The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ebookrayong, 2020-09-11 09:58:50

การประชุมสัมมนาวิชาการนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ

Full-Paper-NACED-Education

379

กิตตกิ รรมประกาศ
ผู้วิจัยขอกราบขอบพระคุณเปน็ อย่างสงู ในความกรณุ าของ รองศาสตราจารย์ ดร.จิติมา วรรณ

ศรี ประธานท่ปี รกึ ษาวทิ ยานพิ นธท์ ไ่ี ด้ให้คาปรึกษาและคาแนะนาตลอดระยะเวลาในการทาวิทยานิพนธ์
ฉบับน้ี และขอกราบขอบพระคุณคณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ์ท่ีได้กรุณาให้คาแนะนาตลอดจนแก้ไข
ข้อบกพร่องของวิทยานิพนธ์ด้วยความเอาใจใส่จนทาให้วิทยานิพนธ์ฉบับน้ีสาเร็จลุล่วงได้อย่างสมบูรณ์
และทรงคณุ คา่

กราบขอบพระคุณคณะผู้บริหารสถานศึกษาและครูที่ปฏิบัติงานแนะแนว สังกัดสานักงานเขต
พ้ืนทีก่ ารศึกษามัธยมศึกษาเขต 39 เปน็ อยา่ งสงู ทีไ่ ด้กรุณาใหค้ วามอนุเคราะห์ข้อมลู เก่ียวกับการทาวิจัย
ขอขอบพระคุณคณาจารย์มหาวิทยาลัยนเรศวรทุกท่านที่ให้ความรู้ คาแนะนาในการทาวิจัยครั้งน้ี

เหนือส่ิงอ่ืนใดขอกราบขอบพระคุณบิดา มารดา ครู อาจารย์ของผู้วิจัยที่ให้การสนับสนุนเป็น
แรงใจท่ดี ีเสมอมา

คณุ ค่าและคณุ ประโยชน์อันพงึ จะมจี ากวิทยานพิ นธฉ์ บับนผ้ี ู้วจิ ัยขอมอบและอุทิศแดผ่ ู้มีพระคุณ
ทุกๆ ท่าน ผู้วิจัยหวังเป็นอย่างยิ่งว่างานวิจัยนี้จะเป็นประโยชน์ต่อการบริหารการศึกษาในยุคแห่งการ
เปล่ยี นแปลงต่อไป

แหลง่ อ้างอิง
กระทรวงศึกษาธิการ. (2550). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551กรุงเทพฯ: โรง

พมิ พช์ ุมนุมสหกรณ์การเกษตรแหง่ ประเทศไทย.
ธนินท์รัฐ สุทธโพธิพงศ์. (2550). กระบวนการการบริหารงานแนะแนวโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนก

สามัญศกึ ษาในจงั หวัดเชยี งราย. การศกึ ษาอสิ ระ ค.ม., มหาวิทยาลัยราชภฏั เชียงราย, เชียงราย.
พนม ลิ้มอารีย.์ (2548). การแนะแนวเบ้ืองต้น (พิมพ์คร้ังที่ 2). กรงุ เทพฯ: โอเดยี นสโตร.์
พยุง จันทร์น่ิม. (2557). บทบาทที่คาดหวังและบทบาทท่ีเป็นจริงของผู้บริหารสถานศึกษาในการ

บริหารงานแนะแนว ตามทัศนะของผู้บริหารสถานศึกษาและครูแนะแนวในโรงเรียนขยาย
โอกาส สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพิษณุโลก เขต 3. การศึกษา
ค้นควา้ ด้วยตนเอง กศ.ม., มหาวิทยาลยั นเรศวร, พิษณโุ ลก.
มาลนิ ี จโุ ฑปะมา. (2552). จติ วทิ ยาการแนะแนว. บุรรี มั ย์: เรวัตการพิมพ.์
สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ. (2559). แผนพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการฉบับท่ี 12
(พ.ศ. 2560 - 2564). กรุงเทพฯ: สานักนโยบายและยุทธศาสตร์ สานักงาน ปลัดกระทรวง
ศึกษาธกิ าร กระทรวงศึกษาธกิ าร.
สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา. (2553). แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนตามหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: ชุมนุมสหกรณ์การเกษตร แห่ง
ประเทศไทย จากัด.
สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา. (2554). แนวทางการจัดกิจกรรมแนะแนว ระดับประถมศึกษา.
กรงุ เทพฯ: ชมุ นมุ สหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จากัด.
อชั รา เอบิ สุขสริ .ิ (2557). จติ วทิ ยาสาหรับครู (พิมพค์ ร้ังที่ 2). กรุงเทพฯ: สานกั พิมพ์แหง่ จุ ฬ า ล ง ก ร ณ์
มหาวทิ ยาลยั .

380

การศกึ ษาแหล่งเรียนรทู้ างชวี วทิ ยาในเขตมหาวิทยาลัยเชยี งใหม่

THE STUDY OF BIOLOGICAL LEARNING RESOURCES IN CHIANG MAI UNIVERSITY.

ผศ.ดร.สุทธิกัญจน์ ทิพยเกษร
อาจารย์ประจาภาควิชาหลกั สูตรการสอนและการเรยี นรู้ คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม่

อรพินท์ คันธาเวช, รจุ ริ า วงค์แสง, วลิ าสินี สวาทะนันทน์
อาจารย์ประจาโรงเรียนสาธติ มหาวิทยาลัยเชยี งใหม่

บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ดังนี้คือ 1) เพื่อสารวจแหล่งเรียนรู้ทางชีววิทยาในเขต

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และ 2) เพ่ือวิเคราะห์แหล่งเรียนรู้ทางชีววิทยาในเขตมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ท่ี
สอดคล้องกับเน้ือหาชีววิทยาในระดับมัธยมศึกษาตอนปลายตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน
พุทธศักราช 2551 โดยทาการศึกษาในพื้นที่มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 4 แห่ง ได้แก่ พ้ืนท่ีการศึกษาหลัก
บริเวณเชิงดอย พ้ืนท่ีการศึกษาหลักบริเวณสวนดอก พ้ืนที่การศึกษามหาวิทยาลัยเชียงใหม่ “แม่เหียะ”
และศูนย์การศึกษามหาวิทยาลัยเชียงใหม่ “หริภุญไชย” มีเคร่ืองมือในการวิจัย 3 ช้ิน ได้แก่ 1) ตาราง
สารวจแหล่งเรียนรู้ทางชีววิทยาในเขตมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2) ตารางบันทึกข้อมูลแหล่งเรียนรู้ทาง
ชีววทิ ยาในเขตมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และ 3) ตารางวเิ คราะห์แหลง่ เรียนรู้ทางชีววทิ ยาในเขตมหาวทิ ยาลัย
เชียงใหม่ที่สอดคล้องกับสาระการเรียนรู้ชีววิทยาตามหลักสูตรการศึกษาขน้ั พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ซง่ึ
เมื่อเก็บข้อมูลได้แล้วทาการวิเคราะห์ข้อมูลโดยนาข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้ทางชีววิทยาในเขต
มหาวิทยาลยั เชยี งใหม่จากการสารวจมาวิเคราะหค์ วามสอดคล้องกับสาระการเรียนรู้ชีววิทยาตามหลักสูตร
การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 และนาเสนอข้อมูลโดยการเขียนพรรณนาและนาเสนอข้อมูลใน
รูปแบบตาราง ผลการวจิ ยั สรปุ ไดด้ งั น้ี

1. พื้นที่ท่ีมีแหล่งเรียนรู้ทางชีววิทยาท่ีเอื้อต่อการใช้เป็นแหล่งเรียนรู้แก่นักเรียนนักศึกษามี 3
พ้ืนที่ ได้แก่ พื้นที่การศึกษาหลักบริเวณเชิงดอย พ้ืนที่การศึกษาหลักบริเวณสวนดอก และพ้ืนท่ีการศึกษา
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ “แม่เหียะ” โดย 1) พ้ืนท่ีการศึกษาหลักบริเวณเชิงดอย พบแหล่งเรียนรู้ทาง
ชีววทิ ยา จานวน 6 แหลง่ ได้แก่ ศนู ย์ธรรมชาติวิทยาดอยสเุ ทพเฉลิมพระเกยี รติ อาคารเฉลิมพระเกยี รติ 7
รอบ พระชนมพรรษา อ่างแก้ว สวนปาล์ม พื้นท่ีป่าเชิงดอยสุเทพ และพื้นที่โดยรอบศาลาธรรม 2) พื้นท่ี
การศึกษาหลักบริเวณสวนดอก พบแหล่งเรียนรู้ทางชีววิทยา จานวน 4 แหล่ง ได้แก่ งานธนาคารเลือด
หอ้ งเบอร์ 12 ตรวจคล่นื ไฟฟ้าหวั ใจ หน่วยเคมีบาบัดผูป้ ่วยนอก และสวนสมนุ ไพร และ 3) พ้นื ทก่ี ารศึกษา
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ “แม่เหียะ” พบแหล่งเรียนรู้ทางชีววิทยา จานวน 5 แหล่ง ได้แก่ ศูนย์วิจัย สาธิต
และฝึกอบรมการเกษตรแม่เหียะ สถาบันวิจัยระบบทรัพยากรเกษตร ศูนย์วิจัยข้าวล้านนา เรือนเพาะชา
และสถาบนั วิจยั และพฒั นาพลังงานนครพิงค์ รวมจานวนแหลง่ เรยี นรู้ทางชวี วิทยาทั้งสิน้ 15 แหลง่

2. จากการวิเคราะห์แหล่งเรียนรู้ทางชีววิทยา พบว่ามีความสอดคล้องกับเนื้อหาชีววิทยาตาม
หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2551 ทง้ั ส้ิน 12 เรือ่ ง ไดแ้ ก่เร่ือง ชีวิตกับสิง่ แวดล้อม
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลายทางชีวภาพ ส่ิงมีชีวิตคืออะไร เคมีที่เป็นพื้นฐานของ
ส่ิงมีชีวิต การรักษาดุลยภาพในร่างกาย พฤติกรรมสัตว์ โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก การสังเคราะห์
ด้วยแสง การสืบพันธ์ุของพืชดอกและการเจริญเติบโต การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม ความ
หลากหลายทางชีวภาพ และมนุษย์กับความย่ังยืนของสิ่งแวดล้อม โดยเก่ียวข้องกับเร่ือง ชีวิตกับ

381

สงิ่ แวดลอ้ มมากท่สี ดุ คิดเป็นร้อยละ 18.03 สว่ นเร่อื งทีเ่ ก่ียวข้องน้อยท่สี ุดได้แก่เรื่อง เคมที ี่เปน็ พ้ืนฐานของ
ส่ิงมีชีวติ กับ พฤติกรรมสัตว์ คิดเป็นร้อยละ 1.63 เท่ากัน

คาสาคัญ : แหลง่ เรียนรู,้ แหล่งเรยี นร้ทู างชีววทิ ยา, มหาวิทยาลยั เชยี งใหม่

ABSTRACT
This research has the mainly objectives following: 1) to explore the Biological

learning resources of the campus area in Chiang Mai University, 2) to analyse the Biological
learning resources of Chiang Mai University related to the contents of Biology in higher
secondary school attach to the core curriculum for Fundamental Education year 2008. The
study area are including four area of Chiang Mai University. Those are the Cheong Doi Main
Education Area, Suan Dok Main Education Area, Chiang Mai University Mae Hia Education
Area, and Chiang Mai University Hariphunchai Education Centre. The research has three
research tools component: 1) Explore table of Biological resources in biological in the imply
4 universities, 2) Record information or database resources in the field of Biology of 4
universities, and 3) Schedule analysis in term of Biological way in the Chiang Mai university
related to the contents of Biology in higher secondary school attach to the core curriculum
for Fundamental Education year 2008. When the data has been analysed and collected
from the real source of Chiang Mai University also be presented by descriptive writing and
presenting information in term of Biology. And presented by descriptive writing and
presenting information in the form table. The results were as follows:

1. The area where Biological resources are conducive to use as a learning centre for
students with three places: Cheong Doi Main Education Area, Suan Dok Main Education Area,
and Chiang Mai University Mae Hia Education Area by 1) The main areas of emphasize on
study at the mountain hill. To resources, Biological resources, there are totally six sources.

1.1 Doi Suthep Nature Biological Centre.
1.2 The 7th year celebrate Building
1.3 “Ang-Keaw” (CMU Campus Lake)
1.4 Palm forest in Doi Suthep hill.
1.5 “Saladahm”-The area in front of campus surrounding
2) A Suan Dok Main Education Area found the Biological learning resources of 4
sources these are 4 sources: Blood Banking sources room number 12, ECG
(Electrocardiogram), Out-patient Chemotherapy Center, and Herbal Garden.
3) Chiang Mai University Mae Hea Education Area. Find resources on the Biology of
five main areas: these are Mae Hia Agricultural Research, Demonstrative and Training Centre,
Centre for Agricultural Resource Systems Research, Lanna Rice Research Centre Chiang Mai

382

University, Plant's Nursery and Research Institution, and Energy Resources and Development
Institute – Nakornping. Total of 15 Biological sources.

2. The analysis of biological resources is consist with the subject of Biology Core
Curriculum for Fundamental Education year 2008, including 12 title stories that is Life and
the Environment, Genetics and Biodiversity, What is truly meaning of creature Living is? The
Basically Chemistry of Life, Maintaining balance of Physical Appearance, Animal Behaviour,
Functional Structure of Plant, Photosynthesis, Reproduction of Flowering Plants and
Growing, Genetics, Biodiversity, and Human & Environmental Sustainability. Those are
mostly involved with Life & Environment over 18.03 percent. The minutest concerned are
minimal. The Basically Chemistry of Life, and Animal Behaviour equally to 1.63 percent.

Keywords ; Learning resources, Biological learning resources, Chiang Mai University

วัตถุประสงค์ของการวิจัย
1. เพื่อสารวจแหล่งเรียนรู้ทางชีววิทยาในเขตมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
2. เพื่อวิเคราะห์แหล่งเรียนรู้ทางชีววิทยาในเขตมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ท่ีสอดคล้องกับเน้ือหา

ชีววทิ ยาในระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลายตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551

วธิ ีดาเนนิ การวิจยั
1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ประชากรที่ใช้ในการวิจัยคร้ังน้ี ได้แก่ พ้ืนท่ีของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 4 แห่ง ได้แก่ พื้นที่

การศึกษาหลักบริเวณเชิงดอย พ้ืนท่ีการศึกษาหลักบริเวณสวนดอก พ้ืนที่การศึกษามหาวิทยาลัยเชียงใหม่
“แม่เหยี ะ” และศูนย์การศึกษามหาวทิ ยาลัยเชียงใหม่ “หริภุญไชย”

2. เครอ่ื งมือท่ใี ช้ในการวจิ ยั
2.1 ตารางสารวจแหล่งเรียนรทู้ างชีววทิ ยาในเขตมหาวิทยาลัยเชยี งใหม่
2.2 ตารางบนั ทกึ ขอ้ มูลแหล่งเรียนรู้ทางชวี วิทยาในเขตมหาวิทยาลัยเชยี งใหม่
2.3 ตารางวิเคราะห์แหล่งเรียนรู้ทางชีววิทยาในเขตมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ที่สอดคล้องกับ

สาระการเรยี นร้ชู วี วทิ ยาตามหลักสตู รการศึกษาขั้นพื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2551
3. การเก็บรวบรวมขอ้ มูล
การเก็บรวบรวมข้อมูลแบ่งออกเป็น 2 ข้ันตอน ดังนี้
ขันตอนที่ 1 เป็นขั้นสารวจแหล่งเรียนรู้ทางชีววิทยาในเขตมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ซึ่งมี

รายละเอียดการดาเนนิ การวิจยั ดังนี้
1. ศึกษาข้อมูลและปรึกษาหารือเกี่ยวกับแหล่งเรียนรู้ และเกี่ยวกับพ้ืนท่ีการศึกษาของ

มหาวิทยาลัยท้ัง 4 แห่ง ได้แก่ พื้นที่การศึกษาหลักบริเวณเชิงดอย พ้ืนท่ีการศึกษาหลักบริเวณสวนดอก
พ้นื ทก่ี ารศึกษามหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ “แม่เหียะ” และศนู ย์การศกึ ษามหาวิทยาลยั เชยี งใหม่ “หรภิ ุญไชย”

2. สรา้ งเคร่ืองมือที่ใชใ้ นการเกบ็ รวบรวมข้อมูล

383

3. สารวจแหล่งเรียนรู้ในพ้ืนท่ีท้ัง 4 แห่ง โดยพิจารณาแหล่งเรียนรู้ท่ีเป็นแหล่งข้อมูลข่าวสาร
สารสนเทศ และประสบการณ์อื่นๆ ในลักษณะที่เป็นสถานท่ี ทั้งสถานที่ทางธรรมชาติและสถานที่ที่เป็น
ศูนย์หรือหน่วยงานภายในเขตมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ซึ่งเปิดให้นักเรียนนักศึกษาเข้าเยี่ยมชม หรือลงมือ
ปฏิบัติกิจกรรมที่สนับสนุน ส่งเสริมให้นักเรียนนักศึกษาเกิดกระบวนการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับเนื้อหา
ชีววิทยาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ทั้ง
รายวิชาพื้นฐานและรายวิชาเพ่ิมเติม รวมท้ังมีสภาพพ้ืนที่ ส่ิงอานวยความสะดวก การเดินทางไปยังแหล่ง
เรยี นรู้ ทเ่ี หมาะสมและเอ้ือต่อการใชเ้ ปน็ แหล่งเรยี นรู้

4. เกบ็ รวบรวมขอ้ มลู จากแหลง่ เรียนรู้ทเี่ กี่ยวข้องกับวิชาชีววทิ ยา
ขันตอนท่ี 2 เป็นข้ันการวิเคราะห์แหล่งเรียนรู้ทางชีววิทยาในเขตมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ท่ี
สอดคล้องกับสาระการเรียนรู้ชีววิทยาตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ซ่ึง
รายละเอยี ดในการดาเนินการวจิ ยั ดังนี้
1. นาข้อมูลที่ได้จากการสารวจและรวมรวมข้อมูลในข้ันตอนท่ี 1 มาวิเคราะห์แหล่งเรียนรู้ทาง
ชีววิทยาในเขตมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ท่ีสอดคล้องกับสาระการเรียนรู้ชีววิทยาตามหลักสูตรการศึกษาข้ัน
พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2551
2. จัดทาฐานข้อมูลแหล่งเรียนรู้ทางชีววิทยาในเขตมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ท่ีสอดคล้องกับสาระ
การเรียนรู้ชวี วิทยาตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2551
3. จัดพิมพ์รายงานการวจิ ยั
การวเิ คราะหข์ อ้ มูล
คณะผู้วิจัยได้ทาการวิเคราะห์ข้อมูลโดยนาข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้ทางชี ววิทยาในเขต
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่จากการสารวจมาวิเคราะห์ความสอดคล้องกับสาระการเรียนรชู้ ีววิทยาตามหลักสูตร
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และนาเสนอข้อมูลโดยการเขียนพรรณนาและนาเสนอข้อมูลใน
รูปแบบตาราง

สรุปผลการวจิ ัย

คณะผ้วู จิ ัยได้สรุปผลการวิจัยและนาเสนอโดยแบง่ ออกเป็น 2 ข้นั ตอน ดงั นี้

ตอนท่ี 1 แสดงผลขอ้ มลู จากการสารวจแหลง่ เรียนรูท้ างชีววิทยาที่พบในแตล่ ะพื้นท่ี ผลปรากฏดงั นี้

1. แหลง่ เรียนรใู้ นพนื้ ท่ีการศึกษาหลักบรเิ วณเชงิ ดอย พบ 6 แหลง่ ดังตารางที่ 1

ตารางที่ 1 แสดงข้อมูลแหล่งเรยี นรู้ในพ้นื ที่การศึกษาหลักบรเิ วณเชิงดอย

ช่ือแหลง่ เรยี นรู้ ประเภทของแหลง่ ลักษณะเด่น ส่ิงอานวยความ ขอ้ มูลอนื่ ๆ
เรียนรู้ สะดวกในการเรยี นรู้

ศูนย์ธรรมชาตวิ ิทยา แหลง่ เรยี นรู้ท่ีมนุษย์ เป็นหนว่ ยงานที่มกี ารจดั แสดงนทิ รรศการที่ โซนนิทรรศการ ห้อง อย่รู ะหวา่ งการ

ดอยสเุ ทพเฉลิมพระ สร้างข้ึน (องค์กร) เป็นองค์ความรู้เก่ยี วกบั ธรรมชาติวิทยาดอยสุ ชมภาพยนตร์ หอ้ ง ปรับปรุง

เกียรติ เทพจากการศึกษาวจิ ัยของนกั วชิ าการ ประชุม

หอ้ งสุขา

อาคารเฉลิมพระ แหล่งเรียนรู้ท่มี นุษย์ เปน็ อาคารท่มี กี ารจดั ป้ายนทิ รรศการเฉลิม ทางลาดสาหรบั ผู้

เกียรติ 7 รอบ พระ สร้างขึน้ (อาคาร พระเกียรตพิ ระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หวั ซึ่งมี พกิ าร จอฉาย

ชนมพรรษา สถานท)่ี สว่ นที่เก่ียวข้องกบั การจัดการสง่ิ แวดล้อม ภาพเคล่อื นไหวพรอ้ ม

การทาฝนหลวง และทฤษฎีเกษตรแนวใหม่ เสียงบรรยาย หอ้ งสุขา

384

ชื่อแหลง่ เรียนรู้ ประเภทของแหลง่ ลกั ษณะเด่น สงิ่ อานวยความ ขอ้ มูลอนื่ ๆ
เรียนรู้ สะดวกในการเรียนรู้

อ่างแกว้ แหล่งเรียนรทู้ ่มี นุษย์ เปน็ แหล่งทรพั ยากรนา้ หลกั ของ ทางเดนิ บริเวณสันอ่าง

สรา้ งข้นึ (ทรพั ยากร) มหาวทิ ยาลัยเชียงใหม่ มีระบบนิเวศแหล่งนา้ แก้ว มที ่นี ง่ั ตามจดุ

พรรณไม้ และส่ิงมีชีวิตหลากหลาย ตา่ งๆ

สวนปาลม์ แหลง่ เรยี นรทู้ มี่ นุษย์ เป็นแหล่งพกั ผ่อน ออกกาลังกาย มตี น้ ปาล์ม ทางเดินรอบๆ สวน

สร้างขนึ้ (ทรพั ยากร) หลากหลายพันธ์ุ มแี หล่งนา้ ขนาดเล็ก มีสัตว์ ปาล์ม ท่ีน่งั ตามจุด

นา้ เชน่ หอย มแี มลง นก และพชื ริมฝ่ังน้า ตา่ งๆ

พนื้ ท่ีปา่ เชงิ ดอย สุ แหลง่ เรียนรู้ท่ีเกดิ โดย เป็นแหล่งทรพั ยากรปา่ ไมท้ ม่ี ีสภาพเป็น ทางเดินตามแนวกนั ไฟ

เทพ ธรรมชาติ (ทรัพยากร) ธรรมชาติ มพี รรณไมช้ นิดต่างๆ เช่น สัก เสลา ป่า

เป็นต้น อยรู่ ะหว่างการ

กอ่ สรา้ งถนนเช่ือมจาก

ตลาดร่มสักมายงั คณะ

การสื่อสารมวลชน

พน้ื ท่ีโดยรอบศาลา แหลง่ เรยี นรทู้ ่ีเกดิ โดย เป็นแหล่งทรัพยากรธรรมชาติท่มี พี รรณไม้ ทางเดินโดยรอบ

ธรรม ธรรมชาติ (ทรัพยากร) ตา่ งๆ เช่น มะเดอ่ื สกั จามจรุ ี ฯลฯ มีนก บรเิ วณศาลาธรรม

หลายชนดิ เชน่ นกเอ้ยี งหงอน นกหวา้ ใหญ่

ฯลฯ มแี อ่งนา้ ขนาดเล็ก และมีทางน้าจากอา่ ง

แกว้ ไหลผา่ น

ตาดชมพู แหลง่ เรียนร้ทู ี่มนุษย์ - - อยรู่ ะหวา่ งการ

สรา้ งข้นึ (ทรพั ยากร) กอ่ สรา้ ง

ภาพตวั อยา่ งแหลง่ เรยี นรูใ้ นพนื้ ท่ีการศึกษาหลักบริเวณเชิงดอย ปรากฏดังภาพที่ 1 – 2 ดงั น้ี

ภาพที่ 1 พืน้ ทบี่ รเิ วณอา่ งแกว้ ภาพที่ 2 อาคารเฉลมพระเกยี รติ 7 รอบพระชนมพรรษา

2. แหลง่ เรียนรูใ้ นพืน้ ท่กี ารศึกษาหลกั บริเวณสวนดอก พบ 4 แหลง่ ดงั ตารางท่ี 2 ตอ่ ไปน้ี

ตารางท่ี 2 แสดงข้อมลู แหล่งเรียนรู้ในพ้ืนท่ีการศึกษาหลักบริเวณสวนดอก

ช่อื แหลง่ เรียนรู้ ประเภทของแหล่ง ลกั ษณะเด่น ส่งิ อานวยความ ขอ้ มลู อนื่ ๆ
เรยี นรู้ สะดวกในการเรียนรู้

งานธนาคารเลอื ด แหล่งเรยี นรทู้ ี่ เปน็ หนว่ ยงานท่ีรบั บริจาคเลือด ตรวจสอบ ตวั อย่างเลอื ด

มนุษยส์ ร้างขนึ้ หมู่เลอื ด และเป็นแหล่งจา่ ยเลือดและเกล็ด สารเคมแี ละอปุ กรณ์

(องคก์ ร) เลอื ดแก่ผปู้ ่วย ใหค้ วามร้เู กี่ยวกบั เลอื ดแก่ ต่างๆ ในการทดสอบ

ประชาชนท่วั ไป ซ่ึงมีตัวอยา่ งเลือดและ หมเู่ ลือด

เกล็ดเลือดใหเ้ หน็ ชัดเจน ผเู้ รยี นสามารถลง

มอื ปฏบิ ตั ใิ นการทดสอบหมู่เลือดได้

หอ้ งเบอร์ 12 ตรวจ แหลง่ เรยี นรู้ท่ี ตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ บันทึกกราฟ เคร่ืองตรวจ มีสภาพพ้นื ท่จี ากดั

คลนื่ ไฟฟ้าหวั ใจ มนุษย์สรา้ งข้ึน คลนื่ ไฟฟา้ หวั ใจ ซึ่งผ้เู รียนสามารถ คลน่ื ไฟฟา้ หวั ใจ และในบางโอกาส

(องค์กร) ตรวจสอบคลื่นไฟฟ้าหัวใจเพือ่ ใหเ้ ห็นกราฟ พร้อมหนา้ อาจมคี นไข้

คลื่นไฟฟ้าหวั ใจได้ จอแสดงผล

385

ช่อื แหลง่ เรียนรู้ ประเภทของแหลง่ ลกั ษณะเด่น ส่งิ อานวยความ ข้อมูลอน่ื ๆ
หนว่ ยเคมบี าบัด เรยี นรู้ สะดวกในการเรยี นรู้
ผ้ปู ่วยนอก เปน็ หนว่ ยงานที่ดแู ลใหย้ าเคมีบาบดั แก่
แหล่งเรยี นรูท้ ี่ ผปู้ ว่ ยมะเร็งทง้ั เด็กและผ้ใู หญซ่ ่ึงมี แผน่ พับให้ความรู้
สวนสมนุ ไพร มนุษย์สรา้ งข้นึ เจา้ หนา้ ท่พี ยาบาลทีส่ ามารถให้ความรู้ใน
(องคก์ ร) การดูแลผปู้ ว่ ยได้ และมแี ผน่ พับให้ความรู้ ตัวอยา่ งพนั ธ์พุ ชื ไมค่ วรนาผู้เรยี น
เกยี่ วกับโรคต่างๆ อย่างหลากหลาย สมนุ ไพร ทางเดิน เข้าเย่ียมชมในชว่ ง
แหล่งเรยี นรู้ท่ี เป็นพื้นท่ีท่สี ามารถนาผู้เรยี นเขา้ ศกึ ษา โดยรอบสวนสมนุ ไพร ทมี่ สี ภาพอากาศ
มนุษย์สร้างขน้ึ เยยี่ มชมไดจ้ านวนมาก มีทางเดนิ โดยรอบ ป้ายชือ่ พืชสมุนไพร ร้อนและแดดจดั
(ทรัพยากร) มีตวั อยา่ งพนั ธพ์ุ ืชสมนุ ไพรที่หลากหลาย

ภาพตัวอย่างแหลง่ เรยี นรูใ้ นพื้นท่ีการศึกษาหลักบรเิ วณสวนดอก ปรากฏดังภาพท่ี 3 – 4 ดงั นี้

ภาพท่ี 3 หอ้ งตรวจคลน่ื ไฟฟ้าหัวใจ ภาพที่ 4 สวนสมุนไพร

3. แหล่งเรียนรู้ในพ้ืนท่ีการศึกษามหาวิทยาลัยเชียงใหม่ “แม่เหียะ” พบ 5 แหล่ง ดังตารางท่ี 2

ต่อไปน้ี

ตารางที่ 3 แสดงข้อมูลแหล่งเรยี นรู้ในพน้ื ท่ีการศึกษามหาวทิ ยาลยั เชียงใหม่ “แมเ่ หียะ”

ชือ่ แหลง่ เรยี นรู้ ประเภทของแหล่ง ลกั ษณะเด่น สง่ิ อานวยความ ข้อมูลอืน่ ๆ
เรียนรู้ สะดวกในการเรยี นรู้

ศนู ย์วิจยั สาธิตและ แหลง่ เรียนรทู้ ่ีมนุษย์ มกี ารศกึ ษาวิจัยและเผยแพร่ความรู้เกย่ี วกับ แปลงไม้ผลยนื ตน้ ไม่ควรนาผู้เรยี นเข้า

ฝกึ อบรมการเกษตร สรา้ งข้นึ (องค์กร) การเพม่ิ ผลผลิตทางการเกษตร เป็นแหล่ง เยีย่ มชมในช่วงท่มี ี

