The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักสูตรสถานศึกษาอิงสมรรถนะโรงเรียนบ้านกองลม-พ.ศ.2564

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by maytarat.k, 2022-06-11 09:39:56

หลักสูตรสถานศึกษาอิงสมรรถนะโรงเรียนบ้านกองลม-พ.ศ.2564

หลักสูตรสถานศึกษาอิงสมรรถนะโรงเรียนบ้านกองลม-พ.ศ.2564

หลักสูตรสถานศึกษาอิงสมรรถนะโรงเรียนบ้านกองลม พุทธศักราช 2564 ก

ประกาศโรงเรยี นบ้านกองลม
เรื่อง ใหใ้ ช้หลกั สตู รสถานศึกษาองิ สมรรถนะโรงเรียนบ้านกองลม

พทุ ธศกั ราช 2564
.................................................................................................................... ..................

เพื่อให้การบริหารหลักสูตรและงานวิชาการสถานศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพสอดคล้อง
กับพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม หมวด 4 มาตรา 27 ท่ีกำหนดให้
สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน มีหน้าท่ีจัดทำสาระของหลักสูตรเพ่ือความเป็นไทย ความเป็นพลเมืองท่ีดีของชาติ
การดำรงชีวิต และการประกอบอาชีพตลอดจนเพ่ือการศึกษาตอ่ ในส่วนทเ่ี กี่ยวกับสภาพของปัญหาในชุมชนและ
สังคมและประเทศชาติ สอดคล้องกับพระราชบัญญตั ิพื้นที่นวตั กรรมการศึกษา พ.ศ.2562 หมวด 3 การบรหิ าร
พน้ื ทน่ี วัตกรรมการศึกษา มาตรา 20(4) , มาตรา 25

อาศัยตามพระราชบัญญัติพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา พ.ศ.2562 หมวด 3 มาตรา 25 , มาตรา 26
การบริหารพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา และระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วยคณะกรรมการบริหารหลักสูตร
และงานวิชาการสถานศกึ ษาข้ันพื้นฐาน พ.ศ.2544

ทง้ั นี้ หลกั สูตรสถานศึกษาอิงสมรรถนะโรงเรียนบา้ นกองลม พทุ ธศักราช 2564 ไดร้ บั ความเห็นชอบจาก
คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน เมื่อวันท่ี 23 มิถุนายน พ.ศ. 2564 จึงประกาศให้ใช้หลักสูตร
สถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านกองลม ตั้งแต่บดั นี้เปน็ ต้นไป

ประกาศ ณ วันท่ี 23 มิถุนายน พ.ศ. 2564

(นายสดี า สนั นถิ า) (นายเพกิ พงษ์ไทย)
ประธานกรรมการสถานศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน ผ้อู ำนวยการโรงเรียนบ้านกองลม

หลักสูตรสถานศึกษาอิงสมรรถนะโรงเรยี นบ้านกองลม พทุ ธศกั ราช 2564 ก

คำนำ

พระราชบัญญัติพ้ืนที่นวัตกรรมการศึกษา พ.ศ.2562 ได้จัดต้ังขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์ คือ (1) คิดค้นและ
พฒั นานวัตกรรมการศกึ ษาและการเรยี นรู้เพือ่ ยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการศึกษาของผเู้ รยี นรวมทั้งเพื่อดำเนนิ การให้
มกี ารขยายผลไปใช้ในสถานศึกษาขน้ั พื้นฐานอื่น (2) ลดความเหลื่อมลำ้ ในการศกึ ษา (3) กระจายอำนาจให้มอี ิสระ
แก่หน่วยงานทางการศึกษาและสถานศึกษานำร่องในพืน้ ที่นวัตกรรมการศึกษาเพ่ือเพิม่ ความคลอ่ งตัวในการบริหาร
และจัดการศึกษาให้มีคุณภาพและมีประสิทธิภาพมากข้ึน (4) สร้างและพัฒนากลไกในการจัดการศึกษาร่วมกัน
ระหว่างรฐั องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ ภาคเอกชน และภาคประชาสงั คมในพนื้ ที่นวตั กรรมการศกึ ษา

คณะกรรมการขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดเชียงใหม่ ได้ประกาศรายชื่อสถานศึกษา
โรงเรียนบ้านกองลม เป็นสถานศึกษานำร่องพ้ืนท่ีนวัตกรรมการศึกษาจังหวัดเชียงใหม่ รุ่นท่ี ๒ ซึ่งตาม
พระราชบัญญัติพื้นท่ีนวัตกรรมการศึกษา พ.ศ.2562 มาตรา 25 วรรคหนึ่ง หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น
พื้นฐานท่ีได้รับการปรับเพ่ือนำไปใช้ ตามมาตรา ๒๐ (๔) ต้องครอบคลุมสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน คุณลักษณะ
อันพึงประสงค์ และมาตรฐานการเรียนรตู้ ามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พนื้ ฐานตามกฎหมายวา่ ด้วยการศึกษา
แห่งชาติ โดยต้องจัดสาระการเรียนรู้รายวิชาให้หลากหลายและสอดคล้องกับความสามารถ ความถนัดหรือความ
สนใจของผเู้ รยี น และสภาพภมู ิสังคม รวมทัง้ มกี ระบวนการเรยี นรเู้ ชงิ รกุ (Active Learning)

ในการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาอิงสมรรถนะโรงเรียนบ้านกองลม พุทธศักราช ๒๕๖4 ได้นำหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๐ ตามคำส่ัง
กระทรวงศึกษาธิการท่ี สพฐ. ๑๒๓๙/๒๕๖๐ ลงวันท่ี ๗ สิงหาคม ๒๕๖๐ และคำส่ังสำนักงานคณะกรรมการ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน ท่ี ๓๐/๒๕๖๑ ลงวันท่ี ๕ มกราคม ๒๕๖๑ ให้เปลี่ยนแปลงมาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัด
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.๒๕๖๐) ตลอดจนภูมิปัญญาท้องถ่ิน
ยุทธศาสตร์จังหวัดเชียงใหม่และยุทธศาสตร์ชาติ มาใช้เป็นหลักในการพัฒนาหลักสูตรของโรงเรียนบ้านกองลม
โดยวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานของโรงเรียน เช่น สภาพบริบทของชุมชน ความหลากหลายทาง พหุวัฒนธรรม
อัตลักษณ์เชิงพ้ืนท่ี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และแนวนโยบายต่าง ๆ ตลอดจนมวลประสบการณ์ของครูและ
บุคลากรที่ได้เข้ารับการอบรม ประชุมเชิงปฏิบัติการ ตามที่องค์กรและหน่วยงานการศึกษาอ่ืนได้จัดการอบรม
สัมมนาและการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง เพอื่ นำความรู้มาใชใ้ นการจดั ทำหลักสตู รสถานศกึ ษาของโรงเรยี นในครั้งน้ี

หลักสูตรสถานศึกษาอิงสมรรถนะโรงเรยี นบ้านกองลม พทุ ธศักราช ๒๕๖๔ เป็นหลักสูตรท่ีมุ่งเน้นในด้าน
สมรรถนะ กระบวนการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) กระบวนการในกลุ่มสาระการเรียนรู้ต่าง ๆ โดยเน้น
ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑ และการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยนวัตกรรมของโรงเรียนเข้ามาจัดการเรียน
การสอนได้แก่ “คุณเพียงขวัญ เทียพริตรีภรณ์” โดยใช้แหล่งเรียนรู้ในชุมชนเป็นฐาน เพ่ือพัฒนาผู้เรียนได้
สร้างสรรค์ผลงาน นำไปสู่สมรรถนะของผู้เรยี น ในขณะเดยี วกันก็ได้มุ่งเน้นดา้ นคุณธรรม จรยิ ธรรม ดำรงความเป็น
ไทย วินัยในตนเอง และค่านิยมท่ีพึงประสงค์เพ่ือให้ผู้เรียนได้นำความรู้และประสบการณ์ใน การเรียนไปใช้ใน
การศึกษาต่อและประกอบอาชีพตามความถนัด สามารถใช้เทคโนโลยีและสารสนเทศอย่างกว้างขวาง ส่งเสริม
ทกั ษะชีวิต การคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ การใช้วิจารณญาณ วิสัยทัศน์ มีความคิดสร้างสรรค์ มีจิตสำนึกในการ
อนุรักษ์และพฒั นาสิ่งแวดลอ้ มเพอื่ การดำรงชพี ในสังคมอย่างเป็นสขุ

โรงเรียนบา้ นกองลม

หลักสตู รสถานศกึ ษาอิงสมรรถนะโรงเรียนบ้านกองลม พุทธศักราช 2564 ข

สารบัญ หน้า

เรื่อง ข
ประกาศ ค
คำนำ
สารบญั 1
สว่ นท่ี 1 ข้อมูลพ้ืนฐานโรงเรยี น 1
2
ข้อมลู ท่ัวไป 5
ประวตั โิ รงเรียนโดยยอ่ 6
สภาพชุมชนโดยรวม 7
ข้อมลู อาคารสถานท่ี 7
ขอ้ มลู ผู้เรยี น 7
ข้อมลู ครู 9
ข้อมูลดา้ นผูป้ กครองและความร่วมมอื ในชมุ ชน 10
แหลง่ เรียนรู้ ภมู ปิ ัญญาทอ้ งถิ่น 10
ชอ่ื ภูมิปญั ญา/ปราชญ์ชาวบา้ น 10
วสิ ยั ทัศน์ของโรงเรยี น 10
จดุ เน้นโรงเรียนบา้ นกองลม 11
พนั ธกจิ 11
เปา้ ประสงค์ 11
กลยุทธ์ 11
เอกลกั ษณ์ 11
อตั ลกั ษณ์
ปรชั ญา 12
คำขวญั 14
สว่ นที่ 2 ที่มาและกระบวนการพัฒนาหลกั สูตร 15
ท่มี าและความสำคัญของการพฒั นาหลักสตู ร 16
กระบวนการพัฒนาหลักสูตร
แผนผังขน้ั ตอนการพัฒนาหลักสตู ร 31
ตารางความสอดคล้องระหว่างสมรรถนะและมาตรฐาน/ตวั ช้วี ดั 32
ส่วนท่ี 3 แนวคดิ การจัดการศึกษา school concept 32
โมเดลการเดนิ ทางของคณุ เพียงขวัญบนวิถพี หวุ ัฒนธรรรม 35
ผลลพั ธท์ ีพ่ ึงประสงค์ (Desired Outcomes of Education : DOE) 36
สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน 36
คณุ ลักษณะทพ่ี ึงประสงค์ 38
กลมุ่ สาระการเรียนรู้
ขอบข่ายการเรียนรู้
นวตั กรรม คุณเพียงขวัญ เทยี พริตรีภรณ์

หลกั สตู รสถานศึกษาองิ สมรรถนะโรงเรยี นบ้านกองลม พทุ ธศกั ราช 2564 ค

สารบัญ หน้า

เรื่อง 45
สว่ นที่ 4 โครงสรา้ งหลักสตู ร 46
48
นยิ ามศัพท์เฉพาะ
โครงสรา้ งหลักสูตรระดับปฐมวยั 134
โครงสรา้ งหลักสูตรช้ันปี ระดับประถมศึกษา 144
สว่ นท่ี 5 การวดั และประเมินผล เกณฑก์ ารจบการศึกษา 145
การประเมินพัฒนาการระดับปฐมวัย 165
ลักษณะสำคญั ของการวัดและประเมินผลสมรรถนะ
การประเมินระดบั พฤติกรรมบ่งช้สี มรรถนะ 184
การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้
ภาคผนวก 203

