The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

พระราชวุฒจารย์ (หลวงปู่ดูลย์ อตุโล)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ืทีมงานกรุธรรม, 2022-02-09 22:15:46

พระราชวุฒจารย์ (หลวงปู่ดูลย์ อตุโล)

พระราชวุฒจารย์ (หลวงปู่ดูลย์ อตุโล)

Keywords: พระราชวุฒจารย์ (หลวงปู่ดูลย์ อตุโล)

เปน็ ผล หรอื รางวลั เกยี รตยิ ศแห่งการปฏิบัตดิ ที ีค่ รบู าอาจารย์มอบให้
เป็นกรณพี ิเศษและด้วยเมตตาธรรม
เมอ่ื กราบลาพระอาจารย์ใหญ่แลว้ หลวงปกู่ ็จาริกธดุ งคเ์ สาะ
หาสถานท่ีสงบสงัดเพอ่ื บ�ำเพ็ญเพยี รใหย้ ิง่ ๆ ขน้ึ ไป
หลวงป่ไู ดไ้ ปพกั จ�ำพรรษาที่ อ�ำเภอทา่ บอ่ จงั หวดั หนองคาย
ในคร้งั นน้ั ได้มสี ามเณรออ่ น (ต่อมาคือ หลวงป่อู อ่ น ญาณสริ )ิ ได้
ติดตามไปปรนนบิ ตั หิ ลวงปู่ด้วย
ในพรรษานน้ั มีอบุ าสกอบุ าสกิ าและภกิ ษสุ ามเณร ในบรเิ วณ
ใกลเ้ คยี งพากันแตกตน่ื มาฟงั พระธรรมเทศนาและฝึกปฏิบัตภิ าวนากบั
หลวงป่เู ปน็ จำ� นวนมาก
หลวงปบู่ อกวา่ “มากมายจนแทบไมม่ ที นี่ ัง่ และแทบทกุ คนได้
ประจักษ์ผลแหง่ การปฏบิ ตั ิ”
สานศุ ษิ ย์ท่ไี ปปฏิบัติธรรมกับหลวงปทู่ ีอ่ �ำเภอท่าบ่อ ในคร้งั นั้น
บางทา่ นยังมชี วี ติ อยจู่ นถงึ ปัจจุบันนี้
หลงั ออกพรรษาแล้วหลวงปตู่ ้ังใจวา่ จะเดนิ ทางไปโปรด
ญาตโิ ยมท่จี ังหวัดสุรินทร์ บ้านเกิดเมอื งนอนของทา่ นตอ่ ไป

เหตุอาถรรพท์ ี่ถ้ําผาบิง้

เมือ่ ออกพรรษาแลว้ หลวงปู่ดูลย์ก็เดนิ ธดุ งค์ต่อไปถึงจังหวดั
เลย มสี ามเณรตดิ ตามไปด้วย ๑ รูป หลวงปู่มคี วามประสงค์จะไป
พกั ภาวนาท่ีถํ้าผาบิง้ บ้านนาแก อ�ำเภอวงั สะพุง ซงึ่ เป็นสถานทีร่ ่ํา
ลือกันในด้านความอาถรรพ์ มากไปดว้ ยตำ� นานมหัศจรรย์
ชาวบา้ นตามรายทางที่ผา่ นไปมคี วามเป็นหว่ งหลวงปู่ และ
สามเณรจะได้รับอันตราย จึงได้ทดั ทานไว้
“ทถี่ า้ํ นนั้ พกั ไมไ่ ด้ เพราะมสี ิ่งเรน้ ลบั มหศั จรรย์มีอาถรรพ์แรง
ร้าย”
ความอาถรรพข์ องถํา้ ผาบ้งิ ท่ีรา่ํ ลอื กนั มาเป็นเวลานาน กค็ ือ

101

เมอ่ื ถงึ ยามโพล้เพล้ใกลค้ ่ําจะมเี สยี งพณิ พาทย์ ท้ังเสียงระนาด ฆอ้ ง
กลอง กระห่มึ บรรเลง
พร้อมกนั น้นั ก็มตี ัวประหลาด มองเห็นคล้ายควันดำ� เหาะ
ลอยฉวัดเฉวยี นขึ้นสูอ่ ากาศ แล้วกห็ ายลับไป ไม่ทราบวา่ เป็นตัวอะไร
เปน็ ที่นา่ หวาดหว่ันพร่ันพรงึ แกผ่ พู้ บเหน็ เป็นอยา่ งยง่ิ
โดยปกตวิ สิ ัยของหลวงปูด่ ูลย์ อตโุ ล น้นั ทา่ นไม่เคยเชื่อถอื ในอำ�
นาจส่ิงศกั ด์สิ ิทธท์ิ งั้ หลาย และไมเ่ คยยกย่องสิ่งใด นอกเหนอื ไปจาก
ยดึ มัน่ ในพระรัตนตรัยว่าเป็นสรณะที่พงึ่
ในประวตั ิชีวติ ของท่าน ไม่เคยปรากฏว่าท่านให้ความยอมรบั
ในส่งิ มหศั จรรย์ หรืออภนิ ิหารใดๆ ทั้งสนิ้
แมไ้ ดฟ้ ังเร่อื งเล่า และค�ำทัดทานจากชาวบ้านแถบนน้ั ท่านก็
ไม่ไดห้ วัน่ ไหว โดยวิสยั แห่งศษิ ย์พระตถาคตซ่งึ ไม่กลวั แมก้ ระทั่งความ
ตาย หลวงป่จู งึ ต้องการไปพิสจู นห์ าความจริงของความมหศั จรรย์ที่
ถ้ําผาบิ้งแห่งน้ัน
หลวงปูพ่ าสามเณรไปพกั ปฏบิ ัตภิ าวนาที่ถ�้ำผาบงิ้ ทันทีในวัน
น้นั โดยไม่ตอ้ งเสียเวลาร้งั รอ
หลวงปไู่ ด้สงั เกตพิจารณาดวู ่า สิ่งทชี่ าวบ้านร�ำ่ ลอื นน้ั เป็น
อะไรกนั แน่ ในทสี่ ดุ ท่านก็พบความจริง และเปดิ เผยตอ่ ชาวบา้ น
ความจรงิ กค็ ือเมอ่ื ถงึ เวลาโพล้เพล้จวนใกลค้ ํ่า ค้างคาวที่
อาศยั อย่ใู นถ้ํานัน้ จ�ำนวนนับหมน่ื นับแสนตวั กพ็ ากนั บินพรง่ั พรูเกาะ
กลุ่มชงิ กันออกจากปากถ�ำ้ เพ่ือออกไปหากนิ ปรากฏเปน็ กล่มุ ควนั ดำ�
ฉวัดเฉวยี นพวยพุงข้ึนสอู่ ากาศ บังเกิดเป็นกระแสลมกรรโชกหวีดหววิ
เมอ่ื พัดพุ่งผา่ นโกรกกรวยและรอ่ งรูต่างๆ ตามผนงั ถ�ำ้ ทำ� ใหเ้ กดิ เป็น
เสยี งสูงตํ่ามลี ีลา
เสียงปกี คา้ งคาวกระทบกนั คึกคักแหวกอากาศ ผสมผสาน
สอดคล้องกบั เสียงทีส่ ะทอ้ นจากผนงั ถ้าํ ดังกระหึ่มเปน็ จงั หวะจะโคน
กกึ กอ้ งไปมา ราวกบั เปน็ เสยี งดนตรสี วรรค์ ท่ีเหล่าเทพยดาพากัน
บรรเลงดว้ ยพณิ พาทย์ระนาดกลองฉะน้ัน

