The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เล่มแผนปฏิบัติราชการ 2566 ฉบับจริง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by chanatip_min, 2023-07-03 23:36:27

เล่มแผนปฏิบัติราชการ 2566 ฉบับจริง

เล่มแผนปฏิบัติราชการ 2566 ฉบับจริง

Page| 163 แผนปฏิบัติราชการด้านสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ประจำปีงบประมาณ 2566 ฉุกเฉินในโรงพยาบาล การส่งต่อผู้ป่วยฉุกเฉินให้ได้รับการดูแลจนพ้นภาวะฉุกเฉิน(definitive care) นอกจากนี้ ยังมีความจำเป็นต้องคำนึงถึงคุณภาพการปฏิบัติการรายโรคที่มีอุบัติการณ์สูง เช่น โรคหลอดเลือดสมอง (Stroke) โรคหลอดเลือดหัวใจ (STEMI) การบาดเจ็บ(Trauma) โรคติดเชื้อ(Sepsis) หากดำเนินการครอบคลุม ทั้งหมด จะทำให้ประชาชนเข้าถึงบริการการแพทย์ฉุกเฉินครอบคลุมทุกพื้นที่ การดำเนินงานปี 2565 มีชุดปฏิบัติการระดับ ALS 10 ทีม ชุดปฏิบัติการระดับ BLS 10 ทีม ชุด ปฏิบัติการระดับ FR 61 ทีม ประชาชนเข้าถึงบริการการแพทย์ฉุกเฉินผ่านระบบ 1669 ร้อยละ 28.76 (รวม ทุก รพ.) (ร้อยละ 42.31 รพ.ระดับ A,M1) จำนวนเหตุที่ได้รับแจ้ง 18,864 เหตุ จำนวนปฏิบัติการกู้ชีพ 18,872 ปฏิบัติการ จำแนกเป็นบริการระดับ ALS 7,267 เหตุ (38.51) บริการระดับ ILS จำนวน 3 เหตุ (0.02) บริการระดับ BLS จำนวน 5,321 เหตุ (28.20) บริการระดับ FR จำนวน 6,276 เหตุ (33.26) วิธีการแจ้งเหตุ แจ้งผ่านระบบ 1669 จำนวน 16,734 เหตุ ร้อยละ 88.71 ประเภทของเหตุที่ ให้บริการ Non-Trauma จำนวน 10,283 เหตุ (54.50) Trauma จำนวน 3,699 เหตุ (19.60) สัดส่วน ผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤต (แดง) ที่ได้รับปฏิบัติการฉุกเฉินอย่างทันท่วงที (Response Time) ระยะทางภายใน 10 กิโลเมตร ภายใน 8 นาที จำนวน 1,613 เหตุ (31.29) เกิน 8 นาที 3,542 เหตุ (68.71) ระยะทางไปถึง ที่เกิดเหตุภายใน 10 กิโลเมตร จำนวน 9,344 เหตุ (67.72) มีการรักษาและนำส่งโรงพยาบาล จำนวน 16,035 เหตุ (84.97) เสียชีวิตก่อนไปส่งโรงพยาบาล จำนวน 214 ราย (1.13) - ประชากรเป้าหมายจากปี 2565 จากระบบฐานข้อมูล HDC ณ วันที่ 27 ตุลาคม 2565 จำนวน 630,045 คน 1.2 ปัญหาพื้นที่เชิงคุณภาพ (สาเหตุ/ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง) 1.2.1ระบบการแพทย์ฉุกเฉินยังไม่ครอบคลุมประชาชนทุกพื้นที่ เนื่องจาก ท้องถิ่นยังไม่ให้ ความสำคัญ 1.2.2 การขยายทีมปฏิบัติการระดับ FR ยังน้อย ทำให้ปฏิบัติการฉุกเฉินไม่รองรับผู้ป่วยฉุกเฉิน วิกฤตได้ นำสภาพปัญหาที่ได้มาปรับเปลี่ยนมาตรการใหม่ๆ 1.3 ข้อมูล หรือปัญหาของกระบวนการทำงาน 1.3.1 การแพทย์ฉุกเฉินระดับพื้นที่เป็นการดูแลผู้ป่วยนอกโรงพยาบาล ซึ่งอัตรากำลัง รถพยาบาลของโรงพยาบาลมีไม่เพียงพอ 1.3.2 กระบวนการทำงานระบบการแพทย์ฉุกเฉินระดับอำเภอยังไม่ชัดเจนทำให้มีช่องว่าง การพัฒนาเป็นระบบในระดับพื้นที่ 1.3.3 ปฏิบัติการแพทย์ฉุกเฉินของชุดปฏิบัติการบางหน่วยยังไม่ปฏิบัติตามเกณฑ์มาตรฐาน 1.3.4 อัตราการใช้บริการ 1669 ยังไม่ครอบคลุมผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยง


Page| 164 แผนปฏิบัติราชการด้านสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ประจำปีงบประมาณ 2566 2. สรุปปัญหาที่สำคัญ 2.1 หน่วยปฏิบัติการยังมีไม่ครอบคลุมทุกพื้นที่ 2.2 อปท.ยังไม่ให้ความสำคัญกับระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉิน 3. เป้าประสงค์ 3.1 ผู้ป่วยฉุกเฉินได้รับปฏิบัติการฉุกเฉินที่ได้มาตรฐานและมีประสิทธิผลอย่างทั่วถึงและเท่าเทียม 3.2 อัตราการเสียชีวิตจากการบาดเจ็บฉุกเฉินลดลง 3.3 ลดความพิการจากภาวะฉุกเฉิน 4. เป้าหมายและตัวชี้วัด 4.1 ระบบการแพทย์ฉุกเฉินจังหวัดสุพรรณบุรี มีคุณภาพได้มาตรฐาน 4.2 เครือข่ายปฏิบัติการฉุกเฉินระดับอำเภอมีสมรรถนะและศักยภาพในการปฏิบัติการฉุกเฉินระดับชุมชน 4.3 ท้องถิ่นมีส่วนร่วมในการจัดบริการการแพทย์ฉุกเฉินในระดับชุมชน มีการสร้างทีมปฏิบัติการ ฉุกเฉินระดับต้นเพิ่มขึ้นครอบคลุมทุกพื้นที่ 4.4 ประชาชนเข้าถึงบริการการแพทย์ฉุกเฉินครอบคลุมทุกพื้นที่มากกว่าร้อยละ 26.5 4.5 อัตราการเสียชีวิตของผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉิน (triage level 1) ภายใน 24 ชั่วโมง ในโรงพยาบาล ระดับ A,S,M1 (ทั้งที่ ER และ Admit) น้อยกว่าร้อยละ 12 (Trauma < 12 % , Non-trauma <12 %) 4.6 ร้อยละ 100 ของโรงพยาบาล F2 ขึ้นไป ที่มีระบบ ECS คุณภาพ 4.7 ร้อยละ 100 ของโรงพยาบาลศูนย์ผ่านเกณฑ์ ER คุณภาพ 4.8 จำนวนผู้ป่วยที่ไม่ฉุกเฉินในห้องฉุกเฉิน ระดับ 4 และ 5 (Non-trauma) ลดลงร้อยละ 10


ตัวชี้วัด (ระดับจังหวัด) โครงการพัฒนาระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉิน ครบวงจรจังหวัดสุพรรณบุรี ปี 2566 กิจกรรมหลักที่ 1 ขับเคลื่อนกลไกการด าเนินงาน 12, การแพทย์ฉุกเฉิน 1.จัดท าค าสั่งคณะกรรมการการแพทย์ฉุกเฉิน เพื่อรับทราบนโยบายและแนวทาง บุคลากรการ 60 คน ระดับจังหวัด/อ าเภอ การด าเนินงานไปในทิศทางเดียวกัน แพทย์ฉุกเฉิน 2.ประชุมคณะกรรมการการแพทย์ฉุกเฉิน คกก.ระดับจังหวัด ระดับจังหวัด/อ าเภอ ระดับอ าเภอ 3.ประชุมถอดบทเรียนการด าเนินงาน เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้การด าเนิน บุคลากรการ 60 คน การแพทย์ฉุกเฉินจังหวัดสุพรรณบุรี งานการแพทย์ฉุกเฉิน แพทย์ฉุกเฉิน คกก.ระดับจังหวัด กิจกรรมหลักที่ 2 พัฒนามาตรฐานระบบบริการ การแพทย์ฉุกเฉิน กิจกรรมย่อยที่ 2.1 สนับสนุนการด าเนินงาน โรงพยาบาลทุกแห่งผ่านเกณฑ์ รพ. 10 แห่ง พยาบาล ER ECS/ER คุณภาพ ECS/ER คุณภาพ สสอ. 10 อ าเภอ จนท.สสอ. กิจกรรมย่อยที่ 2.2 ทบทวนเกณฑ์และประเมิน จ านวน 40 คน ECS/ER คุณภาพ กิจกรรมย่อยที่ 2.3 จัดท าระบบข้อมูลสารสนเทศ โรงพยาบาลทุกแห่งมีระบบข้อมูล 9, เพื่อสนับสนุนระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินที่มี สารสนเทศรองรับการบริการการ คุณภาพมาตรฐาน แพทย์ฉุกเฉิน กิจกรรมย่อยที่ 2.4 จัดท าแบบบันทึกการรับแจ้ง เพื่อสนับสนุนระบบบระการการแพทย์ เหตุและสั่งการการแพทย์ฉุกเฉิน ฉุกเฉิน -ค่าจัดจ้างเหมาท าแบบบันทึกการรับแจ้งเหตุ โรงพยาบาลทุกแห่ง 10 แห่ง และสั่งการการแพทย์ฉุกเฉิน กิจกรรมหลักที่ 3 พัฒนาศักยภาพการปฏิบัติการ ด้านการแพทย์ฉุกเฉิน กิจกรรมย่อยที่ 3.1 ประเมินหน่วยปฏิบัติการ เพื่อส่งเสริมระบบบริการการแพทย์ โรงพยาบาลทุกแห่ง ระดับ ALS 10 17, ยุทธศาสตร์กระทรวง ที่ 2 Service Excellence แผนงานที่ 7 การพัฒนาระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินครบวงจรและระบบการส่งต่อ โครงการหลักของกระทรวง ที่ 1 โครงการพัฒนาระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินครบวงจรและระบบการส่งต่อ ส่วนที่ 2 แผนปฏิบัติการและแผนสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ปี 2566 จ านวนหน่วยนับ แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก/กิจกรรมย่อย วัตถุประสงค์ ค่าเป้าหมายตัวชี้วัด พื้นที่เป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย ต.ค. - 16


