The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

พระราชวุฒจารย์ (หลวงปู่ดูลย์ อตุโล)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ืทีมงานกรุธรรม, 2022-02-09 22:15:46

พระราชวุฒจารย์ (หลวงปู่ดูลย์ อตุโล)

พระราชวุฒจารย์ (หลวงปู่ดูลย์ อตุโล)

Keywords: พระราชวุฒจารย์ (หลวงปู่ดูลย์ อตุโล)

อาจิณ ผใู้ หญ่ทอี่ ่อนแอก็เชน่ กนั อย่กู ย็ าก กนิ ก็ลำ� บาก งอแง
หงุดหงดิ เจ้าโทสะ ตอ้ งมคี นคอยเอาอกเอาใจอยู่ตลอดเวลาเหมอื น
เดก็ อ่อนขี้โรค
หลวงปู่ทา่ นเปน็ คนหาความออ่ นแอไม่พบ เปน็ ผู้ทม่ี ีความสงา่
ผา่ เผยโดยไม่ตอ้ งวางมาด ทุกอิริยาบถของทา่ น อวยั วะทกุ สว่ น
เคล่อื นไหวตัวเองตามหนา้ ทีอ่ ยา่ งอสิ ระ ปราศจากการควบคุมบรรจง
จดั ใหน้ ่าประทับใจแตอ่ ยา่ งใด ไมเ่ คยนงั่ ตัวงอหรือเอนกายในท่ี
สาธารณสถาน ไมเ่ อนกายเอกเขนก หรอื นอนรับคารวะ
จากสหธรรมกิ แม้สามเณรที่เพ่ิงบวชในวนั น้ัน
เม่อื ทา่ นจะลกุ ขึ้นยนื ท่านจะลุกโดยไม่ต้องค้าํ ยัน หรืออาศัย
ส่งิ พักพิงสิง่ ใด และลุกขน้ึ นง่ั ตัวตรง หรอื ยืนตัวตรงทนั ที ยกเว้นเมอ่ื
อาพาธเท่านน้ั
บางครัง้ เราจะเหน็ ภาพท่ีผูม้ องอดขำ� เสียไมไ่ ด้ คอื เมือ่ ท่าน
มีอายมุ ากกวา่ ๙๐ ปีแล้ว ญาติโยมกม็ จี ติ ศรทั ธาซอื้ หาไมเ้ ท้ามา
ถวายให้ทา่ นไดใ้ ช้เป็นเคร่อื งพยุงกาย ท่านก็ฉลองศรัทธาญาติโยม
ด้วยการนำ� ไมเ้ ทา้ นนั้ ตดิ ตวั ไปไหนมาไหนด้วย แต่กลับไมไ่ ด้ใชไ้ มเ้ ท้า
นน้ั คํา้ ยนั กายเลย จึงเกิดภาพที่นา่ ขนั ทีเ่ ห็นทา่ นนำ� ไมเ้ ทา้ ไปใน
ลักษณะทถ่ี อื ไปทุกคร้งั ทำ� ให้ดกู ลบั กลายเปน็ ว่า หลวงปไู่ ม่ไดพ้ ง่ึ
อาศัยไมเ้ ท้านั้น แตไ่ มเ้ ท้านน้ั กลบั ต้องพงึ่ พาให้หลวงปู่เอาไปไหนมา
ไหนด้วย

สูตรอายุยืน

โดยทวั่ ไปหลวงปูด่ ูลย์ อตโุ ล มรี า่ งกายแขง็ แรง รูปรา่ งค่อน
ขา้ งสงู โปรง่ ผวิ พรรณผ่องใสสะอาดหมดจด การยนื เดนิ นัง่ นอน
กระฉับกระเฉงคล่องแคลว่ ไมม่ อี าการรีรอลงั เล แม้ทา่ นจะมอี ายมุ าก
กต็ ามที เมือ่ เปรยี บเทียบกับบุคคลที่อยใู่ นวยั เดยี วกัน ทุกคนจะ
ยอมรับเป็นเสยี งเดียวกนั วา่ หลวงปู่เป็นคนแขง็ แรง และสขุ ภาพดี

201

นายแพทยใ์ หญผ่ หู้ นงึ่ เคยตรวจร่างกายทา่ นเมอ่ื หลายปีมา
แล้ว และออกความเหน็ ว่าหลวงปู่นา่ จะมอี ายเุ กินกว่ารอ้ ยปีแนน่ อน
ความคล่องแคลว่ ในการเดินของหลวงปนู่ น้ั บางครง้ั ถึงกบั
พระเณรเดนิ ตามไม่ทนั ทง้ั ๆ ทีห่ ลวงปู่กเ็ ดินตามปกตธิ รรมดา
การท่ีหลวงปู่มีสขุ ภาพแข็งแรงอย่างน้ี เปน็ เหตใุ หม้ ผี ้ไู ต่ถาม
ทา่ นบอ่ ยคร้ังว่าท�ำอย่างไรใหม้ ีสุขภาพดอี ย่างทา่ นบา้ ง?
หลวงปูต่ อบวา่ “เม่อื หิวก็กนิ เมือ่ งว่ งกน็ อน และทำ� งานตาม
หน้าท่ีด้วยความเอาใจใส่ และความรับผดิ ชอบเป็นอย่างดี เทา่ น้ันก็ทำ�
ใหแ้ ขง็ แรงได้”
เม่อื พิจารณาตามคำ� แนะนำ� ของหลวงปู่ กเ็ ห็นจรงิ ตามท่าน
ปกติรา่ งกายคนเราเม่ือเกดิ ความหิวกต็ อ้ งกินกนั อยู่แลว้ เพ่ือยงั
อัตภาพรา่ งกายใหเ้ ปน็ ไปได้ แตค่ นท่วั ไปไม่เป็นเชน่ นนั้ ไมไ่ ด้กินเท่าที่
ร่างกายตอ้ งการ แตก่ นิ เพอื่ สนองตัณหา คอื ความอยากด้วย
หลวงปกู่ นิ เม่อื หิว แต่เราล�้ำหนา้ ท่านเล็กน้อย เพราะเรากินเมื่อหิว
ด้วย และกินเมือ่ อยากด้วย
เมอ่ื หลวงปหู่ ายหวิ และเห็นว่าพอแกค่ วามตอ้ งการของ
ร่างกายแล้วทา่ นกพ็ อ แตพ่ วกเราหายหิวแล้วแตย่ ังไมห่ ายอยาก เมอ่ื
หายอยากด้วยเราจึงจะอม่ิ ได้ ปัญหาเร่ืองสขุ ภาพจึงติดตามเรามาอยู่
ตลอดเวลา
ในเร่ืองการนอนก็เหมอื นกัน เมื่อรา่ งกายตอ้ งการพักผอ่ น
หลบั นอน กแ็ สดงอาการงว่ งให้ปรากฏ หลวงปู่ก็นอน คร้ันร่างกาย
ไดร้ บั การพักผอ่ นพอเพียงแลว้ ทา่ นก็ตืน่ และไม่นอนอีก
พวกเราไมเ่ ป็นอยา่ งนน้ั เรามีการนอนหลายประเภท นอน
เพราะรา่ งกายต้องการพกั ผอ่ น นอนเพราะอยากนอน นอนเพราะขี้
เกียจท�ำงาน นอนอ่านหนงั สือ นอนฟังเพลง นอนเล่น นอนเพราะ
ไมม่ ีอะไรทำ� เปน็ ตน้
อิริยาบถ ๔ ของเรา คือ ยืน เดิน น่งั นอน จึงดำ� เนนิ ไป
อยา่ งไม่ได้สัดส่วนเหมาะสม ปญั หาดา้ นสขุ ภาพจงึ ตดิ ตามเรามา

202

การงาน และภาระหน้าทเ่ี ป็นกิจกรรมจ�ำเปน็ สำ� หรับทุกคน
การเอาใจใส่รบั ผิดชอบตอ่ หนา้ ที่เป็นอยา่ งดนี ้นั ท�ำใหส้ ุขภาพจติ ดี ไม่
โลดแล่นไปด้วยอำ� นาจกเิ ลสตัณหา ดว้ ยอ�ำนาจของความเกียจครา้ น
ด้วยการทอดธรุ ะเป็นต้น นอกจากท�ำใหก้ ิจการงานเสยี หายแล้ว ยังท�ำ
ใหส้ ุขภาพจิตไม่ดีอีกดว้ ย
สุขภาพจติ ดีอันเกดิ จากการรูจ้ ักรบั ผิดชอบตอ่ หน้าที่น้ี มิใช่
เปน็ เพียงสขุ ภาพจิตที่ดอี ย่างธรรมดา แต่เป็นสุขภาพจติ ท่ีดถี ึงขนาด
บรรลมุ รรคผลนิพพานได้ ถ้าไดร้ ับการปฏิบัติอยา่ งเอาใจใสเ่ ป็นเวลา
นานพอสมควร
สำ� หรบั ภกิ ษุสามเณร มีหนา้ ท่ตี ้องปฏบิ ตั ิตามขอ้ วตั รตา่ งๆ มี
อาจาริยวัตร และอุปัชฌายวตั ร รักษาศลี เจรญิ สมาธภิ าวนา และ
ปฏบิ ัตกิ ิจพระศาสนา เหล่านีล้ ้วนแล้วแตน่ ำ� ไปสูม่ รรคผลพระนพิ พาน
ทง้ั สิ้น
สำ� หรบั ฆราวาสนัน้ เลา่ ผเู้ ปน็ บดิ ามารดามหี นา้ ทอี่ ย่างไร ผู้
เปน็ บุตรมหี น้าทอี่ ย่างไร ต้องปฏบิ ัตฆิ ราวาสธรรมอะไรบา้ ง เหล่าน้ี
เปน็ ตน้ กล็ ว้ นแล้วแต่เป็นการปฏบิ ตั ิท่ีนำ� ไปสู่มรรคผลนิพพานดว้ ยกัน
ท้งั สน้ิ
ดังนนั้ เราทา่ นทั้งหลายพงึ ยงั ความไม่ประมาทให้เกิดขึ้นใน
ตน วางแนวทางด�ำเนนิ ชีวติ ตามท่ีหลวงปูแ่ นะน�ำ คอื
“เมื่อหิวกก็ ิน เมอื่ ง่วงกน็ อน และท ตามภาระหน้าที่ที่รบั ผิด
ชอบ ด้วยความเอาใจใส”่

ไม่มีงว่ งเหงาหาวนอน

ลกั ษณะแปลกอีกอย่างหน่ึงในตัวหลวงป่กู ค็ ือ ไม่เคยมใี ครเห็น
ท่านในอาการทแี่ สดงถงึ ความงว่ งเหงาหาวนอน หรือสปั หงกง่วงงนุ
แม้วา่ จะผ่านการนั่งรถตลอดทัง้ วนั หรือผา่ นการตรากตรำ� ท�ำกจิ
อะไรมาจนเหนด็ เหน่ือยอ่อนเพลยี เช่นนง่ั ในพธิ ตี า่ งๆ เปน็ เวลานานๆ

203

หรือการน่งั ปรกที่รบั นิมนต์ไปเป็นต้น
โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ ในเวลานัง่ สมาธิ ผเู้ ขียนเคยเห็นหลาย
ทา่ น แม้จะเป็นนักปฏบิ ัติกต็ าม พอน่งั ลงทำ� สมาธิเป็นห้าหรอื สบิ นาที
กส็ ัปหงกนาํ้ ลายไหลให้ชาวบ้านเห็นเสยี แลว้ หลวงปู่เคยบอกวา่
น่นั เป็น โมหะสมาธิ แต่อาการเช่นน้ไี ม่เคยปรากฏมใี นตัวหลวงปู่
ย่งิ กวา่ นัน้ เม่ือเวลาตน่ื นอนแล้ว ไมย่ อมเสียเวลาแม้เพอ่ื จะ
นอนอยู่เฉยๆ สกั พกั แต่สำ� หรับหลวงปู่ เมือ่ ตื่นร้ตู วั ท่านจะรีบลกุ ขน้ึ
นง่ั ทันที แลว้ เรมิ่ เคลอ่ื นไหวทำ� กิจกรรมตา่ งๆ ต่อไปโดยไม่มอี าการ
รรี ออะไร โดยสีหน้าทา่ ทางไมป่ รากฏริ้วรอยว่าผา่ นการนอนมาแล้ว
แม้แตน่ อ้ ย เปน็ เชน่ น้มี าจนตลอดชวี ติ ของท่าน นับว่าเปน็ เรอื่ งทีน่ ่า
ประหลาดอย่างยิ่งในหม่ลู กู ศษิ ย์ลูกหา
เกีย่ วกับเรอื่ งความงว่ งน้ี คณุ บ�ำรงุ ศักด์ิ กองสขุ เคยกราบ
เรียนถามหลวงปู่ว่า พระอรยิ บคุ คลทง้ั ๔ ทา่ นมีความง่วงเหงา
หาวนอนบ้างหรือเปลา่ ? หลวงป่ตู อบวา่
พระโสดาบนั ยงั มงี ่วงนอนอยู่
พระสกทิ าคามี มีง่วงนอนนอ้ ยลง
พระอนาคามี ยังมงี ่วงนอนนิดหนอ่ ย
พระอรหนั ต์ ไม่มีงว่ งนอน
คุณบำ� รงุ ศกั ดย์ิ งั ไดเ้ คยกราบเรยี นถามพระอาจารยส์ วุ ัจ สวุ โจ
ในช่วงท่ที ่านมาเฝ้าอาพาธ หลวงปู่ฝ้ัน อาจาโร ทีโ่ รงพยาบาลจฬุ าฯ
โดยกราบเรยี นถามข้อความต่างๆ เช่น “พระอรหนั ต์ เวลานอนจติ
ท่านหลับหรอื ไม่”
ไดร้ บั คำ� ตอบจากพระอาจารยส์ ุวัจว่า “พระอรหันตท์ า่ นจะ
หลบั กไ็ ดต้ ่นื กไ็ ด้ อาตมาเคยถาม หลวงปมู่ ัน่ ภรู ทิ ัตโต วา่ ท่าน
อาจารย์ เม่อื คนื ทา่ นอาจารย์จ�ำวดั หลับสบายดหี รอื ขอรบั กระผม
เลยถูกหลวงป่มู ัน่ ดุเอาวา่ ถามเหมอื นคนภาวนาไมเ่ ป็น สมาบตั ซิ ิดี
กว่า มกี �ำลังมากกว่าการนอนหลบั ”
จากข้อเขียนของคุณบำ� รงุ ศกั ดอ์ิ ีกเช่นกัน ซึ่งเขยี นถงึ ตอนที่

204

หลวงปดู่ ลุ ย์ อตโุ ล อาพาธหนกั เขา้ รบั การรกั ษาตวั ณ โรงพยาบาล
จฬุ าฯ พยาบาลถามบ่อยๆ วา่ หลวงปูน่ อนหลับไหม ทา่ นตอบว่า
นอนไมห่ ลบั ทุกคร้งั ไป
หมอก็จะถวายยานอนหลบั และทุกคร้งั ที่หลวงปูฉ่ นั ยา ทา่ น
จะไมส่ บายจากการแพ้ยานอนหลบั
คุณบ�ำรุงศักด์ิเองอดใจมไิ ด้ จึงอธบิ ายเรอ่ื งการนอนของนัก
ภาวนาใหพ้ ยาบาลฟัง ถึงการตนื่ รู้อยกู่ บั สมาธิจิต หรือการพกั จติ ใน
สมาบตั ิ จิตจะเป็นอิสระจากนิวรณซ์ ่งึ แปลกไปจากคนธรรมดาทั่วไป
แล้วผูเ้ ขยี นไดห้ ันไปกราบเรียนหลวงป่วู า่ กระผมอธิบายถกู ไหม เพ่อื
ยืนยนั กับพยาบาล หลวงปู่ไม่ไดพ้ ูดอะไร ท่านพยกั หน้ารบั
ยามดึกสงดั บางคนื สงั เกตเห็นท่านนอนหลับแล้วกรนเบาๆ
ทุกคร้ังที่แอบเพง่ มองจดจ้องใบหน้าหลวงปู่ ใจผเู้ ขียนก็คดิ ไปตา่ งๆ
นานา หลวงปูจ่ ะหยดุ กรนแล้วลมื ตาถามเรอื่ งท่ีผ้เู ขยี นก�ำลงั คดิ อยู่
ดังนั้นจึงตอ้ งระมดั ระวงั ไม่เพ่งมองใบหนา้ ท่าน และพยายามไม่สง่ จติ
ออกนอก
ถามหลวงปู่วา่ “ร้คู วามนึกคดิ ของคนอ่นื ไดอ้ ยา่ งไร”
หลวงปตู่ อบวา่ “ถ้าสง่ จติ ถึงกนั กร็ ไู้ ด”้

สะอาดท้ังกายทั้งใจ

จะเป็นด้วยอุปนิสัยดงั้ เดิมของหลวงปู่ หรือว่าเปน็ เพราะผล
การปฏิบตั พิ ระธดุ งคก์ มั มัฏฐานมานาน หรืออยา่ งไรไมท่ ราบ
นอกจากความหมดจดในอริ ิยาบถตา่ งๆ เช่น ไม่นงั่ เอนอิงสปั หงก
นอนสงบเรียบร้อยไมล่ ะเมอเพอ้ พก ยนื เป็นสงา่ เดินกระฉบั กระเฉง
ดงั นเี้ ป็นต้น
หลวงปูด่ ูลย์ อตโุ ล ยงั ได้ชื่อว่าเปน็ ผทู้ ีม่ คี วามสะอาดทง้ั กาย
ทั้งใจ ท่านรกั ษาความสะอาดทางร่างกายเป็นอยา่ งดี ไม่เคยมีเล็บ
มอื เลบ็ เทา้ สกปรก หรอื อวยั วะอื่นๆ เกรอะกรังนา่ รงั เกยี จ

205

เครือ่ งน่งุ ห่ม สบงจีวรตา่ งๆ สะอาดสะอ้าน ไม่หมกั หมม
โสโครก
เสนาสนะท่ีอยอู่ าศยั นนั้ เล่า พอเช้าขึน้ แต่ละวัน ต้องทำ� ความ
สะอาดให้เรียบรอ้ ยตามแบบฉบบั พระกมั มฏั ฐาน
หลวงปสู่ อนศิษยเ์ สมอว่า
เม่ือฝึกใหเ้ คยชินกบั การรักษาความสะอาด และทนความ
สกปรกไมไ่ ดเ้ ป็นนิสัยแลว้ นสิ ัยนีจ้ ะแฝงฝังอย่ใู นใจ เม่อื ใดเกดิ
กิเลสตัณหาอันเปน็ ความสกปรกทางใจเกิดขน้ึ มันก็จะด�ำรงอยู่ได้
ไม่นานเพราะใจจะทนไม่ได้ไปเอง อดทจ่ี ะกำ� จดั ขัดเกลาท้งิ เสียไม่
ได้
ดา้ นจิตใจของท่านน้ัน หลวงปดู่ ุลย์นบั เปน็ แบบฉบับของ
บุคคลท่ีเขาเรียกกันว่า ผมู้ ใี จสะอาด เป็นผใู้ หญท่ คี่ วรเคารพบูชา
อยา่ งแทจ้ ริง ไมม่ เี ล่นแง่แสนงอนเอาเหลยี่ มเอาเชงิ กับใคร ไมม่ ีทษิ ฐิ
มานะถือวา่ ขา้ เป็นใหญก่ ว่าผูน้ ้อยจะมาล้ำ� หน้าก้�ำเกนิ ไมไ่ ด้ แมจ้ ะไม่
เจตนาก็ตาม
มเี รอื่ งทค่ี วรยกขึ้นมาเปน็ อุทาหรณอ์ ยเู่ ร่อื งหนึง่ ดงั น้ี
เหตกุ ารณค์ รั้งหนึ่ง เมอื่ ใกลเ้ ทศกาลเขา้ พรรษาในปีหนงึ่ ท่ี
วัดป่าโยธาประสิทธิ์ ที่อยูช่ านเมืองจังหวดั สรุ นิ ทรม์ ีการบวชนาค
หลายรปู ดว้ ยกนั บิดามารดา และญาติมิตรสหายของนาคทง้ั หลาย
กม็ าชุมนมุ ทำ� พิธสี มโภชนาคพรอ้ มกัน กำ� หนดการวา่ ร่งุ เช้าก็จะแห่
นาคมาบวชที่วัดบูรพารามพร้อมกนั โดยได้เผดยี งหลวงป่เู ป็นพระ
อปุ ชั ฌายะไวเ้ ปน็ ท่ีเรียบรอ้ ยลว่ งหนา้
พอดใี นคนื ท่กี �ำลงั ท�ำพิธสี มโภชนาคนั้นเอง ทา่ นเจ้าคุณพระ
เทพสุทธาจารย์ (โชติ คุณสมปฺ นฺโน) เดินทางมาจากวดั วชิราลงกรณ์
อ.ปากช่อง จ.นครราชสีมา เพ่อื เย่ยี มเยอื นวดั ปา่ โยธาประสิทธ์ิ ที่
ท่านเคยอยู่พำ� นกั เปน็ เวลานานในกาลกอ่ น
ผู้ปกครองนาคคนหนึง่ เปน็ ผู้มคี วามเลอื่ มใสเคารพนับถือใน
ตัวหลวงปโู่ ชติ มาก มคี วามดีอกดใี จ จงึ ขอแยกนาคที่เป็นบตุ รชาย

