The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เล่มแผนปฏิบัติราชการ 2566 ฉบับจริง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by chanatip_min, 2023-07-03 23:36:27

เล่มแผนปฏิบัติราชการ 2566 ฉบับจริง

เล่มแผนปฏิบัติราชการ 2566 ฉบับจริง

Non-UC Non UC PP กองทุน อื่นๆ สป. กรม/กอง/ เบิกจ่ายแทน กัน basic services สุขภาพต าบล เงินบ ารุง/ อบจ,/งบ จังหวัด/PPA/ สสส. ย ต.ค. - ธ.ค. ม.ค. - มี.ค เม.ย - มิ.ย ระยะเวลาด าเนินการ/งบประมาณ แหล่งงบประมาณ/จ านวนงบประมาณ งบประมาณ ก.ค. - ก.ย. รวมทั้งสิ้น รหัสงบ ฯ 500 500 1,000 1,000 รหัส82074 3,000 3,000 3,000 เงินบ ารุง ง 2


ตัวชี้วัด ส่วนที่ 2 แผนปฏิบัติการและแผนสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ปี 2566 กลุ่มเป้าหมาย แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก/กิจกรรมย่อย จ านวนหน่วยนับ พื้นที่เป้าหมาย วัตถุประสงค์ ค่าเป้าหมายตัวชี้วัด ในหญิงตั้งครรภ์หลัง 12 สัปดาห์ บริการฝากครรภ์คุณภาพ 12 สัปดาห์ที่ไม่เคย ได้รับวัคซีนโควิด กิจกรรมย่อยที่ 2.1.3 ประเมินมาตรฐานงาน - ก ากับติดตามคุณภาพบริการ - ร้อยละ 20 ของโรงพยาบาลได้รับ - อ.ด่านช้าง/ดอน - รพ.ด่านช้าง/ดอ อนามัยแม่และเด็กในสถานบริการ งานอนามัยแม่และเด็ก การประเมินมาตรฐานอนามัยแม่และ เจดีย์/ศรีประจันต์/ เจดีย์/ศรีประจันต์/ เด็กส าหรับสถานพยาบาล สามชุก สามชุก กิจกรรมย่อยที่ 2.1.4 ส่งบุคลากรเข้าร่วมประชุม - พัฒนาศักยภาพบุคลากร - รพ. 10 แห่ง - ผู้รับผิดชอบงาน วิชาการระดับเขต/ประเทศ ANC LR PP เด็กปฐมวัย กิจกรรมย่อยที่ 2.2.1 ส่งเสริมการเจริญเติบโตเด็ก -เพื่อให้เด็กมีส่วนสูงเฉลี่ยตามเกณฑ์ - เด็กอายุ 0-5 ปี มีส่วนสูงเฉลี่ยที่อายุ - รพ.ทุกแห่ง - เด็กปฐมวัย สูงดีสมส่วน (ประเมินส่วนสูงเฉลี่ยระดับประเทศ) 5 ปี เพศชาย 113 ซม./หญิง 112 ซม กิจกรรมย่อยที่ 2.2.2 สนับสนุนการพัฒนา - เด็กอายุ 0-5 ปี พัฒนาการสมวัย - ทุกอ าเภอ ศักยภาพบุคลากรที่เกี่ยวข้อง ร้อยละ 85 - ครูผู้ดูแลเด็กเล็กในสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย - พัฒนาศักยภาพครูผู้ดูแลเด็กและ - ศพด ทุกสังกัด - ครูผู้ดูแลเด็กเล็ก เรื่อง - ทักษะในการเฝ้าระวังการเจริญเติบโต ครอบครัวให้เป็นผู้อ านวยการเล่นเพื่อ - การคัดกรองพัฒนาการ มีทักษะการส่งเสริมการเล่นให้แก่เด็ก - ทักษะผู้อ านวยการเล่น(Play worker) - ผู้รับผิดชอบงานทุกอ าเภอ - พัฒนาศักยภาพและทักษะ - ทุกพื้นที่ -ผู้ปฏิบัติงาน เรื่อง - Refresh DSPM ผู้ปฏิบัติงานเด็กปฐมวัย - ทักษะการชั่งวัด,ารใช้ DSPM/ TEDA4I - การอบรม DSPM จากโปรแกรม ออนไลน์ของกรมอนามัย (Mooc.anmai) - TEDA4I จากส่วนกลาง กิจกรรมย่อยที่ 2.2.3 ส่งเสริมการใช้ชุดความรู้ -เพื่อให้เด็กสูงดีสมส่วนเฉลี่ยตาม - เด็กอายุ 0-5 ปี มีส่วนสูงเฉลี่ยที่อายุ - ทุกอ าเภอ - ทุกสถานพัฒนา โภชนาการสูงดีสมส่วนและโปรแกรม เกณฑ์ 5 ปี เพศชาย 113 เซนติเมตร/หญิง เด็กปฐมวัย Thai school lunch ในสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย 112 เซนติเมตร กิจกรรมย่อยที่ 2.2.4 ยกระดับสถานพัฒนาเด็ก - เพื่อพัฒนาสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย - ทุกอ าเภอ - 10 สถานพัฒนา ปฐมวัยด้านสุขภาพ 4D ให้เป็นพื้นที่ต้นแบบด้านสุขภาพ 4D เด็กปฐมวัย วัยเรียน กิจกรรมย่อยที่ 2.3.1 บูณราการกับภาคีเครือข่าย เพื่อให้เด็กลุ่มอ้วนและผอม โรงเรียนทุกสังกัด จัดกิจกรรมปรับเปลี่ยน พฤติกรรมในกลุ่มเด็กผอม ได้รับการประเมินภาวะสุขภาพ เด็กเริ่มอ้วนและอ้วน ด้วย กิจกรรมย่อยที่ 2.3.2 ก ากับ ติดตามชั่งน้ าหนักและ คัดกรอง คัดกรอง Obesity Sign 3


Non-UC Non UC PP กองทุน อื่นๆ สป. กรม/กอง/ เบิกจ่ายแทน กัน basic services สุขภาพต าบล เงินบ ารุง/ อบจ,/งบ จังหวัด/PPA/ สสส. ย ต.ค. - ธ.ค. ม.ค. - มี.ค เม.ย - มิ.ย ระยะเวลาด าเนินการ/งบประมาณ แหล่งงบประมาณ/จ านวนงบประมาณ งบประมาณ ก.ค. - ก.ย. รวมทั้งสิ้น รหัสงบ ย น 4,800 4,800 4,800 เงินบ ารุง / น ก า 3


ตัวชี้วัด ส่วนที่ 2 แผนปฏิบัติการและแผนสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ปี 2566 กลุ่มเป้าหมาย แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก/กิจกรรมย่อย จ านวนหน่วยนับ พื้นที่เป้าหมาย วัตถุประสงค์ ค่าเป้าหมายตัวชี้วัด วัยรุ่น กิจกรรมย่อยที่ 2.4.1 ยกระดับการจัดบริการ 1. รพ.ในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข 10 รพ. โรงพยาบาลทุกแห่ อนามัยการเจริญพันธุ์วัยรุ่นและเยาวชนร่วมกับ ผ่านมาตรฐานการบริการสุขภาพ ภาคีเครือข่าย ที่เป็นมิตรส าหรับวัยรุ่นและ กิจกรรมย่อยที่ 2.4.2 พัฒนาและประเมินรับรอง เยาวชนทุกแห่ง 10 อ าเภอ รพ./สสอ./รร./ มาตรฐานการป้องกันและแก้ไขปัญหา 2. ร้อยละ 30 ของอ าเภอผ่าน ชุมชน/อปท การตั้งครรภฺในวัยรุ่น มาตรฐานการด าเนินงานป้องกัน - จัดบริการคลินิกที่เป็นส าหรับวัยรุ่นและเยาวชน และแก้ไขป้ญหาการตั้งครรภ์ ในโรงพยาบาล ในวัยรุ่นระดับอ าเภอ - มาตรฐานการป้องกันและแก้ไขการตั้งครรภ์ 3. รพ.สต.อย่างน้อยอ าเภอละ 1 แห่ง ในวัยรุ่นระดับอ าเภอ ผ่านมาตรฐานการบริการสุขภาพ กิจกรรมย่อยที่ 2.4.3 ขับเคลื่อนการด าเนินงาน สสอ./รพ./ชุมชน/ การจัดบริการที่เป็นมิตรส าหรับวัยรุ่นและเยาวชน 4. อัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ อปท ของ รพ.สต.ร่วมก้บอบจ. 15-19 ปีไม่เกิน 23 ต่อหญิงอายุ 15 -19 ปีพันคน กลุ่มสูงอายุ กิจกรรมย่อยที่ 2.5.1 ขับเคลื่อนการจัดตั้งคลินิก เพื่อให้ผู้สูงอายุที่ผ่านการคัดกรอง 1.คลินิกผู้สูงอายุใน รพ. อย่างน้อย 3 แห่ง ผู้สูงอายุร่วมกับคณะกรรมการพัฒนาคลินิก (25 คน) และพบว่าเป็น Geriatric 2.ร้อยละ 52 ของประชากรสูงอายุ กิจกรรมย่อยที่ 2.5.2 ประชุมคณะกรรมการพัฒนาคลินิก syndromesได้รับการดูแลในคลินิก ที่มีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ คณะกรรมการ ผู้สูงอายุระดับจังหวัดเพื่อวางแผนการจัดตั้งคลินิก ผู้สูงอายุ (*ร้อยละ 13-25 ของผู้สูงอายุติดสังคม 25 คน ผู้สูงอายุในโรงพยาบาลทุกแห่ง (HDC)) กิจกรรมย่อยที่ 2.5.3 พัฒนายกระดับคลินิก 3.ร้อยละ50 ของผู้สูงอายุมีการจัดท า รพท./รพศ. ผู้สูงอายุในโรงพยาบาล ขนาด M 2ขึ้นไป แผนส่งเสริมสุขภาพดี (Wellness Plan) รพช.อู่ทอง ให้ได้ตามเกณฑ์มาตรฐานระดับคุณภาพ 4.มีพื้นที่ตนแบบชุมชนที่เปนมิตร กิจกรรมย่อยที่ 2.5.4 ขยายการจัดตั้งคลินิก กับผูสูงอายุผานเกณฑ์อย่างน้อย 1 ชุมชน รพช 7 แห่ง ผู้สูงอายุใรโรงพยาบาล ระดับ F ตามเกณฑ์ 5.ชมรมผู้สูงอายุด้านสุขภาพ มาตรฐานของกรมการแพทย์ในระดับพื้นฐาน เกณฑ์ไม่น้อยกว่า 5 ชมรม กิจกรรมย่อยที่ 2.5.5 สนับสนุนการประเมินคัดกรอง/ 10 อ าเภอ ผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไ การเฝาระวังพฤติกรรมสุขภาพผูสูงอายุแบบ รพ./สสอ./รพ.สต. บูรณาการ ผาน Digital Health Platform , อบจ./อปท. Promgramที่เกี่ยวข้อง (Blue Book Aplication) กิจกรรมย่อยที่ 2.5.6 ยกระดับการดูแลสุขภาพ -เพื่อพัฒนาระบบการดูแลผูสูงอายุ จ.สุพรรณบุรี รพ./สสอ./อบจ./อ ผู้Œสูงอายุและผู้ที่มีภาวะพึ่งพิงในชุมชน โดย และผูมีภาวะพึ่งพิงระยะยาว ด าเนินงานการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุร่วมกับ (Long Term Care) ภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง (อปท.,ศึกษาธิการ,ฯลฯ) 3


Non-UC Non UC PP กองทุน อื่นๆ สป. กรม/กอง/ เบิกจ่ายแทน กัน basic services สุขภาพต าบล เงินบ ารุง/ อบจ,/งบ จังหวัด/PPA/ สสส. ย ต.ค. - ธ.ค. ม.ค. - มี.ค เม.ย - มิ.ย ระยะเวลาด าเนินการ/งบประมาณ แหล่งงบประมาณ/จ านวนงบประมาณ งบประมาณ ก.ค. - ก.ย. รวมทั้งสิ้น รหัสงบ ง 6,000 6,000 6,000 เงินบ ารุง ร 625 625 625 รหัส00047 ไป ปท. / / / / 4


ตัวชี้วัด ส่วนที่ 2 แผนปฏิบัติการและแผนสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ปี 2566 กลุ่มเป้าหมาย แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก/กิจกรรมย่อย จ านวนหน่วยนับ พื้นที่เป้าหมาย วัตถุประสงค์ ค่าเป้าหมายตัวชี้วัด กิจกรรมย่อยที่ 2.5.7 เยี่ยมติดตามและประเมินผล ระบบการสงเสริมสุขภาพดูแลผูสูงอายุและผูมี ภาวะพึ่งพิงระยะยาวแบบบูรณาการ กิจกรรมย่อยที่ 2.5.8 เพิ่มการเข้าถึงบริการ -เพื่อสร้างองค์ความรู้ในการดูแล 1.กลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรอง จ.สุพรรณบุรี ผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไ คัดกรองสุขภาพ" โครงการคัดกรองโรคต้อกระจก สุขภาพผู้สูงอายุ โรคตาต้อกระจกไม่น้อยกว่า จ านวน 16000 คน ในผู้สูงอายุ จังหวัดสุพรรณบุรี" -เพื่อเพิ่มการเข้าถึงบริการคัดกรอง ร้อยละ 80 และค้นหาโรคต้อกระจกในผู้สูงอายุ 2.ผู้สูงอายุที่ผ่านการคัดกรองหรือ - เพื่อให้ผู้สูงอายุที่พบภาวะผิดปกติ ผู้ดูแลได้รับความรู้วิธีการดูแลและ ทางสายตาได้รับการส่งต่อและ บ ารุงสายตา ความผิดปกติของ ได้รับการรักษาอย่างเหมาะสม ดวงตาที่ต้องมาพบแพทย์ร้อยละ 100 3.ผู้สูงอายุที่ผลการคัดกรองพบ ผิดปกติได้รับการเยี่ยมบ้าน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 กิจกรรมหลักที่ 3 สนับสนุนงานวิจัยและนวตกรรม - พัฒนาระบบบบริการเพื่อเป็น - งานวิจัยหรือนวตกรรมอย่างน้อย -ทุกอ าเภอ สถานบริการสาธาร กิจกรรมย่อยที่ 3.1 ส่งเสริมการสร้างนวัตกรรม/ ต้นแบบในการด าเนินงาน และสร้าง 1 เรื่อง -จังหวัดสุพรรณบุรี ทุกแห่ง พัฒนางานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ทุกกลุ่มวัย ขวัญและก าลังในแก่ผู้ปฏิบัติงาน กิจกรรมย่อยที่ 3.2 สนับสนุนการด าเนินงาน ส่งเสริมความรอบรู้ สุขภาพ ครอบครัว ชุมชน กิจกรรมย่อย 3.4 เยี่ยมเสริมพลัง/แลกเปลี่ยนเรียนรู้ กิจกรรมย่อย 3.5 ก ากับติดตาม ประเมินผลและ สรุปผลการด าเนินงานเพื่อน าไปวางงแผนแก้ไข ปัญหาในปีต่อไป กิจกรรมย่อยที่ 3.3 จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ครอบครัวชุมชนต้นแบบและนวตกรรม เพื่อขยายผลการด าเนินงาน กิจกรรมหลักที่ 4 พัฒนาระบบข้อมูลสุขภาพ - เพื่อให้ตัวชี้วัดสอดคล้องกับผลการ - ทุกอ าเภอ สถานบริการสาธาร ที่มีประสิทธิภาพเอื้อต่อการบริการส่งเสริมสุขภาพ ปฏิบัติงาน ทุกแห่ง กิจกรรมที่ 4.1 สรุปผลการด าเนินงาน/คืนข้อมูล - แก้ไขปัญหาอุปสรรคในการ ให้แก่พื้นที่ ด าเนินงานบันทึกข้อมูล กิจกรรมย่อยที่ 4.2 ก ากับติดตาม/ตรวจสอบการ - เพิ่มช่องทางในการสื่อสาร บันทึกข้อมูลในระบบฐานข้อมูล ความรู้ให้แก่กลุ่มเป้าหมาย กิจกรรมที่ 4.3 Coaching พื้นที่ที่ผลงานต่ า เช่น 3


