ต้องควบคุมความ
รัก หมายถึง ต้องดูแลใจท่ีผูกพันด้วยความเสน่หา (9) ใช้คาแสดงความคาดหมาย ถ้าไม่รักร้องไห้ให้ดิ้น
ตายยังไงก็ไม่เห็นประโยชน์ เป็นการโน้มน้าวให้คล้อยตามและเชื่อว่าหากคนเราไม่มีใจผูกพันเสน่หาแล้ว
ย่อมไม่เห็นประโยชน์หรือไม่ได้รับผลตามที่ต้องการ (10) ใช้คาประกอบท้ายความหมายความไปในทาง
ชกั ชวนหรือใหท้ าตาม คาว่า ซะ ปลงซะเถอะ โนม้ นา้ วให้ผู้ฟังปล่อยให้พน้ ไปหากไม่ได้รับผลตามท่ีหวังไว้
(11) ใช้คาพูดวิงวอนหรือขอร้องให้ปฏิบัติ คาว่า เถอะ เป็นคาประกอบท้ายกริยาแสดงความหมายเป็น
เชิงวิงวอน ชักชวน หรือชักจูง (12) ใช้คาท่ีแสดงมุ่งหมายเจาะจงให้ได้ตามเจตนาในอนาคต คนเราจะ
เปน็ แฟนกนั ไดต้ ้องใจตรงกัน ในท่นี ี้เป็นการโน้มนา้ วให้คล้อยตามความคิดเหน็ ท่ีว่าคนเราจะเป็นแฟนกันได้
นนั้ ตอ้ งมคี วามคิดเหมือนกนั หรือเปน็ ไปในแนวเดยี วกัน
2. หลกั อยู่ฝา่ ยเดียวกับผฟู้ ัง
ภูมิหลังของเหตุการณ์บุญศรีปลอบบุหงาด้วยเห็นใบหน้าหมองค้าเพราะทุกข์ใจเร่ืองลูก ตัวอย่าง
บญุ ศรโี นม้ นา้ วบุหงา ผู้พูดใช้หลักอยู่ฝ่ายเดียวกับผู้ฟังดว้ ยการแสดงความเห็นอกเห็นใจผู้ฟัง ดังบทตัดตอน
จากนวนยิ ายต่อไปนี้

351

“(1) อย่าไปคิดล่วงหน้าให้กลุ้มเลย” บุญศรีปลอบ มองหน้าหมองคล้าของเพ่ือนแล้ว รู้สึกว่า
ตัวเองช่างเบาสบายปลอดโปรง่ จากภาระเสียน่ีกระไร ทาใหเ้ ห็นใจเพื่อนมากขึน้ “(2) ความทกุ ขว์ ัยไหนก็ไม่
เท่ากับวัยแก่นะเธอ ใจคอไม่แข็งเหมือนเมื่อตอนสาวๆ เสียแล้ว ความหวังก็ไม่มี ดีไม่ดีหมดกาลังใจ ตาย
เอาง่ายๆ” “ตายก็ตายเถอะ” บุหงาตอบอย่างขมข่ืน เกิดความท้อแท้ข้ึนมาเฉยๆ “ไม่รู้จะอยู่ไปทาไมอีก
แล้ว ฉันเหน่ือยเต็มที” บุญศรีทาหน้าขึงขัง เพราะถ้าย่ิงปลอบ เพื่อนก็ยิ่งอ่อนแอป้อแป้ลงไปกว่าเก่า
“แหม พูดยังกะคนอ่ืนๆ ในโลกเขาไม่มีความทุกข์ (3) เธอเองลองเทียบกับคนยากจนไม่มีอะไรจะกินบ้างซี
(4) ใครเหน็ดเหน่ือยกว่ากัน อย่าสงสารตัวเองให้มากนักเลย แม่คู้น (5) ชีวิตยังไม่สิ้นก็ต้องด้ินกันไป (6)
ปลามันยังว่ายทวนน้าเลยเห็นไหม” “ผมก็ว่ายังงั้น” คุณตาเองก็เห็นใจ ผู้หญิงชอบคิดมากเรื่องจุกจิก ไม่
เหมือนผู้ชายซึ่งมองเห็นแต่หลักใหญ่ๆ “(7) เหตุยังไม่เกิด (8) อย่าตีตนไปก่อนไข้ แล้วถ้ามันจะเกิดจริงๆ
(9) เราก็ต้องหาทางรับมือให้ได้ เกิดเป็นคน (10) ใครบ้างล่ะครับไม่มีความทุกข์” ถ้อยคาของคนท้ังสอง
เหมือนน้าเย็นไหลลงลาคอทร่ี ้อนผะผ่าวแห้งแล้ง บุหงามองท้ังคุณตาและบญุ ศรีดว้ ยความขอบคุณเกินกว่า
คาพูด “คนเราในยามทุกข์ ไม่ต้องการอะไรนอกจากเพื่อน...ขอบคุณจริงๆ ทั้งคุณพจน์ ทั้งบุญศรี”
(ว.วนิ จิ ฉยั กลุ , 2559, : 174)

การส่ือสารท่ีแสดงให้เห็นว่าตัวละครเจรจาโน้มน้าวหรือชักจูงใจ ปรากฏดังน้ีคือ (1) ใช้คาบอก
หา้ ม อย่าไปคดิ ลว่ งหน้าใหก้ ลุ้ม (2) ใช้คาบอกขอ้ เทจ็ จรงิ ความทกุ ข์วัยไหนก็ไม่เท่ากบั วยั แก่ ใจคอไม่แข็ง
เหมอื นเมื่อตอนสาวๆ ความหวงั ไมม่ ี ดีไม่ดหี มดกาลังใจ แสดงถงึ การบอกห้ามไมใ่ ห้คิดถึงความยากลาบาก
หรือยุ่งยากใจ เพราะธรรมชาติของคนแก่จะมีภาวะจิตใจหรืออารมณ์ไม่คงที่ ไม่มีทางได้ส่ิงที่ปองไว้ สภาพ
ของจิตใจหมดสิ้นความเช่ือม่ันและความกระตือรือร้น ไม่พร้อมท่ีจะเผชิญกับเหตุการณ์ต่างๆ (3) ใช้คา
กิรยิ าประกอบเพื่อชักชวน คาวา่ ซี ลองเปรียบเทยี บกับคนยากจนไม่มีอะไรจะกินบา้ งซี แสดงการกระทา
อยา่ งใดอย่างหน่ึงเพ่ือใหร้ ้วู ่าเป็นอย่างไร, ใชห่ รอื ไม่ เทยี บกับคนยากจนไม่มีอะไรจะกิน (4) ใช้คาถามท่ีไม่
ตอ้ งการคาตอบ ดงั ทวี่ ่า ใครเหน็ดเหนื่อยกว่ากัน (5) ใช้โวหารคมคาย ดังทวี่ า่ ชวี ิตไม่สนิ้ ต้องด้ินกนั ไป ใน
ท่นี หี้ มายถึงยังมีชีวิตอยตู่ ้องกระตือรือรน้ ขวนขวายเพื่อให้พ้นจากความยากลาบาก (6) ใช้คาเปรยี บเทียบ
ปลายังว่ายทวนน้า ในท่ีน้ีใช้ส่ิงมีชีวิตเปรียบเทียบกับธรรมชาติ โดยนาเอาธรรมชาติของปลาที่ต้องว่ายฝ่า
กระแสน้าหรือวา่ ยย้อนทางน้ามาเปรียบเทียบกับการใชช้ วี ิตของคนท่ีไม่แตกต่างกันกับปลา (7) ใชค้ าบอก
ห้าม เหตยุ ังไม่เกิด (8) ใชส้ านวน อย่าตีตนไปก่อนไข้ สานวนในที่นี้ เป็นการบอกห้ามกังวลทุกข์ร้อนหรือ
หวาดกลวั ในเร่ืองทย่ี ังไม่เกดิ ข้ึน (9) ใชค้ าสั่งแกมบงั คับ ดังข้อความท่ีวา่ ตอ้ งหาทางรับมือ เปน็ การหาทาง
กาจัดหรอื ผ่อนคลายความทุกข์ยาก (10) ใช้คาถามท่ีไมต่ ้องการคาตอบ ใครบ้างล่ะครับไม่มีความทุกข์ ผู้
โน้มน้าวแสดงให้เหน็ ว่าอยฝู่ ่ายเดียวกับผพู้ ูดเพราะอยใู่ นวยั เดยี วกัน จงึ โน้มนา้ วให้คลายความกังวล เรอ่ื งใด
ที่ยังไม่เกิดอย่าไปทุกข์ร้อนหรือหวาดกลัว ต้องหาทางต่อต้านกับปัญหาทุกอย่างที่เกิดข้ึน ยังมีชีวิตอยู่ต้อง
กระตือรือรน้ ให้พ้นจากความยากลาบากและปัญหาต่างๆ

3. หลักอา้ งอิงข้อเท็จจริง
ภูมิหลังของเหตุการณ์บุหงาโน้มน้าวใจจงกลนีด้วยการอบรมตักเตือนในส่ิงที่ลูกกระทาผิด
ตัวอย่างบุหงาโน้มน้าวจงกลนี โดยอ้างข้อเท็จจริงท่ีจงกลนีพูดโน้มน้าวมารดาด้วยหวงั ในทรัพย์สินเงนิ ทอง
ของบหุ งาผู้เป็นแม่ ดงั บทตดั ตอนจากนวนยิ ายต่อไปน้ี
“(1) แม่ให้โอกาสมาหลายครั้งแล้ว เร่อื งทรัพย์สนิ ท่คี ุณพ่อให้ไปนั้น อย่าพูดเลย แมใ่ หญ่ไม่ได้แบ่ง
ให้สามีตอนหย่าหรอก เมื่อเริ่มรักกัน แม่ใหญ่ก็ (2) ปรนเปรอพวกนี้ทุกคน ซ้ือรถ ซ้ือบ้าน ไปเที่ยวเมือง
นอก เข้าบ่อน (3) เงินจะไม่หมดอย่างไรไหว...” จงกลนีผุดลุกข้ึนทันควัน เร่ืองเหล่านี้เป็นเรื่องท่ีหล่อนไม่
ตอ้ งการฟงั ฟังแล้วกม็ ีแต่หงดุ หงดิ เสียอารมณ์ “ไม่มใี ครเหน็ ใจหนูแม่แตค่ ุณแม่ เพราะหนจู นนี่เอง” เมือ่ ใช้

352

ไม้อ่อนไม่ได้ผล หล่อนก็เริ่มเชือดเฉือน “(4) ถ้าหนูรวยอย่างพ่ีโต คุณแม่คงไม่รังเกียจหนู คุณแม่จะเอา
อะไรคะกับ (5) ผู้หญงิ ที่เคราะห์ร้ายเร่ืองคู่ หนเู กดิ มาไม่เคยเจอคนดี...เจอแต่คนเลวๆ คุณแม่ก็รู้ เอาละค่ะ
หนูรู้แล้วว่าพอหนูลาบากยากจน ความรักก็ไม่มีเหลือ...ไม่ว่าความรักของผัว หรือว่าของแม่ ” บุหงา
เจ็บปวดกับคาตัดพ้อของลูก แต่เธอก็รู้อีกน่ันแหละว่า จงกลนีมีชั้นเชิงสูงมาแต่ไหนแต่ไรแล้ว อายุมากข้ึน
แทนทจ่ี ะเป็นผู้ใหญ่ข้ึนหล่อนก็กลับ ‘รอบจดั ’ จนจะกลายเปน็ ไก่แก่แม่ปลาช่อนอยรู่ ่อมร่อ มที างเดยี ว คอื
ต้องใหห้ ล่อนรู้ว่า แมก่ ร็ ู้ทนั ไมใ่ ชว่ า่ ปล่อยให้หล่อนหลอกล่อด้วยความชานาญ “(6) แม่ (7) ไมเ่ คยรังเกียจ
ลูกท่ียากจนหรอกนะ (8) พ่อแม่คนไหนคิดอย่างนั้นก็อย่าไหว้ว่าเป็นพ่อแม่อีกเลย (9) ลองเอาเงินมา
ประเมินคุณค่าของลูกละก็ แต่ที่แม่ไม่ให้เงินเพราะแม่ไม่อยากเอาทรัพย์สินของคุณพ่อไปให้นายธวัชมัน
(10) ถลุงเล่น (11) แม่ใหญ่จะมีผัวอ่อนคราวลูก (12) แม่ไม่ได้ห้าม ถึงห้ามก็คงไม่ฟัง (13) แต่ต้อง
รบั ผิดชอบเอาเอง (14) อยา่ เอาเงินพ่อแม่ไปเลยี้ งผวั ” (ว.วนิ จิ ฉยั , 2559, : 167)

การสื่อสารที่แสดงให้เห็นว่าตัวละครเจรจาโน้มน้าวหรือชักจูงใจ ปรากฏดังนี้ คือ (1) ใช้คากริยา
บอกความบังคบั คาว่า ให้ ในทีน่ แ้ี ม่สอื่ สารใหล้ ูกเข้าใจว่าแม่ให้โอกาสลูกหลายคร้ังในการแบ่งทรัพย์สินให้
ลกู แมต่ ้องการโน้มนา้ วให้ลูกยอมรับให้ไดว้ ่าแม่ได้ให้ลูกไปมากแล้วแต่เมื่อลูกนาทรัพย์สินที่ได้ไปเล้ยี งดูแล
สามีเงินย่อมหมดลง (2) ใช้คาและความหมายชัดเจนในการอธิบาย ปรนเปรอ หมายถึง เลี้ยงดูด้วยการ
เอาอกเอาใจ บารุงบาเรอเลี้ยงดูสามี (3) ใช้คาถามหย่ัง คาว่า อย่างไรไหว ในประโยคที่ว่า เงินจะไม่หมด
อย่างไรไหว เงินหมดอย่างไม่ทันรู้ตัวและไม่พร้อมท่ีจะรับเหตุการณ์ ลูกสาวไม่ลดละความพยายามในการ
ขอร้องผู้เป็นแม่ให้ช่วยเหลือ โน้มน้าวผู้เป็นแม่ให้ยอมช่วยด้วยการพูดขอความเห็นใจ (4) ใช้คาแสดง
ความคาดหมายหรือข้อแม้ ถ้าเธอรวยเธอคงมีคนรัก แต่โชคร้ายท่ีเธอมีเคราะห์ในเรื่องคู่ ไม่มีใครเห็นใจ
ในที่น้ีคาว่า ถ้า แสดงความคาดหมาย คาดคะเน และคาว่า หาก ในบริบทการใช้ผู้พูดต้องการพูดว่ารวย
มากกว่านี้ย่อมไม่มีใครรังเกียจ (5) ใช้คาความหมายเชิงลบ ผู้หญิงเคราะห์ร้าย ใช้ในทางไม่ดี ในท่ีน้ี
หมายถึงมีเคราะห์เร่ืองคู่ จากการวิเคราะห์บริบทการใช้ภาษาจะเห็นว่าการชักจูงใจด้วยการหว่านล้อมให้
อีกฝ่ายสงสารและเห็นใจ (6) ใช้คาเน้นความหมาย ในประโยคท่ีว่า แม่ไม่เคยประเมินคุณค่าของลูก แม่
ไม่เคยรังเกียจลูกที่ลูกยากจนแต่แม่ไม่ต้องการให้ลูกผลาญสมบัติของพ่อกับแม่ (7) ใช้คาประกอบหน้า
กริยา เพ่ือแสดงว่ากริยาน้ันๆ ได้เป็นมาแล้ว ได้เห็นมาแล้ว ในท่ีน้ีไม่เคย หมายถึง ยังไม่ได้ทามาก่อน (8)
ใชค้ าขยายไม่เฉพาะเจาะจง ใช้คาวา่ ไหน ขยาย ในประโยคทว่ี ่า พ่อแม่คนไหนคิดอย่างนั้นก็อย่าไหว้เป็น
พ่อแมอ่ ีกเลย (9) ใช้โวหารคมคาย ลองเอาเงนิ มาประเมนิ คุณค่า หมายถึง เอาเงนิ มาประมาณคุณค่าหรือ
ราคาเท่าท่ีควรจะเป็น ผพู้ ูดโน้มนา้ วใจลูกสาวด้วยคาและความที่เป็นเหตุผลกัน ไมต่ ้องการใหเ้ อาทรัพย์สิน
ของพ่อยกให้สามีของลูก (10) ใช้คาท่ีมีความหมายตรงตามตัวและชัดเจน ถลุงเล่น หมายถึง ผลาญเงิน
(11) ใช้คาแสดงความรู้สึกยอมรับได้ แม่ใหญ่จะมผี วั อ่อนคราวลูก (12) ใช้คาแสดงความรสู้ ึกเขา้ ใจ แม่
ไม่ได้ห้าม ถึงห้ามก็คงไม่ฟัง (13) ใช้คาแกมบังคับ แต่ต้องรับผิดชอบเอาเอง แต่จงกลนีกาลังหมดหนทาง
การเงินไม่ดี เธอมาหาแม่ด้วยวัตถุประสงค์เดียวเท่านั้นคือเงินหรือทรัพย์สินจากแม่ (14) ใช้คาบอกห้าม
อย่า เป็นคาประกอบกริยาบอกห้าม ไม่ให้กระทา ในท่ีน้ีบอกห้ามไม่ให้นาเงินพ่อแม่ไปเลี้ยงดูสามี ผู้พูดใช้
ศลิ ปะในการเจรจาโน้มนา้ วดว้ ยการใช้คาความหมายตรงและชดั เจน

4. หลกั สรา้ งความพึงพอใจ
ภูมิหลังของเหตุการณ์ สการญาติผู้พี่โน้มน้าวใจยาตราให้นึกถึงคุณยายและเอาใจใส่คุณยาย
มากกวา่ นี้ ตวั อย่าง สการโน้มน้าวยาตรา ดงั บทตัดตอนจากนวนยิ ายต่อไปน้ี