206

ของตนออกมาทำ� พธิ ีบวชต่างหาก โดยอาราธนาหลวงปู่โชติเปน็ พระ
อปุ ัชฌายะ แมจ้ ะถูกนาคอืน่ ๆ ที่ฝกึ หัดสวดขานนาคเป็นทีมเดียวกนั
ขอรอ้ ง และทัดทานไวว้ ่าไม่ควรท�ำเช่นนน้ั ควรจะบวชพรอ้ มกนั ดีกว่า
เหตผุ ลอกี ประการท่ที ำ� ให้ผอู้ ื่นทัดทานคอื กราบอาราธนา
นิมนต์หลวงป่ดู ลุ ย์เป็นอุปชั ฌายะแล้ว ไม่ควรจะมาเปลยี่ นตอนนี้
โดยไม่ได้บอกคืนการนิมนตท์ ่านทางฝา่ ยนาคคนน้ันไม่ฟังคำ� ช้ีแจง
จากคนอนื่ ๆ ตกลงจะเปลี่ยนแปลงตามความตงั้ ใจของเขาให้ได้พอร่งุ
เช้าขบวนแหน่ าคกพ็ ากนั ยกมาถึงวัดบูรพารามโดยพรอ้ มเพรยี งกัน
นาคทกุ คนยกเวน้ นาคผนู้ น้ั ก็พากนั ไปท�ำพิธบี วชในพระอุโบสถ ครน้ั
หลวงปทู่ �ำพิธีบวชใหเ้ รียบร้อยแลว้ ก็พากนั ออกจากโบสถ์บิดามารดา
ของนาคท่แี ยกตัวออกมาก็อาราธนา ทา่ นเจา้ คุณเทพสทุ ธาจารย์ ให้
ท�ำพิธีบวชใหบ้ ุตรของตนแต่ผู้เดยี วทา่ นก็ไมข่ ัดข้อง ปรากฏวา่ นาคผู้
นน้ั ซง่ึ เคยซอ้ มขานนาคมาดว้ ยกัน ๔ คน ตอนซอ้ มกท็ ำ� คล่องแคล่วดี
เมอื่ มาขานนาคเดี่ยวเข้าก็ไม่คลอ่ งแคลว่ ขานตะกุกตะกักผิดๆ ถูกๆ
อกั ขระพยัญชนะไม่ถกู ตอ้ งชัดเจน
ท่านเจา้ คณุ พระเทพสทุ ธาจารย์ผู้เปน็ ศิษย์หลวงป่ดู ลุ ย์ และ
ท่านกถ็ อื เครง่ ครดั ต่ออกั ขระพยัญชนะเหมือนหลวงปอู่ ยู่แล้วไมม่ ีการ
ช่วยเหลือบอกคำ� เคอะเขนิ เลยแมแ้ ต่เล็กนอ้ ยให้ เพราะท่านถือว่าเม่ือ
อยากบวชก็ต้องซักซอ้ มมาใหด้ ี
ท่านเจา้ คุณโชติ (พระเทพสทุ ธาจารย์) จงึ เอ็ดเอาวา่ “อา้ ว! ทำ�
ไมอยา่ งน้ี แบบนบ้ี วชไมไ่ ด้หรอก ไมบ่ วชให้กลับไปซ้อมมาใหมใ่ ห้ดี
เสียกอ่ น เรื่องบวชน้ัน จะบวชเมื่อไรกไ็ ด้ ไม่มีปญั หา”
จงึ เปน็ อนั วา่ หลวงป่โู ชติไม่บวชใหน้ าคผนู้ น้ั ทัง้ นาค และบดิ า
มารดาญาตมิ ิตรสหาย ก็พากันลากลับไปยังวัดปา่ โยธาประสทิ ธ์ิดว้ ย
ความผิดหวงั
ส�ำหรับผทู้ ท่ี ำ� พธิ ีบวชแลว้ กม็ พี ิธีเจรญิ พระพุทธมนต์ในคำ่� วัน
นน้ั ส่วนนาคผู้นน้ั ก็ยงั คงเป็นนาคอยอู่ ย่างเดมิ ความรสู้ ึกจะเป็น
อยา่ งไรก็คงคาดเดากันได้

207

ในวนั รงุ่ ขนึ้ คณะของนาคคนนน้ั ก็ยกขบวนมาวัดบรู พาราม
อีกคร้ังเพ่อื มาขอบวช โดยอาราธนาหลวงปู่ดลุ ยใ์ หเ้ ปน็ อปุ ัชฌายะ
ท่านพระมหาสมศักด์ิ (พระครนู นั ทปญั ญาภรณ์ ตอ่ มาเป็น
พระโพธนิ นั ทมุน)ี ได้กราบเรยี นหลวงปูว่ ่า “หลวงปู่ครับนาคองค์นี้
แหละทไี่ ม่ยอมบวชกบั หลวงปู่เม่ือวานนี้ เขานมิ นตท์ ่านเจา้ คณุ โชตใิ ห้
บวชให้ต่างหากเป็นพเิ ศษ เมอื่ เขามานมิ นต์ให้บวชใหอ้ ีกในวันนี้
หลวงปู่จะต้องลงโบสถ์ไปบวชใหเ้ ขาท�ำไม ให้เขาไปบวชทโ่ี คราชไม่ดี
หรอื ?”
หลวงปูต่ อบวา่ “เม่อื เขาอยากบวชกบ็ วชได้ เมือ่ เขาไมบ่ วชก็
เปน็ เร่อื งของเขา เมื่อวานเขาไม่พรอ้ ม วันน้เี ขาพร้อม มีหน้าท่ีบวช
ใหเ้ ขาก็บวชให้เขาไป”
น่ีเป็นตวั อยา่ งหน่งึ ในเหตกุ ารณ์หลายๆ อยา่ งทีเ่ กิดขึน้ ท่ี
แสดงให้เหน็ ชัดวา่ หลวงปเู่ ปน็ ยอดบุคคลท่ีมใี จสะอาดปราศจากทิษฐิ
มานะ เป่ยี มลน้ ไปด้วยเมตตากรณุ า ผเู้ ขียนกเ็ ลยได้ขอ้ คิดแก่ตนวา่
นบั เปน็ การดที ่ีไม่ต้องไปซํ้าเติมไปอะไรใหเ้ ปน็ มลทนิ แก่ใจ ธรรมชาติ
น่ันแหละเป็นผูส้ งั่ สอนได้ดี ดังนน้ั เมือ่ มอี ะไรทไ่ี มด่ ีเกิดข้นึ จึงไม่ตอ้ ง
ไปนึกคดิ อะไรใหม้ ากความไปอีก
เร่อื งราวตา่ งๆ ในท�ำนองเช่นน้ี บรรดาลกู ศษิ ย์ลกู หาชอบ
จดจำ� มาคุยมาเล่าสกู่ ันฟังว่า ใครประสบพบเห็นมาอยา่ งไร และ
ต่างกไ็ ด้ถอื เอาเป็นนิทศั น์อุทาหรณ์ ไว้สอนตนเอง และเยาวชนรุ่นต่อ
ไป ถอื เป็นเคร่อื งช่วยบรรเทากิเลส ทษิ ฐมิ านะของแต่ละคนไดเ้ ป็น
อยา่ งดี

เข้าใกลร้ ม่ เยน็ เปน็ มงคล

ได้กล่าวแล้ววา่ หลวงปู่เป็นคนเขม้ แขง็ ความเขม้ แขง็ และ
ความเปน็ ผเู้ ป่ยี มดว้ ยขนั ติธรรมของทา่ น เป็นทปี่ รากฏชดั แก่คนทั่วไป
โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ เวลาทีห่ ลวงปู่อาพาธ ท่านไมเ่ คยแสดงความ

208

อ่อนแอออกมาใหใ้ ครเห็น แม้กระทัง่ แพทย์ พยาบาลทท่ี ำ� หนา้ ที่
เยยี วยารักษา จนกระทั่งวา่ เมือ่ ท่านเกิดอาพาธเลก็ ๆ น้อยๆ ภกิ ษุ
สามเณรทที่ ำ� หนา้ ทอ่ี ุปัฏฐากทา่ น ยังเขา้ ใจว่าท่านไม่ได้เปน็ อะไร
หรอื เมอื่ มีอาการปรากฏชดั ก็นึกวา่ ท่านอาพาธเพียงเลก็ ๆ น้อยๆ
เทา่ นนั้
อำ� นาจแห่งขนั ติบารมีทม่ี ีประจำ� ตัวท่าน อนั เปน็ คุณธรรมท่ที �ำ
ให้งามตาที่พระผมู้ ีพระภาคตรัสไว้ และอานุภาพแหง่ ความสงบระงับ
ท่มี ีอยใู่ นตัวทา่ น ทำ� ใหบ้ ุคคลทอ่ี ยู่ใกลท้ ่าน หรือได้เขา้ มาหาทา่ น
ออกปากเสยี งเดยี วกันวา่ รสู้ กึ เย็นอย่างประหลาด
มีท่านผูห้ นึง่ อดรนทนความพิศวงอยู่ไม่ได้ จึงเรยี นถามทา่ น
ว่า “ทำ� ไมผมอยใู่ กลห้ ลวงป่แู ล้ว รู้สึกเย็นอกเยน็ ใจสบายกายสบายใจ
เหลือเกิน อยากจะอยใู่ กล้หลวงปนู่ านๆ”
หลวงปู่กต็ อบวา่ “อยากรกู้ ท็ �ำ เอาเองซ”ิ
ยิ่งกวา่ น้นั แม้แตบ่ รรดาสานศุ ิษย์ทอี่ ยู่ทางกรงุ เทพฯ ที่เคยไป
กราบเยีย่ มอาพาธหลวงป่ทู โ่ี รงพยาบาล กย็ งั ร้สู ึก “อยากใหท้ ่านป่วย
นานๆ” ดังเชน่ บนั ทึกของคุณบำ� รุงศกั ดิ์ กองสุขดังนี้
ทุกคนมีความรัก และบูชาหลวงปดู่ ุลย์ อตโุ ล เหมือนๆ กนั
ไม่มีใครกลัวท่านมีแตอ่ ยากใกลช้ ิด ระหว่างอยู่โรงพยาบาลจุฬาฯ ผิว
พรรณวรรณะของหลวงปู่ผ่องใสยงิ่ นักคุณจ�ำนงค์ พันธพุ งศ์ ลกู ศษิ ย์
คนหน่งึ บอกหลวงปู่ว่า “แกม้ แดงเหมือนเดก็ สาวรุน่ ”
เมอ่ื ท่านหายป่วย แพทย์อนุญาตใหก้ ลับวัดได้ โยมพ่ปี ระสาน
สงิ คเสลิต บอกหลวงปู่วา่ “หลวงปู่ครบั ผมอยากใหห้ ลวงปปู่ ่วยอยู่ท่ี
นี่อีกนานๆ”
หลายคนที่กรุงเทพฯ ตอ้ งการใหท้ ่านพกั อยทู่ โ่ี รงพยาบาล จะ
ไดม้ าเฝ้าท่านสะดวก แตถ่ ้าทา่ นป่วยหนกั ทุกคนก็เปน็ หว่ ง พอท่าน
สบายกอ็ ยากใหอ้ ย่นู านๆ เพราะการอยใู่ กลห้ ลวงปเู่ ปน็ มงคล จติ ใจ
เบกิ บาน

209

ไม่หวนั่ ไหวในกาลทุกเมอื่

ตราบเทา่ ทุกวนั น้ี ผูเ้ ขยี น (พระโพธนิ นั ทมนุ ี หรือทา่ นเจ้าคณุ
สมณศักด)ิ์ ยังเห็นติดตาตรงึ ใจกบั บคุ ลิกภาพอันมัน่ คงแน่นอนของ
หลวงปู่ งดงามสมบูรณ์ด้วยเอกภาพอนั น่าอบอนุ่ ใจแกผ่ ูอ้ ยูใ่ กล้
ใบหน้าท่ีสงบเยือกเย็นตลอดเวลา ประหนึง่ วา่ แม้ภเู ขาจะถล่มทลาย
ตรงหน้ากด็ ี อย่ทู า่ มกลางสนามรบ ที่กำ� ลังตะลมุ บอนรบพุ่งกัน
อย่างเอาเปน็ เอาตายอยกู่ ด็ ี ความเปลี่ยนแปลงแมน้ อ้ ยหน่งึ ก็จะไม่
ปรากฏบนใบหน้าน้ันเลย
มเี หตกุ ารณห์ ลายคร้ัง ทเี่ ล่าขานกนั อยใู่ นหม่ลู ูกศิษย์ เก่ียวกับ
ความเปน็ ผู้ไม่หว่นั ไหวในกาลทุกเมือ่ ของหลวงปู่วา่ ท่านเป็นผู้ที่มีสติ
ม่งั คงมาก ไม่เคยตน่ื ตระหนกตกใจ หรอื ดอี กดีใจ หรือเสียอกเสียใจ
ไปตามเหตกุ ารณ์ แม้จะเกิดข้นึ ใหญ่หลวงสกั ปานใดกต็ าม ทา่ นยงั
ทรงไวซ้ ง่ึ ความเป็นปกตภิ าพทกุ กรณี
มเี หตกุ ารณห์ นงึ่ ทน่ี า่ จะหยบิ ยกมาเลา่ เปน็ อทุ าหรณ์ ดงั ตอ่ ไปน้ี
ครง้ั นัน้ ๔๐ ปีกว่าลว่ งมาแล้ว เกดิ มหนั ตภยั รา้ ยแรงทีส่ ดุ ท่ี
เคยมมี าในประวัตศิ าสตรเ์ มืองสุรินทร์ คือเกดิ เหตุการณอ์ คั คีภยั คร้งั
ใหญใ่ นตลาดจงั หวดั สรุ นิ ทร์ ชาวบา้ นชาวเมอื งเรยี กไฟไหมค้ รั้งน้นั ว่า
“ไฟบรรลยั กลั ป์” เพราะเปน็ การลกุ ไหม้เผาผลาญอย่างวินาศสนั ตะโร
จริงๆ
ไฟเรม่ิ ไหมท้ ี่ใจกลางเมืองพอดี แลว้ ลกุ ลามขยายออกไปเปน็
วงกลมรอบทิศ หนว่ ยดบั เพลงิ ต่างส้ินหวงั และหมดปัญญาจะสกัดไฟ
ได้ สามารถป้องกันไดเ้ พยี งบางจุดเท่านั้น ในสว่ นอน่ื ๆ ต้องปล่อยให้
เป็นไปตามยถากรรม เปน็ ทีแ่ นช่ ดั ว่าแทบทัง้ เมอื ง จะตอ้ งราพณาสญู
ไปดว้ ยแรงฤทธขิ์ องพระเพลิงอย่างไมต่ ้องสงสยั
ทัง้ ในวัด และบริเวณใกล้เคยี งนั้นเกดิ ความโกลาหลทวั่ ไปหมด
ชาวบ้านวงิ่ กันสบั สนอลหม่าน คนจ�ำนวนมากวงิ่ หนเี ข้ามาหวงั จะพึง่
วัด หอบลกู จูงหลานแบกข้าวของกนั อึงคะนงึ

210

พระเณรชีตา่ งก็อกส่ันขวัญหนี เพราะทง้ั กฏุ ิ และเสนาะสนะ
ตา่ งๆ ในวดั และอาคารบา้ นเรือนรอบๆ วัด ลว้ นแตเ่ ป็นไมเ้ กา่ แก่นบั
วา่ เป็นเชอ้ื เพลิงอยา่ งดตี า่ งไมร่ ้จู ะทำ� อย่างไรเพราะไฟแลบเลยี ลุกไหม้
ใกลเ้ ขา้ มา และจะตอ้ งเข้ามาถงึ ในวดั อยา่ งไมต่ อ้ งสงสัย
ความสบั สนอลหมา่ นในวดั เกิดข้นึ จนไมร่ ู้ว่าใครเป็นใคร ท้งั
ชาวบ้านวง่ิ ชนพระเถรเณรชี และว่ิงขนข้าวของกันดูชุลมุนวนุ่ วายไป
หมด
พระเณรจำ� นวนหนึ่งกรูกันขึน้ ไปบนกฏุ ิหลวงปู่ เหน็ ทา่ นนงั่ จิบ
นํ้าชาอยูด่ ้วยสีหนา้ ปกติ ต่างก็ลนลานขอโอกาสท่านเพ่อื ขนของหนี
ไฟ หลวงปหู่ า้ มว่า
“ไมจ่ �ำเป็น”
ไฟโหมลกุ ไหมใ้ กลว้ ดั เขา้ มาทกุ ที อีกไม่กค่ี หู าก็จะถงึ วดั แลว้
พระเณรกรกู ันลงมาจากกุฏหิ ลวงปู่ วิ่งไปด้านหลังมณฑปหลวงพ่อ
พระชวี ์ เหน็ เปลวเพลงิ แลบเลยี ใกลเ้ ขา้ มาจวนเจียนจะถึงวัดแล้ว จึง
พากนั วงิ่ กรูขึน้ ไปบนกฏุ ิหลวงปู่เพื่อชว่ ยกนั ขนยา้ ยอีก หลวงปูย่ ังน่ัง
อย่ทู ีเ่ ดิม แล้วห้ามไว้ดว้ ยอาการสงบเย็นว่า “ไม่จ�ำเป็น”
ทนั ใดนั้น ขณะไฟลุกลามมาตดิ เขตวดั สดุ ยอดแห่งความ
บังเอิญที่เกดิ ข้นึ เกิดมีลมกรรโชกขึ้นมาอยา่ งแรงพดั กระพอื จากทศิ
ตะวันออกอันเป็นเขตวัดตลบกลบั ไปทางทศิ ตะวันตกอันเปน็ เขต
ภายนอกวดั พดั เปลวไฟกลบั ไปสบู่ ริเวณทล่ี กุ ไหม้อยู่กอ่ น จนกระทง่ั
มอดไหม้สงบไปในทส่ี ดุ
มหันตภัยครง้ั นั้นกส็ ิ้นสุดลง ดว้ ยความสญู เสยี ครง้ั ร้ายแรง
ของชาวบา้ นรา้ นตลาดในจงั หวัดสรุ ินทร์ ทกุ คนภายในวัดตา่ งก็
เหนอื่ ยอ่อนกนั ถ้วนท่ัว แต่ก็คลายใจขึน้ เมอ่ื ไฟสงบลง เหลา่ ชาววัด
คอ่ ยหายใจทวั่ ท้องกันขึ้น
เหตุการณค์ รง้ั น้ี ผ้เู ขียนไม่ได้มีเจตนาจะช้ใี หเ้ ห็นอิทธิฤทธ์ิ
หรอื ปาฏหิ ารยิ ์ประการใด แต่มงุ่ แสดงให้เหน็ ว่าแม้แตเ่ หตุการณ์
คับขันหลวงปขู่ องเราก็มไิ ดแ้ สดงอาการสะทกสะทา้ นหวัน่ ไหวอยา่ งใด

211

แสดงถึงคณุ ลกั ษณะแห่งความ “ไม่หว่ันไหวในกาลทุกเมอ่ื ” ของทา่ น

ไม่พยากรณ์อรยิ มรรคอรยิ ผล

ปญั หาหน่งึ ทผ่ี ู้สนใจทางธรรมชอบสอบถามกันมากได้แก่
เร่อื ง การพยากรณ์อรยิ มรรคอรยิ ผล คอื มักจะสอบถามกนั วา่ หลวง
ปู่ เคยพยากรณ์หรือรบั รองวา่ หลวงปู่ หลวงพอ่ องคน์ น้ั องคน์ ี้
ครูบาอาจารย์องคน์ ัน้ องค์น้ีบรรลุธรรมในระดบั ใด หรือเป็นพระอริย
เจ้าระดบั ใดแล้ว ผูใ้ ดเปน็ พระโสดาบนั ผ้ใู ดเป็นพระอรหันต์แลว้
อะไรอย่างนเ้ี ปน็ ต้น ผู้สอบถามจงึ อยากรขู้ ้อเทจ็ จรงิ วา่ เปน็ อยา่ งไร
กนั แน่
ครั้งหน่ึง ทา่ นเจา้ คณุ พระโพธินันทมนุ ี เคยถามหลวงปู่ถงึ ผล
การปฏิบัติของหมคู่ ณะปฏิบัติ ซึ่งไดร้ บั ค�ำตอบจากหลวงป่วู า่
“การทีจ่ ะพยากรณ์ผู้ใดว่าบรรลุอรยิ มรรคอรยิ ผลนนั้ ผทู้ จี่ ะ
พยากรณ์ได้มีเพียงผเู้ ดยี ว คอื องคส์ มเดจ็ พระสัมมาสัมพทุ ธเจ้าเท่าน้ัน
แมพ้ ระอริยสาวกจะไปพยากรณ์ หรือบอกว่าผูน้ น้ั เป็นโสดาบัน ผู้น้ี
เปน็ อรหนั ต์กไ็ ม่ได้ ไมถ่ กู ต้องตามพระวนิ ัยบญั ญตั ”ิ
ไดก้ ราบเรยี นถามหลวงปู่ต่อไปอกี ว่า “แล้วจะรไู้ ดอ้ ยา่ งไร ว่า
องคไ์ หนปฏบิ ตั ิธรรมเปน็ อย่างไรในหมู่พระสงฆ์สาวก”
หลวงปตู่ อบวา่ “ท่ปี ฏิบตั ปิ ฏิปทาเดียวกนั ย่อมจะรู้กัน ย่อมจะ
เข้าใจกันได้เมอ่ื ไดส้ นทนาแลกเปลี่ยนความคดิ เหน็ ในเมอ่ื ไดอ้ ยรู่ ่วมกนั
หรอื แมไ้ มไ่ ดอ้ ย่รู ว่ มแต่ไดท้ ราบขา่ วถอ้ ยค�ำ หรอื ขอ้ ความท่ผี ูน้ ้ันๆ
แสดงออกมา เพราะขอ้ ความทีท่ ่านผนู้ ั้นๆ แสดงออกมาจะช้ีชัดเจน
ถงึ ภูมิธรรมของทา่ นว่าอยูใ่ นระดบั ใด”
น่เี ป็นถ้อยค�ำ ที่ออกจากปากหลวงปู่เอง ท่ที ่านพูดกบั ท่านเจ้า
คุณพระโพธินนั ทมุนโี ดยตรง ส่วนท่เี คยได้ยินเม่อื หลวงป่กู ล่าวกบั
ท่านผูอ้ ื่นนั้น มีอย่วู ่าเม่ือไดย้ นิ ว่ามีใครประพฤตปิ ฏิบตั ธิ รรมไดผ้ ลดี
และมผี ู้นำ� มาถามหลวงปูถ่ งึ ผลการปฏิบตั ขิ องทา่ นผู้นนั้ หลวงปู่กม็ ักจะ