Non-UC Non UC PP กองทุน อื่นๆ สป. กรม/กอง/ เบิกจ่ายแทน กัน basic services สุขภาพต าบล เงินบ ารุง/ อบจ,/งบ จังหวัด/PPA/ สสส. ย ต.ค. - ธ.ค. ม.ค. - มี.ค เม.ย - มิ.ย ระยะเวลาด าเนินการ/งบประมาณ แหล่งงบประมาณ/จ านวนงบประมาณ งบประมาณ ก.ค. - ก.ย. รวมทั้งสิ้น รหัสงบ 3,000 3,000 3,000 เงินบ ารุง ไป 310,000 310,000 310,000 310,000 1,240,000 1,240,000 PPA น รณสุข รณสุข 5


ตัวชี้วัด ส่วนที่ 2 แผนปฏิบัติการและแผนสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ปี 2566 กลุ่มเป้าหมาย แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก/กิจกรรมย่อย จ านวนหน่วยนับ พื้นที่เป้าหมาย วัตถุประสงค์ ค่าเป้าหมายตัวชี้วัด เฉพาะภาวะโลหิตจาง กิจกรรมย่อยที่ 4.4 วิเคราะห์ สรุปผลการ ด าเนินงานและคืนข้อมูลให้แก่พื้นที่ กิจกรรมหลักที่ 5 ขับเคลื่อนการด าเนินงาน ควบคุมและป้องกันโรคขาดสารไอโอดีน กิจกรรมย่อยที่ 5.1 ส่งเสริมการขับเคลื่อการ ด าเนินงานควบคุมและป้องกันโรคขาดสารไอโอดีน โดยบูณราการกับกลุ่มงานที่เกี่ยวข้อง (กง.อนามัย สิ่งแวดล้อม, กง.พัฒนาคุณภาพและระบบบริการ, กง.คุ้มครองผุ้บริโภค, กง.ส่งเสริมสุขภาพ) และภาคีเครือข่าย กิจกรรมย่อยที่ 5.2 ชุมชน/หมู่บ้าน เป็นชุมชน/ หมู่บ้านไอโอดีนเพิ่มขึ้น (ระดับทอง เงิน และทองแดง) โดยประเมินตนเองผ่านแพลตฟอร์ม อนามัยไอโอดีน กิจกรรมย่อยที่ 5.3 ร้านอาหาร หาบเร่ แผงลอย ฟู๊ดทรัค และโฮมเมด ใช้เกลือและผลิตภัณฑ์ ปรุงรสเสริมไอโอดีนเพิ่มขึ้น โดยประเมินตนเอง ผ่านแพลตฟอร์มอนามัยไอโอดีน กิจกรรมย่อยที่ 5.4 ครัวเรือน มีการใช้ เกลือเสริม ไอโอดีน ที่มีคุณภาพ 20 - 40 ppm. สุ่มส ารวจ คุณภาพเกลือเสริมไอโอดีน ในครัวเรือนด้วยชุด I-kit กิจกรรมย่อยที่ 5.5 สุ่มส ารวจคุณภาพสถาน ประกอบการผลิต/บรรจุเกลือเสริมไอโอดีน กิจกรรมย่อยที่ 5.6 เฝ้าระวังการขาดสารไอโอดีน - ทุกอ าเภอ หญิงตั้งครรภ์ 30 ในกลุ่มหญิงตั้งครรภ์ (เก็บตัวอย่างปัสสาวะ หญิงตั้งครรภ์ เพื่อหา Urine iodine กิจกรรมย่อยที่ 5.7 ประสานงานภาคีเครือข่าย จัดงานรณรงค์วันไอโอดีนแห่งชาติ (ร้านค้า,โรงเรียน,ชุมชน) 25 มิถุนายน กิจกรรมย่อยที่ 5.8 ส่งเสริมการได้รับยาเม็ดเสริม - ป้องกันภาวะขาดสารไอโอดีนใน - หญิงตั้งครรภ์มีค่าไอโอดีนใน - ทุกอ าเภอ - รพ./รพ.สต. ไอโอดีนและธาตุเหล็กแก่หญิงตั้งครรภ์จนถึง มารดาและทารก ปัสสาวะ > 150 microgram/L ทุกแห่ง หลังคลอด รวมงบประมาณ(แผนกลุ่มวัย) 3


Non-UC Non UC PP กองทุน อื่นๆ สป. กรม/กอง/ เบิกจ่ายแทน กัน basic services สุขภาพต าบล เงินบ ารุง/ อบจ,/งบ จังหวัด/PPA/ สสส. ย ต.ค. - ธ.ค. ม.ค. - มี.ค เม.ย - มิ.ย ระยะเวลาด าเนินการ/งบประมาณ แหล่งงบประมาณ/จ านวนงบประมาณ งบประมาณ ก.ค. - ก.ย. รวมทั้งสิ้น รหัสงบ 0 คน 5,000 5,000 5,000 เบิกแทนกัน กรมอนามัย 312,000 310,625 336,800 310,000 4,625 5,000 - - 1,259,800 1,269,425 6


Page | 37 แผนปฏิบัติราชการด้านสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ประจำปีงบประมาณ 2566 แผนงาน : การพัฒนาคุณภาพชีวิตคนไทยทุกกลุ่มวัย(ด้านสุขภาพ) แผนงานย่อย: แผนปฏิบัติราชการส่งเสริมสุขภาพกลุ่มวัยผู้สูงอายุ โครงการพัฒนาและสร้างเสริมศักยภาพคนไทยกลุ่มวัยผู้สูงอายุ 1. สถานการณ์ปัญหา การประเมินสมรรถนะผู้สูงอายุเพื่อการดูแล โดยการประเมินความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวัน (Activities of Daily Living : ADL) ผลงาน ปีงบประมาณ 2562 - 2564 ร้อยละ 94.46, 91.18, 92.88 ปีงบประมาณ 2565 ผลการคัดกรอง ADL ร้อยละ 87.45 จำแนกเป็น กลุ่มพึ่งพาตนเองได้ (ติดสังคม) ร้อยละ 97.52 และกลุ่มพึ่งพิง (ติดบ้านและติดเตียง) ร้อยละ 2.48 ซึ่งในปี 2565 มีผลการคัดกรองต่ำกว่าเกณฑ์ (ร้อย ละ 90) เนื่องจากสถานการณ์ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) ทำให้การดำเนินการ เชิง รุกไม่สามารถดำเนินการได้ และบุคลากรทางการแพทย์ต้องปรับเปลี่ยนงานตามภาระงานในเรื่องการควบคุม และป้องกันและรักษาพยาบาลในผู้ป่วยและเฝ้าระวังในกลุ่มสงสัยติดเชื้อไวรัสโคโรนา อำเภอที่มีผลงานการคัด กรองสุงสุด 3 อันแรก คือ อำเภอเดิมบางนางบวช (ร้อยละ 97.41) , อำเภอดอนเจดีย์ (ร้อยละ 96.90) และ อำเภออู่ ทอง (ร้อยละ 92.52) ในกลุ่มผู้มีภาวะพึ่งพิง (ติดบ้านและติดเตียง) ) สูงสุด 3 อันดับ ได้แก่ อำเภอศรี ประจันต์ (ร้อยละ 3.25) ,อำเภออำเภอสองพี่น้อง (ร้อยละ 2.86) และอำเภอเมิองสุพรรณบุรี (ร้อยละ 2.84) ตามลำดับ การดำเนินงานการคัดกรองปัญหาสำคัญและโรคที่พบบ่อยในผู้สูงอายุ ได้แก่ ความดันโลหิตสูง, เบาหวาน, ความเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือดสมอง, สุขภาพช่องปาก,สุขภาวะทางตา ในปีงบประมาณ 2565 จังหวัดสุพรรณบุรี ผลงานดำเนินการคัดกรองไม่ได้ตามค่าเป้าหมาย (ร้อยละ 90) ทุกอำเภอเนื่องจาก สถานการณ์ระบาดโรคไวรัสโคโรนา 2019 แต่มีผลงานการคัดกรองในเรื่อง ช่องปากสูงที่สุด ร้อยละ 85.30 ส่วนการคัดกรองสุขภาวะทางตาในผู้สูงอายุของจังหวัดสุพรรณบุรี บันทึกการคัดกรองข้อมูลผ่านโปรแกรม National Eye Health Datacenter (vision 2020 Thailand) ของกรมการแพทย์ ซึ่งเป็นข้อตกลงของ Service Plan สาขาตา เพื่อส่งต่อการผ่าตัดต้อกระจก พบผู้มีสูงอายุได้รับการคัดกรองสุขภาพตา ร้อยละ 84.47 พบผิดปกติ (สงสัยตาบอด) ร้อยละ 3.29 และส่งต่อเข้ารับการผ่าตัดตาต้อกระจก ในโรงพยาบาล ตามระบบของ Service Plan สาขาจักษุ การคัดกรอง กลุ่ม Geriatric syndromes การคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุในระดับชุมชน (Community screening) ในเรื่องสมรรถภาพทางสมอง (Mini cog) ภาวะซึมเศร้า (2Q/9Q) ข้อเข่าเสื่อม ภาวะหกล้ม (Time up and go test) การกลั้นปัสสาวะ ภาวะโภชนาการ (BMI) และปัญหาการนอน ในระบบ รายงาน Health Data Center .กลุ่มรายงานมาตรฐาน การคัดกรองผู้สูงอายุ 10 เรื่อง และ 9 ด้าน พบว่า ผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองในมากที่สุด ได้แก่ ภาวะหกล้ม ร้อยละ 85.79 พบผิดปกติ ร้อยละ 3.97 , ข้อเข่า เสื่อม คัดกรองร้อยละ 85.73 พบผิดปกติ ร้อยละ 6.83 , สมองเสื่อม ร้อยละ 85.38 พบผิดปกติ ร้อยละ 0.64


Page | 38 แผนปฏิบัติราชการด้านสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ประจำปีงบประมาณ 2566 ภาวะซึมเศร้า ร้อยละ 84.76 พบผิดปกติ ร้อยละ 0.23 ตามลำดับ (ตารางที่ 5 ) พบว่าในระบบรายงาน HDC ยังไม่มีผลงานการคัดกรอง ในเรื่องปัญหาการนอน และการคัดกรองในภาวะโภชนาการ จากดัชนีมวลกาย (BMI) สามารถบอกได้ว่าสภาวะของร่างกายมีความสมดุลของน้ำหนักตัวต่อส่วนสูงอยู่ในเกณฑ์เหมาะสมหรือไม่ เท่านั้น ซึ่งในปีงบประมาณ 2565 ปรับเปลี่ยนเป็นเรื่องการประเมินภาวะทุพโภชนาการ เพื่อใช้ประเมินว่า ผู้สูงอายุได้รับสารอาหารไม่เพียงพอหรือเพื่อค้นหาโอกาสที่จะเกิดภาวะขาดสารอาหารหรือภาวะทุพ โภชนาการ ภาวะโภชนาการซึ่งเป็นปัจจัยหนึ่งในการดำรงชีวิต และซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอตามความต้องการ พลังงานที่ควรได้รับในวัยผู้สุงอายุ การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพการดูแลผู้สูงอายุรายบุคคลในชุมชน (Wellness plan) โดยมีเป้าหมาย ในกลุ่มผู้สูงอายุที่ติดสังคมที่ต้องได้รับบบริการในส่วนของการส่งเสริมสุขภาพระยะยาวเชิงป้องกัน จะต้องได้รับ การประเมินตามองค์ประกอบของการส่งเสริมสุขภาพดี (Wellness plan) ทั้ง 6 องค์ประกอบโดยมีเป้าหมาย ในการประเมิน จำนวน 500 คน สามารถดำเนินการประเมินได้ 585 คน (ตารางที่ 6) ผลการประเมินในแต่ละ องค์ประกอบพบว่า องค์ประกอบที่ 1 โภชนาการสำหรับผู้สูงอายุ พบผู้สูงอายุมีความเสี่ยง ร้อยละ 26.32 องค์ประกอบที่ 2 การเคลื่อนไหวของผู้สูงอายุ พบผู้สูงอายุมีความเสี่ยง ร้อยละ 13.50 องค์ประกอบที่ 3 สุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ พบผู้สูงอายุมีความเสี่ยง ร้อยละ 29.23 องค์ประกอบที่ 4 ผู้สูงอายุสมองดีพบ ผู้สูงอายุมีความเสี่ยง ร้อยละ 3.25 องค์ประกอบที่ 5 ความสุขของผู้สูงอายุ พบผู้สูงอายุมีความเสี่ยง ร้อยละ 1.03 องค์ประกอบที่ 6 สิ่งแวดล้อมที่ปลอดภัยสาหรับผู้สูงอายุ พบผู้สูงอายุมีความเสี่ยง ร้อยละ 15.09 การจัดบริการและพัฒนาระบบบริการคลินิกผู้สูงอายุ ตามเกณฑ์ของกรมการแพทย์ ในโรงพยาบล ระดับ M 2 ขึ้นไป สำหรับผู้สูงอายุให้เข้าถึงบริการสุขภพได้สะดวกรวดเร็ว และทั่วถึง ได้กำหนดตัวชี้วัดร้อยละ ของผู้สูงอายุที่ผ่านการคัดกรองและพบว่าเป็น Geriatric syndromes ได้รับการแลรักษาในคลินิกผู้สูงอายุ ใน ปัญหาสุขภาพที่สำคัญ ได้แก่ สมองเสื่อม และภาวะพลัดตกหกล้ม เป้าหมายการมีคลินิกผู้สูงอายุของจังหวัด สุพรรณบุรี จำนวน 3 แห่ง รพ.เจ้าพระยายมราช (A),รพ.สมเด็จพระสังฆราช องค์ที่ 17 (M1), และ รพ.อู่ทอง (M2) (ชะลอการเปิดให้บริการในคลินิกเนื่องจากสถานการณ์โควิด-19) และได้ประเมินตนเองตามเกณฑ์การ ประเมินของกรมการแพทย์ ครบทุกแห่ง ผ่านเกณฑ์คุณภาพทุกแห่งระดับ ดี 1 แห่ง ได้แก่ โรงพยาลเจ้าพระยา ยมราช ส่วนโรงพยาบาลชุมชน (จำนวนเตียงน้อยกว่า 120 เตียง) จำนวน 7 แห่ง ยังไม่ได้ดำเนินการตาม ประเมินตามแบบมาตรฐานของกรมการแพทย์ ซึ่งเป็นมาตรฐานการตั้งคลินิกในโรงพยาบาลขนาด 120 เตียง ขึ้นไป แต่ทุกโรงพยาบาลมีการดำเนินงการดูสุขภาพผู้สูงอายุที่และมีการคัดกรองแล้วพบผิดปกติในด้านต่าง ๆ กรณีพบความเสี่ยงให้คำแนะนำเบื้องต้น และประสานผ่านระบบ Line ของโรงพยาบาลแม่ข่าย เพื่อนัดพบ แพทย์และส่งตัวเข้ารับการรักษา และส่งข้อมูลกลับหลังการรักษาให้กับพื้นที่เพื่อติดตามดูแลต่อเนื่อง ระบบ การดูแลรักษา ตั้งแต่ตรวจยืนยัน วินิจฉัยสาเหตุ การตรวจรักษาและการดูแลต่อเนื่องในผู้สูงอายุที่มีภาวะเสี่ยง


