The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ebookrayong, 2020-09-11 09:58:50

การประชุมสัมมนาวิชาการนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ

Full-Paper-NACED-Education

429

ตารางเนอื หาและคาบรรยายประกอบบ่งตอน เช่น

เนอื้ หา คาเปรยี บ ขอ้ ความทีเ่ ปรียบ

1. สมาธยิ งั อ่อน เหมือน คนเดินทางทมี่ ีกาลังน้อย

2. การมองทุกอย่างให้เปน็ ธรรม เหมือนอย่าง อาจารย์สอนธรรมบางทา่ น

3. หลักมชั เฌนธรรมอย่างหนงึ่ เปรยี บกับ การยงิ ลูกศรที่ยิงไมถ่ ูกเป้าก็จะอยู่ข้างๆ

4. ครู คือ แม่พิมพ์ของชาติ

ตัวอย่างข้อ 1 หมายถึง การฝึกสมาธิเมื่อเร่ิมใหม่ๆ สมาธิยังอ่อนมากและถ้าพยายามฝึกปฏิบัติ

บ่อยๆ ก็จะแข็งแรงได้ เหมือนกับคนเดินทางใหม่ๆ กาลังน้อยแต่พอเดินไปนานๆ กาลังจะอยู่ตัวและมี

กาลงั มาก

ตวั อย่างข้อ 2 มายถึง การมองสรรพส่งิ ในแงด่ ีและทุกอยา่ งให้เป็นธรรม เหมือนกับอาจารย์ผู้สอน

ธรรมบางทา่ นท่ีพยายามสอน พยายามอธบิ ายธรรมให้เหน็ จริง

ตัวอย่างข้อ 3 หมายถึง การปฏิบัติธรรมจักเท่ียงตรงและม่ันคงได้คล้ายกับการยิงศร ถ้าถูกต้อง

หรอื งตรงเปา้ มนั จักตรงเป้าคงท่ี

ตวั อยา่ งข้อ 4 หมายถงึ การเป็นครูผูส้ อนนักเรียนจักต้องเป็นแบบอย่างกับนักเรยี น คาว่า คือ ใน

ข้อนีเ้ ปน็ ความหมายเชิงเปรยี บเทยี บด้วย

จากการค้นคว้ามโนอุปลักษณ์จากวรรณกรรมของสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ที่นาสารัตถะมา

อธิบายเปรียบเทียบวรรณกรรมเชิงพุทธ (Buddhist Humanism) ว่าเป็นแนวคิดมนุษยนิยมเชิงพุทธธรรม

ของทา่ นพระธรรมปิฎก (ป.อ.ปยุตโต) แตกต่างจากแนวคิดมนุษยนิยมของตะวนั ตกอย่างส้ินเชิง เราจะเห็น

ว่าภูมิหลังของแนวคิดมนุษยนิยมของตะวันตกเกิดมาจากแรงบีบค้ันของศาสนาคริสต์ในยุคกลาง ซ่ึง

สามารถอภิปรายผลการศึกษาได้ว่า สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์มีความรู้ ความเข้าใจในหลักธรรมใน

พระพุทธศาสนาอย่างดีและมีอุบายในการอธิบายหรือพรรณนาหลักธรรมโดยใช้คาอุปมาหรือการ

เปรียบเทียบให้เห็นชัดเจนเหมือนได้รู้ ได้เห็นเหมือนกับได้ลงมือทาหรือเกิดกับตัวเองซ่ึงตรงกับแนวคิด

ของเลคอฟและจอรน์ สนั ที่กล่าววา่ อปุ ลกั ษณพ์ บได้ทว่ั ไปในชีวติ ประวนั และไม่เฉพาะกวีหรือนักประพันธ์

คนท่ัวไปก็ใช้อุปลักษณ์ในการสื่อสาร ท่ีสาคัญก็คืออุปลักษณ์มิได้มีแต่ภาษาเท่านั้นโดยพ้ืนฐานระบบ

ความคิดของเราก็เป็นอุปลักษณ์เช่นกันและยังสอดคล้องกับงานวิจัยของ ปิยภรณ์ อบแพทย์ ที่ได้ศึกษา

เรื่อง ถ้อยคาอุปลักษณ์ที่สะท้อนมโนทัศน์เก่ียวกับชีวิตในหนังสือธรรมะและวิเคราะห์หน้าที่ของมโนอุป

ลักษณ์เก่ียวกับชีวิตในหนังสือธรรมะ โดยใช้ข้อมูลจากผลงานหนังสือธรรมะของพระธรรมาจารย์ 6 ท่าน

จานวนทัง้ ส้ิน 60 เลม่ ผลการศึกษาถ้อยคาอุปลักษณ์เก่ียวกับชีวิตในหนังสือธรรมะพบว่า สะท้อน มโนอุป

ลกั ษณช์ ีวิต 15 มโนอปุ ลักษณ์ได้แก่ [ชวี ติ คอื การเดินทาง] [ชวี ิตคอื การต่อสู้/สงคราม] [ชีวิตคือทรัพยากร]

[ชีวิตคือธุรกิจ] [ชีวิตคือภาชนะ/สถานที่ปิดล้อม] [ชีวิตคือส่ิงท่ีไม่คงทน] [ชีวิตคือการศึกษา] [ชีวิตคือ

ต้นไม้] [ชีวิตคือละคร] [ชีวิตคือกีฬา] [ชีวิตคือสิ่งปลูกสร้าง] [ชีวิตคือแสงเทียน/แสงตะเกียง] [ชีวิตคือสัตว์

ไมเ่ ช่ือง] [ชีวติ คอื สิง่ ที่มีปริมาณ/ความยาว] และ [ชวี ิตคอื สง่ิ ท่ีต้องขัดแต่งเพิ่ม] จะเหน็ ได้วา่ มโนอุปลักษณ์

เหล่านี้สะท้อนให้เห็นมุมมองเก่ียวกับชีวิต ตามแนวทางพระพุทธศาสนาหลายประการคือ ธรรมะเป็น

ส่ิงจาเป็นสาหรับชีวิต ทุกชีวิตต้องเจอปัญหาหรืออุปสรรค อวิชชาทาให้ชีวิตเป็นทุกข์ ชีวิตไม่แน่นอนเกิด

การเปลี่ยนแปลงได้ตลอดเวลา

430

สรุปผลของการวิจัยและบทความได้ว่า การเผยแผ่พระพุทธศาสนาด้วยการใช้มโนอุปลักษณ์
หรอื การเปรยี บเทียบธรรมะกับการใชช้ ีวติ ประจาวันของมนุษยเ์ ป็นการเผยแผ่พระพุทธศาสนาโดยตรงหรือ
ตรงตามความต้องการของผู้ที่เผยแผ่เพราะทาให้ผู้ฟังหรือผู้รับการเผยแผ่นั้นเข้าใจเนื้อหาได้อย่างรวดเร็ว
และวธิ ีการเผยแผ่แบบนี้ไดผ้ ลอย่างดี ส่วนประโยชน์ที่ไดจ้ ากการศึกษานี้พบว่า ทาใหผ้ ศู้ กึ ษาเข้าใจการหา
วิธีการเผยแผ่พระพุทธศาสนาอย่างง่ายๆ ซึ่งได้ผลดีมาก รวมท้ังลีลาการสร้างวธิ ีการเผยแผ่ก็เกิดขึ้นจากใจ
ของผู้เผยแผ่เองซึ่งหมายถึงการค้นหาวิธีการเผยแผ่ตามสถานการณ์หรือประสบการณ์ตรง ทาให้ผู้อ่าน
บทความนจ้ี ักได้ประโยชน์หรือไดว้ ธิ ีการเผยแผ่เพิ่มขน้ึ อีก

ข้อเสนอแนะในบทความนี คือ คณาจารย์ทางการศึกษาควรหาวิธีการสอนหนังสือหรือหาวิธี
ถา่ ยทอดความรู้ให้กับนักเรียนนักศึกษาและบุคคลทัว่ ไป

แหล่งอา้ งอิง
สมเด็จพระพระพุทธโฆษาจารย์. (2547). อปุ ลักษณท์ ่ีเกย่ี วกับธรรมกถาของสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย.์
ศรีวรา ผาสุกด,ี (2558) อปุ ลักษณเ์ ชงิ มโนทศั น์ “ชีวติ ” ในภาษารสั เซียตามแนวภาษาศาสตรป์ ริชาน.
ณัฐพร พานโพธ์ทอง. (2549). "หนา้ ทอ่ี ปุ ลักษณ์จากมุมมองของผู้พูดภาษาไทย." ภาษาและวรรณคดีไทย

ปที ี่ 16.
ปยิ ภรณ์ อบแพทย.์ (2552). อปุ ลักษณ์เก่ยี วกบั ชีวิตในหนังสือธรรมะ.
สุเชษฐ์ พิชิตพงษ์เผ่า. (2553). อุปลักษณ์ท่ีสะท้อนมโนทัศน์เก่ียวกับชีวิตและหน้าที่ของมโนอุปลักษณ์

ชีวติ ทีป่ รากฏในหนังสือแนะนาการดาเนินชีวติ .
อาชัญญา รัตนอบุ ล. การวเิ คราะห์แนวคิดเรื่องการเรียนรู้ตลอดชวี ิตเพ่ือการพัฒนาท่ียั่งยืนของ พระพรหม

คณุ าภรณ์ (ป.อ. ปยตุ ฺโต).
พระมหาธิติ อนุภัทโท. (2554). เลคอฟและจอห์นสัน (Lakoff and Johnson 1980)
รุ่งรัตน์ พรรัตนกาจาย. (2544). การแสดงหัวเร่ืองในพระราชดารัสของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา

ภูมพิ ลอดุลยเดช.
สริ มิ า เชียงเชาว์ไว. (2556). ทมี่ าของมโนอุปลกั ษณ์ธรรมะในปาฐกถาธรรมของพุทธทาสภิกขุ.

431

รปู แบบการพัฒนาสมรรถนะดา้ นเทคโนโลยขี องผูบ้ รหิ ารสถานศกึ ษาและครูผู้สอนโรงเรียน
บา้ นแมง่ าวใต้ อาเภองาว สงั กดั สานกั งานเขตพนื ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาลาปาง เขต 1

A MODEL FOR DEVELOPING TECHNOLOGY COMPETENCY OF THE ADMINISTRATOR
AND TEACHERS OF THE BAN MAE NGAO TAI SCHOOL, NGAO DISTRICT UNDER THE

OFFICE OF LAMPANG PRIMARY EDUCATION SERVICE AREA 1

พิทกั ษช์ ัย วงศ์ตระกลู
นักศกึ ษาคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกฏุ ราชวิทยาลัย

บทคัดย่อ
สารนิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ดังน้ี 1) เพื่อศึกษาสภาพสมรรถนะด้านเทคโนโลยีของผู้บริหาร

สถานศึกษาและครูผู้สอน โรงเรียนบ้านแม่งาวใต้ อาเภองาว สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษา
ลาปาง เขต 1 2) เพ่ือพัฒนารูปแบบการพัฒนาสมรรถนะด้านเทคโนโลยีของผู้บริหารสถานศึกษาและ
ครูผู้สอน ภายใต้ ปัจจัยและเง่ือนไขที่ส่งผลกระทบต่อสมรรถนะด้านเทคโนโลยีของผู้บริหารสถานศึกษา
และครูผู้สอน โรงเรียนบ้านแม่งาวใต้ อาเภองาว สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1
กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา จานวน 1 คน และครูผู้สอน จานวน 6 คน โดยรวบรวมข้อมูล
จากเอกสาร การสัมภาษณ์ การสนทนากลุ่ม และสังเคราะห์ข้อมูลเป็นหมวดหมู่ นาเสนอในรูปแบบ
พรรณนาความ ผลการวิจัยพบว่า สภาพสมรรถนะด้านเทคโนโลยีของผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอน
โรงเรียนบา้ นแม่งาวใต้ มกี ารดาเนนิ การตามหลักการ ทงั้ 3 ด้าน คอื ดา้ นความรู้ ดา้ นทกั ษะ และด้าน เจต
คติ ครูผ้สู อนส่วนใหญ่มีความรู้ความสามารถด้านระบบการทางาน ระบบปฏิบัติการ การดแู ลรกั ษา การใช้
อุปกรณ์ต่อพ่วง ระบบเครือข่าย ระบบฐานข้อมูลและการจัดเก็บข้อมูล รวมถึงการจัดการกับไวรัส
คอมพิวเตอร์ ค่อนข้างน้อย ที่มีลักษณะเป็นเพียงผู้ใช้งาน (User) เท่านั้น ส่วนผู้บริหารสถานศึกษา มี
ความรู้ความสามารถด้านเทคโนโลยใี นภาพรวม อยใู่ นระดับค่อนข้างน้อย เนอื่ งจากเปน็ ผทู้ ีม่ ีอายุเกิน 55 ปี
แล้ว ไม่ค่อยคุ้นเคยกับการใช้เทคโนโลยี แม้ท้ังผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอนต่างเห็นคุณค่าประโยชน์
ของการใชเ้ ทคโนโลยี แต่การดาเนินการด้านเทคโนโลยียังขาดความต่อเนื่อง เพราะเป็นพนื้ ที่ห่างไกลความ
เจริญ อยู่ในถ่ินธุระกันดาร มีปัญหาจากระบบไฟฟ้า ระบบสัญญาณโทรศัพท์ รวมถึงระบบสัญญาณ
อินเตอร์เน็ตและการขาดแคลนงบประมาณในการจัดซ้ือและจัดหาอุปกรณ์มีคุณภาพ และรูปแบบการ
พัฒนาสมรรถนะด้านเทคโนโลยีของผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอนโรงเรียนบ้านแม่งาวใต้ ท่ีเหมาะสม
คือ ต้องเสริมสร้างให้ครผู ู้สอนทุกคน เกิดความตระหนักในการพัฒนาสมรรถนะด้านเทคโนโลยี ครอบคลุม
ทุกมิติ ครบทั้งกระบวนการของการจัดการทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ มากกว่าการเป็นเพียงผู้ใช้งาน
(User) เพียงอย่างเดียว และต้องเสริมสร้างให้ผู้บริหารสถานศึกษา เกิดความตระหนักในการแสวงหา
ความรู้เก่ียวกับจัดการด้านเทคโนโลยี โดยครอบคลุมทุกมิติ ครบทั้งกระบวนการของการจัดการทางด้าน
เทคโนโลยสี ารสนเทศ เพ่ือการส่งเสรมิ สนับครผู ้สู อนได้อยา่ งเปน็ ระบบ

คาสาคัญ : รูปแบบการพัฒนา, สมรรถนะดา้ นเทคโนโลยี

ABSTRACT
The objectives of this research paper were 1) to study the technological

competence of the administrator and teachers of Ban Mae Ngao Tai School, Ngao district

432

under the office of the Lampang Primary Education Service Area 1, 2) to develop the model
for developing technological competency of the administrator and teachers under factors
and conditions that affect to technological competency of the administrator and teachers
of the Ban Mae Ngao Tai School, Ngao district under the office of the Lampang Primary
Education Service Area 1. The samples consisted of the administrator and 6 teachers. The
research instruments were documentary researching, interviews, group discussions and
synthesized into categories, and then presented in descriptive form.

The results show that the technological competency of the administrator and
teachers of Ban Mae Ngao Tai School has been managed in three main areas of practice:
knowledge, skills and attitudes. Most teachers have little systematic knowledge on
functioning system, operating system, maintenance, using peripheral devices, networks,
database and storage including a computer virus management. They are just only
consumers. The administrator has experienced a lower level of technology because he is
over 55 years of age and is unfamiliar in using technology. However the administrator and
teachers realize the values and benefits of using technology. But technological performance
is still lacking in continuance because the school is in a remote area which has problems
of electrical system, telephone signal, internet signal and shortage of budget in purchasing
and supplying quality equipment. An appropriate model for developing technological
competency of the administrator and teachers of the Ban Mae Ngao Tai School is to
strengthen all teachers to an awareness of developing technological competency in all
dimensions together with the whole process of information technology management more
than just as a consumer. The administrator should be aware in seeking knowledge about
technology management to promote and support teachers systematically.

Keywords : Model for developing, technological competency

บทนา
กระทรวงศึกษาธิการได้เสนอใหม้ ีการปฏิรูปหรือปรับเปล่ียนทางการศึกษาในหลายเร่ืองพร้อมกัน

ตั้งแต่ความมุ่งหมาย หลักการ สิทธิ หน้าท่ีทางการศึกษา ระบบการศึกษา แนวการจัดการศึกษา การ
บรหิ ารจัดการศึกษา แนวทางเกยี่ วกบั การควบคุมคุณภาพการศึกษา ระบบงบประมาณ โดยเฉพาะอย่างย่ิง
ในเรื่องสื่อและเทคโนโลยีการศึกษาน้ัน นับว่ามีการกาหนดแนวทางไว้ชัดเจนกว่าทุกคร้ัง ดังท่ีปรากฏใน
พระราชบัญญัติการศึกษา พุทธศักราช 2542 และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับท่ี 2) พุทธศักราช 2545 รวมทั้ง
แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 3) พุทธศกั ราช 2553 หมวด 9 วา่ ดว้ ยเรอื่ ง เทคโนโลยเี พื่อการศึกษา มาตรา 63 ถงึ
มาตรา 69 แห่ง “พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542” เพ่ือให้สอดคล้องกับการพัฒนา
คุณภาพการศึกษา โดยมุ่งเน้นให้สถาบันการศึกษานาเอาเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ในการพัฒนา
ประสิทธิภาพการจัดการเรียนการสอน ตลอดจนจัดให้มีส่ือและอุปกรณ์ที่จาเป็นต่อการพัฒนาคุณภาพ
การศึกษาอย่างเพียงพอและเร่งรัดการพัฒนาบุคลากรทางการศึกษาให้สามารถใช้เทคโนโลยีท่ีทันสมัยใน
รูปแบบต่าง ๆ เพ่ือให้สามารถนาไปใช้ในการจัดการศึกษาได้ ดังนั้นโรงเรียนจึงได้รับการสนับสนุนให้จัด

433

การศึกษาและพัฒนาด้านเทคโนโลยีในการขับเคล่ือนนโยบาย เพ่ือให้เกิดการใช้เทคโนโลยีเพ่ือการศึกษา
จึงให้มีการพัฒนาบุคลากรทั้งด้านผู้ผลิต และผู้ใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษาให้มีความรู้ความสามารถและ
ทักษะในการผลิต รวมทั้งการใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมอย่างมีคุณภาพ และจากแผนพัฒนาการศึกษา
แห่งชาติ พ.ศ.2545-2559 มีการสนับสนุนการนาเทคโนโลยีท่ีทันสมัยไปใช้ในการพัฒนาประสทิ ธิภาพการ
เรียนการสอน โดยผู้บริหารโรงเรียนต้องมีวิสัยทัศน์กว้างไกล เห็นความสาคัญและประโยชน์ของ
เทคโนโลยี ต้องเป็นผู้มีความรู้ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีเป็นเครื่องมือในการบริหารงาน รวมท้ัง
สง่ เสรมิ และพัฒนาบุคลากรในโรงเรียน ให้เปน็ ผูม้ ีความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยีในการถ่ายทอดความรู้
จัดการเรียนการสอนอย่างเต็มท่ี มีประสทิ ธิภาพและประสิทธผิ ล

วตั ถุประสงค์ของการวจิ ัย
1) เพ่ือศึกษาสภาพสมรรถนะด้านเทคโนโลยีของผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอน โรงเรียนบ้าน

แมง่ าวใต้ อาเภองาว สานักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1
2) เพื่อพัฒนารูปแบบการพัฒนาสมรรถนะด้านเทคโนโลยีของผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอน

ภายใต้ ปัจจัยและเง่ือนไขท่ีส่งผลกระทบต่อสมรรถนะด้านเทคโนโลยีของผู้บริหารสถานศึกษาและ
ครผู ู้สอน โรงเรยี นบ้านแมง่ าวใต้ อาเภองาว สานกั งานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาลาปาง เขต 1

ขอบเขตของการวิจัย
1) ขอบเขตด้านเนื้อหา
เพ่ือตอบวัตถุประสงค์ของการวิจัย จะศึกษาเนื้อหาต่อไปน้ี 1. สภาพการพัฒนาสมรรถนะด้าน

เทคโนโลยีของผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอน 2. ปัจจัย เง่ือนไข ท่ีส่งผลต่อการพัฒนาสมรรถนะด้าน
เทคโนโลยีของผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอน 3. รูปแบบการพัฒนาสมรรถนะด้านเทคโนโลยีของ
ผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอน
2) ขอบเขตดา้ นประชากร

ประชากรท่ีใช้ในการวิจัยครั้งน้ี กาหนดตามผู้มีส่วนเก่ียวข้องกับการพัฒนาสมรรถนะด้าน
เทคโนโลยีของผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอน โรงเรียนบ้านแม่งาวใต้ อาเภองาว สานักงานเขตพ้ืนท่ี
การศกึ ษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 ไดแ้ ก่ 1) ผู้อานวยการโรงเรียน จานวน 1 คน ครูจานวน 6 คน

434

กรอบแนวคดิ การวจิ ัย

การพฒั นาสมรรถนะดา้ นเทคโนโลยีของผบู้ ริหารสถานศึกษาและครูผู้สอน
โรงเรียนบ้านแมง่ าวใต้ อาเภองาว สานักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1

สภาพการบริหาร วิเคราะห์ปัญหา ผลกระทบ รปู แบบการพัฒนาสมรรถนะ
และปจั จัย เง่ือนไข

ศกึ ษาเอกสาร กรอบเน้ือหาทใี่ ช้ วเิ คราะห์ปัจจยั เงอื่ นไข สร้างรูปแบบการพัฒนาสมรรถนะด้าน
แนวคิด ทฤษฎี สาหรบั เกบ็ ท่มี ีผลต่อการพฒั นา เทคโนโลยโี ดยการ ทา Focus Group
รวบรวมข้อมูล สมรรถนะด้านเทคโนโลยี Discussion กบั ผู้บรหิ าร และคณะครู
หลักการ ของผู้บริหารสถานศึกษา
การศึกษาเอกสาร โรงเรยี นบา้ นแม่งาวใต้
และครูผ้สู อน
ศกึ ษาเอกสาร สมั ภาษณ์แบบ รูปแบบการพฒั นาสมรรถนะด้าน
ทางวิชาการ เจาะลึกผู้มสี ว่ น วิเคราะหจ์ ุดแข็ง เทคโนโลยขี องผบู้ ริหารสถานศกึ ษาและ
และงานวจิ ัยท่ี จดุ ออ่ น โอกาสและ
เกยี่ วขอ้ ง เกี่ยวขอ้ ง อปุ สรรค (SWOT ครผู สู้ อน โรงเรียนบ้านแมง่ าวใต้
อาเภองาว สานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา
Analysis)
ประถมศึกษาลาปาง เขต 1

