The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เล่มแผนปฏิบัติราชการ 2566 ฉบับจริง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by chanatip_min, 2023-07-03 23:36:27

เล่มแผนปฏิบัติราชการ 2566 ฉบับจริง

เล่มแผนปฏิบัติราชการ 2566 ฉบับจริง

Non-UC Non UC PP กองทุน อื่นๆ สป. กรม/กอง/ เบิกจ่ายแทน กัน basic services สุขภาพต าบล เงินบ ารุง/อบจ ,/งบจังหวัด/ PPA/สสส. เม.ย - มิ.ย ต.ค. - ธ.ค. ม.ค. - มี.ค ก.ค. - ก.ย. แหล่งงบประมาณ/จ านวนงบประมาณ งบประมาณ รวมทั้งสิ้น รหัสงบ ระยะเวลาด าเนินการ/งบประมาณ 8,540 8,540 8,540 เงินบ ารุง คน พ คน พ - 15,440 - - - - - - 15,440 15,440 2


Page | 63 แผนปฏิบัติราชการด้านสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ประจำปีงบประมาณ 2566 แผนงาน : การป้องกันควบคุมโรคและลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ แผนงานย่อย: แผนปฏิบัติราชการสุขภาพป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ โครงการควบคุมโรคติดต่อ 1. สถานการณ์ปัญหา 1.1 Base line data โรคที่สามารถป้องกันได้ ต้องช่วยกันควบคุมให้ลดลง หรือหมดไป สร้างความปลอดภัยให้กับคน สุพรรณบุรี มากกว่าแปดแสนคน และนักท่องเที่ยวที่มาจากจังหวัดอื่นและประเทศต่าง ๆ แต่วิวัฒนาการของ โรคก็มีความพัฒนาเช่นกัน จะมีโรคติดต่อทั้งอุบัติเก่าและอุบัติใหม่เกิดการระบาดขึ้น ปัจจัยเสี่ยงต่อการ ระบาดมีความซับซ้อน และส่งผลกระทบต่อการพัฒนาทางสังคมและเศรษฐกิจอย่างรุนแรง พบว่าในช่วง ทศวรรษที่ผ่านมา มีโรคติดเชื้อเกิดขึ้นใหม่จำนวนมาก โรคติดต่ออุบัติใหม่ที่สำคัญในปัจจุบัน ได้แก่ โรคติดเชื้อ ไวรัสโคโรนา 2019 ซึ่งปัจจุบันข้อมูล ณ วันที่ 1 ตุลาคม 2565 (อ้างอิงจาก ศูนย์ข้อมูล COVID-19) ประเทศ ไทยมีจำนวนผู้ป่วยติดเชื้อไวรัส โคโรนา 2019 สะสม 2,458,697 ราย ในขณะที่ยอดผู้ป่วยยืนยันติดเชื้อไวรัสโค โรนา 2019 ในจังหวัดสุพรรณบุรีปี 2565 สะสม 36,004 ราย จำนวนผู้ป่วยยืนยันสะสมทั้งหมด 50,991 ราย จำนวนผู้ป่วย ATK+ สะสมปี 2565 จำนวน 83,791 ราย เสียชีวิต ปี 2565 167 ราย เสียชีวิตสะสมทั้งหมด 436 ราย จะเห็นได้ว่า โรคติดต่ออุบัติใหม่ในปัจจุบันมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้น และมีปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรค ได้แก่ การเคลื่อนย้ายของประชากรและนักท่องเที่ยว นอกจากนี้โรคติดต่อระว่างสัตว์สู่คนก็ยังคงมีความสำคัญ ได้แก่ โรคไข้เลือดออก ความชุกชุมของสัตว์พาหะนำโรค เช่น ยุง ประชาชนขาดความรู้ความเข้าใจและความ ตระหนักในการป้องกัน ควบคุมโรค ปฏิบัติตนไม่ถูกต้องตามหลักสุขอนามัย อยู่ร่วมกันอย่างหนาแน่น มีภูมิ ต้านทานโรคต่ำ เช่น เด็กอายุต่ำกว่า 5 ปีควรได้รับวัคซีนครบถ้วน ในปีที่ผ่านมาวัคซีนมีความครอบคลุมเฉลี่ย น้อยกว่าร้อยละ 90 การเกิดโรคไข้เลือดออกในปี 2565 มีอัตราป่วย 76.69 ต่อประชากรแสนคน และมี แนวโน้มสูงขึ้น รวมทั้งการตายของผู้ป่วยวัณโรคก่อนที่จะได้รับการรักษาครบตามสูตรการรักษา อาจ เนื่องมาจากตรวจคัดกรอง พบล่าช้าเกินไป ปัญหาของโรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์มีแนวโน้มสูงขึ้น โดยเฉพาะโรคซิฟิลิส และหนองใน ต้องมีการให้ความรู้และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกลุ่มเสี่ยงต่าง ๆ การจัดตั้ง คณะกรรมตอบโต้ภาวะฉุกเฉินจึงมีความจำเป็นที่จะรองรับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นอย่างปัจจุบันทันด่วน ทั้งด้านโรค และภัยสุขภาพ อย่างบูรณาการให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมดำเนินงาน และรณรงค์ให้บุคลากรและประชาชนเป็น แบบอย่างในการรักสุขภาพ และช่วยกันป้องกันโรค สร้างวัฒนธรรมที่ดีให้กับสังคมต่อไป 1.2 ปัญหาพื้นที่เชิงคุณภาพ (สาเหตุ/ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง) ทบทวนปัญหา จากผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย สำคัญ ผู้ป่วย ผู้ที่เกี่ยวข้อง/จากตัวชี้วัด 1.2.1 นำสภาพปัญหาที่ได้มาปรับเปลี่ยนมาตรการใหม่ๆ 1.2.2 ปัญหาโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ที่มีจำนวนผู้ป่วยติดเชื้อเพิ่มขึ้นในทุกอำเภอ


Page | 64 แผนปฏิบัติราชการด้านสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ประจำปีงบประมาณ 2566 1.2.3 การได้รับวัคซีนป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ที่ยังไม่ครอบคลุมตาม กลุ่มเป้าหมายที่กระทรวงกำหนด 1.2.4 ปัญหาโรคไข้เลือดออก ที่มีอัตราการป่วยสูง ในอำเภอบางปลาม้า เมือง อู่ทอง มาตรการ เน้นการมีส่วนร่วมของเจ้าหน้าที่ อสม.และประชาชน 1.2.5 ปัญหาวัณโรค ที่มีการพบผู้ป่วยตายก่อนกินยาครบคอร์ส และการพบผู้ป่วยดื้อยา มาตรการจะค้นหาผู้ป่วยให้เข้าสู่การรักษาให้ไว รักษาครบ 1.2.6 การได้รับวัคซีนในแด็ก 0-5 ปี ต้องให้บริการ และติดตามความครอบคลุมให้วัคซีนทุก ชนิดไม่ต่ำกว่าร้อยละ 90 หรือร้อยละ 95(ตามชนิดวัคซีน) 2. สรุปปัญหาที่สำคัญ 2.1 การควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก 2.2 การควบคุมป้องกันและเฝ้าระวังโรคอุบัติใหม่ (โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 COVID-19) 2.4 การควบคุมป้องกันวัณโรคและเอดส์ 3. เป้าประสงค์ (ผลลัพธ์ที่ต้องการ) 3.1 มีศูนย์ที่สามารถรองการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินและภัยสุขภาพในระดับจังหวัด 3.2 ลดอัตราการป่วยและอัตราการตายจากโรคติดต่ออุบัติใหม่ 3.3 ลดอัตราป่วยและอัตราป่วยตาย ลดผู้ป่วยรายใหม่ 4. ตัวชี้วัดและเป้าหมาย 4.1ระดับความสำเร็จของการบริหารจัดการภาวะฉุกเฉิน ด้านการแพทย์และสาธารณสุข ร้อยละ 100 4.2 ร้อยละ100ของผู้บริหารระดับจังหวัดและผู้ประสานเขตพื้นที่ที่ผ่านการอบรมหลักสูตร ICS & EOC 4.2 มีทีม CDCU ที่ผ่านการฝึกอบรมในพื้นที่ไม่น้อยกว่า 3 ทีม (ไม่นับรวมทีม รพ/สสอ) 4.2 ร้อยละของจังหวัดมีศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (EOC) และทีมตระหนักรู้สถานการณ์ (SAT) ที่ สามารถปฏิบัติงานได้จริง ร้อยละ 100 4.3 ลดอัตราการป่วยหัดร้อยละ 10 ของค่ามัธยฐาน 5 ปีย้อนหลัง 4.4 ไม่พบผู้ป่วยโปลิโอรายใหม่ 4.5 ไม่พบผู้ป่วยคอตีบและไอกรนรายใหม่ 4.6 ลดเหตุการณ์การระบาดของโรคอาหารเป็นพิษ/โรคอุจจาระร่วงเฉียบพลัน ร้อยละ 50 ของ ค่ามัธยฐานย้อนหลัง 5 ปี 4.7 ไม่มีผู้ป่วยเสียชีวิตด้วยโรคพิษสุนัขบ้า 4.8 อัตราป่วยตายด้วยโรคเลปโตสไปโรงสีสลดลง ร้อยละ50 ของค่ามัธยฐานย้อนหลัง 5 ปี 4.9 ร้อยละของเหตุการณ์โรคติดต่ออุบัติใหม่ที่สามารถควบคุมไม่ให้เกิด Generation ที่ 2


Page | 65 แผนปฏิบัติราชการด้านสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ประจำปีงบประมาณ 2566 4.10 อัตราป่วยด้วยโรคไข้หวัดใหญ่ ไม่เกินค่ามัธยฐาน 5 ปีย้อนหลัง 4.11 อัตราป่วยโรคมือ เท้า ปาก ในเด็กอายุ 0 -5 ปี ลดลง เมื่อเทียบกับค่ามัธยฐานย้อนหลัง 5 ปี 4.12 ไข้เลือดออกไม่ระบาด (ต่ากว่าค่ามัธยฐาน 5 ปี ย้อนหลัง) ต่อเนื่องกันไม่น้อยกว่า 3 ปี 4.13 หญิงตั้งครรภ์ติดเชื้อไวรัสซิกา ไม่เกิน 5 ราย/ปี 4.14 ร้อยละ 95 ของอำเภอปลอดโรคมาเลเรีย 4.15 อัตราการติดเชื้อในการนอนรพ./สถานพักฟื้น <3 ครั้ง / 1,000 วันนอน 4.16 ร้อยละ 97.5 ของผู้ติดเชื้อเอชไอวีทราบสถานะการติดเชื้อฯตนเอง 4.17 ร้อยละ 92 ของผู้รับการวินิจฉัยว่าติดเชื้อเอชไอวีได้รับยาต้านไวรัสฯ 4.18 อัตราป่วยโรคซิฟิลิส ในกลุ่มอายุ 15-24 ปี ลดลงไม่เกิน 14.4 ต่อแสนประชากร จากปี 2559 4.19 อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ ร้อยละ 85 4.20 มีจำนวนหน่วยปฏิบัติการควบคุมโรคที่สามารถสอบสวนควบคุมโรคติดต่ออันตรายและภัยไม่ น้อยกว่าร้อยละ 20 ของจำนวนอำเภอ 4.21 ไม่มีผู้ปฏิบัติงานได้รับอันตรายจากภัยหรือติดเชื้อโรคติดต่ออันตรายจาการปฏิบัติงาน 4.22 อัตราป่วยตายของผู้ป่วยโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ลดลง 4.23 จังหวัดสามารถควบคุมสถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ให้สงบได้ ภายใน 21–28 วัน 4.24ระดับความสำเร็จในการเตรียมความพร้อมและตอบโต้การระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019


ตัวชี้วัด (ระดับจังหวัด) โครงการพัฒนาระบบควบคุมโรคติดต่อและ 1. เพื่อพัฒนาสมรรถนะบุคลากรที่ ตัวชี้วัดที่ 10 ระดับความส าเร็จ จังหวัดสุพรรณบุรี ภัยสุขภาพเพื่อให้มีความพร้อมในการจัดการ เกี่ยวข้องด้านการจัดการภาวะฉุกเฉิน ของการพัฒนาระบบการแพทย์ ภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุขแบบบูรณาการ ทางสาธารณสุข ระบบบัญชาการ ฉุกเฉินและการจัดการภาวะฉุกเฉิน ปีงบประมาณ 2566 เหตุการณ์และศูนย์ปฏิบัติการภาวะ ด้านการแพทย์และสาธารณสุข กิจกรรมหลักที่ 1 เตรียมความพร้อมบุคลากรใน ฉุกเฉินทางสาธารณสุขที่จ าเป็น (Emergency Care System and ระดับจังหวัดเครือข่ายที่เกี่ยวข้องในด้าน 2 พัฒนาเครือข่ายที่เกี่ยวข้องทุกภาค Public Health Emergency สมรรถนะการจัดการ ระบบบัญชาการเหตุการณ์ ส่วนเพื่อสร้างเครือข่ายการควบคุม Management) เพื่อตอบโต้ภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุข โรคและภัยสุขภาพที่เข้มแข็งโดยผ่าน กิจกรรมย่อยที่ 1.1 ประชุมถอดบทเรียนการ กลไก 1) การพัฒนาระบบ CDCU 30 คน ด าเนินงาน EOC โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา2019 2) การบังคับใช้ พระราชบัญญัติ และถอดบทเรียนการด าเนินงานครู ก จังหวัด ควบคุมโรคติดต่อ พ.ศ.2558 สุพรรณบุรี หลักสูตรICS 100 เขตสุขภาพที่ 5 ผ่านการประชุมคณะกรรมการ เพื่อพัฒนาต่อยอดก่อนน าไปใช้กับเครือข่าย โรคติดต่อจังหวัดสุพรรณบุรี ที่มีการถ่ายโอนภารกิจ กิจกรรมย่อยที่ 1.2 ประชุมเพื่อจัดท า SOP 30 คน ตามองค์ประกอบของระบบบัญชาการเหตุการณ์ และศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน กิจกรรมหลักที่ 2 การสนับสนุนการบังคับใช้ กฎหมายตามพรบ.ควบคุมโรคติดต่อ พ.ศ.2558 กิจกรรมย่อยที่ 2.1 ประชุมคณะกรรมการ 18 คน โรคติดต่อจังหวัดสุพรรณบุรี เพื่อป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพที่เป็นปัญหา ส าคัญและเป็นภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุข กิจกรรมย่อยที่ 2.2ประชุมคณะกรรมการโรค 20 คน ติดต่อจังหวัดสุพรรณบุรีเพื่อจัดท าแผน ปฏิบัติการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ อันตราย โรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวังหรือโรค ระบาดในเขตพื้นที่จังหวัดตามมาตรา แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก/กิจกรรมย่อย วัตถุประสงค์ ค่าเป้าหมายตัวชี้วัด พื้นที่เป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย ต ส่วนที่ 2 แผนปฏิบัติการและแผนสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ปี 2566 จ านวนหน่วยนับ ยุทธศาสตร์กระทรวง ที่ 1 PP&P Excellence แผนงานที่ 3 การป้องกันควบคุมโรคและลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ โครงการหลักของกระทรวง ที่ 2 โครงการควบคุมโรคและภัยสุขภาพ 6