353

“(1) มอดไม่แวะไปหาคุณยาย (2) สักหน่อยหรือ” ยาตรานึกถึงข้อนี้อยู่เหมือนกัน สองจิตสองใจ
มาพักใหญ่แล้ว ใจหนึ่งบอกว่าควรไปตามมารยาทเพราะมาหาเพ่ือนได้แต่ไม่มีเวลาไปหาคุณยายก็น่า
เกลยี ด แตอ่ ีกใจคา้ นว่าถึงไปก็เทา่ นั้น คณุ ยายไมไ่ ด้ชนื่ ชมสักนดิ ดไี ม่ดจี ะมเี รือ่ งบ่นให้เขาราคาญอีก เมื่อได้
ยินคาถาม ความในใจของชายหนุ่มจึงถ่ายทอดออกมาตามตรง คิดอยู่เหมือนกัน แต่ว่าคุณยายไม่ชอบผม
เจอหน้ากันเด๋ียวหัวเสียท้ังผมท้ังคุณยาย ไม่มีอะไรดีข้ึน มีแต่แย่” “มอดเป็นหลาน” สการแย้ง รักษา
น้าเสียงให้ราบเรียบ ไมเ่ ขม้ งวดหรือตาหนิ “(3) ถึงไมเ่ ตม็ ใจ ก็คดิ วา่ ทาตามหนา้ ท่ีก็แลว้ กนั ” ยาตราหัวเราะ
ในลาคอ แกว่งพวงกญุ แจทองซ่ึงสะท้อนแสงแดดเป็นประกายไมแ่ พ้สรี ถ ยนั มือขา้ งหนึง่ ลงบนขอบหน้าต่าง
“คนอยา่ งผมถ้าไม่เตม็ ใจจะทาอะไรแล้ว ผมไม่ทา ยง่ิ ต้องทาตามหน้าท่ียิ่งแล้วใหญ่ ทาไมคนเขากร็ วู้ ่าฝืนใจ
แทนที่จะขอบใจ กลับย่ิงเหม็นหน้าผมหนักเข้าไปอีก เพราะยังง้ัน...หลักของผมคือถ้าทา แปลว่าเต็มใจ ถ้า
ไม่เต็มใจ...ไม่ทา ง่ายๆ ไม่ต้องถือโน่นถือนี่กันให้อ้อมค้อม” “(4) เราไม่ได้อยู่คนเดียวบนเกาะร้าง” สกา
รอดไม่ได้ทั้งท่ีบอกตัวเองว่าเถียงกับคนโง่ย่อมเป็นการเปล่าประโยชน์ บางที เพื่ออยู่กันได้ในสังคมเราก็
ต้องอดกลัน้ ต้องฝนื ใจทาส่งิ ท่ีควรทา “(5) ถงึ มอดไม่รักคุณยาย หรอื คุณยายไมร่ ักมอด มอดกป็ ฏเิ สธความ
เป็นยายหลานกันไม่ได้อยู่ดี นึกยังงี้ (6) ซีถ้าไม่มีแม่ มอดก็เกิดไม่ได้ แล้วถ้าแม่ไม่มีคุณยายก็เกิดไม่ได้
เหมือนกนั ” (ว.วินิจฉยั กลุ , 2559, : 151)

การส่ือสารท่ีแสดงให้เห็นว่าตัวละครเจรจาโน้มน้าวหรือชักจูงใจ ปรากฏดังน้ี คือ (1) ใช้คาถาม
หย่ัง ดังวา่ ไม่แวะไปหาคณุ ยายสักหน่อยหรือ (2) ใช้คาแสดงความมุ่งหมายพดู ให้เขาใหส้ ่ิงทีต่ ้องการ คา
วา่ สักหนอ่ ยหรือ ในทนี่ ี้คือ กจิ ที่ต้องทาด้วยความรับผิดชอบ (3) ใช้คาสัง่ แกมบังคับ ตอ้ งอดกลั้น ต้องฝืน
ใจทาสิ่งท่ีควรทา ดังว่า ก็คิดว่าทาตามหน้าที่ก็แล้วกัน (4) บอกข้อเท็จจริง เราไม่ได้อยู่คนเดียวบนเกาะ
ร้าง (5) ใช้คาแสดงความคาดหมายหรือข้อแม้ ดังว่า ถึงไม่รักก็ปฎิเสธความเป็นยายหลานไม่ได้ (6) ใช้
คาประกอบท้ายคาอื่นเพ่ือเสริมข้อความให้เด่น ให้ชัดหรือให้สละสลวย นึกอย่างน้ีสิ คาว่า สิ เป็น
โดยมากใช้กับกริยาเป็นเชิงบังคับ เชิงชวน เห็นได้ว่าพูดชักจูงใจด้วยการใช้คาประกอบท้ายเสริมความให้
เด่นชัดในลักษณะชักชวน จงู ใจ

5. หลักภาษามพี ลัง
ภูมิหลังของเหตุการณ์บุหงาไม่สบายใจท่ีเห็นการเลี้ยงดูลูกของอุบลวรรณลูกสาว ตัวละครผู้โน้ม
น้าวพดู ดว้ ยบทเจรจามีพลัง สะทอ้ นภาพผู้พูดในฐานะแมท่ ่ีมีลูกหลายคนและต้องเลย้ี งดูแลลูกต้ังแต่เล็กจน
โต ยากลาบากมากเท่าไรก็เล้ียงจนเติบใหญ่ได้ บุหงาใช้วิธีการพูดโน้มน้าวให้อุบลวรรณรู้ตัวและ
ปรับเปลยี่ นวิธีการเลยี้ งดลู กู ดงั บทตัดตอนจากนวนยิ ายต่อไปนี้
“(1) ทาไมเร่ืองง่ายๆ สาหรับผู้หญิงอื่น พอแม่อุบลทากลายเป็นเรื่องใหญ่ไปหมด แม่ไม่เข้าใจ (2)
บางคนเขา มีลูกตั้งสิบสองคน เขายังไม่เหน็ดเหน่ือยกับลูกเท่าแม่อุบลมีตามอดคนเดียวเลย” “แล้วสมัย
น้ันมันสมัยไหนล่ะคะ คุณแม่” หล่อนแย้งทันทีด้วยความน้อยใจ “สมัยกรุงเทพฯ ยังมีรถราง เด็กเรียน
โรงเรียนวดั ขา้ งบ้านยังงั้นใช่ไหมคะ แล้วสมัยนีม้ ันแตกตา่ งจากกนั ลิบลบั จะเอามาเปรียบเทยี บกันไดย้ ังไง”
“(3) สมัยไหนก็เถอะ ส่ิงท่ีไม่เปลี่ยนคือคน” แม่ของหล่อนว่า “คนแก่ก็หัวดื้ออย่างนี้แหละ ปักใจเห็นอดีต
ว่าเป็นสิ่งท่ียืนยงคงทนตลอดกาล” “(4) เลี้ยงลูกต้องเดินสายกลาง หย่อนไป ตึงไป ลูกก็เสีย” คาพูด
เหล่าน้ีผ่านเข้าหูซ้ายแล้วออกหูขวาไปอย่างสะดวก อุบลวรรณรู้ดีว่าชีวิตมารดากับชีวิตหล่อนจะนามา
เปรียบเทียบกนั ไม่ได้ หล่อนมลี กู คนเดยี วแมห่ ล่อนก็มีถงึ ส่ีคน” (ว.วินจิ ฉัยกลุ , 2559, : 116)
การสื่อสารที่แสดงให้เห็นว่าตัวละครเจรจาโน้มน้าวหรือชักจูงใจ ปรากฏดังนี้คือ (1) ใช้คาถามที่
ไมต่ ้องการคาตอบ ถามย้าเพ่ือกระตุ้นใหค้ ิดว่าเพราะอะไรจึงทาให้สิ่งท่ีปฏิบตั ิง่ายๆ จงึ กลายเปน็ เรื่องใหญ่
(2) ใช้ข้อคิดคาคม แม่บางคนมีลูกมากถึงสิบสองคนแม่ยังเล้ียงลูกได้ ท้ายท่ีสุดผู้พูดให้ข้อคิดด้วยการ

354

เตือนผูฟ้ งั ถึงการเลี้ยงดูลูกไมว่ ่าชว่ งเวลาใด สง่ิ ทีไ่ ม่เปล่ียนคือคน ในการเล้ียงและดูแลลูกควรเลือกทางสาย
กลาง (3) ใช้คาประกอบท้ายกริยา เถอะ แสดงความหมายเป็นเชิงวิงวอนหรือชักจูง (4) ใช้หลักธรรม
เดินทางสายกลาง หมายถึง การปฏบิ ตั ิท่ไี ม่ตึงไปทางใดทางหนึ่ง จงึ เป็นแนวทางการปฏิบัตทิ ่ีไมต่ ึงไมห่ ย่อน

6. หลักยกตัวอย่างเหตุการณ์ตา่ งๆ รอบตัวมาอธบิ าย
ภูมิหลังของเหตุการณ์ ยวงเล่าถึงชีวิตของตนให้บุหงาฟังเพื่อโน้มน้าวใจให้บุหงาเข้าใจว่ายวงน้ัน
เข้าใจสภาพของบุหงาอย่างดี พูดด้วยการใช้วิธีการยกตัวอย่างและนาเหตุการณ์ตา่ งๆ รอบตัวโน้มน้าว ทา
ให้เห็นจริงภาพชัดตามท่ีผู้พูดต้องการส่ือสาร ตัวอย่าง ยวงโน้มน้าวบุหงาเจ้านาย ดังบทตัดตอนจากนว
นิยายต่อไปนี้
“(1) ลูกเต้าคุณเลี้ยงเขาจนพ้นอกไปแล้วก็นับว่าบุญแล้ว (2) ละค่ะ (3) อย่าไปนึกเลยว่าเขาจะ
เล้ียงคุณได้หรือเปล่า ลูกฉันมันก็ไม่เห็นเลี้ยงฉันสักคน มันขาดเงินวิ่งมาหา ฉันยังต้องควักกระเป๋าให้มัน
เสียอีก ฉันเองซี (4) ถ้าไม่มีเงินเดือนเมื่อไรก็คง (5) ตายข้างถนน” คาตอบของยวงทาให้บุหงาค่อยรู้สึกดี
ข้ึนบ้าง พร้อมกับนึกละอายใจ จริงซีเทียบกันแล้ว เธอยังสบายและมีหลักประกันมั่นคงในชีวิตมากกว่าแม่
ครัวตั้งหลายเท่า นางยวงต่างหากแก่ตัวลงทุกวนั ถ้าทางานไม่ได้ หรอื เจบ็ ป่วยนางก็ไม่มีใครเหลยี วแล ลกู ๆ
ซ่ึงใชช้ วี ิตอย่างคนหาเช้ากินค่าน้นั ไมม่ ีทางช่วยเหลือแม่ได้แน่นอน “(6) จรงิ ของยวง” เธอตอบเสยี งอ่อยๆ
“ฉันไม่น้อยอกน้อยใจอะไรมากละ (7) ส่วนเร่ืองเลี้ยงน่ะไม่ต้องกลัว ยังไงฉันก็ไม่ท้ิงยวงหรอก เล้ียงกันทั้ง
แกๆ่ ดว้ ยกันนี่แหละ” (ว.วนิ ิจฉัยกุล, 2559, : 40)
การสื่อสารที่แสดงให้เห็นว่าตัวละครเจรจาโน้มน้าวหรือชักจูงใจ ปรากฏดังนี้คือ (1) ใช้คาท่ีมี
ความหมายเน้นหนัก ลูกเต้าคุณเลี้ยงเขาจนพ้นอก ในท่ีนี้หมายถึงพ้นไปจากความดูแลของแม่ (2) ใช้คา
แสดงเหตผุ ล เลีย้ งจนพ้นอกกน็ บั ว่าบญุ แล้ว ในทน่ี ห้ี มายถงึ เลี้ยงจนกระท่ังโต (3) ใช้คาประกอบข้อความ
เพื่อเน้นความหมาย คาว่าละค่ะ บุญแล้วละค่ะ ผู้พูดโน้มน้าวใจให้ผู้ฟังเข้าใจสภาพของผู้ฟังที่กาลังเผชิญ
คาว่า ซี ฉันเองซี (4) ใช้คาแสดงความคาดหมายหรือข้อแม้ ถ้าไม่มีเงินเดือนเม่ือไรก็คงตายข้างถนน ถ้า
เป็นคาแสดงความคาดคะเน ในที่นี้คาดว่าไม่มีเงินเดือน หมายถึง ไม่ได้รับเงินค่าตอบแทนการทางานท่ี
กาหนดให้เป็นรายเดือน (5) ใช้คาแสดงสภาพ ตายข้างถนน ในท่ีน้ีหมายถึง สิ้นสภาพของการมีชีวิต (6)
ใชค้ าทแ่ี สดงเหตผุ ล จรงิ ของยวง หมายถึง แน่, แท้ (7) ใชค้ าเพอ่ื ให้ผู้ฟังเกดิ ความสบายใจและพงึ พอใจ
ในประโยคทว่ี า่ ส่วนเรอื่ งเล้ียงน่ะไม่ต้องกลัว ยงั ไงฉนั กไ็ ม่ทิ้งยวงหรอก เล้ยี งกันท้งั แกๆ่ ดว้ ยกนั น่ีแหละ
อภปิ รายผล
จากการศึกษาวิเคราะห์องค์ประกอบบทพูดโน้มน้าวของตัวละครในนวนิยายเส้นไหมสีเงิน
ประเด็นท่ี 1 การจาแนกตัวละครในบริบทการเจรจาโน้มน้าว พบว่า ตัวละครผู้โน้มน้าวและผู้ถูกโน้มน้าว
เป็นได้ทั้งตัวละครหลัก ตัวละครรอง และตวั ละครประกอบ เปน็ ได้ท้ังตัวละครหญิงและชาย ผโู้ น้มน้าวพบ
มากที่สดุ คือตวั ละครหลักซ่ึงเป็นตัวดาเนนิ เรอ่ื งท่ีสาคัญทสี่ ุด เปน็ ตัวแสดงท่ีปรากฏบทบาทตลอดหรือเกือบ
ตลอดเร่อื ง เป็นตัวละครสาคญั ท่มี ีความขัดแย้งและทาให้เกิดเหตกุ ารณต์ ่างๆ ในเร่ือง และเป็นผู้โนม้ น้าวใจ
ตัวละครมากที่สุด 2. ตัวละครรองซึ่งปรากฏบทบาทรองลงมาจากตัวละครหลัก เป็นตัวละครที่ทาให้
เรื่องราวต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับตัวละครหลักดาเนินไป เป็นตัวแสดงท่ีปรากฏบทบาทตลอดหรือเกือบตลอด
ทั้งเร่ืองได้เช่นเดียวกับตัวละครหลักแต่ไม่โดดเด่นเท่าตัวละครหลัก ตัวละครรองส่วนใหญ่มีความสัมพันธ์
ใกลช้ ดิ กับตวั ละครหลัก และมักจะถูกตัวละครหลักเป็นผ้โู น้มนา้ ว 3. ตวั ละครประกอบที่ปรากฏบทบาทไม่
ตลอดท้ังเรื่อง ในบางตอนไม่มีการกล่าวถึงเลย บางตอนตัวประกอบปรากฏบทบาทมากบางตอนปรากฏ
บทบาทน้อย ตัวละครประกอบเป็นผูโ้ น้มน้าวและผถู้ ูกโน้มน้าวน้อยทสี่ ุด ตวั ละครทั้ง 3 เปน็ ไดท้ ง้ั หญิงและ
ชายซึ่งตัวละครจะใช้บทพูดหลักในการส่ือสาร เม่ือใดท่ีตัวละครเกิดปมปัญหาหรือความขัดแย้งท่ีมาจาก

355

ความต้องการจึงส่งผลให้เกิดแรงจูงใจในการโน้มน้าวเพื่อให้ผู้ถูกโน้มน้าวคล้อยตาม แนวคิดตัวละครกับ
การโน้มน้าวใจนี้สามารถนาไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ได้จริงในชีวิตประจาวันของมนุษย์ ท้ังในด้าน
การส่ือสาร ประกอบอาชีพ ฯลฯ ประเด็นที่ 2 กระบวนการเจรจาโน้มน้าวใจ พบว่ามีการใช้คาและ
ความหมายเชิงชักชวนหรือโน้มน้าวใจ ดังน้ี การใช้คาที่มีความหมายเน้นหนัก ตรงตามตัวชัดเจน แสดง
ความคาดหมายหรือข้อแม้ บอกข้อเท็จจริง แสดงเหตุผล คาถามท่ีไม่ต้องการคาตอบ คาส่ังแกมบังคับ
คาประกอบท้ายควาหมายไปในทางชักชวนหรือใหท้ าตาม คาพูดวิงวอนหรือขอร้องให้ปฏิบัติ คาท่แี สดงมุ่ง
หมายเจาะจงให้ได้ตามเจตนา คาบอกห้าม โวหารคมคาย คาเปรียบเทียบ คาบอกห้าม ใช้สานวน ใช้คา
แสดงความมุ่งหมายพูดให้เขาให้ส่ิงที่ต้องการ ใช้คาแสดงความรู้สึก เข้าใจ ยอมรับ ใช้คาขยายให้
เฉพาะเจาะจง ใช้คาความหมายเชิงลบ ใช้คาถามหย่ัง ใช้คาขยายเน้นน้าหนัก ใช้คาบอกบทบาทหน้าที่ ใช้
การอุปมาอุปไมย ใช้คาประกอบเพ่ือเน้นความหมาย ใช้คาแสดงสภาพ ใช้ข้อคิดเตือนใจ ใช้หลักธรรมคา
สอน ใชค้ าประกอบท้ายคาอื่นเพื่อเสรมิ ข้อความให้เดน่

ประเด็นท่ี 3 ผลการศึกษากระบวนการเจรจาโน้มน้าวใจ พบว่าตัวละครผู้โน้มน้าวใช้หลักการพูด
7 แบบ ดังนี้ 1. หลักให้ความสนใจผู้ฟัง 2. หลักอยู่ฝ่ายเดียวกับผู้ฟัง 3. หลักอ้างอิงข้อเท็จจริง 4. หลัก
สรา้ งความพึงพอใจ 5. หลกั ภาษามพี ลัง 6. หลักการยกตวั อย่างเหตุการณต์ ่างๆ รอบตัวมาอธิบาย

องคป์ ระกอบทั้ง 3 ประเดน็ กลา่ วคอื ตวั ละคร กระบวนการเจรจาโน้มน้าว และหลักการพูดเพ่ือ
โน้มน้าว ถูกเรียงร้อยผ่านมวลประสบการณ์ของนักเขียนช้ันครู ถ่ายทอดเร่ืองเล่าประเภทนวนิยายมีตัว
ละครทาหน้าที่แสดงบทบาทสาคัญ ทาให้ผู้อ่านได้รับอรรถรส เกิดความเพลิดเพลินจากเนื้อหาท่ีชวน
ติดตามต้งั แต่ตน้ จนจบ กล่าวได้ว่า ว.วินิจฉยั กลุ นักเขยี นมคี วามสามารถ พฒั นางานเขียนจนมีผลงานอย่าง
ต่อเนื่อง ประสบความสาเร็จในวงกว้างเห็นได้จากความนิยมในกลุ่มนักอ่าน ผลงานเขียนได้รับรางวัล ถูก
นาไปผลิตเป็นละครโทรทัศน์ และภาพยนตร์ นักเขียนได้รับรางวัล และได้รับยกย่องจากกระทรวง
วัฒนธรรมใหเ้ ปน็ ศลิ ปินแหง่ ชาติ สาขาวรรณศิลป์

แหล่งอ้างองิ
จันทิมา พรหมโชติกุล. (2530). วาทการ. กรุงเทพ: ศูนย์หนังสือ มศว. งานส่งเสริมวิจัยและตารากองบริการ

การศึกษา มหาวิทยาลยั ศรีนครนิ ทรวิโรฒประสานมิตร, กรุงเทพฯ.
ดวงมน จติ รจ์ านงค.์ (2541). สนุ ทรยี ภาพในภาษาไทย. (พมิ พ์ครั้งที่ 3). กรงุ เทพฯ : ศยาม.
ว.วินจิ ฉัยกุล. (นามแฝง). (2554). เสน้ ไหมสีเงิน. กรงุ เทพ : สานักพิมพพ์ ทรีบีส์.
วรวรรธน์ ศรียาภัย. (2552). รูปภาษาที่ใช้อ้างถึงตัวแสดงบทบาทในวรรณคดีร้อยกรองของไทย.

