The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เล่มแผนปฏิบัติราชการ 2566 ฉบับจริง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by chanatip_min, 2023-07-03 23:36:27

เล่มแผนปฏิบัติราชการ 2566 ฉบับจริง

เล่มแผนปฏิบัติราชการ 2566 ฉบับจริง

Non-UC Non UC PP กองทุน อื่นๆ สป. กรม/กอง/ เบิกจ่ายแทน กัน basic services สุขภาพต าบล เงินบ ารุง/อบจ ,/งบจังหวัด/ PPA/สสส. ต.ค. - ธ.ค. ม.ค. - มี.ค เม.ย - มิ.ย ก.ค. - ก.ย. รหัสงบ ระยะเวลาด าเนินการ/งบประมาณ แหล่งงบประมาณ/จ านวนงบประมาณ งบประมาณ รวมทั้งสิ้น ✓ ✓ 750 750 1,500 1,500 รหัส 00001 20,000 20,000 20,000 เงินบ ารุง 1,000 1,000 2,000 2,000 รหัส 00001 ✓ ✓ ✓ ✓ ม้า ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ 91


ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมายตัวชี้วัด พื้นที่เป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย ส่วนที่ 2 แผนปฏิบัติการและแผนสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ปี 2566 แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก/กิจกรรมย่อย วัตถุประสงค์ จ านวนหน่วยนับ (non investigate) ปีละ 2 ครั้ง กิจกรรมหลัก 2 : การพัฒนา เพื่อส่งเสริมและสนับสนุน คุณภาพเครือข่ายห้องปฏิบัติการทางการ ให้ห้องปฏิบัติการทางการแพทย์ แพทย์ (Lab) พัฒนาคุณภาพตาม กิจกรรมย่อย 2.1 : ทบทวนและแต่งตั้ง มาตรฐานที่กระทรวง ระดับจังหวัด สสจ. คณะกรรมการฯ ปี 2565 ก าหนดอย่างต่อเนื่อง รพ. 10 แห่ง กิจกรรมย่อย 2.2 : ประชุมคณะ ทุกอ าเภอ รพ. 10 แห่ง กรรมการฯ ทุก 6 เดือน กิจกรรมย่อย 2.3 ด าเนินการพัฒนาคุณภาพ ทุกอ าเภอ รพ. 10 แห่ง ห้องปฏิบัติการทางการแพทย์อย่างต่อเนื่อง กิจกรรมย่อย 2.4 : สรุปผลการด าเนินงาน กิจกรรมหลัก 3 : การพัฒนา เพื่อส่งเสริมและสนับสนุน คุณภาพเครือข่ายห้องปฏิบัติการรังสีวินิจฉัย ให้ห้องปฏิบัติการรังสีวินิจฉัย กิจกรรมย่อย 3.1 : ทบทวนและแต่งตั้ง พัฒนาคุณภาพตาม ระดับจังหวัด สสจ. คณะกรรมการฯ ปี 2565 มาตรฐานที่กระทรวง รพ. 10 แห่ง กิจกรรมย่อย 3.2 : ประชุมคณะกรรมการฯ ทุก 6 เดือน ก าหนดอย่างต่อเนื่อง ทุกอ าเภอ รพ. 10 แห่ง กิจกรรมย่อย 3.3 ด าเนินการพัฒนาคุณภาพ ทุกอ าเภอ รพ. 10 แห่ง ห้องปฏิบัติการรังสีวินิจฉัยอย่างต่อเนื่อง กิจกรรมย่อยที่ 3.4 ประชุมคณะกรรมการด าเนินงานด้าน ทุกอ าเภอ 30 คน บริการด้วยหัวใจ Smart Service กิจกรรมย่อย 3.5 : สรุปผลการด าเนินงาน ทุกอ าเภอ รพ. 10 แห่ง รวมแผน HA 19


Non-UC Non UC PP กองทุน อื่นๆ สป. กรม/กอง/ เบิกจ่ายแทน กัน basic services สุขภาพต าบล เงินบ ารุง/อบจ ,/งบจังหวัด/ PPA/สสส. ต.ค. - ธ.ค. ม.ค. - มี.ค เม.ย - มิ.ย ก.ค. - ก.ย. รหัสงบ ระยะเวลาด าเนินการ/งบประมาณ แหล่งงบประมาณ/จ านวนงบประมาณ งบประมาณ รวมทั้งสิ้น ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ 1,000 1,000 2,000 2,000 รหัส 00001 ✓ ✓ ✓ ✓ 750 750 750 750 3,000 3,000 รหัส 00001 ✓ 750 23,500 750 3,500 8,500 - - - 20,000 28,500 92


ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมายตัวชี้วัด พื้นที่เป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย ส่วนที่ 2 แผนปฏิบัติการและแผนสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ปี 2566 แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก/กิจกรรมย่อย วัตถุประสงค์ จ านวนหน่วยนับ โครงการ รพ.สต.ติดดาว จังหวัดสุพรรณบุรี ปี 2566 1.เพื่อพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ จ านวนประชาชนคนไทย มีหมอ ทุกอ าเภอ ทุกอ าเภอ กิจกรรมหลักที่ 1 พัฒนาองค์กรให้มีคุณภาพ ให้มีคุณภาพสอดคล้องกับบริบทพื้นที่ ประจ าตัว 3 คน ร้อยละ 69.69 กิจกรรมย่อยที่ 1.1 รพ.สต. ประเมินตนเองตามเกณฑ์ 2.เพื่อพัฒนาศักยภาพบุคลากรใน จ านวนการจัดตั้งหน่วยปฐมภูมิและ คุณภาพ หน่วยบริการปฐมภูมิและเครือข่าย เครือข่ายหน่วยบริการปฐมภูมิ กิจกรรมย่อยที่ 1.2 จัดอบรมทีมพี่เลี้ยงระดับอ าเภอ ปฐมภูมิ ร้อยละ 52 กิจกรรมย่อยที่ 1.3 จังหวัดเยี่ยมเสริมพลัง รพ.สต. อ าเภอละ 1 แห่ง รวมแผน รพ.สต.ติดดาว 19


Non-UC Non UC PP กองทุน อื่นๆ สป. กรม/กอง/ เบิกจ่ายแทน กัน basic services สุขภาพต าบล เงินบ ารุง/อบจ ,/งบจังหวัด/ PPA/สสส. ต.ค. - ธ.ค. ม.ค. - มี.ค เม.ย - มิ.ย ก.ค. - ก.ย. รหัสงบ ระยะเวลาด าเนินการ/งบประมาณ แหล่งงบประมาณ/จ านวนงบประมาณ งบประมาณ รวมทั้งสิ้น 12,000 12,000 12,000 รหัส 00001 4,800 4,800 4,800 รหัส 00001 - 12,000 - 4,800 - 16,800 - - - 16,800 93


ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมายตัวชี้วัด พื้นที่เป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย ส่วนที่ 2 แผนปฏิบัติการและแผนสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ปี 2566 แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก/กิจกรรมย่อย วัตถุประสงค์ จ านวนหน่วยนับ นโยบายมุ่งเน้น โครงการการพัฒนาปรับโฉมโรงพยาบาล บริการดีมี ความทันสมัย จังหวัดสุพรรณบุรี ปี 2566 กิจกรรมที่ 1 จัดตั้งคณะกรรมการ EMS ระดับจังหวัด กิจกรรมที่ 1.1 ประชุม 3 ด้าน มอบหมายภารกิจในการ กระตุ้นติดตามงานโรงพยาบาล กิจกรรมที่ 2 โรงพยาบาลทุกแห่งจัดท าค าสั่งแต่งตั้ง คณะกรรมการ EMS ระดับโรงพยาบาล กิจกรรมที่ 3 โรงพยาบาลทุกแห่งประเมินตนเองตามเกณฑ์EMS กิจกรรมที่ 4 โรงพยาบาลทุกแห่งส่งผลประเมินตนเองและ แผนพัฒนาตนเองส่วนขาดส่งผลการประเมินตนเองให้กับ สสจ. สุพรรณบุรี (ภายใน 31 ธ.ค.2565) กิจกรรมที่ 5 โรงพยาบาลทุกแห่งพัฒนาปรับปรุงส่วนขาด ตามเกณฑ์ EMS กิจกรรมที่ 6โรงพยาบาลทุกแห่งระบุการใช้งบประมาณในแผน เงินบ ารุงเพื่อพัฒนาตามเกณฑ์ EMS ของโรงพยาบาล กิจกรรมที่ 7 โรงพยาบาลทุกแห่งพัฒนานวัตกรรม (The Best) อย่างน้อย 1 เรื่อง กิจกรรมที่ 8 คณะกรรมการเยี่ยมเสริมพลัง/ประเมินตรวจเยี่ยม โรงพยาบาลทุกแห่งตามเกณฑ์ EMS กิจกรรมที่9 โรงพยาบาลน าเสนอผลงานนวัตกรรมเด่น(The Best) ในเวทีวิชาการ(Sharing) รพ.ที่ได้รางวัล EMS(อันดับ 1,2,3) กิจกรรมที่ 10 เขตสุขภาพประเมินตรวจเยี่ยมโรงพยาบาล EMSดี เยี่ยม(The Best) 8 จังหวัด รวมโครงการ EMS 19


Non-UC Non UC PP กองทุน อื่นๆ สป. กรม/กอง/ เบิกจ่ายแทน กัน basic services สุขภาพต าบล เงินบ ารุง/อบจ ,/งบจังหวัด/ PPA/สสส. ต.ค. - ธ.ค. ม.ค. - มี.ค เม.ย - มิ.ย ก.ค. - ก.ย. รหัสงบ ระยะเวลาด าเนินการ/งบประมาณ แหล่งงบประมาณ/จ านวนงบประมาณ งบประมาณ รวมทั้งสิ้น 14,400 4,500 14,400 33,300 33,300 เงินบ ารุง - 14,400 4,500 14,400 - - - - 33,300 33,300 94


ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมายตัวชี้วัด พื้นที่เป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย ส่วนที่ 2 แผนปฏิบัติการและแผนสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ปี 2566 แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก/กิจกรรมย่อย วัตถุประสงค์ จ านวนหน่วยนับ งานถ่ายโอน สอน./รพ.สต. ไป อบจ. โครงการการอภิบาลระบบสุขภาพปฐมภูมิหลังการ 1. เพื่อก าหนดแนวทางปฏิบัติ ร้อยละความส าเร็จของส่วน จังหวัดสุพรรณบุรี คณะกรรมการศูน ถ่ายโอนสถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติ 60 พรรษา ของสถานีอนามัยเฉลิมพระ ราชการในสังกัดส านักงาน ปฏิบัติการเพื่อรองรั นวมินทราชินี และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบล เกียรติ 60 พรรษานวมินท ปลัดกระทรวงสาธารณสุขที่ด าเนิน การถ่ายโอนภารกิจ ให้แก่องค์การบริหารส่วนจังหวัดสุพรรณบุรี ราชินี และโรงพยาบาลส่งเสริม ด าเนินการพัฒนาคุณภาพการ สถานีอนามัยเฉลิม มาตรการที่ 1 : ก าหนดนโยบายและวางแผนการ สุขภาพต าบลที่ถ่ายโอนไปสังกัด บริหารจัดการภาครัฐผ่านเกณฑ์ พระเกียรติ 60 พรรษ อภิบาลระบบปฐมภูมิ ที่ก าหนด พรรษานวมินทราชิ 1. บทบาทภารกิจของ สสจ. /รพง/สสอ.หลังถ่ายโอน และรพ.สต.ให้แก่ อบ 2. บูรณาการแผนการด าเนินงานผ่านคณะท างาน อภิบาลระบบ 6 คณะ ของ อบจ. กิจกรรมที่ 1 ประชุมคณะกรรมการศูนย์ องค์การบริหารส่วนจังหวัด สสจ.สุพรรณบุรี 200 คน ปฏิบัติการเพื่อรองรับการถ่ายโอนภารกิจสถานี สุพรรณบุรี อนามัยเฉลิมพระเกียรติ 60 พรรษานวมินทราชินี 2. เพื่อส่งเสริม สนับสนุนการ และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบลให้แก่องค์การ จัดท าแผนพัฒนาสุขภาพระดับ กิจกรรมที่ 2 ประชุมคณะกรรมการอ านวยการ พื้นที่ การพัฒนาระบบบริการ สสจ.สุพรรณบุรี 200 คน เพื่อติดตามความก้าวหน้าการถ่ายโอนภารกิจสถานี ปฐมภูมิ การบริหารการเงิน อนามัยเฉลิมพระเกียรติ 60 พรรษานวมินทราชินี การคลัง งบประมาณและทรัพย์สิน และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบลให้แก่ การบริหารทรัพยากรบุคคล องค์การบริหารส่วนจังหวัดสุพรรณบุรี (ทุกคณะ) การพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศ กิจกรรมที่ 3 : ประชุมคณะกรรมการอ านายการ สสจ.สุพรรณบุรี 40 คน ศูนย์ปฏิบัติการฯเพื่อติดตามความก้าวหน้าการ ถ่ายโอนภารกิจ สอน. และ รพ.สต. ไป อบจ. กิจกรรมที่ 4 ประชุมคณะกรรมการด้านวิชาการ 3. เพื่อก ากับ ดูแล และสนับสนุน สสจ.สุพรรณบุรี 30 คน และติดตามประเมินผล การปฏิบัติงานของสถานีอนามัย กิจกรรมที่ 5 ประชุมคณะกรรมการด้านระบบบริการปฐมภูมิ เฉลิมพระเกียรติ60 พรรษานวมิน สสจ.สุพรรณบุรี 60 คน กิจกรรมที่ 6 ประชุมคณะกรรมการด้านการเงิน ทราชินี และโรงพยาบาลส่งเสริม สสจ.สุพรรณบุรี 30 คน การคลัง งบประมาณ และทรัพย์สิน สุขภาพต าบลให้แก่องค์การบริหาร กิจกรรมที่ 7 ประชุมคณะกรรมการด้านบริหาร ส่วนจังหวัดสุพรรณบุรี สสจ.สุพรรณบุรี 30 คน ทรัพยากรบุคคล และการสื่อสารประชาสัมพันธ์ กิจกรรมที่ 8 ประชุมคณะกรรมการด้านระบบข้อมูล เกี่ยวกับการถ่ายโอนสถานีอนามัย สสจ.สุพรรณบุรี 30 คน สารสนเทศด้านสุขภาพ เฉลิมพระเกียรติ 60 พรรษานวมิน กิจกรรมที่ 9 ประชุมคณะกรรมการด้านการสื่อสารประชาสัมพันธ์ ทราชินี และโรงพยาบาลส่งเสริม สสจ.สุพรรณบุรี 30 คน 19


Non-UC Non UC PP กองทุน อื่นๆ สป. กรม/กอง/ เบิกจ่ายแทน กัน basic services สุขภาพต าบล เงินบ ารุง/อบจ ,/งบจังหวัด/ PPA/สสส. ต.ค. - ธ.ค. ม.ค. - มี.ค เม.ย - มิ.ย ก.ค. - ก.ย. รหัสงบ ระยะเวลาด าเนินการ/งบประมาณ แหล่งงบประมาณ/จ านวนงบประมาณ งบประมาณ รวมทั้งสิ้น ย์ รับ จ ม ษา ชนี บจ. 30,000 30,000 30,000 เงินบ ารุง 30,000 30,000 30,000 เงินบ ารุง 2,000 2,000 2,000 2,000 8,000 8,000 เงินบ ารุง 750 750 750 750 3,000 3,000 เงินบ ารุง - - 1,500 1,500 1,500 1,500 6,000 6,000 เงินบ ารุง 750 750 750 750 3,000 3,000 เงินบ ารุง - - 750 750 750 750 3,000 3,000 เงินบ ารุง - - 750 750 750 750 3,000 3,000 เงินบ ารุง - - 750 750 750 750 3,000 3,000 เงินบ ารุง 95


ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมายตัวชี้วัด พื้นที่เป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย ส่วนที่ 2 แผนปฏิบัติการและแผนสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ปี 2566 แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก/กิจกรรมย่อย วัตถุประสงค์ จ านวนหน่วยนับ กิจกรรมที่ 10 เยี่ยมเสริมพลัง เพื่อติดตามความก้าว สุขภาพต าบลให้แก่องค์การ สสจ.สุพรรณบุรี 20 คน หน้าการด าเนินงานระบบสุขภาพปฐมภูมิ บริหารส่วนจังหวัดสุพรรณบุรี มาตรการที่ 2 : การออกแบบโครงสร้างและระบบการจัดการ กิจกรรมที่ 2.1 ประชุมร่วม สสจ. /รพ./สสอ. เพื่อพิจารณา สสจ.สุพรรณบุรี 30 คน บทบาทหน้าที่และออกแบบแนวทางการด าเนินงานร่วมกัน กรณีกิจกรรมที่ รพ.สต.ไม่ได้ด าเนินการ และอื่นๆที่ ประชาชนควรได้รับ 3 ครั้ง มาตรการที่ 3 : สร้างกลไกการประสานงานและสร้างความร่วมมือ กิจกรรมที่ 1 : ทบทวนคณะกรรมการและคณะท างานที่ เกี่ยวข้องให้สามารถขับเคลื่อนการเปลี่ยนผ่านให้เป็นไปอย่าง มีประสิทธิภาพไร้รอยต่อเช่น กวป. / คปสอ. / พชอ. และอื่นๆ กิจกรรมที่ 2 : ประสานความร่วมมือกับ อบจ.ผ่าน คณะกรรมการ กสพ. /คณะกรรมการอภิบาลระบบ/ คณะท างาน อย่างต่อเนื่อง กิจกรรมที่ 3 ; สร้างช่องทางการสื่อสาร และประสานงานร่วมกัน มาตรการที่ 4 : พัฒนาระบบการควบคุมก ากับติดตาม และประเมินผล กิจกรรมที่ 1 : ประชุมเครือข่ายที่เกี่ยวข้องเพื่อคัดเลือก KPI สสจ.สุพรรณบุรี 30 คน ในการก ากับติดตามผลการด าเนินงาน กิจกรรมที่ 2 : ก าหนดรูปแบบการนิเทศติดตามเพื่อติดตาม ความก้าวหน้าการด าเนินงาน รับฟังปัญหา ข้อเสนอแนะ และให้การช่วยเหลือในส่วนขาดของกรม/กอง ที่ รพ.สต. ด าเนินการไม่ได้หรือไม่ครอบคลุม กิจกรรมที่ 3 : ตรวจสุ่มประเมิน Audit ( 1 ครั้ง 10 แห่ง ) สสจ.สุพรรณบุรี 20 คน / ส ารวจกิจกรรม กิจกรรมที่ 4 : ศึกษาวิจัยระบบสุขภาพที่ตอบสนองปัญหา และความต้องการของประชาชน * นโยบายมุ่งเน้น 6 ข้อ(คัดเลือก1-2 ประเด็นที่น าไปใช้ ประโยชน์ต่อยอดได้) * ระบบสุขภาพก่อนและหลังถ่ายโอน (ความคิดเห็น/ ความพึงพอใจ ฯลฯ) รวมงานถ่ายโอนฯ รวมเป็นเงินทั้งสิ้น พัฒนาองค์กรคุณภาพ 19


Non-UC Non UC PP กองทุน อื่นๆ สป. กรม/กอง/ เบิกจ่ายแทน กัน basic services สุขภาพต าบล เงินบ ารุง/อบจ ,/งบจังหวัด/ PPA/สสส. ต.ค. - ธ.ค. ม.ค. - มี.ค เม.ย - มิ.ย ก.ค. - ก.ย. รหัสงบ ระยะเวลาด าเนินการ/งบประมาณ แหล่งงบประมาณ/จ านวนงบประมาณ งบประมาณ รวมทั้งสิ้น 24,000 24,000 48,000 48,000 เงินบ ารุง 4,500 4,500 4,500 13,500 13,500 เงินบ ารุง 750 750 1,500 1,500 เงินบ ารุง 24,000 24,000 24,000 เงินบ ารุง 41,750 60,500 12,500 61,250 - - - - 176,000 176,000 44,000 110,400 17,750 83,950 10,000 16,800 - - 229,300 256,100 96


