The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เล่มแผนปฏิบัติราชการ 2566 ฉบับจริง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by chanatip_min, 2023-07-03 23:36:27

เล่มแผนปฏิบัติราชการ 2566 ฉบับจริง

เล่มแผนปฏิบัติราชการ 2566 ฉบับจริง

Non-UC Non UC PP กองทุน อื่นๆ สป. กรม/กอง/ เบิกจ่ายแทน กัน basic services สุขภาพต าบล เงินบ ารุง/อบจ ,/งบจังหวัด/ PPA/สสส. เม.ย - มิ.ย าย ต.ค. - ธ.ค. ม.ค. - มี.ค ก.ค. - ก.ย. แหล่งงบประมาณ/จ านวนงบประมาณ งบประมาณ รวมทั้งสิ้น ระยะเวลาด าเนินการ/งบประมาณ รหัสงบ อบงาน 1,000 1,000 1,000 - 3,000 3,000 เงินบ ารุง ชิก ข้อง 26,000 - - - 26,000 26,000 เงินบ ารุง - 25,000 - - 25,000 25,000 เงินบ ารุง - 30,000 - - 30,000 30,000 เงินบ ารุง - 13,000 - - 13,000 13,000 เงินบ ารุง - 3,000 - - 3,000 3,000 เงินบ ารุง 2,000 - - - 2,000 2,000 เงินบ ารุง 8


ตัวชี้วัด แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก/กิจกรรมย่อย วัตถุประสงค์ ค่าเป้าหมายตัวชี้วัด พื้นที่เป้าหมาย กลุ่มเป้าหมา ส่วนที่ 2 แผนปฏิบัติการและแผนสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ปี 2566 จ านวนหน่วยนับ กิจกรรมย่อยที่ 2.1 เยี่ยมเสริมพลัง สุ่มประเมิน เพื่อติดตามผลการด าเนินงาน/ การพัฒนายกระดับสถานที่จ าหน่ายอาหารตาม รับทราบปัญหาอุปสรรค/ให้ข้อเสนอแนะ เกณฑ์มาตรฐานฯ ระดับพื้นฐาน และตรวจประเมิน และประเมินผลการพัฒนายกระดับ สถานที่จ าหน่ายอาหารตามเกณฑ์มาตรฐานฯ สถานที่จ าหน่ายอาหารตามเกณฑ์ ระดับดีมาก ร่วมกับ ศอ.5 ราชบุรี มาตรฐานฯ ระดับดีมาก ร่วมกับ ศอ.5 รวมงบประมาณสุขาภิบาลอาหาร รวมงบประมาณทั้งสิ้น(สิ่งแวดล้อม) 9


Non-UC Non UC PP กองทุน อื่นๆ สป. กรม/กอง/ เบิกจ่ายแทน กัน basic services สุขภาพต าบล เงินบ ารุง/อบจ ,/งบจังหวัด/ PPA/สสส. เม.ย - มิ.ย าย ต.ค. - ธ.ค. ม.ค. - มี.ค ก.ค. - ก.ย. แหล่งงบประมาณ/จ านวนงบประมาณ งบประมาณ รวมทั้งสิ้น ระยะเวลาด าเนินการ/งบประมาณ รหัสงบ 5,400 5,400 10,800 10,800 เงินบ ารุง 29,000 77,400 1,000 5,400 112,800 - - - - 112,800 29,600 157,867 4,000 6,000 112,800 58,492 - - 26,175 197,467 9


Non-UC สป. 2. Service Excellence(บริการเป็นเลิศ) 38,850 แผนงานที่5 : การพัฒนาระบบการแพทย์ปฐมภูมิ 6,500 1.โครงการพัฒนาระบบการแพทย์ปฐมภูมิ - 2.โครงการพัฒนาเครือข่ายก าลังคนด้านสุขภาพ และ อสม. 6,500 แผนงานที่6 : การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) 32,350 1. โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง 18,000 2.โครงการพัฒนาระบบบริการโรคติดต่อ โรคอุบัติใหม่และอุบัติซ้ า - 3.โครงการป้องกันและควบคุมการดื้อยาต้านจุลชีพและการใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล - 4.โครงการพัฒนาศูนย์ความเป็นเลิศทางการแพทย์ - 5.โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาทารกแรกเกิด - 6.โครงการดูแลผู้ป่วยระยะท้ายแบบประคับคองและการดูแลผู้ป่วยกึ่งเฉียบพลัน - 7.โครงการพัฒนาระบบบริการการแพทย์แผนไทยฯ 3,000 8.โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาสุขภาพจิตและจิตเวช 11,350 9.โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ 5 สาขาหลัก - 10.โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาโรคหัวใจ - 11.โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาโรคมะเร็ง - 12.โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาโรคไต - 13.โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาจักษุวิทยา - 14.โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาปลูกถ่ายอวัยวะ - 15.โครงการพัฒนาระบบบริการบ าบัดรักษาผู้ป่วยยาเสพติด - 16.โครงการการบริบาลฟื้นฟูสภาพระยะกลาง (Intermediate care: IMC) - สรุบงบประมาณแผน Service E แผนงาน


Non UC PP กองทุน อื่นๆ กรม/กอง/เบิกจ่าย แทนกนั basic services สุขภาพต าบล เงินบ ารุง/อบจ,/งบ จังหวัด/PPA/สสส. 390,150 267,250 12,450 2,990,550 3,699,250 100.00 375,150 267,250 12,450 65,150 726,500 19.64 3,000 - - - 3,000 372,150 267,250 12,450 65,150 723,500 - - - 2,527,100 2,559,450 69.19 - - - - 18,000 - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - 150,000 153,000 - - - - 11,350 - - - - - - - - - - - - - 25,200 25,200 - - - - - - - - - - - - - - - - - - 2,351,900 2,351,900 - - - - - Excellence (บริการเป็นเลิศ) งบประมาณ สัดส่วน รวม


Non-UC สป. สรุบงบประมาณแผน Service E แผนงาน 17.โครงการกัญชาทางการแพทย์ - แผนงานที่7 : การพัฒนาระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินครบวงจรและระบบการส่งต่อ - 1.โครงการพัฒนาระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินครบวงจรและระบบส่งต่อ - - 1.โครงการพระราชด าริโครงการเฉลิมพระเกียรติและพื้นที่เฉพาะ - - 1.โครงการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพและการแพทย์ - แผนงานที่9 : อุตสาหกรรมการแพทย์ครบวงจร การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ ความงาม และแพทย์แผนไทย แผนงานที่8 : การพัฒนาตามโครงการพระราชด าริโครงการเฉลิมพระเกียรติและพื้นที่เฉพาะ


Non UC PP กองทุน อื่นๆ กรม/กอง/เบิกจ่าย แทนกนั basic services สุขภาพต าบล เงินบ ารุง/อบจ,/งบ จังหวัด/PPA/สสส. Excellence (บริการเป็นเลิศ) งบประมาณ สัดส่วน รวม - - - - - - - - 385,200 385,200 10.41 - - - 385,200 385,200 15,000 - - - 15,000 0.41 15,000 - - - 15,000 - - - 13,100 13,100 0.35 - - - 13,100 13,100


Page| 100 แผนปฏิบัติราชการด้านสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ประจำปีงบประมาณ 2566 แผนงาน : การพัฒนาระบบการแพทย์ปฐมภูมิ แผนงานย่อย: แผนปฏิบัติราชการการพัฒนา PCU/NPCU โครงการพัฒนาระบบการแพทย์ปฐมภูมิ 1. สถานการณ์ปัญหา 1.1 Base line data จังหวัดสุพรรณบุรี มีประชากร จำนวน 633,843 คน (DB pop ณ วันที่ 1 ม.ค.65) มี 10 อำเภอ และมีหน่วยบริการสาธารณสุขประกอบด้วยโรงพยาบาลศูนย์ จำนวน 1 แห่ง โรงพยาบาลทั่วไป จำนวน 1 แห่ง โรงพยาบาลชุมชน จำนวน 8 แห่ง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล จำนวน 174 แห่ง และศูนย์สุขภาพชุมชน เมือง (ศสม.) จำนวน 3 แห่ง แผนจัดตั้งหน่วยบริการปฐมภูมิและเครือข่ายหน่วยบริการปฐมภูมิ 10 ปี (ปี 2563-2572) จำนวน 70 ทีม ครอบคลุมประชากรทั้งหมด 633,843 คน ในปี 2559-2564 จัดตั้ง PCU/NPCU 43 ทีม (61.43 %) มีเป้าหมายเปิดหน่วยบริการสะสม ปี 2565 จำนวน 51 ทีม (เปิดใหม่ 8 ทีม) สรุปการดำเนินงาน ปี 2565 1. จัดตั้ง PCU/NPCU จำนวน 49 ทีม คิดเป็นร้อยละ 70(เกณฑ์ ร้อยละ 50) 2.ครอบคลุมประชากรทั้งหมด จำนวน 447,748 คน ร้อยละ 69.69 (เกณฑ์ ร้อยละ 50) สภาพปัญหาจากข้อมูลการวิเคราะห์เชิงลึกรายแผน 1. ไม่สามารถจัดตั้งตามแผน 3 ทีม ได้แก่ 1.รพ.สต.บ้านม่วงเจริญผล (อ.ศรีประจันต์) 2.รพ. สต.น้านดอน 3.รพ.สส.สระพังลาน (อ.อู่ทอง) เนื่องจากขาดแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว 2. ผลงานเชิงคุณภาพ (1 ต.ค.63-30 ก.ย.65) ดำเนินการพัฒนาหน่วยบริการปฐมภูมิและ เครือข่ายหน่วยบริการปฐมภูมิ ให้มีศักยภาพในการจัดบริการมากขึ้น และเพื่อให้ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการที่มี คุณภาพได้อย่างสะดวกรวดเร็ว ได้แก่ การพัฒนาระบบการดูแลต่อเนื่อง การจัดบริการคลินิกโรคเรื้อรัง DM /HT การตรวจ Lab พัฒนาระบบเชื่อมโยงข้อมูลโดยสามารถเชื่อมโยงข้อมูลระหว่างหน่วยบริการกับรพ.แม่ข่ายได้ทุก แห่ง พัฒนาระบบการส่งต่อไปยังโรงพยาบาลแม่ข่าย โดยช่องทาง Green channel ทุกแห่ง ส่วนผลการดำเนินงาน ตามนโยบายมุ่งเน้นในปี 2565 พบว่า ผู้ป่วย DM มารับบริการ ที่ PCU/NPCU คิดเป็นร้อยละ 56.28 ผู้ป่วย HT มารับบริการ ที่ PCU/NPCU ร้อยละ 52.54 ผู้ป่วย DM คุมระดับน้ำตาลได้ดีลดลง ร้อยละ 1.59 (ร้อยละ 30.60) ผู้ป่วย HT คุมความดันได้ดี ลดลง ร้อยละ 7.16 (ร้อยละ 57.67) และ ANC ครั้งแรกอายุครรภ์ ≤ 12 สัปดาห์ ร้อย ละ 85.10 ผู้สูงอายุติดสังคมได้รับการดูแล อย่างน้อยร้อยละ 88.32 ผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียง ผู้พิการ ได้รับ การดูแล ร้อยละ 91.84 กลุ่มเปราะบางได้รับการดูแล ร้อยละ 64.61 และการรับบริการผู้ป่วยนอกของ ประชาชนในเขตรับผิดชอบที่ PCU/NPCU (OPD visit) ร้อยละ 68.96 1.2 ปัญหาพื้นที่เชิงคุณภาพ (สาเหตุ/ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง) ทบทวนปัญหา จากผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย สำคัญ ผู้ป่วย ผู้ที่เกี่ยวข้อง/จากตัวชี้วัด นำสภาพ ปัญหาที่ได้มาปรับเปลี่ยนมาตรการใหม่ๆ


Page| 101 แผนปฏิบัติราชการด้านสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ประจำปีงบประมาณ 2566 -ประเด็นท้าทายรพ.สต.ถ่ายโอนไปอบจ. 2. สรุปปัญหาที่สำคัญ ขาดแพทย์ 3. เป้าประสงค์ ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี สุขภาพแข็งแรง สามารถดูแลตนเองและครอบครัวเบื้องต้นเมื่อเจ็บป่วย ได้อย่างเหมาะสม 4. เป้าหมายและตัวชี้วัด 4.1 ตัวชี้วัด กระทรวง 1.จำนวนการจัดตั้งหน่วยบริการปฐมภูมิและเครือข่ายหน่วยบริการปฐมภูมิตามพรบ.ฯร้อยละ 52 2.จำนวนประชาชนที่มีชื่อในหน่วยบริการปฐมภูมิและเครือข่ายหน่วยบริการปฐมภูมิ ได้รับการดูแล โดยมีอสม. หมอประจำบ้าน คณะผู้ให้บริการสุขภาพปฐมภูมิ และแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวหรือแพทย์ที่ผ่านการอบรม ร้อยละ 57