แม่เหยี ะ ฝกึ งานใหแ้ ก่เกยี่ วกับการบารุงรกั ษาดูแลไม้ สภาพอากาศร้อนและ

ผลตา่ งๆ รวมไปถึงการให้บริการวิชาการแก่ มแี ดดจดั

นักเรยี น นกั ศกึ ษา และเกษตรกรที่มาศกึ ษา

ดูงาน

สถาบันวิจยั ระบบ แหล่งเรยี นรู้ทีม่ นุษย์ เป็นหนว่ ยงานท่ีมีการศึกษาวิจัยเกย่ี วกับการ อาคารท่ีทาการสถานี ไม่ควรนาผ้เู รยี นเขา้

ทรัพยากรเกษตร สรา้ งข้นึ (องค์กร) ทาการเกษตรอยา่ งเปน็ ระบบและ วจิ ยั ระบบทรัพยากร เยย่ี มชมในชว่ งทม่ี ี

หลากหลายมิติ มแี หล่งเรยี นรคู้ ือแปลง เกษตร ห้องนา้ สภาพอากาศรอ้ นและ

เกษตรสาธติ ทีน่ ่าสนใจ รวมไปถงึ การลงทุน มแี ดดจัด

และระบบการตลาด ซ่ึงมกี ารเผยแพรค่ วามรู้

และสนบั สนุนการพ่ึงพาตนเองให้แก่

เกษตรกร

ศูนย์วจิ ยั ขา้ วลา้ นนา แหลง่ เรยี นรูท้ ่ีมนุษย์ เป็นหน่วยงานท่ีศึกษาวิจัยและเผยแพร่ - ไมค่ วรนาผู้เรยี นเขา้

สรา้ งข้นึ (องคก์ ร) ความรู้เกยี่ วกบั พันธขุ์ า้ ว รวมถงึ การอนรุ ักษ์ เยีย่ มชมในชว่ งทมี่ ี

วิถชี ีวิตการทานาแบบล้านนา สภาพอากาศร้อนและ

มแี ดดจดั และควร

ติดต่อเพ่อื ตรวจสอบ

386

ชอ่ื แหลง่ เรยี นรู้ ประเภทของแหลง่ ลักษณะเดน่ สิ่งอานวยความ ข้อมูลอ่ืนๆ
เรยี นรู้ สะดวกในการเรยี นรู้
เรือนเพาะชา
วา่ แปลงนาสาธติ มี
สถาบนั วจิ ยั และ
พฒั นาพลังงานนคร การเพาะปลกู ใน
พงิ ค์
ช่วงเวลาใด

แหลง่ เรียนร้ทู มี่ นุษย์ เปน็ หน่วยงานที่มกี ารศึกษาวิจยั เกีย่ วกบั โรงเรือนกล้วยไมแ้ ละ

สร้างข้ึน (องค์กร) กลว้ ยไม้อยา่ งเปน็ ระบบครบวงจร มวี ทิ ยากร ทางเดนิ ห้องนา้

ที่มีความรู้เฉพาะด้าน มีตัวอย่างชนิดพันธุ์

กล้วยไมท้ ี่หลากหลาย

แหล่งเรยี นรูท้ ่ีมนุษย์ เปน็ หนว่ ยงานทมี่ ีการจดั แสดงนิทรรศการท่ี หอ้ งประชุมขนาดเล็ก ควรติดต่อลว่ งหนา้

สรา้ งข้ึน (องคก์ ร) เป็นองค์ความรูเ้ กยี่ วกบั การวิจัยและพัฒนา นทิ รรศการ ห้องนา้ เป็นเวลานาน

พลังงาน มอี าคารสถานท่ีทพี่ รั่งพร้อม มี

ตัวอย่างระบบการจัดการต่างๆ ท่ชี ัดเจน มี

วิทยากรให้ความรู้เฉพาะด้าน

ภาพตัวอย่างแหล่งเรียนรู้ในพืน้ ท่ีการศึกษามหาวิทยาลยั เชยี งใหม่ “แม่เหียะ” ปรากฏดังภาพท่ี 5-6 ดังน้ี

ภาพที่ 5 แปลงสาธิต สถาบันวิจับระบบทรัพยากรเกษตร ภาพท่ี 6 สถาบันวจิ ยั และพฒั นาพลังงานนครพิงค์

4. แหล่งเรียนรู้ในศูนย์การศึกษามหาวิทยาลัยเชียงใหม่ “หริภุญไชย” ไม่ปรากฏแหล่งเรียนรู้ที่
เหมาะสมต่อการใช้เป็นแหล่งเรยี นรู้ทางชวี วทิ ยา

ตอนที่ 2 ผลการวิเคราะห์แหล่งเรียนรู้ทางชีววิทยาในเขตมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ท่ีสอดคล้องกับ
เนื้อหาชีววิทยาในระดับมัธยมศึกษาตอนปลายตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช
2551 ซึ่งคณะผู้วิจัยได้ทาการวิเคราะห์และจัดทาเป็นข้อมูลแสดงความถ่ีและร้อยละของเน้ือหาชีววิทยาที่
สัมพันธก์ บั แหล่งเรียนรู้ในแต่ละพื้นท่ี ผลการวเิ คราะห์ข้อมูลพบว่ามีความสอดคล้องกับเนื้อหาชีววิทยาตาม
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ทั้งส้ิน 12 เรื่อง ได้แก่เรื่อง ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลายทางชีวภาพ สิ่งมีชีวิตคืออะไร เคมีที่เป็นพ้ืนฐานของ
สิ่งมชี ีวิต การรกั ษาดลุ ยภาพในรา่ งกาย พฤติกรรมสัตว์ โครงสร้างและหน้าที่ของพชื ดอก การสงั เคราะห์ด้วย
แสง การสบื พนั ธ์ุของพชื ดอกและการเจริญเติบโต การถา่ ยทอดลักษณะทางพันธกุ รรม ความหลากหลายทาง
ชีวภาพ และมนุษย์กับความย่ังยืนของส่ิงแวดล้อม โดยเกี่ยวข้องกับเรื่อง ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมมากที่สุด คิด
เป็นร้อยละ 18.03 ส่วนเรื่องที่เก่ียวข้องน้อยที่สุดได้แก่เรื่อง เคมีท่ีเป็นพื้นฐานของส่ิงมีชีวิต กับ พฤติกรรม
สัตว์ คดิ เปน็ ร้อยละ 1.63 เท่ากันซ่งึ ตวั อยา่ งการวิเคราะหข์ ้อมลู ปรากฏดังตารางท่ี 4 ต่อไปนี้

387

ตารางท่ี 4 แสดงตัวอย่างการวิเคราะห์ความถ่ีและร้อยละของเน้ือหาวิชาชีววิทยาท่ีสอดคล้องกับแหล่ง

เรยี นรู้แต่ละแหล่งในพืน้ ท่ีการศึกษาหลักบริเวณเชิงดอย

แหล่งเรยี นรูใ้ นพนื ทหี่ ลักบริเวณเชงิ ดอย

ศูนย์

เนอื หาชวี วทิ ยา ธรรมชาติ อาคารเฉลิม อ่างแก้ว สวน พืนทีป่ ่า พนื ท่ี ความถ่ี รอ้ ยละ
วิทยาดอย พระเกียรติ ปาล์ม เชิงดอย โดยรอบ
7 รอบ พระ สุเทพ ศาลา
สุเทพ ชนมพรรษา ธรรม
เฉลิมพระ

เกียรติ

ชวี ติ กบั สง่ิ แวดล้อม / / / / / / 6 18.75

การถ่ายทอดลักษณะ / / / / / 5 15.63

ทางพนั ธุกรรมและ

ความหลายทาง

ชวี ภาพ

สง่ิ มชี ีวิตคอื อะไร / / / / 4 12.50

พฤตกิ รรมสัตว์ / 1 3.11

โครงสรา้ งและหนา้ ท่ี / / 2 6.25

ของพชื ดอก

การสังเคราะหด์ ้วย / / 2 6.25

แสง

การสบื พนั ธข์ุ องพืช / / 2 6.25

ดอกและการ

เจรญิ เตบิ โต

ความหลากหลายทาง / / / / / 5 15.63

ชีวภาพ

มนษุ ย์กับความยัง่ ยนื / / / / / 5 15.63

ของส่ิงแวดลอ้ ม

รวม 4 2 8 4 5 9 32 100

อภิปรายผล
จากผลการวิจยั ดงั ทีไ่ ดส้ รปุ มานน้ั สามารถอภิปรายเปน็ ประเด็นตามวัตถุประสงคข์ องการวจิ ัยได้ดงั นี้
1. ผลการสารวจแหลง่ เรียนรู้ทางชีววิทยาในเขตมหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม่
จากผลการสารวจแหล่งเรียนรู้ทางชีววิทยาในเขตมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ข้างต้น สามารถ

อภปิ รายผลการวิจยั ได้ดังประเด็นต่อไปนี้
1.1 จากผลการสารวจแหล่งเรียนรู้ทางชีววิทยาในพ้ืนท่ีทั้ง 4 แห่งของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่

สรปุ ได้วา่ พ้ืนทีท่ ่ีมแี หล่งเรียนรู้ทางชวี วิทยาทีเ่ อื้อต่อการใช้เป็นแหลง่ เรียนรู้แกน่ ักเรียนนักศึกษามี 3 พ้นื ที่
ได้แก่ พ้ืนที่การศึกษาหลักบริเวณเชิงดอย พ้ืนท่ีการศึกษาหลักบริเวณสวนดอก และพ้ืนที่การศึกษา
มหาวทิ ยาลัยเชียงใหม่ “แม่เหียะ”

1.1.1 การท่พี ื้นท่ีการศึกษาท่เี ป็นพ้นื ท่ีเป้าหมายท้ัง 4 แห่ง พบแหล่งเรยี นรู้ทางชวี วิทยา
อยู่ 3 แห่ง ท้ังนี้น่าจะเน่ืองมาจากพ้ืนท่ีการศึกษามหาวิทยาลัยเชียงใหม่ “หริภุญไชย” นั้น เป็นพื้นท่ีที่มี
สภาพเป็นป่าธรรมชาติดั้งเดิมอยู่ค่อนข้างมาก ดังน้ันสภาพพื้นท่ีโดยรวมจึงยังไม่เอื้อต่อการใช้เป็นแหล่ง
เรียนรู้ได้มากนัก อีกท้ังยังต้ังอยู่ในพื้นท่ีที่ห่างจากทั้งจังหวัดเชียงใหม่และจังหวัดลาพูน ทาให้การเดินทาง
ค่อนขา้ งไกลอีกดว้ ย

388

1.1.2 สาหรับพ้ืนที่มหาวิทยาลัยเชียงใหม่อีก 3 แห่ง ได้แก่ พ้ืนที่การศึกษาหลักบริเวณ
เชิงดอย พื้นท่ีการศึกษาหลักบริเวณสวนดอก และพ้ืนที่การศึกษามหาวิทยาลัยเชียงใหม่ “แม่เหียะ” นั้น
พบแหล่งเรียนรู้ทางชีววิทยารวมแล้ว 15 แหล่ง ทั้งนี้จะมีสาเหตุมาจากทั้ง 3 พื้นที่น้ีเป็นพื้นท่ีมีการ
ดาเนินการทางานมาเป็นระยะเวลายาวนาน อย่างเช่น พ้ืนที่การศึกษาหลักบริเวณเชิงดอย ได้เปิด
ด า เ นิ น ก า ร จั ด ก า ร เ รี ย น ก า ร ส อ น ม า ต้ั ง แ ต่ ปี พ . ศ . 2 5 0 7 ( ม ห า วิ ท ย า ลั ย เ ชี ย ง ใ ห ม่ ,
(www.cmu.ac.th/aboutcmu.php?id=1) ส่วนพื้นท่ีการศึกษาหลักบริเวณสวนดอก เริ่มดาเนินการโดย
เริ่มต้นจากโรงพยาบาลนครเชียงใหม่และโรงเรียนแพทยศาสตร์ ในสังกัดมหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ และ
ได้โอนมาสังกัดมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ในปี พ.ศ.2508 เมื่อถึง พ.ศ.2526 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิ
พลอดุลยเดชฯ ได้ทรงพระราชทานพระบรมราชานุญาตให้เปล่ียนชื่อจากโรงพยาบาลนครเชียงใหม่มาเป็น
โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ (สมโชติ อ๋องสกุล, 2553 : 89 – 95) ในขณะท่ีพื้นที่การศึกษา
มหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม่ “แม่เหียะ” น้ันไดร้ ับอนญุ าตจากกรมปา่ ไม้ให้มหาวิทยาลัยเชยี งใหมเ่ ข้าใชพ้ น้ื ที่เพื่อ
ก า ร เ รี ย น ก า ร ส อ น แ ล ะ ก า ร ท า วิ จั ย ตั้ ง แ ต่ ปี พ . ศ . 2 5 0 9 ( ม ห า วิ ท ย า ลั ย เ ชี ย ง ใ ห ม่ ,
www.agri.cmu.ac.th/organize/web.asp?Major_Code=0811) ซึ่งนับเป็นระยะเวลาที่ยาวนานถึง 50
ปี จึงมีการดาเนินงาน การปรับสภาพพ้ืนที่ การก่อต้ังหน่วยงานต่างๆ ภายในพ้ืนที่มาอย่างต่อเน่ือง ดังนั้น
จงึ ทาใหป้ รากฏแหลง่ เรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกบั ชวี วิทยาอยใู่ นพ้ืนท่ีท้ัง 3 แห่งน้ี

1.2 แหล่งเรียนรทู้ พี่ บในพนื้ ทีม่ หาวิทยาลัยเชียงใหมท่ ้ัง 3 พบแหลง่ เรียนรู้ทางชวี วิทยาท้ังสิ้น
15 แหล่งน้นั สามารถอภปิ รายผลได้ดังนี้

1.2.1 พื้นท่ีการศึกษาหลักบริเวณเชิงดอย มีสภาพพื้นที่เดิมเป็นป่าธรรมชาติจึงมีทุน
ทางด้านทรัพยากรซ่ึงเป็นฐานในการพัฒนาสภาพพ้ืนท่ี ดังจะเห็นได้จากลาน้าสาคัญ 5 สายที่ไหลมาจาก
ดอยสเุ ทพ ได้แก่ ห้วยแก้ว ห้วยกขู่ าว ห้วยธารชมพู หว้ ยแมร่ ะงอง และหว้ ยฝายหิน ซ่งึ ถือเปน็ แหล่งต้นน้า
สาคัญของเมืองเชียงใหม่ และก็ได้กลายเป็นแหล่งน้าสาคัญสาหรับการอุปโภคบริโภคภายใน
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ด้วย ซึ่งจากการสารวจบริเวณโดยรอบอ่างแก้วทาให้คณะผู้วิจัยพบว่า อ่างแก้ว
สามารถเป็นแหล่งเรียนรู้ทางชวี วิทยาไดเ้ ป็นอยา่ งดี ทงั้ ในในเร่ืองระบบนิเวศทางน้า การตรวจสอบคุณภาพ
นา้ ความหลากหลายของส่งิ มีชีวิต เป็นต้น

พ้ืนท่ีอีกแห่งหนึ่งได้แก่ พื้นท่ีโดยรอบศาลาธรรม เป็นพื้นท่ีที่ค่อนข้างมีสภาพเป็น
ธรรมชาติดั้งเดิมคือเป็นพื้นท่ีชุ่มน้า มีแอ่งน้าขนาดเล็กท่ีมนุษย์สร้างข้ึน มีห้วยแก้วซึ่งรองรับน้าจากอ่าง
แก้วไหลผ่าน มีพรรณไม้หลากหลายชนิด รวมไปถึงสามารถพบเห็นนกได้ง่าย เช่น นกเอี้ยงหงอน นกหว้า
ใหญ่ เป็นต้น จงึ เหมาะสมที่จะเป็นแหล่งเรียนรู้ทางชวี วทิ ยาเป็นอย่างยิ่ง ดงั จะเหน็ ไดจ้ ากทแี่ หล่งเรียนรู้ทั้ง
พืน้ ที่โดยรอบศาลาธรรมและอ่างแก้วเป็นแหลง่ เรียนรู้ท่ีเก่ยี วข้องกบั ชวี วิทยามากท่ีสุด 2 อันดับแรก

1.2.2 พน้ื ทีก่ ารศึกษาหลักบรเิ วณสวนดอก เป็นพนื้ ท่ีที่เก่ียวข้องกับการจัดการเรยี นการ
สอนและการบริการด้านสุขภาพ ดงั น้ันพื้นที่ส่วนมากเป็นห้องปฏิบัติการทางด้านการแพทย์และใช้สาหรบั
การเรียนการสอนนักศึกษา โดยเฉพาะคณะแพทยศาสตร์และคณะพยาบาลศาสตร์ ดังน้ันถึงแม้ว่าจะเป็น
พ้ืนที่ของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ท่ีมีความเกี่ยวข้องกับด้านชีววิทยามากท่ีสุด ซ่ึงไม่ได้มีเป้าหมายท่ีจะให้
เป็นแหล่งเรียนรู้สาหรับบุคคลภายนอกและอาจมีข้อจากัดทางด้านสถานที่ โดยบางแห่งมีพ้ืนที่ค่อนข้าง
แคบ อยา่ งเช่นห้องตรวจเบอร์ 12 ตรวจคล่นื ไฟฟา้ หวั ใจ บางแหง่ อาจต้องการความสงบเพื่อการพักฟื้นของ
คนไข้ เชน่ หน่วยเคมบี าบัดผู้ปว่ ยนอก และบางแห่งใชส้ าหรับจัดการเรียนการสอนของนักศึกษา อย่างเช่น
การศึกษาอาจารย์ใหญ่ในวิชากายวิภาคศาสตร์ เป็นต้น ซ่ึงหากต้องการเข้าเยี่ยมชมก็ต้องติดต่อขอเข้า

389

เย่ียมอย่างเป็นทางการ และจาเป็นที่จะต้องมีวิทยากรคอยดูแลและให้คาอธิบาย แต่อย่างไรก็ดี พ้ืนที่
การศึกษาหลักบริเวณสวนดอกก็มีการบริการวชิ าการโดยมีการให้ข้อมลู ความรู้ทางด้านสุขภาพดว้ ยการติด
ป้ายนิทรรศการซึ่งมักเป็นการให้ความรู้เฉพาะด้านที่เกี่ยวข้องกับห้องตรวจหรือหน่วยงานนั้นๆ หรือเป็น
ความรู้สาหรับโรคภัยไข้เจ็บที่กาลังระบาด โรคภัยไข้เจ็บตามฤดูกาล นอกจากนี้ยังมีการให้ข้อมูลความรู้
ทางด้านสุขภาพทางเวบ็ ไซต์ของโรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ด้วย

1.2.3 พ้ืนที่การศึกษามหาวิทยาลัยเชียงใหม่ “แม่เหียะ” ส่วนมากเป็นหน่วยงานท่ี
เก่ียวข้องกับการเกษตรและมีพื้นท่ีแปลงเกษตรเพ่ือการเรียนการสอน การศึกษาวิจัย และการบริการ
วิชาการ จึงมีความเก่ียวข้องกับชีววิทยาอยู่มากโดยเฉพาะในทางพฤกษศาสตร์ ซ่ึงสามารถศึกษาได้ท้ังใน
เรื่องชีวิตกับส่ิงแวดล้อม โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก การสืบพันธ์ุของพืชดอกและการเจริญเติบโต
ฯลฯ ดังจะเห็นได้จากแหล่งเรียนรู้ท้ัง 5 แหล่งในพื้นท่ี สามารถใช้เป็นแหล่งเรียนรู้ในเรื่องชีวิตกับ
สิ่งแวดล้อมได้ทุกแหล่ง และจะพบว่าสถาบันวิจัยระบบทรัพยากรเกษตรเป็นแหล่งเรียนรู้ท่ีเก่ียวข้องกับ
ชวี วทิ ยามากท่สี ุด

ดังน้ันจะเห็นได้ว่า พ้ืนท่ีมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ทั้ง 3 แห่ง มีแหล่งเรียนรู้ท่ีมีความเหมาะสม
และสอดคลอ้ งกบั วิชาชวี วทิ ยาอยู่หลายแหล่งดว้ ยกัน

2. ผลการวิเคราะห์แหล่งเรียนรู้ทางชีววิทยาในเขตมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ที่สอดคล้องกับ
เนือหาชีววิทยาในระดับมัธยมศึกษาตอนปลายตามหลักสูตรแกนกลางการศึ กษาขันพืนฐาน
พทุ ธศกั ราช 2551

จากผลการวิเคราะห์แหล่งเรียนรู้ทางชีววิทยาในเขตมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ท่ีสอดคล้องกับ
เนื้อหาชีววิทยาในระดับมัธยมศึกษาตอนปลายตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช
2551 คณะผู้วจิ ยั ได้ทาการอภปิ รายผลเปน็ ประเด็นได้ดังต่อไปน้ี

2.1 จากการวิเคราะห์แหล่งเรยี นรู้ทางชีววิทยาทั้ง 15 แหลง่ นนั้ พบวา่ มคี วามสอดคล้องกับ
เนอ้ื หาชวี วทิ ยาตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ทง้ั ส้นิ 12 เร่อื ง ไดแ้ ก่เรื่อง
ชวี ิตกับส่งิ แวดล้อม การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลายทางชีวภาพ สิ่งมชี วี ิตคอื อะไร เคมี
ทเี่ ปน็ พนื้ ฐานของส่ิงมชี วี ิต การรักษาดุลยภาพในร่างกาย พฤติกรรมสัตว์ โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
การสังเคราะห์ด้วยแสง การสืบพันธ์ุของพืชดอกและการเจริญเติบโต การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
ความหลากหลายทางชีวภาพ และมนุษย์กับความย่ังยืนของส่ิงแวดล้อม โดยเก่ียวข้องกับเร่ือง ชีวิตกับ
ส่ิงแวดล้อมมากท่ีสุด ส่วนเร่ืองท่ีเกี่ยวข้องน้อยที่สุดได้แก่เรื่อง เคมีที่เป็นพ้ืนฐานของส่ิงมีชีวิต กับ
พฤตกิ รรมสตั ว์ ซ่งึ คณะผู้วิจยั ได้อภปิ รายผลการวิจัยดังนี้

2.1.1 การท่แี หลง่ เรียนรู้ท้ัง 15 แหลง่ นั้นเก่ียวข้องกับเรื่องชีวติ กับสิง่ แวดลอ้ มมากท่ีสุด
ทั้งนี้น่าจะมีสาเหตุมาจากสภาพพ้ืนท่ีเดิมของพ้ืนท่ีมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ท้ัง 3 แห่งมีสภาพเป็นป่า
ธรรมชาติ จึงมีท้ังพืชและสัตว์ รวมไปถึงทรัพยากรป่าไม้และทรัพยากรน้า ทาให้สามารถเป็นแหล่งเรียนรู้
เกี่ยวกับส่ิงมชี วี ิตและสิ่งแวดล้อมได้มาก อยา่ งไรก็ดี แหลง่ เรยี นรู้ท้ัง 15 แหลง่ นน้ั สามารถเป็นแหล่งเรียนรู้
เก่ียวกับส่ิงมีชีวิตในระดับใหญ่ อย่างเช่นในเร่ืองชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ซึ่งสามารถเรียนรู้ได้ถึงลักษณะของ
ส่ิงมีชีวิต ความสัมพันธ์ของส่ิงมีชีวิตในระบบนิเวศ เป็นต้น แต่ไม่สามารถศึกษาลึกลงไปถึงระดับเซลล์ของ
สิ่งมชี ีวติ หรือสิ่งท่ีละเอียดไปกว่านั้นได้ เชน่ โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอก ก็จะไม่สามารถศึกษาลึกลงไปถึง
การเกิดปฏิสนธซิ ้อนได้ จะได้ก็เพียงการอธิบายโดยครูหรือมสี ่ือไปประกอบ ซ่ึงไมไ่ ด้เกิดจากการเรียนรู้โดย
ใช้แหลง่ เรียนรูใ้ นพืน้ ทโี่ ดยตรงได้

390

2.1.2 สาหรับการวิเคราะห์เน้ือหาวิชาชีววิทยาท่ีสอดคล้องกับแหล่งเรียนรู้ต่างๆ น้ัน
พบว่า แหล่งเรียนรู้ทั้ง 15 แหล่งน้ันเกี่ยวข้องกับเรื่องเคมีที่เป็นพ้ืนฐานของส่ิงมีชีวิต กับ เร่ืองพฤติกรรม
สัตว์ น้อยที่สุด ทั้งน้ีน่าจะเน่ืองมาจาก เร่ืองเคมีที่เป็นพ้ืนฐานของสิ่งมีชีวิตในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
มีการศึกษาลึกลงไปถึงโครงสร้างโมเลกุลของสารอินทรีย์และอนินทรีย์ ซ่ึงไม่สามารถเรียนรู้ได้จากแหล่ง
เรียนรู้ที่เป็นแหล่งทรัพยากรทั่วไป แต่จะมีบางหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง เช่น สถาบันวิจัยและพัฒนาพลังงาน
นครพิงค์ซึ่งเก่ียวข้องกับสารเคมีในส่ิงมีชีวิตและการเกิดปฏิกิริยาต่างๆ เนื่องจากเกี่ยวข้องกับการผลิต
พลังงานชีวภาพ ส่วนเร่ืองพฤติกรรมสัตว์มีความเกี่ยวข้องน้อยท่ีสุดเช่นกัน ท้ังๆ ที่ในมหาวิทยาลัย
เชียงใหม่มีสัตว์หลากหลายชนิดให้พบเห็นได้ โดยเฉพาะนก กระรอก และยังมีปลาให้เห็นบ้างในอ่างแก้ว
ห้วยแกว้ รวมไปถงึ หอยเชอร่ีในแอ่งน้าที่สวนปาล์ม เปน็ ต้น แต่ในพน้ื ที่หลายๆ แหง่ ก็ไม่สามารถสังเกตและ
ศึกษาเรียนรู้เก่ียวกับสิ่งมีชีวิตเหล่าน้ันได้ตลอดเวลา เพราะยากแก่การกาหนดว่าจะได้เห็นสัตว์เหล่าน้ัน
หรือไม่ ในเวลาใด หรือปลาในอ่างแก้วก็อยู่ห่างจากฝ่ังและอยู่ในน้าลึก ไม่สามารถสังเกตเห็นได้ จะ
สังเกตเห็นได้ก็ต่อเม่ือปลาขึ้นมาฮุบอากาศในบางเวลาเท่านั้น ดังนั้น สัตว์ที่พบในแหล่งเรียนรู้ต่างๆ
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่จึงสามารถศึกษาเรียนรู้ได้ในภาพรวมหรือในเนื้อหากว้างๆ เช่น สิ่งมีชีวิตกับ
ส่งิ แวดลอ้ ม ความหลากหลายของสิ่งมีชวี ิต เปน็ ต้น แตจ่ ะใชส้ าหรับศึกษาเก่ียวกับเร่ืองพฤติกรรมสัตว์ก็จะ
ไมค่ อ่ ยเหมาะสมมากนัก ดงั นนั้ จงึ มีความเกยี่ วขอ้ งกับเร่ืองพฤติกรรมสัตว์น้อยท่ีสุด

2.2 จากการวิเคราะห์เนื้อหาชีววิทยาท่ีเก่ียวข้องกับแหล่งเรียนรู้ท้ัง 15 แหล่งน้ัน พบว่า
เนื้อหาชีววิทยาท้ัง 12 เร่ืองตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 มีความ
สอดคล้องกับความรู้ท้ัง 6 สาขา ไดแ้ ก่ พฤกษศาสตร์ พันธุศาสตร์ จุลชีววิทยา สัตววิทยา นเิ วศวิทยา และ
ชีววิทยาท่ัวไป โดยสาขาที่มีเน้ือหาสอดคล้องกับแหล่งเรียนรู้ในพื้นที่มหาวิทยาลัยเชียงใหม่มากท่ีสุดคือ
นิเวศวิทยา ซ่ึงสอดคล้องกับผลการวิเคราะห์เนื้อหาที่สอดคล้องกับแหล่งเรียนรู้ที่พบว่าเนื้อหาท่ีเกี่ยวข้อง
กับแหล่งเรียนรู้ในพื้นที่มหาวิทยาลัยเชียงใหม่มากท่ีสุดคือเร่ือง ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม รองลงมาคือเร่ือง
ความหลากหลายทางชีวภาพ และลาดับที่ 3 คือเร่ือง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความ
หลากหลายทางชีวภาพ ซ่งึ จะเหน็ ได้ว่าเน้ือหาทั้ง 3 เรือ่ งข้างต้นเก่ียวข้องกับเรื่องนิเวศวิทยาเป็นอย่างมาก
เน่ืองจากพ้ืนที่ส่วนมากมีฐานมาจากสภาพป่าธรรมชาติ จึงเก่ียวข้องกับระบบนิเวศมาก พื้นท่ีหลายๆ แห่ง
ทาให้สามารถใช้เป็นแหล่งเรียนรู้ได้ง่าย จึงเก่ียวข้องกับนิเวศวิทยามากท่ีสุด ในขณะที่ความรู้ สาขาจุล
ชีววิทยา ไม่ปรากฏแหล่งเรียนรู้ท่ีเกี่ยวข้อง ท้ังน้ีน่าจะมาจากแหล่งเรียนรู้ส่วนมากเป็นพ้ืนที่ที่เก่ียวกับ
ทรัพยากรธรรมชาติและเป็นแหล่งเรียนรู้ประเภทหน่วยงานหรือองค์กร การให้ผู้เรียนใช้เป็นแหล่งเรียนรู้
เพื่อ ศึกษา สารวจ ก็จะทาได้เพียงการสังเกต บันทึกในลักษณะกิจกรรมภาคสนาม แต่ยังไม่สามารถลงลึก
ไปถึงสิ่งมีชีวิตขนาดเล็ก ซ่ึงสังเกตได้ยาก ไม่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า จาเป็นต้องอาศัยการศึกษา
เรียนรู้และใช้อุปกรณ์ในห้องปฏิบัติการชีววิทยาเป็นส่วนใหญ่ จึงยากแก่การศึกษาในแหล่งเรียนรู้ที่ได้มี
การสารวจไว้

สรปุ ไดว้ ่า พน้ื ท่ีมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มีแหล่งเรยี นรู้ท่สี อดคล้องกับเน้ือหาชีววิทยาตามหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ซึ่งต้องมีการติดต่อประสานงานในการขอใช้สถานท่ี
โดยสว่ นมากเป็นแหล่งเรยี นรทู้ ่ีเหมาะสมต่อการเรียนรู้ชีววทิ ยาในระดบั ใหญ่ เช่น เรอื่ ง ชีวติ กบั ส่ิงแวดล้อม
เป็นต้น ไม่เหมาะสมต่อการศึกษาเรียนรู้เกี่ยวกับเรื่องท่ีมีเน้ือหาลึกมากๆ หรือเร่ืองที่เกี่ยวกับส่ิงมีชีวิต
ขนาดเล็กทไี่ มส่ ามารถมองเห็นไดด้ ้วยตาเปล่า
ข้อเสนอแนะ

