The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ebookrayong, 2020-09-11 09:58:50

การประชุมสัมมนาวิชาการนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ

Full-Paper-NACED-Education

279

1. Change leadership for resource and environmental management of the green
economy community in Uttaradit province in each area found that in the overall picture
was at a high level.

2. Resource and environmental management of the green economy community
in Uttaradit province in all aspects in the overall picture is at a high level.

3. Factors affecting the resource and environmental management of the green
economy community in Uttaradit Province. From the study, it was found that only 15
independent study variables were available. Only 12 sets could explain the variation of
resource and environmental management of the community. Green economy in
Uttaradit province with statistical significance at the level of .05

Keywords :Transformational leadership, management, resources and environment,
green economy community

บทนา
ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม มีความสาคัญและจาเป็นต่อมนุษย์เป็นอย่างมาก อีกท้ัง

อานวยประโยชนแ์ ก่มนษุ ย์ในดา้ นต่าง ๆ การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจไทยในปจั จบุ นั มคี วามจาเป็นต้อง
พงึ่ พาทรพั ยากรอีกท้ังทรัพยากรและส่งิ แวดล้อมมีอยู่อย่างจากดั ทรพั ยากรและส่ิงแวดล้อมบางอย่างไม่
สามารถสร้างทดแทนใหม่หรืออาจต้องใช้ระยะเวลานานในการสรา้ งข้ึนมาทดแทน ทั้งความต้องการใช้
ทรัพยากรและส่ิงแวดล้อมมีจานวนมากข้ึนจากการขยายตัวของเศรษฐกิจทาให้ทรัพยากรและ
ส่ิงแวดล้อมถูกทาลายเสื่อมโทรมลง โดยเฉพาะการนาเอาทรัพยากรและสง่ิ แวดล้อมมาใช้ในการแข่งขัน
ทาให้เกิดก๊าซเรือนกระจกส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและปัญหาโลกร้อน ซึ่ง
ปรากฏการณด์ ังกลา่ วจึงเกิดแนวคดิ เศรษฐกิจสเี ขียว (Green Economy) ท่ีมงุ่ เนน้ การพัฒนาทรพั ยากร
และส่ิงแวดล้อมให้สามารถนากลับมาใช้ใหม่ (Renewable Economy) หรือเทคโนโลยีที่เป็นมิตรกับ
ส่ิงแวดล้อม (Green Energy) แนวคิดเศรษฐกิจสีเขียว (Green Economy) จากท่ีกล่าวมาทาให้
มองเห็นว่าทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมมีความสาคัญเป็นอย่างยิ่งในการพัฒนาชุมชนสังคม
จังหวัดอุตรดิตถ์ เป็นจังหวัดท่ีมีสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่มีความอุดมสมบูรณ์มีป่าไม้และแหล่ง
ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมที่สาคัญ ด้วยเหตุผลดังกล่าวชุมชนท้องถ่ินในจังหวัดอุตรดิตถ์ยัง
ขาดการบริหารจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมที่ดี ทั้งน้ีผู้มีบทบาทสาคัญในการขับเคลื่อนหรือการ
บริหารจัดการทรัพยากรและส่ิงแวดล้อมได้แก่ ผู้นาชุมชนท้องถ่ินในพื้นที่ จากสถานการณ์ที่ผ่านมา
พ บ ว่ า ชุ ม ช น ท้ อ ง ถ่ิ น ใ น จั ง ห วั ด อุ ต ร ดิ ต ถ์ ยั ง ไ ม่ มี แ น ว ท า ง ท่ี ดี ใ น ก า ร จั ด ก า ร ห รื อ แ ก้ ไ ข ปั ญ ห า
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ไมว่ า่ จะเป็นชุมชนท้องถิ่นใดก็ตามก็มีลักษณะไมแ่ ตกต่างกนั ไดแ้ ก่
ปัญหาด้านป่าไม้ การใช้ท่ีดิน ปัญหาการบุกรุกพื้นท่ีสาธารณประโยชน์ ปัญหาขยะมูลฝอย ปัญหาการ
กาจัดส่ิงปฏิกูล เป็นต้น (สานักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัดอุตรดิตถ์. 2561 :
ออนไลน์) ปัญหาและอุปสรรคในการจัดการทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมท่ีผา่ นมานั้น จะเห็นว่า
ไม่ได้รับการแก้ไขให้บรรลุผลได้เท่าท่ีควร จากสภาพปัญหาดังกล่าวผวู้ ิจัยมีความสนใจในการศึกษาวจิ ยั
การพัฒนาภาวะผู้นาในการบริหารจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมบนพ้ืนฐานภูมิปัญญาเศรษฐกิจ
พอเพียงเพื่อความเข้มแข็งของชุมชนท้องถิ่นสู่เศรษฐกิจสเี ขียวและสงั คมคารบ์ อนต่าในจงั หวัดอตุ รดิตถ์

280

เพ่ือใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาให้เกิดภาวะผู้นาในชมุ ชนท้องถ่ินให้เห็นถึงความสาคัญและการบริหาร
จัดการทรพั ยากรและส่ิงแวดลอ้ มอนั นาไปสูเ่ ศรษฐกจิ สเี ขียวและสงั คมคาร์บอนต่าอยา่ งเปน็ รปู ธรรม อนั
สามารถแกป้ ัญหาทเี่ กดิ ขน้ึ ตอ่ ไป

วัตถุประสงคข์ องการวิจัย
1. เพ่ือศึกษาภาวะผู้นาการเปล่ียนแปลงเพื่อการบริหารการจัดการทรัพยากรและส่ิงแวดล้อม

ของชมุ ชนเศรษฐกิจสเี ขยี วในจังหวดั อุตรดิตถ์
2. เพ่ือศึกษาการบริหารจดั การทรัพยากรและสง่ิ แวดลอ้ มของชุมชนเศรษฐกิจสเี ขียวในจังหวัด

อตุ รดติ ถ์
3. เพ่ือศึกษาปัจจัยท่ีส่งผลต่อการจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมของชุมชนเศรษฐกิจสีเขยี ว

ในจงั หวดั อุตรดติ ถ์

ขอบเขตของการวจิ ยั
การศึกษาภาวะผู้นาการเปล่ียนแปลงเพื่อการบริหารจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมของ

ชุมชนเศรษฐกจิ สีเขียวในจงั หวัดอุตรดิตถ์ ผวู้ จิ ัยดาเนนิ การศึกษามีขอบเขตดังน้ี
ขอบเขตด้านเนื้อหา
เนือ้ หาที่ใชใ้ นการศกึ ษาครั้งน้ปี ระกอบดว้ ย
1. ภาวะผู้นาการเปล่ียนแปลงเพ่ือการบริหารจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมของชุมชน

เศรษฐกจิ สีเขยี ว
2. ปัจจัยที่มีผลต่อการจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมของชุมชนเศรษฐกิจสีเขียวในจังหวัด

อตุ รดิตถ์
3. การบรหิ ารจัดการทรัพยากรและสง่ิ แวดลอ้ มของชุมชนเศรษฐกจิ สีเขยี วในจังหวดั อตุ รดติ ถ์
ขอบเขตด้านประชากรและกลุ่มตวั อย่าง
การศึกษาภาวะผู้นาการเปล่ียนแปลงเพ่ือการบริหารจัดการทรัพยากรและส่ิงแวดล้อมของ

ชมุ ชนเศรษฐกจิ สีเขียวในจงั หวดั อตุ รดิตถ์ ประชากรท่ีใช้ในการศกึ ษา ไดแ้ ก่ ผ้นู าชมุ ชนทอ้ งถ่ินในจงั หวัด
อุตรดิตถ์ จานวน 540 คนกลมุ่ ตวั อยา่ งท่ีใช้ในการศกึ ษา ไดแ้ ก่ กลมุ่ ตวั อย่างผูน้ าชุมชนท้องถน่ิ ในจงั หวัด
อุตรดิตถ์ จานวน 510 คน โดยใช้ตารางการคานวณสูตรทาโร ยามาเน่ (Taro Yamane) โดยมีค่า
ความคลาดเคลอ่ื นที่ 0.01

ขอบเขตดา้ นพืน้ ท่ี
พื้นท่ีท่ีใช้ในการศึกษาวิจัยได้แก่ ชุมชนท้องถิ่นในจังหวัดอุตรดิตถ์ ประกอบด้วย อาเภอเมือง
อาเภอลับแล อาเภอตรอน อาเภอฟากท่า อาเภอบ้านโคก อาเภอท่าปลา อาเภอพิชัย อาเภอทองแสน
ขัน อาเภอนา้ ปาด

ประโยชนท์ ี่ไดร้ บั
ในการวิจยั ครั้งนี้ ได้รบั ประโยชน์เชิงวิชาการ และประโยชน์ตอ่ หน่วยงานท่ีเกย่ี วขอ้ ง ดงั น้ี
1. ได้ข้อมลู ลักษณะภาวะผู้นาการเปล่ียนแปลงเพื่อการบริหารและปัจจัยที่สง่ ผลต่อการจัดการ

ทรพั ยากรและสิ่งแวดล้อมของชมุ ชนเศรษฐกิจสเี ขียวในจงั หวัดอตุ รดิตถ์

281

2. ได้ข้อมูลลักษณะการบริหารจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมของชุมชนเศรษฐกิจสเี ขียวใน
จังหวดั อุตรดติ ถ์

3. ได้รู้ถึงปัจจัยที่ส่งผลต่อการจัดการทรัพยากรและส่ิงแวดล้อมของชุมชนเศรษฐกิจสีเขียวใน
จังหวัดอุตรดติ ถ์

4. ได้ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายและแนวทางในการพัฒนาภาวะผู้นาการเปลี่ยนแปลงเพ่ือการ
บริหารและปัจจัยท่ีส่งผลต่อการจัดการทรัพยากรและส่ิงแวดล้อมของชุมชนเศรษฐกิจสีเขียว ในจังหวัด
อุตรดติ ถ์

ขนั้ ตอนในการดาเนินการวจิ ยั
การศกึ ษาวิจยั มีขน้ั ตอนดังนี้
การศึกษาภาวะผู้นาการเปล่ียนแปลงเพื่อการบรหิ ารจดั การทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมของ

ชุมชนเศรษฐกจิ สเี ขยี วในจังหวัดอตุ รดิตถ์ โดยผศู้ กึ ษาดาเนินการดงั นี้
1. ประชากรท่ีใช้ในการศึกษา ได้แก่ ผู้นาชุมชนท้องถิ่นในจังหวัดอุตรดิตถ์ จานวน 540 คน

กลุ่มตัวอย่างท่ีใช้ในการศึกษา ได้แก่ กลุ่มตัวอย่างผู้นาชุมชนท้องถิ่นในจังหวัดอุตรดิตถ์ จานวน 500
คน โดยใชต้ ารางการคานวณสตู รทาโร ยามาเน่ (Taro Yamane) โดยมีคา่ ความคลาดเคลอ่ื นท่ี 0.01

2. การเก็บรวบรวมข้อมูล ผู้วิจัยดาเนินการเก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถามในประเด็นภาวะผู้นา
การเปล่ียนแปลงเพ่ือการบริหารและปัจจัยที่ส่งผลต่อการจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมของชุมชน
เศรษฐกจิ สเี ขียวในจังหวัดอุตรดิตถ์

3. การวิเคราะห์ข้อมูลและสถิติที่เก่ียวข้อง ผู้วิจัยดาเนินการวิเคราะห์ข้อมูลจากแบบสอบถาม
โดยใชโ้ ปรแกรมสถติ ิประยกุ ต์ ได้แก่ การหาคา่ ความถี่ (Frequency) คา่ ร้อยละ (Percentage) คา่ เฉลย่ี
(Arithmetic Mean) ค่าเบย่ี งเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) สว่ นการหาค่าปัจจยั ผู้วจิ ัยใชส้ ถิติ
การหาค่าพหุถดถอย (Multiple Regression)

เคร่อื งมอื ทใี่ ชใ้ นการศึกษาวจิ ยั
การศึกษาวิจัยภาวะผนู้ าการเปลีย่ นแปลงเพื่อการบรหิ ารจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมของ

ชุมชนเศรษฐกิจสีเขียวในจังหวัดอุตรดิตถ์ผู้วิจัยดาเนินการโดยมีเคร่ืองมือในการศึกษาวิจัย โดยใช้
แบบสอบถาม มีลักษณะเป็นการตอบแบบตรวจรายการ (Check List) มีลักษณะเป็นการตอบลงใน
ชอ่ งว่าง ทีก่ าหนดให้

การจัดทากับขอ้ มลู และวเิ คราะห์ข้อมลู
การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณผู้วิจัยจะนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์สาเร็จรูปมาใช้ในการ

ประมวลผลวเิ คราะหข์ อ้ มลู ทไี่ ดจ้ ากการวจิ ยั ดงั น้ี
1. สถติ เิ ชงิ พรรณนา (Descriptive Statistics)
ส่วนท่ี 1 ขอ้ มลู จากการสอบถามเก่ียวกับขอ้ มลู เกี่ยวกบั สภาพทว่ั ไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ใช้

สถิติเชิงวิเคราะห์หาค่าเฉล่ีย ( ̅ ) ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และใช้สถิติการแจกแจงความถี่
(Frequency) และค่าร้อยละ (Percentage) เสนอเป็นตารางประกอบความเรยี งอธิบายข้อมูล เก่ียวกับ
สภาพทว่ั ไปของผตู้ อบแบบสอบถาม

282

ส่วนท่ี 2 ข้อมูลจากการสอบถามเก่ียวกับภาวะผู้นาการเปลี่ยนแปลงเพื่อการบริหารจัดการ
ทรัพยากรและส่ิงแวดล้อมของชุมชนเศรษฐกิจสีเขียวในจังหวัดอุตรดิตถ์ ตามความคิดเห็นของผู้ตอบ
แบบสอบถามวิเคราะห์ระดับความคิดเห็นโดยใช้สถิติเชิงวิเคราะห์หาค่าเฉล่ีย ( ̅ ) และค่าความ
เบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) โดยมีเกณฑน์ ้าหนักให้คะแนนของแต่ละคาถามและใชเ้ กณฑ์การแปลผลของ
ข้อมลู ของแบบสอบถาม

ส่วนท่ี 3 เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับปัจจัยที่สง่ ผลต่อการจดั การทรพั ยากรและสิ่งแวดล้อมของ
ชุมชนเศรษฐกิจสีเขียวในจังหวัดอุตรดิตถ์ ตามความคิดเห็นของผู้ตอบแบบสอบถามคิดว่ามีผลต่อการ
เปล่ียนแปลงวิเคราะห์ระดับความคิดเห็นโดยใช้สถิติเชิงวิเคราะห์หาค่าเฉล่ีย ( ̅ ) และค่าความ
เบยี่ งเบนมาตรฐาน (S.D.) โดยมเี กณฑ์น้าหนักให้คะแนนของแต่ละคาถามและใชเ้ กณฑ์การแปลผลของ
ข้อมูลของแบบสอบถาม

2. สถติ ิสหสมั พันธ์อย่างง่าย
ใช้เพื่อทดสอบสมมติฐานซ่ึงเป็นการทดสอบอิทธิพลของตัวแปรอิสระที่มีผลต่อตัวแปรตามใน
การทดสอบสมมติฐานใช้การวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ (Multiple Regression) ทดสอบท่ีระดับ
นัยสาคัญ (Significant Level - α) = 0.05 การวิเคราะห์ข้อมูลของคุณภาพ ผู้วิจัยดาเนินการ
สัมภาษณ์ และจากการสังเกต นามาจัดประมวลผลข้อมูลและจัดระบบข้อมูลแล้ววิเคราะห์ลักษณ์ของ
ตัวแปรแบบวิเคราะหแ์ ละสังเคราะห์เน้ือหา (Content Analysis and Content Synthesis)

ผลการศึกษา
การศึกษาภาวะผู้นาการเปลี่ยนแปลงเพ่ือการบริหารจัดการทรัพยากรและส่ิงแวดล้อมของ

ชุมชนเศรษฐกิจสีเขียวในจังหวัดอุตรดิตถ์ จากการศึกษา ภาวะผู้นาการเปลี่ยนแปลงเพ่ือการบริหาร
จัดการทรพั ยากรและส่ิงแวดล้อมของชุมชนเศรษฐกิจสีเขียวในจังหวัดอุตรดิตถ์ ในแต่ละดา้ น พบว่า ใน
ภาพรวมอยู่ในระดับ มาก มีค่าเฉลี่ยที่ 4.40 เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า ด้านการเป็นแบบอย่างที่ดี
(Role Modeling) อยู่ในระดับมากท่ีสุด มีค่าเฉล่ียท่ี 4.56 รองลงมาได้แก่ การสร้างวัฒนธรรมการ
ทางานแบบมีส่วนร่วม (Participatory Working Culture) อยู่ในระดับ มาก มีค่าเฉล่ียท่ี 4.47
รองลงมาได้แก่ การสร้างแรงบันดาลใจ (Inspiration) อยู่ในระดับ มาก มีค่าเฉลี่ยที่ 4.43 รองลงมา
ได้แก่ ความคิดสร้างสรรค์ (Creative Thinking) อยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยท่ี 4.27 และการมี
อุดมการณ์ (Ideology) อยู่ในระดบั มาก มีค่าเฉล่ียท่ี 4.26

การบรหิ ารจัดการทรพั ยากรและสิ่งแวดล้อมของชมุ ชนเศรษฐกจิ สีเขียวในจังหวดั อุตรดิตถ์ จาก
การศึกษา พบว่า การบริหารจัดการทรัพยากรและส่ิงแวดล้อมของชุมชนเศรษฐกิจสีเขียวในจังหวัด
อตุ รดิตถ์ ในทุกด้าน ในภาพรวมอยใู่ นระดับ มาก มีค่าเฉล่ียที่ 4.41 เมือ่ พจิ ารณาเป็นรายขอ้ พบว่า ดา้ น
ชุมชนเศรษฐกิจสีเขียว อยู่ในระดับ มาก มีค่าเฉลี่ยที่ 4.46 และ ด้านการบริหารจัดการทรัพยากรและ
สิง่ แวดลอ้ ม อยู่ในระดบั มาก มีค่าเฉลี่ยที่ 4.36

ปัจจัยที่ส่งผลต่อการจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมของชุมชนเศรษฐกิจสีเขียวในจังหวัด
อตุ รดติ ถ์ จากการศึกษา พบว่า

ตัวแปรอิสระท่ีศึกษาท้ังหมด 15 ชุด มี 12 ชุด คือ ปัจจัยด้านความตระหนัก (Awareness)
ปัจจยั ด้านนโยบาย (Policies) ปัจจัยดา้ นการจัดการ (Manage) ปัจจัยด้านสง่ิ แวดล้อม (Environment)
ปัจจัยด้านนิเวศวิทยา (Ecology) ปัจจัยด้านเศรษฐกิจ (Economic) ปัจจัยด้านทัศนะคติ (Attitude)

283

ปัจจัยด้านประชากร (Population) ปัจจัยด้านวัฒนธรรม (Culture) ปัจจัยด้านท่ีอยู่อาศัย
(Residence) ปัจจัยดา้ นสอ่ื สารมวลชน (Communication) ปัจจยั ด้านการรบั รขู้ า่ วสาร (Information)
สามารถอธิบายการผันแปรของการจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมของชุมชนเศรษฐกิจสี เขียวใน
จงั หวัดอตุ รดติ ถ์ อยา่ งมนี ยั สาคัญทางสถติ ทิ ร่ี ะดบั .05 ปจั จัยอน่ื ไดแ้ ก่ ปัจจยั ดา้ นจติ สานึก (Conscious
mind) ปัจจัยดา้ นการมีสว่ นรว่ ม (Participation) และปัจจัยด้านสังคม (Social) ไมม่ ีนัยสาคัญทางสถิติ

อภิปรายผลการศึกษา
จากการศกึ ษา ภาวะผู้นาการเปลย่ี นแปลงเพอื่ การบริหารจัดการทรพั ยากรและสงิ่ แวดลอ้ มของ

ชุมชนเศรษฐกิจสีเขียวในจังหวดั อุตรดิตถ์ ทาให้มองเห็นว่าผู้นาการเปล่ียนแปลงเพ่ือการบริหารจัดการ
ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมของชุมชนน้ัน มีความสาคัญและมีบทบาทที่จะขับเคลื่อนชุมชนให้ดาเนิน
กิจกรรมต่าง ๆ ไปได้ โดยเฉพาะการบริหารจัดการทรัพยากรและส่ิงแวดล้อมในชุมชน ซึ่งจังหวัด
อตุ รดติ ถ์ เปน็ พ้ืนที่ทม่ี ีป่าไม้ล้อมรอบเป็นส่วนใหญ่ กจิ กรรมการดาเนินวิถชี วี ิตก็สอดคล้องกับทรัพยากร
และส่ิงแวดล้อม บางชุมชนตั้งอยู่ในเขตวนอุทยาน บางชุมชนตั้งอยู่ในเขตพ้ืนท่ีป่าสงวนแห่งชาติ ทาให้
การประกอบอาชพี หรือกิจกรรมในชีวติ ประจาวันต้องใหค้ วามสาคญั ซ่ึงผ้นู าชุมชนล้วนแลว้ แตม่ บี ทบาท
สาคัญ จากการศึกษา พบว่า ผู้นาชุมชนมีภาวะผู้นาการเปลี่ยนแปลงเพ่ือการบริหารจัดการทรัพยากร
และส่ิงแวดล้อมของชุมชนเศรษฐกิจสีเขียวในจังหวัดอุตรดิตถ์ ด้านการมีอุดมการณ์ ในภาพรวมอยู่ใน
ระดับ มาก เม่ือศึกษารายละเอยี ดพบว่า ผูน้ าชมุ ชนมีจติ อาสาทเี่ ขา้ ไปทางานอย่างมุ่งมั่นทุ่มเทด้วยใจรัก
การมีอุดมการณ์ที่ได้รับการปลูกฝังซึ่งเป็นปัจจัยสาคัญท่ีจะนาไปสู่แบบอย่างท่ีดี มีคุณธรรม จริยธรรม
ซ่ือสัตย์ สุจริต โปร่งใสในการทางาน มีการเสียสละกาลังกาย เวลา และทรัพย์สินส่วนตัว ด้านความคิด
สร้างสรรค์ ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก เม่ือพิจารณาพบว่า มีการรู้จักคิดค้นหาวิธีการใหม่ๆ สามารถ
สร้างผลงานท่สี รา้ งสรรค์ การกลา้ ตดั สนิ ใจ ดา้ นการเป็นแบบอยา่ งที่ดี ในภาพรวมอยใู่ นระดบั มากท่ีสุด
เม่ือพิจารณาข้อพบว่า สามารถทาให้ผู้ร่วมงานเกิดความภาคภูมิใจที่ได้ร่วมงาน ทาให้ผู้ร่วมงานเกิด
ความเชือ่ มน่ั และยอมรับในตัวผู้นา และสามารถทาใหผ้ ูร้ ่วมงานเต็มใจทจ่ี ะปฏิบตั ิตาม ดา้ นการสร้างแรง
บันดาลใจ ในภาพรวมอยู่ในระดับ มาก เมื่อพิจารณาพบว่า สามารถสร้างความสัมพันธ์เป็นรายคนกับ
ผรู้ ่วมงาน สามารถกระตนุ้ ผ้รู ว่ มงานใหม้ ีขวัญกาลังใจ และสามารถกระต้นุ ผรู้ ่วมงานให้เกิดความท้าทาย
ด้านการสร้างวัฒนธรรมการทางานแบบมีส่วนร่วม ในภาพรวม พบว่า อยู่ในระดับ มาก เม่ือพิจารณา
พบวา่ สามารถสร้างทงี านทีม่ คี ณุ ภาพ สามารถสรา้ งวสิ ยั ทศั น์ในการกาหนดทิศทางและเปา้ หมายในการ
ทางาน สามารถทาให้ทุกคนมีส่วนร่วมในการทางาน สามารถสร้างเครือข่ายการทางาน จะเห็นได้ว่า
ผู้นาชุมชนเป็นกลไกหน่ึงที่มีความสาคัญย่ิงต่อการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม และแหล่ง
ท่องเที่ยวชุมชน เนื่องจากพฤติกรรมของผู้นามีผลอย่างย่ิงกับพฤติกรรมของผู้ตาม (Blake and
Mouton, 1994) จากการศึกษาครั้งนี้ พบว่า ผู้นาชุมชนมีการเป็นแบบอย่างท่ีดี (Role Modeling)
การสร้างวัฒนธรรมการทางานแบบมีส่วนร่วม (Participatory Working Culture) การสร้างแรง
บันดาลใจ (Inspiration) ความคิดสร้างสรรค์ (Creative Thinking) และการมีอุดมการณ์ (Ideology)
โดยผนู้ าชมุ ชนการเปน็ แบบอย่างทด่ี ี (Role Modeling) มากทีส่ ดุ กอ่ ใหเ้ กิดความพึงพอใจในการทางาน
ได้มาก สอดคล้องกับการศึกษาของ บงกชมาศ เอกเอ่ียม (2560) ที่ได้ศึกษาผู้นาชุมชนท้องถ่ินกับการ
บริหารจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมแบบมีส่วนร่วมเพ่ือสร้างความยั่งยืนและการใช้ประโยชน์
ร่วมกันภายในชุมชนแหล่งท่องเที่ยวจังหวัดเชียงใหม่ พบว่า ในจังหวัดเชียงใหม่ยังมีลักษณะของผู้นา

284

แบบเน้นงานรว่ มกบั เน้นสัมพันธ์ ทาให้มกี ารต้ังเปา้ หมายและกาหนดแนวทางการทางานแก่คนในชุมชน
แต่ยังคงมอบหมายการตัดสินใจแก่ประชาชนในรูปแบบของการจัดตั้งคณะกรรมการชุมชนเพ่ือให้ได้
รว่ มคดิ รว่ มทา ร่วมแกป้ ัญหา เพื่อเสรมิ สรา้ งการใช้ประโยชนด์ ้านทรพั ยากรธรรมชาติ ส่ิงแวดล้อม อาทิ
เช่น ดิน น้าป่า สาธารณูปโภค และแหล่งท่องเท่ียวร่วมกันของคนในชุมชน เนื่องจากผู้นาชุมชนเห็นว่า
ปัจจัยภายในชุมชน โดยเฉพาะอย่างย่ิงการมีส่วนร่วมของสมาชิกในชุมชนมีความสาคัญที่สุดเพราะ
ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมเป็นสิทธิร่วมกันของชุมชน และคนในชุมชนท้องถิ่นเองเป็นผู้ได้รับ
ผลกระทบจากการใช้ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมมากท่ีสุด การศึกษาในคร้ังน้ียงั พบด้วยว่า นอกจากการ
บริหารจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมของชุมชนแล้ว ยังพบว่ามีปัจจัยท่ีส่งผลต่อการบริหารจัดการ
ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมว่า มีปัจจัยหลายตัวที่มีความสัมพันธ์ สามารถอธิบายการผันแปรของการ
จัดการทรัพยากรและส่ิงแวดล้อมของชุมชนเศรษฐกิจสีเขียวในจังหวัดอุตรดิตถ์ ทาให้มองเห็นว่า การ
บริหารจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมนอกจากผู้นาชุมชนต้องมีภาวะผู้นาในการเปล่ียนแปลงแล้ว
การบริหารจัดการและปัจจัยก็มีความสาคัญ เพ่ือให้ทั้งชุมชนได้ร่วมช่วยกันจัดการ ดูแล รักษา
ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมชุมชนของตนเอง ผู้นาชุมชนในจังหวัดอุตรดิตถ์ อาจจะมีรูปแบบ
กิจกรรมที่ส่งเสริมให้เกิดชุมชนเศรษฐกิจสีเขียว เช่น มีรูปแบบกิจกรรมที่ส่งเสริมการเรียนรู้วิถีชีวิต
วัฒนธรรม ควบคู่ไปกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การเรียนรู้หรือฝึกทักษะอาชีพ
จากปราชญ์ชาวบ้านท่ีถ่ายทอดภูมิปัญญาให้นักท่องเท่ียวได้รับความรู้และสามารถไปปรับใช้ในการ
ดาเนินชีวิต (มธุรา สวนศรี, 2559) อาทิเช่น โฮมสเตย์ ฟาร์มสเตย์ การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ การชม
ธรรมชาติ การปลูกป่า สวนสมุนไพร เป็นต้น โดยการผู้นาชุมชนท่ีมีการเปิดโอกาสให้สมาชิกในชุมชน
ได้มีโอกาสมีส่วนร่วมกับการดาเนินกิจกรรมการท่องเที่ยวท้ังทางตรงและทางอ้อม มีส่วนสาคัญท่ีทาให้
กลุ่มการท่องเที่ยวชุมชนได้รับการสนับสนุนจากคนในชุมชนส่วนใหญ่ การมีส่วนร่วมของชุมชนจึงเป็น
การขับเคล่ือนระบบการท่องเท่ียวของท้องถิ่นท่ีจะสร้างความสมดุลท้ังทางด้านเศรษฐกิจ สังคม รวมไป
ถึงการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในแหล่งท่องเที่ยวจากภายใน นอกจากนี้ อุ่นเรือน
เล็กน้อย. (2560 : บทคัดย่อ) ได้ศึกษาแนวทางการขับเคลื่อนชุมชนกึ่งเมืองสู่การเป็นชุมชนรักษ์โลก:
ชุมชนวิถีคาร์บอนต่า พบว่า การทดลองขับเคลื่อนชุมชนก่ึงเมืองสู่การเป็นชุมชนคาร์บอนต่าน้ัน มี
อุปสรรคสาคัญ คอื ประชาชน เกษตรกร และองคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิน่ ยงั ขาดความรู้ ความตระหนกั
ต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และขาดศักยภาพในการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก รวมถึง
โครงสรา้ งทางสังคมท่ีไม่เอื้อต่อการเป็นชมุ ชนคาร์บอนต่าท้ังจากความอ่อนไหวทางการเมือง และความ
ไม่ชดั เจนทางนโยบายต่อการสนบั สนนุ การขับเคล่ือนชุมชนคาร์บอนต่า ดงั น้ันจึงมีขอ้ เสนอแนวทางการ
ขับเคลื่อนชุมชนก่ึงเมืองสู่การเป็นชุมชนสังคมคาร์บอนต่า ได้แก่ สร้างความรู้ ความตระหนักให้กับ
องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ประชาชน และเกษตรกร ท่ีเน้นเร่ืองความยากจน การทาเกษตรและ
แนวคิดสังคมคาร์บอนต่าไปพร้อมกัน การสร้างศักยภาพและสร้างแรงจูงใจให้กับองค์กรปกครองส่วน
ท้องถิ่น ประชาชนและเกษตรกรสกู่ ารเป็นชุมชนคาร์บอนต่า และลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ทั้งนี้มี
ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย คือ ประกาศใช้แนวคิดชุมชนคาร์บอนต่าและการทาเกษตรคาร์บอนต่าเป็น
ยทุ ธศาสตร์ของประเทศในการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก โดยกาหนดให้องค์กรปกครองสว่ นท้องถิ่นเป็น
กลไกการดาเนินงานในระดับพื้นท่ี สอดคล้องกับการศึกษาของ สุรีย์พร นิพิฐวิทยา (2557 : บทคัดย่อ) ได้
ศึกษาเทศบาลคาร์บอนต่าสู่เมืองแกลงโมเดล พบว่า เทศบาลตาบลเมืองแกลง อาเภอแกลง จังหวัด
ระยองได้รบั คัดเลือกให้เป็นตัวอย่างท่ีดีด้านเมืองคาร์บอนต่าจากโครงการส่งเสริมภาคีความรว่ มมือเพ่ือ

285

การแลกเปล่ียนเรียนรู้ด้านธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการเมืองและส่ิงแวดล้อมสาหรับ องค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่นในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ นอกจากน้ียังได้รับคัดเลือกเป็นเมืองต้นแบบด้าน
การจดั การสิ่งแวดล้อมอย่างย่ังยนื จาก Institute for Global Environmental Strategies (IGES) ประเทศ
ญี่ปุ่น ซ่ึงเป็นหน่วยงานด้านส่ิงแวดล้อมของประเทศญี่ปุ่น หากแต่สิ่งเหล่าน้ีกลับไม่ใช่เคร่ืองวัด
ความสาเร็จของการเป็นเทศบาล คาร์บอนต่า เป้าหมายของความสาเร็จที่แท้จริงคือ ความอุดมสมบูรณ์
ของเมือง ประชาชนสามารถพ่ึงตนเองได้และท่ีสาคัญคือ ความสุขมวลรวมท่ีแท้จริงของประชาชนอย่าง
แท้จริง ดังนั้น การวางแผน ระบบและกลไกที่ดีจะไม่เกิดผลหากขาดการลงมือทาและปฏิบัติจริง รวมท้ัง
การวิเคราะห์และประเมินผลหลังจากลงมือปฏิบัติแล้วเพื่อนาไปสู่การแก้ไขปรับปรุงให้ดียิ่งขึ้น บนหลัก
ของการวางแผน การปฏบิ ัติ การตรวจสอบ และตดิ ตามผล (Plan Do Check Act: PDCA)

จากผลการศึกษาทาให้มองเห็นว่าผู้นาชุมชนเป็นผู้มีบทบาทสาคัญในการพัฒนาโดยเฉ พาะ
ภาวะผู้นาการเปล่ียนแปลงเพ่ือการบริหารจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมในชุมชนท้องถ่ินสู่การเป็น
ชุมชนเศรษฐกิจสีเขียว ลดมลพิษต่าง ๆ ได้ การจะบริหารจัดการสู่การเปล่ียนแปลงย่อมต้องอาศัย
องค์ประกอบหรือปัจจัยที่ส่งเสริมหรือเก่ียวข้องทั้ง การสื่อสาร การรับข่าวสารข้อมูล ความตระหนัก
เป็นต้น เพ่ือให้ชุมชนท้องถิ่นสามารถบริหารจัดการทรัพยากรและส่ิงแวดล้อมด้วยตนเองสู่การลด
คาร์บอนไดออกไซดแ์ ละเป็นชมุ ชนเศรษฐกิจสีเขยี วอย่างแทจ้ ริง

ข้อเสนอแนะ
ข้อเสนอแนะที่ไดจ้ ากการวิจยั
จากผลการวจิ ยั ผู้วิจัยมขี อ้ เสนอแนะในการวจิ ัยท่ีเปน็ ประโยชน์ ในการดาเนินงานดังน้ี
1. จากผลการศกึ ษาวิจัย พบวา่ ด้านนโยบายยังคงต้องการและควรได้รบั การสนับสนุนเกี่ยวกับ

การบริหารจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมของชุมชนเศรษฐกิจสีเขียวในจังหวัดอุตรดิตถ์ ในทุกด้าน
อย่างจริงจงั และมีความชดั เจนกวา่ นี้ เพ่ือเป็นการพฒั นาชมุ ชนทอ้ งถ่นิ เศรษฐกิจสเี ขยี ว

2. ควรมีการผลักดันจากภาครัฐในการนาเอาข้อค้นพบจากการศึกษาไปปรับใช้ในพื้นท่ีอื่นๆ หรือ
ท่บี รบิ ททใ่ี กลเ้ คียงกันท่ีกาลังประสบกบั ปัญหาเกี่ยวกับแหล่งทรัพยากรและส่ิงแวดล้อมท่ีกาลงั เสื่อมโทรม

ข้อเนอแนะเพื่อการวจิ ัยครงั้ ต่อไป
1. ควรมีศึกษาเก่ียวกับการตัดสินใจในการบริหารจัดการทรัพยากรและส่ิงแวดล้อมของชุมชน
เศรษฐกิจสีเขยี วเพ่ือการพัฒนาใหเ้ ปน็ สถานท่ีท่องเท่ียวท่ีมีการอนุรักษส์ ่ิงแวดล้อมอย่างเต็มรปู แบบของ
นกั ท่องเที่ยวชาวต่างชาติ
2. ควรมีการศึกษาเกี่ยวรูปแบบของการพัฒนาการบริหารจัดการทรัพยากรและส่ิงแวดล้อม
ของชุมชนเศรษฐกิจสีเขียวเพื่อการท่องเท่ียวที่ต่อยอดมาจากการท่องเท่ียวแบบคาร์บอนต่า (Low
Carbon Tourism) ในพ้นื ที่อื่นๆ

แหล่งอา้ งองิ
บงกชมาศ เอกเอ่ียม. (2560). กลยุทธ์ของผู้นาชุมชนท้องถิ่นกับการบริหารจัดการทรัพยากรและ

สิ่งแวดล้อมแบบมีส่วนร่วมเพ่ือสร้างความยั่งยืนและการใช้ประโยชน์ร่วมกันภายในชมุ ชนแหลง่
ท่องเท่ียวจงั หวัดเชียงใหม่. วิทยาลัยบรหิ ารศาสตร์ มหาวิทยาลยั แม่โจ้ จังหวดั เชยี งใหม.่

286

มธุรา สวนศรี. (2559). แนวทางการพัฒนาและส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อสะท้อนอัตลักษณ์ ตลาดน้า
บางนา้ ผ้ึง จงั หวดั สมุทรปราการ.วารสารกระแสวฒั นธรรม. 17(31): 41-55.