ตัวชี้วัด (ระดับจังหวัด) โครงการ พัฒนาระบบการแพทย์ปฐมภูมิ เพื่อให้ประชาชนเข้าถึงบริการปฐมภูมิ -จ ำนวนกำรจัดตั้งหน่วยบริกำรปฐม จังหวัดสุพรรณบุรี ปี 2566 ที่มีคุณภาพ ลดเวลารอคอย สามารถ ภูมิและเครือข่ำยหน่วยบริกำรปฐมภูมิ กิจกรรมหลักที่ 1 พัฒนำกลไกกำรด ำเนินงำน ดูแลตนเองและครอบครัวเบื้องต้น สะสม 49 ทีม ร้อยละ 70 ปฐมภูมิ ได้อย่างเหมาะสม (เกณฑ์ 3500 ทีม ร้อยละ60) กิจกรรมย่อยที่ 1.1 ทบทวนแผนจัดตั้งหน่วยบริการ 10 อ าเภอ 10 อ าเภอ ปฐมภูมิและเครือข่าย แผน 10 ปี (ร่วมกับอบจ.) กิจกรรมย่อยที่ 1.2 ชี้แจงนโยบายในที่ประชุม 10 อ าเภอ 10 อ าเภอ กวป. และที่ประชุมคณะกรรมการบริการสสจ กิจกรรมย่อยที่ 1.3 ขึ้นทะเบียนหน่วยบริการ 10 อ าเภอ 10 อ าเภอ ปฐมภูมิและเครือข่าย (ร่วมกับอบจ) กิจกรรมย่อยที่ 1.4 นิเทศติดตาม ประเมินผล 10 อ าเภอ 10 อ าเภอ การด าเนินงานหน่วยบริการปฐมภูมิและเครือข่าย หน่วยบริการปฐมภูมิ พร้อมนิเทศบูรณาการ /สรุปผลการด าเนินงาน กิจกรรมหลักที่ 2 พัฒนาศักยภาพบุคลากร กิจกรรมย่อยที่ 2.1 จัดอบรมพัฒนาศักยภาพ 49 ทีม 80 คน หน่วยบริการปฐมภูมิและเครือข่ายหน่วยบริการ PCUละ 1 คน ปฐมภูมิ ผ่านระบบ Zoom (บูรณาการกับอบจ) รพ.สสอ. กิจกรรมย่อยที่ 2.2 สนับสนุนการผลิตแพทย์ 10 อ าเภอ 10 อ าเภอ เวชศาสตรืครอบครัวและพัฒนาสหวิชาชีพ กิจกรรมหลักที่ 3 พัฒนำระบบบริกำรปฐมภูมิ 10 อ าเภอ 10 อ าเภอ ให้มีคุณภาพสอดคล้องกับบริบทพื้นที่ กิจกรรมย่อยที่ 3.1 พัฒนาระบบการดูแลต่อเนื่อง IMC กิจกรรมย่อยที่ 3.2 สนับสนุนการพัฒนา 10 อ าเภอ 10 อ าเภอ ระบบส่งต่อ พัฒนาระบบ Green Chanel การเชื่อมโยงข้อมูล รพ.แม่ข่าย กับ PCU/NPCU รวมงบประมาณทั้งสิ้น(ปฐมภูมิ) แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก/กิจกรรมย่อย วัตถุประสงค์ ค่าเป้าหมายตัวชี้วัด พื้นที่เป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย ยุทธศาสตร์กระทรวง ที่ 2 Service Excellence ส่วนที่ 2 แผนปฏิบัติการและแผนสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ปี 2566 จ านวนหน่วยนับ แผนงานที่ 5 การพัฒนาระบบการแพทย์ปฐมภูมิ โครงการหลักของกระทรวง ที่ 1 โครงการพัฒนาระบบการแพทย์ปฐมภูมิ 10


Non-UC Non UC PP กองทุน อื่นๆ สป.กรม/กอง/ เบิกจ่ายแทนกัน basic services สุขภาพต าบล เงินบ ารุง/อบจ,/ งบจังหวัด/ PPA/สสส. 3,000 3,000 3,000 รหัส 00001 - 3,000 - - - 3,000 - - - 3,000 เม.ย - มิ.ย ต.ค. - ธ.ค. ม.ค. - มี.ค ก.ค. - ก.ย. แหล่งงบประมาณ/จ านวนงบประมาณ รหัสงบ ระยะเวลาด าเนินการ/งบประมาณ งบประมาณ รวมทั้งสิ้น 02


Page| 103 แผนปฏิบัติราชการด้านสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ประจำปีงบประมาณ 2566 แผนงาน : การพัฒนาระบบการแพทย์ปฐมภูมิ แผนงานย่อย: แผนปฏิบัติราชการการพัฒนาเครือข่ายกำลังคนด้านสุขภาพ และ อสม. โครงการพัฒนาเครือข่ายกำลังคนด้านสุขภาพ และ อสม. 1. สถานการณ์ปัญหา 1.1 Base line data การสาธารณสุขไทย ได้มีการวิวัฒนาการมาอย่างต่อเนื่อง โดยนำหลักการสาธารณสุขมูลฐานมาเป็น กลวิธีดำเนินการ มุ่งหวังให้เกิดความครอบคลุมและเป็นธรรมในด้านการจัดบริการสาธารณสุขแก่ประชาชน เน้นการปรับบทบาทจากรัฐเป็นผู้ให้และประชาชนเป็นผู้รับมาเป็นรัฐเป็นผู้สนับสนุนให้ประชาชนเป็นผู้มี บทบาทในการดูแลแก้ไขปัญหาสุขภาพของตนเองและชุมชน เพื่อเสริมสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมของ ประชาชน ให้เกิดการพึ่งพาตนเองหรือดูแลสุขภาพตนเองได้ระดับหนึ่ง ที่ผ่านมาระบบสุขภาพไทยมีการ ปรับตัวอย่างรวดเร็ว ทั้งในเชิงแนวคิด นโยบาย โครงสร้างและกลไกการจัดการ ให้ความสำคัญกับบทบาท ของภาคส่วนต่าง ๆที่เกี่ยวข้อง มีการรวมกลุ่มภาคประชาชน ชมรมและองค์กรต่าง ๆ มากขึ้น กระทรวงสาธารณสุข ให้ความสำคัญกับการส่งเสริม ให้เกิดความเข้มแข็งของชุมชนและท้องถิ่น ที่มุ่งการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของประชาชนด้วยยุทธศาสตร์สุขภาพภาคประชาชน มีการใช้แผนที่ ทางเดินยุทธศาสตร์ (Strategic Route Map : SRM) อสม.4.0 อสม.จัดบริการปฐมภูมิระดับชุมชนตามกลุ่มวัย อสม.หมอประจำบ้าน อาสาสมัครประจำครอบครัว (อสค.) ตำบลจัดการสุขภาพ ภาคีเครือข่ายเข้มแข็ง เป็นเครื่องมือในการบริหารการเปลี่ยนแปลง พร้อมทั้งพัฒนากลไกการทำงานทุกระดับ ให้เกิดการบูรณาการ ตั้งแต่ระดับกระทรวง จังหวัด อำเภอ ตำบล ได้นำวิธีการสาธารณสุขมูลฐาน มาใช้เป็นกลยุทธ์ในการส่งเสริม การมีส่วนร่วม ของประชาชนและสนับสนุนให้มีการพัฒนาระบบอาสาสมัครสาธารณสุขขึ้นมา เพื่อเป็นแกนนำ ด้านสุขภาพ ในการร่วมขับเคลื่อนภารกิจการพัฒนาสุขภาพประชาชน มาตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2521 และ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ได้รับการอบรมพัฒนาศักยภาพมาอย่างต่อเนื่อง เน้น อสม. ในกลุ่มงาน 12 สาขา เพื่อให้สามารถปฏิบัติงานได้ตามสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลง อาสาสมัครสาธารณสุขที่ ขึ้นทะเบียนในระบบอยู่ ณ ปัจจุบัน มีระดับความรู้ด้านสุขภาพ และเนื้อหาองค์ความรู้ ที่แตกต่างกัน การที่จะให้อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ปฏิบัติตามภารกิจที่เป็นนโยบายสำคัญ หรือให้ขับเคลื่อน การดำเนินงานพร้อมกัน ด้วยรูปแบบและวิธีเดียวกัน เพื่อให้ดูแลสุขภาพของประชาชนได้อย่างทั่วถึง ทุกกลุ่มเป้าหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะประชาชนกลุ่มด้อยโอกาส ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง และผู้พิการในชุมชน จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้อง มีการอบรมพัฒนาศักยภาพเพิ่มเติมให้กับอาสาสมัครสาธารณสุข ที่ขึ้นทะเบียนอยู่ในระบบปัจจุบัน ให้มีความรู้และทักษะในการปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ เหมาะสม ตามสถานการณ์ ตามกลุ่มงานทั้ง 12 สาขา ได้แก่


Page| 104 แผนปฏิบัติราชการด้านสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ประจำปีงบประมาณ 2566 1. สาขาการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ 2. สาขาการจัดการสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม 3. สาขาสุขภาพจิตชุมชน 4. สาขาการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในชุมชน 5. สาขาการบริการในศูนย์สาธารณสุขมูลฐานชุมชน (ศสมช.) และการสร้างหลักประกันสุขภาพ 6. สาขาการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ 7. สาขาภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านสุขภาพ 8. สาขาการเฝ้าระวังและแก้ไขปัญหาเอดส์ในชุมชน 9. สาขาการส่งเสริมสุขภาพ 10. สาขานมแม่อนามัยแม่และเด็ก 11. สาขาทันตสุขภาพ 12. สาขาเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อ การมีคุณภาพชีวิตที่ดี เป็นเป้าหมายของการสาธารณสุข ซึ่งตามเป้าหมายการพัฒนาสุขภาพและ คุณภาพชีวิต คือ การบริการปฐมภูมิ และการบริการทางด้านสาธารณสุข ในฐานะเป็นแกนนำสู่การบูรณาการ ของบริการสุขภาพ นโยบายและกิจกรรมในพหุภาคส่วนร่วม และการสร้างเสริมศักยภาพ ภาคประชาชน ซึ่งในส่วนของการเสริมสร้างศักยภาพภาคประชาชน ได้นำกลวิธีการสาธารณสุขมูลฐาน มาใช้เพื่อสร้างเสริม กระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชน ให้เกิดการพึ่งพาตนเอง หรือการดูแลสุขภาพของตนเองได้ ซึ่งเป็น พื้นฐานสำคัญของคุณภาพชีวิต ทั้งนี้ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ได้มีระบบการส่งเสริมสุขภาพภาค ประชาชนในรูปแบบอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) และพัฒนารูปแบบสู่ระดับครอบครัว คือ อาสาสมัครประจำครอบครัว (อสค.) เพื่อให้เกิดการพัฒนาคุณภาพชีวิต โดยเชื่อมโยงกับการพัฒนาคุณภาพ ชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) ซึ่งได้มีการพัฒนาตำบลจัดการสุขภาพแบบบูรณาการ ยกระดับเป็นตำบลจัดการ คุณภาพชีวิต โดยเพิ่มมิติด้านคุณภาพชีวิต เพื่อตอบสนองต่อความจำเป็นด้านสุขภาพและคุณภาพชีวิต คือ ชุมชนสร้างสุข “สุขกาย สุขใจ สุขเงิน สุขสามัคคี” เพื่อให้เกิดการมีส่วนร่วมในการดูแลตนเองและช่วยเหลือ กันเอง มีระบบบริการปฐมภูมิ จาก ภาคชุมชน ภาครัฐ และภาคเอกชน เชื่อมบริการกัน และเกิดระบบการ จัดการเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิต หน่วยบริการปฐมภูมิ เป็นหน่วยบริการด่านหน้าที่ใกล้ชิดประชาชนและชุมชนมากที่สุด ให้บริการ สาธารณสุขผสมผสานเชิงรุก ในด้านส่งเสริมสุขภาพ ควบคุมป้องกันโรค รักษาพยาบาล ฟื้นฟูสภาพ และการคุ้มครองผู้บริโภค ส่งเสริมสนับสนุนให้ประชาชนเรียนรู้และให้มีความสามารถในการดูแลสุขภาพ ตนเอง ทั้งในระดับบุคคล ครอบครัว และชุมชน รวมทั้งเชื่อมโยงและมีส่วนร่วมอย่างเข้มแข็งในบริการ สุขภาพของประชาชนชุมชนท้องถิ่น


