เราเคยพบมาแลว้ น่ันเอง ท�ำไมจงึ ไม่มากกว่านนั้ มากกว่านนั้ ไม่มีใน
โลกน้ี มอี ยู่แค่นัน้ เอง แลว้ ก็ซํ้าๆ ซากๆ อยแู่ ค่น้ัน เกิด แก่ เจ็บ ตา
ยอยรู่ ่ําไป มันจงึ น่าจะมีความสขุ ชนิดพเิ ศษกว่า ประเสริฐกว่านัน้
ปลอดภัยกว่านน้ั พระอริยเจา้ ท้งั หลายท่านจึงสละสุขส่วนน้อยนัน้ เสยี
เพื่อแสวงหาสขุ อนั เกดิ จากความสงบกาย สงบจติ สงบกเิ ลส เป็น
ความสุขทป่ี ลอดภัยหาสง่ิ ใดเปรียบมไิ ดเ้ ลย.”
ไมย่ าก สำ� หรับผู้ทไ่ี มต่ ิดอารมณ์
วัดบูรพารามท่ีหลวงปูจ่ �ำพรรษาตลอด ๕๐ ปี ไมม่ ไี ด้ไปจ�ำ
พรรษาทไ่ี หนเลย เปน็ วัดที่ต้ังอยใู่ จกลางเมือง หน้าศาลากลางตดิ กับ
ศาลจังหวดั สุรนิ ทร์ ด้วยเหตนุ ้ีจึงมีเสยี งรบกวนความสงบอย่ตู ลอด
เวลา โดยเฉพาะเมอ่ื ถึงฤดงู านชา้ งแฟรห์ รือฤดูเทศกาลแตล่ ะอยา่ ง
แสงเสียงอึกทกึ ครึกคร้ืนตลอดเจ็ดวนั บา้ ง สิบห้าวนั บา้ ง ภิกษุ
สามเณรผ้มู ีจติ ใจยังอ่อนไหวอยู่ ยอ่ มไดร้ บั ความกระทบกระเทอื นเปน็
อย่างยงิ่ ฯ
เมื่อน�ำเรื่องนก้ี ราบเรยี นหลวงปู่ทีไร กไ็ ด้ค�ำตอบท�ำนอง
เดียวกนั ทุกครัง้ วา่
“มัวสนใจอะไรกับส่งิ เหล่าน้ี ธรรมดาแสงยอ่ มสวา่ ง ธรรมดา
เสยี งยอ่ มดัง หนา้ ท่ีของมันเป็นเช่นน้นั เอง เราไมใ่ สใ่ จฟงั เสยี งก็หมด
เร่ือง จงท�ำตัวเราไมใ่ หเ้ ป็นปฎปิ กั ษก์ ับส่งิ แวดล้อม เพราะมันมีอยู่
อย่างนี้ เปน็ อยอู่ ยา่ งนี้เอง เพยี งแตท่ �ำความเข้าใจกบั มันให้ถ่องแท้
ด้วยปญั ญาอันลกึ ซ้งึ เท่าน้ันเอง.”
51
กลา่ วเตือน
บางครัง้ หลวงปแู่ ทบจะร�ำคาญกับพวกที่ปฏิบตั เิ พยี งไมก่ ม่ี าก
นอ้ ย กม็ าถามแบบเร่งผลใหท้ นั ตาเหน็ ฯ
ท่านกลา่ วเตอื นวา่
“การปฏบิ ัติ ใหม้ งุ่ ปฏิบัตเิ พ่อื สำ� รวม เพ่ือความละ เพ่อื คลาย
ความกำ� หนัดยนิ ดี เพอื่ ความดบั ทุกข์ ไมใ่ ช่เพอ่ื สวรรคว์ มิ าน หรอื
แมแ้ ตน่ ิพพานกไ็ ม่ตอ้ งตง้ั เปา้ หมายเพือ่ จะเห็นท้งั นัน้ ใหป้ ฏบิ ตั ิไป
เรือ่ ยๆ ไม่ตอ้ งอยากเห็นอะไร เพราะนิพานมันเปน็ ของว่างไมม่ ีตวั
ไม่มีตน หาท่ีตงั้ ไมไ่ ด้ หาทีเ่ ปรียบไมไ่ ด้ ปฏบิ ตั ไิ ปจึงจะรู้เอง.”
ละอย่างหนึง่ ตดิ อกี อย่างหนงึ่
ลูกศิษย์ฝา่ ยคฤหสั ถผ์ ้ปู ฏิบัตธิ รรมคนหน่ึง เข้านมสั การหลวง
ปู่ รายงานผลการปฏบิ ัตใิ ห้หลวงปู่ฟงั ด้วยความภาคภูมใิ จว่า ปลืม้ ใจ
อย่างยิ่งทีไ่ ดพ้ บหลวงปวู่ นั นี้ ด้วยกระผมปฏิบัตติ ามทห่ี ลวงปูแ่ นะน�ำ
กไ็ ดผ้ ลไปตามล�ำดบั คอื เมอ่ื ลงมอื นั่งภาวนาก็เรม่ิ ละสัญญาอารมณ์
ภายนอกหมด จิตก็หมดความว่นุ จิตรวม จิตสงบ จติ ดงิ่ ลงส่สู มาธิ
หมดอารมณอ์ ื่น เหลือแต่ความสขุ สขุ อยา่ งยงิ่ เย็นสบาย แมจ้ ะให้
อยู่ตรงนนี้ านเทา่ ไรกไ็ ด้ ฯ
หลวงปู่ยิ้มแลว้ พดู วา่
“เออ ก็ดีแลว้ ท่ไี ด้ผล พูดถึงสขุ ในสมาธิมันกส็ ุขจริงๆ จะเอา
อะไรมาเปรียบเทียบไมไ่ ด้ แตถ่ ้าติดอยูแ่ คน่ น้ั มนั ก็ไดแ้ ค่นนั้ แหละยงั
ไมเ่ กิดปญั ญาอริยมรรค ทจ่ี ะตัดภพ ชาติ ตัณหา อปุ าทานได้ ใหล้ ะ
สุขน้ันเสยี กอ่ น แล้วพจิ ารณาขนั ธ์๕ใหแ้ จม่ แจง้ ตอ่ ไป.”
52
ตวั อย่างเปรยี บเทียบ
มรรคผลนพิ พาน เป็นส่งิ ปัจจัตตงั คอื ร้เู ห็นได้จำ� เพาะตน
โดยแท้ ผใู้ ดปฏบิ ตั เิ ข้าถึง ผูน้ ัน้ เหน็ เอง แจ่มแจ้งเอง หมดสงสยั ใน
พระศาสนาไดโ้ ดยสิน้ เชิง มฉิ นน้ั แล้วจะต้องเดาเอาอยรู่ า่ํ ไป แมจ้ ะมีผู้
อธบิ ายให้ลึกซึง้ อยา่ งไร กร็ ูไ้ ด้แบบเดา ส่งิ ใดยังเดาอยสู่ ง่ิ นัน้ ก็ยงั ไม่
แนน่ อนฯ
ยกตวั อย่างเช่น เต่ากับปลา เต่าอยูไ่ ด้สองโลกคอื โลกบนบก
กับโลกในน้ํา สว่ นปลาอยไู่ ดโ้ ลกเดยี วคือในน้าํ ขืนมาบนบกกต็ าย
หมด ฯ
วันหนง่ึ เตา่ ลงไปในน้ําแล้ว กพ็ รรณนาความสขุ สบายบนบก
ใหป้ ลาฟังวา่ มนั มแี ตค่ วามสุขสบาย แสงสสี วยงาม ไมต่ อ้ งลำ� บาก
เหมอื นอยู่ในนํา้ ฯ
ปลาพากันฟงั ดว้ ยความสนใจ และอยากเหน็ บก จึงถามเต่าวา่
บนบกลึกมากไหม เตา่ ว่า มนั จะลึกอะไร กม็ ันบกฯ
เอ บนบกนั้นมคี ลืน่ มากไหม มนั จะคลนื่ อะไรกม็ นั บกฯ
เอ บนบกมีเปอื กตมมากไหม มนั จะมีอะไรก็มันบกฯ
ใหส้ งั เกตดคู ำ� ที่ปลาถาม เอาแตค่ วามรู้ทีม่ ีอย่ใู นนํ้าถามเตา่
เต่ากไ็ ด้แตป่ ฏิเสธ
“จติ ปุถุชนทีเ่ ดามรรคผลนิพพาน ก็ไมต่ า่ งอะไรกบั ปลา.”
ไม่เคยเหน็ หว่นั ไหวในเหตุการณ์อะไร
เวลา ๔ ทุ่มผา่ นไปแล้ว เห็นหลวงปู่ยงั น่ังพกั ผ่อนอยู่ตาม
สบายจงึ เขา้ ไปกราบเรยี นวา่ หลวงป่คู รับ หลวงป่ขู าวมรณภาพเสยี
แล้ว หลวงปู่กแ็ ทน ทจ่ี ะถามวา่ ดว้ ยเหตใุ ด เมอ่ื ไร กไ็ มถ่ าม กลับ
53
พูดตอ่ ไปเลยวา่
“เออ ท่านอาจารย์ขาว ก็หมดภาระการแบกหามสังขารเสยี ที
พบกันเมอื่ ๔ ปีท่ีผา่ นมาเหน็ ลำ� บากสงั ขาร ตอ้ งใหค้ นอ่นื ช่วยเหลือ
อย่เู สมอ เราไม่มวี ิบากของสงั ขาร เร่ืองวบิ ากของสงั ขารนี้ แม้จะ
เปน็ พระอริยเจา้ ชน้ั ไหนกต็ ้องต่อสู้จนกว่าจะขาดจากกัน ไมเ่ กี่ยวข้อง
กนั อกี แตต่ ามปรกตสิ ภาวะของจิตนัน้ มนั กย็ งั อยกู่ บั สิ่งเหล่าน้ีเอง
เพียงแตจ่ ิตทฝ่ี กึ ดีแล้วเมื่อสงิ่ เหล่าน้ีเกดิ ข้นึ ยอ่ มละ และระงบั ได้เรว็ ไม่
กงั วล ไม่ยดึ ถอื หมดภาระเก่ียวข้องกับสงิ่ เหล่าน้ัน มนั ก็แค่น้นั เอง.”
ผ้ทู ่เี ข้าใจธรรมะไดถ้ ูกต้อง หายาก
เมอ่ื ไฟไหม้จงั หวัดสุรินทรค์ รง้ั ใหญ่ได้ผ่านไปแลว้ ผลคอื ความ
ทุกข์ยากสญู สนิ้ เนื้อประดาตัว และเสียใจอาลยั อาวรณ์ในทรัพย์สนิ
ถงึ ขน้ั เสยี สตไิ ปก็มีหลายราย วนเวียนมาลำ� เลิกใหห้ ลวงปูฟ่ งั วา่
อุตสา่ ห์ท�ำบญุ เขา้ วัด ปฏิบตั ิธรรมมาตง้ั แต่ปูย่ า่ ตายาย ทำ� ไมบญุ กุศล
จึงไม่ชว่ ย ทำ� ไมธรรมะจงึ ไมช่ ่วยคมุ้ ครอง ไฟไหมบ้ า้ นวอดวายหมด
แลว้ เขาเหลา่ น้นั ก็เลิกเข้าวดั ทำ� บุญไปหลายราย เพราะธรรมะไม่ชว่ ย
เขาใหพ้ น้ จากไฟไหม้บ้านฯ
หลวงปูว่ ่า
“ไฟมันท�ำตามหนา้ ทขี่ องมนั ธรรมะไม่ไดช้ ว่ ยใครในลกั ษณะ
น้ัน หมายความวา่ ความอันตรธาน ความวิบตั ิ ความเสอ่ื มสลาย
ความพลดั พรากจากกัน มนั มีประจ�ำโลกอยู่แลว้ สิ่งเหล่า นี้ (สภาวะ
ธรรมชาต-ิ ผเู้ ขยี น) ทีนี้ผมู้ ีธรรม ผปู้ ฏบิ ตั ธิ รรมะ เมื่อประสบกับภาวะ
เช่นนน้ั แล้ว จะวางใจอยา่ งไรจงึ ไมเ่ ป็นทุกข์ อยา่ งน้ีตา่ งหาก ไม่ใช่
ธรรมะไมใ่ ห้แก่ ไมใ่ หต้ าย ไม่ใหห้ ิว ไม่ให้ไฟไหม้ ไม่ใชอ่ ย่างน้นั .”
54
หมายเหตุผ้เู ขยี น”ปฏิจจสมุปบาท” ผ้เู ขียนเมือ่ ปฏิบัตใิ หม่ๆ
อนั เปน็ ไปตามความเชอ่ื ความยึดเดมิ ๆ ทแ่ี อบซ่อนอยู่ในจิตตามที่ได้
สืบทอดกนั ต่อๆมา การปฏบิ ตั จิ งึ เป็นเพ่อื หวงั บญุ หวังกศุ ล กด็ ้วย
หวงั วา่ บญุ กศุ ลนั้นจะยงั ประโยชนโ์ ดยตรง ในอันท่ีจะไม่ใหเ้ กดิ ทกุ ข์
โศก โรคภยั ฯ กล่าวคือ เพ่อื ไม่ใหเ้ กดิ ไมใ่ ห้มี ไมใ่ ห้เปน็ , อยากให้
เป็นดงั น้ี ดังน้นั เป็นต้น. อันลว้ นเป็นความเข้าใจผดิ ทเ่ี รยี กว่า
สลี ัพพตปรามาส อันเป็นธรรมหรอื สิง่ ทม่ี ัดสัตวไ์ ว้กบั ทุกข์(สงั โยชน์)
อันทำ� ใหไ้ มส่ ามารถเจริญในธรรมได้เพราะความไมเ่ ขา้ ใจสภาวะธรรม
อันถกู ต้องแทจ้ รงิ ดังที่หลวงป่กู ลา่ วไว้ เมื่อปฏบิ ตั ิอยา่ งถกู ต้องจงึ จะ
ยงั ใหเ้ กิดประโยชน์โดยตรง และย่ิงใหญไ่ ด้
ต้องปฏบิ ัตจิ งึ หมดสงสัย
เท่อื มผี ูถ้ ามถงึ การตาย การเกดิ ใหม่ หรอื ถามถงึ ชาตหิ นา้
ชาตหิ ลงั หลวงปไู่ ม่เคยสนใจทจ่ี ะตอบ หรอื มีผู้กล่าวค้านว่า เชอ่ื หรอื
ไมเ่ ชอื่ นรกสวรรค์มจี รงิ หรือไม่มีประการใด หลวงปู่ไมเ่ คยคว้า
หาเหตุผลเพอื่ จะเอาคา้ นใคร หรือไมเ่ คยหาหลักฐานเพอ่ื ยนื ยัน เพื่อ
ให้ใครยอมจำ� นนแตป่ ระการใด ท่านกลับแนะนำ� ว่า
“ผปู้ ฏบิ ตั ทิ ี่แทจ้ รงิ น้ัน ไม่จ�ำเป็นต้องค�ำนึงถงึ ชาติหน้าชาติ
หลงั หรอื นรกสวรรคอ์ ะไรกไ็ ด้ ให้ต้งั ใจปฏบิ ัตใิ หต้ รง ศลี สมาธิ
ปญั ญาอยา่ งแนว่ แนก่ พ็ อ ถา้ สวรรคม์ จี ริงถึง ๑๖ ช้นั ตามต�ำรา ผู้
ปฏบิ ตั ดิ แี ล้ว กไ็ ดเ้ ลื่อนฐานะตนเองโดยลำ� ดบั หรอื ถา้ สวรรค์นรกไม่มี
เลย ผู้ปฏิบตั ิดีแลว้ ขณะน้ียอ่ มไมไ่ รป้ ระโยชน์ ย่อมอยู่เปน็ สุขเป็น
มนษุ ยช์ น้ั เลศิ การฟงั จากคนอนื่ การค้นคว้าจากต�ำรานั้น ไม่อาจแก้
ข้อสงสยั ได้ ต้องเพยี รปฏบิ ัติ ท�ำวปิ สั สนาญาณ ให้แจง้ ความสงสัยก็
หมดไปเองโดยสิ้นเชงิ .”
55
หมายเหตผุ เู้ ขยี น - เรือ่ งชาตหิ นา้ ชาติหลงั แมอ้ งคพ์ ระ
ศาสดากไ็ ม่ทรงพยากรณ์ (สอน) ดังเช่น หลวงปู่ดลู ย์ อตโุ ล เพราะ
เป็นโทษแก่ผูฟ้ ัง เพราะไม่ว่าคำ� ตอบจะเป็นเยย่ี งไร ผฟู้ งั ก็ไม่สามารถ
เขา้ ใจ หรือพสิ ูจน์ไดต้ ามค�ำสอนนนั้ ๆ และไม่เป็นเร่อื งของการปฏิบัติ
เพอ่ื การดับทกุ ขใ์ นปัจจุบนั ชาติเลย รงั แตจ่ ะเป็นโทษแก่ผูฟ้ ังเป็นทีส่ ดุ
และจะเปน็ ท่ีถกเถียงกันไมร่ ู้จบ หาเหตุหาผลมาถกกันไม่รู้จบสนิ้
เพราะท้งั ผพู้ ดู และผู้ฟังยอ่ มไมส่ ามารถพิสจู นใ์ ห้อกี ฝ่ายหนึ่งเห็นได้
ด้วยตนเอง
เขาต้องการอยา่ งน้ันเอง
แมจ้ ะมคี นเปน็ กลุ่ม อยากฟงั ความคิดเหน็ ของหลวงปู่เรือ่ ง
เวยี นวา่ ยตายเกดิ ยกบุคคลมาอา้ งวา่ ทา่ นผูน้ ัน้ ผูน้ ี้สามารถระลกึ
ชาติยอ้ นหลังได้หลายชาตวิ ่าตนเคยเกดิ เปน็ อะไรบ้าง และใครเคย
เปน็ แมเ่ ป็นญาติกบั บา้ ง
หลวงปูว่ ่า
“เราไม่เคยสนใจเร่อื งอยา่ งน้แี คอ่ ุปจารสมาธกิ ็เปน็ ได้แล้วทุก
อยา่ ง มันออกไปจากจิตทั้งหมด อยากรอู้ ยากเห็นอะไร จิตมนั
บนั ดาลให้รใู้ หเ้ ห็นได้ทั้งน้ัน และรู้ได้เรว็ เสยี ดว้ ย หากพอใจเพียงแคน่ ้ี
ผลดีที่ไดก้ ็คือ ท�ำให้กลวั การเวยี นว่ายตายเกดิ ในภพทีต่ ่ํา แลว้ ตัง้ ใจ
ท�ำดี บรจิ าคทาน รักษาศลี แลว้ กไ็ ม่เบียดเยียนกัน พากนั กระหยิม่
ย้ิมยอ่ งในผลบญุ ของตน สว่ นการทีจ่ ะกำ� จัดกิเลสเพอ่ื ทำ� ลายอวิชชา
ตณั หา อปุ าทาน เข้าถึงความพ้นทุกขอ์ ย่างสิ้นเชิง อกี อย่างหนงึ่ ตา่ ง
หาก.”
56
ไมม่ นี ทิ านสาธก
อยู่ใกล้ชิดหลวงป่ตู ลอดระยะเวลายาวนาน ค�ำสอนของทา่ น
ไม่เคยมนี ิทานสาธก หรอื นิทานสนุกอะไรทห่ี ลวงปยู่ กมาบรรยายให้
ฟังสนุกๆเลย ไมว่ ่าชาดกหรอื เรือ่ งประกอบปัจจบุ นั ฯ
ค�ำสอนของทา่ นลว้ นแต่เป็นสัจจธรรมขน้ั ปรมตั ถ์ หรือไมก่ ็
เปน็ คำ� จำ� กัดความอย่างกะทดั รดั ชนดิ ระมัดระวัง หรอื คลา้ ย
ประหยดั ค�ำพดู อย่างย่งิ แมแ้ ต่การสอนพธิ กี รรม หรือศาสนพิธีและ
การทำ� บญุ บริจาคทานอะไร ในระดับศลี ธรรมหลวงปทู่ �ำในระดับ
ปลอ่ ยวางหมดส่วนมากหลวงปู่กลา่ วว่า
“เรื่องพิธีกรรม หรือบญุ กรยิ าวัตถุต่างๆท้งั หลาย ก็ถือว่าเปน็
เรอื่ งที่ยังใ หเ้ กิดกศุ ลไดอ้ ยู่ หากแตว่ า่ ส�ำหรับนักปฏิบตั แิ ล้ว อาจถือ
ไดว้ ่าเป็นไปเพอ่ื กุศลเพยี งนดิ หน่อยเทา่ นนั้ เอง.”