102

กลุม่ คา้ งคาวเป็นหมนื่ เป็นแสน ทบ่ี ินฉวดั เฉวยี นพวยพงุ่ ออก
จากถำ�้ เป็นเส้นสายยักยา้ ยไปมาก็ดูประหน่ึงมงั กรเทพยดา หรือสัตว์
วิเศษในเทพนยิ ายปรัมปราท่เี ล่าสืบๆ กนั มาพงุ่ เลอ้ื ยหายไปในอากาศ
ประจักษแ์ ก่สายตาชาวบ้านปา่ ทตี่ ะลงึ มองอย่างขนลกุ ขนชันดว้ ย
ความหวาดหว่นั ระย่อยำ� เกรง
หลวงปู่ไดน้ ำ� ความจรงิ มาเปดิ เผยให้ชาวบ้านฟงั จนเป็นที่
หวั เราะขบขนั ของชาวบา้ นแถบนนั้ ความหวาดหวนั่ เกรงกลัวใน
อาถรรพข์ องถาํ้ ผาบิ้ง ทเี่ ช่ือถอื กนั มานานก็หมดไป

สนทนาธรรมกบั พระอาจารยใ์ หญ่

ในชว่ งเวลาระหวา่ งปี พ.ศ. ๒๔๖๓ จนถงึ ปี พ.ศ. ๒๔๗๔ แม้
ไม่มีรายละเอียดชี้ชัดว่า ในแต่ละพรรษาหลวงปดู่ ูลยจ์ ารกิ ไปปรารภ
ธรรม ณ ทีใ่ ด และคน้ พบขอ้ ธรรมลา้ํ ลึกประการใด แต่ก็น่าเชือ่ เปน็
อย่างย่งิ ว่า หลวงป่ดู ลุ ย์ อตโุ ล ยงั คงจารกิ ธดุ งคว์ นเวยี นอย่แู ถบ
เทอื กเขาภูพาน อันเป็นทสี่ งบสงัด เหมาะแกก่ ารบำ� เพญ็ ภาวนา
สำ� หรับพระธุดงค์
นอกจากนน้ั หลวงปกู่ ็เดินทางไปโปรดญาตโิ ยมที่จังหวดั
สรุ นิ ทร์ บา้ นเกดิ ของท่านเป็นบางครัง้ บางคราว
หลวงป่พู ักปฏิบัตธิ รรมทีถ่ �ำ้ ผาบิง้ อยูป่ ระมาณ ๑ เดือน แล้วก็
ออกจารกิ ธดุ งค์ต่อไปทาง อ�ำเภอบา้ นผือ จังหวัดอดุ รธานี แล้วเลย
ไปยัง อ�ำเภอวารชิ ภูมิ จังหวดั สกลนคร ได้พบและกราบมนสั การ
พระอาจารยใ์ หญม่ ่นั ภรู ทิ ตฺโต ทนี่ นั่ อกี คร้งั หนึ่ง
การพบกบั พระอาจารย์ใหญ่ในคร้ังนี้ ไม่ปรากฏว่ามีการกราบ
เรียนถึงผลการปฏบิ ตั ิ หรอื มขี ้อแนะน�ำจากพระอาจารยใ์ หญเ่ กย่ี วกับ
แนวทางปฏิบตั ติ ่อไปอกี อนั ใด หากแต่เน้นหนกั ในเร่อื งสนทนาธรรม
ในเร่ืองลกึ ๆ และเปน็ เรื่องเกย่ี วกับจติ ลว้ นๆ อันยงั ผลใหเ้ กดิ ความ
อาจหาญรา่ เรงิ ในธรรมปฏบิ ตั ิแตอ่ ยา่ งเดยี ว

103

การสนทนาธรรมระหว่างพระอาจารยใ์ หญ่ กบั หลวงป่ดู ุลย์ใน
ช่วงนี้แตล่ ะครั้งจะใชเ้ วลานานๆ บรรดาลูกศษิ ยล์ ูกหาต่างเชอื่ กนั วา่
ชว่ งนน้ั หลวงปดู่ ุลยค์ งจะมคี ุณธรรมสมควรแก่การสนทนาธรรมแล้ว
อย่างแน่นอน
หลวงปูพ่ กั อยู่กบั พระอาจารยใ์ หญ่ระยะหนงึ่ แล้วกก็ ราบลา
ออกเดนิ ทางต่อไป โดยมเี ปา้ หมายอยทู่ ี่จังหวัดสรุ นิ ทร์ ในระหว่าง
ทางมกี ารแวะพกั เพอื่ บำ� เพญ็ ภาวนา และเผยแผ่ธรรมะแกผ่ สู้ นใจตาม
โอกาสอันควร