วทิ ยานิพนธ์. ปร.ด. มหาสารคาม.
สมทรง บุรุษพัฒน์. (2537). วจนะวิเคราะห์ : การวิเคราะห์ภาษาระดับข้อความ. นครปฐม : สถาบันวิจัย

ภาษาและเพอ่ื พัฒนาชนบท มหาวทิ ยามหดิ ล.
สมพร มนั ตะสูตร. (2540). การเขยี นเพอื่ การส่ือสาร. กรุงเทพฯ : โอเดยี นสโตร.์
สายทิพย์ นุกูลกิจ. (2543). วรรณกรรมไทยปัจจุบัน. กรุงเทพฯ : ภาควิชาภาษาไทยและภาษาตะวันออก

คณะมนษุ ยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ ประสานมติ ร.

356

การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยนื ยันทกั ษะทางสังคมของนกั เรียนระดับประกาศนียบตั ร
วชิ าชีพ ประเภทวิชาพาณิชยกรรม ในวทิ ยาลยั อาชีวศกึ ษาเอกชน จงั หวดั ชลบรุ ี

A CONFIRMATORY FACTOR ANALYSIS OF SOCIAL SKILLS AMONG VOCATIONAL
CERTIFICATE STUDENTS IN PRIVATE VOCATIONAL COLLEGES IN CHONBURI PROVINCE

ลดั ดา แสงเพช็ ร
นกั ศึกษาหลักสตู รวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบรู พา

สรพงษ์ เจรญิ กฤตยาวฒุ ิ, ณัฐกฤตา งามมีฤทธ์ิ
อาจารย์ประจาภาควิชาวจิ ัยและจติ วิทยาประยุกต์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั บรู พา

บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพ่ือวิเคราะห์องค์ประกอบทักษะทางสังคมของนักเรียนระดับ

ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ประเภทวิชาพาณิชยกรรม ในวิทยาลัยอาชีวศึกษาเอกชน จังหวัดชลบุรี และ
ตรวจสอบความสอดคล้องระหว่างโมเดลดังกล่าวกับข้อมูลเชิงประจักษ์ กลุ่มตัวอย่างท่ีใช้ในการศึกษาคร้ัง
นี้ ได้แก่ นักเรียนที่กาลังศึกษาในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ประเภทวิชาพาณิชยกรรม ในวิทยาลัย
อาชีวศึกษาเอกชน จังหวัดชลบุรีในภาคปลาย ประจาปีการศึกษา 2561 จานวนท้ังส้ิน 1,218 ราย ซึ่ง
ผู้วิจัยได้ทาการเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบสอบถามซึ่งพัฒนาจากผลการวิจัยเชิงคุณภาพและการ
สงั เคราะหว์ รรณกรรมเป็นหลัก สถิติทใ่ี ช้ในการวิเคราะหข์ ้อมูล ไดแ้ ก่ การวเิ คราะห์องค์ประกอบเชงิ ยืนยัน
อันดับทสี่ อง ผลการศึกษา พบวา่ องคป์ ระกอบทักษะทางสังคมของนักเรียนระดับประกาศนยี บัตรวิชาชีพ
ประเภทวิชาพาณิชยกรรม ประกอบด้วย 7 องค์ประกอบหลัก โดยที่องค์ประกอบการทางานเป็นทีมมีค่า
น้าหนักองค์ประกอบมาตรฐานสูงท่ีสุด รองลงมาคือ การจัดการตนเอง ความรับผิดชอบ การมีมนุษย
สัมพันธ์ การเห็นอกเห็นใจผู้อืน่ ทักษะการสื่อสาร และความเป็นผูน้ า ตามลาดับ โดยท่ีโมเดลองค์ประกอบ
ทักษะทางสังคมดังกล่าวมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ในระดับท่ีใช้ได้โดยพิจารณาจากค่าสถิติ
ค่าไคสแควร์ (Chi-Square) เท่ากับ 2604.442 ณ องศาความเป็นอิสระเท่ากับ 886 (p-value < .01) ค่า
ไคสแควร์หารด้วยองศาความเป็นอิสระมีค่าเท่ากับ 2.940 ดัชนีความคลาดเคล่ือนในการประมาณค่า
(RMSEA) เท่ากับ 0.040 ดัชนีวัดระดับความสอดคล้องเปรียบเทียบ (CFI) เท่ากับ 0.907 ค่าดัชนีวัดระดับ
ความสอดคล้องเปรียบเทียบของ Tucker and Lewis (TLI) เท่ากับ 0.901 และค่าดัชนีรากของค่าเฉลี่ย
กาลังสองของสว่ นท่เี หลือมาตรฐาน (SRMR) เทา่ กบั 0.050

คาสาคัญ: การวิเคราะห์องคป์ ระกอบเชงิ ยนื ยัน, ทักษะทางสังคม, นักเรยี นระดับประกาศนียบัตร
วชิ าชีพ, พาณชิ ยกรรม

ABSTRACT
The objective of this research was to investigate the components of social skills

among vocational certificate students majoring in commerce in private vocational colleges
in Chonburi Province, Thailand, and to validate the measurement model with the empirical
data. Data was collected from 1,218 vocational certificate students majoring in commerce
who were currently enrolled in in private vocational colleges in Chonburi Province in the
academic year 2018. The research instrument was a questionnaire mainly developed from
the qualitative findings and research synthesis. Data was analyzed by using the second order

357

confirmatory factor analysis. Findings revealed that social skills among vocational certificate
students majoring in commerce consisted of 7 main components. The highest factor loading
was teamwork, followed by self-management, responsibility, human relation, empathy,
communication and leadership, respectively. In addition, the measurement model of social
skills was acceptably consistent with the empirical data as shown in the following fit indices:
Chi-Square=2604.44, df=886, p<.001, Chi-Square/df=2.94, RMSEA=0.04, CFI=0.91, TLI=0.90,
and SRMR=0.05.

Keywords: Confirmatory Factor Analysis, Social Skills, Vocational Certificate
Students, Commerce

บทนา
ทักษะทางสังคมถือได้ว่าเป็นหนึ่งในคุณลักษณะพ้ืนฐานท่ีสาคัญของบุคคลท่ีแสดงออกถึงการ

ติดต่อสัมพันธ์กับบุคคลอื่นในสังคมและการดารงชีวิตร่วมกับผู้อ่ืนในสังคม (Elliot, 2001) มีความจาเป็น
และสาคัญต่อมนุษย์ เนอ่ื งด้วยมนุษย์ไมส่ ามารถอยู่ได้ตามลาพังต้องมีเพ่ือน มกี ลมุ่ สังคม ท่จี ะดารงชีวิตอยู่
ร่วมกัน ต้งั แต่สังคมเล็กๆในครอบครวั ขยายออกไปเป็นสังคมมนุษย์ ซ่ึงการทจี่ ะให้สังคมนน้ั มีความปกติสุข
ได้นั้น บุคคลในสังคมต้องมีทักษะทางสังคมที่ดีรู้จักบทบาทหน้าท่ีของตนเอง มีความรับผิดชอบ (น้าอ้อย
ทวีการไถ, 2555) เพ่ือให้สามารถทางานร่วมกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ และสามารถปรับตัวเพื่อแสวงหา
ความรใู้ หม่ ๆ ด้วยการมีปฏสิ ัมพันธ์กับผู้อ่ืน ทาใหบ้ ุคคลแสดงบทบาทและหน้าที่ของตนได้อย่างเหมาะสม
(พรพรรณ มากบุญ, 2555) อีกทั้ง ทักษะทางสังคมยังเป็นส่วนหนึ่งที่ใช้ในการสมัครงานและสนับสนุนให้
ประสบความสาเร็จในการประกอบอาชีพอีกดว้ ย (Moin and Biswal, 2012) ดงั นัน้ การพัฒนาทักษะทาง
สังคมจึงจาเป็นอย่างยิ่งสาหรับนักเรียนอาชีวศึกษา ในฐานะที่เป็นกาลังแรงงานสาคัญในการขับเคล่ือน
เศรษฐกิจของภูมิภาคตะวันออก ผู้เรียนจึงจาเป็นต้องมีความพร้อมทั้งทักษะทางวิชาชีพและทักษะทาง
สงั คมไปอย่างควบคู่กนั หรอื กลา่ วไดว้ า่ เป็นทักษะขน้ั พืน้ ฐานท่ีสนับสนุนเกื้อกูลกันในการประกอบอาชีพใน
อนาคตต่อไป อย่างไรก็ดี สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (2560) ได้กาหนดคุณลักษณะท่ีพึง
ประสงค์ของผู้ที่จะสาเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ไว้ว่าต้องคุณสมบัติครบถ้วนท้ัง
ด้านคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในมิติต่าง ๆ อาทิ การมีมนุษยสัมพันธ์
ความมีวินยั ความรบั ผิดชอบ ความซือ่ สัตยส์ ุจริต ความเช่อื ม่ันในตนเอง การประหยดั ความสนใจใฝร่ ู้ การ
ละเวน้ สงิ่ เสพตดิ และการพนนั ความรักสามัคคี ความกตัญญู ความคดิ ริเรม่ิ สร้างสรรค์ การพงึ่ ตนเอง ความ
อดกลั้น มารยาทไทย เป็นต้น จากคุณลักษณะอันพึงประสงค์ดังกล่าวสะท้อนให้เห็นว่า ผู้เรียนจาเป็นต้อง
ได้รับการฝึกฝนทางด้านทักษะทางสังคมเป็นสาคัญ อันจะมีส่วนช่วยพัฒนาและส่งเสริมให้บุคคลประสบ
ความสาเร็จและมีความก้าวหน้าในการประกอบอาชีพในอนาคตหลังจากสาเร็จการศึกษา นอกเหนือจากนี้
การประกอบอาชีพและการดารงชีวิตในศตวรรษท่ี 21 นั้นหลีกเล่ียงไม่ได้ท่ีบุคคลต้องเผชิญกับการ
ติดต่อสอ่ื สารและการประสานร่วมกับผู้อื่นในโลกที่มีเครือข่ายเช่ือมโยงและมีความซับซ้อนมากยิ่งข้นึ ดว้ ย
เหตุน้ี คุณลักษณะของทักษะทางสังคมจึงเป็นหนึ่งในตัวขับเคล่ือนของบุคคลท่ีสาคัญที่มีส่วนช่วยในการ
ดาเนินชีวิตของโลกแห่งการทางานและสังคมยุคโลกาภิวัตน์ รวมไปถึง สังคมข้ามวัฒนธรรม (วิจารณ์
พาณิช, 2555) กล่าวคือ หากบุคคลมีทักษะทางสังคมท่ีดีก็ย่อมมีโอกาสท่ีจะประกอบความสาเร็จและ
ความก้าวหน้าในการประกอบอาชีพและในชีวิตมากกว่าบุคคลอ่ืน ๆ น่ันจึงหมายความว่า นอกเหนือจาก
คุณลักษณะหรือทักษะทางวิชาชีพเฉพาะของตนเพ่ือการประกอบอาชีพแล้ว ผู้เรียนหลีกเล่ียงไม่ได้ที่
จะตอ้ งมที กั ษะทางสังคมในการดารงชวี ิตและการประกอบอาชีพในสงั คมยคุ ปัจจบุ ัน

358

การจัดการศึกษาในระดับอาชีวศึกษา ประเภทวิชาพาณิชยกรรม มีจุดมุ่งหมายเพ่ือให้ผู้เรียนมี
ความรู้และทักษะในหลักการบริหารและจัดการวิชาชีพ เนื่องด้วยประเภทวิชาพาณิชยกรรมเป็นศาสตร์ท่ี
ครอบคลุมเกี่ยวกับการค้าขาย ธุรกิจ การบริการ และคอมพวิ เตอรธ์ ุรกจิ ซง่ึ ผ้เู รียนวชิ าดงั กลา่ วเหล่านี้ ล้วน
แล้วแต่ต้องมีความเกี่ยวข้องและพบปะผู้คนจานวนมากในการทางาน ดังน้ันนอกจากผู้เรียนจาเป็นต้องมี
ทักษะวิชาชีพเฉพาะของตนเองแล้วนั้น ยังจาเป็นต้องมีทักษะทางสังคมท่ีใช้ในการติดต่อส่ือสาร
ประสานงานให้สามารถทางานและอยูร่ ว่ มกับผู้อืน่ ในสังคมได้อย่างมีความสุข

ด้วยเหตุผลดังกล่าวในข้างต้น ผู้วิจัยจึงสนใจศึกษาถึงองค์ประกอบทักษะทางสังคมของนักเรียน
ระดับประกาศนียบัตรวชิ าชีพในวิทยาลัยอาชีวศึกษาเอกชน จังหวัดชลบรุ ี เน่อื งด้วยผู้เรียนในกลุ่มนี้เป็นผู้
ท่ีมีฝีมือในทักษะทางวิชาชีพ อีกท้ัง ยังเป็นกาลังแรงงานสาคัญในการขับเคล่ือนเศรษฐกิจของภูมิภาค
ตะวนั ออกและประเทศไทยทจี่ าเป็นต้องมที ักษะทางสังคมในการประกอบอาชีพ ดังนั้น การทผ่ี ู้เรยี นมีองค์
ความความรู้เฉพาะทางหรือวิชาชีพเพียงอย่างเดียวนั้นอาจเป็นเง่ือนไขที่จาเป็น แต่ยังคงไม่เพียงพอต่อ
ความสาเร็จในการประกอบอาชีพ ผู้เรียนจึงจาเป็นต้องมีทักษะทางสังคมซึ่งเป็นส่วนหน่ึงในการสนับสนุน
ให้ผู้เรียนประสบความสาเร็จในการประกอบอาชีพและสามารถดารงชีวิตอยู่ในสังคมร่วมกันกับผู้อ่ืนได้
อย่างมีความสุขอีกด้วย โดยผลท่ีได้จากการศึกษาคร้ังนี้จะเป็นประโยชน์ต่อสถาบันการศึกษาเพื่อใช้เป็น
แนวทางในการพัฒนาและส่งเสริมให้ผู้เรียนได้มีความพร้อมในการไปประกอบอาชีพ อีกทั้งยังสามารถ
ทางานรว่ มกบั ผูอ้ ื่นและแก้ไขปญั หาท่ีหลากลายสถานการณ์ไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ

วตั ถุประสงค์การวิจัย
1. เพื่อวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันทักษะทางสังคมของนักเรียนระดับประกาศนียบตั รวิชาชีพ

ประเภทวชิ าพาณิชยกรรม ในวิทยาลยั อาชวี ศึกษาเอกชน จังหวัดชลบุรี
2. เพื่อตรวจสอบความสอดคล้องระหว่างโมเดลองค์ประกอบทักษะทางสังคมของนักเรียนระดับ

ประกาศนียบตั รวชิ าชีพ ประเภทวิชาพาณิชยกรรม ในวทิ ยาลยั อาชีวศกึ ษาเอกชน จงั หวดั ชลบุรี

วธิ กี ารดาเนนิ การวจิ ัย
ในการศึกษาเชงิ ปริมาณคร้ังน้ี ผูว้ จิ ัยกาหนดวธิ กี ารดาเนินการวิจัย โดยมีรายละเอียดดังน้ี
1. ประชากรและกลุ่มตัวอยา่ ง
ประชากรท่ีศึกษา ได้แก่ นักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ในวิทยาลัยอาชีวศึกษา

เอกชน จงั หวดั ชลบุรี ภาคปลาย ปกี ารศึกษา 2561 จานวน 22 วทิ ยาลยั รวมจานวนนักเรยี นท้ังสน้ิ 8,796
คน โดยผู้วิจัยได้ทาการสุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิ (Stratified Random Sampling) ท้ังนี้ ผู้วิจัยได้กาหนด
ขนาดกลุ่มตัวอย่างตามหลักการวิเคราะห์โมเดลสมการโครงสร้างตามเกณฑ์ของ Schumacker and
Lomax (1996 อ้างถึงในนงลักษณ์ วิรัชชัย, 2542) ที่กาหนดไว้ว่าขนาดตัวอย่างควรมี 10-20 ราย ต่อ 1
ตัวแปรสังเกตได้ ซ่ึงงานวิจัยคร้ังนี้มีจานวนตัวแปรสังเกตได้ทั้งหมด 44 ตัวแปร ดังนั้น ขนาดตัวอย่างท่ี
เหมาะสมจึงเท่ากับ 44*20 = 880 ราย อยา่ งไรก็ดี ผู้วจิ ยั ไดแ้ จกแบบสอบถามเพ่มิ เต่ิมจากขนาดตวั อย่างท่ี
เหมาะสมอีกร้อยละ 70 หรือ 616 ชุด เพ่ือป้องกันอัตราการตอบกลับที่ต่ากว่าขนาดตัวอย่างท่ีกาหนดไว้
ซ่ึงผวู้ ิจยั ได้รับแบบสอบถามกลับคืนมาจานวน 1,381 ชุด หรือคิดเปน็ ร้อยละ 94.23 ทั้งน้ีมแี บบสอบถามที่
ใชใ้ นการวเิ คราะห์ได้ท้งั สิน้ 1,218 ชุด หรือคดิ เป็นรอ้ ยละ 88.20 ของแบบสอบถามที่ไดร้ ับกลบั คืนมา

2. เคร่อื งมือการวิจัย
เครือ่ งมือท่ีใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ไดแ้ ก่ แบบสอบถามซึ่งผวู้ ิจัยได้พัฒนาข้ึนตามผลท่ีได้จากการ

สังเคราะห์วรรณกรรมและผลการวิจัยเชิงคณุ ภาพ โดยที่แบบสอบถามทักษะทางสังคม ซ่ึงเป็นแบบมาตรา
สว่ นประมาณค่า 5 ระดบั ประกอบด้วย การทางานร่วมกันเป็นทีม จานวน 8 ขอ้ ความเป็นผนู้ า จานวน 8