Non-UC Non UC PP กองทุน อื่นๆ สป. กรม/กอง/ เบิกจ่ายแทน กัน basic services สุขภาพต าบล เงินบ ารุง/อบจ ,/งบจังหวัด/ PPA/สสส. 8,540 8,540 8,540 เงินบ ารุง 6,900 6900 6,900 เงินบ ารุง 30,450 30,450 60,900 60,900 งบยุทธศาสตร์ เฉพาะ 5,100 5,100 5,100 งบยุทธศาสตร์ เฉพาะ เม.ย - มิ.ย ต.ค. - ธ.ค. ม.ค. - มี.ค ก.ค. - ก.ย. แหล่งงบประมาณ/จ านวนงบประมาณ งบประมาณ รวมทั้งสิ้น รหัสงบ ระยะเวลาด าเนินการ/งบประมาณ 6


ตัวชี้วัด แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก/กิจกรรมย่อย วัตถุประสงค์ ค่าเป้าหมายตัวชี้วัด พื้นที่เป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย ต ส่วนที่ 2 แผนปฏิบัติการและแผนสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ปี 2566 จ านวนหน่วยนับ 22 (2) แห่ง พรบ.โรคติดต่อ พ.ศ.2558 กิจกรรมย่อยที่ 2.3 ประชุมเพื่อพัฒนาระบบการ 40 คน ควบคุมโรคในพื้นที่เครือข่าย CDCU จากการ เปลี่ยนถ่ายภารกิจและการวางระบบการจัดการ ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขระบบบัญชาการ เหตุการณ์และศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน กิจกรรมย่อยที่ 2.4 ประชุมเชิงปฏิบัติการ 40 คน คณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัดสุพรรณบุรีและ เครือข่าย เพื่อซ้อมแผนโรคอุบัติใหม่ รวมงบประมาณ โครงการ พัฒนาระบบการสร้างเสริมภูมิคุ้มกัน โรค การเฝ้าระวัง และควบคุมโรคติดต่อ กิจกรรมหลักที่ 1 พัฒนาศักยภาพผู้ปฏิบัติงาน 1.เพื่อพัฒนาศักยภาพการด าเนินงาน 1.ร้อยละความครอบคลุมการได้รับ 10 โรงพยาบาล 30 คน สร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ป้องกันควบคุมโรคติดต่อที่ป้องกัน วัคซีนครบชุดอายุ 5 ปี กิจกรรมย่อยที่ 1.1 อบรมพัฒนาศักยภาพ ได้ด้วยวัคซีน 2.ร้อยละความครอบคลุมการได้รับ ผู้ปฏิบัติงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค 2.เพื่อสนับสนุนการด าเนินงาน วัคซีนในกลุ่มวัยเรียน (วัคซีนโควิด และ วัคซีนตามมาตรฐาน สร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค 3.ร้อยละความครอบคลุมการได้รับ งานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค) วัคซีนในกลุ่มผู้ใหญ่ 20 - 40 ปี กิจกรรมย่อยที่ 1.2 นิเทศ / ติดตาม 4.ร้อยละความครอบคลุมการได้รับ การด าเนินงานสร้างสริมภูมิคุ้มกันโรคใน วัคซีนโควิด19 ในประชาชนทุกกลุ่ม โรงพยาบาลทุกแห่ง 5.รอยละของจังหวัดที่สามารถ ควบคุมสถานการณโรคติดเชื้อ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) กิจกรรมหลักที่ 2 พัฒนาระบบเฝ้าระวัง 1.เพื่อพัฒนาระบบเฝ้าระวัง และ และควบคุมโรค หลังสถานการณ์การแพร่ ควบคุมโรคติดต่อ หลังสถานการณ์ ระบาดของโรค COVID-19 และการถ่าย การแพร่ระบาดของโรค COVID-19 โอนภาระกิจ สอน./ รพ.สต. ไปยัง อบจ. และการถ่ายโอนภาระกิจ สอน./ ใหสงบได ภายใน 21 – 28 วัน กิจกรรมย่อยที่ 2.1 ประชุมทบวน และชี้แจง รพ.สต. ไปยัง อบจ. 2.รอยละของอ าเภอที่สามารถ 10 อ าเภอ 40 คน ระบบเฝ้าระวัง และการควบคุมโรคติดต่อ 2.เพื่อพัฒนาศักยภาพบุคลากร ควบคุมสถานการณการะบาด หลังการถ่ายโอนภารกิจไปยัง อบจ. เพื่อการเฝ้าระวังและควบคุม ของโรคติดต่อที่ส าคัญ ส าหรับ สสอ. และ ผู้แทน รพ.สต. ผู้รับผิดชอบ โรคติดต่อหลังการถ่ายโอนภารกิจ ใหสงบได ไม่เกิน 2 ระยะฟักตัว งานฯ ระดับอ าเภอ ไปยัง อบจ. 6


Non-UC Non UC PP กองทุน อื่นๆ สป. กรม/กอง/ เบิกจ่ายแทน กัน basic services สุขภาพต าบล เงินบ ารุง/อบจ ,/งบจังหวัด/ PPA/สสส. เม.ย - มิ.ย ต.ค. - ธ.ค. ม.ค. - มี.ค ก.ค. - ก.ย. แหล่งงบประมาณ/จ านวนงบประมาณ งบประมาณ รวมทั้งสิ้น รหัสงบ ระยะเวลาด าเนินการ/งบประมาณ 11,520 11,520 11,520 งบยุทธศาสตร์ เฉพาะ 18,065 18,065 18,065 งบยุทธศาสตร์ เฉพาะ - 80,575 - 30,450 - 95,585 - - 15,440 111,025 28,800 28,800 28,800 เงินบ ารุง 7,200 7,200 14,400 14,400 เงินบ ารุง 7


ตัวชี้วัด แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก/กิจกรรมย่อย วัตถุประสงค์ ค่าเป้าหมายตัวชี้วัด พื้นที่เป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย ต ส่วนที่ 2 แผนปฏิบัติการและแผนสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ปี 2566 จ านวนหน่วยนับ กิจกรรมย่อยที่ 2.2 ประชุมพัฒนาศักยภาพ 10 อ าเภอ 60 คน บุคลากร สอน./รพ.สต. เพื่อการเฝ้าระวัง และควบคุมโรคติดต่อ หลังการถ่ายโอนภารกิจ ไปยัง อบจ. กิจกรรมย่อยที่ 2.3 นิเทศ / ติดตาม การด าเนินงานเฝ้าระวังและควบคุมโรคติดต่อ งานระบาดวิทยา กิจกรรมหลักที่ 1 พัฒนาศักยภาพผู้ปฏิบัติงาน ระบาดวิทยา กิจกรรมย่อยที่ 1.1 ประชุมทบวน และชี้แจง ระบบเฝ้าระวัง และการควบคุมโรคติดต่อ หลังการถ่ายโอนภารกิจไปยัง อบจ.ส าหรับ สสอ. และ ผู้แทน รพ.สต. ผู้รับผิดชอบงานฯ ระดับอ าเภอ กิจกรรมย่อยที่ 1.2 ประชุมพัฒนาศักยภาพ บุคลากร สอน./รพ.สต. เพื่อการเฝ้าระวัง และควบคุมโรคติดต่อ หลังการถ่ายโอนภารกิจ ไปยัง อบจ. กิจกรรมย่อยที่ 1.3 นิเทศ / ติดตาม การด าเนิน งานระบบเฝ้าระวัง และควบคุมโรคภายหลัง การแพร่ระบาดโรคโควิด - 19 รวมงบประมาณ โครงการการส่งเสริมป้องกันควบคุมโรควัณโรค จังหวัดสุพรรณบุรี กิจกรรมหลักที่ 1 ค้นหาคัดกรองและขึ้น ค้นหากลุ่มเสี่ยงต่อโรควัณโรค อัตราความครอบคลุมการขึ้น 10 โรงพยาบาล 150 : แสน ปชก. ทะเบียนผู้ป่วยวัณโรค ในชุมชนเข้าสู่ระบบการรักษา ทะเบียนของผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ กิจกรรมย่อยที่ 1.1 คัดกรองวัณโรคด้วย X ray เพื่อยุติวัณโรคในพื้นที่ และกลับเป็นซ้ า ร้อยละ 90 และวินิจฉัยด้วย Molecular ในกลุ่มเสี่ยงวัณโรค กิจกรรมย่อยที่ 1.2 ทดสอบความไวต่อยา เพื่อค้นหาวัณโรคดื้อยาในผู้ป่วยวัณโรค ทุกราย (universal DST) กิจกรรมย่อยที่ 1.3 ตรวจหาเชื้อเอชไอวีใน 6


Non-UC Non UC PP กองทุน อื่นๆ สป. กรม/กอง/ เบิกจ่ายแทน กัน basic services สุขภาพต าบล เงินบ ารุง/อบจ ,/งบจังหวัด/ PPA/สสส. เม.ย - มิ.ย ต.ค. - ธ.ค. ม.ค. - มี.ค ก.ค. - ก.ย. แหล่งงบประมาณ/จ านวนงบประมาณ งบประมาณ รวมทั้งสิ้น รหัสงบ ระยะเวลาด าเนินการ/งบประมาณ 14,100 14,100 14,100 เงินบ ารุง 4,800 4,800 4,800 เงินบ ารุง 12,000 42,900 7,200 - - - - - 62,100 62,100 8


ตัวชี้วัด แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก/กิจกรรมย่อย วัตถุประสงค์ ค่าเป้าหมายตัวชี้วัด พื้นที่เป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย ต ส่วนที่ 2 แผนปฏิบัติการและแผนสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ปี 2566 จ านวนหน่วยนับ ผู้ป่วยวัณโรค ทุกราย กิจกรรมย่อยที่ 1.4 ตรวจค้นหาการติดเชื้อวัณโรค ในกลุ่มผู้สัมผัสวัณโรค กิจกรรมย่อยที่ 1.5 ติดตามการขึ้นทะเบียน ผู้ป่วยวัณโรค ทุกราย ในโปรแกรม NTIP กิจกรรมย่อยที่ 1.6 ประชุมชี้แจงแนวทางการ ด าเนินงานวัณโรค (DOT Meeting) กิจกรรมย่อยที่ 1.7 พัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่ผู้ รับผิดชอบงานวัณโรค กิจกรรมหลักที่ 2 ผลส าเร็จการรักษาผู้ป่วย ผู้ป่วยวัณโรคทุกรายมีผลส าเร็จ ผลส าเร็จการรักษาร้อยละ 88 10 โรงพยาบาล วัณโรคปอดรายใหม่และกลับเป็นซ้ า การรักษาหายและรักษาครบ กิจกรรมย่อยที่ 2.1 รักษาด้วยสูตรยามาตรฐาน และติดตามประเมินผลการรักษาผู้ป่วยวัณโรค ตามแนวทางการควบคุมวัณโรคของประเทศ ทั้งหน่วยงานภาครัฐและเอกชน กิจกรรมย่อยที่ 2.2 ดูแลผู้ป่วยวัณโรคด้วยทีม สหวิชาชีพโดยใช้ดิจิทัล DOT โดยให้ผู้ป่วยเป็น ศูนย์กลาง (PCC) กิจกรรมย่อยที่ 2.3 รักษาการติดเชื้อวัณโรคใน กลุ่มผู้สัมผัสวัณโรค กิจกรรมย่อยที่ 2.4 นิเทศติดตามผลการ ด าเนินงานวัณโรค และเยี่ยมผู้ป่วยวัณโรค กิจกรรมย่อยที่ 2.5 ประชุมสรุปผลการ ด าเนินงานวัณโรคและติดตาม(DOT Meeting) รวมงบประมาณ รวมแผนควบคุมโรคติดต่อ 6


Non-UC Non UC PP กองทุน อื่นๆ สป. กรม/กอง/ เบิกจ่ายแทน กัน basic services สุขภาพต าบล เงินบ ารุง/อบจ ,/งบจังหวัด/ PPA/สสส. เม.ย - มิ.ย ต.ค. - ธ.ค. ม.ค. - มี.ค ก.ค. - ก.ย. แหล่งงบประมาณ/จ านวนงบประมาณ งบประมาณ รวมทั้งสิ้น รหัสงบ ระยะเวลาด าเนินการ/งบประมาณ 12,000 123,475 7,200 30,450 - 95,585 - - 77,540 173,125 9


Page| 70 แผนปฏิบัติราชการด้านสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ประจำปีงบประมาณ 2566 แผนงาน : การป้องกันควบคุมโรคและลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ แผนงานย่อย: แผนปฏิบัติราชการสุขภาพการป้องกันอุบัติเหตุทางถนน โครงการการป้องกันอุบัติเหตุทางถนน 1. สถานการณ์ปัญหา การบาดเจ็บจากการจราจรเป็นปัญหาสําคัญของประเทศไทย ที่ก่อให้เกิดความสูญเสียอย่างมหาศาล ทั้งด้านเศรษฐกิจและสังคม เป็นปัญหาที่ติดอันดับหนึ่งในสามของปัญหาสาธารณสุขมาโดยตลอด การบาดเจ็บ จากการจราจรทางถนนส่งผลกระทบต่อประชาชนทั่วโลก จากสถิติการเกิดอุบัติเหตุทางถนนในประเทศไทยมี อัตราการเสียชีวิตบนท้องถนนมากที่สุดในโลกจากการเปิดเผยของเว็บไซต์เวิลด์แอตลาส (ปี 2560) ซึ่งมีอัตรา ผู้เสียชีวิต 36.2 รายต่อแสนประชากร จากเดิมที่เป็นอันดับ 2 รองจากประเทศลิเบีย ปัญหาอุบัติเหตุทางถนน ของประเทศไทยยังคงเป็นปัญหาที่สำคัญ ที่สร้างความสูญเสียและคุณภาพชีวิตของประชาชนไทยจากข้อมูล การบูรณาการ 3 ฐาน ปี 2554 - 2559 มีผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนนเฉลี่ย 21,200 คน/ปี คิดเป็น 32.6 ต่อประชากรแสนคนหรือวันละ 60 คน/วัน มีผู้บาดเจ็บนอนรักษาใน รพ. ประมาณ 200,000 คน/ปี และผู้ พิการอีกปีละ 9,000 คน ซึ่งแนวโน้มของปัญหายังอยู่ในอัตราที่สูงมาก ข้อมูลจากศูนย์ความร่วมมือด้านข้อมูล การบาดเจ็บ พบว่าตั้งแต่ปีงบประมาณ 2559 – 2563 ประเทศไทยมีจำนวนการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุทาง ถนน เท่ากับ 21,669 , 21,592 , 20,419 , 20,015 และ 17,744 รายตามลำดับ 1.1 Base line data - ประชากรเป้าหมายจากปี 2565 ข้อมูลจากระบบฐานข้อมูล HDC ณ วันที่ 26 ตุลาคม 2565 จำนวน 835,360 คน - สภาพปัญหาจากข้อมูลการวิเคราะห์เชิงลึกรายแผน อัตราการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนนต่อแสนประชากร ปี 2560 บาดเจ็บ 5,647 ราย เสียชีวิต 227 ราย คิดเป็นอัตรา 27.89 ต่อแสนประชากร ปี 2561 บาดเจ็บ 7,508 ราย เสียชีวิต 240 ราย คิดเป็น อัตรา 29.17 ต่อแสนประชากร ปี 2562 บาดเจ็บ 11,993 ราย เสียชีวิต 345 ราย คิดเป็นอัตรา 41.93 ต่อแสน ประชากร ปี 2563 บาดเจ็บ 11,980 ราย เสียชีวิต 245 ราย คิดเป็นอัตรา 28.88 ต่อแสนประชากร ปี 2564 บาดเจ็บ 9,767 ราย เสียชีวิต 214 ราย คิดเป็นอัตรา 25.23 ต่อแสนประชากร ซึ่งในปี 2564 เป้าหมายจังหวัด สุพรรณบุรี ต้องมีอัตราการเสียชีวิตไม่เกิน 25.30 ต่อแสนประชากร จะเห็นได้ว่า ปี 2564 ที่ผ่านมาจังหวัด สุพรรณบุรี มีอัตราการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนนไม่เกินเป้าหมายที่กำหนด ในปี 2565 จังหวัด สุพรรณบุรี พบผู้บาดเจ็บจากอุบัติเหตุจราจรทางถนน จำนวน ๙,๗๙๕ ราย ผู้เสียชีวิตจำนวน ๑๗๒ ราย อัตราการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนนเท่ากับ ๒๐.๕๑ ต่อแสนประชากร (ข้อมูลจากระบบสารสนเทศเพื่อ การจัดการผู้บาดเจ็บและเสียชีวิตจากอุบัติเหตุ : PHER) ในปี 2565 อัตราการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนน ของจังหวัดสุพรรณบุรี มีเป้าหมายลดลงร้อยละ ๑๙.๖๓ (เป้าหมายลดลงอย่างน้อยร้อยละ ๕) จากข้อมูล