1. พระราชบัญญตั ิพนื้ ทนี่ วัตกรรมทางการศึกษา พุทธศกั ราช ๒๕๖๒ 206
2. หนังสอื สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน เรอื่ ง ความ
207
อิสระของ สถานศกึ ษานำรอ่ งในการใชห้ ลักสตู รตามพระราชบัญญตั ิ
พ้ืนทีน่ วตั กรรม การศึกษา พ.ศ.๒๕๖๒ 209
3. ประกาศกระทรวงศึกษาธกิ าร เรอื่ ง การจดั ต้ังพน้ื ท่ีนวตั กรรม
การศกึ ษา จงั หวัดเชยี งใหม่ 213
4. ประกาศคณะกรรมการนโยบายพ้ืนท่นี วัตกรรมการศึกษา เร่อื ง 217
แต่งต้งั คณะกรรมการขบั เคลอ่ื นพ้ืนท่นี วตั กรรมการศึกษาจังหวดั 225
เชียงใหม่ 234
5. รายชอ่ื สถานศึกษานำร่องพ้นื ที่นวตั กรรมการศึกษาจงั หวัดเชยี งใหม่ 237
ปีงบประมาณ ๒๕๖2
6. คำส่ังแต่งต้งั คณะกรรมการบริหารหลกั สตู รสถานศกึ ษาอิงสมรรถนะ
โรงเรยี นบา้ นกองลม พุทธศักราช 2564
7. รายงานการประชุมเครือขา่ ยผ้ปู กครอง
8. รายงานการประชุมคณะกรรมการสถานศึกษา
9. ตัวอยา่ ง แผนการจัดการเรียนรู้ OLE
10.ตวั อย่าง เครื่องมือแบบประเมินสมรรถนะ

หลกั สูตรสถานศึกษาองิ สมรรถนะโรงเรยี นบ้านกองลม พุทธศักราช 2564 ง

สว่ นท่ี 1
ขอ้ มูลพื้นฐานของโรงเรยี น

ขอ้ มูลทั่วไปของโรงเรียน

โรงเรียนบ้านกองลม ตั้งอยู่เลขท่ี 291 หมู่ที่ 2 ตำบลเมืองแหง อำเภอเวียงแหง จังหวัดเชียงใหม่
ร หั ส ไ ป ร ษ ณี ย์ 50350 โ ท ร ศั พ ท์ 053 - 477063 โ ท ร ส า ร 053 - 477063 Website :
www.konglom.com สังกัดสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่เขต 3 สำนักงานคณะกรรมการ
การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการ เปิดสอนต้ังแต่ระดับช้ันอนุบาล 2 ถึงระดับช้ันประถมศึกษาปีที่ 6 มี
เขตพ้ืนที่บริการ 3 หมู่บ้าน ได้แก่ หมู่ที่ 1 บ้านแม่หาด , หมู่ที่ 2 บ้านกองลม และหมู่ที่ 10 บ้านกองลมใหม่
ตำบลเมอื งแหง อำเภอเวียงแหง จงั หวดั เชียงใหม่

โรงเรยี นบ้านกองลม ก่อต้ังขึ้นเมื่อวันท่ี 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2481 รวมระยะเวลาจนถึงปัจจุบัน(2564)
83 ปี มีผู้บริหารสถานศึกษามาแล้ว จำนวน 24 คน โดยปัจจุบันคือ นายเพิก พงษ์ไทย ตำแหน่ง
ผู้อำนวยการสถานศึกษา วิทยฐานะ ผู้อำนวยการชำนาญการ วุฒิการศึกษา ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (ศษ.ม.)
สาขา การบรหิ ารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการโรงเรยี นบ้าน
กองลม ตั้งแตว่ นั ที่ 1 มีนาคม พ.ศ.2562 จนถึงปัจจบุ นั

ประวตั ิโรงเรยี นโดยย่อ

โรงเรยี นบ้านกองลม ต้งั ข้นึ เมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2481 โดยทางราชการแต่งตงั้ ใหน้ ายบุญมี
ศรอี ำภา ดำรงตำแหนง่ ครใู หญ่ เปดิ ทำการสอนคร้งั แรกที่ศาลาวัดกองลม

ปี พ.ศ. 2487 ได้ย้ายอาคารเรียนมาปลูกสร้างใหม่ทางทิศตะวันออกของถนนบ้านกองลม (อยู่ทางทิศ
เหนอื ของท่ีต้งั โรงเรยี นปจั จบุ นั )

เม่ือวันท่ี 28 พฤษภาคม พ.ศ. 2495 โรงเรียนได้แผ้วถางท่ีดินโรงเรียน มีเน้ือที่ 15 ไร่ 1 งาน 0.3
ตารางวา ซงึ่ เปน็ ท่ีตั้งของโรงเรียนบ้านกองลมในปจั จุบัน

วันที่ 10 มีนาคม พ.ศ. 2499 โรงเรียนได้ก่อสร้างอาคารเรียน 1 หลัง กว้าง 7 เมตร ยาว 27 เมตร
งบประมาณค่าก่อสร้าง 11,800 บาท 75 สตางค์ ทั้งน้ีโดยอาศัยทุนทรัพย์และแรงงานของชาวบ้าน ปัจจุบัน
อาคารเรยี นดงั กล่าวไดร้ ื้อถอนออกไปแลว้

วนั ท่ี 28 มีนาคม พ.ศ. 2509 ทางคณะสงฆธ์ รรมพัฒนา ไดม้ อบทุนในการกอ่ สร้างอาคารเรียน จำนวน
เงนิ 1,000 บาท โดยทางคณะกรรมการศึกษาพรอ้ มด้วยชาวบา้ นไดร้ ว่ มมือกอ่ สรา้ งอาคารเรยี นชั่วคราว ขนาด
กว้าง 4.50 เมตร ยาว 22.50 เมตร หลงั คามุงด้วยใบตองตงึ จนแลว้ เสร็จ ใช้ชือ่ ว่า “ อาคารธรรมพฒั นา ”

ปี พ.ศ. 2516 โรงเรยี นได้งบประมาณก่อสรา้ งอาคารเรียนแบบ ป.1 ซ ขนาดกว้าง 8.50 เมตร ยาว 36
เมตร จำนวน 5 ห้องเรียน จำนวน 1 หลัง เป็นเงิน 150,000 บาท ภายหลังใช้เป็นห้องประชุมของโรงเรียน
รวมทัง้ ไดง้ บประมาณสรา้ งบา้ นพกั ครแู บบองค์การ จำนวน 1 หลัง 2 ห้องนอน เปน็ เงิน 40,000 บาท

หลกั สูตรสถานศึกษาองิ สมรรถนะโรงเรียนบ้านกองลม พุทธศกั ราช 2564 ๑

ปี พ.ศ. 2520 โรงเรยี นได้งบประมาณก่อสรา้ งอาคารเรยี นแบบ ป.1 ซ ขนาดกว้าง 8.50 เมตร ยาว 36
เมตร จำนวน 4 ห้องเรียน จำนวน 1 หลัง เป็นเงิน 240,000 บาท รวมท้ังได้งบประมาณสร้างบ้านพักครูแบบ
กรมสามญั จำนวน 1 หลัง 2 ห้องนอน เป็นเงนิ ท้ังส้นิ 55,000 บาท

ปี พ.ศ. 2527 ได้รับงบประมาณสร้างบ้านพักครูแบบ สปช.303/28 จำนวน 2 คูหา เป็นเงิน
300,000 บาท

ปี พ.ศ. 2536 ได้รับงบประมาณก่อสร้างอาคารเรียนแบบ สปช.105/29 จำนวน 1 หลัง 2 ชั้น 8
ห้องเรยี น เป็นเงิน 2,340,000 บาท

ปี พ.ศ. 2539 โรงเรยี นได้เข้าร่วมโครงการโรงเรียนนำร่องปฏิรูปการศึกษาได้งบประมาณก่อสร้างอาคาร
เรียนแบบ สปช.105/29 จำนวน 1 หลัง 2 ชั้น 4 ห้องเรียน เป็นเงิน 1,733,320 บาท รวมท้ังได้รับ
งบประมาณปรับปรุงห้องปฏบิ ัตกิ ารทางภาษาพร้อมทั้งอปุ กรณภ์ ายในหอ้ ง จำนวน 20 ทน่ี ง่ั

ปี พ.ศ. 2542 ได้รบั งบประมาณต่อเติมอาคารเรียนชน้ั ลา่ ง สปช.105/29 จำนวน 4 หอ้ งเรียน เปน็ เงิน
320,000 บาท และไดร้ ับงบประมาณกระตุน้ สภาวะเศรษฐกิจฯ (มยิ าซาวา) สร้างส้วม สปช.601/26 จำนวน 1
หลงั 2 ท่นี งั่ เปน็ เงิน 55,000 บาท (ปัจจบุ นั ห้องสว้ มรอื้ ถอนแลว้ )

ปี พ.ศ. 2559 ได้รับงบประมาณสร้างอาคารอเนกประสงค์(หอประชุมใต้ร่มพระบารมี) แบบ สปช.
205/26 เป็นเงนิ 2,112,500 บาท จำนวน 1 หลงั

ปี พ.ศ. 2559 ได้รับงบประมาณสร้างอาคารเรียน แบบ สปช.105/29 (ปรับปรุง) 2 ช้ัน 4 ห้อง ใต้ถุน
โลง่ เป็นเงิน 3,593,000 บาท จำนวน 1 หลงั

ปี พ.ศ. 2559 ได้รับงบประมาณสร้างบ้านพักครู แบบ 203/27 จำนวน 1 หลัง 3 ห้องนอน เป็นเงิน
750,000 บาท จำนวน 1 หลัง

ปี พ.ศ. 2559 ได้รับงบประมาณสร้างส้วมผู้เรียนหญิง 4 ท่ีนั่ง/49 เป็นเงิน 367,000 บาท จำนวน 1
หลัง

ปี พ.ศ. 2563 ได้รับงบประมาณซ่อมแซมอาคารเรียนและสิ่งปลูกสร้าง อ่ืน ๆ เป็นเงิน 300,000 บาท
ไดส้ รา้ งหลังคาโดมเคร่ืองเลน่ และต่อเตมิ ลานกิจกรรมหน้าเสาธง

ปี พ.ศ 2563 โรงเรียนได้เข้าร่วมเป็นสถานศึกษานำร่องพ้ืนท่ีนวัตกรรมการศึกษาจังหวัดเชียงใหม่ รุ่นท่ี
2 ตามพระราชบัญญตั พิ ื้นที่นวตั กรรมการศกึ ษา พ.ศ. 2562

สภาพชุมชนโดยรวม

1. ลักษณะของหมู่บ้านกองลม มีภูเขาล้อมรอบเป็นที่ราบระหว่างภูเขาสูง มีลำน้ำแม่แตงไหลผ่านตลอด
กลางพื้นท่ี สภาพส่วนใหญ่เป็นพ้ืนท่ีป่า ที่ยังคงความอุดมสมบูรณ์ พันธุ์ไม้ส่วนใหญ่เป็นไม้สนสองใบ สนสามใบ
สภาพดนิ เปน็ ดินทรายและมีการพงั ทลายของหนา้ ดินในปริมาณสูง สภาพภูมิอากาศหนาวเย็นในฤดูหนาว ในฤดฝู น
มีฝนตกชุกตลอดฤดู มีปริมาณน้ำฝนค่อนข้างสูง ในฤดูแล้งไม่แล้งจนเกินไป ระยะทางในการเดินทางจากจังหวัด
เชียงใหม่ ถึงอำเภอเวียงแหง มีระยะทางประมาณ 167 กิโลเมตร ประชากรในตำบลเมืองแหงมีประมาณ
16,146 คน (ขอ้ มูล ณ พฤษภาคม 2564) บรเิ วณโดยรอบโรงเรียน ไดแ้ ก่

หลกั สูตรสถานศกึ ษาอิงสมรรถนะโรงเรยี นบ้านกองลม พุทธศักราช 2564 ๒

ทิศตะวนั ออกเฉยี งเหนือ ตดิ กบั ทางสาธารณะประโยชน์
ทิศตะวนั ออกเฉียงใต้ ตดิ กับทดี่ นิ ของเอกชนของ นางเครอื วรรณ บุญวงศ์ / นายยวง แสนดวงดี /

นางอารยี ์ มาน้อย / นายคนองชัย นิลทเสน / นายรตั น์ แสงโย
ทศิ ตะวนั ตกเฉยี งเหนือ ตดิ กับถนนทางหลวงชนบท หมายเลข 1322 เส้น หลกั แตง่ – แม่จา

และทดี่ นิ ของเอกชน นายสชุ าติ กันทะ / นายจารวุ ทิ ย์ แก้วตา /
นายรัตน์ กนั ทะนันท์
ทศิ ตะวันตกเฉยี งใต้ ตดิ กบั ถนนทางหลวงชนบท หมายเลข 1322 เส้น หลกั แตง่ - แม่จา