Page| 197 แผนปฏิบัติราชการด้านสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ประจำปีงบประมาณ 2566 แผนงาน : การพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศด้านสุขภาพ แผนงานย่อย: แผนปฏิบัติราชการการพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศด้านสุขภาพ โครงการพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารเทคโนโลยีสุขภาพ 1. สถานการณ์ปัญหา 1.1 Base line data (ประชากรเป้าหมายจากปี 2565) การเข้าสู่ระบบเศรษฐกิจและสังคมดิจิทัล เทคโนโลยีดิจิทัลส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทั้ง โครงสร้างและรูปแบบการดำเนินงานในทุกภาคส่วน และยังส่งผลระทบต่อระบบเศรษฐกิจของประเทศ ทั้งภาค การผลิตและภาคการบริการ ระบบบริการสุขภาพจึงจำเป็นต้องมีการปรับตัวอย่างเหมาะสม และมี ประสิทธิภาพ โดยการนำเทคโนโลยีดิจิทัลและนวัตกรรมสุขภาพมาใช้เป็นเครื่องมือในการบริหารจัดการและ สนับสนุนการดำเนินงาน เพื่อเพิ่มโอกาสให้ประชาชนได้รับบริการทางการแพทย์และสุขภาพที่ทันสมัย ทั่วถึง เท่าเทียม และปลอดภัย รองรับการเข้าสู่สังคมผู้สูงวัยด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล และตอบสนองความท้าทายที่ ประเทศกำลังเผชิญอยู่ รวมทั้งเป็นการเพิ่มโอกาสในการพัฒนาระบบบริการสุขภาพให้มีประสิทธิภาพมาก ยิ่งขึ้น ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561-2580) ได้กำหนดแนวทางสำคัญด้านการพัฒนาและเสริมสร้าง ศักยภาพของคน โดยมุ่งเน้นให้มีการสร้างเสริมให้คนในชาติมีสุขภาวะที่ดี สร้างโอกาส ความเสมอภาค และเท่า เทียมกันทางสังคม กระทรวงสาธารณสุขจึงกำหนดนโยบายที่ต้องการให้เกิดผลต่อประชาชนทุกคนในเรื่อง เกี่ยวกับการลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ ร่างกายแข็งแรง ทำให้เศรษฐกิจประเทศแข็งแรง การขับเคลื่อนนโยบายเกี่ยวกับสุขภาพของประชาชน กระทรวงสาธารณสุข ได้ให้ความสำคัญกับ ข้อมูลสารสนเทศด้านสุขภาพเป็นอย่างมาก โดยกำหนดไว้ในหมวดยุทธศาสตร์บริหารเป็นเลิศด้วยธรรมาภิบาล (Governance Excellence) แผนงานที่ 12 การพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศด้านสุขภาพแห่งชาติ และ กำหนดตัวชี้วัดว่าจังหวัดต้องผ่านเกณฑ์คุณภาพข้อมูล และหน่วยบริการปฐมภูมิ สามารถเชื่อมโยงข้อมูล ระหว่างกันได้ (Health Information Exchange : HIE) ไม่ต้องทำงานซ้ำซ้อน และใช้ประโยชน์จากฐานข้อมูล ร่วมกัน ตลอดจนเพื่อเตรียมรับการปรับเปลี่ยนโครงสร้างมาตรฐานของข้อมูลสุขภาพรูปแบบอื่น ๆ ที่จะเกิดขึ้น ในอนาคต เพื่อให้ได้รูปแบบข้อมูลสุขภาพที่เหมาะสมกับการใช้งานและตรงตามวัตถุประสงค์ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี เป็นองค์กรหลักในการพัฒนาระบบสุขภาพของประชาชน จังหวัดสุพรรณบุรี มุ่งหวังให้บรรลุยุทธศาสตร์ชาติและนโยบายของกระทรวงสาธารณสุขด้วยการพัฒนาระบบ บริการสุขภาพและระบบบริหารจัดการสุขภาพควบคู่กันไปกับการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ของกระทรวง สาธารณสุข โดยการเชื่อมโยงระบบการดูแลสุขภาพแบบดิจิทัลเพื่ออนาคต (Digitally Connected


Page| 198 แผนปฏิบัติราชการด้านสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ประจำปีงบประมาณ 2566 Healthcare System of The Future) ซึ่งประกอบด้วยการให้บริการระบบสุขภาพได้อย่างมีประสิทธิภาพ ลดค่าใช้จ่ายในการบริหารจัดการด้านสาธารณสุข ระบบข้อมูลสุขภาพสามารถเชื่อมโยงและแลกเปลี่ยนกันได้ อย่างมีคุณภาพ ปลอดภัย ไร้รอยต่อ และได้รับการคุ้มครองจากกฎหมายที่เกี่ยวข้อง สร้างโอกาสในการพัฒนา นวัตกรรม และสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับการบริการ เกิดการพัฒนาและอภิบาลระบบสุขภาพอย่างมีส่วนร่วมและ ยั่งยืน ข้อมูลข่าวสารสุขภาพ เป็นเครื่องมือสำคัญที่ใช้ประกอบการตัดสินใจในการบริหาร และการดำเนินงาน ในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับนโยบาย จนถึงระดับปฏิบัติการในพื้นที่ รวมทั้งระดับประชาชนที่มีความต้องการใช้ ข้อมูลในลักษณะที่แตกต่างกัน ได้แก่ การใช้ข้อมูลเพื่อการกำหนดนโยบายและยุทธศาสตร์ เพื่อการจัดสรร ทรัพยากร เพื่อการติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน และเพื่อการปรับวิธีการปฏิบัติงานเพื่อแก้ไขปัญหา สุขภาพ หรือแม้แต่เพื่อเป็นการสร้างความตระหนักต่อปัญหาสำหรับภาคประชาชน โดยความต้องการใช้ข้อมูล ข่าวสารสุขภาพเหล่านี้จะอยู่ในรูปแบบของการวัด โดยใช้ดัชนีชี้วัดทางสุขภาพที่หลากหลาย ตามนโยบายและ ยุทธศาสตร์การดำเนินการด้านสุขภาพ ได้แก่ การประเมินผลงานตามเป้าหมาย การติดตามผลการดำเนินการ ตามยุทธศาสตร์ของพื้นที่ หรือของจังหวัด การประเมินผลการจัดบริการหลักประกันสุขภาพถ้วนห น้า (Universal Coverage of Health Insurance) การติดตามประเมินผลตามโครงการแก้ไขปัญหาสุขภาพ เฉพาะ (Vertical Programs) การประเมินผลความสำเร็จตามเป้าหมายสำคัญของกองทุนสนับสนุนการสร้าง เสริมสุขภาพ รวมทั้งความต้องการข้อมูลสุขภาพในระดับพื้นที่ในการตอบสนองต่อปัญหาสุขภาพที่แตกต่างกัน ตามบริบทของแต่ละพื้นที่ ซึ่งจังหวัดสุพรรณบุรี มีหน่วยงานในความรับผิดชอบประกอบด้วย โรงพยาบาล 10 แห่ง สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ 10 แห่ง และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล 174 แห่ง - สภาพปัญหาจากการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึก ในการดำเนินงานด้านสาธารณสุขนั้น จำเป็นต้องอาศัยข้อมูลสุขภาพที่มีความถูกต้อง ครบถ้วน ครอบคลุม เชื่อถือได้ และทันต่อเหตุการณ์ เพราะปัญหาสาธารณสุขมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วตาม สถานการณ์ทางเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และวัฒนธรรม ตลอดจนสิ่งแวดล้อมที่ส่งผลให้ประชาชนมีวิถีชีวิตที่ เปลี่ยนไป ดังนั้น สิ่งที่สำคัญคือ การพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสาร เพื่อให้ข้อมูลข่าวสารนั้น ๆ มีคุณภาพ สามารถ วัดในสิ่งที่ต้องการวัดได้อย่างถูกต้อง สามารถใช้อ้างอิงได้ วิธีจัดเก็บข้อมูลมีประสิทธิภาพ ก่อให้เกิดข้อมูลที่ ทันสมัย มีประโยชน์ต่อการใช้งานอย่างต่อเนื่อง ไม่เกิดความยุ่งยาก สิ้นเปลืองเวลาในการเก็บข้อมูลจนเกินไป 1.2 ปัญหาพื้นที่เชิงคุณภาพ (สาเหตุ/ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง) ระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพในปัจจุบัน พบว่ายังมีปัญหาหลายประการเนื่องจากความต้องการ ด้านข้อมูลข่าวสารสุขภาพในปัจจุบันบางส่วนมีข้อมูลมารองรับ แต่บางส่วนยังขาดข้อมูลมารองรับ ทั้งนี้ เนื่องจากขาดการวิเคราะห์ความต้องการด้านข้อมูลสุขภาพอย่างเป็นระบบ ทำให้ไม่ทราบส่วนขาดของระบบ


Page| 199 แผนปฏิบัติราชการด้านสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ประจำปีงบประมาณ 2566 ข้อมูลที่แท้จริง และขาดการวางแผนเพื่อพัฒนาระบบข้อมูล ข้อมูลส่วนใหญ่ถูกออกแบบมาเพื่อความต้องการ ข้อมูลระยะสั้นที่มักจะไม่ยั่งยืน โดยพบปัญหาของระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพ ดังนี้ 1.ปัญหาการมีข้อมูลแต่กระจัดกระจายอยู่ตามหน่วยงานต่าง ๆ ที่มีภารกิจเฉพาะ ขาดกลไกในการ ประสานข้อมูลที่มีอยู่อย่างเป็นระบบเพื่อการใช้ข้อมูลร่วมกันและลดความซ้ำซ้อน 2.ปัญหาขาดการเชื่อมโยงฐานข้อมูลต่าง ๆ เข้าด้วยกัน ทำให้การใช้ประโยชน์ในการตอบสนองความ ต้องการข้อมูลมีอยู่อย่างจำกัด และมีความซ้ำซ้อนในการจัดเก็บข้อมูล 3.ปัญหาคุณภาพและความครบถ้วนของข้อมูลที่จัดเก็บ เนื่องจากขาดความตระหนักในความสำคัญ ของข้อมูล ขาดระบบกำกับและควบคุมคุณภาพ และขาดการใช้ประโยชน์จากข้อมูล 4.ปัญหาข้อจำกัดในการวิเคราะห์ และสังเคราะห์ข้อมูลที่มีอยู่มาเป็นองค์ความรู้ที่พร้อมต่อการ นำไปใช้ประโยชน์ในระดับต่าง ๆ อย่างเหมาะสมและต่อเนื่อง 5.ปัญหาการเข้าถึงข้อมูลที่มีการจัดเก็บทั้งในระดับที่มีการวิเคราะห์แล้วและในระดับฐานข้อมูลทำให้ การใช้ประโยชน์จากข้อมูลมีอย่างจำกัด เฉพาะในหน่วยงานที่ทำหน้าที่เก็บข้อมูลนำสภาพปัญหาที่ได้มา ปรับเปลี่ยนมาตรการใหม่ ๆ มาตรการ พัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารและเทคโนโลยีให้สามารถนำไปใช้ในการวางแผน การพัฒนาระบบงาน การประเมินผล การรายงานและการใช้ประโยชน์ โดยพัฒนาใน 5 มิติ คือมาตรฐานการปฏิบัติงาน (SOP) ระบบข้อมูลข่าวสาร ระบบ IT ระบบเครือข่าย และพัฒนาบุคลากร 1.3 ข้อมูล หรือปัญหาของกระบวนการทำงาน 1.การวิเคราะห์ข้อมูล (Data Analysis) เทคโนโลยีช่วยหน่วยงานในการบริหารจัดการข้อมูล การเข้าถึงข้อมูล และระบบที่ดีจะต้องสามารถนำข้อมูลในระบบมาวิเคราะห์ เพื่อวางแผน หรือจัดการ ทรัพยากรในหน่วยงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ปัญหาการวิเคราะห์ข้อมูลของหน่วยงานในสังกัดกระทรวง สาธารณสุข พบว่า การนำข้อมูลมาประมวลผลในแต่ละครั้งเป็นเรื่องที่มีความยุ่งยาก ซับซ้อน ต้องใช้เวลาเป็น สัปดาห์เป็นเดือน เพื่อรวบรวมข้อมูล เพื่อนำมาวิเคราะห์ หรือประมวลผลแต่ละครั้ง 2.ความปลอดภัยของข้อมูล (Data Security) พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 ทำให้การจัดทำข้อมูลด้านสุขภาพต้องดำเนินการอย่างระวัดระวังมากยิ่งขึ้น เรื่องการรักษาความ ปลอดภัยของข้อมูล จึงเป็นปัญหาแรกๆ ที่องค์กรต้องให้ความสำคัญ ซึ่งการที่จะเลือกเทคโนโลยีใดมารักษา ความปลอดภัย ก็เป็นเรื่องที่ต้องวิเคราะห์กันให้ถี่ถ้วน ระดับการรักษาความปลอดภัยเพียงพอหรือไม่ การ จัดการสิทธิ์การเข้าถึงไฟล์มีความยืดหยุ่น และเหมาะสมกับการปรับใช้กับแต่ละกลุ่มงานหรือไม่