ในการวิจยั ครัง้ น้ี คณะผูว้ ิจยั มีขอ้ เสนอแนะดังนี้
ขอ้ เสนอแนะในการนาผลการวิจัยไปใช้

391

คณะผู้วิจัยมขี ้อเสนอแนะในการนาผลการวิจยั ไปใช้ดังต่อไปนี้
1. หากผู้สอนมีความสนใจจะนาไปเป็นข้อมูลพื้นฐานสาหรับนานักเรียนนักศึกษาเข้าเย่ียมชม
ศึกษาเรียนรู้ หรือทากิจกรรมในแหล่งเรียนรู้ ควรมีการวางแผนดาเนินล่วงหน้าเพ่ือให้สามารถเลือกใช้
แหลง่ เรยี นรู้ได้อย่างเหมาะสมกับเน้ือหาชวี วิทยา รวมไปถงึ เหมาะสมต่อชว่ งฤดูและช่วงเวลาทจี่ ะเขา้ ศึกษา
เรียนรู้ด้วย ยกตัวอย่างเช่น อ่างแก้ว ในช่วงฤดูฝนจะมีปริมาณน้าค่อนข้างมาก แต่ไม่สะดวกต่อการศึกษา
เรยี นรกู้ ลางแจง้ แกผ่ ูเ้ รียนหากมฝี นตก เปน็ ต้น
2. ผู้สอนควรวิเคราะห์แหล่งเรียนรู้กับเน้ือหาให้ละเอียดไปถึงระดับแผนรายหน่วยหรือรายคาบ
เพื่อให้สามารถใชแ้ หล่งเรยี นรู้ได้อยา่ งเหมาะสม
3. หากเป็นผู้เรียนในระดับอุดมศึกษา สาขาครุศาสตร์หรือสาขาศึกษาศาสตร์ ผู้สอนอาจใช้แหล่ง
เรียนรู้ที่คณะผวู้ จิ ัยได้ศึกษาไวแ้ ลว้ ในฐานะแหลง่ เรียนรู้ท่ีใหผ้ ู้เรียนออกแบบกจิ กรรมการเรียนรู้แก่ผเู้ รยี นได้
4. เน่ืองจากแหล่งเรียนรู้แต่ละแหล่งมีสภาพบริบทท่ีแตกต่างกัน ผู้สอนจึงควรมีการสารวจแหล่ง
เรียนรู้ก่อนจะใช้จริง รวมถึงติดต่อต้นสังกัดของแหล่งเรียนรู้เหล่าน้ันล่วงหน้า เพ่ือความสะดวกและการ
เตรยี มความพร้อมของตน้ สังกดั แหล่งเรยี นรู้เหลา่ นน้ั
ข้อเสนอแนะในการทาวจิ ยั ครงั ต่อไป
คณะผูว้ จิ ยั มขี ้อเสนอแนะในการทาวิจัยคร้ังต่อไปดังต่อไปนี้
1. ในการศึกษาวิจัยครั้งน้ีเป็นการสารวจและวิเคราะห์แหล่งเรียนรู้ในเบ้ืองต้น ทาให้ได้ข้อมูล
แหล่งเรียนรู้และการวิเคราะห์เน้ือหาทางชีววิทยาในเบื้องต้นเท่าน้ัน ดังนั้นจึงควรมีการศึกษาวิจัยโดย
วิเคราะห์เนื้อหาทางชวี วิทยาที่สัมพันธ์กบั แหล่งเรยี นรูต้ ่างๆ ให้ละเอยี ดมากขน้ึ
2. ในการศึกษาวิจัยครั้งนี้เป็นการสารวจและวิเคราะห์แหล่งเรียนรู้ในเบ้ืองต้น จึงควรมีการ
ศึกษาวิจัยการแหล่งเรียนรู้ต่างๆ ที่สารวจและวิเคราะห์ไว้ไปใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้กับผู้เรียน ซ่ึง
จะเป็นแนวทางในการใช้พืน้ ที่ในเขตมหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม่ในฐานะเปน็ แหล่งเรียนรูท้ างชีววทิ ยา
3. ในการศึกษาวิจัยครั้งน้ี มุ่งเน้นศึกษาและวิเคราะห์แหล่งเรียนรู้ท่ีสอดคล้องกับวิชาชีววิทยา
เท่าน้ัน แต่คณะผู้วิจัยยังพบว่า มีพ้ืนที่ในเขตมหาวิทยาลัยเชียงใหม่อีกหลายแห่งท่ีเหมาะสมจะเป็นแหล่ง
เรียนรู้ในวิชาอ่ืนๆ เช่น วิชาสังคมศึกษา สามารถเรียนรู้เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ของจังหวัดเชียงใหม่
ประวัติศาสตร์ของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เป็นต้น จึงควรมีการสารวจ ศึกษา และวิเคราะห์พ้ืนที่ต่างๆ ใน
เขตมหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม่ทส่ี อดคล้องกบั เน้ือหาวิชาอืน่ ๆ ด้วย
แหล่งอ้างองิ
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. (2554). รายงานผลการปฏิบัติงานมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ประจาปี 2554.
เชยี งใหม่: กองแผนงาน สานักงานมหาวิทยาลยั มหาวิทยาลยั เชียงใหม.่
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ประวัติและความเป็นมา. สืบค้นเม่ือ กุมภาพันธ์ 8, 2559, จาก
www.cmu.ac.th/aboutcmu.php?id=1.
______.พน้ื ที่การศึกษามหาวิทยาลัยเชียงใหม่ “แม่เหียะ”. สบื ค้นเมื่อ กมุ ภาพันธ์ 8, 2559, จาก
www.agri.cmu.ac.th/organize/web.asp?Major_Code=0811.
ศูนย์วจิ ยั ข้าวลา้ นนา. ศนู ย์วจิ ัยข้าวลา้ นนา. สบื คน้ เมอ่ื กันยายน 20,2559, จาก http: / / lanna-
rice.cmu.ac.th/.
ศนู ยว์ จิ ยั ระบบทรัพยากรเกษตร. สถาบันวจิ ยั ระบบทรัพยากรเกษตร. สบื คน้ เม่อื สงิ หาคม 15, 2559, จาก
http://www.mcc.cmu.ac.th/.
สถาบันวิจัยและพัฒนาพลังงานนครพิงค์. สถาบันวิจัยและพัฒนาพลังงานนครพิงค์. สืบค้นเมื่อ สิงหาคม
10, 2559, จาก http://www.cmu.ac.th/organize_info.php?orgid=39.

392

รปู แบบการพัฒนาการจัดการเรียนรโู้ ดยใชห้ ลกั การจดั การความรทู้ ม่ี ีผลต่อความคดิ
สร้างสรรค์และสร้างนวตั กรรมนักศกึ ษาพหุชาติพันธ์ุวิชาเทคโนโลยีและนวัตกรรมทาง
การศึกษานกั ศึกษาระดับปรญิ ญาตรี มหาวทิ ยาลยั มหามกฏุ ราชวทิ ยาลัย วทิ ยาเขตล้านนา

MODEL OF LEARNING MANAGEMENT DEVELOPMENT THAT AFFECT CREATIVITY AND
INNOVATION FOR MULTI-ETHNIC STUDENTS TECHNOLOGY AND EDUCATIONAL
INNOVATION SUBJECT FOR STUDENTS UNDERGRADUATE MAHAMAKUT BUDDHIST

UNIVERSITY LANNA CAMPUS

ฉตั รชยั ศิรกิ ลุ พนั ธ์, ณรงศักดิ์ ลนุ สาโรง, สงดั เชียนจันทกึ , กิตตคิ ุณ ภูลายยาว
มหาวทิ ยาลัยมหามกฏุ ราชวทิ ยาลัย วทิ ยาเขตล้านนา

บทคัดย่อ
การวิจัยคร้ังนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาการเรียนการสอนด้านความคิดสร้างสรรค์ในวิชา

เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษาของนักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยมหามกุฎราชวิทยาลัย
วิทยาเขตล้านนา กลุ่มทดลองคือนักศึกษาช้ันปี 2 เอกภาษาไทย มีจานวน 1 ห้องได้แก่ ห้อง 2/2 รวม
ท้ังส้ิน 29 คนสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง กลุ่มควบคุมคือนักศึกษาชั้นปี 2 เอกภาษาอังกฤษ มีจานวน 1 ห้อง
ไดแ้ ก่ ห้องปี 2/1 รวมทงั้ สนิ้ 23 คนผลการวิจัย

เมื่อเปรยี บเทยี บความแตกต่างด้านความคิดสร้างสรรค์ทางการเรียนระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่ม
ควบคุม พบว่า ผลการวิเคราะห์สถิติเพ่ือเปรียบเทียบความแตกต่างด้านความคิดสร้างสรรค์และสร้าง
นวัตกรรมของกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมจากแบบประเมินความคิดสร้างสรรค์ของ Jellen and
urban(1989) ท่ีมีการประเมิน 11 ด้านมีผลการวิเคราะห์จากตารางที่ 3 ถึงตารางท่ี 32 กลุ่มทดลอง
นักศึกษาเอกภาษาไทยมีความคิดสร้างสรรค์แตกต่างจากกลุ่มควบคุมนักศึกษาเอกภาษาอังกฤษจานวน 7
ด้านอยา่ งมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดบั 0.05

แสดงว่ากลุ่มทดลองมีพัฒนาการด้านความคิดสร้างสรรค์และสร้างนวัตกรรมแตกต่างจากกลุ่ม
ควบคุมซ่ึงในหัวข้อของความแตกต่างระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมคือคุณลักษณะท่ีดีของผู้ท่ีมี
ความคิดสร้างสรรค์อ้างถึงอารี พันธ์มณี (2545 : 61) สาหรับพัฒนาการด้านความคิดสร้างสรรค์ของ
นกั ศึกษา จากการเก็บข้อมลู ครงั้ ท่ี 1และ คร้ังท่ี 5 พบว่ามีความแตกตา่ งกันท่ี .029 แสดงวา่ กลมุ่ ทดลองมี
พฒั นาการดา้ นความคิดสร้างสรรค์และสรา้ งนวัตกรรมอย่างมนี ัยสาคัญทางสถิติทร่ี ะดับ 0.05

คาสาคญั : ความคิดสรา้ งสรรค์, นวัตกรรม, พหุชาติพนั ธ์

ABSTRACT
The purpose of this research was to develop creative teaching in technology and

educational innovation of undergraduate students. Mahamakut Buddhist University Lanna
campus The experimental group consisted of 29 Thai students, Thai students, and 29
students. The control group consisted of 23 students.

When comparing differences in creative thinking between experimental and control
groups, it was found that statistical analysis was used to compare the differences in creativity

393

and innovation of experimental and control groups from Jellen and Urban (1989). The
results of the analysis are shown in Table 3 to Table 30. This was significantly different from
the control group in English at the 0.05 level of significance.

The experimental group developed creative thinking and innovation from the
control group. The topic of difference between the experimental group and the control
group was good attribute of the creative person. Refer to Areephan Manane 2002: 61) for
the development of students' creativity. From the first and the fifth data collection, it was
found that there was a difference of .09, indicating that there was a significant improvement
in creativity and innovation at the 0.05 level.

Keywords : creativity, innovation, multinational

บทนา
จากนโยบายของรัฐบาลที่ต้องการพัฒนาประเทศไทยให้ไปสู่ยุคไทยแลนด์ 4.0 ยุคของการพัฒนา

ความคิดสร้างสรรค์และการสร้างนวัตกรรมใหม่ๆเพ่ือพัฒนาประเทศให้ก้าวพ้นประเทศท่ีมี กับดักรายได้
ปานกลางประเทศไทย 4.0 โมเดลใหม่ของการขับเคลื่อนเศรษฐกิจประเทศไทยท่ีมุ่งปรับเปล่ียนโครงสร้าง
เศรษฐกิจไปสู่ ‘เศรษฐกิจท่ีขับเคล่ือนด้วยนวัตกรรม’ (Value–Based Economy )ในการสร้างเด็กยุคไทย
แลนด์ 4.0 สร้างเด็กและเยาวชนไทยให้มีความรู้ความสามารถ และมีทักษะในการประยุกต์ให้เข้าถึง
เทคโนโลยีและนวัตกรรมใหม่ๆ สร้างความคิดของเด็กและเยาวชนไปสู่ที่ยากข้ึน ซึ่งถือว่าเป็นความสาเร็จ
ของการยกระดับคุณภาพการศึกษาของชาติ การพัฒนาเด็กต้องพัฒนาท้ังด้านความรู้ และทักษะการ
เรียนรู้ท่ีดีที่สุด คือ การเรียนรู้จากปัญหาจริงที่เกิดข้ึน เรียกว่าเป็น Problem Based Learning (เชาวลิต
โพธ์ินคร:2560) เพ่ือก้าวข้ามกับดักประเทศรายได้ปานกลาง ได้อย่างเข้มแข็งและย่ังยืน สอดคล้องกับ
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ฉบับแก้ไขเพ่ิมเติม (พ.ศ.2545) ในหมวด 4 แนวการจัด
การศึกษา มาตรา 22 ระบุว่าการจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่าผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และ
พัฒนาตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนมีความสาคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียน
สามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มศักยภาพ และมาตรา 24 ระบุว่าการจัดกระบวนการเรียนรู้ ให้
สถานศึกษาและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องดาเนินการ จัดเน้ือหาสาระและกิจกรรมให้สอดคล้องกับความสนใจ
และความถนัดของผู้เรียน ฝึกทักษะกระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณ์ และการประยุกต์
ความรู้มาใช้เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหา จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริง ฝึกปฏิบัติ
ให้ทาได้ คิดเป็น ทาเป็น เกิดการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ในรายวิชา ED1088 วิชาเทคโนโลยีและนวัตกรรม
ผู้วิจัยได้ทาการสอนนักศึกษาช้ันปีท่ี1เอกการสอนภาษาไทย มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ปีพ.ศ.
2560 พบว่า นักศึกษาส่วนใหญ่เป็นนักศึกษาชนเผ่าเม่ือมอบหมายงานให้ไปศึกษา หาความรู้เพ่ือจัดทา
หรือสร้างส่ือต่างๆ ในด้านเทคโนโลยีเพื่อใช้ในการเรียนการสอนนักศึกษาจะไปสืบค้นและนาเอาองค์
ความรู้ ที่ได้มาจากการอ่านหนังสือหรือการสืบค้นมาทาการคัดลอกและส่งงานให้ผู้สอน โดยไม่ได้
ทาการศึกษาวิเคราะห์และสังเคราะห์องค์ความรู้ดังกล่าวให้เป็นข้อสรุปหรือสังเคราะห์ให้เกิดเป็นความรู้
ใหม่หรือ ช้ินงานใหม่สะท้อนให้เห็นว่านักศึกษาขาดทักษะกระบวนการคิดวิเคราะห์และคิดสร้างสรรค์ซึ่ง
เป็นทักษะที่สาคัญในศตวรรษที่ 21 ท่ีแสดงว่านักศึกษาสามารถนาองค์ความรู้มาพัฒนาการเรียนรู้ของ

394

ตนเอง นอกจากน้ันผลงานจากผลงานส่วนใหญ่ ยังไม่สามารถพัฒนาเป็นนวัตกรรมใหม่ๆท่ีสามารถนาไป
เพ่มิ มลู ค่าเปน็ ทรัพยส์ ินทางปัญญา หรือมีมูลคา่ ทางเศรษฐกิจได้ ผสู้ อนจงึ ได้นาเอาปัญหาดังกลา่ วมาศึกษา
ข้อมูลเบ้ืองต้นและหาแนวทางการพัฒนาการสอนโดยการนาเอา ทฤษฎีการเรียนรู้ Constructivism
ของเพียเจต์และไวก๊อตสกี้(วรรณทิพา รอดแรงคา:2540) ท่ีมีความเช่ือว่าผู้เรียนสามารถเรียนรู้ด้วยตนเอง
มาเป็นแนวทางในการพัฒนาการสอน และเครื่องมือท่ีใช้ในการสร้างกระบวนการคิดและสร้างนวัตกรรม
คือ การจดั การความรู้(วิจารณ์พานิช:2549)โมเดลปลาทูและทักษะในศตวรรษท่ี 21 ทีม่ งุ่ เน้น 7 ทกั ษะเช่น
1.ทกั ษะการเรียนรู้ 2.ทักษะการส่ือสาร 3.ทักษะการคิดวเิ คราะห์ 4.ทักษะความคิดสรา้ งสรรค์ 5.ทกั ษะการ
ทางานร่วมกับผู้อ่ืน 6.ทักษะการใช้เทคโนโลยี 7.ทักษะชีวิตและรวมทั้งการนาเอากระบวนการจัดการ
ความรู้ โดยใชเ้ ครื่องมือการจัดการความรู้ KM (Knowledge Management) ใหส้ ามารถนาองค์ความรู้มา
สร้างความคิดสร้างสรรค์และนวัตกรรมใหม่ๆเพื่อการพัฒนาผู้เรียนท่ีมีความรู้ความสามารถเหมาะกับยุค
ไทยแลนด์ 4.0 ในอนาคต

สรุปปัญหาจากการศึกษาข้อมูลต่าง ๆ ในเบื้องต้นและดงั ท่ีกล่าวมาแล้วเกี่ยวกับบริบทด้านปัญหา
ในการสอนในรายวิชา ED1008 วิชาเทคโนโลยีและนวัตกรรมนักศึกษาชั้นปีที่ 1 เอกการสอนภาษาไทย
มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ปี พ.ศ. 2560 ผู้เรียนส่วนใหญ่ท่ีเป็น ชนเผ่าพหุชาติพันธ์ุ ยังขาด
กระบวนการคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบเพื่อสร้างสรรค์นวัตกรรมใหม่ ๆ ท่ีสามารถนาไปเพิ่มมูลค่าเป็น
ทรพั ย์สินทางปัญญา หรือมมี ูลคา่ ทางเศรษฐกิจได้ ซึ่งจะสง่ ผลทาให้เด็กและเยาวชนไทยที่เป็นพหชุ าติพันธุ์
หรือเด็กชายขอบที่จะเป็นกาลังสาคัญในการพัฒนาประเทศชาติในอนาคตมีทักษะกระบวนการคิด
สร้างสรรค์และสร้างนวัตกรรมใหม่ๆสามารถแข่งขันกับประเทศเพื่อนบ้านและระดับนานาชาติ รวมทั้ง
พัฒนาประเทศกา้ วข้ามประเทศท่ีมีรายได้ปานกลางเป็นประเทศท่ีพฒั นาและมรี ายได้สูง

วตั ถุประสงค์
1. เพ่ือศึกษาสภาพท่ัวไปด้านความคิดสร้างสรรค์และสร้างนวัตกรรมของนักศึกษา พหุชาติพันธ์

ระดับปริญญาตรี ชั้นปีที่ 1 เอกการสอนภาษาไทย ในรายวิชา ED1008 เทคโนโลยีและนวัตกรรมทาง
การศกึ ษามหาวิทยาลัยมหามกฏุ ราชวทิ ยาลยั วทิ ยาเขตลา้ นนา

2. เพ่ือสร้างรูปแบบการเรียนการสอนแบบคิดสร้างสรรค์และสร้างนวัตกรรมนักศึกษาพหุชาติ
พันธ์ ระดับปริญญาตรี ช้ันปีที่ 1 เอกการสอนภาษาไทย ในรายวชิ า ED1008 เทคโนโลยีและนวตั กรรมทาง
การศึกษามหาวิทยาลยั มหามกฏุ ราชวทิ ยาลยั วทิ ยาเขตล้านนา

3. เพื่อเปรียบเทียบความแตกต่างด้านความคิดสร้างสรรค์และสร้างนวัตกรรมนักศึกษาพหุชาติ
พันธ์ ระดับปริญญาตรี กลุ่มทดลองชัน้ ปที ่ี 1 เอกการสอนภาษาไทย และกลุ่มควบคุมชน้ั ปีที่ 1เอกการสอน
ภาษาอังกฤษ ในรายวิชา ED1008 เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษาและพัฒนาการด้านความคิด
สร้างสรรค์ของกลุ่มทดลอง ของมหาวิทยาลัยมหามกุฎราชวิทยาลัย วิทยาเขตล้านนามีพัฒนาการและมี
ความความแตกตา่ งกันอย่างไร

วิธีดาเนินการวจิ ัย
ประชากรท่ีศึกษาวิจัย คือ นักศึกษาช้ันปีที่ 1เอกการสอนภาษาไทยท่ีลงทะเบียนเรียนรายวิชา

ED1008 เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา ในภาคเรียนท่ี2 ของปกี ารศึกษา 2560 มีจานวน 3 ห้อง
รวมทั้งสิ้น 77 คน

395

ท่ีจะนามาใช้เป็นกลุ่มทดลองในการศึกษาวิจัยคือนักศึกษาพหุชาติพันธุ์ ชั้นปีที่1เอกการสอน
ภาษาไทยลงทะเบียนเรียนรายวิชาเทคโนโลยีและนวัตกรรม ในภาคเรียนที่ 2 ของปีการศึกษา 2560 มี
จานวน 1 ห้องได้แก่ ห้องปีที่ 1/2 รวมทั้งส้ิน 29 คน และกลุ่มควบคุมนักศึกษาพหุชาติพันธ์ุ ช้ันปีท่ี 1
เอกการสอนภาษาอังกฤษ ที่ลงทะเบียนเรียนรายวิชาเทคโนโลยีและนวัตกรรมในภาคเรียนท่ี2 ของปี
การศึกษา 2560 มจี านวน 1 หอ้ งได้แก่ หอ้ งปีที่ ½ รวมท้ังสิ้น 23 คนใชก้ ารสุ่มตัวอย่างอย่างแบบเจาะจง
(Purposive Sampling)

รูปแบบการทดลอง
รปู แบบการศึกษาในครั้งน้ี ผู้วิจัยใช้แบบการทดลองที่เรยี กว่าแบบมีกลมุ่ ทดลอง กลมุ่ ควบคุมและ
มีการทดสอบก่อนและหลัง(Pretest Posttest with Control Group) (วสันต์ ทองไทย, 2550) รูปแบบดังนี้

E T1 x T2

C T1 T2

E หมายถึง กลุ่มทดลอง
C หมายถงึ กลุ่มควบคุม
T1 หมายถงึ การทดสอบก่อนการทดลอง (Pretest)
T2 หมายถึง การทดสอบหลงั การทดลอง (Posttest)
X หมายถึง รูปแบบการสอนให้เกดิ ความคดิ สร้างสรรค์และสร้างนวตั กรรม
สถิติพน้ื ฐาน คอื ค่าเฉลีย่ รอ้ ยละ สว่ นเบ่ยี งเบนมาตรฐาน
เพื่อตอบคาถามของการทดลอง ได้ใช้สถิติวิเคราะห์ T-test แบบ Independent และ Paired
Sample Test

ผลการวจิ ยั
ตอนที่ 1 วิเคราะห์ข้อมูลพ้ืนฐานเกี่ยวกับสถานภาพท่ัวไปของผู้ตอบแบบสอบถามใช้การ

วเิ คราะหห์ าคา่ ความถ่ี (Frequency) และ ค่าร้อยละ (Percentage)
ตารางที่ 1 แสดงจานวนและร้อยละของผูต้ อบแบบสอบถาม จาแนกตามกลุ่ม(Group)

Group จานวนฉบบั จานวนครัง รอ้ ยละ
กล่มุ ทดลอง 25 125 48.1
กลมุ่ ควบคมุ 27 135 51.9
52 260 100.0
รวม

396

จากตารางท่ี 1 พบว่า กลุ่มทดลองมีจานวน 25 ฉบับ 125 ลาดับคร้ัง คิดเป็นร้อยละ 48.1
สว่ นกลมุ่ ควบคมุ มจี านวน 27 ฉบับ 135 ลาดับคร้ัง คิดเป็นร้อยละ 51.9

ตารางท่ี 2 แสดงค่าเฉลี่ย (  ) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ด้านความคิดสร้างสรรค์และ
สร้างนวัตกรรมนักศึกษาพหุชาติพันธ์ ต่อเกณฑ์การประเมินผลความคิดสร้างสรรค์
ของเจลเลนและเออร์บาน ของกลุ่มทดลองในครังท่ี 1 และครังที่ 5

กลุ่มทดลอง n S.D.
2.70 25
ครั้งท่ี 1 .824
ครง้ั ท่ี 5 3.00 25 .892

จากตารางท่ี 2 พบว่า การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์และสร้างนวัตกรรมของนักศึกษาพหุชาติ
พันธ์ มหาวทิ ยาลัยมหามกฏุ ราชวิทยาลยั วทิ ยาเขตล้านนา ตอ่ วิชาเทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา
กลุ่มทดลองครงั้ ที่ 5 มคี า่ แปลผลมากกวา่ กลุ่มทดลองครงั้ ที่ 1

ตารางที่ 3 แสดงการเปรียบเทียบความแตกต่างด้านความคิดสร้างสรรค์และสรา้ งนวัตกรรมของ

นักศึกษาพหุชาติพันธ์ ในรายวิชา ED1008 เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา

ต่อเกณฑ์การประเมินผลความคิดสร้างสรรค์ของเจลเลนและเออร์บาน ของกลุ่ม

ทดลองในครงั ท่ี 1 และครังที่ 5

กลุ่มทดลอง n  S.D. t Sig

ครง้ั ที่ 1 2.70 25 .824 -2.317 .029*
ครงั้ ท่ี 5 3.00 25 .892

*มีนยั สาคญั ทางสถติ ิที่ 0.05

จากตารางท่ี 3 พบว่า การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์และสร้างนวัตกรรมของนักศึกษาพหุชาติ

พันธ์ ในรายวิชา ED1008 เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา ต่อเกณฑ์การประเมินผลความคิด

สร้างสรรค์ของเจลเลนและเออร์บาน ของกลุ่มทดลอง ในคร้ังที่ 1 และคร้ังที่ 5 มีความแตกต่างกันที่ระดับ

นยั สาคัญทางสถิตทิ ่รี ะดบั 0.05

อภปิ รายผลการวจิ ัย
สรุปการวิเคราะห์สถิติเพื่อเปรียบเทียบความแตกต่างด้านความคิดสร้างสรรค์และสร้าง

นวัตกรรมของกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมจากจากเคร่ืองมือในการประเมินความคิดสร้างสรรค์ของ
Jellen and Urban มีการประเมิน 11 ด้านที่มีผลการวิเคราะห์จากตารางท่ี3 ถึงตารางที่30 รวมจานวน
ตารางมีผลการวิเคราะห์ท่ีมีนัยสาคัญทางสถิติที่แสดงว่ารปู แบบการสอนเพื่อความคิดสร้างสรรค์และสรา้ ง
นวัตกรรมมีประสิทธิภาพสามารถพัฒนากลุ่มทดลองนักศึกษาเอกการสอนภาษาไทยมีความคิดสร้างสรรค์
แตกตา่ งจากกลุ่มควบคุมนักศึกษาเอกการสอนภาษาองั กฤษจานวน 7 ด้านดังน้ี 1.ดา้ นการต่อเติม(Cn) 2.
ด้านความสมบูรณ์(Cm) 3.ดา้ นการต่อเนื่องทาให้เกิดเปน็ เร่ืองราว(Cth) 4.ด้านการข้ามเส้นกัน้ (Bid) 5.ด้าน
อารมณ์ขัน(Hu) 6.ด้านการคิดแบบใหม่ไม่คิดตามแบบแผน(Ucb) 7.ด้านความเร็ว(SP) อย่างมีนัยสาคัญ
ทางสถิติที่ท่ีระดับ 0.05 แสดงว่ากลุ่มทดลองมีพัฒนาการด้านความคิดสร้างสรรค์และสร้างนวัตกรรม

397

แตกต่างจากกลุ่มควบคุม 7 ด้านใน 11 ด้านคิดเป็นร้อยละ 63.63 และการพัฒนาการด้านความคิด
สร้างสรรค์ของกลุ่มทดลองมีพัฒนาการด้านความคิดสร้างสรรค์จากการเก็บข้อมลู ครงั้ ที่ 1 (Pretest) และ
คร้งั ที่ 5 (Posttest) นามาวิเคราะห์ด้วยสถิติ Paired Sample Test พบวา่ มพี ัฒนาการความด้านความคิด
สรา้ งสรรคท์ ่ี .029 แสดงว่ากลุ่มทดลองมีพัฒนาการด้านความคิดสร้างสรรค์แตกต่างกว่ากลุ่มควบคุมอย่าง
มีนัยสาคญั ทางสถิติทีร่ ะดบั 0.05

ข้อเสนอแนะ
จากการศึกษาวิจัย รูปแบบการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์และสร้างนวัตกรรมของนักศึกษาพหุ

ชาตพิ นั ธุ์วชิ าเทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา ชัน้ ปที ่ี 1 เอกการสอนภาษาไทย คณะศกึ ษาศาสตร์
มหาวิทยาลยั มหามกฏุ ราชวทิ ยาลัย วทิ ยาเขตล้านนา ขอ้ เสนอแนะไวด้ ังนี้

ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย
ควรมีการพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเน่ืองมีการวัดและประเมินผลสมรรถนะของผู้เรียน
ให้เป็นมาตรฐานเดยี วกันในทุกสาขาวิชา โดยม่งุ พฒั นานักเรียนมีทักษะดา้ นกระบวนการคิดวิเคราะห์และ
คดิ สรา้ งสรรคแ์ ละทักษะในศตวรรษท่ี 21 ตามมาตรฐานประกันคุณภาพหลักสูตร
ขอ้ เสนอแนะเชงิ ปฏิบัติการ
สถานศึกษาควรปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงด้านการจัด
การศึกษาโดยให้ผู้เกี่ยวข้องทุกหลักสูตรเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการเรียนการสอน เพื่อให้ประสบ
ความสาเร็จอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ และประสิทธิผล
ข้อเสนอแนะเพ่อื การวิจัย
ควรศึกษาเรื่องการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอนให้เกิดความคิดสร้างสรรค์และสร้าง
นวัตกรรมโดยใช้เทคนิคท่ีแตกต่างกันเพื่อสร้างนวัตกรรมใหม่ในการจัดการเรียนการสอนท่ีส่งผลต่อ
กระบวนการคดิ สร้างสรรค์ของนักศกึ ษา

แหลง่ อ้างอิง

กลมุ่ ชาติพันธล์ ้านนา. สบื คน้ เมือ่ เมษายน 3, 2559, จาก http://www.digitized-lanna.com/main/
กลุม่ ชาติพันธ์ลา้ นนา/

คณะกรรมการการศึกษาแหง่ ชาติ, สานักงาน. (2545). พระราชบัญญตั ิการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และ
ทีแ่ ก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับท่ี 2) พ.ศ.2545. กรุงเทพฯ: พริกหวานกราฟฟิค.