ประชากรส่วนใหญ่เป็นชนเผ่าพื้นเมือง และมีชนกลุ่มน้อยอาศัยร่วมอยู่ด้วย เช่น ไทใหญ่ ปกากะญอ
ลีซู มูเซอ ส่วนใหญ่นับถือ ศาสนาพุทธ วัฒนธรรมประเพณีเป็นการผสมผสานกันในการเกื้อกูลระหว่างประเพณี
เพ่ือการสานต่อและสบื ทอดให้คงอยู่เปน็ มรดกทางวฒั นธรรม และประเพณีของทอ้ งถิน่

วฒั นธรรมประเพณีชนเผ่าพ้ืนเมือง เช่น การสรงน้ำพระธาตุ (พระธาตปุ ุ๊กกขู่ า้ ว, พระธาตุดอยนายาง, พระ
ธาตุป่าซาง) บุญบ้ังไฟ ดำหัวผู้สูงอายุวันสงกรานต์ ตานสลากภัตร แห่ไม้ค้ำ ประเพณีย่ีเป็ง (ลอยกระทง)
ผกู ข้อมือเดอื นเกา้

วัฒนธรรมและประเพณชี นเผา่ ไทใหญ่ เช่น ปอยส่างลอง (บวชลูกแก้ว)
วัฒนธรรมและประเพณีชนเผา่ ปกากะญอ เช่น ผกู ขอ้ มือ (กี่จึ๊)
วฒั นธรรมและประเพณีชนเผา่ ลีซู เช่น ปีใหม่ลีซู (กินวอ)

หลกั สตู รสถานศึกษาอิงสมรรถนะโรงเรยี นบ้านกองลม พทุ ธศกั ราช 2564 ๓

ตารางแสดงข้อมลู กลุ่มผู้เรยี นชาติพนั ธ์ุของโรงเรยี นบา้ นกองลม

ชน้ั ขอ้ มูลชาตพิ นั ธ์ุ

ไทย ปกากะญอ ลซี ู ไทใหญ่ มเู ซอ อน่ื ๆ รวม
17
อนบุ าล 2/1 803510 18
22
อนุบาล 2/2 5 0 2 10 1 0 21
78
อนุบาล 3/1 12 2 3 5 0 0 23
20
อนบุ าล 3/2 10 3 1 6 1 0 27
27
รวมอนบุ าล 35 5 9 26 3 0 27
27
ประถมศกึ ษาปีท่ี 1/1 14 1 4 3 1 0 38
38
ประถมศกึ ษาปที ่ี 1/2 3 4 3 8 2 0 26
25
ประถมศกึ ษาปีท่ี 2/1 10 4 1 12 0 0 278
356
ประถมศกึ ษาปที ่ี 2/2 9 2 5 10 1 0 100.00

ประถมศึกษาปีท่ี 3/1 15 7 2 2 1 0

ประถมศกึ ษาปีท่ี 3/2 14 4 3 6 0 0

ประถมศกึ ษาปที ่ี 4 20 2 4 12 0 0

ประถมศกึ ษาปที ี่ 5 15 7 9 7 0 0

ประถมศึกษาปที ี่ 6/1 12 6 6 1 1 0

ประถมศึกษาปที ี่ 6/2 10 4 4 6 1 0

รวมประถมศกึ ษา 122 41 41 67 7 0

รวมท้ังหมด 157 46 50 93 10 0

คิดเป็นรอ้ ยละ 44.10 12.92 14.05 26.12 2.81 0.00

2. ผู้ปกครองส่วนใหญ่ จบการศึกษาระดับประถมศึกษาปีที่ 4 ประถมศึกษาปีที่ 6 มัธยมศึกษาปีท่ี 3
มัธยมศึกษาปีที่ 6 และปริญญาตามลำดับ ประชากรในเขตตำบลเมืองแหง ทั้งหมดประกอบอาชีพเกษตรกรรม
เป็นหลัก ได้แก่การปลูกข้าวนา ข้าวไร่ กระเทียม พริก ข้าวโพด มันแกว แตงกวา กะหล่ำปลี พืชสวนและพืชผัก
อ่ืน ๆ เป็นอาชีพหลัก มีการเล้ียงสัตว์ เช่น วัว ควาย หมู ไก่ รองลงมาคือ รับจ้างท่ัวไป ค้าขายและรับราชการ
ตามลำดับ โดยร้อยละ 86.77 นับถือศาสนาพุทธ ร้อยละ 12.99 นับถือศาสนาครสิ ต์ และร้อยละ 0.24 นับ
ถอื ศาสนาอน่ื ๆ

ฐานะทางเศรษฐกิจ

หม่ทู ี่ ชื่อหมบู่ ้าน รายได้เฉลี่ย (บาท/คน/ป)ี

1 บา้ นแมห่ าด 53,966.28 บาท / คน / ปี

2 บ้านกองลม 62,990.32 บาท / คน / ปี

10 บ้านกองลมใหม่ 67,361.58 บาท / คน / ปี

** (ข้อมูลจากกรมพฒั นาชมุ ชน อำเภอเวียงแหง ปีงบประมาณ 2562)

หลกั สูตรสถานศึกษาองิ สมรรถนะโรงเรยี นบา้ นกองลม พทุ ธศกั ราช 2564 ๔

3. โอกาสและข้อจำกดั ของโรงเรยี น
โรงเรียนบ้านกองลม เป็นโรงเรยี นทม่ี ีชมุ ชนอาศยั อยู่ลอ้ มรอบ ซึง่ คอยดูแลชว่ ยเหลือ สอดส่องพฤตกิ รรม
ของผู้เรียนได้เป็นอย่างดี บิดามารดาส่วนใหญ่ของผู้เรียนแยกกันอยู่ ไม่มีโอกาสได้ดูแลบุตรของตนเองอย่างเต็มที่
สง่ ผลกระทบตอ่ ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนของผู้เรียนเป็นอย่างมาก เน่ืองจากผู้เรยี นอาศยั อยูก่ บั ผู้ปกครอง ซ่ึงเป็น ปู่
ยา่ ตา ยาย หรอื ญาติ ซง่ึ ไมส่ ามารถดูแลเดก็ ผเู้ รียนในเรอื่ งกิจกรรมการเรยี นได้ดีเทา่ ท่ีควร
โรงเรียนบา้ นกองลม มจี ำนวนครเู พียงพอกับจำนวนผเู้ รียน ถึงแม้ว่าจะมีวฒุ ิทางการศึกษาทีไ่ ม่ตรงกบั งาน
สอน แต่โรงเรียนสามารถทำการเปิดการเรียนการสอนได้ครบทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ใช้
รูปแบบการจัดการเรียนการสอนเป็นรายวิชา และมีกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ตามความถนัดและ
ความสนใจ

ขอ้ มูลอาคารสถานที่

โรงเรยี นบา้ นกองลม มีอาคารเรยี นและอาคารประกอบ ดังนี้
1.อาคารเรียนและอาคารประกอบ 8 หลัง ได้แก่
1.1 อาคารเรยี น จำนวน 3 หลงั ไดแ้ ก่
อาคาร 1 : อาคารเฉลิมพระเกยี รติ (หอ้ งเรียน อนบุ าล 2 – 3 และ ป.4 - ป.5)
อาคาร 2 : อาคารครบู าวงศ์ (ห้องเรยี น ป.1 - ป.3 และหอ้ งปฏบิ ัติการคอมพวิ เตอร์)
อาคาร 3 : อาคาร 70 ปีทรงครองราชย์ (หอ้ งเรยี น ป.6 ห้องนาฏศิลป์
ห้องขอบขา่ ยการเรียนรู้ หอ้ งสำนักงานโรงเรียน ห้องผู้อำนวยการ
หอ้ งประชมุ อาคาร 70 ปี และหอ้ งประชมุ เล็ก)
1.2 อาคาร 4 อาคารใตร้ ่มพระบารมี (อาคารอเนกประสงค์ ปจั จุบนั ใชเ้ ป็นหอประชมุ และโรงอาหาร)
1.3 อาคารหอ้ งสมุด 1 หลงั (ประกอบดว้ ย หอ้ งสมุด หอ้ งพยาบาล และห้องสภาผ้เู รียน)
1.4 อาคารสหกรณ์ร้านค้าโรงเรียน 1 หลงั
1.5 อาคารชั่วคราว (อาคารรัฐราษฎร์ร่วมใจ) (ประกอบด้วย ห้องดนตรี และห้องเรยี นรว่ ม)
1.6 อาคารโรงอาหาร/หอประชมุ ไม้ (อาคารไมห้ ลงั เกา่ ปจั จุบันทรุดโทรม อยู่ระหวา่ งรอทำการร้ือถอน)
2.ห้องเรียนทง้ั หมด 14 หอ้ ง แบ่งเป็น
2.1 ชั้น อนุบาล 2 – 3 จำนวน 4 หอ้ ง
2.2 ช้ัน ป.1 – 6 จำนวน 10 ห้อง 2 : 2 : 2 : 1 : 1 : 2
3.สว้ ม 5 หลัง จำนวน 22 ท่ีนงั่
4.บ้านพกั ครู จำนวน 4 หลัง

หลักสูตรสถานศกึ ษาองิ สมรรถนะโรงเรยี นบา้ นกองลม พุทธศักราช 2564 ๕

แผนผงั โรงเรียนบา้ นกองลม

ข้อมูลผู้เรียน

ขอ้ มูลผ้เู รยี น (ขอ้ มูล ณ วนั ที่ 25 มถิ ุนายน 2564 )
จำนวนผเู้ รียนจำแนกตามระดับช้ันทเี่ ปิดสอน

ระดบั ช้ันเรียน รวม จำนวน จำนวนผเู้ รยี นปกติ (คน) รวม
ท่ีเปดิ สอน รวม หอ้ ง ชาย หญิง (คน)
อนุบาล 2 23 12
อนบุ าล 3 2 23 20 35
2 46 32 43
ประถมศกึ ษาปีท่ี 1 4 24 19 78
ประถมศึกษาปที ี่ 2 2 27 27 43
ประถมศกึ ษาปีท่ี 3 2 33 21 54
ประถมศกึ ษาปที ี่ 4 2 16 22 54
ประถมศึกษาปที ่ี 5 1 23 15 38
ประถมศึกษาปที ่ี 6 1 29 22 38
2 152 126 51
รวมทง้ั หมด 10 198 158 278
14 356

หลักสตู รสถานศกึ ษาอิงสมรรถนะโรงเรียนบา้ นกองลม พทุ ธศกั ราช 2564 ๖

ขอ้ มูลครู

โรงเรียนบ้านกองลม มีคณะครูและบุคลากรทางการศึกษา ท้ังหมดจำนวน 24 คน ไดแก ผูบริหาร
สถานศึกษา 1 คน ขาราชการครู 16 คน พนักงานราชการ 1 คน ลูกจ้างประจำ 1 คน เจาหน้าท่ีธุรการ 1 คน
ครพู เ่ี ล้ยี งเด็กพิการ 1 คน ครูอตั ราจ้าง 1 คน เจ้าหน้าที่หอ้ ง กสทช. 1 คน และลูกจา้ งช่วั คราว(ชา่ งทวั่ ไป) 1 คน

ขอ้ มูลดา้ นผ้ปู กครองและความรว่ มมือในชุมชน

โรงเรียนบ้านกองลม ไดรับความร่วมมือและสนับสนุนจากผูปกครอง ชุมชน และองคกรตางๆ ท้ังภาครัฐ
และเอกชน ในดานตาง ๆ ไดรับความรูจากปราชญชาวบาน แหลงเรียนรูในชุมชน คณะกรรมการสถานศึกษาข้ัน
พื้นฐาน เครือข่ายผู้ปกครอง และผูปกครอง มีสวนรวมในกิจกรรมการเรียนการสอนของบุตรหลาน โรงเรียน ครู
ผู้เรยี น ผูปกครอง มีคุณวุฒิทางการศึกษา สามารถเรยี นรูและพฒั นารวมกันเพื่อปรับปรุงการเรียนการสอนไดเ้ ป็น
อยา่ งดี