ปฏิปจุ ฉา
ด้วยความคุ้นเคยอละอยใู่ กล้ชิดหลวงปมู่ าเป็นเวลานาน เมือ่
อาตมาถามปญั หาอะไรท่าน หลวงป่ทู า่ นมกั จะตอบดว้ ยการย้อนกลับ
คนื ท�ำนองให้คดิ หาค�ำตอบเอาเอง ฯ
เชน่ ถามวา่ พระอรหันตท์ ่านมใี จสะอาด สว่างแลว้ ท่านอาจรู้
เลขหวยได้อยา่ งแม่นย�ำหรอื ครับฯ
ท่านตอบว่า “พระอรหนั ต์ ท่านใสใ่ จเพ่ือจะรู้ส่งิ เหล่านหี้ รอื ”
ถามวา่ พระอรหนั ต์ท่านเคยนอนหลับฝันเหมอื นคนธรรมดา
ด้วยหรอื เปล่าครับฯ
57
ทา่ นตอบวา่ “การหลบั แลว้ เกดิ ฝนั เปน็ เร่อื งของสงั ขารชันธ์
ไมใ่ ชห่ รือ.”
ถามวา่ พระปถุ ชุ นธรรมดายงั หนาดว้ ยกเิ ลส แตม่ คี วามสามารถ
สอนคนอนื่ ใหเ้ ขาบรรลถุ งึ อรหนั ต์ เคยมบี า้ งไหมครบั หลวงปฯู่
ท่านตอบวา่ “หมอบางคน ทงั้ ทีต่ ัวเองยงั มโี รคอยู่ แตก่ เ็ คย
รักษาคนอื่นใหห้ ายจากโรคได้ มีอยู่ทว่ั ไปไม่ใชห่ รือ.”
ปรกตนิ สิ ัยประจำ� ตวั ของหลวงปู่
ทางกาย มีรา่ งกายแข็งแรง กระฉบั กระเฉงวอ่ งไว สมสัดสว่ น
สะอาดปราสจากกล่นิ ตวั มีอาพาธน้อย ทา่ นจะสรงนาํ้ อุน่ วันละครัง้
เท่านัน้
ทางวาจา เสยี งใหญ่ แต่พดู เบา พดู น้อย พูดสน้ั พูดจรงิ พดู
ตรง ปราศจากมายาทางค�ำพูด คอื ไม่พูดเลยี บเคียง ไม่พดู โอ๋ ไม่
พดู ปลอบโยน ไม่พดู ประชด ไม่พดู นนิ ทา ไม่พดู ขอรอ้ ง ขออภยั ไม่
พดู ขอโทษ ไม่พดู ถึงความฝนั ไมพ่ ดู เลา่ นิทานชาดก หรอื นิทาน
ปรมั ปรา เป็นตน้ ฯ
ทางใจ มสี ัจจะ ตงั้ ใจทำ� สง่ิ ใดแลว้ ทำ� โดยส�ำเรจ็ มเี มตตา
กรุณาเป็นประจ�ำ สงบเสง่ยี มเยอื กเย็น อดทน ไม่เคยมอี าการ
กระวนกระวาย ววู่ าม ไม่แสดงอาการอดึ อดั หงดุ หงิด หรือร�ำคาญ
ไม่แสวงหาของ หรือสงั่ สม หรืออาลยั อาวรณก์ บั ของทส่ี ญู หาย ไม่
ประมาท รงุ่ เรอื งด้วยสตสิ มั ปชัญญะและเบิกบานอยู่เสมอ เปน็ อยู่
โดยปราศจากทุกข์ ไมห่ วน่ั ไหวไปตามเหตกุ ารณ์ ไม่ถกู ภาวะอนื่
ครอบง�ำ
58
ทา่ นสอนอย่เู สมอว่า
“ให้ท�ำความเข้าใจกบั สภาวะธรรมอย่างชัดแจง้ ว่า เกดิ ขึ้น
เปลยี่ นแปลง สลายไป อย่าทกุ ข์โศกเพราะสภาวะน้ันเป็นเหตุ.”
มเี วทนาหนัก แตไ่ ม่หนกั ด้วยเวทนา
หลวงปู่อาพาธหนกั อยทู่ ี่โรงพยาบาลจฬุ าฯ เปน็ วันที่ ๑๗
ของการอยู่โรงพยาบาล คนื นัน้ หลวงปมู่ อี าการอ่อนเพลยี อย่างมาก
ถึงกบั ตอ้ งให้ออกซเิ จนชว่ ยหายใจโดยตลอด เวลาดกึ มากแล้ว คือหก
ท่มุ กว่า ท่านอาจารย์ยันตระ พรอ้ มบรวิ ารหลายท่าน เขา้ ไปขอ
กราบเยย่ี มหลวงปู่ เหน็ เป็นกรณีพิเศษจึงใหท้ ่านเข้าไปกราบเย่ยี มได้
หลวงปู่นอนตะแคงขวา หลบั ตาตลอด เม่อื คณะของอาจารย์ยันตระ
กราบนมัสสการแล้ว ทา่ นอาจารย์ยันตระขยบั กม้ ไปชดิ หูหลวงปแู่ ล้ว
ถามว่า “หลวงป่ยู ังมเี วทนาอยู่หรือ”
หลวงปตู่ อบวา่
“เวทนากบั รา่ งกายน้นั มอี ยู่ตามธรรมชาติของมัน แต่ไมไ่ ด้
เสวยเวทนานน้ั เลย”
เดินทางลัด ท่ปี ลอดภัย
เมอ่ื วันท่ี ๒๐ มนี าคม ๒๕๒๖ กอ่ นท่หี ลวงปจู่ ะกลบั จากโรง
พยาบาลจุฬาฯ ไดช้ กั ชวนกนั ทำ� บญุ ถวายสังฆทาน เพอ่ื อทุ ศิ สว่ นกศุ ล
แดบ่ รรพชนท่สี รา้ งโรงพยาบาลฯ ทล่ี ่วงลับแลว้ ฯ เมือ่ พธิ ถี วาย
สังฆทานผา่ นไปแลว้ มีนายแพทย์ และนางพยาบาลจำ� นวนหนึง่
เข้าไปกราบนมสั การหลวงปู่ แสดงความดีใจทีห่ ลวงปหู่ ายจากอาพาธ
คร้งั น้ี พรอ้ มท้ังกลา่ วปิยวาจาว่า หลวงปมู่ สี ขุ ภาพอนามยั แข็งแรงดี
59
หนา้ ตาสดใสเหมอื นไม่ได้ผ่านการอาพาธมา คงจะเป็นผลจากการที่
หลวงป่มู ภี าวนาสมาธจิ ติ ดี พวกกระผมมีเวลานอ้ ยหาโอกาสเพียร
ภาวนาสมาธิไดย้ าก มีวิธใี ดบ้างทีจ่ ะปฏบิ ัติไดง้ ่ายๆ หรอื โดยย่อท่ีสุดฯ
หลวงปตู่ อบวา่
“มเี วลาเมอ่ื ไร ให้ปฏบิ ตั ิเม่อื นน้ั , การฝกึ จติ การพิจารณาจติ
เป็นวธิ ลี ดั สน้ั ที่สดุ .”
ทงั้ หมดอยูท่ คี่ วามประพฤติ
ตลอดชวี ติ ของหลวงปู่ ท่านไมย่ อมรบั กบั การถือฤกษง์ ามยาม
ดีอะไรเลย แมจ้ ะถูกถามถูกขอใหบ้ อกเพียงวา่ จะบวชวันไหน จะสึก
วนั ไหน หรอื วันเดอื นปีไหนดีเสยี อยา่ งไร หลวงป่กู ็ไมเ่ คยเผลอ
เอออวยด้วย มกั จะพูดว่าวนั ไหนเดือนไหนก็ดีทั้งน้นั แหละ คอื ถ้ามีผู้
ขอเช่นนี้ ทา่ นมกั ใหเ้ ขาหาเอาเอง หรอื มักบอกวา่ วนั ไหนกไ็ ด้ ถา้
สะดวกดแี ลว้ เป็นฤกษด์ ีทัง้ หมดฯ
หลวงปสู่ รปุ ลงวา่
“ทุกอยา่ งรวมอยูท่ ่ีความประพฤติ คอื ฤกษ์ดี ฤกษร์ า้ ย โชคดี
โชครา้ ย เรอื่ งเคราะห์ กรรม บาป บุญ อะไรทง้ั หมดนี้ ล้วนออกไป
จากความประพฤติของมนษุ ยท์ ้ังนั้น”
[หลวงปู่สอนไว้ อนั เป็นจริง และถกู ตอ้ งตามหลกั ปรมตั ถธรรม “อิทปั ปัจจย
ตา” อนั มีสาระส�ำคัญว่า “เพราะเหตนุ ีม้ ี ผลนจ้ี งึ เกิดข้ึน” หรือธรรมใดเกิดแต่
เหตุ อนั คอื กรรมทหี่ มายถึงการกระทำ� -ความประพฤตินนั่ เอง ลว้ นมิได้เกดิ แต่
ฤกษ์ผานาทีแต่อยา่ งใด อนั เปน็ ด่ังพระพุทธพจนท์ ตี่ รัสสง่ั สอนไว้ว่า “บคุ คล
ประพฤตชิ อบเวลาใด เวลานน้ั ไดช้ ่อื ว่า เปน็ ฤกษ์ดี เปน็ มงคลดี เปน็ เชา้ ดี
อรณุ ดี เป็นขณะดี ยามดี และ (นบั ได้วา่ ) เปน็ อันไดท้ �ำบูชาดีแลว้ ในท่านผู้
ประพฤติพรหมจรรย์ทงั้ หลาย แม้กายกรรมของเขา (นัน้ ) กเ็ ปน็ สทิ ธโิ ชค วจี
กรรมกเ็ ป็นสทิ ธิโชค มโนกรรมก็เป็นสิทธิโชค ประณิธานของเขาก(็ ย่อมต้อง)
60
เปน็ สิทธโิ ชค ครน้ั กระท�ำกรรม (การกระทำ� ใดๆ) ทัง้ หลายท่เี ปน็ สิทธิโชคแลว้
เขายอ่ มได้ประสบแต่ผลท่ีมุ่งหมายอนั เปน็ สทิ ธโิ ชค” (อง.ฺ ติก. ๒๐/๕๙๕/๓๗๙
หรือพุทธธรรม น. ๒๑๕)]
ไมเ่ คยกระทำ� แบบแสดง
หลวงปู่ไมม่ ีมารยาในทางอยากโชว์ เพ่อื ใหเ้ ดน่ ใหส้ งา่ แก่
ตนเอง เช่นการถ่ายรูปของท่าน ถา้ ใครอยากถา่ ยรูปท่าน ก็ตอ้ งหา
จงั หวะใหด้ ีระหวา่ งท่ที ่านหม่ ผา้ สงั ฆาฏิเรียบร้อย เพอื่ ลงปาฎิโมกข์
หรอื บวชนาคหรือเข้าพิธีกรรมอย่างใดอยา่ งหนึง่ แลว้ ขอถา่ ยรปู ทา่ น
ในจังหวะนยี้ อ่ มไดถ้ า่ ย เม่ือท่านอยตู่ ามธรรมดา แล้วขอรอ้ งท่านให้
ลกุ ไปนงุ่ หม่ มาตั้งท่าใหถ้ ่าย แบบนี้หวงั ไดย้ ากอยา่ งยง่ิ เชน่ มสี ุภาพ
สตรีทา่ นหนึ่งจากกรงุ เทพฯ น�ำผ้าหม่ ช้ันดมี าถวายหลวงป่เู ม่อื หนา้
หนาว พอถงึ เดอื นหา้ หน้าร้อน เผอิญเขาได้ไปกราบหลวงปู่อกี จึงขอ
ใหท้ ่านเอาผ้ามาห่มให้เขาถา่ ยรปู ดว้ ย เพราะตอนถวายไมไ่ ด้ถ่ายไว้
หลวงปปู่ ฏิเสธว่า ไมต่ อ้ งหรอก แม้เขาจะขอเปน็ คร้ังทส่ี องทสี่ าม
ทา่ นกว็ ่าไม่จ�ำเป็นอย่นู ่นั เองฯ
เมือ่ สภุ าพสตรนี ้นั ลากลบั ไปแล้ว อาตมาไม่คอ่ ยสบายใจจึง
ถามท่านว่า โยมเขาไมพ่ อใจ หลวงปทู่ ราบไหมฯ
หลวงป่ยู ิม้ แลว้ ตอบว่า
“ร้อู ยู่ ทเ่ี ขามคี วามไมพ่ อใจ ก็เพราะใจเขามคี วามไมพ่ อ”
61
62
สรุ ินทรถ์ ่นิ ก�ำเนิดของหลวงปู่
หลวงปู่ดูลย์ อตุโล เปน็ ชาวสรุ ินทร์โดยก�ำเนิด ท่านเกิดเม่ือ
พ.ศ.๒๔๓๑ ในรชั สมยั ของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ ัว
รัชกาลที่ ๕
เร่อื งราวของจังหวดั สรุ ินทร์ถ่นิ กำ� เนดิ ของหลวงปู่เมื่อสมยั
๑๐๐ กวา่ ปีมาแลว้ ตามท่หี ลวงป่เู ล่าให้ฟงั และท่านเจา้ คุณพระโพธิ
นันทมุนี (สมศกั ดิ์ ปณฑิโต) ไดเ้ รียบเรยี งบนั ทกึ ไว้ มดี ังต่อไปน้ี
ชมุ ชนสุรนิ ทร์ในอดีตไมม่ หี ลกั ฐานวา่ เกดิ ขนึ้ เมอื่ ใด แต่
สันนิษฐานว่ามีมาไม่ต่าํ กว่า ๒,๐๐๐ ปี เคยผา่ นความรุ่งเรอื งมาสมยั
หนึง่ ในฐานะเปน็ เมอื งหนา้ ด่านจากผืนทร่ี าบโคราช ลงสูแ่ คว้นเจนละ
ของกัมพชู า
สรุ ินทร์ หรือ เมอื งประทายสมนั ต์ หรอื ไผทสมันต์ ใน
อดตี อยใู่ นพื้นทีร่ าบตํา่ ที่อดุ มสมบูรณไ์ ปด้วยทรพั ยากรธรรมชาติ
และมวลสตั ว์ปา่ นานาชนิด
หลกั ฐานเมืองโบราณทีพ่ บเหน็ ไดแ้ ก่ปราสาทหนิ หลายแห่ง
เช่น ปราสาทหินภูมโิ ปน ปราสาทระแงง ปราสาทยายเหงา
ปราสาทตาเหมือน ปราสาทจอมพระ ปราสาทเบง เป็นตน้ รวมทง้ั
กำ� แพงเมืองสุรนิ ทรเ์ ดิมซงึ่ มี ๒ ชั้นเคยตงั้ ตระหงา่ นมาเมื่อ ๑๐๐ ปี
ท่แี ล้ว กย็ ังมีหลกั ฐานเหลอื ให้เห็นไดช้ ัดเจน
ในสมัยนนั้ บ้านเรอื นมนี อ้ ย ไม่แออัดเหมือนทกุ วันน้ี
ด้านทศิ ใต้ของ วดั บรู พาราม ของหลวงป่เู ป็นก�ำแพงเมืองช้ัน
ในสูงตระหงา่ นบังหลงั คากุฏิ เพ่งิ จะอนั ตรธานหายไปเมอ่ื ไมเ่ กิน
๑๐๐ ปมี านี้เอง
63
จากกำ� แพงเมอื งชนั้ ในออกไปทางทิศใต้เพยี ง ๕๐๐ เมตร จะ
เปน็ ก�ำแพงเมอื งชัน้ นอก ซ่งึ มี วดั จมุ พลสทุ ธาวาส (วดั ท่หี ลวงปู่เข้า
อุปสมบท) อย่ตู ดิ ขอบก�ำแพงด้านใน
เลยกำ� แพงเมืองชน้ั นอกออกไปเปน็ เขตชนบททงั้ ส้ิน หา่ งออก
ไปไม่ถงึ ๒ กโิ ลเมตร จะเป็น ลำ� ห้วยเสนง ฝั่งหว้ ยจะมีไมย้ างปา่
ขนาดมหมึ าเต็มไปหมด ชกุ ชุมไปดว้ ยสตั ว์ป่านานาชนดิ ไมว่ ่าหมปู า่
ลิง ชะนี คา่ ง แม้กระทง่ั แรดก็ปรากฏใหเ้ หน็ ทัว่ ไป
ห่างออกไป ๕-๑๐ กโิ ลเมตร จึงจะพบหมบู่ า้ นสกั แหง่ ซงึ่ มี
บา้ นเรอื นประมาณ ๔-๕ หลังเท่านั้น
หมู่บา้ นที่หลวงปูถ่ ือกำ� เนิดช่อื ว่า บ้านปราสาท ห่างจากตัว
เมืองสุรินทร์ไปทางทิศใต้ประมาณ ๑๐ กิโลเมตร
หลวงปู่ไดเ้ ล่าถงึ บรรพบรุ ษุ ของท่านว่า รุน่ ปูท่ วดของท่าน
อาศยั อยทู่ บ่ี า้ นสลักได ต้งั อยนู่ อกกำ� แพงเมืองดา้ นตะวนั ออก
ประมาณปี พ.ศ.๒๓๙๘ คณุ ตาของหลวงปูช่ ่ือคุณตาแสร์ และ
ญาติพี่น้องรวม ๕ ครอบครัว ตงั้ ใจจะพากนั อพยพไปตงั้ บ้านเรือน
อย่ทู ่ี เขมรตํา่ (ประเทศกมั พูชา) จึงเดินทางด้วยชา้ งมุ่งลงทางใตไ้ ป
เร่ือยๆ
เม่อื เดนิ ทางไปได้ประมาณ ๑๐ กโิ ลเมตร กไ็ ด้พบกับคณะ
ของ พระยาสรุ นิ ทร์ภกั ดศี รไี ผทสมันต์ (มว่ ง) เจา้ เมอื งสรุ ินทร์
ลำ� ดับที่ ๕ กำ� ลงั ออกส�ำรวจพ้นื ท่อี ยู่
ทา่ นเจ้าเมอื งทราบวา่ ครอบครวั เหลา่ นนั้ ก�ำลงั จะไปทำ� มา
หากนิ ทีเ่ ขมรต่ําจึงได้ทัดทานไว้ โดยชแี้ จงถงึ ความยากล�ำบากและ
อนั ตรายในการเดินทาง รวมทั้งสภาพบา้ นเมอื งของเขมรที่ไมส่ งบ
เรียบรอ้ ย ยงั ไมน่ ่าไวว้ างใจ
พรอ้ มกนั นั้น ทา่ นเจ้าเมอื งกแ็ นะน�ำและขอรอ้ งให้พากันต้ัง
บ้านเรอื นอยทู่ ำ� มาหากิน ณ สถานที่แห่งนน้ั ซง่ึ มคี วามอดุ มสมบรู ณ์
ใครใครจ่ ะจับจองเอาที่ดนิ ทน่ี ามากเทา่ ไรก็ได้
คณะผอู้ พยพก็คลอ้ ยตาม รวมท้ังยำ� เกรงท่านเจา้ เมอื งด้วย
64
จึงตกลงตั้งหลักแหล่งอยู่ ณสถานทีน่ ้ัน ได้ช่วยกันหักรา้ งถางพง
สร้างบ้านเรือนตงั้ เป็นหมูบ่ ้านขนึ้ มา และด้วยหมู่บา้ นนนั้ ตั้งอยู่ใกล้
เคยี งกับปราสาทโบราณ จงึ เรยี กขานกันว่า บา้ นปราสาท
คณุ ตาแสรข์ องหลวงป่เู ปน็ นายบา้ น ท�ำหนา้ ทป่ี กครองดแู ล
หมบู่ ้านปราสาทแหง่ นน้ั
คณุ ตาแสร์มลี กู ๖ คน คือ ๑. นายมาก ๒. นางเงิม
(มารดาของหลวงปู่) ๓. นายมว่ ง ๔. นางแก้ว ๕. นางเมอะและ ๖.