เชาวลิต โพธิน์ คร. (2560). การประชมุ วิชาการเรื่อง”ห้องสมุดดิจิทัลกับการก้าวส่ยู ุค Thailand 4.0”วันท่ี
23 มนี าคม 2560

วรรณทิพา รอดแรงค้า. (2540). Constructivism. กรุงเทพฯ: มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ 7-12.
วสันต์ ทองไทย.(2550). การออกแบบการวจิ ยั .สืบค้นเมื่อ ตุลาคม 3ล 2559, จาก

http://www.bpcd.net/new_
subject/library/research/document/sopida/research/ku/develop/04.pdf
วจิ ารณ์พานิช. (2549). การจัดการความรู้ (พมิ พ์ครงั้ ท่ี3). กรงุ เทพฯ: สขุ ภาพใจ.
อารี พันธม์ ณ.ี (2545). ฝึกให้คิดเป็นคิดให้สร้างสรรค์. กรุงเทพฯ: สานักพมิ พ์ใยไหม.

398

Areepan Mananee (2002: 61). No. 1, Bangkok: Silk Publishers.) BE 2542 (1999) and
amended (No. 2) BE 2545. Bangkok: Chili Sweet Graphic.

Chaowalit Ponakorn. (2017). [Online] Source http://km.li.mahidol.ac.th/thai-studies-in-
thailand-4-0/

Jellen, H. G. and Urban, K. K. (1989). “Assessing Creative Potential World-wide:
theFirstcrosscultural Application of the Test for Creative Thinking-drawing
Production (TCT-DP)”, Gifted Education International. 6: 78-86.

National Education Board, Office. (2002). National Education Act. [Online] Source
http://www.digitized-lanna.com/main/ Lanna ethnic group / [3 April 2559]

Vijan phanit. (2006). Knowledge management. (3rd edition). Bangkok: Health.
Wanthip Rodrangka. (1997). Constructivism. Bangkok: Kasetsart University.
WasanThongthai. (2006). http://www.bpcd.net/newsubject/library/research/

document/sopida/research/ku/develop/04.pdf). [3 oct.2005]

399

การพฒั นาการอ่านออกเสียงที่ถูกตอ้ งโดยใช้แบบฝึกเสรมิ ทกั ษะการอ่านภาษาไทย
ของนกั ศึกษากลุม่ ชาติพนั ธุ์ มหาวทิ ยาลัยมหามกุฏราชวทิ ยาลยั วิทยาเขตล้านนา

ENHANCING CORRECT PRONUNCIATION BY PRONUNCIATION SKILL EXERCISES FOR
ETHNIC GROUPS STUDENTS OF MAHAMAKUT BUDDHIST UNIVERSITY

พระณฐกร ปฏภิ าณเมธี, กิตติคณุ ภลู ายยาว
อาจารย์ประจาหลกั สูตรคณะศึกษาศาสตร์ สาขาวิชาการสอนภาษาไทย

มหาวิทยาลยั มหามกฏุ ราชวทิ ยาลยั วทิ ยาเขตล้านนา

บทคดั ย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพ่ือพัฒนาการอ่านออกเสียงภาษาไทยท่ีถูกต้องของนักศึกษา

กลุ่มชาติพันธ์ุมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตล้านนา 2) เพ่ือสร้างและหาประสิทธิภาพของ
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านออกเสียงภาษาไทยที่ถูกต้อง 3) เพ่ือทดลองใช้และประเมินผลหลังจากการใช้
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านออกเสียงภาษาไทยของนักศึกษากลุ่มชาติพันธ์ุมหาวิทยาลั ยมหามกุฏราช
วิทยาลัย วิทยาเขตล้านนา กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยคร้ังน้ีเป็นนักศึกษากลุ่มชาติพันธ์ุ ช้ันปีท่ี 1 คณะ
ศกึ ษาศาสตร์ สาขาวชิ าการสอนภาษาไทย มหาวทิ ยาลัยมหามกฏุ ราชวทิ ยาลัย วทิ ยาเขตลา้ นนา ท่ีคดั เลือก
จากการพิจารณาด้านการออกเสียงของนักศึกษาทั้งเสียงสระ พยัญชนะและวรรณยุกต์ จานวน 30 คน
เครื่องมือท่ีใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ ตารางการให้คะแนนของอาจารย์เพื่อพิจารณาด้านการออก
เสียง แบบฝึกทักษะการอ่านออกเสียง และแบบประเมิน สถิติท่ีใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉล่ีย
ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่า t- test

ผลการวิจัยพบว่า 1) ก่อนการใช้แบบฝึกทักษะการอ่านออกเสียงภาษาไทยท่ีถูกต้องกับนักศึกษา
กลุ่มชาติพันธ์ุ ช้ันปีที่ 1 คณะศึกษาศาสตร์ สาขาวิชาการสอนภาษาไทย มหาวิทยาลัยมหามกุฏราช
วทิ ยาลยั วิทยาเขตล้านนา การอ่านออกเสยี งภาษาไทย ของนักศกึ ษา โดยรวมมีค่าแปลผลอยู่ในระดับน้อย
(  = 2.35, S.D. = 0.26) 2) หลังการทดลองใช้แบบฝึกทักษะการอ่านออกเสียงภาษาไทยที่ถูกต้อง กับ
นักศึกษากลุ่มชาติพันธ์ุ ชั้นปีที่ 1 การอ่านออกเสียงภาษาไทย ของนักศึกษา โดยรวมมีค่าแปลผลอยู่ใน
ระดับดี (  = 4.10, S.D. = 0.25) เม่ือเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการอ่านก่อนและหลังการใช้แบบฝึก
ทักษะการอ่านภาษาไทยของนักศึกษากลุ่มตัวอย่าง จะเห็นได้ว่านักศึกษามีทักษะการอ่านออกเสียง
ภาษาไทยที่ถูกต้อง pretest และ posttest แตกต่างกัน ท่ีระดับนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.05 3) การ
ประเมินผลหลังการใช้แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านออกเสียงภาษาไทย จากนักศึกษากลุ่มชาติพันธ์ุ ชั้นปีที่
1 คณะศึกษาศาสตร์ สาขาวิชาการสอนภาษาไทย มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตล้านนา
จานวน 30 คน มีคา่ แปลผลอยใู่ นระดบั ดี (  = 3.85, S.D. = 0.28)

คาสาคัญ : การพัฒนาการอ่านออกเสียง, แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย, นักศึกษากลุ่ม
ชาติพนั ธ์ุ

ABSTRACT
The purposes of this research were: 1) to study correct pronouncing of Thai by

students of Mahamakut Buddhist University, Lanna campus, 2) to develop and test the
efficiency of Thai pronunciation exercises, 3) to test and assess the exercises after being used.

400

The sample consisted of 30 students of the 1st year, the Class of 2018 of the Faculty of
Education, Thai Major, Mahamakut Buddhist University, Lanna campus. Vowels, consonants,
and tones were used to consider. The research instruments were teacher’ s language
proficiency on a rating scale table, pronunciation skill exercises, and assessment test. The data
were analyzed by mean ( ̅ ), standard deviation (S.D), and t-test dependent.

The results of the research were: 1) The overall pre- test scores before using
pronunciation skill exercises are low ( ̅ = 2.35, S.D. = 0.26). 2) The overall post-test scores
are high ( ̅ = 4.10, S.D. = 0.25). Comparing the results of the pre-test and the post-test scores,
the differences are shown at statistical level of 0. 05. ( 3) The results after using Thai
pronunciation skill exercises are high ( ̅ = 3.85, S.D. = 0.28).

Keywords : Thai pronunciation enchantment, Thai pronunciation exercises, ethnic
group students

บทนา
ภาษาไทยเป็นเอกลักษณ์ประจาชาติ เป็นสมบัติทางวัฒนธรรมอันก่อให้เกิดความเป็นเอกภาพ

และเสริมสร้างบุคลิกภาพของคนในชาติให้มีความเป็นไทย เป็นเครื่องมือในการติดต่อส่ือสารความเข้าใจ
และความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน ทาให้สามารถประกอบกิจธุรการงานและดารงชีวติ ร่วมกันในสังคมประชาชาติ
ได้อย่างสันติสุข และเป็นเครื่องมือในการแสวงหาความรู้ ประสบการณ์ จากแหล่งข้อมูลสารสนเทศต่าง ๆ
เพ่ือพัฒนาความรู้ ความคิด วิเคราะห์ วิจารณ์ และสร้างสรรค์ให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคม และ
ความกา้ วหนา้ ทางวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยตี ลอดจนนาไปใช้ในการพัฒนาอาชีพให้มคี วามมัน่ คง ทางสงั คม
และเศรษฐกิจ นอกจากนยี้ ังเปน็ ส่ือท่ีแสดงภูมิปัญญาของบรรพบรุ ุษด้านวัฒนธรรม ประเพณี ชีวทัศน์ โลก
ทัศน์ และสุนทรียภาพ โดยบนั ทกึ ไว้เป็นวรรณคดีและวรรณกรรมอนั ล้าค่า ภาษาไทยจงึ เป็นสมบัติของชาติ
ทีค่ วรคา่ แกก่ ารเรียนรู้ เพอื่ อนุรกั ษ์และสืบสานให้คงอยู่คชู่ าติไทยตลอดไป (สธุ ะนะ พามนตรี, ออนไลน)์

ภาษาไทยเป็นทักษะที่ต้องฝึกฝนให้เกิดความชานาญ ในการใช้ภาษาเพ่ือการส่ือสารการอ่าน การ
ฟงั เปน็ ทักษะของการแสดงออกด้วยการแสดงความคดิ เห็น ความรแู้ ละประสบการณ์การเรียนร้ภู าษาไทย
จึงต้องเรียนเพ่ือการสื่อสารให้สามารถรับรู้ข้อมูลข่าวสารได้อย่างพินิจพิเคราะห์สามารถเลือกใช้คา เรียบ
เรียงความคิด ความรู้ และใช้ภาษาได้ถูกต้องตามกฎเกณฑ์ ได้ตรงตามความหมาย และถูกต้องตาม
กาลเทศะ บคุ คล อย่างมปี ระสิทธิภาพ (สธุ ะนะ พามนตรี,ออนไลน์) อกี ทั้งการอ่านเป็นทักษะทชี่ ่วยพัฒนา
บุคคล ช่วยเสริมสร้างประสบการณ์ เป็นทักษะที่ผู้เรียนมีโอกาสได้ใช้มากและอยู่กับผู้เรียนได้นาน แม้ว่า
ยุคน้ีเทคโนโลยีสารสนเทศจะก้าวหน้าเพียงใดก็ตาม ทักษะการอ่านก็ยังเป็นทักษะท่ีสาคัญต่อการเรียน
(Allen and Valette ,1979 อ้างในกมลวรรณ โคตรทอง, 2557 : 2)

ดังนั้นครูผู้สอนจึงต้องมีการพัฒนาทักษะการอ่านของนักศึกษา เพ่ือให้นักศึกษาสามารถนาเอา
ความรู้ ประสบการณ์ และทักษะต่าง ๆ ท่ีได้รับการสอนฝึกฝนและถ่ายทอดไปประยุกต์ใช้ในสถานการณ์
จรงิ ไดด้ ้วยตนเอง ดว้ ยเหตนุ ี้ผูว้ ิจยั เล็งเหน็ วา่ นกั ศึกษามหาวิทยาลยั มหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตลา้ นนา
ที่เป็นกลุ่มชาติพันธ์ุมักจะมีปัญหาการออกเสียงคาในภาษาไทย ซ่ึงจากประสบการณ์การจัดกิจกรรมการ
เรียนการสอนในสาขาวิชาการสอนภาษาไทยทผ่ี ่านมาของผู้วจิ ัย พบวา่ นกั ศกึ ษาสว่ นใหญม่ ีปัญหาการออก
เสียงภาษาไทยของกลุ่มชาติพันธ์ุพอสมควร บางคนพูดไม่ชัดยังติดภาษาเผ่า และอ่านออกเสียงได้ถูกต้อง
ค่อนข้างน้อย ซ่ึงส่งผลต่อผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนเป็นอย่างมากรวมทั้งมีผลกระทบต่อการเรียนในรายวิชา

401

อืน่ ๆ อีกด้วยสอดคล้องกับแนวคดิ ของ ประสิทธิ เข็มสวุ รรณ (2558 : 1) ทก่ี ลา่ วว่านกั เรียนทเี่ ปน็ กลุ่มชาติ
พันธ์ุ ขาดทักษะในการอ่านออกเสียง ซ่ึงมีสาเหตุมาจาก ความเคยชินในการออกเสียงภาษาของตนท่ีไม่มี
เสียงสะกด ทักษะการอ่านออกและพูดเสียงเป็นทักษะที่ต้องฝึกฝนอยู่เสมอ และไม่มีวันส้ินสุดสามารถฝึก
ได้เร่ือย ๆ ตามวัยและประสบการณ์ของผู้เรียน เพราะทักษะการอ่านออกเสียงภาษาไทยให้ถูกต้องชัดเจน
น้ันเก่ียวข้องกับชีวิตประจาวันของมนุษย์ เป็นเคร่ืองมือสาคัญท่ีจะช่วยให้มนุษย์ได้รับ ความรู้ ความคิด
และความบันเทิงใจ ช่วยปรับปรุงชีวิตให้สดใสสมบูรณ์ มีความจาเป็นอย่างย่ิงต่อการสื่อสาร ใน
ชีวติ ประจาวนั

ด้วยเหตุผลน้ี ผู้วิจัยในฐานะอาจารย์ผู้สอนสาขาวิชาภาษาไทยจึงสนใจที่จะใช้แบบฝึกเสริมทักษะ
การอ่าน ในการพัฒนาทักษะการอ่านออกเสียงที่ถูกต้องให้กับนักศึกษากลุ่มชาติพันธ์ุ มหาวิทยาลัยมหาม
กฏุ ราชวทิ ยาลัย วิทยาเขตลา้ นนา เพ่อื เป็นการสรา้ งทกั ษะทางด้านการอ่านภาษาไทยได้อย่างถูกต้องและมี
ประสิทธภิ าพอกี ทง้ั เปน็ แนวทางพัฒนาการเรียนการสอนวิชาภาษาไทยใหม้ ีประสิทธภิ าพต่อไป

วัตถุประสงค์การวิจัย
1) เพ่ือพัฒนาการอ่านออกเสียงภาษาไทยท่ีถูกต้อง ของนักศึกษากลุ่มชาติพันธุ์มหาวิทยาลัย

มหามกฏุ ราชวิทยาลยั วทิ ยาเขตล้านนา
2) เพื่อสร้างและหาประสิทธภิ าพของแบบฝึกเสรมิ ทักษะการอ่านออกเสยี งภาษาไทยท่ีถูกต้อง
3) เพื่อทดลองใช้และประเมินผลหลังจากการใช้แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านออกเสียงภาษาไทย

ของนักศกึ ษากลุ่มชาติพันธ์ุมหาวิทยาลัยมหามกฏุ ราชวิทยาลยั วทิ ยาเขตล้านนา

ขอบเขตการวิจัย
ในการวิจยั เรือ่ งน้ี ผ้วู ิจยั ไดก้ าหนดขอบเขตการวจิ ยั ไว้ ดังนี้
1) ขอบเขตดา้ นประชากรและกลมุ่ ตวั อย่าง
ประชากร ไดแ้ ก่ นกั ศึกษากลมุ่ ชาติพันธุ์ ชัน้ ปที ี่ 1 คณะศกึ ษาศาสตร์ สาขาวชิ าการสอนภาษาไทย

มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตลา้ นนา
2) ขอบเขตดา้ นเนื้อหา
ได้แก่ ทกั ษะการอ่านออกเสียงภาษาไทย โดย 1) การแทนท่ีของเสียง 2) การไม่ออกเสียงในเสียง

ทีต่ อ้ งการ 3) การออกเสียงเพ่ิมไปจากเสยี งทตี่ ้องการ และ 4) การแยกพยางคผ์ ิด
3) ขอบเขตด้านพื้นท่ี
ได้แก่ มหาวิทยาลยั มหามกุฏราชวิทยาลัย วทิ ยาเขตลา้ นนา

กรอบแนวคิดในการวจิ ัย ตัวแปรตาม
- นักศึกษามีทักษะการอ่านออกเสียงที่
ตัวแปรตน้
- แบบฝึกเสริมทักษะการอ่าน ที่ใช้ในการ ถกู ต้อง
พฒั นาทักษะการอา่ นออกเสยี ง

ภาพท่ี 1 กรอบแนวคิดในการวจิ ัย

402

วิธดี าเนนิ การวจิ ยั
เพือ่ ให้บรรลวุ ตั ถุประสงค์ผู้วิจยั ได้ดาเนนิ การวจิ ัยในแต่ละขน้ั ตอนดังนี้
ข้ันตอนที่ 1 รวบรวมข้อมูลนักศึกษากลุ่มชาติพันธ์ุ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยา

เขตล้านนา ที่มปี ัญหาเก่ียวกับการอา่ นออกเสียงภาษาไทย เพ่อื สรา้ งแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
ให้สามารถพฒั นาการอ่านออกเสียงท่ีถูกต้อง

ขั้นตอนที่ 2 สร้างและหาประสิทธิภาพของแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านออกเสียงภาษาไทยที่
ถูกต้อง

ขัน้ ตอนที่ 3 การทดลองใหน้ กั ศกึ ษาใช้แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านออกเสียงภาษาไทย
ขั้นตอนที่ 4 ประเมินผลหลงั จากการใชแ้ บบฝึกเสริมทักษะการอา่ นออกเสียงภาษาไทย
มรี ายละเอียดของแต่ละระยะ ดังภาพที่ 2

ขั้นตอนท่ี กจิ กรรม ผลทีไ่ ด้รบั จากการดาเนนิ งาน

ข้ันตอนที่ 1 ศึ ก ษ า ก า ร อ่ า น อ อ กเ สี ย ง รู้ปัญหาของการอ่านออกเสียง
วัตถุประสงค์ขอ้ 1 ภ า ษ า ไ ท ย ท่ี ถู ก ต้ อ ง ข อ ง ภาษาไทยของนักศึกษากลุ่มชาติ
นกั ศกึ ษากลุ่มชาตพิ ันธ์ุ พนั ธ์ุ
ขน้ั ตอนท่ี 2
วัตถุประสงคข์ อ้ 2 สร้างและหาประสิทธิภาพของ ได้แบบฝึกเสริมทักษะการอ่าน
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านออก ออกเสียงภาษาไทยท่ีถูกต้อง ท่ี
เสียงภาษาไทยที่ถูกต้อง โดย ผ่านการตรวจสอบ และปรับปรงุ
ผู้ เ ชี่ ย ว ช า ญ ป ร ะ เ มิ น ค ว า ม ตามข้อเสนอ แนะ
เหมาะสม

ขั้นตอนท่ี 3 การทดลองให้นักศึกษาใช้แบบ ผลการใช้แบบฝึกเสริมทักษะ
วัตถปุ ระสงค์ข้อ 3 ฝกึ เสรมิ ทกั ษะการอ่านออกเสยี ง การอ่านออกเสียงภาษาไทย

ภาษาไทย

ขั้นตอนที่ 4 ประเมินผลหลังจากการใช้แบบฝึก นักศึกษาสามารถอ่านออกเสียง
วตั ถุประสงค์ขอ้ 3 เ ส ริ ม ทั ก ษ ะ ก า ร อ่ า น อ อ ก เ สี ย ง ไดถ้ กู ต้อง

ภาษาไทย

ภาพที่ 2 ขันตอนการดาเนินงานวิจัย

403

สรุปผลการวิจัย
1) ผลวิเคราะห์การอ่านออกเสียงภาษาไทยท่ีถูกต้อง ของนักศึกษากลุ่มชาติพันธุ์

มหาวิทยาลัยมหามกฏุ ราชวิทยาลัย วิทยาเขตล้านนา
ผลการวิเคราะห์ก่อนการใช้แบบฝึกทักษะการอ่านออกเสียงภาษาไทยท่ีถูกต้องกับนักศึกษากลุ่ม

ชาติพันธ์ุ ชั้นปีท่ี 1 คณะศึกษาศาสตร์ สาขาวิชาการสอนภาษาไทย มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย
วิทยาเขตลา้ นนา มีรายละเอียดดงั นี้

การอ่านออกเสียงภาษาไทย ของนักศึกษากลุ่มชาติพันธ์ุ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย
วทิ ยาเขตล้านนา โดยรวมมีค่าแปลผลอยู่ในระดบั น้อย (  = 2.35, S.D. = 0.26)

เมอ่ื พิจารณาแตล่ ะดา้ นมีรายละเอียดดังนี
1) ด้านการแทนที่ของเสียง
การอ่านออกเสียงภาษาไทย ด้านการแทนท่ีของเสียง ของนักศึกษากลุ่มชาติพันธ์ุ มหาวิทยาลัย
มหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตล้านนา มีค่าแปลผลอยู่ในระดับน้อย (  = 2.49, S.D. = 0.42) เม่ือ
พจิ ารณาเป็นรายข้อ ดังนี้
- การแทนที่เสียงวรรณยุกต์ แปลผลอยใู่ นระดับพอใช้ (  = 3.03, S.D. = 0.76)
- การแทนที่เสยี งพยญั ชนะต้น (ร) แปลผลอย่ใู นระดบั น้อย (  = 2.13, S.D. = 0.62)
- การแทนทเ่ี สยี งพยญั ชนะอื่น ๆ แปลผลอยใู่ นระดับน้อย (  = 2.53, S.D. = 0.50)
- การแทนท่ีเสียงสระ แปลผลอยใู่ นระดับน้อย (  = 2.27, S.D. = 0.69)
2) การไม่ออกเสียงในเสียงท่ตี ้องการ
การอ่านออกเสียงภาษาไทย ด้านการไม่ออกเสียงในเสียงท่ีต้องการ ของนักศึกษากลุ่มชาติพันธ์ุ
มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตล้านนา มีค่าแปลผลอยู่ในระดับน้อย (  = 2.16, S.D. =
0.32) เมอ่ื พิจารณาเปน็ รายข้อ ดงั น้ี
- การไม่ออกเสยี งควบกล้า แปลผลอยู่ในระดบั น้อย (  = 2.30, S.D. = 0.59)
- การไม่ออกเสยี งพยัญชนะท้าย แปลผลอยใู่ นระดบั น้อย (  = 2.17, S.D. = 0.69)
- การไมอ่ อกเสยี งบางพยางค์ แปลผลอย่ใู นระดบั น้อย (  = 2.03, S.D. = 0.71)
3) การออกเสยี งเพม่ิ ไปจากเสียงที่ต้องการ
การอ่านออกเสียงภาษาไทย ด้านการออกเสียงเพิ่มไปจากเสียงท่ีต้องการ ของนักศึกษากลุ่มชาติ
พนั ธุ์ มหาวทิ ยาลยั มหามกุฏราชวทิ ยาลัย วิทยาเขตลา้ นนา มีค่าแปลผลอยใู่ นระดบั น้อย (  = 2.35, S.D.
= 0.43) เมอื่ พจิ ารณาเป็นรายข้อ ดงั น้ี
- การเพ่ิมหน่วยเสยี ง แปลผลอยูใ่ นระดับน้อย (  = 2.47, S.D. = 0.50)
- การเพม่ิ พยางค์ แปลผลอย่ใู นระดบั น้อย (  = 2.23, S.D. = 0.67)
4) การแยกพยางคผ์ ิด
การอ่านออกเสียงภาษาไทย ด้านการแยกพยางค์ผิด ของนักศึกษากลุ่มชาติพันธ์ุ มหาวิทยาลัย
มหามกฏุ ราชวิทยาลยั วทิ ยาเขตล้านนา มีคา่ แปลผลอยู่ในระดับน้อย (  = 2.33, S.D. = 0.66)
ดังน้ันสรุปได้ว่า การออกเสียงภาษาไทยของนักศึกษากลุ่มชาติพันธุ์มหาวิทยาลัยมหามกุฏราช
วทิ ยาลัย วิทยาเขตล้านนา มปี ญั หาในดา้ นการไม่ออกเสียงในเสียงทต่ี ้องการมากที่สุดรองลงมาคือด้านการ
แยกพยางค์ผดิ ด้านการออกเสียงเพ่ิมไปจากเสยี งที่ต้องการ และการแทนที่ของเสียง ตามลาดบั

404

2) ทดลองใชแ้ บบฝึกเสริมทักษะการอ่านออกเสียงภาษาไทย
ผลการวิเคราะห์หลังการทดลองใช้แบบฝึกทักษะการอ่านออกเสียงภาษาไทยที่ถูกต้อง ของ
นักศึกษากลุ่มชาติพันธุ์ ช้ันปีที่ 1 คณะศึกษาศาสตร์ สาขาวิชาการสอนภาษาไทย มหาวิทยาลัยมหามกุฏ
ราชวทิ ยาลัย วิทยาเขตล้านนา มีรายละเอียดดังนี้
การอ่านออกเสียงภาษาไทย ของนักศึกษากลุ่มชาติพันธ์ุ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย
วิทยาเขตลา้ นนา โดยรวมมคี ่าแปลผลอยู่ในระดับดี ( = 4.10, S.D. = 0.25)
เม่อื พิจารณาแต่ละดา้ นมีรายละเอียดดังนี
1) ดา้ นการแทนท่ีของเสียง
การอ่านออกเสียงภาษาไทย ด้านการแทนที่ของเสียง ของนักศึกษากลุ่มชาติพันธ์ุ มหาวิทยาลัย
มหามกุฏราชวทิ ยาลัย วทิ ยาเขตลา้ นนา มีค่าแปลผลอยู่ในระดบั ดี ( = 4.11, S.D. = 0.27) เมือ่ พจิ ารณา
เป็นรายขอ้ ดงั น้ี
- การแทนทเ่ี สียงวรรณยุกต์ แปลผลอยู่ในระดับดีมาก (  = 4.47, S.D. = 0.50)
- การแทนทเี่ สยี งพยญั ชนะตน้ (ร) แปลผลอยู่ในระดับดี ( = 3.97, S.D. = 0.61)
- การแทนที่เสยี งพยัญชนะอื่น ๆ แปลผลอยู่ในระดบั ดี (  = 4.10, S.D. = 0.60)
- การแทนท่เี สียงสระ แปลผลอยใู่ นระดับดี (  = 3.93, S.D. = 0.74)
2) การไมอ่ อกเสยี งในเสียงทต่ี ้องการ
การอ่านออกเสียงภาษาไทย ด้านการไม่ออกเสียงในเสียงท่ีต้องการ ของนักศึกษากลุ่มชาติพันธุ์
มหาวทิ ยาลยั มหามกุฏราชวิทยาลยั วทิ ยาเขตลา้ นนา มีคา่ แปลผลอยู่ในระดับดี (  = 4.13, S.D. = 0.45)
เม่อื พิจารณาเปน็ รายข้อ ดังน้ี
- การไมอ่ อกเสียงควบกล้า แปลผลอยใู่ นระดับดี ( = 4.03, S.D. = 0.66)
- การไม่ออกเสียงพยญั ชนะท้าย แปลผลอยู่ในระดับดี (  = 4.13, S.D. = 0.68)
- การไมอ่ อกเสียงบางพยางค์ แปลผลอย่ใู นระดบั ดีมาก (  = 4.23, S.D. = 0.72)
3) การออกเสยี งเพมิ่ ไปจากเสยี งทตี่ ้องการ
การอ่านออกเสียงภาษาไทย ด้านการออกเสียงเพ่ิมไปจากเสียงที่ต้องการ ของนักศึกษากลุ่มชาติ
พนั ธุ์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วทิ ยาเขตล้านนา มคี ่าแปลผลอยู่ในระดับดี (  = 4.06, S.D. =
0.40) เม่ือพิจารณาเปน็ รายข้อ ดังน้ี
- การเพิ่มหน่วยเสยี ง แปลผลอยใู่ นระดบั ดี (  = 3.97, S.D. = 0.66)
- การเพิม่ พยางค์ แปลผลอยู่ในระดบั ดี (  = 4.17, S.D. = 0.69)
4) การแยกพยางค์ผิด
การอ่านออกเสียงภาษาไทย ด้านการแยกพยางค์ผิด ของนักศึกษากลุ่มชาติพันธุ์ มหาวิทยาลัย
มหามกฏุ ราชวิทยาลยั วทิ ยาเขตล้านนา มคี ่าแปลผลอยู่ในระดบั ดี (  = 4.06, S.D. = 0.69)
ดังนั้นสรุปได้ว่า หลังการทดลองใช้แบบฝึกทักษะการอ่านออกเสียงภาษาไทยท่ีถูกต้อง กับ
นักศึกษากลมุ่ ชาตพิ ันธุ์ ช้นั ปีที่ 1 คณะศึกษาศาสตร์ สาขาวชิ าการสอนภาษาไทย มหาวทิ ยาลยั มหามกุฏ
ราชวิทยาลัย วิทยาเขตล้านนา แล้วพบว่า การอ่านออกเสียงโดยรวมอยู่ในระดับดี เม่ือพิจารณาจาก
ค่าเฉลี่ย ดังนี้ ด้านการไม่ออกเสียงในเสียงท่ีต้องการมากที่สุด รองลงมาคือ ด้านการแทนท่ีของเสียง การ
แยกพยางค์ผดิ และด้านการออกเสียงเพิ่มไปจากเสยี งทีต่ ้องการ ตามลาดบั

405

เมื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการอ่านก่อนและหลังการใช้แบบฝึกทักษะการอ่านภาษาไทยของ
นักศึกษากลุ่มตัวอย่าง จะเห็นได้ว่านักศึกษามีทักษะการอ่านออกเสียงภาษาไทยท่ีถูกต้อง pretest และ
posttest แตกตา่ งกัน ที่ระดับนยั สาคญั ทางสถติ ิทีร่ ะดับ 0.05 ดงั ตารางตอ่ ไปนี้