แหล่งเรยี นรู้ ภูมิปญั ญาท้องถน่ิ

1. ห้องสมุด มีขนาด 72 ตารางเมตร จำนวนหนังสือในห้องสมุด 1,500 เล่ม การสืบค้นหนังสือและ

การยืม – คืน ใช้ระบบทศนิยมของดิวอ้ี จัดหมวด 000 – 900 จำนวนผู้เรียนที่ใช้ห้องสมุดในแต่ละปีการศึกษา

คิดค่าเฉลี่ย 95 คน/วัน คิดเป็นรอ้ ยละ 26.38 ของผู้เรยี นทงั้ หมด

2. หอ้ งปฏบิ ตั ิการ และหอ้ งเรยี นรู้อ่นื ๆ

หอ้ งศนู ย์ขอบข่ายการเรยี นรู้ จำนวน 1 ห้อง

ห้องปฏิบตั ิการคอมพวิ เตอร์ จำนวน 1 ห้อง

หอ้ ง กสทช. จำนวน 1 หอ้ ง

ห้องปฏบิ ตั กิ ารนาฏศิลป์ จำนวน 1 ห้อง

ห้องปฏิบตั ิการดนตรี จำนวน 1 ห้อง

ห้องพยาบาล จำนวน 1 ห้อง

หอ้ งสภานักเรียน จำนวน 1 หอ้ ง

หอ้ งสหกรณ์รา้ นค้า จำนวน 1 ห้อง

ห้องเรยี นร่วม จำนวน 1 หอ้ ง

ห้องพละศึกษา จำนวน 1 หอ้ ง

3. คอมพิวเตอร์ PC ใชเ้ พือ่ การเรยี นการสอน 20 เคร่อื ง

ใชเ้ พอ่ื สบื คน้ ขอ้ มูลทางอนิ เทอร์เน็ต 20 เคร่ือง

ใช้เพ่อื การบรหิ ารจัดการ 10 เครอ่ื ง

คอมพวิ เตอร์ Notebook 5 เครื่อง

หลักสูตรสถานศกึ ษาองิ สมรรถนะโรงเรียนบ้านกองลม พทุ ธศักราช 2564 ๗

4. แหลง่ เรยี นร้ภู ายในโรงเรียน สถิติการใช้
ชื่อแหล่งเรยี นรู้
ตลอดปกี ารศกึ ษา
1. ห้องสมดุ ตลอดปกี ารศกึ ษา
2. ห้องปฏบิ ัตกิ ารคอมพวิ เตอร์ ตลอดปกี ารศึกษา
3. ห้องประชมุ 70 ปี ตลอดปกี ารศกึ ษา
4. ห้องพยาบาล ตลอดปีการศกึ ษา
5. หอ้ งประชาสมั พนั ธ์ ตลอดปีการศกึ ษา
6. ห้อง กสทช. ตลอดปกี ารศึกษา
7. หอ้ งขอบข่ายการเรยี นรู้ ตลอดปกี ารศึกษา
8. ห้องนาฏศลิ ป์ ตลอดปีการศึกษา
9. ห้องดนตรี ตลอดปกี ารศึกษา
10. หอ้ งเรียนรว่ ม ตลอดปีการศึกษา
11. หอ้ งสหกรณ์รา้ นคา้ ตลอดปกี ารศึกษา
12. หอ้ งสภาผ้เู รยี น ตลอดปกี ารศึกษา
13. โรงเรอื นเกษตร

5. แหล่งเรยี นร้ภู ายนอกโรงเรยี น สถิตกิ ารใช้
ชอ่ื แหล่งเรียนรู้
ตลอดปกี ารศกึ ษา
1. อนุสาวรยี ส์ มเด็จพระนเรศวรมหาราช ตลอดปีการศกึ ษา
2. วัดพระธาตุปุ๊กกู่ขา้ ว ตลอดปีการศึกษา
3. วดั พระธาตุแสนไห ตลอดปีการศกึ ษา
4. วัดฟ้าเวียงอินทร์ ตลอดปีการศกึ ษา
5. วัดเวยี งแหง ตลอดปีการศึกษา
6. วดั หว้ ยหก ตลอดปีการศึกษา
7. สวนพฤกษศาสตรส์ มเด็จพระนางเจา้ สริ กิ ิติ์ ตลอดปีการศึกษา
8. เชียงใหม่ไนทซ์ าฟารี ตลอดปีการศึกษา
9. สวนสัตวเ์ ชียงใหม่ ตลอดปีการศึกษา
10. โรงพยาบาลเวยี งแหง ตลอดปีการศึกษา
11. วดั กองลม
ตลอดปกี ารศึกษา
12. โครงการหลวงแปกแซม ตลอดปกี ารศึกษา
13. โครงการอนั เนือ่ งมาจากพระราชดำริ ดอยดำ ตลอดปกี ารศึกษา
14. อุทยานราชพฤกษ์ ตลอดปกี ารศึกษา
15. สถานปฏิบตั ิธรรมปลีกวเิ วก ตลอดปกี ารศกึ ษา
16. ศูนยก์ ารเรียนรกู้ ารเพม่ิ ประสิทธิภาพการผลิตสนิ ค้าการเกษตร ตำบลเมอื งแหง ตลอดปกี ารศกึ ษา
17. ศนู ย์การถ่ายทอดเทคโนโลยีการพัฒนาทีด่ ิน ตลอดปีการศกึ ษา
18. ศูนย์สาธิตและจำหน่ายผลติ ภณั ฑ์ (OTOP) ของกลุ่มทอผา้ บ้านแม่หาด ตลอดปีการศึกษา
19. สวนผกั ฟารม์ ดี

หลกั สตู รสถานศกึ ษาอิงสมรรถนะโรงเรียนบ้านกองลม พทุ ธศกั ราช 2564 ๘

ชอ่ื แหล่งเรียนรู้ สถติ กิ ารใช้

20. บา้ นเหด็ ฮิมดอย ตลอดปกี ารศกึ ษา
21. พื้นท่ีทำการเกษตรในชมุ ชน เชน่ นาข้าว สวนกระเทยี ม สวนพรกิ ตลอดปีการศกึ ษา
22. ร้านขายของชำในชมุ ชน ตลอดปกี ารศึกษา
23. อทุ ยานดาราศาสตรส์ ิรินธร ตลอดปกี ารศกึ ษา

ชอื่ ภูมิปญั ญา/ปราชญช์ าวบา้ น ศูนยก์ ารเรียนร้เู ศรษฐกิจพอเพยี ง
ผ้าทอกะเหร่ียง
1. นายดวงติบ๊ สนั นถิ า การปลกู ผกั ออร์แกนคิ
2. นางศรีลา จ่อเรือง การเพาะเห็ด
3. นางจนิ ตนา พิมมาศ การทำอาหารและขนมพนื้ บ้าน
4. นางอาภร อนิ ตานิ คุณธรรม จรยิ ธรรม
5. นางพณิ จริยา คณุ ธรรม จริยธรรม
6. พระครูกนั ตศลิ านยุ ุต คณุ ธรรม จริยธรรม
7. พระอาจารย์ ดร.ฐานี ฐิตวริ ิโย
8. พระสมาน สจุ ิตโต

หลักสูตรสถานศึกษาองิ สมรรถนะโรงเรียนบ้านกองลม พุทธศกั ราช 2564 ๙

วสิ ยั ทศั น์ของโรงเรยี นบ้านกองลม
โรงเรียนบ้านกองลม มุ่งจัดการศึกษาให้ผู้เรียนเป็นคนดี มีทักษะการเรียนรู้และสมรรถนะในศตวรรษที่
21 มุ่งพัฒนานวัตกรรมและเทคโนโลยี น้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่ความม่ันคง มั่งค่ัง ยั่งยืน
โดยใช้ชมุ ชนเป็นฐาน ภายในปีการศกึ ษา 2565

จุดเน้น
“ ชุมชนเปน็ ฐาน สร้างสรรค์นวตั กรรม นำเทคโนโลยี ”

พนั ธกจิ
1. สงเสรมิ ผู้เรยี นใหเ้ ปน็ คนดี มีคุณธรรม จริยธรรมและค่านยิ มท่ีพงึ ประสงค์
2. สง่ เสรมิ ให้ผเู้ รยี นมที ักษะการเรยี นรู้และสมรรถนะในศตวรรษท่ี 21
3. ส่งเสรมิ การเรยี นรู้โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน สรา้ งสรรค์นวัตกรรม นำเทคโนโลยีสูท่ ักษะในศตวรรษที่ ๒๑
4. สง่ เสรมิ ให้ครูและบคุ ลากรทางการศึกษามที ักษะการจดั การเรยี นรู้ในศตวรรษที่ ๒๑
5. พัฒนาระบบบริหารจัดการโดยยึดหลกั ธรรมาภบิ าลและหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
6. พฒั นาระบบบรหิ ารจดั การโดยใชน้ วัตกรรมและเทคโนโลยีเพ่อื มุง่ สู่องคก์ รที่มีคุณภาพ

เป้าประสงค์
1. ผเู้ รียนทกุ คนเปน็ คนดี มีคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมท่พี งึ ประสงค์
2. ผู้เรียนมที ักษะการเรียนร้แู ละสมรรถนะในศตวรรษที่ 21
3. มกี ารจัดการเรยี นรูโ้ ดยใชช้ มุ ชนเป็นฐาน สรา้ งสรรคน์ วตั กรรม นำเทคโนโลยีสู่ทกั ษะในศตวรรษท่ี ๒๑
4. ครูและบคุ ลากรทางการศึกษามีทกั ษะการจัดการเรยี นรู้ในศตวรรษที่ ๒๑
5. โรงเรียนมีระบบบรหิ ารจดั การโดยยดึ หลกั ธรรมาภิบาลและหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
6. โรงเรียนมีระบบบริหารจัดการโดยใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยเี พือ่ มุง่ สู่องค์กรท่มี ีคุณภาพ

หลักสูตรสถานศึกษาอิงสมรรถนะโรงเรียนบ้านกองลม พุทธศกั ราช 2564 ๑๐

กลยุทธ์
กลยุทธที่ 1 สนบั สนนุ การจัดการศึกษาเพอื่ ความมั่นคง
กลยทุ ธที่ 2 พัฒนาคุณภาพผูเรียนทกุ ระดบั ใหมสี มรรถนะและขีดความสามารถในการแข่งขัน
กลยทุ ธท่ี 3 สงเสริมและสร้างโอกาสการจดั การศึกษา โดยใช้ชมุ ชนเปน็ ฐาน สรา้ งสรรคน์ วัตกรรมและนำ
เทคโนโลยเี พือ่ พฒั นาคุณภาพชีวิต
กลยุทธที่ 4 พัฒนาและเสรมิ สรา้ งศักยภาพครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา
กลยุทธที่ 5 พฒั นาระบบบริหารจดั การ สร้างนวตั กรรมและเทคโนโลยสี ู่องคก์ รที่มคี ุณภาพ

เอกลักษณ์
“ ชมพอู ่อนหวาน ”

อตั ลักษณ์
“ ย้ิมหวาน มารยาทดี มีคุณธรรม ”

ปรัชญา
“ สิกขา ชวี ติ ตํ โรเจติ : การศึกษายังชวี ิตให้รงุ่ โรจน์ ”

คำขวัญ

“ การศึกษาเด่น เนน้ วนิ ยั ใฝค่ ณุ ธรรม ”

หลักสูตรสถานศึกษาอิงสมรรถนะโรงเรียนบา้ นกองลม พทุ ธศักราช 2564 ๑๑

สว่ นท่ี 2
ทีม่ าและกระบวนการพฒั นาหลักสูตรสถานศึกษาองิ สมรรถนะ

ที่มาและความสำคัญของการพัฒนาหลกั สตู ร

ตลอดระยะเวลาท่ีผ่านมา การศึกษาของประเทศไทยน้ัน ต้องเผชิญกับวิกฤตทางการศึกษาหลายอย่าง ไม่
ว่าจะเป็นเร่ืองของการจัดการศึกษาท่ีไม่ท่ัวถึงและไม่สอดคล้องกับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ มีจำนวนผู้ เรียนท่ี
ตกหล่นจากระบบการศึกษาค่อนข้างมาก ใช้วิธีการจัดการศึกษาท่ีล้าสมัย รวมถึงมีการตื่นตัวของกระแสการ
เปลี่ยนแปลงในศตวรรษท่ี 21 สิ่งเหล่าน้ีส่งผลกระทบต่อระบบการศึกษาของประเทศไทย ทำให้เกิดปัญหาความ
ด้อยคณุ ภาพของผเู้ รียนเมอ่ื เทยี บกบั การจัดการศึกษาของประเทศช้ันนำอ่ืน ๆ

