The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เล่มแผนปฏิบัติราชการ 2566 ฉบับจริง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by chanatip_min, 2023-07-03 23:36:27

เล่มแผนปฏิบัติราชการ 2566 ฉบับจริง

เล่มแผนปฏิบัติราชการ 2566 ฉบับจริง

ตัวชี้วัด (ระดับจังหวัด) โครงการการดูแลผู้ป่วยระยะท้ายแบบประคับ ประคองและการดูแลผู้ป่วยกึ่งฉียบพลัน กิจกรรมหลักที่ 1 ประชุมคณะท างาน 1.เพื่อชี้แจงแนวทางการด าเนินงาน 10 อ าเภอ แพทย์ การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Servive plan) ตามตัวชี้วัดและแนวทางตรวจราชการ รพ.ทุกแห่ง เภสัชกร จังหวัดสุพรรณบุรี สสอ.ทุกแห่ง พยาบาล สาขา Palliative care (1ครั้งๆละครึ่งวัน 40 คน) 40 คน (ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 1 มื้อๆละ 25บาท ) - ยุทธศาสตร์กระทรวง ที่ 2 Service Excellence แผนงานที่ 6 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) โครงการหลักของกระทรวง ที่ 5 โครงการการดูแลผู้ป่วยระยะท้ายแบบประคับประคองและการดูแลผู้ป่วยกึ่งเฉียบพลับ รวมงบประมาณทั้งสิ้น(ดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคอง) ส่วนที่ 2 แผนปฏิบัติการและแผนสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ปี 2566 จ านวนหน่วยนับ ระ แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก/กิจกรรมย่อย วัตถุประสงค์ ค่าเป้าหมายตัวชี้วัด พื้นที่เป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย ต.ค. - ธ.ค. 13


Non-UC Non UC PP กองทุน อื่นๆ สป.กรม/กอง/ เบิกจ่ายแทนกัน basic services สุขภาพต าบล เงินบ ารุง/อบจ,/ งบจังหวัด/PPA/ สสส. - - - - - - - - - ะยะเวลาด าเนินการ/งบประมาณ เม.ย - มิ.ย ม.ค. - มี.ค ก.ค. - ก.ย. แหล่งงบประมาณ/จ านวนงบประมาณ งบประมาณ รวมทั้งสิ้น รหัสงบ 32


Page| 133 แผนปฏิบัติราชการด้านสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ประจำปีงบประมาณ 2566 แผนงาน : การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) แผนงานย่อย: แผนปฏิบัติราชการพัฒนาระบบบริการการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก โครงการพัฒนาระบบบริการการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก 1. สถานการณ์ปัญหา 1.1 Base line data (ประชากรเป้าหมายจากปี 2565) ในปีงบประมาณ 2565 จังหวัดสุพรรณบุรี มีหน่วยบริการด้านการแพทย์แผนไทยทั้งหมด 184 แห่ง จัดบริการการแพทย์แผนไทย และการแพทย์ทางเลือกครบทุกแห่ง มีโรงพยาบาล 10 แห่ง จัดบริการ OPD คู่ขนาน 10 แห่ง ร้อยละ 100 โรงพยาบาลมีบริการฝังเข็ม 4 แห่ง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล 174 แห่ง จัดบริการนวด 90 แห่ง ร้อยละ 51.72 มีแพทย์แผนไทยในโรงพยาบาลทุกแห่ง 29 คน ประเมินมาตรฐาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพและสนับสนุนการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ผสมผสาน ทั้งหมด 174 แห่ง ปี 2565 ผลการประเมิน ระดับดีเยี่ยม 37 แห่ง ระดับดีมาก 38 แห่ง ระดับดี 52 แห่ง ระดับพื้นฐาน 47 แห่ง ผลงานตามตัวชี้วัด ร้อยละการเข้าถึงบริการการ แพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกที่ได้มาตรฐาน ได้ร้อยละ 15.54 ( เป้าหมายร้อยละ 20.50 ) รายละเอียด ปี2563 ปี2564 ปี 2565 จำนวนแพทย์แผนไทย รพ. 25 27 29 สัดส่วนผู้รับบริการแพทย์แผนไทยกับแผนปัจจุบัน 20.41 20.37 15.54 จำนวนผู้รับบริการแพทย์แผนไทย 415,964 388,068 406,175 จำนวนผู้รับบริการทั้งหมด 2,038,291 1,905,529 2,614,335 มูลค่าการใช้ยาสมุนไพร 12,341,608 11,274,758.94 6,710,741.37 มูลค่าการใช้ยาแผนปัจจุบัน 13,929,945 800,203,848.31 586,601,632.9 สัดส่วนยาสมุนไพรกับยาแผนปัจจุบัน 1.73 1.39 1.14 1.2 ปัญหาพื้นที่เชิงคุณภาพ (สาเหตุ/ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง) 1.2.1 ความมั่นใจของประชาชนในด้านการแพทย์แผนไทยยังค่อนข้างน้อย 1.2.2 บุคลากรด้านการแพทย์แผนไทยยังมีไม่ครบทุกหน่วยบริการ 1.2.3 เจ้าหน้าที่สาธารณสุขใน รพ.สต. มีภาระงาน (สถานการณ์ COVID-19 ) 1.2.4 ระบบบริหารจัดหายาสมุนไพรใน รพ.สต. ไม่เอื้อต่อการทำงาน 1.2.5 ข้อมูล HDC มีระบบรายงานยังไม่คลอบคลุม


Page| 134 แผนปฏิบัติราชการด้านสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ประจำปีงบประมาณ 2566 2. สรุปปัญหาที่สำคัญ 2.1 การรักษาด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ให้ผลการรักษาช้า 2.2 ประชาชนไม่เชื่อมั่นการรักษา ยาสมุนไพรราคาแพง 2.3 ด้านบุคลากร : แพทย์แผนไทยยังมีน้อย 2.4 ด้านงบประมาณ : รพ.สต.บางแห่งขาดสภาพคล่อง 2.5 ด้านข้อมูล : ระบบรายงานยังไม่คลอบคลุม 3. เป้าประสงค์ ประชาชนเข้าถึงบริการการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกที่ได้มาตรฐาน 4. เป้าหมายและตัวชี้วัด 4.1 ร้อยละของจานวนผู้ป่วยที่มีการวินิจฉัยโรคหลอดเลือดสมอง อัมพฤกษ์ อัมพาตระยะกลาง (Intermediate Care) ที่ได้รับการดูแลด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกเพิ่มขึ้น 4.2 กัญชาทางการแพทย์ ร้อยละ 70 4.3 ร้อยละของศูนย์เวลเนส (Wellness Center) / แหล่งท่องเที่ยวเชิงสุขภาพที่ได้รับการร ยกระดับแบบมีส่วนร่วม และสร้างสรรค์ด้านภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์ทางเลือกและสมุนไพรให้ มีคุณค่าและมูลค่าสูงเพิ่มขึ้น (ร้อยละ 20จากปีที่ผ่านมา :36 แห่ง)


ตัวชี้วัด (ระดับจังหวัด) โครงการพัฒนาระบบบริการการแพทย์แผนไทย และการแพทย์ทางเลือก จังหวัดสุพรรณบุรี ปี2566 กิจกรรมหลักที่ 1 พัฒนาระบบริการการแพทย์ 1.ร้อยละของจานวนผู้ป่วยที่มีการวินิจฉัย แผนไทยฯ โรคหลอดเลือดสมองอัมพฤกษ์ กิจกรรมย่อยที่ 1 จัดอบรม service plan 2 ครั้ง เพื่อเพิ่มอัตราการรับบริการของ อัมพาตระยะกลาง(Intermediate Care) 10 อ าเภอ รพ./สสอ. กิจกรรมย่อยที่ 2 ประชุมพัฒนาระบบบริการ ประชาชนด้านการแพทย์แผนไทย ที่ได้รับการดูแลด้วยการแพทย์แผนไทย 10 อ าเภอ รพ./สสอ. กัญชาทางการแพทย์ และสมุนไพร ทั้งด้าน การตรวจ และการแพทย์ทางเลือกเพิ่มขึ้น วินิจฉัย รักษาโรคและฟื้นฟูสภาพ 2.ร้อยละของประชาชนที่มารับบริการ ในระดับปฐมภูมิได้รับการรักษาด้วย การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก โครงการส่งเสริมการด าเนินงานด้านการแพทย์ 1.มีการด าเนินงานคุ้มครอง อนุรักษ์ 3. กัญชาทางการแพทย์ ร้อยละ 70 พื้นที่ในเขต 1.โรงพยาบาล แผนไทย การคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญา และส่งเสริมภูมิปัญญาการ จังหวัดสุพรรณบุรี จ านวน 10 แห่ง การแพทย์แผนไทย ในจังหวัดสุพรรณบุรี ปี 2566 แพทย์แผนไทยในพื้นที่ และนอกเขต 2.เจ้าหน้าที่ (ระดับจังหวัด) จังหวัดสุพรรณบุรี จังหวัดสุพรรณบุรี และอสม.โรงเรียน กิจกรรมหลักที่ 1 ส่งเสริมการน าภูมิปัญญาการ 2.ส่งเสริมการปลูก และการให้ความรู้ รพ.สต. ในจังหวัด แพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทยและ การใช้สมุนไพรการดูแลสุขภาพ สุพรรณบุรี สมุนไพรไปใช้ประโยชน์ในการดูแลสุขภาพ รวมทั้ง แก่เด็กในโรงเรียน ที่จะกระจายสู่ พัฒนาศักยภาพบุคลากรด้านการแพทย์แผนไทย ครอบครัว และชุมชน โดยผ่านการ กิจกรรมย่อยที่ 1.1 กิจกรรมการแลกเปลี่ยน บูรณาการร่วมกันของหน่วยงานต่างๆ เรียนรู้และน าเสนอผลงานในการดูแลสุขภาพ กิจกรรมย่อยที่ 1.2 ค่าจ้างเหมาท าน้ าสมุนไพร เพื่อสุขภาพสาธิต กิจกรรมย่อยที่ 1.3 ส่งเสริมการปลูกสมุนไพร เพื่อการอนุรักษ์ ของเครือข่ายแพทย์แผนไทย ในหน่วยบริการสาธารณสุข ยุทธศาสตร์กระทรวง ที่ 2 Service Excellence แผนงานที่ 6 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) โครงการหลักของกระทรวง ที่ 6 โครงการพัฒนาระบบบริการแพทย์แผนไทยฯ ส่วนที่ 2 แผนปฏิบัติการและแผนสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ปี 2566 จ านวนหน่วยนับ แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก/กิจกรรมย่อย วัตถุประสงค์ ค่าเป้าหมายตัวชี้วัด พื้นที่เป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย ต 13


Non-UC Non UC PP กองทุน อื่นๆ สป.กรม/กอง/เบิกจ่าย แทนกัน basic services สุขภาพต าบล เงินบ ารุง/อบจ,/งบ จังหวัด/PPA/สสส. 875 875 1,750 1,750 รหัส00001 625 625 1,250 1,250 รหัส00001 - - - งบกองทุนภูมิ ปัญญาแพทย์ แผนไทย - 15,000 15,000 15,000 - 3,500 3,500 3,330 10,330 10,330 - 11,000 11,000 11,000 - - รหัสงบ ระยะเวลาด าเนินการ/งบประมาณ เม.ย - มิ.ย .ค. - ธ.ค. ม.ค. - มี.ค ก.ค. - ก.ย. แหล่งงบประมาณ/จ านวนงบประมาณ งบประมาณ รวมทั้งสิ้น 35


ตัวชี้วัด ส่วนที่ 2 แผนปฏิบัติการและแผนสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ปี 2566 จ านวนหน่วยนับ แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก/กิจกรรมย่อย วัตถุประสงค์ ค่าเป้าหมายตัวชี้วัด พื้นที่เป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย ต กิจกรรมย่อยที่ 1.4 กิจกรรมส่งเสริมการปลูก สมุนไพรเพื่อการอนุรักษ์ และให้ความรู้การใช้ สมุนไพร ใกล้ตัวกับการดูแลสุขภาพในโรงเรียน กิจกรรมย่อยที่ 1.5 การจัดกิจกรรมวันภูมิปัญญา การแพทย์แผนไทยแห่งชาติ กิจกรรมย่อยที่ 1.6 เข้าร่วมกิจกรรมการแสดงผล งานด้านการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมและประชุมวิชาการการแพทย์ แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านและการแพทย์ทางเลือก ระดับเขต/ภาค/ประเทศ กิจกรรมหลักที่ 2 การขับเคลื่อนภารกิจส านักงาน นายทะเบียนจังหวัดตามพระราชบัญญัติคุ้มครอง และส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย พ.ศ. 2542 และกฎหมายอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง กิจกรรมย่อยที่ 2.1 ส ารวจตรวจสอบ รวบรวม และจัดท าทะเบียนภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย ตามมาตรา 15 ในจังหวัดสุพรรณบุรี ให้เป็น ปัจจุบัน และคัดเลือกภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย และน าไปใช้ในการดูแลสุขภาพระดับจังหวัด กิจกรรมย่อยที่ 2.2 ส ารวจตรวจสอบ รวบรวม และจัดท าทะเบียนบุคลากรด้านการแพทย์ แผนไทย5กลุ่มในจังหวัดสุพรรณบุรี ให้เป็นปัจจุบัน กิจกรรมย่อยที่ 2.3 ด าเนินการรับรองหมอพื้นบ้าน กิจกรรมย่อยที่ 2.4 ด าเนินเกี่ยวกับการอนุญาต สมุนไพรควบคุมเพื่อการค้าตามมาตรา 46 กิจกรรมย่อยที่ 2.5 สรรหากรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ระดับจังหวัด กิจกรรมย่อยที่ 2.6 สนับสนุนการขับเคลื่อนการ ด าเนินงานคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการ แพทย์แผนไทย และสมุนไพร รวมแผน แพทย์แผนไทย 13