ตารางที่ 1 แสดงการเปรียบเทียบผลสัมฤทธทิ์ างการอ่านก่อนและหลังการใช้แบบฝกึ ทักษะ

การอ่านภาษาไทยของนักศกึ ษากลุ่มตัวอยา่ ง จาแนกตามการแทนท่ีของเสยี ง

การแทนท่ีของเสยี ง n  S.D. t Sig

Pretest 30 2.49 0.42 -17.538 .00*
Posttest 30 4.11 0.27

3) ประเมนิ ผลหลังจากการใชแ้ บบฝึกเสริมทักษะการอ่านออกเสียงภาษาไทย
การประเมินผลหลังการใช้แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านออกเสียงภาษาไทย จากนักศึกษากลุ่ม

ชาติพันธ์ุ ชั้นปีที่ 1 คณะศึกษาศาสตร์ สาขาวิชาการสอนภาษาไทย มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย
วิทยาเขตล้านนา จานวน 30 คน มีค่าแปลผลอยู่ในระดับดี เม่ือพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่าข้อท่ีมีค่าเฉล่ีย

มากวา่ ข้ออ่นื คอื การออกเสยี งวรรณยุกต์ ( = 4.07, S.D. = 0.74) การอา่ นออกเสียง ถ ท ( = 3.87,

S.D. = 0.57) การออกเสียง ร ล คาควบกล้า ร ล ว(  = 3.87, S.D. = 0.68) การออกเสียง ง ฮ (  =

3.83, S.D. = 0.59) การอ่านออกเสียง ฝ ฟ (  = 3.77, S.D. = 0.56) การออกเสียง จ ฉ ช (  = 3.70,
S.D. = 0.46) ตามลาดับ

อภิปรายผลการวิจัย
1) การอ่านออกเสียงภาษาไทยทถี่ ูกต้อง ก่อนการใชแ้ บบฝกึ เสรมิ ทักษะการอ่าน ของนักศึกษา

กลุ่มชาติพันธ์ุ ชันปีที่ 1 คณะศึกษาศาสตร์ สาขาวิชาการสอนภาษาไทย มหาวิทยาลัยมหามกุฏราช
วิทยาลยั วทิ ยาเขตลา้ นนา

การอ่านออกเสียงภาษาไทย ของนักศึกษากลุ่มชาติพันธุ์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย

วิทยาเขตล้านนา โดยรวมมีค่าแปลผลอยู่ในระดับน้อย (  = 2.35, S.D. = 0.26) จากผลการวิจัยพบว่า
นักศึกษามีปัญหาในด้านการไม่ออกเสียงในเสียงท่ีต้องการมากที่สุด รองลงมาคือ ด้านการแยกพยางค์ผิด
ดา้ นการออกเสียงเพ่ิมไปจากเสียงที่ต้องการ และการแทนที่ของเสยี ง เน่อื งจาก 1) การไม่ออกเสยี งในเสียง
ที่ต้องการ คือ การที่นักศึกษาละไม่ออกเสียงน้ันในตาแหน่งท่ีเสียงนั้นต้องปรากฏ สาเหตุอาจเนื่องจาก
ความเคยชินขณะพูดหรือการไม่ออกเสียงควบกล้าเพราะบางที่ภาษาแม่ของนักศึกษาที่ไม่มีเสียงพยัญชนะ
ท้าย และยังเห็นได้ว่าปัญหาของการไม่ออกเสียงในเสียงที่ต้องการ มาจากสาเหตุของการไม่ออกเสียงควบ
กล้า คือการท่ีนักศึกษาออกเสียงในคาท่ีมีพยัญชนะต้นควบกล้า 2 เสียงเป็นเสียงเดียว การไม่ออกเสียง
พยัญชนะท้าย คือ นักศึกษาละเสียงพยัญชนะท้ายในตาแหน่งท่ีเสียงน้ันต้องปรากฏ อาจเป็นเพราะ
นักศึกษาอ่านแล้วประสมเสียงพยัญชนะท้ายไม่ได้จึงละเว้นไม่ออกเสียงหรือปัญหาภาษาแม่ท่ีไม่มี
พยัญชนะท้าย และการไม่ออกเสียงบางพยางค์ คือ การที่นักศึกษาไม่ออกกลุ่มของเสียงในตาแหน่งน้ัน ๆ
ปัญหานี้เกิดจากท่ีนักศึกษาอ่านบางพยางค์ไม่ออกจึงข้ามไป เป็นต้น 2) การแยกพยางค์ผิด คือ การท่ี
นักศึกษาออกเสียงโดยแยกกลุ่มของเสียงผิด แต่ยังคงมีจานวนพยางค์เท่าเดิม 3) การออกเสียงเพ่ิมไปจาก
เสียงท่ีต้องการ คือการที่นักศึกษาออกเสียงบางเสียงท่ีไม่ได้เป็นส่วนหน่ึงของคาน้ัน สาเหตุอาจเกิดจาก

406

ความไม่แม่นยาขณะอ่าน และยังเห็นได้ว่าปัญหาของการออกเสียงเพ่ิมไปจากเสียงที่ต้องการ มาจาก
สาเหตุของการเพ่ิมหน่วยเสียง คือ การที่นักศึกษาออกเสียงบางเสียงเพิ่มเพราะไม่ระวังขณะอ่าน หรือเกิด
จากการอ่านท่ีไม่แม่นยา และการเพ่ิมพยางค์ คือ การท่ีนักศึกษาอ่านกลุ่มของเสียงเพ่ิมซ่ึงไม่ได้เป็นส่วน
หน่ึงของคาน้ันทาให้คานั้นมีพยางค์เพ่ิมข้ึน และ 4) การแทนที่ของเสียง คือ การท่ีเสียงนั้นถูกแทนที่ด้วย
หนว่ ยเสียง สาเหตเุ กิดจากการที่นักศึกษาไม่สามารถออกเสียงนั้นได้ อนั เป็นผลจากภาษาแม่ของนักศึกษา
ไม่มีหน่วยเสียงน้ันและความเคยชินในการออกเสียงผิด ๆ และเปลี่ยนเป็นเสียงอื่น คือ 1. การแทนท่ีเสียง
วรรณยุกต์ คือ การที่หน่วยเสียงวรรณยุกต์นั้นถูกแทนท่ีด้วยหน่วยเสียงวรรณยุกต์อื่น เช่น การออกเสียง
วรรณยุกต์ไม่ถูกต้อง โดยเฉพาะการฝันเสียงวรรณยุกต์ด้วยอักษรสูง อักษรกลาง และอักษรต่า 2. การ
แทนที่เสียงพยัญชนะ คือ การที่หน่วยเสียงพยัญชนะนั้นถูกแทนท่ีด้วยหน่วยเสียงพยัญชนะอ่ืน เช่น การ
แทนท่ีพยัญชนะ ร นักศึกษามักออกเสียงพยัญชนะต้น ร เป็นเสียง ล 3. การแทนที่พยัญชนะเสียงอ่ืน ๆ
คือ การออกเสียงพยัญชนะอื่นท่ีนักศึกษาเห็นว่ารูปพยัญชนะไทยบางตัวคล้ายคลึงกันแต่ออกเสียงต่างกัน
เป็นคนละหน่วยเสียง นักศึกษาจาสับสนและไม่แม่นยา เช่น รูปพยัญชนะ บ กับ ป / พ กับ ฟ / ด กับ ค
/ ผ กับ ฝ เป็นต้น 4. การแทนที่เสียงสระ คือ การที่หน่วยเสียงสระนั้นถูกแทนที่ด้วยหน่วยเสียงสระอ่ืน
เช่น การออกเสียงส้ันและเสียงยาว หรือออกเสียงผิดเพราะจารูปสระไม่ได้หรือมีปัญหาเก่ียวกับสระลดรูป
สระประสมในภาษาไทย เป็นต้น สอดคล้องกับแนวคิดของสุมิตรา อังวัฒนกุล (2527, อ้างในธัญญ์ธีตา
เท่งฮวง, 2557 : 3) ได้กล่าวถึงทฤษฎีการอ่านท่ีเน้นการจัดลาดับข้อความ เน้นวิเคราะห์ และเช่ือมโยง
ข้อความ รวมทั้งทฤษฎีการอ่านที่เน้นพฤติกรรม เน้นความรู้ ความเข้าใจ และเน้นทฤษฎีพัฒนาการ ซึ่ง
ทฤษฎพี ฒั นาการเหล่านี้สามารถนาไปใช้เปน็ หลักในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนอ่านเพื่อออกเสียงคา
ควบกล้า ตวั ร , ล อย่างถกู ต้อง และยังสอดคล้องกับงานวิจัยของ กฤษณา สภุ าพักตร์ (2551) ท่ีได้ศึกษา
เรอ่ื ง แบบฝกึ ทักษะการอ่านออกเสยี งควบกล้าสาหรับชาวต่างชาติ ผลการวจิ ัยพบว่า 1) แบบฝกึ ทกั ษะการ
อ่านออกเสียงควบกล้าสาหรับชาวต่างชาติ มีค่าประสิทธิภาพระหว่าง 54.55-86.77 แสดงว่าแบบฝึกชุดนี้
มีประสิทธิภาพ ทาให้นักเรียนมีพัฒนาการในการอ่านออกเสียงควบกล้าได้ถูกต้อง ชัดเจนมากขึ้น 2)
ความสามารถในการอ่านออกเสียงควบกล้าของนักเรียนกลุ่มตัวอย่างหลังการใช้แบบฝึกดีกว่าก่อนการใช้
แบบฝึกอยา่ งมนี ัยสาคัญทางสถิติที่ระดบั 0.01

2) ทดลองใชแ้ บบฝึกเสริมทักษะการอา่ นออกเสียงภาษาไทย
การทดลองใช้แบบฝึกทักษะการอ่านออกเสียงภาษาไทยท่ีถูกต้อง กับนักศึกษากลุ่มชาติพันธ์ุ ชั้น
ปีท่ี 1 คณะศึกษาศาสตร์ สาขาวิชาการสอนภาษาไทย มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขต
ล้านนา พบว่า โดยรวมอยู่ในระดับดี เม่ือพิจารณาจากค่าเฉลี่ย ด้านการไม่ออกเสียงในเสียงที่ต้องการมาก
ที่สุด รองลงมาคือ ด้านการแทนที่ของเสียง การแยกพยางค์ผิด และด้านการออกเสียงเพิ่มไปจากเสียงที่
ต้องการ และเม่ือเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการอ่านก่อนและหลังการใช้แบบฝึกทักษะการอ่านภาษาไทย
ของนักศึกษากลุ่มตัวอย่าง จะเห็นได้ว่านักศึกษามีทักษะการอ่านออกเสียงภาษาไทยที่ถูกต้อง pretest
และ posttest แตกต่างกัน ท่ีระดับนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.05 เน่ืองจาก หลังการท่ีนักศึกษาได้ใช้
แบบฝึกทักษะการอ่านออกเสียงภาษาไทยที่ถูกต้อง นักศึกษาจะเกิดความชานาญและมีทักษะท่ีดีขึ้น และ
การฝึกฝนอย่างสม่าเสมอของนักศึกษาจากการท่ีอาจารย์ให้ฝึกวันละ 1 ชั่วโมง เป็นเวลา 1 เดือน จะช่วย
ให้นักศึกษาเกิดการเรียนรู้ มีผลทาให้นักศึกษาประสบผลสาเร็จในการเรียนรู้ในทักษะการอ่านออกเสียง
ภาษาไทยท่ีถูกต้องได้ดีกว่าครั้งท่ียังไม่ได้รับการฝึกฝน สอดคล้องกับงานวิจัยของ โสภิตา โตไร่ (2558 :
1112) ได้ศึกษาเรื่อง พัฒนาทักษะการอ่านออกเสียงภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกเสริมทักษะสาหรับ

407

นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 1 ผลการวิจัย พบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการอ่านออกเสียงของนักเรียนหลังการใช้
แบบฝึกทักษะมีประสิทธิภาพอย่างดี ส่งผลการอ่านออกเสียงมีผลสัมฤทธ์ิดีขึ้น เป็นไปตามสมมติฐานท่ีต้ัง
ไว้ ซงึ่ สามารถสรุปผลวิจัยได้ คือ กล่มุ ตวั อย่างมีความสามารถทางการอ่านออกเสียงภาษาอังกฤษสูงขึ้นทั้ง
5 ชดุ หลงั เรยี นดว้ ยแบบฝึกเสริมทกั ษะการอ่านภาษาอังกฤษ

3) ประเมินผลหลงั จากการใชแ้ บบฝกึ เสริมทักษะการอ่านออกเสียงภาษาไทย
การประเมินผลหลังการใช้แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านออกเสียงภาษาไทย จากนกั ศึกษากลุ่มชาติ
พันธ์ุ ช้ันปีที่ 1 คณะศึกษาศาสตร์ สาขาวิชาการสอนภาษาไทย มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยา
เขตล้านนา จานวน 30 คน มีค่าแปลผลอยู่ในระดับดี เน่ืองจาก นักศึกษาได้รับการฝึกด้วยแบบฝึกเสริม
ทกั ษะการอ่านออกเสียงภาษาไทยท่ีถูกต้องอย่างน้อยวนั ละ 1 ช่วั โมง เปน็ เวลา 1 เดอื น โดยใช้กระบวนการ
สอนตามแบบฝึกสอนซ้าและฝึกเป็นรายบุคคล จงึ ทาให้นักศึกษาเกิดความชานาญ และมกี ารพัฒนาทักษะ
การอ่านออกเสียงที่ถูกต้อง สอดคล้องกับแนวคิดของ นวลนุช สีทองดี (2541 : 29) กล่าวว่า แบบฝึกเป็น
สื่อการเรียนที่ใช้ฝึกทักษะเพ่ือสร้างความคิดรวบยอดให้แก่นักเรยี น เพ่ือจะทาให้นักเรียนเกิดการเรียนรไู้ ด้
ดีและรวดเร็วแต่ต้องได้รับการฝึกหลาย ๆ ครั้ง หลายรูปแบบ เม่ือนักเรียนได้รับการฝึกแล้วอย่างน้อยก็
พัฒนาตนเองที่ดีข้ึนอย่างแน่นอน สอดคล้องกับงานวิจัยของ ศิริอร เม้ียนมิตร (2561 : 509-510) ศึกษา
เรื่องผลจากการใช้แบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความ โดยใช้วิธีการสอนอ่านแบบ SQ4R สาหรับนักเรียน
ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3 ผลการวิจัยสรุปได้ว่า 1) ประสิทธิภาพของแบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความโดย
วิธีการสอนอ่านแบบ SQ4R สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3 พบว่า แบบฝึกทักษะมีประสิทธิภาพ
เท่ากับ 82.82/84.95 ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ 80/80 2) ความสามารถทางการอ่านจับใจความของนักเรียน
ระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียนด้วย แบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความ โดยวิธีการสอนอ่านแบบ SQ4R
สาหรบั นกั เรยี น ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 3 พบว่า นักเรยี นมคี วามสามารถทางการอา่ นจับใจความหลังเรียน สูง
กว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3) ดัชนีประสิทธิผลของแบบฝึกทักษะการอ่านจับ
ใจความ โดยวิธีการสอนอ่านแบบ SQ4R สาหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3 เท่ากับ 0.5620 แสดงว่า
นักเรียนมีความรู้เพ่ิมข้ึน 0.5620 คิดเป็นร้อยละ 56.20 4) ระดับความพึงพอใจของนักเรียนที่เรียนด้วย
แบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความโดยวิธี การสอนอ่านแบบ SQ4R สาหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3
โดยภาพรวมมีความพงึ พอใจอยู่ในระดับมากทีส่ ดุ

ข้อเสนอแนะ
การศึกษาวิจัย “การพัฒนาการอ่านออกเสียงท่ีถูกต้องโดยใช้แบบฝึกเสริมทักษะการอ่าน

ภาษาไทย ของนักศึกษากลุ่มชาติพันธ์ุ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตล้านนา” ผู้วิจัยมี
ข้อเสนอแนะความคิดเหน็ เพิ่มเตมิ ซึ่งไดจ้ ากผลการวจิ ยั ครงั้ น้ี โดยสรุปเปน็ ประเด็นได้ดังน้ี

1) ข้อเสนอแนะเชงิ นโยบาย
1.1) จากการวิจัยสะท้อนให้เห็นว่าการออกเสียงคาในภาษาไทย ของนักศึกษากลุ่มชาติพันธุ์

ทเี่ กดิ จากการอ่านทีไ่ ม่แม่นยา หรือความเคยชินซึง่ อาจได้รับอิทธิพลของภาษาแม่ ดงั นนั้ อาจารยผ์ ู้สอนควร
สงั เกตปญั หาและเน้นการฝึกให้นักศึกษาออกเสียงภาษาไทยทั้งการอ่านและการพูดให้ถูกต้องตัง้ แต่เร่ิมเข้า
เรียนในช้ันปีที่ 1 ซึ่งจะส่งผลให้นักศึกษาสามารถพัฒนาทักษะการอ่านออกเสียงท่ีถูกต้องเมื่อเรียนช้ันสูง
ตอ่ ไป

408

1.2) อาจารย์ผู้สอนควรนาแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านออกเสียงคาในภาษาไทยไปใช้ในการ
เรียนการสอน หรือใช้ในการสอนซอ่ มเสรมิ ให้กับนกั ศึกษาท่มี ีปัญหาเร่ืองการอา่ นออกเสียงทีไ่ ม่ถูกต้อง

1.3) อาจารย์ผู้สอนควรสร้างความตระหนักในการอ่านออกเสียงภาษาไทยที่ถูกต้องของ
นกั ศกึ ษา และใหน้ กั ศึกษาฝึกปฏบิ ัติซา้ ๆ อย่างสมา่ เสมอจนเกิดความชานาญ

2) ข้อเสนอแนะเพื่อการวิจัยครังต่อไป
2.1) ควรศึกษาวิจัยเกี่ยวกับการเปรียบเทียบระหว่างการสอนโดยใช้แบบฝึกทักษะการอ่าน

กับการสอนแบบอ่ืน ๆ เพื่อเปรียบเทียบว่าการสอนโดยใช้แบบฝึกทักษะการอ่านจะพัฒนาความสามารถ
ของนักศึกษาได้แตกต่างจากการสอนในแบบอน่ื ๆ หรือไม่

2.2) ควรศกึ ษาวิจัยเก่ียวกับการพัฒนาแบบฝึกทักษะด้วยอิเล็กทรอนิกส์เพ่ือแก้ไขปัญหาการ
อ่านออกเสียงการพูดภาษาไทยไมช่ ัดของนักศึกษากล่มุ ชาตพิ ันธ์ุ

2.3) ควรศึกษาวิจัยเก่ียวกับการวิเคราะห์ปัญหาการพูดและการอ่านออกเสียงภาษาไทยของ
นักศกึ ษากลุม่ ชาติพันธ์ุ

แหลง่ อ้างองิ
กมลวรรณ โคตรทอง. (2557). การพัฒนาแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาอังกฤษจากนิทานอาเซียน

โดยใช้กิจกรรมการเรียนรู้ Storyline สาหรับนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านเป้า
(สาราญไชยวิทยา) จังหวัดชัยภูมิ. ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย.
มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร.
กฤษณา สุภาพักตร.์ (2551). แบบฝึกทักษะการอ่านออกเสียงควบกลา้ สาหรับชาวต่างชาต.ิ ปริญญาศิลปศา
สตรมหาบัณฑิต สาขาวชิ าการสอนภาษาไทย บณั ฑิตวิทยาลยั มหาวทิ ยาลัยศรนี ครินทรวโิ รฒ.
ธัญญ์ธีตา เท่งฮวง. (2557). การพัฒนาการอ่านออกเสียงที่ถูกต้อง โดยใช้แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านช้ัน
ประกาศนียบตั ร. งานวจิ ัยในชัน้ เรยี น. วิทยาลัยเทคโนโลยีปัญญาภวิ ฒั น์.
นวลนุช สีทองดี. (2541). การสร้างแบบฝึกเสริมทักษะทางภาษาเรื่อง การเขียนสะกดคาตามมาตรา
ตัวสะกดแม่กด เสริมทักษะวิชาภาษาไทย สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 5 ที่มีความ
บกพร่องทางการได้ยิน.ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา บัณฑิต
วทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์.
ประสิทธิ เข็มสุวรรณ. (2558). การพัฒนาทักษะการอ่านออกเสียงภาษาไทย นักเรียนชาวเขาเผ่ามูเซอแดง
ท่ีใช้ภาษาไทยเป็นภาษาท่ีสอง ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 5-6 โรงเรียนบ้านยาป่าแหน ด้วย
กระบวนการ “7 ท”. โรงเรยี นบ้านยาป่าแหนร่วมกับคณะครุศาสตร์. มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ลาปาง.
ศิริอร เมี้ยนมิตร. (2561). ผลจากการใช้แบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความ โดยใช้วิธีการสอนอ่านแบบ
SQ4R สาหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการ
(PROCEEDINGS) การประชุมวิชาการระดบั ชาติและนานาชาติ ครั้งท่ี 2.
สุธะนะ พามนตรี. ความสาคัญของภาษาไทย. สืบค้นเม่ือ พฤษภาคม 28, 2561, จาก
https://www.classstart.org/classes/4131.
โสภิตา โตไร่. (2558). พัฒนาทักษะการอ่านออกเสียงภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกเสริมทักษะสาหรับ
นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 1. การประชุมหาดใหญ่วิชาการระดับชาติ คร้ังท่ี 6. 26 มิถุนายน
2558. มหาวิทยาลัยหาดใหญ่.

409

การจดั การเรียนรู้แบบปญั หาเปน็ ฐาน เพื่อสง่ เสริมทักษะการคดิ เชงิ สร้างสรรค์
PROBLEM-BASED LEARNING MANAGEMENT TO ENHANCE
THE CREATIVE THINKING SKILLS

ทิตตยิ า ม่นั ดี, พิมภัสสร เด็ดขาด, เขมินทรา ตนั ธกิ ลุ

บทคดั ย่อ
บทความนี้มีจุดประสงค์เพื่อนาเสนอรูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบปัญหาเป็นฐาน เพ่ือส่งเสริม

ทกั ษะการคิดเชิงสร้างสรรค์ ซง่ึ เป็นรปู แบบการสอนทสี่ ามารถนามาใช้ในการพฒั นาคุณภาพการเรียนรู้ของ
ผู้เรียนที่ดีมากวิธีหนึ่ง ทาให้ผู้เรียนเกิดทักษะในการคิดวิเคราะห์ แก้ปัญหา และคิดเชิงสร้างสรรค์ ซ่ึง
ความคิดเชิงสร้างสรรค์นั้นผู้เรียนจะต้องได้รับการจัดการเรียนรู้โดยการจัดกลุ่ม การระดมความคิด การมี
ส่วนร่วมในการเรียนและได้ลงมือปฏิบัติมากข้ึน การมีโอกาสออกไปแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง ทั้งภายใน
และภายนอกสถานศึกษา และร่วมกันสร้างสรรค์ผลงานของผู้เรยี น ในส่วนของผู้สอนก็ลดบทบาทของการ
เป็นผู้ควบคุมในชั้นเรียนลง ผู้เรียนมีอานาจในการจัดการควบคุมตนเอง สามารถหาความรู้ใหม่ได้ตาม
ความประสงค์ผู้เรียนต้องทางานเป็นกลุ่ม ส่งผลให้ผู้เรียนเกิดความคิดแปลกใหม่ ยืดหยุ่น และกว้างไกล
กวา่ การคดิ เพียงคนเดยี ว สอดคล้องกบั ทักษะการเรียนรู้แห่งศตวรรษท่ี 21

คาสาคญั : การจดั การเรียนรู้แบบปัญหาเป็นฐาน, ทักษะการคดิ เชิงสร้างสรรค์, ทกั ษะการเรียนรู้
แหง่ ศตวรรษท่ี 21

ABSTRACT
The purposes of the article was present a problem-based learning management to

enhance the creative thinking skills Which is a teaching style that can be used to improve
the learning quality of learners in a very good way Allowing learners to develop their
thinking, analytical, problem solving, and creative thinking skills. The creative thinking of the
learner must be managed by grouping Brainstorming Participation in learning and more
practice Having the opportunity to seek knowledge on their own Both inside and outside
educational institutions And jointly create the work of the learner In the part of the
instructor, the role of being in the classroom is reduced. The students have the power to
manage themselves. Can find new knowledge as desired, students must work as a group
resulting in the learner having a new idea, flexible and far more than just thinking Consistent
with the 21st century learning skills.

Keywords : Problem–Based Learning, Creative Thinking Skills, 21st century learning skills

บทนา
การจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem-based learning หรือ PBL) เป็นรูปแบบการ

เรียนรู้ท่ีให้ผู้เรียนสร้างความรู้ใหม่ จากการใช้ปัญหาท่ีเกิดข้ึนในโลกแห่งความเป็นจริงเป็นบริบท
(context) ของการเรียนรู้ เพ่ือให้ผู้เรียนเกิดทักษะในการคิดวิเคราะห์และคิดแก้ปัญหา รวมท้ังได้ความรู้

410
ตามศาสตร์ในสาขาวิชาที่ตนศึกษาด้วย การเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานจึงเป็นผลมาจากกระบวนการ
ทางานท่ีต้องอาศัยความเข้าใจและการแก้ไขปัญหาเป็นหลัก (มัณฑรา ธรรมบุศย์, 2545) ซึ่งยุทธวิธีในการ
จัดการเรียนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ เพื่อส่งเสริมพัฒนาทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณและทักษะการ
แก้ปัญหา โดยจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ใช้ปัญหาเป็นหลัก เพ่ือกระตุ้นจูงใจ เร้าความสนใจเพื่อเรียนรู้สร้าง
ความรู้ด้วยตนเอง ซ่ึงปัญหานั้นจะต้องเป็นปัญหาท่ีมาจากตัวผู้เรียน เป็นปัญหาท่ีผู้เรียนสนใจ ต้องการ
แสวงหาค้นคว้าหาคาตอบหาเหตุผลมาแก้ปัญหาหรือทาให้ปัญหานั้นชัดเจนจนมองเห็นแนวทางแก้ไข ซ่ึง
จะทาให้เกิดการเรียนรู้สามารถผสมผสานความรู้นัน้ ไปประยุกต์ใชไ้ ด้อย่างมีประสิทธิภาพ (วัชรา เล่าเรียน
ดี, 2556) การจัดการเรียนการสอนรูปแบบการใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem-based Learning: PBL) ซึ่ง
เป็นส่วนหนึ่งของการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนด้านการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ รู้จักใช้เหตุผลและ
วิจารณญาณในการตัดสินใจ สานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษาจึงได้ศึกษาติดตามผลการพัฒนาการ
จัดการเรียนการสอนโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem-Based Learning: PBL) ของมหาวิทยาลัยวลัย
ลกั ษณ์ซงึ่ ไดท้ ดลองพัฒนากับครูในโรงเรียนที่จังหวดั นครศรีธรรมราช จานวน 2 โรงเรียน พบว่าการจัดการ
เรียนการสอนโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (PBL) เป็นรูปแบบการสอนแนวทางหน่ึงท่ีจะนาไปสู่การปฏิรูป
การศกึ ษาอย่างแท้จรงิ ท่จี ะส่งผลทาให้การเรยี นการสอนของครเู ปลยี่ นไปเนน้ ผเู้ รียนเป็นสาคัญ โดยครแู ละ
นกั เรียนมคี วามพึงพอใจในการจัดการเรียนรู้แบบ PBL ท่ีทาให้นกั เรียนได้ร่วมกันคิด รว่ มกนั ทางานเป็นทีม
กล้าพูด กล้าแสดงออกมากข้ึน นักเรียนมีสามารถคิดเป็นระบบมากข้ึน รู้จักคิดอย่างมีเหตุผลในการ
ตัดสินใจแก้ปัญหาตามสถานการณ์ที่ครูและนักเรียนร่วมกันกาหนด หรือปัญหาในชีวิตประจาวัน จาก
การศึกษางานวิจัยท้ังในประเทศและต่างประเทศยังพบว่า การจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานนั้น
สามารถพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ความสามารถในการแก้ปัญหาความสามารถในการให้เหตุผล
ความคิดรวบยอดทางคณิตศาสตร์ การพัฒนาตนเองของผู้เรียน กระบวนการทางานเป็นกลุ่ม สร้างแรง
กระตุ้นให้กับผู้เรียน ทาให้กลุ่มผู้เรียนสามารถควบคุมแนวทางเพื่อที่จะค้นหาคาตอบด้วยตัวเองได้ ซ่ึงการ
ที่ผู้เรียนต้องหาความรู้อย่างต่อเน่ือง จะทาให้การเรียนรู้เป็นกระบวนการตลอดชีวิต (lifelong process)
เพราะความรู้เก่าที่ผู้เรียนมีอยู่จะถูกนามาเช่ือมโยงให้เข้ากับความรู้ใหม่ตลอดเวลาจึงทาให้ผู้เรียนเป็นคน
ไมล่ า้ หลงั ทันเหตกุ ารณ์ ทนั โลก สามารถปรับตวั ให้เข้ากับสงั คมโลกในอนาคตได้อย่างดีท่สี ุด
ผูเ้ รียนในยุคโลกปัจจุบันยังจาเป็นจะต้องมที ักษะการคิดแก้ปัญหาเชิงสร้างสรรค์ ซง่ึ เปน็ การคิดที่
สาคัญสาหรับการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เพราะสังคมมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว สลับซับซ้อนมาก
ย่งิ ขึ้น ความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยีการสื่อสารนาไปสู่การเปล่ียนแปลงขององค์กรต่างๆ ในสังคม ทา
ให้เกิดการแข่งขันกันสูง ทุกองค์กรจึงจาเป็นต้องปรับเปล่ียนให้ทันต่อการเปล่ียนแปลงของสังคม ดังน้ัน
การพัฒนาและส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดทักษะการคิดเชิงสร้างสรรค์ จะทาให้นักเรียนมีเคร่ืองมือในการท่ีจะ
นาความรู้ ข้อมูล และสิ่งต่างๆ ท่ีได้เรียนรู้มาสร้างส่ิงใหม่ที่เหมาะสมกับความต้องการและปัญหาที่เกิดขึ้น
ท้ังในปัจจุบันและอนาคตได้เป็นอย่างดี ซึ่งสอดคล้องกับการศึกษาวิจัยของ (พินันทา ฉัตรวัฒนา, 2557)
ซ่ึงได้ศึกษาเรื่อง รูปแบบการสอนอัจฉริยะเชิงสร้างสรรค์บนเว็บเพื่อพัฒนาทักษะการแก้ปัญหาเชิง
สร้างสรรค์ และผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ซ่ึงผลของการวิจัยแสดงให้เห็นว่า รูปแบบการสอนอัจฉริยะเชิง
สร้างสรรค์บนเว็บเพื่อพัฒนาทักษะการแก้ปัญหาเชิงสร้างสรรค์และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสามารถ
ส่งเสริมการเรียนรู้และการจัดกิจกรรมการแก้ปัญหาเชิงสร้างสรรค์ให้แก่ผู้เรียนตามความสามารถทางการ
เรียนท่ีแตกต่างกัน ทั้งยังส่งเสริมพัฒนาทักษะการแก้ปัญหาเพื่อให้เกิดกระบวนการคิดท่ีสร้างสรรค์ในการ
นาไปสู่การแก้ปัญหาเชิงสร้างสรรค์ได้ ซ่ึงเป็นทักษะที่ผู้เรียนในยุคศตวรรษท่ี 21 จาเป็นต้อง มีทักษะการ
คดิ และแก้ปญั หาเชิงสร้างสรรค์