โนม้ นา้ วใจพระมหาปิ่น

หลังจากหลวงปู่ดลู ย์ อตุโล กราบลาพระอาจารยใ์ หญ่มน่ั ภู
ริทตฺโต แล้วก็ออกเดนิ ทางจากบา้ นผอื อดุ รธานี มุ่งไปจังหวัด
สุรนิ ทร์
ในระหว่างทางหลวงปไู่ ด้แวะเย่ยี ม หลวงปู่สงิ ห์ ขนฺตยาคโม
พระสหธรรมิกผู้มีคุณูปการใหญ่หลวงแก่ท่าน
ขณะนนั้ หลวงปู่สงิ หพ์ �ำนกั อยใู่ นแถบจังหวดั กาฬสนิ ธุ์
มีเหตกุ ารณส์ �ำคัญอย่างหนงึ่ ทีค่ วรกลา่ วถึง แตไ่ ม่สามารถกำ� หนด
กาลเวลาแน่ชัดวา่ เหตกุ ารณน์ เี้ กิดในปีพ.ศ.ใดแน่ นน่ั คอื เร่อื งราวท่ี
หลวงป่สู งิ ห์กบั หลวงปูด่ ูลย์ ไดร้ ว่ มมือกนั ไปโน้มนา้ วใจทา่ นพระมหา
ปนิ่ ปญฺญาพโล พระน้องชายของหลวงปู่สงิ ห์ ใหเ้ ปลยี่ นหนทางจาก
การม่งุ แต่ปรยิ ตั มิ าอย่ฝู า่ ยปฏิบัติได้ในท่ีสุด
เรื่องมอี ยูว่ ่าพระมหาป่นิ ปญญฺ าพโล เป็นเปรียญธรรมจากส�ำ
นกั วัดบวรนิเวศวิหาร มีความรดู้ ้านพระปริยัตธิ รรมอยา่ งแตกฉาน
เดินทางจากกรงุ เทพฯมาเป็นครสู อนพระปรยิ ัติธรรมท่วี ดั สทุ ศั นาราม
จงั หวดั อุบลราชธานี
ท่านพระมหาปิ่นสนใจแต่ทางปรยิ ตั ิอยา่ งเดยี วไม่น�ำพาตอ่ การ
บ�ำเพ็ญภาวนาฝกึ ฝนจิตและธุดงคก์ ัมมฏั ฐานเลย

104

หลวงปู่สงิ หจ์ ึงชักชวนหลวงปูด่ ลู ย์ ใหเ้ ดินทางไปจงั หวดั
อุบลราชธานี เพื่อให้ชว่ ยชกั น�ำพระมหาป่ินใหส้ นใจในทางปฏิบัตพิ ระ
กมั มฏั ฐานบ้าง ไม่เช่นนน้ั จะไปไมร่ อด
หลวงปูท่ งั้ ๒ องคไ์ ด้พักจำ� พรรษาที่ วดั สทุ ศั นาราม วัดที่
ท่านเคยอยู่มาก่อน คราวนที้ ่านไดป้ ลูกกฏุ ิหลงั เล็กๆ อยูต่ า่ งหาก
ปฏิบตั ิพระกัมมฏั ฐานอยา่ งเคร่งครัด แลว้ กค็ อ่ ยๆ โน้มน้าวจติ ใจให้
พระมหาป่ินเกดิ ความศรทั ธาเลอื่ มใสทางด้านการปฏบิ ัตดิ ้วย
ทงั้ หลวงปู่สงิ หแ์ ละหลวงปู่ดลู ย์ ไดช้ ้แี จงแสดงเหตุผลวา่ ใน
การครองเพศสมณะนั้น แม้ว่าได้บวชมาในพระบวรพทุ ธศาสนาก็นับ
วา่ ดปี ระเสรฐิ แล้วถา้ หากมีการปฏบิ ตั ใิ ห้รู้แจง้ ในธรรมกจ็ ะยิ่งประเสรฐิ
ขนึ้ อีก คือจะเปน็ หนทางออกเสยี ซง่ึ ความทุกข์ ตามแนวค�ำสอนของ
องค์สมเด็จพระสมั มาสัมพทุ ธเจา้
ท่านพระอาจารยป์ ่ิน ปญฺญาพโล เปน็ พระสงฆท์ มี่ สี ติปญั ญา
พจิ ารณาปฏิปทาขอ้ วตั รปฏิบัตธิ รรม พร้อมท้ังค�ำเทศนข์ องพระ
อาจารยท์ ้งั ๒ องค์ ทไี่ ด้กระทำ� เป็นแบบอยา่ ง กเ็ กดิ ความเลอ่ื มใส
เปน็ อย่างย่งิ
โดยปกตแิ ล้วหลวงปสู่ งิ ห์และหลวงปู่ดลู ย์เป็นนกั ปฏิบตั ธิ รรม
ขนั้ สูง แมจ้ ะมีความอาวุโส แต่กม็ ลี กั ษณะประจำ� ตัวในการรจู้ กั
นอบน้อมถอ่ มตนระมัดระวังกาย วาจา ใจ ไมค่ ยุ โมโ้ อ้อวดว่าตนเอง
ไดธ้ รรมขึน้ สงู และเห็นวา่ ธรรมะเป็นสมบตั ิอันลํ้าค่าของนักปราชญ์
มาประจำ� แผ่นดนิ ซ่งึ ควรระมดั ระวังใหส้ มกบั ผ้มู ีภมู ิธรรมในใจ
ทา่ นพระอาจารยม์ หาป่นิ ได้พจิ ารณารอบคอบดว้ ยเหตุด้วย
ผลแล้ว พอถึงกาลออกพรรษาจงึ รบี เตรียมบริขาร แล้วออกธุดงค์
ติดตามหลวงปสู่ งิ ห์ พระพีช่ ายไปทกุ หนทกุ แห่ง ทนตอ่ สกู้ ับอุปสรรค
ยากไร้ ทา่ มกลางป่าเขา มงุ่ หาความเจรญิ ในทางธรรมจนสามารถ
รอบรูธ้ รรมด้วยสติปัญญาของทา่ นในกาลต่อมา
ผูป้ ฏิบตั ธิ รรมเม่อื รู้ธรรมอันสมควรแล้ว มกั จะมองยอ้ นมาดู
ตวั เองทีเ่ คยน�ำชีวติ ผ่านมา ท�ำให้เกดิ ความสงสารสลดใจในสงิ่ ทีผ่ ่าน