Page | 39 แผนปฏิบัติราชการด้านสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ประจำปีงบประมาณ 2566 พบว่าผู้สูงอายุมีปัญหาในเรื่องภาวะเสี่ยงสูงในเรื่องความดันโลหิตสูง และข้อเข่าเสื่อม เป็นอันดับต้น ๆ ในการ ดูแลเน้นในเรื่องให้คำแนะนำและการเยี่ยมติดตามเฝ้าระวัง ส่วนในเรื่องที่ต้องเข้ารับการรักษาในโรงพยาลบาล ส่วนใหญ่จะไปรักษาในแผนกเฉพาะทาง ไม่ได้ผ่านเข้าระบบคลินิกผู้สูงอายุของโรงพยาบาลแต่มีการส่งกลับไป ติดตามเยียมต่อในพื้นที่ ส่วนผู้สูงอายุที่เข้ารับบริการในคลินิกผู้สูงอายุ ของโรงพยาบาล ได้รับการส่งตัวต่อจาก คลินิกทั่วไปหรือผู้สูงอายุที่จะเข้ามารักษาที่คลินิกผู้สูงอายุ จะได้รับบริการคัดกรองซ้ำถ้าพบเจ็บป่วยด้วยโรค หลายโรค มีอาการสงสัยในกลุ่มอาการผู้สูงอายุ (Geriatric Syndromes) ส่วนการรักษาผู้สูงอายุที่มีภาวะสมอง เสื่อม ให้การรักษาตามอาการแสดง และการวินิจฉัย เช่น Alzheimer จ่ายยา Alzheimer ร่วมกับการควบคุม พฤติกรรมที่ผิดปกติและควบคุมโรคเรื้อรังเดิม ส่วนเรื่องการดูแลรักษาผู้สูงอายุที่มีภาวะพลัดตกหกล้มให้การ รักษาโดยเน้นในการควบคุมโรคประจำตัวโรคเรื้อรังเดิม พร้อมกับส่งเสริมภาวะโภชนาการ การทำ กายภาพบำบัด และให้ความรู้เรื่องยาที่มีผลแทรกซ้อน 1.1 Base line data จากข้อมูลในระบบรายงาน Health Data Center กระทรวงสาธารณสุขปีงบประมาณ 2561 – 2565 พบอัตราผู้สูงอายุจังหวัดสุพรรณบุรีมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นจาก ร้อยละ 18.93 ในปีงบประมาณ 2561 เป็น 21.78 ในปีงบประมาณ 2565 (แผนภาพที่ 1) โดยในปีงบประมาณ 2565 มีประชากรผู้สูงอายุตามทะเบียนบ้าน จำนวน 181,982 คน เมื่อจำแนกตามชนิดการอยู่อาศัย (Type Area 1 และ 3) พบผู้สูงอายุ จำนวน 156,024 คน หรือคิดเป็นร้อยละ 24.76 เมื่อจำแนกรายอำเภอพบว่าอำเภอที่มีอัตราผู้สูงอายุสูงสุด3 อันดับแรก ได้แก่ อำเภอ เดิมบางนางบวช (ร้อยละ 30.31) อำเภอบางปลาม้า (ร้อยละ 28.03)และอำเภอสามชุก (ร้อยละ 27.97) ตามลำดับ จากการสำรวจพฤติกรรที่พึงประสงค์ของผู้สูงอายุในกลุ่มติดสังคม (ADL > 12) เป้าหมาย ร้อยละ 1 ของจำนวนผู้สูงอายุกลุ่มติดสังคม ในปีงบประมาณ 2565 การดำเนินงานสำรวจพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ ของผู้สูงอายุ ผ่านโปรแกรมสมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ (Blue Book) มีจำนวนผู้สูงอายุตอบแบบสอบถาม จำนวน 12,184 คน พบผู้สูงอายุที่มีพฤติกรรมที่พึงประสงค์ผ่านเกณฑ์ 10,754 คน คิดเป็นร้อยละ 88.26 ซึ่ง สูงกว่าค่าเป้าหมายที่กำหนด (ร้อยละ 50) เมื่อจำแนกรายอำเภอพบว่าผ่านค่าเป้าหมายมากกว่าร้อยละ 50 ทุกอำเภอ โดยอำเภอที่พบผู้สูงอายุผ่านเกณฑ์สูงสุดได้แก่ อำเภอเดิมบางนางบวช ร้อยละ 98.55 รองลงมาคือ อำเภอเมืองสุพรรณบุรี และอำเภอด่านช้าง ร้อยละ 91.32 และ 91.16 ตามลำดับ การขับเคลื่อนการดำเนินงานเมือง/ชุมชนที่เป็นมิตรกับผู้สูงอายุ (Age Friendly Communities) ปีงบประมาณ 2565 จังหวัดสุพรรณบุรี มีตำบลวังน้ำเย็น อำเภอบางปลาม้า เป็นพื้นที่ต้นแบบ ปรับเปลี่ยน พฤติกรรมสุขภาพ ลดหวาน มัน เค็ม และศูนย์อนามัยที่ 5 ราชบุรี ได้ลงพื้นที่ตรวจเยี่ยมเพื่อสำรวจตามเกณฑ์ 8 องค์ประกอบ ในพื้นที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลวังน้ำเย็น อำเภอบางปลาม้า และมีการแลกเปลี่ยน เรียนรู้ ถอดบทเรียนการดำเนินงาน ร่วมกับอาสาสมัครสาธารณสุข ภาคีเครือข่ายภาคประชาชน เพื่อพัฒนา และผลักดันให้เป็นเมือง/ชุมชนที่เป็นมิตรกับผู้สูงอายุ


Page | 40 แผนปฏิบัติราชการด้านสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ประจำปีงบประมาณ 2566 จังหวัดสุพรรณบุรีได้ขับเคลื่อนการดำเนินงานวัดส่งเสริมสุขภาพเน้นการทำงานแบบบูรณา การทุกภาคส่วนโดยมีการพัฒนาพระเพื่อส่งเสริมสุขภาพประจำวัดหรือพระอสมซึ่งเป็นผู้มีความรู้ความเข้าใจใน การดูแลสุขภาพอนามัยของตนเองและสามารถให้คำแนะนำดูแลสุขภาพและส่งภายในวัดและชุมชนเพื่อให้ พระสงฆ์มีความรอบรู้ด้านสุขภาพดูแลตนเองและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพได้ให้สุขภาพที่ดีขึ้นจึงส่งเสริม พฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของพระสงฆ์ นอกจากการส่งเสริมให้พระสงฆ์ตระหนักถึงการมีพฤติกรรม สุขภาพที่พึงประสงค์แล้วการรณรงค์ให้ประชาชนเห็นความสำคัญของพฤติกรรมสุขภาพและสร้างความร่วมมือ ในการดูแลสุขภาพพระสงฆ์โดยการถวายอาหารและเครื่องไทยธรรมที่ดีต่อสุขภาพนับว่ามีส่วนสำคัญในการ ส่งเสริมและสนับสนุนการดูแลสุขภาพพระสงฆ์ให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีสมบูรณ์ทั้งทางกายจิตใจทางปัญญาและ ทางสังคมตลอดจนการจัดสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพเชื่อมโยงระหว่างวัดและชุมชนมุ่งให้เกิดพระแข็งแรงวัด มั่นคงชุมชนเป็นสุขพระสงฆ์เป็นผู้มีความสำคัญในการสืบทอดพระพุทธศาสนาพัฒนาการเรียนรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรมและการพัฒนาสังคมท้องถิ่นชุมชนอันเป็นแบบอย่างที่ดีให้กับชุมชนในเรื่องการดูแลสุขภาพตนเอง สิ่งแวดล้อมภายในวัดและขยายผลสู่การพัฒนาสุขภาพของชุมชนเป็นสิ่งสำคัญจำเป็นต้องมีภาคีเครือข่ายทุก ภาคส่วนทั้งภาครัฐเอกชนและประชาชนในพื้นที่เชื่อมโยงบูรณาการกันทุกหน่วยงานโครงการพระสงฆ์กับการ พัฒนาสุขภาวะเนื่องจากวัดเป็นศูนย์กลางของชุมชนและเป็นสถานที่ที่มีบทบาทสำคัญในการส่งเสริมสุขภาพ ประชาชนการส่งเสริมสนับสนุนให้วัดเข้าสู่กระบวนการดำเนินงานวัดส่งเสริมสุขภาพเกิดการพัฒนาระบบ บริการด้านสุขภาพที่มีคุณภาพในการดูแลสุขภาพพระสงฆ์และพัฒนาให้เกิดเครือข่ายพระสงฆ์นักพัฒนาเพื่อ เป็นแกนนำในการดูแลสุขภาพของประชาชนในชุมชนและพระสงฆ์กันเองให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีมีสุขภาวะที่ สมบูรณ์ทั้งกายจิตตลอดจนการจัดการสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการมีสุขภาพดีทำให้พระสงฆ์แข็งแรงวัดมั่นคงชุมชน เป็นสุขตามวิถีชีวิตและบริบทสังคมไทย จังหวัดสุพรรณบุรีมีพระสงฆ์ที่ประเมินพฤติกรรมที่พึงประสงค์ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 42.66 และวัด ส่งเสริมสุขภาพผ่านเกณฑ์การประเมิน ร้อยละ 84.09 มีพระคิลานุปัฏฐากจำนวนทั้งสิ้น 33 รูป (อบรมเมื่อ วันที่ 15- 17 ธันวาคม 2563) 1.2 ปัญหาพื้นที่เชิงคุณภาพ ปัจจุบันประเทศไทยได้ก้าวเข้าสังคมสูงวัย (Aged society) มีสัดส่วนประชากรผู้สูงอายุมี แนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น โดยจังหวัดสุพรรณบุรีมีสถิติผู้สูงอายุในปี 2562 ร้อยละ19.64 ปี 2563 ร้อยละ 20.42 และ ปี2564 ร้อยละ 21.01 (จำนวนประชากรรวม 838,628 คน จำนวนผู้สูงอายุ 176,236 คน) ตามลำดับ โครงสร้างประชากรจังหวัดสุพรรณบุรี ขณะนี้เข้าสู่สังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ (Aged society) และส่วนใหญ่ เป็นผู้สูงอายุที่ทำกิจวัตรประจำวันเองได้ (ร้อยละ 97.31) มีพื้นที่เข้าสู่สังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ ( Aged


Page | 41 แผนปฏิบัติราชการด้านสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ประจำปีงบประมาณ 2566 society) จำนวน 6 อำเภอ ได้แก่ อำเภอเดิมบางนางบวช (ร้อยละ 24.71) อำเภอศรีประจันต์ (ร้อยละ 23.93) อำเภอสามชุก (ร้อยละ 23.79) อำเภอบางปลาม้า (ร้อยละ 23.24) อำเภอเมือง (ร้อยละ 21.05) อำเภอหนอง หญ้าไซ (ร้อยละ 20.78) ผลจากการสำรวจพฤติกรรมพึงประสงค์ของประชากรผู้สูงอายุกลุ่ม ADL มากกว่า12 ตามเกณฑ์ พบว่าผ่านเกณฑ์มากกว่าร้อยละ 50 ทุกอำเภอ ในรายข้อประเมินพบว่ายังมีพฤติกรรมพึงประสงค์ที่ ต่ำกว่าร้อยละ 80 คือ การรับประทานผักผลไม้วันละ 5 กำมือ การออกกำลังกาย และมีกิจกรรมทางกาย วัน ละ 30 นาที 1.3 ข้อมูล หรือปัญหาของกระบวนการทำงาน 1.ประสานความร่วมมือกับ Service Plan ในสาขาที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ สาขาออร์โธปิดิกส์ ในเรื่อง การการรักษา (การผ่าตัด) ให้เข้าระบบการบริการ fast track fracture around the hip การบริการหลัง ผ่าตัดเสร็จ ในรูปแบบบริการ intermediate care model for hip fracture หลังผ่าตัดเสร็จ ในสาขา IMC & PC care 2.มีระบบการัรบ-ส่งต่อข้อมูลผู้ป่วยในการดูแลติดตามฟื้นฟูสมรรถภาพที่บ้านและชุมชน 3.ประสานความร่วมมือกับกองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพจังหวัด (องค์การบริหารส่วนจังหวัด สุพรรณบุรี) เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์ที่จำเป็นต่อสุขภาพ 4.ประสานการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุร่วมกับชมรมผู้สูงอายุในระดับจังหวัด อำเภอ และตำบล 5.พัฒนาพื้นที่ต้นแบบเมือง/ชุมชนที่เป็นมิตรกับผู้สูงอายุ (Age Friendly Communities /Cities) 2. สรุปปัญหาที่สำคัญ 2.1 การส่งเสริม Health literacy ในทีมบุคลากรและผู้สูงอายุ 2.2 การคัดกรองภาวะสุขภาพอย่างมีคุณภาพและครอบคลุมและพบว่าเป็น Geriatric syndromes ได้รับการดูแลในคลินิกผู้สูงอายุ 2.3 ผู้สูงอายุทีมีภาวะพึงพิง ได้รับบริการทีมีคุณภาพอย่างครอบคลุม 2.4 การบูรณาการภาคีเครือข่ายเพื่อขับเคลื่อนนโยบาย 3. เป้าประสงค์ 3.1 ผู้สูงอายุสุขภาพดี และมีคุณภาพชีวิตที่ดี 3.2 ผู้สูงอายุทีมีภาวะพึงพิง มีคุณภาพชีวิตทีดีขึ้น 3.3 ผู้สูงอายุทุกกลุ่มได้รับการดูแลครอบคลุม จากความร่วมมือของภาคีเครือข่าย


Page | 42 แผนปฏิบัติราชการด้านสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ประจำปีงบประมาณ 2566 4. ตัวชี้วัด 4.1 ร้อยละผู้สูงอายุและผู้มีภาวะพึ่งพิงที่ได้รับการดูแลตาม Care Plan และมีความสามารถประกอบ กิจวัตรประจำวัน (Barthel Activities of Daily Living : ADL) ดีขึ้น 4.2 ร้อยละของประชากรสูงอายุมีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ 4.3 ร้อยละคลินิกผู้สูงอายุในโรงพยาบาล