Page| 105 แผนปฏิบัติราชการด้านสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ประจำปีงบประมาณ 2566 ดังนั้น สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี มีการดำเนินงานพัฒนาพื้นที่ต้นแบบชุมชนสร้างสุข โดยกลไกตำบลจัดการคุณภาพชีวิตมาอย่างต่อเนื่อง มีประเด็นการดำเนินงานตามบริบทของพื้นที่ โดยใช้ กระบวนการ TPAR (T : Term, P : Plan, A : Action, R : Result) บรูณาการดำเนินงานกับภาคีเครือข่าย ทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ มาขับเคลื่อนการดำเนินงานครบทั้ง 110 ตำบล และดำเนินงานตำบลจัดการ คุณภาพชีวิต “ชุมชนสร้างสุข” เชื่อมโยงกับการดำเนินงานพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) ในการ พัฒนาตำบลจัดการสุขภาพแบบบูรณาการ เพิ่มมิติด้านคุณภาพชีวิต ชุมชนสร้างสุข “สุขกาย สุขใจ สุขเงิน สุขสามัคคี” โดยในปีงบประมาณ 2566 กลุ่มงานพัฒนาคุณภาพและรูปแบบบริการ ดำเนินงานตาม นโยบายมุ่งเน้นของผู้บริหารระดับจังหวัด ในการเพิ่มประสิทธิภาพการสื่อสารที่เข้าถึง ทันสมัย เพื่อยกระดับ การสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพของประชาชน และให้ประชาชนคนไทย มีหมอประจำตัว 3 คน ครอบคลุม ประชากรเป้าหมาย ภายใต้โครงการพัฒนาเครือข่ายกำลังคนด้านสุขภาพและอาสาสมัครสาธารณสุขประจำ หมู่บ้าน (อสม.) ประชากรเป้าหมาย ปี 2566 จังหวัดสุพรรณบุรี มีอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน จำนวนรวมทั้งสิ้น 16,979 คน จำแนกเป็น อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านที่รับค่าป่วยการ จำนวน 15,137 คน และอาสาสมัคร สาธารณสุขประจำหมู่บ้านที่เป็นจิตอาสา(ไม่รับค่าป่วยการ) จำนวน 1,842 คน ขับเคลื่อนการดำเนินงาน จำนวน 110 ตำบล และ 1,008 หมู่บ้าน สภาพปัญหาจากข้อมูลการวิเคราะห์เชิงลึกรายแผน งานของกระทรวงสาธารณสุขปัจจุบัน จะบรรลุตามวัตถุประสงค์ ตามตัวชี้วัด ที่กระกระทรวง สาธารณสุข กรม กอง ต่าง ๆ กำหนดขึ้นมาต้องอาศัยการขับเคลื่อนการดำเนินงานของอาสาสมัครสาธารณสุข ประจำหมู่บ้าน (อสม.) ช่วยดำเนินงานในพื้นที่อย่างเข้มแข็งและอย่างต่อเนื่อง ซึ่งเป็นกำลังสำคัญด่านหน้าของ กระทรวงสาธารณสุข ถ้าไม่มีอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ซึ่งกระจายอยู่เต็มพื้นที่ ดำเนินงานต่าง ๆ เช่น การคัดกรองโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง การป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ การดูแลผู้ป่วย การ รณรงค์ปัญหาสำคัญของกระทรวงสาธารณสุข ไม่สามารถบรรลุตามวัตถุประสงค์/ตามตัวชี้วัด ได้ และจาก สถานการณ์ปัจจุบันที่เกิดโรคระบาดโควิด 19 ส่งผลให้อาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ต้องปฏิบัติงานเป็น ด่านหน้า ในการป้องกันและเฝ้าระวังโรคโควิด 19 ในพื้นที่ 1.2 ปัญหาพื้นที่เชิงคุณภาพ (สาเหตุ/ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง) ทบทวนปัญหา จากผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย สำคัญ ผู้ป่วย ผู้ที่เกี่ยวข้อง/จากตัวชี้วัด นำสภาพปัญหาที่ ได้มาปรับเปลี่ยนมาตรการใหม่ๆ 1.2.1 สถานการณ์การแพ่ระบาดของโรคโควิด 19 1.2.2 งานของกระทรวงสาธารณสุขมีมาก ต้องอาศัยการขับเคลื่อนการดำเนินงานของ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ช่วยดำเนินงานในพื้นที่อย่างเข้มแข็งและอย่างต่อเนื่อง


Page| 106 แผนปฏิบัติราชการด้านสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ประจำปีงบประมาณ 2566 1.2.3 ระดับกระทรวง กรม กอง ต่าง ๆ มีนโยบายการดำเนินงาน ที่ซ้ำซ้อนกันส่งผลให้ภาระ การดำเนินงานของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน มีเพิ่มมากขึ้น 1.2.4 กลุ่มผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรัง (CKD) , ผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCD) , ผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียง (LTC) , ภาวะพึ่งพิงอื่นๆ เช่น คนพิการ คนไข้จิตเวชในพื้นที่มีจำนวนเพิ่มมากขึ้น และต้องไปรับการ บริการที่โรงพยาบาลแออัด และรอรับบริการเป็นเวลานาน 1.2.5 การถ่ายโอน รพ.สต.ไปสังกัด อบจ. ทำให้ภาระกิจในการปฏิบัติหน้าที่ของอาสาสมัคร สาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ขาดพี่เลี้ยงและความต่อเนื่อง 1.3 ข้อมูล หรือปัญหาของกระบวนการทำงาน ปัจจุบันการขับเคลื่อนงานของกระทรวงสาธารณสุขต้องอาศัยพลังจากอาสาสมัคร สาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) งานจึงจะประสบความสำเร็จ บรรลุตามวัตถุประสงค์ แต่งานที่มอบหมายให้ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ไปดำเนินงานในพื้นที่ มีมากเกินไป ควรมีการถอดบทเรียน การดำเนินงานของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ใน พื้นที่ ที่ดำเนินงานได้อย่างมีคุณภาพ เพื่อนำมาเป็นรูปแบบการพัฒนาการดำเนินงานในพื้นที่ ต่อไป 2. สรุปปัญหาที่สำคัญ งานของกระทรวงสาธารณสุขปัจจุบัน จะบรรลุตามวัตถุประสงค์ ตามตัวชี้วัด ที่กระกระทรวง สาธารณสุข กรม กอง ต่างๆ กำหนดขึ้นมาต้องอาศัยการขับเคลื่อนการดำเนินงานของอาสาสมัครสาธารณสุข ประจำหมู่บ้าน (อสม.) ช่วยดำเนินงานในพื้นที่อย่างเข้มแข็งและอย่างต่อเนื่อง ซึ่งเป็นกำลังสำคัญด่านหน้าของ กระทรวงสาธารณสุข ถ้าไม่มีอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ซึ่งกระจายอยู่เต็มพื้น ที่การ ดำเนินงานต่างๆ เช่น การคัดกรองโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง การป้องกันและควบคุมโรคติดต่อการดูแลผู้ป่วย การ รณรงค์ปัญหาสำคัญของกระทรวงสาธารณสุข ไม่สามารถบรรลุตามวัตถุประสงค์/ตามตัวชี้วัดได้ 3. เป้าประสงค์ จากผลการดำเนินงานที่ผ่านมา กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กำหนดให้มีการพัฒนาศักยภาพ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หลักสูตร อสม.หมอประจำบ้าน พบว่า อาสาสมัครสาธารณสุขประจำ หมู่บ้าน ที่ผ่านการอบรมหลักสูตร อสม.หมอประจำบ้าน ต้องมีศักยภาพ อสม.หมอประจำบ้าน ดังนี้ 3.1 ด้านการส่งเสริมการมีอาสาสมัครประจำครอบครัว (อสค.) 3.2 ด้านการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมไม่ให้เกิดโรคในพื้นที่ 3.3 ด้านการส่งเสริมสุขภาพและแก้ไขปัญหาสุขภาพที่สำคัญ 3.4 ด้านการใช้ภูมิปัญญาไทย สมุนไพร และการใช้กัญชาทางการแพทย์ 3.5 ด้านการใช้เทคโนโลยี


Page| 107 แผนปฏิบัติราชการด้านสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ประจำปีงบประมาณ 2566 และกำหนดให้ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ที่ผ่านหลักสูตร อสม.หมอประจำบ้าน ต้องไปดูแลกลุ่มผู้ป่วย ให้คุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น จำแนกเป็น 4 กลุ่ม ดังนี้ 1. ครอบครัวผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรัง (CKD) 2. ครอบครัวผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCD) 3. ครอบครัวผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียง (LTC) 4. ภาวะพึ่งพิงอื่นๆ เช่น คนพิการ คนไข้จิตเวช พบว่าครอบครัวของผู้ป่วยกลุ่มเป้าหมาย ทั้ง 4 กลุ่ม มีคุณภาพที่ดีขึ้นทุกคน 4. เป้าหมายและตัวชี้วัด 4.1 ประชาชนคนไทย มีหมอประจำตัว 3 คน ร้อยละ 75 4.2 ชุมชนมีการดำเนินการจัดการสุขภาพที่เหมาะสมกับประชาชน ร้อยละ 75


ตัวชี้วัด (ระดับจังหวัด) โครงการ พัฒนาเครือข่ายก าลังคนด้านสุขภาพ และอาสาสมัครสาธารณสุขประจ าหมู่บ้าน จังหวัดสุพรรณบุรี ปีงบประมาณ 2566 กิจกรรมหลักที่ 1 การถ่ายทอดนโยบายและแนวทาง เพื่อชี้แจงแนวทางการขับเคลื่อน จังหวัดสุพรรณบุรี ผู้รับผิดชอบงานสช. การขับเคลื่อนงานสุขภาพภาคประชาชน งานสุขภาพภาคประชาชนสู่การ ( 10 อ าเภอ ) รพ. 10 แห่ง สู่การปฏิบัติในระดับพื้นที่ภายใต้แนวทาง ปฏิบัติในระดับพื้นที่ สสอ. 10 แห่ง การถ่ายโอนภารกิจให้แก่องค์การบริหารส่วนจังหวัด รพ.สต.(สังกัดอบจ.) 174 แห่ง กิจกรรมย่อยที่ 1.1 ประชุมชี้แจงนโยบายและแนวทาง การขับเคลื่อนงานสุขภาพภาคประชาชนสู่การปฏิบัติ ในระดับพื้นที่ กิจกรรมย่อยที่ 1.2 ประชุมชี้แจงด้านกฏหมายที่ เกี่ยวข้องกับ อสม./กฏระเบียบชมรม อสม./และ ระบบสุขภาพภาคประชาชน กิจกรรมหลักที่ 2 การส่งเสริมความเป็นเลิศ เสริมสร้าง เพื่อเสริมสร้างแรงจูงใจในการพัฒนา จังหวัดสุพรรณบุรี อสม. ทั้งหมด แรงจูงใจในการจัดการสุขภาพชุมชนของ อสม. ศักยภาพของ อสม. ในการจัดการ ( 10 อ าเภอ ) รพ. 10 แห่ง กิจกรรมย่อยที่ 2.1 ด าเนินการคัดเลือก อสม. ดีเด่น สุขภาพของชุมชน สสอ. 10 อ าเภอ จ านวน 12 สาขา - ระดับอ าเภอ อสม.ดีเด่น 120 คน - ระดับจังหวัด อสม.ดีเด่น 12 คน - ระดับเขต อสม.ดีเด่น 12 คน - ระดับภาค อสม.ดีเด่น 12 คน - ระดับประเทศ กิจกรรมย่อยที่ 2.2จัดท าใบประกาศนียบัตร อสม. ดีเด่น เพื่อเสริมสร้างขวัญและก าลังใจแก่ จังหวัดสุพรรณบุรี อสม.ดีเด่น 120 คน - ระดับอ าเภอ จ านวน 12 ชุด อสม. ( 10 อ าเภอ ) อสม.ดีเด่น 12 คน - ระดับจังหวัด จ านวน 12 ชุด แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก/กิจกรรมย่อย วัตถุประสงค์ ค่าเป้าหมายตัวชี้วัด พื้นที่เป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย ต.ค. ส่วนที่ 2 แผนปฏิบัติการและแผนสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ปี 2566 จ านวนหน่วยนับ ยุทธศาสตร์กระทรวง ที่ 2 Service Excellence แผนงานที่ 5 การพัฒนาระบบการแพทย์ปฐมภูมิ โครงการหลักของกระทรวง ที่ 2 โครงการพัฒนาเครือข่ายก าลังคนด้านสุขภาพ และ อสม. 10


Non-UC Non UC PP กองทุน อื่นๆ สป. กรม/กอง/ เบิกจ่ายแทน กัน basic services สุขภาพต าบล เงินบ ารุง/อบจ ,/งบจังหวัด/ PPA/สสส. 1,250 1,250 1,250 รหัส00001 28,500 28,500 28,500 รหัส00001 5,400 5,400 5,400 รหัส00001 เม.ย - มิ.ย . - ธ.ค. ม.ค. - มี.ค ก.ค. - ก.ย. แหล่งงบประมาณ/จ านวนงบประมาณ งบประมาณ รวมทั้งสิ้น รหัสงบ ระยะเวลาด าเนินการ/งบประมาณ 08