Non-UC Non UC PP กองทุน อื่นๆ สป.กรม/กอง/เบิกจ่าย แทนกัน basic services สุขภาพต าบล เงินบ ารุง/อบจ,/งบ จังหวัด/PPA/สสส. รหัสงบ ระยะเวลาด าเนินการ/งบประมาณ เม.ย - มิ.ย .ค. - ธ.ค. ม.ค. - มี.ค ก.ค. - ก.ย. แหล่งงบประมาณ/จ านวนงบประมาณ งบประมาณ รวมทั้งสิ้น 6,820 6,820 6,820 - - 10,000 10,000 10,000 - 37,400 37,400 37,400 - - งบกองทุนภูมิ - ปัญญาแพทย์ - แผนไทย - - - - - - - - - 2,400 2,400 4,800 4,800 - - 250 250 250 4,380 29,380 4,020 4,020 41,800 41,800 - 10,200 10,200 10,200 - 1,200 1,200 2,400 2,400 - - 4,380 51,780 64,190 32,650 3,000 - - - 150,000 153,000 36


Page| 137 แผนปฏิบัติราชการด้านสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ประจำปีงบประมาณ 2566 แผนงานที่ 1.1 : การพัฒนาคุณภาพชีวิตคนไทยทุกกลุ่มวัย(ด้านสุขภาพ) แผนงานย่อยที่ 1.1.6: แผนปฏิบัติราชการสุขภาพด้านสุขภาพจิตทุกกลุ่มวัย โครงการพัฒนาสุขภาพจิตทุกกลุ่มวัย 1. สถานการณ์ปัญหา 1.1 Base line data จากข้อมูลสถานการณ์ปัญหาด้านสุขจิต และจิตเวชของจังหวัดสุพรรณบุรี ปี 2565 ( ข้อมูล ณ 30 กันยายน 2565) พบว่าอัตราการเข้าถึงบริการของเด็กสมาธิสั้น ร้อยละ 29.31 (เป้าหมาย ร้อยละ 30) อัตรา การเข้าถึงบริการของผู้ป่วยโรคจิตเภท ร้อยละ 80.397 (เป้าหมายร้อยละ 82 ) อัตราการเข้าถึงบริการของ ผู้ป่วยโรคซึมเศร้า ร้อยละ 77.87 (เป้าหมายร้อยละ 74 ) อัตราการพยายามฆ่าตัวตายต่อประชากรหนึ่งแสน คน เท่ากับ 54.02 (ปี 64 เท่ากับ 42.1) อัตราการฆ่าตัวตายสำเร็จต่อประชากรหนึ่งแสนคน เท่ากับ 7.63 (เป้าหมายไม่เกิน 8 ) ซึ่งอำเภอที่มีอัตราการฆ่าตัวตายสำเร็จสูงเป็น ๓ อันดับแรกได้แก่ อำเภอดอนเจดีย์ อำเภอเมืองสุพรรณบุรี และอำเภอสองพี่น้อง โดยมีอัตราต่อ ประชากรหนึ่งแสนคน เท่ากับ 13.11 , 9.57 และ 9.5 ตามลำดับ โดยพบว่าผู้ที่ฆ่าตัวตายสำเร็จส่วนใหญ่เป็นเพศชาย อยู่ช่วงวัยทำงาน วิธีการที่ใช้คือ ใช้ปืนยิง/แขวนคอ/กินยาฆ่าหญ้า ปัจจัยกระตุ้น ได้แก่ ด้านสัมพันธภาพ/ความสัมพันธ์ ร้อยละ 60.87 ปัญหาเศรษฐกิจ ร้อยละ 23.91 ใช้สุรา/ยาเสพติด ร้อยละ 8.7 ปัญหาสูญเสียคนรัก/คนในครอบครัว ร้อยละ 4.35 ปัญหาชราภาพไม่มีคนดูแล ร้อยละ 2.17 ดังนั้นการป้องกันแก้ไขปัญหาการฆ่าตัวตาย จึงมุ่งเน้นการเข้าถึงบริการขอผู้ป่วยโรคจิต โรคซึมเศร้า และกลุ่มติดสารเสพติดให้เข้าถึงบริการเพิ่มมากขึ้น และควรมีการเฝ้าระวังการฆ่าตัวตายซ้ำ ในกลุ่มผู้ที่เคยพยายามฆ่าตัวตายที่ไม่สำเร็จ ให้ได้รับการดูแล ติดตาม เฝ้าระวังอย่างต่อเนื่อง เชื่อมโยงเป็น ระบบ นอกจากนี้ควรมีการพัฒนาระบบการส่งเสริมป้องกันปัญหาสุขภาพจิตในทุกกลุ่มวัย ใน รพ.สต. เพื่อให้ คนในชุมชนมีภาวะสุขภาพจิตที่ดีในทุกช่วงวัย และจากผลการประเมินตนเองในการส่งเสริม ป้องกันปัญหา สุขภาพจิตตามมาตรฐาน ในระดับ รพ.สต ปี 2565 มีค่าคะแนนเท่ากับ 66.85 คะแนน (ระดับพอใช้) และ พบว่าร้อยละ 30 ของรพ.สต. มีการพัฒนาระบบการส่งเสริม ป้องกันปัญหาสุขภาพจิต รพ.สต ของจังหวัด สุพรรณบุรีให้มีคุณภาพอยู่ในเกณฑ์ระดับดีมากขึ้นไป ( 80-100 คะแนน) 1.2 ปัญหาพื้นที่เชิงคุณภาพ ( ระบุพื้นที่ / กลุ่มเป้าหมาย ) 1.2.1 การดำเนินงานในส่วนของการส่งเสริมสุขภาพจิต ในทุกช่วงวัยเพื่อให้ประชาชนทุกกลุ่ม วัยมีสุขภาพดี เหมาะสมตามวัยนั้น พบว่ามีการดำเนินงาน ที่บูรณาการร่วมกันในงานที่เกี่ยวข้องนั้น ยังขาด ความชัดเจน ทำให้ระบบบริการสุขภาพแก่ประชาชนด้านกาย และจิต ไม่ครอบคลุม 1.2.2 การดำเนินงานส่งเสริม ป้องกัน แก้ไข ปัญหาสุขภาพจิตในระดับปฐมภูมิยังขาดการมี ส่วนร่วมของชุมชน


Page| 138 แผนปฏิบัติราชการด้านสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ประจำปีงบประมาณ 2566 1.3 ข้อมูล หรือปัญหาของกระบวนการทำงาน 1.3.1 การส่งเสริมสุขภาพจิตในทุกช่วงวัย ยังขาดการบูรณาการอย่างเป็นรูปธรรมกับหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง และขาดการมีส่วนร่วมของชุมชน ทำให้ไม่สามารถขับเคลื่อนระบบงานไปได้อย่างที่ควร 1.3.2 สภาพปัญหาทางเศรษฐกิจ และสังคม ทำให้มีผลกระทบต่อสุขภาพจิตของประชาชนเป็น จำนวนมาก 1.3.3 การถ่ายโอน ภารกิจ ของ สอน./รพ.สต. ไปยัง อบจ. ซึ่งเริ่มต้นในปีงบประมาณ 2566 อาจทำให้ระบบงานด้านการส่งเสริม ป้องกันปัญหาด้านสุขภาพจิตที่ทำอยู่เดิมขาดความต่อเนื่อง 2. สรุปปัญหาที่สำคัญ 2.1 การดำเนินงานด้านการส่งเสริมสุขภาพจิตในทุกช่วงวัย ยังไม่ครอบคลุม และยังขาดการบูร ณาการระบบงานร่วมกันของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และขาดการมีส่วนร่วมของชุมชน 2.2 กลุ่มเสี่ยงสูงต่อการเกิดปัญหาการฆ่าตัวตาย เช่น กลุ่มที่พยายามฆ่าตัวตาย ไม่สำเร็จ ยังขาด ระบบการติดตามดูแลอย่างเข้มข้น ต่อเนื่องอย่างเป็นระบบ 3. เป้าประสงค์ หน่วยบริการสุขภาพในระดับปฐมภูมิ มีการพัฒนาระบบงานด้านการส่งเสริม ป้องกันปัญหาด้าน สุขภาพจิตเพื่อประชาชนทุกกลุ่มวัยมีสุขภาพจิตที่ดี ผู้ป่วยเข้าถึงบริการด้านสุขภาพจิตและจิตเวช อันจะเป็น การช่วยลด Premature Mortality จาก External causes ( การฆ่าตัวตาย) 4. เป้าหมายและตัวชี้วัด 4.1 ร้อยละ 50 ของ รพ.สต มีการพัฒนาระบบการส่งเสริม ป้องกันปัญหาสุขภาพจิต รพ.สต ของ จังหวัดสุพรรณบุรีให้มีคุณภาพอยู่ในเกณฑ์ระดับดีมากขึ้นไป ( 80-100 คะแนน) 4.2 รพ.สต มีการพัฒนาระบบการส่งเสริม ป้องกันปัญหาสุขภาพจิต รพ.สต ของจังหวัดสุพรรณบุรี ให้มีคุณภาพอยู่ในเกณฑ์ระดับดีมากขึ้นไป ( 80-100 คะแนน)และผ่านการรับรองในปี 2566 รวม 10 แห่ง (จำนวน 1 แห่ง/อำเภอ) 4.3 อัตราการฆ่าตัวตายสำเร็จไม่เกิน 8 ต่อประชากรหนึ่งแสนคน 4.4 ร้อยละ 80 ของกลุ่มเสี่ยง (โรคเรื้อรัง/ติดสุราสารเสพติด/หญิงตั้งครรภ์หลังคลอด/ผู้สูงอายุ เป็นต้น ) ได้รับการคัดกรองภาวะซึมเศร้า 4.5 ร้อยละ 50 ของผู้สูงอายุมีพฤติกรรมสุขภาพ (ด้านสุขภาพจิต)ที่พึงประสงค์ 4.6 ร้อยละของการเข้าถึงบริการโรคซึมเศร้ามากกว่า 78 4.7 ร้อยละ 95 ของผู้พยายามฆ่าตัวตายไม่กลับทำร้ายตัวเองซ้ำภายใน 1 ปี 4.8 อัตราการพยายามฆ่าตัวตายต่อประชากรหนึ่งแสนคน ลดลงจากปีที่ผ่านมา 4.9 อัตราการฆ่าตัวตายสำเร็จ≤8 ต่อ ประชากรหนึ่งแสนคน


ตัวชี้วัด (ระดับจังหวัด) โครงการส่งเสริมป้องกันปัญหาสุขภาพจิต และแก้ไขปัญหาการฆ่าตัวตาย จังหวัดสุพรรณบุรี ปี 2566 กิจกรรมหลักที่ 1ขับเคลื่อนงานสุขภาพจิตผ่าน เพื่อสนับสนุนการด าเนินงานด้าน มีการประชุมคณะอนุกรรมการ - คณะอนุกรรมฯ คณะอนุกรรมการประสานงานเพื่อการบังคับใช้กฎ การคัดกรอง ดูแล รักษา ส่งต่อผู้มี อย่างน้อย ปีละ 1 -2 ครั้ง ระดับจังหวัด หมายว่าด้วยสุขภาพจิต ระดับจังหวัด ปัญหาด้านสุขภาพจิต ช่วยลด กิจกรรมย่อยที่ 1.1 ประชุมคณะอนุกรรมการฯ อันตรายต่อครอบครัว และชุมชน กิจกรรมหลักที่ 2 พัฒนาและอภิบาลระบบสุขภาพ เพื่อเสริมความเข้มแข็งของระบบ 1.ร้อยละ 50 ของ รพ.สต มีผลการ ทุกอ าเภอ รพ.สต. 1แห่ง ปฐมภูมิ(งานส่งเสริมป้องกันปัญหาสุขภาพจิต) บริการสุขภาพปฐมภูมิ ในด้านการ ประเมินตนเองอยู่ในระดับดีมากขึ้น /อ าเภอ รวม หลังการถ่ายโอนภารกิจ สอน./รพ.สต. ไปยัง อบจ ส่งเสริมป้องกัน ปัญหาสุขภาพจิต 2.รพ.สต. 1 แห่ง/อ าเภอ ผ่านการ 10 แห่ง กิจกรรมย่อยที่ 2.1 ขยายผลการด าเนินงาน ประเมินคุณภาพด้านการส่งเสริม (ไม่ซ้ ากับปี 2565) รพ.สต. ต้นแบบ ( 1 รพ.สต./อ าเภอ) ป้องกันปัญหาสุขภาพจิต กิจกรรมย่อยที่ 2.2 ลงเยี่ยมเสริมพลังแบบ บูรณาการ (อบจ./อบต./รพ./สสอ./สสจ.) กิจกรรมหลักที่ 3 ยกระดับระบบบริการสุขภาพ เพื่อพัฒนาระบบการดูแลสุขภาพจิต ก้าวหน้าด้วยเทคโนโลยี เพิ่มการเข้าถึงบริการ โดยใช้ กิจกรรมย่อยที่ 3.1 การพัฒนาระบบการดูแล เทคโนโลยีการบริหารจัดการข้อมูล 1.มีระบบการดูแลเด็กกลุ่มเสี่ยงที่มี - โรงเรียนมัธยม เด็กนักเรียนกลุ่ม ช่วยเหลือนักเรียนกลุ่มเสี่ยงปัญหาพฤติกรรม-อารมณ์ ในระบบออนไลน์ ปัญหาพฤติกรรม-อารมณ์ระหว่าง 6 แห่ง เสี่ยงปัญหา แบบบูรณาการระหว่าง ศธ./สธ. ด้วยระบบ ศธ./สธ. ในทุกอ าเภอ - โรงเรียนประถม พฤติกรรมอารมณ์ School health Hero 60 แห่ง กิจกรรมย่อยที่ 3.2 การป้องกันปัญหาการ 2.มีระบบการเฝ้าระวังปัญหาการ ทุกอ าเภอ รพ./สสอ./รพ.สต/ ฆ่าตัวตายด้วยกลไก 3 หมอ และระบบการดูแล ฆ่าตัวตายในกลุ่มเสี่ยงสูง (14 ต าบล) อสม./สสจ. ติดตามด้วยเทคโนโลยีระบบข้อมูลออนไลน์ 3.อัตราการฆ่าตัวตายซ้ าภายใน 1 ปี 3.2.1 ประชุมวางแผนการด าเนินงาน รพ./สสอ. ≤ 90 (5 อ าเภอที่มีปัญหาฆ่าตัวตายสูง) 4.อัตราการฆ่าตัวตายส าเร็จ≤8 3.2.2 ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาระบบ ต่อ ปชก.หนึ่งแสนคน ส่วนที่ 2 แผนปฏิบัติการและแผนสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ปี 2566 จ านวนหน่วยนับ ยุทธศาสตร์กระทรวง ที่ 2 Service Excellence แผนงานที่ 6 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) โครงการหลักของกระทรวง ที่ 7 โครงการพัฒนาระบบบริการ สาขาสุขภาพจิตและจิตเวช แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก/กิจกรรมย่อย วัตถุประสงค์ ค่าเป้าหมายตัวชี้วัด พื้นที่เป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย ต.ค. 13


