หลกั สตู รสถานศกึ ษา
โรงเรยี นวดั ศรทั ธาธรรม
พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๕
(ฉบบั ปรบั ปรงุ พุทธศกั ราช ๒๕๖๑)
ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน
พุทธศกั ราช ๒๕๕๑
โรงเรยี นวดั ศรทั ธาธรรม อาเภอเมอื ง จงั หวดั สมทุ รสงคราม
สานกั งานเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาสมทุ รสงคราม
สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน
หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรยี นวัดศรทั ธาธรรม
หลกั สตู รสถานศกึ ษา
โรงเรยี นวัดศรทั ธาธรรม
พทุ ธศักราช 2565
ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551
สำนกั งานเขตพ้นื ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาสมทุ รสงคราม
สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ
หนา้ 1
หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นวดั ศรัทธาธรรม
ประกาศโรงเรยี นวัดศรัทธาธรรม
เร่ือง การใช้หลกั สตู รการศกึ ษาขัน้ พื้นฐานโรงเรียนวัดศรัทธาธรรม พุทธศักราช 2565
(ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาพทุ ธศกั ราช 2551)
โรงเรียนวัดศรัทธาธรรม สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรสงคราม ได้ดำเนินการพัฒนา
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดศรัทธาธรรม ฉบับปรับปรุงพุทธศักราช 2565 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา
พุทธศักราช 2551 และเอกสารประกอบหลักสูตรขน้ึ เพื่อกำหนดใช้เป็นกรอบและทิศทางในการจัดการเรยี นการสอน
ของโรงเรยี นวดั ศรัทธาธรรมโดยโรงเรียนได้จัดทำและพัฒนาหลักสูตรตามแนวคิดหลักสูตรอิงมาตรฐาน คือ
กำหนดมาตรฐานการเรียนรู้เป็นเป้าหมายในการพัฒนาผู้เรียน เพ่ือให้ผู้เรียนมีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ที่
กำหนดในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคนให้มีความสมดุลทั้งด้านร่างกาย ความรู้
คุณธรรม มีจิตสำนึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดม่ันในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมี
พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีความรู้และทักษะพื้นฐาน รวมท้ังเจตคติท่ีจำเป็นต่อการศึกษาต่อ การประกอบ
อาชีพและการศึกษาตลอดชีวิต โดยมุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญบนพื้นฐานความเช่อื ว่า ทกุ คนสามารถเรียนรู้และพัฒนา
ตนเองได้เต็มตามศักยภาพ
ทั้งนี้ หลักสูตรโรงเรียนวัดศรัทธาธรรม ได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษา
ขั้นพื้นฐาน เมื่อวันท่ี 6 เดือน พฤษภาคม พ.ศ. 2565 จึงประกาศให้ใช้หลักสูตรโรงเรียนวัดศรัทธาธรรม
ปีการศึกษา 2565 ต้ังแต่บดั นเี้ ป็นตน้ ไป
ประกาศ ณ วนั ที่ 6 เดอื น พฤษภาคม พ.ศ. 2565
(ลงชอ่ื ) (ลงชือ่ )
(พระครูพิพธิ พิพัฒนโกศล) (นางส.พนั ธ์ุศิวลี สขุ วรรณะ)
ประธานคณะกรรมการสถานศึกษาข้นั พ้นื ฐาน ผอู้ ำนวยการโรงเรียนวัดศรทั ธาธรรม
หนา้ 2
หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นวัดศรทั ธาธรรม
คำนำ
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดศรัทธาธรรม พุทธศักราช 2565 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา
ข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551ได้จัดทำข้ึนเพ่ือให้คณะครูได้ใช้จัดการเรียนการสอนให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ของ
หลักสูตรและได้ใช้มาจนปีพุทธศักราช 2559 จึงได้ปรับปรุงหลักสูตรให้สอดคล้องตามแนวทางวิถีพุทธหลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน และในปีพุทธศักราช 2560 ได้ปรับโครงสร้าง
หลักสูตรโดยเพ่ิมรายวิชาอาเซียนศึกษาเป็นรายวิชาเพิ่มเติมทุกช้ันเรียน แต่ในปีปัจจุบัน 2565 ได้เพ่ิมรายวิชา
คอมพิวเตอร์เป็นรายวิชาเพิ่มเติมและมีการเปลีย่ นแปลงในสาระการงานอาชีพและสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี ซง่ึ เนอื้ หาหลักสูตรประกอบด้วย
บทท่ี 1 ความนำ
บทท่ี 2 โครงสรา้ งหลกั สตู รสถานศกึ ษา
บทที่ 3 สาระการเรียนรู้หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นวัดศรัทธาธรรม
บทท่ี 4 กจิ กรรมพัฒนาผู้เรียนตามหลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนวดั ศรัทธาธรรม
บทที่ 5 การจดั การเรียนรแู้ ละการส่งเสรมิ การเรียนรู้
บทที่ 6 การวัดและประเมนิ ผลการเรยี นตามหลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นวัดศรัทธาธรรม
บทที่ 7 การบรหิ ารจดั การหลักสตู รสถานศึกษาโรงเรยี นโรงเรยี นวดั ศรัทธาธรรม
ขอขอบคุณผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาสมุทรสงคราม ศึกษานิเทศก์
คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนวัดศรัทธาธรรม คณะครู ผู้ปกครอง ชุมชนและผู้ทรงคุณวุฒิ
ตลอดจนบุคคลและหน่วยงานท่ีให้ความรว่ มมืออำนวยความสะดวกต่าง ๆ อันเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาหลักสูตร
คร้ังนี้ โรงเรยี นวดั ศรทั ธาธรรม หวงั เป็นอย่างย่ิงว่าหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดศรัทธาธรรม พทุ ธศกั ราช 2565
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และเอกสารประกอบหลักสูตรที่จัดทำข้ึน จะเป็น
ประโยชน์สำหรับครูผู้สอนและผู้ท่ีเก่ียวข้องให้สามารถนำหลักสูตรไปใช้จัดการเรียนการสอนและดำเนินการวัดและ
ประเมนิ ผลได้อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ และหลักสูตรนจี้ ะมคี ุณค่ายิ่งเม่ือไดร้ บั การนำไปใช้พัฒนาตามแนวทางท่ีกำหนด
นางส.พนั ธ์ศุ วิ ลี สุขวรรณะ
ผู้อำนวยการโรงเรยี นวัดศรทั ธาธรรม
หน้า 3
หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นวดั ศรทั ธาธรรม
สารบญั
เรื่อง หน้า
ประกาศโรงเรยี นวัดศรัทธาธรรม 2
คำนำ 3
ความนำ 5
วิสัยทัศน์ 13
สมรรถนะสำคัญของผ้เู รยี น 14
คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ 15
โครงสรา้ งหลักสตู รสถานศึกษา 17
คำอธิบายรายวิชา 31
32
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย 43
กล่มุ สาระการเรียนรคู้ ณิตศาสตร์ 58
กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 81
กลุ่มสาระการเรียนรูส้ ังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม 97
กลุ่มสาระการเรียนรสู้ ังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม (วิชาประวตั ศิ าสตร)์ 110
กลุ่มสาระการเรยี นร้สู ุขศึกษาและพลศึกษา 125
กลุ่มสาระการเรยี นรศู้ ิลปะ 138
กลุ่มสาระการเรยี นรู้การงานอาชีพ 157
กลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาองั กฤษ 164
รายวิชาเพม่ิ เติมวิชาภาษาองั กฤษเพ่ือการส่อื สาร 177
รายวิชาเพิม่ เติมวิชาหน้าที่พลเมือง 190
รายวิชาเพม่ิ เติมวชิ าการป้องกันการทจุ ริต 197
กิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี น 198
กจิ กรรมแนะแนว 209
กจิ กรรมนักเรยี น 216
คำอธิบายรายวชิ ากจิ กรรมชุมนุม 220
กจิ กรรมเพอื่ สังคมและสาธารณประโยชน์ 222
เกณฑ์การจบการศึกษา 229
ภาคผนวก
หนา้ 4
หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรยี นวัดศรัทธาธรรม
สว่ นที่ 1
ความนำ
กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ให้
เป็นหลักสูตรแกนกลางของประเทศ เม่ือวันที่11กรกฎคม 2551 เร่ิมใช้ในโรงเรียนต้นแบบการใช้หลักสูตร
และโรงเรียนท่ีมีความพร้อม ในปีการศึกษา 2552 และเริ่มใช้ในโรงเรียนท่ัวไปในปีการศึกษา 2553 ซ่ึงใช้
มาเป็นเวลากว่า 8 ปีแล้ว สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐานสำนักวิชาการและมาตรฐานโดย
สำนักการศึกษาได้ ดำเนินการติดตามผลการนำหลักสูตรไปสู่การปฏิบัติอย่างต่อเนื่องในหลายรูปแบบ ทั้งการ
ประชุมรับฟังความคิดเห็น การนิเทศติดตามผลการใช้หลักสูตรของโรงเรียนฟังความคิดเห็นผ่านการรับ
เว็บไซต์ของสำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา รายงานผลการวิจัยของหน่วยงานและองค์กรที่
เก่ียวขอ้ งกบั หลักสูตรและการใช้หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 ผลจากการศกึ ษา พบว่า
ห ลั ก สู ต ร แ ก น ก ล า ง ก า ร ศึ ก ษ า ขั้ น พ้ื น ฐ า น พุ ท ธ ศั ก ร า ช 2551 มี ข้ อ ดี ใน ห ล า ย ป ร ะ ก า ร เช่ น
กำหนดเป้าหมายการพัฒนาไว้ชัดเจน มีความยืดหยุ่นเพียงพอให้สถานศึกษาบริหารจัดการหลักสูตรสถานศึกษาได้
สำหรับปัญหาท่ีพบส่วนใหญ่เกิดจากการนำหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551
สกู่ ารปฏบิ ัติในสถานศึกษาและในห้องเรียน
นอกจากนี้ การศึกษาข้อมูลทิศทางและกรอบยุทธศาสตร์ของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ฉบบั ท่ี 12 (พ. ศ.2560 - 2564) เกิดข้นึ ในชว่ งเวลาของการปฏริ ปู ประเทศและสถานการณโ์ ลก โดยการเปล่ียนแปลง
อ ย่างรว ด เร็ว แล ะเชื่ อ ม โย งใก ล้ ชิ ด กั น ม าก ขึ้ น โด ยจั ด ท ำบ น พ้ื น ฐ าน ข อ งก รอ บ ยุ ท ธ ศ าส ต ร์ช าติ
20 ปี (พ.ศ. 2560 - 2579) ซงึ่ เป็นแผนหลักของการพฒั นาประเทศและเปา้ หมายของการพฒั นาทีย่ ง่ั ยืน
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดศรัทธาธรรม พุทธศักราช 2565 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา
ขั้นพ้ืนฐาน พ.ศ. 2551 เป็นแผนหรือแนวทาง หรอื ข้อกำหนดของการจดั การศึกษาของโรงเรียนวัดศรัทธาธรรม ที่จะ
ใช้ในการจัดการเรียนการสอนเพ่ือพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตามมาตรฐานที่กำหนดมุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี
มีปัญญา มีความสุข มีศักยภาพในการศึกษาต่อ และประกอบอาชีพท่ีสุจริตตลอดจนการรู้จักอนุรักษ์วัฒนธรรม
ประเพณีท้องถ่ิน โดยมุ่งหวังให้มีความสมบูรณ์ทั้งด้านร่างกาย จิตใจ และสติปัญญา อีกทั้ง มีความรู้และทักษะที่
จำเป็นสำหรับการดำรงชีวิต และมีคุณภาพได้มาตรฐานสากล เพื่อการแข่งขันในยุคปัจจุบันดังน้ันหลักสูตร
สถานศึกษาโรงเรียนวัดศรัทธาธรรม พุทธศกั ราช 2565 ตามสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 จึง
ประกอบด้วยสาระสำคัญของหลักสูตรแกนกลาง สาระความรู้ที่เก่ียวข้องกับชุมชนท้องถ่ิน และสาระสำคัญที่โรงเรียน
พัฒนาเพ่ิมเติม โดยจัดเป็นสาระการเรียนรู้รายวิชาพ้ืนฐานตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด และสาระการเรียนรู้
เพิ่มเติม จัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนเป็นรายปีในระดับประถมศึกษาปีที่ 1 ถึงช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3 และกำหนด
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ สมรรถนะสำคัญของผู้เรียนและคุณภาพของนักเรียนโรงเรียนวัดศรัทธาธรรม ตาม
หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551
หน้า 5
หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรยี นวัดศรัทธาธรรม
หลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน จัดระดับการศกึ ษาเป็น 3 ระดับ ดังนี้
1. ระดับประถมศึกษา (ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1 – 6) การศึกษาระดบั น้ีเป็นช่วงแรกของการศกึ ษาภาคบังคับ
มุ่งเน้นทักษะพ้ืนฐานด้านการอ่าน การเขียน การคิดคำนวณ ทักษะการคิดพื้นฐาน การติดต่อสื่อสาร กระบวนการ
เรียนรู้ทางสังคม และพ้ืนฐานความเป็นมนุษย์ การพัฒนาคุณภาพชีวิตอย่างสมบูรณ์และสมดุลทั้งในด้านร่างกาย
สติปัญญา อารมณ์ สังคม และวัฒนธรรม โดยเนน้ จัดการเรยี นรแู้ บบบูรณาการ
2. ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 1 – 3) เป็นช่วงสุดท้ายของการศึกษาภาคบังคับ มุ่งเน้น
ให้ผู้เรียนได้สำรวจความถนัดและความสนใจของตนเอง ส่งเสริมการพัฒนาบุคลิกภาพส่วนตน มีทักษะในการคิด
วจิ ารณญาณ คดิ สร้างสรรค์ และคิดแก้ปัญหา มีทกั ษะในการดำเนินชวี ิต มีทกั ษะการใช้เทคโนโลยีเพื่อเป็นเครื่องมอื ใน
การเรียนรู้ มีความรับผิดชอบต่อสังคม มีความสมดุลท้ังด้านความรู้ ความคิด ความดีงาม และมีความภูมิใจในความ
เป็นไทย ตลอดจนใช้เปน็ พน้ื ฐานในการประกอบอาชีพหรือการศึกษาต่อ
3. ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 4 – 6) การศึกษาระดับน้ีเน้นการเพ่ิมพูนความรู้และ
ทักษะเฉพาะด้าน สนองตอบความสามารถ ความถนัดและความสนใจของผู้เรียนแต่ละคนท้ังด้านวิชาการและวิชาชีพ มี
ทักษะในการใช้วิทยาการและเทคโนโลยี ทักษะกระบวนการคิดข้ันสูง สามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์
ในการศึกษาต่อและการประกอบอาชีพ มุ่งพัฒนาตนและประเทศตามบทบาทของตน สามารถเป็นผู้นำ และผู้ให้บริการ
ชมุ ชนในดา้ นต่าง ๆ
การจัดเวลาเรียน
หลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน ได้กำหนดกรอบโครงสร้างเวลาเรยี นขั้นต่ำสำหรบั กลุ่มสาระการเรยี นรู้
8 กลุ่ม และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ซ่ึงสถานศึกษาสามารถเพ่ิมเติมได้ตามความพร้อมและจุดเน้น โดยสามารถปรับให้
เหมาะสมตามบรบิ ทของสถานศึกษาและสภาพของผเู้ รียน ดงั น้ี
1. ระดับช้ันประถมศึกษา (ช้ันประถมศึกษาปีที่ 1 – 6) ให้จัดเวลาเรียนเป็นรายปี โดยมีเวลาเรียนวันละ ไม่
เกนิ 5 ช่ัวโมง
2. ระดับชัน้ มัธยมศึกษาตอนต้น (ชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี 1–3) ให้จดั เวลาเรียนเป็นรายภาค มเี วลาเรียนวันละไม่น้อย
กว่า 6 ชั่วโมง คิดน้ำหนักของรายวิชาท่ีเรียนเป็นหน่วยกิต ใช้เกณฑ์ 40 ชั่วโมง ต่อภาคเรียน มีค่าน้ำหนักวิชา เท่ากับ
1 หน่วยกติ (นก.)
3. ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 4 - 6) ให้จัดเวลาเรียนเป็นรายภาคมีเวลาเรยี น วันละ
ไม่น้อยกวา่ 6 ชั่วโมง คิดน้ำหนักของรายวิชาท่ีเรียนเป็นหน่วยกิต ใช้เกณฑ์ 40 ชั่วโมงต่อภาคเรียน มีค่าน้ำหนกั วิชา
เท่ากับ 1 หนว่ ยกิต (นก.)