Page| 71 แผนปฏิบัติราชการด้านสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ประจำปีงบประมาณ 2566 ดังกล่าวอัตราการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนนมีแนวโน้มลดลง แต่ทั้งนี้ต้องยอมรับว่าที่ผ่านมาจังหวัด สุพรรณบุรี ต้องเผชิญกับสถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) ประชาชนมีการเดินทาง ลดลงส่งผลให้อัตราการเกิดอุบัติเหตุลดลง จำแนกข้อมูลรายอำเภอพบว่าอำเภอที่มีอัตราการเสียชีวิตจาก อุบัติเหตุทางถนนสูง ๓ ลำดับแรกของจังหวัดสุพรรณบุรี ได้แก่ อำเภอเมืองสุพรรณบุรี (๒๔.๕๑) อำเภอสอง พี่น้อง (๒๖.๑๒) และอำเภออู่ทอง (๒๒.๓๔) นอกจากนี้ยังพบว่าอัตราการเกิดอุบัติเหตุทางถนนในกลุ่มเด็กและ เยาวชนของจังหวัดสุพรรณบุรีมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องอัตราการบาดเจ็บในกลุ่มเด็กและเยาวชนในปี 2563 ร้อยละ 25.20 และในปี 2564 ร้อยละ 21.20 (ข้อมูลจาก https://dip.ddc.moph.go.th/) 1.2 ปัญหาพื้นที่เชิงคุณภาพ ( ระบุพื้นที่ / กลุ่มเป้าหมาย ) ทบทวนปัญหา จากผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย สำคัญ ผู้ป่วย ผู้ที่เกี่ยวข้อง/จากตัวชี้วัด 1.2.1 ด้านพฤติกรรม 1) การขับรถเร็ว 2) การตัดหน้ากระชั้นชิด 3) การไม่ใส่หมวกกันน็อคและอุปกรณ์ป้องกัน 4) การไม่เคารพกฎจราจร 1.2.2 ด้านถนน สภาพถนนดีเป็นถนนสายหลัก 1.2.3 ด้านรถ รถจักรยานยนต์ เป็นยานพาหนะหลักที่พบอุบัติเหตุมากที่สุด 1.3 ข้อมูล หรือปัญหาของกระบวนการทำงาน 1.3.1 ระบบการจัดเก็บข้อมูลจุดเสี่ยงในระดับอำเภอยังไม่ครอบคลุม 1.3.2 การสอบสวนอุบัติเหตุทางถนนยังไม่ครอบคลุมตามเกณฑ์ที่กำหนด 2. สรุปปัญหาที่สำคัญ 2.1 กลุ่มเสี่ยงอุบัติเหตุกลุ่มอายุ15-29 ปี 2.2 มีพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ เช่น การขับรถเร็ว การละเมิดวินัยจราจร เช่น การใช้ ความเร็วเกินกำหนด การไม่สวมใส่หมวกนิรภัย การย้อนศร 2.3 การบังคับใช้กฎหมายเพื่อป้องกันการละเมิด 2.4 การพัฒนาข้อมูลการเสียชีวิต 3 ฐาน เพื่อให้ครอบคลุม ครบถ้วน 3. เป้าประสงค์ 3.1 ประชาชนชาวจังหวัดสุพรรณบุรีมีพฤติกรรมขับขี่ปลอดภัย 3.2 อายุคาดเฉลี่ย และจำนวนปีที่มีสุขภาพดีของประชาชนจังหวัดสุพรรณบุรีเพิ่มขี้น


Page| 72 แผนปฏิบัติราชการด้านสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ประจำปีงบประมาณ 2566 4. เป้าหมายและตัวชี้วัด 4.1 ดำเนินการสอบสวนอุบัติเหตุทางถนนทุกรายที่มีผู้เสียชีวิต ณ ที่เกิดเหตุตั้งแต่ 2 รายขึ้นไป หรือมี ผู้เสียชีวิตและบาดเจ็บ admit รวม 4 ราย 4.2 มีศูนย์พัฒนาเด็กเล็กต้นแบบความปลอดภัยทางถนนอย่างน้อย 3 ตำบล 4.3 เด็กเล็กและผู้ปกครองมีการสวมหมวกนิรภัยเพิ่มขึ้นอย่างน้อยร้อยละ 50 4.4 เด็กและเยาวชนที่ร่วม TSY Program สวมหมวกนิรภัยเพิ่มขึ้นอย่างน้อยร้อยละ 80 4.5 อัตราการเสียชีวิตจากการบาดเจ็บจากการจราจรทางถนน ไม่เกิน 26.13 ต่อประชากรแสนคน 4.6 อัตราการบาดเจ็บเสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนนในกลุ่มเด็กและเยาวชน ลดลง ร้อยละ 5


ตัวชี้วัด แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก/กิจกรรมย่อย วัตถุประสงค์ ค่าเป้าหมายตัวชี้วัด พื้นที่เป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย ต ส่วนที่ 2 แผนปฏิบัติการและแผนสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ปี 2566 จ านวนหน่วยนับ นโยบายมุ่งเน้น โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาการบาดเจ็บ และเสียชีวิตจากอุบัติเหตุจราจรทางถนน จังหวัดสุพรรณบุรี ระดับจังหวัด กิจกรรมที่ 1 บูรณาการคณะท างานร่วมกับ ศปถ.อ าเภอ/ศปถ.ต าบล/ศปถ.ท้องถิ่น กิจกรรมที่ 2 ประชุมคณะท างานระดับอ าเภอ/ ต าบล/ท้องถิ่น กิจกรรมที่ 3 รวบรวม/วิเคราะห์ข้อมูลอุบัติเหตุ ทางถนน กิจกรรมที่ 4 น าเสนอข้อมูลอุบัติเหตุทางถนน ต่อคณะท างาน ศปถ.อ าเภอ/ศปถ.ต าบล/ ศปถ.ท้องถิ่น กิจกรรมที่ 5 ร่วมวิเคราะห์ข้อมูลจุดเสี่ยงกับ คณะท างาน ศปถ.อ าเภอ/ศปถ.ต าบล/ ศปถ.ท้องถิ่น กิจกรรมที่ 6 สอบสวนอุบัติเหตุทางถนน วิเคราะห์ข้อมูลและใช้ประโยชน์จากข้อมูล การสอบสวน กิจกรรมที่ 7 ด าเนินงานตามกิจกรรมการ แก้ปัญหาอุบัติเหตุทางถนนในกลุ่มเด็กและ เยาวชนโดยใช้ TSY Program กิจกรรมที่ 8 ด าเนินงานศูนย์เด็กเล็กต้นแบบ ความปลอดภัยทางถนน กิจกรรมที่ 9 เสริมสร้างความรู้และทักษะ ความปลอดภัยทางถนนกลุ่มวัยท างานและ กลุ่มผู้สูงอายุ กิจกรรมที่ 10 ประชุมชี้แจงและท าบันทึก ยุทธศาสตร์กระทรวง ที่ 1 PP&P Excellence แผนงานที่ 3 การป้องกันควบคุมโรคและลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ โครงการหลักของกระทรวง ที่ 2 โครงการควบคุมโรคและภัยสุขภาพ 7


Non-UC Non UC PP กองทุน อื่นๆ สป. กรม/กอง/ เบิกจ่ายแทน กัน basic services สุขภาพต าบล เงินบ ารุง/อบจ ,/งบจังหวัด/ PPA/สสส. เม.ย - มิ.ย ต.ค. - ธ.ค. ม.ค. - มี.ค ก.ค. - ก.ย. แหล่งงบประมาณ/จ านวนงบประมาณ งบประมาณ รวมทั้งสิ้น รหัสงบ ระยะเวลาด าเนินการ/งบประมาณ 30,000 30,000 30,000 เงินบ ารุง 15,000 15,000 15,000 เงินบ ารุง 3


ตัวชี้วัด แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก/กิจกรรมย่อย วัตถุประสงค์ ค่าเป้าหมายตัวชี้วัด พื้นที่เป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย ต ส่วนที่ 2 แผนปฏิบัติการและแผนสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ปี 2566 จ านวนหน่วยนับ ข้อตกลงหน่วยงานในสังกัดเพื่อขับเคลื่อนวาระ จังหวัดสุพรรณบุรี (สวมหมวกนิรภัย 100 %) เป็นนโยบายการด าเนินงานที่ส าคัญ ของหน่วยงานในสังกัด กิจกรรมที่ 11 ประเมินมาตรฐานการจัดบริการ การแพทย์ฉุกเฉิน (Pre-Hospital) กิจกรรมที่ 12 ประเมิน ER คุณภาพ กิจกรรมที่ 13 ประชุมแลกเปลียนเรียนรู้ แผนฯลดอัตราตาย สาขาStrok ปี 2566 1. Primary & Secondary Prevention - NCD Screening /Control - CVD Risk Assessment 2. Fast track Stroke ตั้งแต่ชุมชน-รพ. การเข้าถึง Pre-hospital(Stroke Alert &EMS)/ In-Hospital - CPG/Care Map Hemorrhagic Stroke 3. ขยายเตียง Stroke Unit /เปิด Stroke Corner รพศ. จาก 12 เป็น 16 รพท. Plan จัดตั้ง Stroke Unit 4 เตียง รพ.อู่ทอง Plan Stroke corner 2 เตียง รพ.ด่านช้าง Plan Stroke corner 2 เตียง 4 .เพิ่ม rt-PA Node รพ.อู่ทอง *CT Scan 5. Stroke Rehabilitation ภายใน 72 ชม. (IMC) 6.รพศ.เปิดบริการตรวจและวิเคราะห์คลื่นไฟฟ้า สมอง(EEG : Electroencephalography) 7.รพศ.โครงการวินิจฉัยโรคหลอดเลือดสมองตีบ เฉียบพลันด้วยเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence) แผนฯลดอัตราตาย สาขาSTEMI ปี 2566 1. Primary & Secondary Prevention 7


Non-UC Non UC PP กองทุน อื่นๆ สป. กรม/กอง/ เบิกจ่ายแทน กัน basic services สุขภาพต าบล เงินบ ารุง/อบจ ,/งบจังหวัด/ PPA/สสส. เม.ย - มิ.ย ต.ค. - ธ.ค. ม.ค. - มี.ค ก.ค. - ก.ย. แหล่งงบประมาณ/จ านวนงบประมาณ งบประมาณ รวมทั้งสิ้น รหัสงบ ระยะเวลาด าเนินการ/งบประมาณ 4


ตัวชี้วัด แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก/กิจกรรมย่อย วัตถุประสงค์ ค่าเป้าหมายตัวชี้วัด พื้นที่เป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย ต ส่วนที่ 2 แผนปฏิบัติการและแผนสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ปี 2566 จ านวนหน่วยนับ -NCD Screening /Control/CVD Risk Assessment 2. เพิ่มศักยภาพ รพช. ในการให้ SK ได้ตามมาตรฐานครบทุก รพ. 3. SP Cardiac สัญจร ครบทุก รพช. เพิ่มความ มั่นใจในการวินิจฉัยและรักษา STEMI * ดอนเจดีย์ หนองหญ้าไซ 4. เพิ่มประสิทธิภาพ Fast Track STEMI ตั้งแต่ ต้นทาง-Cath lab 5. รพศ.ขยายเวลาเปิดบริการ Cardiac Catherization - Emergency Cath lab อังคาร, พฤหัสบดี -มีแผนเปิด Emergency Cath lab ในวันเสาร์ 6. รพศ.เพิ่มการให้บริการ SMC Clinic, Pre-post CAG, 7. รพศ.เปิดบริการ CCU 6 เตียง ชั้น 7 อาคารศูนย์หัวใจ (มิ.ย.66) 8. เพิ่มประสิทธิภาพการให้รหัสโรค และระบบ ฐานข้อมูล Thai ACS Registry รพ.ทุกแห่ง แผนฯลดอัตราตาย สาขาSepsis ปี 2566 1.เน้นเชิงรุกในชุมชน Early Warning Sign Sepsis 2.ทบทวนปรับ CPG, CNPG, Standing Order 3.พัฒนา RRS, RRT และ Case Manager Nurse 4.Sepsis Corner - รพ.อู่ทอง 2 เตียง - รพ.เดิมบาง นางบวช 4 เตียง 5.รพศ.เพิ่มศักยภาพการตรวจ H/C (รับตรวจจาก รพ.อื่น ๆ) รวมงบประมาณอุบัติเหตุ 7


Non-UC Non UC PP กองทุน อื่นๆ สป. กรม/กอง/ เบิกจ่ายแทน กัน basic services สุขภาพต าบล เงินบ ารุง/อบจ ,/งบจังหวัด/ PPA/สสส. เม.ย - มิ.ย ต.ค. - ธ.ค. ม.ค. - มี.ค ก.ค. - ก.ย. แหล่งงบประมาณ/จ านวนงบประมาณ งบประมาณ รวมทั้งสิ้น รหัสงบ ระยะเวลาด าเนินการ/งบประมาณ - - - 45,000 - - - - - - 45,000 45,000 - 5