Non-UC Non UC PP กองทุน อื่นๆ สป.กรม/กอง/ เบิกจ่ายแทนกัน basic services สุขภาพต าบล เงินบ ารุง/อบจ,/ งบจังหวัด/ PPA/สสส. 1,500 1,500 1,500 รหัส12626 600 600 600 รหัส12626 9,250 9,250 9,250 รหัส12626 งบประมาณ รวมทั้งสิ้น ระยะเวลาด าเนินการ/งบประมาณ รหัสงบ เม.ย - มิ.ย - ธ.ค. ม.ค. - มี.ค ก.ค. - ก.ย. แหล่งงบประมาณ/จ านวนงบประมาณ 39


ตัวชี้วัด ส่วนที่ 2 แผนปฏิบัติการและแผนสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ปี 2566 จ านวนหน่วยนับ แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก/กิจกรรมย่อย วัตถุประสงค์ ค่าเป้าหมายตัวชี้วัด พื้นที่เป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย ต.ค. การป้องกันปัญหาการฆ่าตัวตายด้วยกลไก 3 หมอ กิจกรรมหลักที่ 4 บูรณาการระบบการดูแลสุขภาพ เพื่อบูรณาการการดูแลผู้สูงอายุทั้ง ร้อยละ 80 ของผู้สูงอายุได้รับ 2 ต าบล/อ าเภอ 1.ผู้สูงอายุติดบ้าน จิตในผู้สูงอายุ ร่วมกับงานผู้สูงอายุ ร่างกาย จิตใจ การคัดกรองภาวะซึมเศร้า (เป้าหมายเดียวกับ /ติดเตียง กิจกรรมย่อยที่ 4.1 การดูแลสุขภาพจิตผู้สูงอายุ ร้อยละ 50 ของผู้สูงอายุมี งานผู้สูงอายุ) 2.ผู้สูงอายุติดสังคม - การคัดกรองผู้สูงอายุ 10 เรื่อง (ซึมเศร้า)ุ พฤติกรรมสุขภาพ (ด้านสุขภาพจิต) - สุข 5 มิติ /การประเมินสุขภาพจิต 15 ข้อ ที่พึงประสงค์ ในชมรมผู้สูงอายุ ( น าร่อง 2 ต าบล/1อ าเภอ) กิจกรรมย่อยที่ 4.2 ลงเยี่ยมเสริมพลังแบบ บูรณาการ (อบจ./อบต./รพ./สสอ./สสจ. (ส่งเสริม/NCD) รวมแผน Service Plan สาขา สุขภาพจิต 14


Non-UC Non UC PP กองทุน อื่นๆ สป.กรม/กอง/ เบิกจ่ายแทนกัน basic services สุขภาพต าบล เงินบ ารุง/อบจ,/ งบจังหวัด/ PPA/สสส. งบประมาณ รวมทั้งสิ้น ระยะเวลาด าเนินการ/งบประมาณ รหัสงบ เม.ย - มิ.ย - ธ.ค. ม.ค. - มี.ค ก.ค. - ก.ย. แหล่งงบประมาณ/จ านวนงบประมาณ - 11,350 - - 11,350 - - - - 11,350 40


ตัวชี้วัด (ระดับจังหวัด) 1.โครงกาดูแลรักษาผู้ป่วย Sepsis กิจกรรมหลัก ที่ 1 ประชุมพัฒนา Competency 1. เพื่อให้มีการใช้ SIRS ในการ อัตราตายผู้ป่วยติดเชื้อในกระแสเลือด รพ.ทุกแห่ง เครือข่ายสุขภาพ เพื่อวินิจฉัยรักษาผู้ป่วย Sepsis การประเมิน วินิจฉัย แบบรุนแรงชนิด 10 อ าเภอ แพทย์ Early warning sign รวมทั้งประเมิน 2. เพื่อให้มีการใช้ qSOFA SOS community-acquired เภสัชกร ความรุนแรงอย่างต่อเนื่อง Score ในการประเมินความรุนแรง < ร้อยละ 24 พยาบาล 3. เพื่อให้ปฏิบัติตาม CPG. CNPG, 50 คน Standing Order, Criteria for Refer 2.โครงการพัฒนาศักยภาพการดูแลรักษาผู้ป่วย กระดูกสะโพกหัก กิจกรรมหลักที่ 1พัฒนาศักยภาพการดูแลรักษา ผู้ป่วยกระดูกสะโพกหัก กิจกรรมย่อยที่ 1.1ทบทวนความรู้ทางออร์โธปิดิกส์ 1.เพื่อพัฒนาระบบการดูแลรักษาผู้ป่วย - โรงพยาบาลระดับ A,S,M1 สามารถ รพ.ทุกแห่ง เครือข่ายสุขภาพ ส าหรับแพทย์ทั่วไป สูงอายุกระดูกสะโพกหัก ให้ได้มารตรฐาน ผ่าตัดผู้ป่วยสูงอายุกระดูกสะโพกหัก 10 อ าเภอ แพทย์ 2.เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดูแลรักษาผู้ป่วย ได้ภายใน 72 ชั่วโมง เพิ่มขึ้น พยาบาล สูงอายุกระดูกสะโพกหัก ระหว่างทีม ร้อยละ 10 นักกายภาพ สหสาขาวิชาชีพ กิจกรรมย่อยที่ 1.2 พัฒนาทีม Refracture Prevention -เพื่อ ลดอัตรา Refracture Rate -Refracture Rate < ร้อยละ 20 รพศ./รพท. - ทีม Refracture Prevention - ผู้ประสานงาน Fracture liaison (FLS nurse) กิจกรรมย่อยที่ 1.3 ด าเนินการจัดกิจกรรม ให้ความ 1.เพื่อบูรณาการการดูแลผู้สูงอายุร่วมกัน รพ.ทุกแห่ง เครือข่ายสุขภาพ รู้ผู้สูงอายุเกี่ยวกับการป้องกันการพลัดตกหกล้ม 2.เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับความรู้เรื่อง 10 อ าเภอ แพทย์ ยุทธศาสตร์กระทรวง ที่ 2 Service Excellence แผนงานที่ 6 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) โครงการหลักของกระทรวง ที่ 8 โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ 5 สาขาหลัก ส่วนที่ 2 แผนปฏิบัติการและแผนสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ปี 2566 จ านวนหน่วยนับ แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก/กิจกรรมย่อย วัตถุประสงค์ ค่าเป้าหมายตัวชี้วัด พื้นที่เป้าหมาย กลุ่มเป้าหมา 14


Non-UC Non UC PP กองทุน อื่นๆ สป. กรม/กอง/ เบิกจ่ายแทน กัน basic services สุขภาพต าบล เงินบ ารุง/อบจ ,/งบจังหวัด/ PPA/สสส. nurse รหัสงบ ระยะเวลาด าเนินการ/งบประมาณ เม.ย - มิ.ย าย ต.ค. - ธ.ค. ม.ค. - มี.ค ก.ค. - ก.ย. แหล่งงบประมาณ/จ านวนงบประมาณ งบประมาณ รวมทั้งสิ้น 41


ตัวชี้วัด ส่วนที่ 2 แผนปฏิบัติการและแผนสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ปี 2566 จ านวนหน่วยนับ แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก/กิจกรรมย่อย วัตถุประสงค์ ค่าเป้าหมายตัวชี้วัด พื้นที่เป้าหมาย กลุ่มเป้าหมา การป้องกันพลัดตกหกล้ม พยาบาล ผู้รับผิดชอบงานสูง 3.โครงการประชุมวิชาการด้านศัลยกรรมทุกสาขา เครือข่ายจังหวัดสุพรรณบุรี ประจ าปี 2566 กิจกรรมหลักที่ 1ประชุมคณะท างาน ทบทวน ความรู้บุคลากรในเครือข่าย 4.โครงการพัฒนาการศักยภาพบุคลากรในการดูแล รักษาผู้ป่วยเด็ก กิจกรรมหลักที่ 1 อบรมพัฒนาศักยภาพบุคลากร - เพื่อพัฒนาศักยภาพบุคลากร รพ.ทุกแห่ง เครือข่ายสุขภาพ ในการดูแลรักษาผู้ป่วยเด็ก ในการดูแลรักษาผู้ป่วยเด็กให้ 10 อ าเภอ แพทย์ ปลอดภัย พยาบาล รวมแผนservice plan 5 สาขา 14


Non-UC Non UC PP กองทุน อื่นๆ สป. กรม/กอง/ เบิกจ่ายแทน กัน basic services สุขภาพต าบล เงินบ ารุง/อบจ ,/งบจังหวัด/ PPA/สสส. รหัสงบ ระยะเวลาด าเนินการ/งบประมาณ เม.ย - มิ.ย าย ต.ค. - ธ.ค. ม.ค. - มี.ค ก.ค. - ก.ย. แหล่งงบประมาณ/จ านวนงบประมาณ งบประมาณ รวมทั้งสิ้น งอายุ - - - - - - - - - - 42


ตัวชี้วัด (ระดับจังหวัด) โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาโรคหัวใจ กิจกรรมหลักที่ 1 เพิ่มศักยภาพ รพช.ทุกแห่ง 1.เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับการักษาทันเวลา 1.อัตราตายผู้ป่วย STEMI <ร้อยละ 8 ในการให้ SKได้ตามมาตรฐานการรักษา ตามมาตรฐาน 2.ผู้ป่วย STEMI ได้ตามมาตรฐานเวลา 2.เพื่อลดอัตราตายในผู้ป่วย STEMI เวลาที่ก าหนด ≥ ร้อยละ 60 กิจกรรมย่อย ที่ 1.1SP Cardiac สัญจร ครบทุก - เพื่อสร้างความมั่นใจ รพช.ทุกแห่ง รพช.เพิ่มความมั่นใจ ในการวินิจฉัย รักษา ส่งต่อ ผู้ป่วย กิจกรรมหลักที่ 2 เพิ่มประสิทธิภาพ Fast Track - เพื่อให้ผู้ป่วยSTEMIได้เข้าถึงบริการ STEMI ตั้งแต่ ต้นทาง-Cath lab Pre-hos / In-hos กิจกรรมหลักที่ 3 รพศ.ขยายเวลาเปิดบริการ - เพื่อให้รับรักษาผู้ป่วยได้มากขึ้น Emergency Cath lab อังคาร, พฤหัสบดี ลดการส่งต่อผู้ป่วยSTEM ไปนอกเขต มีแผนเพิ่มวันเสาร์ รวมแผน Service plan สาขาโรคหัวใจ ส่วนที่ 2 แผนปฏิบัติการและแผนสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ปี 2566 จ านวนหน่วยนับ ยุทธศาสตร์กระทรวง ที่ 2 Service Excellence แผนงานที่ 6 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) โครงการหลักของกระทรวง ที่ 9 โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาโรคหัวใจ แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก/กิจกรรมย่อย วัตถุประสงค์ ค่าเป้าหมายตัวชี้วัด พื้นที่เป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย 14


Non-UC Non UC PP กองทุน อื่นๆ สป.กรม/กอง/ เบิกจ่ายแทนกัน basic services สุขภาพต าบล เงินบ ารุง/อบจ,/ งบจังหวัด/ PPA/สสส. - - - - - - - - - - ระยะเวลาด าเนินการ/งบประมาณ เม.ย - มิ.ย ต.ค. - ธ.ค. ม.ค. - มี.ค ก.ค. - ก.ย. แหล่งงบประมาณ/จ านวนงบประมาณ งบประมาณ รวมทั้งสิ้น 43