การกำหนดโครงสร้างเวลาเรียนพื้นฐาน และเพ่ิมเติม สถานศึกษาสามารถดำเนินการ ดัง น้ีระดับ
ประถมศึกษา สามารถปรับเวลาเรียนพืน้ ฐานของแตล่ ะกล่มุ สาระการเรียนรู้ ได้ตามความเหมาะสม ท้ังนี้ ต้องมีเวลา
เรียนรวมตามท่ีกำหนดไว้ในโครงสร้างเวลาเรียนพื้นฐาน และผู้เรียนต้องมีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้และ
ตวั ชีว้ ดั ท่ีกำหนด
หน้า 6
หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรยี นวดั ศรัทธาธรรม
ระดับมัธยมศึกษา ต้องจัดโครงสร้างเวลาเรียนพื้นฐานให้เป็นไปตามท่ีกำหนดและสอดคล้องกับเกณฑ์การ
จบหลักสูตร สำหรับเวลาเรียนเพิ่มเติม ท้ังในระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา ให้จัดเป็นรายวิชาเพิ่มเติม หรือ
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน โดยพิจารณาให้สอดคล้องกับความพร้อม จุดเน้นของสถานศึกษาและเกณฑ์การจบหลักสูตร
เฉพาะระดับชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 1-3 สถานศึกษาอาจจดั ใหเ้ ปน็ เวลาสำหรบั สาระการเรียนรู้พนื้ ฐานในกลุ่มสาระการ
เรยี นรู้ภาษาไทยและกลุ่มสาระการเรียนรูค้ ณิตศาสตร์ กิจกรรมพัฒนาผ้เู รียนท่ีกำหนดไว้ในช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ 1 ถึง
ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3 ปีละไม่น้อยกว่า 120 ชั่วโมง และชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 4-6 จำนวนไม่น้อยกว่า 360 ช่ัวโมงนั้น
เป็นเวลาสำหรับปฏิบัติกิจกรรมแนะแนวกิจกรรมนักเรียน และกิจกรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน์ ในส่วน
กิจกรรมเพ่อื สงั คมและสาธารณประโยชน์ใหส้ ถานศกึ ษาจัดสรรเวลาใหผ้ ูเ้ รียนไดป้ ฏบิ ัติกจิ กรรม ดังนี้
ระดบั ประถมศึกษา (ป.1-6) รวม 6 ปี จำนวน 60 ชัว่ โมง
ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน้ (ม.1-3) รวม 3 ปี จำนวน 45 ชั่วโมง
ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย (ม.4-6) รวม 3 ปี จำนวน 60 ชว่ั โมง
การจัดการศกึ ษาสำหรับกล่มุ เป้าหมายเฉพาะ
การจัดการศึกษาบางประเภทสำหรับกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ เช่น การศึกษาเฉพาะทาง การศึกษาสำหรับผู้มี
ความสามารถพิเศษ การศึกษาทางเลือก การศึกษาสำหรับผู้ด้อยโอกาสการศึกษาตามอัธยาศัย สามารถนำหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขนั้ พื้นฐานไปปรับใช้ได้ตามความเหมาะสม กับสภาพและบริบทของแต่ละกลมุ่ เปา้ หมาย โดยใหม้ ี
คณุ ภาพตามมาตรฐานที่กำหนด ทง้ั นใี้ ห้เป็นไปตามหลกั เกณฑ์และวธิ กี ารทกี่ ระทรวงศกึ ษาธกิ ารกำหนด
เกณฑ์การจบระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้
(1) ผู้เรยี นเรยี นรายวชิ าพืน้ ฐาน 66 หนว่ ยกติ รายวิชาเพ่มิ เติม ตามทส่ี ถานศกึ ษากำหนด
(2) ผู้เรียนมีผลการประเมิน ก ารอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน ในระดับผ่าน เกณ ฑ์
การประเมนิ ตามท่สี ถานศกึ ษากำหนด
(3) ผู้เรียนมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ในระดับผ่านเกณฑ์การประเมินตามที่
สถานศึกษากำหนด
(4) ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและมีผลการประเมินผ่านเกณฑ์การประเมินตามที่
สถานศึกษากำหนด
เกณฑก์ ารจบระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย
(1) ผู้เรยี นเรยี นรายวิชาพ้ืนฐาน 41 หนว่ ยกติ และรายวชิ าเพมิ่ เตมิ ตามที่สถานศึกษากำหนด
(2) ผู้เรียนมีผลการประเมิน การอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน ในระดับผ่านเกณฑ์ การประเมิน
ตามที่สถานศกึ ษากำหนด
(3) ผู้เรียนมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ในระดับผ่านเกณฑ์การประเมินตามท่ี
สถานศึกษากำหนด
(4) ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและมีผลการประเมินผ่านเกณฑ์การประเมินตามที่
สถานศกึ ษากำหนด
หนา้ 7
หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นวัดศรทั ธาธรรม
สำหรับการจบการศึกษาสำหรับกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ เช่น การศึกษาเฉพาะทาง การศึกษาสำหรับผู้มี
ความสามารถพิเศษ การศึกษาทางเลอื ก การศึกษาสำหรบั ผ้ดู ้อยโอกาส การศึกษาตามอัธยาศัยให้คณะกรรมการของ
สถานศึกษา เขตพื้นท่ีการศึกษา และผู้ท่ีเกี่ยวข้อง ดำเนินการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามหลักเกณฑ์ในแนว
ปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐานสำหรับกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ
วิสยั ทศั น์
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคน ซึ่งเป็นกำลังของชาติให้เป็นมนุษย์ที่มีความ
สมดุลท้ังด้านร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มีจิตสำนึกในความเป็นพลเมืองไทยและเป็นพลโลก ยึดมั่นในการปกครองตาม
ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีความรู้และทักษะพื้นฐาน รวมทั้ง เจตคติ ที่จำเป็นต่อ
การศึกษาต่อการประกอบอาชีพและการศึกษาตลอดชีวิต โดยมุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ บนพ้ืนฐานความเช่ือว่า
ทกุ คนสามารถเรยี นรแู้ ละพฒั นาตนเองไดเ้ ต็มตามศักยภาพ
หลกั การ
หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน มหี ลกั การท่ีสำคญั ดังนี้
1. เป็นหลักสูตรการศึกษาเพื่อความเป็นเอกภาพของชาติ มีจุดหมายและมาตรฐานการเรียนรู้เป็นเป้าหมาย
สำหรับพัฒนาเด็กและเยาวชนให้มีความรู้ ทักษะ เจตคติ และคุณธรรมบนพื้นฐานของความเป็นไทยควบคู่กับความ
เป็นสากล
2. เป็นหลักสตู รการศึกษาเพื่อปวงชน ทปี่ ระชาชนทกุ คนมีโอกาสได้รับการศึกษาอย่างเสมอภาค และมีคุณภาพ
3. เปน็ หลักสูตรการศกึ ษาทสี่ นองการกระจายอำนาจ ใหส้ ังคมมสี ว่ นร่วมในการจัดการศกึ ษาใหส้ อดคล้องกับ
สภาพและความตอ้ งการของท้องถนิ่
4. เป็นหลักสตู รการศกึ ษาทม่ี ีโครงสร้างยดื หยุน่ ท้งั ด้านสาระการเรยี นรู้ เวลาและการจดั การเรียนรู้
5. เปน็ หลักสตู รการศึกษาท่เี นน้ ผเู้ รียนเป็นสำคัญ
6. เป็นหลักสูตรการศึกษาสำหรับการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย ครอบคลุม
ทุกกลมุ่ เปา้ หมาย สามารถเทียบโอนผลการเรยี นรู้ และประสบการณ์
จดุ หมาย
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีปัญญา มีความสุข มีศักยภาพใน
การศกึ ษาตอ่ และประกอบอาชีพ จึงกำหนดเป็นจดุ หมายเพ่ือใหเ้ กดิ กับผู้เรียน เม่ือจบการศึกษาขน้ั พื้นฐาน ดังนี้
1. มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมท่ีพึงประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง มีวินัยและปฏิบัติตนตาม
หลักธรรมของพระพทุ ธศาสนา หรอื ศาสนาท่ีตนนบั ถอื ยึดหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
2. มคี วามรู้ ความสามารถในการสอ่ื สาร การคดิ การแกป้ ญั หา การใช้เทคโนโลยี และมที กั ษะชีวติ
3. มีสขุ ภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี มสี ขุ นิสยั และรกั การออกกำลังกาย
หน้า 8
หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรยี นวัดศรทั ธาธรรม
4. มีความรักชาติ มีจิตสำนึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดม่ันในวิถีชีวิตและ การปกครองตาม
ระบอบประชาธปิ ไตยอนั มพี ระมหากษัตริยท์ รงเป็นประมขุ
5. มีจิตสำนึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย การอนุรักษ์และพัฒนาส่ิงแวดล้อม
มจี ติ สาธารณะที่มงุ่ ทำประโยชน์และสรา้ งสง่ิ ทด่ี งี ามในสังคม และอยรู่ ว่ มกนั ในสังคมอย่างมคี วามสุข
สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รียน
หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน มงุ่ ใหผ้ ู้เรยี นเกิดสมรรถนะสำคญั 5 ประการ ดังนี้
1. ความสามารถในการสื่อสาร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร มีวัฒนธรรมในการใช้ภาษา
ถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเองเพ่ือแลกเปล่ียนข้อมูลข่าวสารและ
ประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมท้ังการเจรจาต่อรองเพ่ือขจัดและลดปัญหา
ความขัดแย้งต่าง ๆ การเลือกรับหรือไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและความถูกต้อง ตลอดจนการเลือกใช้
วิธกี ารส่ือสาร ทมี่ ปี ระสิทธิภาพโดยคำนงึ ถงึ ผลกระทบทม่ี ีตอ่ ตนเองและสงั คม
2. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิด อย่าง
สร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิดเป็นระบบ เพ่ือนำไปสู่การสร้างองค์ความรู้หรือสารสนเทศเพื่อ
การตัดสนิ ใจเกีย่ วกับตนเองและสงั คมไดอ้ ย่างเหมาะสม
3. ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแกป้ ัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ท่ีเผชญิ ได้อย่าง
ถกู ต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจความสัมพนั ธ์และการเปล่ยี นแปลง
ของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มาใช้ในการป้องกันและแก้ไขปัญหา และมีการ
ตัดสินใจทีม่ ีประสทิ ธิภาพโดยคำนึงถึงผลกระทบท่ีเกิดข้ึนต่อตนเอง สงั คมและสงิ่ แวดล้อม
4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนำกระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ในการดำเนิน
ชวี ิตประจำวัน การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง การทำงาน และการอยู่ร่วมกันในสังคมด้วยการสร้าง
เสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล การจัดการปัญหาและความขัดแย้งต่าง ๆ อย่างเหมาะสม การปรับตัวให้ทันกับ
การเปลยี่ นแปลงของสังคมและสภาพแวดลอ้ ม และการร้จู ักหลีกเล่ียงพฤตกิ รรมไม่พงึ ประสงค์ทสี่ ่งผลกระทบต่อตนเอง
และผ้อู น่ื
5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือก และใช้ เทคโนโลยีด้านต่าง ๆ และมี
ทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพ่ือการพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการเรียนรู้ การส่ือสาร การทำงาน การ
แก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ถกู ต้อง เหมาะสม และมคี ณุ ธรรม
หนา้ 9
หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นวดั ศรัทธาธรรม
คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์
หลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน มงุ่ พัฒนาผู้เรียนให้มคี ณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ เพ่ือใหส้ ามารถอยู่
รว่ มกบั ผ้อู น่ื ในสงั คมได้อยา่ งมีความสขุ ในฐานะเปน็ พลเมืองไทยและพลโลก ดงั น้ี
1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
2. ซ่ือสัตย์สจุ รติ
3. มวี นิ ยั
4. ใฝเ่ รยี นรู้
5. อยู่อยา่ งพอเพยี ง
6. มุ่งม่นั ในการทำงาน
7. รกั ความเป็นไทย
8. มีจติ สาธารณะ
หน้า 10
หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นวดั ศรัทธาธรรม
หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรียนวัดศรทั ธาธรรม พทุ ธศกั ราช 2565
(ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพน้ื ฐานพุทธศักราช 2551)
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดศรัทธาธรรม พุทธศักราช 2565 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น
พนื้ ฐานพทุ ธศักราช 2551 เปน็ แผน หรือแนวทาง หรอื ข้อกำหนดของการจัดการศึกษาของโรงเรยี นวดั ศรัทธาธรรม
ทจี่ ะใชใ้ นการจัดการเรียนการสอนเพ่ือพฒั นาผู้เรียนใหม้ ีคณุ ภาพตามมาตรฐานที่กำหนด มุ่งพฒั นาผ้เู รยี นใหเ้ ป็นคนดี
มีปัญญา มีความสุข มีศักยภาพในการศึกษาต่อ และประกอบอาชีพ โดยมุ่งหวัง ให้มีความสมบูรณ์ท้ังด้านร่างกาย
จติ ใจ และสตปิ ัญญา อกี ทงั้ มีความรูแ้ ละทักษะท่ีจำเป็นสำหรับ การดำรงชีวิต และมีคุณภาพไดม้ าตรฐานสากลเพื่อ
การแข่งขันในยุคปัจจุบัน ดังนั้นหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดศรัทธาธรรม พุทธศักราช 2565 ตามหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐานพุทธศักราช 2551 จึงประกอบด้วยสาระสำคัญของหลักสูตรแกนกลาง และ
สาระสำคัญ ท่ีสถานศึกษาพัฒนาเพิ่มเติม โดยจัดเป็นสาระการเรียนรู้รายวิชาพื้นฐานตามมาตรฐานการเรียนรู้และ
ตัวชี้วัด และสาระการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม จัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนเป็นรายปีในระดับประถมศึกษาและ
มัธยมศึกษาตอนต้น กำหนดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ของสถานศึกษาตามคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของหลักสูตร
แกนกลางการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดศรัทธาธรรม พุทธศักราช 2565 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ัน
พื้นฐานพุทธศักราช 2551 มีความสำคัญในการพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด และ
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามท่ีกำหนดไว้เป็นแนวทางให้ผู้บริหารสถานศึกษา ครูอาจารย์ ตลอดจนผู้เก่ียวข้องกับ
การจัดการศึกษาของสถานศึกษา ในการจัดมวลประสบการณ์ให้แก่ผู้เรียนไดพ้ ัฒนาให้บรรลถุ งึ คณุ ภาพตามมาตรฐาน
ในการพฒั นาเยาวชนของชาติ นอกเหนือจากการใชเ้ ปน็ แนวทาง หรอื ขอ้ กำหนดในการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
ให้บรรลุตามจุดหมายของการจัดการศึกษาแล้ว หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดศรัทธาธรรม พุทธศักราช 2565
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ท่ีพัฒนาข้ึนยังเป็นหลักสูตรท่ีมีจุดมุ่งหมายให้
ครอบครวั ชุมชน องค์กรในท้องถิน่ ทั้งภาครฐั และเอกชนเข้าร่วมจัดการศึกษาของสถานศกึ ษาโดยมีแนวทางสำคญั ที่
สถานศกึ ษากำหนดไวใ้ นหลกั สูตรสถานศึกษา ดังนี้
1. หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดศรัทธาธรรม พุทธศักราช 2565 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น
พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มงุ่ พัฒนาให้ผู้เรียนเกิดความสนกุ สนาน และความเพลิดเพลินในการเรยี นรเู้ ปรียบเสมอื น
เป็นวิธีสร้างกำลังใจ และเร้าให้เกิดความก้าวหน้าแก่ผู้เรียนให้มากที่สุด มีความรู้สูงสุด ผู้เรียนทุกคนมีความเข้มแข็ง
ความสนใจ มีประสบการณ์ และความม่ันใจ เรียนและทำงานอย่างเป็นอิสระและร่วมใจกัน มีทักษะ ในการอ่าน
ออกเขียนได้ คิดเลขเป็น รู้ข้อมูลสารสนเทศ และเทคโนโลยีส่ือสาร ส่งเสริมจิตใจ ท่ีอยากรู้อยากเห็น และมี
กระบวนการคิดอยา่ งมเี หตผุ ล
2. หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดศรัทธาธรรม พุทธศักราช 2565 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ัน
พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 สง่ เสรมิ การพัฒนาดา้ นจิตวญิ ญาณ จรยิ ธรรม สงั คม และวฒั นธรรม พัฒนาหลักการใน
การจำแนกระหว่างถูกและผิด เข้าใจและศรัทธาในความเช่ือของตน ความเช่ือและวัฒนธรรมท่ีแตกต่างกัน พัฒนา
หลักคุณธรรมและความอิสระของผู้เรียน และช่วยให้เป็นพลเมืองท่ีมีความรับผิดชอบ สามารถช่วยพัฒนาสังคม
หน้า 11
หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นวัดศรัทธาธรรม
ใหเ้ ปน็ ธรรมข้ึน มีความเสมอภาค พัฒนาความตระหนัก เข้าใจ และยอมรบั สภาพแวดลอ้ มที่ตนดำรงชีวติ อยู่ ยึดมั่น
ในขอ้ ตกลงรว่ มกนั ต่อการพฒั นาที่ยั่งยืนทั้งในระดับ ส่วนตน ระดับท้องถ่ิน ระดับชาติและระดับโลก สรา้ งใหผ้ ู้เรียนมี
ความพรอ้ มในการเปน็ ผบู้ รโิ ภคทต่ี ัดสนิ ใจแบบมีขอ้ มูล เปน็ อสิ ระ และมีความรบั ผิดชอบ
ลกั ษณะของหลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนวดั ศรทั ธาธรรม พทุ ธศักราช 2565
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดศรัทธาธรรม พุทธศักราช 2565 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา
ขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 เป็นหลักสูตรที่สถานศึกษาได้พัฒนาข้ึน เพ่ือพัฒนาผู้เรียนในระดับประถมศึกษา โดย
ยดึ องค์ประกอบหลักสำคัญ 2 ส่วนคือ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 และสาระสำคัญ
ท่ีสถานศึกษาพัฒนาเพ่ิมเติม เป็นกรอบในการจัดทำรายละเอียดเพื่อให้เป็นไปตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานท่ี
กำหนด เหมาะสมกบั จดุ เน้นของสถานศกึ ษา โดยหลักสูตรสถานศึกษา โรงเรยี นวดั ศรัทธาธรรม พทุ ธศักราช 2565
ทีพ่ ฒั นาขน้ึ มลี ักษณะของหลกั สตู ร ดังน้ี
1. เป็นหลักสูตรเฉพาะของสถานศึกษาโรงเรียนวัดศรัทธาธรรมสำหรับจัดการศึกษาในหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน จดั ระดับการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน (ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1–ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 3 )
2. มีความเป็นเอกภาพ หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดศรัทธาธรรม พุทธศักราช 2565 ตาม หลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 เป็นหลักสูตร ของสถานศึกษาสำหรับให้ครูผู้สอนนำไปจัดการ
เรยี นรู้ไดอ้ ยา่ งหลากหลาย โดยกำหนดให้
2.1 มีสาระการเรียนรู้ที่สถานศึกษาใช้เป็นหลักเพ่ือสร้างพ้ืนฐานการคิด การเรียนรู้และการแก้ปัญหา
ประกอบด้วย ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม
2.2 มีสาระการเรียนรู้ที่เสริมสร้างความเป็นมนุษย์ ศักยภาพการคิดและการทำงาน ประกอบด้วย สุข
ศึกษาและพลศกึ ษา ศิลปะ การงานอาชีพ และภาษาองั กฤษ
2.3 มีสาระการเรียนรู้เพิ่มเติม โดยจัดทำเป็นรายวิชาเพิ่มเติมตามความเหมาะสมและสอดคล้องกับ
โครงสร้างเวลาเรยี น สาระการเรียนร้ทู อ้ งถ่นิ ความตอ้ งการของผู้เรียน และบริบทของสถานศึกษา
2.4 มีกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน เพื่อพัฒนาผู้เรียนทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สติปัญญา อารมณ์ และ สังคม
เสรมิ สรา้ งการเรียนรนู้ อกจากสาระการเรยี นรู้ 8 กลุม่ และการพฒั นาตนตามศกั ยภาพ
2.5 มีการกำหนดมาตรฐานของสถานศึกษาที่สอดคล้องกับมาตรฐานระดับต่าง ๆ เพื่อเป็นเป้าหมาย
ของการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา จัดทำรายละเอียดสาระการเรียนรู้ และจัดกระบวนการเรียนรู้ให้
สอดคล้องกับสภาพในชุมชน สังคม และภมู ิปญั ญาท้องถนิ่
2.6 สำหรับการเรียนรใู้ นศตวรรษที่ 21 เป็นสำคัญเพือ่ เตรยี มผเู้ รยี นให้มคี วามพรอ้ มท่จี ะเรยี นรู้ส่ิงตา่ ง ๆ
จะประกอบอาชพี เม่ือจบการศึกษา หรอื สามารถศกึ ษาตอ่ ในระดับที่สูงขน้ึ สามารถแข่งขนั และอยู่ในประชาคมโลกได้
3. มีมาตรฐานการเรยี นรู้เป็นเปา้ หมายสำคญั ของการพัฒนาคุณภาพผ้เู รียน หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรยี นวัด
ศรัทธาธรรมพุทธศักราช 2565 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 เป็นหลักสูตรที่มี
มาตรฐานเป็นตัวกำหนดเกี่ยวกับคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน เพ่ือเป็นแนวทางในการประกันคุณภาพ
การศกึ ษา โดยมกี ารกำหนดมาตรฐานไวด้ ังน้ี
หนา้ 12
หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรยี นวัดศรทั ธาธรรม
3.1 ในระดับช้ันประถมศึกษาปีท่ี1ถึงมัธยมศึกษาปีท่ี3 กำหนดมาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัดสำหรับ
ผ้เู รยี นทุกคนท่เี ป็นพน้ื ฐานท่ีเก่ียวขอ้ งกับชวี ิตประจำวนั และเป็นพ้ืนฐานสำคัญในการศึกษาต่อระดับที่สงู ขึน้
3.2 มาตรฐานหลักสูตร เป็นมาตรฐานดา้ นผู้เรียนหรอื ผลผลิตของหลักสูตรสถานศึกษา อันเกิดจากการ
ได้รับการอบรมส่ังสอนตามโครงสร้างของหลักสูตรท้ังหมดใช้เป็นแนวทางในการตรวจสอบคุณภาพโดยรวมของการ
จัดการศึกษาตามหลักสูตรในทุกระดับและสถานศึกษาต้องใช้สำหรับการประเมินต นเองเพื่อจัดทำรายงานประจำปี
ตามบทบัญญัติในพระราชบัญญัติการศึกษา นอกจากน้ียังเป็นแนวทางในการกำหนดแนวปฏิบัติในการส่งเสริม
กำกบั ติดตาม ดูแล และปรบั ปรุงคุณภาพ เพอ่ื ให้ได้ตามมาตรฐานทก่ี ำหนด
3.3 มีตัวช้ีวดั ชน้ั ปีเปน็ เป้าหมายระบสุ ิ่งที่นกั เรยี นพึงรู้และปฏิบัตไิ ด้ รวมท้ังคุณลกั ษณะของผเู้ รยี นในแต่ละ
ระดบั ชั้นซ่ึงสะท้อนถึงมาตรฐานการเรียนรู้ มีความเฉพาะเจาะจง และมีความเป็นรูปธรรม นำไปใช้ในการกำหนดเนอ้ื หา
จัดทำหน่วยการเรียนรู้ จัดการเรียนการสอน และเป็นเกณฑ์สำคัญสำหรับการวัดประเมินผลเพ่ือตรวจสอบคุณภาพ
ผู้เรียน ตรวจสอบพัฒนาการผู้เรียน ความรู้ ทักษะ กระบวนการ คุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมอันพึงประสงค์
และเป็นหลักในการเทยี บโอนความรูแ้ ละประสบการณ์จากการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอธั ยาศยั
3.4 มีความเป็นสากล ความเป็นสากลของหลักสูตรสถานศึกษา คือมุ่งให้ผเู้ รียน มคี วามรู้ ความสามารถ
ในเร่ืองเทคโนโลยีสารสนเทศ ภาษาอังกฤษ การจัดการส่ิงแวดล้อม ภูมิปัญญาท้องถิ่น มีคุณลักษณะที่จำเป็นในการ
อยู่ในสังคมได้แก่ ความซื่อสัตย์ ความรับผิดชอบ การตรงต่อเวลา การเสียสละ การเอ้ือเฟ้ือ โดยอยู่บนพื้นฐานของ
ความพอดีระหว่างการเป็นผู้นำ และผู้ตาม การทำงานเป็นทีม และการทำงานตามลำพังการแข่งขัน การรู้จักพอ
และการร่วมมือกันเพื่อสังคม วิทยาการสมัยใหม่ และภูมิปัญญาท้องถิ่น การรับวัฒนธรรมต่างประเทศ และการ
อนรุ ักษว์ ัฒนธรรมไทยการฝกึ ฝนทกั ษะเฉพาะทาง และการบรู ณาการในลกั ษณะทเ่ี ปน็ องค์รวม
4. มีความยืดหยุ่น หลากหลาย หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดศรัทธาธรรม เป็นหลักสูตรท่ีสถานศึกษา
จัดทำรายละเอียดต่าง ๆ ข้ึนเอง โดยยึดโครงสร้างหลักที่กำหนดไว้ในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน
พุทธศักราช 2551 เป็นขอบข่ายในการจัดทำ จึงทำให้หลักสูตรของสถานศึกษามีความยืดหยุ่น หลากห ลาย
สอดคล้องกบั สภาพปัญหา และความต้องการของท้องถน่ิ โดยเฉพาะอย่างยิง่ มคี วามเหมาะสมกบั ตวั ผู้เรียน
5. การวัดและประเมินผลเน้นหลักการพื้นฐานสองประการคือการประเมินเพ่ือพัฒนาผู้เรียนและเพื่อตัดสิน
ผลการเรียน โดยผู้เรียนต้องได้รับการพัฒนาและประเมินตามตัวชี้วัดเพ่ือให้บรรลุตามมาตรฐานการเรียนรู้ สะท้อน
สมรรถนะสำคัญ และคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนเป็นเป้าหมายหลักในการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ใน
ทุกระดับไม่ว่าจะเป็นระดับช้ันเรียน ระดับสถานศึกษา ระดับเขตพ้ืนท่ีการศึกษา และระดับชาติ การวัดและ
ประเมินผลการเรียนรู้ เป็นกระบวนการพัฒนาคณุ ภาพผู้เรียนและใช้ผลการประเมนิ เป็นข้อมลู และสารสนเทศที่แสดง
พัฒนาการ ความก้าวหน้า และความสำเร็จทางการเรียนของผู้เรียน ตลอดจนข้อมูลท่ีเป็นประโยชน์ต่อการส่งเสริม
ให้ผูเ้ รยี นเกิดการพัฒนาและเรียนรู้อย่างเตม็ ตามศกั ยภาพ
หน้า 13
หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นวัดศรัทธาธรรม
1. วิสัยทศั น์ (Vision)
โรงเรียนวัดศรัทธาธรรมมุ่งพัฒนาทักษะสร้างงานสร้างอาชีพ พัฒนาผู้เรียนให้เก่ง ดี มีสุข บนพื้นฐาน
ความพอดี พออยู่ พอประมาณ ตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
2. คา่ นยิ ม (Value)
สร้างคณุ ภาพการศกึ ษา
3. ปณิธานของโรงเรยี น
ใฝร่ ู้ สูง้ าน ยึดมน่ั คณุ ธรรม นำสุขภาวะ
4. อัตลักษณ์
ไหว้สวย ยิม้ สดใส วาจาไพเราะ
5. เอกลกั ษณ์
นอ้ มนำศาสตร์พระราชาตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
6. พันธกิจ (Mission)
พัฒนารูปแบบการบริหารด้วยปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เสริมสร้างความรู้ความสามารถ ด้านทักษะการ
สร้างงานสร้างอาชีพ ใฝ่เรียนรู้ เชิดชูคุณธรรม เน้นย้ำระเบียบวินัย มีความเป็นจิตอาสา ใช้เทคโนโลยีอย่างมี
จิตสำนึก พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มีมาตรฐานคุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพ ส่งเสริมการจัด
การศกึ ษาเพอื่ พัฒนาคุณภาพชีวิตท่เี ปน็ มิตรกับสง่ิ แวดลอ้ ม สร้างสงั คมแห่งการเรียนรู้ในรปู แบบเก่ง ดี มีสขุ
7. เปา้ ประสงค์ (Objectives)
นักเรียนทุกคนได้รับการพัฒนาการเรียนรู้ในทุกด้านแบบการมีส่วนร่วมของทุกฝ่าย อย่างเต็มศักยภาพ
รวมทั้งด้านคุณธรรม จริยธรรม มีจติ สำนึกสาธารณะ รักส่ิงแวดล้อม สามารถมีความสุขในชีวิตประจำวัน โดยใช้
ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งเป็นทกั ษะในการใช้ชวี ติ
8. จุดเนน้ ในการพัฒนาผู้เรียน
8.1 เด็กปฐมวัยมีพัฒนาการทางด้านร่างกาย อารมณ์และจิตใจ สังคมและด้านสติปัญญาสมวัย พร้อมท่ีจะ
ศกึ ษาต่อในชั้นต่อไป
8.2 นักเรียนชั้นปะถมศึกษาปีที่ 1 – 3 อ่านออก เขียนได้ คิดเลขเป็น มีทักษะการคิดพื้นฐาน ทักษะชีวิต
ทักษะการสื่อสารอยา่ งสรา้ งสรรค์ตามช่วงวัย
8.3 นักเรียนชั้นปะถมศึกษาปีท่ี 4 – 6 อ่านคล่อง เขียนคล่อง คิดเลขคล่อง มีทักษะการคิดพ้ืนฐาน ทักษะ
ชวี ติ ทกั ษะการส่อื สารอย่างสรา้ งสรรคต์ ามช่วงวัย
8.4 นักเรียนช้ันมธั ยมศึกษาปที ่ี 1 -3 แสวงหาความรูด้ ้วยตนเอง ใช้เทคโนโลยีเพอ่ื การเรยี นรู้ มีทกั ษะการคิด
ขนั้ สงู ทักษะชวี ติ ทักษะการสอื่ สารอยา่ งสร้างสรรคต์ ามชว่ งวัย
9. จดุ เนน้ ในการพัฒนาสถานศกึ ษา
9.1 การประกันคณุ ภาพการศกึ ษา
9.2 ปรบั ปรุงสภาพแวดลอ้ มเอื้อต่อการเรยี นรู้และส่งเสริมการเรยี นรูอ้ าชพี
หนา้ 14
หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นวัดศรทั ธาธรรม
10. ยุทธศาสตร์เพื่อการพฒั นา (Strategic Planning) โรงเรยี นวัดศรทั ธาธรรม
ยุทธศาสตรท์ ี่ 1 พัฒนาคณุ ภาพผเู้ รียน
ยุทธศาสตร์ท่ี 2 พัฒนาครู
ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 3 พฒั นาคุณภาพการบริหาร
ยุทธศาสตรท์ ี่ 4 พฒั นาคณุ ภาพสถานศึกษา
11. มาตรฐานการประกนั คณุ ภาพภายในของสถานศกึ ษา โรงเรียนวดั ศรทั ธาธรรม
มาตรฐานการศกึ ษาระดับปฐมวยั
มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของเดก็
1.1 มีพัฒนาการด้านรา่ งกายแขง็ แรง มีสขุ นสิ ัยท่ีดี และดูแลความปลอดภยั ตนเองได้
1.2 มีพฒั นาการดา้ นอารมณ์ จติ ใจ ควบคมุ และแสดงออกทางอารมณ์ได้
1.3 มีพัฒนาการด้านสงั คม ชว่ ยเหลือตนเอง และเปน็ สมาชกิ ทดี่ ขี องสังคม
1.4 มีพฒั นาการดา้ นสตปิ ญั ญา สอื่ สารได้ มที กั ษะการคิดพื้นฐาน และแสวงหาความรู้ได้
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ
2.1 มีหลกั สูตรครอบคลมุ พฒั นาการทัง้ 4 ด้าน สอดคลอ้ งกับบรบิ ทของท้องถน่ิ
2.2 จดั ครใู ห้เพียงพอกบั ช้นั เรยี น
2.3 ส่งเสรมิ ใหค้ รมู คี วามเชี่ยวชาญด้านการจดั กระสบการณ์
2.4 จัดสภาพแวดล้อมและสอื่ การเรียนรู้ อยา่ งปลอดภยั และเพยี งพอ
2.5 ให้บริการสอ่ื เทคโนโลยสี ารสนเทศ และสอ่ื การเรียนร้เู พ่อื สนบั สนุนการจัดประสบการณ์
2.6 มรี ะบบบรหิ ารคุณภาพทเี่ ปิดโอกาสให้ผเู้ กยี่ วขอ้ งทกุ ฝา่ ยมสี ่วนร่วม
มาตรฐานที่ 3 การจัดประสบการณ์ท่ีเน้นเด็กเปน็ สำคัญ
3.1 จดั ประสบการณท์ ีส่ ่งเสรมิ ใหเ้ ดก็ มพี ฒั นาการทกุ ดา้ นอยา่ งสมดลุ เต็มศักยภาพ
3.2 สร้างโอกาสใหเ้ ดก็ ได้รับประสบการณ์ตรง เลน่ และปฏิบัติอยา่ งมีความสุข
3.3 จัดบรรยากาศท่ีเอ้ือต่อการเรียนรู้ ใช้สื่อและเทคโนโลยที ี่เหมาะสมกบั วยั
3.4 การประเมนิ พัฒนาการเด็กตามสภาพจริง และนำผลการประเมินพฒั นาการเด็กไปปรบั ปรุงการ
จัดประสบการณแ์ ละพฒั นาเดก็
มาตรฐานการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน
มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผูเ้ รียน
1.1 ผลสมั ฤทธทิ์ างวิชาการของผู้เรียน
1.1.1 มคี วามสามารถในการอ่าน การเขยี น การส่ือสาร และการคดิ คำนวณ