105

มา ซึ่งจะเหน็ ว่าแทจ้ ริงแลว้ ความทุกข์รอ้ นวนุ่ วายใจ มักเกดิ จากสิ่ง
ภายในใจเราทงั้ ส้นิ คอื กิเลส ตัณหา อุปาทาน มนั กอ่ ขึน้ ภายในใจ
จนตอ้ งดน้ิ รนอย่างน่าเวทนาย่งิ
กเิ ลส หรือ ความทุกขท์ ้งั หลาย เมือ่ เกดิ ขึ้นภายในจิตใจเรา
แล้ว ไม่มีอะไรจะรักษามนั ได้นอกเสียจากต้องรกั ษาดว้ ยธรรมะ ท่ีเกดิ
จากความเพียรด้วยตวั ของเรา ตามแบบอยา่ งของศากยบตุ รพทุ ธ
สาวกท้งั หลายทท่ี ่านเคยท�ำมาแลว้ แต่คร้ังพุทธกาล
การทพ่ี ระอาจารยม์ หาปนิ่ ปญั ฺญาพโล ออกธดุ งค์กมั มฏั ฐาน
ในคร้ังนน้ั ประชาชนในภาคอสี าน ได้แตกตื่นช่ืนชมกันมากวา่ “พระ
มหาเปรียญธรรมหนมุ่ จากเมอื งบางกอก ไดอ้ อกฝกึ จติ ด�ำเนนิ ชีวิต
สมณเพศ ตดั บว่ งไม่ห่วงอาลยั ในยศถาบรรดาศกั ดิ์ ออกปา่ ดง เดิน
ธุดงคก์ ัมมฏั ฐานฝึกสมาธภิ าวนาเป็นองคแ์ รกในสมัยนนั้ ”
ชือ่ เสียงของพระอาจารย์มหาปน่ิ ปญฺญาพโล ในครัง้ น้ันจงึ
หอมฟุ้งร่ําลือไปไกล ท่านได้ยืนเคียงบ่าเคยี งไหลก่ บั พ่ีชาย คอื หลวง
ปู่สิงห์ ขนฺตยาคโม นำ� กองทพั ธรรม ออกเผยแพร่พระธรรมค�ำสอน
ในสายพระธรรมกมั มัฏฐาน จนมผี ้เู ล่อื มใสศรัทธาอยา่ งกวา้ งขวางมา
จนปจั จบุ ัน

กลับสรุ นิ ทร์ถ่นิ กำ� เนดิ


นับแตห่ ลวงปดู่ ลู ย์ อตโุ ล จารกิ จากวัดจุมพลสทุ ธาวาส อำ�
เภอเมือง จังหวัดสุรนิ ทร์ ไปพ�ำนักยังวดั สทุ ศั นาราม อำ� เภอเมอื ง
จงั หวดั อบุ ลราชธานี เมอ่ื ปี พ.ศ. ๒๔๕๙
หลวงปูเ่ ริ่มศกึ ษาด้านพระปรยิ ัติ สอบไดเ้ ป็นนักธรรมชัน้ ตรี
นวกภูมินับเปน็ ร่นุ แรกของจงั หวัดอุบลราชธานี ขณะเดยี วกัน ก็ได้
เรียนบาลไี วยากรณ์ทเ่ี รียกวา่ “มูลกัจจายน”์ จนสามารถแปลพระ
ธรรมบทได้
จากนนั้ เมอ่ื ไดรจู้ กั กบั หลวงปสู่ งิ ห์ ขนตฺ ยาคโม ไดก้ ราบ