Page| 144 แผนปฏิบัติราชการด้านสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ประจำปีงบประมาณ 2566 แผนงาน : การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) แผนงานย่อย: แผนปฏิบัติราชการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขามะเร็ง โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขามะเร็ง 1. สถานการณ์ปัญหา โรคมะเร็ง เป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับต้นๆ ของคนทั่วโลก โรคมะเร็งที่พบ 5 อันดับแรกของ โลก ได้แก่ มะเร็งปอด มะเร็งเต้านม มะเร็งลำไส้ใหญ่ มะเร็งกระเพาะอาหาร และมะเร็งต่อมลูกหมาก ซึ่ง องค์การอนามัยโลกคาดการณ์ว่า ในปีค.ศ.2073 จะมีผู้ป่วยโรคมะเร็งเพิ่มขึ้นเป็น 21.4 ล้านคน และมะเร็ง ต่อมลูกหมาก ซึ่งองค์การอนามัยโลกคาดการณ์ว่าในปีค.ศ.2073 จะมีผู้ป่วยโรคมะเร็งเพิ่มขึ้นเป็น 21.4 ล้าน คน และคาดว่าจะมีผู้เสียชีวิตราว 13 ล้านคน และประมาณ 70% ของผู้เสียชีวิตจะอยู่ใน ประเทศที่มีรายได้ ปานกลางถึงต่ำ (องค์การอนามัยโลก, 2013) สำหรับประเทศไทย โรคมะเร็ง ที่เป็นปัญหาสำคัญ 5 อันดับแรก คือ มะเร็งตับและท่อน้ำดี (24.8 ต่อแสน) มะเร็งหลอดคอ หลอดลมใหญ่ และปอด (22.2 ต่อแสน) มะเร็งเต้านม (13.9 ต่อแสน) มะเร็ง ลำไส้ใหญ่ (8.4 ต่อแสน) มะเร็งปากมดลูก (6.7 ต่อแสน) เมื่อพิจารณาสาเหตุการตายของประชาชนจังหวัดสุพรรณบุรี ในปี 2564 พบว่ากลุ่มโรคที่เป็น สาเหตุการตาย โดยไม่นับการตายที่ระบุว่าชราภาพ หรือไม่ทราบสาเหตุ อันดับแรก ได้แก่ กลุ่มโรคมะเร็ง (อัตรา 129.84ต่อแสน) รองลงมา คือ กลุ่มโรคระบบไหลเวียนโลหิต (อัตรา 127.84 ต่อแสน) กลุ่มโรคระบบ ทางเดินหายใจ (อัตรา 102.74 ต่อแสน) โรคของระบบประสาท (อัตรา 102.74 ต่อแสน) และกลุ่มการตายจาก สาเหตุภายนอก (อัตรา 67.16 ต่อแสน) ตามลำดับ เมื่อจำแนกสาเหตุการตายตามกลุ่มโรคเนื้องอกและมะเร็ง อัตราตายสูงสุดได้แก่ กลุ่มโรคเนื้องอกร้ายที่หลอด คอ หลอดลมใหญ่ และปอด (Malignant neoplasm of trachea, bronchus and lung) อัตรา 24.51 ต่อ แสน รองลงมาได้แก่ โรคเนื้องอกร้ายที่ตับและท่อน้ำดีในตับ (Malignant neoplasm of liver and intrahepatic bile ducts) อัตรา 19.09 ต่อแสน โรคเนื้องอกร้ายที่เต้านม (Malignant neoplasm of breast) 8.95 ต่อแสน และโรคเนื้องอกร้าย ที่ลำไส้ใหญ่ลำไส้ตรงและทวารหนัก (Malignant neoplasm of colon, rectum and anus) อัตรา 7.19 ต่อแสน ในระหว่าง ปี2560-2565 อัตราตายกลุ่มโรคเนื้องอกร้าย ที่เต้านม (Malignant neoplasm of breast) มีแนวโน้มลดลงใน (อัตรา 8.13,7.86,8.95,4.25,3.93,2.70) และกลุ่มโรคเนื้องอกร้ายที่ปากมดลูก (Malignant neoplasm of cervix uteri) อัตราการตายลดลง และ เพิ่มขึ้นในปี 2565


Page| 145 แผนปฏิบัติราชการด้านสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ประจำปีงบประมาณ 2566 1.1 Base line data อัตราตาย จากมะเร็ง ชนิดมะเร็ง อัตราตาย ประเทศ เขต5 จังหวัด มะเร็งลำไส้ใหญ่ 8.4 NA 4.76 มเร็งเต้านม 13.9 7.69 2.70 มะเร็งปากมดลูก 6.7 6.80 1.59 การดำเนินงานคัดกรองมะเร็ง อำเภอ มะเร็ง ปากมดลูก ร้อยละ เป้าหมาย มะเร็ง เต้านม ร้อยละ เป้าหมาย มะเร็ง ลำไส้ใหญ่ ร้อยละ เป้าหมาย เมืองสุพรรณบุรี 6,924 24.22 30,207 80.45 0 0 เดิมบางนางบวช 3,754 35.27 11,652 78.50 1,111 66.25 ด่านช้าง 5,203 46.92 12,018 85.24 978 58.11 บางปลาม้า 3,335 31.24 11,832 81.24 1,076 72.65 ศรีประจันต์ 3,518 32.20 10,851 74.73 0 0 ดอนเจดีย์ 2,488 32.01 6,888 67.48 372 33.91 สองพี่น้อง 3,321 15.08 23,051 81.42 1 0.03 สามชุก 2,611 27.64 8,132 64.25 849 72.56 อู่ทอง 7,053 38.55 18,188 75.51 0 0 หนองหญ้าไซ 3,412 41.11 9,927 91.03 0 0 รวม 41,619 30.21 142,746 78.54 4,484 22.92 1.2 ปัญหาพื้นที่เชิงคุณภาพ (สาเหตุ/ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง) พื้นที่ที่คัดกรองมะเร็งปากมดลูก น้อยที่สุด ได้แก่ อำเภอสองพี่น้อง รองลงมาได้แก่ อำเภอเมืองฯ และสามชุก ตามลำดับ การคัดกรองมะเร็งเต้านม น้อยที่สุด ได้แก่ พื้นที่ อำเภอสามชุก รองลงมาได้แก่ อำเภอดอนเจดีย์ และศรีประจันต์ ตามลำดับ และ การคัดกรองมะเร็งลำไส้ น้อยที่สุดได้แก่ อำเภอเมืองฯ ศรีประจันต์ อู่ทอง และหนองหญ้าไซ รองลงมาได้แก่ อำเภอดอนเจดีย์ ด่านช้าง และเดิมบางนางบวช ตามลำดับ


Page| 146 แผนปฏิบัติราชการด้านสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ประจำปีงบประมาณ 2566 1.3 ข้อมูล หรือปัญหาของกระบวนการทำงาน 1.3.1 ทักษะความชำนาญ ของผู้ปฏิบัติงาน 1.3.2 วัสดุอุปกรณ์ และครุภัณฑ์ สิ่งสนับสนุน ในการคัดกรองและตรวจวินิจฉัย 1.3.3 ระยะเวลารอคอยการส่งตรวจวินิจฉัยและส่งรักษาต่อ 2. สรุปปัญหาที่สำคัญ 2.1 การสนับสนุนวัสดุอุปกรณ์ ครุภัณฑ์ ในการดำเนินงานให้เพียงพอ 2.2 รพ.สต.ถ่ายโอนไป อบจ. บุคลากร อาจมีการปรับเปลี่ยนบทบาทหน้าที่ และผู้ประสานงาน 3. เป้าประสงค์ อัตราตายด้วยมะเร็ง ลำไส้ เต้านม และปากมดลูกลดลง 4. เป้าหมายและตัวชี้วัด 4.1 ตัวชี้วัด 4.1.1 การคัดกรองมะเร็งเต้านม ร้อยละ 80 4.1.2 การคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ร้อยละ 20 (สะสมรายใหม่ ปี 66-71) 4.1.3 การคัดกรองมะเร็งลำไส้ ร้อยละ 10


ตัวชี้วัด (ระดับจังหวัด) กิจกรรมหลักที่ 1 การพัฒนาศักยภาพบุคลากร 1.เพื่อพัฒนาศักยภาพบุคลากร 1 ร้อยละของผู้ที่ได้รับการคัดกรอง และเครือข่ายบริการสาธารณสุข สาธารณสุขในการด าเนินงาน มะเร็ง 1.1 เต้านม ร้อยละ 80 กิจกรรมย่อยที่ 1.1 ประชุมเชิงปฏิบัติการการ คัดกรองมะเร็ง 1.2 ปากมดลูก ร้อยละ 20 คัดกรองมะเร็ง 1.3 ล าไส้ใหญ่ ร้อยละ 10 กิจกรรมหลักที่ 2 ติดตาม สนับสนุน และประเมินผลการคัดกรองมะเร็ง 2.1 ติดตามสนับสนุน และประเมินผลการ 1เพื่อติดตาม สนับสนุนการ รพ. 10 แห่ง ผู้รับผิดชอบงาน คัดกรองมะเร็ง ด าเนินงานคัดกรองมะเร็ง คัดกรองมะเร็ง ที่ถูกต้อง ได้มาตรฐาน อบจ. 1 แห่ง 200 คน 2.2 กิจกรรมสนับสนุนการจัดกิจกรรมคัดกรอง 2.เพื่อสนับสนุนกิจกรรมตาม พื้นที่ 10 อ าเภอ สตรีอายุ 3 ปีขึ้นไป มะเร็งเต้านมเฉลิมพระเกียรติ โครงการเฉลิมพระเกียรติ ที่มีปัจจัยเสี่ยง กิจกรรมหลักที่ 3 การแลกเปลี่ยนเรียนรู้และ เพื่อสรุปผลการด าเนินงาน ปี66 และ รพ. 10 แห่ง ผู้รับผิดชอบ สรุปผลการด าเนินงานคัดกรองมะเร็ง แลกเปลี่ยนเรียนรู้ งานมะเร็ง 3.1 ประชุมเชิงปฏิบัติการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ และ สรุปผลการด าเนินงาน (ออนไลน์) รวมแผน service plan สาขามะเร็ง ยุทธศาสตร์กระทรวง ที่ 2 Service Excellence แผนงานที่ 6 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) โครงการหลักของกระทรวง ที่ 10 โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาโรคมะเร็ง ส่วนที่ 2 แผนปฏิบัติการและแผนสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ปี 2566 จ านวนหน่วยนับ แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก/กิจกรรมย่อย วัตถุประสงค์ ค่าเป้าหมายตัวชี้วัด พื้นที่เป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย ต.ค. - 14


Non-UC Non UC PP กองทุน อื่นๆ สป. กรม/กอง/ เบิกจ่ายแทน กัน basic services สุขภาพต าบล เงินบ ารุง/อบจ ,/งบจังหวัด/ PPA/สสส. 7,200 7,200 7,200 เงินบ ารุง 18,000 18,000 18,000 เงินบ ารุง - - 25,200 - - - - - 25,200 25,200 - รหัสงบ ระยะเวลาด าเนินการ/งบประมาณ เม.ย - มิ.ย - ธ.ค. ม.ค. - มี.ค ก.ค. - ก.ย. แหล่งงบประมาณ/จ านวนงบประมาณ งบประมาณ รวมทั้งสิ้น 47


ตัวชี้วัด (ระดับจังหวัด) โครงการชะลอไตเสื่อม กิจกรรมหลักที่ 1ให้ความรู้แก่ผู้รับผิดชอบงาน - เพื่อชะลอไตเสื่อม - ผู้ป่วย CKD ที่มีอัตราการลดลงของ 10 อ าเภอ Managerและอสม โรคไต (CKD Manager)และทีมรักษ์ไต (อสม.) eGFR<5 ml/min/1.73m2/yr ให้ได้ ≥ 66 กิจกรรมหลักที่ 2 กิจกรรมวันไตโลก - เพื่อให้ประชาชนมีความรู้การชลอ อ าเภอเ มืองฯ ประชาชนกลุ่มเสี่ย ให้ความรู้กับประชาชนกลุ่มเสี่ยงในเขต อ.เมือง ไตเสื่อม อสม. รวมแผน Service plan สาขาไต ส่วนที่ 2 แผนปฏิบัติการและแผนสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ปี 2566 จ านวนหน่วยนับ ยุทธศาสตร์กระทรวง ที่ 2 Service Excellence แผนงานที่ 6 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) โครงการหลักของกระทรวง ที่ 11 โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาโรคไต แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก/กิจกรรมย่อย วัตถุประสงค์ ค่าเป้าหมายตัวชี้วัด พื้นที่เป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย 14


Non-UC Non UC PP กองทุน อื่นๆ สป.กรม/กอง/ เบิกจ่ายแทนกัน basic services สุขภาพต าบล เงินบ ารุง/อบจ,/ งบจังหวัด/ PPA/สสส. ม. ยง - - - - - - - - - - ระยะเวลาด าเนินการ/งบประมาณ เม.ย - มิ.ย ต.ค. - ธ.ค. ม.ค. - มี.ค ก.ค. - ก.ย. แหล่งงบประมาณ/จ านวนงบประมาณ งบประมาณ รวมทั้งสิ้น 48