Page| 76 แผนปฏิบัติราชการด้านสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ประจำปีงบประมาณ 2566 แผนงาน : การป้องกันควบคุมโรคและลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ แผนงานย่อย: แผนปฏิบัติราชการสุขภาพการป้องกันการจมน้ำ โครงการการป้องกันการจมน้ำ 1. สถานการณ์ปัญหา การจมน้ำเป็นสาเหตุนำของการเสียชีวิตจากสาเหตุการบาดเจ็บ (injury) จากรายงานการจมน้ำ ระดับโลกขององค์การอนามัยโลก (WHO) พบว่าคนที่จมน้ำเสียชีวิตมากกว่าร้อยละ 50 อยู่ในกลุ่มอายุต่ำกว่า 25 ปี และการจมน้ำเป็นสาเหตุการเสียชีวิตใน 5 อันดับแรกของกลุ่มเด็กอายุ 1 - 14 ปี อัตราการเสียชีวิตจาก การจมน้ำในภูมิภาคประเทศที่มีรายได้ต่ำและปานกลางสูงถึง 3.4 เท่าของประเทศที่มีรายได้สูง ทั้งนี้ ในกลุ่ม เด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี พบว่า การจมน้ำเป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับที่ 2 (เสียชีวิตปีละ 145,739 คน) รองจาก โรคเยื่อหุ้มสมองอักเสบ และมากกว่าไข้เลือดออกถึง 15 เท่า ประเทศไทยการตกน้ำ จมน้ำเป็นสาเหตุการ เสียชีวิตอันดับหนึ่งของเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี ซึ่งสูงมากกว่าการเสียชีวิตจากสาเหตุอื่น การจมน้ำเป็นสาเหตุการ เสียชีวิตเป็นอันดับ 3 รองจากการบาดเจ็บจากการจราจรทางบก (อุบัติเหตุขนส่งทางบก) และการทำร้าย ตนเอง ช่วง 10 ปี (ปี พ.ศ.2552 - 2561) ในทุกกลุ่มอายุ จมน้ำเสียชีวิต จำนวน 37,763 คน หรือเฉลี่ยปี ละ 3,776 คน อัตราการเสียชีวิตต่อประชากรแสนคนอยู่ในช่วง 5.0 - 6.6 กลุ่มอายุต่ำกว่า 15 ปี มีสัดส่วนการจมน้ำเสียชีวิตสูงที่สุด (ร้อยละ 24) รองลงมาคือ กลุ่มอายุ 30 - 44 ปี และกลุ่มอายุ 45 - 59 ปี มีสัดส่วนใกล้เคียงกันคือ ร้อยละ 22.8 และ 22.7 ตามลำดับ เด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี เสียชีวิต จากการจมน้ำเฉลี่ยปีละ 905 คน หรือวันละ 2.5 คน หากจำแนกออกเป็นช่วงกลุ่มอายุจะพบว่า ช่วงอายุ 1 - 4 ปี และช่วงอายุ 5 - 9 ปี พบการจมน้ำเป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับ 1 และเมื่อเด็กเริ่มโตขึ้น จนถึงวัยแรงงาน สาเหตุการเสียชีวิตจะเปลี่ยนจากการจมน้ำไปเป็นการจราจรทางบก และการทำร้ายตนเอง อย่างไรก็ตามในตลอดช่วงอายุ การจมน้ำยังคงเป็นสาเหตุการเสียชีวิตที่สำคัญที่อยู่ใน 4 อันดับแรก จากสถิติ ในช่วง 10 ปีที่ผ่านมา (ปี พ.ศ. 2552 - 2561) ประเทศไทยมีอัตราการเสียชีวิตต่อประชากรแสนคนจากการ จมน้ำในเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี ดังนี้ 9.4 9.0 8.7 8.6 7.6 6.8 6.1 6.2 6.3 และ 6.1 ตามลำดับ สำหรับเขตสุขภาพที่ 5 พบอัตราการเสียชีวิตต่อประชากรแสนคนจากการจมน้ำในเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี ดังนี้ 10.4 10.8 10.3 11.3 9.5 8.7 6.6 7.6 6.7 5.2 และ 8.8 ตามลำดับ เมื่อพิจารณาการ เสียชีวิตรายเขตสุขภาพและกลุ่มอายุจากค่าเฉลี่ยในช่วง 10 ปี พบว่า ในกลุ่มอายุ 0 - 4 ปี เขตสุขภาพที่ 5 มีอัตราการเสียชีวิตต่อประชากรแสนคนสูงที่สุด เพศชายมีอัตราการเสียชีวิตจากการตกน้ำ จมน้ำสูงกว่าเพศ หญิงประมาณ 2.0 - 2.5 เท่า ช่วงเดือนที่พบอัตราการเสียชีวิตจากการตกน้ำ มากที่สุดในช่วง 10 ปีที่ผ่าน มา คือ เดือนเมษายนของทุกปี วันที่มีเด็กบาดเจ็บรุนแรงจากการตกน้ำ จมน้ำสูงที่สุดคือวันเสาร์ รองลงมา คือวันอาทิตย์ ช่วงเวลาที่พบสูงที่สุด คือ 15.00 - 17.59 น. รองลงมาคือช่วงเวลา 12.00 - 14.59 น. แหล่งน้ำที่พบว่าอัตราการเสียชีวิตจากการตกน้ำ จมน้ำสูง ได้แก่แหล่งน้ำตามธรรมชาติ ร้อยละ 38.9


Page| 77 แผนปฏิบัติราชการด้านสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ประจำปีงบประมาณ 2566 รองลงมาคืออ่างอาบน้ำ ร้อยละ 4.2 สระว่ายน้ำ ร้อยละ 2.5 จุดเกิดเหตุที่เด็กตกน้ำ จมน้ำสูงที่สุดคือบ้าน บริเวณบ้าน ร้อยละ 36.6 (ข้อมูลจากกองระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค) Base line data - ประชากรเป้าหมายจากปี 2565 กลุ่มอายุต่ำกว่า 15 ปี เท่ากับ 95,370 คน - สภาพปัญหาจากข้อมูลการวิเคราะห์เชิงลึกรายแผน สถานการณ์การเสียชีวิตจากการจมน้ำในเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปีจังหวัดสุพรรณบุรี ปี 2557 พบ การเสียชีวิตจากการจมน้ำในประชากรอายุต่ำกว่า 15 ปี จำนวน 14 คน อัตรา 9.7 ต่อประชากรแสนคน ปี 2558 จำนวน 9 คน อัตรา 6.3 ต่อประชากรแสนคน ปี 2559 จำนวน 10 คน อัตรา 7.1 ต่อ ประชากรแสนคน ปี 2560 จำนวน 10 คน อัตรา 7.2 ต่อประชากรแสนคน ปี 2561 จำนวน 8 คน อัตรา 5.9 ต่อประชากรแสนคน ปี 2562 จำนวน 7 คน อัตรา 5.1 ต่อประชากรแสนคน ปี 2563 จำนวน 11 คน อัตรา 8.1 ต่อประชากรแสนคน และปี 2564 (ข้อมูล ณ วันที่ 25 สิงหาคม 2564) จำนวน 6 คน อัตรา 5.77 ต่อประชากรแสนคน ปี 2564 อำเภอที่พบการเสียชีวิตจากการจมน้ำ ในเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี ได้แก่ อำเภอเมืองสุพรรณบุรี จำนวน 2 คน (7.74 ต่อประชากรแสนคน) อำเภอหนองหญ้าไซ จำนวน 2 คน (27.56 ต่อประชากรแสนคน) รองลงมาได้แก่ อำเภอศรีประจันต์ 1 คน (12.25 ต่อประชากรแสนคน) และอำเภออู่ทอง 1 คน (5.18 ต่อประชากรแสนคน) (เป้าหมาย ปี 2564 จังหวัดสุพรรณบุรี ต้องมีเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี จมน้ำเสียชีวิตไม่เกิน 4 คน หรือ 3.2 ต่อ ประชากรแสนคน) 1.2 ปัญหาพื้นที่เชิงคุณภาพ (ระบุพื้นที่ / กลุ่มเป้าหมาย ) การดำเนินงานป้องกันการจมน้ำเสียชีวิตในเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี พบว่ายังไม่ครอบคลุมในพื้นที่เสี่ยงจมน้ำใน บางแห่งซึ่งทำให้ต้องขยายทีมผู้ก่อการดีให้ครอบคลุมพื้นที่เสี่ยงเพื่อลดการเสียชีวิตจากการจมน้ำในเด็กอายุต่ำ กว่า 15 ปี ในพื้นที่ และพบว่าองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นหลาย ๆ แห่ง ยังไม่ให้ความสำคัญกับการสร้างทีม ผู้ก่อการดี (Merit Maker) 1.3 ข้อมูล หรือปัญหาของกระบวนการทำงาน 1.3.1 อปท สมัคร ทีมผู้ก่อการดียังไม่ครอบคลุมทุกพื้นที่ตำบลเสี่ยง 1.3.2 ระบบฐานข้อมูลผู้เสียชีวิตจากการจมน้ำล่าช้า ไม่เป็นปัจจุบัน 2. สรุปปัญหาที่สำคัญ 2.1 ผู้ปกครองขาดความตระหนักถึงปัญหาเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปีจมน้ำเสียชีวิต 2.2 ขาดการรณรงค์สร้างกระแสในการสร้างทีมผู้ก่อการดีให้ อปท. เห็นความสำคัญและดำเนินงานใน หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเช่น โรงเรียน และ ศพด.


Page| 78 แผนปฏิบัติราชการด้านสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ประจำปีงบประมาณ 2566 3. เป้าประสงค์ (ผลลัพธ์ที่ต้องการ) 3.1 ทำให้เกิดการขับเคลื่อนกลไกการดำเนินงานป้องกันการจมน้ำ ตามมาตรการของกระทรวง สาธารณสุข 3.2 ทำให้เกิดการบูรณาการร่วมกันระหว่างหน่วยงานภาคีเครือข่ายในระดับจังหวัด อำเภอ และ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากยิ่งขึ้น 3.3 ผู้ปกครอง อปท. ภาคีเครือข่ายในชุมชนมีความตระหนักเรื่องการป้องกันเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี จมน้ำ 4. เป้าหมายและตัวชี้วัด 4.1 จังหวัดสุพรรณบุรี มีทีมผู้ก่อการดี (Merit Maker) ผ่านการประเมินระดับเงินหรือระดับทอง อย่างน้อย 10 ทีม 4.2 อัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี จังหวัดสุพรรณบุรี ไม่เกิน 3.2 ต่อ ประชากรเด็กแสนคน (ไม่เกิน 4 ราย)


ตัวชี้วัด แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก/กิจกรรมย่อย วัตถุประสงค์ ค่าเป้าหมายตัวชี้วัด พื้นที่เป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย ต ส่วนที่ 2 แผนปฏิบัติการและแผนสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ปี 2566 จ านวนหน่วยนับ โครงการขับเคลื่อนการป้องกันการจมน้ า เสียชีวิตในเด็กอายุต่ ากว่า 15 ปี จังหวัดสุพรรณบุรี ปี 2565 กิจกรรมหลักที่ 1 บูรณาการความร่วมมือ 1.เพื่อเสริมสร้างความเข็มแข็งภาคี 1.สอบสวนการจมน้ าทุกรายและ 10 อ าเภอ กิจกรรมย่อยที่ 1.1 ประสานความร่วมมือการ เครือข่ายในการป้องกันและแก้ไข บันทึกในระบบ Drowning repot ด าเนินงานกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น/ภาคี ปัญหาเด็กอายุต่ ากว่า 15 ปีจมน้ า 2.อปท.ส่งประเมินทีม Merit Maker เครือข่ายในชุมชน เสียชีวิต อ าเภอละ 1 อปท. กิจกรรมย่อยที่ 1.2 ชี้แจงนโยบายและแนวทาง 2.เพื่อสร้างทีม Merit Maker 3.อัตราการจมน้ าเสียชีวิตในเด็กอายุ อ าเภอละ 1 อปท. การด าเนินงานป้องกันและแก้ไขปัญหาเด็กอายุ ในระดับต าบล ต่ ากว่า 15 ปีเสียชีวิตไม่เกิน 3.2 ต่ ากว่า 15 ปี จมน้ าเสียชีวิต 3.เพื่อเสริมสร้างความรู้ ทักษะการ ต่อประชากรเด็กแสนคน กิจกรรมหลักที่ 2 ผลักดันการสร้างทีม Merit เอาชีวิตรอดในกลุ่มเด็กอายุต่ ากว่า Maker ระดับท้องถิ่น 15 ปี กิจกรรมย่อยที่ 2.1 แนะน ากระบวนการสร้างทีม 4.เพื่อสร้างความตระหนักในกลุ่ม Merit Maker ผู้ปกครองเด็กอายุต่ ากว่า 15 ปีในการ กิจกรรมย่อยที่ 2.2 สนับสนุนวิชาการการ ป้องกันเด็กจมน้ าเสียชีวิต ด าเนินงานระดับต าบล/ท้องถิ่น กิจกรรมย่อยที่ 2.3 เฝ้าระวัง/สอบสวนการจมน้ า ทุกรายในชุมชนด้วยระบบ Drowning report กิจกรรมหลักที่ 3 เสริมสร้างความรู้ ทักษะการ ป้องกันเด็กอายุต่ ากว่า 15 ปีจมน้ าเสียชีวิต กิจกรรมย่อยที่ 3.1 เสริมสร้างความรู้และทักษะ การป้องกันเด็กอายุต่ ากว่า 15 ปีจมน้ าเสียชีวิต ในกลุ่มผู้ปกครอง กิจกรรมย่อยที่ 3.2 เสริมสร้างความรู้และทักษะ การเอาชีวิตรอดในกลุ่มเด็กและเยาวชน กิจกรรมหลักที่ 4 ติดตามประเมินผล กิจกรรมย่อยที่ 4.1 ติดตามการสร้างทีม Merit Maker ระดับท้องถิ่น กิจกรรมย่อยที่ 4.2 ประเมินผลการด าเนินงาน รวมงบประมาณ(จมน้ า) รวมงบประมาณทั้งสิ้น(ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ) 7


Non-UC Non UC PP กองทุน อื่นๆ สป. กรม/กอง/ เบิกจ่ายแทน กัน basic services สุขภาพต าบล เงินบ ารุง/อบจ ,/งบจังหวัด/ PPA/สสส. เม.ย - มิ.ย ต.ค. - ธ.ค. ม.ค. - มี.ค ก.ค. - ก.ย. แหล่งงบประมาณ/จ านวนงบประมาณ งบประมาณ รวมทั้งสิ้น รหัสงบ ระยะเวลาด าเนินการ/งบประมาณ - - - - - - - - - - - 12,000 168,475 7,200 30,450 - 95,585 - - 122,540 218,125 9


