The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ebookrayong, 2020-09-11 09:58:50

การประชุมสัมมนาวิชาการนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ

Full-Paper-NACED-Education

229

3. แบบประเมินความพึงพอใจ ใช้ในการประเมินความพึงพอใจกลุ่มตัวอย่าง จานวน 800 คน
ไดแ้ ก่ นักเรยี น ผู้ปกครอง ผบู้ ริหารและคณะครู

4. เอกสารแนวทางการพัฒนาโรงเรียน LKS SMART School Model กลุ่มสาระการเรียนรู้
คณติ ศาสตร์

5. เอกสารผลการปฏบิ ัติการ/โครงการ ประจาปงี บประมาณ 2560-2561
สมมติฐานการวิจัย

รูปแบบบริหารงานวชิ าการโดยใชก้ ารจัดการความรู้ LKS SMART School Model ทาให้กลุ่ม
สาระการเรียนรคู้ ณติ ศาสตร์ โรงเรยี นลาปางกลั ยาณี มีการพฒั นาและเป็นทพ่ี งึ พอใจของทุกฝา่ ย ดังนี้

1. มีการพัฒนารูปแบบบริหารงานวิชาการโดยใช้การจัดการความรู้ LKS SMART School
Model กลมุ่ สาระการเรียนรคู้ ณติ ศาสตร์ โรงเรยี นลาปางกลั ยาณี

2. นักเรียน ผู้ปกครอง ผู้บริหารและคณะครูมีความพึงพอใจต่อการพัฒนารูปแบบบริหารงาน
วิชาการโดยใช้การจัดการความรู้ LKS SMART School Model กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
โรงเรียนลาปางกัลยาณี

คานิยามศัพท์เฉพาะ
1. การพัฒนารูปแบบการบริหารงานวิชาการ ตามแนวทาง LKS SMART School Model

หมายถึง การวางแผน การจัดการระบบการบริหารวิชาการกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียน
ลาปางกัลยาณี ให้สอดคล้องในทิศทางเดียวกับการบริหารงานวิชาการโรงเรียนลาปางกัลยาณี ด้าน
ระบบดี (S : Good System) มีคุณธรรมจริยธรรม (M : Morality) พร้อมสู่ประชาคมอาเซียน (A :
ASEAN Community) มคี วามรับผดิ ชอบ (R : Responsibility) และใชเ้ ทคโนโลยี (T : Technology)

2. การจัดการความรู้ หมายถึง กระบวนการที่คณะครูกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
โรงเรยี นลาปางกลั ยาณี รว่ มกนั คดิ คน้ เพอื่ นาความรู้และประสบการณ์ มาใชป้ ระโยชน์ในการพัฒนาการ
บริหารงานวชิ าการ ตามแนวทาง LKS SMART School Model โรงเรียนลาปางกลั ยาณี
สรุปขน้ั ตอนการวิจยั

ข้ันตอนที่ 1 ศึกษารูปแบบการบรหิ ารงานวิชาการ ตามแนวทาง LKS SMART School Model

ขั้นตอนที่ 2 สร้างรูปแบบการบรหิ ารงานวชิ าการ ตามแนวทาง LKS SMART
School Model โดยใช้การจดั การความรู้ของกลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์

ขั้นตอนที่ 3 ทดลองใช้รปู แบบการบริหารงานวิชาการ ตามแนวทาง LKS SMART
School Model โดยใช้การจัดการความรู้ของกลมุ่ สาระการเรียนรคู้ ณติ ศาสตร์

ขัน้ ตอนท่ี 4 ศกึ ษาผลสัมฤทธิ์หลังการพัฒนาการบรหิ ารงานวิชาการโดยใชก้ ารจัดการความรู้

ขนั้ ตอนท่ี 5 ประเมนิ ผลความพงึ พอใจต่อการใชร้ ูปแบบการบรหิ ารงานวชิ าการ ตามแนวทาง
LKS SMART School Model โดยใช้การจัดการความรู้ของกลุ่มสาระการเรยี นร้คู ณิตศาสตร์

แผนภาพท่ี 1.1 สรปุ ขั้นตอนการวจิ ัย

230

องค์ประกอบของ LKS SMART School Model กลุ่มสาระการเรียนรคู้ ณติ ศาสตร์ โรงเรียนลาปางกัลยาณี
LKS SMART School Model กลุ่มสาระการเรยี นร้คู ณติ ศาสตร์ โรงเรียนลาปางกลั ยาณี

ระบบดี มีคณุ ธรรม พรอ้ มสู่ประชาคม มคี วามรับผิดชอบ ใชเ้ ทคโนโลยี
(S : Good จรยิ ธรรม อาเซยี น (R : (T :
System) (M : Morality)
-การบริหารจัดการ -การพฒั นาใน (A : ASEAN Responsibility) Technology)
โครงสรา้ ง ด้านท่ีเก่ยี วข้อง Community) -ครูประเมินการ -การใช้โปรแกรม
/การพฒั นา กับคุณธรรม -ใหค้ วามร่วมมอื ในการ ปฏบิ ัติงานของ เพือ่ พัฒนาและ
หลักสูตร/โครง จรยิ ธรรมของ จดั ต้งั ห้องเรยี นโครงการ ตนเองและ บูรณาการการ
การพัฒนา นกั เรียนและครู MEP (จัดกจิ กรรมการ รับผดิ ชอบตอ่ งานท่ี เรียนรคู้ ณติ ศาสตร์
นักเรียน/การ ไดแ้ ก่ กิจกรรม เรียนร้วู ิชาคณิตศาสตร์ ไดร้ ับมอบหมาย และการแข่งขัน
บริการด้านวิชาการ และรางวลั ท่ีเป็น เปน็ ภาษาอังกฤษ) -นกั เรยี นรับผิดชอบ ทกั ษะ
แกน่ กั เรยี นและ ตัวชีว้ ดั -นาเสนอผลงานนักเรยี น ต่อการเรยี น/การ -การใช้ความรดู้ า้ น
สงั คม ความสาเรจ็ คณติ ศาสตร์บูรณาการ
ทักษะสูอ่ าเซียน แขง่ ขนั เทคโนโลยี STEM

แผนภาพท่ี 1.2 องค์ประกอบของ LKS SMART School Model กลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์

โรงเรยี นลาปางกัลยาณี

วิธดี าเนนิ การวิจัย

วิธีดาเนินการวิจัย มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนารูปแบบบริหารงานวิชาการ ตามแนวทาง LKS
SMART School Model โดยใช้การจัดการความรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนลาปาง
กัลยาณีและเพ่ือประเมินความพึงพอใจของกลุ่มตัวอย่าง ต่อการพัฒนาการบริหารงานวิชาการ ของกลุ่ม
สาระการเรยี นร้คู ณิตศาสตร์ โรงเรยี นลาปางกลั ยาณี มขี ัน้ ตอนการวิจัย แบ่งเป็น 5 ขน้ั ตอน ดังน้ี

ขั้นตอนที่ 1
ศึกษารูปแบบการบริหารงานวิชาการ ตามแนวทาง LKS SMART School Model มีการ
ดาเนินการ ดงั น้ี
ส่วนที่ 1 การเริ่มต้นข้ันตอน เริ่มจากการศึกษาเอกสารแนวทางการพัฒนาโรงเรียน LKS
SMART School Model กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ และเอกสารผลการปฏิบัติการ/โครงการ
ประจาปงี บประมาณ 2560-2561
สว่ นท่ี 2 การดาเนินงาน การดาเนนิ งานทุกขั้นตอนต้องกาหนดวัตถุประสงค์ เป้าหมาย วิธีการ
ดาเนินการและผลลัพธ์ทุกขั้นตอน ซึ่งได้ศึกษาจากเอกสารผลการปฏิบัติการ/โครงการ ประจาปี
งบประมาณ 2560-2561 ดังนี้

2.1) วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาและสังเคราะห์องค์ประกอบของรูปแบบการบริหารงาน
วิชาการจากแผนปฏบิ ัตงิ านวชิ าการ
2.2) เปา้ หมาย ศึกษาองคป์ ระกอบของรูปแบบการบรหิ ารงานวิชาการจากแผนปฏิบัติ

งานวิชาการ
2.3) วิธีดาเนนิ การ
2.3.1 ศกึ ษาเอกสารทเี่ ปน็ แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจยั ท่ีเกี่ยวกับการบริหารงานวิชาการ
2.3.2 ศึกษาความคิดเห็นเกี่ยวกับองค์ประกอบของรูปแบบการบริหารงาน

วชิ าการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลโดยใช้แบบสอบถาม วิเคราะหข์ อ้ มลู และแปลความหมาย

231
2.4) ผลลัพธ์ ได้แบบสัมภาษณเ์ ป็นแบบสัมภาษณ์ปลายเปิดสาหรับใช้สัมภาษณ์ข้อมูล
การดาเนนิ งานวิชาการ
ส่วนท่ี 3 เคร่ืองมือการดาเนินงาน เครื่องมือท่ีใช้ในการศึกษา ได้แก่ แบบสัมภาษณ์ เป็นแบบ
สัมภาษณ์ปลายเปิดสาหรบั ใช้สมั ภาษณข์ อ้ มูลการดาเนนิ งานวชิ าการ
วธิ กี ารสรา้ งแบบสมั ภาษณ์ เปน็ ดงั น้ี
- ศกึ ษาองคป์ ระกอบรูปแบบการบรหิ ารงานวชิ าการ
กาหนดคาถามการสมั ภาษณ์ทเี่ กย่ี วข้องกบั รูปแบบการบริหารงานวชิ าการ
- จัดประเดน็ คาถามให้สอดคลอ้ งกบั วัตถุประสงค์ของการศึกษา
- ตัดประเด็นคาถามท่ีไม่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของการศึกษาออก หรือรวม
ประเด็นคาถามที่มีประเด็นเกี่ยวข้องกนั
ข้นั ตอนที่ 2
สร้างรูปแบบการบริหารงานวิชาการ ตามแนวทาง LKS SMART School Model มีการ
ดาเนนิ การ ดังนี้
ส่วนที่ 1 การเร่ิมต้นขั้นตอน เริ่มจากการใช้แบบสัมภาษณ์ สัมภาษณ์ครูผู้รับผิดชอบงาน
วชิ าการกลมุ่ สาระการเรียนรูค้ ณติ ศาสตร์
สว่ นท่ี 2 การดาเนินงาน การดาเนนิ งานทุกขั้นตอนต้องกาหนดวัตถุประสงค์ เปา้ หมาย วธิ กี าร
ดาเนนิ การและผลลัพธท์ ุกขั้นตอน ซงึ่ ไดศ้ ึกษาจากการสรุปประเด็นตามแบบสมั ภาษณ์ ดังนี้
2.1) วัตถุประสงค์ เพ่ือสร้างรูปแบบบริหารงานวิชาการ ตามแนวทาง LKS SMART
School Model โดยใช้การจดั การความรู้ กลุ่มสาระการเรียนรคู้ ณิตศาสตร์ โรงเรยี นลาปางกลั ยาณี
2.2) เป้าหมาย สร้างรูปแบบบริหารงานวิชาการ ตามแนวทาง LKS SMART School
Model โดยใช้การจัดการความรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนลาปางกัลยาณี โดยสรุป
ประเด็นตามแบบสัมภาษณ์
2.3) วธิ ดี าเนินการ

2.3.1 สมั ภาษณ์ครูผูร้ บั ผิดชอบงานวิชาการกลุ่มสาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์
2.3.2 สรุปประเดน็ ท่ีไดจ้ ากการสมั ภาษณ์
2.3.3 นาประเดน็ สาคัญจากการสัมภาษณม์ าสรา้ งรูปแบบการบรหิ ารงานวิชาการ
2.4) ผลลพั ธ์ รปู แบบบริหารงานวชิ าการ ตามแนวทาง LKS SMART School Model
โดยใช้การจดั การความรู้ กล่มุ สาระการเรยี นรคู้ ณติ ศาสตร์ โรงเรยี นลาปางกัลยาณี
ส่วนที่ 3 เครื่องมือการดาเนินงาน วิธีการสร้างเครื่องมือ ได้แก่ วิเคราะห์การตอบแบบ
สัมภาษณ์ของครูผู้รับผิดชอบงานวิชาการกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ สรุปประเด็นการตอบแบบ
สัมภาษณ์ของครูผู้รับผิดชอบงานวิชาการกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ นาหัวข้อการสรุปประเด็น
การตอบแบบสัมภาษณ์มาสร้างเป็นรูปแบบบริหารงานวิชาการ ตามแนวทาง LKS SMART School
Model โดยใช้การจดั การความรู้ กล่มุ สาระการเรียนรคู้ ณิตศาสตร์ โรงเรยี นลาปางกัลยาณี
ข้ันตอนที่ 3
ทดลองใช้รูปแบบบริหารงานวิชาการ ตามแนวทาง LKS SMART School Model โดยใช้การ
จดั การความรู้ กลมุ่ สาระการเรยี นรคู้ ณติ ศาสตร์ โรงเรียนลาปางกัลยาณี ดังนี้
ส่วนท่ี 1 การเริ่มต้นข้ันตอน เร่ิมจากการนารูปแบบบริหารงานวิชาการ ตามแนวทาง LKS
SMART School Model โดยใช้การจัดการความรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนลาปาง
กัลยาณี มาสรา้ งค่มู อื การดาเนินการตามรูปแบบการบรหิ ารงานวชิ าการ

232
ส่วนท่ี 2 การดาเนนิ งาน การดาเนินงานทุกขนั้ ตอนต้องกาหนดวัตถุประสงค์ เป้าหมาย วิธกี าร

ดาเนนิ การและผลลพั ธท์ กุ ขั้นตอน ดังน้ี
2.1) วัตถุประสงค์ เพ่ือสร้างแบบสอบถามการศึกษาองค์ประกอบรูปแบบการ

บริหารงานวชิ าการ
2.2) เป้าหมาย เพ่ือสรา้ งแบบสมั ภาษณก์ ารศกึ ษาองค์ประกอบรูปแบบการบรหิ ารงาน

วิชาการและมาใช้ในการพัฒนางานวิชาการ
2.3) วิธดี าเนินการ
2.3.1 สร้างค่มู อื การดาเนินการตามรูปแบบการบรหิ ารงานวชิ าการ
2.3.2 ช้ีแจงคณะครูสร้างความเข้าใจและสร้างความตระหนักเพื่อท่ีจะนาเครอื่ งมือ

ไปใช้ใหเ้ กดิ ประโยชน์ตอ่ การพฒั นาคุณภาพผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นใหด้ ขี ้นึ
2.3.3 ผู้บริหารและคณะครูนารูปแบบการบริหารงานวิชาการร่วมกันขับเคลื่อน

งานวชิ าการท้ังระบบ ตามคมู่ อื การดาเนนิ การตามรปู แบบการบริหารงานวิชาการ
2.3.4 สร้างแบบสอบถามการศึกษาองค์ประกอบรูปแบบการบริหารงานวิชาการ

ซง่ึ การสรา้ งแบบสอบถามนัน้ ได้นาแนวทางคาถามปลายเปดิ จากแบบสัมภาษณ์มาสรา้ งเป็นประเด็นราย
ข้อเพ่มิ เติม เพื่อนาไปหาคณุ ภาพโดยผ้เู ชีย่ วชาญเป็นลาดบั ต่อไป

2.3.5 การหาคุณภาพของแบบสอบถามการศึกษาองค์ประกอบรูปแบบการ
บริหารงานวิชาการโดยนาเสนอให้ผู้เชยี่ วชาญจานวน 5 คน ตรวจสอบความตรงตามเน้ือหา เพื่อหาค่า
ดัชนีความสอดคล้อง โดยการวิเคราะห์ค่า IOC (Item objective congruence index) หาค่าความ
เชอ่ื ม่นั ของแบบสอบถามโดยได้นาไปทดลองใช้ แลว้ นาไปหาคา่ ความเชื่อม่นั ตามวธิ ีของครอนบาค (บญุ
ชม ศรสี ะอาด. 2545, หนา้ 99) ไดค้ า่ ความเชื่อม่ันท้ังฉบบั เท่ากบั 0.92

2.3.6 สอบถามผลการใช้แบบสอบถามการศึกษาองค์ประกอบรูปแบบการ
บรหิ ารงานวิชาการ เพื่อประเมินระดับความคิดเห็นของหัวข้อการสอบถาม เปน็ ประโยชนต์ อ่ คณะครูใน
การนาไปใชพ้ ัฒนาคณุ ภาพผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนให้ดขี ึน้

2.3.7 การเก็บรวบรวมข้อมูล เก็บข้อมูลคณะครูผู้รับผิดชอบงานวิชาการด้วย
แบบสอบถามการศึกษาองค์ประกอบรปู แบบการบรหิ ารงานวิชาการ

2.3.8 การวเิ คราะห์ข้อมูล ขอ้ มลู จากแบบสอบถามการศึกษาองค์ประกอบรปู แบบ
การบริหารงานวิชาการ แบบมาตราส่วนประมาณค่า ใช้การหาค่าเฉลี่ย (Mean) และส่วนเบ่ียงเบน
มาตรฐาน (Standard deviation) โดยแปลความหมายของค่าเฉล่ียที่คานวณได้ แล้วพิจารณาเลือกขอ้
คาถามท่มี ีคา่ เฉลีย่ ตง้ั แต่ 3.51 ขึ้นไป และมีส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานไมเ่ กิน 1.50

2.4) ผลลัพธ์ ผลการประเมินจากแบบสอบถามการศึกษาองค์ประกอบรูปแบบการ
บริหารงานวิชาการ

สว่ นที่ 3 เครื่องมือการดาเนินงาน เคร่ืองมือทใ่ี ชใ้ นการศึกษา ได้แก่
3.1) คู่มือการดาเนินการตามรูปแบบการบรหิ ารงานวิชาการ วิธีการสรา้ งคู่มอื เป็นดงั นี้
- นารูปแบบบริหารงานวิชาการโดยใช้การจัดการความรู้ มากาหนดให้เป็น

เป้าหมายและแนวทางในการพฒั นางานวิชาการ
- กาหนดทิศทางการใช้รูปแบบบริหารงานวิชาการโดยใช้การจัดการความรู้ ด้วย

กระบวนการจัดการความรู้และขั้นตอนการพัฒนา เพื่อให้คณะครูเข้าใจและนาไปใช้ในทิศทางการ
พัฒนาเดียวกนั

- อธิบายรปู แบบบริหารงานวิชาการโดยใช้การจดั การความรู้
3.2) แบบสอบถามการศกึ ษาองคป์ ระกอบรปู แบบการบรหิ ารงานวชิ าการ

233

วธิ กี ารสรา้ งแบบสอบถาม เปน็ ดงั นี้
- ศึกษาองค์ประกอบของการสรา้ งรูปแบบบริหารงานวิชาการโดยใช้การจัดการความรู้
- วิเคราะห์การสรา้ งรูปแบบบรหิ ารงานวชิ าการโดยใชก้ ารจัดการความรู้
- กาหนดหวั ข้อคาถามตามรูปแบบบริหารงานวิชาการโดยใช้การจัดการความรู้
- จดั ประเดน็ คาถามให้สอดคล้องกบั แตล่ ะด้านของการพัฒนารปู แบบบรหิ ารงานวชิ าการ

ข้นั ตอนท่ี 4
ศึกษาผลสัมฤทธ์ิของการพัฒนาการบริหารงานวิชาการโดยใชก้ ารจัดการความรู้ ดงั น้ี
ส่วนที่ 1 การเริ่มต้นขั้นตอน เริ่มจากการศึกษาผลสัมฤทธ์ิของการพัฒนาการบริหารงาน
วชิ าการ ในปกี ารศึกษา 2560-2561
ส่วนที่ 2 การดาเนินงาน การดาเนินงานทุกขน้ั ตอนต้องกาหนดวัตถุประสงค์ เปา้ หมาย วธิ ีการ
ดาเนินการและผลลัพธ์ทุกข้ันตอน เพ่ือประกอบการศึกษาผลสัมฤทธิ์ของการพัฒนาการบริหารงาน
วิชาการ ในปกี ารศึกษา 2560-2561
ข้นั ตอนท่ี 5
ประเมินผลความพงึ พอใจต่อการใช้รปู แบบบริหารงานวิชาการ ดงั นี้
ส่วนที่ 1 การเริ่มต้นข้ันตอน เร่ิมจากการประเมินผลความพึงพอใจ โดยใช้แบบสอบถามความ
พึงพอใจต่อการพัฒนารูปแบบบริหารงานวิชาการ ตามแนวทาง LKS SMART School Model โดยใช้
การจดั การความรู้ กลุ่มสาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์ โรงเรยี นลาปางกลั ยาณี
สว่ นที่ 2 การดาเนินงาน การดาเนินงานทุกข้ันตอนต้องกาหนดวัตถุประสงค์ เป้าหมาย วธิ ีการ
ดาเนินการและผลลัพธท์ กุ ขน้ั ตอน ดงั น้ี

2.1) วัตถุประสงค์ ใช้แบบสอบถามความพึงพอใจต่อการพัฒนารูปแบบบริหารงาน
วิชาการ ประเมินผลความพึงพอใจกล่มุ ตวั อยา่ ง

2.2) เปา้ หมาย ใช้แบบสอบถามความพึงพอใจต่อการพฒั นารปู แบบบรหิ ารงานวิชาการ
2.3) วิธีดาเนินการ ใช้แบบสอบถามความพึงพอใจต่อการพัฒนารูปแบบบริหารงาน
วิชาการ ซึ่งมีหัวข้อประเมินเดียวกับแบบสอบถามการศึกษาองค์ประกอบรูปแบบการบริหารงาน
วิชาการที่ผ่านการตรวจโดยผู้เช่ียวชาญในขั้นตอนท่ี 3 ซ่ึงผู้วิจัยจะดาเนินการประเมินผลว่าคณะครู มี
ความพงึ พอใจอยู่ในระดบั ใด มีปัญหา อุปสรรคและข้อเสนอแนะ
2.4) ผลลัพธ์ ได้ผลการดาเนินการใช้รูปแบบการบริหารงานวิชาการความพึงพอใจ
ปัญหาอุปสรรคและขอ้ เสนอแนะในการใชร้ ูปแบบการบริหารงานวชิ าการ
ส่วนที่ 3 เคร่ืองมือการดาเนินงาน เคร่ืองมือที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ แบบสอบถามความพึง
พอใจต่อการพฒั นารปู แบบบริหารงานวิชาการ ตามแนวทาง LKS SMART School Model

สถิติทใี่ ช้
1. สถติ ทิ ่ใี ชใ้ นการวิเคราะห์ขอ้ มูล ใชส้ ถติ ิ ดังน้ี
- คา่ คะแนนเฉล่ยี (Mean)
2. สถติ ทิ ใ่ี ชใ้ นการหาคณุ ภาพเคร่ืองมือ
- การตรวจสอบความเท่ียงตรงเชงิ เน้อื หา (Content validity) เป็นรายขอ้ ดว้ ยการหาค่า

ดัชนีความสอดคล้อง โดยการวิเคราะห์ค่า IOC (Item Objective Congruence) โดยใช้ค่าดัชนีความ
สอดคลอ้ ง (IOC) คะแนนท่นี ามาวิเคราะห์ เป็นคะแนนทไี่ ด้จากความคดิ เห็นของผเู้ ชี่ยวชาญ

234

สรปุ และอภปิ รายผลการวจิ ยั
1. ผลการพัฒนารูปแบบบริหารงานวิชาการ ตามแนวทาง LKS SMART School Model โดย

ใช้การจัดการความรู้ พบว่า การพัฒนานกั เรียนดว้ ยกิจกรรมหรือโครงการท่ีสอดคล้องกับความสามารถ
หรือความสนใจของผ้เู รียน มคี า่ เฉลยี่ ในระดบั สูงสดุ คือ 4.73 การแปลผลอยู่ในระดับดมี าก โดยรปู แบบ
บริหารงานวิชาการ ตามแนวทาง LKS SMART School Model โดยใช้การจัดการความรู้ กลุ่มสาระ
การเรียนรู้คณติ ศาสตร์ โรงเรยี นลาปางกลั ยาณี ได้รับการพัฒนา เปน็ ดังนี้
รปู แบบของ LKS SMART School Model กลุ่มสาระการเรยี นรูค้ ณติ ศาสตร์ โรงเรียนลาปางกัลยาณี

S : Good System (ระบบดี) M : Morality
- บรหิ ารจัดการโครงสร้างกลมุ่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ให้มปี ระสิทธิภาพ (มีคณุ ธรรมจริยธรรม)
อยา่ งตอ่ เน่ือง - ค รู ไ ด้ รั บ ร า ง วั ล ค รู ต้ น แ บ บ
- การจัดทาหลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ การจัดทาแผนปฏิบัติงานกลุ่มสาระ ระดับประเทศ /รางวัลด้านคุณธรรม
การเรียนรู้ การรายงานเพื่อสรุปกิจกรรม ตลอดจนการจัดทาข้อมูลนาเพ่ือ เชิงวิชาการระดับตา่ งๆ
เผยแพรต่ อ่ สาธารณะอย่างมคี ุณภาพ - ครูกลุ่มสาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์
- การบริหารจดั การช้ันเรียนที่มีคุณภาพ โดยใชร้ ปู แบบการสอนโครงงานเป็นฐาน และนักเรียนท่ีได้รับการพัฒนาทักษะ
ตามแนว PBL วชิ าการคณติ ศาสตร์ เป็นผมู้ ีคุณธรรม
- การจัดการสอนเสริม O-NET โอลิมปิกวิชาการ คณิตศาสตร์ (นานาชาติ) สพฐ. จริยธรรม รวมถึงการน้อมนา/บูรณา
TEDET PAT1 วิชาสามัญและงานศิลปหัตถกรรมฯ เพื่อพัฒนาด้านองค์ความรู้ ก า ร ห ลั ก ป รั ช ญ า ข อ ง เ ศ ร ษ ฐ กิ จ
ทกั ษะและและเจตคตนิ ักเรียน พอเพยี งมาใช้ในการดาเนินชีวติ ควบคู่
- การประชุมกลุ่มสาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ โดยใช้กระบวนการ PLC และสติ กับการพัฒนาด้านวิชาการ โดย
สร้างสุข กิจกรรมหรือรางวัลที่เกี่ยวข้องกับ
- การบรู ณาการ STEM และการศกึ ษาบริบทปญั หาสภาพจริง การตั้งคาถาม การ คุณธรรม จริยธรรมของครูและ
ค้นคว้างานวิจัย การทดลอง การเขียนโครงงาน และศึกษาแนวทางหลักปรัชญา นักเรียน เป็นหลักฐานท่ีสามารถ
ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง อ้างอิงได้ถงึ ความสาเร็จ
- การสรา้ งนักเรยี นตวั แทนประเทศไทยเพื่อแข่งขันโอลิมปิกวิชาการคณิตศาสตร์
ระดบั นานาชาติ
- มีการบริการด้านวิชาการแก่นักเรียนและสังคม และมีการบูรณาการเพ่ือการ

LKS SMART School Model กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนลาปางกัลยาณี

A : ASEAN Community R : Responsibility T : Technology
(พร้อมสปู่ ระชาคมอาเซยี น) (มคี วามรับผดิ ชอบ) (ใช้เทคโนโลย)ี
- ให้ความร่วมมอื ในการจัดต้งั ห้องเรียน - ครูรับผิดชอบต่อการจัดกิจกรรมการ - การสร้างโครงงานส่ิงประดิษฐ์และ
โครงการ MEP กับกล่มุ สาระการเรยี นรู้ เรียนรู้อย่างเต็มศักยภาพ กรณีท่ีครูไป โครงงานแข่งขันในงานศิลปหัตถกรรม
ภาษาตา่ งประเทศ ท่ี 1 (จดั กิจกรรมการ ราชการหรือมีการลาน้ันจะมีการ ฯ
เรียนรวู้ ชิ าคณิตศาสตร์เป็น จัดการสอนแทน - มีการใช้โปรแกรมเพื่อพัฒนาการ
ภาษาอังกฤษ) - มีการนิเทศชั้นเรียน เพ่ือแลกเปล่ียน แ ข่ งขั นแ ละกา รเรี ยนรู้ GSP /
- ครูได้รับการพัฒนาการสอนวิชา เรียนรแู้ ละประเมินการจัดกจิ กรรมการ GEOGEBRA
คณิตศาสตร์โดยใช้ภาษาอังกฤษและ เรยี นรู้ - ครูและนักเรียนใช้โปรแกรม ข้อสอบ
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพ่ือพัฒนา - มปี ระเมนิ ผลการปฏิบตั งิ านรายปี ของ TEDET (สสวท.)
ทักษะผู้เรียนในศตวรรษท่ี 21 เพื่อ - ครูเข้ารับการประเมินวิทยฐานะเพ่ือ - นักเรียนไดร้ ับการพัฒนาพื้นฐานการ
รองรับการเขา้ สู่ประชาคมอาเซียน พัฒนาตนเอง คานวณโดยใช้โปรแกรมเลขจานวนเตม็
- ครูเป็นกรรมการการตัดสินการ - ครูใช้โปรแกรมคิดเลขเร็ว ฝึก
- มี การนาเสนอผลงานนักเรี ยน แขง่ ขัน กระบวนการคดิ แกผ่ ้เู รยี น
คณิตศาสตร์บูรณาการทกั ษะด้านการใช้ - นักเรยี นรบั ผดิ ชอบต่อฝกึ ซอ้ มแขง่ ขัน - การใช้เครอ่ื งคานวณของนักเรยี น
ภาษาเพ่อื การสือ่ สารสูอ่ าเซียน - นักเรยี นมวี นิ ัย มีความตรงตอ่ เวลา ห้องเรยี นพเิ ศษ

แผนภาพที่ 1.3 รปู แบบของ LKS SMART School Model กล่มุ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
โรงเรยี นลาปางกลั ยาณี

235

2. นักเรียน ผู้ปกครอง ผู้บริหารและคณะครู มีความพึงพอใจต่อการพัฒนารูปแบบบริหารงาน

วิชาการ ตามแนวทาง LKS Smart School Model โดยใช้การจัดการความรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้

คณิตศาสตร์ โรงเรียนลาปางกัลยาณี โดยพบว่า ผลสัมฤทธ์ิของการพัฒนาคุณภาพนักเรียน มีค่าเฉล่ีย

สูงสุด คอื 4.78 การแปลผลอยใู่ นระดับดมี าก ดงั นี้

ตาราง ค่าเฉล่ียการประเมินความพึงพอใจผลสัมฤทธ์ขิ องการพฒั นาคุณภาพนักเรียน

กล่มุ ที่ กลุ่มผู้ประเมินความพึงพอใจ ผลสมั ฤทธ์ขิ องการพฒั นาคุณภาพ ค่าเฉลีย่

นกั เรียน

1 นักเรยี น 4.73

2 ผปู้ กครอง 4.81

3 ผบู้ รหิ ารโรงเรียนลาปางกลั ยาณี 4.63

4 คณะครูโรงเรียนลาปางกัลยาณี 4.58

รวม 4.78

ระดับการแปลผล ดมี าก

ตารางแสดงคา่ เฉล่ียการประเมนิ ความพงึ พอใจผลสมั ฤทธิข์ องการพฒั นาคุณภาพนักเรียน

ขอ้ เสนอแนะ
นอกจากการพัฒนารูปแบบบรหิ ารงานวชิ าการของกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์แล้ว ในการ

วิจัยคร้ังต่อไป ควรมีการศึกษารายละเอียดของการพัฒนาคุณภาพช้ันเรียนคณิตศาสตร์ ซ่ึงอาจเลือก
กลุ่มตัวอย่างทดลองจานวน 1 ห้องเรียน เพ่ือสะท้อนผลคุณภาพการจัดการศึกษาท่ีมุ่งสู่การพัฒนา
เจาะลึกทตี่ ัวของนักเรยี น

แหล่งอ้างองิ
ธีรวุฒิ เอกะกุล. (2543). ระเบียบวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์. อุบลราชธานี. สถาบัน

ราชภฏั อุบลราชธานี
บรรเจิด สระปัญญา. (2560). การประชมุ ดา้ นคณติ ศาสตรศึกษา ครัง้ ที่ 3. เอกสารประกอบการประชุม

สมาคมคณิตศาสตรศกึ ษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม่.
บุญชม ศรสี ะอาด. (2545). การวิจยั เบื้องต้น. (พิมพค์ ร้ังท่ี 7) . กรงุ เทพฯ : สุวรี ิยาสาสน.์
พรี ะพล ศริ วิ งศ.์ (2525). การศกึ ษาเปรยี บเทียบความสามารถในการสรุปคลอบคลมุ ผลสมั ฤทธ์ิทางการ

เรียนและความคงทนในการจาเร่ืองรูปเรขาคณิตของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 3 จากการ
ทส่ี อนใหต้ ัวอยา่ งแตกต่างกนั สองแบบ. ปริญญานิพนธก์ ารศึกษามหาบัณฑิต บัณฑติ วทิ ยาลัย
มหาวทิ ยาลยั ศรีนครนิ ทรวิโรฒประสานมิตร.
วัลลภา อารีรัตน์. (2528). สอนให้ค้นพบความคิดรวบยอดทางคณิตศาสตร์ได้อย่างไร. วารสารคณะ
ศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยขอนแกน่ . 9(1) : 57 – 79.
สิริพร ทิพย์คง. (2533). ทฤษฎีและการสอนวิชาคณิตศาสตร์. กรุงเทพฯ: ภาควิชาการศึกษาคณะ
ศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร.์ เอกสารอัดสาเนา.