212

บอกว่า ถา้ เขามีศรทั ธาม่นั คงแลว้ กจ็ ะไม่ถอยหลงั ถา้ หากไดด้ ำ� เนิน
อย่างมั่นคงตอ่ ไป กจ็ ะได้เข้าถึงพระรตั นตรยั อย่างแน่นอน
หลวงป่เู คยพูดคยุ กับพระราชาคณะชน้ั ผู้ใหญท่ ่านหน่ึง เมอ่ื
พระราชาคณะรปู นนั้ ถามถงึ ผลการปฏิบตั ิ ของพระภิกษรุ ูปหนง่ึ วา่
เป็นอยา่ งไร หลวงปเู่ พียงแต่ตอบว่า “เขาเขา้ ถงึ ทางตรงแล้วไมม่ ีการ
เสอื่ มศรัทธาไปจากพระรัตนตรัยไดเ้ ลย”
เทา่ ทส่ี อบถามพระทเ่ี ป็นลูกศิษย์ลูกหาของหลวงปู่ ตา่ งก็
ยนื ยนั วา่ เคยได้ยนิ หลวงปูก่ ลา่ วในลกั ษณะข้างตน้ เท่าน้ัน ไม่เคยได้ยิน
ทา่ นพยากรณ์อรยิ มรรคอรยิ ผลของทา่ นผู้ใดเลย แมแ้ ตค่ รั้งเดียว
นอกจากนี้ ยังปรากฏว่า เม่ือหลวงปูไ่ ด้ยนิ ผู้ใดพยากรณ์ใคร
ถึงอรยิ มรรคอริยผลต่างๆ แมผ้ ู้พยากรณเ์ ป็นฆราวาสกต็ าม หลวงปู่
กย็ ังหา้ มปรามวา่ เปน็ การทำ� ทไ่ี มถ่ ูกตอ้ ง
ดังนั้นก็เปน็ อนั สรปุ ได้วา่ ท่ีหลายๆ ทา่ นได้ยนิ ใครคนใดคน
หนงึ่ พูดวา่ “หลวงป่บู อกวา่ คนนน้ั เปน็ โสดาบนั คนนี้เป็นอริยบุคคล
ช้นั นนั้ ช้นั นี้” ดงั นเ้ี ปน็ ตน้ กแ็ สดงว่าใครคนหนึง่ น้ันพดู กนั เอง ทกึ ทัก
เอาเอง ดว้ ยความสำ� คัญผิด หรือด้วยเจตนาอื่นใดก็ตาม จงึ ขอยืนยนั
วา่ เปน็ ความเข้าใจทีไ่ มถ่ กู ต้อง
ที่ถกู คอื หลวงปูไ่ มเ่ คยพยากรณ์อรยิ มรรคอริยผลของทา่ น
ผูใ้ ดเลย และท่านกห็ า้ มไม่ให้พระหรือฆราวาสกระทำ� การอย่างนนั้
ด้วย เพราะไมเ่ หมาะไมค่ วร

ถามปญั หาได้ทุกเม่ือ

หลวงปปู เู่ คยเลา่ ใหฟ้ ังวา่ ความหนักอกหนักใจท่ีส�ำคัญอยา่ ง
หนงึ่ ของนักปฏิบัติคอื การขาดกัลยาณมติ ร ทีม่ คี วามสามารถแนะน�ำ
แนวทาง และวิธแี ก้ไขปญั หาในการปฏบิ ัตใิ ห้ไดต้ ลอดสาย
บางทีแมม้ กี ัลยาณมิตร คอื มีครบู าอาจารยท์ ่ีสามารถ แต่
ทา่ นกบ็ งั เอญิ อยไู่ กลบา้ ง โอกาสไม่อำ� นวยบ้าง ทำ� ให้ไมอ่ าจแก้ไข

213

แนวทางปฏบิ ตั ไิ ด้ทันทว่ งที ท�ำใหเ้ กดิ การเน่ินช้าไปโดยใช่เหตุ
ท่รี ้ายกว่านน้ั กค็ อื บางครั้งท ใหห้ ลงวกวนไปไกลจนกระท่ัง
หลงผดิ ไปกม็ ี บางกรณีถา้ มีผู้ช้แี นะให้ทันการ ก็จะเป็นประโยชน์
อยา่ งใหญ่หลวงทงั้ แก่เพ่อื นนกั ปฏบิ ตั แิ ละท้ังแก่กจิ การพระศาสนาเอง
ด้วยเหตุท่หี ลวงปเู่ ล็งเห็นอย่างนี้ ท่านจงึ มักยำ้� อย่เู สมอวา่ ผู้
ใดมปี ัญหาหรอื ขอ้ สงสัยแมเ้ ลก็ น้อยในทางปฏบิ ตั ิ ขออยา่ ไดร้ ีรอลงั เล
หรอื วา่ เกรงอกเกรงใจอะไร ขอใหไ้ ปพบเพื่อไตถ่ ามทา่ นได้ตลอดเวลา
แมว้ า่ เมื่อไปแลว้ พบว่า หลวงปูเ่ ข้าทไี่ ปเสียแล้ว กข็ อให้เรยี ก
ไดท้ นั ที อยา่ ไดต้ อ้ งพลาดโอกาสให้สญู เสยี ประโยชน์ใหญ่ เพราะเหตุ
ความเกรงใจเพยี งเล็กนอ้ ยเลย
ตวั อยา่ งในเร่อื งน้ีเม่อื คร้งั ที่หลวงปู่นอนรับการรักษาพยาบาล
อยทู่ ีโ่ รงพยาบาลจุฬาฯ ขณะทก่ี �ำลงั นอนใส่ท่ออ็อกซิเจนช่วยหายใจ
อยู่ ไดม้ ีผู้เข้ากราบเรียนถามธรรมมะท่านหลังเท่ียงคนื ไปแลว้ หลวง
ปไู่ ม่สามารถลุกนั่งได้ แตท่ า่ นกเ็ มตตาตอบให้จนผูถ้ ามพอใจ และเมื่อ
กราบลากลบั ไปแล้ว ท่านยงั ชมเขาวา่ “รจู้ กั ธรรมมะใชไ้ ด”้
หลวงปไู่ ด้พูดถงึ ตัวทา่ นว่า ตวั ท่านน้ันเป็นเพียงนกั ปฏิบตั เิ ฒ่า
ชรา ท่ีผ่านประสบการณ์มานานปี พอจะสามารถเป็นกลั ยาณมติ รได้
บ้าง อย่าได้ล�ำบากใจวา่ ตอ้ งมามที า่ นเปน็ ครบู าอาจารย์ และตนเอง
ตอ้ งมาเป็นศษิ ย์ ขอใหถ้ อื ท่านเปน็ เพ่อื นผรู้ ว่ มศกึ ษาหาแนวทางรอด
หลวงปเู่ องกไ็ ม่เคยถอื ใครวา่ เปน็ ศษิ ย์ หรือถอื ตัวทา่ นเป็นอาจารย์
ของผู้ใด น่ีเป็นปฏปิ ทาของหลวงปู่ ทีม่ ีตอ่ เพอ่ื นสหธรรมิกทุกหมู่
เหล่า ปรากฏอยอู่ ยา่ งนีเ้ สมอมาจนตลอดชีวติ ของท่าน ทา่ นกไ็ มเ่ คย
อา้ ง หรอื วางตนในฐานะครูบาอาจารย์เลย
ทงั้ น้กี ็มยี กเวน้ บ้างสำ� หรบั ศษิ ยใ์ กล้ชิดจรงิ ๆ ซง่ึ ทา่ นถือเป็น
เสมือนลกู หลานหรอื ผคู้ ุ้นเคยเวลาอธบิ ายชี้แจงปัญหาธรรม หลวงปู่
มักจะพูดว่า “ผมเข้าใจว่าอยา่ งนนี้ ะ เทา่ ท่ีผมเคยปฏบิ ตั ิมา ผมแก้ไข
อยา่ งนี้ ผมทำ� อยา่ งนี้ คุณลองนำ� ไปประกอบพิจารณาดู อาจจะได้
ขอ้ คิดว่าควรปฏบิ ตั ิของตนอย่างไร”

214

หรอื บางทีทา่ นกว็ า่ “ท่านอาจารย์ใหญเ่ คยบอกว่าอย่างนี้
ทา่ นเจ้าคณุ อบุ าลีฯ เคยประสบแลว้ ท่านแก้อยา่ งนี้”
หรือว่า “ทา่ นอาจารยใ์ หญเ่ คยแนะไวอ้ ย่างน้ี ผมกพ็ บมาและ
แกไ้ ขตัวเองแต่ของคุณจะเป็นอย่างไร ลองเอาไปเทยี บเคียงดู เพราะ
ธรรมของใครก็ของมัน ธรรมของพระพุทธเจา้ กข็ องพระพุทธเจ้า
ของทา่ นอาจารย์ใหญ่กข็ องท่านอาจารยใ์ หญ่ ของผมก็ของผม และ
ธรรมของคุณก็ของคุณ แม้มีเป้าหมายเดยี วกัน แต่กไ็ ม่เหมือนกนั
ทางใครทางมัน”
ลกู ศิษยล์ ูกหาเคยถามวา่ “ได้ยนิ มาวา่ ท่านอาจารยใ์ หญ่ (ท่าน
อาจารยม์ ั่น ภรู ิทตฺโต) ทา่ นแนะแนวทางแก่ผู้สงสยั ได้อย่างชัดเจน
เหมือนประสบดว้ ยตนเอง ซงึ่ บางครั้งผู้สงสยั ไต่ถามเองยงั บอกเล่าไม่
คอ่ ยจะถกู ด้วยซา้ํ เปน็ ความจริงไหม?”
พอไดย้ ินนาม “ทา่ นอาจารยใ์ หญ”่ เทา่ นัน้ หลวงปกู่ ็รวบเนอ้ื
รวบตวั อยา่ งเรียบรอ้ ย แลว้ จงึ ตอบดว้ ยเสยี งอนั เป่ยี มไปดว้ ยคารวะ
นอบนอ้ มวา่
“ทา่ นอาจารยใ์ หญ่ทา่ นมญี าณใหญห่ ลวง หาผ้ใู ดเทยี บมไิ ด้
ท่านย่อมแนะนำ� บุคคลไดอ้ ย่างถกู ต้อง ไมม่ ผี ดิ พลาดเลย”
ตามปกติ ในด้านการคณะสงฆ์ก็ดี ในดา้ นอน่ื ๆ กด็ ี หลวงปู่
จะตอบสนองปฏบิ ัติตนไปตามสมควร อย่างธรรมดา แต่ส�ำหรบั
วงการปฏิบัติ หรอื ยง่ิ เมื่อมีผู้มาสนทนาไตถ่ ามปญั หาจะสงั เกตเห็นวา่
หลวงปูด่ ูจะมีทา่ ทีคึกคกั เข้มแข็งกวา่ ธรรมดา สามารถอยู่สนทนากบั
นักปฏิบตั ไิ ด้ดกึ ๆ ด่ืนๆ ถึงตสี องตสี ามหรือบางคนื ถงึ สวา่ งคาตาก็มี
ท่นี า่ ประหลาดก็คอื บางคร้ังหลวงปไู่ มไ่ ดเ้ ปน็ ผพู้ ูด หรือผู้
อธิบายอะไร แต่ผูอ้ ่นื เปน็ ผคู้ ุยให้ท่านฟงั ทา่ นกฟ็ งั ด้วยความเอาใจใส่
สนใจอยา่ งจริงจัง และดว้ ยท่าทางท่มี คี วามสุขอย่างยิ่ง เมอ่ื ไดฟ้ งั วา่
ผ้นู ้นั ประสบปญั หาในทางปฏบิ ตั อิ ย่างนน้ั อยา่ งน้ี ทา่ นก็จะซักว่าแกไ้ ข
อยา่ งไร เมื่อทราบว่าเขาแก้ไขไดแ้ ล้วเปน็ อย่างน้ี แลว้ ตอ่ มาเป็นอยา่ ง
นี้ ท่านกจ็ ะชื่นชมยินดี ชมเชยวา่ มีปญั ญาแยบคายจริงๆ แลว้ เล่า

215

เทยี บเคียงว่า เม่ือทา่ นเจอปญั หาแบบนี้ ท่านแกอ้ ย่างน้ัน และทา่ น
พระอาจารยใ์ หญ่เคยสอนไว้วา่ อยา่ งนั้นๆ ดเู ปน็ ท่สี นุกสนานบันเทิง
ในการสนทนาธรรมกนั ตลอดทั้งคนื ดว้ ยอาการอยา่ งนี้

การถามปัญหาทน่ี ่าพิศวง

หลวงปเู่ ปน็ ผทู้ ่ีมีความยนิ ดีตอ่ การได้อธิบายปญั หาในแนวทาง
ปฏบิ ัตธิ รรม รวมท้ังยอมรับ และชอบฟังแนวทางปฏิบัติของผอู้ ่นื เปน็
อยา่ งยิ่ง ไม่ว่าผูน้ ัน้ จะเปน็ ใคร เด็กหรือผู้ใหญ่ ฆราวาสหรือบรรพชติ
ทา่ นใหค้ วามสนใจ และพอใจทัง้ น้ัน
ถ้ามผี ้สู นใจ และตง้ั ใจปฏบิ ตั ิแล้วปรากฏผล เช่น มีนมิ ติ เกดิ
ข้ึน หรือมีลกั ษณะอาการอย่างใดอย่างหนึง่ เกิดขึน้ เกดิ สงสยั ว่าควร
ปฏิบัติตอ่ ไปอยา่ งไร แลว้ นำ� มาไต่ถาม เพือ่ ให้ทา่ นชแ้ี นะแนวทาง
อยา่ งนีห้ ลวงปูจ่ ะคึกคกั เขม้ แขง็ เป็นพเิ ศษ และจะใหค้ ำ� แนะน�ำได้
ตลอดสาย โดยลกั ษณะการรว่ มปรึกษาหารอื และศกึ ษาเทียบเคียง
ดังทไ่ี ดก้ ลา่ วมาแลว้
หลวงปู่มีปฏภิ าณไหวพรบิ ทเี่ ฉยี บคม อธิบายไดร้ วบรัดจำ� กัด
ความ ทง้ั แนน่ อน และตรงจุด และกา้ วหน้าไปตลอดเป็นล�ำดบั ไม่
ขาดสาย ไมท่ �ำให้ผสู้ นใจไต่ถามผดิ หวงั เลย ตา่ งก็ได้รบั ความพอใจ
และความอบอุ่นซง้ึ ใจโดยท่ัวกัน
มีหลายทา่ นท่ีเคยศกึ ษา และปฏิบัตใิ นส�ำนกั ต่างๆ มาก่อน
บางท่านกม็ ีความภาคภมู ิใจในวิหารธรรมของตน พอใจว่าตนถงึ ท่ีสดุ
แล้วก็มี เมือ่ หลวงปู่ชีแ้ นะเพยี งคำ� สองคำ� ทา่ นเหล่านัน้ กพ็ อใจ
เขา้ ใจ เกดิ ความปลอดโปรง่ โลง่ ใจ และออกปากวา่ เบาใจและหายขอ้
สงสัยแลว้
บางท่านเข้าใจตนเองผดิ ก็มี เชน่ ตนเองตดิ อยทู่ ี่ “อสัญญีภพ”
อันเป็นจุดบอดอยูท่ ่ี “โคตรภูญาณ” ซงึ่ เป็นจุดรวมระหวา่ ง โลกียภมู ิ
และโลกุตรภูมิ ติดแนบแน่นอยทู่ ี่ตรงนั้นโดยไม่ร้ไู ม่เขา้ ใจอะไรเลย

216

กลบั สำ� คัญว่าตนไมย่ ดึ มั่นถอื มน่ั ขึ้นมา เพราะจติ ไม่เกาะเกยี่ วอะไร
เกิดอวชิ ชาแห่งความไมย่ ึดม่นั ถือใน เม่อื อยูต่ ามปกตกิ ็หงอยเหงาเซา
ซมึ เพราะจติ ขาดความคล่องตัว ขาดปัญญา ย่ิงนานวันเขา้ ความงม
โงก่ ็ย่ิงเพ่มิ พูน แต่ตนเองไมร่ ตู้ ัวต้องมคี นช่วย
ครัน้ หลวงป่แู นะน�ำ พอฟังได้ความเขา้ ใจกส็ ะดงุ้ สะทา้ นขน้ึ
ค่อยรูส้ ึกตัว ในหลายกรณีหลวงปูจ่ ะพดู จจี้ ุดแรงๆ หรือไม่ก็เปน็ ค�ำ ท่ี
เข้าไปจีใ้ จกระแทกจุดจนกระทง่ั จติ เคลื่อนออกจากอสัญญภี พนัน้ ๆ ได้
หลวงป่บู อกวา่ เขาปฏบิ ตั ิมาได้ถงึ ขั้นน้กี น็ ับวา่ มคี วามสามารถ
ไม่นอ้ ย เพยี งแตก่ ำ� ลงั สติออ่ นไปหน่อย ไม่เหมาะสมกลมกลนื กัน
ปญั ญาแก้ไม่ทนั เลยตกอสญั ญีภพไปอย่างนา่ เวทนา พอชแ้ี นะคำ� สอง
ค�ำ ใหเ้ ขาร้เู ร่ืองเข้าใจต่อไปเขาก็แก้ไขได้เองเมือ่ เขาปรับปรงุ ให้กำ� ลัง
แก่ธรรมทั้งมวล ผสมผสานสอดคลอ้ งกลมกลนื กนั ได้ อริยมรรค
สมังคี ก็ยอ่ มเป็นไปเองตามกฏแหง่ ธรรมดา
บรรดาท่านทั้งหลายท้งั ทม่ี ภี ูมิการปฏิบัติสงู ทั้งทก่ี ำ� ลังดำ� เนิน
ไปอยู่ และทเี่ พงิ่ เริ่มปฏิบัติ ทม่ี าสนทนาธรรมไตถ่ ามปญั หากบั หลวง
ปนู่ ัน้ ต่างก็มีหัวข้อธรรม และวิธกี ารไตถ่ ามแตกตา่ งกนั ไปโดย
ประการต่างๆ ซง่ึ ลว้ นน่าสนใจทั้งสิน้ นา่ เสยี ดายทีผ่ เู้ ขยี น และผู้ใกล้
ชดิ อนื่ ๆ มิไดส้ �ำเหนยี กถงึ การจดบันทึกรายละเอยี ดไว้ ไมเ่ ชน่ นั้นจะได้
ตัวอยา่ งทีเ่ ป็นประโยชนใ์ หญห่ ลวงแก่การศึกษา และปฏบิ ตั ติ ่อไป
ในบรรดาการถามปัญหานั้น มกี ารถามแปลกๆ น่าพศิ วงอยู่
หลายทา่ น ตวั อย่างเช่น ท่านพระอาจารย์เฉลยี วถามหลวงปู่เพยี งค�ำ
เดยี วแล้วไมถ่ ามอะไรอีก ผเู้ ขยี น (พระโพธินันทมุนี) ก็พาซ่อื หวงั ให้
ท่านได้ประโยชนท์ อ่ี ตุ ส่าห์แวะมา จึงกระตนุ้ ทา่ นวา่ “ทำ� ไมไม่ถาม
ตอ่ ” ทา่ นตอบวา่ “หมดค�ำถาม พอใจในค�ำตอบของหลวงปู่แลว้ ”
ทแี่ ปลกประหลาดทสี่ ดุ คอื ท่ีผ้เู ขียนทราบแนช่ ดั เพราะเกดิ ข้นึ
ท่ีวัดบรู พารามนเ่ี อง มพี ระภิกษุผสู้ นใจในการปฏิบตั ิ และได้ดำ� เนนิ
ตามแนวทางทหี่ ลวงปู่สั่งสอนมาพอสมควรแล้ว วนั หน่งึ ขณะที่หลวง
ปู่นง่ั พกั ผ่อนอยใู่ ตห้ อระฆัง ภกิ ษุผนู ั้นเดินผา่ นมาทางผเู้ ขียน ผเู้ ขยี น

217

ถามวา่ “ท่านจะไปไหน” ภิกษผุ นู้ ัน้ ตอบว่า “มีปัญหาบางอย่างจะ
เรยี นถามหลวงป่”ู
ผู้เขยี นกช็ ี้บอกว่า หลวงปูอ่ ยทู่ หี่ อระฆัง ทา่ นกเ็ ดนิ ไปหาหลวง
ปู่ และเขา้ ไปนงั่ ใกล้ด้วยอาการนอบนอ้ มอย่างดี ทง้ั ทา่ นรูปน้ัน ทั้ง
หลวงปู่ต่างองคต์ า่ งน่ิงเฉยเป็นเวลานานพอสมควร สงั เกตวา่ ไมไ่ ดพ้ ูด
อะไรเลย ได้แตม่ องหนา้ กนั เงียบเฉยอยู่ ครัน้ แลว้ ท่านรปู นัน้ ก็กราบ
ลาหลวงปู่ ลกุ ขึ้นยอบตัวเดินมาจากหอระฆัง ดว้ ยสีหน้าอิ่มเอบิ ยินดี
ผู้เขยี นอดรนทนไม่ได้ เมื่อท่านผนู้ ้ันผ่านมาจงึ ถามว่า “ไมไ่ ด้
ถามปัญหาหลวงปู่หรอื ” ท่านตอบวา่ “ถามเรียบร้อยแลว้ ” ออ้ ! แล้ว
หลวงปไู่ มต่ อบหรือ” “ตอบแล้ว” ท่านยม้ิ อยา่ งยินดีตอบวา่ “หลวง
ปตู่ อบอยา่ งกระจา่ งแจง้ ชดั เจน และไพเราะเพราะพริง้ ทสี่ ดุ ” ผู้เขียน
อดกล้นั อยไู่ มไ่ หว ยอมปลอ่ ยโง่ออกไปวา่ “เอ๊ะ! กผ็ มเห็นว่าทา่ นไม่ได้
พูดอะไรนน่ี า”
ทา่ นรปู นัน้ หยดุ ยมิ้ มองผูเ้ ขียนแล้วพดู ว่า “การพดู ไมส่ ามารถ
ตอบปญั หาไดท้ ุกปัญหาหรอก” วา่ แลว้ กเ็ ดนิ จากไป ค�ำพดู นยี้ งั จับใจ
ผู้เขยี นอยจู่ นตราบเทา่ ทุกวันน้ี

ตอบคำ� ถามเก่ยี วกับยกั ษ์

มอี ยู่คราวหน่ึง เรอื่ งท่ีเกิดขนึ้ ดูจะเกนิ ภูมิธรรมความสามารถ
ของผู้เขยี น แตเ่ ห็นว่าควรน�ำมากล่าวไว้ เพ่อื เป็นข้อสังเกตส�ำหรับนกั
ปฏิบัติทั้งหลาย จะได้นำ� ไปเทยี บเคียงศึกษาดู เพ่อื ประโยชนแ์ ก่การกำ�
หนดแนวทางปฏิบตั ิเฉพาะตนตอ่ ๆ ไป หากขาดตกบกพร่องอยา่ งไร
จะตำ� หนกิ นั กไ็ ม่ว่า เพราะยอมรบั วา่ โง่ไวล้ ่วงหน้าอย่แู ล้ว
คร้ังหนึง่ หลวงปูเ่ สรจ็ จากศาสนกิจในพระราชพธิ ใี น
พระบรมมหาราชวัง ก็กลับมาพำ� นักที่พระตำ� หนกั ทรงพรต วดั
บวรนเิ วศนว์ หิ าร คร้นั หลวงปู่สรงนํ้าเสร็จกเ็ อนกายพักผอ่ น ให้
ภิกษสุ ามเณรบำ� เพ็ญอาจาริยวัตรด้วยการนวดเฟ้นพดั วตี า่ งๆ