ตัวชี้วัด แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก/กิจกรรมย่อย วัตถุประสงค์ ค่าเป้าหมายตัวชี้วัด พื้นที่เป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย ต.ค. ส่วนที่ 2 แผนปฏิบัติการและแผนสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ปี 2566 จ านวนหน่วยนับ กิจกรรมย่อยที่ 2.3 อสม.ดีเด่นระดับจังหวัดสุพรรณบุรี เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และ จังหวัดสุพรรณบุรี อสม.ดีเด่น 12 สาขา เข้าร่วมกิจกรรมการประกวด ระดับเขต ระดับภาคและ เสริมสร้างประสบการณ์การท างาน ( 10 อ าเภอ ) ระดับประเทศ - ลงพื้นที่เตรียมความพร้อม อสม.ดีเด่นระดับจังหวัด เพื่อเข้าร่วมกิจกรรมประกวด อสม.ดีเด่นระดับเขต - อสม. เข้าร่วมกิจกรรมประกวดอสม.ดีเด่นระดับเขต - อสม. เข้าร่วมกิจกรรมประกวดอสม.ดีเด่นระดับภาค - อสม. เข้าร่วมกิจกรรมประกวดอสม.ดีเด่นระดับประเทศ กิจกรรมย่อยที่ 2.4 กิจกรรมวัน อสม.แห่งชาติ เพื่อเชิดชูเกียรติอสม. จังหวัดสุพรรณบุรี จนท.สสจ. /รพ /สสอ. - อสม. เข้าร่วมกิจกรรมวัน อสม.แห่งชาติ ในการปฏิบัติหน้าที่จิตอาสา ( 10 อ าเภอ ) ชมรมอสม./อสม. กิจกรรมย่อยที่ 2.5 ส่งเสริม สนับสนุน และขับเคลื่อน เพื่อเสริมสร้างขวัญและก าลังใจแก่ จังหวัดสุพรรณบุรี จนท.สข.สสจ./รพ./ สวัสดิการต่างๆของ อสม. อสม. สสอ. - สนับสนุน และสร้างความเข้มแข็งของภาคีเครือข่าย และดูแลสิทธิและประโยชน์ต่างๆ ( 10 อ าเภอ ) ประธานชมรมอสม. อสม. ในรูปแบบชมรม อสม.ทุกระดับ ของ อสม. - สนับสนุนการด าเนินงานของคณะกรรมการบริหาร เพื่อส่งเสริม พัฒนาและสนับสนุน ระดับอ าเภอ ชมรม อสม.จังหวัดสุพรรณบุรี ชมรม อสม. 10 อ าเภอ โดยจัดประชุมปีละ 4 ครั้ง ให้มีส่วนร่วมในการจัดการระบบ อสม.ทุกคน สุขภาพชุมชน - การขับเคลื่อนกองทุนสวัสดิการอสม. และสิทธิอื่นๆ รพ.สต.(สังกัดอบจ.) ในระดับจังหวัด และระดับประเทศ 174 แห่ง - ส่งเสริม สนับสนุนการด าเนินงาน ฌกส. อสม.แห่ง ประเทศไทย และการจัดตั้งศูนย์ประสานงาน สมาคมฌกส. อสม. ระดับจังหวัด - ด าเนินงานด้านกฏหมายที่เกี่ยวข้องกับ อสม./ กฏระเบียบชมรม อสม./และระบบสุขภาพภาคประชาชน กิจกรรมหลักที่ 3 การอบรมพัฒนาศักยภาพ อสม. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้ จังหวัดสุพรรณบุรี อสม.ใหม่ / อสม. สู่การเป็น สมาร์ท อสม.ให้เป็นต้นแบบหรือแกนน า รับการดูแลด้านสาธารณสุข ( 10 อ าเภอ ) ทดแทน ของการสร้างสุขภาพในชุมชน จาก อสม.มีคุณภาพชีวิตที่ดี 500 คน กิจกรรมย่อยที่ 3.1 ส่งเสริม สนับสนุน และควบคุมก ากับ ตามนโยบายคนไทยทุกครอบครัวมี รพ. 10 แห่ง อสม.หมอประจ าบ้าน การอบรม อสม.ใหม่ และ อสม.ทดแทนตามหลักสูตร หมอประจ าตัว 3 คน สสอ. 10 แห่ง 1008 คน 10


Non-UC Non UC PP กองทุน อื่นๆ สป. กรม/กอง/ เบิกจ่ายแทน กัน basic services สุขภาพต าบล เงินบ ารุง/อบจ ,/งบจังหวัด/ PPA/สสส. เม.ย - มิ.ย . - ธ.ค. ม.ค. - มี.ค ก.ค. - ก.ย. แหล่งงบประมาณ/จ านวนงบประมาณ งบประมาณ รวมทั้งสิ้น รหัสงบ ระยะเวลาด าเนินการ/งบประมาณ 23,400 9,000 14,400 23,400 รหัส00001 9000 เงินบ ารุง 14400 5,250 5,250 5,250 5,250 21,000 21,000 รหัส00001 225,000 225,000 225,000 เงินบ ารุง แม่ข่าย 09


ตัวชี้วัด แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก/กิจกรรมย่อย วัตถุประสงค์ ค่าเป้าหมายตัวชี้วัด พื้นที่เป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย ต.ค. ส่วนที่ 2 แผนปฏิบัติการและแผนสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ปี 2566 จ านวนหน่วยนับ มาตรฐาน อสม.9 หมวดวิชา 52 หน่วยกิจ ตามที่ กระทรวงสาธารณสุขก าหนด กิจกรรมย่อยที่ 3.2 ส่งเสริม สนับสนุน และควบคุมก ากับ รพ.สต. การอบรม อสม.หมอประจ าบ้าน ต่อยอดสู่การพัฒนา (สังกัดอบจ.) (อสค.)ในระดับพื้นที่ 174 แห่ง กิจกรรมย่อยที่ 3.3 ติดตาม สนับสนุนการพัฒนาศักยภาพ อสม. สู่การเป็นอสม.เชี่ยวชาญด้านต่างๆ ในการสนับสนุน งานสุขภาพภาคประชาชนในระดับพื้นที่ กิจกรรมย่อยที่ 3.4 การขับเคลื่อนการพัฒนาอาสาสมัคร สถานประกอบการ อสต. 50 คน สาธารณสุขต่างด้าว(อสต. )ในโรงงาน ขนาดกลางครอบ สถานประกอบการและชุมชน คลุมทุกอ าเภอ กิจกรรมหลักที่ 4 การพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลและการจัด - เพื่อพัฒนาศักยภาพบุคลากรใน จังหวัดสุพรรณบุรี ผู้รับผิดชอบงานจาก การระบบฐานข้อมูลของ อสม. การจัดการระบบฐานข้อมูลของอสม. ( 10 อ าเภอ ) สสจ. 8 คน กิจกรรมย่อยที่ 4.1 การจัดการฐานในระบบโปรแกรม รพ. 10 คน Thaiphc ระบบสารสนเทศงานสุขภาพภาคประชาชน สสอ. 10 คน กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ รพ.สต.(สังกัดอบจ.) กิจกรรมย่อยที่ 4.2 การจัดการฐานในระบบโปรแกรม e - Social Welfare ของกรมบัญชีกลาง กิจกรรมย่อยที่ 4.3 การจัดการฐานข้อมูลในแอบพลิเคชัน สมาร์ท อสม. กิจกรรมย่อยที่ 4.4 นิเทศงาน ติดตาม การปรับปรุงแก้ไข 174 แห่ง ข้อมูล และการประเมินผล ในระบบอย่างต่อเนื่อง และติดตามในพื้นที่ ปีละ 2 ครั้ง กิจกรรมหลักที่ 5 การติดตาม และการประเมินผลการ เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็ง รพ. 10 แห่ง รพ. 10 แห่ง ด าเนินงานสุขภาพภาคประชาชน การจัดการสุขภาพ กิจกรรมย่อยที่ 5.1 ตรวจสอบภายใน เกี่ยวกับ เงินค่าป่วย ภาคประชาชนและภาคีเครือข่าย รพ.สต.(สังกัด อบจ.) รพ.สต.(สังกัดอบจ.) การอสม. และ เงินค่าตอบแทน เยียวยา ชดเชย 174 แห่ง 10 แห่ง และเสี่ยงภัย อสม. ในระดับหน่วยบริการ กิจกรรมย่อยที่ 5.2 ติดตาม ประเมินผล และเยี่ยมเสริม พลัง การด าเนินงานสุขภาพภาคประชาชนในระดับพื้นที่ 11


Non-UC Non UC PP กองทุน อื่นๆ สป. กรม/กอง/ เบิกจ่ายแทน กัน basic services สุขภาพต าบล เงินบ ารุง/อบจ ,/งบจังหวัด/ PPA/สสส. เม.ย - มิ.ย . - ธ.ค. ม.ค. - มี.ค ก.ค. - ก.ย. แหล่งงบประมาณ/จ านวนงบประมาณ งบประมาณ รวมทั้งสิ้น รหัสงบ ระยะเวลาด าเนินการ/งบประมาณ 302,400 302,400 302,400 เงินบ ารุง แม่ข่าย 37,000 37,000 37,000 งบแรงงาน ต่างด้าว 7,200 7,200 7,200 7,200 เงินบ ารุง 10


ตัวชี้วัด แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก/กิจกรรมย่อย วัตถุประสงค์ ค่าเป้าหมายตัวชี้วัด พื้นที่เป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย ต.ค. ส่วนที่ 2 แผนปฏิบัติการและแผนสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ปี 2566 จ านวนหน่วยนับ ปีละ 2 ครั้ง กิจกรรมย่อยที่ 5.3 จัดเวทีแลกเปลี่ยน เรียนรู้ เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ศึกษาดูงานพื้นที่ ผู้รับผิดชอบงานจาก และการศึกษาดูงาน ให้อสม.อย่างต่อเนื่อง และประสบการณ์การท างาน ต้นแบบ สสจ. 8 คน - พื้นที่ต้นแบบ (Sand Box) โดยใช้กลไก3 หมอ รพ. 10 คน - ต าบลจัดการคุณภาพชีวิต สสอ. 10 คน - องค์กร อสม. รพ.สต.(สังกัดอบจ.) 10คน ชมรมอสม. 20 คน กิจกรรมหลักที่ 6 เสริมสร้างกลไกความร่วมมือแบบ เพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และ จังหวัดสุพรรณบุรี บูรณาการ ในการพัฒนางานสุขภาพภาคประชาชน ขับเคลื่อนแผนสุขภาพต าบลสู่ ( 10 อ าเภอ ) การปฏิบัติ กิจกรรมหลักที่ 7 การส่งเสริมและพัฒนาศูนย์สาธารณสุข เพื่อสนับสนุนการด าเนินงาน ศสมช. จังหวัดสุพรรณบุรี ศสมช. 30 แห่ง มูลฐานชุมชน(ศสมช.) ให้ได้มาตรฐาน ในพื้นที่ให้ได้มาตรฐาน ( 10 อ าเภอ ) และสนับสนุนอุปกรณ์ที่จ าเป็น กิจกรรมหลักที่ 8 พัฒนาภาคีเครือข่ายสุขภาพทุกระดับ กิจกรรมย่อยที่ 8.1 พัฒนาเครือข่ายสมัชชา/ธรรมนูญ สุขภาพ /สสส. /ชมรม /มูลนิธิ/ กลุ่มต่างๆ ในระดับพื้นที่ กิจกรรมย่อยที่ 8.2 สนับสนุนองค์กรเอกชน สาธารณประโยชน์ กิจกรรมย่อยที่ 8.3 สนับสนุนการวิจัยและพัฒนา (R&D) รวมงบประมาณ รวมงบประมาณทั้งสิ้น(เครือข่ายก าลังคนและอสม.) 11


Non-UC Non UC PP กองทุน อื่นๆ สป. กรม/กอง/ เบิกจ่ายแทน กัน basic services สุขภาพต าบล เงินบ ารุง/อบจ ,/งบจังหวัด/ PPA/สสส. เม.ย - มิ.ย . - ธ.ค. ม.ค. - มี.ค ก.ค. - ก.ย. แหล่งงบประมาณ/จ านวนงบประมาณ งบประมาณ รวมทั้งสิ้น รหัสงบ ระยะเวลาด าเนินการ/งบประมาณ 6,500 372,150 267,250 12,450 65,150 - - - 586,000 651,150 6,500 372,150 267,250 12,450 65,150 - - - 586,000 651,150 11