ตัวชี้วัด (ระดับจังหวัด) โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ วิทยา สาขาจักษุ กิจกรรมหลักที่ 1 ประชาสัมพันธ์บริจาคดวงตา -เพิ่มการเข้าถึงการบริจาคดวงตา กิจกรรมย่อยที่ 1.1 ประกาศในเว็ปไซ รพ. - ติดป้ายประชาสัมพันธ์ในลิฟท์. - ประชาสัมพันธ์เสียงตามสายของรพ. กิจกรรมหลักที่ 2 ระบบบริการจับคู่พัฒนา -เพิ่มการเข้าถึงบริการ ในรพช.ที่ไม่มีผู้ป่วยต้อกระจก โรงพยาบาลพี่ -โรงพยาบาลน้อง จักษุแพทย์ ชนิดบอด (Blinding Cataract) .ออกหน่วยตรวจตา รพ.บางปลาม้า และ - ลดระยะเวลาการรอคอยผ่าตัด ได้รับการผ่าตัดภายใน 30 วัน รพ.ด่านช้าง ทุก 3 เดือน ต้อกระจก ≥ ร้อยละ 85 กิจกรรมหลักที่ 3 วัดแว่นเด็กประถมศึกษา - เพื่อให้นักเรียนที่สายตาผิดปกติได้ - เด็กที่มีสายตาผิดปกติพบจักษุแพทย์ รับการตรวจ และแก้ไขสายตาผิดปกติ - มอบแว่นสายตาในรายที่สายตา ผิดปกติ รวมแผน Service plan สาขาจักษุ ส่วนที่ 2 แผนปฏิบัติการและแผนสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ปี 2566 จ านวนหน่วยนับ ยุทธศาสตร์กระทรวง ที่ 2 Service Excellence แผนงานที่ 6 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) โครงการหลักของกระทรวง ที่ 12 โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาจักษุ แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก/กิจกรรมย่อย วัตถุประสงค์ ค่าเป้าหมายตัวชี้วัด พื้นที่เป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย 14


Non-UC Non UC PP กองทุน อื่นๆ สป.กรม/กอง/ เบิกจ่ายแทนกัน basic services สุขภาพต าบล เงินบ ารุง/อบจ,/ งบจังหวัด/ PPA/สสส. - - - - - - - - - - ระยะเวลาด าเนินการ/งบประมาณ เม.ย - มิ.ย ต.ค. - ธ.ค. ม.ค. - มี.ค ก.ค. - ก.ย. แหล่งงบประมาณ/จ านวนงบประมาณ งบประมาณ รวมทั้งสิ้น 49


ตัวชี้วัด (ระดับจังหวัด) โครงการเพิ่มจ านวนผู้บริจาคอวัยวะ ในผู้ป่วยสมองตาย กิจกรรมหลักที่ 1 ด้านการพัฒนาระบบบริการ - เพื่อให้ได้รับอวัยวะจากผู้ป่วย - อัตราส่วนจ านวนผู้ยินยอมบริจาค สุขภาพ สาขาปลูกถ่ายอวัยวะ สมองตายเพิ่มขึ้น อวัยวะจากผู้ป่วยสมองตายต่อจ านวน - ผู้ป่วยเสียชีวิตในโรงพยาบาล กิจกรรมย่อยที่ 1.1จัดตั้งคณะกรรมการด าเนินงาน เป้าหมาย > 0.8 : 100 Hospital 10 อ าเภอ รพ.ทุกแห่ง death ในโรงพยาบาล A,S กิจกรรมย่อยที่ 1.2 ส่งพยาบาลไปอบรมเทคนิค อ.เมือง รพศ. การเจรจาการขอรับบริจาคอวัยวะจากผู้ป่วย สมองตายที่สภากาชาดไทย กิจกรรมย่อยที่ 1.3 จัดตั้งจุดเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ 10 อ าเภอ รพ.ทุกแห่ง และรับขึ้นทะเบียนผู้แสดงความจ านงบริจาคอวัยวะ กิจกรรมย่อยที่ 1.4 เผยแพร่ประชาสัมพันธ์เรื่อง ศูนย์รับบริจาคอวัยวะในรพ.และในระดับปฐมภูมิ กิจกรรมย่อยที่ 1.5 พัฒนาศักยภาพการดูแลผู้ป่วย ที่คาดว่าอยู่ในภาวะสมองตายก่อนส่งต่อ รพศ. รวมแผน Service plan สาขาปลูกถ่ายอวัยวะ ส่วนที่ 2 แผนปฏิบัติการและแผนสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ปี 2566 จ านวนหน่วยนับ ยุทธศาสตร์กระทรวง ที่ 2 Service Excellence แผนงานที่ 6 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) โครงการหลักของกระทรวง ที่ 13 โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาปลูกถ่ายอวัยวะ แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก/กิจกรรมย่อย วัตถุประสงค์ ค่าเป้าหมายตัวชี้วัด พื้นที่เป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย 15


Non-UC Non UC PP กองทุน อื่นๆ สป.กรม/กอง/ เบิกจ่ายแทนกัน basic services สุขภาพต าบล เงินบ ารุง/อบจ,/ งบจังหวัด/ PPA/สสส. - - - - - - - - - - ระยะเวลาด าเนินการ/งบประมาณ เม.ย - มิ.ย ต.ค. - ธ.ค. ม.ค. - มี.ค ก.ค. - ก.ย. แหล่งงบประมาณ/จ านวนงบประมาณ งบประมาณ รวมทั้งสิ้น 50


Page| 151 แผนปฏิบัติราชการด้านสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ประจำปีงบประมาณ 2566 แผนงาน : การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) แผนงานย่อย: แผนปฏิบัติราชการพัฒนาระบบบริการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาเสพติด โครงการการพัฒนาระบบบริการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาเสพติด 1. สถานการณ์ปัญหา สถานการณ์ การแพร่ระบาดยาเสพติดมีแนวโน้มที่แพร่ระบาดมากขึ้น ตามการขับเคลื่อนของ อุปทาน (Supply) ของการผลิตยาเสพติดนอกประเทศ จากปริมาณยาเสพติดที่มีการลักลอบนำเข้าเพิ่มขึ้น ส่งผลให้ยา เสพติดกระจายไปยังพื้นที่ต่าง ๆ ของประเทศ และด้วยกลยุทธ์การค้าของกลุ่มนักค้ายาเสพติดที่ทำให้ยาเสพ ติดมีราคาที่ถูกลง ส่งผลให้เกิดการกระตุ้นการใช้ยาเสพติดในประเทศ ผู้เสพรายใหม่จะเข้าสู่วงจรยาเสพติดมาก ขึ้น จากข้อมูลผู้เข้าบำบัดรักษาที่เข้าสู่ระบบจะพบสัดส่วนผู้เสพรายใหม่ถึง ร้อยละ ๗๐.๓๔ ไม่นับรวมผู้เสพ จำนวนมากที่ยังไม่เข้าสู่ระบบการบำบัดรักษา หลบซ่อนไม่แสดงตัว จนเกิดภาวะการเสพติดซ้ำ ซึ่งจะส่งผลต่อ อาการทางจิตเวชจากยาเสพติด สอดคล้องกับข้อมูลการบำบัดรักษาและฟื้นฟูผู้ติดยาเสพติดของประเทศ พบว่า มีสัดส่วนผู้เข้ารับากรบำบัดและใช้ยารักษาโรคทางจิตเวชร่วมเพิ่มขึ้นทุกปี โดยปี พ.ศ.2565 มีจำนวน 8,871 คน และข้อมูลของศูนย์ปฏิบัติการสำนักงาน ป.ป.ส.ปี พ.ศ.2565 มีข่าวผู้มีอาการทางจิตจากยาเสพติด ก่อเหตุรุนแรงจนเป็นข่าว จำนวน 731 ข่าว ซึ่งเพิ่มขึ้นจากปี พ.ศ. 2564 เป็น 2 เท่า (ปี พ.ศ. 2564 มีเพียง 307 ข่าว) นอกจากนี้ ข้อมูลจากระบบการบำบัดรักษายาเสพติด (บสต.) ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ มีผู้เข้า รับการบำบัดรักษายาเสพติด ๑๕๕,๕๐๐ ราย (ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ มีผู้เข้ารับการบำบัดรักษายาเสพติด ๒๑๒,๖๔๖ ราย) ส่วนใหญ่ยังคงเป็นเพศชาย ร้อยละ ๘๙.๖๖ เมื่อพิจารณากลุ่มอายุของผู้เข้าบำบัดทั้งหมด ส่วนใหญ่กลุ่มอายุ ๒๕ - ๒๙ ปี ร้อยละ ๑๘.๒๔ รองลงมา คือ กลุ่มอายุ ๒๐ - ๒๔ ปี ร้อยละ ๑๗.๐๑ กลุ่มอายุ ๓๐ - ๓๔ ปี ร้อยละ ๑๕.๒๙ และกลุ่มอายุ ๓๕ - ๓๙ ปี ร้อยละ ๑๓.๗๘ ผู้เข้าบำบัดรักษาส่วนใหญ่เป็นผู้เสพ ร้อยละ ๖๓.๖๑ รองลงมาคือ ผู้ติด ร้อยละ ๓๑.๙๙ และผู้ใช้ ร้อยละ ๔.๔๐ ยาเสพติดที่มีการแพร่ระบาดมาก ที่สุด คือ ยาบ้า (ร้อยละ ๗๙.๒) รองลงมาคือ ไอซ์ (ร้อยละ ๘.๓) กัญชา (ร้อยละ ๔.๔) และเฮโรอีน ร้อยละ ๓.๓ สำหรับยาเสพติดที่ต้องเฝ้าระวัง คือ ไอซ์ ที่พบการแพร่ระบาดเพิ่มขึ้น และเฮโรอีน โดยจังหวัดสุพรรณบุรี เป็นพื้นที่เสี่ยงในการแพร่ระบาดเฮโรอีนเนื่องจากมีพื้นที่ติดต่อกับจังหวัดกาญจนบุรี นอกจากนี้ยังเริ่มพบการ ใช้ยาเสพติดและวัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาทแบบผสมหลายชนิด (Drugs Cocktail) ในกลุ่มเด็กและ เยาวชน ในส่วนสถานการณ์ด้านการบำบัดรักษาฯยาเสพติดจังหวัดสุพรรณบุรี ปี๒๕๖5 (ต.ค.64-ก.ย.๖5) พบว่า ผลการดำเนินงานบำบัดฟื้นฟูผู้ติดยาเสพติดทั้งหมด 416 ราย แบ่งเป็น สมัครใจ(walk in ม.113) 196 ราย ,สมัครใจ ม .114 จำนวน 68 ราย, ระบบศาลสั่ง ปอ.ม.56 จำนวน 4 ราย และบังคับบำบัดแบบไม่ควบคุม ตัว 147 ราย นอกจากนี้ ยังพบว่าเป็นผู้ป่วยยาเสพติดรายใหม่ 16 คนคิดเป็นร้อยละ 4 ,อัตราการติดตาม


Page| 152 แผนปฏิบัติราชการด้านสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ประจำปีงบประมาณ 2566 ดูแลผู้ผ่านการบำบัดฯครบโปรแกรมอย่างต่อเนื่องครบ 1 ปี (Retention rate) คิดเป็นร้อยละ 62.6, ผู้ป่วย ยาเสพติดหยุดเสพต่อเนื่อง 3 เดือนหลังจำหน่ายจากการบำบัด (Remission rate) คิดเป็นร้อยละ 90.91 ตัวชี้วัด: ร้อยละ55ของผู้ป่วยยาเสพติดเข้ารับการบำบัดรักษาได้รับการดูแลอย่างมีคุณภาพต่อเนื่อง 1 ปี (Retention Rate) ระบบสมัครใจ ข้อมูลย้อนหลัง 3 ปี เกณฑ์ ปีงบประมาณ 2565 2562 2563 2564 อำเภอ เป้าหมาย ผลงาน ร้อยละ ระดับประเทศ 55 เมือง 2 2 100 41.3 40.71 56.66 เดิมบางฯ 31 24 77.42 เขต 5 ดอนเจดีย์ 6 5 83.33 36.92 53.9 57.69 ด่านช้าง 16 8 50 จังหวัดสุพรรณบุรี บางปลาม้า 15 10 66.67 39.97 63.41 55.5 ศรีประจันต์ 28 26 92.86 ปีงบประมาณ 2565 สองพี่น้อง 33 3 9.09 ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 สามชุก 16 15 93.75 58.3 67.1 62.6 หนองหญ้าไซ 2 2 100 อู่ทอง 6 2 33.33 รวม 155 97 62.6 ที่มาข้อมูล : https://antidrugnew.moph.go.th ข้อมูล ณ 30 ก.ย 65 1.1Base line data 1.1.1 เป้าหมายการบำบัด จำนวน 585 คน 1.1.2 เป้าหมายการลดอันตรายจากการใช้ยา (Harm reduction) จำนวน 270 คน 1.1.3 เป้าหมายการคัดกรองผู้ใช้สารเสพติด 300 ราย 1.1.4 เป้าหมายการติดตามดูแลช่วยเหลือผู้ผ่านการบำบัด 100 ราย 1.1.5 เป้าหมายสถานพยาบาลของรัฐผ่านการรับรองมาตรฐานบำบัดยาเสพติดครบทุกแห่ง (10 แห่ง) 1.1.6 ดำเนินยุทธศาสตร์ 3 ย 3 ก ตามโครการ TO BE NUMBER ONE 1.1.7 ดำเนินมาตราการควบคุมการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และยาสูบจังหวัดสุพรรณบุรี (5 มาตรการหลัก)