359

ข้อ การมีมนุษยสัมพันธ์จานวน 6 ข้อ ทักษะการส่ือสารจานวน 8 ข้อ ความรับผิดชอบ จานวน 6 ข้อ
การจดั การตนเอง จานวน 7 ข้อ และการเห็นอกเห็นใจผอู้ ื่น จานวน 6 ข้อ หลังจากนนั้ จงึ นาแบบสอบถาม
ท่ีสรา้ งขึ้นน้ันไปตรวจสอบถึงตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหา (Content Validity) โดยให้ผูเ้ ชีย่ วชาญจานวน
5 ราย เป็นผู้พิจารณาถึงความเหมาะสมทางด้านเนื้อหาและภาษา พบว่า ข้อคาถามมีค่าดัชนีความ
สอดคล้อง (IOC) อยู่ระหว่าง 0.60 ถึง 1.00 ซ่ึงถือว่าข้อคาถามมีความเหมาะสมเป็นอย่างดีตามเกณฑ์
หลังจากน้ัน ผู้วิจัยได้ทาการปรับปรุงข้อคาถามตามคาแนะนาของผู้เช่ียวชาญ และจึงนาไปทดลองใช้กับ
นักเรียนที่ไม่ใช่กลุ่มตัวอย่างจานวน 40 คน เพื่อตรวจสอบความเท่ียง (Reliability) ด้วยการหาค่า
สมั ประสิทธิ์แอลฟาครอนบาค ปรากฏวา่ เครือ่ งมือทส่ี ร้างข้นึ มานั้นมีความเท่ียงด้านทางานร่วมกันเป็นทีม
สูงสุดเท่ากับ 0.84 รองลงมาได้แก่ ทักษะการสื่อสาร ความเป็นผู้นา ความรับผิดชอบ การมีมนุษยสัมพนั ธ์
การเหน็ อกเหน็ ใจผู้อื่น และการจดั การตนเอง โดยมีค่าความเทีย่ งเท่ากับ 0.82 0.79 0.77 0.75 0.75 และ
0.70 ตามลาดับ และมีค่าอานาจจาแนกรายข้ออยู่ระหว่าง 0.23 ถึง 0.68 ซ่ึงอยู่ในเกณฑ์ที่ดี ด้วยเหตุน้ี
แบบสอบถามที่ได้จึงมีความเหมาะสมที่จะนาไปใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลในขั้นตอนต่อไป

3. การเก็บรวบรวมข้อมูล
ผู้วิจัยติดต่อขอหนังสือราชการจากภาควิชาสถิติ วิจัย วัดผลการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์

มหาวิทยาลยั บรู พา ส่งไปถึงผ้อู านวยการวทิ ยาลยั อาชีวศึกษาเอกชน จงั หวัดชลบุรี เพื่อขอความอนุเคราะห์
ในการเก็บรวบรวมข้อมูล จากนั้น ผู้วิจัยทาการส่งแบบสอบถามให้กับทางวิทยาลัยด้วยตนเอง เพื่อให้
วทิ ยาลัยดาเนินการเกบ็ รวบรวมข้อมูลให้ หลังจากที่ทางวิทยาลยั เก็บรวบรวมข้อมูลเรียบร้อยแล้วผู้วิจัยได้
ไปรบั แบบสอบถามคนื และทาการตรวจสอบความสมบูรณ์ของแบบสอบถามทุกฉบบั ทไี่ ดร้ ับกลบั มา

4. การวเิ คราะหข์ ้อมูล
4.1 การวิเคราะห์ข้อมูลดว้ ยสถิติเชิงพรรณนา (Descriptive statistics) เพือ่ อธบิ ายลกั ษณะ

ท่ัวไปของกลุ่มตัวอย่างและตัวแปรที่ใช้ในการวิจัย สถิติท่ีใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความ ถี่
(Frequency) ร้อยละ (Percent) ค่าเฉล่ีย (Mean) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)
ความเบ้ (Skewness) และความโด่ง (Kurtosis)

4.2 การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันอันดับที่สอง (Confirmatory Factor Analysis)
เพื่อตรวจสอบความตรงเชงิ โครงสร้างของโมเดลการวัด
สรปุ ผลการวิจัย

ผลการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันอันดับที่สอง พบว่าโมเดลทักษะ
ทางสังคมของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ประเภทวิชาพาณิชยกรรม ในวิทยาลัยอาชีวศึกษา
เอกชน จังหวัดชลบุรีมีความกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยพิจารณาจากค่าไคสแควร์ (Chi-Square)
เท่ากับ 2604.442 ณ องศาความเป็นอิสระเท่ากับ 886 (p-value < .001) ค่าไคสแควร์หารด้วยองศา
ความเป็นอิสระมีค่าเท่ากับ 2.940 ดัชนีความคลาดเคล่ือนในการประมาณค่า (RMSEA) เท่ากับ 0.040
ดัชนีวัดระดับความสอดคล้องเปรียบเทียบ (CFI) เท่ากับ 0.907 ค่าดัชนีวัดระดับความสอดคล้อง
เปรียบเทียบของ Tucker and Lewis (TLI) เท่ากับ 0.901 และค่าดัชนีรากของค่าเฉลี่ยกาลังสองของส่วน
ทีเ่ หลือมาตรฐาน (SRMR) เทา่ กบั 0.050 ซง่ึ ผลการพจิ ารณาเกณฑ์ความเหมาะสมของโมเดลการวัด พบว่า
โมเดลทกั ษะทางสงั คมมีความสอดคล้องกบั ข้อมูลเชิงประจักษใ์ นระดบั ท่ีใช้ได้

หากพิจารณาถึงรายละเอียดของโมเดลทักษะทางสังคม พบว่า องค์ประกอบด้านการทางานเป็น
ทีมมีค่าน้าหนักองค์ประกอบมาตรฐานสูงท่ีสุด (B=0.873) รองลงมาคือ การจัดการตนเอง (B=0.817)
ความรบั ผิดชอบ (B=0.815) การมมี นุษยสัมพันธ์ (B=0.801) การเห็นอกเหน็ ใจผู้อ่ืน(B=0.801) ทักษะการ
ส่ือสาร (B=0.784) และความเป็นผู้นา (B=0.715) ตามลาดับ เมื่อพิจารณารายละเอียดของตัวช้ีวัดย่อยใน

360
แต่ละองค์ประกอบ พบว่า แต่องค์ประกอบย่อยของท้ัง 7 องค์ประกอบ การทางานเป็นทีมมีค่าน้าหนัก
องค์ประกอบมาตรฐานอยู่ระหว่าง 0.501 ถึง 0.616 ความเป็นผู้นามีค่าน้าหนักองค์ประกอบมาตรฐานอยู่
ระหว่าง 0.572 ถึง 0.723 การมีมนุษยสัมพันธ์มีค่าน้าหนักองค์ประกอบมาตรฐานอยู่ระหว่าง 0.505 ถึง
0.620 ทกั ษะการส่ือสารมีค่าน้าหนักองค์ประกอบมาตรฐานอยู่ระหว่าง 0.524 ถงึ 0.692 ความรับผิดชอบ
มีค่าน้าหนักองค์ประกอบมาตรฐานอยู่ระหว่าง 0.709 ถึง 0.611 การจัดการตนเองมีค่าน้าหนัก
องค์ประกอบมาตรฐานอยู่ระหว่าง 0.510 ถึง 0.627 และการเห็นอกเห็นใจผู้อื่นมีค่าน้าหนักองค์ประกอบ
มาตรฐานอยรู่ ะหว่าง 0.613 ถงึ 0.678 (ดงั แสดงในภาพท่ี 1)

TT

.532

.501 Team31

การทางานเปน็ ทีม .561 Team24
.574
.837 TTTTeeeeaaaammmm567
Lead1
.583

.572
.616

.604
.552

.677

.723

.647

.661

ภาพท่ี 1 ผลการวิเคราะห์องคป์ ระกอบเชิงยนื ยนั อันดบั ทส่ี องของทักษะสงั คมของนักเรียนระดับประกาศนยี บตั รวิชาชีพ
ประเภทวชิ าพาณชิ ยกรรม ในวิทยาลัยอาชีวศกึ ษาเอกชน จังหวัดชลบรุ ี

361

อภปิ รายผล
1. ผลการศึกษาครั้งนี้ พบว่า คุณลักษณะของการทางานเป็นทีมเป็นองค์ประกอบที่สาคัญของ

ทักษะทางสังคม ซ่ึงสอดคล้องกับผลการศึกษาส่วนใหญ่ที่พบในทานองเดียวกันดังเช่นการศึกษาของวิมล
รตั น์ ลีหะสุนนท์ (2551) ชยากร นรินทรห์ งษ์ทอง (2552) วรพรรณ กระต่ายทอง (2559) ฐาณรงค์ ทเุ รียน
(2560) และGresham & Elliott (2008) เนื่องด้วยการทางานเป็นทีมเป็นคุณลักษณะของบุคคลที่มีส่วน
ร่วมในการทางานตามบทบาทหน้าท่ีท่ีตนเองรับผิดชอบ รวมถึงการยอมรับฟังและการแสดงความคิดเห็น
อย่างสรา้ งสรรค์ เพอื่ ใช้ในการตัดสินใจรว่ มกนั อันนาไปสู่การดาเนนิ งานให้บรรลุตามเปา้ หมายท่ตี ้ังไว้

2. ผลการศึกษาครั้งนี้ พบว่า การจัดการตนเองเป็นหน่ึงในองค์ประกอบของทักษะทางสังคม ซึ่ง
ผลการศึกษาคร้ังนี้สอดคล้องกับการศึกษาของ Gresham & Elliott (2008) และ Moin & Biswal (2012)
ที่เหน็ ว่าการจัดการตนเองเป็นความสามารถในการกากับหรือควบคุมตนเองทั้งการปฏิบัติตนให้เป็นไปตาม
กฎระเบียบ ข้อบังคับ หรือแนวปฏิบัติของสังคม นอกจากนี้ การจัดการอารมณ์ยังเป็นคุณสมบัติหน่ึงใน
การจดั การตนเองใหส้ ามารถเผชญิ กับสถานการณท์ ถี่ ูกบีบคน้ั หรอื กดดนั ได้อย่างมีประสิทธภิ าพ

3. ผลการศึกษาครั้งนี้ พบว่า ความรบั ผิดชอบเป็นองค์ประกอบของทักษะทางสังคม ซึง่ สอดคล้อง
กับผลการศึกษาของอัจฉรา ไชยูปถัมภ์ (2550) ชยากร นรินทร์หงษ์ทอง (2552) ฐาณรงค์ ทุเรียน (2560)
และ Gresham & Elliott (2008) เนื่องด้วยความรับผิดชอบเป็นคุณลักษณะของบุคคลท่ีแสดงออกตาม
บทบาทหน้าที่ที่รับผิดชอบต่อตนเองและผู้อื่น ในการปฏิบัติตนตามหน้าท่ีด้วยความสนใจ เอาใจใส่
ละเอียดรอบคอบ และตรงตามเวลาท่ีกาหนด รวมทั้งการกล้ายอมรับผลจากการกระทาท่ีเกิดขน้ึ ท้ังในด้าน
ทเ่ี ปน็ ผลดีและผลเสีย

4. ผลการศึกษาคร้ังนี้ พบว่า การมีมนุษยสัมพันธ์เป็นองค์ประกอบของทักษะทางสังคม ซึ่ง
สอดคล้องกับผลการศึกษาของวิมลรัตน์ ลหี ะสุนนท์ (2551) และจุลมณี สรุ ะโยธิน (2554) เน่อื งดว้ ยการมี
มนุษยสัมพันธ์เป็นคุณลักษณะของบุคคลในการใช้ศาสตร์และศิลป์ในตนเองเพ่ือสร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับ
ผอู้ ่ืนในสถานการณ์ต่างๆได้อย่างเหมาะสม อาทิ การมีมารยาททางสังคม หรอื การปรบั ตวั ให้เข้ากับผู้อ่ืนไม่
ว่าจะเป็นในองค์กร รวมทั้ง การดาเนินชีวิตประจาวันที่ทาให้ผู้อ่ืนประทับใจและพึงพอใจในตัวบุคคล เกิด
เป็นความสมั พันธ์ท่ีดีต่อกันในเชิงบวก

5. ผลการศึกษาคร้ังนี้ พบว่า การเห็นอกเห็นใจผู้อื่นเป็นองค์ประกอบของทักษะทางสังคม ซ่ึง
สอดคล้องกับผลการศึกษาของ Gresham & Elliott (2008) เนื่องด้วยการเห็นอกเห็นใจผู้อื่นเป็น
คุณลักษณะของบุคคลในการรับรู้และเข้าถึงความรู้สึกของผู้อื่น เม่ือผู้อ่ืนรู้สึกทุกข์ใจหรือประสบปัญหา
รวมทัง้ สามารถแสดงออกใหเ้ ห็นถึงการใหก้ าลังใจหรือให้คาปรึกษาแก่เพื่อนรว่ มงานหรือบุคคลอ่นื ได้รบั รู้
ถงึ ความหว่ งใย เอาใจใส่อย่างเต็มใจและสมัครใจ

6. ผลการศึกษาคร้ังน้ี พบว่า ทักษะการส่ือสารเป็นองค์ประกอบของทักษะทางสังคม ซึ่ง
สอดคล้องกับผลการศึกษาของจุลมณี สรุ ะโยธิน (2554) วรพรรณ กระตา่ ยทอง (2559) และ Gresham &
Elliott (2008) เน่ืองด้วยทักษะการส่ือสารมีความสาคัญในการติดต่อส่ือสาร ประสานงานกับบุคคลอ่ืนท้ัง
ในองค์กรและในการดารงชีวิตประจาวัน โดยบุคคลน้ันจาเป็นต้องมีความสามารถในการสื่อสารทั้งการฟัง
พดู อา่ น เขยี นไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพในสถานการณ์ต่างๆกับบุคคลหลายระดบั เพอื่ ถา่ ยทอดความรู้สึกนึก
คิด ความรู้ และประสบการณ์ของตนเองให้ผู้รับสารมีความเข้าใจตรงกับผู้ส่งสาร และเกิดการตอบสนอง
ระหว่างกัน รวมถึงความสามารถของบุคคลในการส่ือสารได้หลากหลายภาษา

362

7. ผลการศึกษาคร้ังน้ี พบว่า ความเป็นผู้นาเป็นองค์ประกอบของทักษะทางสังคม ซ่ึงสอดคล้อง
กับผลการศึกษาของวิมลรัตน์ ลีหะสุนนท์ (2551) ชยากร นรินทร์หงษ์ทอง (2552) และฐาณรงค์ ทุเรียน
(2560) เนอ่ื งด้วยความเป็นผนู้ าของบุคคลนั้นมคี ุณลักษณะกลา้ คิด กลา้ ทา กลา้ ตัดสนิ ใจ มีไหวพริบในการ
ทางาน รวมทั้งมีความสามารถในการโน้มน้าว ติดต่อประสานงานกับบุคคลอื่นได้เป็นอย่างดี เพ่ือให้การ
ดาเนินงานบรรลุตามวัตถุประสงค์ท่ตี ัง้ ไว้

ข้อเสนอแนะ
1. ข้อเสนอแนะเพ่ือการนาผลการวิจัยไปใช้
การพัฒนาทักษะทางสังคมของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ประเภทวิชาพาณิชยก

รรม ในวทิ ยาลยั อาชวี ศึกษาเอกชน จังหวดั ชลบรุ ี ควรพฒั นาทักษะทางสังคมทั้ง 7 องค์ประกอบควบคู่กัน
เพ่ือให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะด้านทักษะทางสังคมที่ตอบสนองต่อความต้องการของตลาดแรงงาน และ
สามารถทางานหรืออยรู่ ว่ มกันกับผู้อืน่ ในสังคมได้อย่างมีความสขุ

2. ข้อเสนอแนะเพ่ือการวิจยั ต่อไป
2.1 การศึกษาครั้งต่อไปอาจต่อยอดผลการศึกษาไปยังมิติอ่ืน ๆ เช่น การพัฒนาแนวทาง

ทกั ษะทางสังคมของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ประเภทวิชาพาณิชยกรรม และการพฒั นาโมเดล
เชงิ สาเหตใุ นการพฒั นาทักษะทางสังคมของนักเรียนอาชวี ศึกษาในประเภทวิชาพาณิชยกรรม เปน็ ต้น

แหล่งอา้ งองิ
จุลมณี สุระโยธนิ . (2554). ผลการจัดกจิ กรรมเรียนรรู้ ่วมกันทางอินเตอร์เน็ตด้วยการเขียนสะท้อนคิดผ่าน

สื่อสังคมออนไลน์ท่ีมีต่อทักษะทางสังคมของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย. ปริญญาศึกษา
ศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวิชาเทคโนโลยกี ารศึกษา บณั ฑติ วิทยาลยั มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร.
ชยากร นรินทร์หงษ์ทอง. (2552). ผลการใช้ชุดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนท่ีมีต่อทักษะทางสังคมและ
พฤติกรรมก้าวร้าวของนักเรียนระดับช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 2. ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาวชิ าวจิ ัยการศึกษา บัณฑิตวิทยาลยั จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย.
ฐาณรงค์ ทุเรียน. (2560). ผลการจัดการเรียนรู้พลศึกษาโดยใช้รูปแบบการเรียนรู้แบบร่วมมือท่ีมีต่อ
ทักษะทางสังคมของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น. ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสุข
ศกึ ษาและพลศกึ ษา บณั ฑติ วทิ ยาลยั จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั .
นงลักษณ์ วิรัชชัย. (2542). โมเดลลิสเรล: สถิติวิเคราะห์สาหรับการวิจัย (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: โรง
พมิ พ์ แหง่ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย.
นา้ อ้อย ทวีการไถ. (2555). การใชบ้ ทบาทสมมตเิ พื่อพัฒนาทักษะทางสังคมของนักเรียนชน้ั มัธยมศึกษาปี
ท่ี 2 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ปริญญาศึกษาศาตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยา
การศึกษาและการแนะแนว บณั ฑติ วิทยาลยั มหาวิทยาลยั เชยี งใหม่.
พรพรรณ มากบุญ. (2555). ปัจจัยท่ีมีอิทธิพลต่อทักษะทางสังคมของเด็กและเยาวชนชายในศูนย์ฝึกและ
อบรมเด็กและเยาวชน เขต 2 จังหวัดราชบุร.ี ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยา
ชุมชน บณั ฑิตวิทยาลัย มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร.

363

วรพรรณ กระต่ายทอง. (2559). การพัฒนาหลักสูตรเสริมเพ่ือพัฒนาทักษะทางสังคมสาหรับการอยู่
ร่วมกันในสังคมพหุวัฒนธรรมของนักศึกษา. วารสารมนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัย
ทกั ษิณ ปีท่ี 11(2) (กรกฎาคม-ธันวาคม): 141-165.

วจิ ารณ์ พาณิช. (2555). วถิ ีสรา้ งการเรียนรู้เพื่อศิษย์ ในศตวรรษท่ี 21. กรงุ เทพฯ: มลู นธิ สิ ดศรสี ฤษดิ์วงศก
วิมลรัตน์ ลีหะสุนนท์. (2551). การศึกษาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิทยาศาสตร และความฉลาดทางอา

รมณ ด้านทักษะทางสังคมของนักเรียนระดับช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดยการจัดการเรียนรูแบบ
กระบวนการสืบเสาะแสวงหาความรูเปนกลุม. ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการ
มัธยมศกึ ษา บัณฑติ วิทยาลยั มหาวิทยาลยั ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ.
อจั ฉรา ไชยูปถัมภ.์ (2550). การพัฒนารูปแบบการพัฒนาทักษะทางสังคมสาหรับนิสิตนักศึกษา. ปรญิ ญา
ครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวชิ าอดุ มศึกษา บณั ฑิตวทิ ยาลัย จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั .
Elliot, S.N. (2001). New directions in social skills assessment and intervention for elementary
and middle school student. Exceptionality. 9(1&2), 19-32.
Gresham, F.M., & Elliott, S.N. (2008). Social Skills Improvement System Rating Scales manual.
Jornal of Psycho educational Assessment. 2011. Retrieved July, 21, 2018, from
http://journals.sagepub.com/doi/10.1177/0734282910.
Moin, R. & Biswal, S. (2012). SOFT SKILLS IN STATUS QUS. international Journal of Physical

and Social Sciences. 2(5), 212-223.