นายออ่ น
ครอบครัวของคุณตาแสรก์ ็ขยายสาขาเพม่ิ สมาชิกออกไป บาง
ส่วนก็อย่ใู นบา้ นปราสาท บางส่วนกอ็ ยใู่ นหมูบ่ า้ นใกล้เคยี ง บางสว่ น
กอ็ พยพยา้ ยไปอยถู่ น่ิ อน่ื ตามวถิ ีชีวติ ของแตล่ ะคน
การประกอบอาชีพของผู้คนสมยั น้นั ไดแ้ ก่การท�ำไร่ เริ่มตน้
ด้วยการแผ้วถางป่าท่ีหนาทบึ เพ่อื ปลกู ขา้ ว ฟกั แฟง แตงกวา ส�ำหรับ
ใชท้ ำ� อาหาร นอกจากนก้ี เ็ กบ็ ของปา่ ล่าสตั ว์ ซ่ึงมีอย่างอดุ มสมบรู ณ์
ส�ำหรบั ผหู้ ญิงท�ำงานบา้ น เล้ยี งลูกและดูแลสตั ว์เลีย้ ง มีเปด็
ไก่ หมู ววั ควาย เปน็ ตน้ นอกจากน้ันก็ทอผ้า ปนั่ ดา้ ย เลยี้ งไหม
บา้ นเรือนก็สร้างกนั อยา่ งงา่ ยๆ พออย่ไู ด้ ตดั โคน่ ตน้ ไม้กัน
เปน็ ตน้ ๆ ใช้ขวานถากไม้ทั้งตน้ ให้เปน็ เสา หรือผา่ คร่ึงแลว้ ถากให้บาง
เปน็ แผน่ กระดาน น�ำใบไม้ หรือไมไ้ ผ่ มาขัดแตะทำ� เปน็ ฝาบา้ นและ
มุงหลังคาด้วยหญ้าคา
แต่ละบา้ นจะนำ� ไมไ้ ผ่มาสานเป็นโจรก คือตะกร้า หรอื เขง่ ใบ
ใหญ่ ภาษาเขมรพน้ื เมอื งเรียกวา่ เจยี ลดอก ใช้ส�ำหรับเกบ็ ขา้ ว
เปลอื กไวท้ �ำพันธุ์หรอื ไวก้ ินตลอดปี โจรกแตล่ ะใบบรรจุขา้ วเปลอื กได้
ถึง ๑๐ เกวียนกม็ ี บางบา้ นก็ท�ำไวห้ ลายใบ
ขา้ วและพชื ผลสมัยน้นั ไม่มีการซ้อื ขายกัน ใช้วิธแี ลกเปลีย่ น
หรือแบ่งปันกันตามมตี ามเกดิ เงนิ ทองไมม่ ตี ิดบ้านแมแ้ ตบ่ าทเดยี วก็
ไมเ่ ดือดรอ้ น ครอบครวั ไหนทอผ้าห่ม ผ้าน่งุ ไดม้ าก หรอื มขี ้าว
เปลือกเก็บส�ำ รองไว้มากกแ็ บง่ ปนั ครอบครัวอืน่ ที่ขาดแคลน ใหก้ ูย้ มื
65
ไปกินตามความจำ� เปน็
ชาวบา้ นในสมัยน้ันนบั ถอื ผีปศี าจและเทวดาอารกั ษ์ อย่าง
เหนยี วแนน่ พระสงฆอ์ งคเจ้า รวมทง้ั เจ้าอาวาส บางองคก์ เ็ ปน็ ผมู้ ี
ความชำ� นาญทางจิตทางวิญญาณ ใชไ้ สยศาสตร์ และเวทย์มนต์
คาถา มีการปลกุ ผี ปลกุ พระ รักษาไขด้ ้วยการเป่า เสก พ่น
ประสานกระดกู ต่อกระดกู เซน่ ไหว้ บวงสรวง เข้าทรง เรียกขวัญ
เป็นตน้
หยกู ยาก็ใชส้ มนุ ไพร ที่ไดเ้ ล่าเรยี นและถา่ ยทอดกนั มาจากผู้
เฒา่ ผแู้ ก่ ซึง่ ก็เปน็ การช่วยดูแลรักษากนั ได้บา้ งตามความเหมาะสม
สว่ นใหญ่กไ็ ดพ้ ึง่ พาอาศยั พระโดยถอื ว่าพระเปน็ ผรู้ กู้ วา่ ใคร แม้
ฆราวาสท่ีทำ� หน้าที่เป็นหมอยาประจำ� หมบู่ ้าน ก็จะเรียนรวู้ ธิ รี ักษา
โรคเม่อื ตอนบวชพระนน่ั เอง
อาหารการกนิ ก็อาศัยผกั หญ้าทีห่ าได้ในละแวกน้นั เกลอื เป็น
สงิ่ จำ� เป็นทส่ี ุด ซ่ึงขาดไม่ได้ เพราะสมัยนนั้ ไมม่ ี กะปิ นาํ้ ปลา หรอื
สงิ่ ปรงุ รสอยา่ งอื่น เมอื่ ชาวบา้ นจับปลาได้ จะน�ำมาคลกุ ผสมกบั
เกลอื บรรจุไหท�ำเป็นปลารา้ ปลาจ่อม เก็บไว้ประกอบอาหาร หรือ
ใชร้ บั ประทานกับข้าว
ครอบครวั ไหนมปี ลารา้ เตม็ ไห มขี า้ วเปลือกเต็มโจรก ก็ถือวา่
มฐี านะพออยพู่ อกนิ ไมเ่ ดอื ดรอ้ น
การอยูก่ ารกนิ จงึ เปน็ ไปอยา่ งงา่ ยๆ ผ้านุ่ง ผา้ ถงุ เสื้อผา้ ก็
ทอ และตัดเยบ็ กันเอง ผหู้ ญงิ แต่งกายดว้ ยผา้ ๒ ผนื ผนื หนึง่ เป็นผา้
นุ่งกระโจมอก เรียกวา่ จอมปุง อกี ผืนใชห้ ่มเปน็ สะไบ สว่ นผชู้ ายก็
นงุ่ ผา้ ขาวม้าผืนเดียวกใ็ ชไ้ ดแ้ ล้ว ถ้ามงี านพิธกี น็ งุ่ โสรง่ ไหม ใสเ่ ส้ือ
แลว้ มีผ้าขาวมา้ พาดบา่ กเ็ ป็นอนั เพียงพอ
เครอื่ งส�ำอาง ส�ำหรบั ผหู้ ญิงก็มีแป้งขาว แปง้ ดินสอพอง
ขมิน้ ผสมมะนาว ส�ำหรับประเทืองผวิ สว่ นเครอ่ื งประดับกม็ สี ร้อยคอ
แหวน ตมุ้ หู ก�ำไลมอื ก�ำไลเทา้ ซึง่ มกั จะท�ำด้วยเคร่อื งเงิน ใช้แตง่
ในเทศกาลงานบุญตา่ งๆ
66
สตรีสมัยน้นั จะตอ้ งอยู่กบั เหยา้ เฝา้ กบั เรือน ฝกึ หดั งานฝมี ือ
ป่ันดา้ ย ทอผา้ ฝึกท�ำ กบั ข้าว เพ่อื ผูกจติ ผกู ใจเพศตรงข้าม ญาติ
ผใู้ หญจ่ ะดวู า่ หญงิ คนใดจะเป็นแมบ่ า้ นแม่เรอื นท่ดี ไี ด้ กด็ ทู คี่ วาม
ละเอียดประณตี ของผา้ ที่ทอ หรือดทู ฝี่ มี อื การท�ำ กบั ขา้ ว และกิริยา
มารยาทท่ัวไป
ฝา่ ยชายจะตอ้ งขยันขนั แข็งในการทำ� มาหากิน และตอ้ งผ่าน
การบวชเรียนเสียกอ่ นจึงจดั วา่ เป็น คนสุก สามารถเปน็ ผนู้ ำ�
ครอบครวั ได้ เพราะการบวชเรียนเป็นการอบรมจติ ใจ และฝกึ ความรู้
ตา่ งๆ ใหเ้ ปน็ ภูมริ ู้ภูมธิ รรมประดบั ตน
นคี่ ือชุมชนของชาวสุรินทร์ ในสมยั ของหลวงปู่ เม่อื ประมาณ
๑๐๐ ปที ีผ่ ่านมา
ชวี ิตเม่อื วยั เยาว์
หลวงปถู่ อื ก�ำเนิด ณ บา้ นปราสาท ตำ� บลเฉนยี ง อำ� เภอ
เมือง จังหวัดสุรนิ ทร์ เมอื่ วันที่ ๔ ตุลาคม ๒๔๓๑ ตรงกบั แรม ๒
คํา่ เดอื น ๑๑ ปชี วด ในรัชสมัยพระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลา้ เจ้า
อยหู่ วั รัชกาลที่ ๕
โยมบดิ าของทา่ นช่อื นายแดง โยมมารดาช่อื นางเงิม
นามสกุล ดมี าก
หลวงปูมพ่ี ่นี อ้ ง 5 คน คนแรกเป็นหญิงชอื่ กล้งิ คนทีส่ อง
คือตวั หลวงปู่เอง ชอื่ ดูลย์ คนทส่ี ามเปน็ ชายชอื่ เคน คนทีส่ แี่ ละหา้
เป็นหญิงช่ือ รตั น์ และ ทอง พน่ี อ้ งทง้ั ๔ คนของท่านมชี วี ติ จนถึง
วัยชราและทุกคนเสียชวี ติ ก่อนที่จะมอี ายถุ ึง ๗๐ ปี มีเพียงหลวงปู่
เทา่ นน้ั ทด่ี �ำรงอายขุ ยั อยูจ่ นถงึ ๙๖ ปี
พีน่ ้องของหลวงปู่ไดแ้ ยกยา้ ยไปท�ำมาหากินในทตี่ ่างๆ พอเริ่ม
มพี ระราชบัญญัตนิ ามสกลุ ออกมาใช้ แต่ละคนกเ็ ลอื กใชน้ ามสกลุ ตาม
ทตี่ นเหน็ สมควร หลวงปใู่ ชน้ ามสกุล ดีมาก ตามโยมแม่
67
มาตอนหลังหลวงปเู่ ปล่ียนมาใชน้ ามสกลุ เกษมสินธ์ุ ซ่งึ ท่านเลา่ ให้
ฟงั วา่ เมอื่ ท่านไปพำ� นักเพื่อศึกษาธรรมะทจ่ี ังหวดั อบุ ลราชธานี
ประจำ� อยู่ท่ีวัด สทุ ศั นาราม ได้หลายปี หลานชายคนหน่งึ ของทา่ น
ชอ่ื พรอ้ มตามไปอยดู่ ้วย ท่านจึงตัง้ นามสกุลให้ว่า เกษมสินธ์ุ แล้ว
ทา่ นกเ็ ปลยี่ นใชน้ ามสกลุ ทีต่ ้ังใหมน่ ดี้ ้วย
แม้หลวงปจู่ ะเป็นลูกคนท่ีสอง แต่ก็เป็นลูกชายคนโตของ
ครอบครวั ในช่วงแรกท่านกช็ ่วยพี่สาวทำ� งานบ้าน ตอ่ เม่อื โตขน้ึ จงึ
ตอ้ งแบกรับภารกิจมากท้งั ในบา้ นและนอกบา้ น นบั ต้ังแต่หาบนํา้ ตำ�
ขา้ ว หุงขา้ ว เล้ียงดนู ้องๆ ไปจนถึงช่วยพ่อแมท่ �ำไรไ่ ถนาและเลีย้ งวัว
เล้ียงควาย
ในบรรดาคนหนุ่มร่นุ เดียวกันแหง่ บา้ นปราสาท หลวงป่จู ัดว่า
เปน็ หน่มุ หน้าตาดี ไดเ้ ปรยี บเพื่อนๆ ด้านรูปสมบตั ิ นอกจากจะมี
รา่ งกายแข็งแรง สขุ ภาพอนามัยดแี ล้ว ยงั มีผวิ พรรณหมดจด รูปรา่ ง
โปร่งไดส้ ัดสว่ นสมทรง น่ารักนา่ เอ็นดู มีทา่ ทางแคลว่ คล่องวอ่ งไว
และยงั มอี ุปนสิ ยั เยอื กเย็น อ่อนโยน ความประพฤติเรียบรอ้ ยมาแต่
เยาว์ จึงไดร้ บั ค�ำยกยอ่ งชมเชยจากบรรดาญาตพิ น่ี ้องและผู้ทไ่ี ด้
พบเห็นโดยทั่วไป
ดว้ ยเหตทุ ่ีทา่ นมรี ูปรา่ งงดงามน่เี อง ท่านเจ้าเมอื งสรุ ินทร์
สมยั นั้นจึงมีบญั ชาให้น�ำตวั ท่านมารว่ มแสดงละครนอก โดยเล่นเป็น
ตวั นางเอก
ส�ำหรบั เรื่องราวชวี ติ ในอดตี นัน้ นานแสนนานกวา่ ท่านจะเล่า
ให้ฟงั สักคร้ังหน่งึ เมือ่ มโี อกาสดมี ีเวลาวา่ ง ทา่ นก็เลา่ เรือ่ งราว
ประวตั ิศาสตร์เมืองสุรินทร์ลำ� ดับถงึ บุคคลสำ� คญั ๆ ตลอดจนเครือ
ญาติในสมยั นน้ั
หลวงปเู่ ลา่ วา่ ประมาณปี พ.ศ. ๒๔๓๔ พระยาสรุ นิ ทรภกั ดีฯ
(มว่ ง) ผทู้ ีช่ กั ชวนคุณตาของท่านมาตัง้ บา้ นเรอื นทบี่ า้ นปราสาท ได้
ถึงแกอ่ นิจกรรม กรมหลวงพิชติ ปรีชากร ขา้ หลวงใหญ่ ได้แตง่ ตัง้
พระพไิ ชยณรงค์ภกั ดี (บุญนาค) ผู้เปน็ น้องชายขน้ึ ดำ� รงตำ� แหนง่
68
แทน เป็นเจ้าเมอื งสรุ นิ ทรล์ �ำดับท่ี ๖
ตอนท่หี ลวงปอู่ ายุประมาณ ๖ ขวบ ได้เกิดเหตกุ ารณ์สูร้ บกับ
ต่างชาติ น่ันคอื กรณีพิพาทเรือ่ งดนิ แดนฝั่งซา้ ยของแมน่ ํ้าโขง เรยี ก
ว่า เหตกุ ารณ์ ร.ศ.๑๑๒ ชายฉกรรจล์ ูกสรุ นิ ทร์ ๘๐๐ คน ถูกเกณฑ์
เขา้ รบั การฝกึ ในกองกำ� ลังรบ และส่งไปตรึงแนวรบด้านจังหวดั
อุบลราชธานี ร่วมกบั กองกำ� ลงั จากเมอื งอน่ื ๆ เพื่อต่อตา้ นการ
รกุ รานจากฝรง่ั เศส หลังจากการปะทะกนั เล็กน้อย กต็ กลงทำ� สญั ญา
สงบศกึ
หลังจากกรณพี ิพาทไม่นาน พระพิไชยณรงคภ์ ักดี (บญุ นาค)
กถ็ ึงแกก่ รรม พระพไิ ชยนครบวรวฒุ ิ (จรญั ) ไดร้ บั แตง่ ตงั้ เปน็ เจ้า
เมืองสรุ นิ ทรล์ ำ� ดบั ท่ี ๗ และได้รับพระราชทานบรรดาศกั ด์ิเปน็
พระยาสรุ นิ ทรภ์ กั ดศี รีผไทสมนั ต์ เจ้าเมอื งคนน้ีถงึ แก่กรรมเมือ่
หลวงปู่อายรุ ะหวา่ ง ๑๓-๑๔ ปี กำ� ลังเข้าวยั รนุ่
พระยาพไิ ชยณรงค์ภกั ดี (บุญจนั ทร)์ ไดด้ �ำรงต�ำแหน่งเจ้า
เมืองสุรนิ ทร์ลำ� ดับที่ ๘ เปน็ ทพี่ ระยาสรุ ินทรภ์ กั ดีศรผี ไทสมนั ต์
ตามต�ำแหนง่ และเจา้ เมอื งคนนี้เองท่บี ัญชาให้น�ำตัวทา่ นมาเลน่ ละคร
หลวงป่เู ลา่ ยอ้ นถึงเหตุการณเ์ มื่อคร้ังทา่ นเลน่ เปน็ นางเอก
ละครว่า สมัยน้นั คนนิยมดลู ะครกันมาก สมัยนั้นมธี รรมเนยี มอยูว่า
ถ้าเป็นละครของเจา้ เมอื งในหัวเมอื ง ต้องเอาผชู้ ายแสดงท้งั หมด
โดยสมมตเิ ป็นพระเป็นนางเอา แต่ถ้าเปน็ ละครหลวง หรือละครของ
พระเจ้าแผ่นดิน ผแู้ สดงตอ้ งเปน็ ผหู้ ญงิ ลว้ น สมมติเปน็ พระเปน็ นาง
เอาเหมือนกนั
เรอ่ื งที่หลวงปเู่ คยแสดงกม็ เี รื่อง ไชยเชษฐ์ ลักษณวงศ์ จนั ทร
กุมาร เป็นต้น จ�ำได้ชอื่ หนง่ึ วา่ ทา่ นเคยแสดงเป็นนาง ชือ่ นางรมั ภา
ไมท่ ราบวา่ อยู่ในวรรณคดีเรอ่ื งใด
จากทีห่ ลวงปเู่ ล่าพอจะสรปุ ไดว้ า่ คนสมัยโน้นกับคนสมัยนีม้ ัก
จะคลง่ั ดาราเหมอื นกนั ท่านเล่าวา่ คร้ังหนึง่ หลงั จากทจ่ี บการแสดง
แล้ว มหี ญงิ สาวคนหนึ่งพรวดพราดเขา้ มาหาหลวงปใู่ นหอ้ งแตง่ ตวั
69
คงคดิ จะทอดไมตรีผูกเป็นมิตรสหายกนั นับว่าแก่นกลา้ มิใชน่ ้อย
ส�ำหรบั สภาพสงั คมสมัยน้ัน
ขณะนน้ั นางเอกละครของเราก�ำลงั ถอดเครอื่ งทรงออกทลี ะ
ชนิ้ ทั้งแทท้ ้ังเทยี ม แมส่ าวคนน้ันถึงกบั ตะลงึ เมื่อทราบว่าทา่ นเป็น
ชาย เธออายมากรีบกระโดดลงจากเวที ว่ิงหนีไปอยา่ งรวดเรว็
เหมอื นกระตา่ ยป่า
น่แี สดงวา่ หลวงปู่ของเรากม็ ีความสามารถในการแสดงไม่
เบา ผหู้ ญิงแทๆ้ ยังคิดว่าทา่ นเป็นผู้หญงิ จริงๆ แต่เมอื่ เห็นท่านเปน็
ชายจึงรบี หนีไป
จากเหตกุ ารณน์ ้ชี ใี้ ห้เหน็ ว่า เดก็ หนุ่มเด็กสาวสมัยน้ันเขามี
จิตสำ� นึกในอนั ท่ีจะปอ้ งกนั มิใหเ้ กิดความเสอ่ื มเสียและระวังในเร่ือง
ระหวา่ งเพศเปน็ อยา่ งดี ไม่ให้เกิดความมวั หมองในความเป็นหนุม่
สาวของตน มิฉะนัน้ จะถูกดูหมิ่นดแู คลนจากสายตาของสังคม
หลวงปูย่ นื ยนั วา่ ตลอดชีวิตของท่านมีความบรสิ ทุ ธ์ิผดุ ผอ่ ง
ไม่เคยพ้องพานแตะต้องสตรีเพศเลยแมแ้ ตน่ อ้ ย ตราบเทา่ เข้าสู่
เพศพรหมจรรย์ ด�ำรงชพี อยู่ภายใต้ร่มเงาแห่งผ้ากาสาวพสั ตร์รวด
เดียวตลอดช่ัวอายุขัย
เม่ือ พ.ศ. ๒๔๔๘ หลวงปูอ่ ายุประมาณ ๑๘ ปี ไดล้ งไป
บางกอก เมืองหลวงของประเทศเป็นคร้งั แรก เพ่อื ไปซอื้ เครอื่ งแต่ง
ละคร เพราะตัวนางเอกต้องมาลองเครอื่ ง เลือกเคร่ือง ให้ได้เหมาะ
เจาะสมตัว
หลวงปู่เดนิ ทางดว้ ยชา้ งจากเมอื งสรุ ินทร์ ใช้เวลา ๔ วนั ๔
คืน จงึ ถงึ เมืองโคราช พักช้างไวท้ ่นี ัน่ แลว้ ขึ้นรถไฟต่อเข้ากรุงเทพฯ
ใชเ้ วลาเดนิ ทางอีก ๑ วนั ในสมยั นน้ั รถไฟมเี ดินแค่กรงุ เทพฯ-โคราช
เทา่ นัน้
เมอื่ ลงรถไฟทส่ี ถานีหวั ล�ำโพงแลว้ เห็นเมอื งบางกอกสมัยนนั้