Page| 112 แผนปฏิบัติราชการด้านสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ประจำปีงบประมาณ 2566 แผนงาน : การป้องกันควบคุมโรคและลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ แผนงานย่อย: แผนปฏิบัติราชการสุขภาพการป้องกันควบคุมโรคเบาหวาน และ ความดันโลหิตสูง โครงการ ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ 1. สถานการณ์ปัญหา 1.1 Base line data โรคเบาหวาน โรคเบาหวานเป็นหนึ่งในโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง หรือ Non-Communicable diseases: NCDs ที่คุกคามประชากรทั่วโลกอันมีสาเหตุจากพฤติกรรมทางสุขภาพที่ไม่เหมาะสม ได้แก่ การรับประทานอาหารที่ ไม่ดีต่อสุขภาพ การมีกิจกรรมทางกาย ไม่เหมาะสม การสูบบุหรี่และดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ โรค NCDs เป็น สาเหตุการเสียชีวิตอันดับ 1 ของโลกและ ประเทศไทย โดยทั้งโลกมีผู้เสียชีวิตปีละมากกว่า 40 ล้านคน คิดเป็นร้อยละ 71 ของการเสียชีวิตทั้งหมด ส่วนใหญ่อยู่ในประเทศกำลังพัฒนา สามารถคำนวณมูลค่าความ สูญเสีย ถึง 47 ล้านล้านดอลลาร์ ภายในปี 2573 หากไม่มีการดำเนินการแก้ไข ประเทศไทยมีผู้เสียชีวิต ประมาณ 400,000 คนต่อปี คิดเป็นร้อยละ 76 ของการเสียชีวิตทั้งหมดและครึ่งหนึ่งเสียชีวิตก่อนวัยอันควร คิดเป็นมูลค่าความสูญเสียร้อยละ 2.2 ของ GDP ต่อปี (สำนักสร้างเสริมวิถีชีวิต สุขภาวะ สสส.) ปัจจุบัน ประชากรไทยวัยผู้ใหญ่ป่วยเป็นโรคเบาหวานถึง 4.8 ล้านคนและมักเกิดภาวะแทรกซ้อนเมื่ออายุเพิ่มขึ้น ซึ่งสาเหตุที่ทำให้เกิดโรคมาจากวิถีชีวิตแบบเนือยนิ่ง โรคอ้วนและอายุที่มากขึ้นในจำนวนนี้มีผู้ป่วยที่ได้รับการ วินิจฉัยและดูแลรักษาเพียงร้อยละ 35.6 หรือเพียง 2.6 ล้านคน บรรลุเป้าหมายในการรักษาได้เพียง 0.9 คน ทำให้อัตราการเสียชีวิตจากโรคเบาหวานในเมืองไทยมีมากถึง 200 รายต่อวัน คาดการณ์ว่าความชุกของ โรคเบาหวานจะเพิ่มสูงขึ้นถึง 5.3 ล้านคนภายในปี 2583 ซึ่งหากดูแลรักษาได้ไม่ดีอาจทำให้เกิด ภาวะแทรกซ้อน เช่น โรคไตและการถูกตัดเท้าหรือขา นอกจากนี้ยังพบว่า เบาหวานที่เกิดในวัยรุ่น วัยหนุ่มสาว และผู้ใหญ่วัยต้นนั้น มีข้อมูลชี้ชัดว่าโรคมีความรุนแรงกว่าเบาหวานที่เกิดในวัยกลางคนและผู้สูงอายุ รวมถึง ตอบสนองต่อการรักษาได้น้อยกว่า นำไปสู่การเกิดโรคแทรกซ้อนต่างๆอย่างรวดเร็วและรุนแรงกว่าสร้างความ สูญเสียทางเศรษฐกิจ เนื่องจากเป็นกลุ่มประชากรในวัยทำงาน (สมาคมโรคเบาหวานแห่งประเทศไทย) สำหรับสถานการณ์โรคเบาหวานของจังหวัดสุพรรณบุรี พบว่ามีจำนวนผู้ป่วยที่ขึ้นทะเบียนในระบบบริการ เพิ่มขึ้นทุกปี โดยในปีงบประมาณ 2560,2561,2562,2563,2564 และ 2565 มีผู้ป่วยเบาหวาน จำนวน 50,585 คน, 51,252 คน,51,667 คน,53,175 คน,5,4632 คนและ56,687 คน จากผลการคัดกรอง โรคเบาหวานกลุ่มเป้าหมายอายุ 35 ปีขึ้นไปในปีงบประมาณ 2560 จำนวนทั้งหมด 326,961 คน ได้รับการ ตรวจคัดกรอง 291,683 คน คิดเป็นร้อยละ 89.21ปีงบประมาณ 2561 จำนวนทั้งหมด 330,323 คน ได้รับการตรวจคัดกรอง 294,737 คน คิดเป็นร้อยละ 89.23 ปีงบประมาณ 2562 จำนวนทั้งหมด 329,676 คน


Page| 113 แผนปฏิบัติราชการด้านสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ประจำปีงบประมาณ 2566 ได้รับการตรวจคัดกรอง 302,713 คน คิดเป็นร้อยละ 91.28ปีงบประมาณ 2563 จำนวนทั้งหมด 328,211 คน ได้รับการตรวจคัดกรอง 307,367 คน คิดเป็น ร้อยละ 93.65ปีงบประมาณ 2564 จำนวนทั้งหมด 327,251 คน ได้รับการตรวจคัดกรอง 305,919 คน คิดเป็นร้อยละ 93.48ปีงบประมาณ 2565 จำนวนทั้งหมด 322,877 คน ได้รับการตรวจคัดกรอง 291,445 คน คิดเป็นร้อยละ 90.27สำหรับผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยง เบาหวาน พบว่า ในปีงบประมาณ 2560 จำนวนกลุ่มเสี่ยงเบาหวานทั้งหมด41,287 คน เป็นผู้ป่วยเบาหวาน รายใหม่ 647 คน คิดเป็นร้อยละ 1.57, ปีงบประมาณ 2561 จำนวน 30,474 คนเป็นผู้ป่วยเบาหวานราย ใหม่ 537 คน คิดเป็นร้อยละ 1.76, ปีงบประมาณ 2562 จำนวนกลุ่มเสี่ยงเบาหวานทั้งหมด จำนวน 24,673 คน เป็นผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่ จำนวน 408 คน คิดเป็นร้อยละ1.65, ปีงบประมาณ 2563จำนวนกลุ่มเสี่ยง เบาหวานทั้งหมด จำนวน 22,460 คน เป็นผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่ จำนวน 387 คน คิดเป็นร้อยละ 1.72 ปีงบประมาณ 2564 จำนวนกลุ่มเสี่ยงเบาหวานทั้งหมด จำนวน 23,097 คน เป็นผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่ จำนวน 469 คน คิดเป็นร้อยละ 2.03 ปีงบประมาณ 2565 จำนวนกลุ่มเสี่ยงเบาหวานทั้งหมด จำนวน 20,792 คน เป็นผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่ จำนวน 540 คน คิดเป็นร้อยละ 2.60 ในส่วนของผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมระดับ น้ำตาลได้ดี ในปีงบประมาณ 2560จำนวนผู้ป่วยเบาหวานทั้งหมด 50,585 คน ควบคุมระดับน้ำตาลได้ดี 11,592 คน คิดเป็นร้อยละ 22.92ปีงบประมาณ 2561 จำนวนผู้ป่วยเบาหวานทั้งหมด 51,252 คน ควบคุม ระดับน้ำตาลได้ดี 13,938 คน คิดเป็นร้อยละ 27.20, ปีงบประมาณ 2562 จำนวนผู้ป่วยเบาหวานทั้งหมด 51,049 คน ควบคุมระดับน้ำตาลได้ดี จำนวน 14,962 คนคิดเป็นร้อยละ 29.31, ปีงบประมาณ 2563 จำนวน ผู้ป่วยเบาหวานทั้งหมด 53,175 คน ควบคุมระดับน้ำตาลได้ดีจำนวน 14,142 คน คิดเป็นร้อยละ 26.60 ปีงบประมาณ 2564 จำนวนผู้ป่วยเบาหวานทั้งหมด 54,632 คน ควบคุมระดับน้ำตาลได้ดี จำนวน 15,194 คน คิดเป็นร้อยละ 27.81 และปีงบประมาณ 2565 จำนวนผู้ป่วยเบาหวานทั้งหมด 56,687 คน ควบคุมระดับ น้ำตาลได้ดี จำนวน 35,975 คน คิดเป็นร้อยละ 63.46(ข้อมูล HDC สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี ณ วันที่ 30 กันยายน 2565) โรคความดันโลหิตสูง โรคความดันโลหิตสูงเป็นปัญหาสุขภาพที่สำคัญของประชากรทั่วโลก ประชากรทั่วโลกเสียชีวิตจาก โรคความดันโลหิตสูงถึง 7.5 ล้านคน และมีผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงเกือบ1 พันล้านคนทั่วโลก คาดว่าในปี 2568 ความชุกของผู้ป่วยจะเพิ่มขึ้นเป็น 1.56พันล้านคน สำหรับสถานการณ์ในประเทศไทยโรคความดันโลหิต สูงยังคงเป็นปัญหาสุขภาพที่สำคัญเช่นกันเห็นได้จากความชุกของโรคความดันโลหิตสูง ในประชากรอายุ 15 ปี ขึ้นไปเพิ่มขึ้นจาก 10 ล้านคน ในปี 2552 เป็น 13 ล้านคนในปี 2571 และเกือบครึ่งหนึ่งไม่ทราบว่าตนเองป่วย ด้วยโรคนี้ จำนวนผู้ป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูง มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นจากเกือบ4 ล้านคนในปี 2556 เป็นเกือบ 6 ล้านคนในปี 2561 จำนวนผู้เสียชีวิตจากโรคความดันโลหิตสูง มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น เช่นเดียวกับจำนวนผู้ป่วย


Page| 114 แผนปฏิบัติราชการด้านสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ประจำปีงบประมาณ 2566 จากปี 2556 จำนวน 5,186 คน เป็น 8,525 คน ในปี 2560 ส่วนปี 2557 มีการประเมินค่าใช้จ่ายในการ รักษาพยาบาล พบว่าประเทศไทยต้องเสียค่าใช้จ่ายในการ รักษาผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงเกือบ 80,000 ล้านบาทต่อปี ต่อจำนวนผู้ป่วยประมาณการ 10 ล้านคน (กลุ่มภารกิจด้านวิเคราะห์และประมวลข่าวสาร สำนักสารนิเทศ) สำหรับสถานการณ์โรคความดันโลหิตสูงของจังหวัดสุพรรณบุรี พบว่าจำนวนผู้ป่วยที่ขึ้น ทะเบียนในระบบบริการเพิ่มขึ้นทุกปีโดยในปีงบประมาณ 2560, 2561, 2562, 2563, 2564 และ 2565 มีผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 105,167 คน, 107,576 คน, 110,085 คน, 112,682 คน, 115,751 คน และ 119,474 คน ตามลำดับ จากผลการตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง ในกลุ่มเป้าหมายอายุ 35 ปีขึ้นไป ในปีงบประมาณ 2560 จำนวนทั้งหมด 273,195 คน ได้รับการตรวจคัดกรอง จำนวน 251,822 คน คิดเป็น ร้อยละ 92.18,ปีงบประมาณ 2561 จำนวนทั้งหมด 281,059 คน ได้รับการตรวจคัดกรองจำนวน 258,004 คน คิดเป็นร้อยละ 91.80, ปีงบประมาณ 2562 จำนวนทั้งหมด 276,777 คน ได้รับการตรวจคัดกรองจำนวน 260,252 คน คิดเป็นร้อยละ 94.03,ปีงบประมาณ 2563 จำนวนทั้งหมด 273,616 คน ได้รับการตรวจคัดกรอง จำนวน 259,850 คน คิดเป็นร้อยละ 94.97 ปีงบประมาณ 2564 จำนวนทั้งหมด 271,676 คน ได้รับการตรวจ คัดกรองจำนวน 257,665 คน คิดเป็นร้อยละ 94.84 ปีงบประมาณ 2565 จำนวนทั้งหมด 266,312 คน ได้รับการตรวจคัดกรองจำนวน 245,565 คน คิดเป็นร้อยละ 92.21 สำหรับในกลุ่มสงสัยป่วยความดันโลหิต สูงได้รับการวัดความดันโลหิตที่บ้าน พบว่า ในปีงบประมาณ 2560 มีจำนวนกลุ่มสงสัยป่วยความดันโลหิตสูง ทั้งหมด 10,880 คน ได้รับการวัดความดันโลหิต ที่บ้าน จำนวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 0.09,ปีงบประมาณ 2561 มีจำนวนกลุ่มสงสัยป่วยความดันโลหิตสูงทั้งหมด 11,924 คน ได้รับการวัดความดันโลหิตที่บ้าน จำนวน 3,203 คน คิดเป็นร้อยละ 26.86, ปีงบประมาณ 2562 มีจำนวนกลุ่มสงสัยป่วยความดันโลหิตสูงทั้งหมด 11,578 คน ได้รับการวัดความดันโลหิตที่บ้าน จำนวน 7,094 คน คิดเป็นร้อยละ 61.27, ปีงบประมาณ 2563 มีจำนวนกลุ่มสงสัยป่วยความดันโลหิตสูงทั้งหมด 9,509 คน ได้รับการวัดความดันโลหิตที่บ้าน จำนวน 8,124 คน คิดเป็นร้อยละ 85.43, ปีงบประมาณ 2564 มีจำนวนกลุ่มสงสัยป่วยความดันโลหิตสูงทั้งหมด 9,467 คน ได้รับการวัดความดันโลหิตที่บ้าน จำนวน 8,607 คน คิดเป็นร้อยละ 90.92 และปีงบประมาณ 2565 มีจำนวน กลุ่มสงสัยป่วยความดันโลหิตสูงทั้งหมด 9,467 คน ได้รับการวัดความดันโลหิตที่บ้าน จำนวน 8,607 คน คิด เป็นร้อยละ 90.92ในส่วนของผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ควบคุมความดันโลหิตได้ดี ปีงบประมาณ 2560 มีผู้ป่วยความดันโลหิตสูงทั้งหมดจำนวน 105,167 คน ควบคุมความดันโลหิตได้ดี จำนวน 37,735 คน คิดเป็น ร้อยละ 35.88, ปีงบประมาณ 2561มีผู้ป่วยความดันโลหิตสูงทั้งหมด จำนวน 107,576 คน ควบคุมความดัน โลหิตได้ดี จำนวน 44,786 คน คิดเป็นร้อยละ41.63, ปีงบประมาณ 2562 มีผู้ป่วยความดันโลหิตสูงทั้งหมด จำนวน 110,085 คน ควบคุมความดันโลหิตได้ดีจำนวน 50,313 คน คิดเป็นร้อยละ 45.70,ปีงบประมาณ 2563 มีผู้ป่วยความดันโลหิตสูงทั้งหมด จำนวน 112,682 คน ควบคุมความดันโลหิตได้ดี จำนวน 55,530 คน