Page| 80 แผนปฏิบัติราชการด้านสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ประจำปีงบประมาณ 2566 แผนงาน : การป้องกันควบคุมโรคและลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ แผนงานย่อย: แผนปฏิบัติราชการสุขภาพการคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพและบริการสุขภาพ โครงการคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพและบริการสุขภาพ ด้านนโยบาย 1. สถานการณ์ปัญหา 1.1 Base line data สถานพยาบาลในจังหวัดสุพรรณบุรีมีจำนวนทั้งหมด 324 แห่ง ประกอบด้วย 1. สถานพยาบาลประเภทไม่รับผู้ป่วยไว้ค้างคืน ได้แก่ คลินิกเวชกรรม 97 แห่ง คลินิกเฉพาะทาง 22 แห่ง คลินิกทันตกรรม 42 แห่ง คลินิกพยาบาลและการผดุงครรภ์ 110 แห่ง คลินิกกายภาพบำบัด 6 แห่ง คลินิกเทคนิคการแพทย์ 11 แห่ง คลินิกการแพทย์แผนไทย 12 แห่ง คลินิกการแพทย์แผนไทยประยุกต์ 1 แห่ง คลินิกการประกอบโรคศิลปะ 7 แห่ง คลินิกการผดุงครรภ์ 1 แห่ง และสหคลินิก 11 แห่ง จากการดำเนินงาน ในปีงบประมาณ 2565 ได้ตรวจประเมินคลินิกเปิดใหม่ทั้งหมดจำนวน 24 แห่ง ซึ่งผ่านเกณฑ์มาตรฐานตามที่ กฎหมายกำหนดทั้งหมด ร้อยละ 100 อีกทั้งได้ดำเนินการตรวจเรื่องร้องเรียนทั้งหมด 10 เรื่อง 2. สถานพยาบาลประเภทรับผู้ป่วยไว้ค้างคืน จำนวน 4 แห่ง ซึ่งได้ดำเนินการตรวจมาตรฐาน สถานพยาบาลประจำปีทั้ง 4 แห่ง (ร้อยละ 100) โดยสรุปประเด็นปัญหาที่พบจากการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านสถานพยาบาลทั้งหมดใน ปีงบประมาณ 2565 ได้ดังนี้ - พบการประกอบกิจการสถานพยาบาลโดยไม่ได้รับอนุญาต - พบการต่อเติมสถานพยาบาลทำให้ไม่ได้มาตรฐานตามที่กฎหมายกำหนด - พบสถานพยาบาลไม่จัดให้มีบุคลากรครบตามจำนวนที่กฎหมายกำหนด - พบการให้บริการโดยบุคลากรที่ไม่ใช่ผู้ประกอบวิชาชีพ - พบการให้บริการเกินขอบเขตวิชาชีพ - พบการโฆษณาเกี่ยวกับการประกอบกิจการของสถานพยาบาลโดยไม่ได้รับอนุมัติจากผู้อนุญาต ประชากรเป้าหมายจากปี 2565 สถานพยาบาลในจังหวัดสุพรรณบุรีมีจำนวนทั้งหมด 306 แห่ง ประกอบด้วย 1. สถานพยาบาลประเภทไม่รับผู้ป่วยไว้ค้างคืน ได้แก่ คลินิกเวชกรรม 97 แห่ง คลินิกเฉพาะทาง 17 แห่ง คลินิกทันตกรรม 36 แห่ง คลินิกพยาบาลและการผดุงครรภ์ 111 แห่ง คลินิกกายภาพบำบัด 6 แห่ง คลินิกเทคนิคการแพทย์ 7 แห่ง คลินิกการแพทย์แผนไทย 11 แห่ง คลินิกการแพทย์แผนไทยประยุกต์ 1 แห่ง คลินิกการประกอบโรคศิลปะ 5 แห่ง คลินิกการผดุงครรภ์ 7 แห่ง และสหคลินิก 11 แห่ง 2. สถานพยาบาลประเภทรับผู้ป่วยไว้ค้างคืน จำนวน 4 แห่ง


Page| 81 แผนปฏิบัติราชการด้านสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ประจำปีงบประมาณ 2566 - สภาพปัญหาจากข้อมูลการวิเคราะห์เชิงลึกรายแผน 1. ปัญหาจากการดำเนินการ พบว่าโรงพยาบาลเอกชนทั้ง 4 แห่ง มีการดำเนินการปรับปรุง เปลี่ยนแปลงโครงสร้าง และเปลี่ยนแปลงบุคลากรภายในโรงพยาบาล และการดำเนินงานด้านการบริการอย่าง ต่อเนื่อง ทั้งจากสถานการณ์ด้านการระบาดของโรคติดเชื้อ COVID-19 และปัญหาทางด้านเศรษฐกิจ ซึ่งอาจ ทำให้กระทบต่อการให้บริการผู้ป่วย เพื่อเป็นการคุ้มครองผู้บริโภค จึงทำให้ต้องมีนโยบายตรวจเฝ้าระวังการ ประกอบกิจการสถานพยาบาลของโรงพยาบาลเอกชนทั้ง 4 แห่งในจังหวัดสุพรรณบุรีอย่างต่อเนื่อง และต้องใช้ คณะทำงานตรวจโรงพยาบาลเอกชนในการดำเนินการตรวจประเมินในแต่ละส่วนของโรงพยาบาล 2. ปัญหาด้านการประกอบกิจการสถานพยาบาลไม่ตรงกับลักษณะของคลินิก การปรับเปลี่ยนบันทึก การตรวจมาตรฐานสำหรับสถานพยาบาลที่พัฒนาโดยต้องใช้ดุลพินิจของพนักงานเจ้าหน้าที่ในการพิจารณา อนุมัติเพิ่มขึ้น โฆษณาสถานพยาบาลโดยไม่ได้รับการอนุมัติ จึงต้องจัดประชุมคณะอนุกรรมการสถานพยาบาล และคณะอนุกรรมการกลั่นกรองโฆษณาหรือประกาศเกี่ยวกับสถานพยาบาล เพื่อปรึกษาและลงความเห็นให้ คณะกรรมการอนุมัติต่อไป 1.2 ปัญหาพื้นที่เชิงคุณภาพ ผู้ประกอบกิจการขาดความรู้ด้านการบังคับใช้กฎหมาย และการขาดความตระหนักในการปฏิบัติตาม กฎหมาย ทำให้เกิดปัญหา ประกอบกิจการสถานพยาบาลและสถานประกอบการเพื่อสุขภาพโดยไม่ได้รับ อนุญาต การต่อเติมสถานพยาบาลทำให้ไม่ได้มาตรฐานตามที่กฎหมายกำหนด การให้บริการโดยบุคลากรที่ ไม่ใช่ผู้ประกอบวิชาชีพ การให้บริการในสถานพยาบาลเกินขอบเขตวิชาชีพและไม่ตรงกับลักษณะตามที่ขอ อนุญาต และการโฆษณาเกี่ยวกับการประกอบกิจการของสถานพยาบาลโดยไม่ได้รับอนุมัติจากผู้อนุญาต 1.3 ข้อมูล หรือปัญหาของกระบวนการทำงาน 1.3.1 ขาดแคลนบุคลากรระดับอำเภอในการออกตรวจเฝ้าระวังมาตรฐานของสถานบริการด้าน สุขภาพ 1.3.2 พนักงานเจ้าหน้าที่ยังขาดความเชี่ยวชาญในการประเมินมาตรฐานสถานพยาบาลที่ไม่รับ ผู้ป่วยไว้ค้างคืน และต้องใช้ดุลพินิจในการประเมินโดยคำนึงถึงความปลอดภัยต่อผู้ป่วยเป็นหลัก


Page| 82 แผนปฏิบัติราชการด้านสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ประจำปีงบประมาณ 2566 1.4 นำสภาพปัญหาที่ได้มาปรับเปลี่ยนมาตรการใหม่ ๆ 1.4.1 จากปัญหาการพบสถานพยาบาลไม่จัดให้มีบุคลากรครบตามจำนวนที่กฎหมายกำหนด ของโรงพยาบาลเอกชน จึงได้ปรับเปลี่ยนมาตรการใหม่ เป็นการตรวจเช็คบุคลากรเข้า-ออก ทุกการยื่นแจ้ง เข้า-ออก ของสถานพยาบาล และให้สถานพยาบาลปรับปรุงตารางบุคลากรแนบมาพร้อมกับการแจ้งยื่น เข้า-ออกด้วย 1.4.2 การโฆษณาสถานพยาบาล ได้นำการแนะนำโฆษณาเบื้องต้นมาเป็นช่องทางในการให้ คำปรึกษาก่อนยื่นคำขอการโฆษณาสถานพยาบาล 1.4.3 นำระบบการตรวจแบบ Remote มาประยุกต์ใช้กับการตรวจเฝ้าระวังสถานพยาบาล 2. สรุปปัญหาที่สำคัญ 2.1 ผู้ประกอบกิจการสถานพยาบาลการต่อเติมสถานพยาบาลทำให้ไม่ได้มาตรฐานตามที่ กฎหมายกำหนด 2.2 การประกอบกิจการสถานพยาบาลและสถานประกอบการเพื่อสุขภาพโดยไม่ได้รับอนุญาต 2.3 ผู้ประกอบกิจการสถานพยาบาลโฆษณาการให้บริการของสถานพยาบาลโดยไม่ได้รับอนุมัติ จากผู้อนุญาต 3. เป้าประสงค์ ประชาชนในจังหวัดสุพรรณบุรีได้รับบริการจากสถานพยาบาลเอกชนและสถานประกอบการเพื่อ สุขภาพที่มีคุณภาพมาตรฐานและมีความปลอดภัย มีมาตรฐานตามที่กฎหมายกำหนด 4. เป้าหมายและตัวชี้วัด 4.1 สถานพยาบาล 4.1.1 สถานพยาบาลเอกชน ผ่านเกณฑ์มาตรฐานตามที่กฎหมายกำหนด ไม่น้อยกว่าร้อยละ 100 4.1.2 สถานพยาบาลกลุ่มเสี่ยงได้รับการเฝ้าระวังตามกฎหมาย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75


ตัวชี้วัด (ระดับจังหวัด) โครงการ การคุ้มครองผู้บริโภคด้าน สถานประกอบการด้านสุขภาพ ปี 2566 กิจกรรมหลักที่ 1 การควบคุม ก ากับ ดูแล เฝ้าระวัง และตรวจสอบสถานพยาบาลและสถานประกอบการ เพื่อสุขภาพให้ได้มาตรฐานและเป็นไปตามกฏหมาย ก าหนด กิจกรรมย่อยที่ 1.1 การประชุมเชิงปฏิบัติการและ 1. เพื่อตรวจมาตรฐานสถาน สถานพยาบาลที่ จังหวัดสุพรรณบุรี คณะท างาน ตรวจมาตรฐานสถานพยาบาลประเภทที่รับผู้ป่วย พยาบาลประเภทที่รับผู้ป่วยไว้ รับผู้ป่วยไว้ค้างคืน 40 คน ไว้ค้างคืน ค้างคืนและเฝ้าระวังการประกอบ ทุกแห่งในจังหวัด กิจการที่ไม่ได้มาตรฐาน สุพรรณบุรี กิจกรรมย่อยที่ 1.2 ประชุมคณะอนุกรรมการ 1. เพื่อการอนุญาต และเฝ้าระวัง สถานพยาบาล จังหวัดสุพรรณบุรี ประธานและคณะ ตามพระราชบัญญัติสถานพยาบาลพ.ศ. 2541 สถานพยาบาลให้เป็นไปตาม ทุกแห่งในจังหวัด อนุกรรมการ กฏหมายก าหนด สุพรรณบุรี 7 คน 2. เพื่อพิจารณาอนุมัติข้อความ ประธานและคณะ ภาพ หรือเสียงที่ใช้โฆษณาเพื่อ อนุกรรมการ ให้เป็นไปตามกฏหมายก าหนด 8 คน แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก/กิจกรรมย่อย วัตถุประสงค์ ค่าเป้าหมายตัวชี้วัด พื้นที่เป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย รวมงบประมาณทั้งสิ้น(คุ้มครองผู้บริโภค) ส่วนที่ 2 แผนปฏิบัติการและแผนสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ปี 2566 จ านวนหน่วยนับ โครงการหลักของกระทรวง ที่ 3 โครงการคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพและบริการสุขภาพ แผนงานที่ 3 การป้องกันควบคุมโรคและลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ ยุทธศาสตร์กระทรวง ที่ 1 PP&P Excellence 8


Non-UC Non UC PP กองทุน อื่นๆ สป. กรม/กอง/ เบิกจ่ายแทน กัน basic services สุขภาพต าบล เงินบ ารุง/อบจ ,/งบจังหวัด/ PPA/สสส. 19,200 19,200 19,200 เงินบ ารุง ะ 10,750 8,250 18,000 8,250 45,250 45,250 เงินบ ารุง ะ 29,950 8,250 18,000 8,250 - - - - 64,450 64,450 - เม.ย - มิ.ย ต.ค. - ธ.ค. ม.ค. - มี.ค ก.ค. - ก.ย. แหล่งงบประมาณ/จ านวนงบประมาณ งบประมาณ รวมทั้งสิ้น รหัสงบ ระยะเวลาด าเนินการ/งบประมาณ 3


Page| 84 แผนปฏิบัติราชการด้านสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ประจำปีงบประมาณ 2566 แผนงาน : การบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม แผนงานย่อย: แผนปฏิบัติราชการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม โครงการบริหารจัดการขยะและสิ่งแวดล้อมในสถานบริการแบบบูรณาการ 1. สถานการณ์ปัญหา 1.1 Base line data ตามนโยบายกระทรวงสาธารณสุข ที่มุ่งหวังให้โรงพยาบาล และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตำบล ในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข มีการจัดสภาพสิ่งแวดล้อม สถานที่ ให้เป็นสถานที่ทำงานน่าอยู่ น่า ทำงาน พร้อมในการให้บริการผู้ป่วยที่มารับการรักษาพยาบาล รวมทั้งมีการส่งเสริมด้านคุณภาพสิ่งแวดล้อม ในการทำงาน และการให้บริการ การบริหารจัดการขยะ การลดการใช้พลังงาน ซึ่งการจัดสภาพสิ่งแวดล้อมใน หน่วยบริการสาธารณสุข เพื่อรองรับการให้บริการผู้ป่วยที่เข้ามารับการรักษาพยาบาล ถือเป็นเป้าหมายหลัก นอกจากการให้การรักษาพยาบาลที่มีคุณภาพ สถานที่ให้บริการ ควรมีสิ่งแวดล้อมที่ดี เป็นระเบียบ สะอาด อากาศถ่ายเท ห้องน้ำสะอาด เพียงพอ มีสภาพที่ดูผ่อนคลาย รวมทั้งบรรยากาศที่ส่งเสริมให้การทำงานของ บุคลากรของหน่วยงานน่าอยู่ น่าทำงาน สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี โดยกลุ่มงานอนามัยสิ่งแวดล้อมและอาชีวอนามัย ได้ ดำเนินการส่งเสริมให้โรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลใน จังหวัดสุพรรณบุรี มีการพัฒนาสถานที่ให้น่าอยู่น่าทำงาน การพัฒนารกระดับห้องน้ำ ห้องสุขา ตามมาตรฐาน HAS การควบคุมระบบบำบัดน้ำเสียของโรงพยาบาล รวมทั้งการบริหารจัดการขยะติดเชื้อของเครือข่ายบริการ สุขภาพ และโรงพยาบาลเอกชน ให้ปฏิบัติตามกฎกระทรวงว่าด้วยการจัดการขยะติดเชื้อ ได้อย่างครอบคลุม และเป็นไปตามหลักวิชาการ ปีงบประมาณ 2565 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี มีการส่งเสริมให้โรงพยาบาลภาครัฐ และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลในพื้นที่จังหวัดสุพรรณบุรี มีการพัฒนาคุณภาพหน่วยงานเพื่อเข้าสู่ มาตรฐานการพัฒนาโรงพยาบาลด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมได้ตามเกณฑ์ GREEN & CLEAN Hospital อยู่ใน ระดับดีมาก ร้อยละ 40 และระดับดีมาก plus ร้อยละ 60 มีโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเป้าหมายที่ต้อง พัฒนาในปีงบประมาณ 2565 จำนวน 71 แห่ง อยู่ในระดับดีมาก ร้อยละ 19.72 ระดับดี ร้อยละ 74.65 และ ระดับพื้นฐาน ร้อยละ 5.63 เป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนด และส่งเสริมให้องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น สามารถดำเนินการบริหารจัดการขยะติดเชื้อที่เกิดจากการประกอบการสถานบริการด้านสุขภาพของเอกชน ขยะอันตรายและขยะทั่วไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ 1.2 ปัญหาพื้นที่เชิงคุณภาพ (สาเหตุ/ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง) การจัดการสิ่งแวดล้อมเป็นสิ่งสำคัญที่ต้องมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง โดยต้องเริ่มต้นในสาน บริการสาธารณสุขของรัฐเพื่อเป็นตัวอย่างในการพัฒนาและขยายไปสู่ส่วนราชการอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมทั้ง