218

ครั้งน้นั พระราชาคณะรปู หน่ึงกแ็ วะเขา้ มาเยีย่ มขอโอกาสว่า
ให้หลวงปผู่ ้เู ฒา่ เอนกายพักผอ่ นตามสบายเพราะประสงคเ์ พยี งแวะมา
คุยอยา่ งกันเองดว้ ยความค้นุ เคย
ในระหว่างการสนทนาด้วยเรือ่ งราวหลากหลายนัน้ ท่านเจ้า
คณุ รปู น้ันเอย่ ข้ึนตอนหน่งึ วา่ “เขาวา่ คนทส่ี นใจเรียนคาถาอาคมอนั
ศกั ดส์ิ ทิ ธิ์ สมัยกอ่ นเปน็ ยักษ์”
หลวงป่ลู ุกขึน้ นงั่ ทนั ที แล้วกล่าวว่า
“ผมไมไ่ ดส้ นใจในเร่ืองเหลา่ นเี้ ลยทา่ นเจา้ คณุ ท่านเจ้าคณุ เองเคย
ศึกษาถงึ ปัญจทวาราวชั ชนจติ ไหม”
ปัญจทวาราวัชชนจติ นี้ คือ กิรยิ าจติ ท่ีแฝงอยูก่ บั ทวารทงั้ ๕
ไดแ้ ก่ ตา หู จมูก ลนิ้ กาย เปน็ กิรยิ าจติ ทท่ี �ำหน้าทป่ี ระจำ� รูปกาย
อาศัยอยูต่ ามทวารทง้ั ๕ เป็นทางทตี่ ดิ ต่อเชอ่ื มสัมพันธ์ระหวา่ งจติ กับ
สง่ิ ภายนอก หรืออารมณ์ภายนอกเปน็ กริ ยิ าจิตอยอู่ ยา่ งน้ัน
เป็นอยอู่ ย่างน้นั หา้ มไมไ่ ด้ บังคับไม่ใหเ้ ปน็ ไปไม่ได้ แตอ่ าจ
เป็นพาหะให้เกิดทุกข์ได้ และทีน่ ่าตน่ื ใจกค็ ือ ให้กริ ยิ าจิตเหล่านีเ้ ปน็ ไป
ได้ โดยประการทท่ี ุกขจ์ ะเกิดขนึ้ ไมไ่ ด้กไ็ ด้
อนั นแ้ี หละท่ีน่าสนใจ นา่ ส�ำเหนยี กศกึ ษาทีส่ ดุ ว่าทำ� อย่างไร
เม่อื ตาเหน็ รูปแล้วรวู้ ่าสวยงาม หรอื น่ารงั เกียจอยา่ งไร แล้วก็หยดุ
เพียงเท่าน้ี
เมือ่ หไู ด้ยินเสยี ง รู้ว่าไพเราะ หรอื น่าร�ำคาญอยา่ งไร แลว้ ก็
หยุดเพยี งเท่านี้
เมอ่ื ลน้ิ ไดล้ ้ิมรส รูว้ า่ อร่อยหรือไม่อรอ่ ย เปรย้ี วหวานมันเคม็
อยา่ งไร แล้วก็หยุดเพียงเทา่ น้ี
เมอ่ื จมูกไดก้ ลิ่นหอมหรือเหมน็ อยา่ งไรแล้ว ก็หยุดเพยี งเทา่ น้ี
เมือ่ กายสมั ผสั โผฏฐัพพะ รูว้ ่าออ่ นแขง็ เป็นอย่างไร แลว้ กห็ ยดุ
เพยี งเทา่ น้ี
คร้นั เม่อื ศกึ ษาถึงข้นั นแ้ี ลว้ กจ็ ะปรากฏเหตุอันนา่ อศั จรรย์ที่
เรียกว่า “หสั สิตปุ ปาทะ” คอื กริ ยิ าทจี่ ติ ยิม้ ข้ึนมาเองโดยไมม่ ตี น้ สาย

219

ปลายเหตุ หาสาเหตทุ ม่ี าไม่ได้
อนั หัสสติ ุปปาทะ หรือ กริ ยิ าทีจ่ ติ ย้ิมเองนี้ ยอ่ มไม่ปรากฏมี
ในสามญั ชนโดยทัว่ ไป
ดงั นนั้ นักปฏิบตั ธิ รรมทง้ั หลายควรกระท�ำไวใ้ นใจ ในอันท่ีจะ
สำ� เหนยี กศกึ ษา ทำ� ความกระจา่ งแจง้ ใน “อเหตกุ จิต” อันน้เี พ่อื เปน็
บรรทัดฐานในการปฏบิ ัติ
ต้องเขา้ ใจให้ถ่องแทว้ า่ เมอ่ื ปฏิบัติไปถงึ ลำ� ดับนแี้ ลว้ จติ จะเกดิ
ยมิ้ ข้ึนมาเองไมม่ กี ารกระท�ำ ไมม่ ีการบงั คบั ใหเ้ กดิ ขึน้ ยอ่ มเปน็ ไปเอง
โดยไม่รู้ตวั
อนึ่ง เม่ือปฏบิ ตั ติ ามหลัก “จิตเห็นจติ ” อันมีการ “หยดุ คิด
หยุดนกึ ” เป็นลกั ษณะ ถ้าใช้ปัญญาอนั ยิ่งสอดส่องส�ำรวจตรวจตราดู
ตามทวารทง้ั ๕ เหลา่ นี้ เพ่ือจะหาวิธีป้องกนั ทจ่ี ิตจะแล่นไปหาเรือ่ ง
ใส่ตวั ภายนอก ก็จะเหน็ และเขา้ ใจได้วา่ เปน็ ธรรมดาอยู่เองทค่ี นเรา
ใชท้ วารทั้ง ๕ เหล่าน้ัน กระท�ำการอนั สมั พนั ธก์ บั ภายนอก
เม่ือพิจารณาให้ถว้ นถี่ยิ่งขึน้ กจ็ ะไดอ้ บุ ายอันแยบคาย วา่ ใน
ขณะท่เี กดิ สมั พนั ธภาพกับภายนอก จิตกค็ วรจะก�ำหนดใหอ้ ยูใ่ นจิต
เม่อื เห็นก็ก�ำหนดใหร้ ู้เท่าทนั การเหน็ แต่ไมถ่ งึ กับต้องรำ� พงึ ร�ำพนั
ออกมาวา่ เห็นแล้วนะ เห็นแลว้ หนอ อะไรหรอก เพราะขณะจิตหนง่ึ ๆ
นนั้ มันไมก่ นิ เวลาอะไร เมื่อรเู้ ท่าทนั แล้วก็ไม่ตอ้ งไปรำ� พึง รำ� พนั
เป็นการปรงุ แตง่ เพ่ิมเตมิ อกี
ในการก�ำหนดใหร้ ้ใู ห้เท่าทันนัน้ อย่าไดถ้ กู ลวงดว้ ยสัญญาแหง่
ภาษาคนภาษาโลก ดังเช่นการรูเ้ ท่าทันคนทีจ่ ะมาหลอกลวงเรา
เป็นต้น
การร้เู ท่าทนั อารมณ์ในภาษาธรรมนน้ั หมายความว่า ความ
“รู”้ จะต้องทนั กนั กับการรับอารมณข์ องทวารท้ัง ๕ เชน่ ในขณะท่ี
ตาเห็นรปู จะตอ้ งมสี ติรู้อยอู่ ย่างเต็มที่สมบรู ณ์ มีความรตู้ ัวพร้อมอยู่
ตลอดเวลา โดยไมจ่ ำ� เปน็ ตอ้ งรอู้ ะไรเม่อื เปน็ เช่นนี้ ทุกขอ์ นั อาศยั
ปัจจยั คือ การเหน็ เปน็ ตน้ น้นั ยอ่ มไม่เกดิ และเรากส็ ามารถมอง

220

อะไรไดอ้ ยา่ งอสิ ระเสรี โดยทีร่ ปู หรือสิ่งที่เรามองเหน็ ไมอ่ าจมีอทิ ธิพล
อันใดเหนอื เราได้เลยแม้แต่น้อย
ปญั จทวารวัชชนจติ หรอื กริ ยิ าจิตทแ่ี ลน่ อยตู่ ามทวารทงั้ ๕
ยอ่ มสมั พนั ธ์กันกบั มโนทวาร ในมโนทวารน้ันมมี โนทวาราวัชชนจติ
อนั เป็นกิรยิ าจติ แฝงอยู่ มหี นา้ ทีค่ ิดนกึ ต่างๆ สนองตอบอารมณท์ ่ีมา
กระทบไปตามธรรมดา
ดังนน้ั ในทางปฏิบตั ิ จะให้หยุดคิดหยุดนกึ ทกุ กรณยี ่อมเป็น
ไปไมไ่ ด้ แตก่ ด็ ว้ ยการอาศยั อุบายวธิ ดี ังกล่าวนแี้ หละ เมอื่ จติ ตรึก
ความนึกคิดอนั ใดออกมาท้ังฝ่ายดีและฝ่ายชัว่ ก็ท�ำความกำ� หนดรู้
พรอ้ มให้เทา่ ทนั กนั
เช่นเดียวกนั เมื่อมีความรู้พรอ้ มทนั ๆ กันกับการรับอารมณ์
ดังนี้แล้ว ปัญญาที่รเู้ ท่าเอาทันยอ่ มตดั วฏั จักรให้กล่าวคือ การกอ่ รปู
ก่อร่างตอ่ ไปของจิตยอ่ มไมอ่ าจเกดิ ข้นึ ได้ และความไมย่ ึดมน่ั ถอื ม่ันก็
มอี ยเู่ องโดยไมต่ อ้ งมกี ารลวงๆ ว่า ไม่ยึดมั่นถอื ม่นั อะไรเลย ความไม่
ยึดม่นั ถอื มัน่ ก็เป็นแตเ่ พยี งชือ่ ทเี่ ราน�ำ มาใช้เรียกขานกันให้รู้
เร่อื ง เมอื่ วฏั ฏะมนั ขาดไปเท่านน้ั
โดยนัยอยา่ งนี้ จงึ นา่ จะศึกษาใหเ้ ขา้ ใจในอันทจี่ ะก�ำหนดรู้
อย่างไรจึงจะถกู ตอ้ ง เมือ่ จติ กระทบเข้ากบั อารมณ์ภายนอกอยา่ งไร
ก็ใหห้ ยุดอย่แู คน่ ัน้ อย่าไปทะเลาะววิ าทโต้แย้ง อย่าไปเอออวยเหน็ ดี
เหน็ งาม ใหจ้ ติ ได้โอกาสกอ่ รปู กอ่ ร่างเปน็ ตเุ ปน็ ตะเปน็ เรือ่ งเปน็ ราว
ยืดยาวออกไป อย่าไปวิพากษ์วจิ ารณต์ อ่ ไป อย่าไปใส่ใจอกี ตอ่ ไป
พอกันเพียงรู้อารมณ์เทา่ น้ี หยดุ กันเพียงเทา่ น้ี

เร่ืองจิตเรื่องอทิ ธิฤทธิ์

เรื่องต่อไปน้ีทา่ นเจา้ คุณ พระโพธนิ ันทมุนี ไดเ้ ล่าใหฟ้ ังเมอื่ วนั
ท่ี ๑๕ กรกฎาคม ๒๕๓๘ เป็นการถอดคำ� พดู จากการบนั ทกึ เทป
ดังน้ี

221

ถ้าจะพูดไปแลว้ นะอาจารย์ (หมายถงึ อ.ปฐม-อ.ภทั รา นิคมา
นนท)์ เรื่องของจติ หรือ อิทธิฤทธ์ิน้ี อาตมากไ็ มอ่ ยากจะใช้คำ� ว่า
อทิ ธฤิ ทธิ์ เพราะหลวงปู่ท่านไม่นิยม และกไ็ ม่ท�ำ ไม่แสร้งท�ำ ไม่อะไร
ด้วยท้งั นั้น กเ็ ลยไมอ่ ยากใช้คำ� ว่า เรื่องจิตเรื่องอทิ ธฤิ ทธิ์ แต่ จิต นี้
หลวงปูท่ า่ นก็พูดว่า “จิต”
แต่ถา้ พดู เกย่ี วกบั หลวงปู่ กม็ เี รอื่ งแปลกๆ หรือเรอื่ งท่ีน่า
อัศจรรย์เหมือนกนั ในขณะทเี่ ราอยกู่ บั ทา่ น ทา่ นกไ็ ม่ได้ปฏิเสธ ทา่ นก็
ไม่ได้ยกยอ่ ง ทา่ นกไ็ ม่ได้พูดเพอื่ อะไรมากมายในเรอื่ งเหลา่ นี้ แมแ้ ต่
เรือ่ งไสยศาสตร์ กพ็ ดู กันวา่ ชาวสรุ นิ ทรเ์ ห็นมีไสยศาสตรก์ ันมาก
สามารถใช้คาถาอาคมอะไรตา่ งๆ เหลา่ นี้ แมม้ ีคนถามท่าน ท่านกไ็ ม่
ค่อยอธบิ าย ท่านกบ็ อกเพยี งว่า ทา่ นเองกไ็ ม่เคยเหน็ เหมอื นกันอะไร
ทำ� นองนนั้
สำ� หรับเรื่อง “จติ ” นนั้ ทา่ นพูด คอื ท่านพดู เรือ่ ง จิต ทา่ นไม่
คอ่ ยใชค้ ำ� ว่าอทิ ธิฤทธิ์ อะไรหรอก จะใชว้ ่า “พลัง” โดยมากทา่ นจะ
พดู ว่า “พลงั จิต” น้นั มีอยู่พลงั จิตจะมีไดก้ เ็ กดิ จากข้อเดียว คือ “พลงั
สมาธิ”
ถ้าผใู้ ดสร้างสมาธิจติ ไม่ได้ ท่านว่าพลงั จติ น้นั เกดิ ข้นึ ไม่ได้ ถงึ
เกดิ ขนึ้ ก็เปน็ พลงั จติ ทีเ่ ปน็ มิจฉา หรือไมม่ ่ันคง เชน่ วา่ คนบางคนเขา
ใชพ้ ลงั จิตในทางที่ผดิ หรือน�ำไปใชใ้ นทางรักษาความเจ็บไขไ้ ด้ป่วย ก็
อาจจะมีสว่ นของพลงั จิตเหมอื นกัน
พลงั จติ ทเ่ี กดิ จากสมาธถิ กู ตอ้ งนน้ั คอื เมอื่ มสี มาธเิ กดิ ขน้ึ แลว้ ก็
อาศยั พลงั แหง่ จติ เพราะสมาธนิ นั้ เกดิ จาก จติ รวม คอื มนั ละอารมณ์
ตา่ งๆ เมอ่ื มนั ไปแบกเอาอารมณต์ า่ งๆ ไวม้ ากจติ มนั กไ็ มม่ กี ำ� ลงั ไมม่ ี
พลงั อะไร ตอ่ เมอ่ื จติ สามารถตดั อารมณต์ า่ งๆ ไดก้ เ็ กดิ สมาธกิ ใ็ ชค้ ำ� วา่
“จติ เดยี ว” ทปี่ ราศจากอารมณม์ ากเกนิ ไป” จติ กจ็ ะเกดิ มพี ลงั ขนึ้ มา
ถา้ มพี ลังแล้ว ตามทหี่ ลวงปเู่ คยอธบิ ายระหว่างที่จิตเราเกดิ มี
พลงั สมาธนิ ่แี หละ บุคคลจะเอาไปใช้ทางไหนกไ็ ด้ผลในทางน้นั แต่
เมือ่ ใช้ในทางทเ่ี สียหาย มนั กท็ ใหเ้ สยี หายได้ หรอื ใชไ้ ปในทางท่ีให้

222

ประโยชน์ให้เกดิ พลงั ปญั ญากไ็ ด้
หมายความวา่ อย่างทพ่ี ูดในหลกั วชิ าการเรียนทางศาสนาว่า
ศลี สมาธิ ปัญญา ที่วา่ ศีลท�ำ ใหเ้ กดิ การอบรมสมาธิ สมาธอิ บรม
ปญั ญา ฉะนัน้ พลงั จติ ท่ีเกดิ ประโยชน์อยา่ งแท้จริงหลงั จากเกิดสมาธิ
นั้น หมายถงึ ว่า จิตน้นั ยกสภาวธรรมขึ้นมาไตร่ตรองให้เกดิ วิปัสสนา
ญาณ เกิดปัญญาแล้วปญั ญานั้นก็จะแจม่ แจง้ ดีกวา่ จิตท่ีไมเ่ กิดสมาธิ
หรอื จติ ทีไ่ ม่มีสมาธิ
ฉะน้นั หลวงปู่จะใชว้ า่ พลงั จติ นนั้ สามารถยกระดบั ภาวะ หรอื
ป้องกนั ความทกุ ข์ยากอนั เน่อื งจากการที่จติ ส่งออกไปเพอื่ รับอารมณ์
ต่างๆ ได้
มีคนชอบถามหลวงปเู่ กยี่ วกับเรอื่ งอทิ ธิฤทธ์ิบา้ ง หรือจิตที่มี
ฤทธิ์ มีพลังอยา่ งหนงึ่ อย่างใดบ้างนน้ั ก็เคยมี แตเ่ นอื่ งจากวา่ หลวงปู่
ทา่ นไมส่ นใจในเร่อื งส่ิงมหัศจรรย์ หรอื สิง่ อศั จรรยใ์ นอิทธฤิ ทธ์ิต่างๆ
เหลา่ น้ี ท่านจึงไม่นยิ มพดู ให้ใครฟงั
แต่หลวงปกู่ ็ยอมรับวา่ จติ นั้นย่อมเป็นจิตทมี่ พี ลงั เมอ่ื จติ มีพลัง
แลว้ มนั ก็จะเปน็ คุณประโยชนไ์ ด้หลายอย่าง แตท่ ่านก็จะข้นึ ตน้ ว่า จิต
จะมีพลังไดน้ ั้นกต็ อ่ เมือ่ ไดส้ มาธิ หรือเกดิ สมาธิ จติ มีอารมณเ์ ดียว
จติ จึงจะมพี ลัง เมือ่ จิตมพี ลงั แลว้ จะหนั ไปใช้ทางไหนกย็ ่อมได้ แม้หนั
ไปทางท่ผี ิดทางพระพุทธศาสนาก็ยอ่ มจะได้ อย่างเช่นฤาษชี ีไพร หรือ
อะไรๆ นน้ั ลว้ นแต่เป็นสมาธซิ ่ึงนบั ว่าเป็นมจิ ฉาสมาธไิ ด้
สว่ นสมั มาสมาธนิ น้ั หมายถึงจิตทเ่ี ป็นสมาธิตามล�ำดบั ตงั้ แต่
ขั้นต้น คอื ขณกิ ะสมาธิ จนกระทัง่ เขา้ สู่ อัปปนาสมาธิ อะไรใน
กระแสนี้ แล้วจิตนนั้ กจ็ ะเป็นพลงั ส่องทางไปใหเ้ กดิ ปญั ญา
ในทางตรงขา้ ม ถา้ อาศยั พลงั จิตไปในเรอื่ งอนื่ เรอ่ื งอทิ ธฤิ ทธิ์
อะไรนั้นไม่ถกู ตอ้ ง หรอื ไมถ่ กู พุทธประสงค์ทัง้ หมด
แต่ถ้าใชพ้ ลงั จติ น้นั เพ่ือเปน็ เหตุใหป้ ัญญาผดุ ผ่องขึน้ เพือ่ จะตดั
กเิ ลสปญั หา และความชั่วรา้ ยต่างๆ เพ่อื ยกระดับจิตของเราให้พ้น
จากทกุ ข์ จงึ จะเป็นพลงั จติ ทเ่ี ปน็ สัมมาทิฏฐิ และเปน็ ทางทถ่ี กู ตอ้ ง

223

หลวงปมู่ กั จะอธิบายในแนวทางน้ี
ส่วนในทางทว่ี า่ เอาพลังจติ ไปแสดงอิทธิฤทธ์อิ ย่างนนั้ อยา่ งน้ี
แลว้ รู้สึกวา่ หลวงปู่จะไม่คอ่ ยกล่าวถงึ หลวงปู่จะระมดั ระวังทสี่ ดุ ใน
เร่อื งการปฏบิ ตั ิให้เปน็ ไปในทางทด่ี ีท่ถี กู ตอ้ ง

หลวงปู่แสดงอทิ ธิฤทธบิ์ า้ งไหม ?