Non-UC Non UC PP กองทุน อื่นๆ สป. กรม/กอง/ เบิกจ่ายแทน กัน basic services สุขภาพต าบล เงินบ ารุง/อบจ ,/งบจังหวัด/ PPA/สสส. ,000 9,000 9,000 18,000 - - - - 48,000 48,000 สพฉ ,000 - 9,000 - - - - - 18,000 18,000 สพฉ 35,000 35,000 70,000 70,000 สพฉ ,000 - 17,000 - - - - - 34,000 34,000 สพฉ ระยะเวลาด าเนินการ/งบประมาณ เม.ย - มิ.ย ธ.ค. ม.ค. - มี.ค ก.ค. - ก.ย. แหล่งงบประมาณ/จ านวนงบประมาณ งบประมาณ รวมทั้งสิ้น รหัสงบ 65


ตัวชี้วัด ส่วนที่ 2 แผนปฏิบัติการและแผนสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ปี 2566 จ านวนหน่วยนับ แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก/กิจกรรมย่อย วัตถุประสงค์ ค่าเป้าหมายตัวชี้วัด พื้นที่เป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย ต.ค. - ตามมาตรฐานระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉิน ฉุกเฉินให้มีมาตรฐาน หน่วยปฏิบัติการ ระดับ BLS 10 กิจกรรมย่อยที่ 3.2 พัฒนาศักยภาพผู้ปฏิบัติงาน เพื่อเสริมสร้างศักยภาพด้านการปฏิบัติ การแพทย์ฉุกเฉิน งานระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉิน กิจกรรมหลักที่ 4 การซ้อมแผนสาธารณภัย กิจกรรมย่อยที่ 4.1 พัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อพัฒนาศักยภาพบุคลากรรองรับ โรงพยาบาลทุกแห่ง บุคลากรที่รับผิด ด้านการปฏิบัติการด้านสาธารณภัย การปฏิบัติการด้านสาธารณภัย ชอบด้านการแพทย์ ฉุกเฉินของ รพ. ทุกแห่ง จ านวน 40 คน กิจกรรมย่อยที่ 4.2 ซ้อมภารกิจปฏิบัติการส าหรับ โรงพยาบาลทุกแห่ง การเผชิญเหตุด้านการแพทย์และสาธารณสุข -สนับสนุนงบประมาณให้โรงพยาบาลทุกแห่ง กิจกรรมหลักที่ 5 ติดตามและประเมินผล กิจกรรมย่อยที่ 5.1 ติดตามการด าเนินงานของ 3, หน่วยปฏิบัติการ หน่วยปฏิบัติการ 25 หน่วย กิจกรรมย่อยที่ 5.2 แลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่าง เพื่อส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้และ โรงพยาบาลทุกแห่ง 30 คน หน่วยปฏิบัติการในแต่ละระดับ ทักษะการบริการการแพทย์ฉุกเฉิน หน่วยปฏิบัติการ 50 คน กิจกรรมย่อยที่ 5.3 สรุปผลการด าเนินงาน เพื่อวิเคราะห์/สังเคราะห์ระบบบริการ โรงพยาบาลทุกแห่ง 30 คน การแพทย์ฉุกเฉิน หน่วยปฏิบัติการ 50 คน รวมงบประมาณ 41, โครงการพัฒนาระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉิน ครบวงจรและระบบส่งต่อ (ระดับจังหวัด) กิจกรรมหลักที่ 1 การพัฒนาระบบบริการการแพทย์ ฉุกเฉินครบวงจรและระบบการส่งต่อ กิจกรรมย่อยที่ 1.1 ประชุมคณะท างาน 1. เพื่อทบทวนผลกาปฏิบัติงานใน สสจ./รพ.10 แห่ง คณะท างานสาขา การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Servive plan) สาขาอุบัติหตุในช่วงปีที่ผ่านมา สสอ. 10 แห่ง อุบัติเหตุและฉุกเฉิน จังหวัดสุพรรณบุรี สาขาอุบัติเหตุและฉุกเฉิน 2. เพื่อทบทวนความเสี่ยงและหา 40 คน แนวทางแก้ไข 16


Non-UC Non UC PP กองทุน อื่นๆ สป. กรม/กอง/ เบิกจ่ายแทน กัน basic services สุขภาพต าบล เงินบ ารุง/อบจ ,/งบจังหวัด/ PPA/สสส. ระยะเวลาด าเนินการ/งบประมาณ เม.ย - มิ.ย ธ.ค. ม.ค. - มี.ค ก.ค. - ก.ย. แหล่งงบประมาณ/จ านวนงบประมาณ งบประมาณ รวมทั้งสิ้น รหัสงบ - 19,000 - - - - - - 19,000 19,000 สพฉ 19,000 - - - - - - 19,000 19,000 สพฉ 100,000 - - - - - - 100,000 100,000 สพฉ ,000 3,000 3,000 3,000 - - - - 12,000 12,000 สพฉ 31,800 - - - - 31,800 31,800 สพฉ 33,400 - - - - 33,400 33,400 สพฉ 000 185,000 38,000 121,200 - - - - 385,200 385,200 66


ตัวชี้วัด ส่วนที่ 2 แผนปฏิบัติการและแผนสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ปี 2566 จ านวนหน่วยนับ แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก/กิจกรรมย่อย วัตถุประสงค์ ค่าเป้าหมายตัวชี้วัด พื้นที่เป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย ต.ค. - 3. เพื่อประเมินผลการปฏิบัติงาน ในช่วงปีที่ผ่านมา และหาแนวทาง ในการพัฒนาปีถัดไป กิจกรรมย่อยที่ 1.2 ประชุมคณะท างานระบบ 1. เพื่อชี้แจงระบบส่งต่อโรค รพศ./รพท./รพช. คณะท างานศสต. ส่งต่อและเครือข่าย Service Plan ที่ส าคัญตามแนวทาง CPG รวม 10 แห่ง หัวหน้า ER 2 ครั้งๆละ 50 คน 2. พัฒนาระบบส่งต่อให้ เชื่อมโยง แพทย์/พยาบาล ระหว่าง รพศ. รพท. และ รพช. สารสนเทศ มีประสิทธิภาพแบบไร้รอยต่อ จ านวน 50 คน รวดเร็วและปลอดภัย กิจกรรมย่อยที่ 1.3 อบรมการใช้เครื่องมือพยาบาล - เพื่อเพิ่มสมรรถนะทักษะการใช้ รพศ./รพท./รพช. พยาบาลส่งต่อ ส่งต่อผู้ป่วย เครื่องมือในการดูแลผู้ป่วยอย่าง รวม 10 แห่ง จ านวน 50 คน 1 ครั้ง 50 คน ถูกต้องและปลอดภัย กิจกรรมย่อยที่ 1.4 ประชุมสัญจรโครงการ 1. เพื่อให้ระบบส่งต่อผู้ป่วยที่มีคุณภาพ พี่เยี่ยมน้อง มีความสมานฉันท์ เอื้ออาทรต่อกัน One Province One Hospital 2. เพื่อให้ผู้รับบริการได้รับการส่งต่อ อย่างปลอดภัย ถูกต้อง เหมาะสม 3. เพื่อลดการส่งต่อออกนอกเขต รวมงบประมาณ รวมแผน การแพทย์ฉุกเฉินและระบบส่งต่อ 41, 16


Non-UC Non UC PP กองทุน อื่นๆ สป. กรม/กอง/ เบิกจ่ายแทน กัน basic services สุขภาพต าบล เงินบ ารุง/อบจ ,/งบจังหวัด/ PPA/สสส. ระยะเวลาด าเนินการ/งบประมาณ เม.ย - มิ.ย ธ.ค. ม.ค. - มี.ค ก.ค. - ก.ย. แหล่งงบประมาณ/จ านวนงบประมาณ งบประมาณ รวมทั้งสิ้น รหัสงบ - - - - - - - - - - 000 185,000 38,000 121,200 - - - - 385,200 385,200 67


ตัวชี้วัด (ระดับจังหวัด) โครงการราชทัณฑ์ปันสุขท าความดีเพื่อชาติศาสตร์กษัตริย์ จังหวัดสุพรรณบุรี ปี 2566 กิจกรรมหลักที่ 1 พัฒนาคุณภาพระบบบริการสุขภาพ เพื่อให้ระบบริหารจัดการเรื่องการ เรือนจ าสุพรรณบุรี เครือข่ายสุขภาพ ส าหรับผู้ต้องขังในเรือนจ า เข้าถึงสิทธิและสิทธิในการเข้ารับ กิจกรรมย่อยที่ 1.1 ทบทวนแต่งตั้งคณะกรรมการและ บริการสาธารณสุขที่มีมาตรฐาน คณะท างานพัฒนาระบบริการสุขภาพส าหรับผู้ต้องขัง และมีประสิทธิภาพ ในเรือนจ าจังหวัดสุพรรณบุรี กิจกรรมย่อยที่ 1.2 ประชุมคณะกรรมการพัฒนาระบบ บริการสุขภาพส าหรับผู้ต้องขังในเรือนจ าจังหวัด สุพรรณบุรี กิจกรรมย่อยที่ 1.3 ประชุมคณะท างานพัฒนาระบบ บริการสุขภาพส าหรับผู้ต้องขังในเรือนจ าจังหวัด สุพรรณบุรี กิจกรรมย่อยที่ 1.4 ประชุมคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพ บริการพยาบาล กิจกรรมย่อยที่ 1.5 โรงพยาบาลแม่ข่ายและพยาบาล ในเรือนจ าร่วมกันด าเนินงานตามกิจกรรม ทั้ง 6 ด้าน กิจกรรมย่อยที่ 1.6 สรุปผลการด าเนินงาน รวมงบประมาณโครงราชทัณฑ์ปันสุข - รวมแผนโครงการพระราชด าริและพื้นที่พิเศษ - ยุทธศาสตร์กระทรวง ที่ 2 Service Excellence แผนงานที่ 8 การพัฒนาตามโครงการพระราชด าริ โครงการเฉลิมพระเกียรติ และโครงการพื้นที่เฉพาะ โครงการหลักของกระทรวง ที่ 1 โครงการพระราชด าริ โครงการเฉลิมพระเกียรติ และโครงการพื้นที่เฉพาะ ส่วนที่ 2 แผนปฏิบัติการและแผนสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ปี 2566 จ านวนหน่วยนับ ระ แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก/กิจกรรมย่อย วัตถุประสงค์ ค่าเป้าหมายตัวชี้วัด พื้นที่เป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย ต.ค. - ธ.ค. 16


Non-UC Non UC PP กองทุน อื่นๆ สป. กรม/กอง/ เบิกจ่ายแทน กัน basic services สุขภาพต าบล เงินบ ารุง/อบจ ,/งบจังหวัด/ PPA/สสส. 1,250 1,250 2,500 2,500 รหัส 82282 3,125 3,125 6,250 6,250 รหัส 82282 1,750 4,500 6,250 6,250 รหัส 82282 6,125 8,875 - - 15,000 - - - 15,000 - 6,125 8,875 - - 15,000 - - - 15,000 - ะยะเวลาด าเนินการ/งบประมาณ เม.ย - มิ.ย ม.ค. - มี.ค ก.ค. - ก.ย. แหล่งงบประมาณ/จ านวนงบประมาณ งบประมาณ รวมทั้งสิ้น รหัสงบ 68