411

ผู้เรียนในยุคโลกปัจจุบันยังจาเป็นจะต้องมีทักษะการคิดและแก้ปัญหาเชิงสร้างสรรค์ (Creative
thinking) ซึ่งเป็นทักษะการคิดท่สี าคัญสาหรับการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เนอื่ งจากสังคมมีการเปล่ียนแปลง
อย่างรวดเร็ว สลับซับซ้อนมากย่ิงขึ้น ความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยีการส่ือสารนาไปสู่การเปลี่ยนแปลง
ขององค์กรต่างๆ ในสังคม ทาให้เกิดการแข่งขันกันสูง ทุกองค์กรจึงจาเป็นต้องปรับเปลี่ยนให้ทันต่อการ
เปลี่ยนแปลงของสังคม และทักษะการคิดเชิงสร้างสรรค์ จะช่วยให้ผู้เรียนมีความสามารถในการคิดได้
หลากหลายและแปลกใหม่จากเดิม โดยสามารถนาไปประยุกต์ทฤษฎี หรือหลักการได้อย่างรอบคอบและมี
ความถูกตอ้ ง จนนาไปสูก่ ารคดิ คน้ และสร้างสิง่ ประดิษฐท์ ี่แปลกใหม่หรือรูปแบบความคิดใหม่

การพฒั นาทักษะการคดิ สร้างสรรคน์ ั้น ต้องมีการดาเนินการขององค์กร และสภาพแวดล้อม และ
การบ่มเพาะองค์ความรู้ ทักษะ จากการเรียนรู้ ระดับบุคคล ประกอบกับองค์การต้องมีวิสัยทัศน์ พันธกิจ
ลักษณะองค์กร คุณค่า ความเป็นผู้นา ที่เป็นลักษณะขององค์กรนวัตกรรมท่ีมีความสั มพันธ์กับ
กระบวนการสร้างสรรค์ และการสร้างสรรค์เฉพาะบุคคล ซ่ึงเป็นสื่อกลางของความสร้างสรรค์ เพ่ือให้เกิด
ความสร้างสรรค์ระดับ บคุ คล กลมุ่ และระดับองค์กร (Mumford, 2012) ซ่งึ ทกั ษะการคดิ สร้างสรรค์ เปน็
ทักษะที่พัฒนาได้ เน่ืองจากความความคิดสร้างสรรค์สามารถเรียนรู้ได้ไม่เกี่ยวข้องกับพรสวรรค์ส่วนตัว
ไม่ได้เกิดจากแรงบันดาลใจเดียงอย่างเดียว (Edward de Bono, อา้ งถึงในสิรชิ ัย ดเี ลิศ, 2558) ดังน้ัน การ
พฒั นาสมองของผูเ้ รียนให้ใช้ได้อย่างเต็มศักยภาพ ผา่ นการจัดการเรียนการสอนน้ัน ผู้สอนจะต้องจัดอย่าง
สมดุล ให้มีการพัฒนาสมองทั้งสองซีกไปด้วยกัน ในเวลาเดียวกัน เพ่ือให้ผู้เรียนเกิดความสมดุลในการคิด
และคิดได้อย่างมีประสิทธิภาพ ไม่เอนเอียงไปในหลักการเหตุผล มากเสียจนติดอยู่ในกรอบของความคิด
แบบเดมิ และไม่ใช่การคิดด้วยการใช้จินตนาการเพ้อฝนั มากเกินไป จนไม่มีความสัมพันธ์กัน ระหวา่ งความ
ฝันกับความสมเหตุสมผล ซึ่งจะทาให้ไม่สามารถนามาปฏิบัติให้เป็นจริงได้ ฉะนั้น การพัฒนาและส่งเสริม
ให้ผเู้ รียนเกิดทักษะการคิดเชิงสรา้ งสรรค์ จะทาให้นักเรียนมเี คร่ืองมือในการที่จะนาความรู้ ขอ้ มูล และสิ่ง
ต่างๆ ทไี่ ดเ้ รยี นรู้มาสร้างส่ิงใหม่ที่เหมาะสมกับความต้องการและปัญหาที่เกิดขึ้นทั้งในปัจจุบันและอนาคต
ไดเ้ ปน็ อย่างดี

แนวคดิ ของการจัดการเรียนร้โู ดยใช้ปัญหาเปน็ ฐาน
การเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem-based Learning: PBL) หมายถึง วิธีการเรียนรู้บน
หลกั การของการใช้ปัญหาเป็นจุดเร่ิมต้นในการเชื่อมโยงความรู้ที่มีอยู่เดิม ให้ผสมผสานกับข้อมูลใหม่ แล้ว
ประมวลเป็นกับความรู้ใหม่ (Barrows, 2000) เพอ่ื ใหน้ ักศึกษาได้เรียนรู้วิธีการแก้ปัญหา โดยฝึกวิธีการคิด
เพื่อแก้ปัญหาและค้นคว้าหาความรู้ ความเข้าใจ ท้ังขั้นพื้นฐานและข้ันสูงเป็นวิธีการจัดหลักสูตรให้มี
กิจกรรมการเรียนรู้ให้เกิดข้ึนโดยอาศัยปัญหาจริงในการปฏิบัติการณ์ของวิชาชีพน้ันเป็นตัวแกน หลักสูตร
ที่สอนโดยใช้วิธีนี้เริ่มจากการให้ปัญหาที่เป็นสถานการณ์จริงแก่ผู้เรียน แทนที่การบรรยายให้ความรู้
สาขาวิชาทเ่ี กยี่ วข้องโดยผ้สู อนหลักสูตรที่ใช้ PBL จึงสอนใหน้ กั ศึกษาแสวงหาความรู้และทักษะดว้ ยตนเอง
โดยผ่านขั้นตอนการแก้ปัญหาท่ีจัดไว้ให้มีการใช้วัสดุการเรียนการสอนท่ีกาหนดไว้ในหลักสูตร และมีครู
คอยให้คาปรึกษาแนะนาโดยมีวิธีการแบ่งนักศึกษาเป็นกลุ่มเล็ก ๆ ตั้งประธานและเลขานุการของกลุ่ม
หมุนเวียนกันไป ทางานร่วมกันในการคิดคาอธิบายกลไกการเกิดของปัญหาที่ได้รับ ตั้งสมมติฐาน และ
วางแผนในการทดสอบสมมติฐานน้ัน รวมถึงวางแผนในการค้นคว้าหาความรู้เพ่ิมเติมเพ่ือนาเสนอต่อกลุ่ม
ก่อนท่ีจะสรุปกลไกของปัญหาน้ัน ผู้สอนมีหน้าที่เตรียมโจทย์ปัญหาท่ีครอบคลุมวัตถุประสงค์การเรียนรู้
จัดเตรียมทรัพยากรการเรียนรู้ช่วยสนับสนุนกระบวนการเรียนรู้ของนักศึกษาไม่ได้ทาหน้าที่ให้ความรู้หรือ
ใหข้ ้อมลู โดยตรง
การจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน เป็นกระบวนจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ผู้เรียนมีบทบาท
สาคัญในการกาหนดปัญหาที่เป็นตัวกระตุ้นให้ผู้เรียนได้ศึกษาค้นคว้าหาข้อมูลด้วยตนเองจากแหล่งเรียนรู้

412

ต่างๆ เพ่ือนาไปสู่การแก้ปัญหาโดยจะแบ่งผู้เรียนเป็นกลุ่มย่อยเพื่อช่วยกันศึกษา อภิปรายปัญหา แล้ว
นาเสนอแลกเปลี่ยนความรู้ โดยนาเอาข้อมูลและประสบการณ์ที่ผู้เรียนมีอยู่มาวิเคราะห์อย่างสร้างสรรค์
เพื่อที่จะให้ผู้เรียนได้จดจาความรู้ใหม่ไว้ได้นาน และรู้จักนาไปประยุกต์ ใช้กับสถานการณ์ต่างๆ จน
สามารถแก้ไขปัญหาท่ีพบได้ในทสี่ ดุ และมจี ุดมงุ่ หมายเพื่อชว่ ยให้นักเรียนพฒั นาการคิด การแก้ปญั หาและ
ทักษะทางปัญญา เรียนรู้บทบาทของผู้ใหญ่ โดยผ่านทางประสบการณ์จริง และพัฒนาโดยอิสระ เรียนรู้
ตามธรรมชาติ

การสอนโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem-based learning) ไม่ใช่การสอนแบบแก้ปัญหา
(Problem solving method) เพราะการสอนโดยใช้ปัญหาเป็นฐานนั้น ปัญหาท่ีเก่ียวข้องกับศาสตร์
โดยตรงของผู้เรียนต้องมาก่อน โดยปัญหาจะเป็นตัวกระตุ้นหรือนาทางให้ผู้เรียนต้องไปแสวงหาความรู้
ความเข้าใจด้วยตนเอง เพื่อจะได้ค้นพบคาตอบของปัญหานั้น กระบวนการหาความรู้ด้วยตนเองน้ีจะทาให้
ผู้เรียนเกิดทักษะในการแก้ปัญหา ดังรูปภาพท่ี 1 แสดงวงจรหลักการของการสอนโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน
(Problem-based learning) ซึ่งจะนาเสนอรายละเอียดตามหัวข้อดังต่อไปนี้

รปู ภาพที่ 1 แสดงวงจรหลักการของการสอนโดยใช้ปญั หาเป็นฐาน (Problem-based learning)

ปัญหา

นาความรูไ้ ปใช้ สง่ิ ที่เรายังไม่รคู้ ือ
อะไร

เรยี นรสู้ งิ่ ทเี่ รายังไม่รู้

ทม่ี า : มัณฑรา ธรรมบศุ ย.์ (2545, กมุ ภาพันธ์). การพัฒนาคุณภาพการเรยี นรูโ้ ดยใช้ PBL
(Problem - Based Learning). วารสารวิชาการ. 5(2) , 11-17.

ขันตอนการจัดการเรยี นรู้โดยใชป้ ัญหาเปน็ ฐาน
สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ (2550, : 6-8) ได้กล่าวถึง ขั้นตอนการ

เรียนรูโ้ ดยใช้ปัญหาเป็นฐาน ดังนี้
ขั้นที่ 1 กาหนดปัญหา เป็นข้ันท่ีผู้สอนจัดสถานการณ์ต่างๆกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดความสนใจ และ

มองเห็นปัญหา สามารถกาหนดสิ่งที่เป็นปัญหาหาท่ีผู้เรียนอยากรู้อยากเรียนได้และเกิดความสนใจที่จะ
ค้นหาคาตอบ

ข้ันที่ 2 ทาความเข้าใจกับปัญหา ผู้เรียนจะต้องทาความเข้าใจปัญหาท่ีต้องการเรียนรู้ ซ่ึงผู้เรียน
จะตอ้ งอธิบายถึงสง่ิ ต่างๆทเ่ี ก่ียวข้องกับปัญหาได้

ข้ันที่ 3 ดาเนินการศึกษาค้นคว้า ผู้เรียนกาหนดส่ิงที่ต้องเรียน ดาเนินการศึกษาค้นคว้าด้วยวิธีท่ี
หลากหลาย

ขั้นที่ 4 สังเคราะห์ความรู้ เป็นขั้น ท่ีผู้เรียนนาความรู้ที่ได้ค้นคว้ามาแลกเปล่ียนเรียนร่วมมือกัน
อภิปรายผลและสังเคราะห์ความรู้ที่ได้มาว่ามีความเหมาะสมหรือไม่เพียงใด เพียงพอกับการตรวจสอบ
สมมตฐิ านทีต่ ั้งไว้หรือไม่แล้วนาข้อมลู ท่ีได้ไปตรวจสอบสมมติฐานและแกป้ ัญหา ถ้าไมเ่ พียงพอกลุ่มจะต้อง

413
กาหนดสงิ่ ทตี่ ้องเรียนรู้เพ่ิมเติม แผนการเรียนรู้ และแหลง่ ข้อมลู แลว้ ดาเนินการศึกษาอีกครั้งหน่ึงเพื่อให้ได้
ขอ้ มลู ทีส่ มบรู ณก์ อ่ น

ขั้นที่ 5 สรุปและประเมินค่าของคาตอบ ผู้เรียนแต่ละกลุ่มสรุปผลงานของกลุ่มตัวเองและ
ประเมินผลงานว่าข้อมูลท่ีศึกษาค้นคว้ามีความเหมาะสมหรือไม่เพียงใด โดยพยายามตรวจสอบแนวคิด
ภายในกลุ่มของตนเองอยา่ งอิสระ ทุกกลุม่ ชว่ ยกนั สรุปองค์ความรู้ในภาพรวมของปญั หาอีกครั้ง

ขน้ั ท่ี 6 นาเสนอและประเมินผลงาน ผู้เรียนนาขอ้ มูลที่ได้มาจัดระบบองค์ความรู้และนาเสนอเป็น
ผลงานในรูปแบบท่ีหลากหลาย ผู้เรียนทุกกลุ่มรวมทั้ง ผู้เรียนที่เกี่ยวข้องกับปัญหาร่วมกันประเมินผลงาน
แสดงเปน็ แผนภาพข้ันตอนการเรียนรโู้ ดยใชป้ ัญหาเป็นฐาน ได้ดงั รปู ภาพที่ 2
รูปภาพท่ี 2 แสดงข้ันตอนการเรียนรโู้ ดยใชป้ ัญหาเป็นฐาน

ทีม่ า : สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ (2550, หน้า 7)

414

แนวคดิ ทฤษฎีเกย่ี วกบั การคิดเชิงสรา้ งสรรค์
ความคิดสร้างสรรค์ (creative thinking) เป็นความสามารถทางสมองของมนุษย์ที่สามารถคิดค้น

และผลิตส่ิงแปลกใหม่ที่มีคุณค่า ซ่ึงการคิดเชิงสร้างสรรค์ คือ ความคิดเชิงสร้างสรรค์เป็นจินตนาการ
ประยุกต์ (applied imagination) ซึ่งเป็นจินตนาการท่ีมนุษย์สร้างขึ้นเพ่ือแก้ปัญหายุ่งยากที่มนุษย์กาลัง
เผชิญอยู่ ซง่ึ ความคิดจินตนาการเป็นลักษณะทส่ี าคัญของความคิดเชิงสร้างสรรค์ซึ่งจะนาไปสู่การประดิษฐ์
คิดค้น และการผลิตส่ิงแปลกใหม่ แต่ผลผลิตท่ีสร้างสรรค์ไม่สามารถเกิดข้ึนจากความคิดจินตนาการเพียง
อย่างเดียวได้ ดังนั้น ความคิดเชิงสร้างสรรค์จึงเป็นความคิดจินตนาการท่ีควบคู่ไปกับความอุตสาหะจึงจะ
ทาให้งานสร้างสรรค์ข้ึนได้ (Osborn, 1963) รวมไปถึงความคิดเชิงสร้างสรรค์เป็นลักษณะความคิดอเนก
นัย (divergent thinking) ที่สามารถคิดได้หลายทาง หลายแง่ หลายมุม คิดได้กว้างไกล ซ่ึงลักษณะ
ความคิดเช่นนี้จะนาไปสู่การคิดประดิษฐ์ส่ิงแปลกใหม่ รวมถึงการคิดค้นพบแนวทางในการแก้ปัญหาอีก
มากมาย (Guilford, 1967)

การส่งเสริมและพัฒนาความคิดสร้างสรรค์
การส่งเสริมการคิดสร้างสรรค์เรียนรู้ได้ด้วยการคิด ลงมือทาด้วยความต้ังใจ มีสติมุ่งมั่น มีความ

ต้องการเร่งด่วน พยายามทางานให้สาเร็จ เกิดเป็นผลรูปธรรมจึงสามารถส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ได้
ดงั น้ี (สานกั งาน ก.พ., 2559)

1) ส่งเสริมพัฒนากรอบความคิด แบบกรอบความคิดแบบเติบโต (Growth Mindset) เพื่อความ
พยายามสร้างสรรค์และพัฒนา โดยมีความเช่ือวา่ ความฉลาด ความสามารถ และความคดิ สรา้ งสรรค์ สร้าง
ได้ด้วยการเรียนรู้ จึงให้ความสาคัญกับความเพียรพยายามเอาชนะปัญหา มองปัญหา และความท้าทาย
เปิดโอกาสในการเรียนรู้และพัฒนาตัวแบบ/แบบอย่าง ของการมีกรอบความคิดแบบเติบโต ไม่ย่อท้อต่อ
อุปสรรคจงึ เป็นเรอื่ งสาคัญและจาเป็นในการเรียนรู้

2) ส่งเสริมพัฒนากระบวนการคิด กิลฟอร์ด (1956, 1963) ทอร์แรนซ์ เน้นกระบวนการคิด
สร้างสรรค์ด้วยการคิดริเร่ิม คิดคล่องตัว คิดยืดหยุ่น คิดละเอียดลออ คิดแก้ปัญหา และการคิดไม่ยอม
จานนต่อปัญหา (Resistance To Premature Closure) เน้นกระบวนการคิด (Guiford J.P. 1967 &
Torrance, 1963 อ้างในสานกั งาน ก.พ., 2559)

3) ส่งเสริมการพัฒนาบรรยากาศสร้างสรรค์ โรเจอร์ส (Rogers, 1959 อ้างในสานักงาน ก.พ.,
2559) ได้เสนอหลักการจัดบรรยากาศที่ปลอดภัย อบอุ่น ม่ันคง ได้รับการยอมรับในคุณค่าของบุคคล
ปราศจากการข่มขู่ ทาใหเ้ กดิ ความกลวั การเปรยี บเทยี บ การได้รับตาหนิและส่งเสริมความเปน็ อสิ ระ ได้รบั
การสนับสนุนให้กล้าคิด กล้าทา กล้าแสดงความคิดเห็น และความรู้สึกที่เป็นจริง และมีการเสริมแรงให้
กาลังใจ แสดงความช่ืนชมความคิดผลงานก็จะทาให้เกิดความรู้สึกท่ีดี ม่ันใจ และกล้าแสดงความคิด
สร้างสรรค์

4) สง่ เสรมิ การสร้างผลงาน (Product) ทอร์แรน (Torrance, 1965 อ้างในสานกั งาน ก.พ., 2559)
เน้นการสง่ เสริมกระบวนการคิด คิดให้ได้ท้ังปริมาณ และคุณภาพ แนะนาความคิดลงสู่การปฏิบัติลงมือทา
แบบ Learning by Doing เพราะการปฏิบัติซ้าๆ ทาให้เกิดความคงทนในการเรียนรู้ สามารถสร้างชิ้นงาน
และนาชิ้นงานไปใช้ให้เกิดประโยชน์ เช่น ส่งเสริมให้มีการประกวดการสร้างหรือการออกแบบผลิตภัณฑ์
และนาผลงานที่คิดได้ไปใช้ทาเป็นสัญลักษณ์ของกลุ่มหรือนาไปใช้เป็นลวดลายของเสื้อ ถ้วยชาม เป็นต้น
จะทาให้ผผู้ ลติ เกิดกาลังใจ เกิดความท้าทายในการคดิ สิ่งใหม่ๆ ต่อไป

415

5) ส่งเสริมพัฒนาการใช้คาถามกระตุ้นความคิด (Provocative question) พาสัน (Parson, 1965)
ได้เสนอให้กระตุ้นความคิดด้วยการต้ังคาถาม คาถามที่ขึ้นต้นด้วย 5 W 1 H คือ What, When, Were,
Why, Who และ How จะทาให้คนกล้าคิดกล้าตอบ เพราะไม่มีคาตอบท่ีถูกต้องเพียงคาตอบเดียว แต่มี
คาตอบท่เี ปน็ ไปได้มากกวา่ หนึง่ คาตอบหรือหลายๆ คาตอบ ซ่ึงจะสง่ เสริมให้คนกล้าคิด กล้าแสดงออกยิ่งขึ้น

การประเมินผลลัพธก์ ารเรียนรู้
การประเมินผลการเรียนแบบใช้ปัญหาเป็นฐาน ต้องมีท้ังการประเมินผลความก้าวหน้าระหว่าง

เรยี น และการประเมินผลเมื่อสิน้ สุดการเรียนด้วยวิธที ่หี ลากหลาย และควรเลือกใช้เทคนิคและเคร่ืองมือใน
การประเมินที่หลากหลาย โดยต้องสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของหลักสูตรและวัตถุประสงค์รายวิชา รวม
ไปถึงสอดคล้องกับเกณฑ์การประเมิน เพื่อให้สามารถประเมินได้ครอบคลุมทุกด้าน และนามาผลการ
ประเมินมาปรับปรุงข้อบกพร่องในการจัดการเรียนการสอนต่อไป ซ่ึงการประเมินผลลัพธ์การเรียนรู้
(learning outcome) ในการเรียนการสอนโดยใช้ปญั หาเปน็ ฐาน ควรประกอบไปด้วย 3 สว่ นไดแ้ ก่ ความรู้
(knowledge) ทักษะ (skill) และเจตคติ (attitude) โดยใช้การวัดผลตามสภาพความเป็นจริง (Authentic
Assessment) และควรมกี ารวัดผลท่ีหลากหลายสมยั ก่อนการวัดผลครูต้องเป็นผู้ดาเนินการและจัดการทุก
อย่าง แต่วิธีการวัดผลสมัยใหม่ต้องให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการประเมินด้วย เช่น ร่วมกาหนดเกณฑ์การ
วดั ผล การประเมินตนเอง เปน็ ต้น รายละเอยี ดดังตารางท่ี 1

ตารางท่ี 1 การประเมินผลลัพธก์ ารเรียนรู้

ความรู้ ทกั ษะ เจตคติ

ควรประเมินระดับการแก้ปัญหาไม่ ควรประเมินทักษะตอ่ ไปนี้ ควรประเมินความรับผิดชอบต่อ

เนน้ ความจา และประเมิน การ - ทักษะการเรียนรู้ด้วยตนเอง (self- หนา้ ที่ ความซ่ือสตั ย์ การตรงต่อเวลา

เรียนรู้ควบคู่ไปกับการประเมิน study) มนุษยสัมพนั ธ์กับผอู้ ่ืน ความใฝร่ ู้

ความรู้ - ทักษะการใช้เหตุผล (reasoning

skill)

- ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ

(critical thinking)

- ทักษะการคิดเชิงสร้างสรรค์

(creative thinking)

- ทักษะในการตัดสินใจ (decision

making)

- ทักษะในกระบวนการกลุ่ม (group

process) เชน่

การส่ือสาร ปฏิสัมพันธ์ในกลุ่ม การมี

สว่ นร่วม

- ทกั ษะในการทาหัตถการ

- ทักษะในการประเมินตนเอง (self-

assessment)

ทีม่ า : “Academic and social integration and study progress in problem based learning,” by
S., Severiens, & H., Schmidt, 2009, Higher Education, 58(1), 59-69

416

การจัดการเรียนรู้แบบปัญหาเป็นฐาน เพ่ือส่งเสริมทักษะการคิดเชิงสร้างสรรค์ ผู้สอนควรให้ผล
ย้อนกลับ (feedback) กับผู้เรียนตลอดเวลามีการประเมินขณะเข้ากลุ่มและหลังส้ินสุดการเรียนการสอน
ความรู้ และเจตคตทิ ่ีควรประเมินในการเรียนการสอนโดยใชป้ ัญหาเป็นฐาน ประกอบไปดว้ ย 11 ด้านได้แก่
1) ความรู้ 2) การทางานเป็นทีม 3) การทาหน้าท่ีประธาน 4) การฟัง 5) การจดบันทึก 6) ทักษะการ
แก้ปัญหา 7) ความร่วมมือ 8) เคารพความเห็นของผู้อื่น 9) การประเมินวรรณกรรมเชิงวิจารณ์ 10) การ
เรียนโดยการกากับตนเอง และ 11) ทักษะการนาเสนอ (Woods, 1994) สอดคล้องกับแนวความคิดของ
(ทิศนา แขมมณี, 2561) ท่ีกล่าวว่า การจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นหลักการจัดสภาพการณ์ของการ
เรยี นการสอนท่ใี ชป้ ัญหาเป็นเครื่องมือในการช่วยใหน้ ักเรียนเกิดการเรยี นรู้ตามเป้าหมายและสอดคล้องกับ
งานวิจัยของ (เมริกา ตรรกวาทการ, 2556) ทีพ่ บวา่ การมุง่ พัฒนาทักษะความคิดสร้างสรรคโ์ ดยเฉพาะนั้น
การแสดงความคิดเห็นของนักเรียนจึงไม่จากัดอยู่ในกรอบของเนื้อหาวิชา นักเรยี นไมต่ ้องกังวลถึงความถูก
ผิดของคาตอบตามหลักวิชาการ จึงทาให้นักเรียนได้รับการส่งเสริมทักษะการคิดสร้างสรรค์อย่างเต็มที่
เพราะเมื่อบทบาทเน้ือหารายวิชาเป็นหลัก บทบาทการส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ก็จะเป็นรองลงไป และ
นอกจากนี้การจัดการเรียนรูโ้ ดยใช้ปัญหาเป็นฐาน ยงั มีกิจกรรมและส่ือการเรียนรู้ที่หลากหลาย โดยเฉพาะ
สื่อประเภทไฟล์คอมพิวเตอร์ที่บรรจุเน้ือหาเป็นภาพยนตร์ส้ัน (คลิปวิดีโอ) ท่ีสามารถเร้าความสนใจ
นักเรียนเรียนได้เป็นอย่างดี ซ่ึงการใช้กิจกรรมที่หลากหลายในการส่งเสริมทักษะการคิดสร้างสรรค์นั้น จะ
สามารถตอบสนองต่อลีลาการเรียนรู้หรือสไตล์การเรียนรู้ของผู้เรียนท่ีมีความแตกต่างกันไป ก็จะช่วยให้
นักเรยี นไมเ่ กดิ ความเบ่ือหนา่ ย เพิม่ ประสทิ ธิภาพในการพัฒนาการคดิ ไดด้ ยี ิ่งขึ้น

บทสรุป
โดยภาพรวมแล้วรูปแบบการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน หรือ PBL เป็นรูปแบบการ

จัดการเรียนรู้ท่ีสามารถนามาใช้ในการพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียนที่ดีมากท่ีสุดวิธีหน่ึง คือ ทาให้
ผู้เรียนเกิดทักษะในการคิดวิเคราะห์ คิดแก้ปัญหา และคิดอย่างสร้างสรรค์ ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียน
และได้ลงมือปฏิบัติมากขึ้น นอกจากนี้ยังเปิดโอกาสออกไปแสวงหาความรู้ด้วยตนเองจากแหล่งทรัพยากร
เรียนรู้ ทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษาในส่วนของผู้สอนก็จะลดบทบาทของการเป็นผู้ควบคุมในช้ัน
เรยี นลง แต่ในทางกลบั กันผู้เรยี นจะมีอานาจในการจัดการควบคุมตนเอง สว่ นจะหาความรู้ใหม่ได้มากหรือ
น้อยเพียงใดก็แล้วแต่ความประสงค์ของผู้เรียนเนื่องจากผู้เรียนเป็นฝ่ายรับผิดชอบการเรียนรู้ของตนเอง
อีกทง้ั ยังเปน็ การจดั การเรียนรู้ท่ีเน้นใหผ้ ู้เรยี นมีโอกาสเรียนรู้ด้วยตนเอง โดยใชป้ ัญหาเปน็ เคร่ืองกระตุ้นให้
ผู้เรียนเกิดความต้องการท่ีจะศึกษาหาความรู้ และคาตอบด้วยตนเอง โดยใช้กระบวนการแก้ปัญหาที่ช่วย
ให้นักเรียนคิดเป็นทาเป็นและแก้ปัญหาเป็น โดยแบ่งผู้เรียนออกเป็นกลุ่มเพื่อแก้ปัญหาจากสถานการณ์ที่
ครูกาหนดให้ตามข้นั ตอนกระบวนการแก้ปัญหาเชิงสร้างสรรค์อย่างอิสระในเวลาที่กาหนดและคาตอบของ
แต่ละคนจะได้รับการยอมรับทาให้ผู้เรียนเกิดทักษะการกล้าแสดงความคิดเห็น และผู้เรียนมีส่วนร่วมใน
การจัดการเรียนรู้ได้อย่างเต็มท่ีทาให้บรรยากาศในการเรียนการสอนเต็มไปด้วยความสนุกสนานและเป็น
กันเอง เมอ่ื ผเู้ รยี นได้รับการฝึกใหค้ ิดแกป้ ัญหาอย่างมีระบบและมีบรรยากาศเป็นตวั กระตุ้นให้เกิดแรงจูงใจ
ในการคิดซึ่งส่งผลให้ผู้เรียนมีพัฒนาการทางด้านความคิดเชิงสร้างสรรค์ตามไปด้วย ซึ่งสอดคล้องกับ
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 และหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551 และนอกจากน้ียังเป็นแนวทางในการพัฒนาทักษะการเรียนรู้แห่งศตวรรษท่ี 21 ที่เน้น

417

ผู้เรียนเป็นสาคัญ ซ่ึงเม่ือผู้เรียนมีทักษะในศตวรรษท่ี 21 ทางด้านการคิดเชิงสร้างสรรค์และนวัตกรรม จะ
ทาให้เป็นกาลังสาคัญของชาติ และประเทศชาติจะสามารถแข่งขันทางเศรษฐกจิ กับนานชาติได้

แหลง่ อา้ งอิง
ทิศนา แขมมณี. (2561). ศาสตร์การสอนองค์ความรู้เพ่ือการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นประสิทธิภาพ

(พิมพ์ครัง้ ที่ 22). กรงุ เทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย.
พินันทา ฉัตรวัฒนา. (2557). รูปแบบการสอนอัจฉริยะเชิงสร้างสรรค์บนเว็บเพื่อพัฒนาทักษะการ

แก้ปัญหาเชิงสร้างสรรค์ และผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยฟาร์อีส
เทอรน์ . 8(2), 87-101.
มัณฑรา ธรรมบุศย์. (2545). การพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ โดยใช้ PBL (Problem Based Learning).
วารสารวชิ าการ. 5(2), 11-17.
เมริกา ตรรกวาทการ. (2556). การพัฒนาชุดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมทักษะการคิดสร้างสรรค์สาหรับนกั เรียน
ประถมศึกษา. คลังปัญญาจุฬาฯ เพ่ือประเทศไทย (CUIR Chulalongkorn University
Intellectual Repository).
วัชรา เล่าเรียนดี. (2556). รูปแบบและกลยุทธ์การจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการคิด (พิมพ์คร้ังท่ี10)
นครปฐม: มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร.์
สานักงาน ก.พ. (2559). หนังสืออิเลก็ ทรอนิกส์ การคดิ เชงิ สรา้ งสรรค์. สืบค้นเมื่อ เมษายน 25, 2561, จาก
https://www.ocsc.go.th/sites/default/files/document/ocsc-2017-eb13.pdf
สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ. (2550). แนวทางการจัดการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียน
เป็นสาคัญ การจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์
การเกษตรแห่งประเทศไทย จากัด.
สิริชัย ดีเลิศ. (2558). กระบวนการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ในสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษาที่มีอัต
ลักษณ์เชิงสร้างสรรค์. วารสาร Veridian E-Journal. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.
8(2), 1341-1360.
Barrow, H. S. (2000). Problem-based learning applied to Medical Education. Revised edition.
Illinois: School of Medicine, Southern Illinois University.
Guiford J.P. (1967). The Nature of Human Intelligence. New York: McGraw” Hill.
Hmelo-Silver, C. E. & Barrows, H. S. (2006). Goals and strategies of a problem-based earning
facilitator. Interdisciplinary Journal of Problem-based Learning, 1. 21-39.
Mumford, D. Michael. (2012). Hanbook of Organizational Creativity. United State of America:
Elsevier.
Osborn, A. (1963). Applied imagination, principles, and procedures of creative problems
solving. 3rd ed. New York: Charles Scribers.
Severiens, S., & Schmidt, H. (2009). Academic and social integration and study progress in
problem based learning. Higher Education, 58(1), 59-69.
Woods, D. R. (1994). Problem-based learning: How to gain the most from PBL. Hamilton:
Woods Publisher.