Page| 153 แผนปฏิบัติราชการด้านสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ประจำปีงบประมาณ 2566 1.2 ปัญหาพื้นที่เชิงคุณภาพ ปัญหาสำคัญของการบำบัดฟื้นฟูฯผู้ติดยาเสพติดหลายปีที่ผ่านมาคือ ผู้ป่วยยาเสพติดที่ผ่าน กระบวนการบำบัดรักษาฯ ได้รับการติดตามไม่ครบตามเกณฑ์กำหนด เนื่องจากผู้ป่วยฯดังกล่าวไม่อยู่ในพื้นที่ และติดตามตัวไม่พบ และบางส่วนกลับไปเสพยาเสพติดซ้ำเพราะกลับไปอยู่ในสภาพแวดล้อมเดิมหาซื้อยาเสพ ติด ได้ง่าย สภาพครอบครัวที่ยังมีปัญหา ประกอบกับสภาพจิตใจที่ไม่เข้มแข็งพอที่จะเลิกยาได้ และจาก นโยบายการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดของ UNGASS 2016 ได้ปรับแนวคิดด้านการบำบัดรักษามิติใหม่ ที่ว่า "ผู้เสพคือผู้ป่วย"ด้วยโรคสมองติดยาซึ่งถือเป็นโรคเรื้อรังโรคหนึ่ง ดังนั้นการที่จะให้ผู้ติดยาเสพติดสามารถ เลิกยาได้อย่างถาวรนั้นเป็นเรื่องยาก แต่การช่วยเหลือดูแลให้ผู้ติดยาเสพติดสามารถอยู่ในสังคมโดยไม่ส่งผล กระทบต่อผู้อื่นเป็นสิ่งสำคัญมากกว่า ดังนั้นการปรับทัศนคติของคนในสังคมที่เปิดโอกาสให้ผู้เสพ/ผู้ติดได้รับ การบำบัดฯเน้นมุมมองด้านสุขภาพแทนการลงโทษหรือตีตราความผิด และการลดอันตรายจากการใช้ยาเพื่อ ป้องกันอันตรายหรือความเสี่ยงที่อาจเกิดทั้งตัวผู้ป่วยเอง ชุมชนและสังคม พร้อมทั้งการขยายฐานหรือ รูปแบบการบำบัดลงสู่ชุมชนจาก Medical model สู่ Social model เช่น การบำบัดในชุมชน(community base treatment/CBT) โดยชุมชนดำเนินการเอง ซึ่งเป็นการป้องกันแก้ไขปัญหายาเสพติดอย่าง ยั่งยืนจังหวัด สุพรรณบุรีได้มีพื้นที่ชุมชนตำบลเขาพระ อำเภอเดิมบางนางบวชของกำนันธีร์ สัจจะวงศ์รัตน นำร่องการ แก้ปัญหายาเสพติดในชุมชนด้วยการทำบำบัดในชุมชนมีอาสาสมัครในการช่วยสอดส่อง ควบคุม ติดตาม ช่วยเหลือผู้ที่มีพฤติกรรมใช้ยาเสพติดในชุมชนให้สามารถเลิกยาได้ และจะขยายโมเดลนี้ให้ชุมชนอื่นๆใน จังหวัดสุพรรณบุรีดำเนินการต่อไปจนครบทุกอำเภอทุกตำบลในที่สุด 1.3 ข้อมูล หรือปัญหาของกระบวนการทำงาน 1.3.1 ผู้เข้ารับการบำบัดรักษาอยู่ไม่ครบโปรแกรมฯ(Drop out) เพิ่มขึ้น ทั้งในระบบสมัครใจ และระบบบังคับบำบัด 1.3.2 การติดตามผู้ผ่านการบำบัดฟื้นฟูฯดำเนินการได้ไม่ครบตามกำหนด (4 ครั้งใน1 ปี) เนื่องจากย้ายที่อยู่ ติดตามตัวไม่พบ ไปประกอบอาชีพต่างจังหวัด 1.3.3 สถานพยาบาลบางแห่งมีการปรับเปลี่ยนเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงาน จึงต้องมีการพัฒนา ศักยภาพผู้ปฏิบัติงานใหม่อย่างต่อเนื่อง 1.3.4 กระบวนการดำเนินงานบำบัดในชุมชนยังเห็นภาพไม่ชัดเจน ขาดการบูรณาร่วมกันกับ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 1.3.5 การขับเคลื่อนตามประมวลกฎหมายยาเสพติดใหม่ ยังต้องเรียนรู้และพัฒนา อย่างต่อเนื่อง


Page| 154 แผนปฏิบัติราชการด้านสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ประจำปีงบประมาณ 2566 2. สรุปปัญหาที่สำคัญ 2.1 ผู้ป่วยยาเสพติดเข้ารับการบำบัดฟื้นฟูไม่ครบโปรแกรมเพิ่มขึ้น 2.2 ผู้ป่วยยาเสพติดที่ผ่านการบำบัดรักษาฯ ได้รับการติดตามไม่ครบตามเกณฑ์มาตรฐาน และผู้ป่วย ยาเสพติดที่ผ่านการบำบัดรักษาฯ กลับไปเสพยาเสพติดซ้ำ 2.3 การดำเนินงาน CBTx ในพื้นที่ยังขาดการบูรณาการร่วมกันของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 3. เป้าประสงค์ เพื่อให้ผู้เสพผู้ติดได้รับการบำบัด รักษา ฟื้นฟูสมรรถภาพและสดอันตรายจากยาเสพติดสามารถ กลับไปใช้ชีวิตในสังคมได้ตามปกติ โดยมีกลไกติดตามการช่วยเหลือผู้ผ่านการบำบัดรักษาอย่างน้อย 1 ปี 4. เป้าหมายและตัวชี้วัด ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ จำนวนผู้เสพผู้ติดยาเสพติดที่เข้ารับการบำบัด รักษา ฟื้นฟูสมรรถภาพ ติดตามดูแลช่วยเหลือ และ ลดอันตรายจากยาเสพติด ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ ร้อยละ 60 ของผู้ป่วยยาเสพติดที่เข้าสู่กระบวนการบำบัดรักษาได้รับการดูแลติดตามอย่างมีคุณภาพ อย่างต่อเนื่อง (Retention Rate) ดำเนินการพัฒนาหน่วยบริการบำบัด(ศูนย์คัดกรอง,สถานพยาบาล,สถานฟื้นฟูสมรรถภาพ,ศูนย์ฟื้นฟู สภาพทางสังคม) ให้เป็นไปตามเกณฑ์คุณภาพที่กำหนดร้อยละ 90 ตัวชี้วัดกิจกรรม 1.ผู้ป่วยยาเสพติดได้รับการคัดกรองจากศูนย์คัดกรองอย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ 2.ผู้ป่วยยาเสพติดได้รับการบำบัด รักษา ฟื้นฟูสมรรถภาพ ติดตามดูแลช่วยเหลือ และลดอันตรายจาก ยาเสพติด 3.สถานบริการทุกระดับได้รับการพัฒนาด้านการบำบัด รักษา ฟื้นฟูสมรรถภาพ ติดตามดูแลช่วยเหลือ และลดอันตรายจากยาเสพติด 4. ดำเนินกิจกรรมตามโครงการ TO BE NUMBER ONE ตามยุทธศาสตร์ 3 ย 3 ก 5.ออกตรวจเตือน/จับตามมาตราการทางกฎหมาย พ.ร.บ.คุ้มครองผู้ไม่สูบบุหรี่ และพ.ร.บ.ควบคุม เครื่องดื่มแอลกอฮอล์


ตัวชี้วัด (ระดับจังหวัด) โครงการลดปัจจัยเสี่ยงด้านยาเสพติดแบบบูรณาการ มาตรการที่ 1: ด้านการส่งเสริมป้องกันปัญหายาเสพติด 1.เพื่อส่งเสริม ปลุกจิตส ำนึก สร้ำง ร้อยละของผู้ป่วยยำเสพติดเข้ำสู่ สถานศึกษา 1.1 ด ำเนินงำนกิจกรรมป้องกันกำรแพร่ระบำดของยำเสพติด ควำมตระหนักและควำมรู้เรื่อง กระบวนกำรบ ำบัดรักษำ ได้รับกำร พื้นที่จ.สุพรรณ ในเยำวชนกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่โดยใช้ แนวทำงTo Be ยำเสพติดในสถำนศึกษำ ดูแลอย่ำงมีคุณภำพต่อเนื่องจนถึง สถานประกอบ Number One ทั้ง ในสถำนศึกษำ ,ในชุมชน และสถำน ชุมชนและสถำนประกอบกำร กำรติดตำม (Retention Rate) 1 แห่ง/อ าเภอ ประกอบกำร ฯลฯเช่นกำรจัดโครงกำรศูนย์เพือนใจวัยรุ่น, ชุมชนเข้มแข็ง พัฒนำทักษะชีวิตเพื่อป้องกันปัญหำยำเสพติด พร้อมให้กำร 2.ด ำเนินกำรตำมยุทธศำตร์หลัก 1 แห่ง/อ ำเภอ สนับสนุนกิจกรรมต่ำงๆตำมโครงกำรTo Be Number One (3 ย. 3 ก.) อย่ำงต่อเนื่องทุกปี 1.2.ร่วมกับหน่วยงำนที่เกี่ยวข้องด ำเนินงำนกำรป้องกันกำร แพร่ระบำดของยำเสพติด ในเยำวชนและวัยรุ่นกลุ่มเสี่ยง ทั้งในสถำนศึกษำในชุมชนและสถำนประกอบกำร โดยใช้ แนวทำง To Be Number One 1.3 ออกตรวจเตือน/จับตำมมำตรำกำรทำงกฏหมำย พ.ร.บ. คุ้มครองผู้ไม่สูบบุหรี่ และควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ 1.4 ควบคุมป้องกันโรคที่เกิดจำกกำรบริโภคยำสูบและ เครื่องดื่มแอลกอฮอล์โดยด ำเนินกำรตำม พ.ร.บ.ยำสูบ/ เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ทั้งในชุมชน,สถำนศึกษำ และ สถำนประกอบกำร มาตการที่ 2 ด้านการบ าบัดฟื้นฟูและลดอันตรายจาก เพื่อให้กำรบ ำบัดรักษำฟื้นฟู 10 อ ำเภอ สารเสพติด ผู้เสพ/ผู้ติดสำรเสพติดให้มี รพ.ทุกแห่ง มำตกำรที่ 2 ด้ำนกำรบ ำบัดฟื้นฟูและลดอันตรำยจำกสำรเสพติด ประสิทธิภำพ สสอ.และ กิจกรรม 2.1. เพิ่มกำรเข้ำถึงบริกำรด้ำนกำรบ ำบัดฟื้นฟู รพ.สต.ทุกแห ยุทธศำสตร์กระทรวง ที่ 2 Service Excellence แผนงำนที่ 6 กำรพัฒนำระบบบริกำรสุขภำพ (Service Plan) โครงกำรหลักของกระทรวง ที่ 14 โครงกำรพัฒนำระบบบริกำรบ ำบัดรักษำผู้ป่วยยำเสพติด ส่วนที่ 2 แผนปฏิบัติการและแผนสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ปี 2566 จ านวนหน่วยนับ แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก/กิจกรรมย่อย วัตถุประสงค์ ค่าเป้าหมายตัวชี้วัด พื้นที่เป้าหมาย กลุ่มเป้าหม 15


Non-UC Non UC PP กองทุน อื่นๆ สป. กรม/กอง/ เบิกจ่าย แทนกัน basic services สุขภาพต าบล เงินบ ารุง/อบจ ,/งบจังหวัด/ PPA/สสส. 587,975 587,975 587,975 587,975 2,351,900 2,351,900 งบพัฒนำ จังหวัด ห่ง ระยะเวลาด าเนินการ/งบประมาณ เม.ย - มิ.ย มาย ต.ค. - ธ.ค. ม.ค. - มี.ค ก.ค. - ก.ย. แหล่งงบประมาณ/จ านวนงบประมาณ งบประมาณ รวมทั้งสิ้น รหัสงบ 55