236

อิทธพิ ลของเชาวน์อารมณท์ สี่ ่งผลต่อความคดิ สร้างสรรคข์ องพระสงั ฆาธกิ าร

THE INFLUENCE OF EMOTIONAL QUOTIENT (EQ) AFFECTING TO INDIVIDUAL
CREATIVITY OF SAGHA ADMINISTRATIVE MONKS

ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.เฉลิมชัย กติ ตศิ ักดนิ์ าวิน
อาจารย์ ดร.โกสินทร์ เตชะนยิ ม

สาขาวชิ ารัฐประศาสนศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากรวิทยาเขตสารสนเทศเพชรบรุ ี
อาจารย์ ดร.พทิ กั ษ์ ปกั ษานนท์

ผู้ทรงคุณวุฒิ มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ วิทยาเขตเฉลิมพระเกยี รตสิ กลนคร

บทคดั ย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ความสัมพันธ์ระหว่างเชาวน์อารมณ์กับความคิด

สร้างสรรค์ของพระสังฆาธิการ (2) เชาวน์อารมณ์ท่ีมีอิทธิพลต่อความคิดสร้างสรรค์ของพระสังฆาธกิ าร
การวิจัยนี้ใช้วธิ ีการวิจัยเชิงปริมาณรปู แบบการสารวจทีม่ ีแบบประเมนิ ที่ผ่านการตรวจสอบคุณภาพว่า มี
ความเทย่ี งตรงและความเชื่อถือไดเ้ ป็นเคร่ืองมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลตัวอย่างโดยวธิ กี ารสมุ่ ตวั อย่าง
แบบง่าย จากประชากรคือ พระสังฆาธิการ ระดับเจ้าคณะตาบลและระดับเจ้าอาวาสที่เข้ารอบรม
หลักสูตรพระสังฆาธิการ ระดบั เจา้ คณะตาบลและระดับเจา้ อาวาสของมหาเถรสมาคม จดั โดยสานกั งาน
พระพุทธศาสนาแห่งชาติ จานวน 255 รูปผู้วิจัยกาหนดขนาดของตัวอย่างตามการคานวณของ
Yamane ซ่ึงกาหนดขนาดของตัวอย่างไม่น้อยกว่า 155 คน ณ ค่าความคลาดเคล่ือน 5% ที่ระดับ
ความเชอื่ ม่นั 95% ผ้วู ิจยั เกบ็ ตัวอย่างเพ่มิ ขน้ึ เพื่อประโยชน์ในการวิจัยและการวิเคราะห์ข้อมลู ตัวอย่าง
ของการวิจัยน้ี จานวน 247 คน สาหรับการวิเคราะห์เชิงพรรณนา คือ ค่าความถ่ี ค่าร้อยละ ค่าเฉล่ีย
และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์เชิงอนุมานคือ การวเิ คราะหส์ หสัมพันธ์เพียร์สนั และการ
วิเคราะห์การถดถอยพหุแบบมีข้นั ตอน

ผลการวิจัยพบว่า (1) ความคิดสร้างสรรค์ของบุคคลมีความสัมพันธ์เชิงบวกหรือแปรผันตาม
กับเชาวน์อารมณ์ (EQ) (2) ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความคิดสร้างสรรค์ของบุคคลคือ เชาวน์อารมณ์
โดยรวม (TEQ)และเชาวน์อารมณด์ ้านความสัมพนั ธ์กบั ผูอ้ ืน่ (EQ5)

คาสาคญั
ความคดิ สรา้ งสรรค์ของบุคคล, เชาวน์อารมณ,์ พระสังฆาธิการ

Abstract
The objective of this research was to investigate (1) the relationships between

Emotional Quotient (EQ), and individual creativity. (2) how the EQ effects the creativity of
Sagha administrative monks. This research employed a Quantitative Research method to
evaluate the survey tool and examine its validity and reliability as an instrument for data
collection. The survey population was comprised of 255 Sagha administrative monks. The
researcher determined the size of sample group according to the Yamane’s calculation
which determined that the sample size should not be less than 155 persons to ensure an

237

error value of 5%, and reliability of 95%. The researcher increased the samples size to 247
persons to increase the benefits of the research and data analysis. The descriptive analyses
included Frequency, Percentage, Mean, and Standard Deviation. The analysis by Inferential
Statistics included Pearson’s correlation, and stepwise multiple regression analysis.

Findings are as follows: (1) with respect to individual creativity, the researcher found
that it was positively correlated with the emotional Quotient (EQ). (2) Factor influencing
individual creativity were the total Emotional Quotient (EQ) and handling of relationships
(EQ5).

Keywords: Individual Creativity, Emotional Quotient (EQ), Sagha administrative monks

บทนา
ความคิดสร้างสรรค์และนวัตกรรมเป็นปัจจัยสาคัญที่ส่งผลต่อความสาเร็จขององค์การ (Kanter,

1983; Utterback, 1994; Amabile et al., 1996; Cummings and Oldham, 1997; Tushman and
O’Reilly, 1997; Tierney, Farmer and Graen, 1999; Andriopoulos and Lowe, 2000)

ทาให้ทุกบริบทของสังคมล้วนแต่กล่าวถึงความคิดสร้างสรรค์เพราะการสร้างสรรค์นวัตกรรม
ขององค์การเริ่มต้นจากความคิดสร้างสรรค์ของบุคคล (Trompenaars and Hampden-Turner,
2010, 11) ประกอบกับในช่วงท่ีผ่านมามีผู้คนมากมายถึงความสาคัญของเชาวน์อารมณ์ (Emotional
Quotient - EQ) ที่เป็นปัจจัยสาคัญของความสาเร็จของบุคคล องค์การและสังคม (วีระวัฒน์ ปันนิตา
มัย, 2551) จากการทบทวนวรรณกรรมแสดงให้เห็นว่าเชาวน์อารมณ์ (EQ) มีความสัมพันธ์และมี
อิทธิพลต่อความคิดสร้างสรรค์ (เฉลิมชัย กิตติศักด์ินาวิน, 2554ข; 2554ค; ดวงกมล เปี่ยมศุภทรัพย์
และเฉลมิ ชยั กติ ติศกั ด์ินาวนิ , 2555)

พระพุทธศาสนาเผยแผ่สู่สังคมไทยมายาวนานจนเป็นรากฐานทางวัฒนธรรมของชาวไทยพทุ ธ
รวมท้ังปัจจุบันสังคมไทยมีความเปล่ียนแปลงอย่างมากมายทาให้วิถีชีวิตคนไทยห่างจากวัดและศาสนา
ปัญหาต่างๆ ในสังคมเพ่ิมมากขึ้น ทาให้พระสังฆาธิการคือพระสงฆ์ผู้ปกครองวัดมีหน้าท่ีสาคัญในการ
บริหารปกครองวัดและจักอย่างไรให้วิถีชีวิตคนไทยกลับมาใกล้ชิดกับวัดและศาสนาดังอดีตเพ่ือจะเป็น
กลไกหน่ึงในการพัฒนาและแก้ไขปัญหาต่างๆ ของสังคม ความคิดสร้างสรรค์และเชาวน์อารมณ์ (EQ)
ของพระสังฆาธิการจึงน่าจะเป็นกุญแจสาคัญดอกหน่ึง ผู้วิจัยจึงมีความถามว่าเชาวน์อารมณ์มี
ความสัมพันธ์และมีอิทธิพลต่อกับความคิดสร้างสรรค์ของพระสังฆาธกิ ารหรอื ไม่ อย่างไร เพราะความรู้
ดังกล่าวจะเป็นประโยชน์อย่างยิ่งต่อการพัฒนาและการสง่ เสริมความคิดสร้างสรรค์ของพระสังฆาธิการ
ซึง่ จะเป็นกญุ แจสาคัญสาหรับการพัฒนาและแกไ้ ขปญั หาตา่ งๆ ดงั กล่าวขา้ งตน้

วตั ถุประสงคข์ องการวิจัย
1. เพ่อื ศึกษาความสมั พันธ์ระหว่างเชาวน์อารมณ์กบั ความคิดสรา้ งสรรคข์ องพระสงั ฆาธิการ
2. เพ่อื ศึกษาเชาวน์อารมณ์ท่ีมอี ทิ ธิพลตอ่ ความคดิ สร้างสรรค์ของพระสงั ฆาธกิ าร

238

ความคิดสรา้ งสรรค์ของบุคคล(individual creativity)
ความคดิ สร้างสรรค์และนวัตกรรม มีผู้ใช้อยา่ งแพร่หลาย แมว้ า่ ทั้งสองคามีการใชส้ ลับกันไปมา

หรือใช้ในความหมายเดียวกันก็ตาม แต่มโนทัศน์ของความคิดสร้างสรรค์มีความโดดเด่นและชัดเจน
แตกต่างจากแนวความคิดของนวัตกรรม(innovation) โดยท่ีความคิดสรา้ งสรรค์เป็นกระบวนการระดับ
บุคคลหรือทีมในขณะที่นวัตกรรมคือ กระบวนการระดับองค์การเป็นความสาเร็จของการนาความคิด
สร้างสรรค์ไปปฏิบัติ (Amabile, 1983; Stein, 1974; Woodman et al., 1993) ความคิดสร้างสรรค์
(Creativity) มีผู้นิยามความหมายไว้แตกต่างหลากหลาย Guilford (1980) อธิบายว่า ความคิด
สร้างสรรค์เป็นรูปแบบของความคิดของมนุษย์ที่หลากหลาย กล่าวคือ บุคคลสามารถคิดเรื่องใดเรื่อง
หน่ึงได้หลากหลายมุมมอง หลายประเด็น ขยายออกไปอย่างไม่มีที่ส้ินสุดเป็นความคิดเชิงบวก เช่น
การคิดค้นส่ิงประดิษฐ์ใหม่ เป็นต้น ซ่ึงความคิดเหล่านี้เป็นทักษะขั้นสูงและกระบวนการทางานอย่าง
เป็นขั้นตอนของสมองประกอบด้วย การคิดรเิ ริ่ม การคิดเรว็ (คดิ อย่างคล่องแคลว่ ) การคดิ อย่างยืดหยุ่น
และการคิดอย่างรอบคอบ ผู้ท่ีมีความคิดสร้างสรรค์สามารถค้นหาความคิดใหม่จากข้อมูลที่มีเดิมและ
เช่ือมโยงข้อมูลเหล่าน้ัน ส่วน Kirton (1994) อธิบายว่าความคิดสร้างสรรค์เป็นพัฒนาการของบุคคล
ต้ังแต่ในวัยเด็กภายใต้สภาพแวดล้อมพัฒนาจนกลายเป็นบุคลิกภาพ Amabile (1999, 3-7) กล่าวว่า
ความคิดสร้างสรรค์ของบุคคลประกอบด้วยองค์ประกอบ 3 ประการประกอบด้วยองค์ประกอบแรกคือ
ความเชี่ยวชาญ (expertise) เป็นความรู้ทั้งด้านเทคนิคและการปฏิบัติหรือกระบวนการ รวมทั้ง
ความสามารถทางสติปัญญาหรือความฉลาดของบุคคลองค์ประกอบที่สองคือทักษะการคิดเชิง
สร้างสรรค์ (creative thinking skills) เป็นทักษะของบุคคลต่อการแก้ปัญหาต่างๆอย่างยืดหยุ่นและมี
จินตนาการ องค์ประกอบสุดท้ายคือแรงจูงใจ (motivation) หากพิจารณานิยามในมิติขององค์การ
ความคดิ สร้างสรรค์เป็นกระบวนการของส่ิงแปลกใหม่หรือความคดิ ท่ีมีประโยชนแ์ ละเหมาะสมเพื่อที่จะ
ใช้ในการแก้ไขปัญหาและเพ่ิมประสิทธผิ ล ความคิดสร้างสรรค์ของบุคคล(individual creativity) เป็น
ปัจจัยสาคัญในการสร้างสรรค์นวัตกรรมเพ่ือความสาเร็จขององค์การ (Amabile et al., 1996;
Andriopoulos and Lowe, 2000; Cummings and Oldham, 1997; Tierney, Farmer and Graen,
1999; Kanter, 1983; Tushman and O’Reilly, 1997; Utterback, 1994)

เชาวน์อารมณ์ (Emotional Quotient - EQ)
เชาวน์อารมณ์ (Emotional Quotient - EQ) หมายถึง ความสามารถในการบริหารจัดการ

อารมณ์ของตนและผู้อื่นๆได้อย่างชาญฉลาดโดยเรม่ิ จากความตระหนักรู้จักอารมณ์ของตนเองและของ
ผู้อื่น การสร้างแรงจูงใจที่ดีให้กับตนเอง แสดงความเข้าใจเอ้ืออาทรต่อผู้อื่นและทักษะทางสังคมท่ี
ถูกต้องเหมาะสมกับกาลเทศะ (วีระวัฒน์ ปันนัตามัย, 2546, Goleman, 1998) วีระวัฒน์ ปันนิตามัย
(2552) อธิบายลักษณะของเชาวน์อารมณ์ (EQ) ว่าเป็นผลร่วมจากปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับ
สิง่ แวดล้อมและวฒั นธรรม เก่ียวขอ้ งกับวุฒิอารมณ์ทเี่ จรญิ สมวยั และบุคลกิ ภาพ เรยี นร/ู้ ฝึกฝน/พฒั นา
ได้ สามารถประเมินไดแ้ ละมีหลายองค์ประกอบ โดย Goleman (1995) เสนอว่าเชาวนอ์ ารมณ์ (EQ)
มีองค์ประกอบ 5 ด้านคือ ด้านการตระหนักรู้อารมณ์ตนเอง (knowing one’s emotions) เป็นการ
รับรู้และเข้าใจอารมณ์ของตนเองในแต่ละช่วงเวลาหรือสถานการณ์ ด้านท่ีสองเป็นด้านการจัดการ
อารมณ์ตนเอง (managing one’s emotions) เป็นการจัดการอารมณ์ตนเองและสามารถควบคุม
อารมณ์ตนเองได้อย่างเหมาะสม ด้านถัดมาคือด้านการสร้างแรงจูงใจตนเอง (motivating oneself)

239

จูงใจและให้กาลังใจตนเองไปสู่เป้าหมาย อดทนรอต่อความสาเร็จ ด้านท่ีสี่เป็นด้านการตระหนักรู้
อารมณ์ของผู้อื่น (recogning emotions in others) การรับรู้ ความเข้าใจรู้สึกและความต้องการของ
ผู้อ่ืน และสุดท้ายเป็นด้านความสัมพันธ์กับผู้อื่น (handling relationships) เป็นการสร้างและรักษา
ความสมั พนั ธ์กบั ผอู้ นื่ หรือทักษะทางสังคม

Cooper and Sawaf (1997) เสนอว่าองค์ประกอบหนึ่งของเชาวน์อารม ณ์ (EQ) คือ
องค์ประกอบด้านความผนั ผวนทางอารมณ์เป็นองคป์ ระกอบที่ใชเ้ พ่ือการสร้างความคดิ สรา้ งสรรค์ ส่วน
Goleman (1995) เสนอว่า องค์ประกอบหนึ่งของเชาวน์อารมณ์ (EQ) คือด้านการสร้างแรงจูงใจของ
ตนเองเป็นองค์ประกอบท่ีก่อให้เกิดความคิดและการกระทาอย่างสร้างสรรค์ รวมท้ังผู้มีเชาวน์อารมณ์
(EQ) สูงสามารถขจัดความเครียดที่จะขัดขวางความคิดสร้างสรรค์ของบุคคลได้ (ทศพร ประเสริฐสุข,
2542) และผู้มีเชาวน์อารมณ์ (EQ) สูงจะเป็นผู้มีความคิดสร้างสรรค์ ( ผ่องพรรณ เกิดพิทักษ์, 2542)
จากการทบทวนวรรณกรรมแสดงใหเ้ หน็ ว่าเชาวน์อารมณ์ (EQ) มสี ่วนสาคัญตอ่ ความคิดสรา้ งสรรค์ของ
บุคคล (Goleman, 1995; Cooper and Sawaf, 1997; ทศพร ประเสริฐสุข, 2542; ผ่องพรรณ เกิด
พิทกั ษ,์ 2542) และงานวจิ ัยในบริบทของไทยพบวา่ เชาวนอ์ ารมณ์ (EQ) มคี วามสัมพนั ธเ์ ชิงแปรผนั ตาม
กับประสิทธิภาพภายในตนเองเชิงสร้างสรรค์และความคิดสร้างสรรค์ของบุคคล (เฉลิมชัย กิตติศักดิ์
นาวิน, 2554; ดวงกมล เป่ียมศุภทรัพย์ และเฉลิมชัย กิตติศักด์ินาวิน, 2555) รวมท้ัง เชาวน์อารมณ์
(EQ) มีอิทธิพลหรืออานาจพยากรณ์ประสิทธิภาพภายในตนเองเชิงสร้างสรรค์ (เฉลิมชัย กิตติศักด์ินาวิ,
2554) ประสิทธิภาพภายในตนเองเชิงสร้างสรรค์และเชาวน์อารมณ์ด้านความสัมพันธ์กับผู้อื่นหรือ
ทกั ษะทางสังคม (EQ5) มีอิทธพิ ลหรอื อานาจพยากรณ์ความคิดสรา้ งสรรค์ของบคุ คล(ดวงกมล เปีย่ มศภุ
ทรพั ย์และเฉลิมชัย กิตติศักด์นิ าวนิ , 2555)

จากการทบทวนวรรณกรรมดังกล่าวขา้ งตน้ ผู้วจิ ยั กาหนดกรอบแนวคิดในการวจิ ัย ดงั น้ี

เชาวนอ์ ารมณ(์ EQ) ความคิดสร้างสรรค์(IC)
- ด้านการตระหนักรู้อารมณ์ตนเอง(EQ1)
- ด้านการจดั การอารมณต์ นเอง(EQ2)
- ด้านการสรา้ งแรงจงู ใจของตนเอง(EQ3)
- ดา้ นการตระหนักรูอ้ ารมณ์ของผ้อู ื่น(EQ4)
- ด้านความสมั พันธก์ บั ผู้อน่ื (EQ5)

ภาพ 1: กรอบแนวคดิ ในการวิจยั
วธิ ดี าเนนิ การวจิ ัย

1. ประชากรและกลมุ่ ตวั อยา่ ง
ประชากรในการวิจัยครั้งน้ีคือ พระสังฆาธิการ ระดับเจ้าคณะตาบลและระดับเจ้าอาวาสที่เข้า

อบรมหลักสูตรพระสังฆาธิการ ระดับเจ้าคณะตาบลและระดับเจ้าอาวาสของมหาเถรสมาคม จัดโดย
สานักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ จานวน 247 รูปผู้วิจัยกาหนดขนาดของตัวอย่างตามการคานวณของ
Yamane ซึ่งกาหนดขนาดของตัวอย่างไม่น้อยกว่า 155 คน ณ ค่าความคลาดเคลื่อน 5% ที่ระดับความ
เชื่อมั่น 95% ผู้วิจัยเก็บตัวอย่างเพิ่มขึ้นเพื่อประโยชน์ในการวิจัยและการวิเคราะห์ข้อมูล ตัวอย่างของการ
วจิ ัยนี้ จานวน 247 คน ประกอบด้วย พระสงั ฆาธิการระดับเจ้าคณะตาบล จานวน 99 คน (40.08%) และ

240

ระดับเจ้าอาวาส จานวน 148 รูป (59.92%) มีสังกัดมหานิกาย จานวน 186 รูป (75.30%) และสังกัด
ธรรมยตุ จานวน 61 รูป (24.70%)

2. เคร่อื งมอื ท่ีใชใ้ นการวจิ ยั
คือ แบบประเมนิ ที่ผ่านการตรวจสอบคุณภาพคอื ความเท่ียงตรงเชิงเนอ้ื หา( content validity)

และความเช่ือถอื ได้ (reliability) ประกอบด้วย แบบประเมนิ ความคิดสรา้ งสรรค์ของบุคคล มีข้อคาถาม
จานวน 5 ข้อ ใช้มาตรวัด 5 ระดับของลิเคิร์ท (5-point Likert scale) ผู้วิจัยปรับปรุงจาก
Houghtton & DiLeillo (2009) มีค่าความเช่ือถือได้เท่ากับ 0.891 (standardized alpha = .892)
แบบประเมินเชาวนอ์ ารมณ์(EQ) ของผู้ช่วยศาสตรจารย์ ธีระศักด์ิ กาบรรณรักษ์ ข้อคาถามจานวน 40
ข้อมีค่าความเชือ่ ถือไดเ้ ทา่ กับ 0.908 (standardized alpha = .920)

3. การวเิ คราะห์ขอ้ มลู
ประกอบด้วยการวิเคราะห์เชิงพรรณนา คือ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบน

มาตรฐาน และการวิเคราะห์เชิงอนุมานคือ การวิเคราะห์สหสัมพันธ์เพียร์สันและการวิเคราะห์การ
ถดถอยพหแุ บบมขี ั้นตอน

สรุปผลการวจิ ัย
ผู้วิจัยวิเคราะห์ข้อมูลเบ้ืองต้น พบว่า ความคิดสร้างสรรค์ของบุคคลอยู่ในระดับสูง (mean =

4.02, SD = 0.63) และเชาวนอ์ ารมณ์ (EQ) อยใู่ นระดับสงู (mean = 2.59, SD = 0.24) ประกอบด้วย
เชาวน์อารมณ์ด้านการตระหนักรู้อารมณ์ตนเอง (EQ1) อยู่ในระดับปานกลาง (mean = 2.31, SD =
0.44) เชาวนอ์ ารมณ์ด้านการจดั การอารมณ์ตนเอง (EQ2) อยูใ่ นระดบั สงู (mean = 2.64, SD = 0.28)
เชาวน์อารมณ์ด้านการสร้างแรงจูงใจของตนเอง (EQ3) อยู่ในระดับสูง (mean = 2.84, SD = 0.22)
เชาวน์อารมณ์ด้านการตระหนักรู้อารมณ์ของผู้อ่ืน (EQ4) อยู่ในระดับสูง (mean = 2.63, SD = 0.31)
และเชาวนอ์ ารมณด์ ้านความสัมพันธ์กับผอู้ ่ืน (EQ5) อยู่ในระดบั สงู (mean = 2.58, SD = 0.32)

ผู้วิจัยศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรต่างๆ พบว่า ความคิดสร้างสรรค์ของบุคคลมี
ความสมั พนั ธ์แปรผนั ตามอยา่ งมนี ัยสาคัญทางสถิตทิ ่รี ะดับ .001 กบั เชาวน์อารมณ์ (EQ) เชาวน์อารมณ์
ด้านการตระหนักรู้อารมณ์ตนเอง (EQ1) เชาวน์อารมณ์ด้านการจัดการอารมณ์ตนเอง (EQ2) เชาวน์
อารมณ์ด้านการสร้างแรงจูงใจของตนเอง (EQ3) เชาวน์อารมณ์ด้านการตระหนักรู้อารมณ์ของผู้อื่น
(EQ4) และเชาวนอ์ ารมณ์ดา้ นความสัมพนั ธก์ บั ผู้อ่นื (EQ5) มคี า่ สมั ประสิทธ์ิสหสัมพนั ธ์ (r) เทา่ กับ .273
.414 .362 .275 .449 และ .469 ตามลาดบั (ดงั ตารางท่ี 1)
ตาราง 1: ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งตัวแปรต่าง ๆ
ตวั แปร M SD EQ1 EQ2 EQ3 EQ4 EQ5 EQ
EQ1 2.3097 .43562
EQ2 2.6430 .27836 .382***
EQ3 2.8367 .22414 .285*** .589***
EQ4 2.6290 .30682 .439*** .537*** .440***
EQ5 2.5821 .32357 .229*** .602*** .616*** .419***
EQ 2.5903 .23617 .700*** .825*** .704*** .757*** .733***
IC 4.0178 .62992 .273*** .414*** .362*** .275*** .449*** .469***
***มนี ัยสาคญั ทางสถิติที่ระดับ .001

241

ตารางที่ 2: การวเิ คราะห์ถดถอยพหแุ บบขน้ั ตอนของปจั จยั ทม่ี ีอิทธิพลต่อความคดิ สร้างสรรค์ของบุคคล

ตวั แปร B Beta t R2 change

ค่าคงท่ี .800 2.065*

เชาวน์อารมณ์โดยรวม(EQ) .805 (1) .303 3.676*** .220

เชาวน์อารมณ์ด้านความสัมพันธ์กับ .439 (2) .227 2.751** .024

ผู้อ่ืน(EQ5)

MultipleR=.494 R2=.244 Adj. R2=.238 F=38.854***

***มีนยั สาคัญทางสถติ ิทร่ี ะดบั .001 **มีนัยสาคญั ทางสถิตทิ ี่ระดับ .01 *มนี ยั สาคัญทางสถติ ิท่ีระดับ .05

การศึกษาเชาวน์อารมณ์ท่ีมีอิทธิพลต่อความคิดสร้างสรรค์ของพระสังฆาธิการ โดยวิเคราะห์
เชาวน์อารมณ์ (EQ) โดยรวมและด้านต่างๆ ที่มีอิทธิพลต่อความคิดสร้างสรรค์ของบุคคล ก่อนการ
วิเคราะห์ปัจจัยท่ีมีอิทธิพลต่อความคิดสร้างสรรค์ ผู้วิจัยตรวจสอบความเป็นอิสระต่อกันของค่าความ
คลาดเคล่ือนโดยใช้สถิติทดสอบ Durbin-Watson มีค่าเท่ากับ 1.859 มีค่าระหว่าง 1.5 – 2.5 ถือว่าใช้ได้
กล่าวคือค่าความคลาดเคลื่อนมีอิสระต่อกัน (กัลยา วาณิขย์บัญชา, 2546, : 340-341) และตรวจสอบ
ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรอสิ ระว่าเกิด multi collinearity หรือไม่ โดยพจิ ารณาค่า tolerance และค่า
VIF (Variance Inflation Factor) ของตัวแปร พบว่า มีค่า tolerance เท่ากับ .462 มีค่าไม่ใกล้ศูนย์และ
ค่า VIF เท่ากับ 2.164 มีค่าไม่มาก แสดงว่าตัวแปรอิสระทุกตัวเป็นอิสระต่อกัน (กัลยา วาณิขย์บัญชา,
2546, : 377-378) ผลการวิเคราะห์พบว่า เชาวน์อารมณ์โดยรวม (EQ) และเชาวน์อารมณ์ด้าน
ความสัมพันธ์กับผู้อื่น (EQ5) มีอิทธิพลต่อความคิดสร้างสรรค์ของบุคคล (ดังตารางท่ี 2) สามารถอธิบาย
ความผันแปรหรือมอี านาจพยากรณ์หรือมีอิทธิพลต่อความคิดสร้างสรรค์ของบุคคลได้ถึงร้อยละ 24.4 หรือ
มีค่าR2เท่ากับ .244 อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .001 สามารถแสดงสมการการพยากรณ์ความคิด
สรา้ งสรรค์ของบุคคลไดด้ ังน้ี

ความคดิ สร้างสรรค์ของบุคคล = .800 +.805 (เชาวนอ์ ารมณ์โดยรวม_EQ)
+.439 (เชาวน์อารมณ์ด้านความสัมพันธ์กับผู้อื่น_EQ5)

อภิปรายผลการวจิ ัย
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพ่ือตรวจสอบความสัมพันธ์ระหว่างความคิดสร้างสรรค์ของบุคคลกับ