ไมม่ ตี ึกรามบา้ นช่องหรือผู้คนมากมายอะไร ไม่วา่ จะเดินไปทางไหน
เม่อื ปวดทอ้ งหนกั ทอ้ งเบากส็ ามารถแวะเขา้ ป่าสะแก หรือปา่ สาบเสือ
70
ขา้ งทางได้อยา่ งสบาย น้ําทา่ แตล่ ะล�ำคลองก็ใสสะอาดดี อาบดื่มได้
อยา่ งสนิทใจ
เมอื่ กลบั ถงึ สุรนิ ทร์แลว้ ก็ทำ� ให้รูส้ ึกกระหย่ิมใจว่ามีบญุ วาสนา
มิใช่น้อย ท่ไี ดไ้ ปเหน็ บางกอกดว้ ยสายตาตนเอง หลวงปจู่ งึ มเี ร่ืองเล่า
ให้ผู้อื่นฟังอย่เู สมอ เพราะเหตวุ า่ นอ้ ยคนนักท่ีจะมโี อกาสวาสนาไดไ้ ป
เห็นกรงุ เทพฯ ในสมยั นั้น
สรู่ ่มกาสาวพสั ตร์
ชว่ งที่อยใู่ นคณะละครนเ่ี อง ทา่ นไดม้ ีโอกาสเรียนรู้หนงั สอื ไทย
พออ่านเขยี นไดบ้ ้างจากเพอื่ นในคณะ ทั้งนเี้ พราะในสมัยนั้นยังไมม่ ี
โรงเรยี น คนท่ีอยากเรยี นหนังสอื จงึ ต้องบวชเรียน หรือไม่กต็ ้องเดนิ
ทางไปแสวงหาความรูท้ ่ีบางกอกเมืองหลวงเท่าน้นั
หลวงปู่อยู่กับคณะละครถึง ๔ ปีเศษ แม้วา่ จะอยใู่ นสภาพ
แวดล้อมท่ีใครๆ กต็ อ้ งรสู้ กึ วา่ นา่ เพลิดเพลินและนา่ ลุม่ หลงเปน็ อยา่ ง
ย่งิ เพราะนอกจากจะอยู่ในวัยก�ำลงั งามแลว้ ทา่ นยังเปน็ นกั แสดงทมี่ ี
ผ้นู ิยมชมชอบมากอกี ดว้ ย ถงึ กระนัน้ หลวงป่ขู องเราก็มิไดห้ ลงใหลกบั
ส่ิงเหลา่ นัน้ เลย ตรงกนั ขา้ มท่านกลับมีอุปนิสยั โน้มเอียงไปทาง
เนกขัมมะ คอื อยากออกบวช
หลวงปูไ่ ดพ้ ยายามขออนญุ าตบวชจากบดิ ามารดาหลายครง้ั
แต่ก็ถูกคัดค้านเรอ่ื ยมาเน่ืองจากขาดก�ำลงั สำ� คัญท่ีจะชว่ ยแบง่ เบา
ภาระการงานของครอบครวั เพราะทา่ นเปน็ บุตรชายคนโต เป็นหวั
เรี่ยวหวั แรงของบา้ น
หลวงปู่เฝา้ ออ้ นวอนขออนุญาตลาบวชหลายครง้ั จนในท่สี ุด
บดิ ามารดาไม่อาจขดั ขวางความตั้งใจจรงิ ของทา่ นได้ จงึ ไดอ้ นุญาต
ให้บวชตามความปรารถนา แตบ่ ิดากไ็ ด้กลา่ วในนา้ํ เสียงทอี่ อกจะ
เปน็ การประชดวา่ ถ้าบวชแล้วต้องไม่สกึ หรืออยา่ งนอ้ ยต้องให้ได้
เป็นเจ้าอาวาส
71
ความจริงคณุ ปู่ของท่านเคยบวชและได้เป็นเจา้ อาวาสมาแลว้
ดว้ ยเหตนุ ก้ี ระมงั ทม่ี สี ว่ นสง่ เสรมิ อุปนิสัยของทา่ นให้โน้มเอยี งไปทาง
บรรพชาตั้งแต่เยาวว์ ยั คอื มีอปุ นสิ ัย รักการบุญและเกรงกลัวบาป
มิได้เพลดิ เพลิน คึกคะนองไปในวัยหนุ่มเหมอื นคนทวั่ ๆ ไป
เมื่อหลวงปไู่ ดร้ ับอนุญาตให้บวชเม่อื ท่านอายุได้ ๒๒ ปี พวก
ตระกลู เจา้ เมืองที่เคยชบุ เลย้ี งทา่ นได้เปน็ ผจู้ ัดแจงเร่ืองการบวชใหค้ รบ
ถ้วนทกุ อยา่ ง
หลวงปูไ่ ด้เข้าอุปสมบทก่อนเขา้ พรรษา เม่อื พ.ศ. ๒๔๕๓ ณ
พัทธสมี า วดั จมุ พลสุทธาวาส ซึ่งตงั้ อยู่ในเขตก�ำแพงเมอื งรอบนอก
ของจังหวัดสรุ นิ ทร์ในสมัยนัน้ โดยมที ่าน พระครวู ิมลสลี พรต (ทอง)
เปน็ พระอุปัชฌาย์ ท่านพระครบู ึก เปน็ พระกรรมวาจารย์ และ
ท่านพระครฤู ทธ์ิ เป็นพระอนุสาวนาจารย์
ในการอุปสมบทคร้งั นี้ ท่านอปุ สมบทในคณะ มหานิกาย
ท้งั นเี้ พราะ คณะธรรมยุต ในสมัยนนั้ ยังไมม่ ีในจังหวดั สุรนิ ทร์
หลวงป่ไู ด้รับฉายาว่า อตโุ ล หมายถึง ผู้ไมม่ ใี ครเทยี บได้
นับตง้ั แต่บดั นน้ั เปน็ ตน้ มา กเ็ ทา่ กับเปน็ บาทก้าวแรกแหง่ การ
แสวงหาความจริง บนเส้นทางธรรมของ หลวงปดู่ ูลย์ อตุโล อนั
เปน็ ความจริงทน่ี �ำไปสกู่ ารดบั ทกุ ขอ์ ย่างถึงที่สดุ และส้นิ เชิง
ปีติ ๕ การฝึกกมั มัฏฐานครั้งแรก
เมือ่ ได้อปุ สมบทเป็นพระภกิ ษุแล้ว หลวงปู่มีความปรารถนา
แรงกล้าทจ่ี ะศกึ ษาธรรมให้ยงิ่ ขึ้นเป็นล�ำดับ เมอ่ื ดำ� รอิ ยา่ งน้นั จงึ ไดไ้ ป
ขอจำ� พรรษาท่ีวัดบ้านคอโค ตำ� บลคอโค ซ่ึงอยู่ห่างจากบ้านของท่าน
ไปทางตะวันตก ห่างจากตวั เมอื งสรุ ินทร์ออกไปประมาณ ๑๐
กโิ ลเมตร ตอ้ งเดนิ ทางด้วยเท้าฝ่าป่ารกชฎั ไป
ที่วัดคอโคไดช้ ื่อวา่ เปน็ วัดทีส่ อนการเจริญ กัมมัฏฐานของ
จังหวดั สรุ นิ ทร์ ในสมัยนั้น มหี ลวงพอ่ แอก เปน็ เจา้ อาวาสและเปน็
72
ครฝู กึ กัมมฏั ฐานท่านแรกสำ� หรับหลวงปู่
การสอนพระกัมมัฏฐานและการอบรมความรูด้ ้านพระศาสนา
เม่อื สมยั ๘๐ ปีทีแ่ ลว้ เป็นการกระท�ำไปตามมีตามเกิด ถอื ความเหน็
ของครูอาจารยเ์ ป็นหลกั
วธิ ีสอนกมั มฏั ฐานของ หลวงพอ่ แอก ในคร้ังนนั้ ท่านให้เร่ิม
ตน้ ด้วยการจุดเทยี นขึ้นมา ๕ เลม่ แลว้ นง่ั บริกรรมวา่ ขออัญเชิญ
ปตี ิทั้ง ๕ จงมาหาเรา บรกิ รรมไปจนกว่าเทียนจะไหมห้ มด จดั วา่
เปน็ กศุ โลบายที่แยบยลเท่าทม่ี ีในสมัยนั้น
หลวงปไู่ ด้พากเพยี รปฏิบัติตามคำ� ชแี้ นะของพระอาจารยอ์ ย่าง
เครง่ ครัด ใชค้ วามอตุ สาหะและพยายามท่องบ่นบรกิ รรมไปจนตลอด
พรรษาโดยมไิ ด้ลดละ แตก่ ไ็ ม่บงั เกดิ ผลอันใด
จนแล้วจนรอดความรสู้ กึ อิม่ ใจ ความดม่ื ด่ําท่ีเรยี กวา่ ปตี ทิ ง้ั
๕ กไ็ มไ่ ดป้ รากฏขึน้ ในดวงหทยั
ไมว่ ่าจะเป็น ขุททกาปีติ คอื ปตี เิ ล็กนอ้ ยพอขนชชู ัน นา้ํ ตา
ไหล
หรือ ขณกิ าปตี ิ ไดแ้ ก่ ปีติชว่ั ขณะ ท�ำ ใหร้ ู้สึกแปลบๆ เป็น
ขณะๆ ดจุ ฟ้าแลบ
หรอื โอกันตกิ าปตี ิ ได้แก่ ปีตเิ ป็นระรอก หรอื ปีติเป็นพักๆ
ใหร้ ้สู ึกซ่าลงมาในกายดจุ คล่ืนซดั ตอ้ งฝัง่
หรอื อุพเพงคาปตี ิ คือ ปีตโิ ลดลอยเปน็ อย่างแรง ให้รูส้ กึ ใจ
ฟู แสดงอาการบางอย่างโดยมิไดต้ ้งั ใจ เชน่ เปลง่ อทุ าน หรือ ให้
รู้สกึ ตวั เบาโลดลอยขึ้นมาในอากาศ เปน็ ต้น
ตลอดจน พรณาปีติ คอื ปตี ิซาบซ่าน ใหร้ ้สู ึกเยน็ ซา่ นเอิบ
อาบไปทว่ั สรรพางค์ อันเปน็ ปตี ิที่ประกอบกบั สมาธิกระทง่ั น�ำ ไปสู่จติ
รวม
หลวงปเู่ คยกลา่ วถึงจิตรวมว่า เมอ่ื จติ รวมสงบแล้ว คำ�
บริกรรมก็หลดุ หายไปเอง แล้วกถ็ งึ รอยเดียวกัน รสเดียวกัน คือมี
วิมุตเิ ปน็ แก่น มปี ัญญาเป็นย่งิ
73
การเพยี รพยายามของหลวงปตู่ ลอดท้ังไตรมาสในครั้งน้นั ไม่
บังเกิดผลเลย ได้เหน็ แต่เทยี น ๕ เล่ม มิได้บงั เกิดปตี ิทัง้ ๕ ตาม
ความปรารถนา
หลวงป่ไู ด้ให้ข้อสังเกตในภายหลงั เม่อื ทา่ นผา่ นการปฏบิ ตั ิ
กระท่ังไดพ้ บธรรมะในใจแลว้ ทา่ นใหข้ อ้ สรุปจากประสบการณ์แหง่
ธรรมปฏบิ ตั ขิ องท่านวา่
การเรม่ิ ต้นปฏบิ ตั ิวปิ สั สนาภาวนาน้นั จะเริม่ ตน้ โดยวิธีไหน
กไ็ ด้ เพราะผลมันเป็นอนั เดียว กนั อยแู่ ล้ว ทีท่ ่านสอนแนวปฏิบัติ
ไวห้ ลายแนวนนั้ เพราะจิตของคนไมเ่ หมอื นกนั จงึ ต้องสรา้ งวตั ถุ
สี แสงและค�ำ สำ� หรบั บริกรรม เพ่ือหาจุดใดจุดหนึง่ ใหจ้ ิตรวมอยู่
ก่อน
นอกจากหลวงปจู่ ะฝกึ บริกรรมเพ่อื อัญเชญิ ปีตทิ ง้ั ๕ ตามท่ี
กล่าวแล้ว ทา่ นยังทดลองฝึกทรมานร่างกายเพอ่ื เผาผลาญกเิ ลสในตวั
เพ่มิ ข้ึนอกี ทางหนึง่ ดว้ ยการเขม้ งวดกวดขนั ในการขบฉันอาหาร โดย
ลดจำ� นวนค�ำขา้ วที่ฉนั ใหน้ ้อยลงไปเร่อื ยๆ เช่น วันกอ่ นเคยฉัน ๑๐
คำ� วนั ตอ่ มาลดเหลอื ๙ คำ� ๘ คำ� ลดลงไปเรอ่ื ยๆ จนกระทงั่
รา่ งกายซูบผอม ยามลกุ ขนึ้ เดนิ ก็โซเซ โงนเงน ไมม่ เี รี่ยวแรง
เมื่อฝึกทรมานรา่ งกายดว้ ยการอดอาหารตดิ ต่อกนั หลายวนั
หลวงปู่ก็พบว่ามไิ ด้มผี ลอะไร นอกจากรา่ งกายซูบผอมอ่อนโรยพลงั
ในที่สุดทา่ นกต็ ัดสนิ ใจเลิก แลว้ ก็กลบั มาฉันอาหารดงั เดมิ
นอกจากปฏบิ ัติกัมมฏั ฐาน และฝึกทรมานร่างกายตามวถิ ีแห่ง
โยคะแล้ว หลวงปู่กไ็ ด้ทอ่ งบน่ บทสวดมนตเ์ จ็ดต�ำนานบ้าง สบิ สอง
ตำ� นานบ้าง แตม่ ไิ ดเ้ รียนพระธรรมวินัย ซึ่งถือเปน็ ขอ้ วตั รปฏบิ ตั ิเพ่ือ
ฝึกฝนขัดเกลากาย วาจา ใจ เพ่อื ใหเ้ ป็นรากฐานของสมาธิภาวนา
หลวงปไู่ มท่ ราบเรื่องนี้ เพราะไม่ไดร้ ับการบอกกล่าวแตอ่ ยา่ งใด
นอกจากนี้ ระหว่างท่ีอยู่ทนี่ ัน่ ทา่ นยงั ถกู ใชใ้ หส้ รา้ งเกวียน
และเลี้ยงโคอกี ดว้ ย ท่านจึงเกิดความรสู้ ึกสลด สงั เวช และเกดิ ความ
เบือ่ หนา่ ย แตท่ ่านก็อดทนอยู่ได้นานถึง ๖ พรรษา
74
ไปศกึ ษาพระปริยตั ทิ จี่ ังหวัดอุบลฯ
ในชว่ งทศวรรษท่ี ๒๔๕๐ ตลอดทั้งภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ
การศึกษาในแวดวงสงฆค์ ึกคกั อยา่ งยง่ิ ทีจ่ งั หวัดอุบลราชธานี ทงั้ น้ี
ด้วยการริเรม่ิ สร้างสรรคข์ องทา่ นเจ้าประคณุ พระอุบาลคี ณุ ปู มาจาร
ย์ (สิริจันโทจนั ทร)์ และดว้ ยการสานเสรมิ เตมิ ตอ่ ของพระเดชพระคณุ
สมเดจ็ พระมหาวีรวงศ์ (ติสสเถระ) จนกล่าวได้ว่าจังหวดั
อุบลราชธานเี ปน็ ทศิ าปาโมกขข์ องผูร้ ักการเรียนในพระปริยัติโดยแท้
ในปี พ.ศ. ๒๔๕๘ ขณะทห่ี ลวงปู่ดลู ยย์ ังพำ� นกั ทวี่ ัดบา้ นคอโค
ทา่ นก็ได้ยนิ กิตตศิ พั ทเ์ กีย่ วกับการสอนการเรียนพระปริยตั ิทีจ่ งั หวัด
อบุ ลราชธานี ตามแบบของมหามกุฎราชวิทยาลัยแห่งวัดบวรนเิ วศ
วิหาร หลวงป่มู ีความปีติอย่างลน้ พน้ เมื่อไดท้ ราบขา่ วน้แี ละมีความ
ปรารถนาแรงกล้าท่ีจะไดเ้ ดินทางไปศกึ ษายังจังหวัดอุบลฯ
หลวงปู่ได้เพียรขออนญุ าตพระอปุ ัชฌาย์ที่จะเดนิ ทางไปศึกษา
แต่ก็ถูกทัดทานในเบือ้ งตน้ เพราะในระยะนัน้ การเดนิ ทางจากสรุ ินทร์
ไปอุบล ราชธานลี ำ� บากยากเข็ญเปน็ อย่างย่งิ
หลวงปู่เพียรขออนญุ าตหลายครงั้ เม่ือพระอปุ ชั ฌาย์เหน็
ความมุ่งมน่ั ของหลวงปู่ จึงไดอ้ นญุ าต ทา่ นไดอ้ อกเดนิ ทางไปกับพระ
ภกิ ษุอีก ๒ องค์ คอื พระคง และ พระดิษฐ์
เมอ่ื ทา่ นไดเ้ ดินทางไปถึงอบุ ลราชธานี หลวงปู่ตอ้ งประสบ
ปัญหาในเร่อื งท่พี กั เนอ่ื งจากหลวงป่บู วชในมหานิกาย ขณะที่ วดั สุ
ปัฏนาราม และ วัดสทุ ศั นาราม แหลง่ ศกึ ษาพระปรยิ ัติธรรมนนั้
เป็นวัดฝ่ายสงฆ์ธรรมยตุ
โชคดที ี่ได้พบ พระมนัส ซึง่ ได้เดนิ ทางมาเรยี นอยกู่ อ่ นแลว้ ได้
ให้ความช่วยเหลอื ฝากใหอ้ ยู่อาศัยทว่ี ัดสุทศั นารามไดแ้ ตใ่ นฐานะพระ
อาคันตกุ ะ ท�ำใหค้ วามราบรืน่ ในทางการเรยี นค่อยบงั เกดิ ข้นึ เป็น
ลำ� ดบั
75
การเลา่ เรียนพระปริยตั ิธรรมในช่วงปี พ.ศ. ๒๔๕๐ กวา่ ๆ นน้ั
เปน็ ไปอย่างเขม้ งวด การไล่ หรอื การสอบพระธรรมบทหรือวนิ ัยมุข
ต่างๆ น้นั ผู้สอบจะถูกไลเ่ รียงซกั ถามเป็นรายตัวตามเนือ้ หาทีเ่ รียน
มาเปน็ บทๆ จนจบ ผูท้ สี่ อบได้จงึ ถอื ไดว้ า่ เปน็ ผู้ทถี่ งึ พรอ้ มด้วยความ
เพียรพยายามอยา่ งทส่ี ดุ
หลวงปสู่ ามารถสอบไลไ่ ด้ประกาศนียบตั รนักธรรมช้นั ตรี
นวกภมู ิ เปน็ รุน่ แรกของจงั หวัดอุบลราชธานี นบั เปน็ ความสำ� เร็จ
อยา่ งสงู ในสมยั น้ัน
นอกจากน้ีหลวงปยู่ ังได้เรยี นบาลไี วยากรณ์ (มลู กัจจายน)์
ดว้ ย เพราะความหมายแหง่ บาลี คอื ภาษาทไี่ ดจ้ ดจ�ำและจารึกรักษา
พทุ ธพจนแ์ ต่เดมิ มา อันเป็นหลกั ในทางพระพุทธศาสนา ดงั น้ัน การ
ศึกษาเล่าเรียนในทางปริยตั ิธรรม โดยเนอ้ื แทก้ ค็ อื การศกึ ษาภาษา
บาลนี น่ั เอง
หลวงปูไ่ ด้เรียนบาลไี วยากรณ์ จนสามารถแปลพระธรรมบท
ได้
แมจ้ ะน�ำความรใู้ นระดับ นกั ธรรมตรี ไปเทยี บกบั เปรียญ
ธรรม ๙ ประโยค ซึง่ เป็นคุณวุฒิ สูงสุดในทางปริยัตธิ รรม อาจถือ
ได้ว่าห่างไกลกนั เปน็ อย่างยิ่ง เหมอื นกบั น�ำความรรู้ ะดบั ช้นั ประถมปี
ที่ ๑ ไปเทยี บกับปริญญาเอกก็นา่ จะได้
แต่สิง่ ที่ไม่ควรมองข้ามก็คอื การศึกษาในทางปริยัตธิ รรมของ
หลวงปนู่ ้นั เกิดขน้ึ ในทศวรรษ ๒๔๕๐ เชน่ เดยี วกับการศึกษาใน
ทางโลกเมื่อประมาณ ๘๐ ปกี ่อน การได้เรียนถึงประถมปีที่ ๑ หรือ