ตัวชี้วัด ส่วนที่ 2 แผนปฏิบัติการและแผนสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ปี 2566 จ านวนหน่วยนับ แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก/กิจกรรมย่อย วัตถุประสงค์ ค่าเป้าหมายตัวชี้วัด พื้นที่เป้าหมาย กลุ่มเป้าหม 2.1.1 จัดตั้งศูนย์คัดกรองใน รพ.สต.ทุกแห่ง(174แห่ง) และรพ. ทุกแห่งเพื่อรองรับประมวลกฏหมำยยำเสพติด พ.ศ2564 พร้อม พัฒนำศักยภำพบุคลำกรที่ท ำหน้ำที่คัดกรอง/จ ำแนก/ส่งต่อ และติดตำมผู้ติดยำเสพติด 2.1.2กำรจัดระบบบริกำร :รพ.ทุกแห่งขึ้นทะเบียนตำม พรบ.ยสต. (พ.ศ.2522)รวมทั้งสถำนบ ำบัดฟื้นฟูยำเสพติดทั้งภำครัฐและเอกชน 2.1.3 รพ.ในสังกัด สสจ.สุพรรณบุรีด ำเนินกำรบ ำบัดรักษำ ฟื้นฟูฯ ผู้ติดยำเสพติดทั้งระบบสมัครใจ ระบบศำลสั่งตำมประมวลกฏหมำย ยำเสพติด พ.ศ.2564 ดังนี้ -เป้ำหมำยกำรคัดกรอง 300 รำย/ปี - เป้ำหมำยกำรบ ำบัด 585 รำย/ปี - เป้ำหมำยกำรลดอันตรำยจำกกำรใช้ยำ 270 รำย/ปี เพื่อให้สถำนพยำบำลทุกแห่ง - กำรติดตำมดูแลช่วยเหลือผู้ผ่ำนกำรบ ำบัดฟื้นฟู 100 รำย/ปี ได้มำตรำฐำนตำมก ำหนด กิจกรรม 2.2 พัฒนำระบบบริกำรสุขภำพด้ำนยำเสพติด ให้ได้มำตรฐำน(service plan ) 2.2.1 พัฒนำระบบบริกำรสถำนพยำบำลตำมมำตรฐำน Service plan สำขำยำเสพติดจังหวัดสุพรรณบุรี 3 ด้ำนหลัก ได้แก่ บุคลำกร สถำนที่ และขึดควำมสำมำรถกำรให้บริกำร (กำรวินิจฉัย/กำรส่งต่อ/ยำ/กำรดูแลสังคมจิตใจ/กำรติดตำม) 2.2.2.พัฒนำงำนบ ำบัดรักษำยำเสพติดเพื่อผ่ำนกำรรับรองคุณภำพ ยำเสพติด(HA) ต่อเนื่องทุก 3 ปี เพื่อให้บริกำรผู้ติดยำเสพติด กิจกรรมที่ 2.3 : ลดอันตรำยจำกกำรใช้ยำ(Harm Reduction) ทั้งที่ต้องกำรเลิกและยัง 2.3.2 สถำนพยำบำลทุกแห่งสำมำรถให้บริกำรHarm Reduction ตำมเกณฑ์ก ำหนดได้ (รพศ./รพท.ด ำเนินกำรเปิดให้บริกำร Methadone ระยะยำว ฯลฯ ตำมบริบทพื้นที่ที่มีปัญหำ) 2.3.3 รพ.สต.ทุกแห่งสำมำรถให้บริกำรด้ำนHarm Reduction ตำมเกณฑ์ก ำหนดคือกำรให้ควำมรู้และประเมินควำมเสี่ยงใน กำรป้องกันติดเชื้อ HIV/AID/ไวรัสตับอักเสบ/วัณโรค/โรคจิต 2.3.4 บันทึกข้อมูลกำรให้บริกำรตำมรหัสICD-10 ใน43แฟ้มข้อมูล เป้ำหมำยHarm Reduction 270 รำย/ปี กิจกรรมที่2.4 กำรติดตำมดูแลช่วยเหลือผู้ผ่ำนกำรบ ำบัดฟื้นฟูฯ 2.4.1 กำรติดตำมดูแลช่วยเหลือผู้ผ่ำนกำรบ ำบัดจนครบ 1 ปี 2.4.2 ร่วมกับศูนย์ฟื้นฟูสภำพทำงสังคมในกำรดูแลช่วยเหลือ 1.เพื่อเพิ่มควำมเข้มแข็งของ 1 อ ำเภอ 15


Non-UC Non UC PP กองทุน อื่นๆ สป. กรม/กอง/ เบิกจ่าย แทนกัน basic services สุขภาพต าบล เงินบ ารุง/อบจ ,/งบจังหวัด/ PPA/สสส. ระยะเวลาด าเนินการ/งบประมาณ เม.ย - มิ.ย มาย ต.ค. - ธ.ค. ม.ค. - มี.ค ก.ค. - ก.ย. แหล่งงบประมาณ/จ านวนงบประมาณ งบประมาณ รวมทั้งสิ้น รหัสงบ 56


ตัวชี้วัด ส่วนที่ 2 แผนปฏิบัติการและแผนสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ปี 2566 จ านวนหน่วยนับ แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก/กิจกรรมย่อย วัตถุประสงค์ ค่าเป้าหมายตัวชี้วัด พื้นที่เป้าหมาย กลุ่มเป้าหม ผู้ผ่ำนกำรบ ำบัดฯหรือผู้ป่วยยำเสพติดด้ำนสุขภำพกำยและจิตใจ มาตราการที่3 สนับสนุนการบ าบัดฟื้นฟูผู้ป่วยยาเสพติดโดยชุมชน กลไกประชำรัฐและให้ชุมชน 1 แห่ง เป็นศูนย์กลาง(CBYx) มีส่วนร่วมในกำรแก้ไขปัญหำ 3.1 ร่วมค้นหำ/คัดกรอง/ส่งต่อ/ติดตำมผู้มีปัญหำยำเสพติดใน 2.พัฒนำรูปแบบกำรแก้ไข ชุมชนโดยใช้กลไก พชอ. บูรณำกำรร่วมกับมหำดไทย/ต ำรวจ ปัญหำยำเสพติดอย่ำงยั่งยืน โดยใช้กระบวนกำรสร้ำงควำมเข้มแข็ง 9 ขั้นตอน 3.2บูรณำกำรร่วมกับหน่วยงำนที่เกี่ยวข้องเพื่อพัฒนำกำรบ ำบัด ในชุมชน(Community based treatment) โดยชุมชนมีส่วนร่วม ในกำรแก้ไขปัญหำยำเสพติดของตนเอง มาตการที่ 4 : พัฒนาระบบบริหารจัดการ 1.แต่งตั้งคณะกรรมกำรป้องกันและแก้ไขปัญหำยำเสพติดจังหวัด สุพรรณบุรี (สสจ./สสอ./รพศ./รพท./รพช./รพ.สต.) 2.แต่งตั้งคณะกรรมกำร Service plan ยำเสพติดจังหวัดโดยมี ผอ.รพ.ทุกแห่ง.สนับสนุนกำรด ำเนินงำนด้ำนกำรบ ำบัดรักษำฯ 3.เป็นกรรมกำรร่วมกับ ศอ.ปส.จ.สพ.ในกำรด ำเนินงำนยำเสพติด ของจังหวัดสุพรรณบุรีและคณะท ำงำนศูนย์ฟื้นฟูสภำพทำงสังคม 4.ผอ.รพ.ทุกแห่งสนับสนุนกำรด ำเนินงำนทั้งด้ำนกำรบ ำบัดฟื้นฟูฯ เพื่อเตรียมควำมพร้อมด้ำน รพ.ทุกแห่ง และสนับสนุนด้ำนบุคลำกร สถำนที่ อุปกรณ์เครื่องมือต่ำงๆ บุคลำกรในกำรปฏิบัติงำน รพ.สต.ทุกแห กิจกรรมที่ 4.1 สนับสนุนบุคลำกร แพทย์ พยำบำล ช่วงรับถ่ำยโอนภำรกิจและ นักวิชำกำรสำธำรณสุข นักจิตวิทยำ นักสังคมสงเครำะห์ กฏหมำยยำเสพติดใหม่ใน 4.1.1เพิ่มอัตรำก ำลังบุคลำกรที่เกี่ยวข้องตำมเกณฑ์กำรพัฒนำ ปี2565 ระบบบริกำรสุขภำพด้ำนยำเสพติด(Service Plan)ที่ก ำหนด รพ.ละ1 คน 4.1.2 พัฒนำศักยภำพ จนท.ในกำรปฏิบัติงำนดังนี้ รพ.ละ 1 คน - อบรมแพทย์เวชศำสตร์ยำเสพติด3-5วัน รพ.ละ 1คน -อบรมพยำบำลเวชศำสตร์ยำเสพติด 10 วัน รพ.สต.ทุกแห -อบรมเฉพำะทำงพยำบำลยำเสพติดหลักสูตร4 เดือน รพ.ทุกแห่ง -สนับสนุนกำรอบรมระยะสั้นต่ำงๆได้แก่ Matrix program เพื่อให้ จนท .รพ.สต.ทุกแห่ง รพ.สต.ทุกแห CBT/MI/กำรบ ำบัดสุรำ/BA/BI/กัญชำ ฯลฯ สำมำรถให้ค ำปรึกษำแบบ 174 คน -ประชุมวิชำกำรยำเสพติดจังหวัดสุพรรณบุรี "ก้ำวท้ำใจกับประมวล สั้นกลุ่มผู้ใช้ยำเสพติดได้ ผู้เกี่ยวข้อง26 กฏหมำยใหม่" เน้นเรื่องกำรน ำเข้ำข้อมูล บสต.ผ่ำนแอปพิเคชั่นใน เบื้องต้น รวม 200 คน มือถือ เพื่อด ำเนินงำนตำมนโยบำย สสอ.ทุกแห่ง กำรป้องกันและแก้ไขปัญห่ำ รพ.ทุกแห่ง -ประชุมคณะกรรมแก้ไขปัญหำยำเสพติด/Service plan ยำเสพติดในพื้นที่สุพรรณบุรี รวม 30 คน 15


Non-UC Non UC PP กองทุน อื่นๆ สป. กรม/กอง/ เบิกจ่าย แทนกัน basic services สุขภาพต าบล เงินบ ารุง/อบจ ,/งบจังหวัด/ PPA/สสส. ระยะเวลาด าเนินการ/งบประมาณ เม.ย - มิ.ย มาย ต.ค. - ธ.ค. ม.ค. - มี.ค ก.ค. - ก.ย. แหล่งงบประมาณ/จ านวนงบประมาณ งบประมาณ รวมทั้งสิ้น รหัสงบ ห่ง ห่ง ห่ง 6 คน น 57


ตัวชี้วัด ส่วนที่ 2 แผนปฏิบัติการและแผนสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ปี 2566 จ านวนหน่วยนับ แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก/กิจกรรมย่อย วัตถุประสงค์ ค่าเป้าหมายตัวชี้วัด พื้นที่เป้าหมาย กลุ่มเป้าหม จังหวัดสุพรรณบุรี เพื่อติดตำมประเมินผลควำม สสอ.ทุกแห่ง (ด้ำนกำรบ ำบัด)จ ำนวน 2 ครั้ง/ปี ก้ำวหน้ำงำนยำเสพติดระดับอ ำเภอ รพ.ทุกแห่ง - นิเทศติดตำมประเมินผลกำรด ำเนินงำนยำเสพติดระดับต ำบล/ อ ำเภอ 2 ครั้ง/ ปี (นิเทศบูรณำกำรของ สสจ.) รพ.ทุกแห่ง กิจกรรมที่ 4.2 สถำนที่ในกำรปฏิบัติงำนยำเสพติด รพ.สต.ทุกแห 4.2.1 มีสถำนที่ในกำรด ำเนินงำนให้บริกำรบ ำบัดรักษำฟื้นฟู รพ.ทุกแห่ง ผู้ติดยำเสพติดและHarm Reduction Unit ตำมมำตรฐำนที่ก ำหนด ค ำนึงถึงควำมปลอดภัย สะดวกเข้ำถึงง่ำย รพ.สต. กิจกรรม 4.3 กำรสนับสนุนอุปกรณ์เครื่องมือ สสจ. 4.3.1 สนับสนุนชุดตรวจปัสสำวะเพื่อหำยำบ้ำให้แก่ รพ./สสอ. รพ.ทุกแห่ง มาตการที่ 5 พัฒนาระบบข้อมูลและการสื่อสาร สสอ.ทุกแห่ง กิจกรรม 5.1 ร่วมเฝ้ำระวัง กำรแพร่ระบำดและรำยงำนควำม รพ.สต.ทุกแห ผิดปกติของกำรใช้ยำและสำรสำรเสพติดในพื้นที่จังหวัดสุพรรณบุรี กิจกรรม 5.2 พัฒนำศูนย์ข้อมูลยำเสพติดระดับอ ำเภอให้ได้ มำตรฐำนในกำรน ำเข้ำข้อมูลกำรบ ำบัดยำเสพติดในเครือข่ำย ระบบอินเทอร์เน็ต /พัฒนำสู่แอปพิเคชั่นในมือถือ กิจกรรม 5.3 น ำเข้ำข้อมูลและตรวจสอบข้อมูล จ ำนวนผู้เข้ำรับ กำรบ ำบัดรักษำฯในระบบรำยงำน บสต. 1 - 5ให้ถูกต้องครบถ้วน โครงการป้องกัน ปราบปรามและบ าบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด 1.เพื่อให้กำรบ ำบัดฟื้นฟูฯผู้ติด -ทุกอ ำเภอ กิจกรรมหลักที่ 1. กำรบ ำบัดฟื้นฟูผู้ป่วยยำเสพติด ยำเสพติด 2.เพือลดอันตรำย รพ.ทุกแห่ง 1.1 เพิ่มกำรเข้ำถึงบริกำรของผู้ป่วยยำเสพติดในพื้นที่ จำกกำรใช้ยำเสพติด โดยกำรจัดตั้งศูนย์คัดกรองให้ครอบคลุมทุกพื้นที่ ด ำเนินกำร 3.เพือส่งเสริมป้องกันปัญหำ คัดกรอง/ประเมิน/จ ำแนก/ส่งต่อและให้ค ำแนะน ำปรึกษำ ยำเสพติดในชุมชน 1.2 กำรพัฒนำระบบบริกำรสุขภำพด้ำนยำเสพติดตำมเกณฑ์ 4.เพือให้ประชำชนกลุ่มเสี่ยงสำมำรถ เป้ำหมำยตำม มำตรฐำน เข้ำถึงบริกำรสุขภำพได้ สสจ.ก ำหนด -ประเมินตนเองเพื่อรับรองคุณภำพด้ำนยำเสพติดจำก สบยช. -ให้กำรบ ำบัดฟื้นฟูฯทั้งระบบสมัครใจและระบบศำลสั่ง 1.3 กำรลดอันตรำยจำกกำรใช้ยำ(Harrm reduction) เป้ำหมำยตำม ในกลุ่มใช้ยำเสพติดที่ยังไม่สำมำรถเลิกยำได้ สสจ.ก ำหนด 1.4 ติดตำมช่วยเหลือดูแลผู้ผ่ำนกำรบ ำบัดฯทุกระบบ เพื่อป้องกันกำร เป้ำหมำยตำม เสพติดซ้ ำ พร้อมประสำนศูนย์ฟื้นฟูสภำพทำงสังคมเพื่อช่วยเหลือดูแล สสจ.ก ำหนด กิจกรรมหลักที่ 2:ส่งเสริมป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในชุมชน 15