1.1.2 มีความสามารถในการคดิ วเิ คราะห์ คดิ อย่างมวี ิจารณญาณ อภิปรายแลกเปล่ียนความคิดเห็น
และแกป้ ญั หา
1.1.3 มคี วามสามารถในการสรา้ งนวัตกรรม
หนา้ 15
หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นวัดศรัทธาธรรม
1.1.4 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีและการส่ือสาร
1.1.5 มผี ลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นตามหลกั สูตรสถานศกึ ษา
1.1.6 มคี วามรู้ ทักษะพื้นฐาน และเจตคตทิ ่ีดตี อ่ งานอาชพี
1.2 คุณลกั ษณะท่ีพงึ ประสงค์ของผู้เรียน
1.2.1 การมคี ณุ ลักษณะและค่านยิ มทด่ี ตี ามท่สี ถานศึกษากำหนด
1.2.2 ความภมู ใิ จในทอ้ งถ่นิ และความเปน็ ไทย
1.2.3 การยอมรับท่ีจะอยรู่ ว่ มกนั บนความแตกตา่ งและหลากหลาย
1.2.4 สขุ ภาวะทางรา่ งกายและจิตสงั คม
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ
2.1 มเี ปา้ หมาย วิสยั ทัศน์ และพนั ธกจิ ท่ีสถานศึกษากำหนดชดั เจน
2.2 มีระบบบริหารจัดการคณุ ภาพของสถานศึกษา
2.3 ดำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษาและ ทุก
กลุม่ เปา้ หมาย
2.4 พฒั นาครูและบคุ ลากรใหม้ คี วามเชยี่ วชาญทางวิชาชพี
2.5 จัดสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสงั คมทเี่ อื้อต่อการจดั การเรยี นรูอ้ ยา่ งมีคุณภาพ
2.6 จัดระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพอ่ื สนับสนนุ การบริหารจัดการ และการจัดการเรียนรู้
มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรยี นการสอนท่เี นน้ ผูเ้ รียนเป็นสำคญั
3.1 จดั การเรยี นรู้ผ่านกระบวนการคดิ และปฏิบตั ิจรงิ และสามารถนำไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวิตได้
3.2 ใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหลง่ เรยี นรู้ทีเ่ อือ้ ตอ่ การเรียนรู้
3.3 มีการบริหารจัดการช้นั เรียนเชิงบวก
3.4 ตรวจสอบและประเมนิ ผู้เรยี นอย่างเป็นระบบ และนำผลมาพัฒนาผู้เรียน
3.5 มีการแลกเปล่ียนเรยี นรแู้ ละให้ขอ้ มลู สะท้อนกลับเพ่ือพัฒนาและปรับปรงุ การจดั การเรยี นรู้
สมรรถนะสำคัญของผ้เู รยี น และคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์
ในการพัฒนาผู้เรียนตามหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดศรัทธาธรรม พุทธศักราช 2565 ตามหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขัน้ พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 ม่งุ เนน้ พัฒนาผเู้ รียน ใหม้ ีคุณภาพตามมาตรฐานทกี่ ำหนด ซึง่ จะ
ช่วยใหผ้ ้เู รยี นเกดิ สมรรถนะสำคัญและคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ ดงั นี้
สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี น
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดศรัทธาธรรม พุทธศักราช 2565 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา
ขัน้ พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 มงุ่ ให้ผเู้ รยี นเกดิ สมรรถนะสำคญั 5 ประการ ดังน้ี
1. ความสามารถในการสื่อสาร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร มีวัฒนธรรมในการใช้ภาษา
ถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเองเพ่ือแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและ
หนา้ 16
หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นวดั ศรัทธาธรรม
ประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมท้ังการเจรจาต่อรองเพื่อขจัดและลดปัญหา
ความขัดแย้งต่าง ๆ การเลือกรับหรือไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและความถูกต้อง ตลอดจนการเลือกใช้
วธิ กี ารสื่อสาร ท่ีมปี ระสทิ ธภิ าพโดยคำนึงถงึ ผลกระทบทม่ี ตี อ่ ตนเองและสังคม
2. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิด อย่าง
สร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิดเป็นระบบ เพ่ือนำไปสู่การสร้างองค์ความรู้หรือสารสนเทศเพ่ือ
การตดั สินใจเก่ียวกบั ตนเองและสงั คมไดอ้ ยา่ งเหมาะสม
3. ความสามารถในการแก้ปญั หา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคตา่ ง ๆ ท่ีเผชญิ ได้อยา่ ง
ถูกตอ้ งเหมาะสมบนพ้ืนฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจความสัมพนั ธ์และการเปลย่ี นแปลง
ของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้ มาใช้ในการป้องกันและแก้ไขปัญหา และมีการ
ตดั สินใจทีม่ ีประสทิ ธภิ าพโดยคำนงึ ถึงผลกระทบทกี่ ดิ ข้นึ ต่อตนเอง สงั คมและสิง่ แวดล้อม
4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนำกระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ในการดำเนิน
ชีวิตประจำวัน การเรยี นรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเน่ือง การทำงาน และการอยู่รว่ มกันในสังคมด้วยการสร้าง
เสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล การจัดการปัญหาและความขัดแย้งต่าง ๆ อย่างเหมาะสม การปรับตัวให้ทันกับ
การเปล่ยี นแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และการรู้จักหลีกเลี่ยงพฤตกิ รรมไม่พงึ ประสงค์ท่สี ่งผลกระทบต่อตนเอง
และผอู้ ่ืน
5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือก และใช้ เทคโนโลยี ด้านต่าง ๆ และมี
ทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการเรียนรู้ การส่ือสาร การทำงาน การ
แก้ปัญหาอยา่ งสรา้ งสรรค์ ถูกต้อง เหมาะสม และมคี ุณธรรม
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดศรัทธาธรรม พุทธศักราช 2565 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น
พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 มงุ่ พัฒนาผู้เรียนให้มีคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ เพ่ือให้สามารถอยู่ร่วมกับผอู้ ่ืนในสังคมได้
อย่างมีความสขุ ในฐานะเปน็ พลเมืองไทยและพลโลก ดงั น้ี
1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
2. ซื่อสตั ยส์ จุ ริต
3. มวี ินยั
4. ใฝเ่ รียนรู้
5. อยอู่ ยา่ งพอเพยี ง
6. มุ่งม่ันในการทำงาน
7. รกั ความเป็นไทย
8. มจี ิตสาธารณะ
หน้า 17
หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นวดั ศรทั ธาธรรม
หลกั สูตรตา้ นทจุ ริตศกึ ษา
สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.) ร่วมกับสำนักงาน
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ได้จัดทำหลักสูตรต้านทุจริตศึกษาสำหรับใช้ในทุกระดับการศึกษาใน
ส่วนของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานได้จัดทำหลักสูตรต้านทุจริตศึกษารายวิชาเพิ่มเติม “การ
ป้องกันการทุจริต”ขึ้นและคณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบหลักสูตรต้านทุจริตศึกษาเมื่อวันท่ี 22 พฤษภาคม 2561 และให้
หน่วยงานท่ีเก่ียวข้องนำหลักสูตรต้านทุจริตศึกษาไปปรับใช้ในการจัดการเ รียนการสอนในสถานศึกษาโดยมุ่งเน้น
การสร้างความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับความหมายและขอบเขตของการกระทำทุจริตในลักษณะต่างๆท้ัง
ทางตรงและทางอ้อมความเสียหายท่ีเกิดจากการทุจริตความสำคัญของการต่อต้านการทุจริตรวมท้ังจัดให้มีการ
ประเมนิ ผลสมั ฤทธิข์ องการจัดหลกั สูตรในแต่ละช่วงวัยของผู้เรยี นด้วย
หลักสูตรต้านทุจริตศึกษา (Anti – CorruptionEducation) รายวิชาเพิ่มเติม “การป้องกันการทุจริต”
ประกอบดว้ ย 4 หน่วยการเรยี นรไู้ ด้แก่
1) การคดิ แยกแยะระหวา่ งผลประโยชนส์ ่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวม
2) ความละอายและความไม่ทนต่อการทุจรติ
3) STRONG : จติ พอเพียงต้านทุจรติ
4) พลเมืองกบั ความรับผดิ ชอบต่อสังคมทสี่ ถานศึกษาจดั ให้กับผู้เรยี นเพอ่ื ปลูกฝังและป้องกันการทุจริตไม่ให้
เกิดขึน้ โดยเริ่มปลกู ฝังผู้เรียนตั้งแต่ช้ันปฐมวัยจนถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่6ให้มีความรคู้ วามเข้าใจมีทักษะกระบวนการมี
สมรรถนะทสี่ ำคญั และมีคณุ ลักษณะทีพ่ ึงประสงค์
หน้า 18
หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นวดั ศรทั ธาธรรม
สว่ นที2่
โครงสรา้ งหลักสตู รสถานศกึ ษา
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดศรัทธาธรรม พุทธศักราช 2565 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น
พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ได้กำหนดโครงสร้างของหลักสูตรสถานศึกษา เพ่ือให้ผู้สอน และผู้ท่ีเกี่ยวข้องในการ
จดั การเรยี นรตู้ ามหลกั สูตรของสถานศกึ ษามีแนวปฏิบัติ ดงั น้ี
1. ระดับการศึกษา กำหนดหลักสูตร ตามโครงสร้างของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551 และตามภารกิจหลกั ของการจัดการเรยี นการสอน ระดับประถมศึกษาของสถานศึกษา ดังน้ี
ระดับประถมศึกษา (ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1 – 6) การศึกษาระดับนี้เป็นช่วงแรกของการศึกษาภาคบังคับ
มุ่งเน้นทักษะพ้ืนฐานด้านการอ่าน การเขียน การคิดคำนวณ ทักษะการคิดพ้ืนฐาน การติดต่อส่ือสาร กระบว นการ
เรียนรู้ทางสังคม และพื้นฐานความเป็นมนุษย์ การพัฒนาคุณภาพชีวิตอย่างสมบูรณ์และสมดุลท้ังในด้านร่างกาย
สตปิ ัญญา อารมณ์ สงั คม และวฒั นธรรม โดยเน้นจัดการเรยี นรแู้ บบบูรณาการ
ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 1 – 3) เป็นช่วงสุดท้ายของการศึกษาภาคบังคับ มุ่งเน้นให้
ผู้เรียนได้สำรวจความถนัดและความสนใจของตนเอง ส่งเสริมการพัฒนาบุคลิกภาพส่วนตน มีทักษะในการคิด
วิจารณญาณ คิดสร้างสรรค์ และคิดแก้ปัญหา มีทกั ษะในการดำเนินชีวิต มีทกั ษะการใช้เทคโนโลยีเพ่ือเป็นเคร่ืองมือใน
การเรียนรู้ มีความรับผิดชอบต่อสังคม มีความสมดุลท้ังด้านความรู้ ความคิด ความดีงาม และมีความภูมิใจในความ
เปน็ ไทย ตลอดจนใชเ้ ป็นพนื้ ฐานในการประกอบอาชพี หรอื การศกึ ษาต่อ
2. สาระการเรียนรู้ในหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดศรัทธาธรรม พุทธศักราช 2565 ตามหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ได้กำหนดไว้ในหลักสูตรประกอบด้วยองค์ความรู้ ทักษะหรือ
กระบวนการเรยี นรู้ และคณุ ลักษณะหรือค่านิยม คุณธรรม จรยิ ธรรมของผ้เู รียน 8 กลมุ่ คือ
2.1 ภาษาไทย
2.2 คณิตศาสตร์
2.3 วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
2.4 สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
2.5 สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา
2.6 ศลิ ปะ
2.7 การงานอาชีพ
2.8 ภาษาต่างประเทศ
3. กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน มุ่งให้ผู้เรียนได้พัฒนาตนเองตามศักยภาพ พัฒนาอย่าง
รอบด้านเพื่อความเป็นมนุษย์ท่ีสมบูรณ์ ท้ังร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ และสังคม เสริมสร้างให้เป็นผู้มีศีลธรรม
หนา้ 19
หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรยี นวัดศรัทธาธรรม
จริยธรรม มรี ะเบยี บวินยั ปลูกฝังและสร้างจติ สำนกึ ของการทำประโยชนเ์ พ่อื สังคม สามารถจัดการตนเองได้ และอยู่
รว่ มกับผอู้ ่ืนอย่างมคี วามสุข แบ่งเปน็ 3 ลักษณะ ดังน้ี
3.1 กิจกรรมแนะแนว เป็นกิจกรรมท่ีส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนให้รู้จักตนเอง รู้รักษ์สิ่งแวดล้อม
สามารถคิดตัดสินใจ คิดแก้ปัญหา กำหนดเป้าหมาย วางแผนชีวิตท้ังด้านการเรียน และอาชีพ สามารถปรับตนได้
อย่างเหมาะสม นอกจากนี้ยังช่วยให้ครูรู้จักและเข้าใจผู้เรียน ท้ังยังเป็นกิจกรรมท่ีช่วยเหลือและให้คำปรึกษาแก่
ผปู้ กครองในการมีส่วนร่วมพฒั นาผ้เู รยี น
3.2 กิจกรรมนักเรียน เป็นกิจกรรมท่มี ุ่งพัฒนาความมรี ะเบยี บวินัย ความเป็นผู้นำ ผู้ตามท่ีดี ความ
รับผิดชอบ การทำงานร่วมกัน การรู้จักแก้ปัญหา การตัดสินใจที่เหมาะสม ความมเี หตุผล การชว่ ยเหลอื แบ่งปนั กนั เอื้อ
อาทร และสมานฉันท์ โดยจัดให้สอดคล้องกับความสามารถ ความถนัด และความสนใจของผู้เรียน ให้ได้ปฏิบัติด้วย
ตนเองในทุกขั้นตอน ได้แก่ การศึกษาวิเคราะห์วางแผน ปฏิบัติตามแผน ประเมินและปรับปรุงการทำงาน เน้นการ
ทำงานรว่ มกนั เป็นกลุ่ม ตามความเหมาะสมและสอดคล้องกับวุฒภิ าวะของผู้เรียน บรบิ ทของสถานศึกษาและท้องถ่ิน
กิจกรรมนักเรียนในหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดศรัทธาธรรม พุทธศักราช 2565 ตามหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 ประกอบด้วย
3.2.1 กิจกรรมลกู เสอื - เนตรนารี
3.2.2 กจิ กรรมชุมนมุ
3.3 กิจกรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน์ เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนบำเพ็ญตนให้เป็น
ประโยชน์ต่อสังคม ชุมชน และท้องถิ่นตามความสนใจในลักษณะอาสาสมัคร เพ่ือแสดงถึงความรับผิดชอบ ความดี
งาม ความเสียสละตอ่ สังคม มจี ติ สาธารณะ
4. เวลาเรียน หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดศรัทธาธรรม พุทธศักราช 2565 ตามหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาข้นั พื้นฐานพุทธศักราช 2551 ได้กำหนดกรอบโครงสร้างเวลาเรียนข้ันต่ำสำหรับกลุ่มสาระการเรยี นรู้ 8 กลุ่ม
และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ซงึ่ ผูส้ อนสามารถเพ่ิมเติมไดต้ ามความพร้อมและจุดเน้นของสถานศึกษา โดยสามารถปรับให้
เหมาะสมตามบริบทของ สถานศกึ ษาและสภาพของผเู้ รียน ดงั น้ี
4.1. ระดับช้ันประถมศึกษา (ช้ันประถมศึกษาปีที่ 1 – 6) ให้จดั เวลาเรยี นเป็นรายปี โดยมีเวลาเรียนวันละ
ไมเ่ กนิ 5 ชัว่ โมง
4.2. ระดับช้ันมัธยมศึกษาตอนต้น (ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1–3) ให้จัดเวลาเรียนเป็นรายภาค มีเวลาเรียนวันละไม่
น้อยกว่า 6 ชั่วโมง คิดน้ำหนักของรายวิชาท่ีเรียนเป็นหน่วยกิต ใช้เกณฑ์ 40 ช่ัวโมง ต่อภาคเรียน มีค่าน้ำหนักวิชา เท่ากับ
1 หนว่ ยกติ (นก.)