๒ ก็นบั วา่ ยอดเยย่ี มลํา้ เลศิ แห่งยคุ สมยั แลว้
ภายหลงั ต่อมาเมือ่ หลวงปมู่ พี รรษาแก่กลา้ ผา่ นประสบการณ์
ด้านธรรมปฏบิ ัติมามากและมาตั้งโรงเรียนสอนปรยิ ตั ิธรรมที่วัด
บรู พาราม จังหวดั สรุ นิ ทร์แล้ว คราวหนงึ่ ทีน่ กั เรยี นของท่าน มพี ระ
ภิกษุสอบเปรียญธรรม ๙ ประโยคไดเ้ ปน็ องคแ์ รก และในงานฉลอง
พดั ประโยค ๙ ในครั้งนน้ั หลวงปไู่ ดใ้ หโ้ อวาทในเชิงปรารภธรรมวา่
76
“ผู้ท่ีสามารถสอบเปรียญ ๙ ประโยคได้นัน้ ตอ้ งมคี วาม
เพียรอย่างมาก และมีความฉลาดเพียงพอ เพราะถอื ว่าเปน็ การ
จบหลกั สูตรฝ่ายปริยัติ และตอ้ งแตกฉานในพระไตรปฎิ ก การ
สนใจในทางปริยัติอยา่ งเดยี วพ้นทุกข์ไม่ได้ ตอ้ งสนใจปฏบิ ตั ทิ าง
จติ ต่อไปอกี ดว้ ย”
โดยไม่ต้องตั้งคำ� ถามว่า ท�ำไม หลวงปกู่ ใ็ ห้ค�ำอธิบายส้นั ๆ วา่
“พระธรรมทั้ง ๘๔,๐๐๐ พระธรรมขันธ์นนั้ ออกไปจากจติ
ของพระพุทธเจา้ ท้งั หมด ทกุ ส่งิ ทกุ อย่างออกจากจิตใจ อยากรู้
อะไรค้นไดท้ ี่จติ ”
ทห่ี ลวงปูก่ ล่าวเชน่ น้ีมไิ ด้หมายความวา่ หลวงปู่จะมองข้าม
บทบาท และความหมายของปรยิ ัติ เนอื่ งเพราะการศกึ ษาในทาง
ปรยิ ตั ินน้ั เปน็ รากฐาน หรอื สะพานอนั กอ่ ใหเ้ กดิ ความรู้ ที่จะเชอ่ื มโยง
ไปสูค่ วามเขา้ ใจในธรรมะ แต่จะขาดการปฏิบตั ไิ ปไมไ่ ดอ้ ยา่ งเด็ดขาด
ปริยตั ิเพยี งอยา่ งเดยี วพน้ ทกุ ข์ไมไ่ ด้ ปัจจัยช้ีขาดโดยแทจ้ ริง
อยทู่ ี่การปฏิบตั ิทางจิต
เขา้ สสู่ งฆฝ์ า่ ยวปิ ัสสนาธุระ
เมือ่ หลวงป่ปู ระสบผลสำ� เรจ็ ในการเล่าเรยี นดา้ นปริยตั ใิ น
ระดับหน่งึ แลว้ สิง่ ท่ยี งั คงค้างคาในใจของท่านในขณะนน้ั กค็ ือ ความ
ต้องการทีจ่ ะเปลยี่ นจากนกิ ายเดิม มาเป็น ธรรมยุตกิ นกิ าย หรือ
ฝา่ ยวิปสั สนาธรุ ะ
(คณะสงฆไ์ ด้แบ่งลักษณะการบรหิ ารออกเปน็ ๒ ฝ่าย คือ
ฝ่ายคันถธรุ ะ ซ่งึ เป็น มหานกิ าย กบั ฝ่ายวิปัสสนาธรุ ะ ซึ่งเป็น
ธรรมยุตกิ นกิ าย ทัง้ ๒ ฝา่ ยปฏบิ ัติธรรมเพือ่ ความส�ำเรจ็ ในเป้า
หมายเดยี วกนั แต่ฝา่ ยมหานิกายเนน้ ทางสร้างฐานพระศาสนา คือ
สอนคนท่วั ไป ส่วนฝ่ายธรรมยุตกิ นิกาย เน้นการฝึกตนเองไปสคู่ วาม
หลุดพ้น)
77
แม้หลวงป่จู ะมีความต้องการญัตตใิ หม่อย่างยง่ิ กต็ าม แตห่ า
ไดด้ ำ� เนินไปดว้ ยความราบรน่ื ทั้งนมี้ ใิ ชว่ ่าหลวงปขู่ องเราจะออ่ นดอ้ ย
ไมเ่ หมาะสม หากแต่พระเถระผู้ใหญ่มีสายตายาวไกลมากกวา่
กลา่ วคือ พระธรรมปาโมกข์ (ติสโส อ้วน) เจา้ คณะมณฑล
ในขณะนั้นเหน็ ว่า “อยากให้ท่านเล่าเรียนไปก่อน ไมต่ อ้ งญตั ต”ิ
พระคุณเจา้ ได้ชแ้ี จงเหตุผลวา่ “เนอ่ื งจากทางคณะสงฆ์ธรรม
ยตุ มนี โยบายจะให้ทา่ นกลบั ไปพัฒนาการศึกษาพระปรยิ ตั ธิ รรม ที่
จังหวัดสรุ นิ ทร์ บา้ นเดิมของท่านใหเ้ จริญรุ่งเรอื ง เพราะถ้าหากญัตติ
แลว้ เม่อื ทา่ นกลบั ไปสรุ ินทรท์ า่ นจะตอ้ งอยู่โดดเด่ียว เน่อื งจากไม่มี
วัดฝ่ายธรรมยตุ ทจ่ี งั หวดั สรุ นิ ทรเ์ ลย”
สำ� หรบั พระธรรมปาโมกข์ องค์น้กี ็คือ สมเด็จพระมหาวีร
วงศ์ ติสสเถระ ในเวลาต่อมานน่ั เอง ท่านเป็นพระอาจารยผ์ ้แู รกเริม่
สอนพระปริยัติธรรมในภาคอีสาน โดยเปดิ สำ� นักเรียนอบุ ลวทิ ยาคม
ณ วัดสุปฏั นาราม ในเมืองอบุ ลราชธานี ท�ำใหก้ ารศึกษาภาษาบาลี
และธรรมได้แพร่กระจายไปทว่ั มณฑลอิสานเป็นลำ� ดับมา
แมพ้ ระผู้ใหญจ่ ะทัดทานการญตั ตขิ องหลวงปู่ดลู ย์ จะเปีย่ ม
ดว้ ยเจตนาอันดี แต่หลวงปมู่ ิไดม้ ีความประสงค์จะกลับไปสอนพระ
ปรยิ ัติธรรมทจ่ี ังหวัดสรุ ินทร์
แท้จริงแลว้ หลวงปู่ตอ้ งการเป็นพระนักปฏบิ ตั ิ ดังนัน้ ความ
เพียรในการขอญัตติ จึงยังดำ� เนนิ ตอ่ ไป
จะสงั เกตไดว้ ่า การด�ำรง และการดำ� เนินกจิ กรรมต่างๆ
ของหลวงปู่ มักจะเริ่มตน้ ดว้ ยการมีอปุ สรรคเสมอ และสุดทา้ ยก็
สำ� เรจ็ ลงไดด้ ้วยความพยายาม และความตั้งใจจริงของทา่ น ซ่งึ
การญัตตใิ นคร้งั นีก้ ็เช่นกนั
เหตกุ ารณต์ อ่ มา ซ่ึงจะนับว่าเปน็ โชคของหลวงปู่ก็ว่าได้ ท่ี
ทา่ นไดม้ ีโอกาสรจู้ กั ค้นุ เคยกบั หลวงปู่สงิ ห์ ขนตยาคโม ซึ่งทา่ นรบั
ราชการครู ท�ำ หนา้ ท่ีสอนฆราวาส ทัง้ ทีย่ ังเป็นพระสงฆอ์ ย่ทู วี่ ัด
สทุ ัศนาราม จังหวดั อบุ ลราชธานี
78
หลวงปสู่ ิงหแ์ ละหลวงปดู่ ูลย์ มอี ายุรุ่นราวคราวเดยี วกัน แต่
หลวงป่ดู ลู ย์ออ่ นพรรษากวา่
หลวงปูท่ ้ังสององคม์ คี วามสนทิ สนมกันมากขน้ึ เปน็ อนั ดับ
หลวงปู่สงิ ห์เห็นปฎปิ ทาในการศกึ ษาเล่าเรยี นพรอ้ มท้ังการประพฤติ
ปฏบิ ัตกิ ิจในพระศาสนาของหลวงปู่ดูลย์ วา่ เป็นไปด้วยความตัง้ ใจจริง
จงึ ได้รับภาระในเรือ่ งการขอญัตตจิ นกระท่งั ประสบผลสำ� เรจ็
ดังนั้นใน พ.ศ. ๒๔๖๑ ขณะมีอายุ ๓๐ ปี หลวงปจู่ ึงไดญ้ ัตติ
จากนิกายเดิม มาอปุ สมบทเป็นพระภิกษใุ นธรรมยุตกิ นกิ าย ณ พทั
สมี า วัดสุทศั นาราม จังหวัดอุบลราชธานี โดยมีพระมหารฐั เปน็
พระอปุ ัชฌาย์ และ พระศาสนดิลก (ชติ เสโน เสน) เจา้ คณะมลฑล
อุดร เปน็ พระกรรมวาจาจารย์
หลวงปู่สิงห์ ขนตยาคโม นบั เปน็ กลั ยาณมิตรอนั ยอดเยย่ี ม
ของหลวงปู่
กลา่ วในทางประวตั คิ วามเปน็ มา หลวงปสู่ งิ ห์ เปน็ พระภกิ ษทุ ี่
สอนหนงั สอื ใหฆ้ ราวาส ภายหลงั ทท่ี า่ นไดก้ ราบนมสั การ หลวงปู่
มน่ั -พระอาจารยใ์ หญ่ เปน็ ลำ� ดบั มา ภายในหว้ งนกึ คดิ ของทา่ นกเ็ รม่ิ
แปรเปลยี่ นเนอ่ื งจากเพราะคำ� ชกั ชวนของ พระอาจารยใ์ หญ่ ดงั
กกึ กอ้ งในโสตประสาทเสมอ
“การบวชเปน็ พระภกิ ษุสงฆ์จะตอ้ งปฏบิ ตั กิ รรมฐาน คือ
พจิ ารณา ตจปญั จกกัมมฏั ฐาน เปน็ เบ้อื งแรก เพราะเปน็ หนทางพ้น
ทกุ ข์ไดอ้ ยา่ งแทจ้ ริง”
กล่าวกันวา่ จากการฝึกปฏิบัตภิ าวนาตามคำ� แนะนำ� ของหลวง
ป่มู นั่ อยา่ งเอาจริง ถึงกับหลวงปูส่ ิงห์ มองเห็นศษิ ยอ์ นั เป็นฆราวาส
ทั้งชายหญิง กลายเป็นโครงกระดกู นอ้ ยใหญ่ นั่งเรียนและเคล่อื นไหว
กอ๊ กแกก๊ ก๊อกแกก๊ อย่ใู นช้ันเรียนท่ที ่านกำ� ลงั สอนอยู่ พอวนั ร่งุ ขึ้น
ทา่ นก็สะพายกลดธดุ งค์ ออกบ�ำเพ็ญเพียรตามปา่ เขาลำ� เนาไพรต้ังแต่
น้นั มา
หลวงปู่สงิ ห์ ได้รบั สมญาว่าเปน็ แม่ทัพใหญ่แหง่ กองทพั ธรรม
79
น่นั คือ ท่านไดร้ ับมอบหมายภาระจากหลวงป่มู ั่น ให้นำ� พระภกิ ษุ
สงฆส์ ายพระกมั มัฏฐาน ออกท�ำการเผยแพร่ธรรมะในแนวทางปฏิบตั ิ
จนกระท่ังแพร่หลายมาจนทุกวนั น้ี
ช่วงหลังสุด หลวงปู่สิงห์ ได้มาสร้างวัดป่าสาลวัน ท่จี งั หวดั
นครราชสมี าและพำ� นักอยู่ทีว่ ดั แหง่ น้จี นวาระสุดทา้ ยในชีวิตของท่าน
หลวงปสู่ งิ ห์ ขนตยาคโม นับเป็นกัลยาณมติ รอันยอดเย่ยี ม
ของหลวงป่ดู ลู ย์ นอกจากรบั เป็นภาระชว่ ยใหห้ ลวงปู่ไดญ้ ัตตอิ ย่ใู น
ฝา่ ยธรรมยตุ แลว้ ตอ่ มาไดน้ ำ� พาใหห้ ลวงปูเ่ ข้าเป็นศษิ ย์ หลวงปมู่ น่ั
ภรู ทิ ตโต พระอาจารยใ์ หญฝ่ ่ายวิปสั สนากัมมัฎฐานอกี ด้วย
นับเป็นคุณูปการใหญห่ ลวงย่ิงในชวี ิตของ หลวงปดู่ ลู ย์ อตโุ ล
ของเรา
เขา้ เปน็ ศษิ ยห์ ลวงป่มู ั่น ภูรทิ ตฺโต
เมื่อหลวงป่ญู ัตตเิ ขา้ เป็นสงฆฝ์ ่ายธรรมยตุ แลว้ ท่านกม็ สี ิทธิ์
เปน็ พระอยใู่ นวัดสุทศั นารามได้อย่างสมบูรณ์ มิใชอ่ ยเู่ ยี่ยงพระ
อาคนั ตกุ ะเหมอื นเมือ่ กอ่ น กิจกรรมการเรียนด้านปริยัตขิ องทา่ นยัง
คงดำ� เนนิ ต่อไป เพียงแต่เม่ือเขา้ มาอยใู่ ต้ชายคาแห่งสายวปิ ัสสนาธรุ ะ
แลว้ ข้อวัตรปฏิบตั กิ ็มีความเคร่งครัดรดั กมุ มากข้นึ ท�ำใหท้ ่านมีใจใฝ่
ศกึ ษาโดยเน้นการปฏิบัตธิ รรมเป็นอยา่ งยิง่
ในชว่ งระหวา่ งทศวรรษ ๒๔๖๐ นน้ั ไมเ่ พยี งแตส่ มเดจ็ พระมหา
วรี วงศต์ สิ สเถระ เทา่ นน้ั ทท่ี รงบทบาทเปน็ อยา่ งสงู ดา้ นพระพทุ ธ
ศาสนาในภาคอสี านและโดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ ในจงั หวดั อบุ ลราชธานี
อกี ท่านหน่ึงท่ไี ดร้ ับความเคารพรกั และศรัทธาเปน็ อยา่ งสูง
กค็ อื หลวงปู่มัน่ ภูรทิ ตโต พระอาจารยใ์ หญส่ ายพระกรรมฐาน
เมอ่ื ปี พ.ศ. ๒๔๕๘ หลวงปมู่ นั่ เดินทางจากวดั บรมนวิ าส
กรงุ เทพฯ มาพำ� นักทีว่ ัดบรู พา จังหวัดอุบลราชธานี
นับเป็นขา่ วใหญ่ แพร่กระจายไปในหมสู่ งฆ์และประชาชน
80
ทวั่ ไป ท�ำใหบ้ รรดาพระภิกษุสามเณร และชาวบ้านรา้ นตลาดทั้งปวง
พากันแตกตืน่ หล่งั ไหลไปฟังธรรมเทศนาของหลวงปูม่ น่ั กนั เป็น
โกลาหล
หลวงปู่สิงห์ ได้ชักชวน หลวงปดู่ ลู ย์ ไปกราบเพื่อฟังเทศน์
และศึกษาธรรมะจาก พระอาจารย์ใหญ่ ท่วี ัดบูรพา เชน่ เดยี วกบั คน
อ่นื ๆ
พระอาจารยใ์ หญ่ กล่าวเมื่อพบหนา้ หลวงปู่สงิ ห์ วา่
“เราได้รอเธอมานานแล้ว อยากจะพบและชกั ชวนไปปฏบิ ตั ิ
ธรรมดว้ ยกัน”
พระอาจารยใ์ หญม่ น่ั ไดก้ ลา่ วในตอนนน้ั อกี วา่
“การบวชเป็นพระภกิ ษุสงฆ์ จักต้องปฏิบตั ิกัมมฏั ฐาน คอื
พจิ ารณาตจะปัญจกะกัมมฏั ฐานเป็นเบ้ืองแรก เพราะเป็นหนทางพ้น
ทกุ ขไ์ ด้อย่างแทจ้ ริง”
จากนน้ั หลวงปู่สงิ ห์ กับ หลวงปดู่ ลู ย์ กถ็ วายตัวเป็นศิษย์
ของ หลวงปมู่ ั่น ตลอดมา
หลวงปูท่ ้ังสององคพ์ ากนั ไปฟังเทศนจ์ ากพระอาจารย์ใหญเ่ ปน็
ประจำ� ไม่เคยขาดแม้สกั คร้ังเดยี ว
นอกจากจะได้ฟงั ธรรมะแปลกๆ ท่ีสมบูรณด์ ว้ ยอรรถและ
พยญั ชนะ มีความลึกซ้งึ รดั กมุ และกว้างขวาง เป็นท่ีนา่ อัศจรรย์แลว้
ยังมโี อกาสเฝา้ สังเกตปฏิปทาของท่านพระอาจารย์ใหญ่ ท่งี ดงาม
เพยี บพรอ้ ม นา่ เล่ือมใส ทุกอริ ิยาบถอกี ดว้ ย ทำ� ให้เกิดความซาบซ้งึ
ถงึ ใจ แต่ละคำ� พูดมนี ยั แปลกดี ไมเ่ คยไดย้ ินได้ฟังจากที่ไหนมากอ่ น
จงึ ทำ� ให้หลวงปู่ทั้งสององคเ์ พิม่ ความสนใจ ใครป่ ระพฤติปฏิบตั ทิ าง
ธดุ งค์กัมมฏั ฐานใหม้ ากย่งิ ๆ ขึ้นไป
การศึกษาเลา่ เรยี นดา้ นพระปรยิ ตั ธิ รรม ของหลวงป่ดู ลู ย์มี
ความกา้ วหน้าตามลำ� ดับ ทา่ นได้พิจารณาตามขอ้ ธรรมเหล่านน้ั จน
แตกฉานช่าํ ชองพอสมควรและไดพ้ ิจารณาเห็นว่า การเรียนพระ
ปรยิ ัตธิ รรมอย่างเดียวนั้น เปน็ แตเ่ พยี งการจ�ำ หวั ข้อธรรมะได้
81
เทา่ นั้น ส่วนการปฏิบตั ิให้เกิดผลและรรู้ สพระธรรมอยา่ งซาบซง้ึ
น้นั เปน็ อกี เรื่องหนง่ึ ต่างหาก
หลวงปู่จึงไดบ้ งั เกิดความโนม้ เอียงไปในทางปฏิบตั ิ คอื ธดุ งค์
กัมมฏั ฐานอยา่ งแน่วแน่ จึงไดต้ ดั สนิ ใจที่จะออกธุดงคก์ ัมมฎั ฐาน ใน
ฤดูหลังออกพรรษาน้นั อยา่ งแนน่ อน เปน็ เหตุให้การเรยี นทางปรยิ ตั ิ
ธรรมในหอ้ งเรียนของท่านเปน็ อนั สน้ิ สดุ ลง
ตอ่ ไป คอื การเขา้ สหู่ อ้ งเรยี นทเ่ี ปน็ ธรรมชาติ อันกว้างใหญ่
ไพศาล ประกอบทัง้ ดนิ ฟา้ มหาสมทุ ร รวมทั้งการเสาะแสวงหาตวั เอง
ในโลกภูมินีก้ ็กวา้ งไกลสุดแสน เหลอื ทจ่ี ะประมาณได้
ออกธุดงค์
การบวชของ หลวงปูด่ ูลย์ นน้ั ความจรงิ ทา่ นมิไดม้ เี จตนาที่
จะร่งุ โรจนท์ างด้านปริยตั ิธรรม หรอื ดา้ นการปกครอง ถงึ แมส้ มเดจ็
พระมหาวรี วงค์ ติสสมหาเถระ ต้ังความหวงั วา่ จะให้หลวงป่เู ปน็ ผ้นู ำ�
ในการเผยแพร่ และปกครองเสมอื นเป็นหเู ป็นตาแทนทา่ นในเขต
เมอื งสุรนิ ทร์ก็ตาม
แต่เน้อื แท้และความปรารถนาอย่างแท้จรงิ ของหลวงปู่ คือ
การออกปฏบิ ตั ิ ปรารถความเพยี รในความวเิ วกต่างหาก เป็นความ
ตอ้ งการทีเ่ คยมาดหมายไว้ เมอื่ แรกบวชท่ีจงั หวดั สุรินทรแ์ ละที่