ส า นั ก ง า น ท รั พ ย า ก ร ธ ร ร ม ช า ติ แ ล ะ ส่ิ ง แ ว ด ล้ อ ม จั ง ห วั ด อุ ต ร ดิ ต ถ์ . 2 5 6 1 . ( อ อ น ไ ล น์ )
http://www.mnre.go.th/uttaradit/th/index. สบื คน้ เมื่อ 21 พฤศจิกายน 2561.

สุรีย์พร นิพิฐวิทยา. (2557). เทศบาลคาร์บอนต่าสู่เมืองแกลงโมเดล.ภาควิชาภูมิศาสตร์ มหาวิทยาลัย
ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ 114 ซอยสุขุมวทิ 23 เขตวัฒนา กรงุ เทพมหานคร.

อุ่นเรือน เล็กน้อย. (2560).ปัจจัยแห่งความสาเร็จต่อการริเร่ิมกระบวนการพันธกิจสัมพันธ์ เพ่ือ
ขับเคล่ือนกรุงเทพมหานครสู่การเป็นมหานครคาร์บอนต่า.วารสารวิจัยสังคม ปีท่ี 40 ฉบับท่ี
2 (ก.ค.-ธ.ค. 60)

Blake, R. and J. Mouton. 1994. The Managerial Grid. Houston: Gulf Publishing Company. 350 p.

287

การใชป้ ระโยชน์จากทรัพยากรชมุ ชนในตาบลเวียงเหนือ อาเภอเวียงชัย จงั หวัดเชยี งราย

THE UTILIZATION OF RESOURCES IN WIANGNUE, WIANGCHAI, CHIANG RAI PROVINCE.

กฤษณกัณฑ์ ภาโพธิรัตน์
คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั เชียงราย

บทคัดย่อ
งานวิจยั นี้เปน็ สว่ นหน่ึงของโครงการวิจัยเรื่อง การพัฒนาหลักสูตรทักษะอาชีพจากฐานทรัพยากร

ชุมชนตาบล เวียงเหนือ อาเภอเวียงชัย จังหวัดเชียงราย มีวัตถุประสงค์เพ่ือศึกษาการใช้ประโยชน์จาก
ทรพั ยากรในชุมชนตาบลเวียงเหนือ อาเภอเวียงชัย จังหวัดเชียงราย โดยจากการสัมภาษณ์เชิงลึกจากกลุ่ม
เกษตรกร และกลุ่มแม่บ้าน พบว่าอาชีพหลักของคนในชุมชนตาบลเวียงเหนือ คือ อาชีพเกษตรกรรม โดย
พืชเศรษฐกิจของชุมชนที่มีการเพาะปลูกกันอย่างมาก ได้แก่ ข้าว ข้าวโพดสาหรับเลี้ยงสัตว์ สับปะรด
ฟักทอง และพืชสวนครัว ท้ังนี้เน่ืองจากพ้ืนที่ของตาบลเวียงเหนือส่วนใหญ่เป็นพ้ืนท่ีราบลุ่ม ติดแม่น้า ซึ่ง
ลักษณะการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรในชมุ ชนจะเน้นเพื่อการประกอบอาชีพ การบรโิ ภคภายในครวั เรือน
และการจาหน่ายผลผลิต โดยราคาผลผลิตจะอิงตามราคาตลาดกลางไม่สามารถกาหนดราคาได้เอง แต่
อย่างไรก็ตามเกษตรกรได้มีแนวทางในการเพ่ิมราคาของสินค้าเกษตรโดยการปลูกพืชปลอดสารพิษ
ออกจาหน่ายให้กับตลาดท่ีภาครัฐและเอกชนที่มีการรับซ้ือ นอกจากนี้ยังมีการแปรรูปผลผลิตทาง
การเกษตรที่ไมส่ ามารถจาหน่ายได้เช่น ขา้ วท่อนมีการแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ข้าวแต๋น และในชว่ งท่ีฟักทอง
ล้นตลาด ราคาตกต่ามีการนาฟักทองมาแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ข้าวเกรียบฟักทอง ซึ่งการใช้ประโยชน์จาก
ทรัพยากรในชุมชนสาหรับการแปรรูปเพื่อเพิ่มมูลค่าสินค้าทางการเกษตรยังมีส่วนน้อย และยังไม่มี
คณุ ภาพเทา่ ที่ควร เนือ่ งจากขาดการส่งเสรมิ จากภาครฐั สถาบันการศกึ ษา และเอกชน

คาสาคัญ : การใช้ประโยชน์, ตาบลเวียงเหนือ, ทรัพยากรชุมชน

Abstract
This research was a part of research project entitled. The Development of an In-

Service Training Course for enhance Career skills from resource in Wiangnue, Wiangchai,
Chiang Rai Province. The aims of study ware to utilization of resources in Wiangnue,
Wiangchai, Chiang Rai Province. In-depth interviews from agriculturist and farm women
groups it found that the main occupation of the people is agriculture. The crops of the
Wiangnue commune with cultivate. These crops include the: Rice, Maize, Pineapple,
Pumpkin and Homegrown vegetable. Because the area of Wiangnue is wetlands and beside
river. The utilization of recourse in Wiangnue is for occupation household consumption and
distributor. But agricultural and farm products prices based on the Agricultural Futures
Exchange of Thailand, agriculture cannot determines the price. However, they are method
to increase the prices of agricultural products by cultivate organic products extend to public
and private market with merchants. Also, agricultural produce processing that cannot be
sold as well broken rice processed Khoa Tan (Thai sweet crispy rice with cane sugar drizzle)

288

and during the pumpkin oversupply, have been processed into products pumpkin chips.
The utilization of resources for processed to increase value agricultural goods also to less
and there is no quality as it should be. Because there are no encouragement from
government, educational institutions, and private sectors.

Keyword : Utilization, Wiangnue, Resources

บทนา
ในปัจจุบันประเทศไทยได้มุ่งพัฒนาเศรษฐกิจโดยอาศัยทรัพยากรธรรมชาติเป็นปัจจัยพื้นฐานใน

การผลิต เพ่ือเสริมสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันให้ทัดเทียมกับนานาประเทศ และกระตุ้นการสร้าง
มูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติของประเทศให้อยู่ในเกณฑ์ที่ดี ซ่ึงผลการพัฒนาดังกล่าวทาให้
ทรพั ยากรธรรมชาติของประเทศลดน้อยลงและคุณภาพสิง่ แวดลอ้ มทรุดโทรมลงอย่างต่อเน่ือง ประกอบกับ
กระแสโลกาภิวัตน์และความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีแบบก้าวกระโดด ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลง ทั้งใน
ระดับโลก ภูมิภาค และภายในประเทศ ซ่ึงประเทศไทยต้องเผชิญกับกระแสการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวด้วย
เช่นกัน อย่างไรก็ตามสานักแผนนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม กระทรวง
ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมได้มีการจัดทาแผนการจัดการคุณภาพส่ิงแวดล้อม พ.ศ. 2560-2565
โดยใช้หลักการการพัฒนาท่ียั่งยืน เพ่ือให้มีการใช้ทรัพยากรให้สอดคล้องกับสภาพเศรษฐกิจและสังคม
อย่างมคี ุณภาพ คานึงถึงขีดจากัดของทรัพยากรธรรมชาติ สามารถใช้ประโยชน์ได้อย่างยาวนาน โดยมีการ
ใช้ทรัพยากรอย่างประหยัด มีประสิทธิภาพสูงสุด และไม่ส่งผลกระทบต่อความต้องการของชุมชนใน
ปจั จุบันและอนาคต (สานกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม, 2560)

ท่ามกลางความเปลยี่ นแปลงของสังคมภายใต้กระแสโลกาภิวัตน์ ภาคเกษตรกรรมไทยกาลังเผชิญ
กบั ความเปล่ียนแปลงอยา่ งไม่เคยเกิดข้ึนมาก่อน ในขณะที่เกษตรกรไทยยงั คงเผชิญปัญหาความยากจนอัน
เกดิ จากความไม่เปน็ ธรรมทางเศรษฐกิจ สงั คมและการเมือง ปรากฏการณ์ของปัญหาทเี่ กิดข้ึนกับเกษตรกร
ไทยในปัจจุบันมีหลายปัจจัยดังนี้ 1) ปัญหาด้านปัจจัยและฐานทรัพยาการผลิตที่ส่งผลทั้งด้านพื้นที่ทากิน
การไม่เข้าถึงทรัพยากรการผลิตรวมท้ังสิทธิเกษตรกรในด้านการเข้าถึงพันธุกรรมพืชและสัตว์ ยังไม่ได้รับ
การยอมรับ ทาให้เกษตรกรรายย่อยขาดศักยภาพในการเพ่ิมผลผลิต และพึ่งพาตนเองไม่ได้ 2) ปัญหา
ต้นทุนการผลิตสูงขึ้น อันเน่ืองจากปัจจัยการผลิตมีฐานจากการใช้พลังงาน ต้นทุนปุ๋ย ยา แรงงานสูงขึ้น
ฐานทรัพยากรอาหารลดลง และแม้ว่าปัจจุบันมีแนวโน้มว่าผลผลิตทางการเกษตรจะมีราคาดี แต่ราคาท่ี
เพ่ิมขึ้นเหล่านี้ไม่แน่ว่าจะส่งผลประโยชน์กลับมาท่ีเกษตรกร รวมทั้งราคาอาหารที่แพงข้ึนก็กลายเป็น
ค่าใช้จ่ายของเกษตรกรท่ีสูงข้ึน 3) ปัญหาเรื่องตลาด ตลาดเป็นของพ่อค้าแต่การลงทุนและความเส่ียงเป็น
ของเกษตรกร เกษตรกรจึงไม่มีส่วนในการตัดสินใจกาหนดราคาตลาด ราคาผลผลิตการเกษตรจึงไม่เป็น
ธรรม ไม่แน่นอน ขึ้นๆ ลงๆ ตามอานาจซื้อของพ่อค้าขณะท่ีราคาปัจจัยการผลิตเพ่ิมสูงข้ึนโดยที่ไม่เคย
ลดลง (สยามรฐั ออนไลน์, 2560)

ตาบลเวียงเหนือ อาเภอเวียงชัย จังหวัดเชียงราย มีลักษณะเป็นพ้ืนท่ีราบลุ่มแม่น้าที่เหมาะกับ
การทานา ทาไร่ และทาสวน มีแม่น้าที่สาคัญไหลผ่านคือ แม่น้ากก และแม่น้าท่าบันได ซ่ึงพื้นที่ส่วนใหญ่
เหมาะสมกับการทาเกษตร ดังน้ันประชากรในพื้นท่ีส่วนใหญ่จึงประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นอาชีพหลกั
โดยมีทรัพยากรการทางเกษตรท่ีหลากหลายและมีผลผลิตทางการเกษตรจานวนมาก ทาให้บางฤดูกาล
ประสบปญั หาทางด้านราคาผลผลิตตกต่า และสนิ คา้ ล้นตลาด

289

ดังน้ันผู้วิจัยจึงสนใจท่ีจะศึกษาการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรชุมชนในตาบลเวียงเหนือ เพ่ือเป็น
แนวทางในการให้ความรู้ทางด้านการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรที่มีอยู่ในชุมชน ช่วยส่งเสริมการใช้
ทรัพยากรในชุมชนให้เกิดประโยชน์สูงสุด และเป็นแนวทางในการส่งเสริมอาชีพให้กับชาวบ้านในชุมชน
ตาบลเวยี งเหนอื อาเภอเวียงชัย จังหวดั เชยี งราย

วัตถุประสงค์
เพ่อื ศึกษาการใช้ประโยชน์ทรัพยากรในชุมชนตาบลเวยี งเหนือ อาเภอเวียงชยั จังหวัดเชียงราย

วิธีดาเนนิ การวิจยั
1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
การศึกษาคร้ังนี้ใช้ประชากรที่ศึกษาโดยวิธีการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) โดย

เป็นกลุ่มผู้นาชุมชน 12 คน กลุ่มเกษตรกร 10 คน และกลุ่มแม่บ้าน 10 คน ในตาบลเวียงเหนือ อาเภอ
เวยี งชยั จังหวัดเชยี งราย

2. เครื่องมอื ท่ใี ช้ในการศึกษา
การศึกษาการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรชุมชนในตาบลเวียงเหนือ อาเภอเวียงชัย จังหวัด

เชยี งราย ใช้เครื่องมือในการศึกษาดังนี้
2.1 แบบสัมภาษณ์ เป็นคาถามปลายเปิด ท่ีครอบคลุ่มประเดน็ วิจัย
2.2 แบบสารวจข้อมูล โดยลงสารวจข้อมูลในพ้ืนที่ศึกษา ใช้วิธีการถ่ายภาพและการบันทึก

ข้อมลู มขี ้อมลู ดงั นี้ บริบทชมุ ชน ฐานทรัพยากร และการใช้ประโยชน์ทรัพยากรในตาบลเวียงเหนือ อาเภอ
เวียงชยั จงั หวัดเชียงราย

3. วธิ ีการสร้างและตรวจคุณภาพเครื่องมือวิจัย
3.1 ศึกษาข้อมูลท่ัวไปเกี่ยวกับการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรชุมชน เพ่ือนามาสร้างเคร่ืองมือ

ในการเก็บขอ้ มูล
3.2 ผเู้ ช่ยี วชาญตรวจสอบเครื่องมือท่ีใช้ในการเกบ็ ข้อมูลเพ่ือให้ครอบคลุมตามวัตถปุ ระสงค์
3.3 แก้ไขตามข้อเสนอแนะของผเู้ ช่ียวชาญและพฒั นาเป็นเครอื่ งมือฉบับสมบูรณ์

4. การเกบ็ รวบรวมข้อมูล ผู้วิจัยได้ดาเนินการเก็บข้อมูล โดยมีขั้นตอนในการดาเนินการเก็บ
รวบรวมขอ้ มลู ดังน้ี

4.1. ผู้วิจัยได้ลงพื้นที่ศึกษาข้อมูลชุมชน 12 หมู่บ้านคือ บ้านท่าบันได บ้านเวียงเดิม บ้านสัน
สลิด บ้านราษฏร์เจริญ บ้านค่ายเจริญ บ้านเวียงเหนือ บ้านโพธิ์ชัย บ้านไตรแก้ว บ้านเวียงปางคา บ้านป่า
ยางนอ้ ย บ้านพนาลัย และบ้านสนั ตนั แหน เพ่อื สารวจขอ้ มูลทรัพยากรเบ้ืองตน้ ในชุมชน

4.2 ผู้วิจัยสัมภาษณ์กลุ่มอาชีพเกษตรกร กลุ่มแม่บ้าน ในประเด็นดังน้ี ทรัพยากรในชุมชน มี
เน้ือหาดังน้ี พืชทีมีการเพาะปลูก ฤดูการเก็บเกี่ยว ราคาผลผลิต จานวนผลผลิต ช่องทางการจาหน่าย
ผลผลติ ทไ่ี มผ่ ่านเกณฑ์ การใชป้ ระโยชน์ และแนวทางในการเพิ่มมลู ค่าผลผลิต

4.3 นาขอ้ มูลท่ไี ด้มาตรวจสอบความสมบรู ณ์ของเนื้อหา
4.4 วเิ คราะหก์ ารใชป้ ระโยชน์จากทรัพยากรในชุมชน
4.5 สรุปผลวิจัย

290

ผลการวจิ ยั
จากการลงพื้นท่ีสารวจข้อมูลชุมชนในพื้นท่วี ิจัย ตาบลเวียงเหนือ อาเภอเวียงชัย จงั หวัดเชียงราย

ด้วยการสัมภาษณ์เชิงลึก ได้ผลการศึกษาการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรชุมชนในตาบลเวียงเหนือ อาเภอ
เวยี งชยั จังหวดั เชยี งราย ดังนี้

1. ขอ้ มูลทว่ั ไปของตาบลเวียงเหนือ
ตาบลเวียงเหนือ เป็น 1 ใน 5 ตาบลที่อยู่ในพื้นที่การปกครองของอาเภอเวียงชัย จังหวัด

เชียงราย โดยอยู่หา่ งจากอาเภอเวียงชัย ระยะทางประมาณ 2.5 กโิ ลเมตร และห่างจากตวั จังหวัดเชียงราย
ระยะทางประมาณ 12 กิโลเมตร ตาบลเวียงเหนือมีลักษณะภูมิประเทศเป็นท่ีราบลุ่มแม่น้าเหมาะแก่การ
ทานา ทาไร่ และทาสวน โดยเป็นแหล่งปลูกข้าวที่สาคัญ เป็นแหล่งดินดี น้าอุดมสมบูรณ์ ซึ่งมีแม่น้าท่ี
สาคญั ไหลผ่านจานวน 2 สาย ได้แก่ แม่นา้ ลาว และแมน่ า้ กก โดยประชากรในตาบลเวียงเหนือส่วนใหญ่จะ
ประกอบอาชีพเกษตรกรรม โดยผลผลิตทางการเกษตรทีส่ าคัญคือ ข้าวเปลอื ก ขา้ วโพด และพชื สวน

2. ทรัพยากรในตาบลเวยี งเหนอื
2.1 ข้าว ซึ่งขา้ วถอื วา่ เป็นทรัพยากรหลักของชุมชน โดยลักษณะของพื้นที่ตาบลเวยี งเหนือเป็น

ท่รี าบลมุ่ มีแมน่ ้าไหลผ่าน เหมาะสาหรับที่จะปลูกข้าว จงึ มีพน้ื ที่เพาะปลูกข้าวถึง 19,000 ไร่ อีกทง้ั อาชีพ
เกษตรกรรมเป็นอาชีพทส่ี ืบทอดกันมาอยา่ งยาวนานในชมุ ชน ซงึ่ สายพนั ธุข์ ้าวทีน่ ยิ มปลูกจะเน้นสายพันธุ์ท่ี
มีผลผลติ สงู มรี าคาเหมาะสม และมชี อ่ งทางการจัดจาหน่าย โดยมีข้าวสายพนั ธตุ์ ่างๆ ดงั น้ี

2.1.1 ข้าวขาวดอกมะลิ 105 เป็นพันธุ์ข้าวเจ้าที่เพาะปลูกในทุกหมู่บ้านในตาบลเวียง
เหนือ อาเภอเวียงชัย จังหวัดเชียงราย (ซึ่งมีท้ังหมด 12 หมู่บ้าน) เนื่องจากเป็นข้าวท่ีมีคุณภาพดีที่สุด มี
ราคาจาหน่ายในท้องตลาดสูงกว่าข้าวสายพันธ์อุ ื่น โดยลกั ษณะเมล็ดข้าวขาวดอกมะลิ 105 จะยาวเรยี ว ใส
และมีกลิ่นหอม สามารถปลูกได้ท้ังนาปีและนาปรัง ช่วงฤดูเก็บเกี่ยวคือ เดือนตุลาคม-พฤศจิกายน (นาปี)
และพฤษภาคม-มิถุนายน (นาปรงั ) นยิ มบรโิ ภคกนั ภายในประเทศไทยและส่งออก เม่อื หงุ สกุ ขา้ วจะมีความ
นุ่ม มกี ล่นิ หอมเป็นลักษณะเฉพาะ จานวนผลผลิตที่ได้ประมาณ 800-1,000 กโิ ลกรมั ตอ่ ไร่ การจาหน่ายจะ
ส่งท่าขา้ วหรือพ่อค้าคนกลางจากโกดงั ข้าวมารับซื้อถึงในพื้นที่ โดยราคาของข้าวอยู่ที่ 5-6 บาทต่อกโิ ลกรัม
ซึ่งผลผลิตจะแบ่งออกเป็นราข้าวร้อยละ 40 ข้าวสารร้อยละ 40 ข้าวท่อนร้อยละ 10 และปลายข้าวร้อย
10 ในส่วนราข้าว ข้าวท่อน และปลายข้าว จะเป็นผลผลิตพลอยได้จากการสีข้าวไม่สามารถจาหน่ายใน
ท้องตลาดได้ ชุมชนจึงใช่เป็นอาหารสัตว์และปุ๋ย ส่วนข้าวสารจะนาออกจาหน่ายและบริโภคในครัวเรือน
เป็นส่วนใหญ่

2.1.2 ข้าวเหนียว กข.6 เป็นข้าวเหนียวท่ีพบว่ามีการเพาะปลูกในทุกๆ หมู่บ้านเช่นกัน
ข้าวเหนียว กข.6 ถือเป็นพันธุ์ข้าวเหนียวที่นิยมปลูกในพ้ืนที่ภาคเหนือที่มีระบบชลประทาน เนื่องจาก
ต้านทานโรค ให้ผลผลิตสูงกว่าข้าวเหนยี วสายพันธ์ุอ่ืน ทนแล้ง คุณภาพในการสีดี ทาให้สามารถลดต้นทุน
ในการผลิตต่างๆ ได้ลักษณะไวต่อช่วงแสง สามารถปลูกเฉพาะในนาปี ฤดูการเก็บเกี่ยวอยู่ในช่วงเดือน
ตุลาคม-พฤศจิกายน คุณภาพข้าวสุกจะมีกลิ่นหอมเฉพาะตัว เหนียวนุ่ม มีจานวนผลิต 600 กิโลกรัมต่อไร่
ราคาท้องตลาด 7-8 บาทต่อกโิ ลกรัม โดยในชมุ ชนมชี ่องทางการจาหน่ายผลิตผา่ นพ่อคา้ คนกลาง และสว่ น
หนง่ึ เก็บไว้บริโภคกันในครัวเรือน

2.1.3 ข้าวเหนียวสันป่าตอง 1 เป็นสายพันธ์ุข้าวด้ังเดิมที่ชาวบ้านในชุมชนนิยมบริโภค
และยังถือเป็นพืชเศรษฐกิจของชุมชนอีกด้วย โดยนิยมปลูกในทุกหมู่บ้านเช่นกัน เน่ืองจากทนทานต่อโรค
ทนต่อสภาพดินเค็ม ข้าวเหนียวสันป่าตอง 1 เป็นข้าวที่ไม่ไวต่อช่วงแสง สามารถปลูกได้ตลอดท้ังปี ให้

291

ผลผลิตที่สูง 800-1,000 กิโลกรัมต่อไร่ ราคา 7-8 บาทต่อกิโลกรัม การจัดจาหน่ายเช่นเดียวกันกับข้าว
เหนียวกข.6 และเกบ็ ไว้บริโภคภายในครวั เรือน

2.1.4 ข้าวสายพันธ์ุอื่นๆ เช่น ข้าวไรซ์เบอร์ร่ี ข้าวหอมนิล และข้าวสายพันธุ์ญี่ปุ่น ข้าว
สายพันธุ์ดังกล่าวมีปลูกบ้างในพื้นที่ แต่มีปริมาณน้อยเนื่องจากไม่คุ้มต่อการเพาะปลูก อีกทั้งช่องทาง
การตลาดยังมีการรับซื้อน้อย ชุมชนจึงมีการบรรจุภัณฑ์ข้าวสายพันธุ์ต่างๆ ออกจาหน่ายในงานเกษตร
ตลาดนดั หรอื ตลาดประชารฐั ทรี่ ฐั บาลมีการส่งเสริม ซ่งึ ชมุ ชนได้มีการใช้การปลูกข้าวแบบปลอดภัยในการ
เพาะปลกู ดังกล่าว

2.2) พืชไร่ ในตาบลเวียงเหนือ อาเภอเวียงชัย จังหวัดเชียงราย มีการปลูกพืชไร่ในหมู่ที่ 8
บ้านไตรแก้ว เนื่องจากสภาพที่พื้นที่ดังกล่าวมีแม่น้ากกไหลผ่าน ทาให้มีน้าใช้สาหรับทาการเพาะปลูกพืช
ไร่ โดยพืชไร่ท่ที าการเพาะปลูกได้แก่

2.2.1 ข้าวโพดสาหรับเล้ียงสัตว์สายพันธุ์แปซิฟิก 339, 559 เป็นพืชเศรษฐกิจท่ีสร้าง
รายไดใ้ นชุมชน ดูแลรักษางา่ ย เป็นที่ตอ้ งการของตลาด สามารถปลูกได้ 2 รอบตอ่ ปี ระยะการเพาะปลูก 4
เดือน ให้ผลผลิตสูงซึ่งผลผลิตอยู่ที่ 1.8-2 ตัน ต่อไร่ ในฤดูแล้ง ส่วนฤดูฝนมีผลผลิต 1.5-2 ตันต่อไร่ โดย
ราคาอยู่ที่ 5 บาทต่อกิโลกรัม การจัดจาหน่ายจะมีพ่อค้าคนกลางเข้ามารับซื้อ ส่งผลให้เกษตรกรสามารถ
ลดตน้ ทุนในการขนย้ายเพ่ือออกจาหน่ายได้

2.2.2 สับปะรดภูแล เพาะปลูกมากในหมู่ท่ี 8 บ้านไตรแกว้ แตอ่ ยา่ งไรก็ตามการเพาะปลูก
สับปะรดดังกล่าวเป็นท่ีนิยมเพาะปลูกกันในพื้นท่ีอื่นของจังหวัดเชียงรายด้วยเช่นกัน ส่งผลให้มีผลผลิต
ออกมาเป็นจานวนมากทาให้ราคาตกต่า เกษตรกรในชุมชนจึงมีแนวคิดในการปลูกสับปะรดภูแลแบบปลอด
สารพิษ ซึ่งปัจจุบันมีผลผลิตจานวน 2 ตันต่อไร่ เฉลี่ยราคา 15-25 บาทต่อกิโลกรัม การปลูกสับปะรดภูแล
จึงถือเป็นรายเสริมได้อีกทางหน่ึงของเกษตรกรในพื้นที่ ซึ่งผลผลิตท่ีไม่ผ่านเกณฑ์เกษตรกรจะนาไปทาเป็น
ปุ๋ยหมักสาหรับใช้ในครัวเรือน และจาหน่าย ทาให้มีการใช้ผลผลิตให้เกิดความคุ้มค่า สามารถลดรายจ่าย
และเพิ่มรายไดจ้ ากของเหลือทิ้ง

2.3 พืชสวน ส่วนใหญ่ปลูกเพ่ือใช้บริโภคกันภายในครัวเรือน และจาหน่ายบ้างเป็นคร้ังคราว
โดยพืชสวนที่ปลูกกันมากได้แก่ กล้วย ฟักทอง มะละกอ พริกขี้หนูสวน บล็อกโคล่ี โดยการส่งเสริมของ
ภาคเอกชนในพื้นท่ี ในการทดลองปลูกพืชดังกล่าว

2.3.1 ฟักทอง ฟักทองท่ีเพาะปลูกในชุมชนบ้านไตรแก้วเป็นฟักทองสายพันธุ์ทองอาไพ
ลักษณะผิวคางคก มีผลขนาดใหญ่ เนื้อหนาสีเหลือง น้าหนักผลโดยเฉล่ีย 6-8 กิโลกรัม ฟักทองสายพันธ์ุ
อาไพเป็นฟักทองที่นิยมปลูกกันอย่างมาก เน่ืองจากเป็นที่ต้องการของตลาด สามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้
หลายอย่าง โดยราคาเฉล่ียอยู่ท่ี 15-18 บาท แต่ในช่วงราคาฟักทองตกต่า ผลผลิตล้นตลาด กลุ่มชาวบ้าน
จึงมกี ารนาฟักทองที่ลน้ ตลาดมาแปรรูปเป็นอาหารสัตว์ ขณะท่ีกลุ่มแม่บ้านมแี นวคิดในการแปรรูปฟักทอง
เป็นผลติ ภัณฑ์ขา้ วเกรียบฟักทอง ซึ่งสามารถสร้างรายไดเ้ สริมอีกชอ่ งทางหนึ่ง