เชาวน์อารมณ์ (EQ) ผลการวิจัยน้ีแสดงข้อมูลยืนยันว่า ความสัมพันธ์ระหว่างความคิดสร้างสรรค์ของ
บุคคลกับเชาวน์อารมณ์ (EQ) มีความสัมพันธ์เชิงแปรผันตามระหว่างกันซึ่งสอดคล้องกับแนวคิดและ
งานวิจัยท่ีผ่านมา(Goleman, 1995; Cooper and Sawaf, 1997; ทศพร ประเสริฐสุข, 2542; ผ่องพรรณ
เกิดพิทกั ษ,์ 2542; เฉลมิ ชัย กติ ตศิ กั ดน์ิ าวิน, 2554ข; 2554ค; ดวงกมล เปยี่ มศภุ ทรพั ยแ์ ละเฉลมิ ชัย กติ ติ
ศักด์ินาวิน, 2555)

สาหรับวัตถุประสงค์ที่สองต้องการตรวจสอบว่า เชาวน์อารมณ์ (EQ) มีอิทธิพลต่อความคิด
สร้างสรรค์ของบุคลากร ผลการวิจัยพบว่า เชาวน์อารมณ์โดยรวม (EQ) และเชาวน์อารมณ์ด้าน
ความสัมพนั ธก์ บั ผู้อน่ื (EQ5) มีอิทธพิ ลตอ่ ความคิดสรา้ งสรรค์ของบุคคล สอดคลอ้ งกบั แนวคิดและงานวิจัย
ท่ีผ่านมาว่าว่า เชาวน์อารมณ์ (EQ) โดยรวมมีอิทธิพลหรืออานาจพยากรณ์ความคิดสร้างสรรค์ของบุคคล

242

(ทศพร ประเสริฐสขุ , 2542; ผ่องพรรณ เกดิ พทิ ักษ,์ 2542; เฉลิมชยั กิตติศักดน์ิ าวิน, 2554ข) และงานวิจัย
ของดวงกมล เปี่ยมศุภทรัพย์และเฉลิมชัย กิตติศักดิ์นาวิน (2555) ที่เก็บข้อมูลจากบุคลากรการท่องเท่ียว
แห่งประเทศไทย เชาวน์อารมณ์ด้านความสัมพันธ์กับผู้อื่นหรือทักษะทางสังคม (EQ5) มีอิทธิพลหรือ
อานาจพยากรณ์ความคิดสร้างสรรค์ของบุคคล และสอดคล้องกับแนวคิดของ Goleman (1995) เสนอว่า
องคป์ ระกอบหน่ึงของเชาวน์อารมณด์ ้านการสรา้ งแรงจูงใจของตนเอง (EQ3) เปน็ องค์ประกอบท่กี ่อให้เกิด
ความคิดและการกระทาอย่างสร้างสรรค์และงานวิจัยของเฉลิมชัย กิตติศักดิ์นาวิน (2556) เก็บขอ้ มูลจาก
บคุ ลากรโรงพยาบาลสงฆ์ พบวา่ เชาวน์อารมณด์ ้านการจัดการอารมณ์ตนเอง (EQ2) มีอทิ ธิพลหรืออานาจ
พยากรณ์ความคิดสร้างสรรค์ของบุคคล ซ่ึงแนวคิดและผลงานวิจัยดังกล่าวยืนยันว่า เชาวน์อารมณ์ด้าน
ตา่ งๆท่เี ป็นองค์ประกอบหน่ึงของเชาวน์อารมณโ์ ดยรวมมีอิทธิพลหรืออานาจพยากรณ์ความคิดสร้างสรรค์
ของบคุ คลนัน่ เอง

ข้อเสนอแนะ
ผลการวิจัยนี้แสดงข้อมูลยืนยันว่า ความสัมพันธ์เชิงแปรผันตามระหว่างความคิดสร้างสรรค์ของ

บุคคลกับเชาวน์อารมณ์ (EQ) ผลการวิจัยยังแสดงว่าเชาวน์อารมณ์โดยรวม (EQ) และเชาวน์อารมณ์ด้าน
ความสัมพนั ธ์กับผู้อื่น (EQ5) มอี ทิ ธิพลตอ่ ความคิดสร้างสรรค์ของพระสงั ฆาธกิ ารสอดคล้องกบั แนวคิดและ
งานวิจยั ดงั กลา่ วข้างต้น ผลการวิจยั นเี้ ปน็ ขอ้ มูลสาคญั ทีผ่ ู้บรหิ ารองค์การ นกั บรหิ ารหรือพัฒนาทรัพยากร
มนุษย์และผู้เกี่ยวข้องที่ต้องการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ของบุคลากร พึงให้ความสาคัญต่อการพัฒนา
ปัจจัยต่างๆดังกล่าวแก่ทรัพยากรมนุษย์ภายในองค์การอันจักเป็นหนทางต่อการเสริมสร้างความคิด
สร้างสรรค์ของบุคลากรนาไปสู่ความสาเร็จขององค์การ กล่าวคือ องค์การหรือผู้บริหารหรือผู้เกี่ยวข้อง
มุ่งมั่นหรือให้ความสาคัญต่อการพัฒนาเชาวน์อารมณ์ (EQ) ทุกด้านแก่บุพระสังฆาธิการ ซึ่งจะส่งผล
ทางตรงต่อความคิดสร้างสรรค์นอกจากนี้การพัฒนาเชาวน์อารมณ์ (EQ) ยังส่งผลดีในมิติอ่ืนๆ แก่พระ
สังฆาธิการและองค์การ (สงฆ์ของไทย)ด้วย (วีระวัฒน์ ปันนัตามัย, 2546 ; Cooper and Sawaf, 1997;
Goleman, 1998)

การขยายผลการวิ จั ยในคร้ั งต่ อไปน่ าจะศึ กษาวิ จั ยปั จจั ยหรื อตั วแปรอื่ นๆท่ี ส่ งผล ห รื อมี
ความสัมพันธ์กับความคิดสร้างสรรค์ของบุคคล เช่น เชาวน์ทางจิต บุคลิกภาพ ภาวะผู้นา วัฒนธรรม
องค์การ เป็นต้น หรือการศึกษาขยายประชากรให้ครอบคลุมองค์การสงฆ์ของไทยซึ่งจักเป็นประโยชน์ต่อ
การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์อันจะส่งผลดีต่อการเผยแผ่และทนุบารุงพุทธศาสนาให้คงอยู่ในวิถีชีวิตและ
เป็นเคร่อื งมือขดั เกลาบุคคลใหด้ ารงตนอยา่ งมคี ุณธรรมและจริยธรรมเพ่ือสงั คมทด่ี ีและเปน็ สุขนัน่ เอง

แหล่งอา้ งอิง
ทศพร ประเสริฐสุข. “ความเฉลียวฉลาดทางอารมณ์กับการศึกษา” วารสารพฤติกรรมศาสตร์. ปีท่ี 5

(2542), 19-35.
ธีระศักด์ิ กาบรรณรักษ์และทิพย์สุดา เมธีพลกุล.(2551).เชาวน์ในการแก้ปัญหา เชาวน์อารมณ์และ

บุคลิกภาพของนักธุรกิจเช้ือสายจีนในประเทศไทยและนักธุรกิจเชื้อสายจีนในประเทศจีน.
เอกสารวิจยั สถาบันเอเชยี ตะวันออกศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.์
ผ่องพรรณ เกดิ พทิ ักษ.์ “คุณลักษณท์ เ่ี กีย่ วข้องกับ EQ”. วารสารพฤติกรรมศาสตร์. ปีท่ี 5 (2542), 15-17.
วีระวัฒน์ ปันนิตามัย. (2546). การพัฒนาและการตรวจสอบคุณภาพของแบบประเมินเชาวน์อารมณ์เพ่ือ
การประเมนิ บุคคล. เอกสารวิจัยคณะรฐั ประศาสนศาสตร์ สถาบันบณั ฑติ พฒั นบริหารศาสตร.์

243

_______. (2551). เชาวนอ์ ารมณ:์ ดชั นเี พอ่ื ความสุขและความสาเร็จของชวี ิต. กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์แห่ง
จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

Amabile, T.M.1983 “The social psychology of creativity: a componential conceptualization”.
Journal of Personality and Social Psychology, 45(2), p.357-376.

______ . (1988). “A model of creativity and innovation in organizations”. Research in
Organizational Behavior. 19, p.123-167.

Amabile, T.M., Conti, R., Coon, H., Lanzenby, J. and Herron, M. (1996). “User’s Manual for
KEYS:Assessing the work environment for creativity.

Cooper, R.K. and Sawaf, A. (1997). Executive EQ: Emotional Intelligence in leadership and
organization. NewYork : Grosset-Putnam.

Cumming, A. and Oldham, G.R.(1997).“Enhancing creativity: managing work contexts for the
high potential employee”. California Management Review, 40 (1), p. 22-38.

Cummings, L.L., Hinton, B.L. and Gobdel, B.C. (1975). “Creative behavior as a function of
task environment: impact of objectives, procedures, and controls”. Academy of
Management Journal, 18(3), p.489-499.

Goleman, D. (1995). Emotional Intelligence. New York: Bantam Books.
Goleman, D. (1998). Working with Emotional Intelligence. New York: Bantam Books.
Guilford, J.P. “Cognitive Styles: What are they?”. Journal of Educational and Psychological

Measurement, 40, 715-735.
Kanter, R.M. (1983). The Change Masters: Innovation and Entrepreneurship in the American

Corporation. New York : Simom & Schuster.
O’Reilly, C.A., Chatman, J. and Caldwell, D.F. (1991). “People and organizational culture: a

profile comparison approach to assessing person- organization fit” . Academy of
Management Journal, p.487-561.
Oldham, G.R. and Cummings, A.(1996). “Employee creativity: personal and contextual
factors at work”. Academy of Management Journal, 39(3), p.607-634.
Stein, M.I. (1974). Stimulating Creativity. New York: Academic Press.
Trompenaars, F. and Hampden-Turner, C. (2010). Riding the waves of Innovation. New York:
McGraw-Hill.
Tushman, M. and O’Reilly, C.A. (1997). Winning through Innovation: A Practical Guide to
Lesding Organizational Change and Renewal. Boston,MA: Havard Business School
Press.
Utterback, J.M. (1994).Mastering the Dynamics of Innovation. Boston, MA: Harvard Business
School Press.
Woodman, R.W., Sawyer, J.E. and Griffen, R.W. (1993). “Toward a theory of organizational
creativity”. Academy of Management Journal, 18(2), p.293-321.

244

การพฒั นาชดุ ฝกึ อบรมการเรยี นรเู้ พศศกึ ษาบูรณาการแบบมสี ว่ นร่วม
สาหรบั นักศึกษาครุศาสตรช์ น้ั ปที ่ี 4 มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏอตุ รดติ ถ์ สูโ่ รงเรยี นและชุมชน

A DEVELOPMENT OF AN INTEGRATED TRAINING PACKAGE ON SEX EDUCATION
FROM SCHOOL THROUGH COMMUNITY FOR FOURTH YEAR STUDENTS
OF FACULTY OF EDUCATION, UTTARADIT RAJABHAT UNIVERSITY

รองศาสตราจารย์ ดร.นติ ยา สุวรรณศรี
คณะครศุ าสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั อุตรดติ ถ์

บทคัดยอ่
การวิจัยคร้ังน้ีมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาชุดฝึกอบรม เปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนรู้

และศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาครศุ าสตร์ชนั้ ปีท่ี 4 มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดติ ถท์ ่ีมตี ่อการอบรม
การเรยี นรู้เพศศึกษาบรู ณาการแบบมสี ่วนรว่ มสาหรับนักศึกษาครุศาสตร์ชัน้ ปีท่ี 4 มหาวิทยาลัยราชภัฏ
อุตรดิตถ์ สู่โรงเรียนและชุมชน ประชากรได้แก่ นักศึกษาครุศาสตร์ช้ันปีที่ 4 มหาวิทยาลัยราชภัฏ
อุตรดติ ถ์ ปีการศกึ ษา 2561 กล่มุ ตวั อย่าง จานวน 37 คน โดยใช้เทคนิคการส่มุ อย่างง่าย เครอื่ งมอื ที่ใช้
ได้แก่ ชุดฝึกอบรม แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ และแบบสอบถามความพึงพอใจการ
วิเคราะหข์ ้อมลู และสถิตไิ ด้แก่ร้อยละ ค่าเฉล่ีย สว่ นเบีย่ งเบนมาตรฐานและการทดสอบที

ผลการวิจัยพบว่า ชุดฝึกอบรมการเรียนรู้เพศศึกษาบูรณาการแบบมีส่วนร่วมสาหรับนักศึกษา
ครุศาสตร์ช้ันปีที่ 4 มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ สู่โรงเรียนและชุมชน จานวน 5 หน่วยการเรียนรู้ มี
ประสิทธิภาพ 90/80 สูงกว่าเกณฑ์ที่กาหนด 80/80 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้เพศศึกษาบูรณาการ
แบบมีส่วนร่วมสู่โรงเรียนและชุมชนของนักศึกษาหลังการอบรมสูงกว่าก่อนการอบรมอย่างมีนัยสาคัญ
ทางสถิติที่ระดับ 0.05 และมีความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาบูรณาการแบบมีส่วนร่วมสู่
โรงเรยี นและชุมชน อยู่ในระดับ มากที่สุด

คาสาคัญ : เพศศกึ ษา, บูรณาการ

Abstract
The study aimed to develop an integrated training package on sex education

from school through community for fourth year students of faculty of education,
Uttaradit Rajabhat University, compare student achievement and investigate student
satisfaction toward the lessons. The population was fourth year students of faculty of
education, Uttaradit Rajabhat University in 2018 academic year. The sample obtained
by simple sampling was 37 students.

The research instruments were a training package, an achievement test and a
satisfaction questionnaire. The data were analyzed by percentage, mean, standard
deviation, and t-test.

The results revealed that the efficiency of 5 units of integrated training package
of sex education from school through community for fourth year students of faculty of
education, Uttaradit Rajabhat University was 90/ 80 which was higher than the set

245

standard of 80/80. The student’s achievement after using the package was higher than
that before the learning at 0. 05 level of significance. The student satisfaction toward
the learning was at the highest level.

Keywords: sex education, integrated

บทนา
สังคมไทยปัจจุบันก้าวเข้าสู่ยุคท่ีเทคโนโลยีมีบทบาทสาคัญ ทาให้เยาวชนมีช่องทางในการเสพ

สื่อต่าง ๆ ที่เรียกว่าสื่ออนไลน์ได้ง่าย ทาให้วิถีชีวิตของวัยรุ่นในทุกๆ ด้านปรับเปล่ียนไปตามกระแส
โดยเฉพาะการเสพส่ือลามกอนาจารทาให้เยาวชนมีพฤติกรรมทางเพศและการใชช้ ีวิตโดยเฉพาะปญั หา
การตง้ั ครรภ์ทีไ่ ม่พงึ ประสงคซ์ ่งึ จะก่อใหเ้ กิดปัญหาการทาแทง้ ซงึ่ ปัญหาเหลา่ นี้มแี นวโน้มที่สงู ข้นึ

จากการสารวจทัศนคติเร่ืองเพศของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นและนักเรียนช้ัน
มัธยมศึกษาตอนปลาย ปี 2561 ของโรงเรียนมัธยมจานวน 3 โรงเรียน ในเขตจังหวัดอุตรดิตถ์ ช่วงช้ัน
ละ 30 คน พบว่า ในระดับช้ันมัธยมศึกษาตอนต้น มีทัศนคติท่ีดีเกี่ยวกับการมีเพศสัมพันธ์ในวัยเรียน
โดยรวมอยใู่ นระดับ ปานกลาง มคี า่ เฉลยี่ 3.44 สว่ นเบ่ยี งเบนมาตรฐาน 0.60 และระดบั ชน้ั มัธยมศึกษา
ตอนปลายมีทัศนคติท่ีดีเกี่ยวกับการมีเพศสัมพันธ์ในวัยเรียน โดยรวมอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉล่ีย 3.98
ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.71 จากผลการสารวจทัศนคติดังกล่าวทาให้เห็นว่า นักเรียนระดับชั้น
มัธยมศึกษาตอนต้นส่วนใหญ่มีค่าเฉลี่ยทัศคติระดับปานกลาง ซ่ึงค่อนข้างต่า อาจเน่ืองมาจากนักเรียน
ขาดความรู้ความเข้าใจเร่ืองเพศท่ีถูกต้อง และในระดับช้ันมัธยมศึกษาตอนปลาย มีทัศนคติในระดับ
มาก ท้ังน้ีอาจเกิดจากการได้รับการจัดการเรียนรู้ที่ส่งผลให้เกิดความเข้าใจเรื่องเพศมากข้ึน ท้ังนี้ยังมี
บางประเด็นที่ยังมีความเข้าใจไม่ถูกต้อง เช่น “การหล่งั ภายนอกป้องกันการติดโรคทางเพศสัมพนั ธ์ได้”
ซ่ึงมคี า่ เฉลีย่ อยใู่ นระดบั ปานกลาง ซ่ึงความเขา้ ใจเร่ืองเพศทีไ่ ม่ถกู ต้องอาจส่งผลต่อปญั หาพฤติกรรมทาง
เพศในอนาคตได้

นอกจากน้ีผู้วิจัยได้สารวจทัศนคติเรื่องเพศของนักศึกษาครุศาสตร์ชั้นปีท่ี 4 คณะครุศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ ปี 2561 พบว่า มีทัศนคติที่ดีเรื่องเพศ อยู่ในระดับ มาก ค่าเฉลี่ย 4.19
ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.26 โดยมีประเด็นท่ีมีค่าเฉล่ีย ระดับ น้อย ได้แก่ “แฟนจะไม่รักหากปฏิเสธ
การขอมีเพศสัมพันธ์” และค่าเฉลี่ยระดับ น้อยท่ีสุด ได้แก่ “เม่ือมีปัญหาควรปรึกษาเพ่ือน ครู หรือ
ผู้ปกครอง” ซึ่งทาให้ทราบว่านักศึกษายังขาดทักษะกระบวนการปฏิเสธและการให้คาปรึกษา ซึ่งอาจ
ส่งผลต่อการจัดการเรียนรู้เร่ืองเพศรวมถึงการแก้ไขปัญหาพฤติกรรมทางเพศของผู้เรียนได้ และได้
สารวจทัศนคติเรื่องเพศของครูผู้สอนในโรงเรียนมัธยม ในเขตจังหวัดอุตรดิตถ์ จานวน 3 โรงเรียน
พบว่า มที ัศนคติท่ีดีเรื่องเพศ โดยรวมอย่ใู นระดับ มาก ค่าเฉลี่ย 4.16 สว่ นเบีย่ งเบนมาตรฐาน 0.25 ซงึ่
ประเด็นทม่ี ีค่าเฉล่ยี น้อยทส่ี ุดอยใู่ นระดบั ปานกลาง ได้แก่ “การฝันเปียกและการมปี ระจาเดือนหมายถึง
สามารถตั้งครรภ์ อย่างปลอดภัยได้แล้ว” “โลกน้ีมีเพียงเพศชายและเพศหญิงเท่านั้น” “แฟนจะไม่รัก
หากปฏเิ สธการขอมเี พศสมั พนั ธ์” “เมื่อมีปญั หาควรปรึกษาเพื่อน ครู หรอื ผปู้ กครอง” “ผ้ชู ายนกึ ถึงแต่
เร่ืองมีเพศสัมพันธ์ตลอดเวลา” ซึ่งทาให้ทราบว่าเรื่องเพศศึกษาบางเน้ือหาครูยังมีความเข้าใจที่ไม่
ถูกต้อง ประกอบกับการสารวจสภาพการจัดการเรียนรู้ในรายวิชาเพศศึกษา จากโรงเรียนมัธยมศึกษา
ในเขตจังหวดั อตุ รดิตถ์ จานวน 3 โรงเรียน พบกว่า รอ้ ยละ 84 มกี ารจัดการเรียนรเู้ พศศึกษาคลอบคลุม
5 เรื่อง ได้แก่ พัฒนาการและสุขภาวะทางเพศ พฤติกรรมทางเพศ ทักษะส่วนบุคคล สัมพันธภาพ

246

ระหว่างบุคคล สงั คมและวัฒนธรรม ซ่ึงทาใหเ้ ห็นวา่ การจัดการเรยี นรเู้ พศศึกษาครูผสู้ อนยงั ไม่สามารถ
สอนได้ครบทุกเนื้อหา ซึ่งอาจเกิดจากไม่ถนัดหรือเชี่ยวชาญในการสอนเรื่องเพศศึกษา หรือขาดเทคนิค
วิธีการสอนท่ีเหมาะสมกับเน้ือหา จึงสอนเพียงเร่ืองง่าย ๆ ไม่ลึกซึ้งเก่ียวกับเร่ืองเพศมากนัก จากการ
สารวจทัศนคติเร่ืองเพศและสภาพการสอนเพศศึกษา ดังท่ีอภิปรายทาให้เห็นสภาพปัญหาท่ีครูผู้สอน
ต้องพัฒนาตนเองในด้านการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาให้ดีมากข้ึน โดยเฉพาะการสร้างทัศนคติที่ดีเร่ือง
เพศ ซึ่งเป็นพ้ืนฐานท่ีจะนาไปสู่การถ่ายทอดองค์ความรู้ท่ีถูกต้อง เหมาะสมแก่ศิษย์ต่อไปได้ สอดคล้อง
กบั กนกพร ทองสอดแสง (2553 : 5) ทีไ่ ดก้ ล่าววา่ การสอนเพศศกึ ษาในโรงเรียนยังวนเวียนอยู่กับเรื่อง
เดมิ ๆ วธิ ีการสอนเป็นวิธเี ก่า ๆ ประกอบกับยังยึดตดิ กบั ความเชื่อเดิม ๆ ซ่ึงเรอื่ งเพศไม่ควรถกู พดู ถึง ซ่งึ
แท้จริงควรสอนผู้เรียนให้กระจ่าง เข้าใจเร่ืองเพศอย่างแท้จริง และกันมาใช้วิธีการสอนที่ใหม่และเน้น
ผู้เรียนเป็นสาคัญ เช่นเดียวกับ จักรกฤษณ์ พิญญาพงษ์ (2551 : 51) ที่กล่าวว่า การจัดการเรียนรู้
เพศศึกษาเป็นเร่ืองสาคัญและเป็นเร่ืองจาเป็นกับเด็กในวัยที่มีการเปล่ียนแปลง จึงต้องมีการให้ความรู้
เรอ่ื งเพศให้เด็กมีความร้แู ละเข้าใจถูกต้องเพ่ือให้เด็กได้ใช้ในการปรบั ตัวและปฏิบัติตนได้อย่างเหมาะสม
และสอดคล้องกับแนวคิดของกรมสุขภาพจิต (อ้างถึงใน ช่วงมณี จงเพียร (2551, : 3) ท่ีกล่าวถึงการให้
ความรู้เรื่องเพศอย่างถูกต้องเป็นส่ิงจาเป็น เน่ืองจากวัยรุ่นมีการเปลี่ยนแปลงทางเพศ ความเช่ือและ
ค่านิยมทางเพศของสังคมจึงมีอิทธิพลต่อวัยรุ่นอย่างมาก ซึ่งจากสภาพปัญหาการจัดการเรียนรู้ทาให้
ทราบว่าการจัดการเรียนรู้นั้น นอกจากครูและสถานศึกษาจะมีแนวทางในการพัฒนานักเรียนเรื่องเพศ
อย่างถูกต้องแล้ว ครูผู้สอนเองจะต้องเป็นผู้มีโลกทัศน์ท่ีกว้างไกล เข้าใจความเปล่ียนแปลงของวัยรุ่น
ตามยุคสมัย และสามารถปรับเปลี่ยนวิธีการสอนที่เหมาะสมกับวันรุ่นตามทฤษฎีการจัดการเรียนรู้โดย
เนน้ ผเู้ รียนเปน็ สาคัญจงึ จะสามารถชว่ ยให้การจดั การเรยี นรเู้ พศศึกษาในโรงเรยี นประสบผลสาเร็จได้

จากสภาพปัญหาท่ีพบทาให้ผู้วิจัยได้เห็นความสาคัญของปัญหาเพศศึกษาท่ีเร้ือรังมานาน และ
เปน็ หน้าท่ีของทุกฝ่ายในการร่วมกนั แก้ไขปัญหา ท้ังน้ีคณะครุศาสตรเ์ ปน็ สถาบันท่ีพฒั นาครโู ดยตรง จงึ
มีความมุ่งหวังในการพัฒนานักศึกษาช้ันปีท่ี 4 คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ ซ่ึงไม่ใช่
วิชาเอกท่ีได้รับการพัฒนาเร่ืองสุขศึกษาหรือเพศศึกษาโดยตรง ได้รับการพัฒนาเก่ียวกับการจัดการ
เรียนรู้เพศศึกษาอย่างรอบด้าน ซึ่งจัดการอบรมให้นักศึกษาได้รับความรู้เกี่ยวกับเพศศึกษาที่ถูกต้อง
และสามารถนาไปถ่ายทอดผ่านกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีเหมาะสม ซ่ึงจะช่วยให้นักศึกษามีประสบการณ์
จากการปฏิบัติการทดลองจดั การเรียนรู้และการเขียนแผนการจัดการเรยี นรู้จริงในการอบรม ตลอดจน
มีวิทยากรที่ให้ความรู้เฉพาะทางทาให้นักศึกษาเกิดความมั่นใจในการถ่ายทอดความรู้เร่ืองเพศศึกษา ที่
สามารถนาในสถานศึกษาให้สามารถจัดการเรยี นร้เู พศศกึ ษาตามยุคสมัยได้อย่างมปี ระสิทธิภาพตอ่ ไป

วตั ถปุ ระสงค์ของการวจิ ัย
1. เพ่ือพัฒนาชุดฝึกอบรมการเรียนรู้เพศศึกษาบูรณาการแบบมีส่วนร่วมสาหรับนักศึกษาครุ

ศาสตร์ชัน้ ปที ่ี 4 มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏอตุ รดติ ถ์ สู่โรงเรียนและชมุ ชน ตามเกณฑ์ 80/80
2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้เพศศึกษาบูรณาการแบบมีส่วนร่วมสาหรับ

นักศึกษาครุศาสตร์ชั้นปที ่ี 4 มหาวิทยาลยั ราชภฏั อตุ รดติ ถ์ สูโ่ รงเรยี นและชมุ ชน ระหวา่ งกอ่ นการอบรม
และหลังการอบรมของนักศกึ ษาครศุ าสตร์ช้นั ปีท่ี 4 มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏอุตรดติ ถ์

247

3. เพ่ือศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาครุศาสตร์ช้ันปีท่ี 4 มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ท่ีมี
ต่อการอบรมการเรียนรู้เพศศึกษาบูรณาการแบบมีส่วนร่วมสาหรับนักศึกษาครุศาสตร์ช้ันปีที่ 4
มหาวิทยาลัยราชภฏั อุตรดิตถ์ สู่โรงเรียนและชมุ ชน

วิธีดาเนนิ การวิจยั
1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
1.1 ประชากร ไดแ้ ก่ นกั ศกึ ษาครุศาสตรช์ ัน้ ปีที่ 4 มหาวิทยาลยั ราชภฏั อุตรดติ ถ์ ปกี ารศึกษา

2561
1.2 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักศึกษาครุศาสตร์ชั้นปีท่ี 4 มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ ปี

การศึกษา 2561 จานวน 37 คน ไดม้ าโดยวธิ ีการส่มุ อย่างงา่ ย
2. เครื่องมือที่ใชใ้ นการวจิ ัย
2.1 ชดุ ฝกึ อบรมการเรียนรเู้ พศศึกษาบูรณาการแบบมสี ่วนรว่ มสาหรับนักศึกษาครุศาสตร์ช้ันปีที่

4 มหาวทิ ยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ สโู่ รงเรียนและชุมชน จานวน 5 หน่วยการเรียนรู้ โดยใชเ้ วลาในการอบรม
ท้ังหมด 4 วัน เป็นระยะเวลา 32 ช่ัวโมง ได้ดาเนินการประเมินความเหมาะสมโดยผู้เช่ียวชาญ จานวน 3
คน พบวา่ มีความเหมาะสม ระดบั มากท่ีสดุ โดยมคี า่ เฉล่ยี 4.68 สว่ นเบีย่ งเบนมาตรฐาน 0.02

2.2 แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนรู้เพศศึกษาบูรณาการแบบมีส่วนร่วมสาหรับ
นักศึกษาครุศาสตร์ช้ันปีที่ 4 มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ สู่โรงเรียนและชุมชน ก่อนการอบรมและ
หลังการอบรม เปน็ แบบคู่ขนาน ปรนยั 4 ตวั เลือก จานวน 50 ข้อ โดยมผี ลการหาคุณภาพดังนี้

2.2.1 คัดเลือกข้อสอบท่ีมีค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) ต้ังแต่ .50 ถึง 1 จากผลการ
ประเมินของผู้เช่ียวชาญท้ัง 3 คน พบว่า มีค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) ตั้งแต่ 0.67-1.0 จานวน 55
ขอ้ นาไปทดลองใชท้ ้งั หมด 55 ขอ้

2.2.2 นาแบบทดสอบไปทดลองกับนักศึกษาครุศาสตร์ช้ันปีท่ี 4 จานวน 30 คน พบว่า
ข้อสอบทม่ี คี ่าความยากงา่ ย 0.20-0.80 โดยได้มาทั้งหมด 50 ข้อ และนาไปใช้ท้งั หมด

2.2.3 นาคะแนนที่ได้จากการทดสอบมาวิเคราะห์หาคุณภาพของแบบทดสอบวัดผล
สัมฤทธ์ิทางการเรียนรู้โดยการหาค่าอานาจจาแนกโดยใช้สูตร Brennan (บุญชม ศรีสะอาด, 2545, :
87) ตั้งแต่ 0.20 ขึ้นไป โดยได้มาทง้ั หมด 50 ข้อ และนาไปใชท้ ้ังหมด

2.2.4 นาข้อสอบท่ีคัดไว้ มาวิเคราะห์หาค่าความเช่ือมั่นท้ังฉบับโดยใช้วิธีของโลเวท
(Lovett) (บุญชม ศรสี ะอาด, 2545, : 96) โดยได้ค่าความเช่ือมั่น เทา่ กบั 0.95

2.3 แบบสอบถามความพึงพอใจของนักศึกษาครุศาสตร์ชั้นปีที่ 4 มหาวิทยาลัยราชภัฏ
อุตรดติ ถ์ท่ีมีต่อการอบรมการเรยี นรเู้ พศศึกษาบรู ณาการแบบมีส่วนร่วม สาหรบั นักศกึ ษาครุศาสตร์ชั้นปี
ที่ 4 มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ สู่โรงเรียนและชุมชน เป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating
Scale) 1 ฉบับ จานวน 20 ข้อ