อตุ สา่ ห์รอนแรมมาจงั หวดั อุบลราชธานีกเ็ พอื่ การน้ี
ดว้ ยความต้งั ใจของทา่ นและเม่ือหลวงปูส่ งิ ห์ ออกปากชวนให้
ออกจาริกธดุ งค์ไปตามปา่ เขาแหง่ ภาคอสี าน จึงสอดรบั กบั ความ
ตอ้ งการของหลวงปู่อย่างดียงิ่
ครัน้ ออกพรรษาแลว้ เม่อื ปลายปี พ.ศ. ๒๔๖๑ นัน้ เอง
หลวงป่มู ัน่ พระอาจารยใ์ หญ่ ก็ออกธุดงค์อกี หลวงปู่ท้งั สองสหาย
คือ หลวงป่สู งิ ห์และหลวงป่ดู ลุ ย์ ก็ตัดสินใจเดด็ ขาด สละละทง้ิ การ
เรยี นการสอน ออกจารกิ ธุดงค์ ตดิ ตามพระปรมาจารยผ์ ยู้ งิ่ ใหญ่ ไป
82
ทกุ หนทุกแห่ง จนตลอดฤดกู าลนอกพรรษานน้ั
ตามธรรมเนยี มธุดงค์กัมมฏั ฐานของ พระอาจารยใ์ หญ่มน่ั
น้นั มอี ยูว่ ่าเมอ่ื ถงึ กาลเข้าพรรษา ไม่ใหจ้ ำ� พรรษารวมกันมากเกนิ ไป
ให้แยกยา้ ยกันไปจำ� พรรษาตามสถานท่อี ันวิเวก ไม่ว่าจะเป็นวดั เป็น
ปา่ เปน็ เขา โคนไม้ ลอมฟาง เรือนวา่ ง หรอื อะไรตามอัธยาศัยของ
แต่ละบุคคล แต่ละคณะ
ขณะเดียวกัน เมื่อออกพรรษาแล้ว กจ็ ะถึงวาระแห่งการ
ประชมุ กัน หากทราบข่าวว่า พระอาจารยใ์ หญ่มนั่ อยู่ ณ ทใ่ี ด ก็
จะพากนั ไปจากทกุ ทศิ ทาง มงุ่ ตรงไปยงั ณ ทีน่ ้ัน
ความประสงค์ก็เพือ่ เรยี นพระกมั มฏั ฐานและเลา่ แจง้ ถึงผลของ
การประพฤติปฏิบตั ทิ ผี่ ่านมา
เม่ือมอี นั ใดผดิ พระอาจารยใ์ หญ่ ก็จะช่วยแนะนำ� แกไ้ ข อัน
ใดถกู ต้องดีแลว้ ท่านจะได้แนะน�ำ ขอ้ กมั มฏั ฐานให้ยง่ิ ๆ ขนึ้ ไป
ในพรรษาแรกที่ร่วมออกธดุ งคต์ ดิ ตาม พระอาจารยใ์ หญม่ ่ัน
นี้ หลวงปูบ่ อกว่ายังไมม่ อี ะไรมาก เพียงแต่เป็นการฝึกการใชช้ วี ติ
แบบพระปา่ และใช้หลักความรใู้ นการฝกึ ปฏบิ ัติเบ้อื งต้น เปน็ การสรา้ ง
ฐานความร้ใู ห้มน่ั คง
สำ� หรบั ผ้ทู ่มี ีความตั้งใจจรงิ อยา่ งหลวงปู่แลว้ ทา่ นไมป่ ลอ่ ย
เวลาให้ลว่ งไปโดยเปล่าประโยชน์ ท่านไดเ้ รง่ การฝึกปฏิบัตคิ วามเพียร
อยา่ งเครง่ ครดั โดยมี ฉนั ทะ คือ ความเช่ือม่นั และศรทั ธาในความ
ส�ำเร็จทห่ี วงั วา่ จะตอ้ งเกดิ ข้ึนในตัวท่านอย่างแนน่ อน
จากการได้มโี อกาสฝกึ ปฏิบัติกับท่านพระอาจารย์ใหญ่ ตลอด
การออกธุดงค์ในช่วงนี้ ทำ� ให้หลวงปเู่ กดิ ความเลื่อมใสในแนวทาง
ธดุ งคก์ มั มัฏฐานเป็นอยา่ งยิ่ง
เมื่อใกลฤ้ ดูกาลเข้าพรรษาในปนี ้ัน (พ.ศ. ๒๔๖๓) คณะของ
หลวงปู่ ซง่ึ นำ� โดยหลวงป่สู งิ ห์ ก็แยกย้ายจากพระอาจารย์ใหญ่ พา
หมู่คณะแสวงหาทส่ี งบวเิ วกเพ่อื บำ� เพญ็ เพียรในชว่ งเข้าพรรษาตอ่ ไป
83
เหนอื ความตาย
คณะที่น�ำโดย หลวงป่สู ิงห์ ขนตยาคโม กม็ ี พระอาจารย์
บุญ พระอาจารย์สที า พระอาจารยห์ นแู ละหลวงปูด่ ลู ย์ อตุโล
รวม ๕ องค์ เมือ่ แยกทางจาก พระอาจารย์ใหญ่มน่ั ภูริทตโต แล้ว
กเ็ ดินธุดงคเ์ ลียบเทือกเขาภพู านไปเรื่อยๆ
เมื่อถงึ ป่าทา่ คันโท อ�ำเภอทา่ คันโท จงั หวัดกาฬสนิ ธ์ุ ได้
พจิ ารณาเหน็ ว่าสภาพป่าแถวนน้ั มีความเหมาะสมทีจ่ ะอยจู่ �ำพรรษา
จึงไดส้ มมติข้นึ เปน็ สำ� นกั ป่าท่าคนั โท แลว้ ทั้ง ๕ องค์ ก็อธษิ ฐาน
อยู่จ�ำพรรษา ณ สถานท่ีนนั้
เม่ือพจิ ารณาทจี่ ำ� พรรษาเปน็ ท่ีเรียบรอ้ ยแล้ว ทกุ องค์กต็ ้งั
สจั จะปรารภความเพียรอย่างอุกฤษฎ์ ด�ำเนินข้อวัตรปฏบิ ัตติ ามคำ�
อบรมสัง่ สอนของพระอาจารย์ใหญ่อย่างสดุ ชีวติ
ปา่ ท่าคนั โท แถบเทือกเขาภูพานในสมยั น้ัน ยังรกชฏั อดุ มไป
ด้วยสตั วป์ ่านานาชนิด ทรี่ า้ ยกาจก็คือ มไี ข้ป่าชกุ ชุม ชาวบ้านเรียก
ว่า “ไข้หนาว” ใครก็ตามทเ่ี ปน็ จะมอี าการหนาวสน่ั เหมอื นมคี นจับ
กระดกู เขย่าให้โยกโคลนไปทง้ั กาย
ปรากฏวา่ พระทุกองค์ ยกเวน้ พระอาจารยห์ นูเพยี งองค์เดยี ว
ที่ไม่ถูกพษิ ไขห้ นาวเล่นงานเอา นอกนั้นตา่ งลม้ เจ็บได้รบั ความทกุ ข์
ทรมานอยา่ งแสนสาหัสดว้ ยกันทง้ั ส้ิน
ในทา่ มกลางป่าทึบดงเถือ่ นเชน่ น้ัน หยกู ยาอะไรกไ็ ม่มี ได้แต่
เยียวยาชว่ ยกันรกั ษากันไปตามมีตามเกดิ
ในกลางพรรษา พระสหธรรมิกรูปหนง่ึ ก็ถงึ แกม่ รณภาพไปตอ่
หนา้ ตอ่ ตา ยงั ความสลดสงั เวชให้กบั หมูเ่ พ่ือนเปน็ อยา่ งยิง่
อยา่ งไรก็ตาม ความตายมิอาจทำ� ให้เกิดความหว่ันไหวรวนเร
ในหมพู่ ระนักปฏบิ ัติทัง้ ๔ รูปทเี่ หลอื อยู่
เมอื่ จัดการฝงั สรีระของพระสหธรรมิกแล้ว ต่างองคต์ า่ งก็รีบ
เรง่ ความเพยี รหนกั ยิง่ ขนึ้ เสมือนหน่ึงจะช่วงชิงชยั ชนะเหนือความ
84
ตายท่ีรุกคบื เข้ามา
เบือ้ งหน้าคอื ความตาย เบ้ืองหนา้ คือความยากลำ� บาก เบอื้ ง
หนา้ คือการจากพระสหธรรมิกทีร่ ่วมเส้นทางกนั มา นับเป็นบท
ทดสอบอันเด็ดขาดยิ่งที่ต้องเผชิญเป็นคร้งั แรกในชีวิตธุดงคข์ องหลวง
ปู่
ส�ำหรบั หลวงปู่ดลุ ย์ เมอ่ื ตอ้ งประสบชะตากรรมเชน่ น้ี ก็ได้
อาศัยความส�ำเหนียกรู้ เผชิญกับความตายอยา่ งเยอื กเยน็
ความเปน็ จริงทเ่ี หน็ และเป็นอยกู่ ค็ อื การเผชญิ กับโรคาพยาธิ
ขณะทีห่ ยกู ยาขาดแคลนอยา่ งหน้าใจหาย
หลวงปเู่ กิดความคิดขึ้นในใจว่า สิ่งทีจ่ ะพ่งึ ไดใ้ นยามนกี้ ็มแี ต่
อ�ำนาจพุทธคณุ เทา่ นั้น แมท้ า่ นจะไดร้ ับพษิ ไข้อยา่ งแสนสาหัส ดว้ ย
ใจอดทน และมุ่งมน่ั ทา่ นไดร้ �ำลึกถึงพระพทุ ธคุณแลว้ ต้ังสัจวาจา
อย่างแมน่ มั่นว่า
“ถงึ อยา่ งไร ตัวเราคงไม่พน้ เงอ้ื มมือแหง่ ความตายในพรรษา
นแี้ นแ่ ลว้ แม้เราจกั ตายกจ็ งตายในสมาธิ ภาวนาเถดิ ”
จากน้นั หลวงป่กู ็เรม่ิ ปรารภความเพยี ร ต้ังสติให้สมบูรณ์
เฉพาะหนา้ ธ�ำรงจิตให้อยใู่ นสมาธอิ ยา่ งมั่นคงทกุ อริยาบท พรอ้ มทงั้
พจิ ารณาความตาย คอื ใช้ มรณานุสติกัมมัฏฐาน เป็นอารมณ์ โดย
มไิ ดย้ อ่ ท้อพร่ันพรึงต่อมรณภยั ที่ก�ำลงั คุกคามจะมาถงึ ตวั ในไมช่ า้ นี้
เลย
เมอื่ ไม่หวาดหวนั่ ตอ่ ความตาย แลว้ ความตายจะมีบทบาท
และความหมายอะไรอกี เลา่ !
แยกจิตออกจากกเิ ลส
ณ ปา่ ท่าคันโท จงั หวดั กาฬสินธ์ุ น้ีเอง แม้จะเปน็ พรรษาแรก
ของการปฏบิ ัติกมั มัฎฐานก็ตาม แตด่ ้วยความพยายามและด้วย
85
ปณธิ านอันแนว่ แนไ่ ม่ลดละ ผลแห่งการปฏบิ ัตกิ เ็ ร่มิ บงั เกดิ ข้นึ อย่าง
เตม็ ภาคภมู ิ
กล่าวคอื ในระหว่างท่ีนั่งภาวนาซง่ึ เร่ิมต้ังแต่หวั คา่ํ ไปจนถึง
ตอนดกึ สงัด จิตของท่านคอ่ ยๆ หยั่งลงสู่ความสงบ เกิดความปตี ิชุ่ม
เยน็ แลว้ เกิดนมิ ิตที่ชัดเจน คือได้เหน็ องคพ์ ระพุทธรปู ปรากฎขึน้ ใน
ตวั ท่าน สวมทับรา่ งของท่านได้สดั สว่ นพอดี จนดูประหน่งึ วา่ ทา่ นเอง
เป็นพระพทุ ธรูปองคห์ นง่ึ
ท่านพยายามพิจารณารปู นมิ ติ นนั้ ตอ่ ไปอีก กจ็ ะเหน็ เป็นอยา่ ง
นัน้ อยู่ตลอด แมก้ ระทงั่ ออกจากสมาธิแลว้ รปู นิมิตน้นั กย็ ังเห็นติดตา
อยู่อยา่ งนัน้ จนกระทงั่ เช้าได้เดนิ ออกบิณฑบาตสลู่ ะแวกบ้านของชาว
บ้านแถบนน้ั นิมิตกย็ งั ปรากฏอยเู่ ชน่ นน้ั ทา่ นสงั เกตดูนมิ ติ นั้นไป
เรอื่ ยๆ โดยไม่ไดป้ รปิ ากบอกใครเลย
ขณะเดินทางกลับจากบณิ ฑบาต กอ่ นท่รี ปู นมิ ิตนั้นจะหายไป
หลวงปูไ่ ด้พิจารณาถึงตัวท่านเอง กป็ รากฏเหน็ กระดูกทุกสดั สว่ น
อยา่ งชัดเจน ด้านนอกมีเนอ้ื และหนังหุม้ พนั เอาไว้ เมือ่ เพง่ พจิ ารณา
ตอ่ กเ็ ห็นว่ากระดูก และเนอ้ื หนังเหลา่ นน้ั ลว้ นแต่ประกอบด้วยธาตุ
ท้งั ๔ คือ ดนิ น้ํา ลม ไฟ น่นั เอง
เมื่อพิจารณาเหน็ อยา่ งน้ัน ทา่ นเกิดความรู้สึกไมอ่ ยากฉนั
อาหารในวันน้ัน แตร่ สู้ ึกอ่มิ เอิบจากการท่จี ิตเป็นสมาธิ จงึ ทำ� ความ
เพยี รตอ่ ไปกป็ รากฏว่ารปู นมิ ติ น้ันหายไป พอออกจากสมาธแิ ล้วปราก
ฎวา่ ฤทธิ์ไข้ทีท่ า่ นเป็นอย่กู ห็ ายไปสน้ิ เหมือนถูกปลิดท้ิงไปต้ังแตน่ ้ัน
นคี่ อื ความมหัศจรรย์ !
หลวงป่เู รง่ กระท�ำความเพยี รตอ่ ไปอกี โดยเดินจงกรมบ้าง
นัง่ สมาธิบ้างสลบั กนั ไปตลอดทงั้ วันทง้ั คืนอยา่ งไม่รูจ้ ักเหนด็ เหนอ่ื ย
ด้วยอาศยั ความอิ่มเอบิ แห่งจิตทเี่ ป็นสมาธิ
เม่อื จติ สงบได้ที่ พลันก็บงั เกดิ แสงแห่งพระธรรมปรากฏแก่
จิตของท่านอยา่ งแจ่มแจ้ง จนกระท่งั ทา่ นสามารถแยกจิตกบั กิเลส
ออกจากกันได้
86
รู้ไดช้ ดั เจนว่า อะไรคอื จติ และอะไรคอื กิเลส
จิตปรงุ กิเลส หรอื กเิ ลสปรุงจิต
และเข้าใจสภาพเดิมของจิตที่แทจ้ รงิ ได้
ยงิ่ ไปกวา่ น้ัน ทา่ นยังรูไ้ ดอ้ ย่างแจม่ แจง้ ดว้ ยว่า กิเลสสว่ น
ไหนละไดแ้ ลว้ และสว่ นไหนบา้ งทย่ี งั ละไม่ได้
ในคร้ังนนั้ หลวงปูยง่ั ไม่ได้เล่าใหใ้ ครฟังนอกจากบอกหลวงปู่
สิงห์ใหท้ ราบเพยี งว่า จติ ของท่านเปน็ สมาธิเท่านน้ั ซง่ึ หลวงปสู่ งิ ห์ก็
ชมวา่ “ท่านมาถกู ทางแล้ว” และอนโุ มทนาสาธดุ ว้ ย
หลวงปรู่ ูส้ กึ บงั เกิดความแจม่ แจ้งในตนอย่างไมเ่ คยปรากฏมา
กอ่ น รอให้ถงึ เวลาออกพรรษา จะได้ไปกราบเรียนใหพ้ ระอาจารย์
ใหญ่ทราบ และขอคำ� แนะน�ำในการปฏิบตั ขิ ้ันต่อไป
กราบนมัสการหลวงป่มู ่นั
กาลเวลาทร่ี อคอยได้มาถึง เมอื่ ออกพรรษาในปีนนั้ ซง่ึ เป็นปี
พ.ศ.๒๔๖๕ พระที่จ�ำพรรษา ณ เสนาสนะป่า ท่าคันโท กาฬสินธุ์
ตา่ งกแ็ ยกยา้ ยกันเดินธุดงค์ตอ่ ไป เพ่อื คน้ หาพระอาจารยใ์ หญ่ คอื
หลวงปู่มนั่ ภรู ทิ ตโต
หลวงปดู่ ลู ย์รว่ มเดนิ ธุดงค์ไปกบั หลวงปูส่ งิ ห์ แล้วตอ่ มากแ็ ยก
ทางกนั ตา่ งองค์ตา่ งกม็ ุง่ ตามหาพระอาจารย์ใหญ่ตามประสงค์
หลวงป่อู อกจารกิ ตามล�ำพงั มาถึง หนองหาร จงั หวดั
สกลนคร แวะไปพำ� นกั ท่ี เกาะเกต อนั ถอื กนั ในหมูพ่ ระธุดงคว์ า่ เปน็
แดนแห่งความขลงั และอาถรรพ์แรง ชาวบา้ นในแถบนนั้ ต่างกเ็ กรง
กลวั ไม่กล้าเข้าไป และก็ขอรอ้ งไม่ใหห้ ลวงปู่เข้าไป เกรงทา่ นจะไม่
ปลอดภยั
แตห่ ลวงปู่ของเรากลบั เหน็ ว่าสถานทีแ่ หง่ นนั้ เหมาะสมท่ีจะบ�ำ
เพญ็ ภาวนา เพราะเปน็ ท่ีสงบสงดั ชาวบ้านไม่กล้าเขา้ ไปรบกวน
เหมาะสมย่งิ นักท่ีจะตรวจสอบความแขง็ แกรง่ ของจติ
87
หลวงปูพ่ �ำนัก ณ สถานทีแ่ หง่ นน้ั หลายวัน แลว้ จงึ เดนิ ทางต่อ
ไปจนถงึ บา้ นตาลเน้งิ อ�ำเภอสวา่ งแดนดินสกลนคร สอบถามชาว
บา้ นไดค้ วามวา่ มพี ระธุดงคจ์ �ำนวนมากชมุ นุมในป่าใกลๆ้ หมบู่ า้ น
นนั่ เอง หลวงปู่รูส้ ึกยนิ ดีอย่างมาก คดิ วา่ คงจะเป็นพระอาจารย์ใหญ่
มน่ั อย่างแน่นอน
หลวงปู่รบี รุดไปสถานท่ีแห่งน้นั และพบวา่ เป็นความจริง เห็น
หลวงปู่สิงหแ์ ละพระรูปอืน่ ๆ นัง่ ดว้ ยอาการสงบแวดลอ้ มพระอาจารย์
ใหญ่อยู่
พระอาจารยใ์ หญ่หันมาทางหลวงปู่แล้วบอกแก่คณะว่า “โนน่ ๆ
ทา่ นดลู ย์มาแล้ว ! ทา่ นดูลย์มาแลว้ ”
หลวงปู่มีความปลาบปลื้มเปน็ อย่างยง่ิ จนถงึ กบั ร�ำพนั ในใจวา่
“ด้วยอำ� นาจพระพทุ ธคณุ ประสงค์อย่างไรกส็ �ำเร็จอย่างน้ัน”
หลวงปเู่ ข้าไปกราบนมัสการพระอาจารยใ์ หญด่ ว้ ยความเคารพ
อยา่ งสุดซง้ึ ไดส้ นทนาธรรมกันอยูน่ านพอสมควร โดยพระอาจารย์
ใหญเ่ ปน็ ผสู้ อบถามและหลวงปู่ดลู ย์เปน็ ผกู้ ราบเรียน
ถงึ ตอนหน่ึง หลวงปดู่ ุลยก์ ราบเรียนพระอาจารยใ์ หญว่ า่
“เด๋ียวนี้กระผมเขา้ ใจแล้ว กระผมไดท้ �ำความรจู้ กั กบั กเิ ลสของ
กระผมไดด้ แี ล้ว คือถา้ รวมกันทง้ั หมดแล้วแบง่ เป็น 4 ส่วน สว่ นท่ี
หน่งึ กระผมละได้เดด็ ขาดแลว้ ส่วนทส่ี อง กระผมละได้ครง่ึ หนึ่ง
และสว่ นทีส่ ามกบั สว่ นทสี่ ี่ กระผมยังละไม่ไดข้ อรับ”