ตัวชี้วัด ส่วนที่ 2 แผนปฏิบัติการและแผนสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ปี 2566 กลุ่มเป้าหมาย แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก/กิจกรรมย่อย จ านวนหน่วยนับ พื้นที่เป้าหมาย วัตถุประสงค์ ค่าเป้าหมายตัวชี้วัด นโยบายมุ่งเน้น โครงการสร้างเสริมระบบการดูแลสุขภาพเพื่อรองรับ ผู้สูงอายุแบบบูรณาการ มาตรการที่ 1 พัฒนากลไกขับเคลื่อนการดูแล ผู้สูงอายุแบบครบวงจรและยั่งยืน กิจกรรมหลักที่ 1 ประชุมขับเคลื่อนการด าเนินงาน เพื่อวางแผนการด าเนินงานและชี้แจง กิจกรรมย่อยที่ 1.1 ประชุมคณะท างานเพื่อวางแผนการ แนวทางการด าเนินงาน จัดประชุมคณะท างาน จ านวน 4 ครั้ง ด าเนินงาน กิจกรรมย่อยที่ 1.2 ประชุมปฏิบัติการแนวทางการ ประชุมชี้แจงแนวทางการด าเนินงาน ด าเนินงานและมาตรฐานการประเมิน คัดกรองภาวะ จ านวน 1 ครั้ง สุขภาพผู้สูงอายุให้แก่ภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง มาตรการที่ 2 การเตรียมความพร้อมด้าน ทรัพยากร โครงสร้างพื้นฐาน ในการดูแลผู้สูงอายุ กิจกรรมหลักที่ 1 ขับเคลื่อนการด าเนินงานส่งเสริม เพื่อขับเคลื่อนการด าเนินงานของภาคี สุขภาพการดูแลผู้สูงอายุและผู้มีภาวะพึ่งพิง เครือข่ายในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ กิจกรรมย่อยที่ 1.1 ประสาน อปท. เพื่อสมัคร และผู้มีภาวะพึ่งพิงในชุมชน เข้าร่วมกองทุน LTC สปสช. กิจกรรมย่อยที่ 1.2 ส่งเสริมการพัฒนศักยภาพ CM CG - ส ารวจความต้องการอบรม CM เพื่อส่งเข้ารับ 10 อ าเภอ จนท.สธ.ระดับรพ./ การอบรมพัฒนาความรู้และทักษะ รพ.สต. - ประสาน CM เพื่อเข้ารับการอบรมหลักสูตร CM 10 อ าเภอ CM ในพื้นที่ ฟื้นฟู ผ่านระบบ Online - ประสานจัดกิจกรรมอบรม CG 10 อ าเภอ ประชาชนที่สนใจ กิจกรรมหลักที่ 2 อบรมพระคิลานุปัฏฐาก 3.เพื่อสื่อสารเรื่องสุขภาพพระสงฆ์ อ าเภอศรีประจันต์ 30 รูป หลักสูตร 35 ชั่วโมง 1 รูป/ 1 ต าบล เฝ้าระวังสถานการณ์ด้านสุขภาพในวัด อ าเภอสามชุก 30 รูป และชุมชน ประสานงานด้านสุขภาพพระสงฆ์กับ คณะสงฆ์ และหน่วยงาน ด้านสาธารณสุข มาตรการที่ 3 พัฒนาระบบการดูแลผู้สูงอายุ แบบไร้รอยต่อ กิจกรรมหลักที่ 1 ขับเคลื่อนการจัดตั้งคลินิก เพื่อให้ผู้สูงอายุที่ผ่านการคัดกรองและ พบว่าเป็น Geriatric syndromesได้รับ 1.คลินิกผู้สูงอายุใน รพ.ระดับ M2 ขึ้นไป ทุกอ าเภอ โรงพยาบาลทุกแห่ ผู้สูงอายุร่วมกับคณะกรรมการพัฒนาคลินิก 2.คลินิกผู้สูงอายุใน รพช.ขนาด F 4


Non-UC Non UC PP กองทุน อื่นๆ สป. กรม/กอง/ เบิกจ่ายแทน กัน basic services สุขภาพต าบล เงินบ ารุง/ อบจ,/งบ จังหวัด/PPA/ สสส. ย ต.ค. - ธ.ค. ม.ค. - มี.ค เม.ย - มิ.ย ระยะเวลาด าเนินการ/งบประมาณ แหล่งงบประมาณ/จ านวนงบประมาณ งบประมาณ ก.ค. - ก.ย. รวมทั้งสิ้น รหัสงบ 425 425 425 425 1,700 1,700 รหัส8207 7,050 7,050 7,050 รหัส8207 P P / P P P P P P P ง 3


ตัวชี้วัด ส่วนที่ 2 แผนปฏิบัติการและแผนสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ปี 2566 กลุ่มเป้าหมาย แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก/กิจกรรมย่อย จ านวนหน่วยนับ พื้นที่เป้าหมาย วัตถุประสงค์ ค่าเป้าหมายตัวชี้วัด (25 คน) กิจกรรมย่อยที่ 1.1 ประชุมคณะกรรมการพัฒนา คณะกรรมการ คลินิกผู้สูงอายุจังหวัดเพื่อวางแผนการ 25 คน จัดตั้งคลินิกผู้สูงอายุในโรงพยาบาลทุกแห่ง กิจกรรมย่อยที่ 1.2 พัฒนาระบบรายงานการจัดเก็บ - เพื่อให้ตัวชี้วัดสอดคล้องกับผลการ - ทุกอ าเภอ คลินิผู้สูงอายุ โรงพยาบาล ข้อมูลพื้นฐานคลิกนิกผู้สูงอายุและระบบรายงาน ปฏิบัติงานแก้ไขปัญหาอุปสรรคในการ การให้บริการในคลินิกผู้สุงอายุ แบบ Digital ด าเนินงานบันทึกข้อมูล - สร้างช่องทางการรายงานการประเมิน เพิ่มช่องทางในการสื่อสาร คลินิกผู้สูงอายุตามเกณฑ์ฯของกรมการแพทย์ ความรู้ให้แก่กลุ่มเป้าหมาย และสร้างการรายงาน KPI การให้บริการในคลินิก ผู้สูงอายุของจังหวัด - พัฒนาช่องทางการบันทึกข้อมูลการรับ-ส่ง เพื่อให้ข้อมูล การบริบาล ครบถ้วน - รพ.ในเครือข่ายจังหวัดมีข้อมูลที่ รพ.ทุกแห่ง เครือข่ายคณะท าง ผู้สูงอายุที่ผิดปกติเข้าสู่ระบบการรักษา เพื่อสะดวกในการติดต่อ/ติดตามผล เชื่อมโยงครบถ้วนและเป็นปัจจุบัน การบริบาล อย่างต่อเนื่อง กิจกรรมย่อยที่ 1.3 การพัฒนาคลินิกผู้สูงอายุ - พัฒนายกระดับคลินิกผุ้สูงอายุโรงพยาบาล เพื่อให้ผู้สูงอายุที่ผ่านการคัดกรอง ทุกอ าเภอ รพท./รพศ. ขนาด M 2ขึ้นไป ให้ได้ตามเกณฑ์มาตรฐานระดับ และพบว่าเป็น Geriatric รพช.อู่ทอง คุณภาพ syndromesได้รับการดูแลในคลินิก - ขยายการจัดตั้งคลินิกผู้สูงอายุในโรงพยาบาล ผู้สูงอายุ รพช 7 แห่ง ระดับ F ตามเกณฑ์มาตรฐานของกรมการแพทย์ ในระดับพื้นฐาน กิจกรรมหลักที่ 2 การก าจัดขยะติดเชื้อในบ้านผู้ป่วย - สนับสนุนสื่อการก าจัดขยะติดเชื้อที่ถูกต้องโดยสสอ. ทุกอ าเภอ สสอ./รพ.สต. เป็นผู้ประสานงานในพื้นที่ -ประสานงานกับรพ.สต.ให้ care giverรวบรวมขยะติด ทุกอ าเภอ ผู้สูงอายุติดเตียง เชื้อจากบ้านผู้ป่วยน าส่งรพ.สต. - รพ.สต.เป็นจุดพักขยะติดเชื้อให้บริษัทที่รับจ้างจาก ทุกอ าเภอ รพ.สต.ทุกแห่ง อบจ.สุพรรณบุรี กิจกรรมหลักที่ 3 บริการส่งเสริมป้องกันโรค 1. เพื่อให้ผู้สุงอายุ ผู้ป่วยติดบ้าน ในช่องปากผู้สูงอายุ และผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียง ติดเตียงได้รับการดูแลสุขภาพช่องปาก - ตรวจสุขภาพ และคัดกรอง 2. เพื่อให้ผู้ดูแลผู้สูงอายุ ผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียงมีความรู้และทักษะการดูแล สุขภาพช่องปาก กิจกรรมหลักที่ 4 จัดท าแนวทางการส่งต่อข้อมูล เพื่อให้ผู้ป่วย IMC ได้รับบริการฟื้นฟู 4


Non-UC Non UC PP กองทุน อื่นๆ สป. กรม/กอง/ เบิกจ่ายแทน กัน basic services สุขภาพต าบล เงินบ ารุง/ อบจ,/งบ จังหวัด/PPA/ สสส. ย ต.ค. - ธ.ค. ม.ค. - มี.ค เม.ย - มิ.ย ระยะเวลาด าเนินการ/งบประมาณ แหล่งงบประมาณ/จ านวนงบประมาณ งบประมาณ ก.ค. - ก.ย. รวมทั้งสิ้น รหัสงบ P P าน P P P P P P P P P P P P P P P 4


ตัวชี้วัด ส่วนที่ 2 แผนปฏิบัติการและแผนสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ปี 2566 กลุ่มเป้าหมาย แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก/กิจกรรมย่อย จ านวนหน่วยนับ พื้นที่เป้าหมาย วัตถุประสงค์ ค่าเป้าหมายตัวชี้วัด ผู้ป่วย IMC Palliative care ที่ต่อเนื่องเชื่อมโยง สมรรถภาพทางการแพทย์ จากโรงพยาบาล ถึงชุมชน โดยทีมสหวิชาชีพ อย่างต่อเนื่อง จนครบ 6 เดือนตั้งแต่ในโรงพยาบาล จนถึง ชุมชน กิจกรรมหลักที่ 5 พัฒนาพื้นที่ต้นแบบชุมชนที่เป็นมิตร เพื่อส่งเสริม สนับสนุนภาคีเครือข่ายใน มีพื้นที่ต้นแบบชุมชนที่เป็นมิตรกับ กับผู้สูงอายุ การส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุและพัฒนา ผู้สูงอายุผ่าน 1. ต.วังน้ าเย็น จนท.สาธารณสุข/อ กิจกรรมย่อยที่ 5.1 ประชุมชี้แจงแนวทางการด าเนินงาน ชุมชนที่เป็นมิตรกับผู้สูงอายุ เกณฑ์ไม่น้อยกว่า 1 ชุมชน อ.บางปลาม้า /ผู้น าชุมชน/แกนน ชุมชนที่เป็นมิตรกับผู้สูงอายุร่วมกับศูนย์อนามัยที่ 5ราชบุรี ให้แก่พื้นที่เป้าหมายทราบ กิจกรรมย่อยที่ 5.2 ประชุมติดตามการด าเนินงานชุมชนที่ 2. อ.เมือง ผู้สูงอายุ เป็นมิตรกับผู้สูงอายุ 1 ชุมชน กิจกรรมหลักที่6ด าเนินงานคัดกรอง/ประเมินและส่งเสริม 1. เพื่อส่งเสริมสุขภาพผู้สูงในชุมชน สุขภาพผู้สูงอายุในชุมชน แบบบูรณาการ กิจกรรมย่อยที่ 6.1 สนับสนุนการจัดท าแผนสุขภาพดี ผู้สูงอายุกลุ่มเสี่ยงมีแผนส่งเสริมสุขภาพ อ.เมือง อ.อู่ทอง ผู้สูงอายุติดสังคม (Wellness Plan) (จ านวน 4 อ าเภอ ๆ ละ 5 ชมรม ดี (Wellness Plan) > ร้อยละ 50 อ.หนองหญ้าไซ จ านวน 600 คน รวม 20 ชมรม) อ.บางปลาม้า - ชี้แจงแนวทางการด าเนินงานแก่ อบจ/รพ./รพ.สต/ แกนน าชมรมผู้สูงอายุ -- อบรมพัฒนาศักยภาพแกนน าผู้สูงอายุในชมรม เพื่อสร้างแกนน าผู้สูงอายุในการจัดท า ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ไม่น้อยกว่า อ.เมือง อ.อู่ทอง แกนน าชมรม จ านว ผู้สูงอายุในการจัดท าแผนwellness plan Wellness Plan ร้อยละ 80 อ.หนองหญ้าไซ 100 คน(ชมรมละ อ.บางปลาม้า 5 คน* 20 ชมรม) กิจกรรมย่อยที่ 6.2 ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้การด าเนินงาน คัดกรอง/ประเมินและส่งเสริมสุขภาพในชมรมผู้สูงอายุ กิจกรรมย่อยที่ 6.3 คัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุในชุมชนให้มี เพื่อให้ผู้อายุได้รับการคัดกรองสุขภาพ 10 อ าเภอ จนท.สสจ/รพ./สสอ คุณภาพและครอบคลุมกลุ่มเป้าหมาย ได้อย่างมีประสิทธิภาพ อบจ - ก าหนดแนวทางในการคัดกรองสุขภาพ - จัดท าสรุปรายงานผลการด าเนินงานรายไตรมาส และส่งคืนข้อมูล กิจกรรมย่อยที่ 6.4 คัดกรองภาวะต้อกระจก การเคลื่อน เพื่อเพิ่มการเข้าถึงบริการคัดกรอง 10 อ าเภอ ผู้สูงอายุ ไหว ต้อหิน การกลั้นปัสสาวะ การได้ยิน และความคิด ค้นหาผู้มีภาวะผิดปกติเข้าสู่ระบบการ จ านวน 16,000 รา ความจ า รักษา กิจกรรมหลักที่ 7 จัดอบรมขับเคลื่อนการด าเนินงานแพทย์ 10 อ าเภอ แผนไทยผ่านคณะกรรมการ Service planสาขากัญชา / แพทย์แผนไทย 4


Non-UC Non UC PP กองทุน อื่นๆ สป. กรม/กอง/ เบิกจ่ายแทน กัน basic services สุขภาพต าบล เงินบ ารุง/ อบจ,/งบ จังหวัด/PPA/ สสส. ย ต.ค. - ธ.ค. ม.ค. - มี.ค เม.ย - มิ.ย ระยะเวลาด าเนินการ/งบประมาณ แหล่งงบประมาณ/จ านวนงบประมาณ งบประมาณ ก.ค. - ก.ย. รวมทั้งสิ้น รหัสงบ อปท. น า P P 9,000 9,000 9,000 รหัส8207 9,000 9,000 9,000 รหัส8207 - วน 15,000 15,000 15,000 รหัส8207 5,250 5,250 5,250 รหัส8207 อ./ P P P P P P P P าย 5