Page| 200 แผนปฏิบัติราชการด้านสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ประจำปีงบประมาณ 2566 3.บุคลากรในหน่วยงานส่วนใหญ่ขาดความรู้ความชำนาญ บุคลากรในหน่วยงานแบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือ บุคลากรด้านไอที และ ผู้ใช้งาน บุคลากรด้านไอทีขาดความรู้เรื่องการบริหารงานด้านไอทีและการ พัฒนานวัตกรรม ส่วนกลุ่ม “ผู้ใช้งาน” มีหลากหลายปัญหาแต่ทุกๆ ปัญหาถ้าผู้ใช้งานไม่สามารถจัดการได้ด้วย ตัวเอง ผู้ดูแลระบบจะต้องดำเนินการแก้ไขให้ ทำให้ปัญหาของผู้ใช้งานไม่ลดลง 4.การเข้าถึงข้อมูลสุขภาพของประชาชน ข้อมูลสุขภาพที่หน่วยบริการจัดเก็บเป็นจำนวนมาก นั้น ประชาชนส่วนใหญ่ยังไม่มีช่องทางในการเข้าถึงและใช้ประโยชน์จากข้อมูลเหล่านั้น ทำให้พฤติกรรม สุขภาพยังไม่เปลี่ยนแปลงในทางที่จะทำให้ประชาชนมีสุขภาพดี 5.การแก้ไข ปรับปรุงคุณภาพข้อมูลขาดความต่อเนื่อง สม่ำเสมอ ทำให้ข้อมูลขาดความถูกต้อง ล่าช้า ไม่ครบถ้วน 2. สรุปปัญหาที่สำคัญ สำหรับปัญหาสำคัญของระบบข้อมูลข่าวสารของจังหวัดสุพรรณบุรี ก็คือ การได้มาซึ่งข้อมูลที่มี คุณภาพ และการนำเสนอข้อมูลที่รวดเร็ว ทันสมัย เพื่อให้ผู้เกี่ยวข้องทราบและนำไปใช้เพื่อให้เกิดประโยชน์ สูงสุด ดังนั้น การพัฒนาบุคลากรและระบบเทคโนโลยีจึงเป็นสิ่งจำเป็น เพราะจะนำไปสู่การพัฒนาระบบข้อมูล ข่าวสารสุขภาพให้มีคุณภาพ ตอบสนองต่อการใช้ประโยชน์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3. เป้าประสงค์ ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศด้านสุขภาพมีประสิทธิภาพ (ครบถ้วน ถูกต้อง ทันสมัย ทันเวลา เชื่อมโยง เข้าถึงง่าย) 4. เป้าหมายและตัวชี้วัด ตัวชี้วัด 4.1 ร้อยละของหน่วยบริการสามารถเชื่อมโยงแลกเปลี่ยนข้อมูลได้ 4.2 ร้อยละของประชาชนเข้าถึงข้อมูลสุขภาพของตนเองได้


ตัวชี้วัด ยุทธศาสตร์กระทรวง ที่ 4 Governance Excellence แผนงานที่ 12 การพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศด้านสุขภาพ โครงการหลักของกระทรวง ที่ 1 โครงการพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารเทคโนโลยีสุขภาพแห่งชาติ (ระดับจังหวัด) โครงการ พัฒนาระบบงานยุทธศาสตร์สาธารณสุข จังหวัดสุพรรณบุรี กิจกรรมหลักที่ 1 พัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารและ เพื่อพัฒนาระบบเทคโนโลยี ร้อยละของจังหวัดที่ผ่านเกณฑ์ เทคโนโลยีสารสนเทศ สารสนเทศด้านสุขภาพให้มี คุณภาพข้อมูล กิจกรรมย่อยที่ 1.1 พัฒนาวิธีการระบบวิเคราะห์ ประสิทธิภาพ จังหวัดสุพรรณบุรี เจ้าหน้าที่30 คน 1, และน าเสนอข้อมูลที่ทันสมัย กิจกรรมย่อยที่ 1.2 พัฒนาคุณภาพข้อมูล HDC กิจกรรมย่อยที่ 1.3 พัฒนาระบบ NAS กิจกรรมย่อยที่ 1.4 พัฒนาทักษะดิจิทัลส าหรับ จังหวัดสุพรรณบุรี เจ้าหน้าที่30 คน บุคลากร สสจ.สุพรรณบุรี กิจกรรมย่อยที่ 1.5 อบรมเชิงปฏิบัติการติดตาม จังหวัดสุพรรณบุรี เจ้าหน้าที่20 คน 3, การด าเนินงาน IPD paperless กิจกรรมย่อยที่ 1.6 พัฒนาระบบเครือข่าย คอมพิวเตอร์ กิจกรรมย่อยที่ 1.7 พัฒนาระบบ MPC Line OA กิจกรรมย่อยที่ 1.8 นิเทศงาน Smart Hospital จังหวัดสุพรรณบุรี เจ้าหน้าที่3 คน และระบบข้อมูล HDC กิจกรรมย่อยที่ 1.9 อบรมเชิงปฏิบัติการติดตาม จังหวัดสุพรรณบุรี เจ้าหน้าที่ 20 คน 3, การให้บริการการแพทย์ทางไกล รวมงบประมาณ 7, รวมงบประมาณแผน ข้อมูลข่าวสารเทคโนโลยรสารสนเทศ 7, ค่าเป้าหมายตัวชี้วัด พื้นที่เป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย ต.ค. - ส่วนที่ 2 แผนปฏิบัติการและแผนสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ปี 2566 แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก/กิจกรรมย่อย วัตถุประสงค์ จ านวนหน่วยนับ 20


Non-UC Non UC PP กองทุน อื่นๆ สป. กรม/กอง/ เบิกจ่ายแทน กัน basic services สุขภาพต าบล เงินบ ารุง/อบจ ,/งบจังหวัด/ PPA/สสส. ,500 1,500 3,000 3,000 รหัส 12626 3,000 3,000 6,000 6,000 รหัส 12626 ,000 3,000 6,000 6,000 รหัส 12626 9,000 9,000 9,000 เงินบ ารุง ,000 3,000 6,000 6,000 รหัส 12626 ,500 4,500 18,000 - 21,000 - - - 9,000 30,000 ,500 4,500 18,000 - 21,000 - - - 9,000 30,000 รหัสงบ - ธ.ค. ม.ค. - มี.ค เม.ย - มิ.ย ก.ค. - ก.ย. ระยะเวลาด าเนินการ/งบประมาณ แหล่งงบประมาณ/จ านวนงบประมาณ งบประมาณ รวมทั้งสิ้น 01


Page| 202 แผนปฏิบัติราชการด้านสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ประจำปีงบประมาณ 2566 แผนงาน : การบริหารจัดการด้านการเงินการคลังสุขภาพ แผนงานย่อย: แผนปฏิบัติราชการการบริหารจัดการด้านการเงินการคลังสุขภาพ โครงการบริหารจัดการด้านการเงินการคลัง 1. สถานการณ์ปัญหา 1.1 Base line data ปัจจุบันหน่วยบริการระดับโรงพยาบาลในสังกัดสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี จำนวน 10 แห่ง ซึ่งในปีงบประมาณ 2565 จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรงติดเชื้อโควิด 19 ทำให้การ ดำเนินงานด้านการคัดกรองผู้ป่วยและการรักษาพยาบาลผู้ป่วยที่ติดเชื้อโรคโควิด 19 ส่งผลให้โรงพ ยาบาล ทุกแห่งมีสถานะทางการเงินการคลังเพิ่มขึ้น ส่งผลให้ไม่มีโรงพยาบาลประสบปัญหาวิกฤติด้านการเงิน โดยมี เงินบำรุงหลังหลักหนี้สิน ณ 30 กันยายน 2565 ภาพรวม จำนวน 1,264,776,927.83 บาท สูงสุดได้แก่ โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช อย่างไรก็ตาม ถึงแม้โรงพยาบาลส่วนให้มีเงินบำรุงหลังหักหนี้สิ้นเพิ่มขึ้น แต่ยังมี โรงพยาบาลที่อยู่ในข่ายเฝ้าระวังที่จะเกิดวิกฤติด้านสถานะทางการเงิน จำนวน 3 แห่ง ได้แก่ โรงพยาบาล เดิมบางนางบวช โรงพยาบาลอู่ทอง และโรงพยาบาลศรีประจันต์ ตามลำดับ (ข้อมูล ณ 30 กันยายน 2565) 1.2 ข้อมูล หรือปัญหาของกระบวนการทำงาน - การพัฒนางานบริการที่ก่อให้เกิดรายได้ - การจัดเก็บรายได้ของโรงพยาบาล 2. สรุปปัญหาที่สำคัญ ปีงบประมาณ 2566 จังหวัดสุพรรณบุรีมีโรงพยาบาลที่อยู่ในข่ายเฝ้าระวังที่เสี่ยงต่อการเกิดวิกฤติ ด้านการเงินการคลัง จำนวน 3 แห่ง ได้แก่ โรงพยาบาลเดิมบางนางบวช โรงพยาบาลอู่ทอง และโรงพยาบาลศรีประจันต์ 3. เป้าประสงค์ เพื่อให้มีการเฝ้าระวังสถานการณ์ด้านการเงินการคลังภายในจังหวัดมิให้เกิดภาวะวิกฤติทางการเงิน การคลัง ในอนาคต โดยโรงพยาบาลควรมีแผนพัฒนางานบริการที่ก่อให้เกิดรายได้และการควบคุมค่าใช้จ่าย และมีการการวิเคราะห์งบการเงินของโรงพยาบาล ทุกเดือนและนำเสนอผู้บริหารและร่วมกันระหว่าง คณะกรรมการด้านการเงินการคลัง(CFO)ของโรงพยาบาล และCFO ระดับจังหวัด 4. เป้าหมายและตัวชี้วัด 4.1 เป้าหมาย : คณะกรรมการด้านการเงินการคลัง(CFO) ทุกระดับในจังหวัดสุพรรณบุรี ร่วมกัน วิเคราะห์ ตรวจสอบความถูกต้องของงบการเงิน การกำกับติดตามการดำเนินงานตามแผนพัฒนาโรงพยาบาล การดำเนินงานของศูนย์จัดเก็บรายได้ และร่วมกันแก้ไขปัญหาและอุปสรรคเพื่อเฝ้าระวังสถานการณ์ด้าน การเงินการคลังมิให้เกิดภาวะวิกฤติ 4.2 ตัวชี้วัด : ระดับวิกฤติระดับ 7 ไม่เกินร้อยละ 4 ระดับวิกฤติระดับ 6 ไม่เกินร้อยละ 2