เม่ือไดย้ ินดังนั้น พระอาจารยใ์ หญจ่ งึ เอย่ ว่า “เกง่ มาก ฉลาด
มาก ทส่ี ามารถรจู้ ักกิเลสของตนเองและการปฏบิ ตั ทิ ผ่ี ่านมา ท่ีเล่า
บอกนั้น ก็เป็นการถูกตอ้ งดแี ล้ว”
จากบทสนทนานี้ แสดงให้เหน็ ว่า การบ�ำเพ็ญเพียรตามแนวคำ�
สอนของพระพทุ ธองคก์ ็คอื การคน้ หาความจริงของตนเอง เปน็ การ
มองลึกลงไปในสภาพตัวตนที่เป็นจริงของตน และอกี ประการหน่ึง
เปน็ การค้นหาสภาพความเป็นจริงแห่งกองทุกข์ น่ันคือกเิ ลส
เพราะหากไม่รู้จกั ตนเองและไม่รูจ้ ักกเิ ลส ก็ไมร่ ูจ้ ักกองทุกข์
88
เม่ือไม่รจู้ กั กองทกุ ข์ ก็ไม่สามารถดับทุกขใ์ ห้หมดส้ินไปได้ เป้าหมาย
สูงสุดคือ สามารถดับทกุ ขอ์ ย่างชนดิ ไมม่ ีเหลอื อยเู่ ลย
พระอาจารย์ใหญแ่ ละหลวงปดู่ ลู ย์ไดส้ นทนาธรรมกนั ด้วย
ความเครง่ เครยี ด จรงิ จังแลว้ พระอาจารยก์ ็มอบการบา้ นใหห้ ลวงปู่
ไปพจิ ารณา ความเป็นอนิจจังของสังขาร และภาวะแห่งการแปร
เปลยี่ นโดยเร่ิมจากกาย และสังขารแหง่ ตน
โดยพระอาจารยใ์ หญ่ไดบ้ อกเปน็ ค�ำบาลีเป็นการบ้านให้หลวง
ปู่น�ำไปพจิ ารณาว่า “สพเพ สงขารา สพพสญญา อนตตา”
น่ีคอื การบ้านทพ่ี ระอาจารย์ใหญ่มอบใหห้ ลวงปู่ กอ่ นการอำ�
ลาในครัง้ นนั้
เปน็ ทกุ ข์เพราะความคิด
หลังจากหลวงป่ดู ลู ยไ์ ดร้ บั ค�ำแนะนำ� พร้อมทงั้ รบั การบ้าน
จากพระอาจารย์ใหญแ่ ล้ว จึงไดก้ ราบลาและปลกี ตวั ไปบำ� เพญ็ ภาวนา
ตามล�ำพงั
หลวงปูน่งั เขา้ ที่ทำ� สมาธิ ประเดย๋ี วเดียวจติ กส็ งบแล้วยกหวั ขอ้
ธรรมซึง่ เปน็ การบา้ นท่วี า่ สพเพ สงขารา สพพสญญา อนตตา ขึน้
พจิ ารณาเพยี งชัว่ ประเดยี๋ วเดียวก็เกิดความสวา่ งแจง้ ในธรรม คือเห็น
ปฏิจจสมุปปบาท กระจ่างชัดตลอดสาย นน่ั คอื
เห็นความเปน็ มาของสงั ขารท้ังหลายว่า เกิดจากความคดิ ปรุง
แตง่ ของวญิ ญาณทีไ่ ด้ร้จู ากอายตนะของตนน่นั เอง เม่ือละสงั ขาร
เหล่านีไ้ ด้ ความทุกข์กด็ บั หมดตลอดสาย และนี่คอื หลักการของ
ปฏจิ จสมปุ ปบาท
แมจ้ ะไม่มคี �ำอธบิ ายโดยพิสดารในทนี่ ี้ แตเ่ มอื่ น�ำคำ� สอนของ
หลวงปู่ในหนงั สอื หลวงปฝู่ ากไวม้ าพิจารณาจะเห็นวา่ ทา่ นพดู สน้ั ๆ
เพียงว่า
คนสมัยน้ีเขาเปน็ ทกุ ข์เพราะความคดิ
89
ทีใ่ จเป็นทกุ ข์เพราะเกดิ ความยึดมัน่ แล้วมีการปรงุ แต่งใน
ความคดิ ข้ึน และอบุ ายทจ่ี ะละความทกุ ข์ก็คอื หยดุ การปรงุ แต่ง แล้ว
ปล่อยวางใหเ้ ป็น
น่คี อื หลกั การ แต่การจะท�ำเช่นน้นั ไดต้ อ้ งอาศัยภาวนา ท�ำ
ใจใหส้ งบ จงึ จะเกดิ พลัง มีสตปิ ัญญามองเหน็ เหตุ เหน็ ผล แลว้ จติ ก็
จะมีการปลอ่ ยวางได้ เมื่อละความยดึ มน่ั ได้ ความทุกข์ในสิ่งนนั้ ก็
หมดไป
ตายแล้วไปไหน
ครั้งน้ัน เมอ่ื หลวงปดู่ ูลยอ์ ยู่รบั การอบรมส่งั สอน และปฏบิ ัติ
อาจารยิ วตั รแดพ่ ระอาจารย์ใหญ่นานพอสมควรกไ็ ด้กราบลาปลีกตวั
ออกธุดงคแ์ สวงหาความวเิ วกตอ่ ไป
ในชว่ งนี้ (พ.ศ. ๒๔๖๓) คาดว่าหลวงป่จู ะธดุ งคไ์ ปทางจงั หวัด
สุรินทร์ระยะหน่ึง แลว้ จึงขน้ึ ไปทางอสี านเหนอื ไปทางอ�ำเภอ
พรรณานคิ ม จังหวดั สกลนคร โดยมีสามเณรตดิ ตามไปดว้ ยองค์หนึง่
หลวงปู่ และเณรไดอ้ ธิษฐานจ�ำพรรษาทีช่ ายป่าแหง่ หนึง่ ใกล้
บ้านกุดกอ้ ม
ต่อมาไม่นานนกั สามเณรกอ็ าพาธ (ปว่ ย) เกิดเปน็ ไข้หนาว
อยา่ งแรง หยูกยาจะรักษากไ็ มม่ ี ในทีส่ ุดสามเณรก็ถึงแกม่ รณภาพ
ลงไปตอ่ หน้าตอ่ ตา ดว้ ยสภาพท่ีชวนสังเวชย่งิ นกั
หลวงปเู่ ลา่ ให้ฟงั ว่า “สงสารเณรมาก อายกุ ็ยงั นอ้ ย หากมียา
รกั ษา เณรคงไม่ตายแน่”
คร้ังนน้ี บั เปน็ ครง้ั ท่ี ๒ ท่หี ลวงป่ไู ด้อยู่ใกล้ชิดกบั ความตาย
คอื คร้ังแรกเมือ่ จำ� พรรษาท่ีส�ำนักปา่ ทา่ คนั โท จงั หวัดกาฬสินธุ ์
เมอ่ื พระสหธรรมิกของทา่ นรปู หน่ึงได้มรณภาพในกลางพรรษา
จากการท่สี ามเณรมรณภาพในคร้ังนั้น หลวงปู่ไดค้ อยสงั เกต
พจิ ารณาอาการตายของคนเราวา่ เป็นอย่างไร
90
จติ หรือวิญญาณออกไปทางไหน หรอื อยา่ งไร ทา่ นได้เห็นแจง้
โดยตลอด
ด้วยเหตผุ ลบางประการ ท่านเจ้าคุณ พระโพธนิ ันทมุณี (อดตี
พระครูนนั ทปญั ญาภรณ)์ เหน็ วา่ ไม่สมควรทจี่ ะบันทกึ ไวใ้ นท่นี ้ี
ในหนังสอื หลวงปู่ฝากไว้ หลวงปพู่ ดู ถึงความตาย หรือตาย
แลว้ ไปไหน อยูต่ อนหน่งึ เหมือนกัน เรอ่ื งนอ้ี ยภู่ ายใตห้ วั ข้อ ตอ้ ง
ปฏิบตั จิ ึงหมดความสงสยั ซึง่ บันทึกไว้ว่า :-
เมือ่ มผี ถู้ ามถึงการตาย การเกดิ ใหม่ หรอื ถามถึงชาตหิ น้า
ชาตหิ ลงั หลวงป่ไู ม่เคยสนใจท่ีจะตอบ หรอื เมือ่ มีผกู้ ล่าวคา้ นว่าเชือ่
หรือไม่เชื่อ วา่ นรกสวรรคม์ ีจริงหรือไมจ่ รงิ ประการใด หลวงป่ไู ม่เคย
ค้นคว้าหาเหตผุ ลเพ่อื จะเอาคา้ นใคร หรือไม่เคยหาหลกั ฐาน เพอ่ื
ยนื ยันใหใ้ ครยอมจ�ำนนแตป่ ระการใด ทา่ นกลับแนะน�ำว่า
ผปู้ ฏบิ ัตทิ ่ีแท้จริงน้ัน ไม่จำ� เปน็ ตอ้ งค�ำนึงถึงชาติหน้าชาตหิ ลงั
หรือนรกสวรรคอ์ ะไรกไ็ ด้ ให้ต้ังใจปฏบิ ัติใหต้ รงศีล สมาธิ ปญั ญา
อยา่ งแน่วแน่ก็พอ
ถ้าสวรรคม์ ีจรงิ ถึง ๑๖ ชน้ั ตามต�ำรา ผ้ปู ฏบิ ัตดิ แี ล้วก็ย่อมได้
เลื่อนฐานะของตนเองโดยล�ำดับ
หรอื ถ้าสวรรค์นพิ พานไม่มเี ลย ผูป้ ฏิบัตดิ ีแล้วในขณะนก้ี ็ย่อม
ไม่ไรป้ ระโยชน์ ย่อมอย่เู ปน็ สุข เปน็ มนุษยช์ ัน้ เลศิ
และในตอนทา้ ย หลวงปู่สอนวา่ :-
การฟังจากคนอนื่ การคน้ ควา้ จากต�ำราน้ัน ไมอ่ าจแก้ขอ้
บกพรอ่ งข้อสงสัยได้ ตอ้ งเพยี รปฏบิ ัติ ทำ� วปิ สั สนาญาณใหแ้ จง้
ความสงสยั กห็ มดไปเองโดยสน้ิ เชงิ
สร้างความศรทั ธา
เมื่อสามเณรท่ตี ิดตามหลวงปู่มรณภาพลงแลว้ หลวงปู่กพ็ ำ� นกั
จำ� พรรษา แต่เพยี งองคเ์ ดียว ณ บา้ นกุดก้อม อ�ำเภอพรรณานิคม
91
จังหวัดสกลนคร นนั่ คือสภาพการณ์ทเี่ กดิ ขึน้ เม่อื ปี พ.ศ. ๒๔๖๖ นับ
เป็นเหตกุ ารณ์ทีน่ ่าสลดสังเวชยิ่ง
ชาวบา้ นไดก้ ราบอาราธนาหลวงปใู่ หไ้ ปจ�ำพรรษา ณ วัดม่วง
ไข่ บา้ นกดุ ก้อม แหง่ เดยี วกันน้นั เอง ซ่ึงพอจะเป็นทีส่ บายเหมาะแก่
การประพฤติปฏิบัติ ท่านก็อนุโลมตามค�ำอาราธนา
ที่วัดมว่ งไขน่ น้ั มีพระเณรจำ� พรรษาอยู่ดว้ ยกันหลายรูป มี
ท่านครูบาญาคดู ี เปน็ เจ้าอาวาส ท่านเป็นพระทีม่ ีอัธยาศัยน้ําใจดี ได้
แสดงความเออ้ื เฟอื้ และให้การต้อนรบั หลวงปู่ ในฐานะพระอาคนั ตกุ ะ
เป็นอยา่ งดี
ตลอดพรรษานนั้ หลวงปู่ พ�ำนกั อยใู่ นโบสถแ์ ตเ่ พยี งรปู เดยี ว
เพราะเห็นเป็นทส่ี งบสงัด เหมาะแกก่ ารปฏบิ ตั ิภาวนา
หลวงปู่ดำ� เนินตามปฏิปทาของพระอาจารย์ใหญม่ ัน่ ภูริทตฺโต
โดยมิไดข้ าดตกบกพรอ่ ง ปฏบิ ตั ขิ ้อวตั รตา่ งๆ ของพระธุดงคอ์ ย่าง
เครง่ ครัดครบถ้วนทุกประการ เช่น เดนิ บณิ ฑบาตทกุ วัน ตลอดจน
เดินจงกรม และทำ� สมาธภิ าวนาอยา่ งต่อเนอ่ื งทกุ อริ ยิ าบถ มีความส�ำ
รวมระวัง และทำ� ดว้ ยความมสี ติ
ท้งั ทา่ นเจา้ อาวาสและพระภิกษุสามเณรทีจ่ ำ� พรรษาอยู่ในวัด
นัน้ เห็นข้อวตั รปฏบิ ัติและปฏิปทาของหลวงป่มู คี วามสงบเยอื กเย็น
น่าเลื่อมใส ชนิดที่พวกตนไม่เคยเห็นมากอ่ น กเ็ กดิ ความพิศวงอยูใ่ น
ใจและแสดงความสนใจในการปฏบิ ัตขิ องหลวงปู่เป็นอนั มาก
เมอื่ พระภิกษุและสามเณรเหลา่ นน้ั มคี วามสนใจไตถ่ ามถึงข้อ
วตั รปฏบิ ัติเหลา่ นนั้ หลวงปกู่ อ็ ธิบายถึงเหตแุ ละผลให้ฟังอย่างแจ่ม
แจง้ ไดเ้ นน้ ถึงภารกจิ หลกั ของพระภิกษุสามเณร ซ่งึ เป็นพุทธบุตรได้
ชอื่ วา่ เป็นผู้เห็นภยั ในวฏั สงสาร จงึ ไดล้ ะฆราวาสวสิ ัยออกมาบวชใน
บวรพุทธศาสนา ว่ามีหนา้ ท่โี ดยตรงอยา่ งไรบ้าง
ทา่ นอธบิ ายข้อธรรมะ ตลอดจนแนวทางปฏิบัติธดุ งควตั ร
อย่างชดั เจนแจม่ แจ้ง ดว้ ยถอ้ ยค�ำ และเน้ือหาทคี่ รบถ้วนบรบิ รู ณ์
พร้อมทัง้ มคี วามหมายลกึ ซึ้ง สัมผสั ถงึ แก่นใจของผทู้ ีไ่ ดย้ นิ ได้ฟงั
92
บรรดาพระภิกษุสามเณรเหลา่ นัน้ ตา่ งกร็ สู้ ึกซาบซง้ึ เลื่อมใส
ศรทั ธาในพระธรรมเทศนาทีไ่ พเราะสมบรู ณ์ดว้ ยเหตแุ ละผล และ
แปลกใหมไ่ ปจากท่เี คยได้ยนิ ไดฟ้ ังมา จงึ พร้อมใจกนั ปฏญิ าณตนขอ
เป็นศิษย์ และดำ� เนนิ ตามปฏิปทาของพระธุดงคก์ ัมมัฏฐาน ตามแบบ
อย่างของหลวงปูห่ มดท้งั วดั
ในบรรดาพระเณรวดั มว่ งไข่ ท่ีศรัทธาในหลวงปนู่ ั้นมีสามเณร
รปู หน่ึง ชือ่ วา่ สามเณรอ่อน มวี ริ ิยะอุตสาหะแรงกลา้ ในธรรมปฏบิ ัติ
ไดเ้ จรญิ รุ่งเรืองในพระศาสนาในกาลตอ่ มา จนเป็นพระมหาเถระ
ฝา่ ยวปิ สั สนาธรุ ะท่ีเป็นทเี่ คารพศรัทธาแกพ่ ุทธศาสนกิ ชนอย่างกว้าง
ขวาง
สามเณรออ่ นในขณะนัน้ ก็คือ หลวงปู่อ่อน ญาณสิริ แห่งส�ำ
นกั วดั ป่านิโครธาราม อ�ำเภอหนองววั ซอ จังหวดั หนองบวั ล�ำภู ใน
เวลาตอ่ มานน่ั เอง
เหตกุ ารณ์พลกิ แผน่ ดินบา้ นม่วงไข่
เหตกุ ารณ์ทห่ี ลวงปู่ดลู ย์ อตโุ ล มาพำ� นกั จ�ำพรรษาทวี่ ดั มว่ งไข่
บ้านกุดกอ้ ม อำ� เภอพรรณานิคม จังหวดั สกลนคร นั้น ถือวา่ เป็น
ข่าวท่ีมีเสียงราํ่ ลอื ไปอย่างกวา้ งขวางท่วี า่ มพี ระดีซ่ึงเป็นพระธดุ งค์
มาโปรดชาวบา้ นละแวกใกล้เคยี งตา่ งเดินทางมากราบนมสั การ ฟงั
เทศน์ฟงั ธรรม และฝกึ ปฏบิ ตั ิกัมมัฏฐานกบั หลวงปู่เป็นอันมาก
ท่ีสำ� คัญยง่ิ คอื บรรดาพระภิกษุและสามเณรทกุ รปู นับตัง้ แต่
เจ้าอาวาสคือครูบาญาคดู ี เป็นตน้ มา ต่างปวารณาขอเป็นศษิ ย์
ตดิ ตามปฏิบตั ิธรรมกบั หลวงป่หู มดทัง้ วดั
ปรากฏการณค์ ร้ังนั้น ถอื เป็นการพลิกแผ่นดินของวดั ม่วงไข่
เลยทเี ดียว และเหตุการณห์ ลงั ออกพรรษาปีนนั้ ถอื เปน็ เหตมุ หัศจรรย์
เล่ือนลัน่ อันเป็นประวัติศาสตร์ของบ้านกดุ กอ้ มในยคุ สมยั น้นั
กล่าวคือ เมอ่ื ออกพรรษาแลว้ หลวงปู่ดูลยก์ ็ออกธุดงค์ จารกิ
93
หาสถานทีส่ งบวิเวก เพอ่ื บำ� เพญ็ ภาวนาให้ยิ่งๆ ขึน้ ไป ไมย่ ดึ ตดิ สถาน
ท่หี นง่ึ ทใ่ี ดโดยเฉพาะถอื วัตรปฏิบตั ิเยย่ี งพระป่าท้งั หลาย
เหตกุ ารณท์ ่ีไมม่ ีชาวบา้ นคนใดจะคาดคดิ ได้ กค็ ือบรรดาพระ
ภิกษุและสามเณรวดั ม่วงไข่ทกุ รปู นับต้ังแตท่ า่ นเจ้าอาวาสเป็นต้นมา
ไดพ้ ากนั สละละท้งิ วดั ออกจารกิ ธุดงค์ตดิ ตามหลวงปู่ไปโดยมิได้ใสใ่ จ
นำ� พาต่อค�ำอ้อนวอนทัดทานของชาวบา้ นเลย
ทุกรปู ยอมสละทิง้ วัดมว่ งไขใ่ หเ้ ป็นวัดรา้ ง ไม่มีใครยอมอยู่ดแู ล
ต่างมีใจม่งุ มนั่ เขา้ ส่คู วามเป็น อนาคารกิ ะ คอื เปน็ ผไู้ มม่ ีเหย้าเรอื น
ทตี่ อ้ งหว่ งหาอาลยั กันอกี ต่อไป
มใี จมุ่งมนั่ มงุ่ บำ� เพ็ญภาวนา เพ่ือคน้ หาพระธรรม คอื ความ
ดับทกุ ข์แหง่ ตน หนใี หพ้ น้ ภัยในวฏั สงสาร คอื ความเวียนว่ายตาย
เกดิ โดยมิได้อาลัยอาวรณ์ตอ่ สง่ิ หนึ่งสง่ิ ใดเลย แม้แตช่ ีวิตของตนกม็ ุ่ง
อทุ ิศถวายต่อพระธรรม ดำ� เนนิ รอยตามพระยุคลบาทของพระบรม
ศาสดาสัมมาสัมพทุ ธเจ้า
เรอ่ื งราวเหตกุ ารณพ์ ลกิ แผน่ ดนิ ทว่ี ดั มว่ งไขน่ ี้ ลว้ นอยใู่ นสายตา
และอยู่ในความสนใจของพระภิกษฝุ น้ั อาจาโร ซ่ึงเป็นพระภกิ ษุหนมุ่
พำ� นักอยูท่ ว่ี ัดใกลเ้ คยี งกับวดั ม่วงไข่แหง่ นี้ ไดเ้ ข้ามอบตวั เป็นศษิ ย์ ฟงั
พระธรรมเทศนาและฝกึ ปฏบิ ตั วิ ปิ สั สนากรรมฐานกบั หลวงปูต่ ลอด
พรรษา
ด้วยความเลอื่ งชื่อระบือของพระอาจารยใ์ หญม่ ัน่ ภรู ิทตฺโต
ประกอบกับวตั รปฏบิ ตั ิอันงดงามของหลวงปดู่ ลู ย์ อตุโล ผเู้ ป็นศษิ ย์