ตัวชี้วัด ส่วนที่ 2 แผนปฏิบัติการและแผนสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ปี 2566 กลุ่มเป้าหมาย แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก/กิจกรรมย่อย จ านวนหน่วยนับ พื้นที่เป้าหมาย วัตถุประสงค์ ค่าเป้าหมายตัวชี้วัด กิจกรรมย่อยที่ 7.1 จัดอบรมคณะกรรมการ Service plan รพ./สสอ/แพทย์ 35 คน สาขาแพทย์แผนไทย 2 ครั้ง เพื่อสนับสนุนการดูแล แผนไทย Palliative care ในผู้สูงอายุ กิจกรรมย่อยที่ 7.2 จัดอบรมจัดอบรมคณะกรรมการ รพ./สสอ/แพทย์ 25 คน Service plan สาขากัญชาทางการแพทย์ 2 ครั้งเพื่อ แผนไทย สนับสนุนการดูแล Palliative care ในผู้สูงอายุ กิจกรรมหลัก 8 การส่งเสริมสุขภาพจิตในผู้สูงอายุ กิจกรรมย่อยที่ 8.1 ขยายผลการด าเนินงานสุข 5 มิติในชมรมผู้สูงอายุ เพื่อส่งเสริม ป้องกัน ปัญหาสุขภาพจิต ร้อยละ 52 ของผู้สูงอายุมีพฤติกรรม ร่วมกับสมาคมสภา ผู้สูงอายุในชมรมฯ ร่วมกับงานผู้สูงอายุ (20ต าบล/4อ าเภอ) ในผู้ผู้สุงอายุ สุขภาพที่พึงประสงค์ (ด้านสุขภาพจิต) ผู้สูงอายุแห่ง 20 ต าบล กิจกรรมย่อยที่ 8.2 ประเทศฯ สนับสนุนการจัดกิจกรรมที่เน้นการเพิ่มความรู้สึก มีคุณค่าในตัวเอง ความหวัง การเผชิญกับปัญหา เป็นต้น ทุกอ าเภอ กลุ่มผู้สูงอายุ กิจกรรมย่อยที่ 8.3 พัฒนาระบบการดูแลเฝ้าระวังผู้สูงอายุที่มี เพิ่อป้องกัน และลดปัดหาการฆ่าตัวตาย อัตราการฆ่าตัวตายส าเร็จของผู้สูงอายุ กลุ่มผู้สูงอายุ ความเสี่ยงสูงในการเกิดปัญหาการฆ่าตัวตาย ส าเร็จในผู้สูงอายุ ลดลงจากปีที่ผ่านมา ที่มีความเสี่ยงสูง ร่วมกับทีม 3 หมอ (ปี 65 อัตรา 8.86 ต่อ ปชก.สูงอายุ ทุกอ าเภอ ต่อการฆ่าตัวตาย Tye1,3 ) กิจกรรมย่อยที่ 8.4 เฝ้าระวังสัญญาณเสี่ยงฆ่าตัวตาย /การจัดสิ่งแวด ทุกอ าเภอ กลุ่มผู้สูงอายุ ล้อมในบ้าน ที่ป้องกันการเข้าถึงอุปกรณ์ ที่มีความเสี่ยงสูง การฆ่าตัวตาย เช่น เชือก ปืน สารเคมี ต่อการฆ่าตัวตาย กิจกรรมย่อยที่ 8.5 ทบทวนกระบวนการคัดกรองซึมเศร้า และ ร้อยละ 80 ของผู้สูงอายุได้รับ การเข้าถึงบริการผู้ป่วยซึมเศร้า และผู้ที่ฆ่าตัวตาย การคัดกรองสุขภาพจิต สสจ./รพ./สสอ./ ในกลุ่มผู้สูงอายุ ทุกอ าเภอ อบจ./รพ.สต. กิจกรรมย่อยที่ 8.6 จัดท า Flow และประสานแนวทางการดูแลผู้ป่วย เพื่อให้ผู้สูงอายุได้เข้าถึงบริการด้าน ร้อยละ 55 ของผู้สูงอายุที่ได้รับการ ทุกอ าเภอ สสจ./รพ./สสอ./ Palliative ที่ต่อเนื่องเชื่อมโยง จาก รพ. ถึงชุมชน Palliative care วินิจฉัย (Z51.5) มีกิจกรรม Family อบจ./รพ.สต. กิจกรรมย่อยที่ 8.7 Meeting และมีการท าAdvance ประชาสัมพันธ์ การจัดท าพินัยกรรมชีวิต Care Planning (ACP) เพื่อเพิ่มการเข้าถึงข้อมูลในกลุ่มผู้ป่วยที่มีโอกาส ร่วมกับผู้ป่วยและครอบครัว ทุกอ าเภอ สสจ./รพ./สสอ./ ได้รับการดูแลแบบประคับประคอง อบจ./รพ.สต. 4


Non-UC Non UC PP กองทุน อื่นๆ สป. กรม/กอง/ เบิกจ่ายแทน กัน basic services สุขภาพต าบล เงินบ ารุง/ อบจ,/งบ จังหวัด/PPA/ สสส. ย ต.ค. - ธ.ค. ม.ค. - มี.ค เม.ย - มิ.ย ระยะเวลาด าเนินการ/งบประมาณ แหล่งงบประมาณ/จ านวนงบประมาณ งบประมาณ ก.ค. - ก.ย. รวมทั้งสิ้น รหัสงบ P P P P P P P P P P P P - P P P P P P P P P P P P 6


ตัวชี้วัด ส่วนที่ 2 แผนปฏิบัติการและแผนสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ปี 2566 กลุ่มเป้าหมาย แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก/กิจกรรมย่อย จ านวนหน่วยนับ พื้นที่เป้าหมาย วัตถุประสงค์ ค่าเป้าหมายตัวชี้วัด กิจกรรมหลักที่ 9 ขับเคลื่อนการด าเนินงาน - เพื่อให้กลุ่มเป้าหมาย IMC/LTC/PC/ - ศูนย์ฟื้นฟู อ าเภอละ 1 ต าบล ทุกอ าเภอ อ าเภอละ 1 ต าบล กองทุนฟื้นฟูในชุมชน ผู้พิการในชุมชนได้รับการดูแล กิจกรรมย่อยที่ 9.1 ประสานงานและด าเนินงาน กองทุนฟื้นฟูร่วมกับอบจ. กิจกรรมย่อยที่ 9.2 ศึกษาดูงานกองทุนฟื้นฟู มาตรการที่ 4 ประสานความร่วมมือภาคีเครือข่าย ในการดูแลผู้สูงอายุ กิจกรรมหลักที่ 1 พัฒนามาตรฐานศูนย์ดูแลผู้สูงอายุให้ได้ ตามกฎหมายที่ก าหนด กิจกรรมย่อยที่ 1.1 พัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการและ 2.1 ผู้ประกอบการศูนย์ดูแลผู้สูงอายุที่ ร้อยละ 100 ของผู้ประกอบการที่ศูนย์ จังหวัดสุพรรณบุรี ผู้ประกอบการที่ มาตรฐานสถานดูแลผู้สูงอายุ ยังไม่ได้รับการอนุญาตประกอบกิจการ ดูแลผู้สูงอายุที่ยังไม่ได้รับการอนุญาต ต้องการเปิดศูนย์ดู สถานประกอบการเพื่อสุขภาพ ประกอบกิจการสถานประกอบการเพื่อ ผู้สูงอายุ สุขภาพมีความรู้ในการจัดการสถานที่ให้ได้ ตามกฎหมายที่ก าหนด กิจกรรมย่อยที่ 1.2 ตรวจเฝ้าระวังศูนย์ดูแลผู้สูงอายุที่ได้รับ 2.2 ศูนย์ดูแลผู้สูงอายุที่ได้รับอนุญาตใน ร้อยละ 100 ของศูนย์ดูแลผู้สูงอายุได้รับ จังหวัดสุพรรณบุรี ศูนย์ดูแลผู้สูงอายุ การอนุญาตฯประจ าปี จังหวัดสุพรรณบุรี ได้มาตราฐานตามที่ การตรวจเฝ้าระวังตามกฎหมาย กฎหมายก าหนด กิจกรรมย่อยที่ 1.3 พัฒนาศักยภาพพนักงานเจ้าหน้าที่ 3.3 พนักงานเจ้าที่หน้ามีความรู้และ ร้อยละ 100 ของพนักงานเจ้าหน้าที่ได้ จังหวัดสุพรรณบุรี พนักงานเจ้าหน้าที่ใ ในการตรวจประเมินหรือพัฒนาศูนย์ดูแลผู้สูงอายุ เชี่ยวชาญในการพัฒนามาตรฐานศูนย์ รับการพัฒนา สสจ.สุพรรณบุรี ดูแลผู้สูงอายุ และในระดับอ าเภอ กิจกรรมหลักที่ 2 ด าเนินงานชมรมผู้สูงอายุด้านสุขภาพ ชมรมผู้สูงอายุด้านสุขภาพผ่านเกณฑ์ อ.เมือง อ.อู่ทอง ชมรมผู้สูงอายุ ร่วมกับสาขาสมาคมสภาผู้สูงอายุแห่งประเทศไทย ฯ ไม่น้อยกว่า 5 ชมรม อ.หนองหญ้าไซ ประจ าจังหวัดสุพรรณบุรี อ.บางปลาม้า -ประชุมชี้แจงแนวทางการด าเนินงานชมรมผู้สูงอายุด้าน สุขภาพร่วมกับสาขาสมาคมสภาผู้สูงอายุแห่ง ประเทศไทยฯ ประจ าจังหวัดสุพรรณบุรี มาตรการที่ 5 ส่งเสริมสนับสนุนการน าเทคโนโลยีดิจิทัล และนวตกรรมเพื่อใช้ในการดูแลผู้สูงอายุ กิจกรรมหลักที่ 1 อบรม อสม.แกนน าด้าน เพื่อพัฒนาแกนน าและเพิ่มการเข้าถึง มีแกนน าหมู่บ้านละ 1 คน 10 อ าเภอ แกนน าอสม. การใช้เทคโนโลยีด าเนินการอบรมพร้อมกับ เทคโนโลยีดิจิตัสในผู้สูงอายุ 1,008 คน อสม.หมอประจ าบ้าน หมู่บ้านละ 1 คน กิจกรรมหลักที่ 2 จัดท าฐานข้อมูลศูนย์ดูแลผู้สูงอายุ เพื่อรวบรวมฐานข้อมูลศูนย์ดูแล ผู้สูงอายุภายในจังหวัดสุพรรณบุรี (ก.คบส.) 4


Non-UC Non UC PP กองทุน อื่นๆ สป. กรม/กอง/ เบิกจ่ายแทน กัน basic services สุขภาพต าบล เงินบ ารุง/ อบจ,/งบ จังหวัด/PPA/ สสส. ย ต.ค. - ธ.ค. ม.ค. - มี.ค เม.ย - มิ.ย ระยะเวลาด าเนินการ/งบประมาณ แหล่งงบประมาณ/จ านวนงบประมาณ งบประมาณ ก.ค. - ก.ย. รวมทั้งสิ้น รหัสงบ P P P P P P แล P P P P ใน P อ P P 7


ตัวชี้วัด ส่วนที่ 2 แผนปฏิบัติการและแผนสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ปี 2566 กลุ่มเป้าหมาย แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก/กิจกรรมย่อย จ านวนหน่วยนับ พื้นที่เป้าหมาย วัตถุประสงค์ ค่าเป้าหมายตัวชี้วัด กิจกรรมย่อยที่ 2.1 สร้างฐานข้อมูลศูนย์ดูแลผู้สูงอายุที่ผ่าน ข้อมูลศูนย์ดูแลผู้สูงอายุที่ผ่านการอนุญาต จังหวัดสุพรรณบุรี ศูนย์ดูแลผู้สูงอายุใ การอนุญาตประกอบกิจการสถานประกอบการเพื่อสุขภาพ ร้อยละ 100 จังหวัดสุพรรณบุรี ในระบบ google drive เพื่อข้อมูลที่เป็นปัจจุบัน กิจกรรมย่อยที่ 2.2 สร้างฐานข้อมูลศูนย์ดูแลผู้สูงอายุที่ยัง ข้อมูลศูนย์ดูแลผู้สูงอายุไม่ผ่านการอนุญาต จังหวัดสุพรรณบุรี ศูนย์ดูแลผู้สูงอายุใ ไม่ได้รับการอนุญาตประกอบกิจการสถานประกอบการ ร้อยละ 100 จังหวัดสุพรรณบุรี เพื่อสุขภาพ มาตรการที่ 6 สร้างระบบการควบคุมก ากับ ติดตาม และประเมินผลที่มีประสิทธิภาพและทันสมัย กิจกรรมหลักที่ 1 สุ่มประเมินต าบลที่ผ่านการประเมิน ระบบการส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุระยะยาว (Long Term Care) ร่วมอบจ. สปสช.และคณะกรรมการ กองทุน LTC กิจกรรมหลักที่ 2 ประเมินคลินิกผู้สูงอายุ กิจกรรมหลักที่ 3 เยี่ยมเสริมพลังการด าเนินงานการจัดท า แผนสุขภาพดี (Wellness Plan) กิจกรรมหลักที่ 4 สุ่มส ารวจพฤติกรรมที่พึงประสงค์ เพื่อให้ทราบพฤติกรรมที่พึงประสงค์ ผู้สูงอายุมีพฤติกรรมที่พีงประสงค์ ทุกอ าเภอ ผู้สูงอายุติสังคม ในกลุ่มผู้สูงอายุ ในผู้สูงอายุ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 52 จ านวน 1,200 คน กิจกรรมหลักที่ 5 เยี่ยมเสริมพลังการด าเนินงานชมรมผู้สูง อายุด้านสุขภาพ กิจกรรมหลักที่ 6 ประเมินชมรมผู้สูงอายุด้านสุขภาพ ร่วมกับภาคีเครือข่าย รวมงบประมาณ(ผู้สูงอายุ) 4


Non-UC Non UC PP กองทุน อื่นๆ สป. กรม/กอง/ เบิกจ่ายแทน กัน basic services สุขภาพต าบล เงินบ ารุง/ อบจ,/งบ จังหวัด/PPA/ สสส. ย ต.ค. - ธ.ค. ม.ค. - มี.ค เม.ย - มิ.ย ระยะเวลาด าเนินการ/งบประมาณ แหล่งงบประมาณ/จ านวนงบประมาณ งบประมาณ ก.ค. - ก.ย. รวมทั้งสิ้น รหัสงบ น P P P P น P P P P P P P P P P 18,000 18,000 18,000 รหัส8207 น P P P 425 63,725 425 425 - 65,000 - - - 65,000 8