สภาพบริบท การพัฒนาสมรรถนะดา้ น ปัจจยั และเง่ือนไข
เทคโนโลยขี องผูบ้ รหิ ารสถานศกึ ษา

และครูผูส้ อน

วิธีดาเนนิ การวิจัย
ข้ันตอนท่ี 1 ศึกษาสมรรถนะด้านเทคโนโลยีของผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอนและศึกษา

สภาพปัญหา โดยการศึกษา ทฤษฎี หลักการ เอกสาร บริบทและการสัมภาษณ์แบบเจาะลึกผู้ท่ีมีส่วน
เกยี่ วขอ้ งโดยตรงกบั การบริหารสถานศึกษา

ขั้นตอนท่ี 2 พัฒนารปู แบบการพัฒนาสมรรถนะด้านเทคโนโลยี ภายใตป้ ัจจัยและเง่ือนไข ทส่ี ง่ ผล
กระทบต่อสมรรถนะด้านเทคโนโลยีของผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอน โดยวิเคราะห์ข้อมูลจากผลการ
วิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาสและอุปสรรค (SWOT Analysis) และดาเนินการหาแนวทางการพัฒนา
สมรรถนะด้านเทคโนโลยีของผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอน โดยวิธีการสนทนากลุ่ม (Focus Group
Discussion)

ผลการวิจัย
1) แนวคิดการบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศในด้านต่าง ๆ ท่ีนักการศึกษาส่วนใหญ่มีความเห็น

สอดคล้องกัน สามารถนามาประยุกต์ใช้กับสถานศึกษาเพ่ือนามาเป็นแนวทางการพัฒนาการบริหาร
เทคโนโลยีสารสนเทศในโรงเรียน ซ่ึงจะทาให้องค์การบรรลุเป้าหมาย โดยสามารถนามากาหนดเป็นกรอบ
แนวคดิ ในการศึกษาการบรหิ ารเทคโนโลยสี ารสนเทศของผบู้ รหิ ารโรงเรียนใน 3 ด้าน ได้แก่ 1) การวางแผน
การบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศ 2) การดาเนินงานบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศ 3) การติดตามและ
ประเมนิ ผลการบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศ การวางแผนการบริหารเทคโนโลยสี ารสนเทศ โดยการกาหนด

435

แนวทางหรือวิธีการปฏิบัติงานไว้ล่วงหน้าการกาหนดนโยบาย การจัดระบบสารสนเทศไว้ในแผน
ยุทธศาสตร์ และแผนปฏิบตั ิการประจาปีการวางแผนการดาเนินงานเกี่ยวกับระบบสารสนเทศอยา่ งชัดเจน
การดาเนินการบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศภายในโรงเรียนซ่ึงประกอบด้วยการมีจานวนบุคลากร
คอมพิวเตอร์อย่างเพียงพอ การมีบุคลากรด้านคอมพิวเตอร์ในการพัฒนาระบบสารสนเทศ การแต่งตั้ง
บุคคลผู้รับผิดชอบและกาหนดหน้าท่ีชัดเจนการจัดระบบการจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศเป็นหมวดหมู่
สะดวกต่อการค้นหาและนาไปใช้ การให้คาปรึกษาแก่บุคลากรในด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ซ่ึงปัจจัย
ดังกล่าวช่วยให้การตัดสินใจของผู้บริหารที่รับผิดชอบแต่ละหน่วยงานภายในองค์การเป็นไปอย่างราบร่ืน
รวดเร็ว กระบวนการบริหารองค์การมีความคล่องตัวมีประสิทธิภาพที่สูงข้ึน การติดตามและประเมินผล
การบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศหมายถึงการนิเทศกากับ ตดิ ตามตรวจสอบ และประเมินผลอย่างต่อเน่ือง
ความสามารถในการผลิตสารสนเทศได้ตรงตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายของการปฏิบัติงานทบทวนและ
ปรับแผนการดาเนินงานตามความจาเป็นอย่างเหมาะสมนาผลการประเมินไปปรับปรุงหรือพัฒนาการศึกษา
เพื่อให้เกิดความสาเร็จในการดาเนินงานตามยุทธศาสตร์ท่ีได้กาหนดไว้ และการพัฒนาสมรรถนะด้าน
เทคโนโลยี ต้องพัฒนาใหค้ รอบคลุมท้ัง 3 ดา้ น ไดแ้ ก่ 1) ด้านความรู้ 2) ด้านทักษะ และ 3) ด้านเจตคติ

2) ปัจจัยท่ีส่งผลต่อการพัฒนาสมรรถนะด้านความรู้ โดยภาพรวมครูผู้สอน มีความรู้เก่ียวกับการ
สืบค้นข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต การใช้โปรแกรมสาเร็จรูปต่าง ๆ ในสานักงาน การเข้าถึงเทคโนโลยีใหม่ ๆ
และพระราชบัญญัติคอมพิวเตอร์ในระดับดี ผู้บริหารสถานศึกษา ส่งเสริมสนับสนุนการพัฒนาครูผสู้ อนให้
มีการพัฒนาตนเองและการเข้าถึงเทคโนโลยีต่าง ๆ เป็นอย่างดี แต่ครูผู้สอนยังมีความรู้ค่อนข้างน้อย การ
ดูแลรกั ษาอปุ กรณ์คอมพวิ เตอร์ การใช้อุปกรณ์ต่อพ่วงเพ่ือใช้งานกับคอมพิวเตอร์ ระบบเครือข่าย และการ
จัดการกับไวรัสคอมพิวเตอร์ ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา มีความรู้เก่ียวกบั เทคโนโลยดี า้ นตา่ ง ๆ ในระดับค่อนข้าง
น้อย ท้ังครูและผู้บริหาร เห็นคุณค่าและประโยชน์การนาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในด้านการบริหารจัด
การศึกษา ยอมรับและช่ืนชอบเทคโนโลยีสารสนเทศ สนใจพัฒนาความรู้ความสามารถในด้านเทคโนโลยี
สารสนเทศ ตระหนกั ถึงการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร โดยมีจริยธรรมภายใต้พระราชบัญญัติ
คอมพิวเตอร์ท่ีถูกต้อง เข้าร่วมอบรมพัฒนาตนเองโดยหน่วยงานต้นสังกัดและหน่วยงานอื่น แต่การ
ดาเนินการดา้ นเทคโนโลยดี ้านต่าง ๆ ยังขาดความต่อเนื่อง และ ปญั หาดา้ นพนื้ ที่ซึ่งเป็นพืน้ ทหี่ า่ งไกลความ
เจริญ ตั้งอยูใ่ นถ่นิ ธรุ ะกนั ดาร

3) รูปแบบในการพัฒนาสมรรถนะด้านเทคโนโลยีต้องเสริมสร้างให้ครูผู้สอนทุกคนเกิดความ
ตระหนักในการแสวงหาความรู้เกี่ยวกับจัดการด้านเทคโนโลยี โดยครอบคลุมทุกมิติ ครบทั้งกระบวนการ
ของการจัดการทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ การดูแลรักษา การใช้อุปกรณ์ต่อพ่วง ระบบเครือข่าย
รวมถึงการจัดการกับไวรัสคอมพิวเตอร์อย่างเป็นระบบ มากกว่าการเป็นเพียงผู้ใช้งาน (User) โปรแกรม
หรืออุปกรณ์ ต่าง ๆ เพียงอย่างเดียวผู้บริหาร ต้องจัดสรรงบประมาณสนับสนุนค่าอบรม และอ่ืน ๆ เพื่อ
เป็นการส่งเสริมด้านขวัญและกาลังใจให้ครูผู้สอนได้มีโอกาสพัฒนาสมรรถนะด้านเทคโนโลยีที่ ต้อง
ประสานความร่วมมือกับหน่วยงานต่าง ในการพัฒนาระบบไฟฟ้า ระบบอินเตอร์เน็ต และเทคโนโลยี
ปลูกฝังจิตสานึกในการใช้เทคโนโลยีของผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอนให้มีความมุ่งมั่นทุ่มเทการ
ทางานเพ่ือพัฒนาสังคมและชุมชนท้องถ่ินให้บรรลุตามแนวคิด และหลักการของการใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศทางการศึกษาอย่างสร้างสรรค์

436

การอภิปรายผล
จากสภาพปัญหาในการปฏิบัติงานของครใู นโรงเรยี นขนาดเล็กได้นาการใช้เทคโนโลยีมาแก้ปัญหา

ด้านการเรียนการสอน โดยมีการใช้สื่อการสอนอิเล็กทรอนิกส์ในการเรียนการสอน เช่น แทปเลตเพื่อ
การศกึ ษา โทรทศั น์ทางไกลผ่านดาวเทียม คอมพวิ เตอร์และอินเตอร์เนต็ เพ่อื แก้ปัญหาครูไม่ครบช้ัน ครูไม่
อยูส่ อน แตก่ ารใชง้ านเทคโนโลยีเหล่าน้ี ครยู งั ขาดความรู้ความเข้าใจ ทักษะความสามารถ ทัศนคติ เจตคติ
ท่ีดี ขาดประสบการณ์ในการใช้เทคโนโลยีทางการศึกษา ครูใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือพัฒนาทักษะด้าน
การเรียนการสอนค่อนข้างน้อยน้อย จาเป็นต้องได้รับการพัฒนาสมรรถนะในด้านการใช้เทคโนโลยีในการ
จัดการเรียนการสอนให้แกผ่ ู้เรียน และผบู้ ริหาร ก็จาเปน็ ต้องมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เพอื่ ใช้ใน
การนิเทศ กากับ ติดตามและคอยให้ความช่วยเหลือ สนับสนุน การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนของ
ครผู สู้ อนใหป้ ระสบผลสาเรจ็ ต่อไป

โรงเรียนบ้านแม่งาวใต้ ได้มีรูปแบบการพัฒนาสมรรถะด้านเทคโนโลยี คือ การประชุมวางแผน
ร่วมกันระหว่างฝ่ายบริหารและครูผู้เกี่ยวข้องเพ่ือสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับงานเทคโนโลยีสารสนเทศให้
เป็นไปในทิศทางเดียวกันและกาหนดแผนพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศของโรงเรียนให้สอดคล้องกับ
พันธกิจของโรงเรียนมีการจัดหาบุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน มาปฏิบัติงานด้านเทคโนโลยี
สารสนเทศโดยตรงมอบหมายงานให้ตรงกับความรู้ความสามารถของครูและมีบุคลากรในการปฏิบัติงาน
เพียงพอจัดสรรงบประมาณเพ่ือสนับสนุนให้ครูในโรงเรียนได้พัฒนาความรู้ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือ
พฒั นาตนเองและควรมีการจัดทาข้อมูลเครือข่ายและข้อมูลสารสนเทศใหเ้ ปน็ ปจั จบุ ันอยู่ในสภาพพร้อมใช้
งานเสมอ ผู้บริหารสถานศึกษา เกิดความตระหนักในการพัฒนาขีดความสามารถเกี่ยวกับจัดการด้าน
เทคโนโลยีของตนเอง โดยครอบคลุมทุกมิติ ครบทั้งกระบวนการของการจัดการทางด้านเทคโนโลยี
สารสนเทศ เพื่อการส่งเสริมสนับสนุนครูผู้สอนได้อย่างเป็นระบบ ต้องปรับเปล่ียนระบบการทาแผน
ยทุ ธศาสตร์ แผนปฏบิ ัติการต่าง ๆ ของโรงเรียน โดยการยดึ แนวคิด หลกั การ ของการพัฒนาความสามารถ
ด้านเทคโนโลยี และบูรณาการการทางานฝ่ายต่าง ๆ ของโรงเรียนโดยใช้เทคโนโลยีในการบริหารจัดการ
สถานศึกษา สารวจความต้องการในการพัฒนาตนเองด้านไอซีทีของครูในโรงเรียน และจัดโครงการอบรม
ให้สอดคล้องตามความต้องการ จัดหาวิทยากรและผู้ช่วยวิทยากรท่ีมีความรู้ความสามารถด้าน ไอซีทีมา
อบรมให้ความรู้แก่ครูในโรงเรียนประสานความร่วมมือกับหน่วยงานต่าง ๆ ในชุมชนและท้องถิ่น ในการ
พัฒนาระบบไฟฟ้า ระบบอินเตอร์เน็ต และเทคโนโลยีด้านการส่ือสารต่าง ๆ ให้มีประสิทธิภาพ ครอบคลุม
พ้ืนที่อย่างทั่วถึง ปลูกฝังจิตสานึกในการใช้เทคโนโลยีของผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอนให้มีความ
มุ่งม่ันทุ่มเทการทางานเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชนท้องถ่ินให้บรรลุตามแนวคิด และหลักการของการใช้
เทคโนโลยสี ารสนเทศทางการศึกษาอยา่ งสร้างสรรค์

ข้อเสนอแนะ
1) ผู้บริหารโรงเรียนบ้านแม่งาวใต้ รวมถึงโรงเรียนท่ีมีบริบทคล้ายกัน ควรพิจารณาผลการวิจัยน้ี

อย่างพินิจพิเคราะห์และนาไปสู่การกาหนดนโยบายและขอบข่ายงานให้ชัดเจนในการส่งเสริม สนับสนุน
การนาเอาแนวทางการพัฒนาสมรรถนะด้านเทคโนโลยีของผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอน มาเป็น
ยุทธศาสตร์ในการบริหารสถานศึกษา โดยบูรณาการเข้ากับภาระงานปกติ ปรับกระบวนการทางานท้ัง
ระบบและเนน้ การทางานเปน็ ทีม

437

2) ผู้บริหารโรงเรียนบ้านแม่งาวใต้ รวมถึงโรงเรียนท่ีมีบริบทคล้ายกัน ควรพิจารณาผลการวิจัยน้ี
อย่างพินิจพิเคราะห์และนาไปสู่การส่งเสริม สนับสนุน สร้างแรงจูงใจ และเอื้ออานวยให้ครูและบุคลากร
ทางการศึกษาของโรงเรียนได้เข้ารับการอบรมเพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจในเร่ืองการพัฒนาสมรรถนะ
ด้านเทคโนโลยีครบทุกคน

3) ครูและบุคลากรทางการศึกษาของโรงเรียนบ้านแม่งาวใต้ทุกคน รวมถึงโรงเรียนที่มีบริบท
คล้ายกัน ควรพิจารณาผลการวิจัยน้ีอย่างพินิจพิเคราะห์ นาไปสู่การตระหนัก เห็นความสาคัญของการ
พัฒนาสมรรถนะด้านเทคโนโลยี ให้เป็นไปตามหลักการและแนวทางการพัฒนาสมรรถนะด้านเทคโนโลยี
ของผู้บริหารสถานศึกษาและครูผ้สู อนอยา่ งจริงจังและต่อเนื่อง

แหลง่ อ้างองิ
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยแี ละส่งิ แวดล้อม. (2545). กรอบนโยบายเทคโนโลยี ระยะ พ.ศ.

2554-2553 ของประเทศไทย. กรุงเทพฯ : ธนาเพรส แอนด์ กราฟฟิก.
ประณธิ าน แทน่ ประยุทธ. (2551). สภาพและปัญหาการใช้เทคโนโลยีคอมพวิ เตอร์ ในการศกึ ษาของ

โรงเรยี นสงั กดั สานักงานเขตลาดพร้าว สานักการศึกษา กรุงเทพมหานคร. กรุงเทพฯ :
มหาวิทยาลยั รามคาแหง.
โรงเรยี นบ้านแมง่ าวใต.้ (2554). รายงานประจาปีของสถานศึกษา ปีการศึกษา 2555. ลาปาง : โรงเรยี น
บา้ นแม่งาวใต.้ เอกสารอัดสาเนา.
วัชราพร ริกากรณ.์ (2555). การศึกษาการบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศของผู้บรหิ ารโรงเรยี นมธั ยมศึกษา
สหวิทยาเขตเสรีไทย สงั กัดสานกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษามธั ยมศึกษา เขต 2. สารนพิ นธ์ปริญญา
การศึกษามหาบัณฑิต, สาขาวิชาการบริหารการศึกษา, มหาวทิ ยาลยั ศรีนครินทรวโิ รฒ.
ศราวุธ แจง้ สุข และ สทุ ิศา ซองเหล็กนอก. (2560). แนวทางการพฒั นาทักษะการใช้ไอซีทีของครูกลมุ่
โรงเรียนดี ประจาตาบล สังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 23.
วารสารวิชาการแพรวากาฬสินธุ์ มหาวิทยาลัยกาฬสนิ ธ์, 4(1), 74-86.

438

การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนร้ผู ่านกิจกรรม (Active learning)โดยใช้แหลง่ เรียนรู้
และสง่ิ แวดลอ้ มเปน็ ฐาน เพื่อส่งเสรมิ ทักษะการเรียนร้ใู นศตวรรษท่2ี 1 ของนักศกึ ษา ชันปี

ท3่ี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยมหามกฏุ ราชวิทยาลยั วิทยาเขตล้านนา

DEVELOPMENT OF LEARNING MANAGEMENT MODEL THROUGH ACTIVITY (ACTIVE
LEARNING).LEARNING RESOURCES AND ENVIRONMENT ARE THE BASIS. TO PROMOTE
LEARNING SKILLS.IN THE 21ST CENTURY, THE 3RD YEARS TUDENTS OF THE FACULTY

OF EDUCATIONMAHAMAKUT BUDDHISTUNIVERSITY LANNA CAMPUS

ชาลี ภักดี, ศ.พศนิ แตงจวง, ฉัตรชยั ศิรกิ ุลพันธ์, ผศ.พระครูวทิ ติ ศาสนา, พระมหาสกุล มหาวีโร
มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลยั วทิ ยาเขตลา้ นนา

บทคัดย่อ
การวิจัยเรื่อง การพัฒนารูปแบบและการทดลองรูปแบบการจัดการเรียนรู้ผ่านกิจกรรม (Active

learning) โดยใช้แหล่งเรียนรู้และ ส่ิงแวดล้อมเป็นฐาน เพ่ือส่งเสริมทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี21ของ
นักศึกษา ชั้นปีท่ี 3 คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตล้านนา มี
วัตถุประสงค์ เพ่ือสร้างรูปแบบและการทดลองรูปแบบการจัดการเรียนรู้ผ่านกิจกรรม (Active learning)
โดยใช้แหล่งเรียนรู้และ สิ่งแวดล้อมเป็นฐาน เพ่ือส่งเสริมทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 ของนักศึกษา
ชั้นปีท่ี 3 คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตล้านนา เพื่อทดลองใช้รูปแบบ
การจัดการเรียนรู้ผ่านกิจกรรม (Active learning) โดยใช้แหล่งเรียนรู้ และสิ่งแวดล้อมเป็นฐาน เพื่อ
ส่งเสริมทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 ของนักศึกษา ช้ันปีที่ 3 คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาม
กุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตล้านนาโดยมีเคร่ืองมือได้แก่ การสนทนากลุ่ม แบบประเมินกระบวนการเรียนรู้
และ แบบประเมนิ ความพึงพอใจ ผลการการวิจยั พบว่า

1. สรุปการวิเคราะห์ รูปแบบการจัดการเรียนรู้ผ่านกิจกรรม (Active learning) โดยใช้แหล่ง
เรียนรู้และ สิ่งแวดล้อมเป็นฐาน เพื่อส่งเสริมทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ตามองค์ประกอบ จานวน
7 ข้อ ประกอบด้วย 1) กาหนดผลการเรียนรู้ 2) กาหนดสาระการเรียนรู้ 3) ออกแบบการเรียนรู้จากหัว
เรื่องที่จะเรียนรู้ 4) การสร้างองค์ความรู้ร่วมกันจากแหล่งเรียนรู้และส่ิงแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้ 5) การ
นาเสนอความรู้จากการหลอมรวมแนวคิดท่ีได้จากการอภิปรายกลุ่ม 6) การประเมินผลการเรียนรู้ 7) การ
สรุปผลการเรียนรู้เป็นแผนท่ีความคิด และคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ของผู้เรียน ให้เกิดพัฒนาการตาม
มาตรฐานคุณภาพทักษะในศตวรรษที่ 21 จานวน 6 ด้าน ประกอบด้วย 1) ทักษะเรียนรู้วิชาหลัก (core
subjects) 2) ทักษะการเรียนรู้ (learning skills 3) ทักษะการใช้ภาษาเพื่อการสื่อสาร (Communication
Skill) 4) ทกั ษะชวี ิต (life skills) 5) ทักษะการคดิ และสรา้ งนวตั กรรม (Thinking andinnovation skills)
6) ทกั ษะสารสนเทศสื่อและเทคโนโลยี

2. ผลการวิเคราะห์ การดาเนินงานและประเมินผลการดาเนินงานกิจกรรมการเรียนการสอน มี
การจัดการเรียนการสอนเพื่อให้สอดคล้องกับการเรียนรู้ให้เกิดทักษะในศตวรรษท่ี 21 โดยเปน็ การส่งเสริม
ให้ผู้เรียนมีทักษะการเรียนรู้ ในการแสวงหาความรู้ สรุปองค์ความรู้ ด้วยตนเอง มีกระบวนการคิด
วิเคราะห์ คิดสังเคราะห์อย่างเป็นระบบขั้นตอน มีทักษะชีวิตทักษะการทางานเป็นทีมเพ่ือสร้างภาวะผู้นา
ผู้ตามท่ีดี มีทักษะในการใช้ภาษาเพื่อการสื่อสาร โดยกาหนดกิจกรรมการเรียนการสอนเป็น 7 ขั้นตอน
และมกี ารประเมินกระบวนการจัดการเรยี นการสอน โดยอาจารย์ และผู้เรียน จานวน 30 คน และประเมิน
ความพึงพอใจของผู้เรียนสรุปผลการประเมินกระบวนการเฉลี่ยร้อยละ 86 ผ่าน ชุมชนมีความพึงพอใจใน

439

การดาเนินงานตามความต้องการค่าเฉล่ียรวมอยู่ในระดับมาก เท่ากับ 4.05 นักศึกษามีความพึงพอใจต่อ
การเรียนการสอนโดยใช้รูปแบบการสอนแบบมีส่วนร่วมของนักศึกษาชั้นปีท่ี 3 สาขาวิชาการสอน
ภาษาอังกฤษ โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากท่สี ุด (X = 4.71, S.D. = 0.14)

คาสาคัญ : การพฒั นารปู แบบ, การจดั การเรียนรู้ผา่ นกจิ กรรม, แหลง่ เรียนรู้และสิง่ แวดล้อม,
ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21

ABSTRACT
Research Model Development and Experimental Learning through Active Learning

(Active learning and learning resources. Environmentally-friendly To Enhance 21st Century
Learning Skills of 3rd Year Students Faculty of Education Mahamakut Buddhist University
Lanna Campus purpose to create patterns and experiential learning patterns through activities
(Active learning and learning resources. Environmentally-friendly To Enhance 21st Century
Learning Skills of 3rd Year Students Faculty of Education Mahamakut Buddhist University
Lanna Campus to experiment with learning styles through activities (Active learning by using
learning resources and the environment as a base. To enhance 21st Century Learning Skills
of 3rd Year Students Faculty of Education Mahamakut Buddhist University Lanna Campus
There are tools. Group discussion Learning Process Assessment and Satisfaction Assessment
Form Research results show that

1. Summary Analysis Active Learning Management ( Active) learning and learning
resources. Environmentally-friendly To Enhance 21st Century Learning Skills the 7 elements
consist of 1) determine the learning outcomes. 2) Define learning. 3) Design learning from the
subject to learn. 4) Creating knowledge sharing from learning resources and learning
environment. 5) Presenting knowledge by fusing ideas derived from group discussions. 6)
Assessment of learning 7) Conclusion of learning as a mind map. And the desirable
characteristics of the learner. 2) Learning skills 3) language skills for communication
(communication skills) 4) Life skills. 5) Thinking and innovation skills. 6) Information and media
skills.