Page| 115 แผนปฏิบัติราชการด้านสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ประจำปีงบประมาณ 2566 คิดเป็นร้อยละ 49.28, ปีงบประมาณ 2564 มีผู้ป่วยความดันโลหิตสูงทั้งหมด จำนวน 115,751 คน ควบคุม ความดันโลหิตได้ดี จำนวน 73,185 คน คิดเป็นร้อยละ 63.23 และปีงบประมาณ 2565 มีผู้ป่วยความดันโลหิตสูง ทั้งหมด 119,474 คน ควบคุมความดันโลหิตได้ดี จำนวน 67,035 คน คิดเป็น 56.11 นอกจากนี้ยังมีการเฝ้าระวังโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูงที่ขึ้น ทะเบียนได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD Risk) โดยพบว่า ในปีงบประมาณ 2560 มีจำนวนผู้ป่วยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง ที่ขึ้นทะเบียนและยังไม่ป่วยด้วยโรคหัวใจและหลอด เลือดทั้งหมด จำนวน 39,428 คนได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD Risk) จำนวน 32,456 คน คิดเป็นร้อยละ 82.32 ปีงบประมาณ 2561 ทั้งหมดจำนวน 39,892 คน ได้รับการ ประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD Risk)จำนวน 33,278 คน คิดเป็นร้อยละ 83.42, ปีงบประมาณ 2562 ทั้งหมดจำนวน 40,248 คน ได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD Risk) จำนวน 35,925 คน คิดเป็นร้อยละ 89.26, ปีงบประมาณ 2563ทั้งหมดจำนวน 40,196 คน ได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD Risk) จำนวน 34,470 คน คิดเป็นร้อยละ 85.75, ปีงบประมาณ 2564 ทั้งหมดจำนวน 39,751 คน ได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอด เลือด (CVD Risk) จำนวน 31,377 คน คิดเป็นร้อยละ 78.93 และปีงบประมาณ 2565 ทั้งหมดจำนวน 39,751 คน ได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด จำนวน 31,377 คน คิดเป็นร้อยละ 78.93 (ข้อมูล HDC สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี ณ วันที่ 30 กันยายน 2565)


Page| 116 แผนปฏิบัติราชการด้านสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ประจำปีงบประมาณ 2566 ตัวชี้วัด : อัตราผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่ จากกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน น้อยกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 1.85 ข้อมูลย้อนหลัง 5 ปี ปีงบประมาณ 2565 ข้อมูล ณ 30 กันยายน 2565 2560 2561 2562 2563 2564 อำเภอ เป้าหมาย ผลงาน ร้อยละ/อัตรา ระดับประเทศ เมือง 4,108 114 2.78 1.79 1.98 2.03 2.08 2.30 เดิมบางนางบวช 2,208 51 2.31 เขต 5 ด่านช้าง 810 28 3.46 1.70 2.07 1.91 2.17 2.53 บางปลาม้า 2,631 56 2.13 จังหวัดสุพรรณบุรี ศรีประจันต์ 2,525 69 2.73 1.57 1.76 1.8 1.87 2.03 ดอนเจดีย์ 932 13 1.39 สองพี่น้อง 2,314 43 1.86 สามชุก 486 15 3.09 อู่ทอง 3,431 93 2.71 หนองหญ้าไซ 1,347 58 4.31 รวม 20,792 540 2.60 ที่มา : ฐานข้อมูลโปรแกรม HDC สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2565


Page| 117 แผนปฏิบัติราชการด้านสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ประจำปีงบประมาณ 2566 ตัวชี้วัด : ร้อยละการตรวจติดตามกลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวาน มากว่าหรือเท่ากับร้อยละ 67 ข้อมูลย้อนหลัง 5 ปี ปีงบประมาณ 2565 ข้อมูล ณ 30 กันยายน 2565 2560 2561 2562 2563 2564 อำเภอ เป้าหมาย ผลงาน ร้อยละ/อัตรา ระดับประเทศ เมือง 372 73 19.62 ไม่มีตัวชี้วัดนี้ 59.99 70.76 เดิมบางนางบวช 231 155 67.10 เขต 5 ด่านช้าง 132 89 67.42 ไม่มีตัวชี้วัดนี้ 68.87 65.77 บางปลาม้า 82 33 40.24 จังหวัดสุพรรณบุรี ศรีประจันต์ 52 44 84.62 ไม่มีตัวชี้วัดนี้ 71.07 73.27 ดอนเจดีย์ 72 32 44.44 สองพี่น้อง 46 44 95.65 สามชุก 11 4 36.36 อู่ทอง 217 70 32.26 หนองหญ้าไซ 218 129 59.17 รวม 1,433 673 46.96 ที่มา : ฐานข้อมูลโปรแกรม HDC สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2565


Page| 118 แผนปฏิบัติราชการด้านสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ประจำปีงบประมาณ 2566 ตัวชี้วัด : ร้อยละการตรวจติดตามกลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูง มากว่าหรือเท่ากับร้อยละ 60 ข้อมูลย้อนหลัง 5 ปี ปีงบประมาณ 2565 ข้อมูล ณ 30 กันยายน 2565 2560 2561 2562 2563 2564 อำเภอ เป้าหมาย ผลงาน ร้อยละ/อัตรา ระดับประเทศ เมือง 1,533 1,492 97.33 ไม่มีตัวชี้วัดนี้ 68.92 91.61 เดิมบางนางบวช 936 820 87.61 เขต 5 ด่านช้าง 317 305 96.21 ไม่มีตัวชี้วัดนี้ 72.10 90.47 บางปลาม้า 1,049 498 47.47 จังหวัดสุพรรณบุรี ศรีประจันต์ 557 523 93.90 ไม่มีตัวชี้วัดนี้ 80.26 85.57 ดอนเจดีย์ 687 374 54.44 สองพี่น้อง 394 286 72.59 สามชุก 192 155 80.73 อู่ทอง 1,317 1,314 99.77 หนองหญ้าไซ 1,152 1088 94.44 รวม 8,134 6,855 84.28 ที่มา : ฐานข้อมูลโปรแกรม HDC สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2565


Page| 119 แผนปฏิบัติราชการด้านสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ประจำปีงบประมาณ 2566 ตัวชี้วัด : ร้อยละผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลได้ดี มากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 40 ข้อมูลย้อนหลัง 5 ปี ปีงบประมาณ 2565 ข้อมูล ณ 30 กันยายน 2565 2560 2561 2562 2563 2564 อำเภอ เป้าหมาย ผลงาน ร้อยละ/ อัตรา ระดับประเทศ เมือง 12,459 8,170 65.58 23.19 26.88 28.32 29.42 30.20 เดิมบางนางบวช 5,252 3,655 69.59 เขต 5 ด่านช้าง 3,465 2,288 66.03 25.92 29.81 32.33 31.53 30.37 บางปลาม้า 5,055 3,258 64.45 จังหวัดสุพรรณบุรี ศรีประจันต์ 4,595 3,495 76.06 22.92 27.20 30.18 27.39 60.98 ดอนเจดีย์ 3,244 2,027 62.48 สองพี่น้อง 7,944 5,429 68.34 สามชุก 3,752 2,527 67.35 อู่ทอง 7,200 2,644 36.72 หนองหญ้าไซ 3,721 2,482 66.70 รวม 56,687 35,975 63.46 ที่มา : ฐานข้อมูลโปรแกรม HDC สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2565


Page| 120 แผนปฏิบัติราชการด้านสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ประจำปีงบประมาณ 2566 ตัวชี้วัด : ร้อยละผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ควบคุมความดันโลหิตได้ดี มากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 60 ข้อมูลย้อนหลัง 5 ปี ปีงบประมาณ 2565 ข้อมูล ณ 30 กันยายน 2565 2560 2561 2562 2563 2564 อำเภอ เป้าหมาย ผลงาน ร้อยละ/ อัตรา ระดับประเทศ เมือง 23,476 11,381 48.48 36.79 41.67 44.15 58.61 53.62 เดิมบางนางบวช 10,860 4,541 41.81 เขต 5 ด่านช้าง 7,909 5,399 68.26 33.90 42.96 46.06 60.48 52.24 บางปลาม้า 11,458 5,751 50.19 จังหวัดสุพรรณบุรี ศรีประจันต์ 9,423 6,741 71.54 35.88 41.63 45.36 62.94 63.23 ดอนเจดีย์ 6,968 3,884 55.74 สองพี่น้อง 16,368 10,332 63.12 สามชุก 9,151 4,558 49.81 อู่ทอง 15,874 9,754 61.45 หนองหญ้าไซ 7,987 4,694 58.77 รวม 119,474 67,035 56.11 ที่มา : ฐานข้อมูลโปรแกรม HDC สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2565


Page| 121 แผนปฏิบัติราชการด้านสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ประจำปีงบประมาณ 2566 ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้ป่วยด้วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงได้รับการประเมิน CVD Risk มากกว่าหรือเท่ากับ ร้อยละ 90 ข้อมูลย้อนหลัง 5 ปี ปีงบประมาณ 2565 ข้อมูล ณ 30 กันยายน 2565 2560 2561 2562 2563 2564 อำเภอ เป้าหมาย ผลงาน ร้อยละ/ อัตรา ระดับประเทศ เมือง 7,202 4,539 63.02 81.67 85.77 88.29 86.41 79.17 เดิมบางนางบวช 3,187 2,207 69.25 เขต 5 ด่านช้าง 3,128 2,692 86.06 80.54 84.70 87.81 85.89 78.58 บางปลาม้า 3,405 2,752 80.82 จังหวัดสุพรรณบุรี ศรีประจันต์ 2,904 2,603 89.63 82.32 83.42 88.30 85.45 78.93 ดอนเจดีย์ 2,815 1,615 57.37 สองพี่น้อง 5,805 5,063 87.22 สามชุก 2,652 1,420 53.54 อู่ทอง 5,281 4,722 89.41 หนองหญ้าไซ 3,001 2,625 87.47 รวม 39,380 30,238 76.79 ที่มา : ฐานข้อมูลโปรแกรม HDC สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2565 2. สรุปปัญหาที่สำคัญ 2.1 ประชาชนบางส่วนยังขาดความรอบรู้ด้านสุขภาพเรื่องโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูงและโรค ไม่ติดต่อเรื้อรัง 2.2 กลุ่มสงสัยป่วย/กลุ่มเสี่ยงด้วยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูงและโรคไม่ติดต่อเรื้อรังมีแนวโน้ม สูงขึ้น 2.3 อัตราผู้ป่วยรายใหม่ด้วยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูงและโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเพิ่มขึ้น 2.4 ผู้ป่วยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูงและโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ยังเกิดภาวะแทรกซ้อน


Page| 122 แผนปฏิบัติราชการด้านสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ประจำปีงบประมาณ 2566 3. เป้าประสงค์ (ผลลัพธ์ที่ต้องการ) 3.1 ประชาชนมีความรอบรู้ด้านสุขภาพในเรื่องการป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง 3.2 ประชาชนกลุ่มเสี่ยง/สงสัยป่วย กลับสู่การมีภาวะสุขภาพที่อยู่ในเกณฑ์ปกติ 3.3 อัตราผู้ป่วยรายใหม่ลดลง 3.4 ผู้ป่วยด้วยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูงและโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ไม่มีภาวะแทรกซ้อน 4. เป้าหมายและตัวชี้วัด แผนงาน ร้อยละ 75 ของโรงพยาบาลผ่านการประเมินคุณภาพ NCD Clinic Plus ระดับดีขึ้นไป 4.1 ตัวชี้วัดในการติดตามประเมินผลการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคความดันโลหิตสูง 4.1.1 ร้อยละประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง 4.1.2 อัตราความดันโลหิตสูงรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง 4.1.3 ร้อยละการตรวจติดตามกลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวานและ/หรือโรคความดันโลหิตสูง 4.1.4 ร้อยละของผู้ป่วยความดันโลหิตสูงรายใหม่จากผู้สงสัยป่วย (ทำ Home BP) 4.1.5 อัตราผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียน และมารับการรักษาในเขตพื้นที่รับผิดชอบ 4.1.6 อัตราป่วยรายใหม่ของโรคความดันโลหิตสูงต่อประชากร 4.1.7 ร้อยละของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมความดันโลหิตได้ดี 4.2 ตัวชี้วัดในการติดตามประเมินผลการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคเบาหวาน 4.2.1 ร้อยละประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองเบาหวาน 4.2.2 อัตราประชากรกลุ่มเสี่ยงเบาหวานในเขตพื้นที่รับผิดชอบของปีที่ผ่านมาได้รับการตรวจ น้ำตาลซ้ำ 4.2.3 อัตราผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน 4.2.4 ร้อยละการตรวจติดตามกลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวานและ/หรือโรคความดันโลหิตสูง 4.2.5 ร้อยละผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่จากกลุ่มสงสัยป่วยที่ได้รับการตรวจยืนยัน 4.2.6 อัตราผู้ป่วยเบาหวานที่ขึ้นทะเบียน และมารับการรักษาในเขตพื้นที่รับผิดชอบ 4.2.7 ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่ได้รับการตรวจภาวะแทรกซ้อนทางตา 4.2.8 ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่ได้รับการตรวจภาวะแทรกซ้อนทางเท้า 4.2.9 ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่ได้รับการตรวจไขมัน LDL และมีค่า LDL<100 mg/dl 4.2.10 อัตราป่วยรายใหม่ของโรคเบาหวานต่อประชากร 4.2.11 ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่ลดลง 4.2.12 อัตราผู้ป่วยเบาหวานที่มีภาวะอ้วนลงพุง [รอบเอวมากว่า (ส่วนสูง(ซม.)/2)]