Page| 49 แผนปฏิบัติราชการด้านสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ประจำปีงบประมาณ 2566 แผนงาน : การพัฒนาคุณภาพชีวิตคนไทยทุกกลุ่มวัย(ด้านสุขภาพ) แผนงานย่อย: แผนปฏิบัติราชการสุขภาพทันตสาธารณสุข โครงการ สร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในช่องปาก จังหวัดสุพรรณบุรี ปีงบประมาณ 2565 1. สถานการณ์ปัญหา 1.1 Base line data (จำนวนประชากรเป้าหมาย และสภาพปัญหา) เด็กเล็กเริ่มมีฟันผุและผุมากขึ้นอย่างรวดเร็วในช่วงอายุ 1-3 ปี โดยเด็กที่มีฟันน้ำนมผุมากจะมีแนวโน้ม ว่าในอนาคตจะมีฟันแท้ผุมากขึ้นตามไปด้วย หากไม่ได้รับการดูแลรักษาอย่างทันท่วงที โรคจะลุกลามและสุญ เสียฟันในที่สุด จากการสำรวจสภาวะทันตสุขภาพและปัจจัยเสี่ยง จังหวัดสุพรรณบุรี ปี 2562 พบว่า เด็ก ปฐมวัยของจังหวัดสุพรรณบุรี มีความเสี่ยงสูงต่อการเกิดโรคฟันผุ เด็กอายุ 18 เดือน ซึ่งฟันเพิ่งขึ้นในช่องปาก ได้ไม่นาน มีฟันน้ำนมผุร้อยละ 4.6 และร้อยละ 4.1 เริ่มมีรอยผุระยะแรก (White spot) อัตราการเกิดโรค ฟันผุเพิ่มสูงขึ้นอย่างรวดเร็วในเด็กอายุ 3 ปี มีฟันน้ำนมผุร้อยละ 38.1 ค่าเฉลี่ยฟันผุ ถอน อุด (dmft) 1.7 ซี่/ คน ในกลุ่มนี้ร้อยละ 1.7 มีการสูญเสียฟันแล้ว การรักษาฟันผุในเด็กเล็กทำได้ยากเนื่องจากเด็กไม่ค่อยให้ความ ร่วมมือ การแปรงฟันสามารถป้องกันฟันผุทำได้โดยผู้ปกครอง สนับสนุนให้ครูพี่เลี้ยงเด็กจัดกิจกรรมส่งเสริม ทันตสุขภาพในสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยอย่างต่อเนื่อง จัดสภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อการมีสุขภาพช่องปากที่ดี และการใช้ฟลูออไรด์เฉพาะที่เพื่อป้องกันฟันผุ ในกลุ่มเด็กอายุ 12 ปี (นักเรียนประถมศึกษา) มีปัญหาฟันแท้ผุ ร้อยละ 29.7 มีค่าเฉลี่ยฟันผุ ถอน อุด (DMFT) 0.7 ซี่/คน ยังมีเด็กที่ยังคงมีปัญหาสุขภาพช่องปาก ปัจจัยเสี่ยง ต่อการเกิดโรคและการสูญเสียฟันคือ พฤติกรรมการบริโภคขนมกรุบกรอบซึ่งมีส่วนผสมของแป้งและน้ำตาลสูง พฤติกรรมการดื่มน้ำอัดลม และน้ำหวาน พบว่า โรงเรียนประถมศึกษา 428 แห่ง มีการจำหน่ายขนมกรุบ กรอบ ร้อยละ 27.3 น้ำอัดลมร้อยละ 6.3 และเครื่องดื่มที่มีน้ำตาลเป็นส่วนผสมเกิน 5% ร้อยละ 17.5 จำนวนประชากรเป้าหมาย สภาพปัญหาทันตสุขภาพ จังหวัดสุพรรณบุรี เป้าประสงค์/ ผลลัพธ์ (ปี 2565) กลุ่มอายุ จำนวน (คน) กลุ่มอายุ สภาวะ ปี 2562 ปี 2564 ปี 2565 ปี 2566 หญิงตั้งครรภ์ 4,196 เด็กอายุ 3 ปี ปราศจากฟันผุ (ฟันน้ำนม) 61.9 75.7 65 ร้อยละ 72 เด็กอายุ 0-2 ปี 14,843 เด็กอายุ 3-5 ปี 15,480 เด็กอายุ 4-12 ปี 59,640 เด็กอายุ 12 ปี ปราศจากฟันผุ (ฟันแท้) Caries free 70.3 74.6 61.6 ร้อยละ 72 เด็กอายุ 6-12 ปี 49,136 ฟันดี ไม่มีผุ Cavity free 84.5 80.3 66.8 ร้อยละ 84 อายุ 15-59 ปี 380,343 ผู้สูงอายุ มีฟันใช้งานอย่างน้อย 20 ซี่ หรือ 4 คู่สบ (ฟันแท้) อายุ 60 ปีขึ้นไป 156,109 52.1 46 37.7 ร้อยละ 63 ติดบ้านติดเตียง 2,950 * จาก HDC ณ วันที่ 17 มกราคม 2566


Page| 50 แผนปฏิบัติราชการด้านสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ประจำปีงบประมาณ 2566 1.2 ปัญหาพื้นที่เชิงคุณภาพ 1.2.1 เด็กอายุ 3 ปี ปราศจากฟันน้ำนมผุ ร้อยละ 65 (เกณฑ์ร้อยละ 72) ระดับจังหวัดยังไม่ ผ่านเกณฑ์ ทั้งนี้อาจเนื่องมาจากพฤติกรรมการเลี้ยงดูเด็กที่ไม่ถูกต้อง การส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคใน ช่องปาก การบริการทันตกรรม ยังไม่ครอบคลุมเด็กในพื้นที่ รวมถึงสถานการณ์ระบาดของไวรัสโคโรนา ซึ่งเป็น ปัจจัยหนึ่งที่ทำให้การเข้าถึงบริการของเด็กกลุ่มนี้ลดลง 1.2.2 เด็กอายุ 12 ปี ฟันดี ไม่มีผุ (Cavity free) ร้อยละ 66.8 ไม่ผ่านเกณฑ์(เกณฑ์ร้อยละ 84) อาจเนื่องจากการรับบริการที่ลดลง เนื่องจากการระบาดของไวรัสโคโรนา 1.2.3 กลุ่มผู้สูงอายุมีปัญหาการสูญเสียฟัน สนับสนุนให้เกิดการดูแลสุขภาพช่องปากตนเอง ของผู้สูงอายุและการเข้าถึงบริการยังไม่ครอบคลุม 1.3 ข้อมูล หรือปัญหาของกระบวนการทำงาน 1.3.1 การบริหารจัดการ การวางแผนและกำกับติดตามงานสุขภาพช่องปากระดับ อำเภอ ขาดประสิทธิภาพ และขาดการกำกับ นิเทศ ติดตามงาน 1.3.2 รพ.สต.ที่ไม่มีทันตาภิบาลประจำ ยังไม่สามารถทำงานส่งเสริมป้องกันสุขภาพ ช่องปากได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด (รพ.สต./ศสม.จัดบริการสุขภาพช่องปากที่มีคุณภาพ) 1.3.3 ขาดการวิเคราะห์ข้อมูล และการนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ ผลงาน HDC ราย รพ.สต. (6 กลุ่มเป้าหมาย 14 กิจกรรม) และการกำกับติดตามงานอย่างต่อเนื่องจากระดับอำเภอ 2. สรุปปัญหาที่สำคัญ 2.1 เด็กปฐมวัย (อายุ 3 ปี) มีปัญหาฟันน้ำนมผุสูงมากในพื้นที่บางอำเภอ 2.2 เด็กอายุ 12 ปีฟันดีไม่มีผุ (Cavity free) ในบางพื้นที่ต่ำกว่าเกณฑ์เป้าหมายที่กำหนด (เกณฑ์ ร้อยละ 84) 2.3 ผู้สูงอายุมีปัญหาการสูญเสียฟัน ส่งผลกระทบต่อสุขภาพ กระทบต่อความรุนแรงของโรคเรื้อรัง รวมทั้งคุณภาพชีวิต


Page| 51 แผนปฏิบัติราชการด้านสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ประจำปีงบประมาณ 2566 3. เป้าประสงค์ 3.1 เด็กอายุ 3 ปี ปราศจากฟันน้ำนมผุ (Caries free) ร้อยละ 72 3.2 เด็กอายุ 12 ปี ปราศจากฟันถาวรผุ (Caries free) ร้อยละ 72 3.3 เด็กอายุ 12 ปี ฟันดี ไม่มีผุ (Cavity free) ร้อยละ 84 3.4 ผู้สูงอายุมีฟันแท้ใช้งานอย่างน้อย 20 ซี่ หรือ 4 คู่สบ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 63 4. เป้าหมายและตัวชี้วัด 4.1 หญิงตั้งครรภ์ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากและขัดทำความสะอาดฟัน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 30 4.2 เด็กอายุ 0-2 ปี ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก อย่างน้อยร้อยละ 50 4.3 เด็กอายุ 0-2 ปีผู้ปกครองได้รับการฝึกแปรงฟันแบบลงมือปฏิบัติ และ plague control อย่างน้อยร้อยละ 50 4.4 เด็กอายุ 3-5 ปี ได้รับการเคลือบ/ทาฟลูออไรด์เฉพาะที่ อย่างน้อยร้อยละ 50 4.5 เด็กอายุ 4-12 ปี ได้รับบริการเคลือบ/ทาฟลูออไรด์ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 4.6 เด็กอายุ 6-12 ปี ได้รับบริการเคลือบหลุมร่องฟันกรามแท้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 30 4.7 ผู้มีอายุ 15-59 ปี ได้รับบริการทันตกรรม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 25 4.8 ผู้สูงอายุได้รับบริการตรวจสุขภาพช่องปาก ไม่น้อยกว่าร้อยละ 40 4.9 อัตราผู้สูงอายุที่ติดบ้าน ติดเตียง ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก ไม่น้อยกว่าร้อยละ 40


ตัวชี้วัด ส่วนที่ 2 แผนปฏิบัติการและแผนสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ปี 2566 กลุ่มเป้าหมาย แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก/กิจกรรมย่อย จ านวนหน่วยนับ พื้นที่เป้าหมาย วัตถุประสงค์ ค่าเป้าหมายตัวชี้วัด โครงการส่งเสริมป้องกันโรคและจัดบริการสุขภาพ ช่องปากจังหวัดสุพรรณบุรี ปีงบประมาณ 2566 (ระดับจังหวัด) กิจกรรมหลักที่ 1 สนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ ช่องปากและลดโรคฟันผุ กิจกรรมย่อยที่ 1.1 จัดประชุมนักจัดการสุขภาพ 1.เพื่อการรับรู้ข่าวสาร ติดตามการ 10 อ าเภอ หน.กลุ่มงาน ช่องปาก ระดับอ าเภอ ด าเนินงานตามแผนงาน/โครงการ ทันตสาธารณสุข และการพัฒนาระบบริการ รพ.ทุกแห่ง 15 คน กิจกรรมย่อยที่ 1.2 ตรวจสอบคุณภาพบริการ ตรวจสอบคุณภาพบริการ 10 อ าเภอ นร.ชั้น ป.1 ที่ได้ การติดแน่นของสารเคลือบหลุมร่องฟัน 2.เพื่อพัฒนาความรู้และทักษะการดูแล รับบริการเคลือบ สุขภาพช่องปาก หลุมร่องฟัน (10% กิจกรรมย่อยที่ 1.3 ส ารวจสภาวะของโรคส าคัญในช่องปาก สถานประกอบ วัยท างานในสถาน และปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อสภาวะสุขภาพ 1 แห่ง ประกอบการ กิจกรรมย่อยที่ 1.4 พัฒนาทักษะและความรู้ในการดูแล สุขภาพช่องปากวัยท างานในสถานประกอบการ รวมงบประมาณทันตะ รวมงบประมาณทั้งสิ้น(แผนพัฒนาคนไทยทุกกลุ่มวัย) 5


Non-UC Non UC PP กองทุน อื่นๆ สป. กรม/กอง/ เบิกจ่ายแทน กัน basic services สุขภาพต าบล เงินบ ารุง/ อบจ,/งบ จังหวัด/PPA/ สสส. ย ต.ค. - ธ.ค. ม.ค. - มี.ค เม.ย - มิ.ย ระยะเวลาด าเนินการ/งบประมาณ แหล่งงบประมาณ/จ านวนงบประมาณ งบประมาณ ก.ค. - ก.ย. รวมทั้งสิ้น รหัสงบ 375 375 375 375 1,500 1,500 รหัส82071 - น - 4,800 4,800 4,800 เงินบ ารุง - %) - 15,000 15,000 15,000 เงินเบิกแทนกัน - - 3,655 1,625 5,280 5,280 รหัส82075 4,030 15,375 375 6,800 6,780 15,000 - - 4,800 26,580 316,455 389,725 337,600 317,225 11,405 85,000 - - 1,264,600 1,361,005 2


ตัวชี้วัด ระดับจังหวัด นโยบายมุ่งเน้น โครงการการสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพของประชาชน ผ่านช่องทางการสื่อสารที่เข้าถึงและทันสมัย ปีงบประมาณ 2566 มาตรการที่ 1 : พัฒนากลไกการขับเคลื่อนความรอบรู้ ด้านสุขภาพระดับจังหวัด อ าเภอ ครอบคลุมทุกพื้นที่ กิจกรรมหลักที่ 1 : ก าหนดนโยบายและแนวทางในการ ขับเคลื่อนความรอบรู้ด้านสุขภาพ กิจกรรมหลักที่ 2 : แต่งตั้งคณะกรรมการขับเคลื่อน สร้างความรอบรู้ระดับจังหวัดและระดับอ าเภอ กิจกรรมหลักที่ 3 : จัดท าแผนและถ่ายระดับแนวทาง ในการขับเคลื่อนฯลงสู่พื้นที่ กิจกรรมหลักที่ 4 : การพัฒนาบุคลากร โดยจัดอบรม ให้ความรู้และทักษะด้าน Health Literacy จ านวน 4 ครั้ง กิจกรรมหลักที่ 5 : ก าหนดเนื้อหาในการสร้างความ รอบรู้ที่สอดคล้องกับสภาพปัญหาสุขภาพของจังหวัด กิจกรรมย่อยที่ 5.1 : ความรู้เรื่องโรคและสัญญาณ เตือน 5 โรคส าคัญ (Stroke, Stemi, RTI, Sepsis,Pneumonia) แยกปัญหาและกลุ่มเป้าหมาย ของแต่ละโรค กิจกรรมย่อยที่ 5.2 : การส่งเสริมสุขภาพ (3อ 2ส 1ฟ) ด าเนินการโดยสร้างคลังความรู้เพื่อรวบรวมสื่อความรู้ ด้านสุขภาพ ประชาสัมพันธ์ผ่านช่องทางการสื่อสาร ยุทธศาสตร์กระทรวง ที่ 1 PP&P Excellence แผนงานที่ 1 การพัฒนาคุณภาพชีวิตคนไทยทุกกลุ่มวัย (ด้านสุขภาพ) โครงการหลักของกระทรวง ที่ 2 โครงการพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพของประชากร ส่วนที่ 2 แผนปฏิบัติการและแผนสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ปี 2566 จ านวนหน่วยนับ แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก/กิจกรรมย่อย วัตถุประสงค์ ค่าเป้าหมายตัวชี้วัด พื้นที่เป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย 5


Non-UC Non UC PP กองทุน อื่นๆ สป. กรม/กอง/ เบิกจ่ายแทน กัน basic services สุขภาพต าบล เงินบ ารุง/อบจ ,/งบจังหวัด/ PPA/สสส. 1,000 1,000 1,000 เงินบ ารุง 5,600 5,600 11,200 11,200 เงินบ ารุง รหัสงบ ระยะเวลาด าเนินการ/งบประมาณ เม.ย - มิ.ย ต.ค. - ธ.ค. ม.ค. - มี.ค ก.ค. - ก.ย. แหล่งงบประมาณ/จ านวนงบประมาณ งบประมาณ รวมทั้งสิ้น 3