หนา้ 20
หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นวัดศรัทธาธรรม
โครงสรา้ งเวลาเรียนระดบั ชั้นประถมศกึ ษา หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนวัดศรัทธาธรรม พุทธศักราช 2565
กลมุ่ สาระการเรียนรู้/รายวิชา/กิจกรรม เวลาเรียน : ช่ัวโมง/ปี
ระดบั ประถมศึกษา
กล่มุ สาระการเรียนร้/ู วชิ าพ้นื ฐาน ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6
ภาษาไทย
คณิตศาสตร์ 200 200 200 160 160 160
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 200 200 200 160 160 160
สังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม 80 80 80 120 120 120
ประวตั ศิ าสตร์ 40 40 40 80 80 80
สุขศึกษาและพลศึกษา 40 40 40 40 40 40
ศิลปะ 40 40 40 80 80 80
การงานอาชพี 40 40 40 80 80 80
ภาษาต่างประเทศ 40 40 40 40 40 40
160 160 160 80 80 80
รวมเวลาเรียน(รายวชิ าพ้นื ฐาน) 840 840 840 840 840 840
รายวชิ าเพมิ่ เติม
ภาษาองั กฤษเพ่ือการส่ือสาร 40 40 40 40 40 40
คอมพวิ เตอร์ 40 40 40 40 40 40
งานบา้ น-งานประดิษฐ์ 40 40 40 40 40 40
งานเกษตร 40 40 40 40 40 40
ลดเวลาเรยี นเพิ่มเวลารู้ 40 40 40 40 40 40
200 200 200 200 200 200
รวมเวลาเรยี น (รายวิชาเพ่ิมเติม)
กจิ กรรมพัฒนาผู้เรียน 40 40 40 40 40 40
กิจกรรมแนะแนว
กิจกรรมนกั เรยี น 30 30 30 30 30 30
ลกู เสือ/เนตรนารี 40 40 40 40 40 40
ชมุ นุม* (10) (10) (10) (10) (10) (10)
กิจกรรมเพื่อสงั คมและสาธารณประโยชน์** 120 120 120 120 120 120
รวมเวลา (กจิ กรรมพัฒนาผ้เู รียน) 1160 ช่วั โมง 1160 ชั่วโมง
รวมเวลาทั้งหมด
หนา้ 21
หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นวดั ศรทั ธาธรรม
*กจิ กรรมชุมนมุ นักเรียนเลือกเรยี นตามความสนใจ ได้แก่
1. ชมุ นุมศิลปะ
2. ชุมนุมกีฬา
3. ชมุ นมุ ทกั ษะอาชพี
**ผู้เรยี นปฏิบัติกจิ กรรมเพ่อื สังคมและสาธารณประโยชน์ผนวกในกจิ กรรมลูกเสอื /เนตรนารี
หน้า 22
หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นวดั ศรทั ธาธรรม
โครงสร้างหลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นวดั ศรทั ธาธรรม
ระดับประถมศึกษา ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 1
รายวิชา/กิจกรรม เวลาเรียน
(ชั่วโมง/ปี) (ช่วั โมง/สัปดาห)์
รหสั วชิ า รายวิชาพน้ื ฐาน
ท11101 ภาษาไทย 840 21
ค11101 คณติ ศาสตร์ 200 5
ว11101 วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 200 5
ส11101 สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 80 2
ส11102 ประวัติศาสตร์ 40 1
พ11101 สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา 40 1
ศ11101 ศลิ ปะ 40 1
ง11101 การงานอาชพี 40 1
อ11101 ภาษาอังกฤษ 40 1
รหัสวิชา 160 4
ว11201 รายวชิ าเพ่มิ เติม 200 5
อ11201 คอมพวิ เตอร์ 1 40 1
ง11201 ภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสาร 1 40 1
ง11202 งานบา้ น-งานประดิษฐ์ 40 1
งานเกษตร 40 1
รหัสกจิ กรรม ลดเวลาเรียนเพิม่ เวลารู้ 40 1
ก11901 120 3
กจิ กรรมพฒั นาผู้เรียน 40 1
ก11902 กิจกรรมแนะแนว
ก11903 กจิ กรรมนักเรียน 40 1
ก11904 40 1
ลกู เสอื /เนตรนารี (10) ผนวกในกิจกรรม
ชมุ นุม*
กิจกรรมเพื่อสงั คมและสาธารณประโยชน์ ลกู เสือ/เนตรนารี
1,160 29
รวมเวลาเรยี นทั้งหมดตามโครงสรา้ งหลกั สตู ร
*กจิ กรรมชมุ นมุ นักเรยี นเลอื กเรยี นตามความสนใจ ได้แก่
1. ชมุ นุมศลิ ปะ 2. ชมุ นุมกีฬา 3. ชุมนุมทักษะอาชีพ
หนา้ 23
หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นวดั ศรทั ธาธรรม
โครงสร้างหลักสตู รสถานศึกษาโรงเรยี นวดั ศรัทธาธรรม
ระดับประถมศึกษา ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 2
รายวชิ า/กิจกรรม เวลาเรียน
(ชัว่ โมง/ปี) (ชว่ั โมง/สัปดาห)์
รหัสวชิ า รายวชิ าพน้ื ฐาน
ท12101 ภาษาไทย 840 21
ค12101 คณติ ศาสตร์ 200 5
ว12101 วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 200 5
ส12101 สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 80 2
ส12102 ประวัติศาสตร์ 40 1
พ12101 สุขศกึ ษาและพลศึกษา 40 1
ศ12101 ศิลปะ 40 1
ง12101 การงานอาชพี 40 1
อ12101 ภาษาอังกฤษ 40 1
รหัสวิชา 160 4
ว12201 รายวิชาเพ่มิ เติม 200 5
อ12201 คอมพวิ เตอร์ 2 40 1
ง12201 ภาษาองั กฤษเพ่ือการสื่อสาร 2 40 1
ง12202 งานบา้ น-งานประดิษฐ์ 40 1
งานเกษตร 40 1
รหสั กจิ กรรม ลดเวลาเรยี นเพิ่มเวลารู้ 40 1
ก12901 120 3
กิจกรรมพัฒนาผู้เรยี น 40 1
ก12902 กิจกรรมแนะแนว
ก12903 กิจกรรมนักเรียน 40 1
ก12904 40 1
ลกู เสอื /เนตรนารี (10) ผนวกในกิจกรรม
ชุมนมุ *
กิจกรรมเพื่อสงั คมแลสาธารณประโยชน์ ลูกเสอื /เนตรนารี
1,160 29
รวมเวลาเรยี นท้งั หมดตามโครงสร้างหลกั สตู ร
*กจิ กรรมชุมนมุ นักเรียนเลือกเรยี นตามความสนใจ ไดแ้ ก่
1. ชุมนุมศลิ ปะ 2. ชุมนุมกฬี า 3. ชุมนุมทักษะอาชพี
หนา้ 24
หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรยี นวัดศรัทธาธรรม
โครงสรา้ งหลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนวดั ศรทั ธาธรรม
ระดบั ประถมศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 3
รายวิชา/กจิ กรรม เวลาเรียน
(ชัว่ โมง/ปี) (ชง่ั โมง/สัปดาห์)
รหสั วชิ า รายวชิ าพน้ื ฐาน
ท13101 ภาษาไทย 840 21
ค13101 คณติ ศาสตร์ 200 5
ว13101 วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 200 5
ส13101 สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม 80 2
ส13102 ประวตั ิศาสตร์ 40 1
พ13101 สขุ ศึกษาและพลศึกษา 40 1
ศ13101 ศิลปะ 40 1
ง13101 การงานอาชีพ 40 1
อ13101 ภาษาองั กฤษ 40 1
รหสั วิชา 160 4
ว13201 รายวิชาเพิ่มเติม 200 5
อ13201 คอมพวิ เตอร์ 3 40 1
ง13201 ภาษาองั กฤษเพ่ือการสื่อสาร 3 40 1
ง13202 งานบา้ น-งานประดิษฐ์ 40 1
งานเกษตร 40 1
รหัสกจิ กรรม ลดเวลาเรียนเพิม่ เวลารู้ 40 1
ก13901 120 3
กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รยี น 40 1
ก13902 กิจกรรมแนะแนว 40 1
ก13903 กจิ กรรมนักเรยี น 40 1
ก13904 40 1
ลกู เสอื /เนตรนารี (10) ผนวกในกจิ กรรม
ชมุ นุม*
กิจกรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน์ ลกู เสือ/เนตรนารี
1,160 29
รวมเวลาเรยี นทัง้ หมดตามโครงสรา้ งหลักสูตร
*กจิ กรรมชุมนมุ นักเรยี นเลือกเรียนตามความสนใจ ได้แก่
1. ชุมนมุ ศิลปะ 2. ชุมนมุ กฬี า 3. ชมุ นมุ ทักษะอาชีพ
หน้า 25
หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นวดั ศรทั ธาธรรม
โครงสรา้ งหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวดั ศรัทธาธรรม
ระดบั ประถมศึกษา ชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ 4
รายวชิ า/กจิ กรรม เวลาเรียน
(ช่งั โมง/ปี) (ชัว่ โมง/สัปดาห์)
รหสั วิชา รายวิชาพื้นฐาน
ท14101 ภาษาไทย 840 21
ค14101 คณิตศาสตร์ 160 4
ว14101 วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 160 4
ส14101 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 120 3
ส14102 ประวตั ิศาสตร์ 80 2
พ14101 สุขศึกษาและพลศึกษา 40 1
ศ14101 ศิลปะ 80 2
ง14101 การงานอาชีพ 80 2
อ14101 ภาษาอังกฤษ 40 1
รหัสวิชา 80 2
ว14201 รายวิชาเพม่ิ เติม 200 5
อ14201 คอมพวิ เตอร์ 4 40 1
ง14201 ภาษาองั กฤษเพื่อการส่ือสาร 4 40 1
ง14202 งานบ้าน-งานประดิษฐ์ 40 1
งานเกษตร 40 1
รหสั กจิ กรรม ลดเวลาเรียนเพ่ิมเวลารู้ 40 1
ก14901 120 3
กิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี น 40 1
ก14902 กิจกรรมแนะแนว
ก14903 กจิ กรรมนักเรยี น 40 1
ก14904 40 1
ลกู เสอื /เนตรนารี (10) ผนวกในกิจกรรม
ชมุ นมุ *
กิจกรรมเพ่ือสังคมแลสาธารณประโยชน์ ลูกเสอื /เนตรนารี
1,160 29
รวมเวลาเรยี นท้งั หมดตามโครงสร้างหลกั สูตร
*กจิ กรรมชมุ นมุ นักเรียนเลือกเรียนตามความสนใจ ไดแ้ ก่
1. ชมุ นมุ ศลิ ปะ 2. ชมุ นมุ กีฬา 3. ชุมนมุ ทักษะอาชีพ
หนา้ 26
หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นวดั ศรทั ธาธรรม
โครงสรา้ งหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรยี นวัดศรทั ธาธรรม
ระดับประถมศกึ ษา ชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ 5
รายวิชากจิ กรรม/ เวลาเรียน
(ชว่ั โมง/ปี) (ชัว่ โมง/สัปดาห์)
รหัสวิชา รายวิชาพน้ื ฐาน
ท15101 ภาษาไทย 840 21
ค15101 คณติ ศาสตร์ 160 4
ว15101 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 160 4
ส15101 สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 120 3
ส15102 ประวัติศาสตร์ 80 2
พ15101 สุขศกึ ษาและพลศึกษา 40 1
ศ15101 ศลิ ปะ 80 2
ง15101 การงานอาชีพ 80 2
อ15101 ภาษาอังกฤษ 40 1
รหัสวิชา 80 2
ว15201 รายวชิ าเพ่ิมเติม 200 5
อ15201 คอมพวิ เตอร์ 5 40 1
ง15201 ภาษาองั กฤษเพื่อการสื่อสาร 5 40 1
ง15202 งานบ้าน-งานประดิษฐ์ 40 1
งานเกษตร 40 1
รหสั กจิ กรรม ลดเวลาเรยี นเพม่ิ เวลารู้ 40 1
ก15901 120 3
กิจกรรมพัฒนาผู้เรยี น 40 1
ก15902 กจิ กรรมแนะแนว
ก15903 กจิ กรรมนักเรยี น 40 1
ก15904 40 1
ลกู เสอื /เนตรนารี (10) ผนวกในกิจกรรม
ชุมนมุ *
กิจกรรมเพื่อสังคมแลสาธารณประโยชน์ ลูกเสือ/เนตรนารี
1,160 29
รวมเวลาเรียนท้งั หมดตามโครงสรา้ งหลักสตู ร
*กจิ กรรมชมุ นุมนักเรียนเลือกเรยี นตามความสนใจ ได้แก่
1. ชมุ นุมศิลปะ 2. ชุมนมุ กฬี า 3. ชุมนมุ ทกั ษะอาชพี
หนา้ 27
หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรยี นวัดศรัทธาธรรม
โครงสร้างหลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนวดั ศรัทธาธรรม
ระดบั ประถมศกึ ษา ช้ันประถมศึกษาปที ่ี 6
รายวิชากจิ กรรม/ เวลาเรียน
(ช่ัวโมง/ปี) (ช่วั โมง/สปั ดาห)์
รหัสวชิ า รายวิชาพื้นฐาน
840 21
ท16101 ภาษาไทย 160 4
160 4
ค16101 คณิตศาสตร์ 120 3
80 2
ว16101 วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 40 1
80 2
ส16101 สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม 80 2
40 1
ส16102 ประวัติศาสตร์ 80 2
200 5
พ16101 สุขศกึ ษาและพลศึกษา 40 1
40 1
ศ16101 ศลิ ปะ 40 1
40 1
ง16101 การงานอาชีพ 40 1
120 3
อ16101 ภาษาองั กฤษ 40 1
รหสั วิชา รายวิชาเพม่ิ เติม 40 1
40 1
ว16201 คอมพิวเตอร์ 6 (10) ผนวกในกิจกรรม
อ16201 ภาษาองั กฤษเพื่อการส่ือสาร 6 ลกู เสอื /เนตรนารี
1,160 29
ง16201 งานบ้าน-งานประดิษฐ์
ง16202 งานเกษตร
ลดเวลาเรยี นเพม่ิ เวลารู้
รหัสกิจกรรม กิจกรรมพฒั นาผูเ้ รียน
ก16901 กิจกรรมแนะแนว
กจิ กรรมนักเรยี น
ก16902 ลูกเสอื /เนตรนารี
ก16903 ชมุ นุม*
ก16904 กิจกรรมเพ่ือสงั คมและสาธารณประโยชน์
รวมเวลาเรียนทั้งหมดตามโครงสรา้ งหลกั สูตร
*กิจกรรมชมุ นุมนักเรียนเลือกเรยี นตามความสนใจ ได้แก่
1. ชุมนมุ ศลิ ปะ 2. ชุมนุมกีฬา 3. ชุมนมุ ทกั ษะอาชีพ
หนา้ 28
หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรยี นวดั ศรทั ธาธรรม
รายวิชาเพม่ิ เติมในระดับช้ันประถมศกึ ษา
หลกั สตู รสถานศึกษา โรงเรียนวดั ศรทั ธาธรรม พทุ ธศกั ราช 2565
ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 1
ว11201 คอมพวิ เตอร์ 1 เวลาเรียน 40 ชั่วโมง/ปี
อ11201 ภาษาอังกฤษเพ่ือการส่ือสาร 1 เวลาเรียน 40 ชวั่ โมง/ปี
ง11201 งานบ้าน-งานประดิษฐ์ เวลาเรียน 40 ชั่วโมง/ปี
ง11202 งานเกษตร เวลาเรียน 40 ชั่วโมง/ปี
ลดเวลาเรยี นเพ่ิมเวลารู้ เวลาเรยี น 40 ชว่ั โมง/ปี
ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 2
ว12201 คอมพิวเตอร์ 2 เวลาเรยี น 40 ชว่ั โมง/ปี
อ12201 ภาษาองั กฤษเพื่อการส่ือสาร 2 เวลาเรยี น 40 ชั่วโมง/ปี
ง12201 งานบา้ น-งานประดิษฐ์ เวลาเรียน 40 ชั่วโมง/ปี
ง12202 งานเกษตร เวลาเรียน 40 ชั่วโมง/ปี
ลดเวลาเรียนเพม่ิ เวลารู้ เวลาเรยี น 40 ชั่วโมง/ปี
ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 3
ว13201 คอมพิวเตอร์ 3 เวลาเรยี น 40 ชั่วโมง/ปี
อ13201 ภาษาองั กฤษเพื่อการส่ือสาร 3 เวลาเรียน 40 ชั่วโมง/ปี
ง13201 งานบ้าน-งานประดิษฐ์ เวลาเรยี น 40 ช่วั โมง/ปี
ง13202 งานเกษตร เวลาเรียน 40 ชว่ั โมง/ปี
ลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ เวลาเรยี น 40 ชว่ั โมง/ปี
ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 4
ว14201 คอมพวิ เตอร์ 4 เวลาเรยี น 40 ช่วั โมง/ปี
อ14201 ภาษาองั กฤษเพื่อการสื่อสาร 4 เวลาเรียน 40 ชั่วโมง/ปี
ง14201 งานบา้ น-งานประดิษฐ์ เวลาเรียน 40 ชั่วโมง/ปี
ง14202 งานเกษตร เวลาเรียน 40 ชั่วโมง/ปี
ลดเวลาเรียนเพม่ิ เวลารู้ เวลาเรียน 40 ชัว่ โมง/ปี
ช้ันประถมศึกษาปที ่ี 5
ว15201 คอมพิวเตอร์ 5 เวลาเรียน 40 ช่วั โมง/ปี
อ15201 ภาษาอังกฤษเพื่อการส่ือสาร 5 เวลาเรียน 40 ชว่ั โมง/ปี
ง15201 งานบ้าน-งานประดิษฐ์ เวลาเรยี น 40 ชั่วโมง/ปี
ง15202 งานเกษตร เวลาเรียน 40 ชั่วโมง/ปี
ลดเวลาเรยี นเพม่ิ เวลารู้ เวลาเรยี น 40 ช่วั โมง/ปี
หน้า 29
ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรยี นวดั ศรทั ธาธรรม
ว16201 คอมพิวเตอร์ 6
อ16201 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 6 เวลาเรียน 40 ชว่ั โมง/ปี
ง16201 งานบา้ น-งานประดิษฐ์ เวลาเรียน 40 ช่ัวโมง/ปี
ง16202 งานเกษตร เวลาเรียน 40 ช่วั โมง/ปี
เวลาเรยี น 40 ชัว่ โมง/ปี
ลดเวลาเรียนเพม่ิ เวลารู้ เวลาเรียน 40 ช่วั โมง/ปี
หน้า 30
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรยี นวัดศรัทธาธรรม
โครงสร้างหลักสตู รสถานศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.1-3)
โครงสร้างเวลาเรียนโครงสร้างหลักสตู รโรงเรยี นวัดศรัทธาธรรม พทุ ธศักราช 2565
(ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551)
กลมุ่ สาระการเรียนร/ู้ กิจกรรม เวลาเรยี น/ระดับช้ันเรียน รวม 3 ปี
ม.1 ม.2 ม.3
360 (9 นก.)