364

การวิเคราะห์องคป์ ระกอบเชิงยืนยันทกั ษะชีวิตของนกั เรียน
ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ จังหวดั สระบุรี

A CONFIRMATORY FACTOR ANALYSIS OF LIFE SKILLS AMONG LOWER SECONDARY
SCHOOL STUDENTS IN SARABURI PROVINCE, THAILAND

วัชรินทร์ ยอดคัดเคา้
นกั ศึกษาระดับปริญญาโท คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

สรพงษ์ เจรญิ กฤตยาวฒุ ิ, ณฐั กฤตา งามมีฤทธ์ิ
อาจารย์ประจาคณะศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั บรู พา

บทคัดยอ่
การวิจัยคร้ังนี้มีจุดมุ่งหมายเพ่ือวิเคราะห์องค์ประกอบทักษะชีวิตของนักเรียนระดับมัธยมศึกษา

ตอนต้น จังหวัดสระบุรี และตรวจสอบความกลมกลืนของโมเดลการวัดกับข้อมูลเชิงประจักษ์ตามแนวคิด
ของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน (2551) ตัวอย่างในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ นักเรียน
ระดบั ชนั้ มธั ยมศกึ ษาตอนต้น สังกดั สานักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษามธั ยมศึกษา เขต 4 จงั หวัดสระบรุ ี จานวน
869 คน เครื่องมือท่ีใช้ในการศึกษาคร้ังนี้ ได้แก่ แบบสอบถาม ผลการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน
อันดับทีสอง พบว่า ทักษะชีวิตของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้นประกอบด้วย 4 องค์ประกอบตาม
แนวคิดของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน (2551) โดยท่ี การสร้างสัมพันธภาพท่ีดีกับผอู้ ่นื
มีค่าน้าหนักมาตรฐานองค์ประกอบสูงท่ีสุด รองลงมา คือ การจัดการกับอารมณ์และความเครียด การคิด
วิเคราะห์ ตัดสินใจ และแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ และการตระหนักรู้และเห็นคุณค่าในตนเองและผู้อ่ืน
ตามลาดับ เมือ่ พิจารณาถึงความกลมกลืนของโมเดลการวัดกับข้อมูลเชิงประจักษ์ พบว่า โมเดลการวัดหลัง
การปรับโมเดลมีความกลมกลืนกับข้อมูลในเกณฑ์ที่ยอมรับได้ดังพิจารณาได้จากค่าดัชนีความกลมกลืน
ได้แก่ X2 = 699.118, df = 238, p-value < 0.001, X2/df = 2.937, CFI = 0.958, TLI = 0.951, SRMR
= 0.030, RMSEA = 0.047

คาสาคญั : ทกั ษะชวี ติ , นกั เรียนระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น, การวิเคราะห์องคป์ ระกอบเชงิ ยนื ยัน

ABSTRACT
The purpose of this research was to analyze the components of life skills based on

the concept of the Office of the Basic Education Commission (2008) and to examine the
measurement model with the empirical data among lower secondary students in Saraburi
Province, Thailand. The samples derived by stratified random sampling method included
869 lower secondary students under the Office of Secondary Educational Service Area in
District IV, Saraburi Province, Thailand. The finding based on the second order confirmatory
factor analysis revealed that life skills among lower secondary school students consisted of
4 main components. The highest standardised factor loading was ‘building/developing good
relationships with others’ followed by ‘ emotion and stress management’ , ‘ analytical
thinking, decision making and creative problem solving’ and ‘ self- awareness and self-
esteem’, respectively. In addition, the finding indicated that the measurement model was

365

acceptably consistent with the empirical data as shown in the fit indices: namely X2 =
699.118, df = 238, p-value < 0.001, X2/df = 2.937, CFI = 0.958, TLI = 0.951, SRMR = 0.030,
RMSEA = 0.047.

Keywords: life skills, lower secondary school students, confirmatory factor analysis

บทนา
ปัจจุบันโลกมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วในทุกด้านทั้งทางด้านสังคม เศรษฐกิจ การเมือง และ

เทคโนโลยี หรืออาจกล่าวได้ว่าเป็นสังคมยุคโลกาภิวัตน์ ซ่ึงผลพวงแห่งความเจริญในยุคโลกาภิวัตน์นี้ ได้มี
ผลกระทบกับทุก ๆ ภาคส่วนในสังคม (อารีย์ นัยพินิจ, ภัทรพงษ์ เกริกสกุล และธงพล พรหมสาขา ณ
สกลนคร, 2557) จากการเปลี่ยนแปลงของสภาพสังคมดังกล่าวทาให้เยาวชนจานวนไม่น้อยต้องเผชิญกับ
สภาพแวดล้อมที่ดึงให้มีพฤติกรรมเส่ียงต่าง ๆ อาทิ ปัญหาสารเสพติด การมเี พศสัมพันธท์ ี่ไม่ถูกต้องและไม่
เหมาะสม การมีเพศสัมพันธ์ในระหว่างท่ยี ังเรียนอยู่ การมีเพศสัมพันธ์แบบสาส่อน รกั ร่วมเพศ ปญั หาการ
ทาแท้ง ปญั หาโรคเอดส์ ปัญหาครอบครวั ปัญหาการเรียน ปัญหาสุขภาพจิต ปัญหาการทะเลาะววิ าทและ
การใช้ความรุนแรงในการแก้ปัญหา ปัญหาการพัฒนาตนเอง ปัญหาสุขภาพร่างกาย เป็นต้น และนับวัน
ปัญหาดังกล่าวจะทวีความรุนแรงมากยิ่งข้ึนเรื่อย ๆ (กุสุมาวดี คาเกลี้ยง และคณะ, 2554) ด้วยเหตุน้ี
เยาวชนโดยเฉพาะอย่างยิ่งกลุ่มนักเรียนระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้ ซ่ึงถือไดว้ า่ เป็นวัยหัวเลี้ยวหัวต่อของชีวิต
หรืออาจเรียกได้ว่าเป็นช่วงวัยวิกฤตของชีวิต (สุชา จันทน์เอม, 2542) มีแนวโน้มที่จะต้องเผชิญกับความ
เสี่ยงท่ีอาจเกิดขึ้นในชีวิต ประกอบกับกลุ่มวัยนี้ยังต้องเผชิญกับความเปล่ียนแปลงท่ีเกิดข้ึนกับชีวิต
มากมาย ท้ังในด้านร่างกาย จิตใจ และความรู้สึกนึกคิด เป็นวัยท่ีมีความคิดอยากเป็นอิสระ อยากเรียนรู้
ความผิดพลาดด้วยตัวเองมากกว่าที่จะเรียนรู้จากคาสั่งสอน ชอบโต้เถียง ถ้าได้รับการขัดขวางมักมี
ความรู้สึกน้อยเน้ือต่าใจ และหาทางออกในทางผิด ๆ เรียกได้ว่าเป็นวัยที่ต้องเผชิญกับปัญหา ดังนั้น การ
สร้างทักษะชีวิตให้แก่เด็กในวัยนี้จึงมีความจาเป็นอย่างยิ่งโดยเฉพาะระบบการศึกษาจะต้องช่วยสร้าง
ภูมคิ ุ้มกนั ให้กับนักเรียนเพ่ือที่จะไปเผชิญกับปัญหารอบตัว และภูมคิ ุ้มกันเหล่านั้นจะเป็นพื้นฐานสาคัญใน
การสรา้ งครอบครัวในอนาคตต่อไป (สมเดช มุงเมือง, 2555)

ทักษะชีวิตมีความสาคัญต่อบุคคล ครอบครัว ประเทศ และสังคม เนื่องจากทักษะชีวิตมี
ความสัมพันธ์กับคุณภาพชีวิตและการแก้ไขปัญหาในระดับบุคคล ซึ่งส่งผลต่อคุณภาพประชากรโดยรวม
กลา่ วคอื ทักษะชีวิตมีความสาคัญต่อการแก้ไขปัญหาน่ันเอง ซ่ึงทกั ษะชีวิตเป็นสิง่ ท่ีทุกคนจาเป็นต้องมีทั้งนี้
เพราะนับต้ังแต่มนุษย์เกิดมา จะต้องได้รับการหล่อหลอมโดยกระบวนการตามธรรมชาติและกระบวนการ
ทางสังคม เป็นปฏกิ ิรยิ าต่อเน่ืองเปน็ ลูกโซ่ ระหว่างที่ผ่านกระบวนการเหล่านั้นมนษุ ยต์ ้องปะทะกับแรง บีบ
แรงกดดันและแรงกระทบจากภายนอก (สมเดช มุงเมือง, 2555) ทักษะชีวิตจึงเป็นทักษะที่ทาให้บุคคล
สามารถเผชิญหน้าและรับมือกับปัญหาที่เกิดขึ้นในสภาพสังคมปัจจบุ ันและอนาคตได้อย่างมีประสิทธิภาพ
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน (หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน, 2551) จึงได้
กาหนดแนวทางการเสริมสร้างทักษะชีวิตสาหรับผู้เรียนในระบบการศึกษาข้ันพื้นฐานข้ึนเพ่ือเป็นแนว
ปฏิบัติในการพัฒนาให้เกิดความตระหนักรู้ เห็นคุณค่าในตนเองและผู้อื่น การคิดวิเคราะห์ กระบวนการ
ตัดสินใจ และแกป้ ัญหาอยา่ งสร้างสรรค์ การจดั การกับอารมณ์ ความเครียด และการสร้างสัมพันธภาพที่ดี
กับผู้อื่น ซึ่งเป็นองค์ประกอบของทักษะชีวิตท่ีช่วยให้เด็กและเยาวชนมีพ้ืนฐานด้านอุปนิสัยที่ดีสามารถอยู่
รว่ มกับผู้อนื่ ไดด้ แี ละมีความสุข

366

ด้วยเหตุและผลดังกล่าวข้างต้น ผู้วิจัยจึงมีความสนใจท่ีจะศึกษาทักษะชีวิตของนักเรียนช้ัน
มัธยมศึกษาตอนต้น จังหวัดสระบุรี เพื่อพัฒนาและตรวจสอบความสอดคล้องของโมเดลการวัดทักษะชีวิต
ของนกั เรยี นระดับมัธยมศึกษาตอนต้น จงั หวดั สระบุรี กับขอ้ มูลเชิงประจักษ์ ตามองค์ประกอบทักษะชีวิต
4 องค์ประกอบ ตามเกณฑ์ของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน (2551) ประกอบด้วย การ
ตระหนักรู้และเหน็ คุณค่าในตนเองและผู้อนื่ การคดิ วเิ คราะห์ ตัดสินใจ และแกป้ ญั หาอย่างสร้างสรรค์ การ
จัดการกับอารมณ์และความเครียด และการสร้างสัมพันธภาพที่ดีกับผู้อื่น ซึ่งผลการศึกษาครั้งน้ีนามาเป็น
ข้อมูลสาหรับ ครู โรงเรียน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการพัฒนาทักษะชีวิตของนักเรียนระดับชั้น
มัธยมศึกษาตอนต้น ให้มีทักษะชีวิตเป็นภูมิคุ้มกันต่อปัญหาในสังคมปัจจุบัน และเตรียมพร้อมใช้ชีวิตใน
อนาคตไดอ้ ย่างถูกต้องเหมาะสม

วตั ถปุ ระสงค์ของการวจิ ัย
1. เพื่อวเิ คราะหอ์ งค์ประกอบทักษะชวี ิตของนักเรียนระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น จงั หวัดสระบรุ ี
2. เพื่อตรวจสอบความสอดคล้องของโมเดลการวัดทักษะชีวิตของนักเรียนระดับมัธยมศึกษา

ตอนต้น จังหวัดสระบรุ ี กับข้อมูลเชงิ ประจกั ษ์

วธิ ดี าเนนิ การวจิ ยั
การวจิ ยั เชงิ ปริมาณครั้งนี้มรี ายละเอียดของวธิ ีการดาเนนิ การวจิ ัย ดงั นี้
1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ประชากรในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น สังกัดสานักงานเขต

พ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 4 จังหวัดสระบุรี ปีการศึกษา 2561 จานวน 15,242 คน จากโรงเรียน
ทั้งหมด 21 โรงเรยี น (สานักงานเขตพนื้ ที่การศึกษามธั ยมศึกษาเขต 4, 2561)

กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
มัธยมศึกษา เขต 4 จังหวัดสระบุรี ปีการศึกษา 2561 จานวน 720 คน อย่างไรก็ดีผู้วิจัยได้แจก
แบบสอบถามเกินจากจานวนขนาดตัวอย่างท่ีเหมาะสมเพื่อป้องกันปัญหาในการเก็บข้อมูลท่ีจะได้
แบบสอบถามมาไม่ครบและป้องกันปัญหาแบบสอบถามที่ไม่สมบูรณ์ โดยท่ีผู้วิจัยได้แจกแบบสอบถาม
จานวน 900 ชุด และปรากฏว่าสามารถเก็บรวบรวมแบบสอบถามได้ จานวน 880 ชุด ซ่ึงคิดเป็นร้อยละ
97.78 ของแบบสอบถามท้ังหมดท่ีแจกไป ทงั้ น้ี มแี บบสอบถามท่ีมาใช้ในการวเิ คราะห์จานวนท้ังสนิ้ 869 ชุด

2. เครอื่ งมอื ที่ใชใ้ นการวจิ ัย
เคร่ืองมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ แบบสอบถาม ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ ส่วนแรก ข้อมูล
ท่ัวไปของผู้ตอบแบบสอบถาม และส่วนท่ี 2 แบบวัดทักษะชีวิตของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
โดยลักษณะข้อคาถามเป็นชนิดมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ จานวนทั้งสิ้น 77 ข้อ แบบวัดในส่วนน้ีซงึ่
ผู้วิจัยสร้างข้ึนตามแนวคิดของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (2551) ประกอบด้วย 4
องค์ประกอบหลัก ได้แก่ องค์ประกอบท่ี 1 การตระหนักรู้และเห็นคุณค่าในตนเองและผู้อื่น (28 ข้อ)
องคป์ ระกอบท่ี 2 การคิดวเิ คราะห์ตัดสินใจ และแก้ปญั หาอย่างสร้างสรรค์ (18 ขอ้ ) องคป์ ระกอบที่ 3 การ
จัดการกับอารมณ์และความเครียด (12 ข้อ) องค์ประกอบท่ี 4 การสร้างสัมพันธภาพที่ดีกับผู้อ่ืน (19 ข้อ)
โดยท่แี บบสอบถามได้ผา่ นการตรวจสอบความตรงเชิงเน้ือหา (content validity) จากผ้เู ชี่ยวชาญทางด้าน
จิตวทิ ยาและด้านการศึกษา จานวน 5 ทา่ น ปรากฏผลว่า ค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) ในแต่ละข้อ มคี ่า
อยู่ระหว่าง 0.6 ถึง 1.0 ซึ่งถือได้ว่าข้อคาถามใช้ได้ หลังจากนั้น จึงทาการเก็บรวบรวมข้อมูลจากนักเรียน
ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้ จานวน 30 คน เพ่อื ตรวจสอบความเช่ือมั่นและอานาจจาแนกของข้อคาถาม ซงึ่

367

พบว่า องค์ประกอบท่ี 1 การตระหนักรู้และเห็นคุณค่าในตนเองและผู้อ่ืน มีค่าสัมประสิทธ์ิครอนบาคแอล
ฟ่า เท่ากับ 0.83 และคา่ อานาจาแนกรายข้ออยู่ระหวา่ ง 0.21 ถึง 0.58 องค์ประกอบท่ี 2 การคดิ วิเคราะห์
ตัดสินใจ และแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ มีค่าสัมประสิทธิ์ครอนบาคแอลฟ่า เท่ากับ 0.92 และค่าอานา
จาแนกรายข้ออยู่ระหว่าง 0.30 ถึง 0.77 องค์ประกอบที่ 3 การจัดการกับอารมณ์และความเครียด มีค่า
สัมประสิทธ์ิครอนบาคแอลฟ่า เท่ากับ 0.79 และค่าอานาจาแนกรายข้ออยู่ระหว่าง 0.33 ถึง 0.62 และ
องค์ประกอบที่ 4 การสร้างสัมพันธภาพท่ีดีกับผู้อื่น มีค่าสัมประสิทธิ์ครอนบาคแอลฟ่า เท่ากับ 0.89 และ
ค่าอานาจาแนกรายข้ออย่รู ะหวา่ ง 0.29 ถงึ 0.71โดยสรุปแล้ว แบบสอบถามมคี ุณภาพดีสามารถนาไปใช้ใน
การเก็บรวมข้อมูลในขนั้ ตอนต่อไป