ตัวชี้วัด ส่วนที่ 2 แผนปฏิบัติการและแผนสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ปี 2566 จ านวนหน่วยนับ แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก/กิจกรรมย่อย วัตถุประสงค์ ค่าเป้าหมายตัวชี้วัด พื้นที่เป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย ประเภทต่างๆ กิจกรรมย่อยที่ 5.3 : การเฝ้าระวัง Know Your Numbers & Know Your Risks (Breathing rate : RR) โดย Breathing rate : RR ด าเนินการดังนี้ท า โครงการปีแห่งการเพิ่มลมหายใจ"ปอดเหล็ก" 2566 ระดับจังหวัด 1.ประชุมคณะกรรมการ 2.Return-demond การปฏิบัติงานของ อสม. โดย (สสจ.กับร.พ.) อ าเภอละ 1 ครั้ง 3.ติดตามประเมินผลรายอ าเภอๆละ1วัน 4.แลกเปลี่ยนเรียนรู้แกนน าเพื่อพัฒนาต่อยอดครบทุก ต าบลและเสนอนวัตกรรม 5.ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อสร้างแกนน า ปอดเหล็ก กิจกรรมย่อยที่ 5.4 : ความรู้เรื่อง RTI (กฎจราจร,การสวมหมวกกันน๊อค,การคาดเข็มขัดนิรภัย ,พฤติกรรมการขับขี่) กิจกรรมย่อยที่ 5.5 : สิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการมีสุขภาพดี /รองรับ สถานการณ์การเจ็บป่วยในอนาคต 5.5.1 จัดกิจกรรม 5 ส (สะสาง สะอาด สะดวก สุขลักษณะ และสร้างสุขนิสัย) 5.5.2 จัดกิจกรรม รณรงค์แยกขยะตามประเภท 5.5.3 ค้นหาจุดเสี่ยงที่อาจท าให้เกิดอุบัติเหตุและหา แนวทางป้องกันในบ้าน/สถานที่ท างาน กิจกรรมย่อยที่ 5.6 : แหล่งข้อมูลวิชาการที่น่าเชื่อถือ /วิธีการสืบค้นข้อมูลโดยประชาสัมพันธ์ แหล่งข้อมูล ทางวิชาการ เช่น กรมควบคุมโรคกรมอนามัย กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ฯลฯ กิจกรรมหลักที่ 6 : สร้างองค์กรต้นแบบด้านความรอบรู้ ด้านสุขภาพ มาตรการที่ 2 : พัฒนา/เพิ่มช่องทางการสื่อสาร สาธารณะ เผยแพร่ความรู้ที่ประชาชนเข้าใจได้ง่าย เพื่อให้เข้าถึงข้อมูลสุขภาพและบริการสุขภาพอย่างทั่วถึง กิจกรรมหลักที่ 1 : พัฒนาช่องทางการสื่อสารสาธารณะ 5


Non-UC Non UC PP กองทุน อื่นๆ สป. กรม/กอง/ เบิกจ่ายแทน กัน basic services สุขภาพต าบล เงินบ ารุง/อบจ ,/งบจังหวัด/ PPA/สสส. รหัสงบ ระยะเวลาด าเนินการ/งบประมาณ เม.ย - มิ.ย ต.ค. - ธ.ค. ม.ค. - มี.ค ก.ค. - ก.ย. แหล่งงบประมาณ/จ านวนงบประมาณ งบประมาณ รวมทั้งสิ้น 2,550 2,550 2,550 เงินบ ารุง 6,000 6,000 6,000 เงินบ ารุง 6,000 6,000 6,000 เงินบ ารุง 6,900 6,900 6,900 เงินบ ารุง 3900 3,900 3,900 เงินบ ารุง 4


ตัวชี้วัด ส่วนที่ 2 แผนปฏิบัติการและแผนสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ปี 2566 จ านวนหน่วยนับ แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก/กิจกรรมย่อย วัตถุประสงค์ ค่าเป้าหมายตัวชี้วัด พื้นที่เป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย เผยแพร่ความรู้ด้านข้อมูลและบริการสุขภาพอย่างทั่วถึง เข้าใจง่าย ตรงกลุ่มเป้าหมาย กิจกรรมย่อยที่ 1 : พัฒนา Website/Facebook/ Hotline/Groupline กิจกรรมย่อยที่ 1.1 อบรมพัฒนาผู้สร้างสื่อ เช่น infographic/2D video (อย่างง่าย) กิจกรรมย่อยที่ 1.2 ก าหนด admin ในการตอบ ค าถามใน Website/Facebook กิจกรรมย่อยที่ 2 : การจัดรายการวิทยุ 2 สถานี คือ รายการ “รวมพลคนรักสุขภาพ” ทางสถานีวิทยุ แห่งประเทศไทย FM 102.25 MHz ออกอากาศ ทุกวันจันทร์ ช่วงเวลา 13.00 -14.00 น. รายการ “รักษ์สุขภาพ” ทางสถานีวิทยุ Radio Network FM 104.25 MHz ออกอากาศ สดทุกวันอังคาร ช่วงเวลา 13.00 -14.00 น. กิจกรรมย่อยที่ 3 :การเขียนบทความในหนังสือพิมพ์ ฅนสุพรรณ เดือนละ 2 คอลัมน์ ได้แก่คอลัมน์แทน ความห่วงใย และคอลัมน์สาระสุขภาพ กิจกรรมย่อยที่ 4 : การให้สุขศึกษารายบุคคล /รายกลุ่ม ในคลินิกบริการต่างๆของโรงพยาบาล เช่นคลินิกโรค คลินิก DPAC ฯลฯ กิจกรรมย่อยที่ 5 : สร้างการเรียนรู้ตามแนวทางการ ด าเนินงานปฐมภูมิ 3 หมอ 5.1 ท าปฏิทินวันส าคัญด้านสุขภาพ กิจกรรมหลักที่ 2 : สร้างช่องทางการสื่อสารสาธารณะ เพิ่ม กิจกรรมย่อยที่ 1 : สร้างช่องทางการสื่อสารผ่าน Youtube /TikTok / Ad spot กิจกรรมย่อยที่ 2 : จัดตั้งศูนย์ตอบโต้ข่าวปลอม (Anti Fakenew center) มาตรการที่ 3 : บูรณาการสร้างการรับรู้ด้านสุขภาพ ให้กับภาคีเครือข่าย กิจกรรมหลักที่ 1 : ประสานความร่วมมือกับภาคี 5


Non-UC Non UC PP กองทุน อื่นๆ สป. กรม/กอง/ เบิกจ่ายแทน กัน basic services สุขภาพต าบล เงินบ ารุง/อบจ ,/งบจังหวัด/ PPA/สสส. รหัสงบ ระยะเวลาด าเนินการ/งบประมาณ เม.ย - มิ.ย ต.ค. - ธ.ค. ม.ค. - มี.ค ก.ค. - ก.ย. แหล่งงบประมาณ/จ านวนงบประมาณ งบประมาณ รวมทั้งสิ้น 250 750 1,000 1,000 เงินบ ารุง 5


ตัวชี้วัด ส่วนที่ 2 แผนปฏิบัติการและแผนสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ปี 2566 จ านวนหน่วยนับ แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก/กิจกรรมย่อย วัตถุประสงค์ ค่าเป้าหมายตัวชี้วัด พื้นที่เป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย เครือข่ายที่เกี่ยวข้องกับปัญหาสุขภาพที่ส าคัญ ของจังหวัด (อาทิ พชอ./อปท./อสม./ชมรมผู้ประกอบ การร้านอาหาร/แผงลอย/ชมรมต่างๆ/หน่วยงาน ราชการที่เกี่ยวข้องฯ) กิจกรรมหลักที่ 2 : ก าหนดเนื้อหาและรูปแบบในการ สื่อสารเพื่อสร้างการรับรู้สู่กลุ่มเป้าหมาย/ภาคีเครือข่าย ที่เกี่ยวข้อง (การแลกเปลี่ยนเรียนรู้) กิจกรรมย่อยที่ 1 : คลังข้อมูลด้านสุขภาพ 1.1 ก าหนดผู้รับผิดชอบ 1.2 ก าหนดรูปแบบการเก็บข้อมูล 1.3 ก าหนดรูปแบบการน าเสนอข้อมูล มาตรการที่ 4 : การก ากับ ติดตาม ประเมินผล กิจกรรมย่อยที่ 4.1 : การเฝ้าระวังสถานการณ์โรค/KPI กิจกรรมย่อยที่ 4.2 : การตรวจราชการ/นิเทศบูรณาการ ประจ าปีในสังกัด /เยี่ยมเสริมพลังนอกสังกัด กิจกรรมย่อยที่ 4.3 : การส ารวจพฤติกรรมสุขภาพแบบ Rapid Survey 1 ครั้งต่อปี (ในรูปแบบ Online) รวมงบประมาณทั้งสิ้น รวมงบประมาณทั้งสิ้น(ความรอบรู้ด้านสุขภาพ) 5


Non-UC Non UC PP กองทุน อื่นๆ สป. กรม/กอง/ เบิกจ่ายแทน กัน basic services สุขภาพต าบล เงินบ ารุง/อบจ ,/งบจังหวัด/ PPA/สสส. รหัสงบ ระยะเวลาด าเนินการ/งบประมาณ เม.ย - มิ.ย ต.ค. - ธ.ค. ม.ค. - มี.ค ก.ค. - ก.ย. แหล่งงบประมาณ/จ านวนงบประมาณ งบประมาณ รวมทั้งสิ้น 6,850 18,800 6,000 6,900 - - - - 38,550 38,550 6,850 18,800 6,000 6,900 - - - - 38,550 38,550 6


Page| 57 แผนปฏิบัติราชการด้านสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ประจำปีงบประมาณ 2566 แผนงาน : การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ แผนงานย่อย: แผนปฏิบัติราชการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) 1. สถานการณ์ปัญหา 1.1 Base line data - ประชากรเป้าหมายปี 2565 จังหวัดสุพรรณบุรี ประกอบด้วย 10 อำเภอ มีรพศ. 1 แห่ง รพท.1 แห่ง รพช. 8 แห่ง มีศสม.3 แห่ง (1 ต.ค.65 รพ.สต.ถ่ายโอนอบจ.174 แห่ง) หน่วยบริการปฐมภูมิและเครือข่ายบริการปฐมภูมิที่ขึ้นทะเบียนตามพระราชบัญญัติ ระบบสุขภาพปฐมภูมิ พ.ศ.2562 และกระทรวงประกาศรับรองแล้ว จำนวน 49 ทีม (PCU 8 ทีม,NPCU 29 ทีม) จังหวัดสุพรรณบุรี มีการดำเนินงานพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอตั้งแต่ปี พ.ศ. 2559 โดยมีคณะกรรมการ พัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ จำนวน 1 อำเภอ ได้แก่ อ.เมืองฯ พ.ศ. 2560 มีคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพ ชีวิตระดับอำเภอครบทุกอำเภอ, พ.ศ.2561-2565 มีคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตตามระเบียบสำนัก นายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับพื้นที่ พ.ศ.2561และมีกระบวนการพัฒนาคุณภาพชีวิตบริบท พื้นที่ อย่างน้อย 2 เรื่อง ซึ่งพบว่า ผลลัพธ์การพัฒนาตามเกณฑ์ UCCARE ครบ 10 อำเภอ คิดเป็นร้อยละ 100 ผลงานเด่น: ศรีประจันต์ได้รับรางวัล อำเภอตัวอย่างในการพัฒนา พชอ. ดีเด่น ปี 2561 สองพี่น้องได้รับรางวัล อำเภอตัวอย่างในการพัฒนา พชอ. ดีเด่น ปี 2562 อู่ทอง ได้รับรางวัลชนะเลิศ การประกวดบูธ ผลการดำเนินงานพชอ.ดีเด่น ปี 2563 สองพี่น้อง ด่านช้าง หนองหญ้าไซ ได้รับรางวัลดีเด่น ประกวดผลการดำเนินงานพชอ.ดีเด่น ปี 2565 1.2 ปัญหาพื้นที่เชิงคุณภาพ (สาเหตุ/ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง) 1.2.1 ทบทวนปัญหา จากผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย สำคัญ ผู้ป่วย ผู้ที่เกี่ยวข้อง/จากตัวชี้วัด 1.2.2 นำสภาพปัญหาที่ได้มาปรับเปลี่ยนมาตรการใหม่ๆ 3. เป้าประสงค์ (ผลลัพธ์ที่ต้องการ) พัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนในพื้นที่ให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น โดยใช้หลักการพื้นที่เป็นฐาน ประชาชนเป็นศูนย์กลาง 4. เป้าหมายและตัวชี้วัด เป้าหมาย : มีคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ(พชอ.) ที่มีคุณภาพ สามารถพัฒนา คุณภาพชีวิตของประชาชนได้อย่างเป็นรูปธรรม ตัวชี้วัด กระทรวง : ร้อยละของอำเภอมีการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ(พชอ.) ที่มีคุณภาพ (ร้อยละ 85) จังหวัด : ร้อยละของอำเภอมีการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ(พชอ.) ที่มีคุณภาพ (ร้อยละ 100)


ตัวชี้วัด (ระดับจังหวัด) โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอ าเภอ เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของ อ าเภอผ่านเกณฑ์ (พชอ.) ประชาชนในพื้นที่ให้มีคุณภาพ การประเมินการพัฒนาคุณภาพชีวิต กิจกรรมหลักที่ 1 พัฒนากลไกขับเคลื่อนการพัฒนา ชีวิตที่ดีขึ้น โดยใช้หลักการพื้นที่ ที่มีคุณภาพ ร้อยละ 100 คุณภาพชีวิตระดับอ าเภอ เป็นฐานประชาชนเป็นศูนย์กลาง (เกณฑ์ ร้อยละ 85) กิจกรรมย่อยที่ 1.1 ประชุมคณะกรรมการพัฒนา เป็นไปตามเจตนารมณ์ของ 10 อ าเภอ 40 คน คุณภาพชีวิตระดับจังหวัด (พชจ.) และผู้เกี่ยวข้อง ระเบียบฯว่าด้วยการพัฒนาคุณภาพ (พชจ.และหน. ชีวิตระดับพื้นที่ พ.ศ.2561 กลุ่มงานที่เกี่ยวข้อง) กิจกรรมย่อยที่ 1.2 ชี้แจงนโยบาย พชอ. ในที่ประ 10 อ าเภอ 10 อ าเภอ ชุม กวป.และที่ประชุมคณะกรรมการบริหารสสจ. กิจกรรมย่อยที่ 1.3 อ าเภอทบทวนค าสั่ง พชอ. กิจกรรมย่อยที่ 1.4 อ าเภอจัดประชุมคัดเลือก ประเด็นอย่างน้อย 2 เรื่อง และก าหนดเป้าหมาย ดูแลกลุ่มเปราะบาง กิจกรรมย่อยที่ 1.5 อ าเภอมีการดูแลกลุ่ม กลุ่มเปราะบางตามเป้าหมาย/แผนที่ก าหนด กิจกรรมย่อยที่ 1.6 อ าเภอมีคณะท างานตาม ประเด็นปัญหาและจัดท าแผนพัฒนา กิจกรรมย่อยที่ 1.7 อ าเภอด าเนินการตามแผน พัฒนา บริหารจัดการทรัพยากรอย่างบูรณาการ ร่วมกันทุกภาคส่วน กิจกรรมย่อยที่ 1.8 อ าเภอมีการประเมินตนเอง 2 ครั้ง/ปี และบันทึกข้อมูลเชิงคุณภาพผ่าน โปรแกรม CLUCCARE กิจกรรมย่อยที่ 1.9 อ าเภอมีการถอดบทเรียน/สรุป ผลการด าเนินงาน กิจกรรมหลักที่ 2 เสริมสร้างศักยภาพ พชอ. กิจกรรมย่อยที่ 2.1 ประชุมเชิงปฏิบัติการ 10 อ าเภอ 50 คน พัฒนาศักยภาพ พชอ.ระดับอ าเภอ ระดับจังหวัด (สสอ.,สสจ.,หน่วย ยุทธศาสตร์กระทรวง ที่ 1 PP&P Excellence แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก/กิจกรรมย่อย วัตถุประสงค์ ค่าเป้าหมายตัวชี้วัด พื้นที่เป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย ต แผนงานที่ 2 การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอ าเภอ โครงการหลักของกระทรวง ที่ 1 โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอ าเภอ(พชอ.) ส่วนที่ 2 แผนปฏิบัติการและแผนสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ปี 2566 จ านวนหน่วยนับ 5