2.3.2 บล็อกโคลี่ มีการเพาะปลกู เฉพาะในหมู่ที่ 8 บ้านไตรแกว้ จากการส่งเสริมของ
ภาคเอกชน ซึ่งการปลูกจะเป็นการปลูกทดแทนพืชหมุนเวียนในฤดหู นาว อีกทั้งราคาในตลาดปัจจุบันเฉลยี่
ค่อนข้างสงู เมื่อเปรยี บเทยี บกับพืชชนดิ อ่ืนท่ี โดยราคาเฉลี่ยอยู่ท่ี 25 บาทต่อกิโลกรัม ฤดูกาลเก็บเกี่ยวจะอยู่
ในชว่ งเดือนธนั วาคม-มกราคม ซ่งึ ในพน้ื ทีด่ ังกล่าวมีการปลูกบล็อคโคลีป่ ระมาณ 3 ไร่ ผลผลติ เฉล่ีย 324 ตนั

3. การใช้ประโยชน์จากทรัพยากรในตาบลเวียงเหนือ จากการสัมภาษณ์กลุ่มเกษตร กลุ่ม
แม่บ้าน ไดม้ ีการใชป้ ระโยชน์จากทรัพยากรดังนี้

3.1 ข้าว เป็นผลผลิตทางการเกษตรหลักของชุมชนท่ีสร้างรายได้ และเป็นอาชีพหลักของ
ชาวบ้านในชมุ ชน ด้านเกษตรกรผูป้ ลูกจะจาหน่ายตามท้องตลาดท่ัวไป โดยการรับซ้ือของทา่ ข้าว (โกดังรับ
ซื้อข้าว) บริโภคกันในครัวเรือน และมีการพัฒนาคุณภาพข้าวให้เป็นข้าวปลอดสารพิษ เพื่อเพิ่มมูลค่าให้

292

ผลผลิต โดยบรรจุใส่ถุงออกจาหน่ายต่างพื้นท่ีเช่น ตลาดประชารัฐ ตลาดธนาคารเพื่อการเกษตรและ
สหกรณ์การเกษตร ห้างสรรพสินค้า โดยได้รับการส่งเสริมจากภาครัฐ และเอกชน ส่วนด้านกลุ่มแม่บ้าน
โดยวิสาหกิจชุมชนกลุ่มแปรรูปผลผลิตการเกษตรบ้านไตรแก้วได้มีการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากข้าวท่อนท่ี
จาหน่ายไม่ได้ราคา นามาแปรรูปเพ่ือเพิ่มมูลค่าผลผลิตโดยการทาทองม้วน ทองม้วนสดข้าวไรซ์เบอร์ร่ี
และจาหน่ายข้าวท่อนให้แก่พ้ืนที่ใกล้เคียงเพื่อแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ข้าวแต๋น ซึ่งสามารถสร้างรายได้เสริม
อกี ชอ่ งทางหนึ่ง

3.2 สับปะรดภูแล เปน็ พืชไรท่ น่ี ยิ มปลกู กันในพ้นื ทจี่ งั หวดั เชยี งราย รวมถึงพนื้ ท่ชี มุ ชนบ้าน
ไตรแก้ว โดยทั่วไปเกษตรกรจะปลูกเป็นพืชหมุนเวียนตามฤดูกาล และตัดจาหน่ายออกขายตามท้องตลาด
โดยการรบั ซอ้ื ของพ่อคา้ คนกลาง แต่ดว้ ยราคาผลผลติ ในปี 2561 ตกต่า ทาให้เกษตรกรหนั มาจาหน่ายด้วย
ตนเอง โดยการปลอกสับปะรดขายในตลาดเกษตร อีกท้ังส่วนท่ีเหลือทิ้งจะนามาเป็นส่วนประกอบในการ
ทาปยุ๋ หมักเพ่ือใช้ในการเกษตรต่อไป ขณะทีก่ ลมุ่ แม่บ้านนั้นยงั ไม่มีองค์ความรใู้ นการแปรรูปผลิตภณั ฑ์จาก
สบั ปะรด

3.3 ฟักทอง เป็นพืชเศรษฐกิจจากการส่งเสริมของภาคเอกชน โดยปลูกในพ้ืนที่บ้านไตร
แก้ว มีการจาหน่ายตามท้องตลาดท่ัวไป ซึ่งในปี 2561 มีผลผลิตออกมาจานวนมาก ราคาจึงตกต่า ทาให้
เกษตรนาผลผลิตไปแปรรูปเป็นอาหารสัตว์ ขณะท่ีกลุ่มวิสาหกิจชุมชนบ้านสันสลิด และกลุ่มแปรรูป
ผลผลิตการเกษตรบ้านไตรแก้วมีแนวคิดในการแปรรูปฟักทอง เป็นผลิตภัณฑ์ข้าวเกรียบฟักทอง ซ่ึง
สามารถสรา้ งรายไดเ้ สริมอีกช่องทางหนึ่งให้แก่ชุมชนอีกทั้งยังเป็นผลติ ภัณฑ์ชุมชนท่มี ีช่ือเสียง

3.4 พืชผักสวนครัวตามฤดูกาลเช่น กล้วย มะละกอ พริกข้ีหนูสวน ผักกาด กะหล่าปลี
มะเขือยาว เป็นต้น ชาวบ้านในตาบลเวียง อาเภอเวียงชัย จังหวัดเชียงราย มีการเพาะปลูกพืชผักสวนครัว
เพ่อื ใช้บรโิ ภคภายในครัวเรือน จาหน่ายในชุมชนและพื้นที่ใกล้เคียง โดยยดึ หลกั หลักเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่ง
สามารถลดรายจ่ายในครอบครัวและเพ่ิมรายได้อีกชอ่ งทางหน่งึ

อภิปรายผล
จากการศึกษาการใช้ประโยชน์จากฐานทรัพยากรในตาบลเวียงเหนือ อาเภอเวียงชัย จังหวัด

เชียงรายพบว่า โดยสภาพพื้นท่ีส่วนใหญ่ของชุมชนเป็นท่ีราบลุ่ม ติดแม่น้า ซ่ึงเหมาะแก่การเพาะปลูกพืช
เศรษฐกิจต่างๆ สภาพแวดล้อมเอื้ออานวยต่อการเพาะปลูก จึงทาให้ชาวบ้านในชุมชนยึดอาชีพ
เกษตรกรรมเปน็ สว่ นใหญ่ โดยทรัพยากรในพ้ืนท่จี ะแบ่งออกเปน็ 3 กลุม่ คอื 1) ขา้ ว 2) พืชไร่ 3) พชื สวน

ด้านการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรพบว่า โดยส่วนใหญ่เกษตรกรปลูกข้าวเป็นผลผลิตทาง
การเกษตรหลักของชุมชน ซึง่ มจี าหน่ายตามท้องตลาดท่ัวไป และบริโภคกันภายในครัวเรือน ซ่ึงสอดคล้อง
กับรายวิจัยของ (สมาพร และตรีสุคนธ์, 2561) เร่ืองการศึกษาระบบนิเวศน์และการจัดการเกษตรของ
ชุมชน ในพืน้ ทร่ี อยต่อชายแดนกาญจนบุรี-ทวาย ซึ่งพบวา่ มกี ารทาเกษตรเชิงเด่ียว มกี ารปลกู พืชเศรษฐกิจ
เพ่ือการค้า บางส่วนผลผลิตใช้บริโภคกันภายในครัวเรือน ส่วนผลผลิตพลอยได้ที่ได้จากการสีข้าว ซึ่ง
จาหนา่ ยไม่ได้ราคาเกษตรกรมีการประยุกต์ใช้เป็นอาหารสัตว์ และป๋ยุ บางสว่ น และมกี ารนาไปแปรรูปเป็น
ผลติ ภัณฑข์ ้าวแต๋น

ทางด้านการใช้ประโยชน์จากพืชไร่ เกษตรกรมุ่งเน้นการปลูกข้าวโพดอาหารสัตว์สาหรับการค้า
มากกว่าพืชไร่สาหรับการบริโภค เน่ืองจากชุมชนมุ่งเน้นการปลูกพืชเพ่ือให้เกิดรายได้แก่ครอบครัว และ
ปลูกเพ่ือหมุนเวียนกับพืชไร่เศรษฐกิจชนิดอื่นๆ เช่น สับปะรด สอดคล้องกับงานวิจัยของ (ช่ืนจิตร, 2554)
เรื่องการปลูกพืชอาหารสัตว์หมุนเวียนพืชหลัก: ระบบการปลูกพืชอย่างเพื่อการเกษตรอย่างยังยืน ซ่ึง
พบว่าในการปลูกพืชอาหารสัตว์เหมาะสมกับการปลูกพืชหมุนเวียนกับพืชเศรษฐกิจ สามารถเพ่ิมความ

293

อุดมสมบูรณ์ของดินส่งผลให้พืชหลักมีการเจริญเติบโตและให้ผลผลติ เพิ่มขึ้น ส่วนสับปะรดภูแลพบว่าบาง
ฤดูการมีผลผลิตออกมาเป็นจานวนมากส่งผลให้ราคาตกต่า อีกท้ังผลผลิตล้นตลาด เกษตรกรยังไม่มีแนว
ทางการจดั การปัญหาหรือการแปรรูปผลผลิตจากสับปะรดดังกล่าว ทาใหเ้ กษตรกรต้องหันมาเพ่ิงตนเองใน
ปลอกสับปะรดจาหน่ายเอง ซึ่งคลอดคล้องกับรายงานของ (เอกชัย, 2555) ซึ่งทาการศึกษาต้นทุนและ
ผลตอบแทนมาปลูกสับปะรดของเกษตรกรในพื้นท่ีตาบลบ้านดู่ อาเภอเมืองเชียงราย จังหวัดเชียงราย
พบว่าการปลูกสับปะรดในบางฤดูกาลไม่มีแหล่งรับซื้อสับปะรดในช่วงท่ีผลผลิตมีมาก ทาให้ราคาตกต่า
และส่งเสริมการแปรรปู เพื่อเพ่ิมมลู คา่ ของสับปะรด

การใช้ประโยชน์จากทรัพยากรในตาบลเวียงเหนือ อาเภอเวียงชัย จังหวัดเชียงราย โดยส่วนใหญ่
ในชุมชนมีการเพาะปลูกเพื่อจาหน่าย หรือบริโภคกันภายในครัวเรือน แต่ในช่วงบางฤดูกาลท่ีผลผลิต
ทางการเกษตรมีมากในท้องตลาด ส่งผลให้ราคาสินต้าทางการเกษตรตกต่า อีกทั้งการกระจายสินค้าทาง
การเกษตรยังต้องอาศัยพ่อค้าคนกลางในการรับซื้อ ทาให้เกษตรกรต้องหาแนวทางอ่ืนๆ ในการเพ่ิมรายได้
เสริมจากทรัพยากรท่ีตนเองมีอยู่ สาหรบั การแปรรูปเพ่ือเพิ่มมูลค่าสินค้าทางการเกษตรยังมสี ่วนน้อย ขาด
การส่งเสริมการแปรรูปสินค้าท่ีมีหลากหลาย มีคุณภาพ ตอบสนองความต้องการของตลาด ซ่ึงในการ
ส่งเสริมดังกล่าวเกษตรกรจะสามารถสร้างเป็นอาชีพเสริมจากการแปรรูปผลิตภัณฑ์เกษตรเป็นผลิตภัณฑ์
ชุมชน และสร้างความเข้มแขง็ ของชมุ ชนต่อไป

ข้อเสนอแนะ
1. การศึกษาการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรในชุมชนตาบลเวียงเหนือ ถือเป็นฐานข้อมูลในการ

ส่งเสริมอาชีพ เพ่ือสร้างรายได้เสริมให้กับเกษตรกรในชุมชนตาบลเวียงเหนือ อาเภอเวียงชัย จังหวัด
เชียงราย

2. ด้านการเพาะปลูกทรัพยากรยังคงเป็นการเพาะปลูกพืชเศรษฐกิจท่วั ไปในท้องตลาด ท่บี างคร้ัง
ผลผลิตอาจมีราคาตกต่า ภาครัฐ และสถาบันการศึกษาควรมีการให้ความรู้และส่งเสริมการพัฒนาให้
ผลผลติ มคี ณุ ภาพ เพือ่ เพิ่มมูลค่าให้แก่ผลผลติ ของเกษตรกรในชมุ ชน

แหลง่ อ้างอิง
ช่ืนจิต แก้วปัญญา. (2554). การปลูกพืชอาหารสัตว์หมุนเวียนพืชหลัก: ระบบการปลูกพืชอย่างเพ่ือ

การเกษตรอย่างยังยนื . วารสารวิชาการเกษตร, 29(3). 302-315.
สมาพร เรือสังข์ และตรีสุคนธ์ เจริญชัยชาญกิจ. (2561). ระบบนิเวศเกษตรและการจัดการทรัพยากร

ชมุ ชนในพนื้ ท่ีรอยต่อชายแดนกาญจนบุรี-ทวาย. วารสารมหาจุฬานาครทรรศน์, 5(3). 689-705.
สยามรฐั ออนไลน.์ (2561). ปญั หาภาคการเกษตร. สืบค้นเมื่อ ตุลาคม 8, 2561, จาก

https://siamrath.co.th/n/43346
สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. (2560). แผนจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อม

พ.ศ.2560-2564. Portable Document Format. สืบค้นเม่ือ ตุลาคม 8, 2561, จาก
http://www.mot.go.th/file_upload/2560/environment_plan2560-2564.pdf.
เอกชัย อุตสาหะ. (2555). การทาการศึกษาต้นทุนและผลตอบแทนมาปลูกสับปะของเกษตรกรในพ้ืนท่ี
ตาบลบ้านดู่ อาเภอเมืองเชียงราย จังหวัดเชียงราย. วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราช
ภฏั เชยี งราย, 7(2). 104-121.

294

การบรหิ ารพระบรมราโชบายในโรงเรียนการศกึ ษาสงเคราะห์

AN EDUCATIONAL MANAGEMENT OF KING’S WILL OF WELFARE SCHOOL
UNDER WELFARE DEPARTMENT

อมั ไพ อตุ ตาธรรม
นักศกึ ษาปริญญาเอก มหาวิทยาลยั ราชภฏั เชยี งราย

บทคดั ยอ่
จากการเก็บข้อมูลเพื่อศึกษาเรื่องรูปแบบการบริหารการเสริมสร้างคุณธรรมนักเรียนตามพระ

บรมราโชบายสาหรับโรงเรียนการศึกษาสงเคราะห์ พบว่าปัจจุบันในโรงเรียนส่วนมากยังคงมีการให้
นักเรียนทุกคนท่องจาพระบรมราโชบายและปฏิญาณตนในการเป็นนักเรียนทุนพระราชทานของมูลนธิ ิ
ราชประชานุเคราะห์ในพระบรมราชูปถัมภ์ที่เปน็ ศาสตร์พระราชาองค์พระบรมราโชบาย 12 ข้อ ที่องค์
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชได้พระราชทานให้กับโรงเรียนราชประชานุเคราะห์
และโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์มาเนิ่นนาน การพัฒนานักเรียนด้านวิชาชีพและคุณธรรมของศาสตร์
พระราชาถือเป็นกิจกรรมเด่นของโรงเรียนการศึกษาสงเคราะห์ทุกโรงเรียนและจากการศึกษาพบว่า
การพัฒนาคุณธรรมของของนักเรยี นตามพระบรมราโชบายนน้ั จาเป็นต้องมีการฟ้ืนฟูอย่างเป็นรูปธรรม
มากข้ึน เพ่ือเป็นการพัฒนานักเรียนตามศาสตร์พระราชาท่ีมอบให้เพื่อสร้างคนท่ีมีความยากลาบากใน
โอกาสการศึกษาเล่าเรียนให้มีความเปน็ คนท่ีสมบูรณ์สมตามพระราชปณิธานของครูแห่งแผ่นดินได้ทรง
วางแนวทางใหแ้ ล้วอยา่ งชัดเจน

คาสาคัญ : การบริหาร, พระบรมราโชบาย, โรงเรียนการศกึ ษาสงเคราะห์ , คณุ ธรรมนกั เรียน

ABSTRACT
Regarding my study of “ An Educational Management of King’ s Will of Welfare

School” , conducted from 2000- 2018, I found, most of the schools under the
Administration Department now use the Royal Command as a vow to be good and a
confirmation to accept and use His Scholarship wisely for a long time. Of course, the
welfare Educational Schools also provide activities to help students develop a vocation
as well as to provide moral support, while they are in school. However, according to
my in-depth study, I found the building of moral support of His Will should be clarified,
revived and strengthen and to further developed to promote educational management
for His Will to come.

Keywords : Management, King’s Will, Welfare School, Moral Value

บทนา
การจัดการศึกษาสงเคราะห์ เป็นการจัดการศึกษาที่มีเป้าหมายหลักเพ่ือช่วยเหลือ เพ่ือคุ้มครอง

และพิทักษ์สิทธิของเด็กด้อยโอกาส ให้มีโอกาสได้รับการศึกษาและการพัฒนาตนเองเท่าเทียมกับเด็กปกติ
ท่ัวไปได้มีโอกาสพัฒนาคุณภาพชีวิตและความเป็นอยู่ท้ังทางด้านสุขภาพอนามัย ด้านอาชีพ ด้านความรู้

295

ทั่วไป ด้านกฎหมาย ด้านคุณธรรม และจริยธรรม เพื่อให้มีทักษะในการดารงชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับ
บคุ คลอนื่ ในสังคมได้อย่างเปน็ ปกติสุข มคี ณุ ค่าและศักด์ิศรีที่จะให้ความรว่ มมือในการพัฒนาประเทศได้

โรงเรยี นการศึกษาสงเคราะห์ หมายถึงโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ที่
19 - 43 และ 45 - 56 ท่ีกระจายอยู่ท่ัวประเทศ โรงเรียนฟ้าใสวิทยา โรงเรียนสมเด็จพระปิยมหาราช
รมณยี เขต และโรงเรียนพบิ ูลประชาสรรค์ ในสงั กัด สานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ สานักงานคณะกก
รมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ที่มีประวัติการจัดตั้งครั้งแรกท่ีโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์พนมทวน จังหวัด
กาญจนบุรี เมื่อวันท่ี 1 พฤษภาคม พ.ศ 2495 โดยมีหลักการเป็นโรงเรียนประจากินนอนแบบสหศึกษา
สังกัดโรงเรียนรัฐบาล รัฐเป็นผู้อุปการะเรื่องที่อยู่ อาหารการกิน เคร่ืองนุ่งห่ม ยารักษาโรค เครื่องเขียน
แบบเรียน ให้เปล่าตลอดท่ีศึกษาอยู่ โดยมีอุดมการณ์การจัดการศึกษา โรงเรียนเสมือนบ้าน ครูเสมือน
พ่อ - แม่ เพื่อนนักเรียนเสมือน พี่ - น้อง ความเสมอภาค อยู่เมือง อยู่ป่า ได้รับการศึกษาเท่าเทียมกัน
โรงเรียนการศึกษาสงเคราะห์จึงเป็นโรงเรียนท่ีจัดตั้งข้ึนเพื่อสร้างความเท่าเทียมทางการศึก ษาให้กับ
นักเรียนที่ประสบปัญหาด้านต่าง ๆ 10 ประเภท คือ คือ 1) เด็กถูกบังคับให้ขายแรงงานหรือแรงงานเดก็
2) เดก็ เรร่ อ่ น 3) เดก็ ที่อยูใ่ นธรุ กจิ ทางเพศหรือโสเภณเี ดก็ 4) เดก็ ทีถ่ ูกทอดทงิ้ /กาพรา้ 5) เด็กท่ีถกู ทาร้าย
ทารุณ 6) เด็กยากจน (มากเป็นพิเศษ) 7) เด็กในชนกลุ่มน้อย 8) เด็กท่ีมีปัญหาเก่ียวกับสารเสพติด 9)
เดก็ ทไี่ ดร้ ับผลกระทบจากโรคเอดส์หรือโรคติดต่อร้ายแรงทสี่ งั คมรังเกียจ และ 10) เด็กในสถานพินิจและ
คมุ้ ครองเด็กและเยาวชน

ในปี 2532 ประเทศไทยพบกับปัญหาอุทกภัยในภาคใต้ จงึ ได้สร้างโรงเรียนการศึกษาสงเคราะห์
ข้ึนอีก 2 โรงเรียนคือ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 19 อาเภอทุ่งสง จังหวัดนครศรีธรรมราช และ
โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 20 อาเภอท่าแซะ จังหวัดชุมพร ในส่วนของโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์
สาหรับชาวไทยภูเขา (ในจังหวัดแม่ฮ่องสอน มีมากที่สุด) ตั้งถ่ินฐานกระจัดกระจายไม่เป็นหลักแหล่ง รัฐ
ไมส่ ามารถบรหิ ารได้ทัว่ ถึง พระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ทรงมีพระ
เมตตาพระราชทานเงินทุนของมูลนิธิราชประชานุเคราะห์สร้างข้ึนอีก 3 โรงเรียนประเภทประจา และ
ต่อมามีโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ท่ีจัดตั้งขึ้นเพ่ือเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวใน
วโรกาสต่าง ๆ จนถึงโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 43 อาเภอนาทวี จังหวัด สงขลา และต่อมา เม่ือวันที่
30 พฤษภาคม พ.ศ 2556 ได้ประกาศให้โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์ในจังหวัดต่าง ๆ เปล่ียนชื่อเป็น
โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ อีก 13 โรงเรียน เพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวท่ีมี
พระชนมายุครบ 84 พรรษา รวมปัจจุบัน สานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ สานักงานคณะกรรมการ
การศกึ ษาขั้นพนื้ ฐานมจี านวนโรงเรยี นการศึกษาสงเคราะห์ทง้ั ส้ิน 51 โรงเรียน

สานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ ไดจ้ ัดการศกึ ษาเป็นแบบให้เปล่าตง้ั แตร่ ะดบั ก่อนประถมศึกษา
ชั้นประถมศึกษาจนถึงระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย มีรูปแบบและวิธีการในการให้บริการทาง
การศึกษาแบบการจัดการศึกษาสงเคราะห์ให้อยู่ประจาในโรงเรียน สานักงานคณะกรรมการการศึกษา
ข้ันพ้ืนฐานจัดสรรงบประมาณ เป็นค่าอาหาร เส้ือผ้า วัสดุการศึกษา และค่าใช้จ่ายในชีวิตประจาวัน
ทั้งหมด สาหรับการจัดการเรียนการสอนทุกโรงเรียนใช้หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551
แต่ส่วนใหญ่เน้นให้โรงเรียนในสังกัดจัดการเรียนการสอนเน้นการส่งเสริมวิชาชีพเพื่อสร้างทักษะพ้ืนฐาน
การทางาน การพึ่งตนเอง รวมท้ังการดาเนินโครงการตามพระราชดาริ และการศึกษาทางไกลผ่าน
ดาวเทียมเปน็ การสร้างโอกาสและความเทา่ เทยี มทางการศึกษา โดยม่งุ ปลูกฝังคุณลักษณะอนั พึงประสงค์
ค่านิยม คุณธรรมจริยธรรมและความจงรักภักดีต่อชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ นอกจากนี้ยังได้

296

ร่วมกับเครือข่ายองค์กรอ่ืน ๆ ในการช่วยเหลือเด็กด้อยโอกาสซึ่งการขับเคลื่อนให้ภารกิจการจัด
การศึกษาสงเคราะห์มีพัฒนาการต่อเนื่องมาจนถึงปัจจุบัน ดังนั้นบุคลากรทุกระดับ ท้ังผู้บริหารและครู
อาจารย์ ตลอดจนคนงานที่ต้องอาศัยความเสียสละและอุทิศตนเองในการปฏิบัติงานดูแลเด็กนักเรียน
ประจา 24 ชั่วโมง รวมทั้งการบาบัดฟ้ืนฟูสภาพจิตใจเด็กด้อยโอกาส และการปรับพฤติกรรมเด็กควบคู่
กับการจัดการเรียนรู้แก่เด็กอย่างต่อเน่ือง โดยกาหนดโครงสร้างการบริหารงานเป็น 4 งานคือ บริหาร
วชิ าการ การบรหิ ารงบประมาณ การบริหารงานบคุ คล และการบรหิ ารทวั่ ไป

พระเมตตาจากพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู ิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร
จากความสนพระทัยในการจัดการศึกษาสาหรับเด็กที่ขาดความเสมอภาคในการได้รับ
การศึกษาด้วยข้อจากัดด้านต่าง ๆ จึงทาให้พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ได้ให้
ความเมตตารับสนับสนุนการจัดการศึกษาร่วมกับรัฐบาลตลอดมา มิเพียงแต่เมตตาอนุเคราะห์
งบประมาณเท่าน้นั สิ่งที่พระองค์ท่านทรงเมตตา ได้แสดงถงึ วสิ ัยทศั น์การพฒั นาทรัพยากรมนุษย์ท่ีขาด
โอกาสให้สามารถเป็นบุคคลท่ีมีคุณภาพ เม่ือเด็กมีโอกาสได้พัฒนาตนเองแล้ว จักต้องได้รับการพัฒนา
ทุกด้านตามพระปณิธานดังพระบรมราโชวาท ความว่า “...การศึกษาเป็นปัจจัยสาคัญในการสร้างและ
พัฒนาความรู้ ความคิด ความประพฤติ และคุณธรรมของบุคคล หากสังคมและบ้านเมืองใดให้
การศึกษาท่ีดีแก่เยาวชนได้อย่างครบถ้วนในทุก ๆ ด้านแล้ว สังคมและบ้านเมืองน้ันก็จะมีพลเมืองท่ีมี
คณุ ภาพ สามารถดารงรักษาความเจริญม่นั คงของประเทศชาติไว้ และพฒั นาก้าวหน้าต่อไปโดยตลอด...”
(พระบรมราโชวาท พระราชทานแก่คณะครูและนักเรียนท่ีได้รบั พระราชทานรางวลั ฯ ณ ศาลาดุสิดาลัย
วนั จันทร์ที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2524)
ที่สาคัญที่สุดของโรงเรียนการศึกษาสงเคราะห์ เป็นโรงเรียนท่ีองค์พระบาทสมเด็จพระ
เจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ฯ รัชกาลที่ 9 ได้ทรงมุ่งหวังให้เด็กด้อยโอกาสทางการศึกษาทั้ง 10 ประเภท
เป็นคนท่ีมีคุณธรรมประจาตัวในการออกไปเป็นประชากรท่ีมีคุณภาพท่ีสามารถดารงตนเลี้ยงชีพชอบ
ภายใต้ระบอบการเมืองการปกครองและวิถีเศรษฐกิจแบบพอเพียง เป็นแบบอย่างในชุมชนได้อย่างมี
ศกั ดิศ์ รี สาหรบั ผูท้ ่ตี ้องออกไปประกอบอาชีพ โดยไดพ้ ระราชทาน พระบรมราโชบายให้โรงเรียนที่เรียก
ได้ว่าเป็นศาสตร์พระราชทาน เพ่ือสร้างผู้เรียนให้เป็นคนดีมีคุณธรรม ผ่านพระบรมราโชบาย 12 ข้อ
ดังนี้ 1) รู้จักรักษาความสะอาดทั้งกายและใจ 2) รู้จักช่วยเหลือตนเอง 3) เป็นเด็กดี มีความเมตตา
กรุณา 4) มีความซื่อสัตย์ สุจริต 5) ตรงต่อเวลา 6) มีความกตัญญูกตเวที 7) มีความขยันหม่ันเพียร 8)
มีความประพฤติเรียบร้อย อ่อนน้อมถ่อมตน 9) มีความโอบอ้อมอารี 10) รู้รักสามัคคี อยู่ร่วมกันอย่าง
สันติ 11) รู้จักการทาสวนครัว เลีย้ งสัตว์ แลว้ นาไปจาหน่าย และ 12) ร้จู กั มัธยสั ถ์ อดออม ฝากเงนิ ไวใ้ น
ธนาคาร เพื่ออนาคตของตนเอง
ซ่ึงพระบรมราโชบาย 12 ข้อน้เี ปน็ ส่ิงท่ีทกุ โรงเรียนได้ใช้มาโดยตลอดในอดีตจนถึงปจั จุบัน สว่ น
ผู้เรียนท่ีมีความต้องการการศึกษาในระดับที่สูงข้ึน องค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช
ได้ทรงมีพระเมตตา ผ่านมาทางมูลนิธิราชประชานุเคราะห์ในพระบรมราชูปถัมภ์ เป็นทุนพระราชทาน
เพ่ือมอบให้กับนักเรียนท่ีมีความตั้งใจ จนปรากฎตัวอย่างของนักเรียนที่ประสบความสาเร็จอยู่ในวง
ราชการปจั จุบนั นบั ไมถ่ ้วน ซึง่ ในปัจจุบัน นักเรยี นทุกคนในโรงเรียนราชประชานเุ คราะหท์ กุ แหง่ ในสังกัด
สานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ สามารถท่องได้ข้ึนใจทุกคน แต่จากการเข้าไปศึกษายังสถานศึกษาท่ี
กาหนดในการเป็นพื้นที่วิจัยแล้วพบว่า นักเรียน ครู และผู้บริหาร จานวนไม่น้อย ไม่สามารถเข้าใจใน
ศาสตร์พระราชทานน้ีได้อย่างลึกซึ้ง และไม่สามารถนาไปพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะตามพระราช

297

ปณิธานของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชได้เท่าที่ควรจะเป็นจึงทาให้เปน็ ปัญหาท่ี
ส่งผลต่อการปรับพฤติกรรมของนักเรียนประจาอยู่ในปัจจุบัน จากในการศึกษาวิจัยคร้ังน้ีผู้เขียนจึง
วเิ คราะห์วิธกี ารฟ้นื ฟูศาสตร์พระราชา องคพ์ ระบรมราโชบาย 12 ข้อ ในโรงเรยี นการศกึ ษาสงเคราะห์มี
แนวทางในการไปปฏิบัติเพ่ือสร้างคนไทยทุกคนที่จบการศึกษาจากโรงเรียนที่ได้รับศาสตร์พระราชา
เรือ่ งพระบรมราโชบาย 12 ขอ้ ที่ไม่มโี รงเรียนอื่นได้รับ สามารถใช้เพ่ือสร้างความเปน็ คนมีคุณภาพตาม
พระราชปณธิ านได้อย่างมที ศิ ทางและยั่งยืน

เนื้อเรือ่ ง
พระบรมราโชบายพระราชทานสาหรับนักเรียนราชประชานุเคราะห์ทุกคนให้น้อมปฏิบัติ

จานวน 12 ขอ้ ประกอบด้วย
1.)รู้จักรักษาความสะอาดท้ังกายและใจ 2.)รู้จักช่วยเหลือตนเอง 3.) เป็นเด็กดี มีความเมตตา

กรุณา 4.) มีความซ่ือสัตย์ สุจริต 5.) ตรงต่อเวลา 6.) มีความกตัญญูกตเวที 7.) มีความขยันหมั่นเพียร
8.) มีความประพฤติเรียบร้อย อ่อนน้อมถ่อมตน 9.) มีความโอบอ้อมอารี 10.) รู้รักสามัคคี อยู่ร่วมกัน
อย่างสันติ 11.) รู้จักการทาสวนครัว เลี้ยงสัตว์ แล้วนาไปจาหน่าย และ 12.) รู้จักมัธยัสถ์ อดออม ฝาก
เงนิ ไว้ในธนาคาร เพอ่ื อนาคตของตนเอง