2. Analysis results Implementation and evaluation of teaching activities. The teaching
and learning process is in line with the 21st century skills. Provide students with learning skills.
In the pursuit of knowledge. Self-cognitive analysis has analytical process. Synthetic thinking
is systematic. Life skills, teamwork skills, leadership skills, good followers, language skills for
communication. The teaching and learning process is evaluated by 7 steps and evaluated by
30 teachers and learners and evaluated by the students. The students were satisfied with the
instructional process using the standard teaching method. Loop In the evolution of Thai
language Of 1st year students majoring in Thai language teaching The overall score was at the
highest level (= 4.71, S.D. = 0.14).

Keywords : The Development Model, Active learning, Learning resources and
environment, learning skills.in the 21st century

440

บทนา
การเรยี นรู้ในสมัยโบราณ ก่อนมีระบบโรงเรียนการจัดการเรียนรู้ก็เป็นรูปแบบที่ผู้เรียนเป็นสาคัญ

มากอ่ น ซง่ึ ใครสนใจอยากเรียนอะไรก็เรียนวิชาน้ันเช่นผู้ชายเรียนวิชาการต่อสู้ในสาขาต่างๆ ผู้หญิงก็เรียน
วิชาการบ้านการเรือน ดังนั้นหลักสูตรการเรียนการสอนระดับอุดมศึกษา จึงควรตระหนักถึงความสาคัญ
ของการจัดประสบการณ์ การเรียนรู้ วิธีการเรียน และการแสวงหาความรู้มากกว่าเรียนจากเนื้อหา
สาเร็จรูป และการเรียนการสอนยุคใหม่ต้องเป็นการเรียนรู้แบบแสวงหาความรู้ ให้ผู้เรียนได้ลงมือค้นคว้า
และทางานด้วยตนเอง อาจารย์เป็นผู้กระตุ้นเร่งเร้าให้ผู้เรียนได้เกิดการเรียนรู้และได้ใช้ศักยภาพแห่ง
ตนเองอย่างสูงสุด

พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับท่ี3) พ.ศ. 2553 ในหมวดที่ 4
แนวการจัดการศึกษา มาตราท่ี 22 กล่าวว่า “การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่าผู้เรียนมีความสาคัญที่สุด”
ในมาตรา 24 ขอ้ 5 ไดร้ ะบุว่า “ให้สถานศึกษาและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องสง่ เสรมิ สนับสนุนให้ผสู้ อนสามารถ
จัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อม ส่ือการเรียน และอานวยความสะดวกเพ่ือให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้และมี
ความรอบรู้ รวมท้ังสามารถ ใช้การวิจัยเป็นส่วนหน่ึงของกระบวนการเรียนรู้ ” นอกจากน้ีตาม
มาตรา 25 ระบุว่ารัฐต้องส่งเสริมการดาเนินงานและการจัดตั้งแหล่งการเรียนรู้ตลอดชีวิตทุกรูปแบบ
ได้แก่ ห้องสมุดประชาชน พิพิธภัณฑ์ หอศิลป์ สวนสัตว์ สวนสาธารณะ สวนพฤกษศาสตร์ อุทยาน
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ศูนย์การกีฬาและนันทนาการ แหล่งข้อมูล และแหล่งการเรียนรู้อ่ืนอย่าง
พอเพียงและมีประสิทธิภาพ

เทอ้ื น ทองแกว้ (2546 : 46) กลา่ วไว้วา่ กระบวนการเรยี นรู้ผ่านกิจกรรม (Active Learning) เป็น
การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ โดยเป็นไปตามนโยบายปฏิรูปการศึกษา ตาม พ.ร.บ. การศึกษา
แหง่ ชาติ พ.ศ. 2542 ฉบับปรับปรงุ แก้ไข พ.ศ. 2545 ทเี่ น้นการจดั การเรียนร้โู ดยยึดผู้เรยี นเป็นสาคัญ โดย
หลักการแล้วทั้ง การเรียนรู้ผ่านกิจกรรม (Active Learning) และการจัดการเรียนรู้โดยยึดผู้เรียนเป็น
สาคญั (Child Center) ต่างก็มพี ืน้ ฐานมาจากทฤษฎี Constructivism ทเี่ น้นความสาคัญของการเรียนรู้ว่า
เกดิ ขนึ้ ภายในตวั ผู้เรียน โดยการรบั รู้ความรใู้ หมจ่ ากแหล่งเรยี นรู้และสิ่งแวดล้อมต่าง ๆ เช่น จากครู เพื่อน
และแหล่งเรียนรู้รอบตัว โดยผู้เรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนรู้น้ัน ๆ ด้วยตัวผู้เรียนเองแล้ว
ผสมผสานกบั ความรู้เดิมท่ีมีอยู่ เกิดการสร้างมโนทัศน์ในองค์ความรู้นน้ั ๆ ขน้ึ

จากการสังเกตในการจัดการเรียนการสอนของผู้วจิ ัยในฐานะผสู้ อนนักศึกษาระดับปริญญาตรี ชั้น
ปีที่ 3 สาขาวิชาการสอนภาษาไทย คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขต
ล้านนา ได้วิเคราะห์สภาพการเรียนการสอนแล้ว พบว่าในปีการศึกษา ที่ผ่านมานักศึกษาส่วนใหญ่ มี
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนอยู่ระดับปานกลาง มีเกรดเฉล่ีย B และB + ร้อยละ 60 อาจมีสาเหตุมาจาก
นักศึกษายังขาดทักษะการเรียนรู้ในการคิดวิเคราะห์, การสืบหาข้อเท็จจริง การสืบหาข้อค้นพบใหม่ ขาด
ประสิทธิภาพในการสืบค้นความรู้ สรุปประเด็นองค์ความรู้ได้ด้วยตัวเองและ นักศึกษายังขาดทักษะ
ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบในงานท่ีได้รับมอบหมาย ขาดความมีน้าใจ ขาดความมี
วินัย ขาดทักษะการทางานร่วมกันเป็นทีม และส่งผลให้มีผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาต่า อีกทั้งนักศึกษา
คุ้นเคยกับการเรียนรู้แบบรับการป้อนความรู้จากอาจารย์ผู้สอน ( Passive Learning) ไม่คุ้นเคยกับการ
เรียนการสอนผ่านกิจกรรม (Active Learning) ท่ีต้องการให้ผู้เรียนมีทักษะการเรียนรู้ เป็นผู้ลงมือกระทา
สืบคน้ ความรูเ้ พือ่ ให้เกดิ องค์ความรู้ไดด้ ว้ ยตนเอง ท้งั นี้อาจมสี าเหตุจากขาดการสรา้ งแรงจูงใจของนักศึกษา
ทาให้นกั ศกึ ษาขาดความอดทน และขาดความกระตือรือรน้ ขาดความมงุ่ ม่นั ใฝร่ ู้ ใฝ่เรียน

441

ผูว้ จิ ยั จงึ นารปู แบบและการทดลองรูปแบบการจดั การเรยี นร้ผู า่ นกจิ กรรม (Active learning)
โดยใช้แหล่งเรียนรู้และ ส่ิงแวดล้อมเป็นฐาน เพ่ือส่งเสริมทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี21 ของนักศึกษา
ช้ันปีท่ี3 คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตล้านนามาใช้ในห้องเรียน สร้าง
วิธีการเรียนการสอนให้มีความน่าสนใจ กระตุ้นให้นักศึกษาเกิดความสนใจในการเรียน เกิดความ
กระตือรือร้น มีความมุ่งม่ัน ใฝ่รู้ ใฝ่เรียนมากข้ึน อันส่งผลให้ผู้เรียนมีจิตพิสัยที่ดี และนาไปสู่ ผลสัมฤทธิ์
ทางการเรยี นสงู ข้นึ กว่าเดิม ซ่งึ จะเปน็ แนวทางในการพฒั นาการเรยี นการสอนให้มี ประสทิ ธภิ าพตอ่ ไป

วตั ถุประสงคข์ องการวจิ ัย
1.เพื่อสร้างรูปแบบรูปแบบการจัดการเรียนรู้ผ่านกิจกรรม (Active learning) โดยใช้แหล่งเรียนรู้

และ สิ่งแวดลอ้ มเป็นฐาน เพอื่ สง่ เสรมิ ทกั ษะการเรียนรู้ในศตวรรษท่2ี 1
2.เพ่ือทดลองใช้รปู แบบการจดั การเรียนรูผ้ ่านกจิ กรรม (Active learning) โดยใช้แหล่งเรยี นรู้และ

สง่ิ แวดลอ้ มเป็นฐาน เพือ่ ส่งเสริมทกั ษะการเรยี นรู้ในศตวรรษที่ 21

วธิ ีดาเนินการวจิ ัย
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ประชากรท่ีใช้ในการศึกษา ได้แก่ นักศึกษาระดับปริญญาตรี ชั้นปีท่ี 3 สาขาวิชาการวิชาการ

สอนภาษาอังกฤษ มหาวทิ ยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วทิ ยาเขตล้านนา ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2560
จานวน 56 คน

กลุ่มตัวอย่างท่ีใช้ในการศึกษาคร้ังนี้ คือ นักศึกษาระดับปริญญาตรี ชั้นปีท่ี 3 สาขาวิชาการ
วิชาการสอนภาษาอังกฤษ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตล้านนา ภาคเรียนที่ 1 ปี
การศึกษา 2560 จานวน 1 ห้องเรียน คือ ห้องที่ 2 (กลุ่มที่6) รวมท้ังสิ้น 25 คน ประกอบด้วย ชาย 7 คน
หญงิ 16 คนโดยการส่มุ อย่างเจาะจง (Purposive Sampling) อย่างง่าย

วิธีดาเนินการวิจัยเป็นรูปแบบการวิจัยเชิงผสมผสาน ( Mixed Methodology Design ) ซึ่ง
ประกอบไปด้วย การวิจยั เชิงคุณภาพ (Qualitative Research) การวจิ ยั เชิงปฏบิ ัติการในชั้นเรียน (Action
Classroom Research) และการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) ผู้วิจัยดาเนินการวิจัย 2
ข้นั ตอนดังน้ี

ขันตอนท่ี 1 เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ(Qualitative Research) โดยวิธีการสนทนากลุ่ม( Focus
Group Research ) เพื่อการกาหนดรูปแบบ โดยกลุ่มผู้เชี่ยวชาญท่ีรับผิดชอบและเข้าใจดีในด้านการ
จัดการเรียนรู้ผ่านกิจกรรม(Active learning)โดยใช้แหล่งเรียนรู้และสิ่งแวดล้อมเป็นฐาน เพ่ือส่งเสริม
ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี21 จากการคัดเลือก แบบเจาะจง(Purposive sampling) จานวน 3 กลุ่ม
กลุ่มละ 2 คน ได้แก่ กลมุ่ ผเู้ ชี่ยวชาญ กลุ่มผูบ้ ริหารการศึกษาและกลุ่มอาจารยผ์ ู้สอน

เคร่อื งมือที่ใชใ้ นการสนทนากลุ่ม คอื 1) กลมุ่ ผู้ดาเนินการจัดสนทนากลุ่ม 2) แนวทางการ
สนทนากล่มุ

การเก็บรวบรวมข้อมูล คือ 1) แหล่งข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary source) การรวบรวมข้อมูล
จากแหล่งทุติยภูมิของการวิจัยนี้ใช้วิธีการศึกษาเอกสาร(Documents) เพ่ือวิเคราะห์หาความสัมพันธ์
ระหว่างปัญหาการวิจัยและแนวคิดรวมทั้งทฤษฎีตลอดจนงานวิจัยที่เก่ียวข้องซ่ึงเป็นองค์ความรู้ท่ีนามา
กาหนดกรอบแนวคิดและกรอบในการวิเคราะหเ์ กี่ยวกับบริบทการจัดการเรียนการสอนโดยใช้กจิ กรรมเป็น

442

ฐาน รวมท้ังแนวคิดทฤษฎีและงานวิจัยที่เก่ียวข้อง 2) แหล่งข้อมูลปฐมภูมิ (Primary source)
ประกอบด้วยข้อมูลด้านบริบทการจัดการเรียนการสอนของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขต
ล้านนา ผูบ้ รหิ าร ครูผสู้ อน 3) การเตรยี มตัวทางานภาคสนาม 4) การดาเนนิ การสนทนากลุ่ม

การวิเคราะห์ข้อมูล คือ 1) การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น ทันทีที่การสนทนาสิ้นสุดลง โดยสรุปจาก
ความคิดเห็นของผู้ดาเนินการสนทนา 2) การเตรียมข้อมูลเพ่ือวิเคราะห์อย่างละเอียดโดยวิธีการถอด
รายละเอียดจากเทปบันทึกการสนทนากลุ่ม กับบันทึกการสนทนาท่ผี ู้จดบันทึกไดจ้ ดไว้ 3) วธิ ีการวเิ คราะห์
เปน็ การวิเคราะหเ์ นื้อหา (Content Analysis) ของการสนทนากลมุ่

ขันตอนที่ 2 การวจิ ัยทดลองเชงิ ปฏบิ ัติการในชันเรียน (Action Classroom Research)

และ การวจิ ัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research)โดยการนาข้อมลู รูปแบบท่ีไดจ้ ากข้ันตอนที่ 1 มา

ทาการทดลองใช้จดั การเรียนการสอน และปรับปรุงพฒั นา
เคร่ืองมอื ที่ใชใ้ นการวจิ ยั

เครอื่ งมือทีใ่ ชใ้ นการวจิ ัยและรวบรวมข้อมูลคร้ังน้ีได้แก่
1. มคอ.3
2. แบบประเมินกระบวนการใชร้ ปู แบบ
3. แบบประเมนิ ความพึงพอใจ
ขันตอนการสร้างและทดลองเคร่ืองมือ มีลาดับข้ันตอนในการสร้างแบบทดสอบดังน้ี 1)
วิเคราะหห์ ลักสูตร เพอ่ื กาหนดจุดประสงค์การเรียนรู้ จัดทา มคอ.3 2) สรา้ ง แบบประเมินกระบวนการใช้
รูปแบบ จานวน 7 ข้อ แล้วนาแบบประเมินท่ีสร้างขึ้นมาตรวจสอบหาความเที่ยงตรง โดยผู้เชี่ยวชาญ
จานวน 3 ทา่ น พิจารณา คา่ ดัชนคี วามสอดคล้อง (IOC) ต้งั แต่ 0.50 ขนึ้ ไป พบวา่ มีคา่ IOC เท่ากบั 1.00
3) นาแบบประเมนิ กระบวนการใช้รูปแบบ ไปทดลองใชก้ บั นกั ศกึ ษาระดบั ปริญญาตรี ชน้ั ปที ี่ 3 สาขาวิชา
การสอนภาษาอังกฤษ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตล้านนาภาคเรียน

443

ท่ี 1 ปีการศึกษา 2560 4)จัดทาแบบประเมินกระบวนการใช้รูปแบบ ฉบับสมบูรณ์ เพ่ือนาไปใช้กับกลุ่ม
กลมุ่ ตวั อย่างต่อไป

ขนั ตอนการสรา้ งแบบประเมินความพึงพอใจ 1) ศึกษาเอกสารเก่ยี วกับการสร้างแบบประเมิน
ความพึงพอใจต่อสื่อการเรยี นการสอน และวธิ ีการสร้างแบบสอบถาม ของ บุญชม ศรีสะอาด (2546:119-
120) 2) สร้างแบบประเมินความพงึ พอใจตามนยิ ามทก่ี าหนด เปน็ แบบประเมนิ แบบมาตราส่วนประเมินค่า
(Rating Scale) 5 ระดับ จานวน 10 ข้อ 3) นาแบบประเมินไปให้ผู้เช่ียวชาญจานวน 3 ท่าน เพื่อตรวจ
ความสอดคล้องของแบบประเมิน และให้ข้อเสนอแนะ 4) ปรับปรุงแก้ไขแบบประเมินความพึงพอใจตาม
คาแนะนาของผ้เู ช่ียวชาญ แลว้ นาไปทดลองใช้กับนักศึกษาระดับปริญญาตรี ชนั้ ปีท่ี 3 สาขาวชิ าการสอน
ภาษาอังกฤษ จานวน 30 คน ซ่ึงไม่เป็นกลุ่มเดียวกับกลุ่มที่ใช้ทดลอง ท้ังนี้เพราะเป็นกลุ่มที่เคยเรียนด้วย
การใช้ การพฒั นารูปแบบและการทดลองรูปแบบการจัดการเรยี นรูผ้ ่านกิจกรรม (Active learning) โดยใช้
แหลง่ เรียนรูแ้ ละ สงิ่ แวดลอ้ มเปน็ ฐาน เพอื่ สง่ เสริมทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 มาแล้ว และเพือ่ หาค่า
ความเช่อื ม่ัน (Reliability) ของแบบสอบถามความพึงพอใจด้วยค่าสัมประสิทธอ์ิ ัลฟา (Alpha-Coefficient)
ของ Cronbach พบวา่ มีค่าความเช่อื มั่นของแบบประเมนิ ความพึงพอใจทง้ั ฉบับเป็น 0.88 5) จดั ทาแบบ
ประเมนิ ความพึงพอใจฉบับสมบูรณ์ เพ่อื นาไปใช้กบั กลุ่มตัวอย่าง ตอ่ ไป

การเกบ็ รวบรวมข้อมูล การวเิ คราะห์ข้อมลู คอื 1) ดาเนนิ การสอนโดยการใช้ การพฒั นา
รูปแบบ การจัดการเรียนรูผ้ ่านกิจกรรม (Active learning) โดยใช้แหล่งเรียนรู้และ สิง่ แวดล้อมเป็นฐาน
เพื่อสง่ เสรมิ ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 2) หลังจากดาเนนิ การสอนผสู้ อนทาการประเมิน
กระบวนการการเรียนการสอนการพฒั นารูปแบบ การจัดการเรียนรู้ผา่ นกิจกรรม(Active learning)โดยใช้
แหลง่ เรียนรู้และ สิง่ แวดล้อมเปน็ ฐาน เพ่ือส่งเสริมทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษท2่ี 1 3) นาผลการประเมิน
ท่ีได้มาทาการวิเคราะห์ตามวธิ กี ารทางสถิตติ ่อไป

การวเิ คราะห์ข้อมูล คอื 1) วิเคราะห์ค่าเฉลย่ี และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 2)เปรยี บเทียบค่าเฉลี่ย

สรปุ ผลการวจิ ัย
1. ผลการวิเคราะห์การสร้างรูปแบบสรุปจากการวิเคราะห์ผลการสนทนากลุ่มการสร้างรูปแบบ

การจัดการเรียนรู้ผ่านกิจกรรม (Active learning) โดยใช้แหล่งเรียนรู้และ สิ่งแวดล้อมเป็นฐาน เพื่อ
ส่งเสรมิ ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ตามองคป์ ระกอบ จานวน 7 ขอ้ ประกอบด้วย1) กาหนดผลการ
เรียนรู้ 2) กาหนดสาระการเรียนรู้ 3) ออกแบบการเรียนรู้จากหัวเรื่องที่จะเรียนรู้ 4) การสร้างองค์ความรู้
ร่วมกันจากแหล่งเรียนรู้และส่ิงแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้ 5) การนาเสนอความรู้จากการหลอมรวมแนวคิดท่ี
ได้จากการอภิปรายกลุ่ม 6) การประเมินผลการเรียนรู้ 7) การสรุปผลการเรียนรู้เป็นแผนท่ีความคิด และ
คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน ให้เกิดพัฒนาการตามมาตรฐานคุณภาพทักษะในศตวรรษท่ี 21
จานวน 6 ด้าน ประกอบด้วย 1) ทักษะเรียนรู้วิชาหลัก (core subjects) 2) ทักษะการเรียนรู้ (learning
skills 3) ทักษะการใช้ภาษาเพ่ือการส่ือสาร ( Communication Skill) 4) ทักษะชีวิต (life skills) 5)
ทักษะการคิด และสร้างนวัตกรรม (Thinking and innovation skills) 6) ทักษะสารสนเทศสื่อและ
เทคโนโลยี มาสังเคราะห์ เป็น รูปแบบการจัดการเรียนรู้ผ่านกิจกรรม (Active learning) โดยใช้แหล่ง
เรียนร้แู ละ สิ่งแวดล้อมเปน็ ฐาน เพอื่ สง่ เสรมิ ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21

2. ผลการวิเคราะห์การทดลองใช้รูปแบบ จากการดาเนินงานและประเมินผลการดาเนินงาน
กิจกรรมการเรียนการสอน มีการจัดการเรียนการสอนเพื่อให้สอดคล้องกับการเรียนรู้ให้เกิดทักษะใน