ตัวชี้วัด ยุทธศาสตร์กระทรวง ที่ 4 Governance Excellence แผนงานที่ 13 การบริหารจัดการด้านการเงินการคลังสุขภาพ โครงการหลักของกระทรวง ที่ 2 โครงการบริหารจัดการด้านการเงินการคลัง ระดับจังหวัด โครงการการพัฒนาประสิทธิภาพบริหาร จัดการด้านการเงินการคลัง กิจกรรมหลักที่ 1 การด าเนินงานด้านการเงิน 63. ร้อยละของหน่วยบริการที่ การคลัง ประสบภาวะวิกฤตทางการเงิน กิจกรรมย่อยที่ 1.1 ประชมชี้แจงการจดสรร เพื่อชี้แจงแนวทางการจัดสรร 63.1 ร้อยละของหน่วยบริการที่ สสจ.สุพรรณบุรี หน.งาน งบประมาณและแนวทางการด าเนิงงาน งบประมาณ การใช้จ่ายงบประมาณ ประสบภาวะวิกฤตทางการเงิน ประกันสุขภาพ/จนท. ด้านการเงินการคลังปีงบประมาณ 2566 ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์และ ระดับ 7 การเงิน/จนท.บัญชี/ แนวทางการด าเนินงานด้านการเงิน 63.2 ร้อยละของหน่วยบริการที่ สสจ.(60) การคลัง ปี 2566 ประสบภาวะวิกฤตทางการเงิน กิจกรรมย่อยที่ 1.2.คก.CFO นิเทศติดตาม รพ.ที่ เพื่อวิเคราะห์ปัญหาและติดตามผลการ ระดับ 6 รพ. 3แห่ง คก.CFO 25 คน เสี่ยงต่อการเกิดวิกฤติการเงินการคลัง(3 แห่ง) ด าเนินงาน ตามแผน Business plan กิจกรรมย่อยที่ 1.3 ตรวจเยี่ยมศูนย์จัดเก็บรายได้ รพ. 10 แห่ง คณะตรวจเยี่ยม รพ. ทุกแห่ง 6 คน/ผขร.1คน กิจกรรมย่อยที่ 1.4 การประชุมการจัดท าแผน เพื่อวิเคราะห์การจัดท าแผนประมาณ สสจ.สุพรรณบุรี คก.CFO 19 คน - Planfin ( 2ครั้ง) การรายได้และค่าใช้จ่ายของหน่วย จนท.การเงิน/บช บริการ รพ./ จนท สสจ. รวม 50 คน กิจกรรมหลักที่ 2 การบริหารจัดการด้านการ ชดเชยค่าบริการทางการแพทย์ที่มี ประสิทธิภาพ (หนี้ Oprefer) กิจกรรมที่ 2.1 ประชุมผู้อ านวยการโรงพยาบาล เพื่อการบริหารจัดการหนี้ค้างช าระค่า สสจ.สุพรรณบุรี ผอ.รพ ทุกแห่ง/ แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก/กิจกรรมย่อย วัตถุประสงค์ ค่าเป้าหมายตัวชี้วัด พื้นที่เป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย ส่วนที่ 2 แผนปฏิบัติการและแผนสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ปี 2566 จ านวนหน่วยนับ 20


Non-UC Non UC PP กองทุน อื่นๆ สป. กรม/กอง/ เบิกจ่ายแทน กัน basic services สุขภาพต าบล เงินบ ารุง/อบจ ,/งบจังหวัด/ PPA/สสส. - 9,000 9,000 9,000 เงินบ ารุง - 8,400 8,400 8,400 เงินบ ารุง - 7,500 10,500 18,000 18,000 รหัส00001 - - - - - - 3,750 3,750 7,500 7,500 รหัส00001 เม.ย - มิ.ย ต.ค. - ธ.ค. ม.ค. - มี.ค ก.ค. - ก.ย. แหล่งงบประมาณ/จ านวนงบประมาณ งบประมาณ รวมทั้งสิ้น รหัสงบ ระยะเวลาด าเนินการ/งบประมาณ 03


ตัวชี้วัด แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก/กิจกรรมย่อย วัตถุประสงค์ ค่าเป้าหมายตัวชี้วัด พื้นที่เป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย ส่วนที่ 2 แผนปฏิบัติการและแผนสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ปี 2566 จ านวนหน่วยนับ กิจกรรมหลักที่ 3 การด าเนินงานตามนโยบาย บริการทางการแพทย์กรณีการส่งต่อ จนท. 25 คน ยกระดับระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ผู้ป่วยนอก ในจังหวัดสุพรรณบุรี กิจกรรมที่ 3.1 ประชุมคณะกรรมการควบคุม เพื่อการพัฒนาระบบการให้บริการ สสจ.สุพรรณบุรี คก.ควบคุมก ากับ ก ากับการด าเนินงานภายใต้นโยบาย"ยกระดับ และการด าเนินงานให้เป็นไป การด าเนินงาน ระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ " จังหวัด ตามนโยบาย"ยกระดับระบบหลัก ภายใต้นโยบาย สุพรรณบุรี ประกันสุขภาพแห่งชาติ "ยกระดับระบบ หลักประกัน สุขภาพแห่งชาติ " จังหวัดสุพรรณบุรี จ านวน25คน รวมงบประมาณ โครงการ พัฒนาระบบงานยุทธศาสตร์สาธารณสุข จังหวัดสุพรรณบุรี กิจกรรมหลักที่ 1 พัฒนาศักยภาพบุคลากร ด้านงบลงทุน 1.เพื่อพัฒนาบุคลากรผู้รับผิดชอบ กิจกรรมย่อยที่ 1.1 จัดประชุมเชิงปฏิบัติการแลก ด้านการจัดท าแผนงบลงทุนให้มี เปลี่ยนเรียนรู้เรื่องการจัดท างบลงทุนจากทุก องค์ความรู้ในด้านการจัดท าแผนงาน สสจ./สสอ./รพ. PM สสจ./สสอ. แหล่งงบประมาณ งบลงทุนที่สามารถปฏิบัติงานได้ /รพ./ อย่างมีประสิทธิภาพ กิจกรรมย่อยที่ 1.2 จัดประชุมติดตามความ 2.เพื่อพัฒนาบุคลากรผู้รับผิดชอบ สสจ./สสอ./รพ. PM สสจ./สสอ./ ก้าวหน้าภารกิจถ่ายโอนรพสต.บ้านดอน ในมิติของ ด้านการจัดท าแผนงบลงทุน รพ./ การบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ช่วงเปลี่ยนผ่านการถ่ายโอน รพสต. ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รวมงบประมาณ รวมแผนการเงินการคลัง 20


Non-UC Non UC PP กองทุน อื่นๆ สป. กรม/กอง/ เบิกจ่ายแทน กัน basic services สุขภาพต าบล เงินบ ารุง/อบจ ,/งบจังหวัด/ PPA/สสส. เม.ย - มิ.ย ต.ค. - ธ.ค. ม.ค. - มี.ค ก.ค. - ก.ย. แหล่งงบประมาณ/จ านวนงบประมาณ งบประมาณ รวมทั้งสิ้น รหัสงบ ระยะเวลาด าเนินการ/งบประมาณ - - 3,750 3,750 7,500 7,500 รหัส00001 - - - 32,400 10,500 - 7,500 33,000 - - - 17,400 50,400 3,750.00 3,750.00 7,500.00 7,500.00 รหัส00047 - - 3,750 - 3,750 7,500 - - - - 7,500 32,400 14,250 - 11,250 40,500 - - - 17,400 57,900 04


ตัวชี้วัด ยุทธศาสตร์กระทรวง ที่ 4 Governance Excellence แผนงานที่ 14 การพัฒนางานวิจัยและนวัตกรรมด้านสุขภาพ โครงการหลักของกระทรวง ที่ 1 โครงการพัฒนางานวิจัย/นวัตกรรมผลิตภัณฑ์สุขภาพและเทคโนโลยีทางการแพทย์ ระดับจังหวัด โครงการพัฒนาและส่งเสริมงาน เพื่อสนับสนุนการด าเนิน 65.ร้อยละของเขตสุขภาพ วิจัยด้านสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี งานวิจัย และส่งเสริม ที่มีการขยายผลนวัตกรรมการ กิจกรรมหลักที่ 1 สนับสนุนให้เกิดงานวิจัย งานวิจัยตามมาตรฐาน จัดการบริการสุขภาพ และนวัตกรรมที่ตอบสนองการแก้ไขปัญหา การด าเนินงานด้าน ในพื้นที่และหน่วยงานอย่างมีคุณภาพ จริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ กิจกรรมย่อยที่ 1.1 ประชุมคณะกรรมการ จังหวัดสุพรรณบุรี จนท.สาธารณสุข พิจารณาจริยธรรม ในจังหวัด กิจกรรมย่อยที่ 1.2 สนับสนุนทุนวิจัย สุพรรณบุรี กิจกรรมหลักที่ 2 พัฒนานวัตกรรม เพื่อพัฒนานวัตกรรมให้สอดคล้องกับ จ านวนนวัตกรรม 1 เรื่อง สสจ.,สสอ.,รพ. นวัตกร 25 คน กิจกรรมย่อยที่ 2.1 ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อจัด ปัญหาสุขภาพที่ส าคัญของจังหวัด ท าแผนในการพัฒนานวัตกรรมของจังหวัด สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี กิจกรรมย่อยที่ 2.2 ประชุมติดตามการพัฒนา สสจ.,สสอ.,รพ. นวัตกร 25 คน นวัตกรรมระดับจังหวัด กิจกรรมหลักที่ 3 พัฒนาวิชาการด้านการวิจัย กิจกรรมย่อยที่ 3.1 ประชุมเชิงปฏิบัติการวิเคราะห์ เพื่อพัฒนาศักยภาพบุคลากรให้ บุคลากรที่เข้าประชุมเชิงปฏิบัติการ สสจ.,สสอ.,รพ. 30 คน อายุคาดเฉลี่ยและสาเหตุการตายระดับอ าเภอ มีความรู้ในการวิเคราะห์อายุคาดเฉลี่ย มีความรู้ฯ ระดับดี ร้อยละ 80 และสาเหตุการตายระดับอ าเภอ รวมงบประมาณทั้งสิ้น (วิจัยและนวัตกรรม) แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก/กิจกรรมย่อย วัตถุประสงค์ ค่าเป้าหมายตัวชี้วัด พื้นที่เป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย ต ส่วนที่ 2 แผนปฏิบัติการและแผนสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ปี 2566 จ านวนหน่วยนับ 20