Page| 85 แผนปฏิบัติราชการด้านสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ประจำปีงบประมาณ 2566 ประชาชนเข้าร่วมดำเนินการ ส่งเสริม สนับสนุนซึ่งกันและกัน จะทำให้ผลกระทบที่เกิดจากการกระทำของ มนุษย์ต่อสิ่งแวดล้อมซึ่งจะย้อนมามีผลต่อสุขภาพประชาชนโดยรวม จากทิศทางการดำเนินงานอนามัยสิ่งแวดล้อมของภาครัฐ กำหนดการพัฒนาโรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลทั่วไป โรงพยาบาลชุมชน ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมให้ได้ตามเกณฑ์ GREEN & CLEAN Hospital ของจังหวัดสุพรรณบุรี ในปีงบประมาณ 2565 ในส่วนโรงพยาบาลพัฒนายกระดับเป็นไปตามเป้าหมายและ ตัวชี้วัดของระดับเขตและส่วนกลาง ความจำเป็นต้องพัฒนาองค์ประกอบใน 2 ด้าน โดยองค์ประกอบแรกคือ โรงพยาบาลมีการดำเนินงานนโยบายโรงพยาบาลอาหารปลอดภัยร่วมกับภาคีเครือข่ายในพื้นที่ (ตามคู่มือ มาตรฐานโรงพยาบาลอาหารปลอดภัย Food Safety Hospital) องค์ประกอบที่สอง คือ โรงพยาบาลผ่าน มาตรฐานการจัดบริการอาชีวอนามัยและเวชกรรมสิ่งแวดล้อม ระดับเริ่มต้นพัฒนาขึ้นไป ซึ่งทั้งสอง องค์ประกอบส่งผลให้ประชาชนได้รับบริการที่ครอบคลุมมากยิ่งขึ้น พัฒนาศักยภาพของโรงพยาบาล เพิ่มขีด ความสามารถ ตามมาตรฐานการพัฒนาด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมที่กำหนด และในปีงบประมาณ 2566 มีการ ปรับเปลี่ยนรายละเอียดการประเมินเกณฑ์มาตรฐานแบบใหม่ คือ GREEN & CLEAN Hospital Challenge และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุกแห่งถ่ายโอนให้กับองค์การบริหารส่วนจังหวัดสุพรรณบุรี ทำให้ต้องมี การทบทวนผลการประเมินของหน่วยงานต่าง ๆ ต้องนำมาวางแผนกระบวนการดำเนินงานในปี 2566 ต่อไป 1.3 ข้อมูลหรือปัญหาของกระบวนการทำงาน จากการพัฒนาที่บรรลุเป้าหมายในปีที่ผ่านมา กลุ่มงานอนามัยสิ่งแวดล้อมและอาชีวอนามัย กำหนดเป้าหมายท้าทายในส่วนของโรงพยาบาลพัฒนายกระดับให้เป็นระดับดีมาก plus ทุกแห่ง นั้น หากเป็น การดำเนินงานในภาวะปกติก็มีข้อจำกัดหลายประการในการพัฒนาเป็นทุนเดิม เนื่องจาก ข้อจำกัดด้าน บุคลากร เช่น ขาดแพทย์ที่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะทาง คือ แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านอาชีวเวชศาสตร์ การเพิ่มขีด ความสามารถพยาบาลโดยต้องผ่านหลักสูตรพยาบาลอาชีวอนามัย แล้วนั้น ยังคงต้องเผชิญกับการปรับรูปแบบ การทำงานแบบ New Normal ของภาคส่วนต่าง ๆ ให้สอดคล้องกับสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ซึ่งเป็นปัญหา อุปสรรคในการดำเนินงานที่ต้องมาทบทวนกระบวนการทำงาน ใหม่ในทุกระดับ และมีการปรับเปลี่ยนรายละเอียดการประเมินเกณฑ์มาตรฐานแบบใหม่ คือ GREEN & CLEAN Hospital Challenge ทำให้โรงพยาบาลทุกแห่งจำเป็นต้องมีการประมินตามแบบมาตรฐานที่ เปลี่ยนแปลง 2. สรุปปัญหาที่สำคัญ สถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ซึ่งเป็นปัญหา อุปสรรคใน การดำเนินงานที่ต้องมาทบทวนกระบวนการทำงานใหม่ในทุกระดับ ให้สามารถดำเนินการพัฒนาให้เป็นไปตาม เกณฑ์มาตรฐานที่กำหนด และมีการปรับเปลี่ยนรายละเอียดการประเมินเกณฑ์มาตรฐานแบบใหม่ คือ GREEN


Page| 86 แผนปฏิบัติราชการด้านสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ประจำปีงบประมาณ 2566 & CLEAN Hospital Challenge ทำให้โรงพยาบาลทุกแห่งจำเป็นต้องมีการประมินตามแบบมาตรฐานที่ เปลี่ยนแปลงไป 3. เป้าประสงค์ โรงพยาบาลทุกแห่งเข้าร่วมการพัฒนาตามเกณฑ์มาตรฐานและผ่านเกณฑ์ GREEN & CLEAN Hospital Challenge ระดับมาตรฐานขึ้นไป ร้อยละ 30 4. เป้าหมายและตัวชี้วัด โรงพยาบาลพัฒนาตามเกณฑ์มาตรฐานและผ่านเกณฑ์ GREEN & CLEAN Hospital Challenge ระดับมาตรฐานขึ้นไป ร้อยละ 30


ตัวชี้วัด (ระดับจังหวัด) โครงการบริหารจัดการขยะและสิ่งแวดล้อมใน 1.สนับสนุนให้โรงพยาบาลทุกแห่งใน สถานบริการสาธารณสุข ปี 2566 สังกัด สามารถพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม กิจกรรมหลักที่ 1 พัฒนารพ.ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม ได้ตามเกณฑ์ Green&Clean Hospital ได้ตามเกณฑ์ Green&Clean Hospital Challenge Challenge 2.สนับสนุนให้โรงพยาบาลทุกแห่งใน กิจกรรมย่อยที่ 1.1 สนับสนุนให้รพ.และสสอ.จัดซื้อ สังกัด สสอ.ส่งเสริมสนับสนุน รพ.สต. วัสดุในการด าเนินงานพัฒนาตามเกณฑ์ ที่สมัครใจเข้าร่วมพัมนาอนามัย Green&Clean Hospital Challenge สิ่งแวดล้อมได้ตามเกณฑ์ กิจกรรมย่อยที่ 1.2 สนับสนุนให้สสจ. จัดซื้อวัสดุวัสดุ Green&Clean Sub-district Healtth ในการด าเนินงานพัฒนาตามเกณฑ์ Green&Clean 3.สนับสนุนให้โรงพยาบาลทุกแห่งใน Hospital Challengeในหน่วยบริการและ สังกัด สสอ.ส่งเสริมสนับสนุน ระบบการ หน่วยงานในสังกัด บริหารจัดการขยะในหน่วยงานที่เกี่ยว กิจกรรมย่อยที่ 1.3 จัดซื้อวัสดุ จัดจ้างท าสื่อประชา ข้องได้อย่างมีประสิทธิภาพ สัมพันธ์สนับสนุนการแก้ไขปัญหาข้อร้องเรียน การจัดการปัญหาด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมให้กับหน่วย งานในสังกัดและหน่วยงานที่ร้องขอการสนับสนุน กิจกรรมย่อยที่ 1.4 สนับสนุนการจัดซื้อวัสดุและ ค่าตรวจวิเคราะห์คุณภาพน้ าจากระบบบ าบัดเพื่อการ ดูแล บ ารุงรักษาแก้ไขปัญหาการจัดการระบบประปา และระบบบ าบัดน้ าเสีย กิจกรรมย่อยที่ 1.5 ติดตาม สนับสนุนและประเมิน การพัฒนาของ Green & Clean Hospital Challenge หน่วยงานในสังกัดและ Green&Clean Sub-district Healtth Promoting Hospital (GCSh) ส าหรับรพ.สต. กิจกรรมหลักที่ 2 พัฒนาระบบการบริหารจัดการ ขยะทั่วไป ขยะติดเชื้อ ขยะรีไซเคิลและขยะอันตราย ระบบประปาและระบบบ าบัดน้ าเสีย กิจกรรมย่อยที่ 2.1 สนับสนุนให้หน่วยงานในสังกัด แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก/กิจกรรมย่อย วัตถุประสงค์ ค่าเป้าหมายตัวชี้วัด พื้นที่เป้าหมาย กลุ่มเป้าหมา ส่วนที่ 2 แผนปฏิบัติการและแผนสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ปี 2566 จ านวนหน่วยนับ ยุทธศาสตร์กระทรวง ที่ 1 PP&P Excellence แผนงานที่ 4 การบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม โครงการหลักของกระทรวง ที่ 1 โครงการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม 8


Non-UC Non UC PP กองทุน อื่นๆ สป. กรม/กอง/ เบิกจ่ายแทน กัน basic services สุขภาพต าบล เงินบ ารุง/อบจ ,/งบจังหวัด/ PPA/สสส. 48,000 48,000 48,000 รหัส83921 10,492 10,492 10,492 รหัส83921 เม.ย - มิ.ย าย ต.ค. - ธ.ค. ม.ค. - มี.ค ก.ค. - ก.ย. แหล่งงบประมาณ/จ านวนงบประมาณ งบประมาณ รวมทั้งสิ้น ระยะเวลาด าเนินการ/งบประมาณ รหัสงบ 7


ตัวชี้วัด แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก/กิจกรรมย่อย วัตถุประสงค์ ค่าเป้าหมายตัวชี้วัด พื้นที่เป้าหมาย กลุ่มเป้าหมา ส่วนที่ 2 แผนปฏิบัติการและแผนสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ปี 2566 จ านวนหน่วยนับ ก าหนดแนวทางจัดการและส่งเสริมให้มีการด าเนิน การจัดการจัดขยะทั่วไป ขยะติดเชื้อ ขยะรีไซเคิล และขยะอันตรายระบบประปาและระบบ าบัดน้ าเสีย กิจกรรมย่อยที่ 2.2 ส่งเสริมสนับสนุนให้มีมาตรการ การด าเนินกิจกรรมด้านอนุรักษ์พลังงานที่เป็นมิตร กับสิ่งแวดล้อมในสสจ.สุพรรณบุรี สสอ.และรพ.สต. กิจกรรมย่อยที่ 2.3 จัดซื้อวัสดุสนับสนุนการแก้ไข ปัญหาเหตุร้องเรียน การจัดการปัญหาด้าน สิ่งแวดล้อมให้กับหน่วยงานในสังกัดและหน่วยงานที่ ร้องขอสนับสนุน กิจกรรมย่อยที่ 2.4 ติดตาม นิเทศงานหน่วยงานใน สังกัด ส่งเสริม สนับสนุนให้อปท. ก าหนด มาตรการ แนวทางการด าเนินการจัดการขยะ ทั่วไป ขยะติดเชื้อ ขยะรีไซเคิล และขยะอันตราย แก้ไขปัญหา การจัดการระบบประปาและระบบบ าบัด น้ าเสีย ปัญหาด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมในพื้นที่ รวมงบประมาณ Green & Clean Hospital 8


Non-UC Non UC PP กองทุน อื่นๆ สป. กรม/กอง/ เบิกจ่ายแทน กัน basic services สุขภาพต าบล เงินบ ารุง/อบจ ,/งบจังหวัด/ PPA/สสส. เม.ย - มิ.ย าย ต.ค. - ธ.ค. ม.ค. - มี.ค ก.ค. - ก.ย. แหล่งงบประมาณ/จ านวนงบประมาณ งบประมาณ รวมทั้งสิ้น ระยะเวลาด าเนินการ/งบประมาณ รหัสงบ 2,400 2,400 2,400 เงินบ ารุง - 58,492 2,400 - - 58,492 - - 2,400 60,892 8


Page| 89 แผนปฏิบัติราชการด้านสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ประจำปีงบประมาณ 2566 แผนงาน : การบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม แผนงานย่อย: แผนปฏิบัติราชการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม โครงการสนับสนุนการบังคับใช้กฎหมายสาธารณสุข 1. สถานการณ์ปัญหา 1.1 Base line data สถานการณ์การดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมที่ผ่านมา กรมอนามัยได้ส่งเสริมและ สนับสนุนการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมและการบังคับใช้กฎหมายให้กับหน่วยงานระดับจังหวัด ได้แก่ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด และระดับท้องถิ่น อันเป็นบทบาทหน้าที่ของศูนย์อนามัย ตามกฎกระทรวง แบ่งส่วนราชการกรมอนามัย พ.ศ. 2552 และบทบาทหน้าที่ของเจ้าพนักงานสาธารณสุข ตามพระราชบัญญัติ การสาธารณสุข พ.ศ. 2535 เพื่อให้หน่วยงานในระดับจังหวัด และระดับพื้นที่สามารถดำเนินงานด้านอนามัย สิ่งแวดล้อมได้อย่างมีประสิทธิภาพ และเท่าทันกับสถานการณ์ปัจจุบัน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข จึงได้เสนอให้มีการปรับปรุงแก้ไขพระราชบัญญัติการสาธารณสุข (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2560 โดยลงประกาศ ใน ราชกิจจานุเบกษาแล้ว เมื่อวันที่ 22 มิถุนายน 2560 และมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 19 ธันวาคม 2560 เป็นต้น ไป ซึ่งพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 มาตรา 17/1 ได้กำหนดให้มีคณะกรรมการสาธารณสุข จังหวัด เพื่อเป็นกลไกหลัก ขับเคลื่อนการบังคับใช้กฎหมาย และการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมใน ระดับพื้นที่โดยตรง ปีงบประมาณ 2566 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี โดยกลุ่มงานอนามัยสิ่งแวดล้อม และอาชีวอนามัย ได้จัดทำโครงการสนับสนุนกลไกการบังคับใช้กฎหมายสาธารณสุข จังหวัดสุพรรณบุรี ปีงบประมาณ 2566 ขึ้น เพื่อขับเคลื่อนการดำเนินงานด้านสิ่งแวดล้อมได้อย่างมีประสิทธิภาพ อันจะเป็น ประโยชน์ในการคุ้มครองประชาชนด้านการสาธารณสุขและอนามัยสิ่งแวดล้อม เพื่อให้การดำเนินงานด้าน อนามัยสิ่งแวดล้อมและการขับเคลื่อนกฎหมายมีความสอดคล้องกับนโยบายและโครงการสำคัญของกรม อนามัย และเพื่อให้การดำเนินงานตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม มี ประสิทธิภาพและเป็นไปในแนวทางเดียวกันต่อไป 1.2 ปัญหาพื้นที่เชิงคุณภาพ ( ระบุพื้นที่ / กลุ่มเป้าหมาย ) การจัดการสิ่งแวดล้อมเป็นสิ่งสำคัญที่ต้องมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง โดยต้องเริ่มต้นในสถาน บริการสาธารณสุขของรัฐเพื่อเป็นตัวอย่างในการพัฒนาและขยายไปสู่ส่วนราชการอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมทั้ง ประชาชนเข้าร่วมดำเนินการ ส่งเสริม สนับสนุนซึ่งกันและกัน จะทำให้ผลกระทบที่เกิดจากการกระทำ ของมนุษย์ต่อสิ่งแวดล้อมซึ่งจะย้อนมามีผลต่อสุขภาพประชาชนโดยรวม ดังนั้น ทิศทางการดำเนินงานอนามัยสิ่งแวดล้อมของภาครัฐ กำหนดการพัฒนาโรงพยาบาล ศูนย์ โรงพยาบาลทั่วไป โรงพยาบาลชุมชน และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม ให้ได้ตามเกณฑ์GREEN & CLEAN Hospital Challenge (GCH) และเกณฑ์ GREEN & CLEAN Sub-district