Non-UC Non UC PP กองทุน อื่นๆ สป.กรม/กอง/ เบิกจ่ายแทนกัน basic services สุขภาพต าบล เงินบ ารุง/อบจ,/ งบจังหวัด/ PPA/สสส. - 6,000 6,000 12,000 12,000 รหัส00001 - ✓ ✓ ✓ - ✓ ✓ ✓ - ✓ ✓ ✓ 31,780 31,780 31,780 รหัส00001 รหัสงบ เม.ย - มิ.ย ต.ค. - ธ.ค. ม.ค. - มี.ค ก.ค. - ก.ย. แหล่งงบประมาณ/จ านวนงบประมาณ ระยะเวลาด าเนินการ/งบประมาณ งบประมาณ รวมทั้งสิ้น 8


ตัวชี้วัด แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก/กิจกรรมย่อย วัตถุประสงค์ ค่าเป้าหมายตัวชี้วัด พื้นที่เป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย ต ส่วนที่ 2 แผนปฏิบัติการและแผนสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ปี 2566 จ านวนหน่วยนับ กิจกรรมย่อยที่ 2.2 ประชุมทีมเยี่ยมเสริมพลัง 10 อ าเภอ 12 คน ระดับจังหวัด ตามแนวทางประเมิน UCCARE 1 ครั้ง/ปี และสอดคล้องบริบทพื้นที่ ปีละ 1 ครั้ง กิจกรรมย่อยที่ 2.3 นิเทศติดตามเยี่ยมเสริมพลัง 10 อ าเภอ ระดับจังหวัด ปีละ 1 ครั้ง กิจกรรมย่อยที่ 2.4 ถอดบทเรียน/สรุปผลการ 10 อ าเภอ 50 คน ด าเนินงาน พชอ.จังหวัดสุพรรณบุรี กิจกรรมย่อยที่ 2.5 ประชุมเชิงปฏิบัติการแลก 10 อ าเภอ 130 คน เปลี่ยนเรียนรู้ "มหกรรมรวมพลังพชอ.สุพรรณบุรี" น าเสนอผลงาน 10 อ าเภอ มีประกวดบูธ 1 ครั้ง v กิจกรรมหลักที่ 3 ยกระดับการขับเคลื่อน 10 อ าเภอ 10 อ าเภอ การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอ าเภอ โดยการ พัฒนาคุณภาพชีวิตระดับจังหวัดและเชื่อมโยง สู่ระดับต าบล กิจกรรมย่อยที่ 3.1 สนับสนุนให้มีการจัดการ 10 อ าเภอ 10 อ าเภอ การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับต าบล โดยบูรณา การความรู้คนเงินของภาคีมีส่วนร่วมตาม ประเด็นพชอ. โครงการ เสริมสร้างบทบาทภาคีเครือข่ายสุขภาพ ภาคประชาชน จังหวัดสุพรรณบุรี ปีงบประมาณ 2566 กิจกรรมหลักที่ 1 เสริมสร้างกลไกความร่วมมือแบบบูรณาการ เพื่อเสริมสร้างกลไกความร่วมมือ ร้อยละของต าบลผ่านเกณฑ์ ในการพัฒนางานสุขภาพภาคประชาชน แบบบูรณาการ ระหว่างภาคี การประเมินต าบลจัดการคุณภาพชีวิต ปีงบประมาณ 2566 และเครือข่าย ในพื้นที่ ขับเคลื่อน กิจกรรมย่อยที่ 1.1 การด าเนินงาน ขับเคลื่อนการด าเนินงาน ต าบลสร้างสุขต้นแบบ เพื่อสร้างความยั่งยืน จังหวัดสุพรรณบุรี จ านวน ต าบลจัดการคุณภาพชีวิต และต าบลแห่งความรอบรู้ ของการด าเนินงาน 10 อ าเภอ และพฤติกรรมสุขภาพ ปีงบประมาณ 2566 (ตามประเด็น พชอ. ปี 2566) อ าเภอละ 1 ต าบล ด้วยกระบวนการ TPAR รวมแผน พชอ. 5


Non-UC Non UC PP กองทุน อื่นๆ สป.กรม/กอง/ เบิกจ่ายแทนกัน basic services สุขภาพต าบล เงินบ ารุง/อบจ,/ งบจังหวัด/ PPA/สสส. รหัสงบ เม.ย - มิ.ย ต.ค. - ธ.ค. ม.ค. - มี.ค ก.ค. - ก.ย. แหล่งงบประมาณ/จ านวนงบประมาณ ระยะเวลาด าเนินการ/งบประมาณ งบประมาณ รวมทั้งสิ้น 1,500 1,500 1,500 รหัส00001 - 8,730 8,730 8,730 รหัส00001 22,190 22,190 22,190 รหัส00001 78,800 78,800 78,800 รหัส00001 - 37,780 10,230 106,990 - 155,000 - - - 155,000 9


ตัวชี้วัด แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก/กิจกรรมย่อย วัตถุประสงค์ ค่าเป้าหมายตัวชี้วัด พื้นที่เป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย ต ส่วนที่ 2 แผนปฏิบัติการและแผนสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ปี 2566 จ านวนหน่วยนับ กิจกรรมย่อยที่ 1.2 การด าเนินงานเป็นชุมชน/หมู่บ้าน/ต าบล เพื่อสร้างความยั่งยืน การสร้างสุขภาพ จังหวัดสุพรรณบุรี จ านวน แห่งความรอบรู้และพฤติกรรมสุขภาพ (HL/BL) ที่ดีของประชาชน 1,008 หมู่บ้าน 1.หมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรค 2.โรงเรียนสุขบัญญัติแห่งชาติ 3.ชุมชนรอบรู้ด้านสุขภาพ กิจกรรมย่อยที่ 1.3 จังหวัดสุพรรณบุรี โรงเรียนทุกแห่ง ขับเคลื่อนการด าเนินงาน ยุวอสม. ในโรงเรียน กิจกรรมย่อยที่ 1.4 จัดท าใบประกาศนียบัตรพร้อมกรอบ เพื่อสร้างชวัญและก าลังใจ จังหวัดสุพรรณบุรี จ านวน ต าบลจัดการคุณภาพชีวิต และต าบลแห่งความรอบรู้ 10 อ าเภอ กิจกรรมหลักที่ 2 นิเทศ/ติดตาม ผลการด าเนินงาน กิจกรรมย่อยที่ 2.1 เพื่อติดตามการด าเนินงาน จังหวัดสุพรรณบุรี พื้นที่ 10 อ าเภอ ติดตามเยียมเสริมพลังการด าเนินงาน สุขภาพภาคประชาชนและงานสุขศึกษา 1.ต าบลจัดการคุณภาพชีวิต 2.หมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรค 3.โรงเรียนสุขบัญญัติแห่งชาติ 4.ชุมชนรอบรู้ด้านสุขภาพ กิจกรรมหลักที่ 3 จัดเวทีแลกเปลี่ยน เรียนรู้ กิจกรรมย่อยที่ 3.1 จัดเวทีแลกเปลี่ยน เรียนรู้ ประเด็น ดังนี้ เพื่อให้เครือข่าย แลกเปลี่ยน จังหวัดสุพรรณบุรี ภาคีเครือข่าย 1.ต าบลจัดการคุณภาพชีวิต ประสบการณ์ การด าเนินงาน 2.หมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรค 3.โรงเรียนสุขบัญญัติแห่งชาติ รวมงบประมาณทั้งสิ้น (พชอ.) รวมแผน ต าบลจัดการสุขภาพ 6


Non-UC Non UC PP กองทุน อื่นๆ สป.กรม/กอง/ เบิกจ่ายแทนกัน basic services สุขภาพต าบล เงินบ ารุง/อบจ,/ งบจังหวัด/ PPA/สสส. รหัสงบ เม.ย - มิ.ย ต.ค. - ธ.ค. ม.ค. - มี.ค ก.ค. - ก.ย. แหล่งงบประมาณ/จ านวนงบประมาณ ระยะเวลาด าเนินการ/งบประมาณ งบประมาณ รวมทั้งสิ้น 3,600 3,600 รหัส 00001 - - - - 3,600 - - - - 3,600 - 37,780 10,230 106,990 3,600 155,000 - - - 158,600 0


ตัวชี้วัด ชื่อโครงการพัฒนาระบบการตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน เพื่อเตรียมความพร้อมเครือข่ายให้มี ระบบการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินและภัย ระดับจังหวัด อบจ/ท้องถิ่น/ปภ และภัยสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ปี 2566 ความพร้อมด้าน STAFF STUFF สุขภาพ สู่ Smart EOC (ONE PHEM) ผู้ประสานงานพื้นที่ และกลุ่มผู้ประสาน Systemการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินและ งานพื้นที่ 10อ าเภอ ภัยสุขภาพ 60 ราย (ระดับจังหวัด) กิจกรรมหลักที่ 1 เตรียมความพร้อมบุคลากรใน บุคลากรระดับจังหวัดในเครือข่ายที่ ระดับความส าเร็จสู่ Smart EOC ระดับจังหวัดเครือข่ายที่เกี่ยวข้องในด้านสมรรถนะ เกี่ยวข้อง/ผู้ประสานงานอ าเภอ ONE PHEM ระดับที่1คือ การจัดการระบบบัญชาการเหตุการณ์เพื่อตอบโต้ มีความพร้อมSTAFF STUFF System พัฒนาStaff ระบบบัญชาการณ์ ภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุข การจัดการระบบบัญชาการเหตุการณ์ ระดับจังหวัด(ด าเนินงานครบ4 เพื่อตอบโต้ภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุข ขั้นตอนและมีSHP,BCP,SOP) กิจกรรมย่อยที่ 1.1 การลงนามความร่วมมือเครือ เพื่อ MOU หน่วยงานย่อยที่เกี่ยวข้อง ระดับความส าเร็จสู่ Smart EOC ส่วนราชการที่ คกก.โรคติดต่อ จว/ ข่ายระหว่างประธานคกก.โรคติดต่อ สสจ. ในการจัดการ เกี่ยวข้องกับการ สสจ/อบจ สุพรรณบุรี อบจ ปภ และ ท้องถิ่นจังหวัด จัดการโรคและภัย ปภ/ท้องถิ่นจังหวัด กิจกรรมย่อยที่ 1.2พัฒนาสมรรถนะบุคลากรในการ เครือข่ายส าคัญที่เกี่ยวข้อง/ใหม่มี หน่วยงานหลัก/ใหม่ที่เกี่ยวข้องผ่าน (หัวหน้างานที่เกี่ยว อบจ ท้องถิ่น ปภ จัดการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข ระบบบัญชา สมรรถนะการจัดการภาวะฉุกเฉินทาง การอบรมหลักสูตรICS 100 (เขต ข้องใน 5 หน่วย ผู้ประสานงาน การเหตุการณ์และศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน สาธารณสุข ระบบบัญชาการเหตุการณ์ สุขภาพที่5)ร้อยละ100 งานหลัก) อ าเภอรวม 70คน ระดับจังหวัดสุพรรณบุรี ปี2566 และศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทาง (อบรมการจัดการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข สาธารณสุข ระบบบัญชาการเหตุการณ์และศูนย์ปฏิบัติการ ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข หลักสูตรเขตสุขภาพ ที่5) กิจกรรมย่อยที่ 1.3 การประชุมเพื่อจัดท า เพื่อให้การด าเนินงานด้านระบบบัญชา ระดับความส าเร็จสู่ Smart EOC ระดับจังหวัด สสจ/รพ/ SOPตามองค์ประกอบของระบบบัญชาการ การเหตุการณ์และศูนย์ปฏิบัติ ระดับที่1 30 คน เหตุการณ์และศูนย์ปฏิบัติภาวะฉุกเฉิน ภาวะฉุกเฉินครบตามองค์ประกอบ แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก/กิจกรรมย่อย วัตถุประสงค์ ค่าเป้าหมายตัวชี้วัด พื้นที่เป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย ยุทธศาสตร์กระทรวง ที่ 1 PP&P Excellence แผนงานที่ 3 การป้องกันควบคุมโรคและลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ โครงการหลักของกระทรวง ที่ 2 โครงการควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ส่วนที่ 2 แผนปฏิบัติการและแผนสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ปี 2566 จ านวนหน่วยนับ 6


Non-UC Non UC PP กองทุน อื่นๆ สป. กรม/กอง/ เบิกจ่ายแทน กัน basic services สุขภาพต าบล เงินบ ารุง/อบจ ,/งบจังหวัด/ PPA/สสส. น อ / ด 6,900 6,900 6,900 เงินบ ารุง เม.ย - มิ.ย ต.ค. - ธ.ค. ม.ค. - มี.ค ก.ค. - ก.ย. แหล่งงบประมาณ/จ านวนงบประมาณ งบประมาณ รวมทั้งสิ้น รหัสงบ ระยะเวลาด าเนินการ/งบประมาณ 1


ตัวชี้วัด แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก/กิจกรรมย่อย วัตถุประสงค์ ค่าเป้าหมายตัวชี้วัด พื้นที่เป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย ส่วนที่ 2 แผนปฏิบัติการและแผนสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ปี 2566 จ านวนหน่วยนับ กิจกรรมย่อยที่1.4 ถอดบทเรียนการด าเนินงาน เพื่อพัฒนาต่อยอดหลักสูตรICS100 รายงานสรุปบทเรียน (คปสอ /สสจ สสจ/รพ/สสอ หลักสูตร ICS100 หลักสูตรสุขภาพที่ 5 หลักสูตรสุขภาพที่ 5 ที่จะใช้ใน ที่จัดอบรม 30 คน เครือข่ายสุพรรณบุรีต่อไป กิจกรรมหลักที่ 2 การสนับสนุนการบังคับใช้ เพื่อควบคุมป้องกันโรคส าคัญที่เป็น การเชื่อมโยงการด าเนินงานเฝ้าระวัง คกก.โรคติดต่อ คกก.โรคติดต่อ17ค กฎหมายตาม พรบ.ควบคุมโรคติดต่อ พ.ศ.2558 ปัญหากรณีมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นโดย ควบคุมโรคติดต่อโดยภาคีเครือข่าย จ.สุพรรณบุรีและ หัวหน้าส่วนฯ/ การบังคับใช้กฏหมายตาม พรบ ที่เกี่ยวข้อง หัวหน้าส่วนราชการ นายอ าเภอ/ผอ รพ ควบคุมโรคติดต่อ พ.ศ.2558 ที่เกี่ยวข้อง /สสอ /อบจ/อปท ที่เกี่ยวข้อง 50 คน กิจกรรมย่อยที่2.1ประชุมคณะกรรมการโรคติดต่อ จ านวนรายงานการประชุมที่มีมติการ คกก.โรคติดต่อ คกก.โรคติดต่อ17ค จังหวัดสุพรรณบุรี ไตรมาสละ 1 ครั้ง แก้ไขปัญหาโรคติตต่อส าคัญ จ.สุพรรณบุรีและ หัวหน้าส่วนฯ/ หัวหน้าส่วนราชการ นายอ าเภอ/ผอ รพ ที่เกี่ยวข้อง /สสอ /อบจ/อปท ที่เกี่ยวข้อง 50 คน กิจกรรมย่อยที่2.2การประชุมคณะกรรมการโรค เพื่อวางแผนงานควบควบคุมโรคติตต่อ แผนงานโรคติดต่อปี2566-2570 คกก.โรคติดต่อ ติดต่อจังหวัดสุพรรณบุรีเพื่อจัดท าแผนงานโรค เเบบบูรณาการจากภาคีเครือข่าย ที่เป็นทิศทางการด าเนินงานของ จ.สุพรรณบุรีและ ติดต่อปี2566-2570 ที่เกี่ยวข้อง คณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัดสุพรรณบุรี อบจ รวมแผนตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน 6


Click to View FlipBook Version