จากคำ� ถามทีว่ า่ “หลวงปู่เคยแสดงอิทธิฤทธอิ์ ะไรบา้ งไหม?”
ท่านเจา้ คุณ พระโพธนิ ันทมุนี อธิบายดงั ตอ่ ไปน้ี
คอื แมแ้ ตค่ วามสนใจ ความใสใ่ จของทา่ นในเร่ืองเหล่านี้
ทา่ นกไ็ มม่ ีอยูแ่ ล้ว ถามวา่ ทา่ นเคยแสดงฤทธิใ์ หป้ รากฏนั้น ทา่ นจะ
แสดงได้อย่างไร ท่านไมแ่ สดง ไม่ทำ� อย่างแนน่ อน
แตว่ า่ พดู กพ็ ดู เถอะ เมอื่ หลวงปมู่ อี ะไรๆ ทเี่ ปน็ ความมหศั จรรย์
อยู่ในตวั ท่าน ก็มีส่งิ แปลกประหลาดมหัศจรรยอ์ อกมาใหเ้ ห็นบา้ ง
อาตมาไมถ่ อื ว่าทา่ นแสดง แตใ่ นฐานะที่อย่กู บั ท่านมานาน อาตมา
เหน็ วา่ มีส่ิงมหัศจรรย์เกย่ี วกับหลวงปหู่ ลายอย่าง ขอยา้ํ วา่ “ไมใ่ ช่
ฤทธ์นิ ะ แต่วา่ มันอศั จรรย”์
เท่าที่นกึ ทบทวนดู ก็เหน็ ว่ามีอยหู่ ลายครงั้ อาตมาเคยนกึ
ทบทวนอยใู่ นใจ เทา่ ทอี่ าตมาเคยเหน็ ปรากฏ รูส้ กึ จะมี ๗ คร้งั ด้วย
กัน เราจะเรยี กว่าฤทธิ์หรอื อะไรกไ็ ม่ทราบ?”
เรอื่ งแรก เกีย่ วกบั เรอ่ื ง ความปลอดภัยของหลวงปู่
หลวงปนู่ ้นั คงมภี าวะอะไรที่ไม่ทำ� ให้บาดเจบ็ ไม่ท�ำใหแ้ ขนขา
หกั หรอื ไมท่ �ำใหต้ ายโดยอบุ ัติภยั อบุ ตั เิ หตุ อันนี้จะเป็นบุญหรือเปน็
ฤทธิอ์ ะไรกส็ ุดแท้แต่จะเรยี ก เคยเห็นความคบั ขนั ในชีวิตของทา่ น ไม่
วา่ เกี่ยวกับเรือ่ งรถ ไมว่ า่ ในเรอ่ื งเขาลอบปองร้าย ไม่วา่ จะเปน็ เหตุ
การณท์ ีก่ ้อนหนิ กลงิ้ มาจากบนภูเขาจะทบั ท่าน ในระหวา่ งทีห่ ลวงปู่
พาพระเณรไปพ�ำนกั ท�ำงานพฒั นาเขาสวาย และฝึกอบรมกมั มฏั ฐาน
ให้แกพ่ ระเณร มกี ้อนหนิ ใหญก่ ล้งิ ลงมายงั ทา่ นพอดี แตม่ นั กเ็ บย่ี ง

224

หลบไปเม่อื มาใกล้ทา่ น เหมือนจะมีอะไรผลักใหห้ ลีกไปนดิ หนอ่ ย ให้
ทา่ นพ้นภยั ไป นเ่ี รอื่ งหน่ึงเทา่ ท่ปี รากฏ
(โปรดดใู นตอนที่ ๖๖ อุบัตเิ หตทุ ี่เขาพนมสวาย)
เรือ่ งท่สี อง เปน็ เร่อื งแปลกคือ เรื่องเกี่ยวกับนาํ้ ฝน จะว่าฤทธิ์
หรอื เปล่าก็ไม่ทราบ (โปรดดูรายละเอยี ดในตอนท่ี ๓๔ เรอ่ื งหลวงพ่อ
พระประธาน เมอื่ คราวหล่อพระพุทธรูปพระประธานในโบสถเ์ สร็จ
แล้ว คณะกรรมการต้องการให้อญั เชิญท่านแหร่ อบเมือง แตห่ ลวงปู่
เห็นว่าไมจ่ ำ� เปน็ ปรากฏวา่ เกดิ ฝน และลมพายใุ หญจ่ นไมส่ ามารถ
เคลือ่ นขบวนแห่ได้สำ� เร็จ)
(เร่อื งท่ีสาม และเร่ืองอน่ื ๆ ได้น�ำเสนอในตอนต่อๆ ไป)

หลวงปูส่ ามถูกทำ� ร้าย

เร่ืองที่สาม เปน็ เหตุการณ์ทเ่ี กดิ กบั หลวงปูส่ าม อกิญฺจโน วดั
ป่าไตรวเิ วก ซ่ึงอยหู่ า่ งจากตวั เมืองไปทางทิศใต้ ๑๓ กิโลเมตร
เรือ่ งนีม้ ีอย่วู า่ มีพระจากจงั หวดั รอ้ ยเอ็ดมาบวช และพำ� นกั
อยู่ทวี่ ัดหลวงปสู่ าม พระองค์นเี้ ป็นลกู คนทม่ี ีฐานะดี เลอื่ มใสในพระ
ศาสนา จึงมาบวชในระหวา่ งเขา้ พรรษา
พอมาถึงช่วงกลางพรรษา โรคเก่ากก็ ำ� เรบิ คือพระองค์นเ้ี คย
เป็นบา้ หรอื โรคประสาทมากอ่ นท่จี ะบวชเป็นพระ พระองค์นัน้ มี
การกระท�ำคล้ายคนบ้าอาละวาด กระโดดเขา้ ไปกอดปล้าํ หลวงป่สู าม
อยา่ งแน่นเหนียว ปล�้ำ กอดหลวงปู่อยูเ่ ป็นเวลานานร่วม ๑ ชวั่ โมง
ไมม่ ใี ครสามารถแกะออกได้ หลวงปสู่ ามอยู่ในสถานการณล์ ำ� บาก
ตื่นตระหนกตกใจกันไปท้ังวัด
โดยปกติ ในตอนเชา้ มดื หลวงปทู่ า่ นจะอยแู่ ตภ่ ายในกุฏิ ไม่
เคยคิดทจ่ี ะออกไปเยี่ยมคนน้ันคนน้ี หรือเดนิ ไปดูอะไรนอกกุฏิ เป็น
ปฏิปทาอย่างหน่งึ ทีท่ า่ นไมเ่ คยคดิ ออกนอกเท่าไร กไ็ ม่เคยคดิ ว่าจะไป
เยยี่ มใคร

225

เช้าวนั น้นั ไม่ร้เู ป็นอย่างไร ท่านให้เดก็ ไปเรยี ก ผ้ใู หญ่สรศกั ด์ิ
กองสุข ซ่ึงบา้ นอยใู่ กล้ๆ วดั ใหเ้ อารถไปสง่ หลวงปู่ทีว่ ดั ของหลวงปู่
สาม พอท่านไปถงึ เหน็ พระองค์น้ันก�ำลังกอดปลำ�้ หลวงปสู่ ามอยู่
ใครไปช่วยกไ็ มย่ อมปลอ่ ย หลวงปเู่ ข้าไปถึงวัดพอดี มคี นร้องว่าหลวง
ปูด่ ุลย์มาแลว้ ! หลวงปดู่ ลุ ย์มาแลว้ !
พระองคน์ ้ันตกใจปลอ่ ยหลวงปู่สาม แล้ววิง่ ไปหลบซ่อนตัวส่นั
อยู่ขา้ งๆ กฏุ ิ หลวงปสู่ ามกส็ ะบกั สะบอมพอสมควร แตไ่ มถ่ ึงกบั
อาพาธ ลกู ศิษยล์ ูกหาทกุ คนอยู่ในอาการตกใจ
หลวงป่เู รียกพระองคน์ ้ันมาถามวา่ ทำ� ไม? เปน็ อย่างไร?
ท่านไม่ไดด้ ุดา่ ว่า ทำ� ไมจงึ ตอ้ งไปท�ำ อยา่ งนั้น ถามเพยี งว่า ทำ� ไม
และเป็นอย่างไร?
พระองคน์ น้ั ก็กราบเรยี นหลวงปู่ว่า ขณะทก่ี �ำลังปฏบิ ตั ิสมาธิ
ภาวนาอยู่นั้น ก็เกดิ นิมิตเหน็ เป็นสวรรคว์ ิมานต่างๆ จึงตัง้ ใจจะพา
หลวงปสู่ ามเหาะข้นึ ไปดูของสวยงามเหล่านนั้ ไม่ไดม้ ีความประสงค์
จะท�ำร้ายทา่ นแตป่ ระการใด ทุกคนก็เข้าใจ และหลวงป่กู ็ช่วยแก้ไข
เหตุการณน์ ้นั โดยไม่ได้ต�ำหนพิ ระองค์นัน้ แตอ่ ย่างใด
ทอ่ี าตมาเห็นวา่ อศั จรรย์ ก็เหตวุ า่ หลวงปไู่ มเ่ คยไปไหนในตอน
เช้ามืด ท�ำไมท่านจึงรูว้ า่ มีภัยพิบตั เิ กดิ ข้ึนกับหลวงปสู่ าม ไดถ้ าม
หลวงปู่วา่ หลวงปรู่ ้หู รือว่าหลวงปูส่ ามจะเปน็ อะไร จงึ ได้เดินทางไป
หลวงปู่ก็ไมไ่ ด้ตอบรับ ท่านบอกเพยี งว่า “คิดๆ ไปก็อยากไป
เย่ยี มเยียนดบู า้ ง” ท่านก็พดู แค่นี้ พวกเรากไ็ ม่กลา้ ซักถามอะไรท่าน
มากนัก

หลวงตาแปะมรณภาพ

ที่เลา่ มาคือลกั ษณะทว่ี ่าอัศจรรย์ในแตล่ ะครงั้ เทา่ ที่สงั เกตเหน็
มีอยคู่ รงั้ หนง่ึ มพี ระรนุ่ ราวคราวเดยี วกันกับหลวงปู่ แต่บวชคนละ
นกิ าย ท่านอยู่ทอี่ �ำเภอปราสาท แต่อยู่บ้านนอกเขา้ ไปอีก (อยู่ห่าง

226

จากตัวเมอื งสรุ นิ ทรไ์ ปทางใตป้ ระมาณ ๓๐ กิโลเมตร) ทา่ นเป็นพระ
รนุ่ เกา่ แกด่ ว้ ยกนั
พระองคน์ นั้ ทา่ นไมไ่ ดส้ นใจเรอ่ื งการปฏบิ ัติ ท่านถือแบบ
โบราณๆ เคยอยอู่ ย่างไร ทำ� อยา่ งไร เคยมพี ธิ กี รรมอย่างไร กอ็ ยูก่ ท็ �ำ
อย่างนน้ั แต่คนนับถอื ท่านมาก
ทา่ นชอ่ื หลวงพอ่ แปะ อยู่วดั บา้ นตาเมาะ ต�ำบลไพล อำ� เภอ
ปราสาท
วันนั้นหลวงปอู่ อกมานงั่ ในกุฏิแต่เชา้ มืด มีลูกศษิ ย์คนหนึ่งชือ่
นายจนั ครบ บญุ ประสทิ ธิ์ ก็เขา้ ไปรบั ใช้หลวงป่ทู ่านกพ็ ูดขึน้ ว่า “ครบ
เอง็ ไมไ่ ด้ไปบา้ นหรอื ? หลวงตาแปะตายแลว้ ”
นายครบก็ว่า “ยังไม่ทราบครบั ”
นายครบคนนี้ เป็นคนทอ่ี ย่หู มบู่ า้ นเดยี วกัน และเป็นลูกหลาน
ของหลวงตาแปะ
หลงั จากน้นั อีก ๒-๓ ชวั่ โมง ก็มีคนมากราบเรยี นใหห้ ลวงปู่
ทราบวา่ หลวงตาแปะท่านถงึ แกม่ รณภาพแล้ว เมอ่ื ตอนตี ๔ ของ
วนั นนั้ เอง
เรอ่ื งนีก้ ็นบั วา่ แปลก ได้เรียนถามหลวงปู่ว่า หลวงปู่ทราบได้
อย่างไรว่าหลวงตาแปะตาย มีคนมาบอกกอ่ นหน้าน้หี รอื ใครมาบอก
หลวงปู่หรือ
หลวงปตู่ อบวา่ “รไู้ ม่ร้กู ว็ ่าไปยังง้นั ๆ แหละ”
คอื หลวงปทู่ า่ นไม่คอ่ ยตอ่ ความยาวสาวความยืด ท่านจะรีบ
ตดั บทไปเสยี เรอื่ งในลักษณะคลา้ ยๆ กันน้ีมีอยูเ่ สมอๆ

เรื่องเกยี วกบั ฝนตก

ทนี ้ีในเรื่องของฝนตกน้กี ็เหมอื นกนั
ครั้งหนงึ่ เมื่อไมน่ านมาน้ี คอื ระหว่างเดือนมีนาคม พ.ศ.
๒๕๒๐ หลวงป่คู ิดอย่างไรก็ไม่ทราบ ท่านประสงคจ์ ะไปพกั ผ่อนทีป่ า่

227

ก็เลยแนะนำ� ชักชวนท่านวา่ ใหไ้ ปพักผอ่ นที่วัดของพระอาจารย์
สวุ ัจสุวโจ คอื วัดถํ้าศรีแกว้ อำ� เภอกุดบาก จงั หวัดสกลนคร ซ่งึ อยู่
บนเทอื กเขาภูพาน
กอ่ นหลวงปู่เดนิ ทางไปประมาณ ๑๐ วัน ได้ให้พระไปส่งขา่ ว
ใหพ้ ระอาจารย์สวุ จั ทราบลว่ งหนา้ บอกว่า “หลวงปูจ่ ะมาพกั ผ่อนท่นี ่ี
ดว้ ยสัก ๑๐ วนั ท่านเหน็ ว่าอยา่ งไร”
ทา่ นพระอาจารยส์ วุ ัจกม็ คี วามยินดี ได้จดั แจงสถานทไ่ี วร้ อ
ตอ้ นรับหลวงปู่ พระทีส่ ง่ ไปแจ้งข่าวกก็ ลบั มากราบเรยี นให้หลวงปู่
ทราบ
ก่อนหลวงปเู่ ดนิ ทางไมกี่วนั พระอาจารยส์ วุ จั ไมค่ อ่ ยสบายใจ
เห็นว่าหลวงปู่ยังไม่น่าจะเดินทางในชว่ งน้ี เพราะเกิดไฟไหม้ปา่ ครงั้
ใหญ่ในแถบนัน้ ท้ังต้นไม้ใบหญ้าโดนเผาผลาญไปในวงกว้าง บรเิ วณ
นนั้ เตม็ ไปดว้ ยควัน ร้อนกร็ อ้ นอบอา้ ว ต้นไมส้ งู ๆ ก็ถูกไฟไหม้ขึ้นไป
จนใบไม้ถูกไหมห้ มด บรรยากาศไม่เปน็ ท่สี บายเลย
พระอาจารยส์ วุ จั เหน็ ว่าหลวงปไู่ ม่นา่ จะมาในชว่ งน้ี นา่ จะ
เล่ือนออกไปก่อน ทา่ นรสู้ กึ ปรวิ ติ กในเรื่องน้ี แตใ่ นชว่ งน้นั ไมม่ ีใคร
จะเดนิ ทางจากสกลนครมาสุรินทรเ์ พอื่ สง่ ข่าวหลวงปู่ จึงปลอ่ ย
เหตกุ ารณใ์ หเ้ ลยตามเลย
ปรากฏวา่ กอ่ นหลวงปเู่ ดินทาง ๒-๓ วนั เกิดฝนตกใน
บริเวณนนั้ ไฟป่าท้ังตามทส่ี ูง และท่ตี ่ํากด็ บั มอดหมด
หลังจากฝนตกใหญแ่ ลว้ บรรยากาศแถวนัน้ กด็ ขี นึ้ อากาศเยน็
ขน้ึ กลิ่นเถา้ ถ่าน และกล่ินดินท่ีเผาสุกกห็ อมกรุน่ เสยี งจักจั่นเรไรก็
เรมิ่ ร้องระงม ชว่ งทห่ี ลวงปู่เดินทางไปถงึ จงึ เปน็ ช่วงท่บี รรยากาศกำ�
ลงั ดี
พระอาจารยส์ ุวัจ จึงไดป้ รารภอศั จรรย์กบั เหตุการณใ์ นครั้งนี้
“แต่เดิมนกึ ว่าเมื่อหลวงปู่มาแล้วจะไม่สบาย ก่อนหลวงปมู่ าถึงแค่ ๒
วันเกิดฝนตกอย่างหนกั กเ็ ลยทำ� ให้หลวงปู่พกั ผอ่ นสบาย ไมล่ ำ� บาก”
หลวงปูบ่ อกว่า “เออ! มาอยนู่ ีภ่ าวนาดี บรรยากาศดี”

228

พระอาจารย์สุวจั อยากนิมนต์ให้หลวงปอู่ ย่ตู อ่ แตท่ ่านพกั
เพียง ๑๐ วนั กเ็ ดินทางกลบั
ในขณะนน้ั หลวงปู่อยู่ในวัยชราท่ีสุดแลว้ (ทา่ นมีอายุ ๙๐ ปี)
ที่พวกอาตมาแปลกใจ และดีใจทวี่ า่ ท่านชราภาพแล้ว กไ็ ดม้ โี อกาสไป
พกั ผอ่ นเปล่ยี นบรรยากาศตามอธั ยาศยั ครง้ั หนึ่ง
เหตุการณ์ครงั้ น้ี ไม่ใชห่ ลวงปู่แสดงฤทธเิ์ ดช แตอ่ าตมาพดู ใน
ฐานะทีอ่ ยู่ใกลช้ ดิ ท่าน ก็เหน็ วา่ เปน็ เรื่องแปลก

แขกยามวกิ าล

เรอื่ งนีไ้ มอ่ ยากจะพดู และไม่เคยพูดเลย แต่เหตกุ ารณ์กผ็ ่าน
มานานแล้ว ทา่ นเหล่านัน้ กล็ ่วงลบั ไปหมดแลว้
ตอนน้นั อาตมาเพ่ิงมาบวชเณร มาพ�ำนักอยกู่ บั หลวงปู่
เรอื่ งเชน่ นี้ ไมว่ ่าคนเรา แม้แตอ่ งค์พระสัมมาสมั พทุ ธเจา้ ยังตอ้ งมีสิ่ง
ทีเ่ ปน็ อนั ตราย หรือวา่ มีศตั รปู ัจจามติ รปองรา้ ยพระองคท์ า่ นไมร่ ู้
เทา่ ไร เมื่อนึกถงึ องคพ์ ระสมั มาสมั พุทธเจ้าแล้ว เห็นว่าเป็นเหตุการณ์
ปกตธิ รรมดา
อาตมาจงึ กลา้ พูดเรื่องน้ใี หอ้ าจารยฟ์ งั (หมายถึง อ.ปฐม และ
อ.ภทั รา นคิ มานนท์)
เหตุการณน์ ี้เกดิ ข้ึนเมื่อ พ.ศ. ๒๔๙๐ ตอนนัน้ หลวงปกู่ �ำลังดัง
กำ� ลงั เด่น ทง้ั การก่อสร้างทงั้ การที่มีผศู้ รทั ธาเลอ่ื มใส คอื ช่วงท่ีหลวง
ปู่อยใู่ นวัยกลางๆ โบสถอ์ ศั จรรยก์ ก็ ำ� ลงั จะเสรจ็
ชว่ งนน้ั กค็ งจะมีศตั รูหมู่ปัจจามติ รเช่นกนั คนื หนงึ่ หลวงปู่
นอนอยบู่ นกฏุ ิ ซง่ึ ความจรงิ แลว้ ทา่ นไมค่ อ่ ยจะนอน เพราะกลางคนื
มกั ไดย้ นิ เสยี งกระแอมเสยี งสดใสอยเู่ รอื่ ยๆ ตามทอี่ าตมาเฝา้ สงั เกตมา
คนื นน้ั มีคนแอบไปท�ำร้ายหลวงปู่ พระที่นอนในห้องใกล้ๆ
หลวงป่ชู ื่อพระหมื่น กับพระสำ� ลี พักอยดู่ ้วยกนั
สมยั น้นั มืดมาก ยังไม่มีไฟฟา้ ใช้ ไดย้ นิ เสยี งคนพดู ซบุ ซบิ กนั

229

ใต้ถุนกฏุ ิปรกึ ษากันวา่ “เอ! พวกเราได้ค่าจ้างเขามาสี่พันบาทเทา่ นั้น
ให้เรามาฆ่าพระผูเ้ ปน็ ครบู าอาจารยถ์ ึงขนาดนี้ เป็นบาปหนัก แล้ว
เราจะเลี้ยงชวี ิตปลอดภัยหรือ”
พระทงั้ ๒ องค์ ไดย้ นิ คำ� พดู นั้นอยา่ งชัดเจน ตกอกตกใจมาก
จนตวั ส่ัน แลว้ ได้ยินเสียงหลวงปูก่ ระแอมข้นึ ทำ� ให้คนท่ีลอบอยู่ทาง
ใต้กฏุ เิ ดินไปด้านหนา้ ตา่ งหอ้ งหลวงปู่ หลวงปู่กระแอมอกี ครัง้ แลว้
เปดิ ประตูห้องออกมาเรียกใหพ้ ระท้งั ๒ องค์ออกไปคยุ ดว้ ย
พระทงั้ ๒ องค์ตัวสัน่ เลา่ บอกเหตุการณ์ด้วยเสียงสั่นเครือวา่
ไดย้ ินใครมาปรึกษากันว่าจะมาลอบฆ่าหลวงปู่
หลวงปตู่ อบวา่ “เฮย้ ! จะไปเชื่ออะไร เขาอาจจะมีธุระอะไร
ก็ได้ อาจมคี วามจ�ำเป็นมาหาใครก็ได”้
ตอนน้ันเปน็ เวลาประมาณตี ๒ น้แี หละ เป็นจงั หวะนนั้ พอดี
ไม่ทราบวา่ ท�ำไมทา่ นต้องลุกข้ึนมาแลว้ เรียกพระทั้ง ๒ ไปถามอะไร
บางอยา่ ง พระกเ็ ลา่ บอกเรอ่ื งราวตา่ งๆ ทา่ นกว็ ่า “พูดอะไรเรอ่ื ย
เปือ่ ย”
ในทส่ี ดุ พระเณรก็พากนั ไปดใู ตถ้ นุ กุฏิ ก็มีรอยเท้าคนเดินไปมา
ตามทศิ ทางทไ่ี ดย้ ินเสียง พวกอาตมากบั เณรชือ่ แกน่ กลัวเขาจะแอบ
ยงิ ทะลจุ ากใต้ถนุ กฏุ ิหลวงปู่ขน้ึ มา เลยพากนั เอากอ้ นอฐิ ไปเรยี ง
ไวใ้ ต้เตยี งหลวงปู่ ท่านก็ไมว่ ่าอะไร
หลงั จากนน้ั มาประมาณหนึ่งปี คนนน้ั กม็ าสารภาพกับทา่ น เลา่ เร่อื ง
ราวให้ฟังจนหมดสิ้น หลวงปกู่ ไ็ ม่ได้ว่าอะไร
ถา้ จะบอกช่ือกไ็ ด้ เขาชอ่ื นาย…(ทา่ นเรยี กชือ่ เปน็ ภาษาเขมร
แต่ขอปิดไว้ เพราะอาจไปเกีย่ วขอ้ งเป็นญาติมติ รของคนรนุ่ หลัง ท�ำ
ให้เกิดความรู้สกึ ท่ีไม่ดไี ด้)