Non-UC Non UC PP กองทุน อื่นๆ สป. กรม/กอง/ เบิกจ่ายแทน กัน basic services สุขภาพต าบล เงินบ ารุง/อบจ ,/งบจังหวัด/ PPA/สสส. - 16,000 16,000 16,000 48,000 48,000 รหัส 12626 - - 3,750 3,750 3,750 รหัส00047 - - - - - - 625 625 1,250 1,250 รหัส00047 - - - - 6,300 6,300 6,300 รหัส00047 - - - - - 19,750 16,625 22,925 59,300 - - - - 59,300 เม.ย - มิ.ย ต.ค. - ธ.ค. ม.ค. - มี.ค ก.ค. - ก.ย. แหล่งงบประมาณ/จ านวนงบประมาณ งบประมาณ รวมทั้งสิ้น รหัสงบ ระยะเวลาด าเนินการ/งบประมาณ 05


ตัวชี้วัด ยุทธศาสตร์กระทรวง ที่ 4 Governance Excellence แผนงานที่ 15 แผนงานยุทธศาสตร์พื้นฐาน ระดับจังหวัด 1.ค่าใช้จ่ายด้านบุคลากร เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหาร สสจ.สุพรรณบุรี บุคลากร สสจ. 1.1 ค่าจ้างเหมาผู้ประสานงานด้านธุรการ จัดการงานสาธารณสุขของ 1.2 ค่าจ้างเหมาผู้ประงานงานวัณโรค จังหวัดสุพรรณบุรี เพื่อสนับสนุนการด าเนินงาน 2.ค่าตอบแทน ตามภารกิจพื้นฐานของ สสจ. 2.1 ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลา สุพรรณบุรี 2.2 ค่าตอบแทนคณะกรรมการและอื่นๆ 3.ค่าใช้สอย 3.1 ค่าจ้างเหมาบริการท าความสะอาด 3.2 ค่าจ้างเหมาบริการรักษาความปลอดภัย 3.3 ค่าจ้างเหมาดูแลภูมิทัศน์ 3.4 ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ 3.5 ค่าจ้างเหมาก าจัดปลวก 3.6 ค่าจ้างเหมาบริการอื่นๆ (งานพิธ๊) 3.7 ค่าจ้างเหมาถ่ายเอกสาร 3.8 ค่าจ้างเหมาท าอาหารจัดประชุม 3.9 ค่าจ้างเหมารถตู้ 3.10 ค่าจ้างเหมา (ก าจัดสิ่งปฏิกูล/ก าจัดปลวก/เติมน้ ายาถังดับเพลิง) 3.11 ค่าจ้างเหมาสแกนเอกสารเข้าระบบภายในองค์กร 4.ค่าวัสดุ 4.1 ค่าวัสดุส านักงาน 4.2 ค่าวัสดุคอมพิวเตอร์ 4.3 ค่าวัสดุไฟฟ้าและวิทยุ 4.4 ค่าวัสดุเผยแพร่และโฆษณา 4.5 ค่าวัสดุเชื้อเพลิง ส่วนที่ 2 แผนปฏิบัติการและแผนสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ปี 2566 แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก/กิจกรรมย่อย วัตถุประสงค์ จ านวนหน่วยนับ ค่าเป้าหมายตัวชี้วัด พื้นที่เป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย 20


Non-UC Non UC PP กองทุน อื่นๆ สป. กรม/กอง/ เบิกจ่ายแทน กัน basic services สุขภาพต าบล เงินบ ารุง/อบจ ,/งบจังหวัด/ PPA/สสส. 34,500 34,500 34,500 34,500 138,000 138,000 เงินบ ารุง 54,000 54,000 - - 108,000 108,000 เงินบ ารุง 75,000 75,000 75,000 75,000 300,000 300,000 เงินบ ารุง 18,000 18,000 18,000 18,000 72,000 72,000 เงินบ ารุง 122,268 122,268 122,268 122,268 489,072 489,072 เงินบ ารุง 125,400 125,400 125,400 125,400 501,600 501,600 เงินบ ารุง 24,000 24,000 24,000 24,000 96,000 96,000 เงินบ ารุง 147,000 147,000 147,000 147,000 588,000 588,000 เงินบ ารุง - 25,000 - 25,000 50,000 50,000 เงินบ ารุง 12,000 12,000 12,000 12,000 36,000 12,000 48,000 เงินบ ารุง 12000 รหัส75691 - 33,320 45,975 - 157,345 157,345 รหัส12626 รหัส75691 รหัส82071 รหัส82072 รหัส82075 รหัส00047 - 30,000 28,050 - 58,050 58,050 เงินบ ารุง - 10,000 - - 10,000 10,000 เงินบ ารุง - 10,000 - - 10,000 10,000 เงินบ ารุง 90,000 90,000 90,000 90,000 270,000 90,000 360,000 เงินบ ารุง 90000 ระยะเวลาด าเนินการ/งบประมาณ แหล่งงบประมาณ/จ านวนงบประมาณ งบประมาณ รวมทั้งสิ้น ต.ค. - ธ.ค. ม.ค. - มี.ค เม.ย - มิ.ย ก.ค. - ก.ย. รหัสงบ 06


ตัวชี้วัด ส่วนที่ 2 แผนปฏิบัติการและแผนสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ปี 2566 แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก/กิจกรรมย่อย วัตถุประสงค์ จ านวนหน่วยนับ ค่าเป้าหมายตัวชี้วัด พื้นที่เป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย 4.6 ค่าวัสดุอื่นๆ 4.7 วัสดุงานบ้านงานครัว 5.ค่าสาธารณูปโภค 5.1 ค่าอินเตอร์เน็ต (CAT), SMSและ ZOOM 5.2 ค่าโทรศัพท์ 5.3 ค่าไปรษณีย์ 6.ค่าครุภัณฑ์ 6.1 ค่าครุภัณฑ์ส านักงาน 6.2 ค่าครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์ 6.3 ค่าครุภัณฑ์เผยแพร่และโฆษณา 6.4 ค่าครุภัณฑ์อื่นๆ 6.5 ค่าครุภัณฑ์งานบ้านงานครัว 7.ค่าจ้างเหมาซ่อมแซม 7.1 ครุภัณฑ์ 7.2 ยานพาหนะ 7.3 ปรับปรุงอาคารและสถานที่ 7.4 อื่นๆ (ระบบไฟฟ้า,ประปา,โทรศัพท์) 8. ค่าใช้จ่ายอื่นๆ 9.จ่ายสนับสนุนเงินบ ารุงต่างสถานบริการ 10. ค่าใช้จ่ายตามโครงการ 11. ค่าใช้จ่ายอื่นๆ/ค่าจัดประชุม 12. ค่าใช้จ่ายอื่นๆ (ค่าจัดซื้อยาชุดช่วยเหลือผู้ประสบภัย) 13. ค่าใช้จ่ายอื่นๆ (ค่ารับรองคุณภาพสถานพยาบาล) 14.ช าระภาษี 1 % รวมงบประมาณ 20


Non-UC Non UC PP กองทุน อื่นๆ สป. กรม/กอง/ เบิกจ่ายแทน กัน basic services สุขภาพต าบล เงินบ ารุง/อบจ ,/งบจังหวัด/ PPA/สสส. ระยะเวลาด าเนินการ/งบประมาณ แหล่งงบประมาณ/จ านวนงบประมาณ งบประมาณ รวมทั้งสิ้น ต.ค. - ธ.ค. ม.ค. - มี.ค เม.ย - มิ.ย ก.ค. - ก.ย. รหัสงบ รหัส00001 - 5,000 5,000 5,000 15,000 15,000 เงินบ ารุง 15000 61,050 61,050 61,050 61,050 244,200 244,200 เงินบ ารุง 150,000 150,000 150,000 150,000 600,000 600,000 เงินบ ารุง - 786,400 - - 786,400 786,400 เงินบ ารุง - 10,000 10,000 10,000 30,000 30,000 เงินบ ารุง - 5,000 5,000 5,000 15,000 15,000 เงินบ ารุง 15,000 15,000 15,000 15,000 30,000 30,000 60,000 เงินบ ารุง 30,000 รหัส82072 รหัส82074 45,000 45,000 60,000 60,000 90,000 120,000 210,000 เงินบ ารุง 120000 รหัส75691 รหัส00001 150,000 100,000 500,000 500,000 1,250,000 1,250,000 เงินบ ารุง 5,000 5,000 5,000 5,000 20,000 20,000 เงินบ ารุง 15,000 15,000 15,000 15,000 60,000 60,000 เงินบ ารุง 1,143,2182,007,938 1,548,243 1,499,218 583,345 - - - 5,693,322 6,276,667 07


ตัวชี้วัด ส่วนที่ 2 แผนปฏิบัติการและแผนสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ปี 2566 แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก/กิจกรรมย่อย วัตถุประสงค์ จ านวนหน่วยนับ ค่าเป้าหมายตัวชี้วัด พื้นที่เป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย โครงการ พัฒนาระบบงานยุทธศาสตร์สาธารณสุข จังหวัดสุพรรณบุรี งานแผนงาน กิจกรรมหลักที่ 1 พัฒนาแผนงาน โครงการ และนโยบายส าคัญ กิจกรรมย่อยที่ 1.1 ประชุมชี้แจงแผนยุทธศาสตร์ - เพื่อให้หน่วยบริการมีการ ร้อยละความส าเร็จของส่วนราชการใน จังหวัดสุพรรณบุรี ผู้บริหาร เจ้าหน้าที่ การพัฒนาสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ระยะ 5 ปี ด าเนินการตามแผนปฏิบัติราชการ สังกัดส านักงานปลัดกระทรวง สสจ.สุพรรณบุรี (พ.ศ2566-2570) และแผนปฏิบัติราชการประจ า ประจ าปี 2566 และ สาธารณสุขที่ด าเนินการพัฒนา ผอ.รพ./สสอ. ปีงบประมาณ พ.ศ.2566 ยุทธศาสตร์สุขภาพจังหวัด คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐผ่าน รวม 100 คน สุพรรณบุรี ระยะ 5 ปี เกณฑ์ที่ก าหนดร้อยละ 100 กิจกรรมย่อยที่ 1.2 ประชุมมอบนโยบายการขับเคลื่อนงาน - เพื่อขับเคลื่อนนโยบายกระทรวง จังหวัดสุพรรณบุรี ผู้บริหาร เจ้าหน้าที่ สาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรีและพิธีลงนามค ารับรอง สาธารณสุข นโยบายส าคัญของ สสจ.สุพรรณบุรี ปฏิบัติราชการส านักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี สสจ.สุพรรณบุรี ผอ.รพ./สสอ. ประจ าปีงบประมาณ 2566 รวม100 คน กิจกรรมย่อยที่ 1.3 ประชุมเพื่อสร้างรูปแบบระบบบริการ จังหวัดสุพรรณบุรี ผู้บริหาร เจ้าหน้าที่ ด้านสุขภาพในระดับพื้นที่ภายหลังการถ่ายโอนภารกิจฯ สสจ.สุพรรณบุรี ผอ.รพ./สสอ. รวม97 คน กิจกรรมย่อยที่ 1.4 ประชุมคณะท างานขับเคลื่อนนโยบายมุ่งเน้น ผู้บริหาร เจ้าหน้าที่ ส านักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี ปีงบประมาณ 2566 สสจ.สุพรรณบุรี รวม 30 คน กิจกรรมย่อยที่ 1.5 ประชุมคณะท างานขับเคลื่อนนโยบายมุ่งเน้น ผู้บริหาร เจ้าหน้าที่ น าเสนอแผนงาน/โครงการที่ตอบสนองนโยบายมุ่งเน้น สสจ.สุพรรณบุรี สสจ.สุพรรณบุรี รวม 30 คน กิจกรรมย่อยที่ 1.6 การจัดท าค ารับรองปฏิบัติราชการ 1.เพื่อขับเคลื่อนนโยบายส าคัญให้ ผู้บริหาร เจ้าหน้าที่ ของนพ.สสจ. กับผู้บริหาร หัวหน้ากลุ่มงาน/งานในสสจ. บรรลุเป้าหมาย สสจ.สุพรรณบุรี ผู้อ านวยการโรงพยาบาล สาธารณสุขอ าเภอ (ในกวป.) ผอ.รพ./สสอ รวม 70 คน กิจกรรมย่อยที่ 1.7 พัฒนาศักยภาพ เพื่อให้แกนน านักยุทธศาสตร์ทุกระดับ แกนน ำ บุคลากรด้านสาธารณสุข จังหวัดสุพรรณบุรี มีความรู้ในการน าเสนอ นักยุทธศาสตร์ ในการจัดท าแผนงาน โครงการ และการประเมินแผน แผนงาน การเขียนโครงการ ทั้งหมด 70 คน ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านคุณภาพ การเชื่อมโยงแผนยุทธศาสตร์ชาติ สสจ.30 คน แผนยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข รพ. 2 คน *10 20