418

แนวทางการพฒั นาการบรหิ ารงานวิชาการในโรงเรยี นที่มีนกั เรยี นชนเผ่า
ของโรงเรยี นแม่วินสามคั คี อาเภอแมว่ าง จังหวดั เชยี งใหม่

GUILDLINE TO DEVELOPMENTOF ACADEMIC ADMINISTRATION IN SCHOOL WITH
HILLTRIBE STUDENTS IN MAEWINSAMAKKEE SCHOOL MAEWANG SISTRICT,
CHIANGMAI PROVINCE

สมั พันธ์ ครี ไี พรภักดี
นกั ศึกษาคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวทิ ยาลัย

บทคดั ย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาสภาพปัญหาการบริหารงานวิชาการด้านการจัดการ

เรียนการสอนในโรงเรียนท่ีมีนักเรียนชนเผ่าของโรงเรียนแม่วินสามัคคี อาเภอแม่วาง จังหวัดเชียงใหม่ 2)
เพ่ือศึกษาแนวทางการพัฒนาการบริหารงานวิชาการด้านการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนที่มีนักเรียน
ชนเผา่ ของโรงเรียนแมว่ ินสามัคคี อาเภอแม่วาง จงั หวัดเชียงใหม่ กลุ่มผใู้ หข้ ้อมูลได้แก่ผู้ให้ข้อมูลหลัก คอื
หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการโรงเรียนแม่วินสามัคคี อาเภอแม่วาง จังหวัดเชียงใหม่ จานวน 1 คน ผู้ให้ข้อมูล
รอง ได้แก่ ครโู รงเรยี นแม่วนิ สามัคคี จานวน 8 คนไดแ้ ก่ ครูหัวหน้าฝา่ ยงาน จานวน 4 คนและ ครหู ัวหน้า
ระดับชั้น จานวน 4 คน ทาการรวบรวมข้อมูลจากเอกสารการสังเกตการสัมภาษณ์แบบเจาะลึกการ
วิเคราะห์ SWOT Analysis และการสนทนากลุ่มผู้วิจัยได้แยกแยะข้อมูลให้เป็นหมวดหมู่ และทาการ
วเิ คราะหเ์ ชิงพรรณนาด้วยวิธบี รรยาย และอภปิ ราย

ผลการวิจัย พบว่า 1) สภาพการจัดการเรียนการสอน สภาพการบริหารงานวิชาการ และบริบท
ของโรงเรียนแม่วินสามัคคีอาเภอแม่วางจังหวัดเชียงใหม่ ในช่วง 3 ปีท่ีผ่านมานั้น ยังมีปัญหาหลายเรื่อง
เชน่ ผู้บรหิ ารไม่ค่อยให้ความสาคัญในด้านวิชาการ จึงทาใหร้ ะบบการบริหารงานภายในโรงเรียนไมร่ าบร่ืน
มีปญั หาเกี่ยวกับการพัฒนาการบริหารงานวชิ าการของครู มาอยา่ งต่อเน่ือง ไม่มีการนิเทศภายใน และไม่มี
แนวทางในการพัฒนาการบริหารงานวิชาการ จงึ ส่งผลเสียต่อโรงเรียนตลอดมา 2) แนวทางการพัฒนาการ
บริหารงานวิชาการในโรงเรียนที่มีนักเรียนชนเผ่าของโรงเรียนแม่วินสามัคคี อาเภอแม่วาง จังหวัด
เชียงใหม่ ประกอบด้วย1.ครูต้องมีความรับผิดชอบ มีความมุ่งม่ัน ต้ังใจในการพัฒนาการจัดการเรียนการ
สอน เมื่อรู้จุดอ่อนของการจัดการเรียนการสอนที่ไม่ประสบผลสาเร็จ จะต้องดาเนินการแก้ไขทันที และ
ต้องเอาจริงเอาจัง 2. ความเอาใจใส่ของผู้บริหารโดยการพัฒนาบุคลากรให้มีความรู้และกาหนดขอบข่าย
งานให้ชัดเจนและเน้น การทางานเป็นทีม

คาสาคญั : แนวทางการพัฒนา, การบริหารงานวิชาการ, โรงเรียนทม่ี นี ักเรียนชนเผา่

ABSTRACT
The Purposes of this research were 1) to study the problems of academic

administration in teaching and learning in school with hill tribe students of Maewinsamakkee
School, Maewang District , Chiang Mai Province and 2) to study guidelines to develop
academic administration in teaching and learning in school with hill tribe students of
Maewinsamakkee School, Maewang District , Chiang Mai Province. The data was collected
by the primary informant, the head of academic group of Maewinsamakkee School, and by
the secondary informant including four heads of department and four master class teachers

419

of Maewinsamakkee School. The data was collected from documents, observation, in-
depth interviews, SWOT analysis, and group discussions, classified into categories and then
analyzed by using descriptive and discussion methods.

The research findings were as follows: 1) In the past 3 years, there are found many
problems in teaching and learning management, academic administration and the context
of Maewinsamakkee School, Maewang District , Chiang Mai, such as administrator did not
give interest in academic field. This causes non-smoothness in the school management
system, problems dealing the development of teachers’ academic administration
continuously. There is also no internal supervision and no guidelines to develop academic
administration, so these cause negative impact on the school. 2) Guidelines of development
the academic administration in school with hill tribe students of of Maewinsamakkee
School, Maewang District , Chiang Mai, consist of 1) teachers must be responsible,
determinate and intend to develop teaching and learning. If there are the weaknesses of
unsuccessful teaching and learning, they must be resolved immediately and seriously. 2)
The administrator should care on the development of teachers, define the scope of work
clearly and focus on teamwork.

Keywords: Guidelines to development, academic administration

บทนา
การศึกษาเป็นกระบวนการสาคัญในการพัฒนามนุษย์และผลลัพธ์ที่เกิดจากการได้รับการศึกษาท่ี

ดีและมีคุณภาพเป็นปัจจัยเก้ือหนนุ ให้มนุษย์ดารงชีวิตอยู่ได้อย่างสงบสุข และทรพั ยากรมนุษย์ท่ีมีคุณภาพ
จะส่งผลโดยตรงต่อการพัฒนาประเทศ และสังคม ใหส้ ูงขนึ้ การศกึ ษาเป็นปัจจัยหลักที่สาคัญในการพัฒนา
ประเทศให้มีความเจริญก้าวหน้าในทุกๆ ด้านอย่างมีคุณภาพ การจัดการศึกษาระดับพ้ืนฐานจาเป็นอย่าง
ยิ่งที่ต้องจัดให้มีคุณภาพอย่างทั่วถึง ให้เยาวชนได้รับการศึกษาที่ดีและมีคุณภาพอย่างทัดเทียมกันไม่ว่า
เยาวชนเหลา่ นนั้ จะมชี าตกิ าเนิด มีภาษาท้องถิ่นของตนเอง มีวัฒนธรรมประเพณีของกลุ่มชนของตนเอง ไม่
ว่าจะอยู่อาศัยในท้องถิ่นที่ห่างไกลเพียงใดก็ตาม ย่อมที่จะได้รับการให้บริการและการจัดการศึกษาท่ีเท่า
เทียมกับเยาวชนท่วั ประเทศ ดังท่ี อทุ ยั บุญประเสรฐิ (2543 : 25) กลา่ วไวว้ ่า งานวชิ าการเป็นงานที่สาคัญ
เพราะถือว่าเป็นงานหลักในการบริหารสถานศึกษาและถือเป็นหัวใจของการจัดการศึกษา รวมถึงเป็นด้าน
ท่ีมีการประเมินมาตรฐานจากสานักงานประเมินมาตรฐานการศึกษาการจัดการศึกษาการบริหารงาน
วชิ าการเปน็ หวั ใจสาคัญท่ีสุดของการบรหิ ารสถานศึกษา

โรงเรียนแม่วินสามัคคี มีความหลากหลายของนักเรียนที่มาจากชาติพันธุ์ที่แตกต่างกันในโรงเรียน
อันประกอบด้วย กลุ่มชาติพันธ์ต่างๆ เช่น กลุ่มชนพื้นเมือง กลุ่มชาติพันธ์ุม้ง กลุ่มชาติพันธุ์ ลาหู่และกลุ่ม
ชาติพันธุ์กะเหรี่ยงส่งผลให้นักเรียนมีความแตกต่างกันทั้งวัฒนธรรม ประเพณี ความคิด ความเชื่อและ
ภาษาทาให้การจัดการศึกษามีปัญหามากมายส่งผลกระทบต่อกระบวนการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ซ่ึงทา
ให้เกิดการเรียนรู้ที่ล่าช้าจนทาให้ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนในหลายๆ สาระการเรียนรู้ต่าผู้วิจัยจึงมีความ
สนใจศึกษาสภาพและปัญหาการบริหารงานวิชาการในโรงเรียนท่ีมีนักเรียนชนเผ่าเพื่อจะได้นาไปเป็น

420

แนวทางในการพัฒนาปรับปรุงการบริหารงานวิชาการในโรงเรียน ท่ีมีนักเรียนชนเผ่าเพ่ือทาให้ผลสัมฤทธ์ิ
ทางการเรยี นของนักเรยี นเปน็ ไปตามมาตรฐานการศึกษาท่มี ุ่งหวังไว้

วตั ถุประสงคข์ องการวิจัย
1. เพ่ือศึกษาสภาพปัญหาการบริหารงานวิชาการด้านการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนที่มี

นกั เรียนชนเผา่ ของโรงเรียนแม่วนิ สามคั คี อาเภอแมว่ าง จงั หวดั เชยี งใหม่
2. เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาการบริหารงานวชิ าการด้านการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนที่

มีนกั เรียนชนเผา่ ของโรงเรยี นแม่วนิ สามัคคี อาเภอแม่วาง จังหวดั เชยี งใหม่

วิธีดาเนินการวิจัย
กลุ่มผู้ให้ข้อมูล : ได้แก่ ผู้ให้ข้อมูลหลัก คือ ผู้บริหารสถานศึกษาโรงเรียนแม่วินสามัคคี จานวน 1

คน และผ้ใู หข้ ้อมลู รอง ได้แก่ ครูโรงเรียนแม่วินสามัคคี จานวน 8 คน ไดแ้ ก่ ครหู ัวหนา้ ฝ่ายงาน จานวน 4
คนและ ครหู วั หน้าระดับช้ัน จานวน 4 คน

เครื่องมือท่ีใช้ในการวิจัย : การวิจัยในครั้งน้ี ผู้วิจัยได้กาหนดเครื่องมือในการศึกษา ด้วยระเบียบ
วิธีวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) โดยใช้การศึกษาเอกสาร การสังเกต การสัมภาษณ์แบบ
เจาะลกึ การวเิ คราะห์ SWOT Analysis และการสนทนากลุ่ม (Focus Group Discussion)

การวเิ คราะห์ข้อมลู : ทาการวเิ คราะห์เชิงพรรณนาดว้ ยวธิ ีบรรยาย และอภิปราย

ขอบเขตของการวจิ ัย
1. ขอบเขตดา้ นเนื้อหา
เพื่อตอบวัตถุประสงค์ของการวิจัย จึงศึกษาเนื้อหา ดังต่อไปน้ี 1. ศึกษาสภาพปัญหาการ

บรหิ ารงานวิชาการดา้ นการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนแม่วินสามัคคี โดยศึกษาสภาพการบริหารงาน
วิชาการ การจัดการเรียนการสอนของครู และสภาพปัญหา 2. ศึกษาแนวทางการพัฒนาการบริหารงาน
วชิ าการในโรงเรยี นท่มี นี ักเรียนชนเผา่ ของโรงเรียนแมว่ ินสามคั คี อาเภอแมว่ าง จังหวดั เชียงใหม่

2. ขอบเขตด้านประชากร
กลุ่มผู้ให้ข้อมูลที่ใช้ในการวิจัยคร้ังน้ี 1. ผู้ให้ข้อมูลหลักได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษาโรงเรียนแม่วิน
สามัคคี จานวน 1 คน 2. ผู้ให้ข้อมูลรอง ได้แก่ ครูโรงเรียนแม่วินสามัคคี จานวน 8 คน ได้แก่ ครูหัวหน้า
ฝ่ายงาน จานวน 4 คนและ ครูหวั หนา้ ระดบั ชัน้ จานวน 4 คน

นิยามศัพทเ์ ฉพาะในการวจิ ัย
1. แนวทางการพัฒนา หมายถึง การเปลี่ยนแปลงท่ีดีขึ้น เป็นกระบวนการของการเปล่ียนแปลงที่

มีการวางแผนไว้แล้ว คือการทาให้ลักษณะเดิมเปล่ียนไปโดยมุ่งหมายว่า ลักษณะใหม่ที่เข้ามาแทนที่น้ันจะ
ดีกว่าลักษณะเก่า เพอ่ื ใชใ้ นการพฒั นาโรงเรียนแม่วินสามัคคี อาเภอแมว่ าง จงั หวัดเชียงใหม่

2. โรงเรียนท่ีมีนักเรียนชนเผ่า หมายถึง การจัดระบบทางการศึกษาท่ีเป็นไปตามนโยบายของรัฐ
ตามพระราชบัญญัติการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขปรับปรุง พ.ศ. 2545 เน้นการศึกษาสงเคราะห์
ให้กับเด็กชาติพันธ์ุที่เป็นกลุ่มด้อยโอกาส ท่ีมีแหล่งพานักและเข้ารับการศึกษาในโรงเรียนพื้นท่ีทุรกันดาร

421

และพ้ืนท่ีชายขอบ โดยเฉพาะกลุ่มชาติพันธุ์ใน 8 จังหวัดภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย ซ่ึงสอดคล้อง
กบั โรงเรียนแม่วินสามคั คี อาเภอแม่วาง จงั หวดั เชียงใหม่

3. โรงเรียนแม่วินสามัคคี หมายถึง โรงเรียนแม่วินสามัคคี ต้ังอยู่ 113 หมู่ที่ 11 ตาบลแม่วิน
อาเภอแมว่ าง จงั หวัดเชยี งใหม่ สังกดั สานกั งานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 4

4. นักเรียนชนเผ่า หมายถึง นักเรียนท่ีมีชาติกาเนดิ เป็นกลมุ่ ชาติพันธุต์ ่างๆ เช่น กลุ่มชาติพันธ์ุม้ง
กลมุ่ ชาตพิ ันธุ์ลาหู่ และกลมุ่ ชาติพนั ธุก์ ะเหร่ียง ทีก่ าลังเรียนในโรงเรยี นแมว่ ินสามัคคี อาเภอแมว่ าง จังหวัด
เชียงใหม่

5. การบริหารงานวิชาการ หมายถึง การบริหารกิจกรรมทุกชนิดในสถานศึกษา หรือโรงเรียน
เก่ียวกับการปรับปรุงพัฒนาการเรียนการสอนให้ได้ผลดี และมีประสิทธิภาพท่ีสุด เพราะเป็นหน้าที่ของ
สถานศึกษาทุกแห่ง คือ การให้ความรู้ทางด้านวิชาการแก่ผู้เรียนในโรงเรียนแม่วินสามัคคี อาเภอแม่วาง
จังหวัดเชยี งใหม่

6. การบริหารงานวิชาการด้านการจัดการเรียนการสอนโรงเรียน หมายถึง การบริหารจัดให้มีการ
นเิ ทศการเรียนการสอนแก่ครูในกลุ่มสาระต่าง ๆ ส่งเสริมใหม้ ีการพัฒนาครู เพื่อพัฒนากระบวนการเรียนรู้
ตามความเหมาะสม ส่งเสรมิ ให้มกี ารพัฒนาครู โดยการจดั อบรมสมั มนาศกึ ษาดูงานตามสถาบันต่าง ๆ เพ่ือ
นามาพฒั นาการเรียนการสอนในโรงเรียนแมว่ นิ สามัคคี อาเภอแมว่ าง จงั หวดั เชยี งใหม่

7. สภาพการบริหารงานวิชาการด้านการจัดการเรียนการสอน หมายถึง การบริหาร จัดการ
กจิ กรรมต่างๆท่ีเกี่ยวข้องกบั การปรับปรุงพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนแมว่ ินสามัคคี
อาเภอแมว่ าง จังหวดั เชยี งใหม่

8. ปัญหาการบริหารงานวิชาการด้านการจัดการเรียนการสอน หมายถึง อุปสรรค ข้อขัดข้อง
ความไม่พร้อมในการดาเนินกิจกรรมด้านต่างๆ ท่ีเก่ยี วกับการปรับปรุงพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนการ
สอนในโรงเรียนแมว่ นิ สามัคคี อาเภอแม่วาง จงั หวัดเชยี งใหม่

กรอบแนวคิดทใ่ี ช้ในการวจิ ัย ศกึ ษาสภาพ - ศกึ ษาหลักการ แนวคิด สรุป
ปัญหา ทฤษฎี และงานวจิ ยั ที่ แนวทาง
แ น ว ท า ง ก า ร พั ฒ น า ก า ร เกีย่ วข้อง การพัฒนา
บ ริ ห า ร ง า น วิ ช า ก า ร ใ น - ศกึ ษาเอกสารดา้ นงาน
โรงเรียนทีม่ ีนักเรยี นชนเผ่า วชิ าการของโรงเรยี น
ของโรงเรียนแม่วินสามัคคี - จากการสงั เกต
อ า เ ภ อ แ ม่ ว า ง จั ง ห วั ด - จากการสัมภาษณ์
เชียงใหม่ - วเิ คราะหข์ ้อมลู โดยวธิ ี
SWOT Analysis

ศึกษาแนวทาง
การพัฒนา

หาแนวทางการพฒั นา
โดยวธิ ีการสนทนากลมุ่

(Focus group
Discussion)

422

วธิ กี ารดาเนนิ งานวจิ ัย
1. ศึกษาสภาพปัญหาการบริหารงานวิชาการด้านการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนที่มีนักเรียน

ชนเผ่าของโรงเรียนแม่วินสามัคคี อาเภอแม่วาง จังหวัดเชียงใหม่ โดยการศึกษาเอกสาร ตารา เกี่ยวกับ
แนวคดิ หลักการ แนวคิดเกี่ยวกบั สภาพปญั หาการบริหารงานวิชาการด้านการจัดการเรียนการสอน

2. การสังเกตสภาพการจัดการเรียนการสอน โดยมีเป้าหมายการสังเกต ได้แก่ สภาพการจัดการ
เรียนการสอนระดับชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 6 และระดับช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ 3 เพ่ือเกบ็ รวบรวมเป็นข้อมูลและ
นามาวเิ คราะห์ขอ้ มูลต่อไป

3. การสัมภาษณ์ ผู้วจิ ยั ไดท้ าการสมั ภาษณ์ด้วยตนเอง และจัดทาแบบสัมภาษณ์ข้ึนเอง โดยมกี ลุ่ม
ผู้ให้ข้อมูล ประกอบด้วย ผู้อานวยการโรงเรียนแม่วนิ สามัคคี จานวน 1 คน ครูหัวหน้าฝ่ายบริหาร 4 ฝ่าย
ของโรงเรยี นแมว่ ินสามัคคี จานวน 4 คน และครหู ัวหน้าระดับชั้นของโรงเรียนแมว่ นิ สามัคคี จานวน 4 คน

4. การสนทนากลมุ่ ผู้รว่ มสนทนากล่มุ จานวน 9 คน

ผลการวิจยั
1. ผลการวเิ คราะห์สภาพปญั หาการบริหารงานวชิ าการด้านการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนที่

มนี ักเรยี นชนเผา่ ของโรงเรยี นแมว่ นิ สามัคคี อาเภอแม่วาง จังหวดั เชยี งใหม่ พบว่า ในชว่ ง 3 ปที ีผ่ ่านมาน้ัน
ยังมีปัญหาหลายเรื่อง เช่น ผู้บริหารไม่ค่อยให้ความสาคัญในด้านวิชาการ จึงทาให้ระบบการบริหารงาน
ภายในโรงเรียนไม่ราบรนื่ มปี ัญหาเกย่ี วกับการพัฒนาการบริหารงานวิชาการของครู มาอย่างต่อเนื่อง ไม่มี
การนิเทศภายใน และไม่มีแนวทางในการพฒั นาการบริหารงานวิชาการ จึงส่งผลเสียต่อโรงเรยี นตลอดมา

2. ผลการวิเคราะห์แนวทางการพัฒนาการบริหารงานวิชาการด้านการจัดการเรียนการสอนใน
โรงเรยี นทม่ี ีนกั เรียนชนเผ่า ของโรงเรยี นแม่วินสามัคคี อาเภอแมว่ าง จงั หวดั เชยี งใหม่ ประกอบด้วย 1. ครู
ต้องมีความรับผิดชอบ มีความมุ่งมั่น ตั้งใจในการพัฒนาการจัดการเรียนการสอน เมื่อรู้จุดอ่อนของการ
จัดการเรียนการสอนที่ไม่ประสบผลสาเร็จ จะต้องดาเนินการแก้ไขทันที และต้องเอาจริงเอาจัง 2. ความ
เอาใจใส่ของผู้บริหารโดยการพัฒนาบุคลากรให้มีความรู้และกาหนดขอบข่ายงานให้ชัดเจนและเน้น การ
ทางานเป็นทมี

อภปิ รายผลการวจิ ัย
1. ผลการศึกษาสภาพปัญหาการบริหารงานวิชาการด้านการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนที่มี

นักเรียนชนเผ่าของโรงเรียนแมว่ ินสามคั คี อาเภอแม่วาง จังหวดั เชียงใหม่
ในช่วง 3 ปีท่ีผ่านมาทางโรงเรียนแม่วินสามัคคีมีสภาพการจัดการเรียนการสอนระดับ

ประถมศึกษาตอนต้นจนถึงระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นพบว่า เน่ืองจากนักเรียนร้อยละ 90 เป็นนักเรียน
ชนเผ่า ซ่ึงมีหลากหลายกลุ่มชาติพันธุ์ ท้ังกลุ่มชาติพันธ์ุ ม้ง ลีซอ มูเซอ และเผ่าปกากะญอ นักเรียนจะพูด
ภาษาชนเผ่าของตนเอง จะไม่ค่อยใช้ภาษาไทยในการส่ือสาร จึงทาให้ครูจัดการเรียนการสอนค่อนข้าง
ลาบาก แต่ครูส่วนใหญ่ มีการวางแผนและเตรียมการจัดการเรียนการสอนเป็นอย่างดี ใช้กระบวนการ
เรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ และใช้ส่ือ นวัตกรรมท่ีพัฒนาขึ้นเอง มาช่วยในการส่งเสริมการเรียนรู้เพื่อ
พัฒนาการด้านสติปัญญา แตย่ ังขาดการวเิ คราะห์หลักสูตร หนว่ ยการเรยี นรู้ ขาดการจดั ทาแผนการจัดการ
เรียนรู้และบันทึกผลหลังสอนอย่างต่อเนื่องและสม่าเสมอ จึงส่งผลกระทบต่อผลสัมฤทธิ์ของนักเรียนท่ี
ค่อนข้างต่า เพราะไม่มีผลบันทึกหลังสอนไปพัฒนาเด็กนักเรียน หรือพัฒนาการจัดการเรียนการสอนของ
ตนเองอย่างสม่าเสมออีกท้ังผบู้ รหิ ารไมค่ ่อยมีการนิเทศติดตามงานซ่งึ สอดคล้องกับทรงเพชร ใจทน (2551

423

: ข) ได้ทาการวิจัยเร่ืองการบริหารงานวิชาการของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็กในอาเภอพาน สังกัด
สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาเชียงราย เขต 2 ผลการวิจัยพบว่าการบริหารวิชาการด้านหลักสูตรมีการ
ปฏิบัตใิ นระดับมาก แนวทางการพฒั นา คอื สถานศกึ ษาควรจัดอบรมสมั มนาเกี่ยวกับหลกั สูตรสถานศึกษา
ให้ผู้เกี่ยวข้องได้เข้าใจในเนื้อหาและสารหลักสูตรด้านงานการเรียนการสอนิมีการปฏิบัติอยู่ในระดับมาก
แนวทางการพัฒนา คือ สถานศึกษาควรส่งเสริมการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนท่ียึดผู้เรียนเป็นสาคัญ
ด้านงานการประเมินผลการเรียนมีการปฏิบตั อิ ยู่ในระดับมาก

2. แนวทางการพัฒนาการบรหิ ารงานวิชาการดา้ นการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนที่มีนักเรียน
ชนเผ่าของโรงเรียนแมว่ ินสามัคคี อาเภอแม่วาง จังหวดั เชยี งใหม่

ซ่งึ อภปิ รายผล ไดด้ ังน้ี 1. โรงเรยี นแม่วนิ สามคั คี ควรจดั การเรยี นการสอนตามแนวทางการจัดการ
เรียนรู้ท่ีสานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา ให้ผู้เรียนได้ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม จากแหล่งเรียนรู้ และ
ปรบั ปรงุ ความรูท้ ่ีได้ให้สมบรู ณเ์ พื่อเพ่ิมพูนทกั ษะการคิดของผู้เรียนได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพซ่ึงสอดคล้องกับ
งานวิจัยของดารัตน พิมพอุบล (2549 : บทคัดยอ) ไดศึกษาและเปรียบเทียบการบริหารงานวิชาการของผู
บริหารสถานศึกษา สังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาตราด ตามความคิดเห็นของครูผู สอนและครู
วิชาการ ผลการวิจัยพบวา การบริหารงานวิชาการของผูบริหารสถานศึกษา สังกัดสานักงานเขตพื้นท่ี
การศึกษาตราดตามความคิดเห็นของครูผูสอนและครูวิชาการ โดยรวมและทุกรายดานอยูในระดับมาก
เรียงลาดับจากมากไปหานอย ดังนี้ ดานการจัดการเรียนการสอน การวัดผลและการประเมินผลการศึกษา
การประกันคุณภาพการศึกษา หลักสูตรและการบริหารหลักสูตร การนิเทศภายใน และการวิจัยเพ่ือ
พัฒนาการเรียนรู และผลการวิเคราะหขอมูลเปรียบเทียบการบริหารงานวชิ าการของผูบริหารสถานศึกษา
สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาตราด จาแนกตามขนาดโรงเรียน โดยรวมแตกต างกันอยางไมมี
นัยสาคัญทางสถิติ 2. ความเอาใจใส่ของผู้บริหารสถานศึกษาผู้บริหารควรมีการนิเทศ ติดตามการ
พัฒนาการบริหารงานวิชาการในโรงเรียนที่มีนักเรียนชนเผ่าของโรงเรียนแม่วินสามัคคี อาเภอแม่วาง
จังหวัดเชียงใหม่อยู่เสมอ ควรวางระบบการบริหารงานวิชาการในด้านการจัดการเรียนการสอนท่ีคานึงถึง
นกั เรียนชนเผ่าให้มากย่ิงขึ้น ในด้านการจัดและดาเนนิ งานในหน่วยงาน บทบาทในการคัดเลือกและการใช้
ประโยชน์บุคลากร บทบาทในการสร้างขวัญและกาลังใจแก่ครู และท่ีสาคัญคือ บทบาทในการพัฒนาครู
และบุคลากร และสอดคล้องกับกุลชญา เที่ยงตรง (2550 : บทตัดย่อ) ที่ได้ศึกษาการบริหารงานวิชาการ
ตามแนวการปฏิรูปการศึกษาของสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ผลการวิจัยพบว่าสภาพการบริหารงานวิชาการ
ตามแนวการปฏิรูปการศึกษาของสถานศึกษา ในภาพรวมอยู่ในระดับมากส่วนรายด้านพบว่าอยู่ในระดับ
มาก 9 ด้านเรียงตามลาดับค่าเฉล่ียคือ การพัฒนากระบวน การเรียนรู้ การพัฒนาระบบประกันคุณภาพ
ภายในสถานศึกษา การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา การวัดผลประเมินผลและเทียบโอนผลการเรียน การ
วิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา การพัฒนาส่ือ นวัตกรรมและเทคโนโลยี การนิเทศการศึกษา การ
พัฒนาแหลง่ เรยี นรู้ และการแนะแนวการศึกษา