ตัวชี้วัด นโยบายมุ่งเน้น โครงการพัฒนาการแพทย์แผนไทยและ 1. เพื่อยกระดับโรงพยาบาลอู่ทอง การแพทย์ทางเลือก สมุนไพร ภูมิปัญญา ให้ได้รับอนุญาตเป็นสถานที่ผลิต ท้องถิ่น กัญชาทางการแพทย์ และส่งเสริมการ ผลิตภัณฑ์สมุนไพรตามมาตรฐาน ท่องเที่ยวเชิงสุขภาพพื้นที่อ าเภออู่ทอง GMP กิจกรรมหลักที่ 1 พัฒนาการแพทย์แผนไทยและ 2. เพื่อพัฒนาอ าเภออู่ทองให้มีการ การแพทย์ทางเลือก สมุนไพร ภูมิปัญญาท้องถิ่น แพทย์แผนไทยและการแพทย์ทาง กัญชาทางการแพทย์ และส่งเสริมการท่องเที่ยว เลือก สมุนไพร ภูมิปัญญาท้องถิ่น เชิงสุขภาพพื้นที่อ าเภออู่ทอง กิจกรรมย่อยที่ 1 ประชุมคณะท างานแผนพัฒนา ตามนโยบายมุ่งเน้น แพทย์แผนไทยและ การแพทย์ทางเลือก สมุนไพร ภูมิปัญญาท้องถิ่น กัญชาทางการแพทย์ และส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิง สุขภาพพื้นที่อ าเภออู่ทอง กิจกรรมหลักที่ 2 ประชุมขับเคลื่อนการด าเนินงาน จนท.กง 2 คน, พัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก รพ.อู่ทอง 5 คน สมุนไพร ภูมิปัญญาท้องถิ่น กัญชาทางการแพทย์ อพท. 1 คน, และส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพพื้นที่อ าเภออู่ทอง ท้องถิ่น 1 คน, อ.ก.จ. 1 คน พาณิชย์จังหวัด 1 คน เกษตรและสหกรณ์จังหวัด 1 คน, สสอ. 1 คน, มรภ.บ้านสมเด็จ 1 คน ททท 1 คน, เอกชน 2 คน ผู้บริหารสสจ 2 คน นายกอบต.บ้านดอน 2 คน ยุทธศาสตร์กระทรวง ที่ 2 Service Excellence แผนงานที่ 9 อุตสาหกรรมการแพทย์ครบวงจร การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ ความงาม และแพทย์แผนไทย โครงการหลักของกระทรวง ที่ 1 โครงการพัฒนาการท่องเที่ยวสุขภาพและการแพทย์ ส่วนที่ 2 แผนปฏิบัติการและแผนสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ปี 2565 จ านวนหน่วยนับ แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก/กิจกรรมย่อย วัตถุประสงค์ ค่าเป้าหมายตัวชี้วัด พื้นที่เป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย 16


Non-UC Non UC PP กองทุน อื่นๆ สป.กรม/กอง/ เบิกจ่ายแทนกัน basic services สุขภาพต าบล เงินบ ารุง/อบจ,/ งบจังหวัด/PPA/ สสส. 500 500 500 เงินบ ารุง ระยะเวลาด าเนินการ/งบประมาณ เม.ย - มิ.ย ต.ค. - ธ.ค. ม.ค. - มี.ค ก.ค. - ก.ย. แหล่งงบประมาณ/จ านวนงบประมาณ รหัสงบ งบประมาณ รวมทั้งสิ้น 69


ตัวชี้วัด ส่วนที่ 2 แผนปฏิบัติการและแผนสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ปี 2565 จ านวนหน่วยนับ แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก/กิจกรรมย่อย วัตถุประสงค์ ค่าเป้าหมายตัวชี้วัด พื้นที่เป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย รวมทั้งหมด 21 คน กิจกรรมย่อยที่ 2.1 ประชุมเคลื่อนภาคีเครือข่าย การขับเคลื่อน ตามนโยบายฯ กิจกรรมย่อยที่ 2.2 ประชุมภาคีเครือข่าย ก าหนดแนวทาง/พื้นที่/ที่จะด าเนินกิจกรรมฯ กิจกรรมย่อยที่ 2.3 ประชุมภาคีเครือข่ายเพื่อ ติดตามผลด าเนินกิจกรรมฯ กิจกรรมหลักที่ 2.4 ประชุมเพื่อติดตามผลการ ด าเนินงาน วิเคราะห์ปัญหา และอุปสรรค รวมงบประมาณทั้งสิ้น(ท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ) 17


Non-UC Non UC PP กองทุน อื่นๆ สป.กรม/กอง/ เบิกจ่ายแทนกัน basic services สุขภาพต าบล เงินบ ารุง/อบจ,/ งบจังหวัด/PPA/ สสส. ระยะเวลาด าเนินการ/งบประมาณ เม.ย - มิ.ย ต.ค. - ธ.ค. ม.ค. - มี.ค ก.ค. - ก.ย. แหล่งงบประมาณ/จ านวนงบประมาณ รหัสงบ งบประมาณ รวมทั้งสิ้น 3,150 3,150 3,150 เงินบ ารุง - 3,150 3,150 3,150 เงินบ ารุง - 3,150 3150 3,150 เงินบ ารุง - 3,150 3150 3,150 เงินบ ารุง 500 6,300 3,150 3,150 - - - - 13,100 13,100 70


Non-UC สป. - - - - 1.โครงการบริหารจัดการก าลังคนด้านสุขภาพ 2.โครงการ Happy MOPH กระทรวงสาธารณสุขกระทรวงแห่งความสุข สรุบงบประมาณแผน People Excelle แผนงาน 3. People Excellence (บุคลากรเป็นเลิศ) (1 แผนงาน 2 โครงการ) แผนงานที่ 10 : การพัฒนาระบบบริหารจัดการก าลังคนด้านสุขภาพ (2 โครงการ)


Non UC PP กองทุน อื่นๆ กรม/กอง/ เบิกจ่ายแทนกัน basic services สุขภาพต าบล เงินบ ารุง/อบจ,/งบ จังหวัด/PPA/สสส. - - - 569,100 569,100 100.00 - - - 569,100 569,100 - - - 158,100 158,100 27.78 - - - 411,000 411,000 72.22 สัดส่วน ence (บุคลากรเป็นเลิศ) งบประมาณ รวมทั้งสิ้น แหล่งงบประมาณ/จ านวนงบประมาณ


Page| 171 แผนปฏิบัติราชการด้านสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ประจำปีงบประมาณ 2566 แผนงาน : การพัฒนาระบบบริหารจัดการกำลังคนด้านสุขภาพ แผนงานย่อย: แผนปฏิบัติราชการการพัฒนาระบบบริหารจัดการกำลังคนด้านสุขภาพ โครงการบริหารจัดการกำลังคนด้านสุขภาพ 1. สถานการณ์ปัญหา 1.1 Base line data (ประชากรเป้าหมายจากปี 2565) ในปีงบประมาณ 2566 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรีมีบุคลากรทั้งสิ้น จำนวน 5,470 คน มีบุคลากรสายวิชาชีพ 23 สายงาน จำนวน 2,838 คน คิดเป็นร้อยละ 54.26 เมื่อเทียบ กับกรอบอัตรากำลังขั้นสูงของสายวิชาชีพ 1.2 ปัญหาพื้นที่เชิงคุณภาพ (สาเหตุ/ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง) บุคลากรสายวิชาชีพที่ขาดแคน ได้แก่ แพทย์ พยาบาลวิชาชีพ นักรังสีการแพทย์/ เจ้าพนักงานรังสีการแพทย์ โดยสาเหตุของการขาดแคลนเนื่องจากมีการลาออกของบุคลากร และมีภารกิจเพิ่ม มากขึ้น ทำให้ต้องใช้บุคลากรในการปฏิบัติงานมากขึ้น สำหรับตำแหน่งนักรังสีการแพทย์/เจ้าพนักงานรังสี การแพทย์ บุคลากรได้เกษียณอายุราชการแต่ไม่สามารถสรรหาบุคลากรมาทดแทนได้ เนื่องจากสถานศึกษาใน ผลิตบุคลากรดังกล่าวมีน้อย โควตาในการผลิตก็น้อย ทำให้บุคลากรไม่เพียงพอ องค์กรแห่งความสุขที่มีคุณภาพ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขกำหนดให้หน่วยงานมี การขับเคลื่อนการดำเนินงานของกระทรวงสาธารณสุข ให้บรรลุเป้าหมาย “เจ้าหน้าที่มีความสุข” และ ขับเคลื่อนการดำเนินงานองค์กรแห่งความสุขที่เป็นรูปธรรม 1.3 ข้อมูล หรือปัญหาของกระบวนการทำงาน 1.3.1 การพัฒนาประสิทธิภาพกระบวนการทำงานยังไม่ได้คุณภาพเนื่องจากภาระงานมากคนน้อย 1.3.2 การบริหารจัดการกำลังคนด้านสุขภาพในแต่ละระดับยังไม่มีประสิทธิภาพ ไม่มีการ กระจายกำลังคนตามภาระงานที่สำคัญ 1.3.3 การส่งเสริม สนับสนุน และการธำรงรักษากำลังคนด้านสุขภาพยังไม่มีความชัดเจน 1.3.4 ได้รับมอบหมายงานไม่ตรงกับสายงานที่จบมา 2. สรุปปัญหาที่สำคัญ การขาดแคลนบุคลากรในสายงานนักรังสีการแพทย์/เจ้าพนักงานรังสีการแพทย์ นักเทคนิค การแพทย์ พยาบาลวิชาชีพ ซึ่งไม่สามารถสรรหาบุคลากรมาทดแทนได้หลังจากข้าราชการเกษียณอายุราชการ เนื่องจากมีบุคลากรจบมาน้อย ทำให้อนาคตโรงพยาบาลชุมชน ซึ่งมีบุคลากรในสายงานดังกล่าวน้อยอยู่แล้ว จะขาดแคลนบุคลากรในการปฏิบัติงานมากขึ้น


Page| 172 แผนปฏิบัติราชการด้านสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ประจำปีงบประมาณ 2566 3. เป้าประสงค์ 3.1 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี มีบุคลากรเพียงพอต่อการปฏิบัติงาน และเพียงพอต่อ การยกระดับคุณภาพและมาตรฐานบริการสุขภาพ เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการกำลังคนด้านสุขภาพ เพื่อสร้างความเข้มแข็งของระบบสุขภาพ 3.2 เพื่อให้สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรีสามารถนำผลการประเมินดัชนีความสุขของ คนทำงาน (Happinometer) มาใช้ในการพัฒนาองค์กรมีการขับเคลื่อนการดำเนินงานองค์กรแห่งความสุข สู่องค์กรแห่งความสุขอย่างยั่งยืน 4. เป้าหมายและตัวชี้วัด 4.1 ตำแหน่งว่างลดลงเหลือไม่เกินร้อยละ 4 4.2 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี มีองค์กรแห่งความสุขที่มีคุณภาพ จำนวน 2 แห่ง