444

ศตวรรษที่ 21 โดยเป็นการส่งเสริม ให้ผู้เรียนมีทักษะการเรียนรู้ ในการแสวงหาความรู้ สรุปองค์ความรู้
ด้วยตนเอง มีกระบวนการคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์อย่างเป็นระบบข้ันตอน มีทักษะชีวิตทักษะการ
ทางานเป็นทีมเพื่อสร้างภาวะผู้นา ผู้ตามที่ดี มีทักษะในการใช้ภาษาเพื่อการสื่อสาร โดยกาหนดกิจกรรม
การเรียนการสอนเป็น 7 ข้ันตอน และมีการประเมินกระบวนการจัดการเรียนการสอน โดยอาจารย์ และ
ผู้เรยี น จานวน 30 คน และประเมินความพึงพอใจของผเู้ รียนสรุปผลการประเมินกระบวนการเฉล่ียร้อยละ
86 ผ่าน ผูเ้ รยี นมีความพงึ พอใจ คา่ เฉล่ยี รวมอยูใ่ นระดับมาก เท่ากับ 4.05

อภปิ รายผลการวจิ ัย
การดาเนินงานและประเมินผลการดาเนินงานกิจกรรมการเรียนการสอน มีการจัดการเรียนการ

สอนเพ่ือให้สอดคล้องกับการเรียนรู้ให้เกิดทักษะในศตวรรษที่ 21 โดยเป็นการส่งเสริม ให้ผู้เรียนมีทักษะ
การเรียนรู้ ในการแสวงหาความรู้ สรุปองค์ความรู้ ด้วยตนเอง มีกระบวนการคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์
อย่างเป็นระบบข้ันตอน มีทักษะชีวิตทักษะการทางานเป็นทีมเพ่ือสร้างภาวะผู้นา ผู้ตามท่ีดี มีทักษะใน
การใช้ภาษาเพื่อการส่ือสาร โดยกาหนดกิจกรรมการเรียนการสอนเป็น 7 ข้ันตอน และมีการประเมิน
กระบวนการจัดการเรียนการสอน และประเมินความพึงพอใจของผู้เรียนสรุปผลการประเมินกระบวนการ
เฉลี่ยร้อยละ 86 มีความพึงพอใจในการดาเนินงานตามความต้องการค่าเฉล่ียรวมอยู่ในระดับมาก เท่ากับ
4.05 สอดคล้องกับทิศนา แขมมณี(2550) ได้กล่าว ว่ารูปแบบ หมายถึง เครื่องมือทางความคิดที่บุคคลใช้
ในการสืบสอบหาคาตอบ ความรู้ ความเข้าใจในปรากฏการณ์ที่ เกิดข้ึน โดยสร้างมาจากความคิด
ประสบการณก์ ารใช้อุปมาอปุ ไมย หรือจากทฤษฎีหลกั การตา่ งๆ และแสดงออกในลกั ษณะใดลกั ษณะหนงึ่

นอกจากนี้ยังสอดคล้องกับ จิรศักด์ิ ประทุมรัตน์ (2550) ที่ทาวิจัยเร่ือง รูปแบบแหล่งการเรียนรู้
ตามความต้องการของเกษตรกรในจังหวัดมหาสารคาม ผลการวิจัยพบวา่ 1) เกษตรกรจานวนมากใช้และมี
ความพอใจต่อเจ้าหน้าท่ีจากกหน่วยงานราชการและหน่วยงานด้านเอกชนในการให้ความรู้ด้าน
เกษตรกรรม ด้านการแพทย์แผนไทย ด้านกองทุนและด้านธุรกิจชุมชน 2) เกษตรกรมีความต้องการรับ
ข้อมูล ข่าวสาร จากแหล่งการเรียนรู้ โดยต้องการส่ือประเภทบุคคลอยู่ในระดับมาก 3) รูปแบบแหล่งการ
เรียนรู้ท่ีเหมาะสมกับความต้องการของเกษตรกรในจังหวัดมหาสารคาม การจัดการรูปแบบแหล่งการ
เรียนร้ใู หท้ าหน้าทเ่ี ต็มตามศักยภาพเพ่ือสนองความต้องการของผู้เรยี น เป็นขมุ พลงั ใหเ้ กิดการขับเคล่ือนใน
สังคมแห่งการเรียนรู้ ควรมีลักษณะการดาเนินการจัดการด้านเน้ือหาความรู้ท่ีหลากหลาย และสอดคล้อง
กับ วรวรรณ เพชรอไุ ร (2555 ) รายงานการจดั รปู แบบการเรียนการสอนแบบ Active learning ในรายวิชา
อย 341 การแปรรปู ยาง ในภาคการศึกษาที่ 1/2555 พบว่าไมส่ ามารถทาใหน้ ักศึกษาทุกคนมีผลการเรียน
ไม่ต่ากว่าเกรด ซี (C) ตามเป้าหมายท่ีต้ังไว้ได้ แต่อย่างไรก็ตาม พบว่ามีนักศึกษาที่ไม่ผ่านการประเมินใน
ครั้งน้ีลดลง จากเดิมท่มี ีผู้ไมผ่ ่านการประเมนิ ร้อยละ 28.57 ในภาคการศึกษาที่ 1/2554 ลดลงเหลอื ร้อยละ
7.1 ในภาคการศึกษาที่ 1/2555 นอกจากนั้นพบว่านักศึกษาท่ีเคยสอบไม่ผ่านการประเมินในภาค
การศึกษาท่ี 1/2554 มีผลการเรียนดีขึ้นตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ กล่าวคือสามารถสอบผ่านการ ประเมินใน
ครั้งนี้ทกุ คน และจากการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาพบว่าการเรียนแบบ Active learning โดยใช้
กจิ กรรมทหี่ ลากหลายในการเรียนการสอน นกั ศึกษามคี วามพึงพอใจต่อกิจกรรม ตา่ งๆ เปน็ อยา่ งดี มีความ
กระตือรอื ร้น และมีความสนใจที่อยากจะร่วมกจิ กรรมมากกวา่ การสอน แบบบรรยายเพียงอย่างเดียว

สรุปได้ว่าจากผลการประเมินกระบวนการเฉลี่ยร้อยละ 86 มีความพึงพอใจในการดาเนินงาน
ตามความต้องการค่าเฉล่ียรวมอยู่ในระดับมาก เท่ากับ 4.05 แสดงถึงโครงสร้างของความเกี่ยวข้องของ

445

องคป์ ระกอบท่ีสาคัญในเชิงความสัมพันธห์ รือเหตผุ ลซึง่ กันและกันของ รูปแบบและการทดลองรูปแบบการ
จัดการเรียนรู้ผ่านกิจกรรม (Active learning) โดยใช้แหล่งเรียนรู้และ สิ่งแวดล้อมเป็นฐาน เพื่อส่งเสริม
ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 ของนักศึกษา ชั้นปีท่ี 3 คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราช
วทิ ยาลยั วทิ ยาเขตล้านนาได้อธิบายถึงความสัมพันธ์ขององค์ประกอบต่างๆของรูปแบบมีความสัมพันธ์กัน
และมกี ระบวนการปฏบิ ัติท่ชี ดั เจน

ขอ้ เสนอแนะ
ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย
1. ควรมีการพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่องมีการวัดและประเมินผลสมรรถนะของผเู้ รียน

ใหเ้ ปน็ มาตรฐานเดียวกันในทุกสาขาวิชา โดยมุ่งพัฒนานักเรียนมีทักษะในศตวรรษท่ี 21 ตามมาตรฐาน
ประกนั คุณภาพหลักสตู ร

2. การพฒั นาประสิทธภิ าพการดาเนนิ งานด้านการจดั การศึกษา ควรมีการปรับปรุง ระบบการจัด
การศึกษาและจดั ระเบียบของการเรยี นการสอนใหเ้ ป็นระบบท่ีชดั เจน ผทู้ ี่เก่ียวขอ้ งควรการกากับติดตาม
การปฏบิ ตั ิงานอย่างต่อเน่ือง

ข้อเสนอแนะเชงิ ปฏบิ ัติการ
1.สถานศึกษาควรปรับเปลี่ยนกระบวนทัศนใ์ ห้สอดคลอ้ งกับการเปลยี่ นแปลงด้านการจดั

การศึกษาโดยให้ผเู้ กยี่ วข้องทุกหลกั สตู รเข้ามามสี ว่ นรว่ มในการจัดการเรยี นการสอน เพ่ือให้ประสบ
ความสาเร็จอยา่ งมีประสิทธิภาพ และประสิทธผิ ล

2.ควรมีการฝึกอบรมเพ่ือเพ่ิมทักษะความรู้ ความสามารถแก่อาจารย์ในทุกหลักสูตร ในเร่อื งการ
จัดการศึกษาและภารกิจที่ต้องปฏิบัตติ ามนโยบายการปฏิรูปการศึกษาใหส้ อดคล้องกับการเปล่ยี นแปลงใน
ศตวรรษที่ 21

ขอ้ เสนอแนะเพ่อื การวิจัยครังต่อไป
ควรศึกษาปัจจัยท่ีส่งผลต่อการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ผ่านกิจกรรม(Active learning)

โดยใชแ้ หลง่ เรียนรแู้ ละ ส่ิงแวดล้อมเปน็ ฐาน เพอ่ื สง่ เสรมิ ทักษะการเรยี นรู้ในศตวรรษท2่ี 1

แหล่งอา้ งองิ
จิรศักด์ิ ประทุมรัตน์. (2550). รูปแบบแหล่งการเรียนรู้ตามความต้องการของเกษตรกรในจังหวัด

มหาสารคาม.สาขาวิชาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์. มหาสารคาม : มหาวิทยาลัย
มหาสารคาม.
ทศิ นา แขมมณี. (2550). ศาสตรก์ ารสอน: องคค์ วามรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ทีม่ ีประสิทธิภาพ.พิมพ์
คร้ังที่ 6. กรงุ เทพฯ: ดา่ นสทุ ธาการพิมพ.์
เทอ้ื น ทองแกว้ . (2546). เอกสารประกอบการอบรม การเรยี นรู้แบบมีส่วนร่วม. กรงุ เทพฯ: สถาบันราชภัฏ
จันทรเกษม. (เอกสารอัดสาเนา).
วรวรรณ เพชรอุไร .(2555). รายงานการจัดรูปแบบการเรียนการสอนแบบ Active learning ในรายวิชา
อย 341 การแปรรูป ยาง. สาขาวิชาเทคโนโลยียางและพอลิเมอร์ คณะวิศวกรรมและ
อตุ สาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลยั แมโ่ จ้.

446

การสรา้ งรปู แบบการปฏิบตั งิ านทีเ่ ป็นเลิศ ด้านระบบดูแลชว่ ยเหลือนักเรียน
ตามแนวทางโรงเรียนลาปางกัลยาณี SMART SCHOOL MODEL

DESIGNING OF BEST PRACTICE MODEL IN STUDENTS’ SUPPORT FOLLOWING
LAMPANG KANLAYANEE SCHOOL : SMART SCHOOL MODEL

ทรงพล เฟอ่ื งฟู, กนกพร นิลแพทย์ บรรเจดิ สระปญั ญา
โรงเรยี นลาปางกลั ยาณี

บทคดั ยอ่
การวิจัยคร้ังนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) สร้างรูปแบบการปฏิบัติงานท่ีเป็นเลิศ ด้านระบบดูแล

ช่วยเหลือนักเรียน ตามแนวทางโรงเรียนลาปางกัลยาณี SMART SCHOOL MODEL และ 2) ประเมิน
ความพึงพอใจต่อรูปแบบการปฏิบัติงาน ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน กลุ่มตัวอย่าง ประกอบด้วย
ผู้บริหารโรงเรียน คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะครู จานวน 124 คน ของโรงเรียนลาปาง
กัลยาณี จงั หวดั ลาปาง สังกดั สานกั งานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษามัธยมศึกษา เขต 35 สถติ ทิ ี่ใช้วิเคราะหข์ อ้ มูล
คือ ค่าเฉลี่ยเลขคณติ ผลการวิจัย พบว่า

1. แนวทางรูปแบบการปฏิบัติงานท่ีเป็นเลิศ ด้านระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ของโรงเรียน
ลาปางกัลยาณี ควรสร้างนวัตกรรมของกระบวนการมีส่วนร่วมจากทุกฝ่ายที่มีความเก่ียวข้องในการดูแล
ช่วยเหลือนักเรียน โรงเรียนลาปางกัลยาณี โดยมีองค์ประกอบของนวัตกรรม ได้แก่ 1) เป้าหมายในการ
ดูแลช่วยเหลือนักเรียนท่ีมุ่งพัฒนาให้นักเรียนเป็นคนดี มีความรู้และทักษะในศตวรรษท่ี 21 2) ปัจจัยหลกั
ของระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ประกอบด้วย ระบบและกระบวนการ ภายใต้โครงสร้างรูปแบบการ
ปฏิบัติงานเดียวกัน และ 3) กระบวนการระบบดูแล ประกอบด้วย ระบบการบริหารงานเทคโนโลยีลา้ สมัย
การดูแลนักเรียนด้วยรักและห่วงใย ระบบแนะแนวต้นแบบระดับประเทศ พัฒนานักเรียนให้มีทักษะใน
ศตวรรษท่ี 21 สู่การสรา้ งพลงั เครือข่ายนักเรียนจติ อาสาและภาคีเครือข่ายมีส่วนรว่ มอยา่ งเข้มแข็ง

2. ผลการประเมนิ ความพึงพอใจต่อรปู แบบการปฏบิ ัติงาน ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน มี
คา่ เฉลยี่ สงู สดุ คอื 4.80 การแปลผลอยใู่ นระดบั ดมี าก

คาสาคญั : การสรา้ งรูปแบบการปฏิบัติงานท่เี ป็นเลิศ, ระบบดูแลชว่ ยเหลอื นกั เรียน, แนวทาง
LKS SMART School Model

Abstract
This research is aimed to develop an academic management model according

to LKS SMART SCHOOL MODEL. It applies the knowledge management of Learning Area
of Mathematics and evaluate the satisfaction of students, their guardians, school
teachers and executives towards the development of academic management for the
mentioned area at Lampang Kanlayanee School under the Secondary Educational
Service Area Office 35 Sampling group used in this evaluation are those relating with the
development of academic management according to LKS SMART SCHOOL MODEL. It
applies the knowledge management of Learning Area of Mathematics and works along

447

with students, their guardians, school teachers and executives. The tools for this
research consist of interview form, satisfaction evaluation, documents about procedure
to develop LKS SMART SCHOOL MODEL and performance of project. This research was
conducted in fiscal year 2017-2018. The statistic “Average” is used to analyze data.
The research reveals that

1. The development of academic management according to LKS SMART SCHOOL
MODEL using the knowledge management of Learning Area of Mathematics has progressed.
It is found that holding activities or projects according to students’ abilities and interest has
the most statistic average of 4.73 which is considered excellent.

2. Students, their guardians, school teachers and executives are satisfied with
the development of academic management according to LKS SMART SCHOOL MODEL
using the knowledge management of Learning Area of Mathematics. It is found that the
result of student quality development has the most statistic of 4.78 which is considered
excellent.

Keywords : The Development of Academic management through The LKS
SMART School Model

บทนา
จากสถานการณ์และสภาพปัญหาที่เก่ียวกับเยาวชนในปัจจุบัน นักเรียนในระดับการศึกษาขั้น

พ้ืนฐานประสบกับปัญหาด้านการเรียน ปัญหาครอบครัว สุขภาพกายและสุขภาพจิต ปัญหาเศรษฐกิจ
และการอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคม ปัญหาด้านพฤติกรรมและปัญหาด้านความปลอดภัย สานักงาน
คณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน (2552, หน้า 5-7) วิเคราะห์ว่า ปัจจัยเสี่ยงท่ีส่งผลให้เด็กและ
เยาวชนประพฤติตนไม่เหมาะสม ประกอบด้วย ปัจจัยจากสภาพครอบครัว โรงเรียน เพ่ือน ชุมชนและ
สงั คม รวมท้งั ปจั จัยทเี่ กิดจากตัวนักเรียนเอง สะท้อนให้เห็นถงึ ปัญหาของการบริหารการศึกษา

โรงเรียนลาปางกัลยาณีเป็นโรงเรียนมาตรฐานสากลของจังหวัดลาปาง สังกัดสานักงานเขต
พน้ื ทกี่ ารศึกษามัธยมศึกษา เขต 35 ผ่านการจดั ประสบการณ์การเรียนรูใ้ ห้กับนักเรียนมาอย่างยาวนาน
กว่า 103 ปี จึงพบกับสภาพปัญหาของนักเรียนในแต่ละรุ่นในลักษณะที่แตกต่างกันมาโดยตลอด
โรงเรียนลาปางกัลยาณีจึงใช้เครือข่ายกระบวนการมีส่วนร่วมในการดูแลนักเรียน ส่งผลให้ระบบดูแล
ช่วยเหลือนักเรียนมีประสิทธิภาพในการแก้ไขปัญหานักเรียนในด้านต่างๆ สอดคล้องกับนโยบายของ
กระทรวงศึกษาธิการและสอดคล้องกับความต้องการของสังคมที่ต้องการสร้างนักเรียนให้เป็นคนดี มี
ความรู้ มีคุณค่าและมีทักษะในศตวรรษที่ 21 คณะผู้บริหาร ครูและบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียน
ลาปางกัลยาณี จึงร่วมกันพัฒนาระบบบริหารโรงเรียน โดยใช้นโยบาย L.K.S. SMART SCHOOL
MODEL ในการบรหิ ารงานเพื่อพฒั นาคุณภาพรอบด้าน สู่การดแู ลนักเรียน โดยใชเ้ กณฑ์รางวลั คุณภาพ
OBECQA เป็นมาตรฐานในการปฏิบัติงาน

448

วัตถปุ ระสงค์ของการวจิ ัย
1. เพื่อสร้างรูปแบบการปฏิบัติงานที่เป็นเลิศ ด้านระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ตามแนวทาง

โรงเรียนลาปางกัลยาณี SMART SCHOOL MODEL
2. เพือ่ ประเมนิ ความพึงพอใจต่อรูปแบบการปฏบิ ัติงาน ระบบการดแู ลชว่ ยเหลอื นกั เรียน

ขอบเขตของการวจิ ัย
ขอบเขตดา้ นกลุ่มตวั อย่าง
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา ประกอบด้วย ผู้บริหารสถานศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษา

ข้ันพื้นฐาน คณะครูโรงเรียนลาปางกัลยาณี จังหวัดลาปาง ปีการศึกษา 2561 จานวน 124 คน โดย
แบ่งเป็น 3 กลมุ่ และคณะผู้วจิ ยั ได้ทาการแจกแบบสมั ภาษณ์และแบบประเมนิ ความพึงพอใจ ตามตาราง
ของเครจซี่และมอร์แกน (Krejcie & Morgan, 1970 อ้างใน ธีรวุฒิ เอกะกุล, 2543) เพ่ือการประมาณ
ค่าสัดส่วนของประชากร ดังนี้

ตาราง กลุ่มตัวอยา่ งทใี่ ชใ้ นการศึกษา
จานวน กลุ่ม จานวน กล่มุ จานวน กลุ่ม จานวน กลมุ่
ประชากร ตัวอย่าง ประชากร ตวั อย่าง ประชากร ตวั อยา่ ง ประชากร ตวั อย่าง

10 10 150 108 460 210 2,200 327
15 14 160 113 480 214 2,400 331
20 19 170 118 500 217 2,600 335
25 24 180 123 550 226 2,800 338
30 28 190 127 600 234 3,000 341
35 32 200 132 650 242 3,500 346
40 36 210 136 700 248 4,000 351
45 40 220 140 750 254 4,500 354
50 44 230 144 800 260 5,000 357
55 48 240 148 850 265 6,000 361
60 52 250 152 900 269 7,000 364
65 56 260 155 950 274 8,000 367
70 59 270 159 1,000 278 9,000 368
75 63 280 162 1,100 285 10,000 370
80 66 290 165 1,200 291 15,000 375
85 70 300 169 1,300 297 20,000 377
90 73 320 175 1,400 302 30,000 379
95 76 340 181 1,500 306 40,000 380
100 80 360 186 1,600 310 50,000 381
110 86 380 191 1,700 313 75,000 382
120 92 400 196 1,800 317 100,000 384
130 97 420 201 1,900 320
140 103 440 205 2,000 322

449

ตารางแสดงจานวนประชากรและจานวนกลุ่มตัวอย่างของ Krejcie and Morgan (ที่มา : ธีร
วฒุ ิ เอกะกุล, 2543)

1. ผบู้ รหิ ารสถานศึกษา จากจานวนประชากรทั้งหมด 5 คน ใช้เปน็ กลมุ่ ตวั อยา่ งจานวน 5 คน
2. คณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน จากจานวนประชากรท้ังหมด 10 คน ใช้เป็นกลุ่ม
ตัวอย่างจานวน 10 คน
3. คณะครู จากจานวนประชากรท้ังหมด 152 คน ใชเ้ ป็นกลุ่มตวั อยา่ งจานวน 109 คน

ขอบเขตด้านเนือหา
1. รูปแบบการปฏิบัติงาน ด้านระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ตามแนวทางโรงเรียนลาปาง
กัลยาณี SMART SCHOOL MODEL เป็นรูปแบบท่ีได้จากการวิเคราะห์ข้อมูลจากเอกสาร งานวิจัยที่
เก่ียวข้อง ศึกษาข้อมูลจากการวิเคราะห์จากเอกสารสาคัญ โดยใช้ระยะเวลาดาเนินการระหว่างเดือน
มนี าคม พ.ศ.2561 ถึง เดือนมกราคม พ.ศ.2562 สถานที่เกบ็ ข้อมลู คือ โรงเรียนลาปางกลั ยาณี จงั หวัด
ลาปาง สานกั งานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศึกษา เขต 35
2. นวัตกรรม L.K.S SMART SCHOOL MODEL เกิดจากการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย
โรงเรียนเพื่อนาไปสกู่ ารบรหิ ารงานโดยภาพรวมของโรงเรยี น มีองคป์ ระกอบตามโครงสร้าง ดังน้ี

T : Technology SMART SCHOOL MODEL M : Morality
ใช้เทคโนโลยี มคี ณุ ธรรมจรยิ ธรรม
S : Good System
1. ใชเ้ ทคโนโลยีในการบรหิ ารจัดการ ระบบดี 1. มคี ุณธรรม จริยธรรม
2. ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการจดั การ 2. มีมารยาทงาม
1. ระบบการบรหิ ารจัดการดี 3. นอ้ มนาหลักปรชั ญาของ
เรียนรู้ 2. ระบบการพัฒนาครูและบคุ ลากรดี
3. ระบบการเรียนรดู้ ี เศรษฐกิจพอเพียง
4. ระบบดแู ลชว่ ยเหลือนักเรยี นดี 4. มีความซื่อสตั ย์ สจุ รติ
5. ชุมชนมสี ่วนร่วม