230

เรอื่ งของหลวงตายุทธ

เรื่องน้ี เปน็ เร่อื งของหลวงตายุทธ ท่านอยูท่ ่ี วดั จอมสุรินทร์
หา่ งจากตวั เมืองออกไปทางเหนอื ประมาณ ๕-๖ กิโลเมตร เปน็ วัด
สาขาของวดั บูรพาราม
หลวงตายทุ ธท่านเปน็ พระนกั พฒั นา ไดส้ ่งพระเณรมาเรยี นท่ี
วทิ ยาลยั สงฆ์วงั นอ้ ย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา และส�ำนักเรียนท่อี น่ื
อีกหลายแห่ง ตอนนท้ี า่ นมรณภาพไปแล้วในชว่ งใกล้ๆ กับหลวงปู่
เพราะทา่ นเปน็ พระสงู อายุแล้ว
หลวงตายทุ ธมีกจิ ตอ้ งเดนิ ทางเข้ากรงุ เทพฯ บอ่ ย ในสมัยนัน้
การเดนิ ทางก็ยากล�ำบากพอสมควร
มีอยคู่ รั้งหน่ึง มเี ถาแ้ กน่ กั ธุรกจิ ขบั รถกระบะจะเดินทางเขา้
กรุงเทพฯ หลวงตาจะพาสามเณร ๔ องคไ์ ปฝากเรยี นท่ีกรุงเทพฯ
จงึ ไดอ้ าศยั น่งั รถไปด้วย เพราะช่วยใหท้ นุ่ รายจ่ายได้ และสะดวกมาก
เจ้าของรถไมค่ อ่ ยเตม็ ใจนกั เพราะเขาไมค่ ่อยศรัทธาพระเท่าไรหรอก
แต่เม่ือไดร้ บั การขอรอ้ งจากพระ เขาก็รับไปดว้ ยอย่างเสียไม่ได้
ตอนนัน้ มเี ณร ๒ องค์ ยงั ไม่มีหนงั สือสทุ ธิ จึงตอ้ งแวะไปให้
หลวงปู่เซน็ หนังสือเสยี ก่อน ให้เจา้ ของรถรอใกลก้ ฏุ ิ สามเณรก็นงั่ รอ
อยู่ในรถด้วย
หลวงตายุทธขน้ึ ไปกราบหลวงปู่บนกุฏิองคเ์ ดยี ว ขึน้ ไปถึงก็ไม่
เห็นหลวงปู่ ออกมาดนู อกห้องก็ไม่เห็น กลับเข้าไปดูขา้ งในใหม่กไ็ ม่
เห็น เถา้ แกเ่ จ้าของรถก็เรง่ เพราะกลวั ถึงกรงุ เทพฯ ตอนมืดคาํ่ จะไม่
สะดวก
หลวงตายุทธรู้สกึ หัวเสีย พรวดพราดลงมาถามพระเณรแถว
น้นั ว่าหลวงปู่ไปไหน พระเณรก็บอกวา่ ท่านไมไ่ ด้ไปไหน ทา่ นอยู่ใน
นน้ั แหละ หลวงตายทุ ธกลบั ข้ึนไปอกี ก็ไม่เห็นหลวงปู่ กห็ วั เสยี ลงมา
อีก ขอโทษเถ้าแก่เจ้าของรถบอกวา่ ไปดว้ ยยงั ไมไ่ ด้หรอก ใหเ้ ณรลง
จากรถ

231

ดว้ ยเถา้ แก่เขารีบจะไปอยูแ่ ล้ว เขาจึงออกรถไปตัวคนเดยี ว
ปล่อยหลวงตายทุ ธ และพระเณรไวท้ ว่ี ดั บูรพาราม
ฝา่ ยหลวงตายทุ ธก็เดินบ่น “หลวงปู่ไปไหนก็ไมร่ ู้ ผมมธี ุระก็ไม่
สำ� เร็จ”
แม่ชยี ศอยใู่ กล้ๆ แถวนน้ั ก็พดู กับหลวงตายทุ ธวา่ “หลวงตา
พดู ไปก็อยา่ หาว่าฉันพูดสง่ิ ทเ่ี ปน็ ไปไมไ่ ด้ ขอใหท้ า่ นขึ้นไปอีก ข้ึนไปดู
อกี ทีซ”ิ
พอหลวงตายทุ ธขึน้ ไปก็เห็นหลวงป่นู ่งั อยู่ในท่ที ที่ ่านน่งั เป็น
ประจ�ำ
“โอ! หลวงป่อู ยูน่ ี่เอง ท�ำไมผมขน้ึ มาจงึ ไม่เหน็ ขึน้ มาต้ัง ๒
ครั้ง!”
“เออ! คนตาวิปรติ จะไปเหน็ อะไร!” หลวงปู่พูดเรยี บๆ ตาม
ประสาของท่าน
หลวงตายทุ ธก็น่ังคุยแบบหวั เสียอยูก่ บั ท่านนานพอสมควร
แล้วกล็ ากลับวดั
ฝ่ายเถา้ แก่ทข่ี บั รถเขา้ กรงุ เทพฯ น้นั เดนิ ทางมาเลยอ�ำเภอ
นางรองจังหวัดบุรีรัมย์กป็ ระสบอุบัตเิ หตุรถควํ่า รถแหลกลาญหมด
ตวั เองกถ็ ึงแก่กรรม ณ ทนี่ ั้น
กล็ อื กันในคร้ังน้นั ว่า ถา้ หลวงตายุทธไปพบหลวงป่อู ย่างงา่ ยๆ
ในตอนนน้ั ทงั้ หลวงตายุทธรวมทั้งพระเณร กค็ งจะร่วมไปกับเถ้าแก่
คนนน้ั ดว้ ย หลวงตายุทธเพง่ิ จะโล่งใจบอกวา่ “ไม่เจอหลวงปูก่ ็ดแี ลว้ ”

เหตุเกิดทกี่ ำ� แพงแสน

อีกคร้งั หนง่ึ ลูกศิษย์ไดน้ ิมนต์หลวงปไู่ ปทีก่ �ำแพงแสน จงั หวัด
นครปฐม ทางนั้นเขาเตรียมภาพถา่ ยของหลวงป่ไู ว้รปู หนึ่งแล้ว ท่ีเขา
บอกวา่ เห็นรปู กายทพิ ยซ์ ้อนอยอู่ ะไรนน่ั แหละ เขาเตรียมไวป้ กึ หนึง่ ไว้
ส�ำหรับแจกญาติ

232

มิตร และบรวิ าร
คนทน่ี ิมนต์ เขาเปน็ เลขาสมาคมชาวไรอ่ อ้ ย อำ� เภอ
กำ� แพงแสน บอกช่อื กไ็ ดย้ ังมีชวี ิตอยู่ เขาชื่อ กำ� นนั ราชัย เดยี๋ วน้ียัง
เป็นก�ำนนั อยทู่ ีก่ ำ� แพงแสน ต�ำบลอะไรจำ� ไม่ได้
ทางผ้นู ิมนตก์ บ็ ่นให้หลวงป่ฟู ังวา่ ออ้ ยปีนที้ า่ จะแยแ่ ลว้ ฝนไม่
ตก อ้อยก�ำลงั จะเฉาตายเดอื นเจ็ดเขา้ ไปแล้วใกล้จะถงึ เดือนแปด จะ
เขา้ พรรษาแล้วฝนไมต่ กเลย อ้อยจะเฉาตาย ผมก็เผอิญทำ� บญุ จึง
มากราบนิมนต์หลวงปู่
ตอนน้ันดเู หมือนจะทำ� บญุ เปิดปม๊ั นํ้ามันของเสีย่ อะไรคนหนงึ่
หรือเปลา่ ชกั จ�ำไม่ได้ เขามานิมนตห์ ลวงปู่ อาตมากต็ ามไปด้วย
พระรูปหน่งึ เปน็ พระบวชใหมก่ ไ็ ปดว้ ย
กลางคนื ก่อนวนั ที่หลวงปู่ออกเดินทาง ฝนตกใหญ่เลย จน
กระทั่งน้ำ� นองพอสมควร ขณะท่ีหลวงปู่ประกอบพิธใี หเ้ ขาแล้วฝนก็
ตกประปรายอยู่
ทางเจา้ ภาพเอารูปถา่ ยทวี่ า่ ประมาณ ๑๐๐ ภาพเห็นจะได้
พรอ้ มทง้ั เอาแปง้ มาให้หลวงปู่เจมิ ให้ ทา่ นเจมิ ภาพบนสุดเพียงภาพ
เดยี ว แตป่ รากฏว่ารอยนิ้วมือของทา่ นทะลลุ งไปถงึ ทุกภาพท้งั ปึกน้นั
อันน้ีก็ไมใ่ ชท่ อทิ ธฤิ ทธ์ิ แต่อาตมาเหน็ วา่ แปลก กำ� นนั คนนนั้ ก็ยงั มี
ชีวิตอยู่ ไปสอบถามเขาดูได้

เร่อื งแปลกเกย่ี วกบั ฝนตก

ช่วงสุดท้ายแห่งชีวติ ของหลวงปกู่ ็มเี รือ่ งแปลกอีกเรอ่ื งหน่งึ ท่ี
เห็นวา่ หลวงปู่คงมีอะไรท่เี กี่ยวกบั เรอ่ื งน้าํ ฝน ซง่ึ อาตมาสงั เกตเห็นวา่
เปน็ เรอื่ งแปลก
ระยะน้นั เปน็ เดอื นมีนาคม กเ็ ป็นหนา้ ร้อน อากาศก�ำลงั รอ้ น
ในกรุงเทพฯ ปนี ้นั รอ้ นมาก หลวงปูอ่ าพาธอยู่ท่ตี ึกจงกลนี
โรงพยาบาลจุฬาฯ เปน็ ตึกพิเศษ เปน็ ห้องพระราชทานทพี่ ระบาท

233

สมเด็จพระเจา้ อย่หู ัว ทรงพระมหากรุณาพระราชทานรบั อาพาธ
หลวงปู่ไว้ในพระอปุ ถมั ภ์ หลวงปมู่ าพกั อยู่ ๕๒ วัน
เมือ่ ในหลวงเสด็จเยี่ยมหลวงปู่ ทรงถามสารทุกข์สุขดิบหลวง
ปู่ พระองคไ์ ดส้ นทนากบั ผู้รักษาพยาบาลหลวงปู่ แล้วกส็ นทนากับ
หลวงปู่ มอี ยู่จงั หวะหน่ึง พระองค์ทรงปรารภข้นึ ว่า
“หลวงปู่หน้าน้ีร้อนเหลอื เกนิ เดือนมีนาปนี ้ีรสู้ กึ วา่ จะร้อนกวา่
ทกุ ปี ไม่ทราบว่าเมอ่ื ไหรฝ่ นจะตกมา”
พระองคท์ รงปรารภกบั หลวงปูด่ งั นี้ เม่อื เสด็จกลบั แลว้ ปรากฏ
วา่ คนื นน้ั ฝนตก ฝนในกรงุ เทพฯ หนักพอสมควรทเี ดียว ปีนน้ั เป็นปี
๒๕๒๖ เป็นปที ี่หลวงปูอ่ าพาธ ปนี ัน้ แหละ
อันน้กี เ็ หน็ ว่าแปลกเหมือนกนั ทว่ี ่าทรงปรารภเสร็จฝนกต็ กใน
ระหว่างหนา้ แลง้ -หนา้ รอ้ น เปน็ เหตุใหอ้ ากาศร้อนบรรเทาพอสมควร

วบิ ากเกีย่ วกับฝนตก

เทา่ ท่ีลองนกึ ทบทวนดูหลวงปู่ท่านคงจะมีวบิ ากอะไรที่เก่ียวกบั
ฝนตกกระมงั ?
ในระหว่างทา้ ยสุดแหง่ ชวี ติ ของหลวงปู่ ทางคณะศษิ ย์กำ� หนด
จดั งานในวนั ท่ี ๒๙–๓๐ ตุลาคม ๒๕๒๖ เปน็ การทำ� บญุ วันเกดิ ครบ
แปดรอบของหลวงปู่ คือทา่ นมีอายคุ รบ ๙๖ ปี
สานศุ ิษย์เตรียมจัดงานฉลองวนั เกิดหลวงปูใ่ หใ้ หญ่เปน็ กรณี
พเิ ศษ เพราะนอกจากฉลองวนั เกดิ แลว้ ยงั เปน็ การฉลองการหาย
จากอาพาธของทา่ นอกี ด้วย
สานุศษิ ยท์ ่อี ย่ทู างกรงุ เทพฯ เตรียมจดั ขบวนใหญ่ เตรยี ม
พร้อมเพ่อื จะเดินทางไปรว่ มงานแสดงมุทิตาจติ ถวายหลวงปู่ แต่ละ
จดุ แต่ละกล่มุ ในกรุงเทพฯ ที่อาตมาทราบเห็นมีหลายจุดหลายคณะ
แจ้งความประสงค์ลว่ งหนา้ ว่า จดุ นัน้ จะไปต้ังโรงครวั จดุ น้นั จะไป
ทอดผ้าปา่ คณะโน้นจะไปท�ำการใหญข่ นาดน้นั ๆ

234

ชว่ งนน้ั จ�ำไม่ไดว้ า่ ฝนตกต้ังแต่วนั ท่เี ท่าไร ครง้ั นนั้ เปน็ เหตุ
การณท์ นี่ า้ํ ท่วมกรงุ เทพฯ คร้ังใหญ่ ดเู หมือนจะกอ่ นวนั หลวงปู่
มรณภาพสัก ๕ วนั หรอื ๓ วนั นแี้ หละ
ขบวนทจ่ี ะไปร่วมงานหลวงป่ทู างกรงุ เทพฯ ทงั้ สานุศษิ ย์ และ
ท่านทส่ี นทิ สนม ทา่ นท่เี คารพนับถอื หลวงปู่เดินทางไปร่วมงานไม่ได้
ต้องงดหมด เพราะละแวกบ้านของทา่ นเหลา่ นัน้ น้ําทว่ ม ถนนกลาย
เป็นลำ� คลอง เป็นการท่วมกรุงเทพฯ ครง้ั ใหญ่
ทางพระราชส�ำนัก ได้ขา่ วหลวงปูม่ รณภาพแลว้ จะมกี ารเดนิ
ทางไปร่วมสรงนํ้าศพถวายท่านน้นั จงึ ขดั ข้องท้งั หมด
ทางกรงุ เทพฯ ไม่มคี ณะไหนเดินทางไปไดเ้ ลย ทำ� ไมชว่ งอนื่ จึง
ไม่ตก ท�ำไมจะต้องไปตกวนั นั้นด้วย นี่กค็ งไม่เก่ียวกบั อิทธฤิ ทธิ์ หรือ
ฤทธานภุ าพอะไรของหลวงปู่เปน็ แตว่ ิบากของน�ำ้ ฝนทำ� ให้ชาว
กรงุ เทพฯ จ�ำนวนมากไปรว่ มงานไมไ่ ด้ เพราะเมื่อไปแล้วอาจไมไ่ ด้
รับความสะดวกสบายกระมงั จงึ ไมม่ ีโอกาสไดไ้ ป
แมว้ ันมรณภาพของหลวงปู่ ทางสุรนิ ทรก์ ็มฝี นตกเหมือนกนั
แตไ่ มห่ นักเหมือนทางกรุงเทพฯ มีตกแบบปรอยๆ ตลอดคนื ขนาดพอ
เดนิ ผา่ นไปมาได้ ไมถ่ งึ กบั เปียกเท่าไรมลี ะอองฝนอยู่ จนกระท่ังถึง
เวลาตสี ่กี ับสสี่ ิบกว่านาที (๐๔.๔๓ น.) เวลาท่ีหลวงป่มู รณภาพปล่อย
สงั ขาร ฝนกก็ ำ� ลงั ตกพรำ� ๆ เยน็ สบาย
ตกลงผู้ทีจ่ ะไปรว่ มงานหลวงปู่ จะไปตง้ั โรงครวั หรือถวายทาน
จดั งานบุญตา่ งๆ เพอ่ื ถวายกุศลแก่หลวงป่ตู ่างกไ็ ปไมไ่ ด้ ทา่ นทีต่ ัง้ ใจ
ไปสรงนาํ้ หลวงปูก่ ็ไปไมไ่ ด้ เพราะปีนน้ั น้าํ ทว่ มกรุงเทพฯ ประมาณ
เดือนคร่งึ ใช่ไหมอาจารย?์
น่ีคือเร่อื งนา้ํ ฝน เกี่ยวกบั น้ําฝน ไมร่ หู้ ลวงปูม่ ีความผกู พนั
อะไรกับเรอื่ งนี้

235

จัดงานใหญ่หน้าฝน

เรื่องฝนตกยังไม่หมด เมอื่ ตอนจดั งานพระราชทานเพลงิ ศพ
หลวงปู่ ท่านท่ไี ปร่วมงานคงจะทราบดวี ่า พวกอาตมาภาพและ
สานศุ ิษย์ทร่ี ับผิดชอบการจัดงานอยู่ทางโน้น ได้รับความทุกขค์ วาม
วติ กกังวล หรอื ความเสยี หายทางใจ ซึ่งอาจจะเสยี หายในทางรูป
ธรรมมามากแลว้ ยังมาเสยี หายในทางนามธรรม คอื ทางใจของ
คณะศษิ ยานศุ ิษย์ โดยเฉพาะผรู้ บั ผิดชอบงานหนักๆ เชน่ พวกอาตมา
เป็นตน้
ครัง้ นัน้ ฝนตกตลอดช่วงการจัดงาน
โดยปกติการจดั งานศพหลวงปู่ หลวงพอ่ แตล่ ะองคท์ เ่ี ปน็ งาน
ใหญ่ๆ เม่อื ตง้ั ศพท่ไี หนกจ็ ะพระราชทานเพลิงศพในละแวกนั้น ไม่
ห่างกนั นัก แต่ส�ำหรับการจดั งานครง้ั น้ัน พวกเราต้งั ศพหลวงปู่
บ�ำเพ็ญกุศลในพระบรมราชานุเคราะห์ท่ีวดั บรู พาราม แต่เมรุ
พระราชทานเพลงิ ศพครง้ั นน้ั อยหู่ ่างจากวัดบรู พารามไปจดั ที่
เขาพนมสวาย ซึง่ ห่างออกไป ๒๒ กโิ ลเมตร ระยะทางไกลจัดเปน็
อุปสรรคประการหน่งึ
อปุ สรรคประการทส่ี อง ธรรมดางานใหญ่งานโตก็ควรจะเปน็
หน้าหนาวหรือหน้าแล้ง แตง่ านหลวงปู่นน้ั เป็นหนา้ ฝน เป็นวนั ท่ี ๘
กรกฎาคม ๒๕๒๘ อกี แค่ ๘ วันกจ็ ะถงึ วนั เขา้ พรรษา ช่วงนัน้ ฝนก็
ตกดว้ ย
ในงานไดจ้ ัดประรำ� พธิ ีตามดงตามป่า มพี ระกัมมฏั ฐานมารว่ ม
นับจ�ำนวนพนั ญาติโยมจากทั่วสารทศิ หลัง่ ไหลมานับไม่ถว้ น แล้วฝนก็
ตกตลอดทา่ นท่ไี ปรว่ มงานครั้งน้นั คงไมต่ ้องอธบิ ายกท็ ราบดีวา่ มี
ความโกลาหลแค่ไหนเพยี งไร ซงึ่ ก็โทษใครไมไ่ ด้ไมว่ า่ ทางโรงครัวทาน
และอะไรทงั้ หลายแหล่ ท้งั ทา่ นทไ่ี ปและพระสงฆอ์ งคเ์ จา้ ส่วนมากคง
ไมค่ ่อยอ่มิ เทา่ ไหร่ ภตั ตาหารไม่คอ่ ยทั่วถึง คือไม่มปี ัญญาจัดใหท้ ว่ั ถงึ
ได้ ต้องตั้งครัวทานท้ังท่ีวดั บูรพาราม และท่ีเขาพนมสวาย ซงึ่ อยู่

236

หา่ งกนั ๒๒ กิโลเมตร คำ� นวณจ�ำนวนคนไมถ่ กู ย่ิงกวา่ น้นั ฝนกต็ ก
เมือ่ พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ ัวใกล้จะเสดจ็ ฝนก็ยังพร�ำอยู่
คนก็กร�ำฝนได้ แตพ่ อพระองค์เสดจ็ ไปถึงบรเิ วณงาน ด้วยพระพุทธา
นุภาพและพระอานุภาพ ฝนกห็ ยุดตก ฝนก็หาย ได้ประกอบพิธอี ยา่ ง
เรียบร้อย
เม่อื พระเจา้ อยูห่ ัวเสดจ็ กลบั ฝนกเ็ รม่ิ ตกอกี
เมอ่ื ถงึ เวลาเผาจริง ฝนตกมาปรอยๆ และนาํ้ ฝนกห็ ยดลงมา
ตรงโกศทองลงตรงน้นั พอดี ลงมาตอนไฟกำ� ลงั ลุกไหม้ เจา้ หนา้ ทส่ี ำ�
นกั พระราชวงั เขาว่า “เอ! แปลก ธรรมดาเมื่อเผาแล้วไฟจะลกุ แรง
ต้องเอานาํ้ ฉดี ไวก้ ันไมใ่ หไ้ ฟลกุ แรง ใช้นํ้าชว่ ยให้ไฟลกุ สมํา่ เสมอ ท�ำ
ไมวนั นฝ้ี นรั่วลงมาตรงเตาพอดี กไ็ ม่มากนกั เพียงแต่ชว่ ยให้ไฟลกุ
พอดพี องาม ไม่ล�ำบากทีจ่ ะควบคุมไฟ”
ฝนปรอยไปเรอื่ ยพวกเรากอ็ ยู่ไปจนกระท่ังว่าประมาณ ๓ ทมุ่
ไฟไหมห้ มดเรยี บรอ้ ยแล้วจึงกลบั
พอรุ่งเชา้ จงึ ไปทำ� พธิ เี ก็บอฐั ิ ฝนกโ็ ปรยปรายลงมาอีกจน
ตลอดพธิ ี แตง่ านทกุ อยา่ งกส็ ำ� เร็จลลุ ่วงดว้ ยดีแมง้ านจะล�ำบากหน่อย
แต่ทุกคนก็ต้งั อกตั้งใจ และมีความอดทนเป็นอย่างดี ทั้งฝ่ายผจู้ ัดงาน
และฝา่ ยผไู้ ปร่วมงาน
ถือว่าเปน็ การฝกึ ความอดทนของเหลา่ สานุศษิ ย์ไดเ้ ปน็ อยา่ งดี
อีกโอกาสหน่ึงกระมงั !