จากข้อความในแต่ละข้อของพระบรมราโชบายท่ีพระราชทานให้กับผู้บริหารและครูในคร้ังน้ี คือ
การกลั่นกรองเอาหลักการของการพัฒนามนุษย์บนวิถีชีวิตของการอยู่ร่วมกันในสังคมโรงเรียนแบบอยู่
ประจา เพื่อให้ครูและบุคลากรทุกคนที่เก่ียวข้องในการพัฒนานักเรียนในกลุ่มท่ีมาจากผู้คนท่ีมีสภาพความ
เป็นอยู่ที่แร้นแค้น แตกต่างจากเด็กปกติในสังคมเมืองโดยท่ัวไป สถานะของครอบครัวไม่ใด้มาจาก
ครอบครัวท่ีมีความพร้อมทางเศรษฐกิจ ความเป็นอยู่เรียบง่าย ส่งผลให้วิถีการปฏิบัติกิจกรรมในชีวิตที่มี
ลักษณะของคนที่ทางานหนักได้ต้ังแต่ยังเล็ก โดยเฉพาะสาหรับเด็กท่ีกาพร้าบิดามารดา ท่ีพระองค์ได้
พระราชทานโรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ มาช่วยเหลอื ทัง้ ดา้ นวิชาการและความเป็นอยู่ และด้วยสายพระ
เนตรท่ียาวไกลและเปี่ยมล้นด้วยพระเมตตา พระองค์ยังทรงพระกรุณาให้จัดตั้งกองทุนภูมิพล และทุน
อานันทมหิดล และโรงเรียนฝึกอาชีพ อย่างเช่นโครงการพระดาบส ที่เปิดรับบุคคลไม่จากัดอายุ เพื่อ
การศึกษาและการฝึกอาชีพ ซึ่งทั้งหลายทังปวงก็เพื่อพัฒนาการศึกษาชาติเป็นสาคัญ พระราชปณิธานใน
การจัดตั้งโรงเรียนข้ึนในท่ีต่าง ๆ ไม่ว่าจะใกล้หรือท่ีห่างไกล เพื่อพัฒนาประชาชนในชาติไทยให้เป็นคนท่ี
สมบูรณ์นั้น สิ่งที่ยืนยันได้ดีก็คงจะเป็นพระบรมราโชวาทองค์นี้ ความว่า “....วัตถุประสงค์ของการต้ัง
โรงเรียนหรือการให้การศึกษาแก่เยาวชนของชาติ คือการให้นักเรียนมีความสมบูรณ์ ไม่บกพร่องทั้งทาง
ร่างกาย ทั้งทางความคิดจิตใจและคุณธรรม ให้นักเรียนมีวิชาความรู้ที่ถูกต้อง แม่นยา พร้อมท้ังมี
ความสามารถท่ีจะนาความรู้ ความคิด ไปปฏิบัติใช้งานได้ด้วยตนเอง ได้จริงด้วย.....” ( พระบรมราโชวาท
พระราชทานแก่คณะครูและนักเรียน โรงเรียนวังไกลกังวล วันพฤหัสบดีท่ี 19 มิถุนายน 2523) ดังนั้นพระ
บรมราโชบายท่ีพระราชทานมาใหโ้ รงเรียนราชประชานเุ คราะหแ์ ละศึกษาสงเคราะห์ในครั้งนี้ก็เพ่ือต้องการ
ให้ เดก็ ดอ้ ยโอกาสทุกคนในโรงเรียนการศึกษาสงเคราะห์ มีทง้ั ความรู้ทางวิชาอาชีพ และความรู้วิชาชวี ิต ที่
สมบูรณ์ เป็นทั้ง คนดีมีคุณธรรม และนาคุณภาพ ซึ่งเป็นหลักการท่ีไม่เคยล้าสมัยเลย ถ้าาเราผู้ท่ีเก่ียวข้อง
ตั้งแต่ ผู้บริหารสถานศึกษา ครู พ่อแม่ คณะกรรมการสถานศึกษา ชุมชนรอบข้าง และตัวนักเรียนเอง จะ
ได้กลับตัว และให้ความสาคัญกับทุกข้อของพระรมราโชบายอย่าง เข้าใจ และเข้าถึง หมายความว่า ขอให้
ทุกคนได้กลับมาศึกษาให้เกิดความเข้าใจอย่างอย่างแท้จริง จนสามารถเข้าถึง จนสามารถวางแผนการ
พัฒนานักเรียนอย่างที่เรียกว่า เป็นแผนงาน โครงการพัฒนาคนท่ีเกิดจากการการคิดที่ “ระเบิดจากข้าง

298

ใน” ไม่ใช่เป็นเพียงการใช้พระบรมราโชบายเพียงการท่องจาเป็นนกแก้วนกขุนทองแต่ขาดความเข้าใจ เรา
ควรมาทาความเข้าใจกันให้ลึกซึ้ง จนเขา้ ถงึ ศาสตรพ์ ระราชาพระบรมราโชบายกันต่อไป

ก่อนที่พวกเราจะได้ทาความเข้า ใจ และเช้าถึง ข้อความของแต่ละข้อในพระบรมราโชบาย
ต่อไป ผู้เขียนใคร่ขอพระบรมราชานุญาต กล่าวขยายความในข้อความพระราชทานท่ีอ่านแล้วเข้าใจได้
ง่าย ท้ัง 12 ข้อ เพ่ิมเติมในบทความนี้ เพื่อเป็นการสร้างฐานความเข้าใจให้กับผู้ที่ได้อ่านบทความน้ีที่ยัง
ขาดพ้ืนฐานทางธรรมได้มีความเข้าใจชัดเจนขึ้น เพื่อจะได้มีความเข้าใจในพระราชปณิธานแห่งองค์ล้น
เกล้า ฯ ที่พวกเราชาวไทยได้ร่วมกันถวายพระราชสมัญญานามพระองค์ท่านว่า พระผู้ทรงเป็นครูแห่ง
แผ่นดิน และปรมาจารย์ของครู เพื่อจะได้นาไปพัฒนานักเรียนได้ บนฐาน แห่งหลักการพัฒนาของ
พระองคท์ ่าน เช่นกันวา่ การพัฒนาทมี่ ีคุณภาพและยั่งยืนน้ัน ตอ้ งอยู่บนหลกั การ ของผู้นาการพฒั นาต้อง
มีความ เข้าใจ เชา้ ถึง พฒั นา อย่างสอดคลอ้ งเชื่อมโยง จงึ จะมคี ุณภาพและย่ังยนื กนั ต่อไป

พระบรมราโชบายท่ีพระองค์ท่านพระราชทานมานี้ ล้วนอยู่บนฐานของหลักการทางศาสนา
พทุ ธ แทบทง้ั หมด ผู้เขยี นขอขยายความเขา้ ใขในความหมายของแตล่ ะข้อ ดงั นี้

1. รูจ้ กั รักษาความสะอาดท้งั กายและใจ
สะอาด (Clean) คือ ปราศจากความมัวหมอง ท้ังกาย ใจ และสภาพแวดล้อม ความผ่องใส
เป็นท่ีเจริญตา ทาให้เกิดความสบายใจแก่ผู้พบเห็น ผู้ที่มีความสะอาดกาย คือ ผู้รักษาร่างกาย ที่อยู่
อาศัย สิ่งแวดล้อม ถูกต้องตามสุขลักษณะ ผู้ที่มีความสะอาดใจ คือผู้ที่ฝึกฝนจิตใจมิให้ขุ่นมัว มีความ
แจ่มใสอยู่เสมอเมื่อพูดถึง “ความสุข” หรือภาวะปกติสุข คนทั่วไปมักนึกถึงเรื่องทางกายเท่านั้น แต่ใน
ความเป็นจรงิ สขุ ภาวะทางกายเปน็ เพยี งสว่ นหน่งึ ของสุขภาวะทัง้ หมดของมนุษย์ เพราะมนษุ ยม์ ที ั้งกาย
และใจ นอกจากน้ันเราแต่ละคนยังมชี ีวติ อยู่ทา่ มกลางผู้คน ซ่งึ ท้งั หมดนี้ลว้ นเป็นองคป์ ระกอบทสี่ ่งผลถึง
สขุ ภาวะของเราทุกคน
ความสะอาดทางกาย มี 3 ประการ คือ
1.) ละการฆ่าสัตว์ เว้นขาดจากการฆ่าสัตว์ มีความละอาย มีความเอ็นดู ความกรุณา หวัง
ประโยชน์เก้ือกูลแก่สัตว์ทั้งปวง 2.) ละการลักทรัพย์ เว้นขาดจากการลกั ทรัพย์ ไม่ถือเอาวัตถุท่ีเป็นของ
บุคคลอ่นื ที่เจ้าของมิไดใ้ ห้ ด้วยเจตนาขโมย 3.) ละการประพฤตผิ ิดในกาม เว้นขาดจากการประพฤติผิด
ในกาม ไม่ถึงความประพฤติล่วงในสตรีท่ีมีผู้ดูแลรักษา (ผู้ดูแลรักษาน้ี ได้แก่ มารดา บิดา พ่ีชาย
น้องชาย พ่สี าว น้องสาว หรอื ญาต)ิ สตรที ป่ี ระพฤติธรรม สตรที มี่ สี ามี รวมถงึ สตรที ม่ี คี รู่ กั
สุขภาวะทางกาย คือ การมสี ุขภาพดี ปลอดพ้นจากโรคภัยไข้เจบ็ ไม่อดอยากหวิ โหย มปี จั จยั 4
พอเพียงกับอัตภาพ อยู่ในสภาพแวดล้อมท่ีเกื้อกูลต่อสุขภาพ ปราศจากมลภาวะ มีการเอาใจใส่ดูแล
ร่างกายให้สะอาด รวมทั้งบริโภคและใช้สอยอย่างถูกต้องเหมาะสม ดาเนินชีวิตไปในทางท่ีไม่เป็น
อันตรายต่อสุขภาพของตนเอง
ความสะอาดทางใจ มี 3 ประการ คือ1). ไม่อยากได้ของผู้อ่ืน คือ ไม่อยากได้วัตถุส่ิงของของ
บุคคลอ่ืน 2.) ไม่มีจิตปองร้าย คือ ไม่มีความคิดในใจอันชั่วร้าย คิดแต่ว่าสัตว์ท้ังหลายจงเป็นผู้ไม่มีเวร
ไม่มีความมุ่งร้ายกัน ไม่มีทุกข์ มีสุข และรักษาตนเถิด 3.) มีความเห็นชอบ คือ มีความเห็นว่า ผลแห่ง
การทาดี มีผลแห่งการทาชัว่ มกี ฎแห่งกรรม มีจรงิ สมณพราหมณผ์ ูด้ าเนนิ ไปโดยชอบ ผูป้ ฏบิ ตั ิชอบ ผูท้ า
โลกนี้และโลกหน้าให้แจง้ ชดั ด้วยปญั ญาอนั ยิ่งดว้ ยตนเองแล้วสอนผู้อืน่ ให้รตู้ ามมีจรงิ
สุขภาวะทางใจ คือ การมีจิตใจท่ีสะอาด สดช่ืน เบิกบาน ผ่องใส และสุขสงบ ไม่กลัดกลุ้มกังวล
มีกาลงั ใจและความม่ันคงภายใน ปราศจากความท้อแท้ หดหู่ เศร้าโศก หรอื โกรธข้ึง มีเมตตากรุณา และ

299

จิตใจท่ีอ่อนโยน สามารถเข้าถึงความสุขท่ีประณีตได้ ดังนั้น พฤติกรรมทั้งหมดของเรา ล้วนเร่ิมต้นมา
จากความคิด ความเห็น และความเชื่อ เราคิด เราเช่ืออย่างไร เราก็ทาอย่างนั้น หากความคิด ความเห็น
และความเช่ือน้ันประกอบด้วยปัญญา มีเหตุผล หรือตั้งอยู่ บนความรู้ที่ถูกต้อง ย่อมส่งผลให้เรามี
พฤติกรรมท่ีถูกตอ้ งดีงามและนาไปสูค่ วามสขุ เราทุกคนจึงควรทาความสะอาดกายและใจจนเปน็ นิสัย

แนวพระบรมราโชบายข้อน้ี ต้องการให้โรงเรียนสร้างผู้เรียนที่มีคุณลักษณะ ให้เป็นผู้ท่ีรู้จัก
สร้างความสะอาดในท่อี ยู่อาศยั การรักษาความสะอาดเรือนกาย การรกั ษาสภาพแวดล้อมที่ดีปราศจาก
มลภาวะในโรงเรียน ในหอนอน และการสอนให้นักเรียนนาหลักการของศาสนามาชาระใจ ให้เป็นผทู้ ี่มี
ความสะอาดทางใจ รู้คิด รู้ปฏิบัติตามกฎ ระเบียบของโรงเรียนและสังคมที่ดีงาม สร้างความสงบสุขใน
การดารงชวี ิตประจาวัน

1. รจู้ ักชว่ ยเหลือตนเอง
การเป็นนักเรียนในโรงเรียนราชประชานุเคราะห์และโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์ ที่เป็นโรงเรียน
แบบอยปู่ ระจา ตอ้ งอยหู่ ่างจากบิดามารดาของนักเรียน มีครูผูด้ ูแลทจี่ ากัด ดงั นัน้ จึงมคี วามจาเป็นอย่าง
มากท่ีต้องทาตัวให้ครูผู้ดูแลได้เกิดความสบายใจ ดังนั้นการใดที่เป็นการส่วนตัว เช่น การอาบน้า การ
แตง่ กาย การทาความสะอาดและจัดเกบ็ ของใชส้ ่วนตวั การดแู ลรกั ษาทรัพยส์ ิน ของใช้สว่ นตวั นักเรยี น
ทุกคนต้องปฏิบัติให้ได้ การช่วยเหลือตนเอง คือ การดูแลตนเองในเรื่องท่ีเป็นส่วนตัวเป็นผลประโยชน์
เปน็ สิทธิ ทีน่ ักเรียนพึงไดร้ บั จากโรงเรียน จงึ เปน็ สงิ่ ท่ีนักเรยี นตอ้ งปฏิบตั ิให้ไดด้ ว้ ยตนเอง
3. เป็นเด็กดี มีความเมตตา กรณุ า
ความเมตตา แปลว่า ความปรารถนาให้ผูอ้ ืน่ ได้รับสขุ ความสุขเป็นสงิ่ ท่ีทุกคนปรารถนา ความสุข
เกิดขึ้นได้ท้ังกายและใจ เช่น ความสุขเกิดจากการมีทรัพย์ ความสุขเกิดจากการใช้จ่ายทรัพย์เพ่ือการ
บรโิ ภค ความสุขเกดิ จากการไมเ่ ปน็ หน้ี และความสุขเกดิ จากการทางานทีป่ ราศจากโทษ เปน็ ตน้
กรุณา หมายถึง ความปรารถนาให้ผู้อื่นพ้นทุกข์ ความทุกข์ คือ ส่ิงที่เข้ามาเบียดเบียนให้เกิด
ความไม่สบายกายไม่สบายใจ และเกิดขึ้นจากปัจจัยหลายประการด้วยกัน พระพุทธองค์ทรงสรุปไว้ว่า
ความทุกข์มี 2 กลุ่มใหญ่ๆ ดังนี้ ทุกข์โดยสภาวะ หรือเกิดจากเปลี่ยนแปลงตามธรรมชาติของร่างกาย
เช่น การเกิด การเจ็บไข้ ความแก่และความตายส่ิงมีชีวิตท้ังหลายที่เกิดมาในโลกจะต้องประสบกับการ
เปลี่ยนแปลงทางร่างกายอย่างหลีกเล่ียงไม่ได้ ซ่ึงรวมเรียกว่า กายิกทุกข์ ทุกข์จรหรือทุกข์ทางใจ อัน
เปน็ ความทกุ ข์ท่ีเกดิ จากสาเหตุท่ีอยู่นอกตัวเรา เช่น เมื่อปรารถนาแล้วไมส่ มหวังก็เป็นทุกข์ การประสบ
กับส่ิงอันไมเ่ ป็นทรี่ กั กเ็ ปน็ ทุกขก์ ารพลัดพรากจากสิง่ อันเปน็ ท่รี ัก กเ็ ปน็ ทุกข์ รวมเรยี กว่า เจตสกิ ทกุ ข์
เมตตากรุณา หมายถึง มีความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ช่วยเหลือเก้ือกูล โอบอ้อมอารีในลักษณะ
สงเคราะห์ อนุเคราะห์ หรือบชู าคุณความดี แลว้ แต่เวลา สถานท่ี และบุคคล มคี วามรักและความหวังดี
เป็นท่ีตั้งเมตตาคือ ความไม่โกรธ กรุณา คือความไม่เบียดเบียน การเป็นเด็กดี มีความเมตตากรุณา ใน
การสอนเด็กนักเรียนของโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ จึงหมายถึงการฝึกอบรมให้นักเรียนเป็นผู้ท่ีมี
ความคิด ความปรารถนาให้ผู้อื่นมีความสุข ปราศจากความทุกข์ด้วยประการทั้งปวง ไม่คิดเบียดเบียน
คนอื่น โดยการสร้างการอยู่ร่วมกัน โดยการให้นักเรียนรู้จักช่วยเหลือกันและกันในส่ิงที่ผู้อื่นทาได้ยาก
เช่นการฝึกให้พี่ช่วยดูแลน้องในเรื่องของการอาบน้า การแต่งกาย ทาการบ้าน การล้างจานชามหลัง
การรับประทานอาหาร การชว่ ยปลอบใจ เปน็ เพ่ือน ยามทน่ี อ้ งเลก็ ๆ คดิ ถงึ บ้าน เปน็ ต้น

300

4. มคี วามซ่ือสตั ยส์ จุ รติ
ความซ่ือสัตย์สุจริต (Honesty and Integrity) คือ การยึดมั่นในความสัตย์จริงและในส่ิงท่ี
ถูกต้องดงี าม มีความซอ่ื ตรง และมเี จตนาทบี่ ริสุทธิ์ ปฏิบัตติ อ่ ตนเองและผอู้ ่นื โดยชอบ ไมค่ ดโกง และตาม
ความหมายของราชบัณฑิตยสถาน ซื่อสัตย์ หมายถึง ประพฤติตรงและจริงใจ ไม่คิดคดทรยศ ไม่คดโกง
และไมห่ ลอกลวง สจุ ริต หมายถึง ความประพฤติชอบ ส่วนในแง่มุมหน่ึงของศลี ธรรม ความซอ่ื สัตย์สุจริต
คือการแสดงถึงลักษณะของคุณธรรมในแง่บวก เช่น ความจริงใจ และความตรงไปตรงมา พร้อมด้วยการ
งดเว้นการโกหก การคดโกง หรือการลักขโมย เพราะหากไม่งดเว้น ก็จะกลายเป็นการเสแสร้งแกล้งทา
เพียงเท่านั้น ผู้ท่ีมีความประพฤติตรงต่อเวลา ต่อหน้าที่ และต่อวิชาชีพ มีความจริงใจ ไม่มีความลาเอียง
ไม่ทุจริตคดโกง ท้ังทางตรงและทางอ้อม รู้หน้าที่การงานของตนเอง ปฏิบัติเต็มกาลังความสามารถ พูด
ความจริง ไม่ลักขโมย ทาตัวเป็นท่ีน่าเช่ือถือ ทาตามสัญญา ตรงไปตรงมา กล้าเปิดเผยความจริง รู้จัก
แยกแยะประโยชน์ส่วนตัวส่วนรวม ด้วยความบริสุทธิ์ใจ ผู้ท่ีจะมีความซื่อสัตย์สุจริตได้ ต้องมีคุณธรรม
ประจา กาย วาจา ใจ คือ 1) มีสัจจะ หมายถึง การคิด การพูด การทาแต่ความจริง 2) มีความเป็นธรรม
หมายถึง มใี จเปน็ กลาง 3) ไมม่ อี คติ หมายถงึ ไม่มีความลาเอียงเข้าข้างใดขา้ งหนง่ึ
และคนจะได้ชื่อว่ามีความสัตย์ ต้องมีความจริง 5 ประการ คือ 1.) จริงต่อการงาน หมายถึง ทา
อะไรทาจริง มุ่งให้งานสาเร็จเกิดประโยชน์ส่วนตนหรือส่วนรวมได้จริง ๆ 2.) จริงต่อหน้าท่ี หมายถึง ทา
จรงิ ในงานที่ไดร้ ับมอบหมาย ซึง่ เรียกว่า หน้าท่ี ทางานเพ่ืองาน ทางานให้ดีท่สี ดุ ไม่เลนิ เล่อ ไมห่ ละหลวม
ไม่หลีกเล่ียงบัดพล้ิว คือ หลีกเล่ียงไม่ปฏิบัติตามหน้าท่ี ต้องเอาใจใส่หน้าที่ให้งานสาเร็จเกิดผลดี 3.) จริง
ต่อวาจา หมายถึง การพูดความจริง ไม่กลับกลอก รักษาวาจาสัตย์อย่างเคร่งครัดพูดจริงทาจริงตามท่ีพดู
4.) จริงตอ่ บคุ คล หมายถงึ มคี วามจรงิ ใจตอ่ คนท่เี ก่ียวข้อง ต่อมิตรและผรู้ ่วมงานจรงิ ใจต่อเจ้านายของตน
เรียกว่า มีความจงรักภักดี จริงใจต่อผู้มีพระคุณ เรียกว่า มีความกตัญญูกตเวที 5.) จริงต่อความดี
หมายถึง มุ่งประพฤติแต่ความดีจนติดเป็นนิสัย เป็นบุคคลท่ีประกอบด้วยคุณธรรม คือ หิริ ความละอาย
บาป ละอายใจต่อการทาช่วั โอตตัปปะ ความกลวั บาป เกรงกลัวต่อความช่ัว
ความสรปุ เรื่องความสัตยส์ จุ รติ ขออญั เชิญ พระบรมราโชวาท พระบาทสมเด็จพระเจ้าอย่หู ัว ที่
พระราชทานเพื่ออัญเชิญลงพิมพ์ในหนังสือวันเด็ก ปีพุทธศักราช 2531 ณ พระตาหนักจิตรลดา
รโหฐาน วันท่ี 18 พฤศจิกายน 2530 ดังนี้ “ความซอื่ สัตย์สุจริต เป็นพื้นฐานของความดที ุกอย่างเดก็ ๆ
จึงต้องฝึกฝนอบรมให้เกิดมีขึ้นในตนเอง เพ่ือจักได้เติบโตขึ้นเป็นคนดีมีประโยชน์ และมีชีวิตที่สะอาด ท่ี
เจริญม่ันคง” พระองค์ท่านจึงมีพระดาริเพ่ือให้ผู้เรียนของโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ มีลักษณะของ
การดาเนินชีวิตในสงั คมด้วยความเป็นคนที่มคี วามซอ่ื สัตย์สุจรติ เปน็ สาคัญและเข้าใจว่าเป็นส่ิงจาเปน็ ไม่
ว่าจะซ่ือสัตย์ต่อตนเองหรือผู้อื่น ดังน้ัน การท่ีจะสร้างให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะ ของคนที่มีความซื่อสัตย์
สุจริตน้ัน เราจะต้องปลูกฝังและสร้างจิตสานึกเก่ียวกับความซื่อสัตย์สจุ ริตอย่างถูกต้อง และให้เห็นโทษ
ของการไม่ซ่อื สตั ยส์ จุ รติ ว่าจะสง่ ผลตอ่ ตนเองและสงั คมอย่างไรบา้ ง
5. ตรงตอ่ เวลา
ตรงต่อเวลา คอื การรู้ว่า เวลาทสี่ มควรจะทาอะไร ก็ตรงต่อเวลาทีท่ างานน้ัน ตามทีก่ าหนด โดย
ไมผ่ ดิ เพ้ียนไม่บิดพลวิ้ ไม่ตอ้ งแก้ตวั ตรงต่อเวลา หมายถึง ตรงเวลา ตามเวลา การตรงต่อเวลา ก็คือ การ
บังคบั ตัวเองไม่ให้ประมาทและเฉื่อยชา ในการทางานหรอื กจิ กรรมต่าง ๆ ให้สาเร็จตามทไี่ ด้รับมอบหมาย
ไว้ ซ่ึงเป็นหัวใจของกิจการท้ังปวง ประโยชน์ของการตรงต่อเวลา คือ เป็นท่ีเชื่อถือของคนอ่ืน เป็นท่ี
ไวว้ างใจ ทางานทนั เวลา สง่ งานตรงเวลา และทาใหง้ านทุกอย่างรวดเรว็ ถูกต้องเพราะได้มีเวลาตรวจทาน

301

การใช้ชีวิตในโรงเรียนประจาท่ีมีผู้เรียนจานวนมากมาอยู่ มาใช้ทรัพยากรร่วมกัน มาปฏิบัติงานร่วมกัน
มากินมานอนร่วมกัน การตรงต่อเวลาจึงมีความจาเป็นอย่างมาก เป็นพ้ืนฐานของการสร้างความ
รับผิดชอบต่อหน้าท่ี ดังน้ันพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจึงต้องการให้ครูฝึกลักษณะนิสัยเรื่องน้ีให้
เกิดขึ้นติดตวั ผูเ้ รยี นทุกคน

6. มีความกตญั ญกู ตเวที
ความกตัญญู หมายถึง คุณธรรมที่เป็นพื้นฐานของมนุษย์ ในสังคมมนุษย์ต้องเก่ียวข้องสัมพันธ์
กับส่ิงอ่ืน ชีวิตด้านกายภาพดารงอยู่ได้เพราะได้รับอุปการะเลี้ยงดูจากบุคคลต่าง ๆ มีบิดามาดา ครู
อาจารย์ ญาติพี่น้อง เป็นต้น นอกจากนั้น ต้องพ่ึงอาศัยสิ่งเหล่าอ่ืนอีก เช่น อาศัยปัจจัย 4 เป็นเครื่อง
เลี้ยงชีวิตจึงจะอยู่รอดได้ ในส่วนจิตใจมนุษย์ก็ได้รับการปลูกฝังอบรมคุณลักษณะคุณค่าทางจิตใจจาก
บุคคลอื่น มีบิดามารดา เป็นต้น ให้มีทัศนคติ ค่านิยม คุณธรรม จริยธรรม อันเป็นหลักสาคัญในการ
ดาเนินชีวิตให้มีความเจริญรุ่งเรือง ซ่ึงเป็นองค์ประกอบสาคัญของมนุษย์ ความกตัญญูนี้ เป็นคุณธรรม
ที่มนุษย์พึงปฏิบัติมิใช่เฉพาะต่อมนุษย์ด้วยกันเท่าน้ัน แต่ให้มีแม้แต่ต่อสัตว์และพืชทั้งหลายด้วย ความ
กตัญญู เป็นการกระทาความดีอย่างหน่ึงท่ีพึงปรารถนาของทุกคน ผู้ท่ีมีความกตัญญู ย่อมจะทาตนเอง
ให้มีความสุขและทาผู้อื่นให้มีความสุขด้วย จากการศึกษาพบว่าพระพุทธศาสนากล่าวยกย่องบุคคลที่มี
ความกตญั ญู และใหค้ วามสาคญั ต่อบุคคลผู้มีความกตญั ญวู า่ เป็นบุคคลที่หาได้ยากในโลก พระพุทธองค์
ตรัสว่าบุคคลที่หาได้ยากมี 2 จาพวก ได้แก่ 1) บุพพการี คือผู้ทาอุปการะก่อน 2.)กตัญญูกตเวที ผู้รู้
อุปการะที่เขาทาแล้วตอบแทน บุพพการีบุคคล กับ กตัญญูกตเวทีบุคคล คือบุคคลท่ีมาคู่กันเสมอ
เพราะมีผู้ทาอุปการะก่อน จึงมีผู้รู้อุปการะท่ีท่านทาแล้วและตอบแทน และเป็นบุคคลท่ีหาได้ยาก
เพราะวา่ หมู่สตั วส์ ่วนใหญ่ถูกอวิชชาครอบงา ยากทจ่ี ะมองเห็นคุณคา่ ของบุคคลอืน่ ได้ ในกฎหมายคาว่า
บุพการี หมายถึง บิดามารดา ปู่ ย่า ตา ยาย ทวด (ทั้งสองฝ่าย) ในทางพระพุทธศาสนา มีความหมาย
กว้างกว่านี้ ซ่ึงหมายรวมไปถึงอาจารย์อุปัชฌาย์ และพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ตลอดจนถึงบุญท้ังหลาย
ด้วย บุพการีบุคคลกับกตัญญูกตเวทีบุคคล กตัญญูกตเวทีบุคคล ย่อมจะหาได้ยากกว่าบุพพการีบุคคล
ความหมายตามคาศพั ท์ ของกตัญญกู ตเวที
ความหมายตามคาศัพท์ทท่ี ่านนักปราชญ์ได้พรรณนาไว้ในคมั ภีร์ต่าง ๆ มี ดงั นี้ คมั ภรี อ์ รรถกถา
ปรมัตถโชตกิ า ไดแ้ สดงถงึ ความหมายของความกตัญญูไวว้ ่า ความรจู้ กั อุปการคุณทผ่ี ู้ใดผู้หนึ่งทามาแล้ว
ไม่ว่ามากหรือน้อย โดยการระลึกถึงเนือง ๆชื่อว่า กตัญญุตา พจนานุกรม มคธ ไทย ได้ให้ความหมาย
ของกตัญญูไว้ว่า กตัญญู ผู้รู้ซึ่งอุปการะอันบุคคลอื่นทาแล้วแก่ตน โดยปกติ กต อุปการ ชานาติ สีเลนา
ติ กตญฺญู ผู้มีปกติซ่ึงอุปการะบุคคลอ่ืนทาแก่ตน กต ชนิต สีลมสฺสาติ กตญฺญู. ผู้ซึ่งอุปการะอันบุคคล
อื่นทาแลว้ แกต่ น กต อุปการ ชานาติ กตญฺญู. ผรู้ ู้ คณุ ทา่ น. กตปพุ ฺโพ, ญา ญาเณ, กตเวที ยงั บุคคลให้รู้
ซ่ึงอุปการะอันบุคคลอ่ืนทาแล้วแก่ตน, ยังบุคคลให้รู้ซึ่งคุณอันบุคคลทาแล้วแก่ตน, ผู้ประกาศซึ่ง
อุปการะอันบุพการีชนทาแล้ว, ผู้ตอบแทนอุปการะของท่าน, ผู้ตอบแทนอุปการคุณของท่าน, ผู้สนอง
คุณท่าน, ผู้ตอบแทนคุณท่าน พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน ได้ให้ความหมายของกตัญญูไว้ว่า รู้
อุปการะที่ท่านทาให้, รู้คุณท่าน เป็นคาคู่กันกับ กตเวที และได้ให้ความหมายของคาว่า กตเวที ว่า
สนองคณุ ท่าน, เป็นคาคกู่ ันกบั กตัญญู ท่านพุทธทาสภิกขุ ได้ให้ความหมายของกตญั ญไู วว้ ่า ความรู้และ
ยอมรับรู้ในบุญคุณของผู้อื่น ที่มีอยู่เหนือตนเรียกว่า กตัญญุตา (กตัญญู) การพยายามทาตอบแทน
บุญคุณนั้น ๆ เรียกว่า กตเวทิตา (กตเวที) คนท่ีรู้บุญคุณ คนที่ทาตอบแทน เรียกว่า คนกตเวที กตัญญู
กตเวทติ า หมายถึง ความรู้บญุ คุณท่านแล้วทาตอบใหป้ รากฏ น่เี ปน็ ธรรมประคองโลกใหเ้ ป็นอยู่ได้ และ

302

อยไู่ ดด้ ้วยความสงบสุข อยา่ งไรกต็ าม คาว่ากตญั ญูกตเวที เป็นคาท่มี าดว้ ยกัน เมอื่ กลา่ วถงึ ความกตัญญู
ก็ต้องกลา่ วถึงกตเวทีไปโดยปริยาย เพราะในทางปฏิบตั ิคุณธรรม 2 ข้อน้ไี มส่ ามารถแยกจากกนั ได้

เม่ือกล่าวโดยสรุป ความกตัญญูก็คือ ความรู้และการยอมรับในบุญคุณของบุคคล สัตว์ สิ่งของ
และธรรมชาติสิ่งแวดล้อม ที่มีต่อตัวเราท้ังทางตรงและทางอ้อม กตเวที คือ พยายามกระทาตอบด้วย
การทดแทนพระคุณ ชว่ ยเหลืออุปการะ ยกย่อง บารงุ รกั ษาใหค้ งอยู่ในสภาพท่ีดีงาม เพ่ือความสงบสุข
ของสังคม และเพื่อความสมดุลทางธรรมชาติสิ่งแวดล้อม คุณลักษณะเช่นน้ีถ้ามีในตัวผู้เรียนแล้ว ย่อม
สร้าง ความย่ังยืนของระบบการอยู่ร่วมกันของคน สัตว์และสภาพแวดล้อมของระบบนิเวศในสังคม
ชุมชน และแกช่ าตบิ ้านเมอื ง