106

นมสั การฝากตวั เปน็ ศษิ ยก์ มั มฏั ฐานของพระอาจารยใ์ หญม่ นั่ ภรู ทิ ตโฺ ต
ชวี ิตแห่งสมณะของหลวงปูก่ แ็ ปรเปลีย่ นจากการท่ีเคยมุ่งหวงั การ
ศกึ ษาด้านพระปรยิ ตั ิ หนั เข้าหาทางดา้ นการปฏิบตั ิ
หลวงปู่ออกจาริกธดุ งคไ์ ปตามป่าเขาลำ� เนาไพร แสวงหา
สจั ธรรมตามรอยพระบาทองค์สมเดจ็ พระบรมศาสดา
จนปี พ.ศ. ๒๔๖๖ รวมเปน็ เวลา ๗ ปี หลวงปู่จึงไดค้ นื กลับ
ไปยงั จังหวดั สุรนิ ทร์ บา้ นเกิดของท่าน เพอื่ เป็นการสงเคราะห์ญาติ
การมาสุรินทร์ของหลวงปู่ในครง้ั น้ี เปน็ การมาแบบพระธดุ งค์
ครบเครอ่ื งดว้ ยภมู ิปัญญาทแี่ ก่กล้า ดว้ ยจรยิ าวัตรทไี่ ม่เบียดเบยี น
หลวงปู่มาพำ� นกั อยูท่ี วดั นาสาม ต�ำบลนาบวั อ�ำเภอเมือง
ซง่ึ อยู่หา่ งจากตวั เมอื งสรุ ินทร์ไปทางทศิ ใตป้ ระมาณ ๑๕ กโิ ลเมตร
การมาสุรนิ ทร์ของหลวงปูใ่ นคร้ังนน้ั ถอื ไดว้ า่ กรแุ ห่งพระ
ธรรมไดเ้ ปดิ ขึน้ แกช่ าวสุรนิ ทรแ์ ลว้ ไดส้ ร้างความแตกตน่ื ให้กับชาว
บ้านเปน็ อยา่ งมาก
โดยเฉพาะชาวบา้ นแถบต�ำบลนาบวั และตำ� บลเฉนยี ง ไดพ้ า
กันแตกตืน่ พระธุดงคเ์ ป็นการใหญ่ พากันไปฟงั พระธรรมเทศนา และ
บ�ำเพญ็ สมาธิภาวนากับหลวงปู่ดลุ ยอ์ ย่างล้นหลาม จนกระท่งั วัดนา
สามไมม่ ที ี่จะนัง่
เมอื่ จวนจะถงึ วันเขา้ พรรษา หลวงปูเ่ หน็ ว่าวัดนาสามต้งั อยใู่ น
ละแวกชมุ ชนมากเกินไป ไม่เหมาะท่ีจะวเิ วก และปรารภธรรมตาม
แบบอยา่ งของพระธดุ งค์
หลวงปู่จงึ ไดไ้ ปพ�ำนกั ท่ีป่าบา้ นหนองเสมด็ ตำ� บลเฉนียง ซ่งึ
อยูห่ า่ งจากวัดนาสามไปทางตะวันออกเฉยี งเหนือ ประมาณ ๑๐
กโิ ลเมตร สมมติสถานท่นี ั้นขน้ึ เปน็ สำ� นกั ปา่ อธษิ ฐานจำ� พรรษา ณ
ทีน่ น่ั
บรรดาญาติโยมทีม่ าปฏิบัตธิ รรมกบั หลวงปู่ เรมิ่ ประสบผลใน
ทางปฏบิ ตั ิกไ็ ดพ้ ากันเดนิ ทางติดตามไปปฏบิ ตั ิทส่ี �ำนกั ปา่ บ้านหนอง
เสม็ด แมจ้ ะตอ้ งเดินดว้ ยเท้าร่วม ๑๐ กโิ ลเมตร กไ็ มล่ ดละหวงั จะได้

107

เจรญิ สมาธภิ าวนาให้มคี วามกา้ วหนา้ และฟงั พระธรรมเทศนาทมี่ ี
รสชาตซิ าบซง้ึ ถึงใจอยา่ งชนดิ ไมเ่ คยไดฟ้ งั จากทใี่ ดมาก่อน

สรรเสรญิ และนนิ ทาเปน็ ธรรมดาของโลก

เปน็ ธรรมดาของโลก ยอ่ มหนีไม่พ้นกฎแหง่ โลกธรรม คอื
เมอ่ื มสี รรเสริญ ก็ยอ่ มมนี นิ ทา เปน็ ของคกู่ ัน
การมาต้งั ส�ำนกั ปฏบิ ตั ิธรรมทบ่ี า้ นหนองเสม็ด ของหลวงปู่ ก็
มีท้งั ฝ่ายทีศ่ รัทธาชืน่ ชอบ และฝา่ ยต่อต้านทำ� ลาย เช่นเดยี วกนั เมอ่ื
มีคนรัก กย็ อ่ มมคี นไมช่ อบ ตามตดิ เหมือนเป็นเงา ถือเปน็ เรอ่ื งปกติ
ธรรมดา
ทางด้านดี บัณฑิตทง้ั หลายยอ่ มยกย่องสรรเสริญ ว่าหลวงปู่
เป็นผู้ประกาศธรรม ดว้ ยการลงมอื ปฏิบัตดิ ้วยตนเอง บรรดาผทู ี่รู้ ผู้
ท่ีชอบ ผทู้ ่ีสนใจ ผู้ทีศ่ รัทธา ก็ร่วมกันท�ำนบุ ำ� รุง ส่งเสรมิ และกราบ
ฝากเนอ้ื ฝากตวั เปน็ ลูกศษิ ย์ ฝกึ ปฏบิ ตั ธิ รรมกบั หลวงปู่
อกี ดา้ นหนงึ่ ถือเปน็ พวกมดื บอดตอ่ สัจธรรม กม็ ีปฏกิ ิรยิ าใน
ทางตอ่ ต้านคดั ค้าน ดว้ ยการด่าว่าใหเ้ สียหาย วางอุบายท�ำลายจนถึง
ขั้นลงมือท�ำร้ายหลวงปู่กม็ ี แตก่ ็มีอันแคล้วคลาดปลอดภัยด้วยอำ� นาจ
พทุ ธคณุ และดว้ ยคุณธรรมความดีของหลวงปู่
ค�ำพดู ทก่ี ระทบเสียดสีเปรียบเปรยหลวงปู่ เช่น “มวี ัดใหอ้ ยู่ ก็
ไมอ่ ยู่ กลับไปอยู่ป่าเหมอื นชะมด มขี า้ วใหก้ นิ ทกุ มอ้ื กก็ ินมอ้ื เดยี ว
เหมอื นคนอนาถา มถี ว้ ยชามให้ใช้กลบั ไม่ใช้ เอาแกงเอากับคลกุ ขา้ ว
ในบาตรกินเหมอื นแมว …”
เมอื่ เสยี งต�ำหนิเหลา่ นัน้ แวว่ เข้าหู หลวงปกู่ ไ็ ด้แตย่ ิ้มๆ ไม่ได้
โต้ตอบอะไร
หลวงปยู ่ังคงต้งั หน้าตั้งตาสงั่ สอนอบรมบรรดาลกู ศิษยล์ ูกหา
ด้วยความหนักแน่น และเตม็ เป่ียมดว้ ยเมตตา ท�ำให้จ�ำนวนผทู้ ่ี
ศรทั ธาเลอื่ มใสขยายวงกวา้ งออกไปเร่ือยๆ