3. การเก็บรวบรวมข้อมลู
หลังจากงานวิจัยคร้ังน้ีได้รับการรับรองโครงการวิจัยโดยคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยใน
มนุษย์ มหาวิทยาลัยบูรพา จังหวัดชลบุรี ผู้วิจัยติดต่อขอหนังสือราชการจากภาควชิ าสถิติ วิจัย และวัดผล
การศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาไปถึงผู้อานวยการโรงเรียน ในสังกัดสานักงานเขตพื้นที่
มัธยมศึกษา เขต 4 จังหวัดสระบุรี เพื่อขออนุญาตและขอความอนุเคราะห์ในการเก็บรวบรวมข้อมูล แล้ว
นาหนังสือขออนุญาตให้เก็บข้อมูลไปยังโรงเรียนกลุ่มตัวอย่างเพ่ือกาหนดวัน เวลาในการเก็บรวบรวบ
ข้อมูล และจัดเตรียมแบบสอบถามให้เพียงพอกับกลุ่มตัวอย่าง หลังจากนั้น ช่วงเดือน พฤศจิกายน 2561
ถงึ ธันวาคม 2561 ผู้วจิ ยั นาแบบสอบถามไปเก็บรวบรวมข้อมลู กบั นักเรียนด้วยตนเอง ภายใตก้ ารดูแลของ
อาจารย์แต่ละโรงเรียน โดยได้ชี้แจงวัตถุประสงค์ของการวิจัย และวิธีตอบแบบสอบถามอย่างชัดเจน
หลังจากการเก็บรวบรวมข้อมูล ผู้วิจัยตรวจสอบความสมบูรณ์ของแบบสอบถามท่ีได้รับคืนและ คัดเลือก
แบบสอบถามท่ีตอบถูกต้องสมบรู ณ์ไปทาการวิเคราะห์ข้อมลู ต่อไป
4. การวิเคราะห์ข้อมูล
สถิติทใี่ ช้ในการวเิ คราะห์ข้อมูล สามารถจาแนกออกเป็น 2 ส่วน ดังน้ี
1) การวิเคราะห์สถิติเชิงบรรยาย ได้แก่ ค่าเฉล่ียเลขคณิต (Mean) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
(Standard Deviation) คา่ ความเบ้ (skewness) และค่าความโด่ง (kurtosis)
2) การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันอันดับท่ีสอง (Second Order Confirmatory Factor
Analysis) เพื่อตรวจสอบความสอดคล้องของโมเดลกับข้อมูลเชงิ ประจักษ์
สรปุ ผลการวจิ ยั
ผลการวิจยั สามารถจาแนกออกเปน็ 3 ส่วน ดงั น้ี
1) วิเคราะหค์ ่าสถติ ิพืน้ ฐานของกลุ่มตัวแปรสังเกตได้ดว้ ยสถิติเชงิ บรรยาย ได้แก่ ค่าเฉลีย่ เลขคณิต
ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน และตรวจสอบการแจกแจงข้อมูล โดยใช้ค่าความเบ้ และค่าความโด่ง พบว่า ตัว
แปรสังเกตได้มีค่าเฉล่ียอยู่ระหว่าง 3.604 ถึง 4.284 และมีค่าส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน อยู่ระหว่าง 0.547
ถึง 0.794 เม่ือพิจารณา ค่าความเบ้ พบว่า มีการแจกแจงในลักษณะเบ้ซ้าย โดยมีค่าความเบ้อยู่ระหว่าง -
0.743 ถึง -0.104 และค่าความโด่ง อยู่ระหว่าง -0.275 ถึง 0.900 อย่างไรก็ตาม เมื่อพิจารณาค่าความเบ้
และความโด่ง พบว่าค่าความเบ้และค่าความโด่งมีความแตกต่างจากศูนย์เพียงเล็กน้อยจึงจัดว่าใกล้ศูนย์
Kline (2005) ได้ให้ข้อเสนอแนะไว้ว่าค่าความเบ้ที่มีค่าไม่เกิน 3.0 และค่าความโด่งท่ีมีค่าไม่เกิน 10.0
สามารถที่จะยอมรับได้ว่าข้อมูลมีการแจกแจงเป็นโค้งปกติ ดังนั้น จึงสามารถสรุปได้ว่าข้อมูลมีความ
เหมาะสมที่จะนามาวเิ คราะห์องค์ประกอบเชงิ ยืนยันต่อไป
2) ผลการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรสังเกตได้โดยใช้ค่าสหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน
พบว่าค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรสังเกตได้ทั้งหมดมีนัยสาคัญที่ระดับ 0.01 โดยภาพรวมค่า

368
สัมประสิทธ์ิสหสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรสังเกตได้ทุกคู่มีความสัมพันธ์ทางบวก มีค่าระหว่าง 0.231 ถึง
0.630 ความสัมพันธ์ดังกล่าวแสดงให้เห็นว่าตัวแปรสังเกตได้ มีระดับความสัมพันธ์ท่ีน้อยถึงปานกลาง
นอกจากนี้เม่ือพิจารณาค่าสถิติ Bartlett’s Test of Sphericity พบว่า มีค่าเท่ากับ 1.106 มีนัยสาคัญทาง
สถิติที่ระดับ 0.01 แสดงว่าเมทริกซ์สหสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรแตกต่างจากเมทริกซ์เอกลักษณ์อย่างมี
นัยสาคัญทางสถิต และ Kaiser-Mayor-Olkin (KMO) มีค่าเท่ากับ 0.967 ผลการทดสอบนี้แสดงให้เห็นว่า
ตัวแปรต่าง ๆ มคี วามเหมาะสมดีมากที่จะนามาวเิ คราะห์องคป์ ระกอบเชิงยนื ยนั ต่อไป
3) ผลการวิเคราะห์องค์ประกอบยืนอันดันดับท่ีสอง พบว่า โมเดลการวัดทักษะชีวิตของนักเรียน
ระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น จังหวัดสระบรุ ี (หลังปรบั โมเดลเป็นที่เรียบร้อยแล้ว) มคี วามสอดคล้องกับข้อมูล
เชิงประจักษ์ โดยพิจารณาจากค่าดัชนีความกลมกลืน คือ คา่ ไค-สแควร์ (X2) เท่ากับ 699.12 ทอี่ งศาอิสระ
(df) เท่ากับ 238 มีค่าความน่าจะเป็น (p) น้อยกว่า .001 โดยค่าไค-สแควร์สัมพัทธ์ (X2/df) เท่ากับ 2.94
ซ่ึงน้อยกว่า 3 ถือว่ายอมรับได้ (สุวิมล ติรกานันท์, 2555) ค่าดัชนีวัดระดับความกลมกลืนเปรียบเทียบ
(CFI) เท่ากับ 0.96 ค่าดัชนี Tuker-Lewis Index (TLI) เท่ากับ 0.95 ค่ารากของค่าเฉล่ียกาลังสองของเศษ
เหลือในรูปคะแนนมาตรฐาน (SRMR) เท่ากับ 0.03 และค่ารากของค่าเฉล่ียกาลังสองของความ
คลาดเคลื่อนโดยประมาณ (RMSEA) เท่ากับ 0.05 จึงสรุปได้ว่าแบบจาลองการวัดองค์ประกอบเชิงยืนยัน
ทักษะชีวิตของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น จังหวัดสระบุรี มีความสอดคล้องกลมกลืนกับข้อมูลเชิง
ประจกั ษ์ในระดับท่ยี อมรบั ได้ (ดังภาพที่ 1)
เม่ือพิจารณาค่าน้าหนักองค์ประกอบในรูปคะแนนมาตรฐานในโมเดลการวัดทักษะชีวิตของ
นักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น จังหวัดสระบุรี พบว่า ค่าคะแนนน้าหนักมาตรฐานองค์ประกอบของ
ทักษะชีวิตอยู่ในระดับที่ใกล้เคียงกัน อย่างไรก็ดี องค์ประกอบท่ีมีค่าคะแนนน้าหนักมาตรฐานสูงท่ีสุด คือ
การสร้างสัมพันธภาพที่ดีกับผู้อื่น (B=0.966) รองลงมาคือ การจัดการกับอารมณ์และความเครียด (B=
0.956) การคิดวิเคราะห์ ตัดสินใจ และแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ (B=0.944) และการตระหนักรู้และเห็น
คณุ คา่ ในตนเองและผู้อืน่ (B=0.935) ตามลาดบั
หากพิจารณาถึงค่าน้าหนักองค์ประกอบในรูปคะแนนมาตรฐานของตัวแปรสังเกตได้ พบว่า
องค์ประกอบที่ 1 การตระหนักรู้และเห็นคุณค่าในตนเองและผู้อ่ืน มีตัวแปรสังเกตได้ 8 ตัว ตัวแปรสังเกต
ได้ท่ีมีค่าคะแนนน้าหนักมาตรฐานสูงท่ีสุด คือ มีความเชื่อม่ันในตนเองและผู้อ่ืน (B=0.732) รองลงมา คือ
รักและเห็นคุณค่าในตนเองและผู้อื่น (B=0.717) รสู้ ทิ ธขิ องตนเอง และเคารพสิทธิผู้อื่น (B=0.698) มีความ
ภาคภูมิใจในตนเองและผู้อ่ืน (B=0.689) มองตนเองและผู้อื่นในแง่บวก (B=0.637) ค้นพบจุดเด่น จุดด้อย
ของตนเอง (B=0.564) คน้ พบความถนดั ความสามารถและบุคลิกภาพของตนเอง (B=0.549) และ ยอมรับ
ความแตกต่างระหว่างตนเองและผู้อื่น (B=0.540) ตามลาดับ องค์ประกอบที่ 2 การคิดวิเคราะห์ตัดสินใจ
และแกป้ ญั หาอย่างสร้างสรรค์ มตี วั แปรสังเกตได้ 6 ตัว ตัวแปรสังเกตได้ท่มี ีคา่ คะแนนน้าหนักมาตรฐานสูง
ท่ีสุด คือ ตัดสินใจในสถานการณ์ต่างๆ ที่เผชิญอย่างมีเหตุผลและรอบคอบ (B=0.763) รองลงมา คือ มี
ทักษะในการแสวงหาข้อมูลและใช้ข้อมูลให้เป็นประโยชน์ต่อตนเองและผู้อ่ืน (B=0.759) แก้ปัญหาใน
สถานการณว์ ิกฤตได้อย่างเป็นระบบ (B=0.743) เลือกรบั ข้อมูลข่าวสารอย่างไตร่ตรองและร้เู ท่าทันสังคมที่
เปล่ียนแปลง (B=0.737) มองโลกในแง่ดี (B=0.700) และมีจินตนาการและความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ (B=
0.669) ตามลาดับ องค์ประกอบที่ 3 การจัดการกับอารมณ์และความเครียด มีตัวแปรสังเกตได้ 4 ตัว ตัว
แปรสังเกตได้ที่มีค่าคะแนนน้าหนักมาตรฐานสูงที่สุด คือ การจัดการความขัดแย้งต่างๆ ได้ด้วยวิธีท่ี
เหมาะสม (B=0.761) รองลงมา คือ รู้จักสร้างความสุขให้กับตนเองและผู้อ่ืน (B=0.722) รู้จักคลายี่
ความเครียดด้วยวิธีการท่ีสร้างสรรค์ (B=0.700) และ การประเมินและรู้เท่าทันสภาวะอารมณ์ท่ีเกิดขึ้นกับ
ตนเอง (B=0.689) ตามลาดบั องค์ประกอบที่ 4 การสร้างสัมพันธภาพทด่ี ีกบั ผู้อ่ืน มตี ัวแปรสังเกตได้ 6 ตวั

369
ตัวแปรสังเกตได้ที่มีค่าคะแนนน้าหนักมาตรฐานสูงที่สุด คือ กล้าแสดงความคิดเห็นอย่างสร้างสรรค์ (B=
0.774) รองลงมา คือ การทางานร่วมกับผู้อื่นตามวิถีประชาธิปไตย (B=0.730) ยืนยันความต้องการของ
ตนเองปฏิเสธและต่อรองบนพื้นฐานของความถูกต้อง (B=0.700) มีจิตอาสาช่วยเหลือผู้อื่น (B=0.675)
สร้างสัมพันธภาพท่ีดีกับผู้อื่นด้วยการสื่อสารเชิงบวก (B=0.634) และ เคารพกฎ กติกา ของสังคม (B=
0.612) ตามลาดับ

Chi – Square = 699.12, df = 238, P-value < 0.001, X2/df = 2.937, CFI = 0.96, TLI = 0.95, SRMR = 0.03,

RMSEA =0.05

ภาพที่ 1 โมเดลการวิเคราะห์องค์ประกอบเชงิ ยืนยันอันดบั สอง ทกั ษะชีวิตของนักเรยี นระดบั
มัธยมศึกษาตอนตน้ จงั หวดั สระบุรี (หลงั การปรบั โมเดล)

370

อภปิ รายผลการวิจัย
ผลการศึกษาพบว่า โมเดลการวดั ทักษะชีวติ ของนักเรยี นระดับมัธยมศึกษาตอนต้น จงั หวัดสระบุรี

มีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ เม่ือเรียงลาดับองค์ประกอบท่ีมีค่าน้าหนักองค์ประกอบมากไป
น้อย ได้ดังนี้ การสร้างสัมพันธภาพท่ีดีกับผู้อ่ืน การจัดการกับอารมณ์และความเครียด การคิดวิเคราะห์
ตัดสินใจ และแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ การตระหนักรู้และเห็นคุณค่าในตนเองและผู้อ่ืน โดยค่าน้าหนัก
องคป์ ระกอบมาตรฐานในแต่ละองค์ประกอบทั้ง 4 องค์ประกอบนั้นมคี ่าใกล้เคียงกัน ผ้วู ิจัยไดแ้ ยกประเด็น
อภิปรายเปน็ 4 องค์ประกอบ ดงั นี้

องค์ประกอบท่ี 1 การตระหนักรู้และเห็นคุณค่าในตนเองและผู้อื่น (self-awareness and self-
esteem) คือ การค้นพบความถนัด ความสามารถ บุคลิกภาพ จุดเด่น จุดด้อยของตนเอง ยอมรับความ
แตกต่างระหว่างตนเองและผู้อ่ืน มองตนเองและผู้อื่นในแง่บวก รักและเห็นคุณค่าในตนเอง มีความ
ภาคภูมิใจ เชื่อมั่นในตนเองและผู้อ่ืน รวมถึงเคารพสิทธิของตนเองและผู้อ่ืน สอดคล้องกับทักษะชีวิตของ
นักเรียนในด้านการตระหนักรู้และเห็นคุณค่าในตนเองและผู้อ่ืนขององค์การแพลน อินเตอร์เนช่ันแนล
มูลนิธิ ไร้ท์ ทู เพลย์ ประเทศไทย (ม.ป.ป.) ซ่ึงทักษะน้ีจะประกอบไปด้วย การเคารพผู้อื่นเป็นวิธีการมอง
ผู้อื่นในมุมมองท่ีมีพื้นฐานมาจากความจริงใจและการนับถือในด้านบวกต่อผู้อื่นที่มีคุณสมบัติ
ความสามารถ ภูมิหลัง หรือประสบการณ์แตกต่างจากตนเอง การช่ืนชมความหลากหลาย จะพบความ
หลากหลายได้ทุกที่รอบตัว ไม่ว่าจะเป็นความหลากหลายทางภาษา เชื้อชาติ กลุ่มชน ศาสนา ความเชื่อ
อายุ วัฒนธรรม ประเพณี ความสามารถทางร่างกายและสติปัญญา รวมถึงการรับรู้จุดแข็งต่างๆ ในแต่ละ
บุคคล นอกจากนี้ ผลการศึกษายังสอดคล้องกับงานวิจัยของหงส์ฟ้า ธรี วงศน์ กุ ลู (2556) ทว่ี ่าการตระหนัก
รู้ในการเห็นคุณค่าในตนเองและผู้อ่ืนเป็นคุณลักษณะหรือพฤติกรรมท่ีคาดหวังที่บุคคลสามารถค้นพบ
ความถนัดและบุคลิกภาพของตนเอง รู้จักจุดเด่นจุดด้อยของตนเอง รวมไปถึง การมีทักษะในการกาหนด
เปา้ หมายและทศิ ทางสู่ความสาเร็จอีกด้วย

องค์ประกอบที่ 2 การคิดวิเคราะห์ ตัดสินใจ และแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ (analytical
thinking, decision making and creative problem solving) เป็นการไตร่ตรอง วิเคราะห์ ตรวจสอบ
ความถูกต้องของข้อมูลข่าวสาร สามารถสืบค้น หาข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ ด้วยวิธีการที่หลากหลาย
ถูกต้องมาช่วยในการตัดสินใจ ใช้ข้อมูลข่าวสาร หาทางเลือกและตัดสินใจแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่างๆ
โดยไมเ่ กดิ ผลกระทบต่อตนเองและผู้อนื่ อีกทั้งยงั สามารถควบคุมตนเอง แก้ปญั หา และหาแนวทางป้องกัน
สถานการณ์วิกฤตต่าง ๆ ได้ รวมทั้งมีความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ และมองโลกในแง่ดี สอดคล้องกับแนวคิด
ของ องค์การอนามัยโลก (WHO, 1994) ที่กล่าวถึง ทักษะการตัดสินใจ หมายถึง ความสามารถในการ
ตดั สินใจเกี่ยวกับเรื่องราวต่าง ๆ ในชวี ิตได้อย่างมีระบบ และ ทักษะการแก้ปัญหา หมายถึง ความสามารถ
ในการจัดการกับปัญหาท่ีเกิดข้ึนในชีวิตได้อย่างมรี ะบบ ไม่เกิดความเครียดทางกายและจิตใจ เชน่ เดียวกับ
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน (2551) ท่ีให้ความหมาย การคิดวิเคราะห์ คือ การคิด
แยกแยะ อย่างเป็นระบบ เป็นข้ันตอนด้วยเหตุและผล รู้จักมองหาข้อดีข้อเสีย มองเห็นทางเลือกที่มีและ
สามารถพิจารณาถึงผลที่ตามมาของแต่ละทางเลือกได้ สามารถคิดจากแง่มุมต่างๆ และเปรียบเทียบ เพ่ือ
ช่วยให้เข้าใจปัญหาหรือเรื่องราวนั้น ๆ ได้อย่างชัดเจน ลึกซ้ึง เม่ือคิดวิเคราะห์ได้ดี ก็ตัดสินใจเลือกทางที่
เหมาะสม และยอ่ มสามารถแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์จากทางเลือกท่ีมี ทัง้ หมดนี้ กค็ อื กระบวนการคิด
ท่นี าไปสู่การตัดสินใจ และการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ นอกจากน้ีแล้วยังสอดคล้องกับงานวิจัยของรณิดา
ยะสาธะโร (2555) ท่ีได้ศึกษาการพัฒนาตัวบ่งช้ีทักษะชีวิตของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาตอนต้น สังกัด
องค์การบริหารส่วนจังหวัดอุดรธานี ด้านการแก้ปัญหา มีตัวบ่งชี้ท่ีสาคัญ คือ นักเรียนสามารถรู้ปัญหา
กาหนดแนวทางการแกป้ ัญหา รวมถึงหาทางเลือกแก้ปัญหาดว้ ยวิธีการที่สร้างสรรค์

371

องคป์ ระกอบท่ี 3 การจัดการกับอารมณ์และความเครียด (emotion and stress managemen)
เป็นคุณลักษณะท่ีบุคคล สามารถรับรู้เท่าทันภาวะอารมณ์ของตนเอง รู้สาเหตุของความขัดแย้งและ
ความเครียดที่เกิดขึ้น มีวิธีจัดการกับอารมณ์และแสดงออกถึงอารมณ์ของตนเองได้เหมาะสมต่อ
สถานการณต์ ่าง ๆ เลอื กวธิ จี ดั การกับความขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม รู้จักผ่อนคลายความเครียดในรูปแบบ
ที่หลากหลาย รวมท้ังมีวิธีการสร้างขวัญ กาลังใจ ความสุขให้กับตนเองและผู้อ่ืน สอดคล้องกับทักษะชีวิต
ของกรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข (2545) กล่าวถงึ ทกั ษะการจัดการกับอารมณ์ เปน็ กระบวนการท่ี
บุคคลตระหนักถึงสภาวะอารมณ์ของตนเอง ไม่อ่อนไหวไปตามสิ่งท่ีมากระทบ สามารถปรับเปล่ียน
พฤติกรรมของตนเอง เพื่อนาไปสู่พฤติกรรมเป้าหมายที่พึงประสงค์ และทักษะในการจัดการกับ
ความเครียด ผู้ท่ีมีความอดทนต่อความเครียด และสามารถจัดการกับความเครียดได้ดี จะมีสภาวะจิตท่ี
สงบ แม้จะอยู่ภายใจความกดดัน ซ่ึงส่ิงเหล่าน้ีสามารถฝึกฝนได้ นอกจากน้ี ผลการศึกษายังสอดคล้องกับ
งานวิจยั ของรณิดา ยะสาธะโร (2555) ที่ได้ศกึ ษาการพฒั นาตัวบ่งช้ีทักษะชวี ิตของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษา
ตอนต้น ซึ่งการจัดการกับความเครียด มีตัวบ่งช้ีท่ีสาคัญ คือ นักเรียนสามารถเข้าใจและรู้เท่าทันภาวะ
อารมณ์ของผู้อ่ืน สามารถรับรู้สาเหตุของความเครียด หาวิธีผ่อนคลายความเครียดได้อย่างสร้างสรรค์
สามารถควบคุมอารมณ์ให้อยู่ในระดับปกติ สามารถหลีกเล่ียงพฤติกรรมที่ก่อให้เกิดความเครียด และ
สามารถหาวิธีสร้างความสขุ ใหก้ ับตนเองและผอู้ ื่นได้