R : Responsibility L.K.S A : ASEAN Community
มคี วามรบั ผดิ ชอบ SMART พร้อมส่ปู ระชาคมอาเซียน
SCHOOL
1. มีความรบั ผดิ ชอบตอ่ หนา้ ท่ี 1. เป็นเลิศวิชาการ
2. มีความรับผิดชอบต่อสงั คม 2. สอื่ สารสองภาษา
3. มีจิตอาสาร่วมพัฒนาท้องถ่นิ 3. ล้าหนา้ ทางความคดิ
4. ผลิตงานอยา่ งสรา้ งสรรค์
5. ร่วมกนั รับผิดชอบต่อสังคมโลก

แผนภาพท่ี 1 องคป์ ระกอบของ L.K.S SMART SCHOOL MODEL โรงเรยี นลาปางกลั ยาณี

450

วธิ ดี าเนนิ การวิจยั
งานวิจัยน้ี เป็นการศึกษาวิจัยโดยใช้ระเบียบวิธีการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research)

และวธิ กี ารเก็บข้อมูลตามวธิ ีการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ผสมผสานกัน โดยมวี ตั ถปุ ระสงค์
หลัก คอื เพอ่ื สร้างรูปแบบการปฏิบตั ิงานที่เป็นเลิศ ด้านระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ตามแนวทางโรงเรียน
ลาปางกลั ยาณี SMART SCHOOL MODEL ซง่ึ การดาเนินการวิจยั แบง่ ออกเป็น 2 ข้นั คือ

ขันท่ี 1 ศึกษาสภาพ และแนวทางการปฏิบัติงานระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนใน
สถานศึกษา แบ่งออกเป็น 2 ส่วน ดังน้ี ส่วนท่ี 1 สังเคราะห์เอกสาร เป้าหมายในการดูแลช่วยเหลือ
นักเรียน หลักการ แนวคิดและงานวิจัยที่เก่ียวข้องกับการปฏิบัติงานหรือการบริหารระบบการดูแล
ช่วยเหลือนกั เรียนในสถานศึกษา แหลง่ ข้อมูล คือ เอกสารและงานวิจัยที่เก่ียวข้อง เคร่ืองมอื ท่ีใช้ในการ
เก็บรวบรวมข้อมูล เป็นตารางการวิเคราะห์เน้ือหา วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์เน้ือหา ส่วนที่ 2
การศึกษาสภาพและแนวการปฏิบัติงานระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนในสถานศึกษาที่มีผลการ
ปฏิบัติที่ดี (Best Practices) ด้านระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน เคร่ืองมือท่ีใช้ในการเก็บรวบรวม
ข้อมูล คือ แบบศึกษาเอกสาร และแบบสัมภาษณ์เพ่ือศึกษาสภาพและแนวทางในการดูแลช่วยเหลือ
นกั เรยี นในสถานศึกษา วเิ คราะหข์ ้อมูลด้วยการวิเคราะหเ์ นือ้ หา สว่ นที่ 3 การศึกษาแนวทางการบรหิ าร
ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนในสถานศึกษา เคร่ืองมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบ
สัมภาษณ์แนวทางในการบริหารระบบการดแู ลช่วยเหลือนักเรยี นในสถานศึกษาวเิ คราะห์ข้อมลู ด้วยการ
วิเคราะห์เนือ้ หา โดยที่การสังเคราะหใ์ นทง้ั 3 ส่วนนี้ มุ่งไปท่ีสร้างรูปแบบการปฏิบัติงานท่ีเป็นเลิศ ด้าน
ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรยี น ซึ่งประกอบดว้ ยระบบและกระบวนการ สู่การสร้างนกั เรียนให้เปน็ คนดี มี
ความรู้ มคี ุณคา่ และมที ักษะในศตวรรษท่ี 21

ขันที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อรูปแบบการปฏิบัติงาน ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนใน
สถานศึกษา กลุ่มตัวอย่าง ประกอบด้วย ผู้บริหารโรงเรียน คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะ
ครู จานวน 124 คน ของโรงเรียนลาปางกัลยาณี สถิติท่ีใช้วิเคราะห์ข้อมูลคือ ค่าเฉล่ียเลขคณิต
เครือ่ งมอื ทีใ่ ช้ในการเก็บรวบรวมขอ้ มลู เปน็ แบบสอบถาม

สรุปและอภปิ รายผลการวิจัย
1. แนวทางการสร้างรูปแบบการปฏิบัติงานท่ีเป็นเลิศ ด้านระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ของ

โรงเรียนลาปางกัลยาณี ควรสร้างเป็นนวัตกรรมของกระบวนการมีส่วนร่วมจากทุกฝ่ายท่ีมีความ
เก่ียวข้องในการดูแลช่วยเหลือนักเรียน โรงเรียนลาปางกัลยาณี โดยมีเป้าหมายในการดูแลช่วยเหลือ
นักเรยี นท่มี งุ่ พัฒนาใหน้ กั เรียนเปน็ คนดี มคี วามร้แู ละทักษะในศตวรรษที่ 21 ดังน้ี

451

นวัตกรรม : รูปแบบการปฏิบัติงานทเ่ี ป็นเลิศ ดา้ นระบบดูแลชว่ ยเหลือนกั เรียน
ตามแนวทางโรงเรียนลาปางกลั ยาณี SMART SCHOOL MODEL
( SPS - 4S : SMART STUDENT SUPPORT SYSTEM )

SPS - 4S : SMART STUDENT SUPPORT SYSTEM

SYSTEM (ระบบ) ผู้บริหารที่มีวิสัยทัศน์ ดาเนินงานบรหิ ารตามกลยทุ ธ์ นโยบาย
- L.K.S SMART SCHOOL MODEL รัฐ โดยใช้นวัตกรรม L.K.S SMART SCHOOL MODEL ที่
เกิดจากการมีส่วนร่วมของภาคีเครอื ข่ายโรงเรียนเพื่อนาไปสู่
P- OBECQA การบรหิ ารงานตามมาตรฐานเกณฑร์ างวลั คณุ ภาพ OBECQA
PROCESS (กระบวนการ)
4 ภารกจิ หลกั ของการระบบเทคโนโลยีลา้ สมัย คอื ระบบ
-ระบบการบรหิ ารงานเทคโนโลยีลา้ สแกนลายนิ้วมอื Application L.K.S. School ปกั หมุด
สมยั เยย่ี มบ้านโดยระบบ GPS และการพัฒนา Application
-การดแู ลนกั เรียนด้วยรกั และหว่ งใย Parents รองรบั อนาคต
การปอ้ งกนั ชว่ ยเหลือและแกไ้ ข และการส่งต่อ
-ระบบแนะแนวตน้ แบบระดับประเทศ 5 ภารกิจหลักท่ีเป็นหัวใจของการดาเนินงานของครูท่ีปรึกษา
คือ การรจู้ ักนกั เรยี นเป็นรายบุคคล การคัดกรอง การสง่ เสริม
-พัฒนานกั เรยี นให้มีทกั ษะในศตวรรษที่ 21 สู่ และพัฒนาการป้องกันช่วยเหลอื และแกไ้ ข และการส่งต่อ
การสร้างพลังเครือขา่ ยนกั เรียนจิตอาสา
6 ภารกิจหลักของศูนย์แนะแนวต้นแบบระดับประเทศ คือ
-ภาคีเครอื ข่ายมสี ว่ นร่วมอยา่ งเข้มแข็ง รวบรวมขอ้ มลู สนเทศ การบรกิ ารให้คาปรึกษา การจดั
วางตัวบุคคล การติดตาม/ประเมินผลสง่ ตอ่ และพัฒนา
เครือข่ายการแนะแนวอยา่ งเข้มแข็ง

6 การรวมพลังกลุ่มเครอื ข่ายเข้มแข็ง คอื แกนนา TO BE
NUMBER ONE ระดับประเทศ แกนนาครอบครัวพอเพยี ง
ระดับชาติ นักเรียนแกนนารางวัลสถานศกึ ษาสขี าว
ระดับประเทศ สภานักเรยี นต้นแบบระดบั ภาค นกั เรียนเพ่อื น
ที่ปรึกษา(YC) ระดับภาค และกลุ่มกจิ กรรมพัฒนาผู้เรยี น

S STUDENT 6 ภาคีเครือขา่ ยเข้มแข็ง คือ กรรมการสถานศกึ ษา ท่ปี รึกษา
(นักเรียน) ฝ่ายบริหาร สมาคมผู้ปกครอง สมาคมนักเรียนศิษย์เก่า
เครือขา่ ยผู้ปกครองและชมรมครูผูเ้ กษียณอายุ

SMART STUDENT คอื นักเรียนท่ีเป็นคนดี
มคี วามร้แู ละทกั ษะในศตวรรษท่ี 21

ภาพท่ี 2 รูปแบบการปฏบิ ตั ิงานท่เี ป็นเลศิ ดา้ นระบบดแู ลช่วยเหลือนักเรียน ตามแนวทาง
โรงเรยี นลาปางกัลยาณี SMART SCHOOL MODEL

452

2. ประเมินความพึงพอใจต่อรูปแบบการปฏิบัติงาน ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนใน
สถานศึกษา กลุ่มตัวอย่าง ประกอบด้วย ผู้บริหารโรงเรียน คณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน คณะครู
จานวน 124 คน ของโรงเรยี นลาปางกัลยาณี มีคา่ เฉลี่ยสงู สุด คือ 4.80 การแปลผลอยู่ในระดับดีมาก ดงั นี้

ตาราง คา่ เฉลี่ยการประเมนิ ความพึงพอใจต่อรปู แบบการปฏบิ ตั งิ าน ระบบการดแู ลช่วยเหลือนักเรียน

กลุ่มท่ี กลมุ่ ผ้ปู ระเมินความพงึ พอใจ ค่าเฉลีย่
1 ผู้บริหารโรงเรยี น 4.81
2 คณะกรรมการสถานศึกษาขนั้ พื้นฐาน 4.85
3 คณะครู 4.73
รวม 4.80
ระดับการแปลผล ดมี าก

ตารางที่ 1 ค่าเฉลย่ี การประเมินความพงึ พอใจต่อรปู แบบการปฏิบัติงาน ระบบการดูแลชว่ ยเหลือ
นกั เรยี น

ข้อเสนอแนะ
ควรศึกษาวิจัยและพัฒนารูปแบบความร่วมมือระหว่างสถานศึกษากับชุมชนในการดูแล

ชว่ ยเหลอื นักเรยี นอยา่ งยง่ั ยืน

แหล่งอ้างอิง
ธีรวุฒิ เอกะกุล. (2543). ระเบียบวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์. อุบลราชธานี. สถาบัน

ราชภฏั อบุ ลราชธานี
นงลักษณ์ วิชัยรัตน์ และคณะ. (2548). การดาเนินงานระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนของโรงเรียน

มัธยมศึกษา สังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาแม่ฮ่องสอน เขต 2. การศึกษาค้นคว้าด้วย
ตนเอง. มหาวทิ ยาลัยนเรศวร.พษิ ณุโลก.
บรรเจิด สระปัญญา และคณะ. (2561). งานวิจัยโรงเรียนลาปางกัลยาณี : การศึกษารายงานการปฏิบัติท่ี
เป็นเลิศ (BEST PRACTICE) SPS - 4S : SMART STUDENT SUPPORT SYSTEM . เอกสาร
ประกอบการประเมนิ เกณฑ์รางวลั คุณภาพ OBECQA.
บญุ ชม ศรสี ะอาด. (2545). การวจิ ัยเบอ้ื งต้น. (พิมพ์ครงั้ ท่ี 7) . กรุงเทพฯ : สุวรี ิยาสาสน์.
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน. (2552). สภาพความสาเร็จและแนวทางการเสริมสร้าง
ความเข้มแข็ง ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์
การเกษตรแห่งประเทศไทยจากดั

453

ยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาครูเพื่อจดั การเรียนการสอนตามแนว STEM Education
ในสถานศึกษาขนาดเลก็

THE STRATEGIES FOR TEACHERS COMPETENCY DEVELOPMENT
ON STEM EDUCATION IN SMALL-SIZED SCHOOLS

พศิน แตงจวง, ชาลี ภกั ดี, ฉัตรชัย ศิริกุลพันธ์
คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั มหามกุฏราชวิทยาลยั วทิ ยาเขตล้านนา

บทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. ศึกษาสภาพการจัดการเรียนการสอนตามแนวสะเต็มศึกษาของครู

2. ศึกษาปัจจัยและเงื่อนไขที่ส่งผลต่อการจัดการเรียนการสอนตามแนวสะเต็มศึกษาของครูและ 3. เสนอ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาครูเพื่อจัดการเรียนการสอนตามแนวสะเต็มศึกษา งานวิจัยนี้เป็นงานวิจัยแบบ
ผสมผสาน เก็บข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์เจาะลึก การสังเกตและการทดลองหาแนวทางพัฒนาการจัดการ
เรียนการสอนตามแนวสะเต็มศึกษา กลุ่มตัวอย่างเป็นครูท่ีได้รับรางวัล Thailand STEM Education
Teacher Awards 4 รูป/คน และ ครูที่ผ่านรอบที่ 1 ช่วงปี 2557-2561 อีก 3 รูป/คน จากสถานศึกษา 5
แหง่ สงั กดั สพฐ. สพม.และพระปริญัตติธรรม ตงั้ อยใู่ น 3 จังหวัดภาคเหนือ ครูทีเ่ ข้าร่วมการพฒั นาจานวน 5
รปู /คน และผู้บรหิ ารจานวน 5 คน

ผลการวจิ ัยพบว่า 1. สถานศึกษาขนาดเล็กต้ังอยู่ในชุมชนขนาดเล็ก มนี กั เรียน 55-119 รปู /คน มี
ครู 3-10 รูป/คน ครูไม่ครบวิชา ในการจัดการเรียนรู้ตามแนวสะเต็มศึกษาครูจึงร่วมมือกันโดยมีครูประจา
วิชาหลกั เช่น คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ เปน็ แกนสาคัญโดยใช้ความรู้ทางด้านการออกแบบและเทคโนโลยี
มาผสมผสาน 2. ปัจจัยและเง่ือนไขของความสาเร็จท่ีสาคัญ ได้แก่ แรงบันดาลใจและผู้บริหารสถานศึกษา
3. ยุทธศาสตร์การพัฒนาการจดั การเรียนรู้ตามแนวสะเต็มศึกษาของครู ประกอบด้วย 1) ผู้บรหิ ารต้องเป็น
ผู้นาส่งเสริมให้ครูเข้าใจ เข้าถึงบริบทอย่างแท้จริงเพื่อสร้างแรงบันกาลใจ 2) ผู้บริหารต้องสร้าง
ความสัมพันธ์ระหว่างสถานศึกษากับชุมชนให้มากและใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นช่วยและทางานเป็นทีม 3)
ผู้บริหารต้องใช้วิกฤติให้เป็นโอกาสโดยจัดให้มี PLC อย่างสม่าเสมอ 4) ผู้บริหารต้องส่งเสริมหรือแสวงหา
ความร่วมมือกันทั้งภายในและภายนอก และ 5) ครูและผู้บริหารต้องร่วมมือกับภายนอกวางแผนเชิง
ยุทธศาสตรก์ ารพัฒนาและปฏิบตั ิตามแผน

คาสาคญั : สภาพการจัดการเรียนร้ตู ามแนวสะเตม็ ศึกษา, ครูในสถานศึกษาขนาดเล็ก, ปัจจัย
และเงื่อนไข, ยุทธศาสตรก์ ารพัฒนา

ABSTRACT:
The objectives of this study were to: 1. study the existing situations of small-sized

school teachers on STEM Education 2. identify factors and conditions that effected to small-
sized school teachers on STEM Education and 3. propose strategies for teachers competency
development on STEM Education in small-sized schools. Mixed methods were employed in
data gathering: in-depth interviewing, observation and verifying the strategies for teachers’
competency development on STEM Education. Key informants composed of 5 teachers who

454

received Thailand STEM Education Teacher Awards round 1 during B.E. 2557-2561 from 5
schools located in 3 northern provinces, 5 teachers who participated in competency
development and 5 schools directors.

Findings revealed that: 1. Every small-sized school is located in small and poor
communities. , with 55-119 students and 3-10 teachers. Each classroom composed of 5-10
students. They are teachers shortening in specific subjects. According to applying the STEM
Education, teachers need cooperation among core mathematics, science and other teachers
ม local wisdom and innovative technology. 2. There are 2 most important key factors and
conditions of success: inspirations and school directors 3. Strategies for teachers competency
development on STEM Education composed of: School directors must be leaders to stimulate
teachers to deeply understand contexts and environment; School directors must build up
better relationship between schools and communities and invite local wisdoms to teamwork
with schools; School directors must turn crisis into opportunity by applying PLC; while school
directors must nurture internal and external cooperation, and finally school committees and
everyone must listen to each other and find ways for sustainable development.

Keywords: current situations of STEM Education, small-sized school teachers,
factors and conditions, strategies for teachers competency development

บทนา
จากการที่นักเรียนสอบ NT, O-NET ตกเกือบทุกวิชาติดต่อกันทุกปี ตอกย้าด้วยผลการสอบ

PISA และ TIMSS (สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ม.ป.ป.) ที่ได้คะแนนต่ากว่า
คะแนนเฉลี่ยทุกคร้ังและยังถูกจัดอยู่อันดับท้าย ๆ เมื่อเปรียบเทียบกับประเทศอื่น แต่นักการศึกษาไทยก็
ยังไม่มียุทธศาสตร์ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาที่มีประสิทธิภาพ (Mounier, Alain and Phasina
Tangchuang, 2010) แม้ว่าในช่วงที่ผ่านมากระทรวงศึกษาธิการได้กาหนดให้มีการประเมินคุณภาพ
การศึกษาทุก ๆ 5 ปี โดยกาหนดให้สานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา(องค์การ
มหาชน) หรอื สมศ. ดาเนินการแล้วก็ตาม แต่ผลการประเมนิ ลา่ สุดพบว่า ผลการเรียนรูข้ องนักเรียนก็ยังคง
ต่า (Lamphai Intathep, 2014; สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ม.ป.ป.) ซ่ึงย่อม
หมายถึงการอ่อนด้อยในเชิงวิชาการของเยาวชนไทยเมื่อเทียบกับเยาวชนในกลุ่ม ASEAN ด้วยเหตุ
ดังกล่าว รัฐบาลฯ จึงได้ปรับโครงสร้างการบริหารและปรับกระบวนการจัดการศึกษาใหม่ โดยมุ่งเน้นการ
นากระบวนการ STEM Education เข้ามาใช้ในปี 2012 (Sumonta,P; Finley, F.N and Kittisak K.
2018) เนื่องจากเช่ือว่าการท่ีผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์การศึกษาต่า แสดงถึงการศึกษามีคุณภาพต่าและหาก
สภาพการศึกษายังต่าต่อไป (Berry, B., Johnson, D., & Montgomery, D., 2005; Beatty, Alexandra
(2011)). ย่อมส่งผลทาให้ผลผลิตทุกระดับต่า การที่ผลผลิตมีคุณภาพต่า ทาให้ดัชนีการพัฒนามนุษย์ต่า
และผลิตภาพแรงงาน (labor productivity) ตกต่าตามไปด้วย (วิทยากร เชียงกูล, 2009; พศิน แตงจวง
2554) ซึ่งไม่สามารถแข่งขนั กับนานาประเทศโดยเฉพาะในยุค Thailand 4.0

455

มีงานวิจัยจานวนมากที่บ่งชีว่าผลสัมฤทธิ์ของนักเรียนต่าเกิดจากคุณภาพการจัดการศึกษา
(Darling-Hammond, Linda 2010; Pollard, Andrew and others, 2008; Yeo, Roland K. Yeo, 2008;
เบญจ์ กิตติคุณ 2556) โดยเฉพาะอย่างยิ่งสมรรถนะของครูมีความสัมพันธ์กับผลสัมฤทธ์ิการศึกษาของ
นักเรียนอย่างมาก (Phasina Tangchuang. and Alain Mounier., 2552; Blanco, Lorenzo J., online;
Miller, Raegen T and others, 2007; กฤษณพงศ์ กีรติกร 2552 ; เบญจ์ กิตติคุณ 2556) รวมถึงกล
ยุทธ์ในการเสริมแรงนักเรียนที่มีพ้ืนฐานแตกตา่ งกันของครูผู้สอน(พศิน แตงจวง 2552, 2554)

กอปรกับสังคมโลกมีการเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็วมีข้อมูลข่าวสารจานวนมาก ทั้งในรูปของ
สิ่งพิมพ์ digital และ hardware และเพื่อประโยชน์ทางเศรษฐกิจการค้า(Breiner, J. M., Carla, C. J.,
Harkness, S. S., & Koehler, C. M., 2012). ทาให้ทุกประเทศต้องเร่งพัฒนาประชากรท้ังวัยแรงงานและ
นอกแรงงานให้มีคุณภาพสูงขึ้น (Tytler, Russell and Others, 2008) เพอ่ื ให้สามารถดารงชีวิตและแข่งขัน
ในตลาดแรงงานกับนานาได้ (Andersson, Catarina, 2015) ทุนมนุษย์หรือแรงงานทุกระดับต้องมีทักษะ
และมีความรู้รอบ (Visarut Tangchuang, 2014) กระทรวงศึกษาธิการจึงได้เร่งผลักดันแนวทางการจัด
การศึกษาท่ีบูรณาการวิทยาศาสตร์ วิศวกรรมเทคโนโลยี และคณิตศาสตร์ (Science, Technology,
Engineering and Mathematics Education : STEM Education) หรือท่ีเรียกว่า ระบบ “สะเต็มศึกษา”
เพือ่ สรา้ งความเข้มแข็งให้แก่การศึกษาไทย (Sumonta,P; Finley, F.N and Kittisak K. 2018)

แม้ว่าในช่วงเวลาที่ผ่านมา นักการศึกษาไทยได้นาแนวคิดการจัดการศึกษาจากต่างประเทศ
มาใช้จานวนหลากหลายรูปแบบ เช่น การจัดการเรียนรู้แบบใช้คาถาม (Questioning Method)
รูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ (The Integration Method) การเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐาน
(Project based learning-PBL) การเรียนรู้โดยใชป้ ัญหาเปน็ ฐาน (Problem based learning- PBL)
เปน็ ต้น โดยขาดการตดิ ตามหรือชชี ัดประเดน็ ปัญหาพืนฐานแต่อย่างใด ซึง่ Ejiwale, James A. (2013);
กฤษณพงศ์ กรี ติกร (2552) และดนัยรตั น์ กาศเกษม (2561) ชีว่า นน่ั คืออปุ สรรคย่งิ ใหญ่