ฝนพันปี

เร่ืองนา้ํ ฝนท่ีเกยี่ วกับเรื่องราวของหลวงปู่ยังไม่พอเมอ่ื พ.ศ.
๒๕๒๘ วนั นน้ั ตรงกบั วันท่ี ๑๐ เดอื นพฤษภาคม เป็นชว่ งต้นฤดูฝน
ยงั ไม่ถึงฤดฝู นหรอก เปน็ ปลายฤดรู อ้ น
วนั ท่ี ๑๐ พฤษภาคม ๒๕๒๘ เปน็ ก�ำหนดงานใหญ่ เน่ืองจาก
ไดส้ รา้ งพพิ ธิ ภัณฑ์หลวงปู่แล้ว ได้กำ� หนดการบรรจอุ ัฐิธาตหุ ลวงปู่

237

และเปดิ พิพธิ ภณั ฑ์ดว้ ย
ไดก้ ราบอาราธนาทา่ นเจา้ ประคุณ สมเดจ็ พระญาณสงั วร วัด
บวรนิเวศฯ (สมยั นนั้ ยงั ไม่ไดเ้ ปน็ สมเด็จพระสงั ฆราช) ไปเป็นองค์
ประธาน ด้วยพระเมตตาของท่านแผ่ไพศาลเมอ่ื ทา่ นเสดจ็ ไปชาว
สุรนิ ทรถ์ วายการต้อนรบั อยา่ งล้นหลาม
กลางคืนกอ่ นวนั จัดงาน ฝนตกหนักทส่ี ุดจนประร�ำพิธตี ่างๆ
ในบริเวณงานลม้ ระเนระนาดหมด ฝนตกหนักและหนกั ท่วั ประเทศ
โดยเฉพาะทีก่ รุงเทพฯ ฝนตกหนกั มาก เปน็ คร้งั ทมี่ หาจ�ำลอง
ศรเี มือง บอกว่าเปน็ “ฝนพนั ป”ี คอื ตกหนักทีส่ ุดในรอบ ๑,๐๐๐ ปี
เหน็ วา่ อยา่ งน้ัน
ถ้าหากไมใ่ ช่เปน็ ต้นฤดฝู น กรงุ เทพฯ คงจะมีอาการหนกั คือ
ถา้ เป็นฝนปลายฤดูเหมือนปี ๒๕๒๖ กรุงเทพฯคงจะถูกน้ําทว่ มหนกั
กว่าน้ัน ชาวกรงุ เทพฯ ลองคดิ ดเู อาเอง
อาตมาอยู่บ้านนอกไดแ้ ตส่ ดับตรับฟงั ข่าวเท่านน้ั ในกรุงเทพฯ
น้�ำท่วมเพยี งไม่กว่ี ันท่านพลตรจี �ำลอง ท่านได้ชอ่ื เสยี งสามารถก�ำจดั
ฝน ๑,๐๐๐ ปี ใหแ้ ห้งได้ภายในวันสองวนั แต่ถา้ หากเป็นชว่ งปลาย
ฤดู คดิ ว่าท่านจ�ำลอง ๓๐ คน ก็คงจะเอาไม่อยู่ อันนเ้ี ปน็ เพียงการ
เปรยี บเทียบเทา่ นัน้
นัน่ คอื เหตุการณท์ ่วี า่ งานบรรจุอฐั ิธาตุของหลวงปู่คร้งั น้ัน ทำ�
ใหค้ นกรุงเทพฯ ไปรว่ มงานไม่ได้อกี เหมอื นกนั หลายคณะตา่ งกง็ ดไป
ไมไ่ ด้
อันนเ้ี ปน็ เรอ่ื งของหลวงปู่ที่เก่ียวเนื่องกบั ฝนตกเช่นกนั
ทีน้หี ลงั จากหลวงปมู่ รณภาพแลว้ ก็จดั ท�ำบญุ หลวงปใู่ นงาน
ครบรอบต่อมาโดยล�ำดบั อนั นกี้ เ็ จอฝนบ้างไม่เจอบ้าง
งานหลวงปูท่วี ดั มี ๒ ระดบั คอื วนั ครบรอบมรณภาพของ
ท่านวันที่ ๒๙–๓๐ ตลุ าคมของทุกปีและอกี วันหนง่ึ ที่อาตมาภาพจัด
เปน็ การภายใน จัดสว่ นตัวคอื วนั ที่ ๘ กรกฎาคม ซง่ึ เป็นวันมลาย
ขันธ์ หลวงปคู่ อื วันเผาไหมใ้ หร้ า่ งหลวงปูห่ มดไป งานนบี้ อกญาติๆ

238

และลกู ศิษยไ์ มก่ ่ีคน เพยี งนิมนตพ์ ระกัมมฏั ฐานมา ๓๒ รปู มารบั
บิณฑบาตทบ่ี ริเวณพพิ ธิ ภณั ฑท์ มี่ ณฑปอัฐิธาตหุ ลวงปู่ถือเป็นงานยอ่ ย
ส�ำหรับงานท่ีทำ� ใหญ่ ทำ� เป็นทางการคือวนั ท่ี ๒๙-๓๐ ตุลาคม จดั
เปน็ ประจำ� ทกุ ปี ในงานนจี้ ดั ทีไรเจอฝนทุกคร้ังไปเลย จนถึงปัจจบุ นั ก็
เชน่ เดยี วกัน

เดาใจหลวงปไู่ ม่เคยถกู

เรื่องนีก้ เ็ กย่ี วกับฝนตกอีก ที่พอนกึ ขน้ึ มาได้
ข้อสำ� คญั อกี ประการหนงึ่ ก็คอื ว่าไม่มกี ารเดาใจหลวงปู่ถกู เรา
อยูก่ บั ท่านบริหารงานกับทา่ น บางอย่างกผ็ ดิ บางอยา่ งกพ็ ลาด ทา่ น
ก็เรยี กไปเตือนไปวา่ บางอยา่ งก็พลาดโดยการเผลอก็ได้ ท่ีสำ� คญั เม่ือมี
การต้ังใจ โดยเดาใจหลวงปู่ไว้กอ่ นวา่ ท่านจะวา่ อย่างไร จะทำ� อะไร
คิดว่าเตรยี มหาล่ทู างแก้ไขไว้ก่อน รับรองได้วา่ ไมม่ ที างจะเปน็ ไปตาม
นนั้
สมมตวิ า่ มเี รื่องอะไรเกิดข้ึน เราเปน็ พระหนุ่ม พระเด็กกม็ ักจะ
ต้องตกอกตกใจไว้กอ่ น หลวงปู่ใหเ้ ณรไปเรียกมาหา มักจะเดาวา่
หลวงปจู่ ะตอ้ งวา่ อยา่ งนั้นๆ แล้วเราจะอธบิ ายหรือแก้ตวั ว่าอย่างนัน้ ๆ
แต่ไมเ่ คยถกู สักที ทา่ นจะไม่พดู ในเรอื่ งทีเ่ ราคิดเอาไว้
มอี ยู่ครง้ั หน่ึง ที่ท�ำให้อาตมาอดึ อดั ใจมาก วนั นัน้ อยูใ่ นเดอื น
สาม (เดอื นกมุ ภาพนั ธ)์ ซ่งึ เดอื นสามของภาคอสี านจะฝนจะไม่ตก
เหตกุ ารณ์เกิดข้ึนนานแล้ว ในสมัยท่หี ลวงปไู่ ปพัฒนาสรา้ งโบสถ์ท่ี
เขาพนมสวายระหว่างปี พ.ศ. ๒๔๙๖–๒๔๙๗
สมยั นน้ั การเดนิ ทางโดยรถยนตไ์ มส่ ะดวก ถนนมติ รภาพยงั
ไมม่ ี การขนส่งทุกอยา่ งจากกรุงเทพฯ ตอ้ งไปทางรถไฟ ไมว่ ่าจะขน
ปนู ซีเมนต์ เหล็กเสน้ ต้องไปทางรถไฟ ส่งมาลงทสี่ ถานสี รุ ินทร์ แล้ว
ขนตอ่ ไปทเี่ ขาพนมสวาย ระยะทาง ๒๒ กโิ ลเมตร จากตวั เมืองกไ็ ม่มี
รถ ต้องใชเ้ กวียนครั้งละ ๕-๖ เล่ม ได้อาศัยชาวบ้านบา้ งจ้างเขาบา้ ง

239

อะไรทำ� นองน้ัน
เมอื่ หลวงปทู่ ่านค้างทเี่ ขาสวายเปน็ เวลาหลายๆ วนั อาตมา
ซ่งึ ยังเปน็ พระหนมุ่ ยงั มีพรรษาไม่เทา่ ไหร่ ท�ำหน้าท่ีดแู ลอะไรตา่ งๆ
ทางวัดบูรพารามแทนท่าน ก็ชว่ ยดแู ลเฝา้ กุฏิทา่ นตลอดมา ชว่ ยดูนน่ั
ดูนีภ่ ายในวดั ไป
มอี ยู่วันหนง่ึ ปนู ซเี มนต์ใส่ตู้รถไฟมาถงึ สรุ นิ ทร์ ประมาณสกั
๕๐ ถุง หลวงปทู่ ่านสงั่ ไว้ว่า วนั น้นั ปูนคงจะมาถงึ ใหไ้ ปดทู ี่สถานี
เมือ่ เห็นก็ใหพ้ าเดก็ เอาเกวียนไปบรรทุกมาไวท้ ว่ี ัด
อยา่ นกึ วา่ จะสบายเหมอื นทุกวนั นี้ ใช้เกวยี น ๒ เลม่ พาพระ
เณร เดก็ วดั ไปชว่ ยกันขนปนู ใสเ่ กวยี นแล้วเข็นมาวางไวห้ นา้ โบสถ์
แลว้ อกี ๒ วัน หลวงปู่จะหาเกวยี นจากเขาสวายมารับเอาปนู ไป ทำ�
อยา่ งน้ันเรอ่ื ยมา
ทีนว้ี นั นัน้ พวกเราพากันไปขนปูนมาไวห้ น้าโบสถ์ กว็ างไว้
เรย่ี ราดบนพนื้ ไมม่ ใี ครคดิ วา่ ฝนจะตก จึงไม่ไดเ้ อาเข้ารม่ เพราะพรงุ่
นีเ้ ชา้ หลวงป่กู ็จะสง่ เกวียนมาขนไปแลว้ จะได้ขนเอาง่ายๆ ยกง่ายๆ
พวกเราต่างกเ็ ม่ือยล้ากนั จงึ ปล่อยถุงปนู ระเกะระกะแถวนัน้
ทำ� ไมจึงเปน็ อย่างนั้นไปได้
คนื นัน้ ประมาณตี ๒ ฝนตกหนัก เรากไ็ ม่ใชไ่ ม่รูต้ วั ร้ทู ง้ั รวู้ า่
ทิง้ ปนู ไวก้ ลางฝน แลว้ กล็ ุกพรวดพราดมา จะไปเรียกหาใครทนั
เรยี กหาพระเณรได้ ๒ องคใ์ ห้มาช่วยกนั ช่วยอยา่ งไร สงั กะสกี ็ไมม่ ี
เตน็ ทก์ ็ไม่มหี รอื จะแบกเข้าไปเกบ็ ไว้ก็ไมไ่ หว
ไม่ใชว่ า่ ฝนตกปุบ๊ ตน่ื ปับ๊ ฝนตกมานานพอสมควรแล้วจึงตื่น
ชว่ งนนั้ ทง้ั เหนื่อยและกำ� ลงั นอนหลับดี เลยนำ้� ฝนนองพนื้ ปนู เสีย
หายหมด
เข้าวนั ร่งุ ข้นึ เกวียนจากเขาสวายกม็ าถงึ พอดี เผอญิ หลวงปู่
ท่านกม็ าด้วย ท่านมาพักผ่อน ปลอ่ ยให้เกวียนเอาปนู ไปก่อน
ทีนปี้ นู มันเสยี หายหมด เราตกใจมาก อย่างไรเสียเราต้อง
โดนแน่ หลวงปทู่ ่านก็พดู กับคนอน่ื ว่า “ไมด่ ูไมแ่ ล” ทา่ นวา่ อย่างนน้ั

240

“ท�ำไมไม่ดไู มแ่ ลปล่อยให้นํ้าทว่ มปูนเสยี หายหมด” ทา่ นกพ็ ูด
เทา่ น้นั เอง เกวียนก็ต้องกลบั ไปเปล่า
ปูนมันแชน่ ำ้� อยู่ ไม่รู้จะทำ� อยา่ งไร ก็ไม่ได้กองซอ้ นกันไวส้ งู
แต่กองเรี่ยราดไวแ้ ถวน้นั เรากย็ อมรบั วา่ ผิดอยา่ งร้ายแรง เรากต็ กใจ
คิดวา่ คงเสร็จแน่เทยี่ วนี้ วันน้หี ลวงปู่คงจะดุดา่ ว่าเราอยา่ งใดอย่าง
หนง่ึ
หลวงปู่พักอยทู่ ก่ี ุฏิทง้ั วัน เรากไ็ ม่กล้าไปให้ทา่ นเหน็ หน้า ไม่
กลา้ ไปหาทา่ น
ประมาณท่มุ หนง่ึ หลวงปใู่ ห้เณรมาเรยี กใหไ้ ปหา !
“คงเสร็จแลว้ เราคราวนี้ !!!”
เราเตรียมข้อแก้ตวั เตรียมคำ� อธิบายว่า ไมน่ ึกว่าฝนเดือนน้จี ะ
ตก แล้วทุกคนกเ็ หนอื่ ย ไม่มใี ครไปชว่ ย เตรียมขอ้ แก้ตวั ไว้แล้ว
เหมอื นกับเราเตรยี มอึดอัดไว้ก่อนแล้ว
พอไปถงึ หลวงปทู่ า่ นก็นง่ั อยู่ คยุ อยกู่ ับเณรตวั เลก็ ๆ องคห์ นง่ึ
สหี น้าทา่ นเปน็ ปกติ ไมม่ ีอะไรเปล่ยี นแปลง
หลวงปพู่ ูดขึน้ ว่า :
“เออ! พากันไปสวดมนตง์ านศพท่บี ้านตากกู นะ ไป ๕ องค์
ไปไดไ้ หมพรุง่ น?้ี “
“ครับผม”
ก็น่ังรอดวู า่ ท่านจะพดู ว่าอะไรต่อไปอกี ไมเ่ หน็ ทา่ นวา่ อะไร ก็
เลยนงั่ รออยสู่ กั พัก ถามทา่ นว่า “มอี ะไรอีกไหมครบั หลวงป่”ู
ท่านว่า “เท่าน้ีแหละ ไมม่ อี ะไร ! “
เรากก็ ราบท่านกลับกุฏิท่ีพกั รสู้ ึกอดึ อัดตลอดคนื ถ้าหลวงปู่
จะดุจะด่าเราสักคำ� สองคำ� ว่าไม่ดไู ม่แลอะไรอยา่ งน้จี ะดีกวา่
แต่ การท่ีท่านไมพ่ ดู อะไร ท�ำ ให้เราอึดอดั ใจไปตลอดคืน
น่ี หมายความวา่ ถงึ ขนาดนีแ้ ล้วยังเดาใจทา่ นไม่ถูก แลว้ เรือ่ งเลก็ ๆ
น้อยๆ อย่างอนื่ ละ ไม่มใี ครเดาใจทา่ นถูกเลย สงสยั ว่าเราคดิ อยา่ งไร
ทา่ นอาจจะรใู้ จเรากอ่ นก็เปน็ ได้ ใครจะรู้ได้ใช่ไหม? ครัง้ นน้ั ท่านจึง

241

ปลอ่ ยใหเ้ ราอดึ อัด หรือทา่ นไม่อยากว่าตามทเ่ี ราคิดเอาไว้ คือท่านไม่
แสดงแล้วก็ไมม่ มี ารยาอะไรอยา่ งท่เี คยกลา่ วมาแลว้

มารยา กิเลสชนดิ ละเอียด

เคยกลา่ วถึงตอนตน้ แล้วว่า หลวงปไู่ มม่ ีมารยา คอื ท่านไม่
ชอบแสดง อย่างทีเ่ คยยกตัวอย่างวา่ ถ้าเราขอถ่ายรูปท่าน ขอให้
ทา่ นห่มผา้ ใหเ้ รียบร้อย แลว้ ขอให้ทา่ นนัง่ ถ่ายรปู ท่านจะไมท่ ำ� แตจ่ ะ
ขอถา่ ยรปู ท่านได้ในจังหวะทที่ า่ นห่มเรยี บรอ้ ยแล้ว ลงโบสถ์ ลงบวช
นาค หรอื ทำ� อะไรตามปกติ แลว้ ขอถา่ ยรูปท่านในจังหวะนั้นๆ ได้
ท่านจะอนญุ าตใหต้ ามประสงค์
แต่ถ้าขอให้ทา่ นลุกขึ้นหรอื เตรยี มทา่ สำ� หรบั ถ่ายรปู โดยเฉพาะ
ที่เรียกว่า “แอ๊คทา่ ” นัน้ ทา่ นไม่ทำ�
หมายความวา่ หลวงปทู่ า่ นไมท่ �ำแบบ “แสดง” คือไมม่ กี าร
“แอค๊ ท่า” ทเี่ ป็นการแสดงหรอื การเสแสร้งเชน่ นัน้ ทา่ นไมท่ ำ�
มปี ฏิปทาอย่างหนึ่งนะอาจารย์ อยากจะเจรญิ พรใหท้ ราบ คอื
หลวงปูท่ า่ นไม่มมี ารยา อันนีถ้ อื เป็นกิเลสชนิดละเอียด ส่งิ น้ที า่ นละ
ได้ สิง่ น้มี ันเปน็ สง่ิ แปลก คือทา่ นไม่มมี ารยา ไมแ่ อ๊คทา่ แอ๊คทาง
เรอ่ื งนีจ้ ะเหน็ ว่าพระเถระบางท่าน หรือคนบางคน ถา้ ไปนง่ั
ในทีช่ มุ นุมหรอื อะไรก็ตามจะเลอื กทา่ นง่ั ใหด้ ูโก้ มสี งา่ ดภู ูมิฐาน ลกู
ศิษย์ลกู หาจะช่วยจัดใหใ้ ชไ่ หม?
หรืออยา่ งสมมตวิ ่า ถ้าเราจะน่งั สามลอ้ กบั เด็ก อย่างอาตมา
ถนดั น่งั ด้านขวาอย่างเดยี ว น่ังดา้ นซ้ายไมไ่ ด้ เพราะไม่ถนดั บางองค์
บางท่านก็เป็นเหมือนกนั
ส่วนหลวงปู่น้ัน จะไมม่ ที างซ้ายหรอื ทางขวา แล้วแตจ่ งั หวะ
จะมาถึง
หรือสมมติภายหลังการสวดมนต์ โยมก็จัดเก้าอี้ถวายทา่ น
เรยี บร้อยแล้วนมิ นตท์ ่านน่ัง ขอนมิ นตใ์ ห้ทา่ นน่งั ฉันบนเกา้ อี้บางองค์

242

จะต้องเลือกวา่ ตอ้ งน่ังมุมโน้นมมุ น้ี หนั ไปทางโนน้ จึงจะดสู งา่ ดดู ี
อะไรทำ� นองนี้ สิง่ เหล่าน้ีหลวงปทู่ ่านไมม่ ีเหลอื อยเู่ ลย
แมแ้ ต่การทักทายปราศรัยดว้ ยการกล่าววาจาท่ีเป็นกิจ
ลกั ษณะ ตอ้ งแอ๊คทา่ วางท่า หรอื พูดโอ๋เอาใจ อะไรเหล่านี้ท่านไม่ท�ำ
ท่านอย่ทู ่านท�ำ เปน็ ปกติ สังเกตไดว้ ่าทา่ นไมม่ ีการแสดง หรอื ไม่
แอ๊คทา่ ไมโ่ ชว์ ไม่วา่ จะเป็นเครอ่ื งนุง่ หม่ ทีด่ ีงาม ซึ่งอาจจะไดร้ บั
ถวายผ้าพเิ ศษมา เจา้ ภาพขอใหห้ ่มใหล้ องทาบตวั เพ่อื ให้เจา้ ของเขา
ดูหน่อย แม้แตท่ �ำเองท่านกไ็ ม่เคยทำ� ไม่เคยคิด
หลวงป่จู ะใช้ส่งิ ของตา่ งๆ ท่ีใชป้ ระจ�ำจนกวา่ ส่ิงน้นั จะใชอ้ กี ต่อ
ไปไมไ่ ดแ้ ล้ว จึงจะเปลย่ี นใหม่

กระโถนธรรม

เรอื่ งนีเ้ ปน็ บันทกึ ของคณุ บำ� รงุ ศกั ด์ิ กองสุข เป็นตัวอยา่ ง
หนง่ึ ท่ีแสดงวา่ หลวงป่จู ะใชส้ ่ิงของทม่ี ีไปจนกวา่ สิง่ นน้ั จะใช้ไม่ไดต้ ่อ
ไปอกี แลว้
เม่อื พ.ศ.๒๕๐๙ ผู้เขียนเป็นพระนวกะอย่รู บั ใช้หลวงปดู่ ุลย์
อตโุ ล ก่อนทผ่ี ูเ้ ขียนจะลาสกิ ขา กต็ ง้ั ใจดูแลความสะอาดห้องนอน
หอ้ งนํ้า ตกกลางคนื ถวายการนวดเทา้ หลวงปู่ ท่านนัง่ เก้าอเี้ อน
ขณะนวดผูเ้ ขียนกป็ ล่อยใหใ้ จคดิ ไปตา่ งๆ นานา สว่ นองคท์ า่ น
ก็หลบั ตา หลายเรือ่ ง หลายคร้ัง ท่านจะลมื ตาถามเรื่องท่ผี ู้เขยี นก�ำ
ลงั คิดอยใู่ นขณะนัน้
พระทุกรปู ท่เี ข้าไปปฏบิ ตั ริ ับใชห้ ลวงปู่ ทราบดีว่าหลวงปู่รู้
วาระจิตคน แตห่ ลวงปู่ไมไ่ ดแ้ สดงให้ใครๆ รู้ทวั่ ไป
การนวดของผู้เขยี นให้วิธีขย�ำๆ ไม่มีหลักการนวด องคท์ า่ นก็
ปล่อยให้นวดไป ไมแ่ นะนำ� วิธีนวดแต่อยา่ งใด
การสรงนาํ้ ๕ โมงเย็น ต้องผสมนํา้ อุ่น บางทีกร็ ้อนไปบา้ ง
ทา่ นเอามอื จุม่ ดู ทา่ นว่าพอดีทุกครั้ง ท่านสรงน้ําอุ่นทุกครัง้ วันละ