2.3.1 สร้างแบบสอบถามจานวน 25 ข้อ ประเมินและคัดเลือกแบบสอบถามท่ีมีค่าดัชนี
ความสอดคล้อง (IOC) ตั้งแต่ .50 โดยพบว่ามีค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) ตั้งแต่ 0.67-1.00 จานวน
23 ข้อ นาไปทดลองใช้ทั้งหมด 23 ข้อ

2.3.2 หาคุณภาพของแบบสอบถามเป็นรายข้อได้แก่ การหาค่าอานาจจาแนกโดยใช้สูตร
การหาค่าสหสัมพันธ์อย่างง่ายของเพียร์สัน (Pearson) (rxy) (บุญชม ศรีสะอาด, 2545, : 87) โดยค่า

248

อานาจจาแนกแต่ละข้อสูงกว่าเกณฑ์หรือค่าวิกฤต 0.296 (กาหนดระดับนัยสาคัญที่ 0.5) พบว่า ข้อท่ี
เข้าเกณฑจ์ านวน 20 ขอ้ มคี า่ อานาจจาแนก (Item total correlation) ต้ังแต่ 0.51-0.76

2.3.3 นาแบบสอบถามความพึงพอใจท่ีคัดเลือกข้อท่ีเข้าเกณฑ์ จานวน 20 ข้อหาค่า
เชื่อมั่นท้ังฉบับของแบบสอบถามความพึงพอใจ โดยวิธีการหาค่าสัมประสิทธิ์อัลฟาของครอนบาค
(Cronbach) (สมนึก ภัททิยธนี, 2549, : 88) โดยพบว่า ได้ค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถามความพึง
พอใจทงั้ ฉบบั เทา่ กับ 0.92

3. การเก็บรวบรวมขอ้ มูล
การศึกษาค้นควา้ ครง้ั นี้ ได้ดาเนนิ การเก็บรวบรวมข้อมูลดงั นี้
3.1 ดาเนินการบันทึกข้อความถึงคณะบดีคณะครุศาสตร์ เพ่ือขอความอนุเคราะห์ในการขอ
ใชก้ ลมุ่ ตวั อย่าง สถานท่ีจดั อบรม เพอื่ เก็บรวบรวมข้อมลู
3.2 เตรยี มสอ่ื และอปุ กรณ์ประกอบการจดั การเรียนรู้
3.3 ดาเนินการทดสอบก่อนการอบรม (Pre-test) โดยใช้แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรียนรู้เพศศึกษาบูรณาการแบบมีส่วนร่วมสาหรับนักศึกษาครุศาสตร์ชั้นปีท่ี 4 มหาวิทยาลัยราชภัฏ
อตุ รดติ ถ์ ส่โู รงเรยี นและชุมชน จานวน 50 ข้อ
3.4 ดาเนินการจัดการเรียนรู้ด้วยชุดฝึกอบรมการเรียนรู้เพศศึกษาบูรณาการแบบมีส่วนร่วม
สาหรับนักศึกษาครุศาสตร์ชั้นปีที่ 4 มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ สู่โรงเรียนและชุมชน จานวน 5
หน่วยการเรียนรู้ ระยะเวลา 32 ช่วั โมง
3.5 ดาเนินการทดสอบหลังการอบรม (Post-test) โดยใช้แบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ทิ างการ
เรียนฉบบั เดมิ
3.6 ดาเนินการสอบถามความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อการอบรมการเรียนรู้เพศศึกษา
บูรณาการแบบมีส่วนร่วมสาหรับนักศึกษาครุศาสตร์ช้ันปีที่ 4 มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ สู่โรงเรียน
และชมุ ชน
4. การวเิ คราะหข์ ้อมลู
ในการศึกษาคน้ คว้าครั้งน้ี ผู้วิจยั ดาเนนิ การวเิ คราะห์ข้อมลู ดว้ ยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ดังนี้
4.1 วิเคราะหห์ าประสิทธภิ าพของชุดฝึกอบรมการเรียนร้เู พศศึกษาบรู ณาการแบบมีส่วนร่วม
สาหรับนักศึกษาครุศาสตร์ช้ันปีท่ี 4 มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ สู่โรงเรียนและชุมชน ตามเกณฑ์
80/80 ดว้ ยสถิติพนื้ ฐาน ไดแ้ ก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และร้อยละ
4.2 เปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนรู้เพศศึกษาบูรณาการแบบมีส่วนร่วม สาหรับ
นักศึกษาครศุ าสตรช์ ้ันปที ี่ 4 มหาวิทยาลยั ราชภัฏอตุ รดติ ถ์ สโู่ รงเรยี นและชุมชน ระหว่างกอ่ นการอบรม
และหลังการอบรม โดยใชก้ ารหาค่า t-test
4.3 วิเคราะห์ค่าเฉลี่ย ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานของแบบสอบถามความพึงพอใจของนักศึกษา
ครุศาสตร์ชั้นปีท่ี 4 มหาวิทยาลัยราชภฏั อุตรดิตถ์ ท่ีมีต่อการอบรมการเรียนรู้เพศศึกษาบูรณาการแบบ
มสี ่วนรว่ ม สาหรบั นักศกึ ษาครศุ าสตรช์ ้นั ปีที่ 4 มหาวิทยาลัยราชภฏั อุตรดิตถ์ สโู่ รงเรยี นและชุมชน

สรุปผลการวิจัย
ส่วนที่ 1 ประสิทธภิ าพของชุดฝึกอบรมการเรียนรู้เพศศึกษาบรู ณาการแบบมีส่วนร่วม

สาหรับนักศกึ ษาครุศาสตรช์ ั้นปที ี่ 4 มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ ส่โู รงเรยี นและชุมชน

249

ตาราง 1 แสดงประสทิ ธภิ าพของชุดฝกึ อบรมการเรียนรเู้ พศศึกษาบรู ณาการแบบมีส่วนรว่ ม สาหรบั

นกั ศึกษาครุศาสตรช์ ั้นปที ่ี 4 มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏอุตรดติ ถ์ สโู่ รงเรยี นและชุมชน

ผลการเรยี น คะแนนเต็ม ̅ S.D รอ้ ยละของ
คะแนนเฉลยี่

ประสทิ ธิภาพของแผนการจัดการเรียนรู้ (E1) 200 179.76 5.97 90

ประสิทธภิ าพของแผนการจัดการเรยี นรู้ (E2) 50 39.97 2.75 80

จากตาราง 1 พบว่า ประสทิ ธิภาพของชดุ ฝกึ อบรมการเรยี นร้เู พศศึกษาบูรณาการแบบมีส่วน
ร่วม สาหรับนักศึกษาครุศาสตร์ชั้นปีที่ 4 มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ สู่โรงเรียนและชุมชนหลังจาก
จดั การเรยี นรู้ 90/80 สูงกว่าตามเกณฑท์ กี่ าหนด 80/80

ส่วนท่ี 2 ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนรเู้ พศศกึ ษาบรู ณาการแบบมสี ่วนร่วมสาหรับนกั ศกึ ษา
ครศุ าสตร์ ชน้ั ปีที่ 4 มหาวิทยาลัยราชภฏั อตุ รดิตถ์ สู่โรงเรียนและชุมชน

ตาราง 2 การเปรียบเทียบผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นรู้เพศศึกษาบรู ณาการแบบมสี ว่ นรว่ ม สาหรับ

นกั ศึกษาครุศาสตรช์ ้นั ปีที่ 4 มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั อุตรดติ ถ์ สู่โรงเรียนและชมุ ชน

การทดสอบ ̅ S.D t p

กอ่ นการอบรม 32.38 7.83 6.2915 1.697
หลังการอบรม 39.97 2.75

จากตาราง 2 พบว่า นักศึกษามีผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้เพศศึกษาบูรณาการแบบมีส่วนร่วม
สาหรับนักศึกษาครุศาสตร์ช้ันปีที่ 4 มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ สู่โรงเรียนและชุมชนหลังการอบรม
สูงกว่าก่อนการอบรม อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.05 โดยมีค่าเฉลี่ย ( ̅ ) 39.97 ส่วนเบี่ยงเบน
มาตรฐาน (S.D) 2.75

ส่วนท่ี 3 ความพึงพอใจของของนักศึกษาครุศาสตร์ชั้นปีท่ี 4 มหาวิทยาลัยราชภัฏ
อุตรดิตถ์ ทม่ี ตี ่อการอบรมการเรียนรเู้ พศศกึ ษาบรู ณาการแบบมีสว่ นร่วม สาหรบั นักศกึ ษาครศุ าสตร์
ช้นั ปีท่ี 4 มหาวทิ ยาลัยราชภัฏอตุ รดิตถ์ สู่โรงเรยี นและชุมชน

ตาราง 3 แสดงความพึงพอใจของนักศกึ ษาครุศาสตรช์ ั้นปีที่ 4 มหาวิทยาลยั ราชภฏั อตุ รดติ ถ์ ทีม่ ีต่อ

การอบรมการเรยี นรู้เพศศึกษาบูรณาการแบบมีส่วนร่วม สาหรับนกั ศึกษาครศุ าสตรช์ ั้นปีท่ี 4

มหาวทิ ยาลัยราชภฏั อตุ รดติ ถ์ สโู่ รงเรียนและชมุ ชน

รายการ ค่าเฉลย่ี สว่ นเบ่ียงเบน ระดบั
มาตรฐาน ความพงึ พอใจ

1. แจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้กอ่ นการอบรมทกุ ครง้ั 4.62 0.49 มากทีส่ ดุ

2. นาเข้าสู่บทเรยี นด้วยกิจกรรมท่นี ่าสนใจ 4.68 0.47 มากที่สุด

3. เปิดโอกาสให้ซักถามก่อนการอบรม 4.68 0.63 มากท่สี ุด

4. เน้อื หาในการจดั การอบรมเปน็ เร่ืองใกล้ตวั 4.86 0.35 มากทสี่ ุด

5. เนื้อหาเหมาะสมกับวยั ของนักศกึ ษา 4.89 0.31 มากท่ีสุด

250

รายการ คา่ เฉลยี่ สว่ นเบย่ี งเบน ระดับ
มาตรฐาน ความพึงพอใจ
6. เนอื้ หาเหมาะสมกบั สถานการณ์ในปจั จบุ ัน 4.78 0.42
7. การจัดกิจกรรมเป็นลาดับข้ันตอนที่เหมาะสม 4.65 0.54 มากทีส่ ดุ
8. มกี ารยกตัวอย่าง และอธบิ ายที่ชดั เจนเข้าใจงา่ ย 4.70 0.52 มากที่สดุ
9. มกี ารเรยี นรู้แบบกลุ่มและรายบุคคล 4.70 0.46 มากที่สดุ
10. กิจกรรมการปฏิบัตชิ ว่ ยใหเ้ ข้าใจและเกดิ ทักษะ 4.73 0.45 มากทส่ี ดุ
ท่ีดขี ึน้ มากทส่ี ุด
11. กจิ กรรมมีความหลากหลายและสนกุ สนาน 4.65 0.54
12. ผู้เขา้ อบรมมีความกระตือรอื รน้ และกล้า 4.54 0.65 มากทส่ี ดุ
แสดงออก มากทส่ี ุด
13. ผู้เขา้ อบรมมีโอกาสได้อภิปรายในชนั้ เรยี น 4.68 0.53
14. ผเู้ ขา้ อบรมมีความสุขในการรว่ มกจิ กรรม 4.51 0.61 มากท่ีสุด
15. ผ้เู ขา้ อบรมมีส่วนรว่ มในการดาเนินกิจกรรม 4.68 0.53 มากที่สดุ
16. สือ่ ประกอบการเรียนรูน้ า่ สนใจ 4.54 0.56 มากทส่ี ดุ
17. สอื่ ประกอบการจดั การเรียนรู้มีความ 4.41 0.64 มากทีส่ ุด
หลากหลาย
18. ส่อื การเรียนรเู้ หมาะสมในการจัดการเรยี นรู้ 4.65 0.59 มาก
เพศศึกษา
19. การวัดและประเมินผลตรงตามจดุ ประสงค์ 4.62 0.49 มากที่สุด
20. การวดั และประเมนิ ผลสอดคล้องกับกิจกรรม 4.57 0.50
มากที่สุด
การจดั การเรียนรู้ 4.66 0.34 มากที่สดุ

เฉลย่ี โดยรวม มากท่ีสดุ

จากตาราง 3 พบว่า นักศึกษาครุศาสตร์ชั้นปีท่ี 4 มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์มีความพึง
พอใจต่อการอบรมการเรียนรู้เพศศึกษาบูรณาการแบบมีส่วนร่วม สาหรับนักศึกษาครุศาสตร์ช้ันปีท่ี 4
มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ สู่โรงเรียนและชุมชน อยู่ในระดับมากท่ีสุด โดยมีค่าเฉลี่ย 4.66 ส่วน
เบ่ียงเบนมาตรฐาน 0.34 โดยเม่ือพิจารณาเป็นรายข้อเรียงจากค่าเฉล่ียมากที่สุดไปหาน้อยที่สุด ได้แก่
เนื้อหาเหมาะสมกับวัยของนักเรียน เนื้อหาในการจัดอบรมเป็นเร่ืองใกล้ตัว เน้ือหาเหมาะสมกับ
สถานการณ์ในปัจจุบัน กิจกรรมการปฏิบัติช่วยให้เข้าใจและเกิดทักษะท่ีดีข้ึน มีการยกตัวอย่างและ
อธบิ ายท่ชี ดั เจนเข้าใจงา่ ย มกี ารเรยี นรู้แบบกลุ่มและรายบุคคล นาเข้าสบู่ ทเรียนด้วยกจิ กรรมท่นี ่าสนใจ
เปิดโอกาสให้ซักถามก่อนการอบรม ผู้เข้าอบรมมีโอกาสได้อภิปรายในชั้นเรียน การจัดกิจกรรมเป็น
ลาดับข้ันตอนท่ีเหมาะสม ส่ือการเรียนรู้เหมาะสมในการจัดการเรียนรู้เพศศึกษา แจ้งจุดประสงค์การ
เรียนรู้ก่อนการอบรมทุกคร้ัง การวัดและประเมินผลตรงตามจุดประสงค์ การวัดและประเมินผล
สอดคล้องกับกิจกรรมการจัดการเรียนรู้ ผู้เข้าอบรมมีความกระตือรือร้นและกล้าแสดงออก สื่อ
ประกอบการเรียนรู้น่าสนใจ ผู้เข้าอบรมมีความสุขในการร่วมกิจกรรม ส่วนความพึงพอใจระดับมี 1
รายการไดแ้ ก่ ส่อื ประกอบการจัดการเรยี นร้มู ีความหลากหลาย

251

อภิปรายผลการวจิ ัย
1. ชดุ ฝึกอบรมการเรยี นรูเ้ พศศึกษาบรู ณาการแบบมีสว่ นร่วม สาหรับนกั ศกึ ษาครุศาสตร์ ช้ันปี

ท่ี 4 มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ สู่โรงเรียนและชุมชนมีประสิทธิภาพ 90/80 สูงกว่าเกณฑ์ที่กาหนด
80/80 ซึ่งเป็นไปตามสมมุติฐานที่ต้ังไว้ คือ ชุดฝึกอบรมการเรียนรู้เพศศึกษาบูรณาการแบบมีส่วนร่วม
สาหรบั นักศกึ ษาครุศาสตร์ชน้ั ปีท่ี 4 มหาวทิ ยาลัยราชภัฏอตุ รดิตถ์ สโู่ รงเรียนและชมุ ชน มีประสทิ ธิภาพ
ตามเกณฑ์ 80/80 อาจเน่อื งจากการจัดกิจกรรมได้กาหนดเนื้อหาในการอบรมโดยการสอบถามทัศนคติ
ของนักเรียน ครู และนักศึกษา ซึ่งทาให้ทราบถึงความต้องการในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีเหมาะสม
กับวัยซึ่งประกอบด้วยเน้ือหาในระดับช้ันประถมศึกษาปีที่ 4-6 และระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 4-6 และ
เนื้อหาท่ีนามาจัดการอบรมเป็นเร่ืองที่มีความสนใจในปัจจุบัน ซ่ึงประกอบด้วยเน้ือหาทั้งหมด 5 หน่วย
การเรียนรู้ ได้แก่ พัฒนาการทางเพศและสุขอนามัยทางเพศ พฤติกรรมทางเพศทักษะส่วนบุคคล
สัมพันธภาพระหว่างบุคคล สังคมและวัฒนธรรม ประกอบกับมีการออกแบบการจัดกิจกรรมท่ีเป็นเชิง
วิชาการและเชิงปฏิบัติทั้งแบบกลุ่มและรายบุคคล โดยมีวิทยากรเป็นเช่ียวชาญเป็นผู้ถ่ายทอดความรู้
ทาใหผ้ ู้เข้าอบรมเกดิ การเรยี นรู้จากการอบรมเป็นอย่างดี สอดคล้องกบั ณฐานพ ระวะใจ (2554, : 100)
กล่าวว่า การใส่ใจเน้ือหาที่เรียนรวมถึงการใฝ่ใจในการเรียนรู้เร่ืองเพศจะเป็นเครื่องทานายพฤติกรรม
การป้องกนั การเสย่ี งทางเพศได้ เชน่ เดยี วกับ กระทรวงศกึ ษาธิการ (2559, : 40) การอบรมครูเร่ืองการ
สอนเพศวิถีศึกษาเป็นปัจจยั สาคัญในการสอนอย่างมีคุณภาพครูที่ได้รบั การอบรมการสอนเพศวิถีศึกษา
ส่งเสริมให้ครูมีเทคนิคการสอน ความรู้ใหม่และปรับทัศนคติของตนเองต่อการสอนวิถีเพศศึกษา และ
สอดคล้องกบั นริสานนั ท์ เดชสรุ ะ (2558, : 213) การฝกึ อบรมเปน็ กระบวนการที่ทาให้บุคคลได้เพ่ิมพูน
ความรู้ ความชานาญ และประสบการณ์ ตลอดจนส่งผลให้มีพฤติกรมที่เปล่ียนแปลงไปในทางท่ีดีข้ึน
ภายใต้เงื่อนไขของระยะเวลาท่เี หมาะสม

2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้เพศศึกษาบูรณาการแบบมีส่วนร่วม สาหรับนักศึกษาครุศาสตร์ ชั้น
ปีท่ี 4 มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ สู่โรงเรียนและชุมชน หลังการอบรมสูงกว่าก่อนการอบรมอย่างมี
นัยสาคัญทางสถติ ิท่รี ะดบั 0.05 ซึ่งเป็นไปตามสมมตุ ฐิ านท่ตี ัง้ ไว้ คือ นักศึกษาท่ไี ด้รับการอบรมการเรียนรู้
เพศศกึ ษาบูรณาการแบบมีส่วนร่วม สาหรบั นักศึกษาครุศาสตรช์ น้ั ปที ี่ 4 มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ สู่
โรงเรียนและชุมชน มีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนหลังการอบรมสูงกว่าก่อนการอบรม อาจเนื่องจาก มีการ
ออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีเป็นลาดับขั้นตอนเหมาะสมกับการเรียนรู้เพศศึกษาได้แก่ ข้ันนา ขั้นสอน
และขั้นสรุป โดยมีเนื้อหาที่อยู่ในความสนใจของผู้เข้ารับการอบรม และสอดคล้องกับสภาพปัญหา
เพศศึกษาในปัจจุบัน ตลอดจนการถ่ายทอดความรู้โดยบุคลากรท่ีมีความรู้ความสามารถเฉพาะทาง และ
การจัดกิจกรรมการทางานเป็นกลุม่ ทาใหผ้ ู้เข้าอบรมมีความสนใจ และต้ังใจในการเรียนเรียนรู้เป็นอย่างดี
สอดคล้องกับ ณฐานพ ระวะใจ (2554, : 100) พบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนส่งผลต่อพฤติกรรมการ
ป้องกันการเสี่ยงทางเพศ โดยจะเป็นตัวชี้วัดความใส่ใจหรือความสนใจทางการเรียนตลอดจนความ
ขยันหมั่นเพียรในการศึกษา เช่นเดียวกบั นริสานันท์ เดชสรุ ะ (2556, : 214) พบวา่ ผลการประเมินทักษะ
การจัดการเรียนรู้เพศศึกษารอบด้านสาหรับนักศึกษา คณะครุศาสตร์ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ และ
ความเข้าใจ เจตคติ และทกั ษะการจัดการเรยี นรู้เพศศึกษารอบดา้ นสูงกวา่ ก่อนการฝึกอบรม

3. ความพึงพอใจของนักศึกษาครุศาสตร์ชั้นปีที่ 4 มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ที่มีต่อการ
อบรมการเรียนรู้เพศศึกษาบูรณาการแบบมีส่วนร่วม สาหรับนักศึกษาครุศาสตร์ช้ันปีที่ 4 มหาวิทยาลัย
ราชภฏั อุตรดติ ถ์ สู่โรงเรียนและชุมชน อยู่ในระดบั มากท่สี ุด โดยมคี า่ เฉลยี่ 4.66 ส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐาน

252

0.34 สูงกว่าตามสมมุตฐิ านท่ตี ัง้ ไว้ คือ นกั ศึกษาครุศาสตร์ช้นั ปที ี่ 4 มหาวิทยาลัยราชภฏั อตุ รดิตถ์ที่มีต่อ
ท่ีได้รับการอบรมการเรียนรู้เพศศึกษาบูรณาการแบบมีส่วนร่วม สาหรับนักศึกษาครุศาสตร์ชั้นปีที่ 4
มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ สู่โรงเรียนและชุมชนมีความพึงพอใจต่อการเรียนอยู่ในระดับ มาก
เน่อื งจากเน้ือหาการจัดอบรมเป็นเรื่องที่นา่ สนใจและเปน็ เรื่องใกล้ตวั การจัดกจิ กรรมมีความสนกุ สนาน
มีการทากิจกรรมเป็นกลุ่ม ส่งเสริมให้ผู้เข้าอบรมกล้าแสดงออก มีการพูดคุย อภิปรายโดยสร้าง
บรรยากาศท่ีเป็นมิตร ทาให้ผู้เข้าอบรมไม่มีอาการเขิลอายท่ีจะพูดคุยเรื่องเพศ และมีทัศนคติในการ
เรียนรู้และถ่ายทอดเพศศึกษา ซึ่งสอดคล้องกับ นริสานันท์ เดชสุระ (2556, : 214) สรุปว่า ผู้เข้าอบรม
มีความพงึ พอใจในระดับมากทส่ี ุดอาจเนื่องจากการจดั กิจกรรมการเรียนรู้เพศศึกษาทกี่ ารบรู ณาการการ
จัดกิจกรรมท้ังระบบ ทั้งความรู้ ทัศนคติ และทักษะ ตลอดจนใช้กระบวนการกลุ่ม ส่งเสริมให้เกิดการ
เรียนรู้และนาไปปรับใช้ใช้ในชีวิตประจาวัน และเช่นเดียวกับ เกษมศรี อัศวศรีพงศ์ธรและฐิติวัสส์ สุข
ป้อม (2555, : 61)ผลการจดั กิจกรรมเพศศึกษารอบดา้ น โดยการมสี ่วนร่วมทาใหเ้ กดิ ความตระหนักรู้ใน
ตนเอง และเห็นความสาคญั ในการส่ือสารเร่อื งเพศและมีทัศนคตทิ างบวกในเรื่องเพศส่งผลใหม้ ีความช่ืน
ชอบในการจัดกิจกรรมอยู่ในระดบั มากท่สี ดุ

ข้อเสนอแนะ
1. ข้อเสนอแนะสาหรับการนาผลการวจิ ยั ไปใช้
1.1 ควรมีการสรา้ งชุดฝกึ อบรมการจดั การเรียนรเู้ พศศกึ ษา ทคี่ านงึ ถึงเนอ้ื หาทีใ่ ชใ้ หเ้ หมาะสม

กับระยะเวลาในการจัดการอบรม
1.2 ควรศึกษาเน้ือหาเพศศึกษาที่โรงเรียนไม่ได้นามาจัดการเรียนรู้ในสถานศึกษาเพื่อนามา

พฒั นาการวจิ ยั ใหน้ ักศึกษามีความรู้ในเรื่องน้นั ๆ และสามารถนาไปจัดการเรียนรใู้ นสถานศึกษาต่อไปได้
2. ข้อเสนอแนะในการวจิ ัยครัง้ ตอ่ ไป
2.1 ควรมกี ารนาวจิ ยั ในนกั ศึกษาระดับชน้ั และสาขาอ่ืน ๆ ท่ีศกึ ษาในคณะครุศาสตร์

และคณะอืน่ ๆ
2.2 ควรมีการวจิ ัยวิจัยเพือ่ การติดตาม ประเมนิ ผลกับการจดั การเรียนรู้เพศศึกษา

ของนักศึกษาที่ฝึกประสบการณ์สอนในโรงเรยี นต่าง ๆ

เอกสารอ้างอิง
กนกพร ทองสอดแสง. (2553). การพฒั นารปู แบบการฝกึ อบรมครสู อนวชิ าเพศศกึ ษาด้วย เทคนคิ การ

เรียนรแ้ บบร่วมมือ. วทิ ยานิพนธ์ ครุศาสตรดษุ ฎบี ัณฑิต มหาวทิ ยาลัย เทคโนโลยีพระจอม
เกลา้ พระนครเหนือ.
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. (2559). รายงานผลการวจิ ัยเพอ่ื ทบทวนการสอนเพศวิถีศึกษาในสถานศกึ ษาไทย.
องค์การยนู ิเซฟ ประเทศไทย.
เกษมศรี อัศวศรีพงศธ์ ร และฐติ วิ สั ส์ สขุ ป้อม. (2555). ผลการจดั กระบวนการเรียนรู้เพศศึกษารอบ
ดา้ น สาหรบั บุคคลวัยเด็ก วยั ร่นุ และวัยผูใ้ หญท่ ี่มีผลต่อความยบั้ ยั้งช่งั ใจทีส่ มั พันธก์ ับ
พฤติกรรมดา้ นเพศสัมพนั ธ์. วารสารจนั ทรเกษมสาร, 18 (34), 53-63.

253

จักรกฤษณ์ พญิ ญาพงษ์. (2547). ความต้องการเน้ือหาวิชาเพศศึกษาของนักเรียนระดบั มธั ยมศกึ ษา
ตอนตน้ และนักศึกษาระดับอุดมศกึ ษา จังหวัดอตุ รดิตถ.์ ทุนอุดหนุนการวิจัยจากสถาบนั ราช
ภัฏอุตรดติ ถ์

ช่วงมณี จงเพยี ร. (2551). ปญั หาและแนวทางการจดั การเรียนรเู้ พศศึกษาของโรงเรียนในเขตอาเภอ
โนนดินแดง จงั หวัดบรุ ีรมั ย์. วทิ ยานิพนธค์ รศุ าสตรมหาบณั ฑิต, มหาวทิ ยาลัยราชภฎั บุรีรมั ย.์

ณฐานพ ระวะใจ. (2554). ปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมเส่ียงทางเพศของนักศึกษาในสถานศึกษาสังกัด
สานักงานคณะกรรมการการอาชีวสศึกษาในเขตกรุงเทพมหานคร. ปริญญานิพนธ์
มหาวิทยาลยั ศรนี ครรนิ ทรวโิ รฒ.

นริสานันท์ เดชสุระ. (2556) การพัฒนาชุดฝึกอบรมทักษะการจัดการเรียนรู้เพศศึกษารอบด้าน
สาหรับ นักศึกษาครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎ. วารสารวิจัยและพัฒนา วไลยอลงกรณ์ใน
พระบรมราชูปถัมภ์ม, 10 (2) (เดอื นพฤษภาคม – เดือนสิงหาคม 2558), 203-215.

บุญชม ศรสี ะอาด. (2545). การวจิ ยั เบอื้ งตน. พิมพคร้ังท่ี 7. กรงเทพฯ : สวุ รี ิยาสาสน
สมนึก ภัททยิ ธนี. (2549). การวัดผลการศึกษา. พมิ พค์ รัง้ ท่ี 5. กาฬสินธ์ุ : ประสานมติ รการพมิ พ์.

254

การพฒั นาทักษะปฏิบตั เิ ครอื่ งดนตรีโหวดตามแนวคิดของครูภมู ปิ ัญญาไทย ประกอบชดุ ฝึก

PRACTICAL SKILLS DEVELOPMENT OF THE WOTE FOLK MUSIC BASED ON THAI
WISDOM TEACHER’S IDEA USING TRAINING PACHAGE.

วทิ ยา เออ้ื การ
สาขาหลกั สูตรและการเรียนการสอน มหาวิทยาลยั ราชภัฏมหาสารคาม

ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.พทิ ยวฒั น์ พนั ธะศรี
สาขาวิชาเทคโนโลยดี นตรี คณะมนษุ ยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม

บทคดั ย่อ
การวิจัยคร้ังมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพ่ือพัฒนาทักษะปฏิบัติเคร่ืองดนตรีโหวดตามแนวคิดของครู

ภูมิปัญญาไทย ประกอบชุดฝึก ที่มีประสิทธิภาพกาหนดเกณฑ์ 80/80 2) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียน ของนักเรียนก่อนเรียน - หลังเรียน 3) เพื่อศึกษาทักษะการปฏิบัติเคร่ืองดนตรีโหวดของ
นักเรียนชุมนุมดนตรีพื้นเมือง และ 4) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียน กลุ่มตัวอย่างท่ีใช้ในการวิจัย
ครงั้ น้ี ไดแ้ ก่ นกั เรียนชุมนุมดนตรีพื้นเมือง โรงเรยี นนา้ พองศึกษา สานกั งานเขตพื้นท่ีการศกึ ษามธั ยมศึกษา
เขต 25 ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2561 จานวน 20 คน สถิติท่ีใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ
ค่าเฉลย่ี สว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐาน และการทดสอบสมมติฐานใชส้ ถติ ิ t-test (Dependent Samples)

ผลการวิจัยพบว่า การพัฒนาทักษะปฏิบัติเคร่ืองดนตรีโหวดตามแนวคิดของครูภูมิปัญญาไทย
ประกอบชุดฝึก มีประสิทธิภาพ E1/E2 เท่ากับ 82.46/82.33 ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ที่กาหนด (80/80)
นักเรียนมีผลสัมฤทธ์ิหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 นักเรียนมีผลการ
ประเมนิ ทักษะปฏิบัติเคร่ืองดนตรโี หวด คดิ เป็นรอ้ ยละ 82.39, S.D. = 3.15 และ นกั เรียนมีความพึงพอใจ
โดยรวมอยู่ระดบั มาก ( X = 4.25 , S.D. = 0.05)

คาสาคญั : ทักษะปฏบิ ัติเครื่องดนตรโี หวด, แนวคิดของครภู ูมิปัญญาไทย

ABSTRACT
The purpose of research was to. 1 ) develop practical skills in Wote folk music

based on a training package developed by a Thai wisdom teacher. 2) compare student
achievement before and after the learning activities. 3) with the study the Practical skills of
the Wote folk music, and 4)study the students’satisfaction Practical skills development
training of the Wote folk music. The target group were 20 students of Folk music club
who studied in the 2nd semester of the academic year 2018, at the Nampongsuksa
School under the Secondary Educational Service Area 25. The statistics used for the
data analysis included percentage, mean, standard deviation, and t- test (dependent
samples).