ปัญหาของผู้เรยี นที่เห็นได้อย่างชัดเจนคือ ปัญหาในเร่ืองของการประยุกต์ใช้ เพราะระบบการศกึ ษาของ
โรงเรียนยังคงยึดติดกับวิธีการสอนแบบเดิม ๆ ทำให้ผู้เรียนถูกปลูกฝังด้วยการเรียนรู้แบบท่องจำเพื่อนำไปสอบ
มากกว่าที่จะเรียนรู้เพื่อให้เกิดการคิดวิเคราะห์และสังเคราะห์ และมุ่งสร้างองค์ความรู้ให้เกิดข้ึนได้ด้วยตัวเอง ซึ่ง
สิ่งเหล่านีส้ ่งผลให้ผเู้ รียนส่วนใหญไ่ ม่สามารถนำความรู้ ความเขา้ ใจ ทกั ษะและคุณลักษณะต่าง ๆ ที่ตนเรยี นรู้มาไป
ประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์กับตัวเองและสังคมได้ กล่าวคือ เด็กไทยน้ันมีสมรรถนะท่ีต่ำกว่าที่ควรจะเป็น อันเป็น
เรอ่ื งทเ่ี สยี เปรียบอยา่ งมากในการแข่งขันกับนานาประเทศ

จากสาเหตดุ งั กลา่ ว ทำให้ทางภาครฐั จำเป็นต้องปรับเปล่ยี นหลักสตู รการเรียนรู้เสียใหม่ โดยเปลีย่ นจดุ เน้น
จากท่ีเคยเป็นหลักสูตรท่ีเน้นเน้ือหา (content - based) คือ เน้นเน้ือหาวิชา มีมาตรฐานและตัวช้ีวัดจำนวนมาก
เป็นหลักสตู รฐานสมรรถนะ (competency - based) คอื มงุ่ พัฒนาพฤติกรรมท่ผี เู้ รียนโดยตรง ยึดความสามารถท่ี
ผู้เรียนพึงปฏิบัติได้เป็นหลัก เพ่ือเป็นหลักประกันว่า ผู้เรียนจะมีทักษะและความสามารถในด้านต่าง ๆ อย่าง
เหมาะสม เมอ่ื ผ่านการเรียนรู้

แผนปฏิรูปประเทศด้านการศึกษาได้กำหนดให้ หลักสูตรฐานสมรรถนะนั้นเป็นแนวทางในการปฏิรูป
หลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน เพื่อมุ่งให้เกิดการตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21 โดยมี
เป้าหมายให้ผู้เรยี นเกิดสมรรถนะหลกั ทจ่ี ำเป็นสำหรับการทำงาน การแก้ปัญหา และการดำรงชวี ิต

พระราชบัญญัติพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา พ.ศ. 2562 มาตรา 25 ได้ระบุว่า หลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาข้ันพื้นฐานที่ปรับนี้จะต้องครอบคลุมสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และ
มาตรฐานการเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานตามกฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติ โดยต้อง
จัดการเรียนรู้รายวิชาให้หลากหลายและสอดคล้องกับความสามารถ ความถนัด หรือความสนใจของผู้เรียน และ
สภาพภูมิสังคม ในมาตรา 25 วรรคสอง ระบุว่า ในกรณีที่โรงเรียนนำร่องต้องปรับปรุงหลักสูตรเพิ่มเติมจาก
หลักสูตรตามมาตรา 20 (4) ต้องขอความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานและคณะกรรมการ
ขับเคล่ือนฯ นั่นแสดงว่าโรงเรียนนำร่อง สามารถใช้หลักสูตรท่ีมีการปรับและคณะกรรมการขับเคล่ือนฯ ให้ความ
เห็นชอบแล้วไปใช้ได้ เม่ือหลักสูตรไดร้ ับการปรบั ใช้แลว้ ก็ทำให้โรงเรียนสามารถจัดซ้ือจัดหาส่อื การเรยี นรู้ได้อย่าง
อิสระตามมาตรา 35 ได้ พื้นท่ีที่ได้เริ่มต้นด้วยการจัดทำหลักสูตรของโรงเรียนนำร่องสามารถนำกรอบหลักสูตร
ของพ้ืนท่ีไปใช้ในการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาได้อย่างราบร่ืน คล่องตัว มีการขับเคล่ือนอย่างเป็นระบบสู่ครแู ละ
ผู้เรียน

หลักสตู รสถานศึกษาอิงสมรรถนะโรงเรียนบ้านกองลม พุทธศกั ราช 2564 ๑๒

หลักสูตรอิงสมรรถนะนี้ นับเป็นหลักสูตรที่ถูกคิดค้นขึ้นมาเพื่อแก้ไขปัญหาด้านเรียนรู้ของผู้เรียน และ
ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีสมรรถนะท่ีเหมาะสมกับโลกในยุคสมัยใหม่ที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและมีการแข่งขัน
กันสูงขึ้น ซึ่งถ้าหลักสูตรได้ถูกประยุกต์และนำมาใช้ในระบบการศึกษาได้อย่างเหมาะสม จะทำให้ผู้เรียนสามาร ถ
พัฒนาตัวเองให้มีสมรรถนะที่เหมาะสมต่อการพัฒนาตัวเองและประเทศชาติได้ ประกอบด้วยสถานการณ์ของโลก
เหตุการณ์หลายอย่างท่ีเกิดข้ึนในสังคมสะท้อนให้เห็นถึง ผลกระทบจากการเปล่ียนแปลง การถกู ทำลายหรือทำให้
หยุดชะงัก (Disrupted) ทำให้เกิดช่องว่างของความเหล่ือมล้ำทางสังคม ทางเศรษฐกิจในมิติต่างๆ มากข้ึน รวมไป
ถงึ สภาพแวดล้อม วัฒนธรรมพ้ืนถ่ินถกู ทำลาย การหลั่งไหลของผู้คนเข้ามาขายแรงงานในเมืองใหญ่และไม่ประสบ
ความสำเร็จ กลับกลายเป็นคนไร้คุณภาพ คำถามสำคัญของโรงเรียนในการจัดการศึกษาคือ ทำอย่างไรถึงจะ
สามารถพัฒนากลมุ่ คนเหล่าน้ี ให้มีศักยภาพในการใชช้ ีวติ ของตัวเองได้อย่างมสี ุขภาวะ ในสภาพการณ์ของสังคมท่ี
มีความผันผวนเปล่ียนแปลงสูง คำถามสำคัญท่ีจะนำไปสู่ความคำนึงในการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา เช่น
หลักสูตรการศึกษาอย่างไรที่จะรับมือกับบริบทโลกแห่งความไม่แน่นอนหรือโลกแห่งความปรวนแปรอย่างน้ีได้
หลักสูตรอย่างไรท่ีจะรับมือกับบริบทของสังคมไทยท่ีจะก้าวสู่สังคมผู้สูงอายุ ซึ่งจะมีผู้เรียนท่ีน้อยลง แต่ให้ได้
คุณภาพแบบใหม่ ท้ังยังคำนึงถึงการพัฒนาคนในฐานะปัจเจกและความเป็นสังคมไปสู่ความมีสุขภาวะท้ังทางกาย
ใจ สังคม และปัญญา หลักสูตรอย่างไรท่ีควรคำนึงถึงการสร้างบริบทโลกแบบใหม่ ให้สมดุลระหว่างความเป็น
ท้องถิ่น ความเป็นวัฒนธรรมย่อย กับความเป็นสังคมโลก ความเป็นพหุวัฒนธรรม หรือความสมดุลระหว่างความ
เปน็ สังคมเมืองกบั สังคมชนบท

ดังนนั้ ความสำคัญของการพัฒนาหลกั สูตรอิงสมรรถนะ เป็นหลักสตู รที่ยึดผเู้ รียนเป็นศูนยก์ ลาง (Learner
Centric) โดยคำนึงถึงความสนใจ ความถนัด ความพร้อม ความสามารถ ปัญหาและความต้องการของผู้เรียน
รวมท้ังความเหมาะสมกับบริบท วิถีชีวิต ภมู ิสังคม ชาติพนั ธ์ุ และวัฒนธรรม เชื่อมโยงกบั ชีวิตจริง (real life) ของ
ผูเ้ รียน โดยมงุ่ พฒั นาความสามารถในการนำความรู้ ทักษะ เจตคติและคุณลกั ษณะตา่ ง ๆ ทไี่ ดเ้ รียนรู้ ไปใช้ให้เป็น
ประโยชน์ในชีวิตจริง มิได้มุ่งเร่ืองความรู้หรือเนื้อหาวิชาที่อาจมีการเปล่ียนแปลงได้ตามกาลเวลา ยึดสมรรถนะที่
จำเป็นต่อการใช้ชีวิตเป็นหลักในการจดั การศึกษา โดยมีการกำหนดเกณฑ์ความสามารถที่ต้องการให้ผู้เรียนปฏิบัติ
ได้ในแต่ละระดับการศึกษา ความสามารถจะถูกกำหนดให้มีความต่อเน่ืองกัน โดยใช้ความสามารถที่มีในแต่ละ
ระดับเป็นฐานสำหรับเพิ่มพูนความสามารถในระดับต่อไป เป็นหลักสูตรฐานปฏิบัติ/ทักษะ (Action/Skill-
Oriented) ไม่ใช่หลักสูตรฐานความรู้ (Knowledge-Oriented) เป็นหลักสูตรท่ีมุ่งสู่ การทำได้ (Able To Do)
ไม่ใช่หลักสูตรที่มุ่งสู่การรู้ (Able To Know) เป็นหลักสูตรที่ให้ความสำคัญกับพฤติกรรม การกระทำ การปฏิบัติ
ของผู้เรียน มใิ ช่เพียงการมีความรู้เท่านั้น แตต่ ้องสามารถประยกุ ตใ์ ช้ความรู้ ทกั ษะ เจตคติ และคุณลกั ษณะต่าง ๆ
ในการปฏิบัติตนและปฏิบัติงานต่าง ๆ ได้ เป็นหลักสูตรบูรณาการท่ีส่งเส ริมการใช้ความรู้ข้ามศาสตร์
(Multidisciplinary) ก่อให้เกิดการเรียนรู้แบบองค์รวม (Holistic) และเป็นหลักสูตรที่ยืดหยุ่น สามารถ
ปรบั เปลี่ยนสมรรถนะได้ ตามความต้องการของผ้เู รยี น ครู สงั คม และโลก (Adaptive to the changing needs)

หลักสตู รสถานศึกษาองิ สมรรถนะโรงเรยี นบา้ นกองลม พทุ ธศักราช 2564 ๑๓

กระบวนการพฒั นาหลักสตู ร

การจดั ทำหลกั สตู รสถานศึกษา
การจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา เป็นกระบวนการท่ีต้องอาศัยการมีส่วนร่วมของฝ่ายต่าง ๆ อาทิ ฝ่าย

บริหาร ครูผสู้ อน ผู้ปกครอง ชมุ ชน โดยทว่ั ไปนนั้ มกี ารดำเนนิ การใน ๒ สว่ น คอื
๑. การดำเนินการระดับสถานศึกษา : ดำเนินการโดยองค์คณะบุคคลในระดับสถานศึกษา ได้แก่

คณะกรรมการสถานศึกษา คณะกรรมการบริหารหลักสตู รและงานวิชาการเพือ่ พิจารณาจดั ทำหลักสูตรสถานศึกษา
รวมทั้งแนวปฏิบัติต่าง ๆ ท่ีเกี่ยวข้อง เช่น ระเบียบการวัดและประเมินผลการเรียน รวมท้ังพิจารณาเก่ียวกับ
เอกสารบนั ทกึ และรายงานผลการเรียน ซง่ึ ตอ้ งใชร้ ว่ มกนั ในสถานศึกษานนั้ ๆ