การวิจัยครั้งนี้ เป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมจากหลายฝ่ายซ่ึงได้ก่อให้เกิดการสร้าง
เครือข่ายทางวิชาการ สอดคล้องกับข้อเสนอแนะของวิทยากร เชียงกูล (อ้างใน compaq4602213,
Online) ที่กล่าวว่า “การจัดการศึกษาให้มีประสิทธิผลและประสิทธิภาพนั้น ต้องปฏิรูปครูให้เป็นครูแนว
ใหม่ รักการอ่านและการค้นคว้าวิจัยเพ่ือพัฒนาตนเองและพัฒนาลูกศิษย์ รู้จักส่งเสริม หรือกระตุ้นให้
นกั เรยี นคดิ วิเคราะห์ สงั เคราะหเ์ ปน็ อย่างจริงจงั และต่อเนื่อง”

จากประเด็นปัญหาดังกล่าว ผู้วิจัยจึงสนใจศึกษาว่า 1) สภาพการจัดการเรียนการสอนตามแนว
STEM Education ในสถานศึกษาขนาดเล็กปัจจุบันเป็นอย่างไร 2) มีปัจจัยเงื่อนไขใดบ้างท่ีส่งผลต่อ
ประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการจัดการเรียนการสอนตามแนว STEM Education ในสถานศึกษา
ขนาดเล็ก และ 3) การพัฒนาครูให้สามารถพัฒนาตนเอง(Reflexive teachers) ตามแนว STEM ควรใช้
ยุทธศาสตร์แบบใด

วตั ถุประสงคข์ องการวิจัย
1. เพ่ือศึกษาสภาพการจัดการเรยี นการสอนตามแนวสะเตม็ ศึกษาของครู
2. เพื่อศึกษาปจั จัยและเงื่อนไขทสี่ ่งผลต่อการจัดการเรยี นรู้ตามแนวสะเต็มศึกษาของครู
3. เพื่อเสนอยุทธศาสตร์การพัฒนาครูเพื่อจัดการเรียนการสอนตามแนวสะเต็มศึกษาใน

สถานศกึ ษาขนาดเลก็

456

วิธดี าเนนิ การวิจัย แบ่งเป็น 3 ขั้น ดังน้ี
ขนั ท่ี 1 ศึกษาข้อมูลพื้นฐาน สภาพการจัดการเรียนการสอน โดยการสัมภาษณ์เจาะลึกครูท่ีได้รับ

รางวลั และไม่ไดร้ ับรางวัล STEM Education จาก สสวท. สังเกตร่องรอย การจัดการเรยี นการสอนของครู
ท่ีไดร้ ับรางวัล และไม่ไดร้ ับรางวัล STEM Education และสมั ภาษณเ์ จาะลึกผู้บรหิ าร เกีย่ วกับปรชั ญาการ
จัดการศึกษา รูปแบบการบริหาร ผลสัมฤทธิ์ ที่ตั้งของสถานศึกษา จานวนครู จานวนนักเรียน สภาพ
พ้ืนฐานของนักเรียน รวมถึงสังเกตสภาพและบรรยากาศท่ัว ๆ ไป เช่น สภาพภายนอก ได้แก่ สถานที่
สาคัญรวมถงึ อาชพี ในชุมชน สภาพภายใน ได้แก่ ที่ตงั้ ของสถานศึกษา บรรยากาศการจัดการเรียนการสอน
โดยไม่ตอ้ งการรบกวนหรือให้ผูถ้ ูกสังเกต

ขันท่ี 2 ศึกษาปัจจัย เงื่อนไขที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการจัดการเรียนการ
สอนตามแนว STEM Education โดย การวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาสและอุปสรรค (SWOT
Analysis)

ขันท่ี 3 การพัฒนางาน(Action) และกาหนดยุทธศาสตร์การพัฒนา โดยการนาข้อมูลจากข้ันท่ี 2
(SWOT Analysis) นาไปสูก่ ารจดั ทา Tows Matrix เพ่ือกาหนดยทุ ธศาสตร์การพฒั นา

4. ผู้ให้ข้อมูลหลกั
1. เลอื กเฉพาะสถานศึกษาทีม่ ีครูได้รบั รางวัล STEM Education ตามประกาศผลโดย สสวท.
1.1 ระดับประถมศึกษา(สังกัด สพป.) ไดแ้ ก่ โรงเรียนบา้ นปา่ ง้วิ อ.ดอยสะเก็ด และ โรงเรียน

บา้ งปางไมแ้ ดง อ. แม่แตง จ.เชียงใหม่
1.2 ระดบั มธั ยมศกึ ษา (สังกัด สพม.) ได้แกโ่ รงเรียนบ้านกาศประชานุเคราะห์ อ.สูงเมน่ จ.แพร่
1.3 ระดับมัธยมศึกษา(สังกัดพระปริญัตติธรรม) ได้แก่ โรงเรียนพุทธิวงศ์วิทยา อ.เมือง

จ.เชียงราย และ โรงเรียนรอ้ งแหย่งวิทยาคม (วดั วฒุ ิมงคล) อ.สงู เม่น จ.แพร่
รวมคณะครูที่เป็นผู้ให้ข้อมูลหลักประเภทเดี่ยวจานวน 4 รูป/คน และประเภททีมจานวน 3 คน รวม

ทง้ั ส้นิ 7 คน
2. กล่มุ ผูใ้ ห้ขอ้ มูลเสริม ไดแ้ ก่ ผูบ้ รหิ ารสถานศึกษา คณะครทู ี่ไม่ได้รับรางวัลแต่ต้องการ

พัฒนาตนเอง(reflexive teachers) ให้เป็นครู STEM Education โรงเรียนละ 2 รูป/คน และนักเรียน
โรงเรียนๆ ละ 3 รปู /คน รวมทัง้ สิน้ 25 รูป/คน

สรปุ ผลการวจิ ัย จากการนาผลการศึกษาบริบทมาทา SWOT Analysis และ Tows Matrix พบวา่

ตาราง ผลการทา Tows Matrix สถานศึกษา

Strengths Weaknesses

ปจั จัยภายใน S1 ครมู แี รงบันดาลใจ W1 ครูขาดแรงบันดาลใจ

S2 ความใกลช้ ิดระหวา่ งครู/ W2 ครูอตั ราจ้าง

นักเรยี น W3 ขาดงบประมาณ

S3 ครูใกล้ชดิ กัน W4 ครไู ม่ครบชนั้ มภี าระงานมาก

ปจั จยั ภายนอก S4 บริหารงา่ ย W5 นกั เรียนเรยี นอ่อน มปี ญั หา

Opportunities S,O(ยทุ ธศาสตร์เชิงรกุ ) W,O(ยทุ ธศาสตร์เสริมสรา้ ง)

O1 ชมุ ชน(ภูมิปญั ญา) S1234O123 ผูบ้ ริหารต้องสง่ เสริมให้

ใกลช้ ิด ครูเข้าใจบริบท ประชาสมั พันธ์และ

457

Strengths Weaknesses

O2 หน่วยงานภายนอก ส่งเสรมิ ใหค้ รูเขา้ รบั การอบรม O123 W1345สง่ เสริมความสมั พนั ธร์ ะหวา่ ง

O3 มีหนว่ ยงานฝึกอบรม STEM Education และทา PLC สถานศึกษากบั ชุมชนให้มากและใช้ภูมิ

STEM Education อย่างสมา่ เสมอ ปัญญาท้องถิ่นชว่ ยและทางานเปน็ ทีม

Threats S,T(ยทุ ธศาสตร์ป้องกัน) W,T(ยทุ ธศาสตร์เชิงรบั )

T1 สถานศึกษาอาจถูกปิด S1234T12รับฟงั ความเหน็ จากหน่วย W1345 T12 ร่วมกบั ภายนอกวางแผนเชิง

T2 ผูป้ กครองเศรษฐกจิ ไม่ดี เหนือและชมุ ชน ยุทธศาสตร์การพฒั นาและปฏบิ ตั ติ าม

T3 ผูป้ กครองไม่สนบั สนนุ แผน

จากตาราง Tows Matrix สถานศึกษาขนาดเล็กมีทั้งจุดแข็ง น่ันคือ ในสถานศึกษาท่ีมีครูได้รับ

รางวัลจะเป็นครูที่มีแรงบันดาลใจ มีบรรยากาศของความใกล้ชิดระหว่างครู/นักเรียน และผู้บริหาร

สถานศกึ ษาบริหารงานแบบพนี่ ้อง มกี ารใช้ PLC ขับเคลอื่ นการแลกเปล่ียนเรียนรู้ อย่างไรก็ตามแต่ละแห่ง

ก็มีจุดอ่อนคือ ครูที่มีอายุมากจะขาดแรงบันดาลใจ มองเรื่องการขาดงบประมาณเป็นปัจจัยสาคัญ

นอกจากนี้ครูไม่ครบชั้น-วิชา ทาให้ครูต้องมีภาระงานมาก เป็นปัจจัยและเง่ือนไขของการไม่พัฒนาการ

จดั การเรียนการสอนตามแนว STEM Education

นน่ั คือ มีข้อเสนอเพื่อนาไปสยู่ ุทธศาสตร์การพฒั นา ประกอบด้วย

1) “ยุทธศาสตร์เชงิ รุก- S,O” ผ้บู ริหารต้องประชาสัมพันธ์และส่งเสริมให้ครูเข้าใจบริบท เข้ารบั

การอบรม STEM Education และทา PLC อย่างสมา่ เสมอ

2) “ยุทธศาสตรเ์ สริมสรา้ ง- W,O” ผู้บริหารต้องสรา้ งความสัมพันธ์ระหว่างสถานศึกษากับชุมชน

ใหม้ ากและใช้ภมู ปิ ัญญาท้องถิ่นชว่ ยและทางานเป็นทีม

3) “ยุทธศาสตร์ป้องกัน -S,T” ผบู้ รหิ ารและคณะครตู ้องรบั ฟังความเหน็ จากหนว่ ยเหนือและ

ชุมชน

4) “ยุทธศาสตร์เชงิ รบั - W,T” ร่วมกนั กบั ภายนอกวางแผนเชงิ ยุทธศาสตร์การพัฒนาและปฏบิ ัติ

ตามแผน

อภปิ รายผลการวิจัย
จากผลสรุปการวิจัย สถานศึกษาขนาดเล็กมีทั้งจุดแข็ง นั่นคือครูและคณะครูท่ีได้รับรางวัลทั้งใน

ระดบั ชาตแิ ละรอบที่ 1 มคี วามใกลช้ ิดกัน มี “แรงบนั ดาลใจ” (ดนยั รตั น์ กาศเกษม 2561; สริ ิพร อาษาศึก
นุกลู กุด แถลงและวนั ดี รกั ไร 2017)) ในการพฒั นาการจัดการเรียนการสอนเพ่ือพฒั นานักเรียนให้สามารถ
คิด วเิ คราะห์ แกป้ ญั หาท่ีเกิดข้ึน (พรทิพย์ ศริ ภิ ัทราชัย 2556) ในชุมชนและไดเ้ ชิญชวนภูมปิ ญั ญาชุมชน
มาให้ความรู้ให้กับนักเรียน จึงเป็น“ครูเพื่อศิษย์” (วิจารณ์ พาณิช 2553) แม้ว่าผู้บริหารจะให้ความสาคัญ
หรือไม่ก็ตาม แต่ครูก็คอยสอดส่องแสวงหาแหล่งเรียนรู้และเข้าร่วมกิจกรรมอย่างน้อย 3-5 คร้ัง (นุชนาถ
สุนทรพันธ์ ม.ป.ป.) ในแต่ละปีเพ่ือพัฒนากระบวนการเรียนการสอนซ่ึงในปัจจุบันมีทั้งส่ือประเภท
YouTube เรียนผา่ น online ส่อื สิง่ พมิ พ์ และจัดฝกึ อบรมอย่างแพร่หลาย เพือ่ ใหส้ อดคล้องกับการเป็นครู
ในศตวรรษท่ี 21 (วิธวินท์ จันทร์ลือ ศุภาวรรณ ห่วงช้าง และอารยา มุ่งชานาญกิจ 2561) สอดคล้อง
นโยบายของ Thailand 4.0 ท่ีส่งเสริมให้คนไทยคิดสร้างสรรค์ แก้ปัญหาและผลิตนวัตกรรมเพ่ือการเพ่ิม
มูลค่าสินค้าได้ (Mounier,A. and Phisana T.,2018) ในทางตรงข้ามครูที่ทม่ี ีอายุมาก จะปดิ รับเทคโนโลยี
และนวัตกรรมใหม่ ๆ เน่ืองจากคุ้นเคยกับการจัดการเรียนการสอนแบบเดิม ๆ ขาดแรงบันดาลใจในการ

458

พัฒนาการจัดการเรียนการสอนใหม่เน่ืองจากเชื่อว่านักเรียนที่เรียนอ่อนไม่สามารถเรียนได้ดี (พศิน แตง
จวง 2552, 2554) จึงไม่มีแรงจูงใจและปฏิเสธท่ีจะพัฒนาด้วยเหตุนี้ ยุทธศาสตร์ในการพัฒนาจึงเป็น
หน้าท่ีของผู้บริหารท่ีต้องใช้ภาวะผู้นาที่มีประสิทธิภาพด้วยการส่งเสริมให้ครูเข้าใจ เข้าถึงบริบท
โดยเฉพาะวัฒนธรรมและภูมิปัญญาอย่างแท้จริง ในแต่ละปีสถานศึกษาต้องทา SWOT Analysis
(Coman, Alex and Ronen, Boaz, 2009; อุทัย ปริญญาสุทธินันท์ 2016)) ผู้บริหารต้องทาหน้าท่ี
ติดตาม กระตุ้นให้ครูทุกคนได้ร่วมมือกันแก้ปัญหาจุดอ่อนและอุปสรรคท่ีมีให้ได้ (Zidan, S. S., 2001)
โดยผู้บริหารต้องใช้วิกฤตินั้นให้เป็นโอกาส (Zaniewski, Anna M. and Reinholz, Daniel, 2016) โดย
จัดให้มี PLC อย่างสม่าเสมอ ผู้บริหารต้องเป็นนักประชาสัมพันธ์ที่จะแสวงหาความร่วมมือจากภายนอก
หรือหน่วยเหนือให้ช่วยโดยเฉพาะคณะกรรมการสถานศึกษาและบุคลากรทุกคนต้องยอมรับฟังและร่วม
เรียนร้อู ยา่ งแทจ้ รงิ เพ่ือให้แผนยุทธศาสตร์สามารถดาเนินการได้และเป็นการพัฒนาอย่างยัง่ ยนื

ขอ้ เสนอแนะ
7.1 ข้อเสนอแนะเพื่อการนาไปใช้
1. แม้ว่าการวิจัยคร้ังนเี้ ปน็ การวิจยั กรณีศึกษาและพัฒนาตามบริบท มีกรณีศกึ ษาจานวนเพียง 5

แห่ง แต่ก็กระจายต่างพื้นท่ี ต่างหน่วยงานท่ีสังกัด และเม่ือวิเคราะห์เจาะลึกแล้วพบว่ามีจุดแข็ง จุดอ่อน
โอกาสและอุปสรรคไม่ต่างกัน จึงเช่ือว่ายุทธศาสตร์ท่ีค้นพบสามารถนาไปประยุกต์ใช้ได้กับสถานศึกษา
ขนาดเลก็ ท่ัวไป

2. ผู้บริหารสถานศึกษาต้องทาหน้าที่บริหารงานวชิ าการ นิเทศ เพราะเป็นบุคคลท่ีมีความสาคัญ
ในการกระตุน้ ให้ครูพฒั นาสมรรถภาพการจดั การเรียนการสอนมากทีส่ ดุ

3. ประเด็นที่หน่วยเหนือควรนาไปพิจารณาต่อคือ กลยุทธ์ในการกระตุ้นให้ครูที่ขาดการพัฒนา
อย่างต่อเน่ือง เช่น เง่ือนไขของการขอย้าย การเลื่อนตาแหน่ง ควรกาหนดให้ครูต้องมีผลงานรางวัลใด
รางวัลหน่งึ ประกอบดว้ ย

4. สถานบันอุดมศึกษาทั้งท่ีผลิตครูและไม่ผลิตครูควรส่งเสริมให้จัดการเรียนการสอนตามแนว
STEM Education

7.2 ขอ้ เสนอแนะเพื่อการวจิ ัยครังต่อไป
1.การวจิ ัยครงั้ น้ี ดาเนินการเฉพาะในภาคเหนือเท่าน้ัน เพ่ือให้ผลของการวจิ ัยใช้ได้อย่าง

กวา้ งขวาง ควรดาเนินการวจิ ยั แบบน้ีในภาคอื่น ๆ ของประเทศดว้ ย และหากได้ข้อสรุปชัดเจน ควรพฒั นา
ยทุ ธศาสตร์เป็น “คู่มือ”

2. ควรมกี ารวิจยั เพ่ือพัฒนาเพิ่มมูลค่า (value added) ตอ่ ยอดการนานวัตกรรมบางชิ้นที่เป็น
“ตน้ แบบ” (prototype) ไปพฒั นาต่อเพื่อใชใ้ นชุมชนหรือเพ่ือผลิตเชิงการคา้ ต่อไป

แหล่งอา้ งอิง
กฤษณพงศ์ กรี ติกร. (2552) วิกฤติ กระบวน ทัศน์ มโน ทัศน์ เพ่ือ การ ปฏริ ปู การศึกษา ส่งิ พิมพ์ สกอ.

อันดบั ที่ สกอ 022 สอ 01/52 นนทบรุ ี: หา้ งหุ้นสว่ นจากดั .
ดนัยรัตน์ กาศเกษม. (2561) การสนทนาเกย่ี วกับ STEM Education เมื่อ 7 กรกฎาคม เวลา 11:00-

12:30 น. ณ. โรงเรยี นบา้ นกาศประชานุเคราะห์ อ.สงู เมน่ จ.แพร่

459

นชุ นาถ สุนทรพันธ์ (ม.ป.ป.) แนวคิดเกี่ยวกบั การศึกษาตลอดชีวติ สืบคน้ เม่ือ 10 กค. 2016 จาก
http://www.hrd.ru.ac.th/index.php?option=com_weblinks&view=category&id=20
%3A-1-1&Itemid=27

เบญจ์ กิตตคิ ุณ. (2556). กระบวนทัศน์ใหม่ในการเสริมสร้างสมรรถภาพการสอนของครูคณิตศาสตร์ใน
โรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา ดุษฎนี ิพนธศ์ ึกษาศาสตรดุษฎบี ณั ฑติ คณะศึกษาศาสตร์
มหาวิทยาลยั เชียงใหม่

พรทพิ ย์ ศิรภิ ทั ราชยั . (2556). “STEM Education กับการพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21” วารสารนกั
บริหาร ปีที่ 33 ฉบับท่ี 2 เมษายน-มิถนุ ายน 2556 สบื ค้นเม่ือ 10 กค. 2559 จาก
http://www.bu.ac.th/knowledgecenter/executive_journal/april_june_13/pdf/aw07.pdf

พศิน แตงจวง. (2552). “บทเรียนจากการดาเนนิ การกระบวนการพัฒนาสมรรถนะครูผสู้ อนโดยใช้
กระบวนการ Reflective teaching ผา่ นการบันทึกวดี ีทัศน์” ศึกษาศาสตรสาร เลม่ 36

______. (2554). รูปแบบการพฒั นาศักยภาพบุคลากรทางการศึกษา กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์ดวงกมล
วจิ ารณ์ พานชิ . (2553). อิทธิพลนกั การเมืองต่อคุณภาพอุดมศึกษา สืบคน้ เมื่อ 24 เมย. 2553 จาก

http://gotoknow.org/blog/council/362585
วทิ ยากร เชยี งกูล. (2009). ยุทธศาสตร์การพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา สบื ค้นเม่ือ 03 กพ. 2552 จาก:

http://witayakornclub.wordpress.com/2009/
วิธวินท์ จันทร์ลือ ศุภาวรรณ ห่วงช้าง และอารยา มุ่งชานาญกิจ. (2561). การพัฒนาทักษะการแก้ปัญหา

และจิตวิทยาศาสตร์ รายวิชาฟิสิกส์ เร่ืองคล่ืนเสียงของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยการ
จัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษา การประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยรังสิต
ประจาปี 2561
สิริพร อาษาศึก นุกูลกุด แถลง และวันดี รักไร. (2017). การส่งเสริมนักประดิษฐ์รุ่นเยาว์ด้วยกิจกรรมการ
เรียนรู้ตามรูปแบบของสะเต็มศึกษา เพ่ือพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและเจตคติต่อ
วิทยาศาสตร์ของนักเรียนในชั้นเรียน วิทยาศาสตร์ ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3 รายงานสืบเน่ืองการ
ประชุมวิชาการและนาเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ครั้งที่ 1 “นวัตกรรมสร้างสรรค์ ศาสตร์
พระราชาสู่การพัฒนาทยี่ ั่งยืนไทยแลนด์ 4.0”
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ม.ป.ป.) โครงการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ
OECD/PISA. สืบค้นเม่อื 25/7/59 จาก http://www.ipst.ac.th/pisa/index.html
อุทัย ปริญญาสุทธินันท์. (2016). การวิเคราะห์ SWOT แสงไฟส่องนาทางสู่การจัดการเชิงกลยุทธ์ท่ีชุมชน
ทาได้ Suranaree J. Soc. Sci. Vol. 10 No. 2; December 2016 (137-157)
Andersson, Catarina (2015) Professional development in formative assessment: Effects on
teacher classroom practice and student achievement Department of Science and
Mathematics Education Retrieved on 10/ 7/ 2018 from: https: / / www. diva-
portal.org/smash/get/diva2:807530/FULLTEXT01.pdf
Beatty, Alexandra (2011) Successful STEM Education A Workshop Summary. Washington,
D.C. The National Academies Press.
Berry, B., Johnson, D., & Montgomery, D. (2005). “The power of teacher leadership. ”
Educational Leadership. Vol.62, No.5.

460

Blanco, Lorenzo J.(online) Errors in the Teaching/Learning of the Basic Concepts of
Geometry.Retrieved on 15 May 2016 from:
www.cimt.plymouth.ac.uk/journal/lberrgeo.pdf

Breiner, J. M., Carla, C. J., Harkness, S. S., & Koehler, C. M.. (2012). “What is STEM? A
discussion about conceptions of STEM in education and Shelly Sheats Harkness
Partnerships” School Science and Mathematics, 112 (1), 3-11.