The favorable results were as follows : 1) after use of the two training packages
(E1 or E2) the practical skills development of the Wote folk music shows E1/E2 learning
equal to 82.46/82.33 consistent with the criteria of 80/80. 2) Students’achievement after
the training activity was significantly higher than before at a statistical significance of .05 3)

255

Students’ achievement after Practical skills development of the Wote folk music,
resulted in scores for their practical skills at 82.39 percent with a 3.15 standard deviation,

and 4) Students were satisfied at a high level ( X = 4.25, S.D. = 0.05).

Keywords : Practical skills of the Wote folk music., Thai wisdom teacher’s idea
using Training pachage.

บทนา
ดนตรีพ้ืนเมืองเป็นวัฒนธรรมพ้ืนบ้านอีกแขนงหน่ึง สะท้อนให้เห็นถึงวิถีชีวิตความเป็นอยู่

ขนบธรรมเนียมประเพณี วัฒนธรรม คา่ นยิ มตา่ ง ๆ ของคนไทยในแต่ละท้องถิน่ บ่งบอกถงึ แนวทางการ
ดาเนินชีวิต เป็นศลิ ปวัฒนธรรมอันล้าค่าสมควรท่ีจะอนุรักษส์ ่งเสริมให้นกั เรียนได้มีโอกาส มีสว่ นร่วมใน
การทานุบารงุ รักษาศิลปวัฒนธรรมอนั ล้าคา่ เครื่องดนตรีพ้ืนเมอื งและลายท่บี รรเลงออกมามาแสดงออก
ถึงจิตวิญญาณ วิถีชีวิตความเป็นอยู่ของชาวอีสาน และเป็นมรดกทางปัญญาอันเป็นรากฐานของ
ศิลปวัฒนธรรมของภาคพื้นอีสาน ดนตรีพื้นเมืองจะมีเอกลักษณ์ที่โดดเด่นเฉพาะตัว โดยเกิดจากภูมิ
ปัญญาของชนชาวอีสาน โดยลักษณะของเครื่องดนตรีแต่ละชนิดจะเกิดขึ้นในท้องถิ่นท่ีไม่เหมือนกัน
โดยสังเกตไดเ้ หน็ ไดจ้ ากการกาเนดิ เคร่ืองดนตรีแตล่ ะประเภท ตวั อย่างเช่น โหวด มตี น้ กาเนดิ และมีการ
พัฒนาท่ีจังหวัดร้อยเอ็ด ช้ีให้เห็นความแห้งแล้ง เพราะเสียงของโหวดเมื่อได้ฟังแล้วจะเกิดความรู้สึก
รันทด หดหู่ใจ และสอดคล้องกับสภาพอากาสท่ีร้อนอบอ้าว สภาพดินแห้งแล้ง ยากแก่การเพราะปลูก
จึงเปน็ สาเหตุทใ่ี ห้เกิดเคร่อื งดนตรีชนดิ น้ี คอื การเข้าไปหาอาหารในปา่ หรอื การล่าสตั วจ์ ึงมกี ารนาเอาไม้
ไผ่ชนิดบางๆ มาตัดให้มีความยาวแตกแต่งกัน เพื่อทาให้เกิดเสียงสูงต่า และนามาเล่นในยามที่ว่างจาก
การทางาน โหวดเปน็ เครื่องดนตรีท่ีทาจากไม้ไผ่ และวัสดุอปุกรณ์ท่ีทาเป็นส่ิงท่ีมีอยตู่ ามท้องถนิ่ ง่ายต่อ
การนามาใช้ในการจัดกิจกรรมการเรยี น และโหวดเป็นเครอื่ งดนตรปี ระเภทเปา่ บรรเลงทานองตามโน้ต
ของดนตรีพื้นเมือง ซึ่งเป็นพื้นฐานในการเรยี นร้ทู ี่จะขยายไปสู่การการบรรเลงเคร่อื งดนตรีอื่นๆ ท่ีอยู่ใน
วงดนตรีพ้นื เมืองโปงลางได้ (โยธิน พลเขต, 2550 : 5)

กิจกรรมชุมนุม หรือ กลุ่มสนใจ เป็นกิจกรรมหน่ึงในสาระกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนท่ีมุ่งพัฒนา
ความเป็นระเบียบวินัย ความเป็นผู้นาผู้ตามท่ีดี ความรับผิดชอบ การทางานร่วมกัน การรู้จักแก้ปัญหา
การตัดสินใจท่ีเหมาะสม ความมีเหตุผล การช่วยเหลือแบ่งปัน เอ้ืออาทร สมานฉันท์ โดยจัดให้
สอดคล้องกับความสามารถ ความถนัดและความสนใจของผูเ้ รียน ให้ได้ปฏิบัติด้วยตนเองในทุกข้นั ตอน
ได้แก่ การศึกษาวิเคราะห์ วางแผน ปฏิบิัติตามแผนประเมิน และปรับปรุงการทางาน เน้นการทางาน
ร่วมกันเป็นกลุ่มตาม ความเหมาะสมและสอดคล้องกับวุฒิภาวะของผู้เรียน และบริบทของสถานศึกษา
และท้องถ่ิน ได้มกี ารจดั ขึน้ ในลักษณะของกิจกรรมชุมนุมหรือชมรม ซง่ึ เปน็ การจัดกระบวนการเรียนรู้ที่
ผู้เรียนให้ความสนใจตามความสามารถและความถนดั เพ่ือเติมเต็มความรู้ ความชานาญ ประสบการณ์
ทักษะ เจตคติเพื่อพัฒนาตนเองตามศักยภาพโดยสถานศึกษาสามารถปรับได้ตามความเหมาะสมกับ
บรบิ ทและสภาพของสถานศกึ ษา และสถานศึกษาบรหิ ารจัดการให้ผเู้ รียนดาเนินกิจกรรมไดห้ ลากหลาย
รูปแบบ (กระทรวงศึกษาธกิ าร. 2552 ข : 2)

โรงเรียนน้าพองศึกษามีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนกิจกรรมชุมนุมดนตรีพื้นเมือง เป็น
รายวชิ าหนึง่ ของกิจกรรมพฒั นาผู้เรียน ท่จี ัดทาขนึ้ เพ่ือให้นักเรยี นได้เลือกเรยี นตามความสนใจและตาม
ความถนัดของแต่ละบุคคล ซงึ่ เปน็ การเปน็ กิจกรรมท่เี น้นทักษะทางด้านการปฏิบัติเครื่องดนตรีพื้นเมือง

256

อีสาน มีการปฏิบัติแบบจากทักษะย่อยๆ คือการปฏิบัติเด่ียวเครื่องดนตรี ไปถึงการปฏิบัติลายเพลง
พื้นบ้านและการปฏิบัติรวมวงดนตรีพ้ืนเมือง ซึ่งชุมนุมดนตรีพ้ืนเมืองมีความสัมพันธ์เชื่อโยงเก่ียวกับ
ศิลปวัฒนธรรมพื้นบ้านของชาวอีสาน และมีการเผยแพร่ ให้บริการชมุ ชน หน่วยงานสว่ นราชการต่าง ๆ
และเข้าร่วมแข่งขันในกิจกรรมต่าง ๆ ทั้งในระดับจังหวัด ระดับภาค ระดับประเทศ และได้มีการจัดทา
โครงการในแผนงบประมานประจาปีของสถานศึกษาคือ โครงการส่งเสรมิ ศักยภาพสคู่ วามความเป็นเลิศ
ทางด้านดนตรีพื้นเมือง (วงโปงลาง) เพ่ือนักเรียนจะได้ตระหนักถึงความเป็นมรดกทางวัฒนธรรม มี
ความภูมิใจท่ีได้สืบทอดวัฒนธรรมอันเป็นเอกลักษณ์ของตน ซึ่งเป็นโครงการที่จัดทาขึ้นเพื่อพัฒนา
ผู้เรียนให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาชาติ คือ ผู้เรียนมีสุขภาวะและมีสุนทรียภาพ สถานศึกษามี
การจัดหลักสูตรกระบวนการเรียนรู้และกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนอย่างรอบด้าน และตรงตามตัว
บ่งชี้ คือ การสร้างผลงานของนักเรียนจากการเข้าร่วมกิจกรรมด้านศิลปะ ดนตรี และนาฏศิลป์
หลักสตู รสถานศึกษาเหมาะสมและสอดคลอ้ งกับท้องถนิ่ และการจดั วชิ าเพ่ิมเติมท่ีหลากหลายให้ผู้เรียน
ได้เลอื กเรียนตามความถนัด ความสามารถและความสนใจ

การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนชุมนุมดนตรีพ้ืนเมืองของโรงเรียนน้าพองศึกษาซึ่งผู้วิจัยได้
ปฏิบัติการสอนอยู่ พบว่านักเรียนส่วนใหญ่ในชุมนุมดนตรีพ้ืนเมือง ยังขาดพื้นฐานทางดนตรีทั้งด้าน
ทฤษฎีพื้นฐาน และด้านการปฏิบัติดนตรีพื้นบ้านมาก่อน และการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนของชุมนุม
ดนตรีพื้นเมือง ยังไม่มีแบบแผนในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่แน่ชัด จากข้อมูลนักเรียนท่ีเรียน
ชุมนมุ ดนตรพี นื้ เมอื ง ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2561 มีนักเรียนที่มีระดับคะแนน 70 คะแนนขึ้นไปคิด
เป็นร้อยละ 47.36 ของจานวนนักเรียนหมด ซึ่งยังไม่เป็นท่ีน่าพอใจ ผู้วิจัยจึงได้ศึกษาแนวทางการ
จัดการเรียนสอนตามแนวคิดของครูภูมิปัญญาไทย เพ่ือนามาใช้ในการพัฒนากิจกรรมชุมนุม คือ
แนวความคิดและวิธีการสอนการปฏิบัติเคร่ืองดนตรีโหวดของอาจารย์ทรงศักดิ์ ประทุมสินธ์ุ ครูภูมิ
ปัญญาไทย มาใช้ในการจัดกิจกรรมชุมนุมดนตรีพ้ืนเมือง เพ่ือให้การจัดการเรียนรู้รายวิชาชุมนุมมี
ประสิทธิภาพตามจุดประสงค์และคุณลักษณะกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนตามแนวทางของหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพน้ื ฐานพทุ ธศักราช 2551 ไดก้ าหนดไว้

จากสภาพปัญหาท่ีกล่าวมาข้างต้น ผู้วิจัยจึงสนใจที่จะพัฒนาทักษะปฏิบัติเคร่ืองดนตรีโหวด
ตามแนวคิดของครูภูมิปัญญาไทย ประกอบชุดฝึก โดยมุ่งเน้นในเร่ืองทฤษฎีพื้นฐานและด้านปฏิบัติ
ทักษะให้มีความสอดคล้องกันในแต่ละเนื้อหา ไปตามลาดับข้ันตอน เพื่อเป็นพื้นฐานในการเรียนท่ี
เหมาะสมกับผู้เรียน ทาให้ผู้เรียนมี ความรู้และทักษะในการปฏิบัติเคร่ืองดนตรีโหวด เป็นพื้นฐานใน
การบรรเลงเคร่ืองดนตรีอ่ืน ๆ ท่ีอยู่ในวงดนตรีพื้นเมือง และเป็นการสืบทอดและอนุรักษ์วัฒนธรรม
ทางด้านดนตรีพื้นบ้านอีสานให้เจริญงอกงามรวมทั้งเป็นการสร้างเสริมความเป็นมนุษย์และเป็นการ
พัฒนาคณุ ภาพชีวิตของผู้เรยี นตอ่ ไป

วัตถุประสงคข์ องการวิจยั ของการวิจัย
1. เพ่ือพัฒนาทักษะปฏิบัติเครื่องดนตรีโหวดตามแนวคิดของครภู ูมปิ ัญญาไทย ประกอบชุดฝกึ

ใหม้ ปี ระสิทธภิ าพ (E1 /E2 ) ตามเกณฑ์ 80/80
2. เพอื่ เปรียบเทียบผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นก่อนเรยี น - หลงั เรียน โดยการพฒั นาทักษะปฏิบัติ

เคร่อื งดนตรีโหวดตามแนวคิดของครภู มู ปิ ัญญาไทย ประกอบชุดฝึก
3. เพ่ือศึกษาทักษะการปฏิบัติเคร่ืองดนตรีโหวด ของนักเรียน ที่เรียนโดยการพัฒนาทักษะ

ปฏิบตั ิเครอื่ งดนตรโี หวดตามแนวคิดของครภู มู ิปัญญาไทย ประกอบชดุ ฝึก

257

4. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียน ที่มีต่อการพัฒนาทักษะปฏิบัติเครื่องดนตรี โหวดตาม
แนวคิดของครูภูมปิ ัญญาไทย ประกอบชดุ ฝกึ

วิธีดาเนินการวิจยั
การวิจัยเรื่อง การพัฒนาทักษะปฏิบัติเครื่องดนตรีโหวดตามแนวคิดของครูภูมิปัญญาไทย

ประกอบชุดฝกึ ผูว้ ิจยั ไดด้ าเนินตามขั้นตอนดังนี้
1. ประชากรและกลุ่มตวั อย่าง
ประชากร นกั เรียนชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 1-6 โรงเรียนน้าพองศกึ ษา สานกั งานเขตพืน้ ที่การศึกษา

มัธยมศึกษา เขต 25 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2561 จานวนทั้งส้ิน 2,731 คน แยกเป็นนักเรียนชาย
1,072 คน และนกั เรียนหญิง 1,659 คน

กลุ่มตัวอย่าง นักเรียนที่ลงทะเบียนเรียนกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนชุมนุมดนตรพี ื้นเมือง โรงเรียน
น้าพองศึกษา สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 25 ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2561
จานวน 20 คน ซ่ึงกลุ่มตัวอย่างได้มาโดยวิธีเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) เพราะนักเรียน
กลมุ่ นไ้ี ด้เลือกเครื่องดนตรโี หวดในการเรยี นกจิ กรรมชมุ นุม เพ่อื เรียนรู้เนอ้ื หาและการปฏบิ ตั กิ ารบรรเลง
ดนตรโี หวด และใหส้ อดคล้องกับ จดุ ประสงคใ์ นการจัดกิจกรรมพัฒนาผเู้ รียนท่ที างสถานศึกษากาหนด

2. เคร่ืองมอื ทใี่ ชใ้ นการวิจัย
เครื่องมอื ท่ใี ช้ในการวจิ ยั ครั้งนี้มี 5 ชนดิ ดังน้ี

1. แผนการจัดการเรียนรู้ จานวน 12 แผน
2. ใบความรูแ้ ละชดุ ฝึกทกั ษะปฏบิ ัติเครือ่ งดนตรโี หวด จานวน 4 ชุด
3. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
4. แบบประเมนิ ทักษะปฏิบัติการเป่าโหวด
5. แบบสอบถามความพงึ พอใจ
3. การเก็บรวบรวมข้อมลู
การพัฒนาทักษะการปฏิบัติเครื่องดนตรีโหวดตามแนวคิดของครูภูมิปัญญาไทย ประกอบ
ชดุ ฝึก ผวู้ จิ ยั ได้ ดาเนนิ การตามขั้นตอนตอ่ ไปน้ี
1. ทาการปฐมนเิ ทศนกั เรียน โดยชีแ้ จงวัตถุประสงค์การเรยี นรู้ กระบวนการเรียนรู้ และวิธกี าร
วัดและประเมินผลให้นักเรียนทราบและเข้าใจ
2. ทาการทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนก่อนเรียนก่อนเรียน โดยใช้แบบทดสอบวัดผล
สัมฤทธ์ิทางการเรียน แบบปรนัย ชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จานวน 30 ข้อ เพ่ือนาคะแนนที่ได้ไปใช้
เปน็ คะแนนกอ่ นเรียนของนักเรียนกล่มุ ตวั อย่าง
3. ดาเนนิ การจัดกจิ กรรมการเรียนรทู้ ักษะปฏิบัตเิ ครื่องดนตรโี หวด ตามแผนการจัดการเรียนรู้
ท่สี ร้างขึน้ ทงั้ หมด 12 แผน ระยะเวลา 12 ชัว่ โมง
4. ดาเนินการพัฒนาทักษะปฏิบัติเคร่ืองดนตรีโหวด ครบทั้ง 12 แผน ระยะเวลา 12 ชั่วโมง แล้ว
จึงทาการทดสอบวัดความรู้และทักษะปฏิบัติเครื่องดนตรีโหวดของนักเรียน โดยใช้แบบทดสอบวัดผล
สัมฤทธ์ิทางการเรียน ท่ีเป็นชุดเดียวกันกับที่ใช้ทดสอบก่อนเรียน เพ่ือนาคะแนนที่ได้ไปใช้เป็นคะแนนหลัง
เรียนของนักเรียนกลุม่ ตัวอย่าง และวดั ทกั ษะปฏบิ ัติการเป่าโหวด โดยแบง่ ออกเปน็ 3 ดา้ นดังนี้
ดา้ นท่ี 1 ประเมนิ ทกั ษะปฏิบัตกิ ารอา่ นโนต้ เพลงไทย
ด้านที่ 2 ประเมนิ เทคนคิ และวิธกี ารเบื้องตน้ ในการเป่าโหวด

258

ด้านที่ 3 ประเมนิ ทักษะปฏบิ ัติการเปา่ โหวดในลายเพลงพ้ืนบ้านอสี าน
โดยใช้เคร่ืองมือในการเก็บข้อมูลในรูปแบบตาราง (Scoring Rubric) โดยครูผู้สอนเป็นผู้
กาหนดเกณฑ์การให้คะแนนในการวัดวิธีการในการเป่าโหวด และวัดผลงานการเป่าโหวดเป็นเพลง
พ้นื บ้านอสี าน
5. ให้นักเรียนกรอกแบบสอบถามความพึงพอใจนักเรียน หลังจากจัดกิจกรรม การเรียนรู้
ทักษะปฏิบตั ิเคร่ืองดนตรีโหวด ครบทง้ั หมด 12 แผนแลว้
4. การวิเคราะห์ขอ้ มลู
การวจิ ัยคร้งั นผ้ี วู้ จิ ยั ไดว้ เิ คราะห์ข้อมูลโดยใชค้ อมพวิ เตอร์โปรแกรมสาเร็จรปู ดงั น้ี
1. วเิ คราะหป์ ระสทิ ธิภาพของการจัดโดยการพฒั นาทักษะปฏบิ ัตเิ ครื่องดนตรีโหวดตามแนวคิด
ครภู มู ิปัญญาไทย ประกอบชุดฝกึ ที่มปี ระสทิ ธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 (E1/E2)
2. เปรยี บเทยี บผลการเรยี นรูก้ ่อนเรียนและหลงั เรยี นของนักเรยี น ท่ีเรยี นโดยการพฒั นาทักษะ
ปฏิบัติเคร่ืองดนตรีโหวดตามแนวคิดครูภูมิปัญญาไทย ประกอบชุดฝึก ด้วยสถิติทดสอบสมมติฐาน t-
test (Dependent sample)
3. ศึกษาทกั ษะการปฏบิ ัติเครื่องดนตรโี หวด ของนักเรียน ที่เรยี นโดยใชก้ ารพฒั นาทักษะปฏิบัติ
เคร่ืองดนตรโี หวดตามแนวคดิ ของครูภมู ปิ ัญญาไทย ประกอบชุดฝกึ
4. วิเคราะห์ความพึงพอใจของนักเรียน ที่มีต่อการพัฒนาทักษะปฏิบัติเครื่องดนตรีโหวดตาม
แนวคิดของครภู ูมปิ ญั ญาไทย ประกอบชดุ ฝกึ

สรปุ ผลการวิจัย
1. ผลการวิเคราะหห์ าประสทิ ธิภาพของการพฒั นาทักษะปฏบิ ัติเคร่ืองดนตรโี หวดตามแนวคิดของ

ครูภูมิปัญญาไทย ประกอบชุดฝึก ทม่ี ปี ระสิทธภิ าพตามเกณฑ์ 80/80 พบว่า ประสิทธภิ าพของการพัฒนา
ทักษะปฏิบัติเครื่องดนตรีโหวดตามแนวคิดของครูภูมิปัญญาไทย ประกอบชุดฝึก มีประสิทธิภาพของ
กระบวนการ (E1) ซึ่งได้จากการวิเคราะห์คะแนนระหว่างการทากิจกรรมของนักเรียน มีค่าเฉล่ียร้อยละ
เท่ากับ 82.46 และมปี ระสทิ ธภิ าพของผลลัพธ์ (E2) ไดจ้ ากการวเิ คราะห์คะแนนหลังเรยี น มีคา่ เฉล่ียร้อยละ
เทา่ กับ 82.33 แสดงใหเ้ หน็ วา่ แผนการจดั การเรยี นรู้มีประสิทธิภาพ (E1/E2) เทา่ กบั 82.46/82.33

2. ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยการพัฒนาทักษะปฏิบัติเครื่องดนตรีโหวด
ตามแนวคิดของครูภูมิปัญญาไทย ประกอบชุดฝึก ก่อนเรียนและหลังเรียน พบว่า นักเรียนชุมนุมดนตรี
พื้นเมืองที่เรียนโดยการพัฒนาทักษะปฏิบัติเคร่ืองดนตรีโหวดตามแนวคิดของครูภูมิปัญญาไทย ประกอบ
ชุดฝึก มีผลสมั ฤทธิ์หลังเรยี นสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมนี ัยสาคัญทางสถติ ิทีร่ ะดบั 0.05

3. ผลการประเมินทักษะปฏิบัติเครื่องดนตรีโหวดตามแนวคิดของครูภูมิปัญญาไทย ประกอบ
ชุดฝึก พบว่า นักเรียนชุมนุมดนตรีพื้นเมืองที่เรียนโดยการพัฒนาทักษะปฏิบัติเคร่ืองดนตรีโหวดตาม
แนวคิดของครูภูมิปัญญาไทย ประกอบชุดฝึก มีผลการประเมินทักษะปฏิบัติเครื่องดนตรีโหวดตามแนวคิด
ของครูภมู ปิ ัญญาไทย ประกอบชุดฝกึ มีค่าเฉล่ยี เท่ากับ 198.00 คา่ S.D.= 3.15 คดิ เปน็ ร้อยละ 82.39

4. ผลการวิเคราะห์ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการพัฒนาทักษะปฏิบัติเคร่ืองดนตรี
โหวดตามแนวคิดของครูภูมิปัญญาไทย ประกอบชุดฝึก พบว่า นักเรียนมีความพึงพอใจต่อการ โดยรวม
อยรู่ ะดับมาก ( X = 4.25 , S.D. = 0.05)

259

อภิปรายผลการวิจัย
จากการวิจัยครั้งน้ี เป็นการพัฒนาทักษะปฏิบัติเครื่องดนตรีโหวดตามแนวคิดของครูภูมิปัญญา

ไทย ประกอบชดุ ฝกึ ผวู้ ิจยั อภิปรายผลการวจิ ัย ดงั น้ี
1. การพัฒนาทักษะปฏิบัติเคร่ืองดนตรีโหวดตามแนวคิดของครูภูมิปัญญาไทย ประกอบชุดฝึก

ท่ีมปี ระสิทธิภาพ เทา่ กับ 82.46/82.33 ซ่งึ เป็นไปตามเกณฑ์ 80/80 ทก่ี าหนด ทงั้ นอี้ าจเปน็ เพราะผู้วิจัย
ได้ศึกษาเอกสาร สัมภาษณ์ หลักการสอนทักษะปฏิบัติโหวดตามแนวคิดของครูภูมิปัญญาไทย มาสร้าง
ชุดฝกึ ทกั ษะและสรา้ งแผนการจัดการเรยี นรู้ และไดผ้ า่ นกระบวนการ ขั้นตอนในการสรา้ งอยา่ งมีระบบ
และวิธีการเขียนแผนท่ีดี ผ่านการตรวจความถูกต้องจากอาจารย์ที่ปรึกษาและผ่านการประเมินความ
เหมาะสมจากผเู้ ชี่ยวชาญ จานวน 5 ทา่ น และนาไปใช้ทดลองกบั นักเรียนที่ไม่ใช่กลุ่มเป้าหมาย เพื่อหา
ความเหมาะสมของเวลาในการจัดการเรียนรู้และความเหมาะสมของส่ือการเรียนรู้ แล้วนาไปจัดทา
แผนการจัดการเรียนร้ปู ระกอบกับชุดฝึกทักษะปฏิบัติเครื่องดนตรโี หวดที่มีประสิทธิภาพ ประกอบกับท่ี
จัดทาขึ้น เป็นกิจกรรมการเรยี นรทู้ เี่ น้นให้ผ้เู รยี นไดล้ งมือปฏิบัติในการฝกึ ทักษะปฏิบัตเิ ครื่องดนตรโี หวด
และได้ฝึกทักษะตามความสามารถของตนเอง โดยครูผู้สอนทาหน้าท่ีคอยดูแลและแนะนาหรือกระตุ้น
ให้กิจกรรมท่ีเรียนดาเนินการเป็นไปตามจุดประสงค์การเรียนรู้ที่กาหนดไว้ ซึ่งสอดคล้องกับผลการวจิ ยั
ของ นพชัย อุปชิต (2558 : 96-97) ได้ศึกษาผลการใช้ชุดฝึกทักษะดนตรีไทยตามแนวคิด ของซูซูกิ
สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 2 เร่ือง เสียงใสขลุ่ยเพียงออ พบว่าชุดฝึกทักษะ ดนตรีไทยตาม
แนวคดิ ของซูซกู ิ สาหรบั นักเรยี นช้ันมัธยมศกึ ษาปที ี่ 2 เรือ่ ง เสียงใสขลุย่ เพยี งออ มีประสิทธภิ าพ เท่ากับ
85.61/84.50 ซ่งึ สงู กวา่ เกณฑท์ กี่ าหนดไว้

2. การปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนก่อนเรียน - หลังเรียน ของนักเรียนชุมนุมดนตรี
พื้นเมือง พบว่ามีผลสัมฤทธิ์หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ท้ังน้ีอาจ
เน่อื งมาจากการจัดการเรียนการสอนทักษะปฏิบตั ิเครื่องดนตรโี หวด ที่สรา้ งข้นึ ผ่านวิธีสร้างทเ่ี ปน็ ระบบ มี
กิจกรรมเรียนรู้ที่มีข้ันตอนการปฏิบัติทักษะอย่างชัดเจน มีทั้งเน้ือหาท่ีเป็นทฤษฎีความรู้และทักษะในการ
ฝึกปฏิบัติ จึงเป็นสาเหตุหน่ึงท่ีทาให้นักเรียนได้ปฏิบัติกิจกรรมการเรียนการสอน จนส่งผลให้กิจกรรมการ
เรียนการสอนบรรลุวัตถุประสงค์ท่ีตั้งไว้ และนกั เรียนเกิดการเรียนร้จู ากการปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรู้ด้วย
ตนเอง โดยครูคอยให้คาแนะนาและเพิ่มเติมความรู้ให้กับผู้เรียน โดยผู้เรียนได้มีโอกาสทากิจกรรมร่วมกัน
โดยมีจุดมุ่งหมายเดียวกัน มีกิจกรรมให้ผู้เรียนได้ฝึกทักษะท้ังรายกลุ่มและรายบุคคลอย่างสนุกสนาน
ผู้เรียนได้ปรึกษาหารือกันในกลุ่มและคอยช่วยเหลือเพ่ือนที่มีปัญหาจึงก่อให้เกิดบรรยากาศที่ดีต่อการ
เรียนรู้ทาให้นักเรียนทุกคนมีความกระตือรือร้นในการเรียนรู้ส่งผลให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น
ไปด้วยซึ่งสอดคล้องกับผลการวิจัยของ สุพัตรา รักชาติ (2554 : 94-97) ได้ทาวิจัยเรื่อง ผลการสอน
ทักษะปฏิบัติตามแนวคิดของ เดวีส์เสริมด้วยแบบฝึกทักษะท่ีเน้นเทคนิคเพื่อนช่วยเพื่อนท่ีมีต่อ
ผลสัมฤทธิแ์ ละทกั ษะปฏบิ ัตดิ นตรไี ทย ของนกั เรยี นช้นั มัธยมศึกษาปีที่ 4 จากการวจิ ยั พบว่า ผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนวิชาดนตรีไทยนกั เรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 4 ท่ีเรียนด้วยการสอนทักษะปฏิบัติตามแนวคดิ
ของเดวีส์เสริมด้วยแบบฝึกทักษะที่เน้นเทคนิคเพื่อนช่วยเพื่อนระหว่างก่อนเรียน และหลังเรียน พบว่า
นักเรยี นมคี ะแนนเฉลย่ี ทดสอบก่อนเรียนเท่ากับ 14.53 คดิ เป็นร้อยละ 48.44 คะแนนเฉล่ยี ทดสอบหลัง
เรยี นเทา่ กบั 23.94 คิดเป็นรอ้ ยละ 79.79

3. การศึกษาทักษะการปฏิบัติเคร่ืองดนตรีโหวด ของนักเรียนชุมนุมดนตรีพ้ืนเมือง ที่เรียนโดย
การพัฒนาทักษะปฏิบัติเครื่องดนตรีโหวดตามแนวคิดของครูภูมิปัญญาไทย ประกอบชุดฝึก พบว่าผล
การประเมินทักษะปฏิบัติเคร่ืองดนตรีโหวดมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 198.00 คิดเป็นร้อยละ 82.39 ท้ังนี้อาจ
เนื่องมาจากการพัฒนาทักษะปฏิบัติเคร่ืองดนตรโี หวดตามแนวคิดของครูภูมิปัญญาไทย ประกอบชดุ ฝกึ