๒. การดำเนินการระดับช้ันเรียน : ดำเนินการโดยครูผู้สอนแต่ละคนในการออกแบบ ซึ่งอาจมีความ
แตกต่างกัน ดังน้ันจึงมีความเป็นไปได้ท่ีครูผู้สอนรายวิชาเดียวกัน ระดับชั้นเดียวกันอาจพิจารณาออกแบบหน่วย
การเรียนรทู้ ่ีแตกต่างกนั ได้ เพราะผเู้ รยี นท่ีครแู ต่ละคนรับผิดชอบนนั้ อาจมคี วามต้องการและความสามารถแตกตา่ ง
กัน ดังน้ัน กิจกรรมการเรียนรู้ หรืองานท่ีมอบหมายให้ผู้เรียนปฏิบัติ ส่ือการสอน หรือวิธีการวัดและประเมินผล
อาจต้องปรับให้เหมาะสมกบั ผู้เรียนแต่ละกลมุ่
ขนั้ ตอนการจัดทำหลักสตู รสถานศึกษา

การจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา โดยทั่วไปนั้นดำเนินการโดยคณะกรรมการหรือคณะทำงาน ซ่ึงมีข้ันตอน
การดำเนนิ การโดยสังเขป ดังนี้

1. แต่งต้ังคณะกรรมการ/คณะทำงาน : คณะกรรมการบริหารหลักสูตรและงานวิชาการของสถานศึกษา
ประกอบด้วย ผู้บรหิ ารสถานศึกษา และครูผ้สู อน

2. วิเคราะห์ข้อมูลจากแหล่งต่างๆ : มีแหล่งข้อมูลสำคัญมากมายท่ีเป็นประโยชน์ต่อการจัดทำหลักสูตร
สถานศึกษา อาทิ หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ กรอบหลักสตู รระดับท้องถน่ิ ข้อมูล
จากการวิเคราะห์ สภาพปัญหา จุดเน้น ความต้องการของชุมชนและของสถานศึกษาแต่ละแห่ง ตลอดจนความ
ตอ้ งการของผู้เรียน

3. จัดทำหลักสูตรสถานศึกษา : พิจารณาจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา ซ่ึงมีองค์ประกอบสำคัญ ได้แก่
วิสัยทัศน์ สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา (เวลาเรียน
รายวิชาพื้นฐานและเพิ่มเติม กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน) คำอธิบายรายวิชา แนวการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน และ
เกณฑ์การจบการศึกษา พร้อมกันนี้สถานศึกษาจะต้องจัดทำเอกสารระเบียบการวัดและประเมินผล เพื่อใช้ควบคู่
กบั หลกั สูตรสถานศึกษา

4. ตรวจพิจารณาคุณภาพหลักสูตร : เมื่อจัดทำร่างหลักสูตรสถานศึกษาเสร็จเรียบร้อยแล้วก่อนจะ
ดำเนินการในขั้นตอนต่อไป ในการเสนอคณะกรรมการสถานศึกษาควรจะมีการพิจารณาคุณภาพ ความถูกต้อง
เหมาะสม โดยสามารถทำได้หลายวิธี เช่น การให้ผู้เช่ียวชาญตรวจสอบหรือการรับฟังความคิดเห็นผู้เก่ียวข้อง เพ่ือ
นำขอ้ มลู ทไ่ี ดม้ าพจิ ารณาปรบั ปรงุ แก้ไขใหส้ มบูรณ์ยิง่ ขน้ึ

5. คณะกรรมการสถานศึกษาพิจารณาให้ความเห็นชอบ : นำเสนอร่างเอกสารหลักสูตรสถานศึกษา และ
ระเบียบการวัดและประเมินผลต่อคณะกรรมการสถานศึกษา เพ่ือพิจารณาให้ความเห็นชอบ หากมีข้อเสนอแนะ
จากคณะกรรมการก็นำข้อเสนอแนะดังกล่าวไปพิจารณาปรับปรุงร่างหลักสูตรสถานศึกษาให้มีความเหมาะสม
ชัดเจนยิ่งขึ้นก่อนการอนุมัติใช้หลักสูตร เม่ือได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษาแล้ว ให้จัดทำเป็น

หลกั สูตรสถานศึกษาอิงสมรรถนะโรงเรียนบา้ นกองลม พุทธศักราช 2564 ๑๔

ประกาศหรอื คำส่ังเร่ืองให้ใช้หลักสตู รสถานศึกษาโดยผู้บริหารสถานศกึ ษาและประธานกรรมการสถานศึกษาเป็นผู้
ลงนาม หรือ ผู้บรหิ ารสถานศึกษาเป็นผลู้ งนามเพียงผ้เู ดียว

6. ใช้หลักสูตรสถานศึกษา : ครูผู้สอนนำหลักสูตรสถานศึกษาไปกำหนดโครงสรา้ งรายวิชา และออกแบบ
หนว่ ยการเรียนรเู้ พื่อพฒั นาผูเ้ รยี นให้มคี ณุ ภาพตามเป้าหมาย

7. วิจัยและติดตามผลการใช้หลักสูตร : ดำเนินการติดตามผลการใช้หลักสูตรอย่างต่อเน่ืองเป็นระยะ ๆ
เพือ่ นำผลจากการตดิ ตามมาใชเ้ ปน็ ข้อมลู พิจารณาปรับปรงุ หลกั สตู รให้มีคณุ ภาพ และมีความเหมาะสมย่งิ ขึ้น

แผนผังข้ันตอนการพัฒนาหลักสูตร

ศึกษาข้อมลู ที่เกยี่ วขอ้ ง หลกั สตู รแกนกลาง

หลกั สตู รสถานศึกษา กรอบหลกั สตู รระดบั ท้องถ่นิ
กำหนดวิสยั ทศั น/์ สมรรถนะสำคัญ/คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์
บรบิ ทความตอ้ งการของ
สถานศึกษา

กำหนดโครงสรา้ งหลกั สตู รสถานศกึ ษา

รายวชิ าพืน้ ฐาน/เพม่ิ เตมิ กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียน เวลาเรียน

คำอธบิ ายรายวชิ า เกณฑก์ ารวัดประเมนิ ผลและจบการศกึ ษา

ตรวจพจิ ารณาคุณภาพหลกั สูตร ปรับ
ปรุงพฒั นา
นำเสนอคณะกรรมการสถานศึกษา

ใช้หลกั สตู รสถานศกึ ษา (ระดบั ชัน้ เรยี น)
จัดทำโครงสรา้ งรายวิชา

ออกแบบหน่วยการเรียนร้/ู จดั การเรยี นการสอน

วิจัย ติดตามประเมนิ ผลการใช้หลกั สูตร

หลักสูตรสถานศกึ ษาองิ สมรรถนะโรงเรยี นบ้านกองลม พุทธศักราช 2564 ๑๕

ตารางความสอดคล้องระหว่างสมรรถนะและมาตรฐาน/ตวั ชวี้ ัด

ความสอดคล้องระหว่างสมรรถนะแล
ระดบั ป

สมรรถนะ พัฒนาการด้าน มา
ร่างกาย
1.การจดั การตนเอง พฒั นาการดา้ น
มฐ.1 ตบช.1.1/1.2/1.3 อารมณ์ จิตใจ
2.การสื่อสาร มฐ.2 ตบช.2.1/2.2
3.การรวมพลังทำงาน มฐ.3 ตบช.3.1/3.2
เป็นทีม มฐ.1 ตบช.1.3 มฐ.4 ตบช.4.1
4.การคดิ ขน้ั สูง มฐ.5 ตบช.5.1/5.2/5.3/5
มฐ.3 ตบช.3.1/3.2
มฐ.5 ตบช.5.1/5.2/5.4
มฐ.3 ตบช.3.1/3.2
มฐ.5 ตบช.5.1/5.2/5.3/5

5.การเป็นพลเมือง มฐ.3 ตบช.3.2
ทเี่ ข้มแขง็ มฐ.5 ตบช.5.1/5.2/5.3/

ละมาตรฐานคณุ ลักษณะที่พงึ ประสงค์ พัฒนาการด้าน
ปฐมวยั สตปิ ัญญา

าตรฐานคุณลกั ษณะที่พงึ ประสงค์ มฐ.9 ตบช.9.1/9.2
มฐ.11 ตบช.11.1/11.2
น พฒั นาการด้าน มฐ.9 ตบช.9.1
จ สังคม มฐ.10 ตบช.10.1/10.2/10.3
มฐ.9 ตบช.9.1/9.2
มฐ.6 ตบช.6.1/6.2 มฐ.10 ตบช.10.1/10.2/10.3
มฐ.7 ตบช.7.2 มฐ.11 ตบช.11.1 /11.2
5.4 มฐ.8 ตบช.8.2/8.3 มฐ.12 ตบช.12.1/12.2
มฐ.8 ตบช.8.1/8.2/8.3 มฐ.9 ตบช.9.1/9.2
มฐ.10 ตบช.10.3
มฐ.7 ตบช.7.1/7.2 มฐ.11 ตบช.11.1
5.4 มฐ.8 ตบช.8.1/8.2/8.3 มฐ.12 ตบช.12.1/12.2

มฐ.6 ตบช.6.2/6.3
/5.4 มฐ.7 ตบช.7.1/7.2

มฐ.8 ตบช.8.1/8.2/8.3

หลกั สูตรสถานศกึ ษาองิ สมรรถนะโรงเรยี นบ้านกองลม พุทธศักราช 2564 ๑๖

ความสอดคล้องระหวา่ งสมร
ชั้นประถมศ

กลุ่มวิชาบูรณาการ มาตรฐาน/ต

สมรรถนะ สังคมศึกษา การงานอาชพี ศลิ ปะ สุขศกึ ษ
ศาสนา และ พลศกึ
1.การจัดการ วัฒนธรรม ง 1.1 ป.1/1 ศ 1.1 ป.1/3
ตนเอง ป.1/2 ป.1/3 พ 4.1 ป.1
ส 4.2 ป.1/1 ง 2.1 ป.1/2
2.การส่ือสาร
ส 1.1 ป.1/2 ศ 1.1 ป.1/1 พ 4.1 ป.1
ส 2.1 ป.1/1 ป.1/2
ป.1/2 ศ 2.1 ป.1/3
ส 4.3 ป.1/2 ศ 3.1 ป.1/3
ป.1/3 ศ 3.2 ป.1/1

3.การรวมพลัง ศ 2.1 ป.1/4 พ 3.1 ป.
ทำงานเปน็ ทีม พ 3.2 ป.
ป.1/2

รถนะและมาตรฐาน/ตวั ช้ีวัด
ศึกษาปที ่ี 1

ตวั ช้ีวดั กลุ่มสาระการเรยี นรู้

กล่มุ วิชาหลัก

ษาและ ภาษาไทย คณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาต่าง
กษา และเทคโนโลยี ประเทศ

1/3

1/2 ท 1.1 ป.1/1 ว 1.1 ป 1/1 ต 3.1 ป.1/1
ป.1/2 ป.1/3 ป 1/2
ป.1/4 ป.1/5
ท 2.1 ป.1/1
ป.1/2
ท 3.1 ป.1/1
ป.1/2 ป.1/3

.1/2
.1/1

หลักสตู รสถานศึกษาองิ สมรรถนะโรงเรียนบ้านกองลม พทุ ธศกั ราช 2564 ๑๗

สมรรถนะ สังคมศกึ ษา กลมุ่ วิชาบรู ณาการ มาตรฐาน/ต
4.การคดิ ขั้นสงู ศาสนา และ
วัฒนธรรม การงานอาชพี ศลิ ปะ สขุ ศึกษ
พลศกึ
ส 3.1 ป.1/1 ศ 1.1 ป.1/4
ป.1/2 ป.1/3 ป.1/5
ส 5.1 ป.1/1
ป.1/4
ส 5.2 ป.1/1
ป.1/2

5.การเป็น ส 2.2 ป.1/2
พลเมืองที่ ป.1/3
เข้มแข็ง ส 5.2 ป.1/3

ตวั ช้ีวดั กลุ่มสาระการเรยี นรู้

กลมุ่ วิชาหลกั

ษาและ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาตา่ ง
กษา และเทคโนโลยี ประเทศ