กลุม่ สาระการเรยี นรู้ 360 (9 นก.)
360 (9 นก.)
ภาษาไทย 120 (3นก.) 120 (3นก.) 120 (3นก.)
960 (24นก.)
คณิตศาสตร์ 120 (3นก.) 120 (3นก.) 120 (3นก.)
120(3นก.)
วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 120 (3นก.) 120 (3นก.) 120 (3นก.) 120 (3นก.)
240 (6นก.)
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 160 (4นก.) 160 (4นก.) 160 (4นก.) 240 (6นก.)
2,640 (66นก.)
ประวัตศิ าสตร์
600 ชั่วโมง
ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม 40 (1 นก.) 40 (1 นก.) 40 (1 นก.)
3,600 ชั่วโมง
หน้าท่พี ลเมือง วัฒนธรรม
และการดำเนินชีวติ ในสงั คม 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 120 (3 นก.)
เศรษฐศาสตร์
ภมู ิศาสตร์
สุขศกึ ษาและพลศึกษา 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) 80 (2 นก.)
ศลิ ปะ 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) 80 (2 นก.)
การงานอาชพี 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) 80 (2 นก.)
ภาษาต่างประเทศ 120 (3นก.) 120 (3นก.) 120 (3นก.)
รวมเวลาเรียน(พ้ืนฐาน) 880 (22 นก.) 880 (22 นก.) 880 (22 นก.)
กิจกรรมพฒั นาผู้เรียน 120 120 120
กิจกรรม ลดเวลาเรยี น เพิ่มเวลารู้
รายวิชา/กจิ กรรมที่
สถานศกึ ษาจัดเพิ่มเติม ปีละไม่เกิน 200 ช่วั โมง
ตามความพรอ้ มและจุดเน้น
IS (Independent Study)
รวมเวลาเรียนทง้ั หมด ไม่เกนิ 1,200 ช่ัวโมง/ปี
หน้า 31
หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรยี นวดั ศรัทธาธรรม
โครงสรา้ งเวลาเรยี นหลกั สูตรโรงเรยี นวัดศรทั ธาธรรมพทุ ธศกั ราช 2565
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน พุทธศักราช 2551
โครงสร้างหลักสตู รชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 1
ภาคเรียนที่ 1 หน่วยกติ / ภาคเรยี นที่ 2 หนว่ ยกติ /
ชั่วโมง ชั่วโมง
รายวิชาพืน้ ฐาน 11.0(440) รายวชิ าพนื้ ฐาน 11.0(440)
ท 21101 ภาษาไทย 1.5(60) ท 21102 ภาษาไทย 1.5(60)
ค 21101 คณติ ศาสตร์ 1.5(60) ค 21102 คณิตศาสตร์ 1.5(60)
ว 21101 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 1.5(60) ว 21102 วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 1.5(60)
ส 21101 สังคมศึกษา 1.5(60) ส 21102 สังคมศึกษา 1.5(60)
ส 21103 ประวัติศาสตร์ 0.5(20) ส 21104 ประวตั ศิ าสตร์ 0.5(20)
พ 21101 สขุ ศึกษา 0.5(20) พ 21102 สขุ ศกึ ษา 0.5(20)
พ 21103 พลศกึ ษา 0.5(20) พ 21104 พลศึกษา 0.5(20)
ศ 21101 ศลิ ปะ 1.0(40) ศ 21102 ศิลปะ 1.0(40)
ง 21101 การงานอาชพี 1.0(40) ง 21102 การงานอาชพี 1.0(40)
อ 21101 ภาษาองั กฤษ 1.5(60) อ 21102 ภาษาองั กฤษ 1.5(60)
รายวิชาเพิม่ เติม 2.5(100) รายวิชาเพ่ิมเติม 2.5(100)
ง 21201 งานบา้ น 1 1.0(40) ง 21202 งานบ้าน 2 1.0(40)
ว 21201 วิทยาการคำนวณและเทคโนโลยี 1 1.0(40) ว 21202 วิทยาการคำนวณและเทคโนโลยี 2 1.0(40)
ส 21205 ต้านทจุ รติ 0.5(20) ส 21206 ต้านทุจรติ 0.5(20)
กิจกรรมพฒั นาผ้เู รียน กิจกรรมพัฒนาผู้เรยี น
1. แนะแนว 60 1. แนะแนว 60
2. ชมุ นมุ 20 2. ชุมนุม 20
3. ลูกเสอื -เนตรนารี 20 3. ลกู เสอื -เนตรนารี 20
4. กิจกรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน์ 15 4. กิจกรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน์ 15
5 5
รวมเวลาเรยี น 600 รวมเวลาเรยี น 600
หมายเหตุ :
1. วชิ าหนา้ ทพี่ ลเมือง สอนบูรณาการในวิชาสังคมศึกษา
2. วชิ าตา้ นทจุ ริต สอนบรู ณาการในวิชาลกู เสอื -เนตรนาร/ี กจิ กรรมบำเพ็ญประโยชน์
หนา้ 32
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรยี นวัดศรัทธาธรรม
โครงสรา้ งเวลาเรียนหลักสตู รโรงเรยี นวดั ศรัทธาธรรมพุทธศกั ราช 2565
ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551
โครงสรา้ งหลกั สตู รชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี 2
ภาคเรียนท่ี 1 หน่วยกติ / ภาคเรยี นท่ี 2 หนว่ ยกติ /
ช่ัวโมง ชัว่ โมง
รายวชิ าพ้นื ฐาน 11.0(440) รายวิชาพ้ืนฐาน 11.0(440)
ท 22101 ภาษาไทย 1.5(60) ท 22102 ภาษาไทย 1.5(60)
ค 22101 คณิตศาสตร์ 1.5(60) ค 22102 คณติ ศาสตร์ 1.5(60)
ว 22101 วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 1.5(60) ว 22102 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 1.5(60)
ส 22101 สังคมศึกษา 1.5(60) ส 22102 สังคมศึกษา 1.5(60)
ส 22103 ประวัติศาสตร์ 0.5(20) ส 22104 ประวัตศิ าสตร์ 0.5(20)
พ 22101 สขุ ศกึ ษา 0.5(20) พ 22102 สุขศึกษา 0.5(20)
พ 22103 พลศกึ ษา 0.5(20) พ 22104 พลศึกษา 0.5(20)
ศ 22101 ศิลปะ 1.0(40) ศ 22102 ศิลปะ 1.0(40)
ง 22101 การงานอาชีพ 1.0(40) ง 22102 การงานอาชพี 1.0(40)
อ 22101 ภาษาอังกฤษ 1.5(60) อ 22102 ภาษาองั กฤษ 1.5(60)
รายวชิ าเพิม่ เติม 2.5(100) รายวิชาเพ่ิมเติม 2.5(100)
ง 22201 งานบ้าน 3 1.0(40) ง 22202 งานบ้าน 4 1.0(40)
ว 22201 วิทยาการคำนวณและเทคโนโลยี 3 1.0(40) ว 22202 วทิ ยาการคำนวณและเทคโนโลยี 4 1.0(40)
ส 22201 ต้านทุจรติ 0.5(20) ส 22202 ตา้ นทุจริต 0.5(20)
กจิ กรรมพฒั นาผู้เรียน กจิ กรรมพัฒนาผ้เู รยี น
1. แนะแนว 60 1. แนะแนว 60
2. ชมุ นมุ 20 2. ชุมนุม 20
3. ลกู เสอื -เนตรนารี 20 3. ลกู เสอื -เนตรนารี 20
4. กจิ กรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ 15 4. กจิ กรรมเพื่อสงั คมและสาธารณประโยชน์ 15
5 5
รวมเวลาเรียน รวมเวลาเรียน
600 600
หมายเหตุ :
1. วิชาหน้าท่พี ลเมือง สอนบูรณาการในวชิ าสังคมศึกษา
2. วิชาต้านทจุ รติ สอนบูรณาการในวิชาลกู เสอื -เนตรนาร/ี กจิ กรรมบำเพ็ญประโยชน์
หน้า 33
หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นวดั ศรทั ธาธรรม
โครงสร้างเวลาเรยี นหลักสูตรโรงเรยี นวดั ศรทั ธาธรรมพุทธศักราช 2565
ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551
โครงสร้างหลักสตู รชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3
ภาคเรยี นที่ 1 หนว่ ยกติ / ภาคเรียนที่ 2 หน่วยกติ /
ช่ัวโมง ชัว่ โมง
รายวิชาพื้นฐาน 11.0(440) รายวชิ าพน้ื ฐาน 11.0(440)
ท 23101 ภาษาไทย 1.5(60) ท 23102 ภาษาไทย 1.5(60)
ค 23101 คณิตศาสตร์ 1.5(60) ค 23102 คณิตศาสตร์ 1.5(60)
ว 23101 วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 1.5(60) ว 23102 วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 1.5(60)
ส 23101 สงั คมศึกษา 1.5(60) ส 23102 สงั คมศึกษา 1.5(60)
ส 23103 ประวตั ิศาสตร์ 0.5(20) ส 23104 ประวตั ศิ าสตร์ 0.5(20)
พ 23101 สขุ ศกึ ษา 0.5(20) พ 23102 สขุ ศึกษา 0.5(20)
พ 23103 พลศกึ ษา 0.5(20) พ 23104 พลศึกษา 0.5(20)
ศ 23101 ศลิ ปะ 1.0(40) ศ 23102 ศลิ ปะ 1.0(40)
ง 23101 การงานอาชีพ 1.0(40) ง 23102 การงานอาชีพ 1.0(40)
อ 23101 ภาษาองั กฤษ 1.5(60) อ 23102 ภาษาอังกฤษ 1.5(60)
รายวชิ าเพิ่มเติม 2.5(100) รายวชิ าเพม่ิ เติม 2.5(100)
ง 23101 งานบ้าน 5 1.0(40) ง 23101 งานบ้าน 6 1.0(40)
ว 23201 วิทยาการคำนวณและเทคโนโลยี 5 1.0(40) ว 23202 วทิ ยาการคำนวณและเทคโนโลยี 6 1.0(40)
ส 21201 ตา้ นทจุ ริต 0.5(20) ส 23202 ต้านทุจริต 0.5(20)
กิจกรรมพฒั นาผู้เรยี น กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รยี น
1. แนะแนว 60 1. แนะแนว 60
2. ชุมนมุ 20 2. ชมุ นุม 20
3. ลกู เสือ-เนตรนารี 20 3. ลกู เสอื -เนตรนารี 20
4. กิจกรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน์ 15 4. กิจกรรมเพ่ือสงั คมและสาธารณประโยชน์ 15
5 5
รวมเวลาเรยี น รวมเวลาเรยี น
600 600
หมายเหตุ :
1. วชิ าหน้าทพี่ ลเมือง สอนบรู ณาการในวชิ าสังคมศกึ ษา
2. วิชาต้านทุจรติ สอนบรู ณาการในวิชาลกู เสือ-เนตรนารี/ กิจกรรมบำเพญ็ ประโยชน์
หน้า 34
หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นวัดศรทั ธาธรรม
สว่ นท่ี 3
คำอธิบายรายวชิ า
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดศรัทธาธรรม พ.ศ.2565 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน
พุทธศักราช 2551 ได้กำหนดคำอธิบายรายวิชาของวิชาต่าง ๆ ท่ีสอนในแต่ละปีการศึกษา ซ่ึงประกอบด้วย ชื่อรหัส
วิชา ชื่อรายวชิ า จำนวนช่วั โมงตอ่ ปี ผลการเรียนรู้ท่คี าดหวัง และสาระการเรียนรู้รายปี
คำอธิบายรายวิชาจะช่วยให้ผู้สอนจัดหน่วยการเรียนรู้ในแต่ละช้ันปี ได้สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้
เน่ืองจากคำอธิบายรายวิชาจะรวมสาระการเรียนรทู้ ี่ผู้เรียนต้องเรียนรู้ตลอดท้งั ปี กลุ่มของสาระการเรียนรู้ตลอดปีจะ
มีจำนวนมาก ดังนั้น การจัดเป็นหน่วยการเรียนรู้หลาย ๆ หน่วย จะช่วยให้กลุ่มของสาระการเรียนรู้มีขนาดเล็กลง และ
บูรณาการได้หลากหลายมากขึ้น โรงเรียนวัดศรัทธาธรรม ได้กำหนดรายละเอียดของคำอธิบายรายวิชาเรียง
ตามลำดับไว้ ดังนี้
1. คำอธิบายรายวชิ ากลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาไทยชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 1ถึงช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ 3
2. คำอธบิ ายรายวิชากลมุ่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตรช์ น้ั ประถมศึกษาปที ่ี 1ถึงช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3
3. คำอธิบายรายวิชากลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ถึง
ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3
4. คำอธิบายรายวิชากลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1 ถึงชั้น
มัธยมศึกษาปีท่ี 3
5. คำอธิบายรายวิชากลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม รายวิชาประวัติศาสตร์ ชั้น
ประถมศกึ ษาปีที่ 1 ถึงชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 3
6. คำอธบิ ายรายวชิ ากลมุ่ สาระการเรียนรสู้ ุขศึกษาและพลศึกษา ช้ันประถมศึกษาปีที่ 1ถงึ ชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 3
7. คำอธิบายรายวิชากลมุ่ สาระการเรยี นรู้ศิลปะ ช้ันประถมศึกษาปีที่ 1 ถึงชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 3
8. คำอธิบายรายวิชากลุ่มสาระการเรียนรกู้ ารงานอาชพี ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 1 ถงึ ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 3
9. คำอธิบายรายวิชากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ช้ันประถมศึกษาปีที่ 1 ถึงชั้น
มัธยมศกึ ษาปที ่ี 3
10. คำอธิบายรายวชิ าเพิ่มเติม วชิ าภาษาอังกฤษเพื่อการส่ือสาร ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 1 ถงึ ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3
11. คำอธิบายรายวิชาเพมิ่ เติม วชิ าคอมพวิ เตอร์ ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 1 ถึงชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 3
12. คำอธิบายรายวชิ าเพม่ิ เติม วชิ าหนา้ ท่ีพลเมอื ง ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 1 ถึงชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ 3
13. คำอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม วิชาการปอ้ งกนั การทุจริตชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1 ถงึ ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3
14. คำอธิบายรายวิชากจิ กรรมพัฒนาผูเ้ รียน ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ 1 ถงึ ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ 3
หนา้ 35
หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นวดั ศรทั ธาธรรม
หน้า 36
หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นวัดศรทั ธาธรรม
คำอธบิ ายรายวิชาพื้นฐาน
ท11101 ภาษาไทย กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย
ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 1 เวลา 200 ชว่ั โมง
คำอธิบายรายวิชา
ฝึกอ่านออกเสียงคำ คำคล้องจอง และข้อความสั้นๆบอกความหมายของคำและข้อความตอบคำถามเล่า
เร่ืองย่อคาดคะเนเหตุการณ์เลือกอ่านหนังสือตามความสนใจอย่างสม่ำเสมอนำเสนอเรื่องที่อ่าน บอกความหมายของ
เคร่ืองหมายหรือสัญลักษณ์สำคัญที่มักพบเห็นในชีวิตประจำวันมีมารยาทในการอ่าน ฝึกคัดลายมือด้วยตัวบรรจงเต็ม
บรรทัดเขียนสอ่ื สารด้วยคำและประโยคง่ายๆมมี ารยาทในการเขยี น
ฝึกทักษะในการฟัง ฟังคำแนะนำ คำส่ังง่ายๆและปฏิบัติตามตอบคำถาม เล่าเรื่องพูดแสดงความคิดเห็นและ
ความรู้สึกจากเรอ่ื งทฟ่ี งั และดูพูดส่อื สารไดต้ ามวตั ถปุ ระสงค์เนน้ มารยาทในการฟังการดแู ละการพูด
ฝกึ ทักษะการเขียนพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ และเลขไทยเขียนสะกดคำและบอกความหมายของคำเรียบ
เรียงคำเปน็ ประโยคงา่ ยๆต่อคำคล้องจองงา่ ยๆ วรรณกรรมทอ้ งถิ่นดอนหอยหลอด
บอกข้อคิดที่ได้จากการอ่านหรือการฟังวรรณกรรมร้อยแก้วและร้อยกรองสำหรับเด็กฝึกท่องจำบทอาขยาน
ตามที่กำหนดและบทร้อยกรองตามความสนใจ โดยใช้กระบวนการอ่าน กระบวนการเขียน กระบวนการแสวงหา
ความรู้ กระบวนการกลุ่ม กระบวนการคิด การฝึกปฏิบัติ อธิบาย บันทึก การตั้งคำถาม ตอบคำถาม ใช้ทักษะการฟัง
การดแู ละการพดู พูดแสดงความคดิ เห็น กระบวนการสรา้ งความคดิ รวบยอด
เพ่ือให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ ส่ือสารได้ถูกต้อง รักการเรียนภาษาไทย เห็นคุณค่าของการอนุรักษ์
ภาษาไทยและตัวเลขไทย สามารถนำความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์โดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และ
สามารถนำไปประยุกต์ใช้กับชวี ิตประจำวนั ได้อย่างถกู ต้องเหมาะสม
มาตรฐานตวั ชี้วดั /
ท 1.1 ป.1/1, ป.1/2, ป.1/3, ป.1/4, ป.1/5, ป.1/6, ป.1/7, ป.1/8
ท 2.1 ป.1/1, ป.1/2, ป.1/3
ท 3.1 ป.1/1, ป.1/2, ป.1/3, ป.1/4, ป.1/5
ท 4.1 ป.1/1, ป.1/2, ป.1/3, ป.1/4
ท 5.1 ป.1/1, ป.1/2
รวม 5 มาตรฐาน 22 ตัวช้ีวัด
หนา้ 37
หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรยี นวัดศรัทธาธรรม
ท12101 ภาษาไทย คำอธิบายรายวชิ าพ้นื ฐาน
ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 2 กลุม่ สาระการเรียนรูภ้ าษาไทย
เวลา 200 ช่ัวโมง
คำอธิบายรายวิชา
ฝึกอ่านออกเสียงคำคำคลอ้ งจองข้อความและบทร้อยกรองง่าย ๆอธิบายความหมายของคำและข้อความที่อ่าน
ตัง้ คำถามตอบคำถามระบใุ จความสำคัญและรายละเอยี ดแสดงความคิดเห็นและคาดคะเนเหตุการณ์เลือกอ่านหนังสือ
ตามความสนใจอย่างสม่ำเสมอและนำเสนอเร่ืองท่ีอ่านอ่านข้อเขียนเชิงอธิบายและปฏิบัติตามคำส่ังหรือข้อแนะนำมี
มารยาทในการอา่ น
ฝึกคัดลายมือด้วยตัวบรรจงเต็มบรรทัดเขียนเร่ืองส้ัน ๆเก่ียวกับประสบการณ์เขียนเรื่องสั้น ๆตามจินตนาการมี
มารยาทในการเขียน
ฝึกทักษะการฟังฟังคำแนะนำคำสั่งที่ซับซ้อนและปฏิบัติตามเล่าเรื่องบอกสาระสำคัญของเร่ืองต้ังคำถามตอบ
คำถามพูดแสดงความคิดเหน็ ความรูส้ กึ พดู สือ่ สารไดช้ ดั เจนตรงตามวตั ถุประสงค์มมี ารยาทในการฟังการดูและการพดู
ฝึกทักษะการเขียนพยัญชนะสระวรรณยุกต์และเลขไทยเขียนสะกดคำและบอกความหมายของคำเรียบ
เรยี งคำเป็นประโยคได้ตรงตามเจตนาของการสื่อสารบอกลักษณะคำคล้องจองเลือกใช้ภาษาไทยมาตรฐานและภาษา
ถ่ินไดเ้ หมาะสมกับกาลเทศะ
ฝึกจับใจความสำคัญจากเรื่องระบุข้อคิดท่ีได้จากการอ่านหรือการฟังวรรณกรรมสำหรับเด็กเพื่อนำไปใช้ใน
ชีวิตประจำวันร้องบทร้องเล่นสำหรับเด็กในท้องถิ่นท่องจำบทอาขยานตามที่กำหนดและบทร้อยกรองท่ีมีคุณค่า ตาม
ความสนใจโดยใช้กระบวนการอ่านกระบวนการเขียนกระบวนการแสวงหาความรู้กระบวนการกลุ่ม กระบวนการคิด
วิเคราะห์กระบวนการส่ือความกระบวนการแก้ปัญหาการฝึกปฏิบัติอธบิ ายบันทกึ การตง้ั คำถามตอบคำถามใชท้ ักษะการ
ฟงั การดแู ละการพดู พูดแสดงความคิดเห็นกระบวนการสรา้ งความคดิ รวบยอด
เพื่อให้เกิดความรู้ความคิดความเข้าใจส่ือสารได้ถูกต้องรักการเรียนภาษาไทยเห็นคุณค่าของการอนุรั กษ์
ภาษาไทยและตัวเลขไทยสามารถนำความรู้ไปใช้ให้เกิดปร ะโยชน์โดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและ
สามารถนำไปประยกุ ต์ใชก้ บั ชีวติ ประจำวันไดอ้ ย่างถูกต้องเหมาะสม
หนา้ 38
หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นวดั ศรัทธาธรรม
มาตรฐานตัวช้ีวัด/
ท 1.1 ป.2/1, ป.2/2, ป.2/3, ป.2/4, ป.2/5, ป.2/6, ป.2/7, ป.2/8
ท 2.1 ป.2/1, ป.2/2, ป.2/3, ป.2/4
ท 3.1 ป.2/1, ป.2/2, ป.2/3, ป.2/4, ป.2/5, ป.2/6, ป.2/7
ท 4.1 ป.2/1, ป.2/2, ป.2/3, ป.2/4, ป.2/5
ท 5.1 ป.2/1, ป.2/2, ป.2/3
รวม 5 มาตรฐาน 27 ตวั ช้ีวดั
หนา้ 39
หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรยี นวดั ศรทั ธาธรรม
คำอธิบายรายวชิ าพน้ื ฐาน
ท13101 ภาษาไทย กลมุ่ สาระการเรยี นร้ภู าษาไทย
ช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ 3 เวลา 200 ชั่วโมง
คำอธิบายรายวิชา
ฝึกอ่านออกเสียงคำข้อความเร่ืองสั้นๆและบทร้อยกรองง่าย ๆอธิบายความหมายของคำและข้อความท่ีอ่าน
ตั้งคำถามตอบคำถามเชิงเหตุผลลำดับเหตุการณ์คาดคะเนเหตุการณ์สรุปความรู้ข้อคิด จากเรื่องท่ีอ่านเพื่อนำไปใช้ใน
ชีวิตประจำวันเลือกอ่านหนังสือตามความสนใจอย่างสม่ำเสมอและนำเสนอเรื่องที่อ่านอ่านข้อเขียนเชิงอธิบายและ
ปฏิบัติตามคำสั่งหรือข้อแนะนำอธิบายความหมายของข้อมูลจากแผนภาพแผนที่และแผนภูมิ มีมารยาทในการอ่าน
ฝึกคัดลายมือด้วยตัวบรรจงเต็มบรรทัดเขียนบรรยายเขียนบันทึกประจำวันเขียนเร่ืองตามจินตนาการมี
มารยาทในการเขียน
ฝึกทักษะการฟังการดูและการพูดเล่ารายละเอียดบอกสาระสำคัญต้ังคำถามตอบคำถามพูดแสดงความ
คดิ เห็นความรสู้ ึกพูดสอื่ สารไดช้ ัดเจนตรงตามวตั ถปุ ระสงค์มมี ารยาทในการฟังการดแู ละการพดู
ฝึกเขียนตามหลักการเขียนเขียนสะกดคำและบอกความหมายของคำระบุชนิดหน้าที่ของคำใช้พจนานุกรม
ค้นหาความหมายของคำแต่งประโยคง่าย ๆแต่งคำคล้องจองและคำขวัญเลือกใช้ภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถิ่นได้
เหมาะสมกบั กาลเทศะ
ระบุข้อคิดท่ีได้จากการอ่านวรรณกรรมเพื่อนำไปใช้ในชีวิตประจำวันรู้จักเพลงพ้ืน บ้านเพลงกล่อมเด็กเพ่ือ
ปลูกฝังความช่ืนชมวัฒนธรรมท้องถิ่นแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับวรรณคดีที่อา่ นท่องจำบทอาขยานตามที่กำหนดและบท
ร้อยกรองที่มีคุณค่าตามความสนใจโดยใช้กระบวนการอ่านกระบวนการเขียนกระบวนการแสวงหาความรู้กระบวนการ
กลุ่มกระบวนการคิดวิเคราะห์กระบวนการส่ือความกระบวนการแก้ปัญหาการฝึกปฏิบัติอธิบายบันทึกการต้ังคำถาม
ตอบคำถามใช้ทักษะการฟงั การดูและการพูดพูดแสดงความคิดเหน็ กระบวนการสร้างความคิดรวบยอด
เพื่อให้เกิดความรู้ความคิดความเข้าใจสื่อสารได้ถูกต้องรักการเรียนภาษาไทยเห็นคุณค่าของการอนุรักษ์
ภาษาไทยและตัวเลขไทยสามารถนำความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์โดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและ
สามารถนำไปประยกุ ต์ใชก้ บั ชวี ติ ประจำวันไดอ้ ยา่ งถูกต้องเหมาะสม
หน้า 40
หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นวดั ศรทั ธาธรรม
มาตรฐาน/ตัวช้ีวดั
ท 1.1 ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3, ป.3/4, ป.3/5, ป.3/6, ป.3/7, ป.3/8, ป.3/9
ท 2.1 ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3, ป.3/4, ป.3/5, ป.3/6
ท 3.1 ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3, ป.3/4, ป.3/5, ป.3/6
ท 4.1 ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3, ป.3/4, ป.3/5, ป.3/6
ท 5.1 ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3, ป.3/4
รวม 5 มาตรฐาน 31 ตัวชี้วดั
หน้า 41
ท14101 ภาษาไทย หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรยี นวัดศรทั ธาธรรม
ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 4
คำอธบิ ายรายวชิ าพ้ืนฐาน
กลุ่มสาระการเรยี นรูภ้ าษาไทย
เวลา 160 ชั่วโมง
คำอธิบายรายวชิ า
ฝึกอ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองอธิบายความหมายของคำประโยคและสำนวนจากเรื่องที่อ่าน
อ่านเรื่องสั้นๆตามเวลาท่ีกำหนดและตอบคำถามจากเร่ืองท่ีอ่านแยกข้อเท็จจริงและข้ อคิดเห็นจากเรื่องที่ อ่าน
คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่านโดยระบุเหตุผลประกอบสรุปความรู้และข้อคิดจากเรื่องที่อ่านเพื่อนำไปใช้ใน
ชีวิตประจำวันเลือกอ่านหนังสือท่ีมีคุณค่าตามความสนใจอย่างสม่ำเสมอและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเร่ืองท่ีอ่านมี
มารยาทในการอ่านฝึกคัดลายมือด้วยตัวบรรจงเต็มบรรทัดและคร่ึงบรรทัดเขียนส่ือสารโดยใช้คำได้ถูกต้องชัดเจนและ
เหมาะสมเขียนแผนภาพโครงเร่ืองและแผนภาพความคิดเพ่ือใช้พัฒนางานเขียนเขียนย่อความจากเร่ืองสั้นๆเขียนจด
หมายถึงเพ่ือนและมารดาเขียนบันทึกและเขียนรายงานจากการศึกษาค้นคว้าเขียนเร่ืองตามจินตนาการมีมารยาทใน
การเขียน
ฝึกทักษะการฟังการดแู ละการพูดจำแนกข้อเทจ็ จริงและขอ้ คิดเหน็ เรือ่ งทฟ่ี ังและดูพดู สรุปจากการฟังและดู
พูดแสดงความรู้ความคิดเห็นและความร้สู กึ เก่ียวกับเรื่องที่ฟังและดูตั้งคำถามและตอบคำถามเชิงเหตผุ ลจากเร่ืองที่ฟัง
และดูพูดรายงานเรื่องหรือประเด็นท่ีศึกษาค้นคว้าจากการฟังการดูและการสนทนามีมารยาทในการฟังการดูและ
การพูดฝึกเขียนตามหลักการเขียนเขียนสะกดคำและบอกความหมายของคำในบรบิ ทต่างๆระบุชนิดและหนา้ ท่ีของคำ
ในประโยคใช้พจนานุกรมค้นหาความหมายของคำแต่งประโยคได้ถูกต้องตามหลักภาษาแต่งบทร้อยกรองและคำขวัญ
บอกความหมายของสำนวนเปรียบเทยี บภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถิ่นได้
ระบุข้อคิดจากนิทานพื้นบ้านหรือนิทานคติธรรม อธิบายข้อคิดจากการอ่านเพื่อนำไปใช้ในชีวิตจริงร้อง
เพลงพื้นบ้าน ท่องจำบทอาขยานตามท่ีกำหนดและบทร้อยกรองท่ีมีคุณค่าตามความสนใจโดยใช้กระบวนการอ่าน
กระบวนการเขยี นกระบวนการแสวงหาความรู้กระบวนการกลุ่มกระบวนการคดิ วเิ คราะห์และสรุปความกระบวนการ
คิดอย่างมีวิจารณญาณกระบวนการส่ือความกระบวนการแก้ปัญหาการฝึกปฏิบัติอธิบายบันทึกการตั้งคำถามตอบ
คำถามใชท้ กั ษะการฟังการดูและการพดู พดู แสดงความคิดเหน็ กระบวนการสร้างความคิดรวบยอด
เพ่ือให้เกิดความรู้ความคิดความเข้าใจสื่อสารได้ถูกต้องรักการเรียนภาษาไทยเห็นคุณค่าของการอนุรักษ์
ภาษาไทยและตัวเลขไทยสามารถนำความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์โดยใช้วิธีการของเศรษฐกิจพอเพียงและสามารถ