Non-UC Non UC PP กองทุน อื่นๆ สป. กรม/กอง/ เบิกจ่ายแทน กัน basic services สุขภาพต าบล เงินบ ารุง/อบจ ,/งบจังหวัด/ PPA/สสส. ระยะเวลาด าเนินการ/งบประมาณ แหล่งงบประมาณ/จ านวนงบประมาณ งบประมาณ รวมทั้งสิ้น ต.ค. - ธ.ค. ม.ค. - มี.ค เม.ย - มิ.ย ก.ค. - ก.ย. รหัสงบ 15,000 15,000 15,000 รหัส00047 12,125 12,125 12,125 รหัส00001 4,500 4,500 4,500 13,500 13,500 เงินบ ารุง 750 750 750 เงินบ ารุง 08


ตัวชี้วัด ส่วนที่ 2 แผนปฏิบัติการและแผนสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ปี 2566 แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก/กิจกรรมย่อย วัตถุประสงค์ จ านวนหน่วยนับ ค่าเป้าหมายตัวชี้วัด พื้นที่เป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย แผนยุทธศาสตร์จังหวัด สสอ. 2 คน *10 แผนปฏิบัติการระดับหน่วยงาน และแผนปฏิบัติการระดับอ าเภอ กิจกรรมย่อยที่ 1.8 ประชุมจัดสรรงบประมาณ Non UC เพื่อจัดสรรงบประมาณ Non UC ผู้บริหาร ประจ าปีงบประมาณ 2566 ประจ าปีงบประมาณ 2566 หัวหน้ากลุ่มงาน/งาน และผู้เกี่ยวข้อง 25 คน กิจกรรมย่อยที่ 1.9 ประชุมแผนงบประมาณและการ 1.เพื่อติดตามการจัดท าแผนงบประมาณ ผู้รับผิดชอบงาน บันทึกข้อมูลในระบบ SMS ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 และการบันทึกข้อมูลในระบบ SMS แผนงาน/โครงการ ปีละ 2 ครั้ง (ครึ่งวันบ่าย) ปีงบประมาณ พ.ศ.2566 งบประมาณของ กลุ่มงานในสสจ. สุพรรณบุรี จ านวน 30 คน กิจกรรมย่อยที่ 1.10 ประชุมเชิงปฏิบัติการในการจัด เพื่อจัดท าแผนปฏิบัติราชการบรรจุ ผู้รับผิดชอบแผนงาน ท าแผนเพื่อบรรจุในแผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด/ ในแผนพัฒนาจังหวัด แผนภาค โครงการที่เกี่ยวข้อง แผน อบจ. จ านวน 30 คน กิจกรรมย่อยที่ 1.11 ประชุมจัดท าแผนพัฒนาหน่วยงาน เพื่อจัดท าแผนพัฒนาหน่วยงานและ ผู้บริหาร เจ้าหน้าที่ และแผนเงินบ ารุงของหน่วยงานในสังกัด แผนเงินบ ารุงของหน่วยงานในสังกัด สสจ.สุพรรณบุรี ส านักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี ส านักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี ผอ.รพ./สสอ รวม 70 คน กิจกรรมย่อยที่ 1.12 ประชุมเชิงปฏิบัติการ จัดท าแผนปฏิบัติการมีความ เจ้าหน้าที่ คปสอ. เพื่อจัดท าแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านสุขภาพ สอดคล้องเชื่อมโยงกับ และ สสจ. จังหวัดสุพรรณบุรี และแผนปฏิบัติราชการ กับยุทธศาสตร์สุขภาพจังหวัด จ านวน 250 คน ประจ าปีงบประมาณ 2567 สุพรรณบุรี กิจกรรมย่อยที่ 1.13 ประชุมสรุปผลงานปีงบประมาณ ผู้บริหาร เจ้าหน้าที่ 2566 สสจ.สุพรรณบุรี ผอ.รพ./สสอ. รวม 100 คน รวมงบประมาณ (งานแผน) 20


Non-UC Non UC PP กองทุน อื่นๆ สป. กรม/กอง/ เบิกจ่ายแทน กัน basic services สุขภาพต าบล เงินบ ารุง/อบจ ,/งบจังหวัด/ PPA/สสส. ระยะเวลาด าเนินการ/งบประมาณ แหล่งงบประมาณ/จ านวนงบประมาณ งบประมาณ รวมทั้งสิ้น ต.ค. - ธ.ค. ม.ค. - มี.ค เม.ย - มิ.ย ก.ค. - ก.ย. รหัสงบ 31,625 5,250 4,500 - 27,125 - - - 14,250 41,375 09


ตัวชี้วัด ส่วนที่ 2 แผนปฏิบัติการและแผนสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ปี 2566 แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก/กิจกรรมย่อย วัตถุประสงค์ จ านวนหน่วยนับ ค่าเป้าหมายตัวชี้วัด พื้นที่เป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย งานตรวจราชการ นิเทศงาน ประเมินผล กิจกรรมหลักที่ 2 พัฒนาระบบการประเมินผล ควบคุม ก ากับ ติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์ของ การปฏิบัติงานด้านสาธารณสุข กิจกรรมย่อยที่ 2.1 ประชุมชี้แจงแนวทางการตรวจราชการ เพื่อแจ้งแนวทางการตรวจราชการ ผู้บริหาร หัวหน้า และนิเทศงำนกรณีปกติ กระทรวงสำธำรณสุข ตัวชี้วัด รูปแบบการตรวจและการเตรียม กลุ่มงาน/งาน และแบบรำยงำนตำมตัวชี้วัด ความพร้อมรับตรวราชการ ผู้เกี่ยวข้อง PM แผน สสจ. รวม 50 คน*2 ครั้ง กิจกรรมย่อยที่ 2.2 ประชุมรับการตรวจราชการและ เพื่อรับการนิเทศ ติดตาม ก ากับงาน ผู้บริหาร หัวหน้า นิเทศงานกระทรวงสาธารณสุข กรณีปกติ และประเมินผลการด าเนินงาน กลุ่มงาน/งาน สาธารณสุขระดับกระทรวง ผู้เกี่ยวข้อง รวม100 คน*2 ครั้ง กิจกรรมย่อยที่ 2.3 ประชุมสรุปผลการตรวจราชการฯ สรุปผลการตรวจราชการฯ ผู้บริหาร หัวหน้า และข้อเสนอแนะ ข้อสั่งการ กลุ่มงาน/งาน ของคณะตรวจราชการ พร้อม ผู้เกี่ยวข้อง วางแผนพัฒนา ปรับปรุง รวม 30 คน*2 ครั้ง กิจกรรมย่อยที่ 2.4 ประชุมรับตรวจราชการเฉพาะกิจ เพื่อติดตาม ประเมินผลงานใน ผู้บริหาร การตรวจเยี่ยมกรณ๊พิเศษต่างๆ ผู้เกี่ยวข้อง 50 คน กิจกรรมย่อยที่ 2.5 ประชุมคณะกรรมการบริหาร 1.เพื่อแผนด าเนินงานและก าหนด สสจ.สุพรรณบุรี คณะกรรมการ ส านักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี แนวทางการด าเนินงาน สสจ. บริหารสสจ. สุพรรณบุรี สุพรรณบุรีและ 2. เพื่อติดตาม ควบคุม ก ากับการ ผู้เกี่ยวข้อง ด าเนินงานประเด็นส าคัญ นโยบาย จ านวน 30 คน ส าคัญของสสจ.สุพรรณบุรีให้บรรลุผล จ านวน 12 ครั้ง กิจกรรมย่อยที่ 2.6 ประชุมคณะกรรมการวางแผน 1.เพื่อร่วมวางแผนและก าหนด สสจ.สุพรรณบุรี คณะกรรมการ และประเมินผลส านักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี แนวทางการด าเนินงาน วางแผนและ ปีงบประมาณ 2566 2.เพื่อประสานการด าเนินงาน ประเมินผล สสจ. ควบคุม ก ากับ ติดตาม นิเทศงาน สุพรรณบุรี และ และประเมินผลการด าเนินงาน ผู้เกี่ยวข้อง 21


Non-UC Non UC PP กองทุน อื่นๆ สป. กรม/กอง/ เบิกจ่ายแทน กัน basic services สุขภาพต าบล เงินบ ารุง/อบจ ,/งบจังหวัด/ PPA/สสส. ระยะเวลาด าเนินการ/งบประมาณ แหล่งงบประมาณ/จ านวนงบประมาณ งบประมาณ รวมทั้งสิ้น ต.ค. - ธ.ค. ม.ค. - มี.ค เม.ย - มิ.ย ก.ค. - ก.ย. รหัสงบ 51,400 51,400 98,000 4,800 102,800 รหัส00001 เงินบ ารุง 4800 16,200 16,200 30,000 2,400 32,400 รหัส00001 เงินบ ารุง 2400 5,250 8,250 5,250 8,250 27,000 27,000 รหัส75691 5,250 5,250 5,250 5,250 21,000 21,000 รหัส75691 10