Page| 90 แผนปฏิบัติราชการด้านสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ประจำปีงบประมาณ 2566 Health Promoting Hospital (GCSh) ของจังหวัดสุพรรณบุรี ในปีงบประมาณ 2566 กำหนดเป้าหมาย ให้โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ร้อยละ 10 และในส่วนโรงพยาบาลพัฒนายกระดับให้เป็นระดับความเป็น เลิศ ร้อยละ 30 ซึ่งจำเป็นต้องพัฒนาองค์ประกอบเพิ่มขึ้นอีก 4 ด้าน โดยองค์ประกอบแรก คือ การ จัดบริการอาชีวอนามัยและเวชกรรมสิ่งแวดล้อมสำหรับโรงพยาบาล (ระดับดีขึ้นไป) องค์ประกอบที่สอง คือ การจัดการของเสียทางการแพทย์ (Medical Waste Management) องค์ประกอบที่สาม คือการ จัด การพลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ และองค์ประกอบที่สี่ คือการพัฒนาโรงพยาบาลคาร์บอนต่ำและเท่าทัน การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Low Carbon and Climate Resilient Health Care) ซึ่งทั้งสี่องค์ประกอบ ส่งผลให้ประชาชนได้รับบริการที่ครอบคลุมมากยิ่งขึ้น พัฒนาศักยภาพของโรงพยาบาล เพิ่มขีดความสามารถ ตามมาตรฐานการพัฒนาด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมที่กำหนด 2. สรุปปัญหาที่สำคัญ สถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ส่งผลกระทบในภารกิจหลัก และสิ่งที่ต้องส่งเสริม สนับสนุนเพื่อให้กลไกดำเนินการไปได้ตามวัตถุประสงค์ และสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลง ไป ซึ่งเป็นปัญหา อุปสรรคในการดำเนินงานที่ต้องมาทบทวนกระบวนการทำงานใหม่ เพื่อปรับกลวิธี กระบวนงาน โดยใช้การทำงานร่วมกันระหว่างภาคีเครือข่ายกฎหมายและหน่วยงานต่างๆ ในการแก้ไขปัญหา ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมและการบังคับใช้กฎหมาย 3. เป้าประสงค์ 3.1 เพื่อเสริมสร้างศักยภาพของคณะกรรมการสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรีให้เกิดการขับเคลื่อนการ ดำเนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพตามบทบาทและหน้าที่ 3.2 เพื่อให้เกิดกลไกการดำเนินงานของคณะกรรมการสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรีในการสนับสนุน การบังคับใช้กฎหมายสาธารณสุขในการออกเทศบัญญัติ ข้อบัญญัติขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการ จัดการปัญหาด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมและการคุ้มครองสุขภาพของประชาชน 3.3 เครือข่ายระดับอำเภอมีแนวทางในการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อแก้ไขปัญหามลพิษด้านอนามัย สิ่งแวดล้อมตามบทบาทหน้าที่ 4. เป้าหมายตัวชี้วัด 4.1 คณะกรรมการสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี มีการประชุมหรือกลไกการดำเนินการสนับสนุน การบังคับใช้กฎหมายสาธารณสุข 4.2 เครือข่ายได้รับการสนับสนุนการบังคับใช้กฎหมายสาธารณสุข โดยคณะกรรมการสาธารณสุข จังหวัดสุพรรณบุรี


ตัวชี้วัด แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก/กิจกรรมย่อย วัตถุประสงค์ ค่าเป้าหมายตัวชี้วัด พื้นที่เป้าหมาย กลุ่มเป้าหมา ส่วนที่ 2 แผนปฏิบัติการและแผนสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ปี 2566 จ านวนหน่วยนับ โครงการสนับสนุนกลไกการบังคับใช้กฎหมาย สาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี ปี 2566 มาตรการที่ 1 : ส่งเสริม สนับสนุน ขับเคลื่อน การบังคับใช้กฏหมายสาธารณสุข ในคณะกรรมการสาธารณสุขจังหวัด กิจกรรมที่ 1.1 ประชุมคณะกรรมการ เพื่อขับเคลื่อนการด าเนินงาน จังหวัดสุพรรณบุรี คณะกรรมกา สาธารณสุขจังหวัด อย่างมีประสิทธิภาพและเป็นไป สาธารณสุขจังห ตามบทบาทหน้าที่ สุพรรณบุรี กิจกรรมที่ 1.2 ติดตามเหตุร้องเรียนร าคาญ สามารถแก้ปัญหาด้านมลพิษ 10 อ าเภอ อปท., รพ. กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และสิ่งแวดล้อมเป็นไปด้วย ของ จ.สุพรรณบุรี สสอ. ความเรียบร้อย กิจกรรมที่ 1.3 ประสานงาน ติดตาม เพื่อขับเคลื่อนการด าเนินงาน 10 อ าเภอ จพง.สาธารณ การพัฒนาศักยภาพเครือข่ายระดับอ าเภอ ของบุคลากรระดับอ าเภอ ของ จ.สุพรรณบุรี จพ.ง.ท้องถิ่น ในการตรวจสอบข้อร้องเรียนและแก้ปัญหา อย่างมีประสิทธิภาพและเป็นไป ตามบทบาทหน้าที่ กิจกรรมที่ 1.4 ร่วมตรวจสอบ ติดตาม เพื่อมิให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพ 10 อ าเภอ โรงแรม ตรวจหอพักและโรงแรม ตามพรบ.ฯ พ.ศ.2535 ต่อผู้อยู่อาศัยและถูกสุขลักษณะ ของ จ.สุพรรณบุรี หอพัก และที่แก้ไข้พิ่มเติม พ.ศ.2560 หมวด 4 ในจังหวัดสุพร มาตรา 21 และ 22 รวมงบประมาณบังคับใช้กฎหมาย 9


Non-UC Non UC PP กองทุน อื่นๆ สป. กรม/กอง/ เบิกจ่ายแทน กัน basic services สุขภาพต าบล เงินบ ารุง/อบจ ,/งบจังหวัด/ PPA/สสส. เม.ย - มิ.ย าย ต.ค. - ธ.ค. ม.ค. - มี.ค ก.ค. - ก.ย. แหล่งงบประมาณ/จ านวนงบประมาณ งบประมาณ รวมทั้งสิ้น ระยะเวลาด าเนินการ/งบประมาณ รหัสงบ าร - 21,375 - 21,375 21,375 เงินบ ารุง หวัด รี . 600 600 600 600 2,400 2,400 เงินบ ารุง ณสุข - น - รรณ 600 21,975 600 600 - - - - 23,775 23,775 1


Page| 92 แผนปฏิบัติราชการด้านสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ประจำปีงบประมาณ 2566 แผนงาน : การบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม แผนงานย่อย: แผนปฏิบัติราชการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม โครงการพัฒนาศักยภาพและประเมินคุณภาพบริการอนามัยสิ่งแวดล้อมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 1. สถานการณ์ปัญหา 1.1 Base line data องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นหน่วยงานที่มีบทบาทสำคัญในการดูแลชีวิตความเป็นอยู่ของ ประชาชนในพื้นที่ โดยเฉพาะการจัดการปัญหาสิ่งแวดล้อม ซึ่งอาศัยพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ.2535 และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2560 ซึ่งเป็นพระราชบัญญัติที่ควบคุมดูแลเกี่ยวกับการอนามัยสิ่งแวดล้อม เพื่อคุ้มครองประชาชนด้านสุขภาพ โดยครอบคลุมการดำเนินกิจการต่าง ๆที่เกี่ยวข้องกับการสาธารณสุขของ ประชาชน ตั้งแต่ระดับครัวเรือน ชุมชน ตลอดจนกิจการขนาดเล็ก และขนาดใหญ่ ในการออกข้อกำหนด ท้องถิ่น เพื่อใช้บังคับในการตรวจสอบควบคุมดูแล รวมถึงการดำเนินกิจกรรมต่างๆ ให้บรรลุเจตนารมณ์และ เป็นไปตามขอบเขตของกฎหมาย การรับรองคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อมขององค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น Environmental Health Accreditation เป็นกลไกและเครื่องกระตุ้นให้เกิดการพัฒนาระบบบริการ อนามัยสิ่งแวดล้อมของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอย่างเป็นระบบทั้งองค์กร ทำให้องค์กรเกิดการเรียนรู้ มี การประเมินและพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้การดำเนินงานอนามัยสิ่งแวดล้อมขององค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น มีคุณภาพและยั่งยืน อันจะนำไปสู่การลดความเสี่ยง ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม และสร้างหลักประกัน ให้แก่ประชาชนที่จะได้รับการคุ้มครองด้านการบริการอนามัย สิ่งแวดล้อมอย่างมีคุณภาพ เป็นการส่งเสริม พัฒนาคุณภาพชีวิตและความเป็นอยู่ของชุมชนให้ดีขึ้น จังหวัดสุพรรณบุรีมีจำนวนเทศบาลเมือง 2 แห่ง เทศบาลตำบล 44 แห่ง และอบต.จำนวน 80 แห่ง รวมทั้งหมด 126 แห่ง ปี 2565 มีจำนวนเทศบาลผ่านระดับเกียรติบัตรจำนวน 5 แห่งและผ่าน ระดับพื้นฐาน จำนวน 12 แห่ง เพิ่มผลงานปี2565 จำนวน 14 แห่ง ผลงานสะสมคิดเป็นร้อยละ70 1.2 ปัญหาพื้นที่เชิงคุณภาพ (สาเหตุ/ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง) ปัญหาสิ่งแวดล้อมเป็นปัญหาสำคัญในโลกปัจจุบันซึ่งเป็นผลโดยตรงจากการกระทำของ มนุษย์ความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยีที่มีมากขึ้นอีกทั้งมีการพัฒนากระบวนการผลิตทางด้านอุตสาหกรรม เพื่อผลิตสินค้าอุปโภคบริโภคซึ่งกระบวนการผลิตนี้ก่อให้เกิดของเสียออกมาปัญหาสิ่งแวดล้อมสามารถเกิดขึ้น ทุกพื้นที่โดยฉพาะที่ประชากรอาศัยอยู่หนาแน่นส่งผลทำให้วิถีชีวิตและความเป็นอยู่ของประชาชน เกิดการเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมจนมีผลกระทบโดยตรงต่อประชาชน ดังนั้น ทิศทางการดำเนินงานอนามัยสิ่งแวดล้อมของภาครัฐและอนามัยส่วนท้องถิ่น จำเป็นต้องปรับกระบวนทัศน์จากเดิมที่หน่วยงานภาครัฐเป็นผู้กำหนดแนวทางและดำเนินการจัดบริการให้ ประชาชนเป็นหลักแต่ฝ่ายเดียว เปลี่ยนไปเป็นการเสริมสร้างบทบาทและการมีส่วนร่วมของประชาชนในการ ดำเนินงานในพื้นที่ของตัวเอง เพิ่มศักยภาพและขีดความสามารถให้กับชุมชนและท้องถิ่นในการเฝ้าระวัง


Page| 93 แผนปฏิบัติราชการด้านสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ประจำปีงบประมาณ 2566 ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อม ควรมีการเตรียมการเชิงรุก โดยปรับปรุงระบบการสุขาภิบาล สิ่งแวดล้อมขององค์การบริหารส่วนท้องถิ่น และกำกับดูแล รับรองมาตรฐานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม 1.3 ข้อมูลหรือปัญหาของกระบวนการทำงาน แม้ว่าพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 และกฎหมายที่เกี่ยวข้องหลายฉบับได้ให้ อำนาจองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและภาครัฐในการควบคุมกำกับเพื่อคุ้มครองสุขภาพประชาชน แต่ยัง ประสบปัญหาการบริหารการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมให้เป็นไปตามกฎหมาย เนื่องจากขาดบุคลากรที่มี ความรู้และทักษะเฉพาะด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมและการใช้กฎหมาย หน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้องจึงจำเป็นต้อง ให้การสนับสนุนด้านเทคนิคและวิชาการ ส่งเสริมให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างท้องถิ่นที่ดำเนินการได้ดี และส่งเสริมให้เกิดนวัตกรรมท้องถิ่นและชุมชนในการแก้ไขปัญหาตามบริบทของพื้นที่ตนเอง สนับสนุนการ สร้างเครือข่ายเพื่อลดข้อจำกัดด้านบุคลาการและงบประมาณ 2. สรุปปัญหาที่สำคัญ ปัญหาด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมที่เป็นปัญหาที่ท้าทายในปัจจุบันและแนวโน้มในอนาคต อัน เนื่องมาจากบริบทที่เปลี่ยนแปลงไป ซึ่งข้อบัญญัติท้องถิ่น ควรมีการทบทวนกฎหมายให้มีความทันสมัย และ การบังคับใช้กฎหมายที่มีอยู่อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อเตรียมการป้องกันและแก้ไขปัญหาอนามัยสิ่งแวดล้อมที่ อาจเกิดขึ้นจากโครงการหรือกิจกรรมและการจัดบริการในรูปแบบต่าง ๆในอนาคตเพื่อให้ประชาชนเข้าถึง บริการขั้นพื้นฐานที่มีคุณภาพและได้รับประโยชน์จากการพัฒนาอย่างทั่วถึงและเป็นธรรมตามที่กฎหมาย กำหนด 3. เป้าประสงค์ ประชาชนและหมู่บ้าน/ชุมชน มีการจัดการสิ่งแวดล้อมที่ดี ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการ จัดการสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน และได้รับบริการอนามัยสิ่งแวดล้อมที่มีคุณภาพและเป็นธรรมส่งผลให้มีคุณภาพ ชีวิตที่ดี 4. เป้าหมายและตัวชี้วัด ร้อยละขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นพัฒนาคุณภาพอนามัยสิ่งแวดล้อมที่มีประสิทธิภาพ (ร้อยละ25)