องค์ประกอบที่ 4 การสรา้ งสัมพนั ธภาพทีด่ ีกับผู้อนื่ (building/developing good relationships
with others) เป็นการส่ือสารด้วยภาษาพูด ภาษากาย ที่สุภาพเป็นมิตร มีจิตอาสาช่วยเหลือผู้อ่ืน เคารพ
กฎกติกาของสังคม ยอมรับความคิดเห็น หรอื มมุ มองของผู้อื่น ทางานรว่ มกับผู้อ่ืนได้เป็นอย่างดี กลา้ แสดง
ความคดิ เห็นกบั สถานการณ์ต่าง ๆ ดว้ ยวิธีการท่เี หมาะสมอย่างมเี หตุผลและมหี ลักวชิ าการ กล้าทีจ่ ะยนื ยัน
ความต้องการของตนเองในสิ่งที่ถูกต้องและกล้าที่จะปฏิเสธในสิ่งที่ไม่ถูกต้อง ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของ
พัชรนันท์ มาอยู่วัง (2552) ศึกษาการสร้างแบบวัดทักษะชีวิตสาหรับนักเรียนระดับช่วงชั้นที่ 3 สังกัด
สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 1 ผลการวิจัยพบว่าแบบวัดทักษะชีวิตมีความเท่ียงตรงเชิง
โครงสร้างซึ่งสอดคล้องกับแนวคิดทักษะชีวิตของกรมสุขภาพจิต ที่กล่าวถึงทักษะการสร้างสัมพันธภาพ
เป็นการคานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคลจะช่วยให้บุคคลสามารถยอมรับผู้อ่ืน และตอบสนองความ
ต้องการของผู้อนื่ ได้อย่างเหมาะสม อนั นาไปส่กู ารสร้างสัมพันธภาพที่ดีกับผอู้ ่ืน
ข้อเสนอแนะ

ข้อเสนอแนะในการนาผลวจิ ัยไปใช้
การพัฒนาทักษะชีวิตของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาตอนต้น จังหวัดสระบุรี ในโรงเรียนสังกัด
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 4 จังหวัดสระบุรี ควรเน้นพัฒนาทักษะชีวิตของนักเรียนชั้น
มัธยมศึกษาตอนตน้ ท้ัง 4 องคป์ ระกอบ ไดแ้ ก่ 1) การตระหนักรู้และเหน็ คุณค่าในตนเองและผู้อ่ืน 2) การ
คิดวิเคราะห์ ตัดสินใจ และแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ 3) การจัดการกับอารมณ์และความเครียด 4) การ
สร้างสัมพันธภาพท่ีดีกับผู้อื่น ไปพร้อม ๆ กัน ดังท่ีเห็นได้จากน้าหนักของทุกองค์ประกอบที่มีค่าสูง
ใกล้เคียงกัน
ข้อเสนอแนะในการวิจัยครังต่อไป
1. การศึกษาครั้งนี้มุ่งเน้นในการศึกษาโมเดลการวัดทักษะชีวิตในภาพรวมของนักเรียนระดับ
มัธยมศึกษาตอนต้น ในจังหวัดสระบุรีเป็นหลัก ดังนั้น การศึกษาครั้งต่อไปอาจศึกษาในเชิงเปรียบเทียบ
โมเดลการวัดทักษะชวี ติ ระหว่างนักเรยี นชายและหญงิ และนกั เรียนที่อยใู่ นเขตพน้ื ท่ีเมือง ก่งึ เมืองกึง่ ชนบท

372

และชนบท ดว้ ยการวเิ คราะห์พหุกลุ่มเพื่อทาให้ไดส้ ารสนเทศของทักษะชวี ติ ท่ีมีความเหมาะสมกบั นักเรียน
ในแตล่ ะกล่มุ อยา่ งเฉพาะเจาะจง

2. การศึกษาคร้ังนี้มุ่งเน้นที่ศึกษานักเรียนระดับช้ันมัธยมศึกษาตอนต้นหรือเรียกได้ว่าเป็นช่วงวยั
หัวเล้ียวหัวต่อของชีวิต ดังน้ัน การศึกษาครั้งต่อไปอาจขยายกลุ่มตัวอย่างในการศึกษาไปในนักเรียน
ระดับชั้นอ่ืน ๆ อาทิ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย เป็นต้น กลุ่มดังกล่าวนับได้ว่าเป็นช่วงวัยที่ต้อง
เปลี่ยนถ่ายจากวัยรุ่นตอนปลาย เข้าสู่วัยผู้ใหญ่ตอนต้น ซึ่งการพัฒนาทักษะชีวิตในเด็กวัยน้ีจะช่วยเป็น
ภูมิค้มุ กันท่ีดีในการเลือกดาเนินชีวิตทั้งปัจจบุ นั และอนาคต ใหส้ ามารถอยูร่ ่วมกับผอู้ นื่ ได้อย่างมคี วามสขุ

3.ในการศึกษาคร้ังน้ีผู้วิจัยใช้แบบสอบถามแบบแบบมาตราส่วนเป็นเคร่ืองมือในการเก็บรวบรวม
ข้อมูลซึ่งทาให้ง่ายและสะดวกต่อนักเรียนในการเก็บรวบรวมข้อมูล การศึกษาครั้งต่อไปอาจทาการสร้าง
เคร่ืองมือแบบสถานการณ์ซึ่งจะช่วยในการประเมินทักษะชีวิตของนักเรียนได้มีความละเอียดและแม่นยา
มากยิ่งขึน้
แหล่งอา้ งอิง
กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข. (2541). คู่มือส่งเสริมสุขภาพจิตนักเรียนระดับมัธยมศึกษาสาหรับ

ครู. กรงุ เทพฯ: กรมสุขภาพจติ .
กุสุมาวดี คาเกลี้ยง และคณะ. (2554). หนังสือเรียน รายวิชาพ้ืนฐานสุขศึกษา 6 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6.

กรุงเทพฯ: บรษิ ัท สานักพิมพเ์ อมพนั ธ์ จากดั .
พัชรนนั ท์ มาอยวู่ งั . (2552). การสรา้ งแบบวัดทักษะชีวิตสาหรับนักเรียนระดับชว่ งชั้นที่ 3 สังกดั สานักงาน

เขตพื้นท่ีการศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 1. ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิจัยและประเมินผล
การศึกษา บณั ฑิตวทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ.์
รณิดา ยะสาธะโร. (2555). การพัฒนาตัวบ่งช้ีทักษะชีวิตของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น สังกัด
องค์การบริหารส่วนจังหวัดอุดรธานี. ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการวิจัยการศึกษา
บัณฑิตวทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม.
สมเดช มุงเมือง. (2555). ทักษะชวี ิต Life Skills. กรงุ เทพฯ: สูตรไพศาลบวิ เดอร.์
สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 4. (2561). ระบบสารสนเทศเพ่ือบริหารการศกึ ษา. สืบค้น
เม่ือ กรกฎาคม 2, 2561, จาก
http://data.bopp-obec.info/emis/school.php?Area_CODE=101704.
สชุ า จันทน์เอม. (2542). จิตวิทยาพัฒนาการ (พิมพ์ครั้งที่ 5). บริษัทโรงพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช จากัด.
สุวิมล ติรกานันท์. (2555). การวิเคราะห์ตัวแปรพหุในงานวิจัยทางสังคมศาสตร์. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่ง
จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย.
หงส์ฟ้า ธีรวงศ์นุกูล. (2556). การพัฒนาโปรแกรมเสริมสร้างการเห็นคุณค่าในตนเองและทักษะทางสังคม
สาหรับนักศึกษาการศึกษานอกโรงเรียน. ปริญญาครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการศึกษานอก
ระบบโรงเรยี น บัณฑิตวิทยาลยั จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั .
องค์การแพลน อินเตอร์เนชน่ั แนล มูลนธิ ิ ไรท้ ์ ทู เพลย์ ประเทศไทย. (ม.ป.ป.). คู่มือทักษะชวี ิต. กรงุ เทพฯ.
อารีย์ นัยพินิจ, ภัทรพงษ์ เกริกสกุล และธงพล พรหมสาขา ณ สกลนคร. (2557). การปรับตัวภายใต้
กระแสโลกาภวิ ัฒน์. วารสารวิชาการมหาวิทยาลยั ราชภัฏสงขลา. 7(1): 1-12.
Kline, R. B. (2005). Principles and practice of structural equation modeling (2nd ed.). New
York: The Guilford Press.
WHO. ( 1994) . Life skills education for children and adolescents in schools. Geneva:
Switzerland.

373

การพัฒนาการบรหิ ารงานแนะแนวของสถานศกึ ษาสงั กัดสานกั งานเขตพนื ทกี่ ารศึกษา
มัธยมศึกษาเขต 39

DEVELOPMENT OF GUIDANCE ADMINISTRATION OF EDUCATIONAL INSTITUTIONS
UNDER THE SECONDARY EDUCATIONAL SERVICE AREA OFFICE 39

คฑาวุธ ขันไชย
นสิ ิตระดับบณั ฑติ ศกึ ษา สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลยั นเรศวร

บทคดั ย่อ
การวิจัยในคร้ังนี้มีวัตถุประสงค์เพ่ือศึกษาแนวทางการพัฒนาการบริหารงานแนะแนวของ

สถานศึกษา สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 39 กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้บริหาร
สถานศึกษาและครูท่ีปฏิบัติงานแนะแนว ใช้วิธีการสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบง่าย เคร่ืองมือท่ีใช้ในการเก็บ
ข้อมูลเป็นแบบสอบถามลักษณะเป็นแบบปลายเปิด และวิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เน้ือหา
ผลการวจิ ยั พบวา่

สถานศึกษาควรเพ่ิมบุคลากรงานแนะแนวและครูที่ปฏิบัติงานแนะแนวควรสาเร็จการศึกษา
ทางดา้ นจิตวิทยาการแนะแนว และควรมกี ารประเมินจุดอ่อน จุดแข็ง ปัญหา และอปุ สรรค และสารวจ
ความคิดเห็นและความพงึ พอใจของผูเ้ รียนที่ใช้บรกิ าร

คาสาคัญ: การพัฒนา, การบริหาร, งานแนะแนว

Abstract
The purpose of this research was to study guidelines for the development of

guidance administration of educational institutions under the secondary educational
service area office 39. The sample group is school administrators and teachers who
perform guidance work and using simple random sampling methods. The tool used to
collect data is an open-ended questionnaire. And analyze data by content analysis. The
research found that

Educational institutions should increase personnel, guidance and teachers who
practice guidance, should graduate in guidance psychology. And should assess
weaknesses, strengths, problems and obstacles and explore opinions and satisfaction
of students who use the service.

Keywords: Development, Administration, Guidance

บทนา
แผนพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) ถือเป็นแผน

แม่บทหลักในการพัฒนาประเทศ มีหลักการสาคัญคือ “ยึดคนเป็นศูนย์กลางของการพัฒนา” มุ่งสร้าง
คุณภาพชีวิตท่ีดีสาหรับคนไทย พัฒนาคนให้มีความเป็นคนที่สมบูรณ์ มีวินัย ใฝ่รู้ มีความรู้ มีทักษะมี
ความคิดสร้างสรรค์ มีทัศนคติที่ดี รับผิดชอบต่อสังคม มีคุณธรรมและจริยธรรม ซ่ึงกระทรวง

374

ศึกษาธิการในฐานะหน่วยงานหลักในภาคการจัดการศึกษา เพ่ือพัฒนาคุณภาพคนของประเทศ ได้
ตระหนักถึงความสาคัญดังกล่าว ดังน้ัน ภายใต้วิสัยทัศน์ “มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ คู่คุณธรรม มี
คุณภาพชีวิตที่ดี มีความสุขในสังคม” ของแผนพัฒนาการศึกษาของกระทรวง ศึกษาธิการ ฉบับท่ี 12
(พ.ศ. 2560–2564) จึงได้มีการกาหนด ยุทธศาสตร์และวางเป้าหมายที่สามารถตอบสนองการพัฒนาท่ี
สาคญั ในดา้ นตา่ งๆ (สานกั งานปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร, 2559, ก)

ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กาหนดให้สถานศึกษาจัด
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน นอกเหนือจากการเรียนรู้ตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ 8 กลุ่มสาระ ซึ่งกิจกรรมพัฒนา
ผ้เู รยี น มุ่งให้ผูเ้ รียนได้พัฒนาตนเองตามศักยภาพ พัฒนาอย่างรอบด้าน เพอ่ื ความเปน็ มนุษยท์ ่ีสมบูรณ์ ทง้ั
ร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ และสังคม เสริมสร้างให้เป็นผู้มีศีลธรรมจริยธรรม มีระเบียบวินัย ปลูกฝังและ
สร้างจิตสานึกหรือของการทาประโยชน์เพ่ือสังคม สามารถจัดการตนเองได้ และอยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างมี
ความสุข กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนแบ่งเป็น 3 ลักษณะ ดังน้ี 1) กิจกรรมแนะแนว 2) กิจกรรมนักเรียน และ
3) กจิ กรรมเพื่อสงั คมและสาธารณประโยชน์ (กระทรวงศึกษาธิการ, 2550, 20-22)

กิจกรรมแนะแนวในกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551 เป็นกิจกรรมท่ีส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนให้รู้จักตนเอง รู้รักษ์ส่ิงแวดล้อม สามารถ
ตัดสินใจ คิดแก้ปัญหา กาหนดเป้าหมาย วางแผนชีวิต ท้ังในด้านการศึกษาและอาชีพ สามารถปรับตนได้
อย่างเหมาะสม นอกจากนี้ยังช่วยให้ครู รู้จักและเข้าใจผู้เรียน รวมทั้งเป็นกิจกรรมท่ีช่วยเหลือ และให้
คาปรึกษาแก่ผู้ปกครองในการมีส่วนร่วมในการพัฒนาผู้เรียน (สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา,
2554, 9)

การแนะแนว มขี อบขา่ ยการแนะแนว 3 ประเภท ไดแ้ ก่ การแนะแนวการศึกษา การแนะแนว
อาชีพ และการแนะแนวด้านปญั หาสว่ นตัวและสังคม เพื่อให้งานแนะแนวมีขอบข่ายครอบคลุมปรัชญา
และหลักการแนะแนว และเพื่อให้สอดคล้องและบรรลุวัตถุประสงค์ของการแนะแนวทั้ง 3 ประเภท
สถานศึกษาจึงมักจัดบริการบริการแนะแนวไว้ 5 บริการ ดังต่อไปนี้คือ 1) บริการศึกษาและรวบรวม
ข้อมูลรายบุคคล 2) บริการสนเทศ 3) บริการให้คาปรึกษา 4) บริการจัดวางตัวบุคคล และ 5) บริการ
ติดตามผลและวจิ ัย (อัชรา เอิบสขุ สิริ, 2557, 214-220)

จากปัญหาของการจัดและการบริหารงานแนะแนวพบว่า 1) คณะครูขาดความรู้ความเข้าใจ
และมองไม่เห็นความสาคัญของการแนะแนว เห็นว่าเป็นการเพิ่มภาระงานให้มากขึ้นยิ่งขึ้น 2) โรงเรียน
ขาดความพร้อม 3) ปัญหาขาดการประสานงานและขาดความร่วมมือในการทางาน 4) ปัญหารการไม่
มาใช้บริการแนะแนวของนักเรยี น (พนม ลมิ้ อารยี ,์ 2548, 276)

ด้วยเหตุผลดังกล่าว ผู้วิจัยจึงสนใจศึกษาการพัฒนาการบริหารงานแนะแนวของสถานศึกษา
สังกดั สานกั งานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษามธั ยมศึกษาเขต 39 วา่ ผูบ้ รหิ ารสถานศกึ ษา และครทู ปี่ ฏบิ ตั งิ านแนะ
แนว มีการบริหารงานแนะแนวอย่างไร ผลการศึกษาน้ีจะนาไปเป็นแนวทางในการพัฒนาการ
บริหารงานแนะแนว ของผู้บริหารสถานศึกษา และครูท่ีปฏิบัติงานแนะแนวของสถานศึกษา สังกัด
สานักงานเขตพน้ื ที่การศกึ ษามธั ยมศกึ ษาเขต 39 ใหม้ ีประสิทธภิ าพต่อไป

วัตถปุ ระสงคข์ องการวิจัย
เพ่ือศึกษาแนวทางการพัฒนาการบริหารงานแนะแนวของสถานศึกษา สังกัดสานักงานเขต

พื้นทีก่ ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษาเขต 39

375

วิธีดาเนนิ การวิจยั
1. ประชากรและกลมุ่ ตวั อย่าง
1.1 ประชากร
ประชากรท่ีใช้ในการวิจัย ได้กาหนดกลุ่มประชากร ออกเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มผู้บริหาร

สถานศึกษา จานวน 110 คน และกลุ่มครูที่ปฏิบัติงานแนะแนว จานวน 153 คน จานวนท้ังหมด 263
คน จาก 57 โรงเรียน สงั กดั สานกั งานเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษามัธยมศึกษาเขต 39 ปีการศึกษา 2560

1.2 กลุ่มตัวอย่าง
กลุ่มตัวอย่างท่ีใช้ในการวิจัย ผู้วิจัยได้กาหนดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้วิธีการสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบ
ง่าย (Simple random sampling) โดยได้กาหนดกลุ่มตัวอย่างออกเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มผู้บริหาร
สถานศึกษาโรงเรียนละ 1 คน และกลุ่มครูท่ีปฏิบัติงานแนะแนว โรงเรียนละ 1 คน รวมโรงเรียนละ 2
คน จากทั้งหมด 57 โรงเรียน รวมผู้ให้ข้อมูล 114 คน สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา
เขต 39 ปกี ารศึกษา 2560
2. เครื่องมือทใ่ี ช้ในการวิจยั
2.1 เครื่องมือท่ีใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล เป็นแบบสอบถามเก่ียวกับการพัฒนาการ
บริหารงานแนะแนวของสถานศึกษา สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 39 จานวน 1
ฉบับ แบ่งออกเปน็ 2 ตอนดังนี้
ตอนที่ 1 สอบถามข้อมูลท่ัวไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ลักษณะเป็นแบบตรวจสอบรายการ
(Check List)
ตอนที่ 2 สอบถามการพัฒนาการบริหารงานแนะแนวของสถานศึกษา สังกัดสานักงานเขต
พื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษาเขต 39 ประกอบด้วยงานแนะแนวท้ัง 3 ด้าน ได้แก่ 1) งานแนะแนวด้าน
การศึกษา 2) งานแนะแนวด้านอาชีพ 3) งานแนะแนวด้านส่วนตัวและสังคม ลักษณะเป็นแบบ
ปลายเปิด (open-ended question)
2.2 การสรา้ งเครอ่ื งมอื ทใี่ ชใ้ นการเก็บรวบรวมขอ้ มลู ดาเนนิ การดังน้ี