ตัวชี้วัด ส่วนที่ 2 แผนปฏิบัติการและแผนสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ปี 2566 แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก/กิจกรรมย่อย วัตถุประสงค์ จ านวนหน่วยนับ ค่าเป้าหมายตัวชี้วัด พื้นที่เป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย ตามนโยบายส าคัญให้บรรลุผล จ านวน 70 คน จ านวน 12 ครั้ง กิจกรรมย่อยที่ 2.7 ก ากับ ติดตามผลงาน ควบคุม ก ากับ ประเมินผลงานทุก สสจ.สุพรรณบุรี คณะกรรมการ ตาม PA/KPI รายไตรมาส 3 เดือน เพื่อให้ผลงานบรรลุเป้าหมาย บริหารสสจ. สุพรรณบุรีและ ผู้เกี่ยวข้อง จ านวน 30 คน จ านวน 4 ครั้ง กิจกรรมย่อยที่ 2.8 นิเทศงานภาพรวมจังหวัด ติดตามผลการด าเนินงานตาม 10 คปสอ. คณะกรรมการ แบบบูรณาการทุกกลุ่มงาน/งาน นโยบาย และตวชี้วัดที่ส าคัญ บริหารสสจ. ในส านักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี ของกระทรวงและจังหวัด สุพรรณบุรีและ ผู้เกี่ยวข้อง จ านวน 30 คน ปีละ 2 ครั้ง รวมงบประมาณ(งานประเมิน) โครงการสนับสนุนการด าเนินงานตามยุทธศาสตร์ เพื่อควบคุมก ากับติดตามประเมิน สสอ. 10 แห่ง ด้านสาธารณสุขและสร้างเสริมสุขภาพเชิงรุก ผลการด าเนินงานตามยุทธศาสตร์ด้าน กิจกรรมย่อยที่ 1 ค่าใช้จ่ายในการสนับสนุนการด าเนินงาน สาธารณสุขเชิงรุกเพื่อสนับสนุน ของส านักงานสาธารณสุขอ าเภอทั้ง ด าเนินงานตามภารกิจพื้นฐานของ 10 แห่ง ส านักงานสาธารณสุขอ าเภอ รวมงบประมาณ รวมงบประมาณทั้งสิ้น (โครงการพื้นฐาน) 21


Non-UC Non UC PP กองทุน อื่นๆ สป. กรม/กอง/ เบิกจ่ายแทน กัน basic services สุขภาพต าบล เงินบ ารุง/อบจ ,/งบจังหวัด/ PPA/สสส. ระยะเวลาด าเนินการ/งบประมาณ แหล่งงบประมาณ/จ านวนงบประมาณ งบประมาณ รวมทั้งสิ้น ต.ค. - ธ.ค. ม.ค. - มี.ค เม.ย - มิ.ย ก.ค. - ก.ย. รหัสงบ 15,000 15,000 30,000 30,000 เงินบ ารุง 10,500 96,100 93,100 13,500 176,000 - - - 37,200 213,200 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 1,185,3432,109,288 1,645,843 1,512,718 786,470 - - - 5,744,772 6,531,242 11


Page| 212 แผนปฏิบัติราชการด้านสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ประจำปีงบประมาณ 2566 ดาวน์โหลด เล่มรายละเอียดตัวชี้วัดกระทรวงสาธารณสุข ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ดาวน์โหลด การประเมินผลการปฏิบัติราชการตามค ารับรอง การปฏิบัติราชการ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566


Page| 213 แผนปฏิบัติราชการด้านสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ประจำปีงบประมาณ 2566 ดาวน์โหลด แผนปฏิบัติราชการจังหวัดสุพรรณบุรี ดาวน์โหลด แผนปฏิบัติราชการอ าเภอ ดาวน์โหลด แบบฟอร์มแผนปฏิบัติราชการ และ โครงการ


-21 ทำเนียบผู้ประสานแผน สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี ประจำปี ลำดับ ชื่อ สกุล เบอร์โทรศัพท์ ระดับจังหวัด 1 นายศรัณ รัตนรังสิมา 089-1604040 2 นายกอบเกียรติ ปาละกะวงศ์ ณ อยุธยา 086-7625380 3 นางสาววลัยพร สิงห์จุ้ย 084-0802680 4 นางสาวชนาทิพ หัตถกรรม 098-3326515 5 นายณัฏฐชัย แก้วเจริญสีทอง 081-0061864 6 นางดรุณี สนทิศปัญญา 089-9187897 7 นางจันทร์ทรา ทรัพย์ศิริ 089-1074367 8 นางสาวณัฏฐ์อริญ เดชะศิริพงษ์ 081-8498788 9 นางฉวีวรรณ ดำคำทา 096-9798746 10 นางศสิริ ตั้งสะสม 086-5565350 11 นางสาวศิริกาญจน์ เจริญไชย์ธำรง 085-5242265 12 นางสาวอ่อนนุช หมวดคูณ 087-8061622 13 นางสาวอุมากร มณีวงษ์ 089-9191736 14 นางนันทา นิ่มอนงค์ 063-9922919 15 นางสาวกัญญาณี เพ็งอ้น 094-2424150


14 - ปงบประมาณ 2566 ท์ E-mail กลุ่มงาน/งาน [email protected] กลุ่มงานทันตสาธารณสุข [email protected] กลุ่มกฎหมาย [email protected] กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข [email protected] กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข [email protected] กลุ่มงานบริหารทั่วไป [email protected] กลุ่มงานบริหารทั่วไป [email protected] กลุ่มงานบริหารทั่วไป [email protected] กลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภคฯ [email protected] กลุ่มงานส่งเสริมฯ [email protected] กลุ่มงานส่งเสริมฯ [email protected] กลุ่มงานส่งเสริมฯ [email protected] กลุ่มงานส่งเสริมฯ [email protected] กลุ่มงานส่งเสริมฯ [email protected] กลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคคล [email protected] กลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคคล


-21 ลำดับ ชื่อ สกุล เบอร์โทรศัพท์ 16 นางศิริรัตน์ กิจจารุวงษ์ 097-2587272 17 นางพนัชญา ประดับสุข 098-4494556 18 นางสาวขนิษฐา สุนพคุณศรี 085-295-4224 19 นายอนิวัฒน์ จันทร์แสตมป์ 083-0117919 20 นางชัญญาภรณ์ โชติทวีวัฒน์ 089-5468732 21 นางนิภารัตน์ ฉ่ำสมบูรณ์ 089-6714953 22 นายชัยณรงค์ สุขขำ 086-3787330 23 นางนิภา พิณสุวรรณ 081-1920571 24 นางสาวอรนุช เอมสมบูรณ์ 081-9441652 25 นางสาวพวงแก้ว พรหมรส 084-3169995 26 นางกัญญา พงษ์สุวรรณ 082-9891635 27 นางพัชรินทร์ มณีพงศ์ 089-0734649 ระดับคปสอ. 28 นางสาวรุ่งนภา ศรีดอกไม้ 081-6120993 29 นางสาวธยาต์ฤดี จันผาทวีสิน 081-5713291 30 นางสาวราตรี เชื้อชาติ 084-8841054 31 นางสาวปัญญ์ชลี ดิษฐกระจันทร์ 094-9259651


15 - ท์ E-mail กลุ่มงาน/งาน [email protected] กลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อฯ [email protected] กลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อฯ [email protected] กลุ่มงานอนามัยสิ่งแวดล้อมฯ [email protected] กลุ่มงานประกันสุขภาพ [email protected] กลุ่มงานประกันสุขภาพ [email protected] กลุ่มงานการแพทย์แผนไทยฯ [email protected] กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ [email protected] กลุ่มงานพัฒนาคุณภาพฯ [email protected] กลุ่มงานพัฒนาคุณภาพฯ [email protected] กลุ่มงานพัฒนาคุณภาพฯ [email protected] กลุ่มงานพัฒนาคุณภาพฯ [email protected] งานวิจัยและนวัตกรรม [email protected] โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช [email protected] โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช [email protected] โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช [email protected] สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมืองฯ


-21 ลำดับ ชื่อ สกุล เบอร์โทรศัพท์ 32 นางสาวสมบัติ อึ้งเจริญทรัพย์ 081-9058750 33 นายพีรยุทธ รัตนเสลานนท์ 092-5152525 34 นางศิริเพ็ญ พวงจิก 081-0082695 35 นางสาวปิยวรรณ การสังเวชน์ 081-3645304 36 นางประไพ มูลจิตร์ 081-7637260 37 นายศราวุธ ทองไพรวรรณ 081-8578522 38 นางสาวปาริชาต วิเชียรศรี 081-8585183 39 นายกฤษประพันธ์ กฤษณชาญดี 082-3555783 40 นางสาววงศ์หทัย มีป้อม 083-8902547 41 นายสันติ มอญแช่มช้อย 0819448937 42 นางประภัสธิตา ทวีสิงห์ 081-7334260 43 นางสาวศุภลักษณ์ เข็มเพ็ชร์ 080-5688982 44 นางสำรวย คุ้มวงษ์ 098-8253424 45 นายภาณุวัฒน์ มีชะนะ 081-4928510 46 นาย ชัยยุทธ์ พิทักษ์วงษ์ 085-1388996 47 นายอำนาจ แก้วสุข 090-9679444 48 นางหรรษา เกษประทุม 094-8633798


16 - ท์ E-mail กลุ่มงาน/งาน [email protected] โรงพยาบาลสมเด็จพระสังฆราชองค์ที่ 17 [email protected] สำนักงานสาธารณสุขอำเภอสองพี่น้อง [email protected] โรงพยาบาลดอนเจดีย์ [email protected] โรงพยาบาลดอนเจดีย์ [email protected] สำนักงานสาธารณสุขอำเภอดอนเจดีย์ [email protected] โรงพยาบาลบางปลาม้า [email protected] โรงพยาบาลบางปลาม้า [email protected] สำนักงานสาธารณสุขอำเภอบางปลาม้า [email protected] โรงพยาบาลศรีประจันต์ [email protected] สำนักงานสาธารณสุขอำเภอศรีประจันต์ [email protected] โรงพยาบาลสามชุก [email protected] โรงพยาบาลสามชุก [email protected] สำนักงานสาธารณสุขอำเภอสามชุก [email protected] โรงพยาบาลหนองหญ้าไซ [email protected] โรงพยาบาลหนองหญ้าไซ [email protected] สำนักงานสาธารณสุขอำเภอหนองหญ้าไซ [email protected] โรงพยาบาลเดิมบางนางบวช


-21 ลำดับ ชื่อ สกุล เบอร์โทรศัพท์ 49 ภก.ณัฐพล ปานเพ็ชร์ 085-1711597 50 นายณัทฐวรรธนยชญ์ วัลมาลี 089-9100688 51 นางสาวแก้วกาญจน์ มาตตะโก 093-1342640 52 นายภูมิณัฐ ศรีธรรมรัชต์ 080-1229559 53 นายกฤษฎา อินเทียน 089-8366525 54 นายกมล รอดสถิตย์ 082-6352249 55 นางอุษา วงศ์พรพิพัฒน์ 092-9636529


17 - ท์ E-mail กลุ่มงาน/งาน [email protected] โรงพยาบาลเดิมบางนางบวช [email protected] สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเดิมบางนางบวช [email protected] โรงพยาบาลอู่ทอง [email protected] โรงพยาบาลอู่ทอง [email protected] สำนักงานสาธารณสุขอำเภออู่ทอง [email protected] โรงพยาบาลด่านช้าง [email protected] สำนักงานสาธารณสุขอำเภอด่านช้าง


Click to View FlipBook Version