ตัวชี้วัด (ระดับจังหวัด) โครงการบริหารจัดการก าลังคนด้านสุขภาพ ร้อยละของเขตสุขภาพ ส านักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี ที่มีการบริหารจัดการก าลังคนด้าน ประจ าปีงบประมาณ 2566 สุขภาพ กิจกรรมหลักที่ 1 การบริหารจัดการก าลังคน 1. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหาร ค่าเป้าหมาย ต าแหน่งว่างคงเหลือ ด้านสุขภาพ จัดการก าลังคนด้านสุขภาพ เพื่อสร้าง ไม่เกินร้อยละ 4 กิจกรรมย่อยที่ 1.1 การประชุมคณะกรรมการ ความเข้มแข็งของระบบสุขภาพ สสจ. คณะกรรมการ ด าเนินงานคัดเลือก สรรหาและแต่งตั้งให้ด ารง 2.เพื่อให้มีบุคตลากรเพียงพอต่อการ 100 คน ต าแหน่ง ยกระดับคุณภาพและมาตรฐานบริการ กิจกรรมย่อยที่ 1.2 การประชุมคณะกรรมการ สุขภาพ สสจ. คณะกรรมการ /คณะอนุกรรมการคณะท างานบริหารและ 40 คน พัฒนาก าลังคนด้านสุขภาพ รวมงบประมาณ นโยบายมุ่งเน้น โครงการพัฒนาและยกระดับหน่วยงานในสังกัด สาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรีให้มีสมรรถนะสูง ด้วยแนวทาง 4T มาตรการที่ 1 : การสร้างความไว้วางใจในองค์กร ด้วย Building Trust กิจกรรมที่ 1 : จัดประชุมเชิงปฏิบัติการบุคลากร ในองค์กร "เรื่อง เทคนิคการสร้างพลังแห่งความ ไว้วางใจสู่ความส าเร็จขององค์กร " (Trust Building : ความส าคัญ ข้อดี คุณลักษณะ พฤติกรรมและวิธีส่งเสริมให้เกิด Trust ) กิจกรรมที่ 2 : ส ารวจความคิดเห็นคนในองค์กร ในการสร้างความไว้วางใจซึ่งกันและกันอย่างยั่งยืน จัดกิจกรรมตามผลการส ารวจความต้องการ 1-2 กิจกรรม กิจกรรมที่ 3 : กิจกรรม OD กิจกรรมที่ 4 : สนับสนุน ส่งเสริมวัฒนธรรมใน ส่วนที่ 2 แผนปฏิบัติการและแผนสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ปี 2566 แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก/กิจกรรมย่อย วัตถุประสงค์ จ านวนหน่วยนับ ค่าเป้าหมายตัวชี้วัด พื้นที่เป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย โครงการหลักของกระทรวง ที่ 1 โครงการบริหารจัดการก าลังคนด้านสุขภาพ แผนงานที่ 10 การพัฒนารับบบริหารจัดการก าลังคนด้านสุขภาพ ยุทธศาสตร์กระทรวง ที่ 3 People Excellence 17


Non-UC Non UC PP กองทุน อื่นๆ สป. กรม/กอง/ เบิกจ่ายแทน กัน basic services สุขภาพต าบล เงินบ ารุง/อบจ ,/งบจังหวัด/ PPA/สสส. 500 500 500 1,000 2,500 2,500 เงินบ ารุง 500 500 500 1,000 - - - - 2,500 2,500 77,800 77,800 77,800 เงินบ ารุง ระยะเวลาด าเนินการ/งบประมาณ แหล่งงบประมาณ/จ านวนงบประมาณ งบประมาณ รวมทั้งสิ้น ต.ค. - ธ.ค. ม.ค. - มี.ค เม.ย - มิ.ย ก.ค. - ก.ย. รหัสงบ 73


ตัวชี้วัด ส่วนที่ 2 แผนปฏิบัติการและแผนสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ปี 2566 แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก/กิจกรรมย่อย วัตถุประสงค์ จ านวนหน่วยนับ ค่าเป้าหมายตัวชี้วัด พื้นที่เป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย องค์กรให้มีความต่อเนื่องและเกิดความยั่งยืน เดือนมกราคม : ประเพณีปีใหม่ท าบุญหลวงพ่อหมอ เดือนเมษายน : ประเพณีสงกรานต์ เดือนพฤศจิกายน : จัดงานกีฬาสี มาตรการที่ 2 : การพัฒนาการท างานเป็นทีมสู่ ความเป็นเลิศ กิจกรรมย่อยที่ 1 การพัฒนาบุคลากรตามสมรรถนะ หลัก การท างานเป็นทีม (Teamwork) กิจกรรมย่อยที่ 2 ให้ก าลังใจ/รางวัลการท างานเป็น ทีมที่ประสบความส าเร็จและเป็นที่ยอมรับในวงกว้าง ใบประกาศ ,ความดีความชอบ ฯลฯ มาตรการที่ 3 : การสร้างระบบบริหารจัดการ คนเก่งในองค์กร(Talent Management System) รวมงบประมาณ รวมแผนบริหารจัดการก าลังคน 17


Non-UC Non UC PP กองทุน อื่นๆ สป. กรม/กอง/ เบิกจ่ายแทน กัน basic services สุขภาพต าบล เงินบ ารุง/อบจ ,/งบจังหวัด/ PPA/สสส. ระยะเวลาด าเนินการ/งบประมาณ แหล่งงบประมาณ/จ านวนงบประมาณ งบประมาณ รวมทั้งสิ้น ต.ค. - ธ.ค. ม.ค. - มี.ค เม.ย - มิ.ย ก.ค. - ก.ย. รหัสงบ 77,800 77,800 77,800 เงินบ ารุง - 77,800 77,800 - - - - - 155,600 155,600 500 78,300 78,300 1,000 - - - - 158,100 158,100 74


(ระดับจังหวัด) โครงการ Happy MOPH กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงแห่งความสุข ประจ าปีงบประมาณ 2566 กิจกรรมหลักที่ 1 พัฒนาบุคลากรให้เก่ง ดี มีสุข (กาย ใจ) กิจกรรมย่อยที่ 1.1 พัฒนาบุคลากรก่อนประจ าการ กิจกรรมย่อยที่ 1.1.1 ปฐมนิเทศบุคลากรใหม่ เพื่อให้บุคลากรใหม่ได้รับทราบ บุคลากรใหม่เข้ารับการปฐมนิเทศ สสจ. บุคลากรบรรจุใหม่ นโยบายและผังการบังคับบัญชา ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ทุกสายงาน การประสานของหน่วยงานทุกระดับ 120 คน ในจังหวัดสุพรรณบุรี กิจกรรมย่อยที่ 1.1.2 ปฐมนิเทศข้าราชการใหม่ เพื่อให้ข้าราชการบรรจุใหม่เข้าใจ บุคลากรใหม่เข้ารับการปฐมนิเทศ สสจ. ข้าราชการบรรจุใหม่ กฏระเบียบ เพื่อการประพฤติตนเป็น ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 40 คน ข้าราชการได้อย่างเหมาะสม กิจกรรมย่อยที่ 1.2 พัฒนาบุคลากระหว่าง ประจ าการ กิจกรรมย่อยที่ 1.2.1 การพัฒนาเพื่อสั่งสม เพื่อให้บุคลากรมีความพร้อม สสจ. บุคลากรในสังกัด ความเชี่ยวชาญในสายงาน รับการเปลี่ยนแปลงมีความรู้ ความเชี่ยวชาญและสามารถ พัฒนางานให้ดีขึ้น กิจกรรมย่อยที่ 1.2.2 การพัฒนาบุคลากร เพื่อส่งเสริมการเป็นผู้บริหารมือ บุคลากรผ่านการอบรมไม่น้อยกว่า สสจ. บุคลากรในสังกัด ทางการบริหาร อาชีพ ร้อยละ 80 กิจกรรมย่อยที่ 1.2.3 การพัฒนาบุคลากร เพื่อรองรับการให้บริการตาม บุคลากรผ่านการอบรมไม่น้อยกว่า สสจ. บุคลากรในสังกัด ตามสมรรถนะหลัก (บริการที่ดี service mind) Service Plan และนโนบายมุ่ง ร้อยละ 80 เน้นของหน่วยบริการ กิจกรรมย่อยที่ 1.2.4 ส่งเสริมขวัญก าลังใจ เพื่อก่อให้เกิดองค์กรและบุคคล สสจ. บุคลากรในสังกัด ต้นแบบ ส่วนที่ 2 แผนปฏิบัติการและแผนสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ปี 2566 แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก/กิจกรรมย่อย วัตถุประสงค์ จ านวนหน่วยนับ พื้นที่เป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย ต ค่าเป้าหมายตัวชี้วัด ยุทธศาสตร์กระทรวง ที่ 3 People Excellence แผนงานที่ 10 การพัฒนารับบบริหารจัดการก าลังคนด้านสุขภาพ โครงการหลักของกระทรวง ที่ 2 Happy MOPH กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงแห่งความสุข 17


Non-UC Non UC PP กองทุน อื่นๆ สป. กรม/กอง/ เบิกจ่ายแทน กัน basic services สุขภาพต าบล เงินบ ารุง/อบจ ,/งบจังหวัด/ PPA/สสส. 78,000 78,000 78,000 เงินบ ารุง ระยะเวลาด าเนินการ/งบประมาณ แหล่งงบประมาณ/จ านวนงบประมาณ งบประมาณ ต.ค. - ธ.ค. ม.ค. - มี.ค เม.ย - มิ.ย ก.ค. - ก.ย. รวมทั้งสิ้น รหัสงบ 75