7. มีความขยันหมนั่ เพียร
ความขยันหมั่นเพียร หมายถึง การปฏิบัติหน้าที่การงานและการประกอบอาชีพที่สุจริตอย่าง
กระตือรือร้น และตัง้ ใจจริงให้สาเร็จด้วยความมานะอดทน ความขยนั หมน่ั เพยี ร คอื เป็นผ้ทู ีก่ ลา้ สู้งานไม่
หลบงาน ไม่หนี ไมท่ ้ิงงาน ไมก่ ลัวความทุกข์ยาก ไมก่ ลัวความลาบาก เปน็ คนมีจติ ใจเข้มแข็ง มีความยนิ ดี
พอใจและเพลิดเพลินกับการทางาน มีความวิริยะอุตสาหะ มีความจริงใจในการปฏบิ ตั ิหน้าท่ี ไม่เป็นทาส
ของความเกยี จครา้ น บคุ คลผมู้ ีความเพียรเท่าน้นั ท่มี คี วามเจริญก้าวหน้าในชวี ิต ทกุ ส่งิ ทุกอยา่ งย่อมพ่าย
แพ้แก่ความเพียรพยายามที่สม่าเสมอ การอยู่ในโรงเรียนประจา การปฏิบัติตนในการช่วยเหลือตนเอง
และการบารุงรักษาทรัพยากรต่าง ๆ ในโรงเรียนสาหรับนักเรียนท่ียังมีความเป็นเด็ก ต้องต่อสู้กับความ
ลาบากท้ังของสภาพภูมิอากาศและการทางานแข่งกับเวลา การพัฒนาตนเองให้เรียนรทู้ ุกเรอ่ื งที่โรงเรียน
ตอ้ งจัดการและจดั ใหม้ ขี นึ้ ในตัวผู้เรยี น ทาให้ผเู้ รียนต้องเป็นผทู้ ่มี ีความเพยี ร ขยัน และอดทน จงึ จะสาเร็จ
ได้ ดงั นนั้ คุณลักษณะข้อนี้ มีความจาเป็นอยา่ งยิ่งทท่ี างโรงเรยี นต้องฝึกให้นักเรยี นมใี ห้ได้
8. มคี วามประพฤตเิ รยี บร้อย อ่อนน้อม ถ่อมตน
ความประพฤติ หมายถึง การกระทา,การปฏิบัติตน,การทาตน ความเป็นไปอันเกี่ยวด้วยการ
กระทาหรือปฏิบัติตน,การทาตาม, ความอ่อนน้อมถ่อมตน คือ การไม่แสดงออกถึงความสามารถท่ี
ตัวเองมีอยู่ให้ผู้อ่ืนทราบเพ่ือข่มผู้อ่ืน หรือเพ่ือโอ้อวด การไม่อวดดี เย่อหย่ิงจองหอง แต่แสดงตนอย่าง
สงบเสง่ียม ความถ่อมตน มาจากภาษาบาลีวา่ นิวาโต วาโต แปลว่า ลม พองลม นิ แปลว่า ไม่มี ออกนิ
วาโต แปลว่า ไม่พองลม เอาลมออกแล้ว คือเอามานะทิฏฐิออก มีความสงบเสง่ียม เจียมตน ไม่เบ่ง ไม่
ทะนงตน ไม่มีมานะถือตัว ไม่อวดด้ือถือดี ไม่ยโส โอหัง ไม่ดูหมิ่นเหยียดหยามใคร ไม่ดูถูก ไม่กระด้าง
ไม่เย่อหย่ิงจองหอง ความอ่อนน้อมถ่อมตนมีลักษณะคล้ายกับความเคารพ แต่เป็นคนละความหมาย
กล่าวคือ ความเคารพ (คาราวธรรม) เป็นการตระหนักในคุณงามความดีของคนอ่ืนและสิ่งอ่ืน แล้ว
ปฏบิ ัติต่อบุคคลนั้นและสง่ิ น้ันอยา่ งถูกต้องจริงใจ โดยเป็นการแสดงออกทางกายและทางวาจาเปน็ หลัก
ส่วนความอ่อนน้อมถ่อมตน (นิวาตธรรม) น้ันเป็นการตระหนักในตัวเองแล้วสามารถวางตนได้ถูกต้อง
เหมาะสม ไม่หย่ิงยโสโอหัง ไม่โอ้อวดเกินความจริง ไม่ยกตนสูงและกดคนอ่ืนให้ต่า มีความสุภาพ ให้
เกยี รติผูอ้ ่นื รู้กาลควรไม่ควร โดยเน้นเร่อื งของภายในจิตใจเป็นหลัก
9 . มีความโอบอ้อมอารี
ความโอบอ้อมอารี หมายถึง ความมีน้าใจเอ้ือเฟ้ือเผ่ือแผ่ต่อผู้อ่ืน ต่อผู้คนรอบข้าง การ
แสดงออกถึงความโอบอ้อมอารี คือการช่วยเหลือผู้อื่นที่ยากลาบากกว่า ในโรงเรียนประจาของเด็ก
ยากจนและด้อยโอกาส ผเู้ รียนแต่ละคนจะมีความยากลาบากท่ีแตกต่างกัน แต่อยูใ่ นระดับความลาบาก
ท่ีคอนข้างทัดเทียมกัน การอยู่ร่วมกันด้วยความมีน้าใจ เอื้อเฟ้ือเผื่อแผ่ต่อกันและกัน จึงมีความจาเป็น

303

อย่างยิ่ง การที่จะฝึกผู้เรียนให้มีคุณลักษณะเช่นน้ี ครูผู้สอนจะต้องดูแลความทุกข์ความสุขของผู้เรียน
ด้วยความเข้าใจ และกระทาตนเป็นแบบอย่างในการแสดงความเอ้ืออาทร ฝึกพี่ให้ดูแลน้อง ตาม
คุณธรรมข้อน้ี จนเกิดเปน็ นสิ ยั เพือ่ ความสขุ ทางใจแกน่ ักเรยี นทุกคน

10. รูร้ กั สามคั คี อย่รู ว่ มกันด้วยสนั ติสุข
รู้รักสามัคคี พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ได้เคยทรงพระกรุณา
พระราชทานพระบรมราโชวาทใหแ้ ก่ผู้ที่เข้าเฝา้ ฯ ถวายพระพรเนื่องในวโรกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา
ปีหน่ึง ณ ศาลาดุสิตาลัย เป็นการเตือนสติ เป็นการชี้แนะถึงเทคนิคการทางานร่วมกัน โดยได้รับส่ังเป็น
ประโยคส้ันๆ แต่มีความหมายลึกซึ้งกว้างขวางว่า "รู้ รัก สามัคคี” หากจะหยิบยกนาเอาประโยคสั้นๆ
ดังกล่าวมาพิจารณาวิเคราะห์ขยายความออกไปในเชิงรัฐศาสตร์ น่าจะได้ใจความว่า 1. "รู้" คือ ปัญญา
มีความรู้ความเข้าใจในงานท่ีจะต้องทา 2. "รัก" คือ การมีความรัก ความพอใจในงานที่จะต้องทานั้น 3.
“สามัคคี” คือ การร่วมกันทางานด้วยความจริงใจ อย่างพร้อมเพรียง กัน ไม่ทะเลาะเบาะแว้ง อิจฉา
ริษยากัน ไม่แบ่งพรรคแบ่งพวก ทางานนั้น เพื่อผลประโยชน์ของส่วนรวมอย่างแท้จริง ไม่หวัง
ผลประโยชน์ตอบแทน เพ่อื เขา้ พกเขา้ ห่อของตน หรือ ญาติมิตรพรรคพวกของตน อย่างไรก็ตาม หากได้
นาความหมายของคาท้ังสามดังกลา่ วข้างต้นมาศึกษาวิเคราะห์ในเชิงพุทธศาสตร์ ซึ่งอยู่บนรากฐานของ
ความเปน็ จรงิ ท่สี ามารถยนื ยนั ความถูกตอ้ งได้ดว้ ยเหตุ และผล ทุกกาลเวลา ดังคาศพั ทบ์ าลที ีว่ า่ "อะกา
ลิโก เอหิปัสสิกโก" ซ่ึงเป็นส่วนหน่ึงท่ีปรากฏอยู่ในบทสวดมนต์สรรเสริญพระธรรมคุณคือ "สวากขตา
ภะคะวะตา ธมั โม สนั ทิฏฐิโก อะกาลโิ ก เอหปิ ัสสิกโก โอปะนะยิโก....."
การอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข หมายถึง การท่ีมนุษย์มาอยู่ร่วมกันเป็นสังคม สามารถปฏิบัติตาม
กฎเกณฑ์การอยู่ร่วมกันในรูปของกฎระเบียบหรือกฎหมาย และมีคุณธรรม จริยธรรมในการช่วยเหลือ
เก้ือกูลกนั การมสี ่วนรว่ มกจิ กรรมต่าง ๆ ของสงั คม เช่น การมสี ่วนรว่ มในกจิ กรรมการเมอื งการปกครอง
การมีส่วนร่วมในการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน และการปฏิบัติตามคุณธรรมของการอยู่ร่วมกันตามหลัก
ศาสนาที่ตนเองนับถือ จะทาให้ประชาชนสามารถอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข หลักธรรมในการอยู่ร่วมกัน
อย่างสันติ หลักธรรมในพระพุทธศาสนา โลกบาลธรรม คือ ธรรมะสาหรับคุ้มครองโลก มีอยู่ 2 อย่าง
ด้วยกันคอื 1. หริ ิ หมายถึง ความละอายแก่ใจต่อการที่จะทาความช่ัว 2. โอตตัปปะ หมายถงึ ความเกรง
กลัวตอ่ บาป กลัววา่ ความชั่วจะทาให้เกิดผลรา้ ยต่อตนเอง และผอู้ ่นื
สัปปุริสธรรม หมายถึง หลักธรรมของคนดีในสังคม มี 7 ประการ คือ 1) ธัมมัญญุตา รู้จักเหตุ
รู้จักหลักเกณฑ์ 2) อัตถัญญุตา รู้จักผล รู้จักความมุ่งหมาย 3) อัตตัญญุตา รู้จักตน รู้จักว่าตนมีกาลังฐานะ
อย่างไร 4) มัตตัญญุตา รู้จักความพอดี รู้จักประมาณ 5) กาลัญญุตา รู้จักเวลาท่ีเหมาะสม 6) ปริสัญญุตา
รจู้ กั ชมุ ชน ร้จู ักเคารพในสถานที่ 7) ปคุ คลญั ญุตา ร้จู ักบคุ คล รจู้ ักว่าแต่ละคนแตกต่างกันอย่างไร
ทิฎฐธัมมิกัตถประโยชน์ หมายถึง หลักธรรมที่เอื้อให้เกิดประโยชน์ได้ในปัจจุบัน ได้แก่ 1) อุฎ
ฐานสัมปทา หมายถึง มีความขยันหม่ันเพียร แสวงหาทรพั ย์ 2) อารกั ขสัมปทา หมายถึง การรูจ้ ักรักษา
เม่ือแสวงหาทรพั ยม์ าไดต้ อ้ งรักษา 3) กลั ยาณมิตตา หมายถงึ รูจ้ กั คบคนดี 4) สมชีวติ า หมายถงึ รจู้ กั ใช้
ชีวิตอย่างเหมาะสมไมใ่ ชจ้ า่ ยสรุ ุย่ สรุ ่าย หรอื ตระหน่ถี เี่ หนียวเกนิ ไป
สังคหวัตถุ 4 หมายถึง ธรรมะที่จะช่วยเหลือเกื้อกูลกันระหว่างคนในสังคม ได้แก่ 1) ทาน
หมายถึง การให้ การบริจาค 2) ปิยวาจา หมายถึง การพูดด้วยความปรารถนาดี จริงใจ 3) อัตถจริ ยา
หมายถึง ประพฤติตนให้เป็นประโยชน์แก่สังคม 4) สมานัตตตา หมายถึง การวางตนเสมอต้นเสมอ
ปลาย เมอ่ื เกดิ ปัญหาตอ่ ส่วนรวม กต็ ้องร่วมกันแก้ปัญหา

304

พระบรมราโชบายข้อน้ี เป็นการเนน้ ย้าใหผ้ ู้บริหาร ครู มคี วามตระหนักในการพฒั นาผู้เรยี นท่ีมา
จากคนหลากหลายวัฒนธรรมที่เป็นชนกลุ่มน้อย คนที่มีสภาวะความยากลาบาก คนยากจน ที่เข้ามาใช้
ชีวิตร่วมกันในโรงเรียน แล้วยังจะต้องออกไปใช้ชีวิตในสังคมร่วมกับคนอ่ืน ๆ ในสังคมอีกมากมายใน
อนาคต ให้มีความรู้ ความเข้าใจ ยอมรับความแตกต่างทางวัฒนธรรม การปรับตัวเข้ากับเพื่อนร่วมสังคม
ได้ ย่อมทาให้ตัวผู้รู้นั้นมีความสุข และคนอื่น ๆ ในสังคมก็มีความสุข เม่ือทุกคนรู้และเข้าใจส่ิงรอบข้าง
ตามหลักการของพุทธศาสนาแล้ว ความสันติย่อมมีได้ในสังคมน้ัน ๆ การฝึกให้ผู้เรียนมีการอยู่ร่วมกัน
อยา่ งสันติได้น้นั จาเปน็ อยา่ งมากท่ตี อ้ งนาเอาหลักธรรมะมาใชใ้ นการพัฒนาครูและผู้เรียนไปพร้อม ๆ กนั

11.รจู้ ักการทาสวนครวั เลี้ยงสตั วแ์ ล้วนาไปจาหนา่ ย
พ้ืนฐานครอบครัวของนักเรียนด้อยโอกาสในโรงเรียนการศึกษาสงเคราะห์ เป็นผู้ที่อาชีพ
ทางการเกษตร ปลูกพืช เล้ียงสัตว์ ทาไร่ ทาสวนแบบพอมีพอกิน ไม่ได้ทาเพื่อการค้า พระบาทสมเด็จ
พระเจ้าอยู่หัวฯ ทรงทราบในความจริงข้อน้ี จึงต้องการให้โรงเรียนได้ฝึกฝนผู้เรียนให้เป็นผู้ท่ีสามารถ
ปฏิบตั ิงานเพื่อชีวติ ตามพ้ืนฐานของครอบครัว เพือ่ การสร้างคนไม่ให้ทิ้งถ่นิ เพ่ือทามาหากนิ ในส่ิงท่ีไม่ใช่
พื้นฐานของชีวิตครอบครัวและท้องถ่ิน การนาไปจาหน่าย หมายถึง เมื่อเหลือจากการกินการใช้ใน
ครัวเรือนแล้ว จึงนาไปเพ่ือการแลกเปล่ียน (จาหน่าย) หรือขายเม่ือต้องการเงิน ดังน้ันในโรงเรียนราช
ประชานุเคราะห์และศึกษาสงเคราะห์ทั่วไป ส่ิงที่พบเห็นกันชินตา คือการสอนให้นักเรียนปลูกผักสวน
ครัว เลี้ยงเป็ด เล้ียงไก่ เลี้ยงปลา เลี้ยงหมู การจาหน่ายผลผลิตทางการเรียนรู้เพ่ือสร้างรายได้ให้กับ
นักเรียน ให้ผู้เรียนได้เห็นประโยชน์และคุณค่าในการปฏิบัติตามหลักพระบรมราโชบายข้อนี้อย่างแจ่ม
แจ้ง โดยบูรณาการกับทฤษฎีหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ดังน้ันพระบรมราโชบายข้อนีพ้ วกเรา
ชาวการศึกษาสงเคราะหเ์ ข้าใจและม่งุ ปฏบิ ตั ไิ ดเ้ ปน็ อย่างดี
12. ร้จู กั มัธยสั ถ์อดออม ฝากเงินไว้ในบญั ชีธนาคาร เพอ่ื อนาคตของตนเอง
มัธยัสถ์ หมายถึง (ก.) ใช้จ่ายอย่างประหยัด (ส.) มธฺยสฺถ ว่า ปานกลาง ตั้งอยู่ในท่ามกลาง). การใช้จ่าย
อย่างประหยัด มีการวางแผน มีเหตุผลในการใช้จ่าย และรู้จักอดออมสะสมเงินไว้สาหรับใช้ยามจาเปน็
ในอนาคต เป็นสิ่งท่ีทุกคนควรสร้างให้มีขึ้นในตนเอง เพ่ือเป็นบันไดในการสร้างอนาคตให้มีฐานะ มี
ความเป็นอยู่ท่ีดี ตลอดไป การออมทรัพย์ เป็นการเก็บเงินไว้เพ่ือใช้จ่ายในวันข้างหน้า เพ่ือซื้อส่ิงท่ี
ต้องการตามท่ีได้ตงั้ จดุ ประสงค์และวางแผนไว้ การออมทรัพย์เกิดจากการเก็บสะสมเงินท่เี หลือจากการ
ใช้จ่ายทีละเล็กละน้อยเป็นการชะลอการใช้เงิน ซึ่งจานวนเงินท่ีออมคือส่วนของรายได้ท่ีเหลืออยู่
ส่ิงจูงใจในการออม คือ เป้าหมายอย่างใดอย่างหนึ่งในอนาคต ซึ่งได้กาหนดไว้อย่างชัดแจ้งแน่นอน จึง
ก่อใหเ้ กิดความกระตือรือร้นท่ีจะออมมากข้ึน เปา้ หมายของแตล่ ะบุคคล อาจแตกต่างกันออกไป ข้นึ อยู่
กับความจาเป็นและความต้องการเป็นสาคัญ เป้าหมายในการออมที่ต่างกัน เป็นส่ิงกาหนดให้จานวน
เงินออมและระยะเวลาในการออมทรัพย์แตกต่างกัน การออมทรัพย์เป็นการสะสมอานาจซ้ือไว้ใน
ปจั จุบันเพอ่ื ใชจ้ า่ ยในอนาคต การออมทาได้ไมย่ ากเพียงกาหนดจดุ มุง่ หมายของการออมวา่ เปน็ การออม
ทรพั ยร์ ะยะส้ันหรอื ระยะยาว การออมทรพั ยเ์ พ่ือประโยชน์ระยะสนั้ เช่นการออมเพือ่ ซื้อสง่ิ ของท่มี ีราคา
แพงเกนิ กวา่ รายได้ท่ีได้รับ หรือเงินที่เหลอื จากการใช้จ่าย จะจ่ายไดเ้ ปน็ การซื้อท่ีไม่อาจจดั เป็นการซื้อท่ี
จะซื้อได้ทันที ต้องเก็บออมเงินให้ได้เท่าจานวนตามที่ต้องการก่อนจึงจะซื้อได้ ส่วนการออมทรัพย์เพ่ือ
ประโยชน์ระยะยาว เป็นการออมทรัพย์อย่างมีวัตถุประสงค์ที่ แน่นอน เช่น การออมทรัพย์ เพื่อไว้ใช้
เมื่อสูงอายุ หรือเจ็บป่วยไม่สามารถทางานได้ หรือออมทรัพย์เพื่อการศึกษาระดับสูงของบุตรหลาน
หรือเก็บเพ่ือซื้อบ้าน ที่ดิน ท่ีอยู่อาศัย หรือเพื่อการลงทุนทากิจการ การออมทรัพย์เพ่ือประโยชน์ระยะ

305

ยาว เป็นการออมทรัพย์เพ่ือต้องการความมั่นคงทางการเงิน ซึ่งจะมีการใช้จ่ายในช่วงระยะเวลาท่ี
ยาวนาน เกบ็ ออมอยา่ งสมา่ เสมอ แตล่ ะครั้งที่มีรายไดต้ อ้ งวางแผนการใช้จ่ายทรี่ ัดกมุ และเป็น ไปไดต้ าม
สภาพรายได้ และความรับผิดชอบของครอบครัว โดยการเก็บเงินส่วนท่ีเป็นเงินออมทันทีท่ีได้รับราย
ได้มาก่อน ข้ันตอนน้ีเป็นขั้นตอนท่ีสาคัญท่ีทาให้มีเงินออมถ้าทาได้จนเป็นนิสยั การออมเงินก็ไม่ยากและ
ผู้ออมก็จะเกิดความภาคภูมิใจ การต้ังจุดประสงค์ในการออม ว่าจะออมเพ่ืออะไร ต้องมีวัตถุประสงค์ท่ี
ชัดเจน เพ่ือ จะได้วางแผน กันเงินทุกครั้ง ท่ีมีรายได้ การกันเงินไว้แต่ละเดือนเป็นการชะลอการใช้จา่ ย
เพื่อสะสมไวใ้ ชจ้ า่ ย เม่ือถงึ เวลาตามที่ตัง้ จดุ ประสงค์ไว้ ไม่ต้องกู้ยืมเงินให้เสียดอกเบี้ย มีการวางแผนการ
ใชจ้ ่ายท่รี ัดกุมและเปน็ ไปได้ตามสภาพของครอบครวั การออมเงนิ ตอ้ งถือวา่ เม่ือกนั เงนิ ออมไว้แล้วต้องมี
เงินพอท่ีจะใช้จ่ายให้สมาชิกในครอบครัว มีความสุขตามสมควร ต้องรู้จักเลือกซ้ือของที่ราคาประหยัด
เหมาะสมกับฐานะของตน มเี งนิ ตดิ ตวั ไว้เทา่ ที่จาเป็นใช้ ไมค่ วรพกเงินติดตวั มากเกนิ ความจาเป็นต้องใช้
เพราะอาจจะทาใหม้ ีการใช้จ่ายที่ ไมจ่ าเป็น ถ้ามีเงนิ เพยี งเท่าทจี่ าเป็นใชห้ ากมคี า่ ใช้จ่ายนอกแผนเกิดข้ึน
จะมีเวลาคดิ วเิ คราะห์อย่างถ่ีถ้วน เพราะไมส่ ามารถจา่ ยเงินซื้อไดท้ ันที

การมีรายได้เพิ่มข้ึนจากเงินออม นอกจากเงินออมต้องปลอดภัยแล้วควรต้องมีการเพิ่มรายได้
จากการออม การฝากเงินกับธนาคารเพ่ือนามาใช้จ่ายในยามจาเป็นเป็นวิธีการออมท่ีปลอดภัยและยัง
เกดิ รายได้เพ่มิ ท่ีเรยี กวา่ ดอกเบีย้ ด้วย ดงั นั้นการปลูกฝงั เรอ่ื งการออมจึงมาจากฐานของการรู้จกั มธั ยัสถ์
เสียก่อน ครูผู้สอนต้องฝึกฝนให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ด้วยการปฏิบัติจริง การรู้จักออม จะเป็นการสร้างวินัย
ทางการใชจ้ ่ายเงินในการดารงชีวติ ของผเู้ รียนไดจ้ รงิ

จะเห็นได้วา่ ปณิธานขององค์พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภมู ิพลอดลุ ยเดช ในการสร้างและ
พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ที่เป็นคนไทยในสภาวท่ียากลาบากนั้น พระองค์ได้ให้ความสาคัญกับการสร้าง
พื้นฐานดา้ นของการเป็นคนดี มีคุณธรรม และนาคุณภาพ อย่างพอเพียง เพ่ือสร้างการดารงอย่รู ว่ มกันใน
สังคมได้อย่างปกติ แต่สิ่งที่ได้พบเห็นในวันน้ี ผู้เรียนของโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ในหลา ย
สถานศึกษา มีคุณลักษณะเช่นนี้ถดถอยลงไปอย่างมาก ดังปรากฏการณ์ของพฤติกรรมนักเรียนที่
แสดงออกทางสังคม ที่ไม่พึงประสงค์ปรากฏให้เห็นอยู่เนือง ๆ น้ันเกิดจากความไม่ตระหนักรู้ ของการ
บรหิ ารสถานศกึ ษา และการอบรมส่งั สอนนกั เรยี นของครู ท่ีละเลยการนาเอาหลัก พระบรมราโชบาย 12
ข้อ นี้ มาบริหารจัดการในการพัฒนาผู้เรียนนั้นคงจะไม่ได้กล่าวผิดจนเกินไป ดังน้ันวันน้ีคงถึงเวลาแล้วท่ี
ฝ่ายยบริหาร คุณครูและผู้มีส่วนเก่ียวข้องกับนักเรียนทุกคนควรนาเอา พระบรมราโชบายนี้มาบริหาร
จัดการในสถานศึกษาให้สมกับที่เป็นโรงเรียนของพ่อ ท่ีมีโอกาสได้รับพระบรมราโชบายพระราชทานเปน็
การเฉพาะ เพอ่ื พัฒนาคนให้เป็น ทั้งคนดี คนเก่ง คนมีคุณภาพ ตามศาสตรพ์ ระราชา โดยแท้จริงกันต่อไป
ถ้าโรงเรียนไหนสามารถพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะตามพระราชปณิธาน ได้ นั่นย่อมแสดงว่า ท่านคือ
ครขู องพระราชา ทสี่ มบูรณืโดยแท้

แนวทางการบรหิ ารพระบรมราโชบายในสถานศกึ ษา
เมื่อมีความรู้พ้ืนฐานในพระบรมราโชบายในเบื้อลต้นแล้ว จะทาอย่างไร พวกเราจึงจะมีความ
เข้าถึง และเข้าใจ ในพระบรมราโชบาย และใครบ้างที่จะต้องได้รับการพัฒนาให้มีความเข้าใจ จนถึง
ระดับความเข้าถึง จนเกิดการระเบิดจากข้างในในการพัฒนาผู้เรียนได้ ผู้เขียนเช่ือว่า ทุกคนท่ีเก่ียวข้อง
กับการพัฒนานักเรียนคือผู้ที่มีความสาคัญอย่างย่ิง และการนาพระบรมราโชบายไปใช้เพื่อการพัฒนา
นักเรียนนั้น ย่อมไม่ใช่เป็นเพียงคนใดคนหน่ึงหรือฝ่ายใดฝ่ายหน่ึงในโรงเรียน แต่การพัฒนานั้นต้อง
พฒั นาทกุ คนทเี่ กีย่ วข้องดงั รูปแบบท่นี าเสนอตามรูปภาพต่อไปน้ี

306

รูปภาพที่ 1
องคป์ ระกอบของ การพฒั นาการบรหิ ารภายในโรงเรยี น

เพอ่ื นาพานักเรียนไปสู่ ความเปน็ คนดี คนมคี ณุ ธรรม และคนนาคุณภาพ ตามพระบรมราโชบาย

ผู้บริหาร
นกั จดั การศกึ ษาที่สมบรู ณ์

ครู

ผ้ทู ีทกั ษะการจดั การเรียนรู้ตามศาสตร์การสอนท่ี
หลากหลายมงุ่ พฒั นานกั เรียนตามพระบรมรา
โชบาย

นักเรียน

มคี วามสขุ ในการอยู่ การกิน การใช้
เวลาว่างในโรงเรียนแบบอยปู่ ระจา

ผบู้ รหิ าร
- เขา้ ใจ /เขา้ ถึง ศาสตร์พระราชา / พระบรมราโชบาย
- มีแรงจูงใจใฝส่ มั ฤทธ์ิ
- นกั บริหารจดั การท่ดี ี
(หลกั การบรหิ าร 4 M)

ครู
- มคี วามเข้าใจ / เขา้ ถึง ในศาสตรพ์ ระราชา และ พระบรมราโชบาย
- สอนเป็น ถา่ ยทอดเป็น มอี งคค์ วามร้เู รอื่ ง หลักการสอนแบบบรู ณาการเน้นผ้เู รยี นเป็นสาคญั
- เข้าใจหลกั สตู ร มีมนษุ ยสัมพันธ์
- เข้ากับชมุ ชนได้
- รูท้ ันการเปลี่ยนแปลง
- เป็นนกั จัดการเรยี นรใู้ นศตวรรษที่ 21

นกั เรียน
- มคี วามพร้อมในการเรียนรู้
- มคี วามสุขในการ อยู่ การกิน การใช้ชวี ติ ในโรงเรยี นแบบอยปู่ ระจา
- มีความรกั และศรทั ธาในสถาบัน ชาติ ศาสนา พระมหากษัตรยิ ์
ท้ัง 3 กลุ่มคือเป้าหมายของการพัฒนา โดยมีหลักสูตรการอบรมเพ่ือพัฒนาและสร้างความ

เข้าใจร่วมกัน เพ่ือให้การปฏิบัติการที่เกิดข้ึน ด้วยการระเบิดจากข้างใน ต้อง มีความเข้าใจ และเข้าถึง
แล้วจึงพัฒนา ตามหลักการพัฒนาอย่างยั่งยืนตามศาสตร์พระราชทาน ของพระบาทสมเด็จพระ
ปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

และสาหรับการน้อมนาพระบรมราโชบาย 12 ข้อ ลงสู่ตัวนักเรียนด้วยกระบวนการ การสร้าง
การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้และการพัฒนานักเรียนนั้น ผู้เขียนขอนาเสนอ
ดงั รปู แบบ ตามแผนภาพท่ี 2 ดังต่อไปนี้

307

รปู ภาพท่ี 2
รูปแบบการพฒั นาการจดั การเรียนการสอนพระบรมราโชบายในโรงเรยี นการศึกษาสงเคราะห์

1.ความพรอ้ มของผู้เรียน
- IQ EQ MQ

- ต้นทนุ ทางภมู ิสังคม
- วัฒนธรรม ( culture)

5. เง่อื นไขความสาเร็จ 2. กลมุ่ บคุ ลากรท่มี อี ิทธิพลต่อการเปล่ยี นแปลง
-เ ป็นผ้เู ข้าใจ - เข้าถึง พระบรมราโชบายและศาสตร์พระราชา - คณะผ้บู ริหาร

- เป็นหลกั การบริหารจดั การชวี ิตและการประกอบการ - คณะครู ครูพีเ่ ลยี ้ ง
- การแสดงออกทางพฤตกิ รรม - ทป่ี รึกษาสถานศึกษา(กรรมการสถานศึกษา)
-เป็นที่ยอมรับของชมุ ชน

4. ตวั ชวี ้ ดั ความสาเร็จ 3. กระบวนการบริหารการศกึ ษาภายใน
- ความพอประมาณ - Dialogve Workshop (การสมั มนาเพ่อื ชีวิต)
- ความเป็นเหตุ - เป็นผล
- รางวลั เชดิ ชเู กียรติ - การวิจยั เชงิ ปฏบิ ตั ิการ
- ความน่าเชื่อถือ - การติดตามประเมินผล
- การถอดบทเรียน การพฒั นาปรับปรุง การขยายผล

เปา้ หมาย นักเรียนเป็นศนู ย์กลางในการจดั กระบวนการเรียนร้ขู องการเสรมิ สร้างคุณธรรมนักเรยี น
ตามพระบรมราโชบาย 12 ข้อ

การพฒั นาสกู่ ารบรรลเุ ปา้ หมาย ประกอบด้วย 5 ส่วน คอื
1. ความพร้อมของนักเรยี นในการเรยี นรู้ในสถานศกึ ษา - IQ, EQ, MQ - ต้นทนุ ทางภมู ิสังคม –

วฒั นธรรมเดิม การปรับตวั รว่ มกันในสังคมโรงเรียนอยา่ งมีความสขุ
2. ความเข้าใจ และเข้าถึง พระบรมราโชบายของกลมุ่ บุคลากรที่มีอิทธิพลตอ่ การเปลีย่ นแปลง

ของนกั เรียน คณะผู้บรหิ าร-คณะครู ครูพี่เลีย้ ง–กรรมการสถานศึกษา และชุมชนภายนอกทเ่ี ก่ียวข้อง
3. ใช้เทคนิคการสร้างความเข้าใจ และการเข้าถึง พระบรมราโชบายด้วยกระบวนการบริหาร

การศึกษาภายใน Dialog Workshop (การสัมมนาเพื่อชีวิต) การวิจัยเชิงปฏิบัติการ การติดตาม
ประเมนิ ผล - การถอดบทเรียน การพัฒนาปรบั ปรงุ การขยายผล

4. มีการกาหนดตัวชี้วัดความสาเร็จ ความพอประมาณ ความเป็นเหตุ - เป็นผล รางวัลเชิดชู
เกียรติ - ความนา่ เชอื่ ถือ

5. มีการสร้างเง่ือนไขความสาเร็จร่วมกัน การเป็นผู้เข้าใจ - เข้าถึง พระบรมราโชบาย และ
ศาสตร์พระราชา เป็นหลักการบริหารจัดการชีวิตและการประกอบการ การแสดงออกทางพฤติกรรม -
เปน็ ที่ยอมรบั ของชมุ ชน

หลักการบรหิ ารองค์ประกอบท้ัง 5 สว่ นเนน้ การมสี ว่ นร่วมทกุ ขัน้ ตอน รว่ มเรยี นรู้ รว่ มคดิ รว่ ม
ปฏิบัติ ร่วมประเมิน และร่วมรบั ผลการปฏบิ ัติ และรว่ มรบั รางวัลแหง่ ความภาคภูมิใจ

บทสรุป ถ้าท่านเป็นผู้บริหารหรือเป็นครูในโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์และโรงเรียนราชประชานุ
เคราะห์ในสังกัดสานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ ที่ได้ยิน ได้รู้ถึงพระบรมราโชบาย 12 ข้อน้ีแล้ว แต่ยัง
ขาดความรู้ ความเข้าใจ และยังเข้าไม่ถึงในศาสตร์พระราชาองค์นี้แล้ว ดูน่าเป็นท่ีเสียใจเป็นอย่างย่ิงในคา