นำไปประยุกต์ใชก้ บั ชีวิตประจำวันไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ งเหมาะสม
หน้า 42
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรยี นวัดศรทั ธาธรรม
มาตรฐานตัวช้ีวัด/
ท 1.1 ป.4/1, ป.4/2, ป.4/3, ป.4/4, ป.4/5, ป.4/6, ป.4/7, ป.4/8
ท 2.1 ป.4/1, ป.4/2, ป.4/3, ป.4/4, ป.4/5, ป.4/6, ป.4/7, ป.4/8
ท 4.1 ป.4/1, ป.4/2, ป.4/3, ป.4/4, ป.4/5, ป.4/6, ป.4/7
ท 5.1 ป.4/1, ป.4/2, ป.4/3, ป.4/4
รวม 5 มาตรฐาน 33 ตัวชี้วัด
หน้า 43
หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นวัดศรัทธาธรรม
ท15101 ภาษาไทย คำอธบิ ายรายวชิ าพ้นื ฐาน
ช้ันประถมศึกษาปที ี่ 5
กลมุ่ สาระการเรียนรูภ้ าษาไทย
เวลา 160 ช่ัวโมง
คำอธิบายรายวชิ า
ฝึกอ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองอธิบายความหมายของคำประโยคและข้อความท่ีเป็นการ
บรรยายและการพรรณนาอธิบายความหมายโดยนัยแยกข้อเท็จจริงข้อคิดเห็นวิเคราะห์แสดงความคิดเห็นอ่านงาน
เขยี นเชิงอธบิ ายคำส่ังข้อแนะนำและปฏบิ ัตติ ามเลือกอ่านหนงั สือทมี่ ีคุณค่าตามความสนใจมีมารยาทในการอ่าน
ฝึกคัดลายมือด้วยตัวบรรจงเต็มบรรทัดและคร่ึงบรรทัดเขียนส่ือสารเขียนแผนภาพโครงเร่ื องแผนภาพ
ความคิดเขยี นย่อความเขียนจดหมายถึงผู้ปกครองและญาติเขียนแสดงความรู้สึกและความคดิ เห็นกรอกแบบรายการ
ต่างๆเขียนเรื่องตามจนิ ตนาการมีมารยาทในการเขยี น ฝกึ ทักษะการฟงั การดูและการพดู พูดแสดงความรคู้ วามคิดเห็น
และความรู้สึกต้ังคำถามตอบคำถามวิเคราะห์ความพูดรายงานมีมารยาทในการฟังการดูและการพูด ระบุชนิดและ
หน้าที่ของคำในประโยคจำแนกส่วนประกอบของประโยคเปรียบเทียบภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถ่ินใช้คำราชา
ศัพท์บอกคำภาษาต่างประเทศในภาษาไทยแต่งบทร้อยกรองใช้สำนวนได้ถูกต้อง สรุปเรื่องจากวรรณคดีหรือ
วรรณกรรมที่อ่านระบุความรู้ข้อคิดจากการอ่านวรรณคดีและวรรณกรรมที่สามารถนำไปใช้ในชีวิตจริง อธิบาย
คุณค่าของวรรณคดีและวรรณกรรมท่องจำบทอาขยานตามที่กำหนดและบทร้อยกรองท่ีมีคุณค่าตามความสนใจ
โดยใช้กระบวนการอ่านกระบวนการเขียนกระบวนการแสวงหาความรู้ กระบวนการกลุ่ม กระบวนการคิดวิเคราะห์
และสรุปความกระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณ กระบวนการส่ือความ กระบวนการแก้ปัญหา การฝึกปฏิบัติอธิบาย
บันทึกการตั้งคำถามตอบคำถามใช้ทักษะการฟังการดูและการพูดพูดแสดงความคิดเห็นกระบวนการสร้างความคิด
รวบยอด เพื่อให้เกิดความรู้ความคิดความเข้าใจส่ือสารได้ถูกต้องรักการเรียนภาษาไทยเห็นคุณค่าของการอนุรักษ์
ภาษาไทยและตัวเลขไทยสามารถนำความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์โดยใช้วิธีการของเศรษฐกิจพอเพียงและสามารถ
นำไปประยุกตใ์ ชก้ บั ชวี ิตประจำวนั ไดอ้ ย่างถกู ตอ้ งเหมาะสม
หน้า 44
หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรยี นวัดศรทั ธาธรรม
มาตรฐานตัวช้ีวัด/
ท 1.1 ป.5/1, ป.5/2, ป.5/3, ป.5/4, ป.5/5, ป.5/6, ป.5/7, ป.5/8
ท 2.1 ป.5/1, ป.5/2, ป.5/3, ป.5/4, ป.5/5, ป.5/6, ป.5/7, ป.5/8, ป.5/9
ท 3.1 ป.5/1, ป.5/2, ป.5/3, ป.5/4, ป.5/5
ท 4.1 ป.5/1, ป.5/2, ป.5/3, ป.5/4, ป.5/5, ป.5/6, ป.5/7
ท 5.1 ป.5/1, ป.5/2, ป.5/3, ป.5/4
รวม 5 มาตรฐาน 33 ตวั ชีว้ ดั
หนา้ 45
หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นวดั ศรัทธาธรรม
ท16101 ภาษาไทย คำอธิบายรายวชิ าพ้ืนฐาน
ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 6
กลุม่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย
เวลา 160 ชั่วโมง
คำอธบิ ายรายวิชา
ฝึกอ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรอง อธิบายความหมายของคำ ประโยคและข้อความที่เป็นโวหาร
อ่านเรื่องสนั้ ๆอย่างหลากหลาย แยกข้อเท็จจริงและขอ้ คิดเหน็ จากเร่ืองทอ่ี ่านวิเคราะห์และแสดงความคิดเหน็ เกยี่ วกับ
เร่ืองท่ีอ่านเพ่ือนำไปใช้ในการดำเนินชีวิตอ่านงานเขียนเชิงอธิบาย คำส่ัง ข้อแนะนำ และปฏิบัติตามอธิบายความหมาย
ของขอ้ มูลจากการอ่านแผนผัง แผนที่ แผนภูมิและกราฟเลือกอ่านหนังสือตามความสนใจและอธิบายคุณคา่ ท่ีได้รับมี
มารยาทในการอา่ น
ฝึกคัดลายมือด้วยตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด เขียนสื่อสารโดยใช้คำได้ถูกต้อง ชัดเจน และเหมาะสม
เขียนแผนภาพโครงเรื่องและแผนภาพความคิดเพ่ือใช้พัฒนางานเขียนเขียนเรียงความ เขียนย่อความจากเรื่องอ่าน
เขยี นจดหมายสว่ นตวั กรอกแบบรายการตา่ ง ๆเขียนเร่ืองตามจินตนาการและสรา้ งสรรค์มมี ารยาทในการเขียน
ฝึกทักษะการฟัง การดูและการพูด พูดแสดงความรู้ ความเข้าใจจุดประสงค์ของเรื่องที่ฟังและดูตั้งคำถามและ
ตอบคำถามเชิงเหตุผลจากเรื่องที่ฟังและดูวิเคราะห์ความน่าเช่ือถือจากเร่ืองท่ีฟังและดูสื่อโฆษณาอย่างมีเหตุผลพูด
รายงานเรื่องหรือประเด็นท่ีศึกษาค้นคว้าจากการฟัง การดูและการสนทนาพูดโน้มน้าวอย่างมีเหตุผลและน่าเชื่อถือมี
มารยาทในการฟังการดูและการพูด
ฝึกวิเคราะห์ชนิดและหน้าท่ีของคำในประโยคใช้คำได้เหมาะสมกับกาลเทศะและบุคคลรวบรวมและบอก
ความหมายของคำภาษาต่างประเทศท่ีใช้ในภาษาไทยระบุลักษณะของประโยคแต่งบทร้อยกรองวิเคราะห์เปรียบเทียบ
สำนวนที่เปน็ คำพังเพยและสภุ าษิต
ฝึกแสดงความคิดเห็นจากวรรณคดีหรือวรรณกรรมที่อ่านเล่านิทานพื้นบ้านท้องถ่ินตนเองและนิทานพื้นบ้าน
ของท้องถิ่นอื่นอธิบายคุณค่าของวรรณคดีและวรรณกรรมท่ีอ่านและนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง ท่องจำบทอาขยาน
ตามที่กำหนดและบทร้อยโดยใช้กระบวนการอ่าน กระบวนการเขียน กระบวนการแสวงหาความรู้ กระบวนการกลุ่ม
กระบวนการคิดวิเคราะห์และสรุปความ กระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณ กระบวนการสื่อความ กระบวนการ
แก้ปัญหากระบวนการสังเกต กระบวนการแยกข้อเท็จจริง กระบวนการค้นคว้า กระบวนการใช้เทคโนโลยีใน
การส่ือสาร กระบวนการใช้ทักษะทางภาษา การฝึกปฏิบัติ อธิบาย บันทึก การตั้งคำถาม ตอบคำถาม ใช้ทักษะการ
ฟงั การดูและการพูด พดู แสดงความคิดเหน็ กระบวนการสรา้ งความคดิ รวบยอด
หน้า 46
หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรยี นวัดศรัทธาธรรม
เพ่ือให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สื่อสารได้ถูกต้อง รักการเรียนภาษาไทย เห็นคุณค่าของการอนุรักษ์
ภาษาไทยและตัวเลขไทย สามารถนำความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์โดยใช้วิธีการของเศรษฐกิจพอเพียงและสามารถ
นำไปประยกุ ตใ์ ชก้ ับชีวิตประจำวนั ได้อยา่ งถูกตอ้ งเหมาะสม
มาตรฐานตวั ชี้วัด/
ท 1.1 ป.6/1, ป.6/2, ป.6/3, ป.6/4, ป.6/5, ป.6/6, ป.6/7, ป.6/8, ป.6/9
ท 2.1 ป.6/1, ป.6/2, ป.6/3, ป.6/4, ป.6/5, ป.6/6, ป.6/7, ป.6/8, ป.6/9
ท 3.1 ป.6/1, ป.6/2, ป.6/3, ป.6/4, ป.6/5, ป.6/6
ท 4.1 ป.6/1, ป.6/2, ป.6/3, ป.6/4, ป.6/5, ป.6/6
ท 5.1 ป.6/1, ป.6/2, ป.6/3, ป.6/4
รวม 5 มาตรฐาน 34 ตวั ช้ีวัด
หนา้ 47
หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรยี นวัดศรทั ธาธรรม
คำอธบิ ายรายวิชา
ท 21101 ภาษาไทย กลุ่มสาระการเรยี นรูภ้ าษาไทย
ชัน้ มัธยมศึกษาปที ี่ 1 ภาคเรยี นที่ 1 -2 เวลา 60 ชว่ั โมง/ภาคเรียน จำนวน 1.5 หนว่ ยกติ /ภาคเรยี น
คำอธบิ ายรายวิชา
ฝึกทักษะการอ่าน การเขยี น การฟัง การดู และการพูด การวิเคราะห์และประเมินค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
โดยศึกษ าเก่ียวกับ การอ่าน ออกเสียง การอ่าน จับ ใจความ การอ่าน และป ฏิ บั ติตามเอกสารคู่มื อ
การอ่านหนังสือตามความสนใจ ฝึกทกั ษะการคัดลายมือ เขียนเรียงความ เขียนแสดงความคิดเห็น การพูดสรปุ ความ
และศึกษาลักษณะของเสียงในภาษาไทย การสร้างคำประสม คำซ้ำ คำซ้อน และคำพ้อง วิเคราะห์ชนิดและหน้าท่ี
ของคำ วิเคราะห์ ประเมินค่า และข้อคิดจากวรรณคดีและวรรณกรรมเรื่องท่ีอ่าน และนิทานพื้นบ้าน ท่องจำบท
อาขยานตามทีก่ ำหนด และบทร้อยกรองท่มี ีคุณคา่ ตามความสนใจ
โดยใช้กระบวนการอ่านเพ่ือสร้างความรู้ความคิดนำไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหาในการดำเนินชีวิต กระบวนการ
เขียนเพื่อการส่ือสารอย่างมีประสิทธิภาพ กระบวนการฟัง การดู และการพูด สามารถเลือกฟังและดู และพูดแสดง
ความรู้ความคิดอย่างมีวจิ ารณญาณและสร้างสรรค์ เพ่ือให้เขา้ ใจธรรมชาตภิ าษาและหลักภาษาไทย การเปล่ียนแปลง
ของภาษา พลังภาษา ภูมิปัญญาทางภาษา วิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมอย่างเห็นคุณค่านำมา
ประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง รักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัติของชาติ และมีนิสัยรักการอ่าน การเขียน มีมารยาทในการอ่าน
การเขียน การฟัง การดู และการพดู
มาตรฐานตวั ช้ีวัด/
ตัวชวี้ ัด
ท 1.1 ม.1/1 , ท 1.1 ม.1/2 , ท 1.1 ม.1/3 , ท 1.1 ม.1/8 , ท 1.1 ม.1/9
ท 2.1 ม.1/1 , ท 2.1 ม.1/4 , ท 2.1 ม.1/6 , ท 2.1 ม.1/9
ท 3.1 ม.1/1 , ท 3.1 ม.1/2 , ท 3.1 ม.1/6
ท 4.1 ม.1/1 , ท 4.1 ม.1/2 , ท 4.1 ม.1/3
ท 5.1 ม.1/1 , ท 5.1 ม.1/2 , ท 5.1 ม.1/3 , ท 5.1 ม.1/4 , ท 5.1 ม.1/5
รวม 20 ตัวชวี้ ัด
หนา้ 48
หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นวัดศรทั ธาธรรม
คำอธบิ ายรายวิชา
รหัสวชิ า ท 22101 ภาษาไทย กลุ่มสาระการเรยี นร้ภู าษาไทย
ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 2 ภาคเรียนท่ี 1-2 เวลา 60 ชวั่ โมง/ภาคเรยี น จำนวน 1.5 หน่วยกติ /ภาคเรียน
คำอธิบายรายวิชา
ฝกึ ทักษะการอ่าน การเขยี น การฟงั การดู และการพูด การวิเคราะห์และประเมนิ ค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
โดยศึกษาเกี่ยวกับการอ่านออกเสียง การอ่านตามความสนใจ เขียนย่อความ เขียนรายงาน พูดในโอกาสต่างๆ พูด
รายงานการศึกษาค้นควา้ และ ประเภทกลอนสุภาพ วิเคราะห์ ประเมินค่า และข้อคิดจากวรรณคดีและ
วรรณกรรมเรื่องท่ีอา่ น ท่องจำบทอาขยานตามที่กำหนด และบทรอ้ ยกรองทีม่ คี ุณคา่ ตามความสนใจ
โดยใช้กระบวนการอ่านเพ่ือสร้างความรู้ความคิดนำไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหาในการดำเนินชีวิต กระบวนการ
เขียนเพ่ือการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ กระบวนการฟัง การดู และการพูด สามารถเลือกฟังและดู และพูดแสดง
ความรคู้ วามคิดอย่างมีวิจารณญาณและสรา้ งสรรค์ เพอ่ื ให้เข้าใจธรรมชาติภาษาและหลักภาษาไทย การเปล่ียนแปลง
ของภาษา พลังภาษา ภูมิปัญญาทางภาษา วิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมอย่างเห็นคุณค่านำมา
ประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง รักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัติของชาติ และมีนิสัยรักการอ่าน การเขียน มีมารยาทในการอ่าน
การเขียน การฟงั การดู และการพดู
มาตรฐานตวั ชี้วดั /
ท 1.1 ม.2/1 ท 1.1 ม.2/3 ท 1.1 ม.2/4 ท 1.1 ม.2/6 ท 1.1 ม.2/8
ท 2.1 ม.2/2 ท 2.1 ม.2/4 ท 2.1 ม.2/5 ท 2.1 ม.2/8 ท 5.1 ม.2/5
ท 3.1 ม.2/3 ท 3.1 ม.2/4 ท 3.1 ม.2/5 ท 3.1 ม.2/6
ท 4.1 ม.2/2
ท 5.1 ม.2/1 ท 5.1 ม.2/2 ท 5.1 ม.2/3 ท 5.1 ม.2/4
รวม 19 ตัวชี้วดั
หนา้ 49