108

ได้ศษิ ยส์ ำ� คัญ

ในบรรดาญาตโิ ยมท่ตี ิดตามไปปฏบิ ตั ิธรรมกบั หลวงปู่ทสี่ ำ� นัก
ปฏบิ ัตธิ รรมบ้านเสม็ดอยูเ่ ปน็ ประจำ� นัน้ มอี ุบาสิกาท่ีสนใจธรรมของ
หลวงปู่อย่างยิง่ คนหนึ่งช่ือ นางเหรียญ เมอื งไทย
นางเหรยี ญ เปน็ ชาวบ้านกะทม ต�ำบลนาบัว อำ� เภอเมอื ง
สรุ นิ ทร์ มศี รัทธาตอ่ หลวงปอู่ ยา่ งแรงกล้า มักจะพาบตุ รชาย อายุ
๑๒ ปี ชอื่ ด.ช.โชติ เมืองไทย มาปฏบิ ตั ธิ รรมกบั หลวงปเู่ ปน็ ประจ�ำ
เด็กชายโชติ มอี ุปนสิ ยั ชอบความสงบ ได้มาสมั ผัสกบั บรรยากาศ
เงยี บสงดั ของวดั และไดป้ ฏบิ ตั ภิ าวนากับหลวงปกู่ ต็ ิดใจไม่อยากกลับ
บา้ น
นางเหรียญ ผู้มารดา จึงมอบถวายบตุ รชายให้อย่คู อยรบั ใช้
อปุ ฏั ฐากหลวงปู่เสยี เลย
เด็กชายโชติ เป็นเด็กฉลาด มีสตปิ ญั ญาดี ได้ฝกึ ปฏิบัตภิ าวนา
และเรยี นรธู้ รรมวินัยเปน็ อยา่ งดี อกี ทง้ั มใี จศรัทธาต่อพระศาสนา
หลวงปู่จึงไดจ้ ัดการบรรพชาใหเ้ ป็นสามเณร
ผู้สนใจศกึ ษาประวัตคิ รูบาอาจารยส์ ายพระกัมมฏั ฐาน คงจะ
ทราบเรอ่ื งราวของสามเณรโชติองค์น้ีดี ดว้ ยท่านสามารถจ�ำก�ำเนิด
หรอื ระลกึ ชาติได้ คือในชาติก่อนทา่ นเป็นพชี่ ายของนางเหรียญ
มารดาในชาตปิ จั จุบัน ด้วยความรักและหว่ งใยในนอ้ งสาว เม่อื ท่าน
ปว่ ยและถึงแก่กรรมก็ไดม้ าเกดิ ใหมเ่ ปน็ ลูกของนางเหรียญ น้องสาว
ของตน
เร่ืองราวระลึกชาตขิ องสามเณรโชติ หรือหลวงปู่โชติ คุณสมฺ
ปนโฺ น จะของดกล่าวในท่ีนี้ ผสู้ นใจคงค้นหาอ่านจากแหล่งอืน่ ไดไ้ ม่
ยากนัก
สามเณรโชตเิ ป็นคนขยนั ขนั แขง็ มอี ุปนสิ ัยออ่ นโยน ว่านอน
สอนง่ายจงึ ปรากฏในภายหลังวา่ เป็นผเู้ จริญในสมณวสิ ัย ประกาศสุ

109

ปฏิบัติ เป็นกำ� ลังใหญ่ในกิจพระศาสนา เปน็ ท่ีนับถอื บูชาและรจู้ กั กนั
ดใี นหมู่สาธชุ นผ้ใู ฝ่ธรรมทัว่ ประเทศ
สามเณรโชติ เมอื งไทย นเี่ องท่ตี อ่ มาไดต้ ิดตามหลวงปดู่ ลู ย์
บุกเขาล�ำเนาไพรอย่างใกล้ชดิ รับรคู้ วามเป็นธรรมชาตแิ ห่งความเปน็
ธรรมดาของพระอาจารย์ของตน และได้ยึดถอื วัตรปฏิบตั ิแห่งพระ
อาจารยเ์ ป็นแนวทางกระทง่ั เปน็ ท่ียอมรับนับถอื ในหมูพ่ ุทธศาสนกิ ชน
อยา่ งกวา้ งขวาง
สามเณรโชติ เมืองไทย ในระยะเวลาตอ่ มาก็คือ หลวงปู่โชติ
คณุ สมปฺ นฺโน แห่งวัดวชิราลงกรณ์ อ�ำเภอปากชอ่ ง จงั หวดั
นครราชสมี า นัน่ เอง
สมณศกั ดิ์ครง้ั สดุ ท้ายของหลวงปูโ่ ชติ กค็ ือ พระเทพสทุ ธา
จารย์ เร่ืองราวเกีย่ วกับคณุ ธรรมของทา่ นมีมากมาย ท่านมรณภาพ
เมือ่ ปี พ.ศ. ๒๕๑๘ หลวงป่ดู ลู ย์ อตุโล ได้เมตตานำ� พาสงั ขารวัย ๘๘
ของทา่ นเดินทางไปเผาศษิ ย์รกั ของท่านเม่ือวันที่ ๓ เมษายน ๒๕๑๘
ทว่ี ดั วชิราลงกรณ์ อ�ำเภอปากชอ่ ง จังหวดั นครราชสีมาในครง้ั นน้ั
ด้วย

ผจญภัยควายป่า


ในช่วงที่หลวงป่ดู ูลย์ อตโุ ล พ�ำนกั อย่ทู ี่ส�ำนักสงฆ์บ้านหนอง
เสมด็ น้ัน เมอื่ ถงึ ฤดกู าลออกพรรษาหลวงป่มู กั จะพาพระภิกษุ
สามเณร และฆราวาสผู้สนใจรวมเปน็ คณะเล็กๆ ออกธุดงค์ลงทางทศิ
ใตจ้ งั หวดั สุรินทรเ์ สมอๆ โดยเฉพาะตามเทอื กเขาพนมดงเร็ก ไปทาง
เขาพระวหิ ารและเขา้ ไปในเขตประเทศกมั พชู า เทอื กเขาพนมดงเรก็
หรือดงรกั น้ันเรยี กตามภาษาเขมร ซงึ่ เรยี กตามรูปลักษณแ์ ห่งภเู ขา
ทีม่ องเหน็ แต่ไกล มีลกั ษณะคลา้ ยไมค้ าน ทใ่ี ชห้ าบของ ซ่ึงภาษา
เขมรเรียกว่า “ดองแรก็ ”
บรเิ วณตอนใตข้ องจังหวดั สุรินทร์ แถบเทอื กเขาดงเรก็ ในสมยั