308

ว่า ครูในโรงเรยี นของพระราชา ผ้เู ขียนจงึ ขอให้ทุกท่านได้กลับมาทบทวนความรู้ ความเข้าใจ เพ่อื ใหเ้ ข้าถึง
ท้ังศาสตร์พระราชาและกระยวนการจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาทรัพยากรมนุษย์อันมีคุณค่าของประเทศชาติ
ท่ีนับวันจะขาดคุณภาพลงไปทุกวัน อยากขอให้ทุกท่านได้ร่วมกันพิจารณาว่า วันน้ีคนมีคุณภาพกับคนไร้
คุณภาพ ส่วนไหนมีมากกว่ากัน เช่น คากล่าว ดังต่อไปน้ี ทุกวันนี้ผู้ชายไทยกลายเป็นทาสของยาเสพติด
จานวนมากข้ึน คนจบการศึกษาระดับปริญญาตรีทางานเพ่ือเล้ียงตัวเองน้อยลง วันน้ีสถิติการหย่าร้าง
สูงขึ้น วัยรุ่นหญิงมีการตบตีกันเพื่อแย่งผู้ชายมีข่าวให้เห็นไม่เว้นในแต่ละวัน ทุกวันนี้ครูขาดจิตสานึกใน
ความเป็นครู ครูหาประโยชน์จากนักเรียนมากขึ้นในหลายรูปแบบ ฯลฯ แต่ว่า ท่านมี แก้วรัตนชาติที่สุด
เลิศลา้ ที่ ครูของครแู ห่งแผ่นดินได้คัดสรรเจยี รนัยอย่างสดุ วิเศษมอบใหท้ ่านมาเป็นเวลาเน่ินนาน ขอถามว่า
ทา่ นได้ใชอ้ ิทธิฤทธ์ขิ องรัตนชาติเม็ดนั้นหรือยงั ถามว่าท่านเกบ็ ไวท้ ี่ไหน อย่างไร สมควรทท่ี ่านจะนาออกมา
เพ่ือใชใ้ หเ้ กิดอทิ ธิฤทธ์ิตามพระราชประสงค์ของผู้พระราชทานให้แลว้ หรือยงั

กิตตกิ รรมประกาศ
บทความนี้สาเร็จลงได้ด้วยความสานึกในความเป็นครูของพระราชาและความสานึกในพระ

เมตตาและพระบารมีแห่งองค์พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ที่ปกเกล้าปก
กระหม่อมผู้เขียนมาตลอดชีวิตราชการ และตลอดมาจนถึงปัจจุบันและในอนาคต น้อมสานึกในพระ
มหากรณุ าธคิ ุณอยา่ งหาทส่ี ุดมิได้ท่ีมโี อกาสเข้าไปสนองงานราชการให้มีโอกาสได้เรียนรู้ศาสตร์พระบรม
ราโชบายนใ้ี นโรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 30 อาเภอแม่อาย จังหวดั เชยี งใหม่ เปน็ ระยะเวลา 3 ปี ทา
ให้เกิดความภาคภูมิใจ จึงได้มุ่งศึกษาศาสตร์นี้อย่างจริงจังและได้ใช้ศาสตร์น้ีในโรงเรียนอย่างมี
กระบวนการ จนเกดิ แผนพฒั นาสถานศึกษาขน้ึ และปจั จบุ ันยังคงมีเป้าหมายท่ีจะนาเอาความรูท้ ่ีได้จาก
การศกึ ษานี้ขยายผลในระดบั ทีก่ ว้างขวางขนี้ ตอ่ ไป

แหล่งอา้ งองิ
กระทรวงศึกษาธิการ, กรมวชิ าการ. (2535). แนวทางพฒั นาจริยธรรมไทย. กรุงเทพมหานคร : เอกสาร

ประกอบการประชมุ .
เกรยี งศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์. (2551). บทบาทของผู้บริหารสถานศึกษาในการส่งเสริมคุณธรรมจรยิ ธรรมแก่

นักเรยี น. กรงุ เทพมหานคร : ซัคเซสมีเดีย.
ณจักรพงษ์ ตง้ั จิตนฤมา. แนวทางการพัฒนาคุณธรรมจรยิ ธรรมและคุณลกั ษณะท่ีพึงประสงค์ของนักเรียน

โรงเรยี นบ้านตลาดไทร
พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตโต). (2543). พุทธวิธแี กป้ ญั หาเพ่ือศตวรรษท่ี 21. กรุงเทพมหานคร : มลู นธิ ิ

พทุ ธรรม.
สังกดั สานักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษานครราชสีมา เขต 7. (2553). วิทยานิพนธ์ ค.ม. (การบริหารการศึกษา)

บุรีรัมย์ : มหาวิทยาลัยราชภฏั บรุ รี มั ย์.
สานกั บริหารงานการศึกษาพิเศษ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการ.

(2554). มาตรฐานดา้ นโภชนาการสาหรบั นักเรยี นประจาโรงเรยี นศึกษาสงเคราะห์.
สุภาพร สุขสวัสดิ์. การพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมของนักเรียนโรงเรียนสตรีนนทบุร.ี การค้นควา้ อิสระ กศ.ม.

(การบรหิ ารการศึกษา) นครปฐม : มหาวิทยาลัยศลิ ปากร, 2552.
สุเมธ ตันตเิ วชกุล. (2554). การทรงงานพัฒนาประเทศ ของพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หวั . พิมพ์ครงั้ ท่ี 1.

กรงุ เทพมหานคร : สานักงานคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ.

309

การศกึ ษาบทบาทการนิเทศภายในของผู้บรหิ ารสถานศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน
ในจังหวดั จนั ทบุรี ระยอง และตราด

A STUDY OF THE ROLE OF INTERNAL SUPERVISION OF ADMINISTRATORS
IN BASIC IN CHANTHABURI, RAYONG AND TRAT PROVINCES

ญาณี ญาณะโส
ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ ดร. สรุ ีย์มาศ สุขกสิ ประธานกรรมการทปี่ รกึ ษาวิทยานพิ นธ์

รองศาสตราจารยอ์ มั พวัน ประเสริฐภักด์ิ กรรมการที่ปรกึ ษาวิทยานิพนธ์

บทคดั ย่อ
บทบาทการนิเทศภายในของผู้บริหารสถานศึกษา ถือได้ว่าเป็นส่วนที่มีบทบาทสาคัญต่อการ

พัฒนาศักยภาพของผู้เรียนในสถานศึกษาและมีบทบาทสาคัญต่อการพัฒนาการจัดการศึกษาให้บรรลุผล
สาเร็จตามวัตถุประสงค์ของการจัดการศึกษาอย่างมีคุณภาพ การวิจัยครั้งน้ีมีวัตถุประสงค์เพ่ือศึกษาและ
เปรียบเทียบบทบาทการนิเทศภายในของผู้บริหารสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ในจังหวัดจันทบุรี ระยอง และ
ตราด จาแนกตามสถานภาพและขนาดของสถานศึกษา กลุ่มตัวอย่างท่ีใช้ในการวิจัยคร้ังน้ี ได้แก่ ผู้บริหาร
สถานศึกษา และครูผู้สอนสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ในจังหวัดจันทบุรี ระยอง และตราด จานวน 375 คน
ได้มาด้วยวิธีการใช้ตารางเทียบของเครจซี่และมอร์แกน (Krejcie and Morgan) และสุ่มแบบแบ่งชั้นตาม
สัดส่วน โดยใช้ขนาดของสถานศึกษาเป็นชั้นในการแบ่ง เครื่องมือท่ีใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็น
แบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ มีค่าความเช่ือม่ันเท่ากับ 0.98 สถิติท่ีใช้ในการวิเคราะห์
ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที (t-test) การวิเคราะห์ความ
แปรปรวนทางเดียว (One - way ANOVA) และตรวจสอบความแตกต่างเป็นรายคู่ โดยวิธีการตรวจสอบ
ความแตกต่างของเชฟเฟ่ (Scheffe')

ผลการวิจัยพบว่า 1) บทบาทการนิเทศภายในของผู้บริหารสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน ในจังหวัด
จันทบรุ ี ระยอง และตราด โดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก และ2) การเปรียบเทยี บบทบาทการนิเทศ
ภายในของผบู้ ริหารสถานศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน ในจงั หวดั จนั ทบรุ ี ระยอง และตราด จาแนกตามสถานภาพและ
ขนาดของสถานศึกษา โดยรวมและรายด้านแตกตา่ งกันอยา่ งไมม่ ีนยั สาคัญทางสถติ ิ ท้ังนเี้ น่อื งจากผ้บู ริหาร
จะต้องมีบทบาทการนิเทศภายในสถานศึกษา เพื่อเพ่ิมประสิทธิภาพและพัฒนาการศึกษาให้บรรลุผล
สาเรจ็ ตามวัตถุประสงค์ของการจัดการศึกษาอย่างมคี ุณภาพและความคาดหวงั ของประเทศ

คาสาคัญ : บทบาทการนิเทศภายใน, สถานศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน

Abstract
The Role of internal supervision of school administrators is important to the

development of the learner's education in the school to be more effective and important
to the development of the educational quality of the objective’s education. The purposes
of this research were to study and compare the role of internal supervision in basic
education schools in Chanthaburi, Rayong and Trat Provinces in relation to the experience
of the practitioners and the size of the school. The research sample size of 375
administrators and teachers from basic education schools in Chanthaburi, Rayong and Trat

310

Provinces was determined by Krejcie and Morgan’s random stratified proportion
method.The instrument for data collection was a five-rating scale questionnaire. The
reliability was at a level of 0.76. The statistics used to analyze the data were: percentage,
mean, standard deviation, t-test, and one-way analysis of varian a ce (One-way ANOVA) and
Scheffe’s method was used to compare the pairs.

The results of the study were as follows: 1) the role of internal supervision in basic
education schools in Chanthaburi, Rayong and Trat Provinces was at the high level, 2) the
role of internal supervision in basic education schools in Chanthaburi, Rayong and Trat
Provinces, when compared by the experience of practitioners and the size of the school,
was not significantly different.

This is because the school administrators must have a participation role in internal
supervision for the school administrators to improve the potential and development of the
education for accomplishing the quality of objective education according to the
expectations of the country.

Keywords : the role of internal supervision, administrators In basic
บทนา

ปัจจุบนั ระบบโลกมีการเปลย่ี นแปลงและพัฒนาอยา่ งต่อเนื่องและรวดเร็ว กระแสสื่อเทคโนโลยีได้
เข้ามามีอิทธิพลต่อหลาย ๆ ด้านในสังคมไม่เว้นแต่ในระบบการศึกษาท่ีมีการปรับเปลี่ยนไปตามการ
เปล่ียนแปลงของสังคมโลก เพ่ือก่อให้เกิดความทันสมัยในองค์ความรู้ การศึกษาเป็นรากฐานสาคัญใน
สงั คมทที่ าให้เกิดการเปล่ียนแปลงในองค์กร การศกึ ษาเปน็ กระบวนการทชี่ ่วยให้คนได้พัฒนาตนเองในด้าน
ต่าง ๆ ท้ังร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้และคุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการดารงชีวิต
สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุขสถานศึกษาเป็นองค์ประกอบหนึ่งท่ีมีส่วนเกี่ยวข้องโดยตรงใน
การพัฒนาคนให้มีคุณภาพและมาตรฐานตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 25420และแก้ไข
เพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 ได้กาหนดไว้ในมาตรา 6 ไว้ว่าการจัดการศึกษาต้องเป็นการพัฒนาเพ่ือให้
คนไทยเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้และคุณธรรม จริยธรรมในการดารงชีวิต
สามารถอยู่ร่วมกับผู้อ่ืนได้อย่างมีความสุข และมาตรา 47 กาหนดให้มีระบบการประกันคุณภาพ เพ่ือ
พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับ แนวทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษาจาเป็นต้องอาศัย
กระบวนการปฏิบัติอย่างหลากหลาย ประกอบดว้ ย กระบวนการบรหิ ารจัดการ กระบวนการจัดการเรียนรู้
และกระบวนการนิเทศ ติดตาม ประเมนิ ผล (สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน.02552 : 1) ซง่ึ
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐานพุทธศักราช02551 มุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคนให้เป็นมนุษย์ที่มีความ
สมดลุ ท้งั ด้านรา่ งกาย ความรู้ คณุ ธรรม มจี ิตสานกึ ในความเป็นพลเมืองไทยและเป็นพลเมืองโลก ยดึ มั่นใน
การปกครองตามระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีความรู้และทักษะพ้ืนฐาน
รวมทั้งเจตคติท่ีจาเป็นต่อการศึกษา การประกอบอาชีพและการศึกษาตลอดชีวิต โดยมุ่งเน้นผู้เรียนเป็น
ส า คั ญ บ น พ้ื น ฐ า น ค ว า ม เ ช่ื อ ว่ า ทุ ก ค น ส า ม า ร ถ เ รี ย น รู้ แ ล ะ พั ฒ น า ต น เ อ ง ไ ด้ เ ต็ ม ต า ม ศั ก ย ภ า พ
(กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. 2551 : 4)

การนิเทศการศึกษา เป็นกระบวนการบริหารร่วมกันทางการศึกษาของผู้บริหารสถานศึกษาและ
บุคลากรทางการศึกษา เพ่ือชี้นาให้ความช่วยเหลือและความร่วมมือในการทางานร่วมกันระหว่างผู้นิเทศ

311

กับผู้รับการนิเทศในการที่จะช่วยเหลือ แนะนา ปรับปรุง และพัฒนาการจัดการเรียนการสอนให้มี
ประสิทธิภาพและเกิดผลสัมฤทธิ์สูงสุดส่งผลต่อคุณภาพของผู้เรียนทาให้ผู้เรียนได้พัฒนาเต็มศักยภาพและ
บรรลเุ ป้าหมายท่ีกาหนดไว้0(วิโรจน์ ศรีภักด.ี 2553 : 9) ดงั น้นั การนิเทศการศึกษามีความจาเป็นอย่างยิ่ง
ต่อการเพิ่มประสิทธิภาพให้สถานศึกษา จากการเปล่ียนแปลงของสังคมความเจริญก้าวหน้าทางวิชาการ
และเทคโนโลยี รวมท้ังความสามารถของครูที่แตกต่างกัน โดยใช้ยุทธศาสตร์การร่วมมือซ่ึงกันและกันให้
สอดคล้องกับปรชั ญาหลักการศึกษาตลอดความต้องการในการพฒั นาตนเองเพื่อยกระดับวิชาชีพครูให้เป็น
วิชาชีพช้ันสูง จึงจาเป็นจะต้องมีการนิเทศการศึกษาเพ่ือพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา (ประภา
รัตน์ พนานุสรณ์. 2557 : 24) ดังนั้น0การจัดการศึกษาให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลท่ีสูงข้ึนนั้น
จะต้องใช้กระบวนการการนิเทศภายในท่ีมีประสิทธิภาพทั้งด้านบริหาร การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน การนิเทศการศึกษาจึงเป็นวิธีหน่ึงในการพัฒนาคุณภาพทาง
การศึกษา ที่จะมุ่งพัฒนาด้านการเรียนการสอนในสถานศึกษา จุดมุ่งหมายของการนิเทศภายใน
สถานศึกษา คือ มุ่งพัฒนาบุคลากรให้มีความสามารถในการเรียนรู้และการพัฒนางาน ปฏิบัติงาน ซ่ึง
หมายถึงการเรียนการสอนโดยปรับปรุงเทคนิคการปฏิบัติงานให้มีประสิทธิภาพ (สานักงานคณะกรรมการ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน. 2552 : 179)

การนิเทศภายในสถานศึกษา0เป็นการดาเนินงานเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา ซ่ึงมีขอบข่ายงาน
ที่สาคัญ ดังนี้01) การจัดระบบการนิเทศ เป็นการเตรียมการจัดระบบและเตรียมการดาเนินการนิเทศ
การศึกษาภายในสถานศึกษาอย่างเป็นขั้นตอน02) การดาเนินการนิเทศ เป็นรูปแบบหรือกิจกรรมการ
นิเทศท่ีหลากหลายและเหมาะสมกับสถานศึกษา เป็นการดาเนินการนิเทศตามระบบที่วางแผนร่วมกัน
อย่างรอบคอบ 3) การประเมินผลการจัดระบบและกระบวนการการนิเทศเป็นการตรวจสอบถึงผลสาเร็จ
ของการดาเนินการนิเทศกบั วัตถุประสงคแ์ ละเป้าหมายที่กาหนดไว้ ผู้รับการนิเทศเข้าใจรายละเอียดและมี
ส่วนร่วมในการประเมิน มีการวิเคราะห์จุดเด่น จุดอ่อน ตลอดจนรวบรวมผลการประเมินเพ่ือปรับปรุง
พัฒนาหาทางเลือกให้การดาเนินการนิเทศมีประสิทธิภาพมากยิ่งข้ึน 4) การติดตาม ประสานงานเพื่อ
พัฒนาระบบและกระบวนการการนิเทศ เป็นการนาจุดอ่อนของกระบวนการนิเทศที่พบจากการวิเคราะห์
และประเมินผลการนิเทศมาวางแผนและทาการปรับปรุงกระบวนการนิเทศให้มีประสิทธิภาพมากข้ึนและ
นาไปใช้นิเทศครั้งต่อไป 5) การแลกเปลี่ยนเรียนรู้และประสบการณ์การจัดระบบการนิเทศ เป็นการนาผล
จากความสาเร็จของการดาเนินการตามกระบวนการนิเทศภายในสถานศึกษาข้ันพื้นฐานไปเผยแพร่
แลกเปล่ียนประสบการณ์กับสถานศึกษาอื่น หรือเครือข่ายการนิเทศภายในเขตพ้ืนท่ีการศึกษา0(ระทรวง
ศึกษาธิการ. 2550 : 37)0ซ่ึงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาต้องอาศัยแรงเสริม เป็นกระบวนการนิเทศ
ภายในสถานศึกษาเข้ามาช่วยในการดาเนินงานเพื่อให้การศึกษามีคุณภาพและพัฒนาระบบการเรียนการ
สอนให้เอื้อซึ่งกันและกันและขับเคล่ือนสู่เป้าหมายท่ีมีคุณภาพท่ีสุด แต่การจัดการศึกษาของประเทศไทย
ยงั ไม่ประสบผลสาเร็จและยังไม่บรรลุจุดมงุ่ หมายของหลักสูตร อาจมสี าเหตสุ าคญั หลายประการ ได้แก่ ครู
ยังไมเ่ ปลี่ยนพฤติกรรมการจัดการเรียนการสอน0สอนโดยยึดตาราเรียนไม่เน้นกระบวนการเรียนการสอนที่
ให้ผ้เู รยี นลงมอื ปฏิบตั ิจริง (วารณุ ยี ์ วงศ์สีชา. 2557 : 1)

จากความเป็นมาและความสาคัญดังกล่าว การนิเทศภายในสถานศึกษามีบทบาทสาคัญต่อการ
พัฒนาการจัดการศึกษาให้บรรลุผลสาเร็จตามเป้าหมายและวัตถุประสงค์ของการจัดการศึกษาอย่างมี
คุณภาพ ผู้วิจัยจึงสนใจศึกษาบทบาทการนิเทศภายในของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐานการศึกษา ใน
จงั หวดั จันทบุรี ระยองและตราด ทัง้ นเี้ พอ่ื เป็นแนวทางในการวางแผน ปรับปรุงและพัฒนาสถานศึกษาให้มี

312

ประสิทธิภาพมากข้ึน เป็นการวางแผนในการขับเคล่ือนการบริหารจัดการศึกษา การพัฒนาการจัดการ
เรียนการสอนของครูอันจะสง่ ผลให้ครูผสู้ อนปฏบิ ตั ิงานอย่างมปี ระสิทธิภาพและส่งผลต่อคณุ ภาพผ้เู รยี น

วัตถุประสงคข์ องการวจิ ัย
1. เพื่อศึกษาบทบาทการนิเทศภายในของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน0ในจังหวัดจันทบุรี

ระยอง และตราด
2. เพ่ือเปรียบเทียบบทบาทการนิเทศภายในของผู้บริหารสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน ในจังหวัด

จนั ทบรุ ี ระยอง และตราด จาแนกตามสถานภาพและขนาดของสถานศึกษา

วธิ ดี าเนินการวิจยั
1. การกาหนดประชากรและการเลือกกลุ่มตัวอย่าง
ประชากรท่ีใช้ในการวิจัย ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอนสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน

ในจังหวดั จนั ทบุรี ระยอง และตราด ปีการศกึ ษา 2561 จานวน 12,167 คน
กลุ่มตัวอย่างท่ีใช้ในการวิจัยในครั้งนี้ ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอนสถานศึกษา

ข้ันพืน้ ฐาน ในจงั หวดั ตราด จนั ทบรุ ี และระยอง ปีการศกึ ษา 2561 กาหนดขนาดกลมุ่ ตวั อย่างโดยใชต้ าราง
เทยี บหากลุ่มตวั อย่างของเครจซ่ีและมอร์แกน (Krejcie and Morgan. 1970 : 607-610) และการสุ่มแบบ
แบ่งช้ันตามสัดส่วน (Proportional.Stratified.Random.Sampling) โดยใช้ขนาดของสถานศึกษาเป็น
ช้ันในการสุ่มได้กลุ่มตัวอย่าง จานวน.375.คน0ประกอบด้วย ผู้บริหารสถานศึกษาขนาดเล็ก จานวน 5.คน
ครูผู้สอน จานวน 38 คน ผู้บริหารสถานศึกษาขนาดกลาง จานวน 7 คน ครูผู้สอน จานวน 94 คนและ
ผูบ้ ริหารสถานศกึ ษาขนาดใหญ่ จานวน 7 คน ครูผู้สอน จานวน 224 คน

2. เครอื่ งมือท่ใี ช้ในการวจิ ยั
เครื่องมือท่ีใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลการวิจัยในครั้งน้ี เป็นแบบสอบถามมีจานวน 1 ฉบับ

แบ่งเปน็ 2 ตอน คอื
ตอนท.ี่ 1.แบบสอบถามเกี่ยวกับข้อมูลทัว่ ไปของผู้ตอบแบบสอบถามประกอบด้วย สถานภาพ

และขนาดของสถานศึกษา
ตอนท่ี 2 แบบสอบถามบทบาทการนิเทศภายในของผู้บริหารสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน ใน

จังหวัดจันทบุรี ระยอง และตราด ซ่ึงกาหนดคะแนนแบ่งเป็น 5 ระดับ ตามแบบของเบสท์ และคาห์น
(Best and Kahn) การสร้างและหาคุณภาพเคร่ืองมือท่ีใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ผู้วิจัยดาเนินการตาม
ลาดบั ข้ันตอนโดยศกึ ษาวธิ ีการสร้างแบบสอบถาม ดังน้ี

2.1 ศกึ ษาเอกสาร ตารา และงานวิจัยท่เี กีย่ วข้อง เพอื่ เป็นแนวทางในการสร้างแบบสอบถาม
และปรึกษาอาจารย์ที่ปรึกษาเพื่อดาเนินการ

2.2 สร้างแบบสอบถามแล้วนาเสนอประธานและกรรมการที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์เพื่อ
ตรวจสอบและแก้ไขให้สมบูรณย์ ง่ิ ข้นึ

2.3 นาแบบสอบถามที่ปรับปรุงแก้ไขแล้วเสนอผู้ทรงคุณวุฒิ จานวน 5 ท่าน เพ่ือขอความ
อนุเคราะห์ในการตรวจสอบความตรงเชิงเน้ือหา (Content Validity) โดยหาค่าดัชนีความสอดคล้อง
ระหว่างข้อคาถามและวัตถุประสงค์ (Index of item Objective Congruence : IOC) ซึ่งใช้ค่าดัชนีคาม
สอดคลอ้ งระหว่าง 0.80 – 1.00

313

2.4 ปรับปรุงแก้ไขแบบสอบถามตามที่ผู้ทรงคุณวุฒิเสนอแนะเสนอประธานและกรรมการ
ท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ์ จากนั้นนาไปทดลองใช้ (Try-out) กับกลุ่มทดลอง ท่ีเป็นผู้บริหารสถานศึกษา
และครูผู้สอน ในจังหวัดจันทบุรี ระยอง และตราด ท่ีไม่ใช่กลุ่มตัวอย่าง จานวน 30 คน และนา
แบบสอบถามมาวิเคราะห์หาค่าอานาจจาแนกเป็นรายข้อ โดยใช้ค่าสัมประสิทธ์ิสหสัมพันธ์ของเพียร์สัน
(Pearson’s Product Moment Correlation Coefficient) ระหว่างคะแนนรายข้อกับคะแนนรวมได้ค่า
อานาจจาแนกของแบบสอบถามเทา่ กบั 0.65 – 0.85

2.5 นาแบบสอบถามที่หาค่าอานาจจาแนกแล้วมาวิเคราะห์หาความเช่ือมั่นของ
แบบสอบถาม ทั้งฉบับ โดยการหาค่าสัมประสิทธิ์แอลฟา ( - Coefficient) ของครอนบาค (Cronbach)
(ธานินทร์ ศิลป์จารุ. 2550 : 55) ได้คา่ ความเชอ่ื มั่น 0.98

2.6.นาแบบสอบถามที่ผ่านการตรวจสอบความเชื่อม่ันแล้วไปใช้กับกลุ่มตัวอย่างที่กาหนด
เพอื่ นาผลมาวเิ คราะห์ตามวตั ถุประสงค์และสมมุตฐิ านการวจิ ยั ต่อไป

3. การเก็บรวบรวมข้อมูล
ผ้วู ิจยั ได้กาหนดวธิ กี ารเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลมุ่ ตวั อย่าง โดยมขี ้นั ตอนดังต่อไปน้ี
3.1 ผู้วิจัยขอหนังสือจากบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏราไพพรรณี ถึงผู้อานวยการ

สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ในจังหวัดจันทบุรี ระยอง และตราด เพื่อแจ้งให้ทราบถึงวัตถุประสงค์ของการวิจัย
และขอความอนุเคราะห์ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเพ่ือการวิจัย

3.2 ส่งหนังสือขอความอนุเคราะห์ในการเก็บรวบรวมข้อมูลพร้อมแบบสอบถามให้
สถานศึกษาข้ันพื้นฐาน ในจงั หวัดจันทบรุ ี และตราด และกาหนดวันรบั คืนแบบสอบถาม

3.3 นาข้อมลู ท่ไี ดจ้ ากแบบสอบถามท่ีสมบูรณ์มาวเิ คราะหข์ ้อมูล
4. การวเิ คราะห์ข้อมลู

ผู้วิจัยได้ดาเนินการวิเคราะห์ข้อมูลในการคานวณหาค่าทางสถิติดังกล่าว โดยอาศัยการ
คานวณจากโปรแกรมสาเรจ็ รูปทางสถติ ิ ดังน้ี

4.1. ข้อมูลเก่ียวกับสถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม คือ สถานภาพ และขนาดของ
สถานศกึ ษา วเิ คราะหโ์ ดยหาค่าร้อยละ

4.2..ข้อมูลเก่ียวกับบทบาทการนิเทศภายในของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ในจังหวัด
จนั ทบรุ ี ระยอง และตราด วเิ คราะห์ โดยการหาค่าเฉล่ียและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน

4.3..วิเคราะห์ข้อมูลบทบาทการนิเทศภายในของผู้บริหารสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน ในจังหวัด
จนั ทบรุ ี ระยอง และตราด เปรียบเทียบตามสถานภาพของผตู้ อบแบบสอบถามโดยการทดสอบค่าที (t-test)

4.4..วิเคราะห์ข้อมูลบทบาทการนิเทศภายในของผู้บริหารสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ในจังหวัด
จันทบุรี ระยอง และตราด เปรียบเทียบตามขนาดของสถานศึกษา โดยวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว
(One-way.ANOVA) เม่ือพบความแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ จะตรวจสอบความแตกตา่ งเป็นรายคู่
ตามวิธีของเชฟเฟ่ (Scheffe')

4.5..นาเสนอผลการวเิ คราะหข์ ้อมูล ทาในรูปตารางประกอบบรรยาย

สรปุ ผลการวจิ ยั
จากการศึกษาการศึกษาบทบาทการนิเทศภายในของผู้บริหารสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน ในจังหวัด

จันทบุรี ระยอง และตราด สรุปผลการวิจยั ไดด้ ังนี้

314

1. ผู้บริหารสถานศึกษา และครผู ้สู อนสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ในจังหวดั จนั ทบุรี ระยอง และตราด
จาแนกตามสถานภาพเป็นผบู้ ริหารสถานศึกษา จานวน 19 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 5.10 ครผู ้สู อน จานวน 356
คน คิดเป็นร้อยละ 94.90 ปฏิบัติงาน ในสถานศึกษาขนาดเล็ก จานวน 43 คน คิดเป็นร้อยละ 11.50
ปฏิบัติงานในสถานศึกษาขนาดกลาง จานวน 101 คน คิดเป็นร้อยละ 26.90 และสถานศึกษาขนาดใหญ่
จานวน 231 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 61.60

2. บทบาทการนิเทศภายในของผู้บริหารสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ในจังหวัด จันทบุรี ระยอง และ
ตราด โดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก เรียงตามค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย คือ การจัดระบบการนิเทศ
การประเมินผลการจัดระบบและกระบวนการการนิเทศ การติดตาม ประสานงานเพื่อพัฒนาระบบและ
กระบวนการการนเิ ทศ การดาเนนิ การนิเทศ และการแลกเปล่ียนเรียนรู้และประสบการณ์จัดระบบการนิเทศ

3. การเปรียบเทียบบทบาทการนิเทศภายในของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ในจังหวัด
จันทบุรี ระยอง และตราดจาแนกตามสถานภาพและขนาดของสถานศึกษา

3.1 บทบาทการนิเทศภายในของผู้บริหารสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ในจังหวัด จันทบุรี ระยอง
จาแนกตามสถานภาพ โดยรวมและรายด้านแตกต่างกันอย่างไม่มนี ยั สาคัญทางสถิติ

3.2 บทบาทการนิเทศภายในของผู้บริหารสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน ในจังหวัด จันทบุรี ระยอง
จาแนกตามขนาดของสถานศึกษา โดยรวมและรายด้านแตกต่างกนั อย่างไม่มีนยั สาคัญทางสถิติ

อภปิ รายผลการวจิ ัย
การอภิปรายผลการวิจัยคร้ังนี้ มีประเด็นสาคัญเกี่ยวกับบทบาทการนิเทศภายในของผู้บริหาร

สถานศึกษาข้ันพ้ืนฐานในจงั หวดั จันทบรุ ี ระยอง และตราด ดังต่อไปนี้
1. บทบาทการนิเทศภายในของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ในจังหวัดจันทบุรี ระยองและ

ตราด โดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก ทัง้ นเ้ี นื่องจากผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอนมีความเห็นว่า
บทบาทการนิเทศภายในของผู้บริหารสถานศึกษา เป็นปัจจัยที่สาคัญในการขับเคลื่อนกระบวนการ
พัฒนาการเรียนการสอนและการพัฒนาประสิทธิผลของผู้เรียน ซ่ึงผูบ้ รหิ ารสถานศึกษาได้มีการพัฒนาการ
นิเทศภายในเพ่ือให้หลากหลายและทันกระแสของการเรียนรู้ในยุคปัจจุบันตระหนักถึงความสาคัญและ
ความจาเปน็ ของการนเิ ทศภายใน เพราะว่า การนิเทศภายในเป็นส่วนหนงึ่ ของกระบวนการการบริหารและ
การประกนั คุณภาพของทกุ สถานศึกษาให้มีประสิทธิภาพการจดั การเรียนการสอนให้นักเรยี นสอดคล้องกับ
หลักสูตรแกนกลางข้ันพ้ืนฐาน พ.ศ. 2542 ตามแนวทางพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542
และท่ีแก้ไขเพ่ิมเติม(ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 ได้บัญญัติไว้ว่า การจัดการศึกษาต้องเป็นไปเพื่อพัฒนาคนให้
เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ท้ังร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้ คุณธรรม มีจริยธรรม และวัฒนธรรม ในการ
ดาเนินชีวิตสามารถอยู่ร่วมกับผู้อ่ืนได้อย่างมี กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถ
พัฒนาตามธรรมชาติและเต็มศักยภาพการดาเนินการดังกล่าวให้บรรลุผล จาเป็นต้องมีการส่งเสริมให้
ผู้เรียนสามารถพฒั นาตามธรรมชาติและเต็มศักยภาพ การดาเนินการดังกล่าวให้บรรลุผล จาเปน็ ต้องมีการ
เปล่ียนองค์ประกอบต่างๆ ในการจัดศึกษาที่มีเง่ือนไขปัญหาทั้ง ในด้านปัจจัยและกระบวนการทางาน
เพราะการนิเทศภายในเป็นกระบวนการทางานร่วมกันของบุคลากรในสถานศึกษาท่ีจะส่งเสริม สนับสนุน
ปรับปรุงหรือพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนการสอนของครูผู้สอนโดยที่ผู้บริหารต้องจัดดาเนินการเพ่ือ
ช่วยเหลือครู ให้ปฏิบัติงานในหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีขวัญ และกาลังใจพร้อมที่จะร่วมกันทางาน
ดว้ ยความเตม็ ใจซึ่งการดาเนินการดังกล่าวจะบรรลุเป้าหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพผู้บรหิ ารมีความสาคัญ