ค 1.1 ป.1/4 ว 1.2 ป 1/1
ป.1/5 ว 4.2 ป 1/1
ค 2.1 ป.1/1 ว 4.2 ป 1/2

หลกั สูตรสถานศึกษาอิงสมรรถนะโรงเรียนบ้านกองลม พุทธศักราช 2564 ๑๘

ความสอดคล้องระหวา่ งสมร
ชน้ั ประถมศ

มาตรฐาน/ต

กลุ่มวิชาบรู ณาการ

สมรรถนะ สังคมศึกษา การงานอาชีพ ศิลปะ สขุ ศกึ ษ
ศาสนา และ พลศกึ
1.การจดั การ วฒั นธรรม
ตนเอง ง ๑.๑ ป.๒/๑ ศ ๓.๑ ป.๒/๑ พ ๒.๑ ป.
ส ๑.๑ ป.๒/๕ ป.๒/๒ ป.๒/๓ ป.๒/๒ ป.๒/๓ พ ๔.๑ ป.
ส ๒.๑ ป.๒/๑ ป.๒/๔ พ ๕.๑ ป.
ป.๒/๒ ศ ๓.๒ ป.๒/๓

2.การสอื่ สาร ส ๒.๒ ป.๒/๑ ศ ๑.๑ ป.๒/๑ พ ๔.๑ ป.
ส ๓.๑ ป.๒/๒ ป.๒/๖ พ ๕.๑ ป.
ส ๔.๓ ป.๒/๒ ศ ๒.๑ ป.๒/๔
ส ๕.๑ ป.๒/๑ ป.๒/๕
ส ๕.๒ ป.๒/๓ ศ ๒.๒ ป.๒/๑
ศ ๓.๒ ป.๒/๑

3.การรวมพลงั ส ๑.๒ ป.๒/๒ ศ ๓.๑ ป.๒/๔
ทำงานเปน็ ทีม ส ๒.๑ ป.๒/๓

ป.๒/๔

รถนะและมาตรฐาน/ตัวชี้วัด
ศึกษาปที ่ี ๒

ตวั ช้ีวดั กลุ่มสาระการเรียนรู้

กลุ่มวิชาหลกั

ษาและ ภาษาไทย คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ ภาษาต่าง
กษา และเทคโนโลยี ประเทศ

.๒/๑ ท ๑.๑ ป.๒/๕
.๒/๕ ท ๒.๑ ป.๒/๔
.๒/๑ ท ๓.๑ ป.๒/๗

.๒/๔ ท ๑.๑ ป.๒/๑ ต ๑.๑ ป.๒/๑
.๒/๔ ป.๒/๔ ป.๒/๕ ป.๒/๓
ต.๑.๒ ป.๒/๑
ท ๒.๑ ป.๒/๑ ต ๑.๓ ป.๒/๑
ป.๒/๒ ป.๒/๓ ต ๓.๑ ป.๒/๑
ท ๓.๑ ป.๒/๒ ต ๔.๑ ป.๒/๑
ป.๒/๓ ป.๒/๕ ต ๔.๒ ป.๒/๑
ท ๔.๑ ป.๒/๕
ท ๕.๑ ป.๒/๒

หลกั สูตรสถานศึกษาอิงสมรรถนะโรงเรยี นบ้านกองลม พทุ ธศกั ราช 2564 ๑๙

มาตรฐาน/ต

กลุ่มวิชาบูรณาการ

สมรรถนะ สงั คมศึกษา การงานอาชพี ศลิ ปะ สุขศึกษ
4.การคดิ ขั้นสูง ศาสนา และ พลศกึ
วัฒนธรรม
ง ๒.๑ ป.๒/๑ ศ ๑.๒ ป.๒/๒ พ ๔.๑ ป.
ส ๓.๑ ป.๒/๑ ป.๒/๔ ศ ๓.๒ ป.๒/๒ ป.๒/๒
ส ๔.๑ ป.๒/๑ ง ๓.๑ ป.๒/๑
ป.๒/๒
ส ๔.๒ ป.๒/๑
ป.๒/๒
ส ๕.๑ ป.๒/๒

5.การเปน็ ส ๒.๑ ป.๒/๑ พ ๒.๑ ป.
พลเมอื งท่ี
เขม้ แข็ง

ตวั ชี้วัด กลุ่มสาระการเรยี นรู้

กลมุ่ วิชาหลกั

ษาและ ภาษาไทย คณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาตา่ ง
กษา และเทคโนโลยี ประเทศ

.๒/๑ ท ๓.๑ ป.๒/๑ ค ๒.๑ ป.๒/๑ ว ๑.๒ ป.๒/๑
ป.๒/๔ ป.๒/๒ ป.๒/๓ ป.๒/๒
ท ๕.๑ ป.๒/๑ ป.๒/๖
ค ๒.๒ ป.๒/๑

.๒/๑

หลกั สตู รสถานศึกษาองิ สมรรถนะโรงเรยี นบ้านกองลม พุทธศกั ราช 2564 ๒๐

ความสอดคล้องระหว่างสมร
ชั้นประถมศ

สมรรถนะ สังคมศึกษา กลมุ่ วิชาบรู ณาการ มาตรฐาน/ต
ศาสนา และ การงานอาชีพ ศลิ ปะ
1.การจัดการ วฒั นธรรม ง ๑.๑ ป.๓/๒ สขุ ศึกษ
ตนเอง พลศึก

พ ๑.๑ ป.
พ ๑.๑ ป.
พ ๓.๑ ป.
พ ๓.๒ ป.

2.การสื่อสาร ส ๒.๑ ป.๓/๑ ง ๑.๑ ป.๓/๓ ศ ๑.๑ ป.๓/๖ พ ๒.๑ ป.
ส ๔.๑ ป.๓/๑ ศ ๑.๑ ป.๓/๑๐
ส ๔.๒ ป.๓/๑ ศ ๑.๒ ป.๓/๑
ส ๕.๒ ป.๓/๕ ศ ๑.๒ ป.๓/๒

3.การรวมพลงั ส ๓.๑ ป.๓/๓ ง ๑.๑ ป.๓/๓ พ ๒.๑ ป.
ทำงานเป็นทีม ส ๔.๑ ป.๓/๑
ส ๔.๒ ป.๓/๑
ส ๔.๓ ป.๓/๑
ส ๕.๑ ป.๓/๒
ส ๕.๒ ป.๓/๖

รถนะและมาตรฐาน/ตัวช้ีวดั
ศกึ ษาปที ่ี ๓

ตัวช้ีวดั กลุ่มสาระการเรียนรู้

กลุ่มวิชาหลัก

ษาและ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาต่าง
กษา และเทคโนโลยี ประเทศ

.๓/๓
.๓/๑
.๓/๑
.๓/๒

.๓/๑ ท ๓.๑ ป.๓/๑

.๓/๑ ค ๑.๑ ป.๓/๘
ค ๒.๑ ป.๓/๓
ค ๒.๑ ป.๓/๗
ค ๒.๑ ป.๓/๑๑

หลกั สูตรสถานศึกษาองิ สมรรถนะโรงเรยี นบา้ นกองลม พุทธศักราช 2564 ๒๑

สมรรถนะ สังคมศกึ ษา กลุ่มวิชาบรู ณาการ มาตรฐาน/ต
4.การคดิ ขัน้ สูง ศาสนา และ การงานอาชีพ ศิลปะ
วฒั นธรรม สขุ ศกึ ษ
พลศกึ
ส ๒.๑ ป.๓/๑
ส ๒.๒ ป.๓/๒
ส ๓.๑ ป.๓/๒
ส ๓.๒ ป.๓/๓
ส ๕.๑ ป.๓/๑
ส ๕.๑ ป.๓/๒

5.การเป็น ส ๑.๑ ป.๓/๖ ง ๑.๑ ป.๓/๑ ศ ๒.๑ ป.๓/๑
พลเมอื งที่ ส ๑.๒ ป.๓/๒ ศ ๒.๒ ป.๓/๒
เขม้ แข็ง ส ๓.๑ ป.๓/๓ ศ ๓.๑ ป.๓/๕
ส ๔.๒ ป.๓/๒ ศ ๓.๒ ป.๓/๑
ส ๕.๑ ป.๓/๑

ตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรยี นรู้

กลุ่มวิชาหลัก

ษาและ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาตา่ ง
กษา และเทคโนโลยี ประเทศ

ท ๑.๑ ป.๓/๕

หลักสูตรสถานศึกษาอิงสมรรถนะโรงเรียนบา้ นกองลม พุทธศกั ราช 2564 ๒๒

ความสอดคล้องระหว่างสมร
ชัน้ ประถมศ

กลุม่ วิชาบูรณาการ มาตรฐาน/ต

สมรรถนะ สังคมศกึ ษา การงานอาชีพ ศลิ ปะ สขุ ศกึ ษ
1.การจัดการ ศาสนา และ พลศึก
ตนเอง วฒั นธรรม ง 1.1 ป.4/1 ศ 2.1 ป.4/6
ป.4/2 ป.4/3 ศ 3.1 ป.4/5 พ 1.1 ป.4
2.การสื่อสาร ส 1.1 ป.4/5 ป.4/4 ศ 3.2 ป.4/1 ป.4/2 ป.4
ป.4/6 ป.4/7 ป.4/3 พ 2.1 ป.4
ส 3.1 ป.4/2 ป.4/2
พ 3.1 ป.4
ป.4/2 ป.4
ป.4/4
พ 3.2 ป.4
ป.4/2
พ 4.1 ป.4
ป.4/2 ป.4
พ 5.1 ป.4
ป.4/2 ป.4

ส 1.1 ป.4/1 ง 3.1 ป.4/2 ศ 1.1 ป.4/2
ป.4/8 ป.4/3 ป.4/6
ส 2.1 ป.4/4 ง 4.4 ป.4/1 ศ 1.2 ป.4/1
ส 2.2 ป.4/1 ป.4/2
ป.4/3 ศ 2.1 ป.4/1

รถนะและมาตรฐาน/ตวั ช้ีวัด
ศึกษาปีที่ 4

ตัวชี้วดั กลุ่มสาระการเรยี นรู้

กลุ่มวิชาหลัก

ษาและ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ ภาษาต่าง
กษา และเทคโนโลยี ประเทศ

4/1
4/3
4/1

4/1
4/3

4/1

4/1ม
4/4
4/1
4/3

ท 1.1 ป.4/1 ต 1.3 ป.4/1
ป.4/3 ป.4/4 ป.4/2
ป.4/6 ต 3.1 ป.4/1
ท 2.1 ป.4/2
ป.4/6

หลกั สูตรสถานศึกษาองิ สมรรถนะโรงเรียนบ้านกองลม พุทธศกั ราช 2564 ๒๓

มาตรฐาน/ต

กลมุ่ วิชาบูรณาการ

สมรรถนะ สังคมศกึ ษา สุขศึกษ
ศาสนา และ พลศึก
วฒั นธรรม การงานอาชีพ ศลิ ปะ

ส 3.1 ป.4/3 ป.4/4, ป.4/7
ส 3.2 ป.4/1 ศ 2.2 ป.4/1
ป.4/2 ป.4/2
ส 4.1 ป.4/2 ศ 3.1 ป.4/1
ส 4.2 ป. 4/1 ป.4/2 ป.4/5
ป.4/2
ส 4.3 ป.4/2
ป.4/3
ส 5.1 ป.4/2
ส 5.2 ป.4/1
ป.4/2

3.การรวมพลัง ส 1.2 ป.4/2 ศ 3.1 ป.4/4
ทำงานเป็นทีม ส 2.1 ป.4/2

4.การคิดขั้นสูง ส 1.1 ป.4/2 ง 3.1 ป.4/1 ศ 1.1 ป.4/1 พ 2.1 ป.4
ส 2.1 ป.4/3 ป.4/4 ป.4/5 ป.4/3 ป.4/4 พ 4.1 ป.4
ป.4/5 ป.4/5 ป.4/7
ส 3.1 ป.4/1 ป.4/8 ป.4/9
ส 4.1 ป.4/1 ศ 2.1 ป.4/2
ป.4/3 ส 4.3 ป.4/3 ป.4/5
ป.4/1 ส 5.1 ศ 3.1 ป.4/3
ป.4/1 ป.4/3 ป.4/5