260

เป็นกระบวนการที่เน้นทักษะทางด้านการปฏิบัติตามแนวคิดของครูภูมิปัญญาไทย ซ่ึงผู้วิจัยได้ศึกษา
เอกสาร และสัมภาษณ์ หลักการสอนทักษะปฏิบัติโหวดตามแนวคิดของครูภูมิปัญญาไทย มาสร้างชุดฝึก
ทักษะให้ถูกต้องตามองค์ประกอบของชุดฝึกทักษะ มีทั้งด้านความรู้ทฤษฎีต่างๆ และการทักษะวิธีการ
และเทคนคิ ที่ใช้ในการปฏบิ ัตเิ ครอ่ื งดนตรโี หวด เรยี งลาดับจากง่ายไปหายาก เพอื่ ใชเ้ ปน็ ส่ือประกอบการ
แผนการจัดการเรียนรู้ เพ่ือให้เกิดทักษะกับผู้เรียนอย่างมีประสิทธิภาพ เม่ือผู้เรียนได้เรียนรู้จากชุดฝึก
ทักษะดว้ ยตนเอง ทาใหเ้ กิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการเรยี นรู้ และสง่ ผลให้ผูเ้ รียนเกิดทักษะในการ
ปฏิบัติของผู้เรียนดีข้ึน ละเป็นไปตามเกณฑ์ที่ตั้งไว้ ซ่ึงสอดคล้องกับ (ทรงศักด์ิ ประทุมสินธ์ุ ผู้ให้
สัมภาษณ์ วิทยา เอ้ือการ ผู้สัมภาษณ์ บ้านเลขท่ี 1 หมู่ 2 ตาบลหนองพอก อาเภอหนองพอก จังหวัด
ร้อยเอ็ด วันที่ 12 ตุลาคม 2561) ได้เสนอแนวคิดเก่ียวกับการสอนทักษะปฏิบัติเครื่องดนตรีโหวดว่า
การศึกษาทักษะปฏิบัติการเป่าโหวดต้องเริม่ จากการเป่าพ้ืนฐานง่ายๆ เทคนิคการเป่าเบื้องต้น ไปสู่การ
เป่าเพลงพ้ืนบา้ นทีย่ ากขน้ึ ไปตามลาดับ ผสู้ อนควรสอนแบบต่อเพลงใหผ้ ูเ้ รียนปฏบิ ัติตามทีละวรรค และ
ต่อลายเพลงตามจังหวะของกลอง ประการสาคัญคือผู้เรียนต้องรู้จักพ้ืนฐานของโน้ตเพลงไทย และ
เครือ่ งหมายกากับโนต้ ก่อน

4. การศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนชุมนุมดนตรีพ้ืนเมือง ที่มีต่อการพัฒนาทักษะปฏิบัติ
เคร่ืองดนตรีโหวดตามแนวคิดของครูภูมิปัญญาไทย ประกอบชุดฝึก ในด้านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของ
ผู้เรียนต่อการพัฒนาทักษะปฏิบัติเครื่องดนตรโี หวดตามแนวคิดของครูภมู ิปญั ญาไทย ประกอบชุดฝึก โดย
ใช้แบบสอบถามเพื่อวัดความพึงพอใจของผู้เรียนตามรูปแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ ตามท่ผี ู้วิจัย
สร้างข้ึน จานวน 10 ข้อ พบว่านักเรียนชุมนุมดนตรีพื้นเมืองมีความพึงพอใจต่อการพัฒนาทักษะปฏิบัติ
เคร่ืองดนตรีโหวดตามแนวคิดของครูภูมิปัญญาไทย ประกอบชุดฝึก โดยรวมอยู่ระดับมาก ( X = 4.25 ,
S.D. = 0.05) ทั้งน้ีอาจเปน็ เพราะการใชช้ ุดฝึกทักษะปฏิบัตเิ ครื่องดนตรีโหวดตามแนวคิดของครภู ูมิปัญญา
ไทย เม่ือผู้เรียนได้เรียนรู้และฝึกทักษะปฏิบัติเครื่องดนตรีโหวดแล้วท่ีถือได้ว่าเป็นส่ือนวัตกรรมทางการ
เรียนการสอน ทีม่ ีรูปแบบมีข้นั ตอนตามแนวคิดของครูภูมิปญั ญาไทยอย่างเปน็ ระบบและมุ่งเนน้ ผู้เรียนเป็น
สาคัญ โดยให้ผู้เรียนฝึกทักษะด้วยตัวเองและฝึกทักษะร่วมกันเป็นกลุ่มทาให้การจัดกิจกรรมการเรียนการ
สอนมีความสนุกสนาน มีเนื้อหาที่เข้าใจง่าย มีรูปภาพท่ีสวยงามดึงดูดความสนใจของผู้เรียน และผู้เรียน
สามารถนาความรู้ท่ีได้ไปใช้ในโอกาสต่อไปได้ จากสภาพดังกล่าวนักเรียนจึงมีความพึงพอใจโดยรวมอยู่ใน
ระดับดีมาก ซึ่งสอดคล้องกับผลการวิจัยของ เสกสรร พรมไชยา (2548 : 80 -81) ได้วิจัยเปรียบเทียบ
ลักษณะทางดนตรีและ ผลสัมฤทธ์ิวิชาดนตรีของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 4 ระหว่างการจัดการเรียน
การสอนตาม แบบของ โซลตาน โคดาย และ คารล์ ออรฟ์ กับการจัดการเรียนการสอนแบบพ้ืนฐาน พบว่า
นกั เรยี นทไี่ ด้รับการจัดการเรียนการสอนตามแบบของ โซลตาน โคดาย และ คารล์ ออร์ฟ มี คะแนนทักษะ
ทางด้านดนตรีและผลสัมฤทธ์ิในการเรียนวิชาดนตรี สูงกว่านักเรียนท่ีได้รับการจัดการเรียนการสอนแบบ
พ้ืนฐาน อย่างมีระดับนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และนักเรียน มีความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนการ
สอนตามแบบของ โซลตาน โคดาย และ คาร์ล ออร์ฟ ในระดับมาก โดยมคี ่าเฉลย่ี 4.05

ข้อเสนอแนะ
จากผลการวิจัยการพัฒนาทักษะปฏิบัติเครื่องดนตรีโหวดตามแนวคิดของครูภูมิปัญญาไทย

ประกอบชดุ ฝกึ ผ้วู จิ ยั มีข้อเสนอแนะ ดังน้ี
1. ขอ้ เสนอแนะในการนาผลการวจิ ัยไปใช้
1.1 ครูผู้สอนควรช้ีแจง ทาความเข้าใจกับผู้เรียนในเร่ืองของจุดประสงค์และข้ันตอนใน

การจดั กจิ กรรม เพ่ือใหเ้ ขา้ ใจตรงกนั และเพอ่ื ใหก้ ารจัดกจิ กรรมมปี ระสิทธภิ าพสูงสุด

261

1.2 การพัฒนาทักษะปฏิบัติเคร่ืองดนตรีโหวด เป็นกิจกรรมท่ีเน้นให้ผู้เรียนต้องฝึก
ปฏิบัติจริงและปฏิบัติให้ถูกต้องตามแนวคิดของครูภูมิปัญญาไทย ครูจึงควรคอยแนะนากากับดูแลอย่าง
ใกล้ชิดเพ่อื ให้นักเรยี นปฏิบตั ิตามได้ถูกต้องตามแนวคิดของครูภมู ปิ ัญญาไทย

1.3 ระยะเวลาที่ใช้ในการทดลองจริงอาจจะคลาดเคลื่อนจากที่วางไว้ครูสามารถ
ปรบั เปลย่ี นชว่ งเวลาไดต้ ามความเหมาะสม

1.4 ครตู อ้ งคอยกระต้นุ และเสริมแรงให้กับผู้เรียนเพ่ือให้ผูเ้ รียนเกิดความกระตือรือร้นใน
การฝึกทกั ษะ เกิดความสนุกสนาน และไม่นา่ เบือ่ เพอื่ ใหก้ ารจัดกิจกรรมมปี ระสิทธภิ าพ

2. ข้อเสนอแนะในการทาการวิจัยครง้ั ต่อไป
2.1 ควรมีการเปรียบเทียบทักษะปฏิบัติเคร่ืองดนตรีโหวด โดยใช้เทคนิคและส่ือการ

เรียนรแู้ บบอนื่ ๆ
2.2 ควรนาชุดฝึกทักษะปฏิบัติเครื่องดนตรีโหวดตามแนวคิดของครูภูมิปัญญาไทย

ประกอบชุดฝึก ไปขยายผลกับเรียนทั่วไปในโรงเรียนที่ไม่ใชน่ ักเรียนชุมนุมดนตรีพ้นื เมือง และขยายผลกับ
โรงเรยี นอนื่ ๆ

2.3 ควรสร้างชดุ ฝึกทักษะปฏิบัตเิ คร่ืองดนตรี เพ่อื ใชก้ ับเคร่ืองดนตรีพ้ืนบ้านอีสานเคร่ือง
อื่น ๆ เช่น โปงลาง พิณ แคน เปน็ ตน้

เอกสารอา้ งอิง
กระทรวงศึกษาธิการ. (2552). แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา

ข้ันพื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551. กรุงเทพฯ : ชมุ นมุ สหกรณก์ ารเกษตร แห่งประเทศไทย.
ทรงศกั ด์ิ ประทมุ สินธ์ุ ผู้ใหส้ มั ภาษณ์. วิทยา เอ้อื การ ผสู้ ัมภาษณ.์ ณ บ้านเลขที่ 1 หมู่ 2 ตาบลหนองพอก

อาเภอหนองพอก จังหวดั รอ้ ยเอ็ด. วันท่ี 12 ตลุ าคม 2561.
นพชัย อุปชิต. (2558). ผลการใช้ชุดฝึกทักษะดนตรีไทยตามแนวคิดของซูซูกิ สาหรับนักเรียน ช้ัน

มัธยมศึกษาปีท่ี 2 เร่ืองเสียงใสขลุ่ยเพียงออ. วิทยานิพนธ์ ครุศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชา
หลักสูตรและการจดั การเรียนรู้ บณั ฑติ วทิ ยาลยั มหาวิทยาลยั ราชภฏั บุรีรัมย์.
โยธนิ พลเขต. (2550) คมู่ อื การศกึ ษาดนตรพี ้ืนบา้ น. พิมพค์ รัง้ ที่ 4. กาฬสนิ ธุ์ : ประสานการพมิ พ.์
เสกสรร พรมไชยา. (2548). การเปรียบเทียบทักษะทางดนตรีและผลสัมฤทธ์ิวิชาดนตรี ของ นักเรียนชั้น
ประถมศึกษาปีท่ี 4 ระหว่างการจัดการเรียนการสอนดนตรีตามแบบของ โซลตาน โคดาย และ
คาร์ล ออร์ฟ กับการจัดการเรียนการสอนแบบพื้นฐาน. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต
สาขาวิชาวิจัยการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
สุพัตรา รักชาติ. (2554) ผลการสอนทักษะปฏิบัติตามแนวคิดของเดวีส์เสริมด้วยแบบฝึกทักษะที่เน้น
เทคนิคเพ่ือนช่วยเพ่ือนที่มีต่อผลสัมฤทธิ์และทักษะปฏิบัติดนตรีไทย ของนักเรียนช้ัน
มัธยมศึกษาปีที่ 4. วิทยานิพนธ์ครุศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาหลักสูตรและการสอน :
มหาวทิ ยาลัยราชภัฏอุดรธานี.

262

การใช้ภาษาไทยกบั การคิดอยา่ งมวี ิจารณญาณในยุคศตวรรษท่ี 21

THAI LANGUAGE USAGE AND CRITICAL THINKING IN THE 21st CENTURY

กัญจณป์ ภัสส์ สุวรรณวิหค

บทคดั ย่อ
บทความวิชาการเรื่อง “การใช้ภาษาไทยกับการคิดอย่างมีวิจารณญาณในยุคศตวรรษท่ี 21” มุ่ง

ศึกษาการใช้ภาษา ทงั้ การอ่านและการเขยี นที่มีความสัมพนั ธ์กบั การคิดอย่างมีวจิ ารณญาณ สรปุ ไดว้ ่า การ
คิดอย่างมีวิจารณญาณจะเกิดขึ้นได้โดยการตั้งคาถาม การวิเคราะห์ สังเคราะห์ และประเมินค่า และต้อง
พัฒนาทักษะการคิดท่ีสัมพันธ์กับการอ่านและการเขียน 6 ประการดังนี้ 1. การจับใจความสาคัญของสาร
2. การแยกแยะข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นของสาร 3. การหาจุดมุ่งหมาย ทัศนคติ สมมติฐาน หลักฐาน
สนับสนุน และการใช้เหตุผล 4. การตีความและประเมินค่าสาร 5. การเขียนแสดงความคิดเห็นอย่างมี
เหตุผล 6. การเขยี นสร้างสรรค์ แนวทางท้ัง 6 ประการดังกล่าวจะทาให้มนุษยม์ วี ิจารณญาณในการส่ือสาร
อันจะนาไปสูก่ ารสื่อสารสรา้ งสรรค์อย่างทรงพลงั (Eloquence) เพ่ือเตรียมพร้อมในการเป็น “มนุษยใ์ นยุค
ศตวรรษท่ี 21” อย่างมปี ระสิทธิภาพ

คาสาคัญ : การใชภ้ าษาไทย, การคดิ อย่างมีวิจารณญาณ

Abstract
The purpose of this article “Thai language usage and critical thinking in the 21st

century” is to study the usage of reading and writing skills associated with critical thinking.
In summation, critical thinking could be generated by posing a set of questions, analysis,
synthesis and evaluation along with developing thinking skills associated with reading and
writing in the following 6 ear. 1. Comprehension of the reading 2. Recognition between facts
and opinions in the reading, 3. Perception of purpose, attitude, hypothesis, evidence, and
reasoning 4. Interpretation and evaluation of the reading and 5. Rational commentary and
writing. Application of these guidelines will bring about critical communication leading to
the creation of eloquence, which provides opportunities for human beings to prepare for
being "Mankind in the 21st century" effectively.

Keyword : Thai Language usage, Critical thinking

บทนา
ภาษาเป็นระบบสัญลักษณ์ที่สาคัญในการเป็นเคร่ืองมือส่ือสารของมนุษย์เพราะในการสื่อสารทุก

คร้งั ผู้สง่ สารจะตอ้ งใชภ้ าษาเพ่ือสง่ สารของตนไปยังผู้รับสารตามวตั ถุประสงค์ท่ีต้องการใหผ้ ู้รับสารเกิดการ
ตอบสนองตามวัตถุประสงค์น้ัน ๆ (จุไรรัตน์ ลักษณะศิริ, 2555 : 3) ในปัจจุบันช่องทางการใช้ภาษาของ
มนุษย์มีการเปล่ียนแปลงไปตามกาลเวลาเนื่องจากความเจริญทางเทคโนโลยีทาให้มนุษย์มีช่องทางในการ
รับสารและส่งสารมากข้ึน ความเจริญทางเทคโนโลยีดังกล่าวอาจเปรียบเสมือนดาบสองคม กล่าวคือดาบ
คมหนึ่งสร้างประโยชน์ให้มนุษย์ได้รับข้อมูลข่าวสารอย่างรวดเร็วและส่ือแสดงความคิดและมุมมองของตน

263

ได้หลากหลายช่องทาง ส่วนดาบอีกคมหนึ่งอาจจะทาให้เกิดความหลอกลวง หรือการกล่ันแกล้งกันในการ
ส่งสารด้วยการให้สารที่เป็นข้อมูลเท็จ อาทิ ข่าวลวงในส่ือออนไลน์ ดังนั้นการใช้ภาษาในแต่ละคร้ังจึงต้อง
ใช้กระบวนการคิด ทั้งการตั้งคาถามต่อตัวสาร การพิจารณาข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นของสารเพ่ือให้เกิด
กระบวนการคดิ มีวิจารณญาณ อันจะทาใหม้ นษุ ย์มีการสื่อสารอยา่ งสร้างสรรค์ทรงพลัง (Eloquence)

การใช้ภาษาไทยมีความสัมพันธ์กับการคิด เพราะในการใช้ภาษาแต่ละคร้ังมนุษย์ต้องคิดเรื่องราว
ต่าง ๆ โดยใชภ้ าษาของตน ผ้ทู พี่ ดู ตา่ งกันก็จะใชภ้ าษาคนละภาษา หากไม่มีภาษามนุษย์ก็ไม่สามารถคิดได้
ภาษากับความคิดจึงมีความสัมพันธ์กันอย่างมาก (จุไรรัตน์ ลักษณะศิริ, 2555 : 14) อาจกล่าวได้ว่า หาก
มนุษย์มีระเบียบวิธีคิด มีเหตุผล และสามารถใช้ภาษาได้ถูกต้องตามความคิดของตนแล้ว จะทาให้การส่ือ
ความคิดเข้าใจได้ง่าย (อรพิณ กิตติเวช และคณะ, 2549 : 35) โดยเฉพาะความคิดเชิงวิเคราะห์ (Critical
Thinking) ซ่งึ มคี วามเชอ่ื มโยงกับทักษะการอ่านและการเขียนอย่างมาก เพราะในกระบวนการเขียนหากไม่
มีกระบวนการคิดท่ีเหมาะสม ตลอดจนไม่มีทักษะในการใช้เหตุผล ย่อมไม่สามารถถ่ายทอดความคิด
ออกมาผ่านงานเขียนน้ัน ๆ ไดอ้ ย่างสมบูรณ์ เช่นเดยี วกับในกระบวนการอา่ น หากผู้อา่ นไมม่ ีทักษะการคิด
วเิ คราะห์ย่อมส่งผลให้ผู้อ่านไม่เขา้ ใจสาระสาคญั ของเรื่อง ไม่เข้าใจจุดม่งุ หมาย ทัศนคติ และมุมมองของผู้
แต่ง (สุปาณี พัดทอง และวิชาติ บูรณะประเสริฐสุข, มปป, : 2) ดังน้ัน ในการใช้ภาษาแต่ละคร้ังไม่ว่าจะ
เปน็ การรับสารหรือการส่งสารส่ิงท่ผี ู้ใช้ภาษาต้องคานึงคือ “การคดิ อยา่ งมวี ิจารณญาณต่อสารท่ีได้รับ”

การคิดอยา่ งมีวิจารณญาณ คอื การคิดโดยผ่านการพิจารณาไตร่ตรองอย่างรอบคอบ มเี หตผุ ล มี
จุดมุ่งหมาย มีหลักเกณฑ์ เพื่อนาไปสู่การสรุปและตัดสินใจเลือกสิ่งใดควรทาหรือไม่ควรทา หรือสิ่งใดควร
เช่ือหรือไม่ควรเชื่อ (บุญสิตา คาบุญเรือง, 2552, : 2) ท้ังนี้ในการส่ือสารแต่ละคร้ังผู้ใช้ภาษาจาเป็นต้อง
“คิดอย่างมีวิจารณญาณ” ต่อสารที่ได้รับและสารที่จะส่งต่อ ด้วยวิธีการต้ังคาถามต่อตัวสาร วิเคราะห์สาร
สังเคราะห์ และประเมินค่าสาร เพราะจะทาให้ผู้ใช้ภาษาได้กล่ันกรองข้อเท็จจริงและสาระสาคัญของสาร
เพ่ือประสิทธิผลของการสื่อสารได้ดีข้ึน ท้ังนี้ในการสื่อสารด้วยการใช้ทักษะการอ่านและการเขียนจะต้อง
พัฒนาทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณและพัฒนาทักษะการอ่านและการเขียนอย่างมีวิจารณญาณไป
พรอ้ ม ๆ กนั ดังที่จะกลา่ วตอ่ ไปในบทความน้ี

แนวทางการพัฒนาทักษะการใชภ้ าษาไทยกับการคดิ อยา่ งมีวจิ ารณญาณ
แนวทางในการพัฒนาทักษะการใช้ภาษาไทยกับการคิดอย่างมีวิจารณญาณ สามารถท่ีจะ

ประยกุ ตใ์ ชแ้ นวคิด RED MODEL ของ Pearson Education, Inc (อ้างถึงใน สิรภิ ักตร์ ศริ โิ ท, 2558, : 81-
82) ซ่ึงโมเดลนี้เป็นการนาหลักการของการคิดเชิงวิจารณญาณไปปฏิบัติ เมื่อต้องเผชิญกับการแก้ปัญหา
องค์ประกอบของโมเดลประกอบไปดว้ ย

แหล่งท่ีมา : http://talentlens.in/solutions/watson-glaser-tm-ii-critical-thinking-appraisal
R (Recognize Assumptions) หมายถงึ การตระหนกั รู้
E (Evaluate Arguments) หมายถงึ การประเมนิ ข้อโตแ้ ย้ง
D (Draw Conclusions) หมายถึง การลงข้อสรุป

264

องค์ประกอบท้ังสามอย่างของโมเดลดังกล่าวข้างต้นมีความเช่ือมโยงสัมพันธ์กัน เพราะเป็น
กระบวนการในการเกดิ การคิดอย่างมวี ิจารณญาณ ซึง่ การใช้ภาษาไทยกับการคิดอย่างมีวิจารณญาณก็ต้อง
มีความสัมพนั ธก์ นั ในลักษณะของโมเดลดงั กล่าวข้างต้น ดงั ตอ่ ไปน้ี

1) การตระหนกั รถู้ งึ ข้อสมมติฐานหรือข้อกล่าวอา้ ง R (Recognize Assumptions)
ในการใช้ภาษาไทยโดยเฉพาะอย่างยิ่งการใช้ทักษะการอ่าน ผู้ใช้ภาษาต้องมีวิจารณญาณในการ
แยกแยะข้อเท็จจริงออกจากความคิดเห็น ซึ่งผู้ใช้ภาษาต้องทาการฝึกฝนไม่ให้ตนยอมรับหรือเช่ือในสารท่ี
ได้รับโดยไม่ผ่านกระบวนการต้ังคาถามต่อตัวสารก่อน เพราะการตั้งข้อสังเกตหรือการต้ังคาถาม จะทาให้
พบช่องวา่ งหรือตรรกะจากข้อคาถามหรือข้อสมมติฐานนัน้ ๆ เม่อื ผ้ใู ชภ้ าษาใชก้ ลวิธดี งั กล่าวดว้ ยทักษะการ
อา่ นแลว้ ผใู้ ชภ้ าษายอ่ มสง่ สารดว้ ยทักษะการเขียนได้ดแี ละแสดงตรรกะของการเขียนได้อย่างสมเหตผุ ล
2) การประเมนิ ข้อโตแ้ ย้ง (Evaluate Arguments)
ในการใช้ภาษาไทยด้วยทักษะการอ่านและการเขียน ส่ิงสาคัญท่ีผู้ใช้ภาษาพึงมีคือ ความสามารถ
ในการประเมินข้อโต้แย้งอย่างไมล่ าเอยี ง ทาการวเิ คราะห์สารอยา่ งมจี ุดประสงค์และถูกต้อง ต้ังคาถามเพ่ือ
ประเมนิ คุณค่าของหลักฐานอ้างอิงทีม่ สี นับสนุนตวั สาร ในการประเมินข้อโต้แย้งของสารส่ิงที่พึงระวังอย่าง
ย่งิ คือ “อคติ” เพราะเม่ือใดท่ีมนุษย์มีอคติ เม่อื น้ันความจริงของสารจะถูกลดทอนลงไปตามจิตใจทีล่ าเอียง
ไม่มีการหาหลักฐานและไม่มีการประเมินหลักฐานก่อนจึงปรากฏให้เห็นถึงการแสดงความคิดเห็นใน
ลกั ษณะท่ีไมส่ มเหตุผล หรือเรียกอกี อยา่ งว่า “ตรรกวบิ ตั ิ”
3) การลงขอ้ สรปุ (Draw Conclusions)
การลงข้อสรุป คือ การประเมินค่าของสาร กล่าวคือความสามารถในการประมวลผลข้อมูลท่ี
หลากหลายเข้าด้วยกันภายใต้หลักฐานที่มีเพ่ือนาไปซ่ึงข้อสรุปที่มีตรรกะและไม่ต้องลงข้อสรุปเกินกว่า
หลักฐานที่ปรากฏ ในขณะเดียวกันผู้ใช้ภาษาต้องพร้อมท่ีจะปรับเปลี่ยนข้อสรุปน้ัน หากพบหลักฐาน
สนบั สนุนท่ีน่าเชอื่ ถอื กวา่
หลกั การ RED ที่ประยุกต์ใช้กับการใช้ภาษาไทยท้ังทักษะการอ่านและการเขียนที่กลา่ วมาข้างต้น
เป็นหลักการที่ต้องใช้ทักษะการตั้งคาถาม การวิเคราะห์ สังเคราะห์ และประเมินค่าข้อมูล เพื่อให้ผู้ใช้
ภาษาพร้อมท่ีจะเป็นประชากรที่ฉลาดของโลก เป็นพลเมืองไทยและพลเมืองโลกที่รู้เท่าทันข่าวสาร รู้ทัน
ข่าวเท็จ และมายา-คติต่าง ๆ ในสังคม ท้ังน้ีเมื่อผู้ใช้ภาษามีการคิดอย่างวิจารณญาณในกระบวนการใช้
ภาษาแล้ว ผูใ้ ช้ภาษาจาเป็นที่จะต้องฝึกฝนทักษะการอา่ นและการเขียนอยา่ งมีวิจารณญาณ ดว้ ยกลวิธีต่าง
ๆ ทั้งการอ่านจับใจความสาคัญ การแยกแยะข้อเท็จจริงข้อคิดเห็น ฯลฯ ดังท่ีจะกล่าวในหัวข้อถัดไป ซึ่ง
กลวิธที ั้งหมดนนั้ เปน็ กลวธิ ีทจ่ี ะทาให้เกดิ การสื่อสารสร้างสรรค์อย่างทรงพลัง

แนวทางพัฒนาทกั ษะการอา่ นและการเขียนอย่างมีวิจารณญาณ
แนวทางการพัฒนาทักษะการอ่านและการเขียนอย่างมีวิจารณญาณ มิได้เป็นหัวข้อที่แยกจาก

แนวทางการพฒั นาทักษะการใช้ภาษาไทยกับการคิดอย่างมีวิจารณญาณ แต่เป็นหัวข้อท่เี กยี่ วเน่ืองสัมพันธ์
กัน เพราะในการใช้ภาษาทุกคร้ังจะปราศจากความคิดมิได้ ดังนั้นในหัวข้อน้ีจึงกล่าวถึงกลวิธีต่าง ๆ ท่ีจะ
ทาให้ผู้ใช้ภาษาไทยใช้แนวทางของความคิดจากหัวข้อท่ี 1 ในกระบวนการอ่านและการเขียนอย่างมี
วิจารณญาณไดอ้ ย่างสมบรู ณ์ ดงั จะกลา่ วในหัวข้อต่อไปนี้

1. การจบั สาระสาคญั
การจับสาระสาคัญ คือ การทาความเข้าใจสารเบ้ืองต้นด้วยกลวิธีการวิเคราะห์สาร ผู้อ่านต้อง
เข้าใจเร่ืองและบอกไดว้ ่าสว่ นใดเป็นข้อความสาคญั สุด หรือเปน็ สาระหลักท่ีครอบคลุมเนื้อหาในย่อหน้าน้ัน

265

หรือเรอื่ งนน้ั ๆ ซ่ึงเรียกวา่ “ใจความหลัก” และส่วนอื่น ๆ เปน็ สว่ นทก่ี ลา่ วเสรมิ ข้อความเรยี กว่า “ใจความ
รอง” (สิริวรรณ นันทจันทูล และธันวพร เสรีชัยกุล, 2554, : 136) ซึ่งในการอ่านจับสาระจับสาคัญ ผู้อ่าน
ต้องใช้กระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณเพื่อทาให้เข้าใจใจความหลักและใจความรองของสาร เพ่ือท่ีจะ
ได้รบั รู้และเขา้ ใจถึงเรื่องราวที่สาคญั ของสารน้ัน ๆ

การจับสาระสาคัญต้องใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์ และคิดอย่างมีวิจารณญาณในการพิจารณาสาร
เพื่อให้เห็นถึงสาระสาคัญบางอย่างท่ีผู้เขียนมุ่งเสนอแก่ผู้อ่าน เพราะการอ่านจับใจความสาคัญมีประโยชน์
ยิง่ ต่อการแสวงหาความรู้ หากพฒั นาทักษะการอ่านจับใจความสาคัญแลว้ ผอู้ ่านจะสามารถอ่านและรับสาร
ท่ีผู้แตง่ ม่งุ เสนอได้เขา้ ใจมากขึน้

2. การแยกแยะขอ้ เทจ็ จริงและข้อคิดเห็น
การแยกแยะข้อเท็จจริงกับข้อคิดเห็นเป็นสิ่งสาคัญย่ิง โดยเฉพาะการใช้ชีวิตอยู่ในสังคมปัจจุบัน
เพราะในปัจจบุ ันมีส่ือหลากหลายช่องทางท่ีเปิดโอกาสใหผ้ ู้คนได้แสดงความคิดของตนอยา่ งอิสระ ทาให้ใน
บางคร้ังผู้รับสารอาจจะได้รับข้อมูลเท็จอันเกิดจากความคิดเห็นหรืออคติ ดังน้ันผู้รับสารจึงต้องแยกแยะ
ข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นออกจากกัน เพื่อให้ได้ข้อมูลที่ถูกต้อง ท้ังน้ีข้อเท็จจริง หมายถึง เนื้อหาของสาร
ในสว่ นทเี่ ข้าใจกันได้ท่ัวไปว่าพสิ ูจน์ได้ว่าจริงหรือเท็จ ซง่ึ สามารถพิสูจน์ได้จากการอ่านหรือค้นคว้าเพิ่มเติม
ส่วนข้อคิดเห็น หมายถึง ข้อความท่ีแสดงความรู้สึกนึกคิดของบุคคล ไม่สามารถนาไปพิสูจน์ได้ว่าจริงหรือ
เท็จ มกั มลี ักษณะในการประเมินคุณค่า ตัดสนิ มีอัตวสิ ยั (สธุ าสนิ ี ปยิ พสนุ ทรา, 2560 : 3-5) ดังน้นั ในการ
อ่านแต่ละคร้ังผู้อ่านจึงต้องแยกให้ออกว่าความใดคือข้อเท็จจริง ความใดคือข้อคิดเห็น ด้วยการใช้
วิจารณญาณตามหลักการ “RED”
ข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นมีความแตกต่างกัน ดังที่สุธาสินี ปิยพสุนทรา (2560) ได้กล่าวถึงการ
สงั เกตข้อเท็จจริงกบั ข้อคดิ เหน็ ไว้ว่า