2.2.1 ศึกษาแนวคิด ทฤษฎี หลักการ ท่ีเกี่ยวกับการพัฒนาการบริหารงานแนะแนวของ
สถานศกึ ษา จากหนังสือ เอกสาร และงานวจิ ยั ที่เก่ียวข้อง

2.2.2 กาหนดกรอบแนวคิดในการวิจัย
2.2.3 กาหนดนิยามศพั ท์เฉพาะเพื่อเปน็ แนวทางในการสรา้ งแบบสอบถาม
2.2.4 สร้างแบบสอบถามฉบับร่างนาเสนออาจารย์ที่ปรึกษาเพ่ือตรวจสอบและปรับปรุง
แก้ไขตามข้อเสนอแนะทขี่ องอาจารยป์ รึกษา
2.2.5 นาเสนอแบบสอบถามท่ีปรับปรุงแก้ไขแล้ว จากนั้นนาเสนอผู้เช่ียวชาญ จานวน 3
ท่าน เพื่อตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหา (Content Validity) และการใช้สานวนภาษา โดยพิจารณา
ความสอดคล้องระหว่างนิยามศพั ท์เฉพาะและข้อคาถาม
2.2.6 หาค่า IOC (IOC : Index of item objective congruence) รายข้อของแบบสอบถาม
การวิจยั
3. การเก็บรวบรวมข้อมลู
การเกบ็ รวบรวมข้อมูลผูว้ จิ ัยดาเนินการตามลาดับดังน้ี

376

3.1 ผู้วิจัยนาหนังสือขอความร่วมมือจากบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยนเรศวร เสนอไปยัง
สถานศึกษา สังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษาเขต 39 เพื่อขอความร่วมมือในการเก็บ
รวบรวมข้อมูลจากผู้บรหิ ารสถานศกึ ษาและครูท่ีปฏิบตั ิงานแนะแนวของโรงเรยี นทเี่ ป็นกลุ่มตวั อย่าง

3.2 ดาเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลกับกลุ่มตัวอย่างด้วยตนเอง โดยผู้วิจัยได้ส่งแบบสอบถามไป
จานวน 114 ฉบบั ได้แบบสอบถามกลับคืนมา 103 ฉบบั คดิ เปน็ ร้อยละ 90.35

3.3 ผู้วิจัยรวบรวมขอ้ มลู จากแบบสอบถามเพื่อดาเนนิ การตรวจสอบความสมบรู ณ์ของข้อมูล
4. การวิเคราะหข์ ้อมูล

การวเิ คราะห์ขอ้ มลู ดาเนนิ การตามขนั้ ตอนดังต่อไปนี้
4.1 นาแบบสอบถามที่ไดร้ บั คืนมาทาการแยกกลมุ่ ตัวอย่าง
4.2 นาข้อมูลจากแบบสอบถามมาทาการวเิ คราะห์เก่ียวกับการพัฒนาการบรหิ ารงานแนะแนว
ของสถานศึกษา สังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษาเขต 39 โดยการวิเคราะห์เน้ือหา
(Content Analysis)

สรุปผลการวิจัย
ผลการศึกษาการพัฒนาการบริหารงานแนะแนวของสถานศึกษา สังกัดสานักงานเขตพื้นท่ี

การศกึ ษามธั ยมศึกษาเขต 39 ดังนี้
1. งานแนะแนวด้านการศึกษา พบว่า ควรเพมิ่ บคุ ลากรงานแนะแนวดา้ นการศึกษา ควรมีครูท่ี

สาเร็จการศกึ ษาทางด้านจิตวิทยาการแนะแนวและการให้คาปรึกษา สถานศกึ ษาควรมีการสารวจความ
คิดเห็นและความพึงพอใจของผู้เรียนที่ใช้บริการ ควรมีการออกแบบการจัดกิจกรรมแนะแนวด้าน
การศึกษา ประกอบด้วย วัตถุประสงค์การจัดกิจกรรม เวลาจัดกิจกรรม หลักฐานการจัดกิจกรรม และ
การประเมินผล มีการจัดกิจกรรมแนะแนวด้านการศึกษาตามวัตถุประสงค์ และมีการวิเคราะห์ข้อมูล
ของผูเ้ รียนเป็นรายบุคคล ในการดาเนนิ งานแนะแนวดา้ นการศึกษา

2. งานแนะแนวด้านอาชีพ พบว่า ควรเพ่ิมบุคลากรงานแนะแนวด้านอาชีพ ครูแนะแนวควร
สาเร็จการศึกษาทางด้านจิตวิทยาแนะแนวและการให้คาปรึกษา สถานศึกษาควรมีการประเมินจุดอ่อน
จดุ แขง็ ปญั หา และอุปสรรค ควรมีการศึกษาวิเคราะหส์ ภาพปัญหา ความตอ้ งการ ความสนใจ ธรรมชาติ
ของผู้เรียน มีการออกแบบการจัดกิจกรรมแนะแนวด้านอาชีพ และมีการวิเคราะห์สมรรถนะสาคัญของ
ผเู้ รียน คุณลกั ษณะทพี่ ึงประสงค์ และวิสยั ทศั น์ของสถานศกึ ษา ในการดาเนนิ งานแนะแนวดา้ นอาชีพ

3. งานแนะแนวดา้ นส่วนตัวและสังคม พบว่า ควรมีครูทส่ี าเรจ็ การศึกษาทางด้านจิตวิทยาแนะ
แนวและการให้คาปรึกษา ควรเพ่ิมบุคลากรงานแนะแนวด้านส่วนตัวและสังคม และสถานศึกษาควรมี
การสารวจความคิดเห็นและความพึงพอใจของผู้เรียนท่ีใช้บริการ และควรมีการจัดกิจกรรมตาม
แผนการจัดกิจกรรมแนะแนวด้านส่วนตัวและสังคม มีการศึกษาวิเคราะห์สภาพปัญหา ความต้องการ
ความสนใจ ธรรมชาติของผเู้ รยี น ในการดาเนินกจิ กรรมแนะแนวดา้ นสว่ นตวั และสังคม

อภิปรายผลการวิจัย
ผลการศึกษาการพัฒนาการบริหารงานแนะแนวของสถานศึกษา สังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่

การศึกษามัธยมศึกษาเขต 39 พบว่า สถานศึกษาควรเพ่ิมบุคลากรกิจกรรมแนะแนวของสถานศึกษา
และควรมีครูที่สาเร็จการศึกษาทางด้านแนะแนวโดยตรงเพื่อเป็นแกนนาในการดาเนินงานแนะแนวด้าน
ต่างๆ เนื่องจากในปัจจุบันนักเรียนมีปัญหามากข้ึนโดยเฉพาะในด้านความรู้สึกและจิตใจเพราะสภาพ

377

ความเป็นอยู่ของนักเรียนแตกต่างกันต้องใช้หลักจิตวิทยาแนะแนวในการดูแลและบุคลากรท่ีปฏิบัติ
หนา้ ท่ีต้องมคี วามเชีย่ วชาญ และบคุ ลากรงานกจิ กรรมแนะแนวมีอัตรากาลังไมเ่ พยี งพอต่อการให้บริการ
นักเรียนตามสัดส่วนท่ีเหมาะสม ขาดความรู้ความสามารถทางด้านจิตวิทยาแนะแนวและการให้
คาปรึกษา และสถานศึกษาควรมีการสารวจความคิดเห็นและความพึงพอใจของผู้เรียนที่ใช้บริการการ
จัดกิจกรรมแนะแนว และมีการประเมินจุดอ่อน จุดแข็ง ปัญหา และอุปสรรคการจัดกิจกรรมแนะแนว
เนื่องจากกิจกรรมแนะแนวเป็นกิจกรรมท่ีส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนให้รู้จักตนเอง รู้รักษ์สิ่งแวดล้อม
สามารถคิดตัดสินใจ คิดแก้ปัญหา กาหนดเป้าหมาย วางแผนชีวิตท้ังในด้านการเรียนและอาชีพ
สามารถปรับตัวได้อย่างเหมาะสมตามความเปล่ยี นแปลงและความเจริญทางด้านการศึกษา นอกจากน้ี
ยังช่วยให้ครูร้จู กั และเข้าใจผูเ้ รียน ท้งั ยังเปน็ กิจกรรมทีช่ ว่ ยเหลือและให้คาปรึกษาแก่ผูป้ กครองในการมี
ส่วนร่วมพัฒนาผู้เรียน ซึ่งสอดคล้องกับผลการวจิ ัยของ พยุง จันทร์นิ่ม (2557, 65-68) ได้ทาการศึกษา
เรื่องบทบาทที่คาดหวังและบทบาทท่ีเป็นจริงของผู้บริหารสถานศึกษาในการบริหารงานแนะแนว ตาม
ทัศนะของผู้บริหารสถานศึกษาและครูแนะแนวในโรงเรียนขยายโอกาส สังกัดสานักงานเขตพื้นที่
การศึกษาประถมศึกษาพิษณุโลกเขต 3 พบว่า 1) ในภาพรวมบทบาทที่คาดหวังอยู่ในระดับมากที่สุด
เม่ือพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ด้านท่ีมีค่าเฉล่ียสูงท่ีสุดได้แก่ ด้านปฏิบัติตามแผน รองลงมาคือด้าน
วางแผน และด้านปรับปรุงพัฒนา และด้านที่มีค่าเฉล่ียต่าสุดคือ ด้านกากับ ติดตาม 2) โดยภาพรวม
บทบาททเี่ ปน็ จรงิ ของผบู้ ริหารสถานศึกษาในการบริหารงานแนะแนวอยูใ่ นระดบั มาก เม่ือพจิ ารณาเป็น
รายด้านพบว่า ด้านที่มีค่าเฉล่ียสูงที่สุดได้แก่ ด้านกากับ ติดตาม และด้านปรับปรุงพัฒนา รองลงมาคือ
ด้านปฏิบัติตามแผน และด้านที่มีค่าเฉล่ียต่าสุดคือ ด้านวางแผน และสอดคล้องกับ พนม ลิ้มอารีย์
(2548, 276) ได้กล่าวถึงปัญหาของการจัดและการบรหิ ารงานแนะแนวว่า 1) คณะครูขาดความรู้ความ
เข้าใจและมองไม่เหน็ ความสาคญั ของการแนะแนว เห็นว่าเป็นการเพิม่ ภาระงานใหม้ ากข้ึนยิ่งขนึ้ ปญั หา
น้ีอาจจะแกไ้ ขได้โดยการพาคณะครูไปเย่ยี มชมโรงเรยี นที่มีการจดั การแนะแนวไดผ้ ลดีมปี ระสิทธิภาพ 2)
โรงเรยี นขาดความพร้อม เชน่ ขาดบุคลากร ขาดงบประมาณ ขาดอุปกรณ์และสถานท่เี ป็นต้น 3) ปัญหา
ขาดการประสานงานและขาดความรว่ มมือในการทางาน ปัญหาข้อน้ีอาจจะเกิดจากการขัดแย้งกันของ
ครูบางคน หรือเกิดจากท่ีครูบางคนเห็นว่าตนขาดความสาคัญ 4) ปัญหาการไม่มาใช้บริการแนะแนว
ของนักเรยี น เกดิ จากการขาดความเชือ่ ถือไวใ้ จของนกั เรยี น และสอดคลอ้ งกับผลการวิจยั ของ ธนินท์รฐั
สุทธโพธิพงศ์ (2550, 61-62) ได้ทาการศึกษาเร่ืองกระบวนการการบริหารงานแนะแนวโรงเรียนพระ
ปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษาในจังหวัดเชียงราย พบว่า การบริหารงานด้านการเก็บรวบรวมข้อมูล
นักเรียนเป็นรายบุคคล ในภาพรวมครูแนะแนวมีการปฏิบัติอยู่ในระดับปานกลาง เม่ือพิจารณาเป็น
รายการพบว่ารายการท่ีครูแนะแนวมีการปฏบิ ัติอยู่ในระดบั มาก ได้แก่ ครูแนะแนวบันทึกข้อมูลสว่ นตวั
ของนักเรียนลงในระเบยี นสะสมของแตล่ ะรปู การบรหิ ารงานดา้ นสาระสนเทศของครูแนะแนวพบว่าใน
ภาพรวมครูแนะแนวมีการปฏิบัติอยู่ในระดับปานกลาง การบริหารงานด้านการให้คาปรึกษาพบว่า ใน
ภาพรวมครูแนะแนวมีการปฏิบัติอยู่ในระดับปานกลาง การบริหารงานด้านการจัดวางตัวบุคคลพบว่า
ครูแนะแนวมีการปฏิบัติอยู่ในระดับปานกลาง การบริหารงานด้านติดตามและประเมินผล ในภาพรวม
ครูแนะแนวปฏิบัติอยู่ในระดับปานกลาง และผลการศึกษา ในภาพรวมมีการปฏิบัติอยู่ในระดับปาน
กลางเม่ือพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ครูแนะแนวมีการปฏิบัติอยู่ในระดับปานกลางทุกด้าน และ
สอดคล้องกับ มาลินี จโุ ฑปะมา (2552, 139) ได้กลา่ วถึงหลักการของงานแนะแนวไว้ว่า เปน็ กจิ กรรมที่
จัดให้สอดคล้องกับสภาพปัญหา ความต้องการ ความสนใจธรรมชาติของผู้เรียนและวิสัยทัศน์ของ

378

สถานศึกษา ท่ีตอบสนองจุดมุ่งหมายหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐานพุทธศักราช 2551 ให้
ครอบคลุมทั้งด้านการศึกษา อาชีพ ส่วนตัวและสังคม เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญผู้เรียนมีส่วนร่วมในการ
ปฏิบัติกิจกรรม จนเกิดการเรียนรู้ และเกิดทักษะชีวิต โดยมีครูผู้รับผิดชอบจัดกิจกรรมและประสาน
ความร่วมมือกับครูหรือผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง และสอดคล้องกับ สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา
(2553, 21) ได้กล่าวถึงกิจกรรมแนะแนวไว้ว่า การจัดกิจกรรมแนะแนวต้องส่งเสริมและสนับสนุนเพ่ือ
พัฒนาผู้เรียนให้เกิดการเรียนรู้ อันจะนาไปสู่สมรรถนะท่ีสาคัญ 5 ประการ และคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์ 8 ประการ โดยนาไปบูรณาการในการจัดกิจกรรมตามลักษณะของกิจกรรมแนะแนวที่ระบุไว้
ในหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 อีกท้งั ยังต้องสง่ เสริมและพัฒนาผู้เรียนให้
มีทักษะชีวิตโดยมุ่งจัดกิจกรรมให้สอดคล้องกับสภาพปัญหา ความต้องการ ความสนใจ ธรรมชาติของ
ผู้เรียน วิสัยทัศน์ของสถานศึกษา ท่ีตอบสนองจุดมุ่งหมายหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551 ให้ครอบคลุมท้ังด้านการศึกษา ด้านอาชีพ รวมท้ังด้านส่วนตัวและสังคมเน้นผู้เรียน
เป็นสาคัญ โดยผู้เรียนมีอิสระในการคิดและตัดสินใจด้วยตนเอง เรียนรู้ด้วยตนเองด้วยการปฏิบัติ
จนกระท่ังเกิดทักษะชีวิต ตลอดจนครูทุกคนต้องมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรม โดยมีครูแนะแนวเป็นพ่ี
เลยี้ งและประสานงาน

ขอ้ เสนอแนะ
1. ขอ้ เสนอแนะเพื่อการนาผลการวิจัยไปใช้
ผู้บริหารสถานศึกษาและครูที่ปฏิบัติหน้าที่งานแนะแนวควรมีการพัฒนาการบริหารงานแนะ

แนวของสถานศกึ ษา เพ่อื ใหก้ ารบรหิ ารงานในสถานศึกษาเปน็ ไปอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ ดงั น้ี
1. งานแนะแนวด้านการศึกษา สถานศึกษาควรเพ่ิมบุคลากรงานกิจกรรมแนะแนวด้าน

การศึกษา และควรมีครูที่สาเร็จการศึกษาทางด้านจิตวิทยาแนะแนวและการให้คาปรึกษา สถานศึกษา
ควรมีการสารวจความคิดเห็นและความพึงพอใจของผู้เรียนท่ีใช้บริการการจัดกิจกรรมแนะแนวด้าน
การศึกษา ประเมนิ จดุ ออ่ น จุดแข็ง ปญั หา และอุปสรรคการจัดกิจกรรมแนะแนวด้านการศกึ ษา

2. งานแนะแนวด้านอาชีพ สถานศึกษาควรเพิ่มบุคลากรงานกิจกรรมแนะแนวด้านการศึกษา
และควรมีครูที่สาเร็จการศึกษาทางด้านจิตวิทยาแนะแนวและการให้คาปรึกษา และในการดาเดินงาน
แนะแนวดา้ นอาชพี สถานศกึ ษาควรมีการประเมนิ จุดอ่อน จดุ แขง็ ปัญหา และอุปสรรคการจดั กจิ กรรม
แนะแนวด้านอาชีพ ดาเนินการตามระยะเวลาการจัดกิจกรรมแนะแนวด้านอาชีพ สารวจความคิดเห็น
และความพงึ พอใจของผูเ้ รียนท่ีใช้บริการการจดั กจิ กรรมแนะแนวดา้ นอาชีพ

3. งานแนะแนวด้านส่วนตัวและสังคม ครูแนะแนวควรสาเร็จการศึกษาทางด้านจิตวิทยาแนะ
แนวและการให้คาปรกึ ษา และควรเพิ่มบุคลากรงานกิจกรรมแนะแนวด้านส่วนตัวและสังคม และในการ
ดาเนินกิจกรรมแนะแนวด้านส่วนตัวและสังคม สถานศึกษาควรมีการสารวจความคิดเห็นและความพึง
พอใจของผู้เรียนที่ใช้บริการการจัดกิจกรรมแนะแนวด้านส่วนตัวและสังคม และประเมินผลการจัด
กิจกรรมแนะแนวดา้ นส่วนตวั และสังคม

2. ข้อเสนอแนะเพอ่ื การวจิ ยั ต่อไป
2.1 ควรมีการศึกษารูปแบบการบริหารงานแนะแนวของสถานศึกษา สังกัดสานักงาน
คณะกรรมการสง่ เสรมิ การศึกษาเอกชน
2.2 ควรมีการศึกษาการพัฒนาการบริหารกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนด้านอื่นๆ เช่น กิจกรรม
นกั เรียน กจิ กรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน์ เปน็ ตน้


Click to View FlipBook Version