ไดจ้ ำ� หลกั หนักแนน่ อยใู่ นดวงใจของ พระภิกษุฝ้นั ในสมยั นน้ั
สงิ่ ดีงามทพ่ี ระภิกษฝุ ัน้ ได้รับในคร้ังนน้ั ได้กลายเป็นแม่เหลก็ อัน
ทรงพลงั ดึงดดู ให้ทา่ นกลายเป็นศษิ ย์สำ� คัญในสายของ พระอาจารย์
ใหญม่ นั่ ภูรทิ ตฺโต อกี รปู หนึง่
ในเวลาตอ่ มา คุณงามความดี และเกยี รติภมู ิของพระภกิ ษฝุ ัน้
ได้แผอ่ อกไปอย่างกว้างขวาง จนเป็นทรี่ ้จู กั กันดใี นนามของ หลวงปู่
ฝ้นั อาจาโร แหง่ สำ� นักวัดปา่ อุดมสมพร อ�ำเภอพรรณานิคม จงั หวดั
94
สกลนคร ในเวลาตอ่ มา
เมอื่ คราวหลวงปู่ดูลย์ ออกธดุ งคจ์ ากวัดมว่ งไข่ ไปพร้อมกับ
พระภกิ ษแุ ละสามเณรวดั มว่ งไขท่ ง้ั วดั นน้ั พระภิกษุฝน้ั อาจาโร ก็ได้
ตดิ ตามออกจาริกธุดงคไ์ ปกบั คณะด้วย
พระฝ้ัน อาจาโร
หลวงปู่ดลู ย์ อตุโล เคยเล่าถึงหลวงป่ฝู น้ั อาจาโร เม่ือสมยั ยัง
เป็นพระภกิ ษุหนุม่ ออกปฏบิ ตั ธิ รรมติดตาม ท่านในสมยั นั้นว่า
“ทา่ นอาจารย์ฝน้ั นนั้ ทำ� กมั มฏั ฐานไดผ้ ลดีมาก เป็นนกั ปฏบิ ตั ิ
ที่เอาจรงิ เอาจัง มีน�ำ้ ใจเป็นนกั สทู้ ส่ี ้เู สมอตาย ไมม่ ีการลดละท้อถอย
เข้าถึงผลการปฏิบัตไิ ด้โดยเรว็ นอกจากนั้นยังมรี ปู สมบัตแิ ละ
คุณสมบตั ิพร้อม”
หลวงปู่เคยทำ� นายหลวงปู่ฝ้นั ไว้ในใจว่า :
“พระภกิ ษรุ ปู นีจ้ ะตอ้ งมีความสำ� คัญใหญห่ ลวงและเปน็ ก�ำลัง
อนั ยง่ิ ใหญข่ องพระพุทธศาสนาในอนาคตอย่างแนน่ อน”
ในชว่ งทอี่ อกธุดงคจ์ ากวดั ม่วงไขใ่ นครั้งนั้น หลวงป่ดู ลู ย์ตั้งใจ
ว่า “จะต้องพาท่านอาจารย์ฝัน้ ไปพบและมอบถวายต่อทา่ นพระ
อาจารยม์ นั่ ภูรทิ ตโฺ ต ผเู้ ปน็ พระปรมาจารย์ในโอกาสต่อไปใหจ้ งได้”
เรือ่ งราวประการหน่งึ เกย่ี วกบั หลวงปู่ฝั้น ท่ีเคยได้ยินไดฟ้ ังมา
มอี ย่วู า่
“เมอ่ื หลวงปดู่ ลู ย์มาพ�ำนกั ประจ�ำอยทู่ ่ีจงั หวดั สุรนิ ทร์แลว้
ทา่ นอาจารย์ฝั้นยังไดห้ าโอกาสเดนิ ธดุ งคต์ ิดตาม รับคำ� แนะนำ�
แนวทางปฏบิ ตั ิกบั หลวงปดู่ ลู ยเ์ ป็นครั้งคราว โดยเดนิ ธุดงคม์ าทาง
เทอื กเขาดงเร็กและเข้ามาพ�ำนกั อยทู ีป่ า่ เลก็ ๆ แถวชานเมอื งสรุ ินทร์
ดา้ นทศิ ใต้ เมอ่ื ไดโ้ อกาสอันควรก็เข้าไปหาหลวงปู่ ณ วัดบูรพาราม”
บริเวณปา่ ทีห่ ลวงปู่ฝ้นั เคยมาพกั ปฏบิ ัตธิ รรมนัน้ ต่อมาได้
กลายเป็นสำ� นักสงฆฝ์ ่ายอรญั วาสี มีชื่อว่า วดั ป่าโยธาประสิทธิ์ และ
95
ปัจจุบันต้งั อย่ภู ายในบรเิ วณของวทิ ยาลยั เกษตรสุรินทร์นั่นเอง
อริยสัจแห่งจติ
ในการออกจาริกธุดงค์ จากวดั ม่วงไข่ บา้ นกดุ กอ้ ม อ�ำเภอ
พรรณานคิ ม จงั หวัดสกลนคร เม่ือประมาณปี พ.ศ. ๒๔๖๖ ในครัง้
น้ัน หลวงปู่ดูลย์ อตุโล พรอ้ มทง้ั พระภิกษุสามเณรวดั ม่วงไข่ และ
พระภกิ ษุฝ้ัน อาจาโร ไดเ้ ดินทางรอนแรมไปตามปา่ เขาลำ� เนาไพรไป
เรอื่ ยๆ เพอ่ื ตดิ ตามคน้ หา พระอาจารยใ์ หญม่ ่นั ภูริทตโฺ ต
การเดินทางของหลวงป่แู ละสานุศษิ ย์ ไม่มกี ำ� หนดการท่ี
แน่นอน เดนิ ทางด้วยเท้าไปตลอด บางแหง่ กห็ ยุดพกั ๕ วนั บาง
แหง่ ก็ ๗ วัน ตามแต่สปั ปายะและความเหมาะสมในการปรารภ
ความเพยี รของสถานท่ีแตล่ ะแห่ง
การจารกิ ธดุ งคค์ รง้ั น้นั ถือว่าเป็นคร้ังส�ำคัญของหลวงปู่
เนือ่ งจากท่านได้ด�ำรงตนมาสู่การเปน็ ผู้น�ำ ทางการปฏิบัตใิ นกลมุ่
พระเณรทต่ี ิดตาม โดยหลวงป่ทู �ำหน้าทเ่ี ปน็ พระอาจารย์ เหมือนกับ
ทพ่ี ระอาจารยใ์ หญม่ ่ัน ภูริทตโฺ ต ได้ปฏิบตั ิให้เปน็ แบบอยา่ ง
คณะของหลวงปไู่ ดจ้ าริกไปถงึ ถำ้� พระเวสฯ (ถ�้ำพระเวสสนั ดร)
ซงึ่ อยบู่ นเทือกเขาภูพาน ในท้องทอ่ี �ำเภอนาแก จงั หวดั นครพนม
แล้วไดพ้ ำ� นกั บำ� เพญ็ ภาวนาอยู่ ณ สถานที่นัน้ เป็นเวลาค่อนขา้ งนาน
จนตลอดฤดูแลง้ นั้น
คณะพระภกิ ษสุ ามเณร ลกู ศษิ ย์ลกู หาทตี่ ิดตามหลวงปทู่ กุ องค์
ต่างบ�ำเพญ็ เพียรกนั อยา่ งเอาจรงิ เอาจงั และด้วยใจมุ่งมัน่ จนกลา่ วได้
ว่าทกุ องคไ์ ดร้ บั ผลแห่งการปฏบิ ตั ิโดยทว่ั กนั
ในการบ�ำเพ็ญภาวนาของหลวงปเู่ อง ณ ถ้ําพระเวสฯ แหง่ น้ี
หลวงปไู่ ดเ้ ลา่ ให้สานศุ ิษยใ์ กล้ชดิ ฟัง ดังน้ี
“เราไดต้ รติ รองพิจารณาตามหวั ขอ้ หลกั ของกัมมฏั ฐานที่ได้รบั
จากพระอาจารย์ใหญ่ ท่วี ่า สพฺเพสงขฺ ารา สพพฺ สญญฺ า อนตตฺ า ก็
96
บงั เกิดความสวา่ งไสวรูแ้ จง้ ตลอดวา่
เมอ่ื สังขารขันธ์ดบั ไปแลว้ ความเป็นตวั ตนจกั ไม่มี เพราะไม่ได้
เขา้ ไปเพือ่ ปรุงแต่ง ครนั้ เม่ือความปรุงแตง่ ขาดไป และสภาพแหง่
ความเปน็ ตัวตนไมม่ ี ความทกุ ขจ์ ะเกดิ ขนึ้ แกใ่ ครไดอ้ ยา่ งไร”
ดงั ไดเ้ คยเลา่ ถึงในตอนต้นแล้ววา่ ความรู้ในธรรมะดังกลา่ วก็
คือ ความร้แู จง้ ในหลกั ปฏิจจสมุปบาท คือ เหตุ และผลของการ
เวียนว่ายตายเกดิ น่ันเอง
นอกจากนี้ หลวงปยู งั่ ไดค้ ้นพบธรรมะที่เป็นหวั ใจ ค�ำสอนใน
พระพุทธศาสนา และได้รซู้ งึ้ ถึงแกน่ ในเหล่าธรรมท้ังหลาย แล้วสรปุ
ลงเป็น อริยสจั แห่งจิต ด้วยถ้อยค�ำ ของหลวงปู่เอง ว่า
จิตสง่ ออกนอก เพอื่ รับสนองอารมณท์ ั้งสน้ิ เป็นสมุทยั
ผลอนั เกดิ จากจิตทส่ี ่งออกนอกแล้วหว่นั ไหว เป็นทุกข์
จิตเหน็ จิตอยา่ งแจ่มแจ้ง เปน็ มรรค
ผลอันเกิดจากจิตเห็นจติ อยา่ งแจม่ แจ้ง เปน็ นโิ รธ
หลวงปู่เล่าวา่ “เมอ่ื พิจารณาตามหลกั อริยสัจ 4 โดยเห็นแจง้
ดังน้แี ล้ว ย่อมหมายถงึ การผ่านเลยแห่งความรู้ใน ปฏจิ ฺจสมปุ ฺบาท
ไปแลว้ เนอื่ งเพราะความรู้ในเหตุแห่งทุกข์ การด�ำรงอย่แู ห่งทกุ ข์
และวธิ ีดบั ทกุ ข์นัน้ คอื แกน่ กลางแท้จรงิ ของปฏจิ ฺจสมุปฺบาท”
ท่สี �ำคญั ย่ิงกค็ ือ ธรรมะใน อริยสัจ 4 น้ี เป็นธรรมะหมวด
แรกท่ีองค์สมเดจ็ พระสัมมาสัมพุทธเจ้าได้ทรงตรัสรู้ภายใตต้ น้ พระ
ศรีมหาโพธิ์ เมอื่ ๒๕๐๐ กวา่ ปีมาแล้ว ซ่ึงหลวงปดู่ ูลย์ อตุโล เปน็
ศิษยต์ ถาคต ผ้หู นึง่ ท่สี ามารถให้ อรรถาธบิ ายได้อยา่ งแจ่มแจ้ง
จิต คือ พทุ ธะ
ในหมผู่ ฏู้ บิ ตั ธิ รรมสายพระกรรมฐานทง้ั พระภกิ ษแุ ละฆราวาส
ใหก้ ารยอมรบั วา่ “หลวงปดู่ ลู ย์ อตโุ ล นบั เปน็ องคเ์ ดยี วทม่ี คี วามรลู้ กึ
97
ซง้ึ ในเรอื่ งของจติ จนกระทง่ั ไดร้ บั สมญาวา่ เปน็ บดิ าแหง่ การภาวนาจติ ”
ประจกั ษ์พยานแหง่ สมญานามดงั กล่าว จะเห็นไดจ้ ากค�ำเทศน์
คำ� สอนและความสนใจของหลวงปอู่ ยู่ในเรอื่ ง “จติ ” เพียงอย่างเดียว
เร่ืองอ่ืนนอกจากน้นั หาไดอ้ ยู่ในความสนใจของหลวงป่ไู ม่
ด้วยความลกึ ซง้ึ ในเร่อื งจิตจงึ ท�ำให้หลวงปปู่ ระกาศหลักธรรม
โดยใช้คำ� ว่า “จติ คอื พุทธะ” โดยเน้นสาระเหล่านี้ เชน่
“พระพทุ ธเจ้าทง้ั ปวง และสัตว์โลกท้ังส้นิ ไม่ไดเ้ ปน็ อะไรเลย
นอกจากเปน็ เพยี งจิตหน่งึ นอกจากจิตหนง่ึ นีแ้ ลว้ ไม่มีอะไรต้ังอยู่
เลย”
“จิตหนึ่ง ซ่ึงปราศจากการต้ังตน้ น้ี เป็นสง่ิ ท่ีมิไดเ้ กิดข้ึน และ
ไมอ่ าจถกู ท�ำลายได้เลย”
“จิตหน่งึ เทา่ นนั้ ทเ่ี ปน็ พระพุทธะ ดังค�ำ ตรสั ทวี่ า่ :
ผู้ใดเห็นจติ ผู้น้ันเห็นเรา
ผใู้ ดเห็นปฏจิ ฺจสมุปฺบาท ผนู้ น้ั เหน็ ธรรม
ผใู้ ดเหน็ ธรรม ผ้นู ั้นเหน็ ตถาคต”
พระธรรมเทศนาของหลวงปูใ่ นหวั ขอ้ เรือ่ ง “จิต คือ พทุ ธะ”
โดยละเอียดไดน้ ำ� เสนอในภาคค�ำสอน ในตอนทา้ ยของหนังสือเล่มนี้
แลว้ พร้อมทั้งค�ำแปลเป็นภาษาองั กฤษดว้ ย
ในการสอนของหลวงปู่ ท่านจะเตือนสตสิ านุศิษยเ์ สมอๆ วา่
“อยา่ ส่งจิตออกนอก”
หลวงปู่ยงั สอนแนวทางปฏิบัติ อกี วา่
“จงท�ำญาณให้เห็นจิต เมื่อเหน็ จิตไดก้ จ็ ะสามารถแยกรปู
ถอดดว้ ยวชิ ชามรรคจิต เพื่อท่จี ะแยกรูปกับกายใหอ้ ยู่คนละสว่ น แล้ว
จะเขา้ ใจพฤตขิ องจติ ได้ในล�ำดบั ต่อไป”
ค�ำสอนเกี่ยวกับเร่อื งจติ ของหลวงปู่ ทม่ี ีการบนั ทึกไว้ในท่ีอืน่ ๆ
อีก ก็มเี ช่น :-
“หลกั ธรรมที่แทจ้ รงิ คอื จิต จิตของเราทกุ คนนัน่ แหละ คือ
98
หลกั ธรรมสงู สุดในจติ ใจเรา นอกจากน้ันแลว้ ไมม่ ีหลกั ธรรมใดๆ เลย
จติ นี้แหละ คอื หลักธรรม ซ่งึ นอกไปจากน้ันแลว้ ก็ไม่ใช่จิต
แตจ่ ติ นนั้ โดยตัวมนั เองก็ไม่ใช่จติ
ขอใหเ้ ลกิ ละการคิด และการอธิบายเสยี ให้หมดสิ้น เมอื่ นัน้
เราอาจกล่าวไดว้ ่าคลองแห่งค�ำพูดไดถ้ ูกตัดทอนไปแลว้ พิษของจิต
ก็ได้ถกู ถอนขึ้นจนหมดส้นิ
จติ ในจิตก็จะเหลอื แต่ความบริสทุ ธ์ิ ซ่ึงมีอย่ปู ระจ�ำแล้วทุกคน”
ด้วยเหตุน้ี การสอนของหลวงปู่จงึ ไม่เนน้ ท่กี ารพดู การคดิ
หรอื การเทศนาส่ังสอน แต่ทา่ นจะเน้นท่ีการภาวนา และใหด้ ูลงที่
จิตใจของตนเอง อย่าไปดูสิ่งอ่ืน เช่น อยา่ ไปสนใจดูสวรรค์ ดนู รก
หรอื ส่ิงอ่ืนใด แตใ่ ห้ดูทจ่ี ติ ของตนเอง ให้ดูไปภายในตนเอง
“อย่าสง่ จิตออกนอก” จงึ เป็นคำ� ที่หลวงปเู่ ตอื นลกู ศษิ ย์อยู่
เสมอ
ความรู้ ความเข้าใจเรื่องจติ อยา่ งลกึ ซึ้งนี้เปน็ ผลจากการ
ปฏบิ ัตทิ ีถ่ ้�ำพระเวสฯ อำ� เภอนาแก จังหวัดนครพนม เมอื่ คร้งั น้ัน
น่นั เอง
คำ� รับรองจากพระอาจารย์ใหญ่
ผลจากการบำ� เพญ็ ภาวนาทถี่ าํ้ พระเวสฯ ท�ำใหห้ ลวงป่มู คี วาม
อมิ่ เอิบใจเป็นลน้ พ้น เฝา้ รอวันท่ีจะได้กราบนมสั การท่านพระอาจารย์
ใหญม่ นั่ ภรู ทิ ตฺโต อยู่ตลอดเวลา
เมือ่ หลวงปู่ และคณะไดป้ รารภความเพยี ร ณ ถำ้� พระเวสฯ
นานพอสมควรแล้วก็ไดจ้ ารกิ ออกตามหาพระอาจารย์ใหญ่ เป็นคำ� รบ
สองตอ่ ไป
ปีนนั้ เปน็ ปี พ.ศ. ๒๔๖๗ คณะของหลวงปู่ ไดไ้ ปพบพระ
อาจารย์ใหญ่ ทวี่ ดั ป่าโนนสงู (ปจั จบุ นั อยูใ่ นเขตจังหวัดมุกดาหาร ซง่ึ
แยกจากจงั หวัดนครพนมมาเป็นจงั หวัดใหม)่
99
หลวงปู่ได้กราบเรียนพระอาจารย์ใหญ่ ใหท้ ราบถึงเรือ่ งราว
ของการปฏบิ ตั ิที่ผา่ นมา โดยเฉพาะหัวขอ้ ธรรมเกี่ยวกับ ปฏิจฺจสมุปฺ
บาท และอริยสจั 4 ที่ได้รับขณะบ�ำเพ็ญภาวนาทีถ่ าํ้ พระเวสฯ
พระอาจารย์ใหญ่มน่ั ภูรทิ ตโฺ ต ไดก้ ลา่ วค�ำรับรองและยกย่องหลวงปู่
ดูลย์ ต่อหน้าท่ชี มุ นมุ ศษิ ยานุศษิ ยว์ า่
“ถูกตอ้ งแล้ว เอาตัวรอดได้แล้ว นบั ว่าไม่ถอยหลังอกี แลว้
อยากใหด้ �ำเนนิ ตามปฏปิ ทานตี้ ่อไป”
หลวงปดู่ ลู ย์ได้นำ� คณะพระภิกษุสามเณรจากวัดมว่ งไข่ พร้อม
ทั้งพระภิกษุฝ้นั อาจาโร ทีต่ ิดตามมาเข้าถวายตัวเปน็ ศษิ ย์ต่อพระ
อาจารยใ์ หญ่
ท่านพระอาจารย์ใหญม่ ัน่ ภูรทิ ตฺโต ไดก้ ลา่ วยกยอ่ งสรรเสรญิ
การกระท�ำ ใหป้ รากฏต่อศิษย์ทั้งหลายว่า
“ท่านดลู ย์น้ีเป็นผ้ทู ม่ี คี วามสามารถเป็นอยา่ งยิง่ สามารถมี
สานุศษิ ย์และผตู้ ิดตามมาประพฤตปิ ฏิบัตธิ รรมดว้ ยเป็นจ�ำนวนมาก”
รางวัลเกยี รติยศ
ในคร้ังน้ันหลวงปดู่ ลู ย์ อตโุ ล ไดพ้ �ำนักอยปู่ รนนบิ ตั ิ
พระอาจารยใ์ หญม่ น่ั ภรู ทิ ตฺโต เป็นเวลานานพอสมควร กอ่ นท่ีจะ
กราบลาออกท่องเทย่ี วธดุ งคเ์ พ่อื ปฏิบัติภาวนาและเผยแพร่พระธรรม
ค�ำส่ังสอนใหแ้ ก่ประชาชนผสู้ นใจในถ่นิ อนื่ ต่อไป
ในระหว่างพำ� นกั ท่ี วดั ป่าโนนสูงน้เี อง พระอาจารยใ์ หญ่
ผูท้ รงคุณธรรมย่ิงใหญ่ไดใ้ ห้ความเมตตาตอ่ หลวงปเู่ ปน็ อย่างยิง่
กลา่ วคือ กอ่ นทหี่ ลวงปดู่ ลู ย์จะกราบลาเพ่อื เดินทางไป
จ�ำพรรษาท่ีอน่ื พระอาจารยใ์ หญไ่ ด้เมตตาตัดผ้าไตรจีวรด้วยมอื ของ
ทา่ นเอง พระลูกศิษย์ลกู หาช่วยกนั เย็บย้อม แลว้ มอบให้หลวงปดู่ ลู ย์
๑ ไตร
หลวงป่ดู ลู ยถ์ ือว่าความเมตตาจากพระอาจารยใ์ หญใ่ นคร้ังน้ัน
100