ส่วนที่ 2 แผนปฏิบัติการและแผนสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ปี 2566 แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก/กิจกรรมย่อย วัตถุประสงค์ จ านวนหน่วยนับ พื้นที่เป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย ต ค่าเป้าหมายตัวชี้วัด กิจกรรมย่อยที่ 1.2.5 พิธีพระราชทานเครื่องราช เพื่อให้บุคลากรส านึกในพระมหา หน่วยงานจัดกิจกรรมพิธี สสจ. บุคลากรในสังกัด อิสริยาภรณ์ ประจ าปี 2561-2564 กรุณาธิคุณ แสดงความจงลักษณ์ภักดี ร้อยละ 80 ต่อสถาบันพระมหากษัตริย์ และมีความภูมิใจในอาชีพข้าราชการ กิจกรรมย่อยที่ 1.3 พัฒนาบุคลากรก่อนปลดประจ าการ กิจกรรมย่อยที่ 1.3.1 ปัจฉิมบุคลากรก่อน เพื่อส่งบุคลากรไปเป็นประชาชน บุคลากรผ่านการอบรมไม่น้อยกว่า สสจ. บุคลากรในสังกัด การเกษียณทุกระดับ ผู้สูงอายุที่มีความสุขและมี ร้อยละ 80 คุณภาพ กิจกรรมหลักที่ 2 Happy MOPH กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงแห่งความสุข กิจกรรมที่ 2.1 การประชุมชี้แจงการ เพื่อให้ทุกหน่วยงานด าเนินการ บุคลากรผ่านการอบรมไม่น้อยกว่า สสจ. บุคลากรในสังกัด ขับเคลื่อนองค์กรแห่งความสุขและแนวทาง ขับเคลื่อนกิจกรรมการสร้างสุข ร้อยละ 80 การด าเนินงานตามตัวชี้วัดส าคัญด้าน ขององค์กร และหน่วยงานผ่าน บุคคล ปีงบประมาณ 2564 เกณฑ์ที่ สป. ก าหนด กิจกรรมย่อยที่ 2.2 กิจกรรมการประชุม เพื่อคัดเลือกหน่วยงานที่ผ่าน หน่วยงานมีองค์กรที่ผ่านเกณฑ์องค์กร สสจ. บุคลากรในสังกัด คัดเลือกองค์กรแห่งความสุขที่เป็นเลิศ เกณฑ์มาตรฐานองค์กรแห่ง แห่งความสุขตามเกณฑ์ที่ สป. ก าหนด ของส านักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี ความสุข มี Success Story จ านวน 3 เรื่อง กิจกรรมย่อยที่ 2.2 โครงการเสริมสร้างความ เพื่อเสริมสร้างความรู้ ทางด้านการ บุคลากรผ่านการอบรมไม่น้อยกว่า สสจ. บุคลากรในสังกัด เข้มแข็งทางการเงิน บริหารเงิน การใช่จ่ายเงิน ร้อยละ 80 และการเพิ่มรายได้ กิจกรรมย่อยที่ 2.4 การส่งเสริมประเพณี เพื่อให้บุคลากรส่งเสริมประเพณี บุคลากรเข้าร่วมกิจกรรมไม่น้อยกว่า สสจ. บุคลากรในสังกัด และวัฒนธรรมไทย และวัฒนธรรมไทย ร้อยละ 80 กิจกรรมย่อยที่ 2.5 การจัดสวัสดิการที่เหมาะ เพื่อให้บุคลากรได้รับการจัด บุคลากรมีความพึงพอใจต่อสวัสดิการ สสจ. บุคลากรในสังกัด สมให้บุคลากร สวัสดิการที่เหมาะสม กิจกรรมย่อย 2.6 ส่งเสริมให้เกิดความผูกพัน เพื่อส่งเสริมความผูกพันของ บุคลากรเข้าร่วมกิจกรรมไม่น้อยกว่า สสจ. บุคลากรในสังกัด ต่อองค์กร บุคลากรในองค์กร ร้อยละ 80 รวมงบประมาณโครงการ Happy MOPH 17


Non-UC Non UC PP กองทุน อื่นๆ สป. กรม/กอง/ เบิกจ่ายแทน กัน basic services สุขภาพต าบล เงินบ ารุง/อบจ ,/งบจังหวัด/ PPA/สสส. ระยะเวลาด าเนินการ/งบประมาณ แหล่งงบประมาณ/จ านวนงบประมาณ งบประมาณ ต.ค. - ธ.ค. ม.ค. - มี.ค เม.ย - มิ.ย ก.ค. - ก.ย. รวมทั้งสิ้น รหัสงบ 66,000 66,000 66,000 เงินบ ารุง - - 144,000 - - - - - 144,000 144,000 76


ส่วนที่ 2 แผนปฏิบัติการและแผนสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ปี 2566 แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก/กิจกรรมย่อย วัตถุประสงค์ จ านวนหน่วยนับ พื้นที่เป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย ต ค่าเป้าหมายตัวชี้วัด โครงการสืบสานวัฒนธรรมสายสัมพันธ์สาธารณสุข จังหวัดสุพรรณบุรี ปีงบประมาณ 2566 กิจกรรมที่ 1 จัดหาของที่ระลึกแด่ข้าราชการ เพื่อส่งเสริม ยกย่องเชิดชูเกียรติ สสจ. ขรก. 56 คน พลเรือนสามัญและลูกจ้างประจ าที่ครบ ข้าราชการพลเรือนสามัญและ ลูกจ้างประจ า เกษียณอายุราชการ ลูกจ้างประจ าที่ครบเกษียณอายุ 28 คน ราชการ พกส. 17 คน เพื่อส่งเสริมการสร้างวัฒนธรรม รวม 101 คน องค์กรร่วมกัน รวมงบประมาณโครงการสืบสานวัฒนธรรมฯ รวมงบประมาณแผน HAPPY MOPH 17


Non-UC Non UC PP กองทุน อื่นๆ สป. กรม/กอง/ เบิกจ่ายแทน กัน basic services สุขภาพต าบล เงินบ ารุง/อบจ ,/งบจังหวัด/ PPA/สสส. ระยะเวลาด าเนินการ/งบประมาณ แหล่งงบประมาณ/จ านวนงบประมาณ งบประมาณ ต.ค. - ธ.ค. ม.ค. - มี.ค เม.ย - มิ.ย ก.ค. - ก.ย. รวมทั้งสิ้น รหัสงบ 267,000 267,000 267,000 เงินบ ารุง - - - 267,000 - - - - 267,000 267,000 - - 144,000 267,000 - - - - 411,000 411,000 77


Non-U สป. 4. Governance Excellence (บริหารเป็นเลิศด้วยธรรมาภิบาล) (4 แผนงาน 7 โครงการ) 92 แผนงานที่11 : การพัฒนาระบบธรรมาภิบาลและองค์กรคุณภาพ (2 โครงการ) 1.โครงการประเมินคุณธรรม ความโปร่งใส 2.โครงการพัฒนาองคกรคุณภาพ แผนงานที่12 : การพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศด้านสุขภาพ (2 โครงการ) 2 1.โครงการพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารเทคโนโลยีสุขภาพแห่งชาติ 2 2.โครงการ Smart Hospital แผนงานที่13 : การบริหารจัดการด้านการเงินการคลังสุขภาพ (2 โครงการ) 4 1.โครงการลดความเหลื่อมล าของ 3 กองทุน 2.โครงการบริหารจัดการด้านการเงินการคลัง 4 แผนงานที่14 : การพัฒนางานวิจัยและนวัตกรรมด้านสุขภาพ (1 โครงการ) 5 1.โครงการพัฒนางานวิจัย/นวัตกรรม ผลิตภัณฑ์สุขภาพและเทคโนโลยีทางการแพทย์ 5 แผนงานที่15: โครงการพนื ฐาน 78 1.โครงการสนับสนุนการด าเนินงานตามภารกิจพนื ฐานของส านักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี 78 สรุบงบประมาณแผน Governance Excellence แผนงาน


UC Non UC PP กองทุน อื่นๆ กรม/กอง/เบิกจ่าย แทนกัน basic services สุขภาพต าบล เงินบ ารุง/อบจ,/งบ จังหวัด/PPA/สสส. 21,770 16,800 - - 6,089,122 7,027,692 100.00 14,500 16,800 - - 317,950 349,250 4.97 4,500 - - - 88,650 93,150 10,000 16,800 - - 229,300 256,100 21,000 - - - 9,000 30,000 0.43 21,000 - - - 9,000 30,000 - 40,500 - - - 17,400 57,900 0.82 - 40,500 - - - 17,400 57,900 59,300 - - - - 59,300 0.84 59,300 - - - - 59,300 86,470 - - - 5,744,772 6,531,242 92.94 86,470 - - - 5,744,772 6,531,242 e (บริหารเป็นเลิศด้วยธรรมาภิบาล) งบประมาณ รวมทั งสิ น สัดส่วน แหล่งงบประมาณ/จ านวนงบประมาณ


Page| 178 แผนปฏิบัติราชการด้านสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ประจำปีงบประมาณ 2566 แผนงาน : การพัฒนาระบบธรรมาภิบาลและองค์กรคุณภาพ แผนงานย่อย: แผนปฏิบัติราชการการพัฒนาระบบธรรมาภิบาลและองค์กรคุณภาพ โครงการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส 1. สถานการณ์ปัญหา Base line data ปัญหาการทุจริตถือเป็นปัญหาที่มีผลกระทบต่อความมั่นคง ภาครัฐมีวัฒนธรรมการทำงานที่มุ่ง ผลสัมฤทธิ์และผลประโยชน์ส่วนรวม ตอบสนองความต้องการได้อย่างสะดวก รวดเร็ว โปร่งใส พร้อมปรับตัวให้ ทันต่อการเปลี่ยนแปลง การต่อต้านการทุจริตและประพฤติมิชอบ เป้าหมายให้หน่วยงานภาครัฐมีระบบ ป้องกันและแก้ไขการทุจริตและประชาชนไม่เพิกเฉย ต่อการทุจริตของหน่วยงานภาครัฐ และการมีส่วนร่วม ของประชาชนในการต่อต้านการทุจริต เจ้าหน้าที่ของรัฐเป็นที่เชื่อถือและไว้วางใจได้ (Trusted Public Officers) โดยมีเป้าหมายคือ “ หน่วยงานในสังกัดสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี ปลอดจากการ ทุจริตและประพฤติมิชอบ” มีผลการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงาน มีคะแนนเฉลี่ยไม่ต่ำ กว่าร้อยละ 92 2. สรุปปัญหาที่สำคัญ การยกระดับธรรมาภิบาลของหน่วยงานในสังกัดสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี ในการบริหารจัดการแบบบูรณาการ ปฏิรูปกระบวนการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ให้มีประสิทธิภาพ และบรรลุวัตถุประสงค์ โดยบุคลากรกระทรวงสาธารณสุขสามารถแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตน กับผลประโยชน์ส่วนรวมได้ นอกจากตนเองจะไม่กระทำการทุจริตแล้ว จะต้องไม่อดทนต่อการทุจริตที่เกิดขึ้น ในองค์กร ก้าวข้ามค่านิยมอุปถัมภ์และไม่เพิกเฉยต่อการทุจริต มีความโปร่งใสตรวจสอบได้ มุ่งเน้นการป้องกัน การทุจริตให้เข้มแข็งและมีประสิทธิภาพ ผ่านกระบวนการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงาน ของหน่วยงานภาครัฐ (Integrity and Transparency Assessment : ITA) โดยมีเป้าหมายในการดำเนินงาน ผ่านเกณฑ์การประเมิน(ITA) ร้อยละ 92 ทุกหน่วยงาน อันจะส่งผลถึงภาพลักษณ์ที่ดีขององค์กรและหน่วยงาน ในสังกัดสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี 3. เป้าประสงค์ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรีและหน่วยงานในสังกัดสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด สุพรรณบุรี มีวัฒนธรรมการทำงานที่มุ่งผลสัมฤทธิ์ และผลประโยชน์ส่วนรวม ตอบสนองความต้องการของ ประชาชนได้อย่างสะดวก รวดเร็ว มีความโปร่งใส ปลอดการทุจริตและประพฤติมิชอบ และผ่านเกณฑ์การ ประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส


Page| 179 แผนปฏิบัติราชการด้านสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ประจำปีงบประมาณ 2566 หน่วยงานในสังกัดสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี มีผลการประเมินคุณธรรมและ ความโปร่งใส (Integrity and Transparency Assessment : ITA) ผ่านเกณฑ์การประเมิน ร้อยละ 92 ครบทุกหน่วยงาน จำนวน 21 หน่วยงาน 4. เป้าหมายและตัวชี้วัด


ตัวชี้วัด ยุทธศาสตร์กระทรวง ที่ 4 Governance Excellence แผนงานที่ 11 การพัฒนาระบบธรรมาภิบาลและองค์กรคุณภาพ โครงการหลักของกระทรวง ที่ 1 โครงการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส (ระดับจังหวัด) โครงการ ป้องกัน ปราบปรามการทุจริตประพฤติมิชอบ ปลูกฝังวิธีคิด ปลูกจิตส านึก ให้มี ตัวชี้วัด ที่ 49 และส่งเสริมคุณธรรม จังหวัดสุพรรณบุรี ประจ าปีงบประมาณ วัฒนธรรมและพฤติกรรมซื่อสัตย์ ร้อยละของหน่วยงานในสังกัด พ.ศ.2565 สุจริต ป้องกันการทุจริตและ ส านักงานสาธารณสุข ประพฤติมิชอบ จังหวัดสุพรรณบุรี ผ่านเกณฑ์การ กิจกรรมหลักที่ 1 ประเมิน ITA (ร้อยละ 92) การเพิ่มประสิทธิภาพการป้องกัน การทุจริตแบบบูรณาการ กิจกรรมย่อยที่ 1 อบรมชี้แจงแนวทางการด าเนินงาน สสจ. / รพ./ 30 ป้องกันการทุจริต และการจัดการตามหลักธรรมาภิบาล สสอ. - การรักษาวินัย และเรื่องผลประโยชน์ทับซ้อน รวมงบประมาณโครงการ ITA ส่วนที่ 2 แผนปฏิบัติการและแผนสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ปี 2566 แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก/กิจกรรมย่อย จ านวนหน่วยนับ วัตถุประสงค์ ค่าเป้าหมายตัวชี้วัด พื้นที่เป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย 18


Non-UC Non UC PP กองทุน อื่นๆ สป. กรม/กอง/ เบิกจ่าย แทนกัน basic services สุขภาพ ต าบล เงินบ ารุง/ อบจ,/งบ จังหวัด/ PPA/สสส. 0 4,500 4,500 4,500 0 0 4,500 0 4,500 0 0 0 0 4,500 รหัสงบ แหล่งงบประมาณ/จ านวนงบประมาณ ต.ค. - ธ.ค. ม.ค. - มี.ค ระยะเวลาด าเนินการ/งบประมาณ เม.ย - มิ.ย ก.ค. - ก.ย. งบประมาณ รวมทั้งสิ้น 80


ตัวชี้วัด ส่วนที่ 2 แผนปฏิบัติการและแผนสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ปี 2566 แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก/กิจกรรมย่อย จ านวนหน่วยนับ วัตถุประสงค์ ค่าเป้าหมายตัวชี้วัด พื้นที่เป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย ชื่อโครงการเสริมสร้างและพัฒนาด้านจริยธรรม ร้อยละของหน่วยงานในสังกัด การรักษาวินัย และการป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อน กระทรวงสาธารณสุขผ่านเกณฑ์ ส านักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี ปีงบประมาณ 2565 การประเมิน ITA กิจกรรมที่ 1 ประกวดคนดีศรีสาธารณสุข เพื่อส่งเสริมคุณธรรมและ รพ.สต./สสอ./ คกก/จนท. เรื่องเล่าและหน่วยงานดีเด่น จริยธรรมในบุคลากรและ รพ./สสจ. ที่ร่วมกิจกรรม องค์กร รวม 70 คน กิจกรรมที่ 2 จัดอบรมให้ความรู้ด้าน เพื่อพัฒนาหน่วยงานคุณธรรม สสจ. จนท.สสจ. จริยธรรม การรักษาวินัย และการป้องกัน ของ สสจ.สุพรรณบุรี จ านวน 72 คน ผลประโยชน์ทับซ้อน กิจกรรมที่ 3 รณรงค์ "จิตพอเพียงต้านทุจริต"สสจ. จนท.สสจ. หรือ "โมเดล STRONG" ทุกคน 142 คน รวมงบประมาณโครงการจริยธรรม 18


Non-UC Non UC PP กองทุน อื่นๆ สป. กรม/กอง/ เบิกจ่าย แทนกัน basic services สุขภาพ ต าบล เงินบ ารุง/ อบจ,/งบ จังหวัด/ PPA/สสส. รหัสงบ แหล่งงบประมาณ/จ านวนงบประมาณ ต.ค. - ธ.ค. ม.ค. - มี.ค ระยะเวลาด าเนินการ/งบประมาณ เม.ย - มิ.ย ก.ค. - ก.ย. งบประมาณ รวมทั้งสิ้น 8,750 11,500 20,250 20,250 เงินบ ารุง - 8,750 - 11,500 - 20,250 20,250 81


Page| 182 แผนปฏิบัติราชการด้านสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ประจำปีงบประมาณ 2566 แผนงาน : การพัฒนาระบบธรรมาภิบาลและองค์กรคุณภาพ แผนงานย่อย: แผนปฏิบัติราชการการพัฒนาระบบธรรมาภิบาลและองค์กรคุณภาพ โครงการพัฒนาระบบควบคุมภายในและบริหารความเสี่ยง สำนักงานสาธารณสุข 1. สถานการณ์ปัญหา 1.1 Base line data สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขมีนโยบายให้หน่วยงานในสังกัดได้รับการตรวจสอบภายใน 100% ครอบคลุมทุกระดับ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี ได้มีการตรวจสอบภายในหน่วยงานใน สังกัดทั้งในระดับจังหวัด และระดับอำเภอ อย่างต่อเนื่องเป็นประจำทุกปี โดยได้มีการกำหนดรูปแบบระบบ การตรวจสอบภายในการควบคุมภายใน และการบริหารความเสี่ยงของทุกหน่วยงานให้เป็นไปตาม กระบวนการที่สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขกำหนด 2. สรุปปัญหาที่สำคัญ 2.1 หน่วยงานขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับระบบควบคุมภายในด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (Electronics Internal Audit : EIA) 2.2 หน่วยงานในสังกัดไม่ผ่านเกณฑ์ในการประเมินระบบควบคุมภายใน และการบริหารความเสี่ยง 2.3 หน่วยงานขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดวางระบบควบคุมภายใน 3. เป้าประสงค์ 3.1 เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการพัฒนาระบบควบคุมภายในและบริหารความเสี่ยง สำนักงาน สาธารณสุขจังหวัด และเครือข่ายบริการสุขภาพในทุกระดับ 4. เป้าหมายและตัวชี้วัด เป้าหมาย 1.ระบบควบคุมภายในและบริหารความเสี่ยงมีประสิทธิภาพ คุณธรรม โปร่งใส ตรวจสอบได้ 2.หน่วยรับตรวจของจังหวัดสุพรรณบุรี จำนวน 20 แห่ง มีกระบวนการกำกับดูแลตนเองที่ดี สามารถดำเนินงานบรรลุผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์ที่กำหนด ตัวชี้วัด 1.ร้อยละ 49 ของหน่วยงานในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขผ่านเกณฑ์การประเมิน ITA 2.ร้อยละ 50 ของหน่วยงานภายในกระทรวงสาธารณสุขผ่านเกณฑ์การประเมินระบบการตรวจสอบ ภายใน การควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยง


ตัวชี้วัด ส่วนที่ 2 แผนปฏิบัติการและแผนสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ปี 2566 แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก/กิจกรรมย่อย จ านวนหน่วยนับ วัตถุประสงค์ ค่าเป้าหมายตัวชี้วัด พื้นที่เป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย โครงการพัฒนาระบบควบคุมภายในและ ร้อยละของส่วนราชการและ บริหารความเสี่ยง ส านักงานสาธารณสุข หน่วยงานสังกัดกระทรวง จังหวัดสุพรรณบุรี ปีงบประมาณ 2565 สาธารณสุขผ่านเกณฑ์ กิจกรรมที่ 1 ประชุมคณะกรรมการตรวจ เพื่อติดตามผลการด าเนินงาน การตรวจสอบและประเมินผล สสจ. คกก.ระดับจังหวัด สอบภายในและสรุปผลการตรวจสอบภายใน และสรุปผลการตรวจสอบภายใน ระบบการควบคุมภายใน 30 คน ของคณะกรรมการระดับจังหวัด (2 ครั้ง) ระดับจังหวัดอย่างต่อเนื่อง กิจกรรมที่ 2 ออกตรวจสอบภายในหน่วย เพื่อด าเนินการและควบคุมก ากับ รพ. 10 แห่ง คกก.ระดับจังหวัด งานในสังกัด สสจ. โดย คกก.ตรวจสอบ ระบบการควบคุมภายในของ สสอ. 10 แห่ง 30 คน ภายในระดับจังหวัด หน่วยงานในจังหวัดสุพรรณบุรี รพ.สต. 10 แห่ง กิจกรรมที่ 3 จัดอบรมเพื่อพัฒนาแนวทางการ สสอ./ 70 คน ด าเนินงานควบคุมภายใน รพ./สสจ. รวมงบประมาณโครงการควบคุมภายใน รวมโครงการประเมินคุณธรรม ความโปร่งใส 18


Non-UC Non UC PP กองทุน อื่นๆ สป. กรม/กอง/ เบิกจ่าย แทนกัน basic services สุขภาพ ต าบล เงินบ ารุง/ อบจ,/งบ จังหวัด/ PPA/สสส. รหัสงบ แหล่งงบประมาณ/จ านวนงบประมาณ ต.ค. - ธ.ค. ม.ค. - มี.ค ระยะเวลาด าเนินการ/งบประมาณ เม.ย - มิ.ย ก.ค. - ก.ย. งบประมาณ รวมทั้งสิ้น 5,250 5,250 10,500 10,500 เงินบ ารุง 36,000 36,000 36,000 เงินบ ารุง 21,900 21,900 21,900 เงินบ ารุง - 5,250 63,150 - - - - - 68,400 68,400 0 14,000 67,650 11,500 4,500 0 0 0 88,650 93,150 83