Coman, Alex and Ronen, Boaz (2009) “Focused SWOT: diagnosing critical strengths and
weaknesses” International Journal of Production Research Vol. 47, No. 20, 15
October 2009, 5677–5689. compaq4602213 (Online) การปฏิรูปการศึกษารอบสอง
สืบค้นเม่ือ 10/4/2557 จากhttps://compaq4602213.wordpress.com/tag/การปฏิรูป
การศึกษารอบ-2

Creswell, John W. (2009.) Research Design: Qualitative, Quantitative and Mixed Methods
Approaches. 3rd Ed Los Angeles: SAGE.

Darling-Hammond, Linda (2010) “Teacher Education and the American Future” Journal of
Teacher Education. 61(1-2) 35–47

Ejiwale, James A. (2013). “Barriers to successful implementation of STEM education. ”
Journal of Education and Learning. Vol.7 (2) pp. 63-74.

Lamphai Intathep, (2014) “ONESQA rates schools, unis poorly in student learning” Bangkok
Post 28 Feb.

Miller, Raegen T.; Murnane, Richard J. and Willett, John B. (2007) Do Teacher Absences
Impact Student Achievement? Longitudinal Evidence from one Urban School
District Working Paper 13356 National Bureau of Economic Research

Mounier, Alain and Phasina Tangchuang (2010) “Quality: The Major Issue in Thai Education”
in Mounier, Alain and Phasina Tangchuang(Editors) Education and Knowledge in
Thailand: The Quality Controversy.Chiang Mai: Silkworm Books.

_______(2018) “Quality issues of education in Thailand.” in Fry, Jerry(Editor) Educational in
Thailand: An old elephant in search of a new mahout. Singapore: Springer

Phasina Tangchuang (2010) “Becoming a Reflexive Teacher: Lesson learned from Action
HRD Research” a paper submitted to the 14th UNESCO- APEID International
Conference Education for Human Resource Development 21-23 October Bangkok,
Thailand.

Phasina Tangchuang and Alain Mounier (2552) “Research programmes and building research
capacity within the CELS 2008- 2011: experiences, lessons, perspective and
prospects” ศึกษาศาสตร์สาร ปที ่ี 36 ฉบับที่ 1-2 มกราคม-ธันวาคม

Pollard, Andrew; ANDERSON, Julie; Maddock, Mandy, Swaffield, Sue; Warin, Jo and Warwick,
Paul (2008). Reflective Teaching: Evidence-informed Professional Practice (3rd Ed.)
London: Continuum International Publishing Group

461

Sumonta, Promboon; Finley, Fred N. And Kittisak Kaweekijmanee (2018). “The Evolution
and current status of STEM Education in Thailand: Policy directions and
recommendations.” In Fry, Jerry (Editor) Educational in Thailand: An old elephant
in search of a new mahout. Singapore: Springer

Tytler, Russell; Osborne, Jonathan; Williams, Gaye; Tytler, Kristen and Cripps Clark, John
(2008) Opening up pathways: Engagement in STEM across the Primary-Secondary
school transition : A review of the literature concerning supports and barriers to
Science, Technology, Engineering and Mathematics engagement at Primary
Secondary transition. Commissioned by the Australian Department of Education,
Employment and Workplace Relations FINAL REPORT, June. Australian Department
of Education, Employment and Workplace Relations.

Visarut Tangchuang. (2014). “Education and the school-to-work Transition: Comparing
Policies and Practices in the Greater Mekhong Sub-region (GMS)” in Fashoyin, Tayo
and Tiraboschi, Michele( Eds. ) Tackling Youth unemployment. UK: Cambridge
Scholars Publishing.

Yeo, Roland K. Yeo (2008) “How does learning (not) take place in problem-based learning
ctivities in workplace contexts?” Human Resource Development International. Vol.
11, No. 3, July, 317–330

Zidan, S. S. ( 2001) “ The role of HRD in economic development” Human Resource
Development Quarterly.12(4), 437- 43.

Zaniewski, Anna M. and Reinholz, Daniel (2016) “Increasing STEM success: a near-peer
mentoring program in the physical sciences” International Journal of STEM
Education, 3:14

462

ลีลาการเทศน์มหาชาติในทอ้ งถ่ินลา้ นนา

STYLISTICS OF MAHACHAT LITERATURE IN VERSE AND LANNA VERSIONS

พระใบฎีกานพ จนทฺ ปนฺโน
นกั ศึกษาดุษฎบี ณั ฑติ มหาวิทยาลัยพะเยา
บทคดั ย่อ

บทความน้ีเพื่อวิเคราะห์ลีลาภาษาระดับคาและประโยคในวรรณคดีเทศน์มหาชาติล้านนาเรื่อง
มหาเวสสันดรชาดกและเพื่อวิเคราะห์ลีลาภาษาระดับข้อความในวรรณคดีเทศน์มหาชาติล้านนาเรื่อง มหา
เวสสันดรชาดกโดยใช้ข้อมูลจากคัมภีร์เทศน์มหาชาติฉบับวิงวอนหลวงและพระนักเทศน์ในจังหวัด
เชยี งใหม่ ผลกการวิจัยพบว่า การเทศน์แต่ละคร้ังจักประกอยด้วยกัณฑเ์ ทศน์ถึง 15 กัณฑค์ ือ มาลยั ต้นกับ
มหาชาติ 13 กัณฑ์แล้วจบลงด้วยกัณฑ์มาลัยปลาย ด้านแนวคิดท่ีใช้วิเคราะห์คือแนวคิดสุนทรียศาสตร์ที่
ปรับประยุกต์ใช้แนวคิดนี้ 2 ประเด็นคือ 1.ลีลาภาษาระดับคาและประโยค จะวิเคราะห์เสียงของคา การ
เล่นคา และจังหวะกับลีลาของคา โดยเสียงกับความหมายจะมีความสัมพันธ์และสอดประสานกันและ 2.
ลีลาภาษาระดับข้อความ เป็นการใช้ภาษาท่ีมุ่งให้เกิดความงามในลักษณะภาพพจน์ รสวรรณคดี และ
โวหาร ผลการวิจัยพบว่า ลีลาในคัมภีร์มีความไพเราะทั้งระดับคา ระดับประโยคเพราะผู้ปรับปรุงเป็นผู้มี
ความเป็นคนล้านนาและมีความรู้ในภาษาถิ่น ภาษาบาลีเป็นอย่างดี ส่วนลีลาการเทศน์ของพระนักเทศน์
นัน้ ตอ้ งใช้เสยี ง ทานองและจังหวะลลี าประกอบกันจึงมกี ารต่อเตมิ คาบ้าง ละคาบางคาในประโยคบา้ งตาม
บริบทของพ้นื ท่ีและเวลา

คาสาคัญ : ลลี าการเทศน,์ มหาชาต,ิ ท้องถ่ินล้านนา

ABSTRACT
This article is to analyze language style, level of words and sentences in literature,

preach the Lanna Maha Vessandon Chadok, and to analyze the language style, text level
in literature, preach the Lanna Maha Vessandon Chadak, using information from the Sermon
of the Vingvornluang and the Preacher in Chiang Mai Research results show that Each
sermon will be accompanied by 15 monks, with the wreaths of Mahachat 13 Kanda. The
concept of analysis is the concept of aesthetics that is applied to these 2 issues: 1. Language
style, word level and sentence. Will analyze the sound of words, play words and rhythms
with the style of words With the sound and meaning will be related and interlinked and 2.
Language style, text level Is a language that aims to create beauty in the image, taste,
literature and rhetoric. The style in the scriptures is beautiful at the word level. Sentence
level because the person is the Lanna person and has knowledge in the local language.
Pali is very good as for the preaching style of the preacher, he had to use the melody and
rhythm of the style together. Put some words in the sentence according to the context of
the area and time.

Keywords : Style of preaching, Mahachat, Lanna local

463

บทนา
บทความน้ีมีหลักการและเหตุผล คือ การใช้ลีลาภาษาเป็นส่วนสาคัญส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมใน

การสื่อสารเป็นเพราะการใช้ภาษาให้เหมาะสมกับกาลเทศะหรือ รูปแบบของภาษาท่ีแตกต่างกันตาม
สถานการณ์การสื่อสารในท้องถิ่นล้านนา เน่ืองจากดินแดน 8 จังหวัดภาคเหนือของประเทศไทย ได้แก่
เชียงใหม่ เชียงราย พะเยา แพร่ น่าน ลาปาง ลาพูน และแม่ฮ่องสอน ผู้คนในพ้ืนท่ีเหล่าน้ีจะเรียกตนเอง
ว่า คนเมือง ภาษาเมืองและดินแดนล้านนา มีจังหวัดเชียงใหม่เป็นศูนย์กลางทางวัฒนธรรม โดยเฉพาะ
เรื่องภาษาเมืองและประเพณีต่างๆ โดยมีประวัตว่า พญามังราย กษัตริย์แห่งหิรัญนครเงินยาง องค์ท่ี 25
ในราชวงศ์ลวจังกราชปู่เจ้าลาวจก ได้เร่ิมตีเมืองเล็กเมืองน้อย ตั้งแต่ลุ่มแม่น้ากก แม่น้าอิง และแม่น้าปิง
ตอนบน รวบรวมเมืองต่างๆ ให้เป็นปึกแผ่น พระองค์ได้รวบรวมกาลังผู้คนจากเมืองเล็กเมืองน้อยรวมกัน
เข้าเป็นทัพใหญ่และยกลงใต้เพื่อจะตีอาณาจักรหริภุญชัย โดยตีเมืองลาปาง เม่ือได้เมืองลาปางแล้วก็ยก
ทพั เข้าตีแควน้ หริภุญชัย พระองคเ์ ป็นกษัตรยิ ์ชาตินักรบมีความสามารถในการรบไปทัว่ ทุกสารทิศ สามารถ
ทาศึกเอาชนะเมืองต่างๆ แล้วรวบเข้ากับอาณาจักรโยนกเชียงแสน ได้สถาปนาราชธานีแห่งใหม่ในบริเวณ
ทีล่ ุม่ รมิ ฝ่ังแมน่ า้ ปิง โดยต้ังช่ือราชธานีแห่งใหมน่ ว้ี ่า "นพบรุ ีศรีนครพงิ ค์เชียงใหม"่ พระองค์ไดน้ าวฒั นธรรม
ประเพณีต่างๆ จากหลายแห่งมารวมไว้ท่ีเชียงใหม่และส่งเสริม บารุงให้เป็นวัฒนธรรมที่ดีงามของแคว้น
ล้านนา เช่น ประเพณีบวชลูกแก้ว ประเพณีสงกรานต์ และประเพณีลอยกระทงเดือนย่ีเป็ง เป็นต้น(ศูนย์
สนเทศภาคเหนอื สานักหอสมุด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2535 : 34)

ด้านประเพณีในล้านนามีหลายประเพณีแต่ประเพณีสาคัญคือการเทศน์มหาชาติซึ่งเรื่องท่ีนามา
เทศน์คือ มหาเวสสันดรชาดก การเทศน์มหาชาตินั้นต้องใช้คา น้าเสียงในแต่ละกัณฑ์แตกต่างกัน เช่น
กัณฑ์ทศพรจะใช้เสียงเรียบๆ ดังปานกลางและฟังดูองอาจน่าเคารพยาเกรง ส่วนกัณฑ์ชูชกต้องใช้เสียง
ดังๆ สนุกสนาน แบบตลกคะนองบ้าง และกัณฑ์มัทรีซึ่งเป็นกัณฑ์เอกจะต้องใช้พระนักเทศน์เสียงเล็ก
แหลมแบบผู้หญิง เวลาร่าไห้ คร่าครวญจะแสดงอารมณ์โศกได้ทันที ในด้านทานองการเทศน์ก็มีความโดด
เด่นเฉพาะตน เช่น กัณฑ์วนประเวศน์ นักเทศน์นิยมแหล่ถึงกษัตริย์เดินดง ชมนก ชมไม้ เปล่าเปลี่ยว
เดียวดาย โหยหาผู้อยู่เบื้องหลังเป็นบางครั้ง ด้านเนื้อหาวรรณกรรมเวสสันดรชาดกในท้องถิ่นล้านนา
เกี่ยวกับประวัติพระเวสสันดรชาดก ต้ังแต่การประสูติจนกระทั่งสวรรคตโดยแบ่งเน้ือหาเป็น 13 ตอนหรือ
13 กัณฑ์ ประกอบด้วย กัณฑ์ทศพร มี 19 คาถา กัณฑ์หิมพานต์ มี 134 คาถา กัณฑ์ทานกัณฑ์ มี 209
คาถา กัณฑ์วนปเวศน์ มี 57 คาถา กัณฑ์ชูชก มี 79 คาถา กัณฑ์จุลพน มี 35 คาถา กัณฑ์มหาพน มี 80
คาถา กัณฑ์กุมาร มี 101 คาถา กัณฑ์มัทรี มี 90 คาถา กัณฑ์สักบรรพ มี 43 คาถา กัณฑ์มหาราช มี 69
คาถา กัณฑ์ฉกษัตริย์ มี 36 คาถา และกัณฑ์นครกัณฑ์ มี 48 คาถา โดยรวมเรียกว่า คาถาพัน (วาทิต
ธรรมเชื้อ. 2555)

วรรณคดีเทศน์มหาชาติล้านนามีผู้แต่งหลายสานวน สานวนที่ไพเราะ มีผู้นิยมฟังและนิยมนามา
เทศน์คือ ฉบับสานวนวิงวอนหลวง ซึ่งนายสมคิด วัชรศาสตร์(เปรียญ) ร่วมกับพระสงฆ์ที่มีความรู้ด้านการ
เทศน์มหาชาตจิ ากวดั วาลุการาม (เกาะทราย) จงั หวัดลาปาง ปรบั ปรงุ สานวนภาษาคาเมืองให้เหมาะสมกับ
ท้องถิ่นล้านนาโดยใช้อักษรไทยกลางแต่เป็นคาเมืองหรือภาษาไทยถิ่นล้านนา มีรูปแบบการประพันธ์
ท้องถ่ินที่เรียกว่า “ค่าว” มีลีลาการใช้ภาษาเป็นเอกลักษณ์ของคาและสานวนล้านนา การที่เรียกว่า
“วิงวอนหลวง”น้ัน หมายถึง การกล่าวออดอ้อนวิงวอนของนางมัทรีที่มีต่อพญาเนื้อท้ัง 3 ตัว ซ่ึงมาขวาง
ทางเดินผ่านเพื่อกลับไปยังอาศรมของพระนาง เช่น เนื้อหาตอนหนึ่งว่า “จ่ิงกล่าวคาถาว่า มิคา นมตฺถุ
ราชาโน ดรู า เจ้าพระยาเน้ือทังสาม กรียาอนั ไหว้แห่งข้า จุ่งมีแก่พระยาเน้ือทังสาม อันมีตัวงามพีใหญ่ เฝ้า

464

แฝงใฝ่ดงขวาง ขออ่ินดูกูนางหน่อท้าว น้องแห่งสูเจ้าช่ือว่ามัทที เจ้ามีแรงดีย่ิงกว่า ช้างในป่าหิมพานต์
ข้าขอทางจะจ่อง จุ่งปล่อยน้องแม่ญิงเดียว เพ่ือจักเทียวไปสู่ ในแก้วกู่บรรณศาลา ข้าเป็นภริยาแฝงพระ
บาท แห่งบรมนาถภูมินทร์ พระนรินทร์ตนยศยิ่ง เป็นเจ้าจอมมิ่งควรยา เป็นพระยาธรรมยศเยือก เป็นเจ้า
ช้างเผือกภูบาล ทรงญาณสิบส่ิง เป็นลูกท้าวยิ่งชื่อว่าสญไชย ปราบเมืองไทยยอดฟ้า เจ้าแผ่นหล้าพสุธา
ข้าพา่ เรนิ ผวั มาทุกเมื่อ สรา้ งบุญเผอ่ื รักษา เหมอื นนางสีดางามแง่ ปฏบิ ตั ิแกพ่ ระยารามน้ันแล”

ส่วนลักษณะเด่นด้านลีลาการใช้ภาษาในวรรณคดีเทศน์มหาชาติล้านนาเรื่อง เวสสันดรชาดก
สานวนวิงวอนหลวงนี้ดีเด่นท้ังลีลาการใช้ภาษาระดับคา ระดับประโยคและข้อความ ยกตัวอย่างเช่น ลีลา
การใช้ภาษาระดับคา ดังข้อความตอนพระนางมัทรีกล่าววิงวอนขอผ่านทางจากพญาเน้ือทั้ง 3 ตัวว่า “
ดูรา เจ้าพระยาเนื้อทังสาม กรียาอันไหว้แห่งข้า จุ่งมีแก่พระยาเนื้อทังสาม อันมีตัวงามพีใหญ่ ขออิ่นดูกู
นางหน่อท้าว น้องแห่งสูเจ้าช่ือว่ามัทที” การใช้คาว่า ข้าและกูนางน้ัน เป็นคาศัพท์ที่บ่งบอกถึงตัวตนผู้
กล่าววิงวอนด้วยความเคารพยาเกรงและมีลักษณะการขอความเอ็นดูด้วย การใช้คาเช่นน้ี ทาให้ผู้ฟังรู้สึก
รักและสงสารนางมัทรีมาก ลีลาการใช้ภาษาระดับประโยคนั้น จะมีรูปแบบที่สมบูรณ์ทั้งประธาน กริยา
และกรรม รวมทั้งมีข้อความขยายประธานบ้าง ขยายกริยาบ้าง เช่น “พระยาเนื้อทังสาม อันมีตัวงามพี
ใหญ่ ขออิ่นดูกูนางหน่อท้าว น้องแห่งสูเจ้าช่ือว่ามัทที” จะเห็นได้ว่าประโยคนี้มีคาขยายประธานเป็น
กลุ่มคาคือ “อันมีตัวงามพีใหญ่และขยายลักษณะของพระยาเน้ือท้ัง 3 ตัว ส่วนกริยาและกรรมที่ว่า
“ขออ่ินดู กูนางหน่อท้าวว่ามัทที ” คาว่า “ขออ่ินดู” ตรงกับภาษาไทยมาตรฐานว่า “ขอเอ็นดู”หมายถึง
ความสงสารขอความเห็นใจ และด้านกลุ่มคาตอนหนึ่งว่า “กูนางหน่อท้าว” เป็นกรรมท่ีรับการขอความ
เอน็ ดู ทไ่ี พเราะอกี สว่ นหนงึ่ คือ มีกล่มุ คาขยายกรรมไวด้ ้วยวา่ “วา่ มัทท”ี

ส่วนลลี าการใช้ภาษาระดับข้อความนั้นเกิดขึ้นจากการนาถ้อยคามาเรียงร้อยต่อเน่ืองกันเป็นกลุ่ม
ของถ้อยคาอาจมีลักษณะเป็นประโยคทั้งขนาดส้ันและขนาดยาวต้ังแต่ 1 ประโยคขึ้นไปจนกระท่ังส่ือ
ความหมายได้ครบถ้วนสมบูรณ์ตามที่ต้องการ องค์ประกอบในด้านของข้อความน้ีมีลักษณะประสม
ประสานกันด้วยประโยคหลายๆ ประโยค ก่อเกิดเป็นกระบวนประโยคท่ีต่อเน่ืองกันไปจนเป็นภาษาระดับ
ข้อความ วรรณคดีเทศน์มหาชาติล้านนาเร่ืองมหาเวสสันดรชาดกนจ้ี ัดว่าเป็นภาษาระดับข้อความทีม่ ีความ
โดเด่นในด้านลีลาภาษาในลักษณะโวหารและภาพพจนช์ นิดต่างๆ ลักษณะภาษาโวหาร เชน่ บรรยายโวหาร
พรรณนาโวหาร ลักษณะภาษาภาพพจน์ เช่น ภาพพจน์อติพจน์ ภาพพจน์สัทพจน์ และภาพพจน์
บุคลาธิษฐาน โวหารและภาพพจน์ดังกล่าวล้วนมีความโดดเด่นในตัวบทเพราะเป็นกลไกสาคัญท่ีใช้เป็น
เครื่องมือตรึงใจผู้ฟังให้รับฟังการเทศน์มหาชาติน้ีได้จนกระท่ังจบเร่ือง ตัวอย่างภาพพจน์ในกัณฑ์กุมาร
ตอนนาวมัทรีสุบินนิมิตว่า “ต พน รตฺตึ ในกลางฅืนใกล้รุ่งรวายตรี นางราชะมัททีเทวีระสีนี ก็มาฝันหัน
หลาก นิมิตรมากปูนกลัว เอโก ปุริโส ยังมีชายผู้น่ึงดา ๆ เนื้อมันก่าเหมือนหมี นุ่งผ้าดีย้อมฝาด ผืนน่ึงนุ่ง
พายใน ผนื นึ่งสะไบพายนอก มาทดั ดอกไม้แดงสองหู ผ่อเล็งดหู ย้อหยาบ มือถอื ดาบแคนตา เขา้ มาสู่บัณณ
ศาลานางแลว้ กฅ็ า่ ราบนางแกว้ มัทที ยับเอาเกษีหมวดเกล้า หื้อนางท่าวนอนหงาย แล้วขวักเอาตานางนาย
ทังคู่ แล้วตัดเอาต้นแขนนางกว่า ยกขวานผ่าหัวอก จกเอาหัวใจได้แล้ว นางแก้วไห้เกิดติงตาย แล้วถือเอา
วัตถทุ ังหลายหนีกว่า เข้าส่ปู ่าไม้ไปพลัน” คาวา่ ยังมีชายผู้น่ึงดา ๆ เนอื้ มันกา่ เหมือนหมี นน้ั เปน็ คาท่ีแสดง
ให้เห็นภาพพจน์ว่า ชายน้ันดาเหมือนหมี เป็นต้น ตัวอย่างโวหาร เช่น..“มาตุกาโม ช่ือว่าแม่ญิงทังหลาย
เทียรย่อมห้ามเสียยังทาน บันดาลห้ือเป็นอนธะรายแก่ทานทุกเมื่อด่าย อห ควรกูน้ีย้ังนอนในท่ีนี้หื้อสบาย
กอ่ นเทอะ ฯ ตกในวนั ลนู พรูกเช้าพอดี เมอ่ื นางมัททีเข้าไปป่าแลว้ กเู ยยี ะเข้าไปสู่พระเวสสันดร จกั วอนขอ

465

เอาลูกแก้ว ได้แลว้ ค่อยหนีไปเทอะว่าอ้ัน” คาว่า บันดาลหื้อเป็นอนธะรายแก่ทานทุกเมื่อด่าย เปน็ สานวน
ทบ่ี อกวา่ ผหู้ ญิงเป็นอนั ตรายตอ่ การ บรจิ าคทาน เปน็ ตน้