ข้อเสนอแนะ
จากการศึกษาแนวทางการพัฒนาสมรรถนะด้านวิชาการครูโรงเรียนแม่วินสามัคคีอาเภอแม่วาง

จังหวดั เชยี งใหม่ สงั กัดสานกั งานเขตพนื้ ที่การศกึ ษาประถมศึกษาเชยี งใหม่ เขต 4 ผวู้ จิ ัยมีขอ้ เสนอแนะไวด้ ังนี้
ขอ้ เสนอแนะในการนาผลการวิจัยไปใช้

424

1. ผู้บริหารโรงเรียนแม่วินสามัคคีควรส่งเสริม สนับสนุน สร้างแรงจูงใจ และเอื้ออานวยให้ครู
สามารถพัฒนาการบริหารงานวิชาการด้านการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนท่ีมีนักเรียนชนเผ่าของ
โรงเรยี นได้อย่างต่อเน่ืองเป็นระบบและจัดให้มีการพฒั นาการจัดการเรียนการสอนให้ตรงกบั ความต้องการ
ของนักเรียนและชุมชน และตรงกับสภาพการณป์ จั จบุ นั ท่ีเหมาะสมกับบรบิ ทโรงเรยี น

2. ครูจะต้องตระหนักและเห็นความสาคัญของการพัฒนาการบริหารงานวิชาการด้านการจัดการ
เรียนการสอนในโรงเรียนท่ีมนี ักเรียนชนเผ่าของโรงเรียนแม่วินสามัคคี อาเภอแมว่ าง จังหวัดเชยี งใหม่และ
มงุ่ ม่ัน ต้งั ใจในการพัฒนาด้านการจัดการเรียนการสอนของตนเองอย่างเต็มท่ีและสม่าเสมอ

ข้อเสนอแนะเพื่อการวจิ ัยครั้งต่อไป
1. ควรดาเนินการทางการพัฒนาการบริหารงานวิชาการในโรงเรียนท่ีมีนักเรียนชนเผ่าของ
โรงเรียนแม่วินสามัคคี อาเภอแม่วาง จังหวัดเชียงใหม่ในด้านอื่นบ้าง ทั้งนี้เพ่ือเป็นแนวทางการพัฒนาการ
บรหิ ารงานวชิ าการให้ครบทุกดา้ น ซ่งึ นา่ จะชว่ ยปรบั ปรงุ กระบวนการพัฒนาศักยภาพครทู ั้งระบบในองค์กร
ให้มีประสิทธิภาพยิง่ ขึ้นได้

แหลง่ อ้างองิ
กุลชญา เท่ียงตรง. (2550). การบริหารงานวิชาการตามแนวการปฏิรูปการศึกษาของสถานศึกษาข้ัน

พน้ื ฐาน สังกดั องคก์ รปกครองส่วนท้องถ่ิน โรงเรียนเทศบาลเขตการศึกษา 5. ปรญิ ญาการศึกษา
มหาบณั ฑิต สาขาวชิ าการบริหารการศึกษา บณั ฑิตวิทยาลัย มหาวทิ ยาลัยศรีนครินทรวโิ รฒ.
ดารัตน์ พิมพ์อุบล. (2549). การศึกษาการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาตามความคิดเห็น
ของครู สังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาตราด. ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการ
บรหิ ารการศึกษา บณั ฑติ วิทยาลัย มหาวทิ ยาลัยราชภฏั ราไพพรรณี.
ทรงเพชร ใจทน. (2551). การบรหิ ารงานวิชาการของสถานศึกษาขัน้ พ้ืนฐานขนาดเล็กในอาเภอพาน สังกดั
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาเชียงราย เขต 2. ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหาร
การศกึ ษา บัณฑิตวทิ ยาลยั มหาวิทยาลัยราชภฏั กาแพงเพชร.
โรงเรียนแม่วินสามัคคี. (2558). สรุปรายงานผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ประจาปี
การศกึ ษา 2558. เชยี งใหม:่ โรงเรียนแมว่ นิ สามคั ค.ี (เอกสารอัดสาเนา).
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2550). สรุปผลการดาเนินงาน 9 ปี ของการปฏิรูป
การศกึ ษา (พ.ศ. 2542-2551). กรงุ เทพฯ: วี.ท.ี ซี. คอมมวิ นิเคชน่ั .
สานักงานเลขาธิการคุรุสภา. (2546). พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
พ.ศ. 2546. กรุงเทพฯ: โรงพมิ พ์คุรุสภาลาดพร้าว.
อุทัย บุญประเสริฐ. (2543). รายงานการวิจัยเรื่องการศึกษาแนวทางการบริหารและการจัดการของ
สถานศึกษา ในรูปแบบการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุสภา
ลาดพร้าว.

425

มโนอปุ ลักษณ์ในวรรณกรรมพุทธธรรมของสมเด็จพระพทุ ธโฆษาจารย์ (ป.อ.ปยุตฺโต)

METAPHOR IN BHUDDHATHAM LITERATURE OF SOMDET PHRABUDDHAKOSAJARN
(P.A.PAYUTTO)

พระครปู รยิ ัตกิ ติ ตวิ ิมล (พม.บุญชู กิตฺติสาโร), อคั รชัย ชัยแสวง ทองสาย ศักดิ์วีระกุล และชุม่ พิมพ์คริ ี
มหาวทิ ยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลยั วทิ ยาเขตลา้ นนา

บทคัดย่อ
บทความวิจัยน้ี มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์สารัตถะในมโนอุปลักษณ์จากวรรณกรรมพุทธธรรม

ของสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป.อ.ปยุตฺโต) และเพ่ือวิเคราะห์วิธีประกอบสร้างมโนอุปลักษณ์ใน
วรรณกรรมพุทธธรรมผลกการวิจัยพบว่า สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ได้ใช้มโนอุปลักษณ์ท่ีสาคัญ 5 สาขา
คือ สาขาปรัชญา สาขาพระพุทธศาสนา สาขาการปกครอง สาขาการศึกษาและสาขาจริยศาสตร์ ด้าน
สาขาพระพุทธศาสนา เช่น การรู้หนังสือต้องรู้หลักก่อนแล้วศึกษาและสอนให้ได้ผล ได้เปรียบไว้ตอนหน่ึง
ว่า “พระพุทธศาสนาน้ี ไม่ว่าจะเป็นในด้านของการปฏิบัติหรือในด้านของความคิดเก่ียวกับสัจธรรมก็ตาม
เปน็ ทางสายกลางทั้งหมด คือ มัชฌิมาปฏิปทาอย่างหน่ึงและเป็นมัชเฌนธรรมอย่างหนึ่ง หลกั นอ้ี าจเปรียบ
กับการยิงลูกศร ลูกศรที่ยิงไม่ถูกเป้าก็จะอยู่ข้าง ๆ ข้างโน้นบ้าง ข้างนี้บ้าง คือ มันไม่พอดี ไม่ตรงกลาง
ส่วนลกู ศรท่ยี งิ ตรงจดุ เป้าหมายพอดนี ั้น กเ็ ป็นอันกลางจึงเรยี กวา่ สายกลาง” ส่วนวธิ ีประกอบสรา้ งมโนอุป
ลักษณ์ในวรรณกรรมพุทธธรรมพบว่า สมเด็จพระพระพุทธโฆษาจารย์ได้ใช้วิธีคิดเปรียบเทียบการเป็นอยู่
ในชีวิตประจาวันของมนุษย์กับหลักธรรมบ้าง กับหลักการปฏิบัติธรรมบ้าง เช่น ด้านสาขาปรัชญาด้าน
สัมมาสมาธิแบบพุทธว่า “การฝึกสมาธิด้วยปัญญาพิจารณาด้วยสภาวธรรมตามหลักวิปัสสนา การเริ่มต้น
ด้วยสมาธยิ ังอ่อนกเ็ หมือนคนเดินทางทมี่ ีกาลังน้อย ไมเ่ ข้มแขง็ ทาใหค้ วามพร้อมในการเดนิ ทางน้อยลง แม้
จะหวงั ไปค่อย ๆ เสริมกาลังข้างหนา้ กส็ ู้คนทีเ่ ตรียมความพร้อมเต็มท่ีแต่ต้นไมไ่ ด้” เปน็ ตน้

คาสาคญั : มโนอปุ ลักษณ์, วรรณกรรมพุทธธรรม

ABSTRACT
The objective is to review the method of constructing metaphors in Buddhist

Dhamma literature. Somdej Phutthakasajarn used 5 important humanistic metaphors :
philosophy, Buddhism, politic administration, Education and Ethics. In the field of Buddhism
key areas must be mastered first such as literacy. It is necessary to both study and teach to
get results. One advantage is that "Buddhism, regardless of whether it is the practice or the
sense of the truth, it is about taking middle line or middle path. This principle may be
comparable to shooting arrows,. The arrow that is not shot at the target will be beside it.
Some of the arrows at the side are there because they did not fit, they were not in the
middle. Such is the care with Buddhist philosophy. Meditation "Meditation training should
be combined with wisdom, with the Dharma according to Vipassana principles. Beginning
with meditation when it is still weak is like a traveling person who has increasingly less

426

strength, making travel readiness less. The hope is hoping to gradually strengthen the front
and fight those who are not fully prepared in the beginning. "

Keywords : Metaphor, Bhuddhatham Literature

บทนา
บทความน้ีมีหลักการและเหตุผล คือ การอธิบายพุทธธรรมท่ีแจ่มแจ้งและมีลีลาภาษาเชิงมโนอุป

ลักษณ์(conceptual metaphor) ของสมเด็จพระพระพุทธโฆษาจารย์ กล่าวคือ สมเด็จฯ ท่านนาเน้ือหา
มาอธิบายธรรมโดยแสดงความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับระบบความคิด ทาให้ภาษามีความสัมพันธ์กับ
ประสบการณ์ทางโลกของมนุษย์ การใชภ้ าษานั้นไม่ใช่เป็นเพียงส่ิงที่ตีความ (interpretive) ตามโครงสร้าง
ของไวยากรณ์เท่านั้น แต่เป็นเชิงทฤษฎีภาษาศาสตร์ปริชาน (cognitive linguistics)ด้วย คือ การใช้อุป
ลักษณ์เป็นการใช้เปรียบเทียบจากส่ิงหน่ึงให้เป็นอีกสิ่งหนึ่งเพ่ือให้เกิดภาพพจน์ตามผู้เขียนหรือผู้พูด
ต้องการส่ือสารเพราะอุปลักษณ์เป็นการใช้ภาษาท่ีเกิดข้ึนในชีวิตประจาวัน ผู้ใช้ภาษานาระบบความคิด
หรือระบบมโนทัศน์ (conceptual system) มาจากประสบการณ์ท่ตี นเองรับรู้มารวมกับอารมณ์ความรู้สึก
(emotional) ตัวอย่างเชน่ การเผยแผ่ส่ังสอนของสมเด็จฯน้ันจะละเอียดลึกซึ้งโดยไมต่ ้องอาศัยเวลาในการ
ตีความและทาความเข้าใจสาหรับพุทธศาสนิกชนท่ัวไป ดังน้ัน ผลงานวรรณกรรมของท่านสามารถอธิบาย
หลักธรรมะที่ซับซ้อนให้ผู้ฟังเข้าใจได้ง่ายด้วยกลวิธีการทางภาษาหลายๆ ประการ และกลวิธีทางภาษา
ประการหนึ่งนั่นก็คือ การใช้อุปลักษณ์ (metaphor) เพ่ือช่วยให้ผู้ฟังและผู้อ่านสามารถเข้าใจได้ สมเด็จฯ
ไดใ้ ช้คาอุปลักษณ์ในเชิงเปรียบเทยี บใน 5 สาขาสาคัญคือ สาขาปรชั ญา สาขาพระพุทธศาสนา สาขาการ
ปกครอง สาขาการศึกษาและสาขาจริยศาสตร์ ตัวอย่างสาขาพระพุทธศาสนาเช่น ในหนังสือรู้หลักก่อน
แล้ว ศึกษาและสอนให้ได้ผล ได้เขียนไว้ในตอนหนึ่งว่า “พระพุทธศาสนานี้ ไม่ว่าจะเป็นแง่ของการปฏิบัติ
หรือในแง่ของความคิดเก่ียวกับสัจธรรมก็ตามเป็นสายกลางทั้งหมด คือ มัชฌมาปฏิปทาอย่างหนึ่งและ
เป็นมัชเฌนธรรมอย่างหนึ่ง หลักนีอาจเปรียบกับการยิงลูกศร ลูกศรท่ียิงไม่ถูกเป้าก็จะอยู่ข้างๆ ข้างโน้น
บ้าง ข้างน้ีบ้าง คือ มันไม่พอดี ไม่ตรงกลาง ส่วนลูกศรท่ียิงตรงจุดเป้าหมายพอดีน้ันก็เป็นอันกลางจึง
เรียกว่า สายกลาง ” การใช้อุปลักษณ์เปรียบเทียบให้เห็นจุดเดน่ ท่ีสาคัญว่า ความเป็นสายกลางจักต้องอยู่
ตรงกลางพอดี ไมไ่ ดอ้ ยขู่ า้ งโน้นบ้าง ข้างนีบ้ า้ ง (พระพรหมคุณาภรณ์, 2547 : 10) นอกจากนี้ ไดก้ ลา่ วถึงใน
สาขาจริยศาสตร์การแพทยย์ ุคใหม่ในพุทธทัศน์ วา่ “องค์ประกอบที่ 2 ธรรมวจิ ยะ หรือ ธรรมวิจยั แปลว่า
การวิจัยธรรม วิจัยนั้น แปลว่า การเฟ้นหรือการเลือกเฟ้นคือ ใช้ปัญญาไตร่ตรอง พิจารณา สอดส่อง
คน้ คว้าธรรม ก็คือ ความจริง ความถูกต้อง สง่ ท่ดี ีงาม สิ่งทเ่ี ปน็ ประโยชน์เกื้อกลู สิง่ น้นั อาจอยู่ต่อหน้าก็ได้
เช่น เรามองเห็นอะไรอยู่ข้างหน้าหรือขณะน้ี เรากาลังเผชิญอยู่กับอารมณ์ที่เข้ามาเก่ียวข้อง เราก็เห็น
คน้ หาใหเ้ ห็นธรรม เอาธรรมออกมาให้ได้ ถา้ มองไม่ดีเราก็วุ่นวาย ปนั่ ปว่ น กระวนกระวาย เดอื ดรอ้ น แต่
ถ้ามองให้ดี แม้สิ่งน้ันไม่ค่อยดี เราก็มองให้เป็นธรรมขึนมา ทาแบบนีก็เป็นธรรมวิจัยอย่างหน่ึงเหมือน
อย่างอาจารย์สอนธรรมบางท่าน ท่านเน้นในเรื่องนี้ว่า มองอะไรไม่เป็นธรรม มองใบไม้ อิฐ ปูน อะไรก็
เป็นธรรมหมด ถ้ามองไม่ดี อะไรๆ ก็เป็นอธรรมไปหมด” (พระพรหมคุณาภรณ์, 2550 : 27-28) จาก
หลักธรรมดังกล่าวน้ี สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ ได้เขียนอธิบายหลักธรรมะที่เป็นนามธรรมและซับซ้อน
เข้าใจยาก ให้เห็นชัดเจนเป็นรูปธรรมและเข้าใจได้ง่ายยิ่งข้ึนและด้านสาขาปรัชญามีตัวอย่างจาก
สัมมาสมาธิ สมาธิแบบพุทธ กล่าวไว้ตอนหน่ึงว่า “การฝึกสมาธิด้วยปัญญาพิจารณาด้วยสภาวธรรมตาม

427

หลักวิปัสสนา สมาธิน้ันก็จะเจริญขึ้นไปด้วยการปฏิบัติเช่นนี้ ในที่สุด ก็จะมีกาลังพอที่จะช่วยให้ผู้ปฏิบัติ
บรรลุผลทีหมายของวิปัสสนาคือ ความหลุดพ้น นอกจากนั้น การเร่ิมต้นด้วยสมาธิยังอ่อนก็เหมือนคน
เดินทางที่มีกาลงั นอ้ ย ไม่เข้มแข็ง ทาให้ความพรอ้ มในการเดินทางนอ้ ยลง แม้จะหวงั ไปคอ่ ยๆ เสรมิ กาลัง
ข้างหน้าก็สู้คนท่ีเตรียมพร้อมเต็มที่ไปแต่ต้นไม่ได้” เป็นต้น จากการเปรียบเทียบน้ัน ทาให้น่าสนใจว่า สม
เด็จฯ ท่านมีหลักเช่นไรในการเปรียบเทียบและมีกลวิธีใดท่ีใช้ในการเปรียบเทียบ ผู้เขียนบทความจึงสนใจ
ศึกษาการใช้มโนอุปลักษณ์ของท่านเพ่ือเปน็ ประโยชน์ต่อผู้อ่านต่อไป

วัตถุประสงคก์ ารวจิ ัย
เพื่อวิเคราะห์สารัตถะในมโนอุปลักษณ์จากวรรณกรรมพุทธธรรมของสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์

(ป.อ.ปยุตฺโต) และเพ่ือวิเคราะห์วิธีประกอบสร้างมโนอุปลักษณ์ในวรรณกรรมพุทธธรรมของสมเด็จพระ
พทุ ธโฆษาจารย์ (ป.อ.ปยตุ ฺโต)

วธิ ีการศกึ ษา ผูเ้ ขียนบทความใชข้ ้อมูลในการวิจยั เกี่ยวกับมโนอุปลักษณ์เป็นเอกสารจานวน 100
ชุด คือ วรรณกรรมพุทธธรรมท่ีท่านเผยแผ่พระพุทธศาสนามา 40 กว่าปี และได้รับการตีพิมพ์แล้วหลาย
คร้ัง เพ่ือนามาวิเคราะห์การใช้ถ้อยคาเปรียบเทียบท่ีเรียกว่ามโนอุปลักษณ์ ว่ามีคาหรือสานวนโวหาร
อย่างไร เช่น ข้อมูลจากพุทธธรรม ภาค 1 มัชเฌนธรรมเทศนา ตอน 1 ชีวิตคืออะไร ตอน 2 ชีวิตเป็น
อย่างไร และตอน 3 ชีวิตเป็นไปอย่างไร เป็นต้น ด้านเคร่ืองมือที่ใช้มี 2 ชนิด คือ เคร่ืองมือเก็บข้อมูลและ
เครื่องมือวิเคราะห์ข้อมูลท่ีสร้างข้ึนเอง ด้านการเก็บรวบรวมข้อมูล ผู้เขียนได้ศึกษาข้อมูลจากวรรณกรรม
ทุกเล่มท่ีกาหนดไว้ เพื่อเปรียบเทียบการถ้อยคามโนอุปลักษณ์ว่า มีความเหมือนกันหรือแตกต่างกัน
อย่างไรในฐานะที่มีบริบทของพ้ืนที่และสมัยท่ีแตกต่างกัน โดยใช้ทฤษฎีของจอร์จ เลคอฟ (George
Lakoff) และ มาร์ค จอห์นสัน (Mark Johnson) ผู้ริเร่ิมทฤษฎีอุปลักษณ์มโนทัศน์ซ่ึงทาให้การศึกษาอุป
ลักษณ์เชิงปริชานกลายเป็นการศึกษาท่ีมีความสาคัญต่อการศึกษาวิจัยด้านภาษาศาสตร์และการศึกษา
ด้านปรากฏการณ์ทางสังคม โดยเฉพาะในเร่ืองท่ีเก่ียวกับการใช้ภาษาในชีวิตประจาวันของมนุษย์เช่น
ถ้อยคาอุปลักษณ์เกี่ยวกับชีวิตที่สะท้อนมโนอุปลักษณ์ชีวิต 12 มโนอุปลักษณ์ เช่น [ชีวิตคือการเดินทาง]
[ชีวิตคือการต่อสู้/สงคราม] [ชีวิตคือทรัพยากร] [ชีวิตคือธุรกิจ] [ชีวิตคือภาชนะ/สถานท่ีปิดล้อม] [ชีวิตคือ
ส่ิงท่ีไม่คงทน] [ชีวิตคือการศึกษา] [ชีวิตคือต้นไม้] [ชีวิตคือละคร] [ชีวิตคือกีฬา] [ชีวิตคือสิ่งปลูกสร้าง]
[ชีวิตคือแสงเทียน/แสงตะเกียง] [ชีวิตคือสัตว์ไม่เชื่อง] [ชีวิตคือสิ่งท่ีมีปริมาณ/ความยาว] และ [ชีวิตคือสิ่ง
ท่ีต้องขัดแต่งเพิ่ม] เป็นต้น และการวิเคราะห์ข้อมูลน้ันได้อ้างตามผู้วิจัยจักต้องพ่ึงแนวคิดจากนักวิชาการ
ต่างๆ พร้อมท้ังทฤษฎีทางภาษาศาสตร์ด้วย เช่น ทฤษฎีของโกทลี เป็นต้น เพ่ือให้ได้ข้อมูลที่เป็นข้อค้นพบ
ใหม่(Fact Finding) มีรายละเอียดดังน้ี 1)การจัดระบบข้อมูล 2) การวิเคราะห์ข้อมูล โดยการแยกแยะ
รายละเอียดของการใช้ถ้อยคามโนอุปลักษณ์ว่า มีความเหมือนกันอย่างไร คุณค่าที่ได้จากการใช้ถ้อยคา
มโนอปุ ลักษณท์ ี่เป็นประโยชน์ต่อการใช้ภาษาไทย เช่น การใช้คาภาษาถิ่นท่ตี รงกับภาษามาตรฐาน เชน่ ผู้
จะเร่ิมต้นยุคใหม่นั้นเหมือนคนว่ายน้าทวนกระแส และสมาธิดับทุกข์จริงไม่ได้ สมาธิช่วยได้เพียงเหมือน
พักรบไว้กอ่ น เปน็ ต้น

ผลการศึกษาพบว่า สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์นาสารัตถะในมโนอุปลักษณ์จากวรรณกรรมมา
อธบิ ายเปรยี บเทยี บตัวอยา่ งเชน่ วรรณกรรมเรอื่ งการฟืน้ ฟมู ิติมนุษยนิยมเชิงพุทธ (Buddhist Humanism)
คอื แนวคิดมนุษยนิยมเชิงพุทธธรรมของท่านพระธรรมปิฎก (ป.อ.ปยตุ โต) แตกต่างจากแนวคิดมนุษยนิยม
ของตะวันตกอย่างสิ้นเชิง เราจะเห็นว่าภูมิหลังของแนวคิดมนุษยนิยมของตะวันตกเกิดมาจากแรงบีบคั้น

428

ของศาสนาคริสต์ในยุคกลาง พอหลุดพ้นจากอานาจของศาสนาในยุคกลาง ชาวตะวันตกก็พัฒนา แนวคิด
ขึ้นมาบนพื้นฐานของการปฏิเสธศาสนา แล้วหันไปหาเรื่องทางโลกทางสุดโต่ง (Secularism) ถึงกับปฏิเสธ
ศาสนาเลยทีเดียว เม่ือชาวตะวันตกหันเข้าหาทางโลก จึงกลายเป็นท่ีมาเป็นการเอาศักยภาพออกมาพิชิต
โลกธรรมชาติ ในขณะเดียวกันแนวคิดของท่านพระธรรมปิฎกหรือพระพุทธโฆษาจารย์ซึ่งเป็นแนวคิดท่ี
มนุษยนิยมต้ังอยู่บนพ้ืนฐานของความเช่ือและความศรัทธาในศักยภาพของมนุษย์ท่ีจะสามารถพัฒนาให้
เข้าถึงความดีงามสูงสุดได้ หรือท่ีท่านเรียกว่า “ตถาคตโพธิศรัทธา” (ความศรัทธาของพระตถาคตอันเป็น
ทางแห่การตรัสรู้) โดยนัยน้ีตามแนวคิดแบบมนุษยนิยมของท่านพระธรรมปิฎกหรือสมเด็จพระพุทธโฆษา
จารย์จึงมุ่งหวังกลับเข้าไปหาคุณค่าภายในของมนุษย์ ในขณะท่ีมนุษย์ตะวันตกมุ่งเอาศักยภาพออกไปใช้
ด้านนอก เพื่อพิชิตธรรมชาติหรือสิ่งแวดล้อม ดังที่ท่านกล่าวไว้ว่า “มนุษย์เป็นสัตว์ท่ีฝึกได้ และต้องฝึก
ทางภาษาธรรมเรียกว่า “ธัมมะ” พูดด้วยภาษาสมัยน้ีว่าเป็นสัตว์มนุษย์ที่พัฒนาได้ ข้อน้ีถือได้ว่าเป็น
ความคิดบนรากฐานท่ีสาคัญที่สุด จากการเกิดระบบจริยธรรมในพระพุทธศาสนาข้ึนมา ก็เพราะถือว่า
มนุษย์เป็นสัตว์สังคมที่ฝึกได้และต้องฝึกเม่ือมนุษย์พัฒนาได้แล้ว สามารถเข้าถึงอิสรภาพและความสุขได้
อย่างแท้จริง “อันนี้เป็นข้อยืนยันของพระพุทธศาสนา” และท่านก็ได้วิพากษ์แนวคิดมนุษยนิยมของทาง
ตะวันตกไว้ว่า “มนุษย์ภายใต้อิทธิพลของความคิดทางตะวันตกมีความเข้าใจว่า ศักยภาพคือการท่ีมนุษย์
สามารถพัฒนาเทคโนโลยีมาพิชิตและจัดการกับธรรมชาติได้ การที่คิดเห็นเช่นนี้ ก็เพราะเป็นการมอง
ออกไปข้างนอกด้านเดียว บนพื้นฐานความคิดท่ีจะครอบงา” ดูเหมือนว่าแนวคิดของท่านสมเด็จพระพุทธ
โฆษาจารย์ในเร่ืองน้ี จะสอดคล้องกับแนวคิดของปราชญ์ทางพระพุทธศาสนาญ่ีปุ่นท่านหน่ึง คือ ไดซากุ
อเิ คดะ ที่เขียนงานเรื่อง “The Search for a New for Humanity” (การแสวงหามนษุ ยภาพแนวใหม)่ ซง่ึ
เป็นงานที่จะพยายามวิพากย์แนวคิดแบบมนุษยนิยมตะวันตกว่า มีลักษณะก้าวร้าวต่อธรรมชาติและเป็น
ฐานที่มาของปัญหาโลกปัจจุบันและด้านวิธีประกอบสร้างมโนอุปลักษณ์ในวรรณกรรมพุทธธรรมน้ันเป็น
การเลอื กถ้อยคาอุปลักษณ์หรือถ้อยคาอ่นื ๆ ท่สี ะทอ้ นมโนทัศน์เก่ียวกับการใชช้ ีวิตในหนังสือธรรมะให้เห็น
เป็นเรือ่ งง่ายๆ หรอื เข้าใจธรรมะได้ไม่ยาก พบว่า ใชค้ าสะทอ้ น มโนอปุ ลักษณ์ชวี ติ 15 มโนอุปลักษณ์ได้แก่
ชีวติ คือการเดินทาง, ชีวิตคอื การต่อสู/้ สงคราม,ชวี ติ คือทรัพยากร,ชีวิตคือธรุ กิจ,ชีวิตคือภาชนะ/สถานท่ีปิด
ล้อม,ชีวิตคือสิ่งท่ีไม่คงทน,ชีวิตคือการศึกษา,ชีวิตคือต้นไม้, ชีวิตคือละคร, ชีวิตคือกีฬา, ชีวิตคือสิ่งปลูก
สร้าง, ชีวิตคือแสงเทียน/แสงตะเกียง, ชีวิตคือสัตว์ไม่เชื่อง, ชีวิตคือสิ่งท่ีมีปริมาณ/ความยาว และชีวิตคือ
ส่ิงท่ีต้องขัดแต่งเพ่ิม มโนอุปลักษณ์เหล่าน้ีสะท้อนให้เห็นมุมมองเก่ียวกับชีวิต ตามแนวทาง
พระพุทธศาสนาหลายประการคือ ธรรมะเป็นสิ่งจาเป็นสาหรับชีวิต ทุกชีวิตต้องเจอปัญหาหรืออุปสรรค
อวิชชาทาให้ชีวิตเป็นทุกข์ ชีวิตไม่แน่นอนเกิดการเปล่ียนแปลงได้ ตลอดเวลาชีวิตแสนส้ัน การเกิด- การ
ตายเป็นสงิ่ คกู่ นั และความตายเกดิ ไดท้ ุกขณะ เราควรกาหนดเป้าหมายหรือวางแผนในการดาเนินชวี ิต ชวี ติ
มีค่าจึงควรใช้ชีวิตให้คุ้มค่า เราควรหม่ันตรวจสอบการใช้ชีวิต เหตุการณ์ในชีวิตล้วนเป็นผลมาจากกรรม
ชีวิตเป็นสิ่งท่ีสามารถพัฒนา ให้ดีข้ึนได้ ผลการวิเคราะห์หน้าท่ีของมโนอุปลักษณ์ชีวิตในหนังสือธรรมะ
พบว่า ทาหน้าที่ 2 ด้านคือ (1) ด้านการถ่ายทอดความคิด ได้แก่ การอธิบายความ การทาให้เกิดมุมมอง
ใหมแ่ ละการใหเ้ หตผุ ลสนับสนนุ ให้ผู้อ่านทาหรือไม่ทาพฤติกรรมบางอย่างเช่น ให้ผ้อู า่ นปลงอนิจจัง ไมก่ ลัว
ความตาย ปัญหาและอุปสรรคในชีวิต ให้ผู้อ่านใช้ชีวิตด้วยความไม่ประมาท ให้ผู้อ่าน หม่ันทาความดี ไม่
ทาความชว่ั และให้ผอู้ า่ นพัฒนาตนเอง (2) ด้านการเรียบเรียงความ ได้แก่ การลาดับความในปรจิ เฉท เปน็
ตน้


Click to View FlipBook Version