243

คร้งั ท�ำใหส้ ขุ ภาพดี
ใกลว้ ันลาสกิ ขาผู้เขยี นเกิดวติ กว่าเรายังไม่ไดท้ ำ� หนา้ ทอ่ี ปุ ชั ฌา
วัตรใหส้ มบรู ณแ์ บบ เราได้แตเ่ ทกระโถนปสั สาวะทุกเช้า ยงั ขาดเพยี ง
เร่อื งอุจจาระอยา่ งเดยี วเทา่ นั้น
พอรงุ่ ข้นึ เช้าเหมอื นเทพบนั ดาล เปดิ ฝากระโถนดู ไมม่ ีน้ำ�
ปัสสาวะ แต่เป็นก้อนอจุ จาระนิดหนง่ึ แทน
สมัยนั้นไม่มีฟองน้าํ ผูเ้ ขียนใชก้ าบมะพรา้ วท�ำความสะอาด
กระโถนและใช้ขเ้ี ถ้าแทนสบู่
รู้สกึ ภาคภูมใิ จมาก ทง้ั นส้ี ืบเนื่องมาจากได้รบั การอบรมจาก
หลวงป่ฝู ั้น อาจาโร สอนให้รูจ้ ักรับใชผ้ ้มู พี ระคณุ เชน่ บดิ ามารดา
ครูบาอาจารย์
ความกตัญญู เป็นธรรมเบื้องต้นทีผ่ ู้เขียนเข้าใจ ไม่ใชห่ ลับตา
ภาวนาแลว้ ไมร่ ้อู ะไร แต่กใ็ ชว่ า่ จะร้ไู ปหมด
ผ้เู ขยี นเคยรังเกียจกระโถนของหลวงปอู่ ีกใบหนึ่ง คือกระโถน
เคลือบสีลายดอก ซ่งึ มใี ช้กันทุกวัดในสมัยน้ัน
ทอี่ ัศจรรยไ์ ม่เหมอื นใครเลยก็ตรงทห่ี ลวงปู่ ใชส้ ีผ้งึ หรือเทียน
อดุ รูรัว่ เวลาทำ� ความสะอาดไมส่ ะดวก เกะกะสายตาเหลือเกิน
ผูเ้ ขียนปรกึ ษากับทา่ นพระครนู นั ทปญั ญาภรณ์ ว่าขออนญุ าต
ถวายกระโถนใบใหม่ให้หลวงปู่
ทา่ นพระครบู อกว่า หลวงปทู่ า่ นไมใ่ ช้หรอก ถวายใหมห่ ลวงปู่
ก็จะเก็บใสต่ ้เู ปน็ ของกลางสงฆ์ เวลาพระเถระระดับเจา้ คุณมาเยยี่ ม
เยอื น หลวงปูก่ ็ตอ้ นรับดว้ ยกระโถนใบนี้ บางทีเกิดรว่ั นาํ้ หมากทา่ น
เจ้าคุณไหลลงใต้ถุน อย่างนี้กเ็ คยมีมาแล้ว
กระโถนทะลใุ บนอี้ ย่กู บั หลวงป่มู ากว่า ๔๕ ปแี ล้ว
เมอ่ื สรา้ งพพิ ธิ ภัณฑ์หลวงปู่ดลู ย์ ผ้เู ขียนถามถึงกระโถนใบนั้น
ทา่ นพระครนู นั ทฯ ตอบวา่ “ไมร่ ู้ว่ามีมอื เลวไหนขโมยไปเสียแล้ว”

244

อาพาธครง้ั แรก

โดยปกติ หลวงปดู่ ลู ย์ อตุโล จัดว่าเป็นผทู้ ่ีมีสขุ ภาพอนามัยดเี ย่ียมคน
หนง่ึ ตราบเทา่ อายุเข้าปีที่ ๗๕ นอกจากเคยเป็นไข้ปา่ เมอื่ ตอนออก
ธุดงคท์ ี่ป่าทา่ คันโทแล้ว ก็ไมม่ โี รคภยั ไขเ้ จ็บอะไรเบยี ดเบยี นทา่ นเลย
นอกจากไข้หวดั เล็กๆ นอ้ ยๆ ในบางครง้ั เท่านั้น ทั้งน้สี ว่ นหน่งึ อาจ
เป็นผลเน่ืองมาจากการดำ� รงศลี วตั รด้วย สปุ ฏบิ ัตอิ ยา่ งเครง่ ครดั ก็
เปน็ ได้ ท�ำใหท้ า่ นมสี ขุ ภาพกายและสุขภาพจิตดีสมบรู ณอ์ ย่เู สมอ
เม่อื เปรียบเทียบกับญาตพิ ีน่ ้องของท่าน จะเห็นวา่ ทกุ คนเสีย
ชีวิตกอ่ นอายุ ๗๐ ปี มีเพียงหลวงปอู่ งคเ์ ดยี วท่ียังดำ� รงค์ขนั ธม์ าได้
ยาวนาน เพง่ิ ปว่ ยเขา้ โรงพยาบาลครัง้ แรกเมอ่ื ทา่ นอายไุ ด้ ๗๕ ปี
หลงั จากมาพำ� นกั ทวี่ ัดบูรพารามได้ ๓๐ ปเี ศษ
ตน้ เดือนกมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ.๒๕๐๘ หลวงปู่มอี าการอาพาธ
รนุ แรงเปน็ ครงั้ แรก หมอสนั นษิ ฐานวา่ เป็น โรคตับอักเสบ มีอาการ
ปวดท้องรนุ แรงเปน็ คร้งั คราว ฉันอาหารไม่ได้ ฉนั ทีไรเปน็ ตอ้ ง
อาเจยี นออกมาภายหลงั ท�ำใหเ้ ป็นที่วิตกกนั ในหมูส่ านุศิษย์
การอาพาธครงั้ นหี้ ลวงปไู่ ดเ้ ข้าพกั รักษาตัวทีโ่ รงพยาบาล
สุรนิ ทร์ เป็นเวลา ๙ วนั ก็หายเป็นปกติ
ในการเจบ็ ป่วยครงั้ นี้ หลวงปูไ่ มไ่ ดแ้ สดงท่าทปี ริวติ กให้เหน็ แต่
ประการใด สีหน้ายังคงสงบเฉยอยูต่ ามปกติ เปน็ คนไขท้ ผ่ี ู้เปน็
พยาบาลไมต่ อ้ งท�ำอะไรพิเศษไปกว่าทีเ่ คยทำ� ในชวี ิตประจ�ำวนั
นอกจากการถวายยาตามทีห่ มอสั่งเทา่ น้นั
ไมว่ ่าจะอย่ใู นชว่ งทถี่ วายนำ�้ เกลอื ทางเสน้ เลอื ดกด็ ี ในชว่ งเวลา
ท่ีอาการเจ็บปวดกำ� เริบกด็ ี สหี น้าของทา่ นยงั คงสงบเหมอื นเดมิ พระ
ผ้เู ฝา้ พยาบาลเล่าว่า กม็ ีอยนู่ ดิ เดียว คอื ตอนท่โี รคเสยี ดแทงรุนแรง
เกดิ ความเวทนากล้า กลา้ มเน้ือบนใบหน้าของทา่ นจะกระตุกอยู่ ๒-๓
ครงั้ แล้วก็สงบลงตามเดมิ นัยน์ตาท่านหลบั น่งิ ดใู บหน้าสงบเสง่ยี ม
งดงาม

245

มีอย่ปู ระการหนง่ึ ที่ทำ� ให้ลูกศิษยล์ ูกหาผ้เู ฝ้าพยาบาลยินดี
พอใจ ถึงกบั ตอ้ งแยง่ หนา้ ทก่ี นั คอยเฝ้าพยาบาลก็คือเม่อื หลวงปู่
อาพาธ ภารกจิ อน่ื ๆ ของท่านก็เปน็ อนั ตอ้ งงดและการหลับตาพกั
ผอ่ นของหลวงปู่จะมีเพยี ง ๒ ระยะ คอื ตอนดึกทต่ี อ้ งพกั ผ่อนตาม
ปกติ คนื ละ ๒-๓ ช่ัวโมง กบั ตอนท่ีเกดิ เวทนาแรงกลา้ เทา่ นัน้
ดงั นั้น หลวงปู่จงึ มเี วลาวา่ งพอทจี่ ะพูดคยุ และตอบปัญหา
ต่างๆ ทม่ี ผี ูเ้ รียนถามได้
ผ้เู ฝ้าพยาบาลจึงมีโอกาสได้ใกล้ชิดหลวงปู่ ไดย้ ินได้ฟงั เรื่อง
ราวดๆี รวมทัง้ เรอื่ งพิสดารทห่ี าฟังได้ยาก ก็มโี อกาสตอนนนั้ แหละ
ผทู้ ี่มีโอกาสได้เฝา้ พยาบาลหลวงป่จู งึ ถือเปน็ วาสนาดที ีใ่ ครๆ
ท�ำ ไดย้ าก

หลวงปู่หัวเราะกม็ ี

ในสายตาของศิษยานุศิษย์และอุบาสกอบุ าสิกาทง้ั หลายเห็นวา่
หลวงป่มู ีความสงบเสงี่ยมเป็นปกติ งดงามตามควรแกส่ มณวิสัยอยู่
ตลอดเวลา ไมแ่ สดงอาการพลกิ ผนั แปรปรวนไปตามเหตุการณต์ า่ งๆ
เมื่อประสบอารมณท์ น่ี ่าพอใจ หลวงปู่ก็เพียงแต่ย้มิ หรอื อยา่ ง
มากก็หวั เราะน้อยๆ
แตม่ อี ยคู่ รง้ั หน่งึ ชว่ งที่หลวงปูอ่ ย่รู ะหวา่ งพกั รกั ษาตวั ทโี่ รง
พยาบาลสรุ นิ ทร์ เนอ่ื งจากอาพาธคราวน้ีเองที่เคยเห็นท่านนหลวงปู่
หัวเราะอย่างเต็มท่ีและมอี าการสะกดกลัน้ การหวั เราะนัน้ เปน็ ระยะ
เพอ่ื ใหต้ นเองหยดุ หัวเราะ
นับเป็นการหวั เราะครัง้ แรก ครัง้ เดยี วและครง้ั สดุ ท้ายของ
หลวงปู่ เท่าท่ลี กู ศิษย์ลกู หาเคยได้พบเห็น!
เร่อื งมีอยูว่ ่า เม่อื หลวงปูเ่ ข้ารบั การรกั ษาพยาบาลทีโ่ รง
พยาบาล สุรนิ ทรเ์ ม่ือวนั ท่ี ๑๒ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๐๘ ในครง้ั นั้นแลว้
ข่าวคราวการเข้าโรงพยาบาลของหลวงปกู่ ็แพรส่ ะพดั ไปอย่างรวดเรว็

246

การเยีย่ มเยียนเปน็ ไปอยา่ งคกึ คกั ทัง้ ญาตโิ ยมพุทธบริษทั ทว่ั ไป
ตลอดทั้งพระภิกษสุ ามเณรและคณาจารย์เจ้าส�ำนักต่างๆ ก็พากนั
มาเยยี่ มไขห้ ลวงปมู่ ิได้ขาด
ชว่ งบ่ายวันหน่งึ พระอาจารย์รูปหนงึ่ มากบั โยมสองสามคน
คร้ันกระทำ� สามีจกิ รรม คอื กราบนมสั การหลวงปแู่ ล้ว กก็ ราบเขา้
ไปชิดหลวงปกู่ รีดกรายฝา่ มือประคองตน้ แขนหลวงปอู่ ย่างนุ่มนวล
พลางพดู เสียงออ่ นเสยี งหวานวา่
“หลวงพอ่ อยา่ ไปคิดอะไรมาก ปลอ่ ยวาง ปลอ่ ยวาง สงั ขาร
ทั้งหลายมนั ไมเ่ ทย่ี งอย่างนแ้ี หละนะ หลวงพอ่ นะ ปลอ่ ยวาง ปลอ่ ย
วางนะหลวงพ่อ”
แล้วพระอาจารยอ์ งคน์ ้ันยมิ้ ออ่ นโยนนา่ ประทบั ใจ ทำ� เอา
หลวงปูเ่ กิดความขบขันเปน็ อย่างมาก ทา่ นหัวเราะออกมาอยา่ งชนดิ
ที่ไมเ่ คยเห็นมากอ่ น แลว้ ท่านกพ็ ยายามสะกดกลนั้ เป็นระยะๆ ครู่
หนึง่ อาการหวั เราะก็หยดุ ลง วางสีหน้าเฉยเปน็ ปกติ แล้วเอย่ วาจา
ขอบอกขอบใจพระอาจารย์รูปนนั้ และญาติโยมทอี่ ตุ ส่าหม์ าเยยี่ ม
และก็สนทนาธรรมดาอ่นื ๆ ต่อไปด้วยอาการราบเรยี บตามปกตขิ อง
หลวงปู่

ตาบอดใสแ่ ว่น

เมือ่ หลวงปู่ออกจากโรงพยาบาลในครงั้ นัน้ แลว้ ท่านกก็ ลบั มาพักฟนื้
ท่กี ฏุ ขิ องท่านดงั เดมิ
ค่ำ� วันหน่ึง หลวงปพู่ กั ผ่อนเอนกายอยู่บนเกา้ อี้ ศษิ ยผ์ ูเ้ ฝ้า
พยาบาลกำ� ลงั เชด็ ตัวทา่ นด้วยน�ำ้ อุน่ แลว้ ถวายการบบี นวดปรนนบิ ัติ
ทา่ นตามปกติ
ญาตโิ ยมทีม่ าภาวนาปฏิบัตธิ รรมที่ศาลาโรงธรรม กข็ น้ึ มา
กราบเย่ียมน�ำนํา้ ปานะมาถวาย
หลังจากถามไถ่อาการป่วยไข้ของหลวงปแู่ ละสนทนาเร่ืองราว

247

ต่างๆ พอสมควร อบุ าสกท่านหนึง่ ก็นมัสการถามท่านถงึ วธิ กี ารเริ่ม
ตน้ ในการบำ� เพ็ญภาวนา
อุบาสก: “พวกกระผมถกเถยี งกันไม่ตกลง บางคนบอกว่ากอ่ นที่จะน่งั
สมาธิภาวนา ตอ้ งกล่าวค�ำแสดงตนถึงพระรตั นตรยั กอ่ น แลว้ ก็รบั
ศลี จงึ จะท�ำสมาธิให้บังเกดิ ผลได้ บางคนบอกว่าไม่ต้อง สะดวก
สบายตอนไหนก็นงั่ กำ� หนดจิตได้เสมอ ขอฟงั ค�ำแนะนำ� จากหลวงปู่
ครับ”
หลวงป:ู  “เราเคยบอกแลว้ วา่ ตราบใดทมี่ ีลมหายใจก็ท�ำได้ และควรจะ
ท�ำทกุ อิรยิ าบถ ยนื เดิน น่ัง นอน ต้องให้จติ อยูใ่ นจติ มีสติก�ำกบั อยู่
เสมอ
ในการน่งั สมาธนิ น้ั จะเรม่ิ ต้นยงั ไงกต็ ามแต่จะพอใจ ใครจะ
แสดงตนถงึ พระรตั นตรัย สมาทานศลี ก่อนกท็ �ำไป เพราะถงึ อยา่ งไร
มนั ก็ เป็นเพียงแว่นดำ� ที่คนตาบอดสวมใส่ ไมไ่ ด้ช่วยให้มองเหน็
อะไร เพียงแต่ชว่ ยให้คนอ่ืนดดู ขี ้ึนบ้างเทา่ นั้น ท้ังๆ ที่ตัวเองกไ็ มร่ ไู้ ม่
เหน็ วา่ จะดดู ีขึ้นไดอ้ ยา่ งไร”

ต้องตายใหเ้ ป็น

ขอย้อนกลับไปกล่าวถึงเหตุการณท์ ่หี ลวงปู่อาพาธเข้าโรง
พยาบาลอีกคร้งั
หลวงปู่อย่ทู โ่ี รงพยาบาลจังหวัดสุรินทร์เปน็ เวลา ๙ วัน ได้รับ
การดแู ลเอาใจใสจ่ ากนายแพทยแ์ ละพยาบาลตลอดจนเจา้ หน้าท่ีทุก
ฝา่ ยของโรงพยาบาลเป็นอยา่ งดี จนกระท่งั หลวงปู่ทเุ ลาจากโรคร้าย
และหายป่วยโดยสิ้นเชงิ
ในวันที่ ๒๑ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๐๘ ขณะท่เี ตรยี มตวั รอการ
จดั การตามระเบียบ ในการท่จี ะออกจากโรงพยาบาลอยู่นนั้ ผเู้ ขยี น
(พระครนู ันทปัญญาภรณ์ หรือ พระโพธนิ นั ทมุนี ในเวลาต่อมา)
แสดงความยินดีท่หี ลวงปหู่ ายป่วย จะไดอ้ ยเู่ ปน็ รม่ โพธร์ิ ่มไทรและเปน็

248

แสงสว่างแกน่ ักปฏิบตั ติ ่อไป
พร้อมทง้ั ปรารภถึงตนเองวา่ “ถ้ากระผมเองเกดิ ป่วยหนกั ใกล้
จะตาย คงจะท�ำใจไม่ไดอ้ ย่างหลวงป”ู่
หลวงปู่กล่าวแนะนำ� ว่า “ถงึ คราวตาย ต้องตายให้เป็น ต้อง
ตัดสนิ ใจว่า ถึงยังไงกจ็ ะตายแนแ่ ลว้ ไปวิตกทุกขร์ อ้ นหว่ันกลวั ก็ไม่มี
ประโยชน์ จากน้ันต้องสำ� รวมจิตใจใหส้ งบเป็นหนึ่ง แล้วกห็ ยดุ เพง่
ปล่อยวางทั้งหมด สุคติกเ็ ป็นอันหวังไดแ้ นน่ อน ถา้ ยังไม่ถึงทีส่ ดุ ทุกข์
ในตอนนนั้ หากกำ� ลงั เพยี งพอ กอ็ าจหมดปัญหาไปเลย”
จากนน้ั หลวงปู่ก็กลับจากโรงพยาบาลและสิน้ สดุ เรอื่ งราวตอน
อาพาธครงั้ แรกเพียงเท่าน้ี

รว่ มงานศพหลวงปู่ฝั้น

ครนั้ เมอ่ื หลวงปมู อ่ี ายุยา่ งเข้าปที ่ี ๙๑ แล้ว ศษิ ยานุศษิ ยท์ ง้ั
หลายมคี วามภาคภมู ิใจและปราบปลม้ื ยนิ ดเี ป็นลน้ พน้ ที่เห็นหลวงปู่
ยังมีสุขภาพแข็งแรง มีพลานามัยดี
ในระหว่างวันท่ี ๑๙–๒๒ มกราคม ๒๕๒๑ นั้นเอง หลวงปไู่ ด้
เดนิ ทางไปรว่ มพิธพี ระราชทานเพลิงศพทา่ นพระอาจารย์ฝ้ันอาจาโร
ที่วัดป่าอุดมสมพร จงั หวัดสกลนครและได้เข้ารว่ มในพิธสี วดพระพทุ ธ
มนต์ ชักผ้ามหาบังสกุ ุลหนา้ ศพและรบั พระราชทานฉนั ภตั ตาหารใน
พระราชพธิ สี ามหาบอีกดว้ ย ท่ามกลางพระสงฆ์ฝา่ ยอรัญญาวาสีนบั
จำ� นวนเปน็ พันๆ รปู และสาธชุ นพุทธบริษทั จากทัว่ ทุกสารทศิ นบั เปน็
จ�ำนวนแสนๆ เปน็ ประวัตกิ ารณ์ของประเทศไทยและของวงการ
พระพทุ ธศาสนาทเี ดยี ว
ในงานนีห้ ลวงปู่ได้มีโอกาสสนทนาวสิ าสะกบั พระเถระฝ่าย
ธุดงคก์ มั มัฏฐานหลายองค์ เปน็ ต้นว่าท่านพระอาจารย์ออ่ น ญาณสริ ิ
ทา่ นพระอาจารย์เทสก์ เทสรงั สแี ละครูบาอาจารยอ์ งค์อน่ื ๆ อกี
มากมายหลายรปู ทั้งท่รี ้จู ักคนุ้ เคยและไมค่ นุ้ เคย เป็นการยอ้ นถึง

249

บรรยากาศเก่าๆ เม่อื ครงั้ ยงั หาญกลา้ บกุ ป่าฝา่ ดงเพอื่ ผจญจติ ตน
ฝึกฝนใหพ้ น้ ภัยในวฏั สงสาร
เปน็ การสนทนาถึงอดีตแห่งการเดินธดุ งค์ อนั ยงั ให้เกดิ ความ
อาจหาญร่าเรงิ ในทางธรรมเปน็ อยา่ งยิ่ง โดยเฉพาะส�ำหรบั เหลา่ ภกิ ษุ
ผ้อู นชุ นรุ่นหลังๆ ท่เี ง่ียหฟู งั อย่กู ็ใหเ้ กิดพลงุ่ พล่าน ฮกึ เหมิ ในอนั ที่จะ
เจริญรอยตามบรู พคณาจารยท์ ้ังหลายเหลา่ นนั้
เมอ่ื มผี ไู้ ตถ่ ามถงึ พระอาจารยช์ อื่ ดงั ๆ เชน่ หลวงปแู่ หวน สจุ ณิ โน
หลวงปูข่ าว อนาลโย เปน็ ต้น หลวงป่ตู อบว่า
“เคยไดย้ ินช่อื มาแตต่ ้นเหมอื นกนั แตล่ �ำดับความจ�ำไมไ่ ด้ว่า
เคยรว่ มสนทนาหรอื ปฏิบัตธรรมรว่ มกนั ในชว่ งไหนบา้ ง เพราะทา่ น
อาจารย์เหล่านี้ แม้จะมอี ายไุ ลเ่ ลี่ยกับทา่ นกจ็ ริง แตก่ ็เขา้ มาเปน็ ศิษย์
ทา่ นพระอาจารยม์ นั่ ในรุ่นหลงั ๆ”
นอกจากนห้ี ลวงปู่ยงั ไดป้ รารภถึงตวั ท่านเองว่า
“การมาสกลนครคร้งั นี้ เปน็ ครง้ั สดุ ทา้ ยแลว้ ”

ตอบพระราชปุจฉา

เหตุการณ์ทีถ่ ูกบันทกึ ไว้เป็นเกียรตปิ ระวัติของวดั บรู พาราม
จงั หวดั สรุ นิ ทรแ์ ละของหลวงปูใ่ นทนี่ กี้ ็คอื
เมอ่ื วันที่ ๑๘ เดือนธันวาคม พ.ศ.๒๕๒๒ พระบาทสมเด็จ
พระเจา้ อยู่หวั และสมเด็จพระนางเจา้ พระบรมราชนิ ีนาถ พร้อมดว้ ย
พระราชโอรสพระราชธดิ าสองพระองค์ พระราชสนุ ิสาและพระเจ้า
หลานเธอ รวม ๗ พระองค์ ไดเ้ สดจ็ มาทว่ี ดั ในเวลา ๑๘.๔๐ -
๑๙.๓๐ น.
หลังจากตรัสถามถึงสุขภาพพลานามัยของหลวงปแู่ ลว้ ทรง
อาราธนาใหห้ ลวงปแู่ สดงพระธรรมเทศนาและทรงอดั เทปไว้ดว้ ย
เม่อื หลวงปแู่ สดงพระธรรมเทศนาย่อๆ ถวายจบแลว้ พระบาทสมเด็จ
พระเจ้าอยู่หัวไดต้ รัสถามหลวงปู่วา่ “หลวงป่กู ารท่จี ะละกิเลสให้ได้น้นั

250


Click to View FlipBook Version