ข้อเท็จจริงมีพื้นฐานอยู่บนความเป็นวัตถุวิสัย พิสูจน์จับต้องมองเห็นเป็น
ประจักษ์ได้ แตค่ วามคิดเห็นเป็นสิ่งที่ผ่านการประเมินคุณค่า เปน็ มุมมองของบุคคลหรือ
หมู่คณะ มีความเป็นอัตวิสัยค่อนข้างสูง บางครั้งความแตกต่างระหว่างข้อเท็จจริงกับ
ข้อคิดเห็นอาจจะดูค่อนข้างยากในการพิจารณาจากตัวบท ถ้อยคาภาษาเป็นเคร่ืองบ่งช้ี
สาคัญประการหนึง่ ทชี่ ว่ ยให้เห็นว่าข้อความใดกาลังกล่าวถึงข้อเท็จจริง ข้อความใดกาลัง
กล่าวถึงขอ้ คดิ เห็น
ตัวอยา่ งการแยกข้อเท็จจริงกับข้อคิดเห็น
“สะใจมากทโ่ี จรกระจอกถูกตารวจจบั หน้ามหาวทิ ยาลยั ย่านท่าพระจนั ทร์”
หากเราแยกข้อความอย่างชัดเจนจะพบว่าข้อความนี้ประกอบไปด้วย ข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น
และความรู้สกึ ดังน้ี

ขอ้ เท็จจริง โจรถูกตารวจจับหน้า ม.ย่านท่าพระจนั ทร์
ข้อคดิ เห็น โจรกระจอก
ความรสู้ ึก สะใจ
จากตัวอย่างดังกล่าวข้างต้นจะพบว่าการแยกข้อเท็จจริงกับข้อคิดเห็นน้ัน ส่ิงท่ีต้องกระทาเป็น
อันดับแรกคือ การวิเคราะห์ว่าส่วนใดเป็นข้อเท็จจริง ส่วนใดเป็นข้อคิดเห็น ซ่ึงจะเห็นได้ว่าเหตุการณ์ที่
“โจรถูกจับ” เป็นเหตุการณ์ที่สามารถหาหลักฐานอ้างอิงได้เกิดขึ้นจริง แต่คาว่า “โจรกระจอก” คือการ
ตดั สินของผเู้ ขยี น สว่ นคาวา่ “สะใจ” คือความรูส้ กึ

266

การแยกข้อเท็จจริงกับข้อคิดเห็นผู้ใช้ภาษาควรใช้ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ ทั้ง RED
เพราะผู้อ่านจะต้องแยกแยะข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นด้วยการหาหลักฐานสนับสนุนคือ R ประเมินค่า
โต้แย้งในหลักฐานที่สนับสนุนนั้น ๆ คือ E และลงข้อสรุปว่าสารนั้นเป็นข้อเท็จจริงหรือข้อคิดเห็นคือ D
หากผใู้ ชภ้ าษาปฏบิ ัตติ ามข้ันตอนดังกล่าวจะทาให้รู้เท่าทันสาร ทาให้เป็นนักอ่านทม่ี วี ิจารณญาณและย่อม
สง่ ผลให้เปน็ นกั เขียนทม่ี ีวิจารณญาณเชน่ กนั

3. การหาจุดมงุ่ หมาย ทัศนคติ สมมติฐาน หลักฐานสนับสนนุ และการใช้เหตุผล
การหาจุดมุ่งหมาย ทัศนคติ สมมติฐาน หลักฐานสนับสนุน และการใช้เหตุผล คือการหา
ส่วนประกอบย่อยของสารท่ีอ่าน อันเป็นส่วนสาคัญที่จะทาให้รับสารได้อย่างมีวิจารณญาณ ซึ่งมีความ
สอดคลอ้ งกับหลักการ RED ท่ีกล่าวไว้ขา้ งตน้ ท้ังน้จี ะอธบิ ายความสาคญั ของคาแต่ละคา ดงั นี้
จุดมุ่งหมาย คือ เหตุท่ีผู้เขยี นต้องการสื่อความสาคัญบางประการให้เป็นที่รับรู้และเข้าใจ ในเวลา
ที่อ่านตัวบทงานเขียน สิ่งสาคัญที่ต้องทาคือการค้นหาคือความคิดสาคัญของเร่ือง ซึ่งโดยทั่วไปเราอาจจะ
วเิ คราะห์จุดมุ่งหมายของสารได้หลากหลายแบบ เช่น ให้ความรู้ ใหค้ วามคิด ล้อเลียน เป็นตน้ (สธุ าสินี ปิย
พสุนทรา, 2560, : 10) ทั้งน้ีการวิเคราะห์จุดมุ่งหมายจะกระทาได้ด้วยการใช้วิจารณญาณในการอ่าน ดัง
ตัวอยา่ งเชน่

“ยาสมนุ ไพรวิเศษ รักษาไดส้ ารพัดโรค”
ข้อความข้างต้นมีจุดมุ่งหมายเพื่อโน้มน้าวใจ ผู้แต่งใช้คาว่า “วิเศษ” “รักษา”และ “สารพัดโรค”
ในความสมั พนั ธ์ทเ่ี ก่ยี วเนื่องกัน เพ่อื มุ่งท่จี ะโน้มน้าวใจให้ผู้อ่านไดซ้ ้ือและใชผ้ ลิตภณั ฑ์ของตน
ทัศนคติ หมายถึง แนวความคิดเห็น (ราชบัณฑิตยสภา, 2554) ซึ่งทัศนคตินั้นแบ่งออกเป็น 3
ประเภท คือ 1) ทัศนคติในทางบวก 2) ทัศนคติในทางลบ 3) ทัศนคติเป็นกลาง (ดารณี พานทอง, 2542
อา้ งถงึ ในสธุ าสินี ปิยพสุนทรา, 2560, : 12) ซง่ึ โดยทว่ั ไปคนเราจะมีทัศนคติเอียงไปทางด้านใดด้านหน่ึงแต่
ทศั นคติท่ีเป็นกลางก็อาจจะเกดิ ขึ้นไดด้ ว้ ยการพิจารณาถงึ เหตุและผล หรือความไมร่ ู้ ดังตัวอย่างเช่น

“การเลือกขา้ งในการทางาน ทาให้เราไม่มีความสุข ดังน้นั การอยู่เปน็ กลางคือทางรอด
และความสุขของชีวติ ”

ข้อความข้างต้นแสดงให้เห็นถึงการแสดงทัศนคติต่อสถานการณ์บางอย่าง กล่าวคือการแบ่งฝ่าย
ในท่ีทางาน ซึ่งจากข้อความข้างต้นจะเห็นได้ว่าผู้เขียนเลือกที่จะอยู่ตรงกลางของความขัดแย้ง เพราะรับรู้
แล้วว่าคือทางรอดท่ีสุขท่ีสุด ข้อความนี้จึงสะท้อนให้เห็นว่าผู้เขียนมีทัศนคติเป็นกลางด้วยการพิจารณาถึง
สาเหตุและผล

สมมติฐาน หมายถงึ ขอ้ คดิ เห็นหรือถอ้ ยแถลงทใ่ี ชเ้ ป็นมลู ฐานแห่งการหาเหตุผล การทดลอง หรือ
การวิจัย (ราชบัณฑติ ยสภา, 2554) ในการใชภ้ าษาดว้ ยทักษะการอา่ นอย่างมวี ิจารณญาณ ส่ิงสาคญั ส่งิ หนึ่ง
คือต้องมีกระบวนการคิดว่า สิ่งใดเป็นเหตุ และส่ิงใดเป็นผลท่ีเกิดขึ้น หรือเป็นมูลฐานที่ทาให้เกิดข้อความ
หรือสารน้ัน ๆ เพราะการตัง้ สมมตฐิ านจะทาใหผ้ ู้อา่ นเข้าใจใจความของสารได้ชัดเจนขน้ึ

หลักฐานสนับสนุน เป็นส่ิงสาคัญเพราะในกระบวนการสร้างความน่าเชื่อถือ หากข้อเท็จจริงเป็น
ส่ิงที่เชื่อถือได้จะเรียกว่า “การอ้างหลักฐาน” เช่น โฆษณากล่าวอ้างสรรพคุณของอาหารเสริม ส่ิงท่ีผู้อ่าน
ต้องควรคานึงคือ ผลิตภัณฑ์ดังกล่าวมีการรองรับด้วยกระบวนการศึกษาวิจัยทางวิทยาศาสตร์หรือไม่ มี
มาตรฐานและราคาสมเหตุผลหรือไม่ ซ่ึงเป็นสิ่งท่ีผู้อ่านควรศึกษาและหาหลักฐานประกอบเพื่อประโยชน์
ของตน

267

การใช้เหตุผล คือ ส่ิงที่สาคัญสิ่งหนึ่งของการใช้ภาษาไทยอย่างมีวิจารณญาณ ทั้งนี้ “เหตุ”
หมายถึงส่ิงหรือเร่ืองท่ีทาให้เกิดผล ส่วน “ผล” หมายถึง ส่ิงที่เกิดจากการกระทา (ราชบัณฑิตยสภา,
2554) นิยามดังกล่าวแสดงให้เห็นว่าเหตุและผลมีความสัมพันธ์กัน ดังน้ันในการอ่าน ส่ิงคือต้องวิเคราะห์
เหตุของสารและวิเคราะห์ผลของสาร อันจะทาให้เห็นถึงความสัมพันธ์เก่ียวเน่ืองกันของสารท่ีผู้เขียน
ต้องการท่จี ะนาเสนอ

การหาจุดมุ่งหมาย ทัศนคติ สมมติฐาน หลักฐานสนับสนุน และการใช้เหตุผล เป็นข้ันตอนหนึ่งที่
ผู้อ่านต้องใช้กระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณ เพราะหากผู้อ่านไม่เข้าใจถึงหัวข้อดังกล่าว ย่อมทาให้
การอ่านไมบ่ รรลุประสทิ ธผิ ล

4. การตีความสาร
การใชภ้ าษาในการส่ือสารโดยทว่ั ไปมักมีความหมายของคาท่ีผ้รู ับสารต้อง “ตีความ” กลา่ วคือผู้
ส่งสารมิไดก้ ลา่ วถึงสารอยา่ งตรงไปตรงมา ผู้รับสารจะตอ้ งใช้ความรู้และประสบการณ์ทางภาษา “ตคี วาม”
ความหมายนั้นให้เด่นชัดข้ึนเพราะการตีความเป็นการเข้าใจความหมายของภาษาในระดับที่ลึกย่ิงข้ึน เช่น
หากกล่าวว่า “แม้ดอกกุหลาบจะมีรอยช้า แต่ผมก็ยังชอบและเก็บไว้ในใจเสมอ” หากกล่าวถึงความหมาย
ในระดับต้นคือ “ผู้ชายคนหน่ึงชอบดอกกุหลาบ แม้ดอกกุหลาบน้ันจะมีรอยช้า” แต่ในทางกลับกัน หาก
ตีความในความหมายระดับลึกลงไป “ดอกกุหลาบอาจจะหมายถึงความรัก รอยช้าคือความเจ็บปวดของ
ความรัก” จึงอาจจะกล่าวสรุปการตีความได้ว่า “ผู้ชายคนน้ีชอบความรักแม้จะเคยผิดหวังจากความรักก็
ยังคงเลือกท่ีจะมีความรักต่อไป” ทั้งน้ีการอ่านตีความจึงเป็นทักษะหนึ่งท่ีควรฝึกให้ชานาญเพื่อประโยชน์
ทางการสื่อสารตลอดจนการต่อยอดความคิด
คาว่า การอ่านตีความ พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน (2554) ได้ให้ความหมายของคาว่า
ตีความว่า “ชีห้ รือกาหนดความหมาย; ใหค้ วามหมายหรืออธิบาย; ใชแ้ ละปรับให้เข้าใจเจตนาและความมุ่ง
หมายเพื่อความถูกต้อง” ซ่ึงจากความหมายดังกล่าวเน้นย้าให้เห็นว่าหากผู้อ่านมีความสามารถในการ
ตีความสารจะช่วยให้เข้าใจ “เจตนาและความมุ่งหมาย” ของสารได้อย่างถูกต้อง นอกจากนี้ รูท สตราง
(Strang, n.d. อา้ งถงึ ใน สมพร มันตะสตู ร, 2534) ยังกลา่ วถึงความหมายของการอา่ นตคี วามวา่

การอ่านตีความเป็นการอ่านในระดับลึก ผู้อา่ นจะตอ้ งเข้าใจความหมายโดยนัย
ของคาและความหมายตามรูปศัพท์ของประโยคซ่ึงจะนาไปสู่ความเข้าใจและเข้าถึง
ความหมายของวรรณคดี จะต้องพิถีพิถันในการพิจารณาคา วลี และประโยค ว่าแต่
ละคามีความหมายอย่างไรได้บ้าง และคาน้ันมีความหมายอะไรเป็นพิเศษแฝงอยู่บ้าง
ตลอดจนต้องพิจารณาถึงความสัมพันธ์ของคาต่าง ๆ ...
สรุปได้ว่า การตีความ หมายถึง การทาความเข้าใจความหมายที่ผู้แต่งมิได้กล่าวตรงด้วยการ
พิจารณาอย่างละเอียดถี่ถ้วนท้ังระดับคา วลี ประโยค ข้อความ และบริบทของข้อความเพ่ือมุ่งทาความ
เข้าใจสารและเจตนาของผู้ส่งสาร อีกทั้งการอ่านตีความยังถือเป็นทักษะข้ันสูงในการแสดงความรู้
ความสามารถของผู้อ่าน เพราะผู้อ่านจะต้องทาความเข้าใจ สาระ เจตนา และนา้ เสยี ง ของผู้เขยี นที่ปรากฏ
ผา่ นสารใดสารหนึง่ ใหช้ ดั เจน
5. การเขยี นแสดงความคิดเหน็ อย่างมเี หตุผล
การเขียนแสดงความคิดเห็นเป็นการเขียนเพื่อวิเคราะห์ วิจารณ์ หรือแนะนาเกี่ยวกับเรื่องใดเร่ือง
หนึ่ง ซ่ึงอาจจะเป็นการแสดงความคิดเห็นของผู้เขียนเพียงอย่างเดียว หรืออาจจะมีเหตุผลประกอบก็ได้
(วรวรรธน์ ศรียาภัย, 2557)

268

กลวิธกี ารเขียนแสดงความคดิ เห็นอยา่ งมีเหตุผล
1) การแสดงความคิดเหน็ เพ่ือตั้งข้อสังเกตในเรื่องใดเรื่องหน่งึ

การแสดงความคิดเห็นลักษณะนี้เป็นการแสดงความคิดเห็นท่ีมีต่อสิ่งใดส่ิงหน่ึง เช่น การ
แสดงความคิดเหน็ เกย่ี วกับละครโทรทัศน์ การแสดงความคดิ เหน็ เกี่ยวกบั การเมืองไทย

2) การแสดงความคิดเห็นเพ่ือสนับสนุนข้อเทจ็ จริง
การแสดงความคิดเห็นลักษณะน้ีมักจะเขียนขึ้นเมื่อผู้เขียนมีความเห็นด้วยกับเร่ืองใดเรื่อง

หน่ึง โดยอาจจะเขียนเห็นด้วยบนส่ือสังคมออนไลน์ หรอื เขยี นเปน็ บทความ ความเรียง อยา่ งไรกไ็ ด้
3) การแสดงความคิดเหน็ เพื่อโตแ้ ย้งข้อเท็จจรงิ
การแสดงความคิดเห็นลักษณะน้ีคือการไม่เห็นด้วยต่อสารใดสารหนึ่ง ผู้เขียนอาจจะยกข้อ

เหตุผลหรอื หลักฐานอืน่ ประกอบเพ่ือโต้แย้งข้อเทจ็ จริงของสารนัน้
4) การแสดงความคิดเหน็ เพื่อประเมนิ คา่
การแสดงความคิดเห็นลักษณะนี้คือการตัดสินค่าของสารใดสารหน่ึงว่า ดี/ไม่ดี ถูกต้อง/ไม่

ถกู ต้อง เพราะเหตใุ ด โดยผเู้ ขียนจะต้องยกตัวอยา่ งกอปรกบั เหตุผลเพ่ือที่จะตัดสนิ คา่ ของสารน้ัน
การแสดงความคิดเห็นประกอบดว้ ยสว่ นสาคญั 3 ส่วนคือ
1 ที่มา คือเร่ืองราวที่ชี้ให้เห็นถึงความจาเป็นที่ต้องแสดงความคิดเห็นนั้น ๆ ทาให้ผู้รับสาร

เกิดความเข้าใจและพร้อมจะรบั ฟังคาคิดเห็นต่อไป
2 ข้อสนับสนุน คือ ข้อเท็จจริง หลักการ กฎเกณฑ์ ความคิด และมติท่ีนามาใช้ประกอบให้

เป็นเหตเุ ปน็ ผลทีใ่ ชส้ นบั สนนุ ข้อสรุป
3 ข้อสรุป คือส่วนท่ีสาคัญที่สุดของการแสดงความคิดเห็น อาจจะเป็นข้อเสนอแนะ ข้อ

วินิจฉยั หรือข้อสันนษิ ฐานเพื่อประเมนิ ค่า เพือ่ ให้ผ้อู ่านพิจารณายอมรับหรือนาไปปฏิบัติและแก้ไขได้
และหลักสาคัญในการเขียนแสดงความคิดเห็นประการสุดท้ายท่ีสาคัญเหมือนกันคือมารยาท

ในการแสดงความคิดเห็น
1. ภาษาท่ใี ช้แสดงความคิดเห็นคือ ตอ้ งชัดเจน เขา้ ใจง่าย และใชถ้ ้อยคาทส่ี ุภาพ สมเหตสุ มผล

ตรงประเดน็ ไมอ่ อกนอกเร่ือง
2. ข้อมูลและหลักฐานท่ีนามาใช้ประกอบความคิดเห็นต้องเป็นเร่ืองจริง ไม่ใช่ข้อมูลเท็จ หรือ

มจี ุดประสงค์เพ่อื หลอกลวง
3. ไม่แสดงความคิดเห็นส่วนตัวในลักษณะ การใช้อารมณ์ความรู้สึกท้ังหมดโดยปราศจาก

เหตุผลหรือขอ้ เท็จจรงิ
4. ใช้คาและภาษาท่ีสุภาพให้เกียรติผู้เขียน ไม่ก้าวร้าวหยาบคายหรือใช้คาท่ีคะนอง การ

แสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผลเป็นส่วนสาคัญที่แสดงให้เห็นถึงความมีวุฒิภาวะของผู้ใช้ภาษา เพราะ
ภาษาเป็นเคร่ืองมือบ่งบอกคามคิด ดังนั้นผู้ที่มีวิจารณญาณย่อมแสดงเหตุผลได้น่าเช่ือถือ มีหลักฐาน
อ้างองิ มีแนวคิดทส่ี มควรไดร้ ับการยกย่อง

การใช้ภาษาไทยกับการคิด การอ่านและการเขียนอย่างมวี จิ ารณญาณเป็นทักษะที่มีความสมั พันธ์
กัน เพราะการใช้ภาษาไทยเป็นตัวบ่งบอกความคิด อีกทั้งภาษายังเป็นเครื่องมือท่ีแสดงออกซึ่งความคิด
ดังนั้นในการอ่านและการเขียนจึงต้องมีกระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณเพื่อให้กระบวนการส่ือสาร
บรรลุวัตถุประสงค์ที่วางไว้ ในบทความน้ีได้เสนอแนวทางการใช้ภาษาไทยกับการคิดอย่างมีวิจารณญาณ
ด้วยโมเดล RED และแนวทางการพัฒนาทักษะการอ่านและการเขียนท้ังการจับสาระสาคัญ การแยกแยะ

269

ข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็น การหาจุดมุ่งหมาย ทัศนคติ สมมติฐาน หลักฐานสนับสนุน และการใช้เหตุผล
การตคี วามสาร และการแสดงความคดิ เห็นอย่างมีเหตผุ ล เพอื่ มุ่งให้เกิดกระบวนการสื่อสารสร้างสรรค์ทรง
พลัง อันเปน็ กระบวนการสาคัญของมนุษย์ในยุคศตวรรษท่ี 21

เอกสารอ้างอิง
จุไรรัตน์ ลักษณะศิริ และบาหยัน อ่ิมสาราญ, (2547). การใช้ภาษาไทย. นครปฐม: โครงการตาราและ

หนงั สอื คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศลิ ปากร.
จุไรรตั น์ ลักษณะศิริ. (2555). “การเขยี นเพ่ือการสอื่ สาร” ใน ภาษาไทยเพ่ือการสื่อสาร. นครปฐม:โรงพิมพ์

มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร.
บุญสิตา คาบุญเรอื ง. (2552). “การคิด” ใน ทกั ษะการใชภ้ าษาไทย.เชยี งใหม่ : ธนชุ พร้นิ ติง้ .
พจนานุกรมฉบบั ราชบัณฑติ ยสถาน พ.ศ. 2444. (2556). กรงุ เทพฯ: ราชบณั ฑิตยสถาน.

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.์
วรวรรธน์ ศรียาภัย. (2557). การเขียนเพื่อการสื่อสาร. กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์

มหาวิทยาลยั .
สมพร มันตะสูตร. (2534). การอา่ นท่ัวไป. กรุงเทพฯ: โอเดยี นสโตร์.
สริ ิภกั ตร์ ศริ โิ ท. (2558). “การคดิ วิจารณญาณ : มมุ มองการศึกษาและการบริหารจัดการ”.ใน ศาสตร์การ

คิด : รวมบทความเร่ืองการคิดและการสอนคิด.กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์มหาวิทยาลัยธุรกิจ
บัณฑิตย์.
สิริวรรณ นันทจันทูลและธันวพร เสรีชัยกุล. (2549) “การอ่าน”ใน ภาษาไทยเพ่ือการส่ือสาร.
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สุธาสินี ปิยพสุนทรา. “การวิเคราะห์สาร”.เอกสารเสริมวิชา มธ 104 การคิด อ่าน และเขียนอย่างมี
วจิ ารณญาณ. สืบค้นเมอื่ วันท่ี 26 ธนั วาคม 2560 จาก http://arts.tu.ac.th/serve_edu2.html.
สปุ าณี พัดทองและวิชาติ บูรณะประเสริฐสุข. “บทที่ 1 การจบั สาระสาคัญ”.เอกสารเสรมิ วชิ า มธ 104
การคดิ อ่าน และเขียนอย่างมีวิจารณญาณ. สบื ค้นเม่ือวนั ท่ี 26 ธนั วาคม 2560
http://arts.tu.ac.th/serve_edu2.html.
อรพิณ กิตตเิ วชและคณะ. “ความคิดเพื่อการรับสารและส่งสาร”. ใน ภาษาไทยเพื่อการส่ือสาร.
Pearson Education, Inc “RED MODEL” สบื ค้นเม่ือวันที่ 26 ธันวาคม 2560 จาก
http://talentlens.in/solutions/watson-glaser-tm-ii-critical-thinking-appraisal

270

การสร้างเกณฑ์ทดสอบทกั ษะกฬี าวอลเลย์บอล สาหรับนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาตอนต้น
โรงเรียนบ้านหนองปลงิ สานกั งานเขตพ้ืนท่ี การศกึ ษาประถมศกึ ษากาญจนบุรี เขต 4

A NORM OF VOLLEYBALL SKILLS TEST FOR SECONDARY SCHOOL STUDENTS
BANNONGPLING SCHOOL KANCHANABURI PRIMARY EDUCATIONAL
SERVICE AREA OFFICE 4

นายสรุ ยิ า สาราญจติ ต์
สาขาวิชาพลศกึ ษา มหาวิทยาลยั ราชภฏั นครสวรรค์

ดร.สยาม ทองใบ
อาจารย์ท่ปี รึกษา

บทคัดยอ่
การวิจัยคร้ังนี้มีจุดมุ่งหมายเพ่ือศึกษาทักษะพ้ืนฐานและสร้างเกณฑ์ปกติทักษะกีฬาวอลเลย์บอล

สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนบ้านหนองปลิง กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการสร้างเกณฑ์ปกติ
วัดทักษะกีฬาวอลเลย์บอล เป็นนักเรียนระดับช้ันมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนบ้านหนองปลิง ผู้ชาย
จานวน 15 คน ผู้หญงิ จานวน 15 คน รวมเปน็ 30 คน โดยการสมุ่ ตวั อย่างแบบเจาะจง

ผลการวิจัยพบวา่
ทักษะพ้ืนฐานกีฬาวอลเลย์บอล ประกอบด้วย การเล่นลูกสองมือล่าง การเล่นลูกสองมือบน
การเสิร์ฟและการตบ เกณฑ์ปกติ (Norms)ของแบบทดสอบทักษะกีฬาวอลเลย์บอลพื้นฐานแยกแต่ล่ะ
ทักษะโดย ทักษะการเล่นลูกสองมือล่างของนักเรียนชายสูงมาก 50.96 ข้ึนไป, สูง 47.42-50.95,
ปานกลาง 43.88-47.41, ต่า 40.43-43.87 ต่ามาก 40.33 ลงมา นักเรียนหญิงสูงมาก 50.94 ข้ึนไป,
สูง 46.23-50.93, ปานกลาง 41.52-46.22, ต่า 36.81-41.51 ต่ามาก 36.80 ลงมา ทักษะการเล่นลูก
สองมือบนของนักเรียนชายสูงมาก 50.63 ขึ้นไป, สูง 46.86-46.85, ปานกลาง 43.09-46.85, ต่า
39.32-43.08 ต่ามาก 39.31 ลงมา นักเรียนหญิงสูงมาก 53.48 ขึ้นไป, สูง 48.76-53.47, ปานกลาง
44.04-48.75, ต่า 39.32-44.03 ต่ามาก 39.31 ลงมา ทักษะการเสิร์ฟของนักเรียนชายสูงมาก 46.73
ข้ึนไป, สูง 41.07-46.72, ปานกลาง 35.41-41.06, ต่า 29.74-35.40 ต่ามาก 29.73 ลงมา นักเรียน
หญงิ สูงมาก 48.11 ขึ้นไป, สูง 41.05-48.11, ปานกลาง 33.98-41.04, ต่า 26.91-33.97 ต่ามาก 26.90
ลงมา ทกั ษะการตบของนักเรียนชาย สูงมาก 52.22 ขึ้นไป, สงู 46.56-52.21, ปานกลาง 40.90-46.55,
ต่า 35.24-40.89, ต่ามาก 35.23 ลงมา นักเรียนหญิงสูงมาก 51.28 ข้ึนไป, สูง 46.57-51.27, ปาน
กลาง 41.86-46.56, ต่า 37.15-41.85 ต่ามาก 37.14 ลงมา

คาสาคญั : เกณฑ์ปกต,ิ ทกั ษะ, วอลเลย์บอล

Abstract

The purpose of this research was to study the foundational skills and create the
normal criteria for measuring volleyball skills for secondary school students of the
Bannongpling School. The sample group used for creating the normal criteria for measuring
volleyball skills was 30 secondary school students from Bannongpling school divided into
15 male and 15 female students, the sample was selected using purposive sampling.

271

The result shows that : Volleyball’ s foundation skills comprised with under
handed return, set cover-handed return serve and spike. Athletes were given ratings on
each skill with the following results. The normal criteria of the Basic Volleyball Skills
Test in each skill found that the male students under handed skill rank at the highest
level = 50.96 and above, with the next rankings of high-level 47.42-50.95, moderate
level 43.88-47.41, low level 40.43-43.87 and ranked lowest level 40.33 and below. For
the female students, the under handed return skill ranked at the highest level = 50.94
and above, with subsequent levels of high-level 46.23-50.93, moderate level 41.52-
46.22, low-level 36.81-41, and lowest level 36.80 and below. The male students set
skill was at the highest level 50.63 and above, followed by high-level 46.86-46.85,
moderate level 43.09-46.85, low level 39.32-43.08 lowest level 39.31 and below. For
the female students, the set skill was at the highest level = 53.48 and above, followed
by high-level 48.76-53.47, moderate level 44.04-48.75, low level 39.32-44.03 and the
lowest level 39.31 and below. The male students serve skill was at the highest level
46.73 and above, followed by the high-level 41.07-46.72, moderate level 35.41-41.06,
low level 29.74-35.40 and lowest level 29.73 and below. For the female students, the
serve skill was at the highest level at 48.11 and above with subsequent levels of high-
level 41.05-48.11, moderate level 33.98-41.04, low level 26.91-33.97 and lowest level
26.90 and below. The male students spike skill was at the highest level at 52.22 and
above, then with high-level 46.56-52.21, moderate level 40.90-46.55, low-level 35.24-
40.89 and lowest level 35.23 and below. For the female students, the spike skill was
ranked the highest level at 51.28 and above then followed by high-level 46.57-51.27,
moderate level 41.86-46.56, low level 37.15-41.85 and lowest level 37.14 and below.