110

นนั้ เป็นปา่ รกชฎั ในลกั ษณะปา่ ดงดบิ ต้นไม้ใหญ่ๆ ขนาด ๓ คนโอบ
ขน้ึ หนาทบึ สตั ว์ป่ามีมากมาย สัตวร์ ้าย เช่น ช้างป่า เสอื หมี ก็มี
ชุกชุม แตภ่ าพเหล่านีก้ ็ไดก้ ลายเป็นอดีตไปเสยี แล้ว
แตก่ ล่าวส�ำหรบั คนสุรนิ ทร์ คนศรสี ะเกษและคนบรุ รี ัมย์ ที่
มอี ายุ ๖๐ ปลี ว่ งแลว้ ยังฝังใจกับสภาพปา่ ดงเหล่านนั้ เป็นอย่างดี
การออกธดุ งคข์ องหลวงปดู่ ุลย์ หลงั ออกพรรษาในปีนั้น ทา่ น
ได้พาสามเณรโชติ กบั สามเณรทอน ออกธดุ งค์ไปตามเทือกเขาพนม
ดงเรก็ ไปทางเขาพระวหิ าร เขา้ เขตจอมกระสาน ในประเทศกัมพชู า
การเดนิ ทางเปน็ ไปดว้ ยความยากล�ำบาก เพราะต้องฝา่ ป่ารกชัฎ และ
มีสัตวร์ ้ายชุกชมุ
เวลากลางคนื แตล่ ะองคป์ กั กลดให้ห่างกันพอสมควร ตาม
แบบฉบบั ของพระธดุ งค์ ซ่งึ หลวงปู่ถือปฏบิ ัตอิ ยา่ งเครง่ ครัด
สามเณรโชติ เมอื งไทย ไดเ้ ล่าเหตุการณผ์ จญภัยของหลวงปู่
คราวออกธดุ งค์คร้งั นัน้ ในภายหลัง เมอ่ื ทา่ นมสี มณศักดท์ิ ่ี พระเทพ
สทุ ธาจารย์ ดังน้ี
ในคราวเดินทางตอนหนึ่ง หลวงปู่เดนิ น�ำหน้า ท้งิ สามเณรทง้ั
สองหา่ งออกไป สามเณรตามไมท่ นั
พลนั ควายป่าตัวหน่ึง ต่นื เตลิดมาจากไหนไมท่ ราบ วิ่งมาข้าง
หลัง สามเณรทง้ั สองหลบเข้าขา้ งทาง ปีนหนขี ้นึ ต้นไมอ้ ยา่ งว่องไว
ควายปา่ ตรงรี่ พุ่งเขา้ ขวดิ หลวงปู่เต็มแรง จนหลวงปู่กระเดน็
ลม้ ลง แล้วมนั ก็ตรงเขา้ ขวดิ ฟดั ฟาดซ้ำ� หลายตลบ รา่ งหลวงปูก่ ล้ิงไป
กลงิ้ มาตามแรงของมันจนสาแก่ใจแล้ว ควายมันจงึ เตลดิ วงิ่ หายไปใน
ป่าทึบ
สามเณรท้งั สองตกใจมาก รีบลงจากตน้ ไม้มาประคองหลวงปู่
แตต่ อ้ งตะลึงด้วยความมหัศจรรย์ เหน็ จีวรทา่ นขาดกะรุ่งกะรง่ิ จน
ไมม่ ีช้นิ ดี แตร่ ่างกายทา่ นไม่เปน็ อะไรเลย เพราะเขาควายขวิดถูกแต่
ตามซอกแขน ซอกขาของท่านเท่านน้ั
ในภายหลัง เมือ่ ญาติโยมเขา้ กราบนมสั การเพอ่ื ขอให้หลวงปู่

111

ประพรมน้ํามนต์ และขอของขลงั ของวิเศษ หลวงปู่มักจะพูดแตเ่ พยี ง
วา่ “อาตมามิได้มีปาฏหิ ารยิ ”์ และหลวงปูไ่ มเ่ คยพูดถึงเรอ่ื งปาฏหิ าริย์
หรอื ใสใ่ จในเรอื่ งเหลา่ นน้ั เลย ทา่ นเน้นแตเ่ รอ่ื งการบรกิ รรมภาวนา
เพื่อสรา้ งพลังจิต และสรา้ งความบรสิ ุทธ์ใิ ห้แกต่ นเอง