จากการสารวจงานวิจัยเก่ียวกับลีลาภาษาในวรรณคดีของไทยทั้งในราชสานักและวรรณคดี
ท้องถ่ินมีงานวิจัยท่ีเก่ียวข้องกับลีลาภาษาในวรรณกรรมโดยทั่วไปอยู่บ้างและงานวิจัยที่ศึกษาเก่ียวกับ
วรรณคดีล้านนาเร่ือง เวสสันดรชาดกพบว่า ยังไม่มีใครศึกษาประเด็นนี้โดยตรง ดังน้ัน ผู้เขียนจึงมีความ
ประสงค์จะนาเสนอผลการวิเคราะห์เกี่ยวกับลีลาภาษาในวรรณคดีเทศน์มหาชาติเรื่อง เวสสันดรชาดก ทั้ง
3 ด้าน คือ ลีลาการใช้ภาษาระดับคา ลีลาการใช้ภาษาระดับประโยคและลีลาการใช้ภาษาระดับข้อความ
เนื่องจากการเทศน์มหาชาตทิ ่ีเปน็ ท้องถิ่นล้านนามีผู้ศึกษาคน้ ควา้ ไวจ้ านวนมากแต่มีปัญหาที่ความแตกต่าง
กันในลีลาภาษาและความหมายทั้งระดับคาและประโยค ปัญหาในแต่ละประเด็นและยังไม่ค่อยมีคน
เผยแพรก่ ารใชล้ ลี าภาษาเชน่ น้ซี ง่ึ จะเปน็ ประโยชน์ต่อผสู้ ืบไป (ประคอง นิมมานเหมินท์, 2526 : 62)

วัตถุประสงค์ของบทความการวิจัยคือ เพื่อวิเคราะห์ลีลาภาษาระดับคาและประโยคในวรรณคดี
เทศน์มหาชาติล้านนาเร่ืองมหาเวสสันดรชาดก และเพื่อวิเคราะห์ลีลาภาษาระดับข้อความในวรรณคดี
เทศน์มหาชาติลา้ นนาเรื่อง มหาเวสสนั ดรชาดก

วิธีการศึกษา ผู้เขียนบทความใช้ข้อมูลในการวิจัยเกี่ยวกับเรื่องนี้มีด้านข้อมูล ด้านแนวคิด และ
ดา้ นเวลา 1. ดา้ นข้อมูลไดจ้ ากตวั บทท่ีใช้ในการเทศน์มหาชาติซงึ่ เปน็ ท่นี ิยมใช้กันอย่างแพร่หลายในพ้ืนถิ่น
ล้านนาคือเร่ือง “มหาเวสสันดรชาดก ฉบับวิงวอนหลวง” ปรุงแต่งโดยนายบุญคิด วัชรศาสตร์ (เปรียญ)
แบ่งข้อมูลออกเป็น 2 ตอน ดังนี้ ตอนต้น เป็นข้อมูลท่ีใช้กล่าวก่อนเข้าสู่การเทศน์มหาชาติทั้ง 13 กัณฑ์
มีข้ันตอนแสดงธรรมเช่น คาอาราธนาธรรมและบทปฐมมาลัยเก๊า เป็นบทที่พระสงฆ์ซึ่งเป็นองค์เทศนา
ธรรมเทศน์ก่อนท่ีจะเทศน์มหาชาติแล้วตามด้วยเร่ือง เวสสันดรชาดกท้ัง 13 กัณฑ์ ดังน้ี 1.กัณฑ์ทศพร มี
จานวน 19 คาถา 2. กณั ฑ์หิมพานต์ มีจานวน 134 คาถา 3. กัณฑ์ทานกัณฑ์ มจี านวน 209 คาถา 4.
กัณฑ์วนปเวศน์ มีจานวน 57 คาถา 5. กัณฑ์ชูชก มีจานวน 79 คาถา 6. กัณฑ์จุลพน มีจานวน 35
คาถา 7. กัณฑ์มหาพน มีจานวน 80 คาถา 8. กัณฑ์กุมาร มีจานวน 101 คาถา 9. กัณฑ์มัทรี มีจานวน
90 คาถา 10. กัณฑ์สักบรรพ มีจานวน 43 คาถา 11. กัณฑ์มหาราช มีจานวน 69 คาถา 12. กัณฑ์
ฉกษัตริย์ มจี านวน 36 คาถา และ 13. กัณฑ์นครกัณฑ์ มีจานวน 48 คาถา รวมพระคาถาได้ 1,000 พระ
คาถา(คาถาพัน) และตอนท้าย เป็นบท “ทุติยมาลัยปลาย” เป็นบทท่ีพระสงฆ์รูปหน่ึงซึ่งนิมนต์มาเทศน์
กัณฑ์นี้โดยเฉพาะ ส่วนด้านวรรณคดีเทศน์มหาชาติล้านนาเรื่องมหาเวสสันดรชาดก ฉบับวิงวอนหลวงท่ี
ปรุงแต่งโดยนายสมคิด วัชรศาสตร์น้ี เม่ือพระนักเทศน์แต่ละท่านนาไปเทศน์จริงได้มีการปรุงแต่งถ้อยคา
บางจุดใหแ้ ตกต่างไปจากตวั บทเดิมเพ่ือให้เหมาะสมกับบริบทการเทศน์ในแต่ละคร้ัง ดังน้ัน ผูว้ ิจัยจงึ สารวจ
และเกบ็ ขอ้ มูลการปรุงแตง่ ถ้อยคาสานวนโดยพระนักเทศน์แตล่ ะท่านด้วย

ส่วนพระนักเทศน์แต่ละท่านถนัดท่ีจะเทศน์ในกัณฑ์ต่างๆ แตกต่างกันไปและเมื่อเทศน์ในกัณฑ์ท่ี
ตนถนัดก็จะปรุงแต่งถ้อยคาในกัณฑ์นั้นให้แตกต่างออกไป ผู้วิจัยจึงให้พระนักเทศน์ที่ถนัดเทศน์แต่ละ
กัณฑ์นั้นได้ให้ข้อมูลถ้อยคาท่ีได้ปรุงแต่งให้แตกต่างไปจากต้นฉบับ ตัวอย่างเช่น กัณฑ์ทศพร โดยพระธีร์
เนศ จิรวฑฺฒนเมธี จากวัดช่างเคี่ยน ตาบลสุเทพ อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ กัณฑ์หิมพานต์ โดย
พระครปู รยิ ตั ิยานุศาสน์ เจา้ อาวาสวัดฝายหิน รองเจา้ คณะอาเภอเมือง ตาบลสเุ ทพ อาเภอเมือง จังหวดั
เชียงใหม่ กัณฑ์ทานกัณฑ์ โดยพระจิรยุทธ อาภทฺรเมธี จากวัดพระสิงห์วรมหาวิหาร ตาบลพระสิงห์
อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ กัณฑ์วนปเวศน์ โดยพระรัตน์ติพิงค์ มหาคมฺภีรวโส จากวัดบ้านมอญ
ตาบลสนั กลาง อาเภอสนั กาแพง จังหวดั เชียงใหม่ กัณฑช์ ชู ก โดยพระครูวรธรรมวริ ชั จากวดั โสภณาราม

466

ตาบลดอนแก้ว อาเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่..และ. กัณฑ์มัทรี โดยพระใบฎีกาชาญณรงค์ จนฺทรโส
จากวดั ทุ่งหมื่นน้อย ตาบลหนองหาร อาเภอสันทราย จงั หวัดเชียงใหม่ เป็นตน้

ด้านขอบเขตด้านแนวคิด คือ แนวคิดสุนทรียศาสตร์ซ่ึงผู้วิจัยปรับประยุกต์ใช้แนวความคิดของ
ดวงมน จติ ร์จานง (2541) และจติ รลดา สุวัตดิกุล (2554, : 211-239) ซงึ่ มีประเด็นวิเคราะห์ 2 ประเด็นคือ
1.ลีลาภาษาระดับคาและประโยค จะวเิ คราะห์เสยี งของคา การเล่นคา และจังหวะกับลีลาของคา โดยเสียง
กับความหมายจะมีความสัมพันธ์และสอดประสานกันและ 2. ลีลาภาษาระดับข้อความ เป็นการใช้ภาษาที่
มุ่งใหเ้ กดิ ความงามในลักษณะภาพพจน์ รสวรรณคดี และโวหาร

ผลการศึกษาพบว่า ข้อมูลด้านคัมภีร์เทศน์ฉบับวงวอนหลวงเป็นฉบับท่ีสมบูรณ์ กล่าวคือ การใช้
ระดับเปน็ การใชค้ าท่ีเรยี บง่าย เปน็ คาเรียกในท้องถ่ินล้านนาที่ทุกคนฟังแล้งเข้าใจได้ทันที ลลี าประโยคจะ
เป็นประโยคสั้นๆ ไม่ค่อยมีความสลับซับซ้อนนัก ยิ่งระดับข้อความในเน้ือหานั้นเป็นถ้อยคาและสานวนที่
คนในท้องถ่ินล้านนาใช้เป็นประจา แม้มีคาภาษาบาลีหรือคาศัพท์ยากอยู่บ้าง แต่จามีคาบรรยายขยาย
ข้อความให้เห็นชัดเจนอีกทอดหนึ่ง เช่น ข้อความว่า “พระยาเนื้อทังสาม อันมีตัวงามพีใหญ่ ขออิ่นดูกูนาง
หนอ่ ท้าว น้องแหง่ สเู จา้ ชื่อว่ามทั ที” เมอื่ วเิ คราะหจ์ กั เหน็ รายละเอียดของข้อความดังนี้

ระดับภาษา ลลี าเน้ือหา
1. ระดับคา
พระยาเนื้อทังสาม อันมตี ัวงามพใี หญ่ คาที่ขยายลักษณะของพระ
2. ระดับประโยค ยาเนื้อทั้ง 3 ตวั
พระยาเนื้อทังสาม อันมีตัวงามพใี หญ่ ขออิ่นดูกนู างหน่อทา้ ว
3. ระดับข้อความ ประโยคสั้นๆ แตส่ มบูรณ์ท้ังประธาน กรยิ าและกรรม

กนู างหน่อท้าว เป็นกลุม่ คาขยายกรรมไว้ดว้ ยว่า “ว่ามัทที”

ตัวอย่างข้อ 1 หมายถึง คาศัพท์ท่ีเป็นประธานและคาศัพท์ท่ีขยายประธานคือ ลักษณะของพระ
ยาเน้อื ท้งั 3 ตัว

ตัวอย่างข้อ 2 มายถึง ประโยคสั้นๆ แต่สมบูรณ์ทั้งประธาน กริยาและกรรมและคาท่ีขยาย
ลักษณะของพระยาเน้ือท้ัง 3 ตัววา่ มตี ัวงามพใี หญ่

ตวั อย่างขอ้ 3 หมายถึง ขอ้ ความหรือกลุ่มคาอาจจะเปน็ ประธานหรือกล่มุ กริยาและกลุ่มกรรมก็ได้
เช่น กนู างหนอ่ ท้าว เปน็ กลุม่ คาขยายกรรมไวด้ ว้ ยว่า “ว่ามัทท”ี

จากการค้นคว้าพบข้อมูลเบ้ืองต้นว่า ลีลาภาษาในเน้ือวรรณกรรมนั้น มีสานวนภาษาท่ีเข้าใจง่าย
เพราะเป็นคาเมืองท่ีเหมาะสมกับท้องถ่ินล้านนาแม้จะใช้อักษรไทยกลางแต่เป็นสาเนียงเสียงคาเมืองหรือ
ภาษาไทยถิ่นล้านนา มีรูปแบบการประพันธ์ท้องถ่ินท่ีเรียกว่า “ค่าว” มีลีลาการใช้ภาษาเป็นเอกลักษณ์
ของคาและสานวนล้านนา มีการใช้คาสรรพนามและคาวิเศษณ์ท่ีบ่งบอกลักษณะได้ชัดเจน เช่น การ
พรรณนาลักษณะของชูชกท่ีหนีหมาปีนข้ึนตน้ ไม้แลว้ หลบซ่อนตัวอยู่ พรานเจตบุตรสงสัยจึงไปสอดส่องหา
ว่าหมามันเห่าอะไรจึงบรรยายด้วยคาไพเราะว่า “พรานเจตบุตรจ่ิงฅนิงใจว่า หมากูนี้เห่าอะสัง รอยว่าปะ
หมเี ถา้ แตก่ ลางเถื่อนดงหนา บ่อ้ันก็หมาไปหันใส่ กวางฟานไดพ้ ลัดเพื่อน หลงดงเถื่อนป่ากว้าง บ่อั้นก็ไปคั้น
ช้างขบตาย พรานเจตบตุ รจ่ิงแล่นเขา้ ใกล้ ตาสอดไซเ้ ลง็ ดูเยียะจะลิงจะลงิ กลง้ิ ตาเมือพายบนแลว้ ลงลุ่ม ซัด
ตาหันไปในฅุ่มเอามือก้ังบั้งหน้าผากเล็งหา จ่ิงหันมือพราหมณ์เกาะก่ิงไม้ จักว่านกเค้าก็เหมือนหงษ์ จักว่า
ลิงดงก็ยังบ่ใช่ จักว่าผีตะมอยก็ยังมีดั่งเก่า จักว่าลิงเถ้าก็บ่มีหาง จักว่ากวางฟานก็ยังลู่ขึ้นต้นไม้ จักว่าไก่

467

เถื่อนก็บ่มีขน จักว่าฅนก็มีรูปร้ายนักบ่ห่อนจักมี รอยว่าเป็นผีวิศาจ มันใคร่อยากชมดอยดง จิ่งเทียวผันมา

รอด จักยับทอดเอาหมากูไปกิน พรานเจตบุตรจิ่งย้ายออกจากฅุ่มไม้ กางธนูไว้เหมือนดั่งจักยิง ก็เล็งแล

หนั ถงห่อเข้า แหง่ ปเู่ ถ้าชพี ราหมณ์อันปดุ ขาด รอกมาทนึ้ ยาดลงมาคั้น เล็งซ้นั แทก้ ็หนั ขาพราหมณ์เถ้า คาบ

กง่ิ ไมเ้ ค้าอยู่อ๋งปง กบ็ ห่ ันวัตถใุ ดเป็นเครื่องข้า คือว่ามดี พร้ากงธนู พรานเจตบุตรจิ่งเข้าล่อ ตงั้ ตาผอ่ เล็งดู ก็

หันหูพราหมณ์บานทาบยาบ ผ่อดูแท้ก็หากหันตัวพราหมณ์ ตัวลายเต็มไปด้วยไฝแดงแกมข้ีกราก ปากมัน

สวดโจนโปน คางมนั เว่าว้ามดง่ั ปากนกยาง รอยว่าเป็นผีเข็ญ จักว่าเห็นก็หนั ดูหลาก รอยว่าผีเส้ือร้ายพราก

ไหนมา เลง็ หันท้องใหญเ่ ท่าลาตาล ฯ เมือ่ น้นั พรานเจตบตุ ร จิ่งรูว้ า่ เปน็ พราหมณ์เถ้า จง่ิ กล่าวฅา่ ราบ กลา่ ว

ขนาบห้ือพราหมณ์กลัว ว่าดูราพราหมณ์พาโลปู่เถ้าใจหยาบ มึงจักมาขอเอาเจ้าราชกุมารทังสอง ผิบ่มีดั่ง

อั้น กจ็ กั ขอเอาราชะมัทที กูจักขา้ พราหมณ์เถา้ น้ีห้ือตายเทอะ” (บุญคดิ วัชรศาสตร์.2545) จากข้อความน้ี

จะเห็นได้ว่า พรานเจตบุตรงุนงง สงสยั มากวา่ ตวั อะไรหนีขน้ึ ไปบนตน้ ไม้ ผูแ้ ต่งจึงใชล้ ีลาของถ้อยคา ลีลา

ประโยคและระดบั ข้อความพรรณนาบ้าง เปรยี บเทียบคาบ้างซึ่งอธบิ ายเป็นภาษาไทยกลาง 8 ตวั อย่างดังน้ี

ลีลาคานาม ลลี าคาขยาย

1.จกั ว่านกเค้า กเ็ หมือนหงษ์ นกเค้าหมายถงึ นกเค้าแมว

2.จกั ว่าลิงดง กย็ ังบ่ใช่ หมายถึง ลิงปา่

3.จักวา่ ผีตะมอย กย็ งั มดี ั่งเกา่ หมายถงึ คนประหลาดคลา้ ยผี ชอบลามก

4.จักวา่ กวางฟาน กย็ ังลู่ข้ึนตน้ ไม้ หมายถึง กวางแต่ทาไมมันปีนต้นไม้ได้

5.จักวา่ ลิงเถ้า ก็บม่ หี าง หมายถึง ลงิ แก่แต่ไม่ใช่ มันไม่มีหาง

6.จักวา่ ไก่เถือ่ น ก็บม่ ีขน หมายถึง ไกป่ ่า

7.จกั วา่ ฅน ก็มีรปู ร้ายนัก หมายถึง เหมือนคนแต่รูปร่างอัปลักษณ์มาก

8.เล็งหันท้องใหญ่ เท่าลาตาล หมายถงึ ท้องชชู กที่ใหญ่และน่ากลวั

จากตารางอธบิ ายเป็นภาษาไทยกลางท้ัง 8 ตวั อยา่ ง ดังน้ี

1. จักว่านกเค้า หมายถงึ นกเค้าแมว แตย่ ังไม่ใช่ ไมข่ ดั เจน

2. จักวา่ ลงิ ดง หมายถึง ลงิ ป่า แตก่ ็ยงั บใ่ ช่ มันคล้ายๆ เท่านัน้

3. จักว่าผีตะมอย หมายถึง คนประหลาดคล้ายผี ล่องหนหายตัวเก่ง ชอบลามก ชอบลักขโมย

เสอื้ ผา้ ผ้หู ญิง

4. จักว่ากวางฟาน ก็ หมายถึง สัตว์ประเภทกวาง มี 4 เท้า แต่ทาไมมันปีนต้นไม้ได้ (ยังลู่ขึ้น

ต้นไม)้

5. จักว่าลงิ เถา้ หมายถึง ลงิ แกแ่ ตไ่ ม่ใช่ มันไมม่ ีหาง (ก็บ่มีหาง)

6. จกั ว่าไกเ่ ถื่อน หมายถึง ไก่ปา่ ลักษณะเหมือนไก่แจ้ มขี นสสี วยสดใส แต่ไม่ใช่เพราะไม่มีขน (ก็

บม่ ขี น)

7. จกั ว่าฅน หมายถึง เหมือนคนแต่รปู รา่ งอัปลักษณม์ ากไมค่ ่อยเหมือนคน (ก็มรี ปู ร้ายนัก)

8. เลง็ หนั ท้องใหญ่ หมายถึงท้องชชู กท่ีใหญ่และนา่ กลวั ทอ้ งใหญเ่ ท่าเทา่ ลาตาล

ส่วนลีลาภาษาระดับข้อความในวรรณคดีเทศน์มหาชาติล้านนาเร่ือง มหาเวสสันดรชาดกที่พระ

นักเทศน์นามาใช้และมีการต่อเติมเสริมคาบ้าง ลดละข้อความบางตอนบ้างนั้น พระนักเทศน์รูปหน่ึงได้

อธิบายว่า มีบ้างเพ่ือให้เหมาะกับเวลาและสถานการณ์ในท้องถ่ินนั้นๆ เช่น กัณฑ์ชูชกอาจมีการเสริมแต่ง

เรื่อง การแตง่ งานของชชู กกับนางอมิตตดา มกี ารแสดงเช่น ซอ ขอลา้ นนาหรือบรรยายการฟ้อนราบ้าง ยิ่ง

ตอนชูชกกินอาหารมามายจนธาตุพิการอาหารไม่ย่อยจนจุกตาย ทางล้านนาว่า ท้องแตกตาย อาจ

468

พรรณนาถึงท้องแตกระเบิกเสียงดัง ป้งุ ๆ เป็นต้น ทาให้ผู้ฟงั ไดย้ ิน ได้เห็นเปน็ ภาพพจน์ข้ึนมา ทาให้สนุก มี
ความสุขในการฟงั เปน็ ตน้

สรุปผลของการวิจัยและบทความได้ว่า การใช้ลีลาการเทศน์มหาชาตินั้น ต้องใช้ระดับคา ระดับ
ประโยคในตัวบทวรรณคดีเป็นที่ต้ัง และผู้เทศน์จักต้องเสียง สาเนียงท่ีเป็นลีลาแบบล้านนาประกอบ อาจ
แทรกถอ้ ยคา ประโยคทส่ี อดคล้องกับท้องถิ่นล้านนา และพระนักเทศน์นั้นจักต้องฝึกฝนการเทศน์ต้องรู้จัก
ประยุกต์ลีลาการเทศน์ให้ดูว่า น่าศรัทธา น่าฟังและถ้าหาวิธีการเทศน์ที่ประยุกต์ใหเข้ากับสถานการณ์
บ้านเมอื งในยคุ น้นั ๆ กจ็ ะทาใหผ้ ู้ฟงั มีความสนุก มคี วามสขุ ในการฟังมากยิ่งข้นึ

ข้อเสนอแนะในบทความนี้คือ คณาจารย์ทางการศึกษาควรจัดใหม้ ีการเทศน์มหาชาตลิ ้านนาอย่าง
น้อยปีละ 1 คร้ัง เพื่อให้นักศึกษาได้รู้ ได้เห็นและได้สัมผัสกับงานเทศน์มหาชาติบ้าง เพราะเป็นการ
ถา่ ยทอดความรโู้ ดยตรงให้กับนักเรยี นนักศึกษาและบุคคลท่ัวไป

แหลง่ อ้างอิง
จติ รลดา สุวตั ดิกลุ .วรรณกรรมไทยรว่ มสมัย ประวัตแิ ละวจิ ารณไ์ ทย, (2526, หน้า 211-239)
ประคอง นิมมานเหมินทร์,ศาสตราจารย์. 2526. มหาชาติล้านนา: การศึกษาในฐานะท่ีเป็นวรรณคดี

ท้องถิน่ .กรงุ เทพมหานคร : ไทยวัฒนาพานชิ .
บญุ คิด วชั รศาสตร์.2545. มหาชาติเรอื่ ง พระเวสสนั ดรชาดก ฉบับวิงวอนหลวง. เชียงใหม่.
ศูนยส์ นเทศภาคเหนือ สานกั หอสมุด มหาวิทยาลยั เชียงใหม่, (2535.หนา้ 34)
วาทติ ธรรมเชื้อ. 2555. การศกึ ษาวรรณกรรมล้านนาเรื่องมหาชาติภาคพายัพ ฉบับสร้อยสังกร. บัณฑิต

วิทยาลัย : มหาวิทยาลัยศิลปากร.


Click to View FlipBook Version