Page| 123 แผนปฏิบัติราชการด้านสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ประจำปีงบประมาณ 2566 4.2.13 ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่มีความดันโลหิตน้อยกว่า 140/90 mmHg 4.2.14 ร้อยละของการเกิดภาวะแทรกซ้อนเฉียบพลันในผู้ป่วยเบาหวาน 4.2.15 ร้อยละของผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ดี 4.2.16 ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่มีภาวะอ้วน (BMI ≥ 25 กก./ตร.ม.) ลดลงจาก ปีงบประมาณที่ผ่านมา 4.2.17 ร้อยละของผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ได้รับการตรวจ HbA1c อย่างน้อย 1 ครั้ง/ปี 4.3 ตัวชี้วัดในการติดตามประเมินผลการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคเบาหวาน และ/หรือความ ดันโลหิตสูง 4.3.1 ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน,ความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียนได้รับการประเมินโอกาส เสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD Risk) 4.3.2 ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน และ/หรือความดันโลหิตสูงที่ได้รับการค้นหาและคัดกรอง โรคไตเรื้อรัง 4.3.3 ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน และ/หรือความดันโลหิตสูงที่เป็น CKD 1-4 และได้รับยา ACEi/ARB 4.3.4 ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน และ/หรือความดันโลหิตสูงที่มี CVD Risk ≥ 20 % ในช่วง ไตรมาส 1, 2 และมีผล CVD Risk ลดลงเป็น < 20 % ในช่วงไตรมาส 3, 4 4.3.5 ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน และ/หรือความดันโลหิตสูงที่เป็น CKD 3-4 ชะลอการ ลดลงของ eGFR ได้ตามเป้าหมาย


ตัวชี้วัด (ระดับจังหวัด) โครงการการป้องกันโรคหลอดเลือดสมอง รู้เร็ว 1. เพื่อให้ประชาชนได้รู้ถึงอาการที่ 1. อัตราตายผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง มาทัน ป้องกันอัมพาต ผิดปกติของโรคหลอดเลือดสมองที่ < ร้อยละ 7 กิจกรรมหลักที่ 1 การเข้าถึงบริการโรคหลอด ต้องรีบเข้ามารับการรักษาในได้ทันเวลา2. ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง(I60-I69) 10 อ าเภอ -เครือข่ายคณะท างาน เลือดสมอง Pre-hos / In-hos/Post-hos 2. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง ที่มีอาการไม่เกิน 72 ชั่วโมง ได้รับ กิจกรรมย่อยที่ 1.1ประชุมคณะกรรมการชี้แจง เข้าถึงการรักษาใน Stroke Unit การรักษาใน Stroke Unit 10 อ าเภอ -กลุ่มเสี่ยงและ แนวทางการท างานและวางแผนการด าเนินงาน 3. เพื่อลดอัตราตายผู้ป่วยโรค ≥ ร้อยละ 80 ผู้ป่วย Stroke กิจกรรมย่อยที่ 1.2 จัดกิจกรรมสอนการให้ความรู้ หลอดเลือดสมอง เรื่องโรคหลอดเลือดสมอง ส่งเสริม ป้องกัน รักษา 10 อ าเภอ -รพ.ทุกแห่ง / ฟื้นฟู หน่วยบริการปฐมภูมิ กิจกรรมย่อยที่ 1.3ประชาสัมพันธ์ สัญญาณเตือน 10 อ าเภอ รพ.ทุกแห่ง Stroke Fast Track และระบบ1669 รพท./รพช.ด่านช้าง รพท./รพช.ด่านช้าง กิจกรรมย่อยที่ 1.4 World Stroke Day กิจกรรมย่อยที่ 1.5 วางแผนเพิ่ม Stroke unit รพท./รพช.ด่านช้าง โครงการบริหารจัดการโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เพื่อพัฒนาระบบและเพิ่ม 11. รอยละการตรวจติดตามยืนยัน ทุกอ าเภอ ร.พ.ทุกแห่ง เชิงระบบ ปี 2566 ศักยภาพการบริหารจัดการ วินิจฉัยกลุมสงสัยปวยโรคเบาหวาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรังในเชิงระบบ และ/หรือความดันโลหิตสูง ให้สอดรับกับการด าเนินงาน ≥รอยละ 80 ตามตัวชี้วัดที่ก าหนด 11.1 รอยละการตรวจติดตามยืนยัน วินิจฉัยกลุมสงสัยปวยโรคเบาหวาน 11.2 รอยละการตรวจติดตามยืนยัน วินิจฉัยกลุมสงสัยปวย โรคความดันโลหิตสูง แผนงานที่ 6 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) โครงการหลักของกระทรวง ที่ 1 โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ส ยุทธศาสตร์กระทรวง ที่ 2 Service Excellence แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก/กิจกรรมย่อย วัตถุประสงค์ ค่าเป้าหมายตัวชี้วัด พื้นที่เป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย ส่วนที่ 2 แผนปฏิบัติการและแผนสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ปี 2566 จ านวนหน่วยนับ 12


Non-UC Non UC PP กองทุน อื่นๆ สป.กรม/กอง/ เบิกจ่ายแทนกัน basic services สุขภาพต าบล เงินบ ารุง/อบจ,/ งบจังหวัด/PPA/ สสส. น เม.ย - มิ.ย ต.ค. - ธ.ค. ม.ค. - มี.ค ก.ค. - ก.ย. แหล่งงบประมาณ/จ านวนงบประมาณ งบประมาณ รวมทั้งสิ้น รหัสงบ ระยะเวลาด าเนินการ/งบประมาณ 24


ตัวชี้วัด แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก/กิจกรรมย่อย วัตถุประสงค์ ค่าเป้าหมายตัวชี้วัด พื้นที่เป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย ส่วนที่ 2 แผนปฏิบัติการและแผนสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ปี 2566 จ านวนหน่วยนับ กิจกรรมหลักที่ 1 การพัฒนาบุคลากร 1. จัดอบรมฟื้นฟูความรู้ 1.เพื่อสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพ NCD ร.พ. / Health Literacy ให้กับบุคลากร NCD สสอ. สาธารณสุข 50 คน/1 วัน 2.เพื่อน าความรู้ใหม่ๆมาพัฒนา งานให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น กิจกรรมหลักที่ 2 ข้อมูล ตรวจสอบข้อมูลกลุ่มเป้าหมายโรคไม่ติดต่อเรื้อรังใน 1. เพื่อลดข้อผิดพลาดของข้อมูล ทุกต าบล/ จนท.สสจ.. ระบบ (HDC) ให้ถูกต้อง ครบถ้วน ที่ส่งผลต่อการผ่านเกณฑ์ตัวชี้วัด ทุก ร.พ. จนท.รพ./สสอ. 2. เพื่อให้ จนท.ติดตาม ข้อมูลในระบบอย่างสม่ าเสมอ กิจกรรมหลักที่ 3 การนิเทศ ติดตาม 1. จัดประชุมคณะกรรมการ NCD board ระดับจังหวัด เพื่อก ากับ ติดตามความก้าวหน้า ทุกอ าเภอ คณะกรรมการ ไตรมาสละ 1 ครั้ง สรุปผลการด าเนินงาน ตลอดจน NCD board ปัญหาอุปสรรค ระดับจังหวัด 30 คน /1วัน/ 1 ไตรมาส 2. Monitor การตรวจคัดกรองเบาหวาน/ความดันโลหิต เพื่อจ าแนกภาวะสุขภาพ ทุกต าบล/ กลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย ของประชาชนกลุ่มเป้าหมาย ทุก ร.พ. ในพื้นที่ ในการวางแผนจัด Intervention 3. Monitor การจัดบริการรตรวจติดตามยืนยันวินิจฉัย เพื่อติดตามยืนยันวินิจฉัยใน ทุกต าบล/ กลุ่มสงสัยปวย กลุมสงสัยปวยโรคเบาหวานและ/หรือความดันโลหิตสูง ภาวะสุขภาพกลุมสงสัยปวย ทุก ร.พ. ในพื้นที่ 4. ติดตามการจัดบริการคลินิคโรคเรื้อรัง (คลินิก NCD) เพื่อจัดบริการรักษาพยาบาล ทุก ร.พ. กลุ่มผู้ปวย และบูรณาการกับคลินิคที่เกี่ยวข้อง ให้ครอบคลุมทุกกลุ่มอาการของ ในพื้นที่ ผู้ป่วย โครงการควบคุมโรคและภัยสุขภาพ กิจกรรมหลักที่ 1 การพัฒนาบุคลากร 11. รอยละการตรวจติดตามยืนยัน 12


Non-UC Non UC PP กองทุน อื่นๆ สป.กรม/กอง/ เบิกจ่ายแทนกัน basic services สุขภาพต าบล เงินบ ารุง/อบจ,/ งบจังหวัด/PPA/ สสส. เม.ย - มิ.ย ต.ค. - ธ.ค. ม.ค. - มี.ค ก.ค. - ก.ย. แหล่งงบประมาณ/จ านวนงบประมาณ งบประมาณ รวมทั้งสิ้น รหัสงบ ระยะเวลาด าเนินการ/งบประมาณ P P P P 4,500 4,500 4,500 4,500 18,000 18,000 รหัส12626 P P P P P P P P P 25


ตัวชี้วัด แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก/กิจกรรมย่อย วัตถุประสงค์ ค่าเป้าหมายตัวชี้วัด พื้นที่เป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย ส่วนที่ 2 แผนปฏิบัติการและแผนสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ปี 2566 จ านวนหน่วยนับ จัดอบรมฟื้นฟูความรู้ เพื่อสร้างความรอบรู้ด้าน วินิจฉัยกลุมสงสัยปวยโรคเบาหวาน สุขภาพโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง และ/หรือความดันโลหิตสูง ให้กับอาสาสมัครสาธารณสุข/ ≥รอยละ 80 ประชาชน 11.1 รอยละการตรวจติดตามยืนยัน กิจกรรมหลักที่ 2 กระบวนงาน วินิจฉัยกลุมสงสัยปวยโรคเบาหวาน 11.2 รอยละการตรวจติดตามยืนยัน 1. ตรวจคัดกรองเบาหวาน/ความดันโลหิตกลุ่มเป้าหมาย เพื่อจ าแนกภาวะสุขภาพ วินิจฉัยกลุมสงสัยปวย กลุ่มเป้าหมาย ของประชาชนกลุ่มเป้าหมาย โรคความดันโลหิตสูง ในพื้นที่ ในการวางแผนจัด Intervention 2.จัดบริการรตรวจติดตามยืนยันวินิจฉัยกลุมสงสัยปวย เพื่อติดตามยืนยันวินิจฉัยใน ทุกต าบล/ กลุ่มสงสัยปวย โรคเบาหวานและ/หรือความดันโลหิตสูง ภาวะสุขภาพกลุมสงสัยปวย ทุก ร.พ. ในพื้นที่ 3. จัดบริการคลินิคโรคเรื้อรัง (คลินิก NCD) เพื่อจัดบริการรักษาพยาบาล ทุก ร.พ. กลุ่มผู้ปวย และบูรณาการกับคลินิคที่เกี่ยวข้อง ให้ครอบคลุมทุกกลุ่มอาการของ ในพื้นที่ ผู้ป่วย กิจกรรมหลักที่ 3 ข้อมูล ตรวจสอบข้อมูลกลุ่มเป้าหมายโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในระบบ 1. เพื่อลดข้อผิดพลาดของข้อมูล ทุกต าบล/ จนท.รพ./สสอ. ให้ถูกต้อง ครบถ้วน ที่ส่งผลต่อการผ่านเกณฑ์ตัวชี้วัด ทุก ร.พ. 2. เพื่อให้ จนท.ติดตาม ข้อมูลในระบบอย่างสม่ าเสมอ กิจกรรมหลักที่ 4 การนิเทศ ติดตาม 1. การประชุมบูรณาการทีมสหวิชาชีพที่ให้บริการคลินิค เพื่อบูรณาการ การด าเนินงาน ทุกต าบล/ จนท.รพ./สสอ. โรคเรื้อรัง (คลินิก NCD)และคลินิคที่เกี่ยวข้อง สรุปผลการด าเนินงาน ตลอดจน ทุก ร.พ. ไตรมาสละ 1 ครั้ง ร่วมกันแก้ไขปัญหาอุปสรรคที่ เกิดขึ้น รวมแผน Service plan สาขาโรคไม่ติดต่อเรื้องรัง 12