ตวั ชี้วดั กลุ่มสาระการเรียนรู้

กล่มุ วิชาหลกั

ษาและ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ ภาษาตา่ ง
กษา และเทคโนโลยี ประเทศ

ท 3.1 ป.4/1
ป.4/2 ป.4/3
ป.4/4 ป.4/5
ป.4/6
ท 4.1 ป.4/1

ว 4.2 ป.4/5

4/3 ค 1.1 ป.4/1 ว 1.2 ป.4/1
4/3 ป.4/2 ว 1.3 ป.4/2

ค 1.2 ป.4/1 ว 4.2 ป.4/1
ค 2.1 ป.4/1 ป.4/3 ป.4/4
ป.4/3 ป.4/4
ค 2.2 ป.4/2
ค 5.1 ป.4/3
ค 6.1 ป.4/1

หลักสตู รสถานศึกษาองิ สมรรถนะโรงเรียนบ้านกองลม พทุ ธศกั ราช 2564 ๒๔

กลมุ่ วิชาบรู ณาการ มาตรฐาน/ต

สมรรถนะ สังคมศกึ ษา การงานอาชพี ศลิ ปะ สุขศึกษ
ศาสนา และ พลศึก
5.การเป็น วัฒนธรรม
พลเมอื งท่ี ศ 3.2 ป.4/2
เขม้ แข็ง ส 1.1 ป.4/3 ป.4/4
ป.4/4
ส 1.2 ป.4/1
ป.4/3
ส 2.1 ป.4/1
ส 2.2 ป.4/2
ป.4/3
ส 5.2 ป.4/3

ตัวชี้วดั กลุ่มสาระการเรียนรู้

กลมุ่ วิชาหลัก

ษาและ ภาษาไทย คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ ภาษาตา่ ง
กษา และเทคโนโลยี ประเทศ

ป.4/2 ป.4/3
ป.4/6

หลกั สูตรสถานศึกษาอิงสมรรถนะโรงเรียนบ้านกองลม พทุ ธศักราช 2564 ๒๕

ความสอดคล้องระหวา่ งสมร
ช้ันประถมศ

กลุ่มวิชาบูรณาการ มาตรฐาน/ต

สมรรถนะ สังคมศึกษา การงานอาชีพ ศิลปะ สขุ ศกึ ษ
ศาสนา และ พลศกึ
1.การจดั การ วฒั นธรรม ง 1.1 ป.5/1 ศ 2.1 ป.5/3
ตนเอง ป.5/4 ป.5/5 ป.5/6 พ 3.1 ป.5
ส 2.1 ป.5/3 ง 3.1 ป.5/1 ศ 2.2 ป.5/2 ป.5/3 ป.5
ส 4.1 ป.5/1 ป.5/2 ศ 3.1 ป.5/1
ป.5/4

2.การสอ่ื สาร ส 4.1 ป.5/3 ง 1.1 ป.5/1 ศ 2.1 ป.5/1 พ 3.1 ป.5
ส 1.2 ป.5/2 ง 3.1 ป.5/1 ศ 2.2 ป.5/1 ป.5/4
ส 2.1 ป.5/4 ป.5/2
ส 4.1 ป.5/2 ศ 3.1 ป.5/4
ป.5/3 ศ 3.2 ป.5/2

3.การรวมพลงั ส 2.1 ป.5/4 ง 1.1 ป.5/3 ศ 2.1 ป.5/4 พ 3.1 ป.5
ทำงานเปน็ ทีม ส 4.1 ป.5/1 ง 3.1 ป.5/1 ป.5/7 ป.5/4
ศ 3.1 ป.5/4
ส 4.1 ป.5/2

รถนะและมาตรฐาน/ตวั ช้ีวัด
ศกึ ษาปีที่ 5

ตวั ชี้วดั กลุ่มสาระการเรียนรู้

กลมุ่ วิชาหลกั

ษาและ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ ภาษาต่าง
กษา และเทคโนโลยี ประเทศ

5/1 ท 3.1 ป.5/5 ค 1.2 ป.5/1 ว 2.3 ป.5/1 ต 1.1 ป.5/1

5/4 ป.5/3 ป.5/2

ค 5.2 ป.5/1

ค 6.1 ป.5/1

ป.5/3 ป.5/5

ป5/6

5/1 ท 1.1 ป.5/1 ค 5.2 ป.5/1 ว 2.3 ป.5/2 ต 1.2 ป.5/1

ป.5/2 ป.5/3 ค 6.1 ป.5/1 ป.5/5 ป.5/2

ท 2.1 ป.5/3 ป.5/3 ต 1.3 ป.5/1

ป.5/6 ป.5/2

ท 3.1 ป.5/1

ป.5/2

5/3 ค 5.2 ป.5/1 ต 1.3 ป.5/1

ค 6.1 ป.5/1 ป.5/2

ป.5/3

หลกั สูตรสถานศกึ ษาอิงสมรรถนะโรงเรียนบ้านกองลม พทุ ธศักราช 2564 ๒๖

กล่มุ วิชาบูรณาการ มาตรฐาน/ต

สมรรถนะ สังคมศึกษา การงานอาชพี ศิลปะ สุขศึกษ
4.การคิดขัน้ สูง ศาสนา และ พลศกึ
วัฒนธรรม ง 1.1 ป.5/1 ศ 2.1 ป.5/2
ป.5/2 ศ 2.2 ป.5/2 พ 3.1 ป.5
ส 4.1 ป.5/1 ง 3.1 ป.5/1 ศ 3.1 ป.5/1 ป.5/3 ป.5
ป.5/2 ป.5/3 ป.5/5 ป.5/6
ส 1.2 ป.5/2 ศ 3.2 ป.5/1
ส 4.1 ป.5/2

5.การเป็น ส 1.2 ป.5/1 พ 3.1 ป.5
พลเมอื งที่ ป.5/2 ป.5/3
เข้มแข็ง ส 2.1 ป.5/4

ตวั ชี้วดั กลุ่มสาระการเรียนรู้

กลุ่มวิชาหลกั

ษาและ ภาษาไทย คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ ภาษาต่าง
กษา และเทคโนโลยี ประเทศ

5/1 ท 1.1 ป.5/4 ค 1.2 ป.5/3 ว 2.3 ป.5/3 ต 1.3 ป.5/1

5/4 ป.5/5 ค 5.2 ป.5/1 ป.5/4 ป.5/5 ป.5/2

ท 3.1 ป.5/3 ค 6.1 ป.5/1 ต 3.1 ป.5/1

ป.5/4 ป.5/3 ป.5/5

ป5/6

5/4

หลกั สตู รสถานศกึ ษาองิ สมรรถนะโรงเรียนบา้ นกองลม พุทธศกั ราช 2564 ๒๗

ความสอดคล้องระหว่างสมร
ช้ันประถมศ

กลมุ่ วิชาบูรณาการ มาตรฐาน/ต

สมรรถนะ สงั คมศกึ ษา การงานอาชีพ ศิลปะ สขุ ศกึ ษ
1.การจดั การ ศาสนา และ พลศึก
ตนเอง วฒั นธรรม ง 3.1 ป.6/1 ศ 1.1 ป.6/1
ง 4.1 ป.6/1 ป.6/2 พ 1.1 ป.6
2.การสือ่ สาร ส 1.1 ป.6/7 ศ 3.2 ป.6/2 ป.6/2
ส 2.1 ป.6/5 พ 2.1 ป.6
พ 3.1 ป.6
พ 3.2 ป.6
ป.6/3 ป.6
พ 4.1 ป.6
ป.6/4

ส 1.1 ป.6/8 ง 2.1 ป.6/1 ศ 1.2 ป.6/1
ป.6/9 ง 4.1 ป.6/2 ป.6/2 ป.6/3
ส 1.2 ป.6/1 ศ 2.1 ป.6/1
ป.6/3 ป.6/3 ป.6/5
ส 2.1 ป.6/4 ป.6/6
ส 2.2 ป.6/3 ศ 2.2 ป.6/1
ส 3.1 ป.6/1 ป.6/2 ป.6/3
ป.6/2 ป.6/3 ศ 3.1 ป.6/4
ส 3.2 ป.6/1 ป.6/6
ป.6/2 ศ 3.2 ป.6/1

รถนะและมาตรฐาน/ตวั ช้ีวัด
ศึกษาปที ่ี 6

ตวั ช้ีวดั กลุ่มสาระการเรียนรู้

กลมุ่ วิชาหลัก

ษาและ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาต่าง
กษา และเทคโนโลยี ประเทศ

6/1 ว 2.1 ป.6/3 ต 3.1 ป.6/1
ว 2.2 ป.6/1 ต 4.2 ป.6/1

6/2
6/5
6/1
6/4
6/1

ท 1.1 ป.6/3 ต 1.2 ป.6/4
ท 2.1 ป.6/3 ป.6/5
ท 3.1 ป.6/1 ต 1.3 ป.6/1
ต 4.1 ป.6/1

หลกั สตู รสถานศกึ ษาองิ สมรรถนะโรงเรยี นบา้ นกองลม พทุ ธศักราช 2564 ๒๘

สมรรถนะ สังคมศกึ ษา กลมุ่ วิชาบูรณาการ มาตรฐาน/ต
ศาสนา และ การงานอาชีพ ศลิ ปะ
3.การรวมพลัง วัฒนธรรม สุขศึกษ
ทำงานเป็นทีม ง 1.1 ป.6/3 พลศกึ
4.การคิดข้ันสงู ส 4.1 ป.6/1
ป.6/2 ง 1.1 ป.6/1 ศ 1.1 ป.6/3 พ 2.1 ป.6
ส 4.2 ป.6/1 ป.6/2 ป.6/4 ป.6/5 พ 3.1 ป.6
ป.6/2 ง 2.1 ป.6/2 ป.6/6 ป.6/7 พ 3.2 ป.6
ส 4.3 ป.6/1 ป.6/3 ศ 2.1 ป.6/2 พ 3.1 ป.6
ป.6/2 ป.6/3 ง 3.1 ป.6/2 ป.6/4 ป.6/2 ป.6
ป.6/4 ป.6/3 ป.6/4 ศ 2.2 ป.6/2 พ 3.2 ป.6
ส 5.1 ป.6/2 ป.6/5 ศ 3.1 ป.6/1 ป.6/5
ส 5.2 ป.6/2 ป.6/2 ป.6/3
ป.6/3 ป.6/5
ส 1.2 ป.6/2

ส 1.1 ป.6/1
ป.6/2
ส 2.1 ป.6/2
ส 2.2 ป.6/1
ส 5.1 ป.6/1
ส 5.2 ป.6/1

ตัวช้ีวดั กลุ่มสาระการเรียนรู้

กลมุ่ วิชาหลกั

ษาและ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาตา่ ง
กษา และเทคโนโลยี ประเทศ

6/1
6/1
6/6
6/1 ค 2.1 ป.6/1 ว 3.1 ป.6/2
6/4 ป.6/2 ป.6/3 ป.6/3 ป.6/4
6/2 ค 2.2 ป.6/1 ว 3.2 ป.6/2

ป.6/2 ป.6/3
ค 3.1 ป.6/1
ป.6/2 ป.6/3

หลกั สตู รสถานศกึ ษาองิ สมรรถนะโรงเรียนบ้านกองลม พุทธศกั ราช 2564 ๒๙

สมรรถนะ สงั คมศึกษา กลมุ่ วิชาบูรณาการ มาตรฐาน/ต
ศาสนา และ การงานอาชพี ศลิ ปะ
5.การเปน็ วฒั นธรรม สุขศกึ ษ
พลเมอื งท่ี ง 1.1 ป.6/3 พลศกึ
เขม้ แข็ง ส 1.1 ป.6/3
ส 1.2 ป.6/4 พ 3.1 ป.6
ส 2.1 ป.6/1 พ 5.1 ป.6
ป.6/3 ป.6/2 ป.6
ส 2.2 ป.6/2

ตวั ชี้วดั กลุ่มสาระการเรยี นรู้

กลุ่มวิชาหลัก

ษาและ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาตา่ ง
กษา และเทคโนโลยี ประเทศ

6/3
6/1
6/3

หลักสตู รสถานศึกษาอิงสมรรถนะโรงเรียนบา้ นกองลม พุทธศกั ราช 2564 ๓๐


Click to View FlipBook Version