Page| 184 แผนปฏิบัติราชการด้านสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ประจำปีงบประมาณ 2566 แผนงาน : การพัฒนาระบบธรรมภิบาลและองค์กรคุณภาพ แผนงานย่อย: แผนปฏิบัติการพัฒนาองค์กรคุณภาพ โครงการการพัฒนาการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) 1. สถานการณ์ปัญหา 1.1 Base line data ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย (พ.ศ. 2546 - 2550) กำหนดให้มีการปรับเปลี่ยน กระบวนการและวิธีการดำเนินงาน เพื่อยกระดับขีดความสามารถและมาตรฐานการทำงานของหน่วยงาน ราชการ ให้อยู่ในระดับสูงเทียบเท่ามาตรฐานสากล โดยยึดหลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี เป็นหลักการ บริหารราชการที่ได้รับการตราขึ้นเป็นกฎหมาย ดังที่ปรากฏในพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2545 มาตรา 3/1 และต่อมาได้มีการออกพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการ บริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 เพื่อให้มีแนวทางการปฏิบัติที่เป็นรูปธรรมชัดเจนมากยิ่งขึ้น โดย กำหนดเป้าหมายของการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี ว่าให้เป็นไปเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน เกิด ผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐมีประสิทธิภาพและเกิดความคุ้มค่าในเชิงภารกิจของรัฐ ลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน ที่เกินจำเป็น ประชาชนได้รับการอำนวยความสะดวกในการบริการ และได้รับการตอบสนองความต้องการ รวมทั้งมีการประเมินผลการปฏิบัติงานอย่างสม่ำเสมอ ในการบริหารราชการให้บรรลุเป้าหมายดังกล่าว จำเป็นต้องมีเกณฑ์การประเมินกระบวนการทำงานและผลการปฏิบัติราชการที่เป็นที่ยอมรับกันทั่วไป ดังนั้น สำนักงาน ก.พ.ร. โดยความร่วมมือของสถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ จึงได้นำโครงการศึกษาเพื่อยกระดับ คุณภาพการปฏิบัติงานของส่วนราชการ โดยมีเป้าหมายเพื่อศึกษาวิธีการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการ ภาครัฐ ตามวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี และกำหนดเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ โดยใช้ แนวทางที่สามารถเทียบเคียงกับการบริหารจัดการในระดับสากล และได้รับการยอมรับว่าเป็นเกณฑ์ที่สามารถ ประเมินจุดแข็งและโอกาสในการปรับปรุงของกระบวนการทำงานและผลการปฏิบัติงานขององค์กรต่างๆ ได้ อย่างมีประสิทธิผล สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี ได้ดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) พ.ศ. 2562 ตามแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (ด้านสาธารณสุข) ยุทธศาสตร์ที่ 4 การบริหารงานเป็นเลิศด้วย ธรรมาภิบาล (Governance Excellence) เพื่อยกระดับคุณภาพการปฏิบัติงานของส่วนราชการในสังกัด สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ซึ่งสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี เริ่มดำเนินการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ มาอย่างต่อเนื่อง ตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2561 – ถึงปัจจุบัน


Page| 185 แผนปฏิบัติราชการด้านสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ประจำปีงบประมาณ 2566 1.2 ปัญหาพื้นที่เชิงคุณภาพ (สาเหตุ/ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง) ในปีงบประมาณ 2566 สำนักงาน ก.พ.ร. กำหนดให้ส่วนราชการในสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวง สาธารณสุข ต้องดำเนินงานพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) ดังนี้ 1.2.1 จัดทำลักษณะสำคัญขององค์กร จำนวน 13 ข้อคำถาม และทบทวนทุกปี 1.2.2 ให้ส่วนราชการดำเนินการตามลำดับในหมวดที่โดดเด่น แต่ละปี ดังนี้ บังคับหมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ และส่วนราชการเลือกหมวดที่พร้อม อีก 1 หมวด ส่วนราชการเลือกดำเนินการตามหมวดที่พร้อม ปีละ 1 หมวด (ในหมวด 1 , 3 , 4 , 5 , 6) 1.2.3 ให้หน่วยงานดำเนินการประเมินองค์กรด้วยตนเอง (Self-Assessment) หมวด 1 – 6 1.2.4 ส่วนราชการกำหนดตัวชี้วัดหมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ หัวข้อ 7.1 – 7.6 ครบ18ข้อ โดยเพิ่มตัวชี้วัดเป็นหัวข้อละ 2 ตัวชี้วัด รวม 36 ตัว 1.2.5 รายงานความก้าวหน้าผลลัพธ์ตัวชี้วัด รอบ 6 เดือน, 9 เดือน และ 12 เดือน ให้กลุ่ม พัฒนาระบบบริหาร สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ภายใต้ระยะเวลาที่กำหนด 1.3 ข้อมูลหรือปัญหาของกระบวนการทำงาน สำนักงานสาธารรสุขจังหวัดสุพรรณบุรี ต้องดำเนินงานพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) ดังนี้ 1.3.1 ทบทวนและจัดทำลักษณะสำคัญขององค์กร จำนวน 13 ข้อคำถาม 1.3.2 ดำเนินการประเมินองค์กรด้วยตนเอง (Self-Assessment) หมวด 1 – 6 และเลือกหมวดที่มีคะแนนมากที่สุด เพื่อดำเนินงาน “หมวดที่โดดเด่น” 1.3.3 ดำเนินการหมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ ซึ่งเป็นหมวดที่ถูกบังคับให้ดำเนินการ ส่วนราชการเลือกดำเนินการตามหมวดที่พร้อม ปีละ 1 หมวด (ในหมวด 1 , 3 , 4 , 5 , 6) 1.3.4 กำหนดตัวชี้วัดหมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ หัวข้อ 7.1 – 7.6 ครบ 18 ข้อ โดยเพิ่มตัวชี้วัดเป็นหัวข้อละ 2 ตัวชี้วัด รวม 36 ตัว 2. สรุปปัญหาที่สำคัญ - ส่วนราชการไม่ได้กำหนดแนวทางและรูปแบบการสื่อสารอย่างเป็นระบบ - การถ่ายโอนภารกิจของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุกแห่ง จำนวน 174 แห่ง ไปสังกัด องค์การบริหารส่วนจังหวัดสุพรรณบุรี 3. เป้าประสงค์ 3.1 เพื่อยกระดับคุณภาพการปฏิบัติงานของส่วนราชการในสังกัดสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด สุพรรณบุรี ให้สอดคล้องกับพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 3.2 เพื่อนำเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ พ.ศ. 2562 มาใช้เป็นแนวทางในการดำเนินการ พัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการองค์กรและเป็นบรรทัดฐานในการติดตามประเมินผลของส่วนราชการ


Page| 186 แผนปฏิบัติราชการด้านสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ประจำปีงบประมาณ 2566 4. เป้าหมายและตัวชี้วัด 4.1 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี ดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ 4.2 ตัวชี้วัดที่ 52. ร้อยละความสำเร็จของส่วนราชการในสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ที่ดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐผ่านเกณฑ์ที่กำหนด (สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด)


ตัวชี้วัด ยุทธศาสตร์กระทรวง ที่ 4 Governance Excellence แผนงานที่ 11 การพัฒนาระบบธรรมาภิบาลและองค์กรคุณภาพ โครงการหลักของกระทรวง ที่ 2 โครงการพัฒนาองค์กรคุณภาพ (ระดับจังหวัด) โครงการการพัฒนาคุณภาพการบริหาร ยกระดับการปฏิบัติงานของ ร้อยละความส าเร็จของส่วนราชการ จัดการภาครัฐ (PMQA) ส่วนราชการในสังกัดให้สอดคล้อง ในสังกัดส านักงานปลัดกระทรวง กับพระราชกฤษฎีกา ว่าด้วย สาธารณสุข กิจกรรมหลักที่ 1 ประชุมชี้แจงแนวทางการ หลักเกณฑ์และวิธีการ ขับเคลื่อนนโยบายการพัฒนาคุณภาพการ บริหารจัดการภาครัฐ ประจ าปี 2566 กิจกรรมย่อยที่ 1.1 ชี้แจงแนวทางการด าเนินงาน สสจ คณะกรรมการ ให้กับคณะกรรมการฯของส านักงานสาธารณสุข จังหวัดสุพรรณุรี กิจกรรมย่อยที่ 1.2 ชี้แจงแนวทางการด าเนินงาน ให้กับคณะกรรมการฯของส านักงานสาธารณสุข อ าเภอ 10 อ าเภอ เรื่องการเขียน Best Practices รวมแผน PMQA ค่าเป้าหมายตัวชี้วัด พื้นที่เป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย ส่วนที่ 2 แผนปฏิบัติการและแผนสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ปี 2566 แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก/กิจกรรมย่อย วัตถุประสงค์ จ านวนหน่วยนับ 18


Non-UC Non UC PP กองทุน อื่นๆ สป. กรม/กอง/ เบิกจ่ายแทน กัน basic services สุขภาพต าบล เงินบ ารุง/อบจ ,/งบจังหวัด/ PPA/สสส. 1,500 1,500 1,500 รหัส 00001 1,500 - - - 1,500 - - - - 1,500 ต.ค. - ธ.ค. ม.ค. - มี.ค เม.ย - มิ.ย ก.ค. - ก.ย. รหัสงบ ระยะเวลาด าเนินการ/งบประมาณ แหล่งงบประมาณ/จ านวนงบประมาณ งบประมาณ รวมทั้งสิ้น 87


Page| 188 แผนปฏิบัติราชการด้านสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ประจำปีงบประมาณ 2566 แผนงาน : การพัฒนาระบบธรรมภิบาลและองค์กรคุณภาพ แผนงานย่อย: แผนปฏิบัติการพัฒนาองค์กรคุณภาพ โครงการ พัฒนาคุณภาพบริการในสถานบริการสาธารณสุข 1. สถานการณ์ปัญหา 1.1 Base line data (ประชากรเป้าหมายจากปี 2565) ด้านโครงสร้าง จังหวัดสุพรรณบุรี มีโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข จำนวน 10 แห่งประกอบด้วย โรงพยาบาลศูนย์ (ระดับ A) จำนวน 1 แห่ง โรงพยาบาลทั่วไป (ระดับ M1) จำนวน 1 แห่ง โรงพยาบาลชุมชน แม่ข่าย (ระดับ M2) จำนวน 1 แห่ง โรงพยาบาลชุมชนขนาดใหญ่ (ระดับ F1) จำนวน 2 แห่ง และโรงพยาบาล ชุมชนขนาดกลาง (ระดับ F2) จำนวน 5 แห่ง รายละเอียดดังตารางที่ 1 ตารางที่ 1 แสดงจำนวนโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุข จังหวัดสุพรรณบุรี ลำดับที่ โรงพยาบาล การจัดระดับศักยภาพบริการ เพื่อรองรับการส่งต่อ 1. เจ้าพระยายมราช ระดับ A รพ.ศูนย์ 2. สมเด็จพระสังฆราช องค์ที่17 ระดับ M1 รพ.ทั่วไปขนาดเล็ก 3. อู่ทอง ระดับ M2 รพ.ชุมชนแม่ข่าย 4. ด่านช้าง ระดับ F1 รพ.ชุมชนขนาดใหญ่ 5. เดิมบางนางบวช ระดับ F1 รพ.ชุมชนขนาดใหญ่ 6. บางปลาม้า ระดับ F2 รพ.ชุมชนขนาดกลาง 7. ดอนเจดีย์ ระดับ F2 รพ.ชุมชนขนาดกลาง 8. ศรีประจันต์ ระดับ F2 รพ.ชุมชนขนาดกลาง 9. สามชุก ระดับ F2 รพ.ชุมชนขนาดกลาง 10. หนองหญ้าไซ ระดับ F2 รพ.ชุมชนขนาดกลาง 1.1 การพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาลตามมาตรฐาน HA จังหวัดสุพรรณบุรี มีการพัฒนาคุณภาพ ตามนโยบายของกระทรวงสาธารณสุข โดยโรงพยาบาล ทุกแห่งมีการพัฒนาคุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน HA ในปีงบประมาณ 2565 มีรพ.สังกัดกระทรวงสาธารณสุข ผ่านการรับรอง HA ขั้น 3 ครบทั้ง 10 แห่ง ปีงบประมาณ 2566 มีโรงพยาบาลที่จะหมดอายุการรับรอง จำนวน 4 รพ. ได้แก่ รพ.สมเด็จพระสังฆราชองค์ที่ 17 รพ.อู่ทอง รพ.หนองหญ้าไซ และรพ.ดอนเจดีย์ รายละเอียดดังตารางที่ 2