315

ในการดาเนินการด้านนี้ ผู้บริหารสถานศึกษาจึงมีความตระหนักถึงความสาคัญของการนิเทศภายในเป็น
อย่างดี (ปนัดดา ศิรพิ ฒั นกลุ . 2558 : 66) ทาให้บทบาทการนิเทศภายในของผู้บริหารสถานศึกษาปฏิบัติใน
ระดับมาก ซ่ึงสอดคล้องกับงานวิจัยของ สุรีย์มาศ สุขกสิ (2556 : บทคัดย่อ) ได้ศึกษา การศึกษานิเทศ
ภายในสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐานของผู้บริหารสถานศึกษา งานวิจัยพบว่า โดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับ
มาก และสอดคล้องกับการวิจัยของ นพรัตน์ ชัยเรือง (2557 : บทคัดย่อ) ได้ศึกษา การพัฒนารูปแบบการ
นิเทศภายในเพ่ือการจัดการเรียนการสอนที่เป็นเลิศของสถานศึกษา ในจังหวัดนครศรีธรรมราช งานวิจัย
พบว่า โดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก

2. บทบาทการนิเทศภายในของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ในจังหวัดจันทบุรี ระยองและ
ตราด จาแนกตามสถานภาพ โดยรวมและรายด้านแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสาคัญ ท้ังน้ีอาจจากในการ
ปฏิบัติงานของผู้บังคับบัญชาหรือผู้ใต้บังคบั บัญชา เน่ืองจากตาแหน่งหน้าท่ีอาจจะส่งผลต่อการปฏบิ ัติงาน
หรอื การนเิ ทศภายในสถานศึกษา ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษาและครผู ู้สอนมีความต้องการทาให้สถานศึกษามีการ
พัฒนาสถานศึกษาอย่างเต็มศักยภาพประสิทธิภาพ เพิ่มประสิทธิภาพ เพิ่มคุณภาพการนิเทศภายในของ
สถานศึกษาให้สูงข้ึน และการนิเทศการศึกษามีจุดมุ่งหมายที่จะพัฒนาครูให้มีความรู้ให้มีประสิทธิภาพ
โดยอาศัยความร่วมมือของทุกฝ่ายในการช่วยเหลือ ส่งเสริม ช้ีแนะทางการพัฒนาปรับปรุงการเรียนการ
สอนให้มีประสิทธิภาพเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้เปน็ ไปตามจุดมุ่งหมายของหลักสูตรแกนกลาง (นันท์น
ภัส โซรัมย์. 2555 : 11 ) สอดคล้องกับงานวิจัยของ ประกิต สิงห์ทอง (2552 : บทคัดย่อ) ได้ศึกษา การ
นิเทศการศึกษาในสถานศึกษา สังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาเลย เขต 2 งานวิจัยพบว่า การนิเทศ
การศึกษาในสถานศึกษา สังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาเลย เขต 2 จาแนกตามสถานภาพ โดยรวม
แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และสอดคล้องกับงานวิจัยของ ประภารัตน์ พนานุสรณ์
(2557 : บทคัดย่อ) ได้ศึกษา บทบาทในการนิเทศภายในสถานศึกษา สังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา
ประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 10งานวิจัยพบว่า บทบาทในการนิเทศภายในสถานศึกษา สังกัดสานักงานเขต
พ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 1 จาแนกตามสถานภาพ โดยรวมแตกต่างกันอย่าง
มีนัยสาคัญทางสถติ ทิ ่ีระดับ .01

3. บทบาทการนิเทศภายในของผู้บริหารสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน ในจังหวัดจันทบุรี ระยองและ
ตราด จาแนกตามขนาดของสถานศึกษา โดยรวมและรายด้านแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสาคัญ ทั้งน้ีอาจ
เน่ืองจากในการปฏิบัติงานตามบทบาทการนิเทศภายในของผู้บริหารสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐานไม่ว่าจะเป็น
สถานศึกษาที่มีขนาดใดก็ตาม มักจะมีบทบาทการนิเทศภายใน มากหรือน้อยขึ้นอยู่กับบริบทของ
หนว่ ยงานและภารกิจหลักที่ปฏบิ ัติ เพอ่ื เป้าหมายที่ต้องการพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา ยอ่ มมีบทบาทการ
นิเทศภายในหลากหลายรูปแบบ ตามสถานสภาพของสถานศึกษาที่มีความพร้อมต่างกันและมีปัญหาการ
นิเทศภายในสถานศึกษาที่ต่างกัน กล่าวคือ สถานศึกษาขนาดเล็กดาเนินการการนิเทศภายใน โดยใช้
บุคลากรจากสถานศึกษาอื่นมาช่วยในการดาเนินการนิเทศภายใน และมีการนิเทศภายในสถานศึกษา โดย
ผู้บริหารสถานศึกษาอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้สถานศึกษามีความพร้อมท่ีจะพัฒนาผู้เรียนได้อย่างเต็ม
ประสิทธิภาพ และเพิ่มประสิทธิภาพตลอดเพ่ิมคุณภาพการศึกษาให้สูงขึ้น สถานศึกษาขนาดเล็กมีการ
ดาเนินการตามกระบวนการนิเทศภายในอย่างครบถ้วน แตส่ ถานศึกษาขนาดเล็กยังขาดแคลนงบประมาณ
ขาดการสนับสนุนส่งเสริมจากชุมชนซึ่งส่วนใหญ่มีฐานะยากจน ไม่อาจช่วยเหลือ ส่งเสริมกระบวนการ
บริหารจัดการศึกษาของสถานศึกษาไม่ได้เท่าที่ควร และยังขาดงบประมาณทางบุคลากร (รัตนา ชุมไธสง.
2555 : 90) ซ่ึงสอดคล้องกับงานวิจัยของ พิบูลชัย ศรีเข้ม (2553 : บทคัดย่อ) ได้ศึกษา สภาพและปัญหา

316

การนิเทศภายในสถานศึกษา สังกัดเทศบาล เขตการศึกษา0100งานวิจัยพบว่า สภาพและปัญหาการนิเทศ
ภายในสถานศึกษา สังกัดเทศบาล เขตการศึกษา 10 จาแนกตามขนาดสถานศึกษาท่ีมีขนาดต่างกันไม่
แตกตา่ งกันและสอดคล้องกับงานวิจัยของ สุณีย์รัตน์ วีระสนุ ทร (2553 : 94) ได้ศกึ ษา การศกึ ษาสภาพการ
นิเทศภายในตามความคิดเห็นของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาตราด งานวิจัย
พบวา่ สภาพการนิเทศภายในตามความคิดเห็นของผู้บริหารสถานศึกษา สงั กดั สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา
ตราด จาแนกตามขนาดของสถานศึกษา โดยรวมแตกต่างกันอย่างมนี ยั สาคัญทางสถิติท่ีระดับ .05

ขอ้ เสนอแนะ
จากการศึกษาบทบาทการนิเทศภายในของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ในจังหวัดจันทบุรี

ระยอง และตราด ผวู้ ิจยั มีข้อเสนอแนะดงั ต่อไปน้ี
1. ขอ้ เสนอแนะทั่วไป
1.1 ผู้บริหารสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน ในจังหวัดจันทบุรี ระยอง และตราด ควรมีบทบาทใน

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้และประสบการณ์จัดระบบการนิเทศ เก่ียวกับการสรุปรายงานผลการปฏิบัติงาน
ประจาปี การรายงานผลการดาเนินงานนิเทศภายในสถานศึกษาให้หน่อยงานที่เกี่ยวข้องทราบ และการ
วางแผนในการแลกเปลยี่ นประสบการณ์การนิเทศระหว่างสถานศึกษา

1.2 ผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ในจังหวัดจันทบุรี ระยอง และตราด ควรมีบทบาทใน
การดาเนินการนิเทศ เกี่ยวกับบุคลากรในสถานศึกษามีส่วนร่วมในการนิเทศภายใน การประชุมช้ีแจง
มอบหมายงานให้ตรงกับความสามารถของผู้นิเทศ และการปฏิบัตกิ ารนิเทศภายในตามปฏิทนิ ท่ีไดก้ าหนดไว้

2. ขอ้ เสนอแนะเพ่ือการวจิ ัยครั้งต่อไป
2.1 ศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการประเมินผลการนิเทศภายในสถานศึกษาของสถานศึกษา

ขั้นพน้ื ฐาน ในจงั หวัดจันทบรุ ี ระยอง และตราด
2.2 ศึกษาการนิเทศการศึกษาที่ส่งผลต่อประสิทธิผลของสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน ในจังหวัด

จนั ทบุรี ระยอง และตราด

แหลง่ อา้ งองิ
กระทรวงศึกษาธิการ. (2550). แนวทางปฏิรูปการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ. กรุงเทพฯ: ที.เอส.บี.

โปรดักส.์
กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: โรง

พิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
นพรัตน์ ชัยเรือง. (2557). การพัฒนารูปแบบการนิเทศภายในเพื่อการจัดการเรียนการสอนท่ีเป็นเลิศของ

สถานศึกษาในจังหวัดนครศรีธรรมราช. ปริญญาครุศาตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหาร
การศึกษา บัณฑติ วิทยาลยั มหาวทิ ยาลัยราชภฏั นครราชศรีมา.
นันทน์ ภสั โซรมั ย.์ (2555). สภาพและปัญหาการนิเทศภายในโรงเรียนสังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา
ประถมศึกษาสุรินทร์. ปริญญาครุศาตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิต
วทิ ยาลัย มหาวิทยาลยั ราชภฏั บรุ รี ัมย์.

317

ปนัดดา ศิริพัฒนกุล. (2558). การศึกษาบทบาทการนิเทศภายในของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐานใน
จังหวัดระยอง จันทบุรี และตราด. ปริญญาครุศาตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา
บณั ฑติ วิทยาลยั มหาวิทยาลยั ราชภฏั ราไพพรรณี.

ประกิต สิงห์ทอง. (2552). การนิเทศการศึกษาในสถานศึกษา สังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาเลย เขต
2. ปริญญาครุศาตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย
ราชภัฏเลย.

ประภารัตน์ พนานุสรณ์. (2557). บทบาทผู้บริหารในการนิเทศภายในของสถานศึกษา สังกัดสานักงาน
เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 1. ปริญญาครุศาตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการ
บริหารการศึกษา บัณฑติ วิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภฏั บุรีรมั ย.์

พิบูลชัย ศรีเข้ม. (2553). การศึกษาสภาพและปัญหาการนิเทศภายในโรงเรียนสังกัดเทศบาล เขต 10.
ปรญิ ญาครุศาตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บณั ฑติ วทิ ยาลยั มหาวิทยาลัยราช
ภัฏอุบลราชธาน.ี

รัตนา ชุมไธสง. (2556). สภาพการนิเทศภายในสถานศึกษา สังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา
ประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 4. ปริญญาครุศาตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา
บณั ฑติ วิทยาลยั มหาวิทยาลยั ราชภัฏบุรีรมั ย.์

วารณุ ีย์ วงศส์ ชี า. (2557). การนเิ ทศภายในสถานศึกษาของผูบ้ ริหารสถานศึกษา สงั กัดสานักงานเขตพ้ืนท่ี
การศึกษาประถมศึกษาสกลนคร เขต 3. ปริญญาครุศาตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหาร
การศกึ ษา บณั ฑติ วิทยาลยั มหาวิทยาลยั ราชภัฏวไลยอลงกรณ์.

วิโรจน์ ศรีภักดี. (2553). การนิเทศภายในสถานศึกษา สังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาบุรีรัมย์ เขต 3.
ปรญิ ญาครุศาตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บณั ฑติ วิทยาลัย มหาวทิ ยาลัยราช
ภัฏบุรีรมั ย์.

สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2552). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน
พุทธศกั ราช 2551. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนมุ สหกรณ์การเกษตรแหง่ ชาต.ิ

สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2560). นโยบายสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น
พื้นฐาน. กรุงเทพฯ: อษุ าการพมิ พ.์

สุณีย์รัตน์ วีระสุนทร. (2553). การศึกษาสภาพการนิเทศภายในตามความคิดเห็นของผู้บริหาร
สถานศึกษา สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาตราด. ปริญญาครุศาตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา
การบริหารการศึกษา บณั ฑติ วิทยาลยั มหาวทิ ยาลัยราชภัฏราไพพรรณ.ี

สุรีย์มาศ สุขกสิ. (2556). การศึกษาการนิเทศภายในสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐานของผู้บริหารสถานศึกษา,
วารสารวิจยั มหาวทิ ยาลัยราชภฎั ราไพพรรณี. 7(2): 22.

Krejcie,R .V. and Morgan, D.W. (1970). Determining Sample Size for Research Activities
Educational and Measurement.

318

การใช้กลวิธกี ารเรยี นรู้คาศัพท์ภาษาอังกฤษเพอ่ื ส่งเสรมิ ความสามารถด้านการพดู
ภาษาองั กฤษของนักศึกษาชน้ั ปที ี่ 1 สาขาวชิ าเกษตรป่าไม้
มหาวิทยาลัยแมโ่ จ้-แพร่ เฉลิมพระเกยี รติ

USING VOCABULARY LEARNING STRATEGIES TO PROMOTE ENGLISH SPEAKING
ABILITY OF THE FIRST YEAR AGROFORESTRY MAJOR, MAEJO UNIVERSITY
PHRAE CAMPUS STUDENTS.

ศศมิ นิ ตรา บุญรกั ษา, ผศ. กรรณกิ าร์ กาญจนั ดา
อาจารยป์ ระจาสาขาวชิ าศกึ ษาทั่วไป (ภาษาองั กฤษ) มหาวทิ ยาลยั แม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ

บทคัดยอ่
กลวิธีการเรียนรู้คาศัพท์ภาษาอังกฤษเพ่ือส่งเสริมความสามารถด้านการพูดภาษาอังกฤษเป็น

เทคนิคที่จะสามารถช่วยให้ผู้อ่านเรียนรู้คาศัพท์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ การศึกษาค้นคว้าคร้ังนี้มีความมุ่ง
หมาย (1) เพื่อเปรียบเทียบผลทดสอบคาศัพท์ก่อนเรียนและหลังเรียนของกลุ่มการใช้กลวิธีการเรียนรู้
คาศัพท์ภาษาอังกฤษเพื่อส่งเสริมความสามารถด้านการพูดภาษาอังกฤษกับกลุ่มไม่ใช้ของนักศึกษาช้ันปีที่
1 สาขาวิชาเกษตรป่าไม้ มหาวทิ ยาลยั แม่โจ้-แพร่ เฉลมิ พระเกยี รติ (2) เพือ่ เปรียบเทียบผลทดสอบคาศัพท์
หลังเรียนระหว่างกลุ่มการใช้กลวิธีการเรียนรู้คาศัพท์ภาษาอังกฤษเพ่ือส่งเสริมความสามารถด้านการพูด
ภาษาองั กฤษกบั กลุ่มไม่ใชข้ องนักศึกษาชนั้ ปีท่ี 1 สาขาวชิ าเกษตรปา่ ไม้ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระ
เกียรติ จานวน 2 ห้องๆ ละ 30 คน เลือกแบบเจาะจง เคร่ืองมือท่ีใช้ในการศึกษา ได้แก่ (1) แผนการ
จัดการเรียนรู้จานวน 4 แผน (2) แบบทดสอบคาศัพท์ภาษาอังกฤษ สถิติท่ีใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ
ร้อยละ ค่าเฉล่ยี สง่ เบยี่ งเบนมาตรฐานและ t-test ผลการศกึ ษาค้นควา้ ปรากฏดังนี้

1. นักศึกษาช้นั ปีที่ 1 สาขาวชิ าเกษตรป่าไม้ มหาวิทยาลัยแมโ่ จ้-แพร่ เฉลมิ พระเกียรติ ท่ีเรยี นโดย
ใช้กลวิธีการเรียนรู้คาศัพท์ภาษาอังกฤษเพ่ือส่งเสริมความสามารถด้านการพูดภาษาอังกฤษมีความรู้
คาศัพทห์ ลังเรยี นเพิ่มขึ้นจากก่อนเรียนอย่างมนี ยั สาคัญทางสถติ ิที่ระดับ 0.05

2. นกั ศกึ ษาช้ันปีท่ี 1 สาขาวชิ าเกษตรป่าไม้ มหาวทิ ยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติท่ีเรียนโดย
ใช้กลวิธีการเรียนรู้คาศัพท์ภาษาอังกฤษเพื่อส่งเสริมความสามารถด้านการพูดภาษาอังกฤษมีความรู้
คาศัพทม์ ากกวา่ กลุ่มไม่ใชก้ ลวธิ ีชว่ ยจาอยา่ งมนี ยั สาคัญทางสถติ ทิ รี่ ะดบั .05

3. นักศกึ ษาช้ันปีที่ 1 สาขาวชิ าเกษตรป่าไม้ มหาวิทยาลัยแมโ่ จ้-แพร่ เฉลมิ พระเกยี รติที่เรียนโดย
ใช้กลวิธีการเรียนรู้คาศัพท์ภาษาอังกฤษเพ่ือส่งเสริมความสามารถด้านการพูดภาษาอังกฤษมีความสนใจ
กลวธิ กี ารเรยี นรู้ดว้ ยบัตรคา บัตรภาพ และพจนานกุ รมมากในการจดั การเรียนการสอนดว้ ยกลวธิ ชี ่วยจา

โดยสรุป การจัดการเรียนรู้โดยใช้กลวิธีการเรยี นรู้คาศัพท์ภาษาอังกฤษเพื่อส่งเสริมความสามารถ
ด้านการพูดภาษาอังกฤษช่วยให้นักเรียนจาคาศัพท์ได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล สามารถ
นาไปใช้ในการเรียนการสอนเพื่อใหผ้ เู้ รยี นบรรลผุ ลตามความมุ่งหมาย

คาสาคัญ : กลวธิ ีการเรียนรู้ คาศัพทภ์ าษาอังกฤษ ทักษะการพดู ภาษาอังกฤษ

319

Abstract
English vocabulary learning strategy in order to enhance English speaking is one

of techniques that can help readers learn vocabulary effectively. The purposes of this
study were: 1. to compare the vocabulary test results(pre-test and post-test) of the 2
groups of first year students department of Agroforestry, Maejo University Phrae Campus
( the first group was applied English vocabulary learning strategy in order to enhance
English speaking and the second group was not applied this strategy) . 2. to compare
post- test results between the first group and the second group. This study used 2
sections of 30 Agroforestry students selected by purposive sampling method. The
research instruments were 4 lesson plans and vocabulary achievement test. The data
were analyzed by percentage, mean, standard deviation, and t-test.

The results found as follow:
1.The post–test score of the first year Agroforestry students of Maejo University
Phrae campus who learned English by using English vocabulary learning strategy in order
to enhance English speaking skill was higher than pre- test score with . 05 level of
significance.
2.The first group (the group of first year Agroforestry students of Maejo University
Phrae campus who learned English by using English vocabulary learning strategy in order
to enhance English speaking skill) had vocabulary knowledge more than the second
group with .05 level of significance.
3. The first year Agroforestry students of Maejo University Phrae campus who
learned English by using English vocabulary learning strategy in order to enhance English
speaking skill were interested in learning English by using picture cards, flash cards and
dictionary.
To sum up, learning by using English vocabulary learning strategy to enhance English
speaking helps students memorize vocabulary effectively. This strategy can also be used in
English classroom in order to make students succeed in learning English.

Keyword: Learning strategy, English Vocabulary, English speaking Skills

บทนา
การศึกษาในศตวรรษท่ี 21 ให้ความสาคัญกับผลการเรียนรู้ของผู้เรียนท่ีเก่ียวข้องกับสาระวชิ า

หลกั ได้แก่ ภาษาอังกฤษ ภาษาสากลตา่ ง ๆ ศิลปะ คณิตศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภูมิศาสตร์
ประวัติศาสตร์ และการปกครอง และสิทธิหน้าที่พลเมือง ซึ่งการจัดการเรียนรู้ผ่านสาระวิชาหลักน้ี
จะต้องให้ผู้เรียนฝึกฝนจนเกิดผลการเรียนรู้ที่เป็นสมรรถนะท่ีสาคัญเรียกว่า 3R คือ อ่านออก เขียนได้
คิดเลขเป็น และ 7C ได้แก่ ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณและทักษะในการแก้ปัญหาทักษะในการ
สร้างสรรค์และนวัตกรรม ทักษะด้านความเข้าใจต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์ ทักษะด้านความ

320

รว่ มมอื การทางานเป็นทีมและภาวะผู้นา ทักษะด้านการส่ือสารสารสรเทศ และร้เู ทา่ ทนั ส่ือ ทักษะด้าน
คอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สุดท้ายทักษะอาชีพและทักษะการเรียนรู้
นอกจากน้ี การจัดการศึกษา ตอ้ งจัดระบบสนบั สนุนซ่งึ จะช่วยให้ผู้เรียนบรรลุผลการเรยี นรู้ดังที่กล่าวมา
โดยประกอบด้วยมาตรฐานและการประเมินผล ดา้ นหลกั สูตรและการเรียนการสอน ดา้ นพัฒนาวิชาชีพ
ใหแ้ ก่ครูและผบู้ รหิ าร และด้านสภาพแวดลอ้ มในการเรยี นรู้ (วจิ ารณ์ พานชิ , 2555, : 16-19)

ภาษาอังกฤษถูกใช้เป็นภาษาหลักในการติดต่อสื่อสารระหว่างคนทั่วโลกทั้งในด้านเศรษฐกิจ
สังคม การเมือง การศึกษา วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ธรุ กิจบันเทิง ตลอดจนชวี ิตดา้ นสังคมทั่วไป การ
สอนภาษาอังกฤษในฐานะภาษาต่างประเทศได้กาหนดให้นักเรียนไทยต้องเรียนวิชาภาษาอังกฤษเป็น
วิชาบังคับตัง้ แตร่ ะดับช้นั ประถมศึกษาจนถึงระดับอุดมศึกษา ในกฎบัตรอาเซียน ได้ระบุไว้ว่าภาษาท่ใี ช้
ในการทางานของอาเซียน คือ ภาษาอังกฤษ ซึ่งภาษาอังกฤษถือเป็นภาษาสาคัญและมีบทบาทในการ
ติดต่อส่ือสารกับต่างประเทศ การเรียนรู้ภาษาอังกฤษจึงเป็นสิ่งจาเป็นเพื่อความเข้าใจในแนวทาง
เดียวกันอีกท้ังช่วยให้เกิดความสัมพันธ์ท่ีดีทั่วโลกโดยเฉพาะโลกปจจุบันเปนยุคแห่งสังคมขาวสารและ
สารสนเทศ การสอนภาษาอังกฤษเพ่ือให้ผู้เรียนสามารถสื่อสารได้โดยเฉพาะทักษะทางด้านการพูด จึง
ถือว่าเป็นเครื่องมือสาคัญในการติดต่อส่ือสารกับชนชาวโลกอย่างมีประสิท ธิภาพและส่งผลต่อการ
พัฒนาประเทศใหเ้ จรญิ กา้ วหน้าต่อไป

ทักษะการพูดภาษาอังกฤษ เป็นทักษะท่ีสาคัญอย่างหน่ึงจากทักษะการใช้ภาษาอังกฤษท้ัง 4
ทักษะ ท้ังนี้เนื่องจากการติดต่อสื่อสารในแต่ละวันโดยตรง คือ การพบปะพูดคุยแบบตัวต่อตัว และการ
ติดตอ่ ผา่ นอปุ กรณส์ ื่อสารต่าง ๆ เช่น การใช้โทรศัพท์ ซึ่ง เปน็ วิธีทส่ี ะดวก รวดเร็ว และคา่ ใชจ้ า่ ยถูก ทา
ให้คนส่วนมากนิยมติดต่อส่ือสารกันโดยใช้วิธีการพูดมากกว่าวิธีอื่น นอกจากนั้นแล้วการพูดเป็นการ
ถ่ายทอดความคิด ความเข้าใจและความรู้สึกให้ผู้ฟังได้รับรู้และเข้าใจจุดมุ่งหมายของผู้พูด ซ่ึงในการ
เรียนการสอนภาษาต่างประเทศ ทักษะการพูดนับว่าเป็นทักษะที่สาคัญและจาเป็นเพราะผู้ท่ีพูดได้ย่อม
สามารถฟังผู้อื่นพูดได้เข้าใจและจะช่วยให้การอ่านการเขียนง่ายข้ึนด้วย (สุมิตรา อังวัฒนกุล, 2546 :
167) ความสามารถในการพูดภาษาอังกฤษเป็นทักษะที่ทุกคนมุ่งหวังท่ีจะให้ประสบความสาเร็จเพราะ
การเรยี นภาษาต่างประเทศใด ๆ กต็ าม หากผ้เู รยี นสามารถส่ือสารดว้ ยการพูดสนทนาในชวี ิตประจาวัน
ได้ ถือว่าเป็นการใชป้ ระโยชนจ์ ากการเรียนภาษานัน้ ๆ ไดอ้ ย่างแทจ้ รงิ

การเรียนรู้โดยกลวิธีที่มีเทคนิคช่วยจานั้น ต้องประกอบไปด้วยการพูดหรือเขียนคาศัพท์
บันทึกเสียงคาแล้วฟังบ่อย ๆ ของเจ้าของภาษา โดยเริ่มจากคาท่ีรู้ก่อนแล้วจึงคิดคาใหม่ สามารถใช้
เทคนิคสาคัญ (Key Word) เชื่อมโยงคากับเสียงท่ีคุ้นเคยด้านรากคาเพื่อช่วยจาความหมายและนามา
สร้างประโยคโดยใช้คาของตนเอง เป็นการเช่ือมโยงคาท่ีกาลังเรียนอยู่แล้วนากลับมาใช้ใหม่
(Recycling) กับการใช้ภาษาตามสถานการณ์จริงท่ีจะนาคาศัพท์ที่เรียนในช้ันเรียนและแบบพกพา
คาศพั ทใ์ นรูปของสมุดโน้ต บตั รคา หรอื พจนานุกรมในการทบทวนคาศัพท์ (Language Center. 2003
: Web Site) ด้วยกลวิธีช่วยจาเป็นพื้นฐานท่ีจะให้ประโยชน์สู่ความจาได้ด้วยกลวิธีเรียนรู้ให้จา (The
Metacognitive Strategy) การใช้ตัวอักษรแรกของคาแต่ละอันท่ีจะพยายามทาให้สร้างคาใหม่ ใน
เหตุการณ์จริง กลวิธีในการจัดเข้ากลุ่ม (Grouping Strategy) การจัดเข้ากลุ่มด้วยกันสิ่งนั้น โดยแยก
ประเภทเดยี วกนั กลวธิ ีการใชภ้ าพ (The Imagery Strategy) การสร้างช่ือคาศพั ท์ทั้งหมดโดยมรี ูปภาพ
อยู่ด้วยกันหรือแยกกันจะเห็นได้ว่ากลวิธีช่วยจา คือการกระทาด้วยระยะเวลาท่ีแสดงออกมาเพื่อบรรลุ
เป้าหมายที่เจาะจงไว้ เพื่อสร้างยุทธวิธหี รอื การกระทาดว้ ยเอาอุปกรณ์เข้ามาชว่ ยในจดุ หมายปลายทาง

321

แผนระยะยาวของการกระทาที่มีทรัพยากรอยู่เป็นสิ่งช่วยหน่วยความจา (Mnemonic) เป็นอุปกรณ์
ช่วยจาถูกโครงสร้างที่จะช่วยผู้คนจาและคาแนะนาการระลึก คาแนะนาช่วยความจาผสมการนาเสนอ
ของคาสาคญั กบั กลวิธีที่ให้ความชดั เจน (Lorraine. 2002 : Website) ผศู้ กึ ษาค้นคว้าไดม้ สี ว่ นเก่ียวข้อง
กับการเรียนการสอนช่วงช้ันที่ 1 ผลการเรียนภาษาอังกฤษของนักเรียนโรงเรียนระดมวิทยานุสรณ์ ซึ่ง
อยู่ในเกณฑ์ท่ตี ้องปรับปรุงโดยคะแนนเฉลี่ยค่อนข้างต่า ความสามารถของผู้เรยี นท่ีนาความรู้ไปใช้ซ่ึงอยู่
ในระดับต่า จึงมีความจาเป็นอย่างย่ิงท่ีต้องพัฒนาให้ดีข้ึนและต้องหาวิธีการและกลวิธีที่จะนาไป
พัฒนาการเรียนรู้โดยใช้กลวิธีช่วยจาที่ให้ความสาคัญในการเน้นการสอนกับผู้เรียนท่ีจะสามารถเรียนรู้
คาศัพท์และความหมายของคาศัพท์ทาความเข้าใจในภาษาอังกฤษให้ดีย่ิงขึ้น แต่นักเรียนยังมีความ
บกพร่องในการใช้กลวธิ ีเรียนรู้ภาษา นอกจากสอนคาศัพท์โดยใชเ้ นื้อหาประกอบ เพื่อให้จาความหมาย
ได้ดีก็อาจสอนคาในลักษณะเดียวกันบ้าง ใช้คานั้นซ้า ๆ บ้าง แต่นักเรียนยังไม่ประสบความสาเร็จด้าน
การเรียนรู้คาศัพท์เท่าท่ีควร จึงมีความสนใจจัดกิจกรรมการเรียนการสอนใช้กลวิธีต่าง ๆ ที่ส่งเสริมให้
ผู้เรียนเรียนรู้ด้วยตนเอง (Self-initiated Independent Learning) กับการฝึกฝนอย่างมีรูปแบบ
(Formal Practice) ตลอดจนถงึ การฝึกฝนตามบริบท (Functional Practice) และการทอ่ งจา (British
Council. 2007 : Web Site)

การเรียนภาษาอังกฤษเพ่ือพัฒนาทักษะการพูดใหไดผลน้ันผูเรียนจาเปนตองมีการฝกฝนพูด
เพื่อใหการส่อื สารภาษาองั กฤษสัมฤทธ์ิผลเพอื่ ใหผูเรียนเกิดความม่นั ใจและมีความตองการพัฒนาทักษะ
การพูดของตนเองตามสถานการณหรือตัวกาหนดที่ไดรับมอบหมายได ทักษะการพูดนับวาเปนทักษะ
หน่ึงที่จาเปนมากเน่ืองจากเปนทักษะเบื้องตนที่ใชในการสื่อสาร (กุณฑลีย ไวทยวณิช. 2545 :1) และ
เออร (Ur.1981 : 2) ไดกล่าววาทักษะการพูดเปนทักษะที่สาคัญท่ีสุดในการสื่อสารสัมพันธ์ พันธ์ุพฤกษ์
กล่าวถึงการใช้ภาษาอังกฤษของนักเรียนไทยว่ายังได้ผลไม่เป็นที่น่าพอใจ เพราะนักเรียนไทยส่วนใหญ่
ยังมีความสามารถทางภาษาอังกฤษอยู่ในระดับค่อนข้างต่า ทาให้เม่ือมีการสารวจทักษะการใช้
ภาษาอังกฤษของประเทศต่าง ๆ คร้ังใด ประเทศไทยมีคะแนนร้ังท้ายประเทศต่าง ๆ มาโดยตลอด เช่น
การสารวจของ Education First (EF) ซึ่งเปน็ องค์กรนานาชาติท่ีเช่ียวชาญเร่ืองการฝึกอบรมภาษา การ
ท่องเทยี่ วเพือ่ การศึกษา หลักสูตรการศกึ ษาเชิงวิชาการและการแลกเปล่ียนวัฒนธรรมและเปน็ องค์กรที่
จัดอันดับประเทศจากความสามารถด้านการใช้ภาษาอังกฤษโดยใช้ดัชนีวัดระดับความรู้ทาง
ภาษาองั กฤษ (EF English Proficiency Index : EF EPI) ซงึ่ จากรายงานผลการจดั อนั ดบั ปี ค.ศ.2011
จากทม่ี ีการสารวจทั้งส้ิน 44 ประเทศ ชใ้ี หเ้ ห็นว่าความสามารถในการใชภ้ าษาอังกฤษของไทยมีค่าดัชนี
เท่ากบั 39.41 อยูใ่ นระดบั ทีม่ ีความสามารถต่ามาก (Very Low Proficiency) เปน็ อันดบั ที่ 42 จาก 44
ประเทศ และย่ิงกว่าน้ันยังมีการเผยแพร่ข่าวสารในโลกออนไลน์ตามสื่อต่าง ๆ ที่ตอกย้าอีกว่าในกลุ่ม
อาเซียนเองไทยยังมีความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษต่ากว่าประเทศเพื่อนบ้านที่อยู่ในกลุ่ม
ความสามารถต่ามากอีกเช่นกนั คือ เวยี ดนาม (คา่ ดัชนี 44.32) และกัมพูชา (ค่าดชั นี 42.77)

มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ เป็นสถานศึกษาในสังกัดมหาวิทยาลัยแม่โจ้ เป็น
วิทยาเขตขนาดเล็ก แต่มีประสิทธิภาพในการบริหารจัดการการศึกษาระดับอุดมศึกษาให้เป็นเลิศทาง
วิชาการและเปน็ ศูนย์กลางของการแกป้ ัญหาในท้องถน่ิ และไดใ้ ห้ความสาคัญกบั การใช้ภาษาอังกฤษใน
การสื่อสารอีกด้วย เพ่ือตอบโจทย์ที่สังคมต้องการในด้านอาชีพหลังสาเร็จการศึกษา นอกจากน้ันแล้ว
มหาวิทยาลยั แมโ่ จ้-แพร่ เฉลมิ พระเกยี รติ ยงั มุง่ เนน้ ให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเขา้ ใจในภาษาอังกฤษ โดย
มีการทาวิจัย การพัฒนารูปแบบการสอน และการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษอย่างต่อเนื่องเพื่อให้
ผู้เรยี นสามารถนาความรู้ด้านภาษาอังกฤษไปประยุกต์ใช้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ แต่ถงึ กระนั้น ผลการวจิ ยั

322

กลับแสดงให้เห็นว่าผู้เรียนท่ีเรียนจบหลักสูตรการศึกษาในระดับปริญญาตรีน้ันยังมีความสามารถทาง
ภาษาอังกฤษไม่ดีเท่าที่ควร จึงทาให้ไม่สามารถใช้ภาษาอังกฤษเพ่ือเป็นเคร่ืองมือในการติดต่อสื่อสาร
การทางานหรอื แสวงหาความรู้ไดอ้ ยา่ งเต็มความสามารถ

จากปญั หาการสอนรายวิชาภาษาอังกฤษให้กับนักศกึ ษาสาขาวิชาเกษตรป่าไมช้ นั้ ปีท่ีหน่งึ พบว่า
นักศึกษามีความกระตือรือร้นท่ีจะมีส่วนร่วมในการเรียน ไม่ว่าจะเป็นการตอบคาถามรวมไปถึงการ
สนทนาเป็นภาษาอังกฤษแต่ความสามารถดา้ นการพดู ของตัวนักศกึ ษาเอง ยังอย่ใู นระดับทต่ี ้องปรับปรุง
เพราะผู้เรียนยังไม่สามารถส่ือสารได้อย่างทันท่วงทีโดยสาเหตุที่มีต่อผลการพูดของผู้เรียนคือไม่มีความ
ม่ันใจในการใช้ภาษาเน่ืองจากมีพ้ืนฐานด้านการจาศัพท์น้อยและต้องอาศัยการค้นหาคาศัพท์จากแหลง่
เรยี นร้แู ทบทุกคร้ังในการสนทนา

จากความตระหนักและการเล็งเห็นถึงสภาพปัญหาในการใช้คาศัพท์เพื่อการส่ือสารดังกล่าว
ข้างต้น ผู้วิจัยจึงมีความสนใจท่ีจะนากลวิธีการจาศัพท์มาใช้ในการเรียนการสอนเพ่ือศึกษาระดับ
ความสามารถในการพูดภาษาอังกฤษของนกั ศึกษาช้ันปีท่ี 1 สาขาวิชาเกษตรป่าไม้ มหาวิทยาลัยแมโ่ จ้-
แพร่ เฉลิมพระเกียรตแิ ละใหผ้ เู้ รียนสามารถนาภาษาองั กฤษท่ีเรียนมาแล้วมาใช้ในการสื่อสารได้และฝึก
ความเข้าใจในการฟังภาษาอังกฤษ รวมถึงการศึกษากลวิธีการเรียนรู้คาศัพท์ภาษาอังกฤษที่มีผลต่อ
ทักษะการพูดท้ังน้ีเพื่อเพิ่มพูนกลวิธีในการจาศัพท์และให้นักศึกษาสามารถพูดภาษาอังกฤษได้อย่างมี
ประสทิ ธภิ าพ

วตั ถปุ ระสงคข์ องโครงการวิจัย
1. เพ่ือศึกษาระดับความสามารถในการพูดภาษาอังกฤษของนักศึกษาช้ันปีที่ 1 สาขาวิชา

เกษตรป่าไม้ มหาวิทยาลยั แมโ่ จ้-แพรเ่ ฉลิมพระเกียรติ
2. เพ่ือศึกษากลวิธีการเรียนรู้คาศัพท์ภาษาอังกฤษที่มีผลต่อทักษะการพูดภาษาอังกฤษของ

นักศึกษาชนั้ ปีท่ี 1 สาขาวชิ าเกษตรปา่ ไม้ มหาวทิ ยาลัยแมโ่ จ้-แพรเ่ ฉลิมพระเกียรติ
3. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาช้ันปีที่ 1 สาขาวิชาเกษตรป่าไม้ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-

แพร่เฉลิมพระเกยี รติ ต่อการเรยี นรู้กลวธิ ีการเรียนร้คู าศพั ทภ์ าษาองั กฤษ

สมมุติฐานของการศึกษาค้นคว้า
1. ผลการทดสอบคาศัพท์ก่อนเรียนและหลังเรียนกลุ่มการใช้กลวิธีช่วยจากับกลุ่มไม่ใช้กลวิธี

ช่วยจาของนักศึกษาสาขาวิชาเกษตรป่าไม้ช้ันปีที่ 1 มีความแตกต่างกัน
2. ผลการทดสอบคาศัพท์หลังเรียนระหว่างกลุ่มการใช้กลวิธีช่วยจากับกลุ่มไม่ใช้กลวิธีช่วย

จาของนักศึกษาสาขาวิชาเกษตรป่าไม้ช้ันปีท่ี 1 มีความแตกต่างกัน
3. ความพึงพอใจของนักศึกษาชั้นปีที่ 1 สาขาวิชาเกษตรป่าไม้ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่

เฉลิมพระเกียรติต่อการเรียนภาษาอังกฤษ หมายถึงความรู้สึกชอบหรือไม่ชอบในการใช้กลวิธีการ
เรียนรู้คาศัพท์ภาษาอังกฤษไปถึงประโยชน์ท่ีคิดว่าจะได้รับจากการเรียนภาษาอังกฤษ

ขอบเขตของการศึกษาค้นคว้า
การศึกษาค้นคว้าการใช้กลวิธีการเรียนรู้คาศัพท์ภาษาอังกฤษเพื่อส่งเสริมความสามารถด้าน

การพูดภาษาอังกฤษของนักศึกษาช้ันปีท่ี 1 สาขาวิชาเกษตรป่าไม้ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิม
พระเกียรติมีขอบเขตการศึกษาค้นคว้าดังน้ี

323

ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
1 ประชากร คือ นักศึกษาชั้นปีที่ 1 สาขาวิชาเกษตรป่าไม้ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิม

พระเกียรติ ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2559 จานวน 2 ห้องเรียน จานวน 104 คน
2 กลุ่มตัวอย่าง คือ นักศึกษาชั้นปีท่ี 1 สาขาวิชาเกษตรป่าไม้ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิม

พระเกียรติ กลุ่มที่ 1 และ 2 ปีการศึกษา 2559 จานวนห้องละ 30 คน ซึ่งได้จากการเลือกแบบ
เจาะจง (Purposive Sampling) โดยพิจารณาจากนักเรียนมาจานวน 2 ห้อง โดยผู้ศึกษาค้นคว้าทา
การเรียนการสอนวิชาภาษาอังกฤษ ซ่ึงมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนอยู่ในระดับใกล้เคียงกัน
เน้ือหาท่ีใช้ในการทดลองในคร้ังน้ี ได้แก่

Unit 1 My Personal Information,Parts of My Face
Unit 2 My Family, Family Members
Unit 3 My Freetime, Free Time Activities
Unit 4 My Interest, Traveller Types
ระยะเวลาในการทดลอง ระหว่างวันท่ี 10 มิถุนายน 2559 ถึงวันท่ี 28 กรกฎาคม 2559 ภาคเรียนท่ี
2 ปีการศึกษา 2559
ตัวแปร
1. ตัวแปรต้นจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้กลวิธีช่วยจากับโดยไม่ใช้กลวิธีช่วยจา
2. ตัวแปรตาม ความสามารถในการจาคาศัพท์

นิยามศัพท์เฉพาะ
1. คาศัพท์ภาษาอังกฤษ หมายถึง ศัพท์ท่ีต้องการให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ความหมายและ

สามารถจาคาศัพท์ เพ่ือสื่อความหมายเกิดความเข้าใจได้
2. กลวิธีช่วยจา หมายถึง กลวิธีการเรียนรู้คาศัพท์ ที่ช่วยให้ผู้เรียนสามารถจาคาศัพท์จาก

การเรียนรู้คาศัพท์ภาษาอังกฤษ ดังนี้
2.1 กลวิธีที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนเรียนรู้ด้วยตนเอง (Self-initiated Independent Learning)

หมายถึง เป็นกลวิธีช่วยให้ผู้เรียนรู้จักวางแผนและสร้างแรงจูงใจ
2.1.1 การจัดกลุ่ม (Word Grouping) กลวิธีการยึดโดยลักษณะ เช่น สี ขนาด หน้าที่

ความชอบไม่ชอบ เป็นวิธีการท่ีช่วยให้จาได้
2.1.2 กรทาบัตรคา (Word Card) กลวิธีที่ให้ผู้เรียนเขียนคาศัพท์ใหม่ที่ได้ยินใน

ห้องเรียน โดยใช้บัตรคาก้านหน่ึงเป็นคาศัพท์อีกด้านหนึ่งเป็นความหมาย
2.2 การฝึกอย่างมีรูปแบบ (Formal Practice) หมายถึง เป็นกลวิธีช่วยให้ผู้เรียนได้ฝึกฝน

การเรียนคาศัพท์อย่างเป็นระบบเป้าหมายและกิจกรรมที่ปฏิบัติในช้ันเรียน
2.2.1 การพูดออกเสียงคาศัพท์ซา้ ๆ (Loud Repetition) กลวิธีเรียนรู้คาศัพท์ท่ีได้

จากทักษะการฝึกฝนการใช้คาศัพท์บ่อย ๆ ในประโยคท่ีใช้คาศัพท์
2.2.2 การใช้พจนานุกรมสองภาษา (Bilingual Dictionary) กลวิธีเรียนรู้จากการ

สืบค้นในพจนานุกรม
2.3 การท่องจา (Memorizing) หมายถึง กลวิธีการช่วยจาที่เก่ียวข้องกับการดูคาศัพท์
2.3.1 การใช้ภาพ (Pictures) กลวิธีจับคู่ภาพกับคาศัพท์ใหม่ที่เรียน

324

2.3.2 หาคาที่คล้าย ๆ กัน (Synonyms) กลวิธีในกระบวนการช่วยจาคาศัพท์ท่ี
ความหมายเหมือนกันหรือใกล้เคียงในบทเรียน

3. กลุ่มการใช้กลวิธีช่วยจา หมายถึง การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนกับนักศึกษาชั้นปีที่
1 สาขาวิชาเกษตรป่าไม้ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ กลุ่มท่ี 1โดยเป็นกลุ่มทดลอง

4. กลุ่มไม่ใช้กลวิธีช่วยจา หมายถึง การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนกับนักศึกษาชั้นปีที่ 1
สาขาวิชาเกษตรป่าไม้ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ กลุ่มที่ 2 โดยเป็นกลุ่มควบคุม

การทบทวนวรรณกรรม/สารสนเทศ (Information) ทเี่ กย่ี วข้อง
ความหมายของคาศพั ท์

Hatch & Brown (1995) ได้ให้ความหมายของคาศัพท์ว่า คาศัพท์ หมายถึง คาหรือกลุ่มคา
สาหรับภาษาใด ภาษาหน่ึงที่ผู้พูดจะใช้ส่ือความหมายในแต่ละภาษา นอกจากนี้ยังหมายถึงคาทุกคาใน
ภาษาที่เป็นที่รู้จักในแต่ละบุคคล รวมถึงคาในกลุ่มคาพิเศษต่างๆ ที่ถูกใช้ในจุดประสงค์เฉพาะ เช่น
ธรุ กจิ กฎหมายและรายการคาที่เรียงตามอักษร

เทคนคิ การสอนคาศัพทภ์ าษาองั กฤษ
ในการสอนคาศัพท์นั้น มนี ักการสอนหลายท่านไดก้ ล่าวถงึ ลาดับขัน้ ตอนการสอนคาศัพท์ไว้

หลาแนวทางดว้ ยกัน ดังนี้
Paribakht & Wesche (1997) ได้กล่าวถงึ วธิ ีการสอนคาศัพท์ ในกจิ กรรมเพ่มิ พูนคาศัพท์

ผสมผสานกับการอ่าน ซง่ึ จุดประสงค์ประกอบดว้ ย 3 อนั ดับ ดังน้ี
1. การรจู้ าคาศัพท์
2. บอกความหมายคาศัพท์
3. การนาคาศพั ท์ไปใช้
สาหรับข้นั ตอนในการเรียนรู้คาศัพท์ในกิจกรรมเพิ่มพูนคาศัพท์ประกอบด้วย 5 ขั้นตอน กลา่ วคอื
ข้ันตอนที่ 1 Selective Attention คือ การสร้างข้อสังเกตให้กับผู้เรียนในคาศัพท์ท่ีกาหนดให้

มคี วามเดน่ ชัดยงิ่ ข้นึ
ขั้นตอนท่ี 2 Recognition คือ แบบฝึกหัดความรู้ความหมายเพียงอย่างเดียว โดยท่ีนักเรียน

ตอบแค่เพียงความหมายของคาศัพทเ์ ทา่ นน้ั
ขั้นตอนท่ี 3 Manipulation คือ การจัดประเภทของคาศัพท์ตามหลักไวยากรณ์ เป็นแบบฝึกที่

เกี่ยวกับการจัดประเภทของคาศัพท์ให้ถูกต้อง เช่น สามารถแยกประเภทของคานามหรือคากริยา หรือ
การเปลยี่ นคานามจากเอกพจนเ์ ป็นพหูพจน์

ขั้นตอนที่ 4 Interpretation คือ การวิเคราะห์ความหมายของคาศัพท์กับความสัมพันธ์กับคา
อน่ื ๆ ในบรบิ ทท่กี าหนดให้

ขนั้ ตอนที่ 5 Production คือ การทผ่ี เู้ รยี นสามารถนาคาศพั ทไ์ ปใชอ้ ย่างเหมาะสมในบรบิ ท

การพัฒนาทักษะการพดู ภาษาองั กฤษ
การพูดเป็นทักษะที่จาเป็นเพราะเป็นสิ่งท่ีมนุษย์ต้องใช้ในชีวิตประจาวันมากกว่าทักษะอ่ืนๆ

ความสามารถในการพูดภาษาอังกฤษได้และการพูดเป็นตัวทาให้การใช้ทักษะอื่นๆง่ายขึ้น (ฤทัยพัณณ์

325

พุดลา.2553) ผู้สอนจะต้องมีการวางแผนการสอน ต้องรู้ว่าจะสอนอะไร ผู้เรียนต้องการเรียนอะไร
เพ่ือท่จี ะไดว้ างแผนการสอนและเลือกวิธกี ารสอนท่เี หมาะสม การพูดแบง่ ออกเปน็ 3 ขนั้ คือ

1) ขัน้ เตรยี มความพรอ้ ม ซ่ึงในขั้นนเ้ี ปน็ ขน้ั การปพู นื้ ฐานการใชภ้ าษาให้กบั ผูเ้ รียน
2) ข้ันการฝึกใช้ภาษา โดยครูจะเป็นผู้ออกแบบและกาหนดเนื้อหาภาษา และโครงสร้างทาง
ภาษาที่ตอ้ งการให้ผู้เรียนได้ฝกึ ฝนผา่ นกิจกรรมการเรียนที่ครูได้ออกแบบและวางแผนไว้
3) ขั้นการนาภาษาไปใช้ ในข้ันน้ีนักเรียนจะได้รับโอกาสให้ได้ใช้ภาษาอย่างอิสระ ส่งเสริมการ
นาความรู้ท่ีไดฝ้ ึกฝนมาใช้จรงิ โดยครูจะเปน็ เพยี งผชู้ ่วยเหลอื แนะนาเท่านัน้

เครอื่ งมอื ทีใ่ ช้ในการศึกษาค้นคว้า
เครือ่ งมอื ท่ีใช้ในการศึกษาคน้ คว้าในครัง้ นี้ มี 2 ชนิด ประกอบด้วย
1. แผนการจัดการเรียนรู้การใช้กลวิธีการเรียนรู้คาศัพท์ภาษาอังกฤษเพ่ือส่งเสริมความสามารถ

ด้านการพูดภาษาอังกฤษของนักศึกษาช้ันปีท่ี 1 สาขาวิชาเกษตรป่าไม้ มหาวิทยาลัยแมโ่ จ้-แพร่ เฉลิมพระ
เกียรติ ซึ่งประกอบด้วยแผนการจัดการเรียนรู้ จานวน 4 แผนการจัดการเรียนรู้ แต่ละแผนใช้เวลา 3
ชวั่ โมง รวมเป็นเวลา 12 ช่วั โมง

2. แบบทดสอบคาศัพทว์ ิชาภาษาอังกฤษ ไดแ้ ก่ แบบทดสอบชนิดเลือกตอบ 3 ตัวเลือก จานวน
40 ขอ้

วธิ ดี าเนินการวิจยั
การศึกษาค้นคว้าในครั้งน้ี เป็นการศึกษาค้นคว้าเชิงทดลอง กลุ่มตัวอย่างได้มาโดยการเลือก

แบบเจาะจง (Purposive Sampling) ผู้ศึกษาค้นคว้าดาเนินการสอนเอง โดยใช้เวลาสอน 12 ช่ัวโมง
โดยมขี น้ั ตอนดาเนินการดงั น้ี

1. ระยะเวลาที่ทาการสอน ทาการเรียนการสอนในภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2559 ต้ังแต่วนั ท่ี
10 มิถุนายน 2550 ถึง วันที่ 28 กรกฎาคม 2559 โดยใช้เวลาจานวน 4 แผน เป็นเวลาสอน 12 ชั่วโมง
ซ่ึงสอนวันละ 1 ช่ัวโมง เป็นเวลา 12 วัน โดยไม่รวมเวลาทดสอบก่อนเรียน (Pretest) และหลังเรียน
(Posttest)

2. ผู้ศึกษาค้นคว้าดาเนินการจัดการเรียนการสอนทีละแผน แล้วนาแบบทดสอบคาศัพท์
ภาษาอังกฤษไปทดสอบก่อนเรยี น (Pretest) กับนกั ศกึ ษาชน้ั ปที ี่ 1 สาขาวชิ าเกษตรป่าไม้ มหาวิทยาลัย
แม่โจ้-แพร่ เฉลมิ พระเกียรติ กลุ่มท่ี 1 และนกั ศึกษาช้นั ปีที่ 1 สาขาวิชาเกษตรป่าไม้ มหาวทิ ยาลยั แม่โจ้-
แพร่ เฉลิมพระเกียรติ กลุ่มท่ี 2 ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2559 จานวนห้องละ 30 คน ที่เป็นกลุ่ม
ทดลองและกลมุ่ ควบคมุ แลว้ ตรวจบนั ทกึ คะแนนไว้เพ่อื ทจ่ี ะนาผลไปวิเคราะหข์ ้อมูล

3. หาประสิทธิภาพที่ทาการเรียนการสอนกับนักเรียนกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมแล้วนา
แบบทดสอบคาศัพทภ์ าษาอังกฤษชดุ เดียวกนั กับท่ีใช้ทดสอบก่อนเรยี น (Pretest) มาทาการทดสอบกับ
นักเรียนกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม (Posttest) ด้วยคะแนนเต็ม 40 คะแนน จากนั้นนาคะแนนมา
วเิ คราะหข์ อ้ มูลโดยการใชโ้ ปรแกรมสาเร็จรปู คอมพิวเตอร์กาหนดนยั สาคญั ทางสถติ ิทีร่ ะดบั .05

สถติ ิที่ใช้ในการวิเคราะห์ขอ้ มูล
1. สถติ ิทีใ่ ชใ้ นการวิเคราะหห์ าคุณภาพเครอื่ งมือ

326

1.1 การหาค่าความเที่ยงตรง (Validity) ของแบบทดสอบคาศัพท์ภาษาอังกฤษโดยใช้สูตร
ดชั นีความสอดคลอ้ ง IOC

1.2 วิเคราะห์หาค่าอานาจจาแนก (Discrimination) ของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการ
เรยี น โดยใช้สตู ร (Discrimination Index)

1.3 หาคา่ ความเชอื่ มนั่ ของแบบทดสอบวดั ผลทางการเรยี นแบบอิงเกณฑ์โดยใช้วิธกี าร Lovett
2. สถติ พิ ื้นฐาน ได้แก่
2.1 รอ้ ยละ (Percentage)
2.2 ค่าเฉลย่ี (Arithmetic Mean)
2.3 หาสว่ นเบ่ยี งเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) โดยใช้สูตร
3. สถิติที่ใช้ในการทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยผลทดสอบทางการเรียนหลังเรียนและ
ก่อนเรยี น โดยใชส้ ตู ร t - test แบบ Dependent ดงั นั้น
4. เปรยี บเทียบผลทดสอบคาศัพทห์ ลังเรียนระหว่างกลุม่ การใช้กลวิธีช่วยจากับกลุ่มไม่ใชก่ ลวิธี
ชว่ ยจาโดยใชส้ ูตร t - test

ผลการวิจัย
ตอนท่ี 1 เปรียบเทียบผลทดสอบคาศัพท์ก่อนเรียนและหลงั เรียนระหวา่ งกลุ่มการใช้กับกลุ่มไม่

ใช้กลวิธีการเรียนรู้คาศัพท์ภาษาอังกฤษเพื่อส่งเสริมความสามารถด้านการพูดภาษาอังกฤษของ
นกั ศกึ ษาชน้ั ปที ี่ 1 สาขาวิชาเกษตรปา่ ไม้ มหาวิทยาลยั แม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ ดงั ตารางท่ี 1
ตารางที่ 1 คะแนนผลทางการเรียนทไ่ี ด้จากกลมุ่ การใชก้ ลวิธีชว่ ยจา ผลทดสอบกอ่ นเรยี นและหลังเรยี น

รหัสนกั ศึกษา คะแนนทดสอบก่อนเรียน คะแนนทดสอบหลังเรยี น

5808114301 คะแนนเตม็ 40 คะแนน คะแนนเต็ม 40 คะแนน
5808114302
5808114303 12 33
5808114304 11 34
5808114305 9 34
5808114306 10 33
5808114307 12 30
5808114308 13 28
5808114309 14 30
5808114310 9 30
5808114311 10 33
5808114312 10 30
5808114313 14 28
5808114314 13 30
5808114315 12 31
5808114316 12 32
9 32
11 31

327

รหัสนักศึกษา คะแนนทดสอบกอ่ นเรยี น คะแนนทดสอบหลังเรียน

5808114317 คะแนนเต็ม 40 คะแนน คะแนนเตม็ 40 คะแนน
5808114318
5808114320 10 29
5808114322 10 28
5808114323 10 29
5808114324 11 33
5808114325 9 33
5808114326 13 30
5808114327 11 32
5808114328 13 34
5808114329 12 30
5808114330 10 32
5808114331 11 30
5808114332 12 30
13 29
รวม 13 30
X
S.D. 339 928
เฉล่ียร้อยละ
11.30 30.93

1.54 1.86

22.60 61.86

จากตารางท่ี 1 พบว่า ผ้เู รยี นจานวน 30 คนได้คะแนนเฉล่ียจากการทาแบบทดสอบก่อนเรียน
เฉล่ียเท่ากับ 11.30 จากคะแนนเต็ม 40 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 22.60 และคะแนนทดสอบหลังเรียน
เฉล่ยี เท่ากบั 30.93 จากคะแนนเตม็ 40 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 61.86

การศึกษาค้นคว้าคร้ังน้ีเป็นการใช้กลวิธีการเรียนรู้คาศัพท์ภาษาอังกฤษเพื่อส่งเสริม
ความสามารถด้านการพูดภาษาอังกฤษของนักศึกษาช้ันปีที่ 1 สาขาวิชาเกษตรป่าไม้ มหาวิทยาลัยแม่
โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ ซ่งึ มขี นั้ ตอนสรุป ดงั น้ี

1. ความมุง่ หมายของการศึกษาค้นควา้
2. สรุปผล
3. อภิปรายผล
4. ขอ้ เสนอแนะ

ความมุ่งหมายของการศกึ ษาคน้ ควา้
1. เพื่อเปรียบเทียบผลทดสอบคาศัพท์ก่อนเรียนและหลังเรียนกลุ่มการใชก้ ลวิธชี ่วยจากับกลมุ่ ไม่

ใช้กลวิธชี ว่ ยจาของนักศึกษาชั้นปีที่ 1 สาขาวิชาเกษตรป่าไม้ มหาวทิ ยาลัยแมโ่ จ้-แพร่ เฉลิมพระเกยี รติ
2. เพื่อเปรียบเทียบผลทดสอบคาศัพท์หลังเรียนระหว่างกลุ่มการใช้กลวิธีช่วยจากับกลุ่มไม่ใช้

กลวิธีช่วยจาของนกั ศึกษาชั้นปที ่ี 1 สาขาวชิ าเกษตรปา่ ไม้ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลมิ พระเกียรติ

328

3. เพ่ือศึกษาผลการใช้แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้วิธีชว่ ยจาของนักศึกษาชั้นปีท่ี 1 สาขาวิชา
เกษตรป่าไม้ มหาวทิ ยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลมิ พระเกียรติ

สรุปผล
ผู้เรียนที่เรียนโดยใช้กลวิธีช่วยจา มีความรู้คาศัพท์เพ่ิมขึ้นจากก่อนเรียนและมีความรู้คาศัพท์

มากกวา่ ท่เี รยี นโดยไม่ใช้กลวธิ ีช่วยจาอย่างมีนยั สาคญั ทางสถิติทรี่ ะดับ .05

อภิปรายผล
นกั ศึกษาช้ันปีที่ 1 สาขาวชิ าเกษตรป่าไม้ มหาวิทยาลยั แม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกยี รติ ท่เี รียนโดย

ใช้กลวิธีช่วยจากับกลุ่มไม่ใช้กลวิธีช่วยจามีความรู้คาศัพท์หลังเรียนเพ่ิมข้ึนจากก่อนเรียนอย่างมี
นัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ซึ่งสอดคล้องกับ กชกร ธิปัตดี (2542 : 101-102) ท่ีได้ทาการศึกษาการ
พัฒนาความสามารถในการจาคาศัพท์ภาษาอังกฤษด้วยรูปแบบการสอนช่วยจา พบว่า นักศึกษากลุ่ม
ทดลองซ่ึงใช้เทคนิคการจาภาษาอังกฤษด้วยรูปแบบการสอนเพื่อช่วยจามีความสามารถในการจาคา
ภาษาองั กฤษหลังทดลองสงู กว่าก่อนการทดลองอยา่ งมีนยั สาคญั ทางสถิตทิ รี่ ะดบั .05

ผู้เรียนที่เรียนโดยกลวิธีชว่ ยจามคี วามรูค้ าศัพทม์ ากกว่าผเู้ รียนเรียนกลุ่มไม่ใช้กลวิธีช่วยจาอย่าง
มีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ซึ่งสอดคล้องกับ อภิรดี จริยรังสีโรจน์ (2545 : 152-153) ได้ศึกษา
กลวธิ กี ารรู้คาศพั ท์เกยี่ วกบั คาศัพทจ์ ากวัฒนธรรมของนักเรียนชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 5 ท่ีมคี วามสามารถใน
การอา่ นภาษาอังกฤษในระดับสงู ระดับปานกลาง และระดบั ต่า ใช้กลวิธีการร้คู าศัพท์เกยี่ วกับศัพท์ทาง
วัฒนธรรม ซึ่งประกอบด้วยวิธีการรู้คาศัพท์ที่มาจากบทอ่านและกลวิธีการรู้คาศัพท์ท่ีมาจากผู้อ่าน
แตกตา่ งกันอย่างมนี ยั สาคญั ทางสถิติระดบั .05

ท้ังน้ีเพราะกลวิธีช่วยจาตา่ ง ๆ จะช่วยให้นึกถึงหรือค้นคืน (Retrieve) คาศัพท์ที่เรียนผ่านแล้ว
โดยอาศัยความคิดต่อเนื่องท่ีผ่านทางการพูดหรือการเห็น (Verbal and Visual Clues) (Thompson.
2006 : Web Site) ด้วยกลวิธีช่วยจาเป็นพ้ืนฐานท่ีจะให้ประโยชน์สู่ความจาได้ด้วยกลวิธีเรียนรู้ให้จา
(The Metacognitive Strategy) ด้วยระยะเวลาที่แสดงออกมาเพ่ือบรรลุเป้าหมายที่เจาะจงไว้ เพื่อ
สร้างยุทธวิธีหรือการกระทาด้วยการเอาอุปกรณ์เข้ามาช่วยในจุดมุ่งหมายปลายทางช่วยความจาถูก
โครงสร้างที่จะช่วยผู้คนจาและคาแนะนาการระลึก คาแนะนาช่วยความจาผสมการนาเสนอของคา
สาคัญกับกลวิธีท่ีให้ความชัดเจน (Lorraine. 2002 : Web Site) กลวิธีการเรียนรู้คาศัพท์ที่ช่วยให้
ผู้เรียนสามารถจาคาศัพท์จากการเรียนรู้คาศัพท์ภาษาอังกฤษ ผู้เรียนจาเป็นต้องทดลองใช้หลาย ๆ
กลวิธี เพ่ือที่จะรู้ตามความเหมาะกับตัวผู้เรียนในระดับชั้นที่เรียนและเกิดความเข้าใจในการเรียนรู้โดย
กลวิธีช่วยจามากขึ้น และสามารถจาคาศัพท์ได้เร็ว ต้องประกอบไปด้วยการพูดหรือเขียนคาศัพท์
บนั ทกึ เสยี งแล้วฟังบ่อย ๆ โดยเรมิ่ จากคาท่ีรู้ก่อนแล้ว ใช้ในการเช่อื มโยงคากับเสียงท่ีคุ้นเคยรากคาเพื่อ
ช่วยจาความหมายและนามาสร้างประโยคโดยใชค้ าของตนเองท่ีจะนามาคาศัพท์ท่ีเรียนในช้ันเรียนและ
แบบพกพาคาศพั ทใ์ นรปู ของสมดุ โน้ต บตั รคา หรอื พจนานุกรมในการทบทวนคาศัพท์ ผลจากการศึกษา
ค้นคว้า ทาให้ได้ข้อเสนอแนะว่าการที่จะใช้กลวิธีการเรียนรู้คาศัพท์ได้สาเร็จต้องมีการจัดการเรียนเพ่ือ
ฝึกการใชก้ ลวธิ ีการเรยี นรู้คาศพั ทภ์ าษาองั กฤษเพอ่ื พัฒนาการเรียนร้ดู ีข้ึน


Click to View FlipBook Version