Non-UC Non UC PP กองทุน อื่นๆ สป.กรม/กอง/ เบิกจ่ายแทนกัน basic services สุขภาพต าบล เงินบ ารุง/อบจ,/ งบจังหวัด/PPA/ สสส. เม.ย - มิ.ย ต.ค. - ธ.ค. ม.ค. - มี.ค ก.ค. - ก.ย. แหล่งงบประมาณ/จ านวนงบประมาณ งบประมาณ รวมทั้งสิ้น รหัสงบ ระยะเวลาด าเนินการ/งบประมาณ P P P P P P P P P P P P P P P P P 4,500 4,500 4,500 4,500 18,000 - - - - 18,000 26


Page| 127 แผนปฏิบัติราชการด้านสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ประจำปีงบประมาณ 2566 แผนงาน : การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) แผนงานย่อย: แผนปฏิบัติราชการการป้องกันและควบคุมการดื้อยาด้วยจุลชีพและ การใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล โครงการป้องกันและควบคุมการดื้อยาด้วยจุลชีพและการใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล 1. สถานการณ์ปัญหา 1.1 Base line data ในภาพรวมของจังหวัดสุพรรณบุรีผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด RDU ปีงบประมาณ 2566 มี โรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุข 10 แห่ง ผ่านเกณฑ์ RDU Hospital 10 – 12 ข้อ จำนวน จำนวน 7 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 70 ได้แก่ โรงพยาบาลด่านช้าง โรงพยาบาลหนองหญ้าไซ โรงพยาบาลบางปลาม้า โรงพยาบาลศรีประจันต์โรงพยาบาลดอนเจดีย์ โรงพยาบาลอู่ทอง และโรงพยาบาลสามชุก ผ่านเกณฑ์ RDU Hospital 6 – 9 ข้อ จำนวน 3 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 30 ได้แก่ โรงพยาบาลสมเด็จพระสังฆราชองค์ที่ 17 โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช และโรงพยาบาลเดิมบางนางบวช โดยตัวชี้วัดที่ยังไม่ผ่านเกณฑ์มากที่สุด 3 อันดับแรก คือ ร้อยละการใช้ยาในปฏิชีวนะในโรค AD รองลงมาคือ ร้อยละของผู้ป่วยโรคหืดเรื้อรังที่ได้รับยา Inhaled corticosteroid และ ร้อยละการใช้ยาปฏิชีวนะในหญิงคลอดปกติครบกำหนดทางช่องคลอด สำหรับ อัตราการติดเชื้อดื้อยาในกระแสเลือดในโรงพยาบาลศูนย์และโรงพยาบาลทั่วไปในจังหวัดสุพรรณบุรีพบว่า ลดลง 9.73% จากปีปฏิทิน 64 ( เป้าหมายคือ อัตราการติดเชื้อดื้อยาในกระแสเลือดไม่เพิ่มขึ้นจากปีปฏิทิน 64) ในปีงบประมาณ 2565 มีการคัดเลือกอำเภอต้นแบบด้านการใช้ยาสมเหตุผล คือ อำเภอด่านช้าง เป็น อำเภอแรก และเริ่มทำแผนการขับเคลื่อนการใช้ยาอย่างสมเหตุผลในรูปแบบโครงการ “องค์พระร่วมใจส่งเสริม การใช้ยาสมเหตุผลและผลิตภัณฑ์สุขภาพปลอดภัย” ณ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลองค์พระ อำเภอด่าน ช้าง จังหวัดสุพรรณบุรีซึ่งเป็นโครงการร่วมระหว่างโครงการเครือข่ายชุมชนร่วมใจป้องกันภัยผลิตภัณฑ์ สุขภาพ (บวร.ร.) และโครงการ อย.น้อย ที่ขับเคลื่อนด้วย 5 กิจกรรมการดำเนินงาน ดังนี้ - การพัฒนาศักยภาพแกนนำ อสม.และ อย. น้อย ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ “องค์พระร่วมใจ ส่งเสริมการใช้ยาสมเหตุผลและผลิตภัณฑ์สุขภาพปลอดภัย” โดยการอบรมให้ความรู้เรื่อง ผลิตภัณฑ์สุขภาพปลอดภัย ด้าน ยา อาหาร และเครื่องสำอาง และการโฆษณาในร้านชำ - แกนนำ อสม. และ อย.น้อย ลงพื้นที่ตรวจเฝ้าระวังการจำหน่ายผลิตภัณฑ์สุขภาพด้านยา อาหาร เครื่องสำอาง และวัตถุอันตรายที่ใช้ในครัวเรือน - สรุปผลการลงพื้นที่ของ อสม. และ อย.น้อย ในการตรวจเฝ้าระวังการจำหน่ายยา ผลิตภัณฑ์ สุขภาพ และการโฆษณาในร้านชำ พร้อมทั้งเยี่ยมชมร้านชำต้นแบบด้านการส่งเสริมการใช้ยา อย่างสมเหตุผลและผลิตภัณฑ์สุขภาพปลอดภัย


Page| 128 แผนปฏิบัติราชการด้านสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ประจำปีงบประมาณ 2566 - ถอดบทเรียนการดำเนินกิจกรรมในโครงการ “องค์พระร่วมใจส่งเสริมการใช้ยาสมเหตุผลและ ผลิตภัณฑ์สุขภาพปลอดภัย” และมอบประกาศนียบัตร “ ร้านชำต้นแบบด้านการส่งเสริมการใช้ ยาอย่างสมเหตุผลและผลิตภัณฑ์สุขภาพปลอดภัย” ประชากรเป้าหมายจากปี 2565 สำหรับตัวชี้วัด ร้อยละของโรงพยาบาลที่ใช้ยาอย่างสมเหตุผล ได้แก่ โรงพยาบาลในจังหวัดทุกแห่ง (10 แห่ง) และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (174 แห่ง) ร้อยละของ โรงพยาบาลที่มีระบบจัดการการดื้อยาต้านจุลชีพอย่างบูรณาการ และอัตราการติดเชื้อดื้อยาในกระแสเลือด ได้แก่ โรงพยาบาลศูนย์และโรงพยาบาลทั่วไป (2 แห่ง) 1.2 ปัญหาพื้นที่เชิงคุณภาพ (สาเหตุ/ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง) 1.2.1 แพทย์ผู้สั่งใช้ยายังขาดความตระหนักในการสั่งใช้ยาตามแนวทางการรักษามาตรฐาน อย่างสมเหตุผล 1.2.2 เภสัชกรขาดการกำกับติดตามการสั่งใช้ยาและการสะท้อนข้อมูลผลการดำเนินงาน RDU ไปยังคณะกรรมการบริหารโรงพยาบาลอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ 1.3 ข้อมูล หรือปัญหาของกระบวนการทำงาน ขาดอัตรากำลังบุคลากรที่รองรับการปฏิบัติงานด้านการกำกับติดตามการสั่งใช้ยาอย่างสม เหตุผล (RDU) และการจัดการการดื้อยาต้านจุลชีพ (AMR) ในโรงพยาบาลได้แก่ เภสัชกร พยาบาลวิชาชีพ และนักเทคนิคการแพทย์ 2. สรุปปัญหาที่สำคัญ 2.1 การดำเนินงานการส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผลและการจัดการการติดเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพใน โรงพยาบาลหลายแห่ง ยังขาดการผลักดันเชิงนโยบายที่จริงจังจากผู้บริหารและคณะกรรมการบริหารโรงพยาบาล 2.2 การดำเนินงาน AMR ยังขาดการสนับสนุนงบลงทุนเพื่อแก้ไขปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมใน โรงพยาบาลซึ่งมีผลต่อการจัดการการดื้อยาต้านจุลชีพ (AMR) ในระยะยาว 2.3 การดำเนินงานการส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผลในชุมชน (RDU community) ยังขาดการ ประสานงานกับหน่วยงานในระดับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) และภาคเอกชน เช่น โรงพยาบาล เอกชน คลินิก ร้านยา และร้านชำ 3. เป้าประสงค์ 3.1 ประชาชนได้รับการรักษาด้วยยาอย่างสมเหตุผลและมีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ที่กำหนด 3.2 เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินงานการใช้ยาอย่างสมเหตุผลระหว่างโรงพยาบาล


Page| 129 แผนปฏิบัติราชการด้านสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ประจำปีงบประมาณ 2566 4. เป้าหมายและตัวชี้วัด 4.1 โรงพยาบาลทุกแห่งในจังหวัดต้องผ่านเกณฑ์การใช้ยาอย่างสมเหตุผล (RDU) โดยต้องผ่านเกณฑ์ RDU Hospital ≥ 10 ข้อ จาก 12 ข้อ 4.2 อัตราการติดเชื้อดื้อยาในกระแสเลือดไม่เพิ่มขึ้นจากปีปฏิทิน 64


ตัวชี้วัด (ระดับจังหวัด) โครงการ ป้องกันและควบคุมการดื้อยาต้าน เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาระบบ ร้อยละ 50 จังหวัดที่ขับเคลื่อนการ จุลชีพและการใช้ยาอย่างสมเหตุผล สุขภาพใหมีการใชยาอยางสมเหตุผล พัฒนาสูจังหวัดใชยาอยางสมเหตุผล กิจกรรมหลักที่ 1 การส่งเสริมการใช้ยา ในระดับจังหวัดและ อ าเภอ (RDU province)ตามเกณฑที่ก าหนด อย่างสมเหตุผลในโรงพยาบาล และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบล (RDU) กิจกรรมย่อยที่ 1.1 ประชุมคณะกรรมการ Service plan RDU จังหวัดสุพรรณบุรี กิจกรรมหลักที่ 2 การป้องกันและการควบคุม การดื้อยาต้านจุลชีพ (AMR) กิจกรรมย่อยที่ 2.1 ประชุมคณะท างานย่อย AMR จังหวัดสุพรรณบุรี แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก/กิจกรรมย่อย วัตถุประสงค์ ค่าเป้าหมายตัวชี้วัด พื้นที่เป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย ต.ค รวมงบประมาณทั้งสิ้น(RDU) ส่วนที่ 2 แผนปฏิบัติการและแผนสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ปี 2566 จ านวนหน่วยนับ โครงการหลักของกระทรวง ที่ 3 โครงการป้องกันและควบคุมการดื้อยาต้านจุลชีพและการใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล แผนงานที่ 6 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) ยุทธศาสตร์กระทรวง ที่ 2 Service Excellence 13


Non-UC Non UC PP กองทุน อื่นๆ สป. กรม/กอง/ เบิกจ่ายแทน กัน basic services สุขภาพต าบล เงินบ ารุง/อบจ ,/งบจังหวัด/ PPA/สสส. - - - - - - - - - - - เม.ย - มิ.ย ค. - ธ.ค. ม.ค. - มี.ค ก.ค. - ก.ย. แหล่งงบประมาณ/จ านวนงบประมาณ งบประมาณ รวมทั้งสิ้น ระยะเวลาด าเนินการ/งบประมาณ รหัสงบ 30


ตัวชี้วัด (ระดับจังหวัด) โครงการจัดอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การช่วยกู้ชีพทารกแรกเกิด NCPRและ STABLE Program กิจกรรมหลักที่ 1อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องการ - เพื่อพัฒนาความรู้และทักษะบุคลากร - ลดอัตราตายทารกแรกเกิด <28 วัน รพ.ทุกแห่ง เครือข่ายสุขภาพ ช่วยกู้ชีพทารกแรกเกิด NCPRและ ที่ดูแลทารกแรกเกิดในการช่วย ที่รอดออกมาน ้าหนัก ≥500 กรัม 10 อ้าเภอ แพทย์ STABLE Program กู้ชีพทารกแรกเกิด เป้าหมาย <3.6:1,000 เกิดมีชีพ พยาบาล รวมแผน Serviceplan สาขา ทารกแรกเกิด ส่วนที่ 2 แผนปฏิบัติการและแผนสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ปี 2566 จ านวนหน่วยนับ ยุทธศาสตร์กระทรวง ที่ 2 Service Excellence แผนงานที่ 6 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) โครงการหลักของกระทรวง ที่ 4 โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาทารกแรกเกิด แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก/กิจกรรมย่อย วัตถุประสงค์ ค่าเป้าหมายตัวชี้วัด พื้นที่เป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย ต.ค. - 13


Non-UC Non UC PP กองทุน อื่นๆ สป.กรม/กอง/ เบิกจ่ายแทนกัน basic services สุขภาพต าบล เงินบ ารุง/อบจ,/ งบจังหวัด/ PPA/สสส. - - - - - - - - - - ระยะเวลาด าเนินการ/งบประมาณ รหัสงบ เม.ย - มิ.ย - ธ.ค. ม.ค. - มี.ค ก.ค. - ก.ย. แหล่งงบประมาณ/จ านวนงบประมาณ งบประมาณ รวมทั้งสิ้น 31


Click to View FlipBook Version