Page| 189 แผนปฏิบัติราชการด้านสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ประจำปีงบประมาณ 2566 ตารางที่ 2 แสดงการพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาลตามมาตรฐาน HA จังหวัดสุพรรณบุรี จำแนกรายโรงพยาบาล 1.2 การพัฒนาคุณภาพห้องปฏิบัติการชันสูตร 1.2.1 การพัฒนาคุณภาพห้องปฏิบัติการชันสูตรตามเกณฑ์มาตรฐาน LA - รพ.ที่มีการพัฒนาคุณภาพห้องปฏิบัติการผ่านการรับรองตามเกณฑ์มาตรฐาน LA ของสภา เทคนิคการแพทย์ปีงบประมาณ 2564 จำนวน 2 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 20 ได้แก่ รพ.เจ้าพระยายมราช และ รพ.บางปลาม้า 1.2.2 การพัฒนาห้องปฏิบัติการทางการแพทย์ตามมาตรฐานของกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข - ห้องปฏิบัติการทางการแพทย์ที่ผ่านการรับรองตามมาตรฐานของ กรมวิทยาศาสตร์ การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข ของจังหวัดสุพรรณบุรี ปีงบประมาณ 2564 จำนวน 10 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 100 ได้แก่ รพ.เจ้าพระยายมราช, รพ.สมเด็จพระสังฆราชองค์ที่ 17, รพ.ด่านช้าง, รพ.บางปลาม้า, รพ. ศรีประจันต์, รพ.ดอนเจดีย์, รพ.สามชุก, รพ.อู่ทอง และรพ.หนองหญ้าไซ 1.3 การพัฒนาคุณภาพห้องปฏิบัติการรังสีวินิจฉัย - ห้องปฏิบัติการรังสีวินิจฉัยในรพ. ผ่านเกณฑ์การรับรองตามมาตรฐานของกรมวิทยาศาสตร์ การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2564 ทั้ง 10 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 100 ได้แก่ รพ.เจ้าพระยายม ราช, รพ.สมเด็จพระสังฆราชองค์ที่ 17, รพ.ด่านช้าง, รพ.บางปลาม้า, รพ.ศรีประจันต์, รพ.ดอนเจดีย์, รพ.สามชุก, รพ.อู่ทอง, รพ.เดิมบางนางบวช และรพ.หนองหญ้าไซ ลำดับ ที่ โรงพยาบาล HA ขั้น 3 วดป.หมดอายุ 1. รพศ.เจ้าพระยายมราช 14 ธ.ค. 64 (Re-ac4) 13 ธ.ค. 67 2. รพท.สมเด็จพระสังฆราชองค์ที่17 24 มี.ค. 64 (Re-ac3) 23 มี.ค.66 3. รพช.เดิมบางนางบวช 16 ต.ค. 64 (Re-ac2) 15 ต.ค. 67 4. รพช.ด่านช้าง 10 เม.ย. 64 (Re-ac2) 9 เม.ย. 67 5. รพช.บางปลาม้า 25 ก.ย. 64 (Re-ac2) 24 ก.ย. 67 6. รพช.ศรีประจันต์ รอประกาศผลการประเมิน 7. รพช.ดอนเจดีย์ 12 ก.ย. 64 (Re-ac2) 11 ก.ย. 66 8. รพช.สามชุก รอการจัดเยี่ยม 9. รพช.อู่ทอง 11 ก.พ.63 (Re–ac2) 10 ก.พ. 66 10. รพช.หนองหญ้าไซ 1 พ.ค. 64 (Re–ac1) 30 เม.ย. 66 รวม 10


Page| 190 แผนปฏิบัติราชการด้านสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ประจำปีงบประมาณ 2566 2. สรุปปัญหาที่สำคัญ 2.1 โรงพยาบาลยังมีความสับสนและกังวลในการเขียนแบบประเมินตนเอง ฉบับที่ 5 เพื่อขอรับการ ประเมิน จากสถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) 2.2 ขาดความต่อเนื่อง ในการติดตามกำกับการพัฒนางาน โดยใช้มิติคุณภาพและเครื่องมือคุณภาพ จากภาระงานประจำที่มากขึ้น ในขณะที่กำลังคนขาดแคลน 2.3 ทีมผู้ประสานงานคุณภาพเข้าใจมาตรฐานและแนวคิดการพัฒนายังไม่ชัดเจนทำให้ไม่สามารถ กระตุ้นและสนับสนุนการดำเนินกิจกรรมการพัฒนาคุณภาพให้แต่ละหน่วยงานได้ต่อเนื่อง 2.4 เจ้าหน้าที่ขาดทักษะและความเข้าใจในการทบทวนและการวิเคราะห์ผลการทบทวนเพื่อนำสู่ การวางระบบ การวิเคราะห์ประเด็นความไม่ปลอดภัยของผู้ป่วยที่สัมพันธ์กับสมรรถนะของบุคลากร การ ทบทวนคุณภาพของการเข้าถึงบริการ ทำให้ติด Focus ในแต่ละประเด็น 2.5 บุคลากรวิชาชีพแพทย์ ที่เป็นทีมนำในการการพัฒนาคุณภาพทางคลินิก โยกย้ายหมุนเวียนทุก 2 ปี ส่งผลให้ ต้องสร้างทีมนำการพัฒนาคุณภาพ ใหม่ทุก 2 ปี 3. เป้าประสงค์ 3.1 ประชาชนได้รับบริการที่มีคุณภาพ ได้มาตรฐานอย่างทั่วถึงและเท่าเทียม 3.2 ผู้มารับบริการมีความพึงพอใจ 3.3 ลดระยะเวลาการรอคอย 3.4 ลดข้อร้องเรียน 4. เป้าหมายและตัวชี้วัด 4.1 โรงพยาบาลมีการพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐาน HA ร้อยละ 100 4.2 โรงพยาบาลผ่านการรับรองคุณภาพตามมาตรฐาน HA ร้อยละ 100 4.3 ผู้มารับบริการมีความพึงพอใจ ร้อยละ 85 4.4 ห้องปฏิบัติการชันสูตรในโรงพยาบาล ผ่านเกณฑ์มาตรฐานของกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ร้อยละ 100 4.5 ห้องปฏิบัติการรังสีวินิจฉัยในโรงพยาบาล ผ่านเกณฑ์มาตรฐานของกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ร้อยละ 100


ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมายตัวชี้วัด พื้นที่เป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย ส่วนที่ 2 แผนปฏิบัติการและแผนสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ปี 2566 แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก/กิจกรรมย่อย วัตถุประสงค์ จ านวนหน่วยนับ ชื่อโครงการ พัฒนาคุณภาพบริการในสถาน เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้ ร้อยละของโรงพยาบาลสังกัด ทุกอ าเภอ รพศ. 1 แห่ง บริการสาธารณสุข จังหวัดสุพรรณบุรี สถานบริการทุกระดับมีการพัฒนา กระทรวงสาธารณสุขมีคุณภาพ รพท. 1 แห่ง ปี 2565 คุณภาพบริการตามเกณฑ์มาตรฐาน มาตรฐานผ่านการรับรอง HA -ขั้น 3 รพช. 8 แห่ง ที่ก าหนดอย่างต่อเนื่อง กิจกรรมหลักที่ 1 การพัฒนาคุณภาพ บริการตามมาตรฐาน HA กิจกรรมย่อยที่ 1.1ทบทวนและแต่งตั้ง ระดับจังหวัด สสจ. คณะกรรมการการพัฒนาคุณภาพรพ. รพ. 10 แห่ง กิจกรรมย่อย 1.2 จัดท าแผนงาน/ ระดับจังหวัด สสจ. โครงการพัฒนาคุณภาพ รพ.ปี 2565 รพ. 10 แห่ง กิจกรรมย่อย 1.3 จัดประชุมคณะ ทุกอ าเภอ สสจ. กรรมการฯ เพื่อพัฒนาคุณภาพ รพ. 10 แห่ง การด าเนินงาน ทุก 6 เดือน กิจกรรมย่อย 1.4 ค่าสมัครเข้าร่วมโครงการเพิ่มประสิทธิภาพ ทุกอ าเภอ 30 คน ระบบเครือข่ายด้วยระบบ Membership ปี 2566 กิจกรรมย่อยที่ 1.4 จัดประชุมคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพ ทุกอ าเภอ 110 คน ห้องปฏิบัติการทางการแพทย์เพื่อพัฒนาคุณภาพการด าเนินงาน กิจกรรมย่อย 1.5 พัฒนาศักยภาพทีม ทุกอ าเภอ รพ. 10 แห่ง พี่เลี้ยงคุณภาพ (QLN) โดยใช้กระบวนการ Internal survery ตามมาตรฐาน HA กิจกรรมย่อย 1.6 เตรียมความพร้อมของ อ.เมือง, อ.บางปลาม้าอ.เมือง, อ.บางปลาม รพ.เจ้าพระยายมราช, รพ.บางปลาม้า, อ.สองพี่น้อง รพ.สมเด็จพระสังฆราชองค์ที่17 อ.ด่านช้าง รพ.ด่านช้าง ,รพ.หนองหญ้าไซ,รพ.ดอนเจดีย์ อ.เดิมบางนางบวช รพ.ศรีประจันต์ และ รพ.เดิมบางนางบวช อ.หนองหญ้าไซ ในการรับตรวจประเมิน อ.ดอนเจดีย์ Re - ac HAขั้น 3 จากสรพ. อ.ศรีประจันต์ กิจกรรมย่อย 1.7 รพ.ทุกแห่งด าเนินการ ทุกอ าเภอ รพ. 10 แห่ง พัฒนาคุณภาพตามมาตรฐาน HA กิจกรรมย่อย 1.8 : ส ารวจความพึงพอใจ ทุกอ าเภอ รพ. 10 แห่ง ผู้รับบริการ ปีละ 1 ครั้ง กิจกรรมย่อย 1.9 ส ารวจระยะเวลารอคอย ทุกอ าเภอ รพ. 10 แห่ง เฉลี่ยของผู้มารับบริการที่แผนกผู้ป่วยนอก 19


Click to View FlipBook Version