Keyword : Norms, Skills, Volleyball

บทนา
พลศึกษาเป็นการศึกษาแขนงหนึ่งที่มีความสาคัญในการพัฒนามนุษย์ มุ่งเน้นและส่งเสริม การ

พัฒนาสุขภาพ การบริการการจัดการชีวิต เพื่อดารงสุขภาพท่ีดีอันเป็นรากฐานสาคัญย่ิงในการดาเนิน
ชีวิต ดังท่ี วรศักด์ิ เพียรชอบ (2548 : 1) ที่ได้กล่าวไว้ว่า กระบวนการศึกษาพลศึกษาและกีฬาเป็น
กระบวนการศึกษาอย่างหนึ่งที่ช่วยใหผ้ ู้เรียนได้พฒั นาการท้งั รา่ งกาย ทักษะ ความรู้ คุณธรรมและเจตคติ
ที่ดีไม่พร้อม ๆ กัน โดยใช้กิจกรรมพลศึกษาและกีฬาเป็นส่ือให้ผู้เรียนได้เรียนรู้และพัฒนาการด้วยการมี
ส่วนรว่ มและลงมือปฏิบัติจริงดว้ ยตนเอง

หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มีองค์ความรู้ของกลุ่มสาระการ
เรียนรูส้ ขุ ศึกษาและพลศกึ ษา เพือ่ ผูเ้ รียนจะได้เรียนรกู้ ารเคล่อื นไหวในรูปแบบตา่ ง ๆ การเข้าใจกจิ กรรม
ทางกายและกีฬา ทัง้ กฬี าไทยและสากล โดยใช้แบบเรยี นตามมาตรฐานการศึกษานน้ั และได้กาหนดให้
จดั การเรยี นการสอนวชิ าวอลเลย์บอลให้กบั นักเรยี นในระดับช้นั มธั ยมศกึ ษา

272

กีฬาวอลเลย์บอลประกอบด้วยทักษะขั้นพ้ืนฐาน คือ ทักษะการเล่นลูกสองมือล่าง ทักษะการ
เลน่ ลูกสองมือบน ทักษะการเสริ ์ฟ ทักษะการตบ ทักษะการสกัดก้นั (อมรพงศ์ สธุ รรมรกั ษ์. 2546 : 35)
ซึ่งกระบวนการเรียนการสอนที่สมบูรณ์จะต้องมีการวัดและประเมินผล เพื่อท่ีจะทาให้ทราบว่านักเรียน
มีความสามารถและพัฒนาการมากน้อยเพียงใด มีข้อบกพร่องท่ีควรแก้ไขหรือมีส่ิงที่ต้องส่งเสริมให้ดี
ย่ิงขึ้นในทักษะใดบ้าง ซ่ึงการวัดผล (บุญส่ง โกสะ. 2547 : 98–102) จาเป็นต้องมีเครื่องมือหรือ
แบบทดสอบท่มี ีคุณสมบตั ิท่ีดีคือ จะตอ้ งมคี วามเชื่อถือได้ (reliability) ความเท่ยี งตรง (validity) และมี
ความเป็นปรนยั (objectivity)

การเรยี นการสอนวิชาวอลเลย์บอลนั้น จาเป็นจะต้องมีการวัดและประเมนิ ผล เพราะทาให้ทราบ
เกี่ยวกับตัวผู้เรียนในด้านพัฒนาการ ความสามารถ ข้อบกพร่อง และกระตุ้นให้ผู้เรียนฝึกฝนทักษะให้มี
ความสามารถในระดับสูงขึ้น ด้านผู้สอนทาให้ทราบประสิทธิภาพของการสอน ข้อบกพร่อง เพื่อนามา
ปรับปรุงแก้ไข เทคนคิ วิธีการสอนให้ดีขน้ึ ดา้ นหลกั สตู รก็สามารถนาผลจากการประเมินเนื้อหาวชิ าที่สอน
มาปรับปรุงให้เหมาะสมกับผู้เรยี นยิ่งข้ึน สอดคล้องกับกระทรวงศึกษาธิการ (2551: 9) ท่ีกล่าวไว้ว่า การ
วัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนต้องอยู่บนหลักการพ้ืนฐานสองประการ คือ การประเมินเพ่ือ
พัฒนาผู้เรียนและเพ่ือตัดสินผลการเรยี น ในการพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียนให้ประสบผลสาเร็จ
นั้น ผู้เรียนต้องได้รับการพัฒนาและประเมินตามตัวช้ีวัด เพื่อให้บรรลุตามมาตรฐานการเรียนรู้ สะท้อน
สมรรถนะสาคัญและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน ซึ่งเป็นเป้าหมายหลักในการวัดและ
ประเมนิ ผลการเรยี นรู้ในทกุ ระดบั ไม่วา่ จะเป็นระดบั ช้ันเรียน ระดบั สถานศกึ ษา ระดบั เขตพื้นท่กี ารศึกษา
และระดับชาติ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้เป็นกระบวนการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน โดยใช้ผลการ
ประเมินเป็นข้อมูลและสารสนเทศที่แสดงพัฒนาการ ความก้าวหน้า และความสาเร็จทางการเรียนของ
ผู้เรียน ตลอดจนข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อการส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดการพัฒนาและเรียนรู้อย่างเต็มตาม
ศักยภาพ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช
2551 (สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ. 2553 : 2) เป็นกระบวนการเก็บรวบรวม ตรวจสอบ ตีความผลการเรียนรู้ และ
พัฒนาการด้านต่าง ๆ ของผู้เรียนตามมาตรฐานการเรียนรู้/ ตัวช้ีวัดของหลักสูตร นาผลไปปรับปรุง
พัฒนาการจัดการเรียนรู้และใช้เป็นข้อมูลสาหรับการตัดสินผลการเรียน สถานศึกษาต้องมีกระบวนการ
จัดการท่ีเป็นระบบ เพ่ือให้การดาเนินการวัดและประเมินผลการเรียนรู้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและ
ใหผ้ ลการประเมินตรงตามความรู้ ความสามารถที่แทจ้ รงิ ของผ้เู รียน

จากความสาคัญดังกล่าว คณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ จึงได้กาหนดให้มีการจัดการเรียน
การสอนกฬี าวอลเลย์บอลขึน้ เพ่อื ให้เดก็ และเยาวชนในโรงเรยี น มสี ขุ ภาพและพลานามัยท่ีดีข้ึน โดยใน
การจัดการเรียนการสอนกีฬาวอลเลย์บอลดังกล่าว จึงมีความจาเป็นต้องมีการวัดและประเมินผล
เช่นเดียวกับวิชาอ่ืน ๆ เพ่ือจะได้ครบกระบวนการของการเรียนการสอนที่สมบูรณ์ ซึ่งการวัดผลกีฬา
วอลเลย์บอลส่วนใหญ่เป็นทดสอบทักษะ และส่วนใหญ่ใช้การสังเกตของครูผู้ฝึกสอน ซึ่งการสังเกตของ
ครูมีหลักเกณฑ์ท่ีไม่แน่นอน ทาให้เกิดปัญหาในการให้คะแนน เพราะบางครั้งขึ้นอยู่กับความพึงพอใจ
ของครูผู้สอน ทาให้เกิดความลาเอียงในการใหค้ ะแนน ซ่ึงสอดคล้องกับ บุญส่ง โกสะ. 2547 : 126) ได้
กล่าวถึงปัญหาของการสังเกตไว้ว่า ปัญหาของการประเมินผลด้วยการสังเกตของครู (Subjective
Evaluation) บางครัง้ เกดิ จากความพึงพอใจของผู้ให้คะแนนแต่ละคน เช่น ในกรณีที่มคี วามเหน็ พ้องกัน
ของผใู้ ห้คะแนนทม่ี ีความพงึ พอใจอยู่ในระดับต่า จะไดค้ ่าความเป็นปรนยั (Objectivity) ต่าด้วย

273

ดังน้ันแบบทดสอบ (Rating Scale) จึงเป็นวิธีการหน่ึงที่สามารถนาไปวัดและประเมินผลใน
รูปแบบของการวัดทักษะเชิงคุณภาพได้ เพราะมีความเที่ยงตรง มีความเช่ือม่ันและมีความเป็นปรนัย
มีหลักเกณฑ์การให้คะแนนท่ีมาตรฐาน ยุติธรรม ไม่ลาเอียง ผู้ทาการทดสอบสามารถตัดสิน
ความสามารถของผู้เรียนได้ชัดเจน ดังเช่นอุทุมพร (ทองอุไทย) จามรมาน (2548 : 1) ได้กล่าวถึง
แบบทดสอบไว้ว่า แบบทดสอบ (Rating Scale) เป็นเครื่องมือเพ่ือใช้รวบรวมข้อมูลที่แพร่หลายมาก
ใคร ๆ ก็สร้างได้ แตส่ ว่ นใหญไ่ ม่ได้คานึงถึงวธิ ีการสรา้ งที่ถกู ต้อง นอกจากนี้ ข้อมูลจากมาตรประมาณค่า
เป็นข้อมูลลาดับท่ี (Ordinal Data) มิใช่ข้อมูลระดับอันตรภาค (Interval Data) ซ่ึงการวิเคราะห์ข้อมูล
จะต้องให้ความสาคัญในเรื่องน้ี มิฉะนั้นจะเลือกใช้สถิติที่ไม่ตรงกับลักษณะข้อมูล ส่งผลให้เกิดความ
คลาดเคล่ือนในการแปลผลและนาไปใช้

โรงเรียนบ้านหนองปลิง ได้จัดการเรียนการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
โดยสอนวิชาพลศึกษาต้ังแต่ระดับช้ันประถมศึกษาปีที่ 1 จนถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และวิชา
วอลเลยบ์ อลเปน็ วิชาที่เปิดสอนให้กับนักเรยี นชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น เพื่อให้นักเรียนได้ทราบถึงประวัติ
ของการกาเนิดกีฬาวอลเลย์บอล ประวัติของกีฬาวอลเลย์บอลในประเทศไทย คุณค่าของการเล่นกีฬา
วอลเลยบ์ อล ทกั ษะพนื้ ฐานและเทคนคิ ในการเล่นวอลเลยบ์ อล

จากการท่ีผู้วิจัยพบว่าโรงเรียนบ้านหนองปลิง ยังไม่มีเครื่องมือการวัดและประเมินผลทักษะ
พื้นฐานกีฬาวอลเลย์บอลท่ีเป็นมาตรฐานสาหรับนักเรียน เพื่อให้สอดคล้องกับหลักการวัดและ
ประเมินผลการเรียนการสอนตามหลักสูตรสถานศึกษา จึงมีความประสงค์จะสร้างเกณฑ์แบบทดสอบ
ทกั ษะขัน้ พนื้ ฐานกฬี าวอลเลย์บอล เพ่อื แบ่งระดบั ความสามารถทางด้านทักษะพ้ืนฐานกีฬาวอลเลย์บอล
โดยวัดประเมินทั้งลักษณะท่าทางหรือวิธีการปฏิบัติและความสามารถหรือผลงานไปพร้อม ๆ กัน เพ่ือ
ให้ได้ผลที่ถูกต้องและน่าเช่ือถือ ดังน้ันในการสร้างเกณฑ์ทดสอบทักษะข้ันพื้นฐานในการเล่นกีฬา
วอลเลย์บอลนี้ จะเป็นการพัฒนาเครื่องมือ และรูปแบบการวัดทักษะขั้นพื้นฐานในการเล่นกีฬา
วอลเลย์บอลใหเ้ ปน็ ปรนัย และมีมาตรฐานมากยง่ิ ขนึ้

วตั ถปุ ระสงคข์ องการวจิ ัย
1. เพื่อศกึ ษาทักษะกีฬาวอลเลยบ์ อลพืน้ ฐาน
2. เพ่ือสร้างเกณฑ์ปกติ (Norms) ทดสอบทักษะกีฬาวอลเลย์บอลพ้ืนฐานสาหรับนักเรียนชั้น

มัธยมศึกษาตอนตน้ โรงเรียนบ้านหนองปลงิ

ประชากรและกลุ่มตวั อย่าง
1. ประชากรในการศึกษาคร้ังน้ีเป็นนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้นโรงเรียนบ้านหนองปลิง

สานกั งานเขตพื้นทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษากาญจนบรุ ี เขต 4 ปกี ารศกึ ษา 2561 จานวน 106 คน
2. กลุ่มตัวอย่างในการศึกษาคร้ังน้ีเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ปีการศึกษา 2561

โรงเรียนบ้านหนองปลิง จานวนท้ังหมด 30 คน โดยการเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive
sampling) คัดเลือกแบบนักเรยี นท่ีมีทกั ษะการเล่นวอลเลย์บอลท่ีดี ชนั้ เรยี นละ 10 คน

เครือ่ งมือทใ่ี ช้ในการทาวจิ ยั
แบบทดสอบและเกณฑ์ทักษะกีฬาวอลเลย์บอลสาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น

โรงเรียนบา้ นหนองปลิง

274

การรวบรวมข้อมลู
ผวู้ ิจัยได้ทาการเก็บรวบรวมขอ้ มลู โดยมขี ้ันตอนดงั ตอ่ ไปน้ี
1. ศึกษารายละเอียดของแบบทดสอบ อธิบายและสาธิตทาความเข้าใจกับข้ันตอนการปฏิบัติ

และรายละเอียดต่างๆ ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อให้เกิดความเข้าใจท่ีถูกต้องและตรงกันพร้อมท้ัง
กาหนดหน้าท่รี ับผิดชอบให้แต่ละคน

2. ทาหนังสือขอความร่วมมือจากบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ ไปยัง
ผู้อานวยการโรงเรียนท่ีเปิดสอนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนบ้านหนองปลิง สานักงานเขตพื้นท่ี
การศกึ ษาประถมศกึ ษากาญจนบรุ ี เขต 4 เพอ่ื ขอความร่วมมือในการเก็บรวบรวมข้อมลู ทาการวจิ ยั

3. นาแบบทดสอบทักษะกีฬาวอลเลย์บอล ไปเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอยา่ ง นักเรียนมัธยมศึกษา
ตอนต้น โรงเรียนบา้ นหนองปลงิ ปีการศึกษา 2561 จานวนทั้งหมด 30 คน

4. ก่อนการทดสอบ ผู้วิจัยได้ช้ีแจงให้นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาตอนต้น ปีการศึกษา 2561
โรงเรียนบ้านหนองปลิงเข้าใจวิธีการทดสอบเพ่ือให้เกิดความเข้าใจท่ีถูกต้องและตรงกันและก่อนการ
ทดสอบทุกคร้งั นกั เรยี นจะตอ้ งอบอุ่นร่างกายเสมอ

5. รวบรวมขอ้ มูลทีไ่ ดจ้ ากการทดสอบแตล่ ะรายการและรวมทุกรายการเพ่ือนาไปวเิ คราะหต์ ่อไป

การวเิ คราะหข์ อ้ มูล
ผวู้ จิ ยั ไดว้ เิ คราะห์ขอ้ มูลโดยใช้คอมพวิ เตอรห์ าค่าทางสถติ ิ ดงั น้ี
1. หาค่าเฉลี่ย (×̅) และและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ของแบบทดสอบทักษะกีฬา

วอลเลย์บอลแตล่ ะรายการ
2. หาเกณฑ์ปกติ (norms) สาหรับนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา

ประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 4 ของแบบทดสอบแต่ละรายการโดยใชค้ ะแนนดิบ
2.1 เกณฑ์ปกติรายการทักษะการเลน่ ลูกสองมือล่าง
2.2 เกณฑป์ กตริ ายการทกั ษะการเลน่ ลกู สองมือบน
2.3 เกณฑ์ปกติรายการทักษะการเสิร์ฟ
2.4 เกณฑ์ปกติรายการทักษะการตบ

3. เสนอผลการวเิ คราะห์ข้อมูลในรปู ตารางและความเรยี ง

สถติ ทิ ีใ่ ช้ในการวจิ ยั
1. สถิติท่ีใชใ้ นการตรวจสอบคณุ ภาพเครอ่ื งมอื การวจิ ยั
คา่ ความเชื่อถือได้ (Reliability) ค่าความเป็นปรนัย (Objectivity) ของแบบทดสอบแต่ละ

รายการ โดยวิธีสัมประสิทธ์ิสหสัมพันธ์ของเพียร์สัน(Pearson Product-Moment Correlation
Coefficient)

2. สถิติพน้ื ฐาน
2.1 คานวณคา่ เฉลย่ี (mean) ของผลการทดสอบทกั ษะกฬี าวอลเลย์บอลแตล่ ะรายการ
2.2 ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (standard deviation) ของผลการทดสอบทักษะ

วอลเลย์บอลแต่ละรายการ

275

สรปุ วิจยั
จากการศึกษาทักษะพ้ืนฐานกีฬาวอลเลย์บอลของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียน

บ้านหนองปลงิ เพอื่ สรา้ งเกณฑม์ าตรฐานทักษะกีฬาวอลเลยบ์ อล ผลการสรปุ ไดด้ งั น้ี
1. ค่าเฉล่ียและส่วนเบ่ียงมาตรฐานของการทดสอบทักษะพ้ืนฐานกีฬาวอลเลย์บอลในทักษะท่ี 1

การเล่นลูกสองมือล่างนักเรียนชาย มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 7.73 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานมีค่าเท่ากับ 2.83
นักเรียนหญงิ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 7.78 ส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐานมีค่าเท่ากับ 2.12 ทักษะที่ 2 การเลน่ ลูกสอง
มือบน นักเรียนชาย มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 7.27 ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานมีค่าเท่ากับ 2.12 นักเรียนหญิง มี
ค่าเฉล่ียเท่ากบั 7.27 สว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐานมีคา่ เท่ากับ 2.12 ทักษะท่ี 3 การเสริ ฟ์ นกั เรียนชาย มีคา่ เฉล่ีย
เท่ากบั 8.27 สว่ นเบ่ยี งเบนมาตรฐานมีค่าเท่ากับ 1.41 นกั เรียนหญงิ มคี ่าเฉลย่ี เทา่ กับ 8.27 สว่ นเบี่ยงเบน
มาตรฐานมคี ่าเท่ากับ 1.41 ทักษะที่ 4 การตบนกั เรียนชาย มีค่าเฉลย่ี เท่ากับ 7.13 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
มคี ่าเทา่ กบั 2.12 นักเรียนหญงิ มีคา่ เฉลยี่ เทา่ กบั 6.73 สว่ นเบีย่ งเบนมาตรฐานมีค่าเทา่ กบั 2.12

2. เกณฑป์ กตริ ะดับทักษะพ้ืนฐานกฬี าวอลเลย์บอล ทกั ษะการเลน่ ลูกสองมือลา่ งของ
นกั เรียนโรงเรยี นบ้านหนองปลงิ มดี งั ตอ่ ไปนี้

ระดับความสามารถ คะแนนที

ระดับทกั ษะสงู มาก นักเรยี นชาย นักเรียนหญิง
ระดับทกั ษะสงู
ระดับทกั ษะปานกลาง 50.96 ขึ้นไป 50.94 ขนึ้ ไป
ระดบั ทักษะตา่ 47.42 – 50.95 46.23 – 50.93
ระดบั ทกั ษะตา่ มาก 43.88 – 47.41 41.52 – 46.22
40.34 – 43.87 36.81 – 41.51
40.33 ลงมา 36.80ลงมา

3. เกณฑป์ กติระดับทกั ษะพืน้ ฐานกฬี าวอลเลยบ์ อล ทักษะการเล่นลูกสองมอื บนของ
นกั เรยี นโรงเรยี นบ้านหนองปลิงมีดงั ตอ่ ไปนี้

ระดบั ความสามารถ คะแนนที

ระดบั ทกั ษะสงู มาก นกั เรียนชาย นักเรียนหญงิ
ระดบั ทักษะสงู
ระดบั ทักษะปานกลาง 50.63 ข้นึ ไป 53.48 ข้ึนไป
ระดับทักษะต่า 46.86 – 50.62 48.76 – 53.47
ระดับทกั ษะต่ามาก 43.09 – 46.85 44.04 – 48.75
39.32 – 43.08 39.32 – 44.03
39.31 ลงมา 39.31 ลงมา

276

4. เกณฑป์ กติระดับทกั ษะพ้นื ฐานกฬี าวอลเลย์บอล ทกั ษะการเสริ ฟ์ ของนกั เรยี นโรงเรยี น

บา้ นหนองปลงิ มดี งั ต่อไปนี้

ระดบั ความสามารถ คะแนนที

นักเรียนชาย นกั เรยี นหญิง

ระดับทักษะสูงมาก 46.73 ขนึ้ ไป 48.11 ขน้ึ ไป

ระดบั ทักษะสงู 41.07 – 46.72 41.05 – 48.11

ระดับทักษะปานกลาง 35.41 – 41.06 33.98 – 41.04

ระดับทกั ษะตา่ 29.74 – 35.40 26.91 – 33.97

ระดับทักษะตา่ มาก 29.73 ลงมา 26.90 ลงมา

5. เกณฑ์ปกติระดับทกั ษะพื้นฐานกีฬาวอลเลย์บอล ทักษะการตบของนกั เรียนโรงเรียน
บ้านหนองปลงิ มีดงั ต่อไปน้ี

ระดบั ความสามารถ คะแนนที

ระดับทักษะสงู มาก นักเรียนชาย นักเรยี นหญงิ
ระดับทักษะสูง
ระดับทกั ษะปานกลาง 52.22 ขึ้นไป 51.28 ข้ึนไป
ระดบั ทักษะตา่ 46.56 – 52.21 46.57 – 51.27
ระดับทกั ษะตา่ มาก 40.90 – 46.55 41.86 – 46.56
35.24 – 40.89 37.15 – 41.85
35.23 ลงมา 37.14 ลงมา

อภิปรายผล
ผลการวิจัยพบว่า เกณฑ์ปกติระดับทักษะพ้ืนฐานกีฬาวอลเลย์บอล ท่ีผู้วิจัยสร้างขึ้น ท้ัง

นักเรียนชายและหญิงมคี วามสอดคลอ้ งกนั มปี ระเดน็ ท่นี ่าสนใจและควรนามาอภปิ ราย ดงั น้ี
การสร้างเกณฑ์ปกติ (Norms) ของแบบทดสอบทักษะกีฬาวอลเลย์บอลสาหรับนักเรียน

ช้ันมัธยมศึกษาตอนต้น ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น โดยเปลี่ยนคะแนนดิบทุกรายการเป็นคะแนนที (T–Score)
โดยแบง่ ระดบั ความสามารถออกเป็น 5 ระดับ คือ สงู มาก สงู ปานกลาง ต่าและตา่ มาก โดยเกณฑส์ ร้าง
ขึ้น สาหรับรายการทดสอบแต่ละรายการทดสอบท่ีแสดงถึงความสามารถ ด้านทักษะวอลเลย์บอล
สาหรับนักเรียนชนั้ มัธยมศึกษาตอนต้น เพ่ือเป็นเกณฑ์เปรียบเทียบและแปลความหมายต่อไป แสดงว่า
แบบทดสอบทักษะกีฬาวอลเลย์บอลสาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ท่ีผู้วิจัยสร้างข้ึนมีเกณฑ์
การให้คะแนนที่เป็นมาตรฐาน ซ่ึงสอดคล้องกับวิริยา บุญชัย (2529 : 26–27) ที่กล่าวไว้ว่า เกณฑ์
หมายถงึ มาตรฐานท่ีกาหนดไว้ในเรื่องใดเร่ืองหนงึ่ ของประชากรกลุ่มใดกลุ่มหน่ึง สามารถนาผลจากการ
ทดสอบไปเปรียบเทียบกับประชากรในลักษณะเดียวกันได้ ดังนั้นแบบทดสอบท่ีดีต่อมีเกณฑ์เพ่ือเป็น
ตัวแทนของประชากรของกล่มุ น้นั ๆ

ดังน้ันเกณฑ์ปกติ (Norms) ของแบบทดสอบทักษะกีฬาวอลเลย์บอลของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา
ตอนตน้ โรงเรยี นบ้านหนองปลงิ ทผ่ี ู้วจิ ยั สรา้ งขึ้นถือว่าเป็นเกณฑท์ ี่ผู้เกย่ี วข้องท้งั ครูผสู้ อน ผูฝ้ กึ สอนหรือ
บคุ คลทเี่ กย่ี วข้อง สามารถนาไปใชใ้ นการวดั และประเมนิ ผลในการจดั การเรียนสอนอีกทัง้ ยังสามารถนา

277

ผลการทดสอบไปคัดเลือกนักกีฬาโรงเรียนในระดับมัธยมศึกษาได้ เพราะเกณฑ์การวัดทักษะพื้นฐาน
กฬี าวอลเลยบ์ อลน้นั สะดวกในการใช้ ประหยดั งบประมาณ อุปกรณ์หางา่ ยและมคี วามเหมาะสมกบั วัย

ข้อเสนอแนะ
1. ขอ้ เสนอแนะทว่ั ไป
1. ควรมีการนาเกณฑ์ปกติ (Norms) ของแบบทดสอบทักษะกีฬาวอลเลย์บอลของนักเรียน

ช้ันมธั ยมศกึ ษาตอนต้น โรงเรยี นบ้านหนองปลิง ไปปรบั ปรงุ ใหม้ ีการทดสอบทักษะทม่ี ากกว่านี้ เชน่ การ
ทดสอบทกั ษะการสกัดกน้ั การเคล่อื นที่ ใหค้ รบทกุ รปู แบบ

2. เกณฑ์ปกติ (Norms) ของแบบทดสอบนี้สามารถนาไปใช้ทดสอบนักกีฬา ในการจะวัด
ทักษะกีฬาวอลเลย์บอลต่อเน่ือง เพ่ือพัฒนาการฝึกทักษะกีฬาวอลเลย์บอล พร้อมการเคล่ือนที่ของ
นักกฬี าและนกั ศึกษาไดอ้ ย่างตอ่ เนื่องและมีประสิทธิภาพ

2. ข้อเสนอแนะในการทาวิจยั ครั้งตอ่ ไป
1. ควรนาเกณฑ์ปกติ (Norms) ของแบบทดสอบทักษะกีฬาวอลเลย์บอลนี้ไปใช้กับกลุ่ม

ตวั อย่างระดบั อนื่ ๆ เพื่อศกึ ษาความสมพันธ์หรอื ขอ้ แตกต่าง
2. ควรนาเกณฑ์ปกติ (Norms) ของแบบทดสอบทักษะกีฬาวอลเลย์บอลแบบต่อเน่ืองน้ีไป

ใชศ้ ึกษาเปรียบเทยี บระหวา่ งกลุ่มเรียนทักษะย่อย กับกลุ่มเรียนทักษะรวม วา่ มขี ้อแตกตา่ งอย่างไร เพอ่ื
พฒั นากรวัดผลการเรยี นการสอนให้มปี ระสิทธิภาพ

3. ควรทาการวิจัยผลการฝึกทักษะวอลเลย์บอลที่มีการแข่งขันและการเล่นเป็นทีม ว่ามี
ความสัมพันธ์กนั มากน้อยเพียงใด

รายการอา้ งอิง
กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 สานักงาน

คณะกรรมการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่ง
ประเทศไทย.
บุญส่ง โกสะ. (2547). การวัดผลและประเมินผลทางการศึกษา. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์สานัก
ส่งเสริมและฝึกอบรม มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร.์
วรศักดิ์ เพียรชอบ. (2548). ปรัชญา หลักการ วิธีสอนและการวัดเพื่อประเมินผลทางพลศึกษา.
กรงุ เทพมหานคร: สานกั พมิ พแ์ ห่งจฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั .
วริ ยิ า บุญชยั . (2533). การทดสอบและวดั ผลทางพลศกึ ษา. พิมพค์ รงั้ ท่ี 2. กรุงเทพมหานคร: ไทยวัฒนา
พานิช.
สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้ นพื้นฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ. (2553). ตวั ชว้ี ดั และสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาระการเรยี นรู้สุข
ศึกษาและพลศึกษาตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551.
กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ชมุ นมุ สหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
อมรพงศ์ สุธรรมรกั ษ์. (2546). วอลเลย์บอลข้นั พื้นฐาน. กรุงเทพมหานคร: สวุ ีรยิ าสาสน์ .
อทุ มุ พร (ทองอุไทย) จามรมาน. (2548). มาตรวดั ประมาณค่า. กรงุ เทพมหานคร: ฟนั นี่พับลชิ ชิ่ง.

278

ภาวะผ้นู าการเปล่ยี นแปลงเพอื่ การบริหารจดั การทรัพยากรและสิง่ แวดลอ้ ม
ของชมุ ชนเศรษฐกิจสีเขียวในจงั หวดั อตุ รดติ ถ์

TRANSFORMATIONAL LEADERSHIP FOR RESOURCE AND ENVIRONMENTAL
MANAGEMENT OF THE GREEN ECONOMY COMMUNITY IN UTTARADIT PROVINCE

พทุ ธนิ นั ทน์ บญุ เรอื ง
นกั ศกึ ษาปรญิ ญาเอก สาขาผนู้ าทางการศึกษาและการพฒั นาทรพั ยากรมนษุ ย์

มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เชียงใหม่

บทคดั ย่อ
การศึกษาคร้ังน้ีมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาภาวะผู้นาการเปลย่ี นแปลงเพื่อการบริหารการจัดการ

ทรัพยากรและส่ิงแวดล้อมของชุมชนเศรษฐกิจสีเขียวในจังหวัดอุตรดิตถ์ เพ่ือศึกษาการบริหารจัดการ
ทรัพยากรและส่ิงแวดล้อมของชุมชนเศรษฐกิจสีเขียวในจังหวดั อตุ รดิตถ์ และเพ่ือศกึ ษาปัจจัยท่สี ่งผลต่อ
การจดั การทรัพยากรและสิ่งแวดลอ้ มของชุมชนเศรษฐกจิ สีเขยี วในจังหวดั อุตรดิตถ์ กลมุ่ ตวั อย่างที่ใช้ใน
การศึกษา ได้แก่ ผู้นาชุมชนท้องถิ่นในจังหวัดอุตรดิตถ์ จานวน 510 คน ใช้แบบสอบถามในการเก็บ
ข้อมลู วิเคราะหด์ ้วยโปรแกรมสถิติ ผลการศกึ ษา พบว่า

1. ภาวะผู้นาการเปล่ียนแปลงเพื่อการบริหารจัดการทรัพยากรและส่ิงแวดล้อมของชุมชน
เศรษฐกิจสีเขียวในจังหวดั อุตรดิตถ์ ในแต่ละดา้ น พบว่า ในภาพรวมอยูใ่ นระดับมาก

2. การบริหารจัดการทรัพยากรและส่ิงแวดล้อมของชุมชนเศรษฐกิจสีเขียวในจังหวัดอุตรดิตถ์
ในทกุ ด้าน ในภาพรวมอยใู่ นระดบั มาก

3. ปัจจัยท่ีส่งผลต่อการจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมของชุมชนเศรษฐกิจสีเขียวในจังหวัด
อุตรดิตถ์ จากการศึกษา พบว่า ตัวแปรอิสระท่ีศึกษาทั้งหมด 15 ชุด มี 12 ชุด ท่ีสามารถอธิบายการผัน
แปรของการจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมของชุมชนเศรษฐกิจสีเขียวในจังหวัดอุตรดิตถ์ อย่ างมี
นยั สาคัญทางสถิติทีร่ ะดับ .05

คาสาคญั : ภาวะผู้นาการเปล่ียนแปลง, การบรหิ ารจัดการ, ทรพั ยากรและส่ิงแวดล้อม, ชมุ ชน
เศรษฐกจิ สีเขียว

Abstract
The purpose of this study was to study the transformational leadership for the

management of environmental and resource management of the green economy
community in Uttaradit province. To study the resource and environmental management
of the green economy community in Uttaradit Province. And to study the factors affecting
the resource and environmental management of the green economy community in
Uttaradit Province. The sample group used in the study was local community leaders in
Uttaradit province. There were 510 people using questionnaires to collect data. Analyzed
by statistical program, the results showed that


Click to View FlipBook Version