Non-UC Non UC PP กองทุน อื่นๆ สป. กรม/กอง/ เบิกจ่าย แทนกัน basic services สุขภาพต าบล เงินบ ารุง/อบจ ,/งบจังหวัด/ PPA/สสส. ระยะเวลาด าเนินการ/งบประมาณ เม.ย - มิ.ย มาย ต.ค. - ธ.ค. ม.ค. - มี.ค ก.ค. - ก.ย. แหล่งงบประมาณ/จ านวนงบประมาณ งบประมาณ รวมทั้งสิ้น รหัสงบ ห่ง ห่ง มที่ มที่ มที่ 58


ตัวชี้วัด ส่วนที่ 2 แผนปฏิบัติการและแผนสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ปี 2566 จ านวนหน่วยนับ แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก/กิจกรรมย่อย วัตถุประสงค์ ค่าเป้าหมายตัวชี้วัด พื้นที่เป้าหมาย กลุ่มเป้าหม -ร่วมด ำเนินงำนตำมโครงกำรทูบีฯในพื้นที่อย่ำงต่อเนื่อง -สนับสนุนกำรป้องกันปัญหำยำเสพติดในสถำนศึกษำ สถำนประกอบกำรและในชุมชนตำมโครงกำรคนดีศรีสุพรรณ กิจกรรมหลักที่ 3 :ร่วมบูรณำกำรในกำรบ าบัดฟื้นฟูในชุมชน เพื่อด ำเนินกำรบ ำบัด อ ำเภอละ 1 แ (community based treatment)โดย พชอ. โดยกำรมีส่วนร่วม -กำรมีส่วนร่วมในชุมชนเพื่อแก้ไขปัญหำยำเสพติด เช่น กำรช่วยดูแล ของชุมชน ติดตำมพฤติกรรมผู้ผ่ำนกำรบ ำบัดฯทั้งกำรตรวจปัสสำวะ , กำรช่วยเหลือด้ำนอำชีพฯลฯ -บูรณำกำรร่วมกับหน่วยงำนที่เกี่ยวข้องได้แก่มหำดไทย /ต ำรวจ/สำธำรณสุขขับเคลื่อนตำมเป้ำหมำยที่ก ำหนด กิจกรรมหลักที่ 4 สนับสนุนกำรให้บริกำรรักษำพยำบำลและฟื้นฟู สภำพผู้ป่วยยำเสพติดในพื้นที่ กิจกรรมหลักที่ 5 สนับสนุนกำรติดตำมดูแล ช่วยเหลือ ผู้ผ่ำนกำร บ ำบัดยำเสพติด รวมแผน service plan สาขายาเสพติด 15


Non-UC Non UC PP กองทุน อื่นๆ สป. กรม/กอง/ เบิกจ่าย แทนกัน basic services สุขภาพต าบล เงินบ ารุง/อบจ ,/งบจังหวัด/ PPA/สสส. ระยะเวลาด าเนินการ/งบประมาณ เม.ย - มิ.ย มาย ต.ค. - ธ.ค. ม.ค. - มี.ค ก.ค. - ก.ย. แหล่งงบประมาณ/จ านวนงบประมาณ งบประมาณ รวมทั้งสิ้น รหัสงบ แห่ง 395,750 429,750 4500 830,000 830,000 ยุทธศำสคร์ เฉพำะ 9,000 9,000 18,000 18,000 ยุทธศำสคร์ เฉพำะ 587,975 587,975 587,975 587,975 - - - - 2,351,900 2,351,900 59


ตัวชี้วัด (ระดับจังหวัด) กิจกรรมหลักที่ 1 ประชุมการพัฒนาการ 1.เพื่อชี้แจงแนวทางการด าเนินงาน ผู้ป่วย IMC ได้รับการดูแลต่อเนื่อง รพ.ทุกแห่ง เครือข่ายคณะท างาน ด าเนินงาน Service Plan IMC การบริการบริบาลฟื้นสภาพผูป่วย IMC ตามเกณฑ์≥ ร้อยละ75 กิจกรรมย่อยที่ 1.1.ประเมินตนเอง 2.เพื่อพัฒนามาตรฐาน IMC ward/bed มาตรฐาน IMC ward/bed 3.พัฒนาการจัดเก็บข้อมูลผู้ป่วย IMC กิจกรรมย่อยที่ 1.2 ติดตามพัฒนามาตรฐาน IMC ward/bed รวมแผน service plan สาขา IMC ยุทธศาสตร์กระทรวง ที่ 2 Service Excellence แผนงานที่ 6 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) โครงการหลักของกระทรวง ที่ 15 โครงการบริบาลฟื้นสภาพระยะกลาง (Intermediate Care : IMC) ส่วนที่ 2 แผนปฏิบัติการและแผนสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ปี 2566 จ านวนหน่วยนับ แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก/กิจกรรมย่อย วัตถุประสงค์ ค่าเป้าหมายตัวชี้วัด พื้นที่เป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย ต.ค. 16


Non-UC Non UC PP กองทุน อื่นๆ สป. กรม/กอง/ เบิกจ่ายแทน กัน basic services สุขภาพต าบล เงินบ ารุง/อบจ ,/งบจังหวัด/ PPA/สสส. - - - - - - - - - - - ระยะเวลาด าเนินการ/งบประมาณ เม.ย - มิ.ย . - ธ.ค. ม.ค. - มี.ค ก.ค. - ก.ย. แหล่งงบประมาณ/จ านวนงบประมาณ งบประมาณ รวมทั้งสิ้น รหัสงบ 60


ตัวชี้วัด (ระดับจังหวัด) โครงการการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service plan) สาขา One Day Surgery (ODS) & Minimal Invasive Surgery (MIS) กิจกรรมหลักที่ 1 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ 1. เพื่อลดความแออัด - อัตราผู้ป่วยที่เข้ารับการผ่าตัดนิ่ว รพศ. ผู้ป่วยที่เข้าเกณ สาขา One Day Surgery (ODS) 2. เพื่อลดระยะการรอคอยการผ่าตัด ในถุงน ้าดีหรือถุงน ้าดีอักเสบผ่านการ ODS & MIS & Minimal Invasive Surgery (MIS) ให้สั นลง ผ่าตัดแผลเล็ก (MIS) Re-admit กิจกรรมย่อยที่ 1.1 ด้าเนินการ ผ่าตัดแบบ 3.ประชาชนเข้าถึงบริการที่มาตรฐาน ภายใน 1 เดือน < ร้อยละ 5 การผ่าตัดแบบวันเดียวกับ One Day Surgery (ODS) สะดวก ปลอดภัย และการผ่าตัดผ่านกล้อง Minimal Invasive Surgery (MIS) รวมแผน service plan สาขา ODS ส่วนที่ 2 แผนปฏิบัติการและแผนสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ปี 2566 จ านวนหน่วยนับ แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก/กิจกรรมย่อย วัตถุประสงค์ ค่าเป้าหมายตัวชี้วัด พื้นที่เป้าหมาย กลุ่มเป้าหม ยุทธศาสตร์กระทรวง ที่ 2 Service Excellence แผนงานที่ 6 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) โครงการหลักของกระทรวง ที่ 16 โครงการพัฒนาระบบบริการ One Day Surgery :ODS 16


Non-UC Non UC PP กองทุน อื่นๆ สป.กรม/กอง/ เบิกจ่ายแทนกัน basic services สุขภาพต าบล เงินบ ารุง/อบจ,/ งบจังหวัด/PPA/ สสส. ณฑ์ - - - - - - - - - - ระยะเวลาด าเนินการ/งบประมาณ เม.ย - มิ.ย มาย ต.ค. - ธ.ค. ม.ค. - มี.ค ก.ค. - ก.ย. แหล่งงบประมาณ/จ านวนงบประมาณ งบประมาณ รวมทั้งสิ้น 61


Page| 162 แผนปฏิบัติราชการด้านสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ประจำปีงบประมาณ 2566 แผนงาน : การพัฒนาระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินครบวงจรและระบบการส่งต่อ แผนงานย่อย: แผนปฏิบัติราชการการพัฒนาระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินครบวงจรและระบบการส่งต่อ โครงการการพัฒนาระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินครบวงจรและระบบการส่งต่อ 1. สถานการณ์ปัญหา ระบบการแพทย์ฉุกเฉินของประเทศไทยได้พัฒนา มาอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ในระยะแรกก่อนปี พ.ศ. 2538 ที่เป็นการช่วยเหลือนอกโรงพยาบาลโดยอาสาสมัคร (volunteer-based EMS) ซึ่งเป็นการให้ความ ช่วยเหลือ ที่ยังขาดความรู้และอุปกรณ์ที่เพียงพอ ต่อมาในปีพ.ศ. 2538 ประเทศไทยได้มีการจัดตั้งศูนย์ นเรนทรขึ้นที่โรง พยาบาลราชวิถีกรมการแพทย์กระทรวงสาธารณสุขโดย กำหนดให้มีหมายเลขฉุกเฉิน 1669 เพื่อให้ประชาชน แจ้งเหตุฉุกเฉินทางการแพทย์และขอความช่วยเหลือกรณีเจ็บป่วยหรืออุบัติเหตุ ซึ่งกลายเป็น ระยะที่สองของการ พัฒนาระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินโดยมีหน่วยปฏิบัติการแพทย์ขั้นสูงที่มีแพทย์หรือ พยาบาลออกไปกับรถ พยาบาลด้วย (hospital-based EMS) และมีการขยาย การบริการจากกรุงเทพมหานคร ไปยังจังหวัดต่าง ๆ ใน ภูมิภาคจนในปีพ.ศ. 2551 ก็ได้มีการตราพระราชบัญญัติการแพทย์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2551 โดยมีคณะกรรมการการ แพทย์ฉุกเฉินและสถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติเป็น องค์กรหลักในการ ขับเคลื่อนระบบการแพทย์ฉุกเฉินให้มีมาตรฐานและคุณภาพ มีการถ่ายโอนภารกิจการบริหาร จัดการระบบ การแพทย์ฉุกเฉินมายังสถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ(1) และมีการผลักดันให้องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น เข้ามาดำเนินงานการแพทย์ฉุกเฉินอย่างเป็น รูปธรรมโดยมีมติจากการประชุมของคณะกรรมการ กระจาย อำนาจให้ แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ครั้งที่3/2560 ปีพ.ศ.2560 (2 )ซึ่งกำหนดให้การแพทย์ฉุกเฉิน เป็นอำนาจหน้าที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ตามมาตรา 16 และมาตรา 17 แห่งพระราชบัญญัติ กำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2542 ประกอบกับ คณะกรรมการการแพทย์ฉุกเฉินได้ออกประกาศคณะกรรมการ การแพทย์ฉุกเฉิน เรื่องหลักเกณฑ์ให้องค์กร ปกครองส่วน ท้องถิ่นเป็นผู้ดำเนินงานและบริหารจัดการระบบการ แพทย์ฉุกเฉินในระดับท้องถิ่น พ.ศ.2560 (3) จึงเป็นการพัฒนาเข้าสู่ระยะที่สามของระบบการแพทย์ฉุกเฉินของ ประเทศไทยที่มีองค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่นเข้ามามีบทบาทหน้าที่ในการจัดบริการฉุกเฉินสำหรับประชาชน (community-based EMS)ร่วมกับ volunteer-base EMS และhospital-based EMS ในระยะแรกและระยะที่สองที่ ผ่านมา 1.1 Base line data (ประชากรเป้าหมายจากปี 2565) การพัฒนาระบบการแพทย์ฉุกเฉินของจังหวัดสุพรรณบุรี มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องทั้งในด้านบริหาร จัดการสำนักระบบ บริหารจัดการศูนย์รับแจ้งเหตุและสั่งการชุดปฏิบัติการ พัฒนาบุคลากรในระบบการแพทย์ ฉุกเฉินอย่างต่อเนื่องเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติการให้ได้คุณภาพตามเกณฑ์ ตลอดจนการสนับสนุน ส่งเสริมให้ภาคีเครือข่ายท้องถิ่นและมูลนิธิกู้ภัยต่าง ๆ เข้ามามีส่วนร่วมในการปฏิบัติการ การเตรียมความ พร้อมรับสาธารณภัย และการจัดระบบการส่งต่อผู้ป่วยฉุกเฉินระหว่างสถานพยาบาลซึ่งองค์ประกอบทั้งหมด จะต้องมีมาตรฐาน ปี 2561 มุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพระบบการแพทย์ฉุกเฉิน มีทีมปฏิบัติการฉุกเฉินเบื้องต้น เพิ่มขึ้น ประชาชนเข้าถึงบริการการแพทย์ฉุกเฉินเพิ่มขึ้น การปฏิบัติฉุกเฉินก่อนถึงโรงพยาบาล การดูแลผู้ป่วย


Click to View FlipBook Version