ตัวชี้วัด แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก/กิจกรรมย่อย วัตถุประสงค์ ค่าเป้าหมายตัวชี้วัด พื้นที่เป้าหมาย กลุ่มเป้าหมา ส่วนที่ 2 แผนปฏิบัติการและแผนสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ปี 2566 จ านวนหน่วยนับ โครงการการพัฒนาศักยภาพและประเมินคุณภาพบริการ อนามัยสิ่งแวดล้อมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัดสุพรรณบุรี ปี 2566(EHA) กิจกรรมที่ 1 ติดตามเครือข่าย 1.เพื่อสร้างความเข้มแข็ง ส่งเสริมและ เทศบาล/อบต, เทศบาล/อบต. อปท.เป้าหมายใหม่/ต่ออายุเพื่อให้เกิด สนับสนุนภาคีเครือข่าย ในจังหวัดสุพรรณบุรี ความร่วมมือในการด าเนินงาน ให้สามารถด าเนินงานพัฒนาสิ่งแวดล้อม ที่เอื้อต่อการมีสุขภาพดี 2.เพื่อเกิดความร่วมมือกับภาคีเครือข่าย กิจกรรมที่ 2 ประเมินคุณภาพบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม ในทุกระดับตั้งแต่ระดับนโยบายถึง เทศบาลทุกแห่ง เทศบาล/อบต. ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น(EHA) ระดับปฏบัติงาน กิจกรรมที่ 3 ประกาศเกียรติคุณระดับเกียรติบัตรรับรอง รวมงบประมาณอนามัยสิ่งแวดล้อม 9


Non-UC Non UC PP กองทุน อื่นๆ สป. กรม/กอง/ เบิกจ่ายแทน กัน basic services สุขภาพต าบล เงินบ ารุง/อบจ ,/งบจังหวัด/ PPA/สสส. เม.ย - มิ.ย าย ต.ค. - ธ.ค. ม.ค. - มี.ค ก.ค. - ก.ย. แหล่งงบประมาณ/จ านวนงบประมาณ งบประมาณ รวมทั้งสิ้น ระยะเวลาด าเนินการ/งบประมาณ รหัสงบ 4


Page| 95 แผนปฏิบัติราชการด้านสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ประจำปีงบประมาณ 2566 แผนงาน : การบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม แผนงานย่อย: แผนปฏิบัติราชการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม โครงการส่งเสริมสนับสนุนและพัฒนายกระดับสถานที่จำหน่ายอาหารตามเกณฑ์มาตรฐานกรมอนามัย ในพื้นที่จังหวัดสุพรรณบุรี ปีงบประมาณ 2566 1. สถานการณ์ปัญหา 1.1 Base line data อาหาร เป็นหนึ่งในปัจจัย 4 ที่มีควาจำเป็นขั้นพื้นฐานสำหรับการดำรงชีวิตของมนุษย์ ซึ่งต้องการอาหารทุกวันเพื่อให้ร่างกายเจริญเติบโต ซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอ ให้พลังงานและความอบอุ่นต่อ ร่างกาย ช่วยให้อวัยวะต่างๆ ภายในร่างกายทำงานได้ตามปกติ ช่วยเสริมสร้างภูมิต้านทานโรคให้แก่ร่างกาย และช่วยรักษาสมดุลต่างๆ ของร่างกาย ให้เป็นปกติสามารถดำรงชีวิตอยู่อย่างมีความสุข ดังนั้น ผู้ประกอบ กิจการที่เกี่ยวข้องกับอาหาร และผู้สัมผัสอาหาร จำเป็นต้องจัดบริการอาหารให้ถูกหลักสุขาภิบาลอาหาร เพื่อให้ผู้บริโภคได้รับประทานอาหารที่สะอาด ปลอดภัย ซึ่งความปลอดภัยในอาหารนั้นเป็นสิ่งที่สามารถ ควบคุมกำกับได้จากการกระทำของผู้เกี่ยวข้อง เช่น อันตรายจากด้านกายภาพที่เกิดจากสิ่งแปลกปลอม ปนเปื้อนมากับอาหาร อันตรายจากด้านเคมีที่เกิดจากสารเคมีที่มีอยู่ในวัตถุดิบที่นำมาปรุงประกอบอาหาร และอันตรายจากด้านชีวภาพที่เกิดจากสิ่งมีชีวิตที่ปนเปื้อนในอาหาร ได้แก่ เชื้อแบคทีเรีย ไวรัส จุลินทรีย์ หนอน พยาธิต่างๆ ที่ปนเปื้อนในอาหาร ปัจจุบันกระทรวงสาธารณสุข ได้ประกาศยกเลิกให้โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) จากการเป็นโรคติดต่ออันตราย พร้อมทั้งกำหนดให้เป็นโรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวัง ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2565 เป็นต้นไป และกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ได้กำหนด KPI Template ตัวชี้วัดภายใต้แผนปฏิบัติการ กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566 ตามโครงการพัฒนาและยกระดับระบบการจัดการสุขาภิบาล อาหารและอนามัยสิ่งแวดล้อม เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการท่องเที่ยวในทุกจังหวัดของประเทศไทย โดย มุ่งเน้นเป้าหมายในการพัฒนายกระดับสถานที่จำหน่ายอาหารตามเกณฑ์มาตรฐานของกรมอนามัย กระทรวง สาธารณสุข ได้แก่ ร้านจำหน่ายอาหาร แผงลอยจำหน่ายอาหาร ตลาดสด ตลาดนัด อาหารริมบาทวิถี เพื่อให้ประชาชนได้บริโภคอาหารที่สะอาดปลอดภัย มีสุขภาพดีพร้อมทั้งเกิดการขับเคลื่อนทางด้านเศรษฐกิจ สังคม และการท่องเที่ยวต่อไป สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสนับสนุนและพัฒนา ยกระดับสถานที่จำหน่ายอาหารตามเกณฑ์มาตรฐานกรมอนามัย ในพื้นที่จังหวัดสุพรรณบุรี ปีงบประมาณ 2566 เพื่อให้สถานที่จำหน่ายอาหารทุกประเภทได้รับการพัฒนายกระดับตามเกณฑ์มาตรฐาน และได้รับป้าย รับรองมาตรฐานจากกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข และเพื่อส่งเสริมสนับสนุนการดำเนินงานด้าน สุขาภิบาลอาหารของเจ้าหน้าที่ในระดับอำเภอ ตำบล และภาคีเครือข่ายทั้งจากภาครัฐ เอกชน องค์กรปกครอง


Page| 96 แผนปฏิบัติราชการด้านสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ประจำปีงบประมาณ 2566 ส่วนท้องถิ่น ชมรมต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการจำหน่ายอาหาร โดยมีพื้นที่เป้าหมายการดำเนินงานในทุกพื้นที่ของ 10 อำเภอในพื้นที่จังหวัดสุพรรณบุรี ซึ่งจากการสรุปและวิเคราะห์ข้อมูลผลการดำเนินงานด้านสุขาภิบาล อาหารในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 พบว่า ตลาดสดที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน “ตลาดสดน่าซื้อวิถีใหม่” ตาม เกณฑ์มาตรฐานที่กรมอนามัยได้ปรับปรุงขึ้นใหม่ เนื่องจากสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในพื้นที่จังหวัดสุพรรณบุรีมีเพียงแห่งเดียวคือ “ตลาดสดเมืองทอง ดอนเจดีย์” ซึ่งเป็นพื้นที่ต้นแบบใน การพัฒนายกระดับตามเกณฑ์มาตรฐานตลาดสดน่าซื้อวิถีใหม่ แห่งแรกของจังหวัดสุพรรณบุรี และเป็น 1 ใน 2 แห่งที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานดังกล่าวในกลุ่ม 8 จังหวัดภาคกลาง-ตะวันตก สำหรับตลาดนัด ส่วนใหญ่ยัง ไม่ได้รับการพัฒนายกระดับตามเกณฑ์มาตรฐาน เนื่องจากเจ้าของตลาดนัดเป็นภาคเอกชน ยังไม่ได้ยื่นขอ อนุญาตประกอบการกิจการจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ขาดความรู้ความเข้าใจในการพัฒนาตามเกณฑ์ มาตรฐาน และจำนวนผู้ขายของในตลาดนัดมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาตามสถานการณ์การะบาดของโรคโค วิด-19 และสภาพเศรษฐกิจ ทำให้ยากต่อการให้ความรู้และความตระหนักในการเข้ารับการอบรมตามหลักการ สุขาภิบาลอาหาร สำหรับสูตรผู้สัมผัสอาหาร ส่วนผู้ประกอบการจำหน่ายอาหารในร้านอาหารและอาหารริม บาทวิถี ในรอบ 2-3 ปีที่ผ่านมา ได้รับผลกระทบจากการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 และภาวะ เศรษฐกิจทำให้ต้องปิด/หยุดกิจการชั่วคราวหลายแห่ง ส่งผลให้สถานประกอบการจำหน่ายอาหารบางแห่ง ไม่ได้รับการประเมินผลการการพัฒนายกระดับตามเกณฑ์มาตรฐานด้านสุขาภิบาลอาหาร /การตรวจประเมินฯ เพื่อต่ออายุป้าย CFTG ตามกฎกระทรวงสุขลักษณะของสถานที่จำหน่ายอาหาร พ.ศ. 2561 จากภาครัฐและ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่เกี่ยวข้อง 2. สรุปปัญหาที่สำคัญ บุคคล ซึ่งได้แก่ผู้ประกอบการจำหน่ายอาหารและผู้สัมผัสอาหาร (ผู้เตรียม ผู้ปรุง ผู้เสิร์ฟ ผู้มี หน้าที่เก็บ/ล้างภาชนะต่างๆ และผู้มีหน้าที่ลำเลียงขนส่งอาหาร) เป็นผู้มีหน้าที่ในการป้องกัน ควบคุม กำกับ มิให้อาหารเกิดการปนเปื้อนทั้งด้านสิ่งแวดล้อม สารเคมี และด้านชีวภาพ ดังนั้น เพื่อให้ผู้บริโภคได้รับ ประทานอาหารที่สะอาดปลอดภัย จึงต้องมีการส่งเสริมสนับสนุนและพัฒนายกระดับความรู้ พฤติกรรมของผู้ สัมผัสอาหารในการปฏิบัติตามเกณฑ์มาตรฐานของสถานที่จำหน่ายอาหารต่างๆ ได้แก่ ร้านอาหาร แผงลอย จำหน่ายอาหาร ตลาดสด ตลาดนัด และอาหารริมบาทวิถี 3. เป้าประสงค์ 3.1 ร้านอาหาร ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน “อาหารสะอาดรสชาติอร่อย” ระดับพื้นฐาน (Clean Food Good Taste) และระดับดีมาก (Clean Food Good Taste Plus) 3.2 แผงลอยจำหน่ายอาหาร ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน “อาหารสะอาดรสชาติอร่อย” ระดับพื้นฐาน (Clean Food Good Taste) 3.3 ตลาดสด ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน "ตลาดสดน่าซื้อวิถีใหม่" (New normal Healthy Market)


Page| 97 แผนปฏิบัติราชการด้านสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ประจำปีงบประมาณ 2566 3.4 ตลาดนัด ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน "ตลาดนัดน่าซื้อ" (Temporary Market) 3.5 อาหารริมบาท ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน "อาหารริมบาทวิถี" (Street Food Good Health) 4. เป้าหมายและตัวชี้วัด 4.1 ร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหาร ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน “อาหารสะอาดรสชาติอร่อย” (Clean Food Good Taste) ระดับพื้นฐาน ร้อยละ 30 4.2 ร้านอาหาร ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน “อาหารสะอาดรสชาติอร่อย” (Clean Food Good Taste) ระดับดีมาก ร้อยละ 3 4.3 ตลาดสด ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน "ตลาดสดน่าซื้อวิถีใหม่" ร้อยละ 100 4.4 ตลาดนัด ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน "ตลาดนัดน่าซื้อ" ร้อยละ 20 4.5 อาหารริมบาท ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน "อาหารริมบาทวิถี" ร้อยละ 80


ตัวชี้วัด แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก/กิจกรรมย่อย วัตถุประสงค์ ค่าเป้าหมายตัวชี้วัด พื้นที่เป้าหมาย กลุ่มเป้าหมา ส่วนที่ 2 แผนปฏิบัติการและแผนสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ปี 2566 จ านวนหน่วยนับ โครงการส่งเสริมสนับสนุนและพัฒนายกระดับ สถานที่จ าหน่ายอาหารตามเกณฑ์มาตรฐาน กรมอนามัย ในพื้นที่จังหวัดสุพรรณบุรี ปีงบประมาณ 2566 กิจกรรมหลักที่ 1 ส่งสริมสนับสนุนการพัฒนา ยกระดับสถานที่จ าหน่ายอาหาร กิจกรรมย่อยที่ 1.1 ประชุมชี้แจงนโยบาย/ตัวชี้วัด เพื่อชี้แจงนโยบายของกระทรวง 1.ร้านอาหาร/แผงลอยฯ ผ่านเกณฑ์ 10 อ าเภอ จนท.ผู้รับผิดชอ แนวทางการด าเนินงานฯ และติดตามผลการ สาธารณสุข/ตัวชี้วัด/แนวทางการ มาตรฐาน CFGTระดับพื้นฐาน ร้อยละ 30 ประธาน/สมาชิ ด าเนินงาน รวม 3 ครั้ง/ปี ด าเนินงานพัฒนายกระดับสถานที่ 2.ร้านอาหาร ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ชมรมฯที่เกี่ยวข้ จ าหน่ายอาหารในปีงบประมาณ 2566 CGFT ระดับดีมาก ร้อยละ 3 3.ตลาดสด ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน "ตลาดสดน่าซื้อวิถีใหม่"ร้อยละ 100 4.ตลาดนัด ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน "ตลาดนัดน่าซื้อ" ร้อยละ 20 5.อาหารริมบาท ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน "อาหารริมบาทวิถี" ร้อยละ 80 กิจกรรมย่อยที่ 1.2 จัดซื้อวัสดุเพื่อสนับสนุนการ เพื่อสนับสนุนการด าเนินการพัฒนา พัฒนายกระดับสถานที่จ าหน่ายอาหาร ดังนี้ ยกระดับสถานที่จ าหน่ายอาหารให้ 1.2.1 ชุดทดสอบโคลิฟอร์มแบคทีเรีย (SI2) บรรลุเป้าหมายตามที่กระทรวงฯก าหนด 1.2.2 ป้ายรับรองมาตรฐาน CFGT ส าหรับร้านอาหาร 1.2.3 ป้ายรับรองมาตรฐาน CFGT ส าหรับแผงลอย จ าหน่ายอาหาร 1.24 ป้ายรับรองมาตรฐาน ตลาดสดน่าซื้อวิถีใหม่ 1.2.5 ใบประกาศรับรองมาตรฐาน ตลาดนัดน่าซื้อ กิจกรรมย่อยที่ 1.3 จัดอบรมผู้ประกอบการ/ เพื่อให้ผู้ประกอบการ/ผู้สัมผัสอาหาร ผู้สัมผัสอาหารและจัดท าเอกสารรับรองให้กับ มีความรู้และการปฏิบัติที่ถูกต้องตาม ผู้ผ่านการอบรมตามหลักสูตรของกรมอนามัย เกณฑ์มาตรฐานด้านสุขาภิบาลอาหาร 1.3.1 ซื้อกระดาษส าหรับท าใบประกาศรับรอง ให้กับผู้ผ่านการอบรมฯ กิจกรรมหลักที่ 2 ก ากับติดตาม ประเมินผล การพัฒนายกระดับสถานที่จ าหน่ายอาหาร 9


Click to View FlipBook Version