เดินทางเข้ากรุงเทพฯ

หลงั กลบั จากธดุ งค์ หลวงปู่กม็ าพำ� นกั ทเี่ สนาสนะปา่ บา้ น
หนองเสมด็ ตามเดิม มบี างครั้งกไ็ ปอยู่ท่ี วดั ปราสาท สถานท่ีเกิด
ของทา่ น เพ่อื โปรดญาติโยม ณ ที่นั้นบา้ งตามสมควร พอจวนจะเขา้
พรรษาอกี ครงั้ หลวงปู่ไดด้ ำ� รทิ จี่ ะเรียนพระปริยตั ิธรรมเพม่ิ เตมิ ขึ้น
อกี บา้ ง จงึ ไดเ้ ดินทางเขา้ กรุงเทพฯ ในครงั้ นั้นไดพ้ าสามเณรโชตไิ ป
ดว้ ย
หลวงปู่ได้นำ� สามเณรโชติ ไปฝากให้อยศู่ ึกษาพระปริยตั ิธรรม
ที่วัดสุทธจนิ ดา จงั หวัดนครราชสีมา แลว้ ทา่ นเองกเ็ ดินทางเข้า
กรุงเทพฯ พักจ�ำพรรษาอยูท่ ่ี วัดสัมพนั ธวงศาวาส (วดั เกาะ)
แต่แรกเขา้ กรงุ เทพฯ หลวงปตู่ ้ังใจจะเรียนพระปรยิ ัติธรรม
แตป่ รากฏวา่ จิตใจของท่านโนม้ เอยี งไปทางธดุ งค์กัมมฏั ฐานมากกวา่
จิตใจจึงไม่ถูกกับเรื่องการเรียนหนังสอื เลยดำ� รทิ จี่ ะศึกษาดา้ นปริยตั ิ
ธรรมจึงเปน็ อนั ต้องยกเลิกไป
หลวงปู่อย่ปู ฏิบัตภิ าวนา และโปรดญาติโยมที่วัดสัมพนั ธวงศา
วาส ตลอดพรรษานัน้
เมอ่ื ออกพรรษาแลว้ ท่านก็ออกเดนิ ธุดงคไ์ ปทางจงั หวัดลพบรุ ี

ไปภาวนาท่ถี ํ้าอรหันต์ ลพบุรี

เมือ่ หลวงป่ไู ปถงึ จังหวดั ลพบุรี ไดไ้ ปพำ� นกั กับ พระอาจารยอ์ �่ำ
ซ่ึงต่อมาภายหลงั มสี มณศักดิท์ ่พี ระเทพวรคณุ เจา้ อาวาสวดั มณีชล

112

ขันธ์
หลวงปู่พำ� นกั ท่ีจงั หวัดลพบรุ เี ปน็ เวลา 3 เดือน พระอาจารย์
อ่ำ� ทราบอธั ยาศัยของหลวงปู่วา่ ท่านมุ่งแสวงหาความวเิ วก เพ่อื บำ�
เพญ็ ธรรมใหย้ ่ิงๆ ขนึ้ ไป จึงไดพ้ าหลวงปไู่ ปพำ� นักที่ ถา้ํ น้ําจนั ทร์ ซงึ่
ต่อมาเรยี กว่า ถํา้ อรหนั ต์
ทช่ี าวบ้านเรียกถํ้าแห่งนว้ี า่ “ถาํ้ นํา้ จนั ทร์” หรือ “ถ้าํ นา้ํ ” ก็
เพราะภายในถํ้าแห่งนม้ี แี อ่งนํ้าขนาดเล็ก น้ําใสสะอาดและมีกลน่ิ หอม
หลวงปตู่ ้ังใจว่าจะบำ� เพญ็ ภาวนาอยทู่ น่ี ่ไี ปเร่ือยๆ อยา่ งไม่มีก�ำ
หนด แต่แล้วทา่ นก็ไมอ่ าจอยู่ทนี่ น่ั ให้เนน่ิ นานไปอีกได้
วันหน่งึ ขณะท่ีหลวงปกู่ ำ� ลังสรงน้�ำ ก็ได้เหน็ พระมหาพลอย
อปุ สโม (จฑุ าจนั ทร์) มาจากวัดสมั พันธวงศาวาส กรงุ เทพฯ เดินทาง
ตามหาหลวงปูจ่ นพบ
พระมหาพลอย กราบเรียนทา่ นถงึ จดุ มงุ่ หมายของการเดิน
ทางมาครั้งนีว้ ่า
“โยมของกระผม ตลอดจนอุบาสก อุบาสิกาทางเมอื งสุรนิ ทร์
ผ้สู นใจประพฤตธิ รรม และพอจะเหน็ ผลของการปฏิบตั ิ มีความ
ปรารถนาอยากจะพบทา่ นอาจารย์ ขอให้ทา่ นอาจารยไ์ ดโ้ ปรดเหน็ แก่
โยมของกระผม และเหน็ แกญ่ าตโิ ยมทางสรุ ินทรด์ ้วยเถิด”
เม่อื ได้รบั การอาราธนานมิ นตจ์ ากพระมหาพลอย หลวงปูจ่ ึง
ตอ้ งเดินทางกลบั จังหวัดสรุ นิ ทร์ เพ่ือโปรดญาตโิ ยมตอ่ ไป

หลวงปู่สาม : ศิษย์สำ� คัญอกี องค์

หลวงปูด่ ูลย์ อตโุ ล เดินทางกลบั จังหวดั สรุ ินทร์ ตามค�ำ
อาราธนาของพระมหาพลอย อุปสโม แล้วมาพ�ำนักท่สี ำ� นักปา่ บา้ น

113

เสมด็ ยังความปลาบปล้ืมใจแก่สานุศษิ ยช์ าวสรุ ินทร์อยา่ งลน้ พ้น
ในปนี ้ัน พ.ศ.๒๔๖๘ ได้มภี กิ ษหุ น่มุ รปู หน่ึง ผวิ พรรณหมดจด
ผ่องใสกิรยิ าท่าทางส�ำรวม สอบถามได้ความวา่ มีความม่งุ มัน่ ในการ
ศกึ ษาทางพระศาสนา และเคยเดินทางไปแสวงหาทเี่ รยี นด้านปรยิ ตั ทิ ่ี
กรุงเทพฯ แตห่ าทีพ่ ำ� นักไม่ได้ จงึ ต้องกลบั มาจ�ำพรรษาท่สี ุรินทร์คืน
พระภิกษหุ นมุ่ รูปนน้ั ช่อื พระสาม อกิญจฺ โน ได้มากราบ
ถวายตวั เปน็ ศิษยเ์ รียนพระกรรมฐานกับหลวงป่ดู ูลย์ ท่ีบา้ นหนอง
เสมด็
พระสาม อกญิ จฺ โน ชอบใจตอ่ แนวทางปฏิบัตภิ าวนาและกจิ
ธุดงคเ์ พราะถกู กบั จริตของทา่ น ต่อมาได้ติดตามหลวงปดู่ ูลยอ์ อก
ธุดงคไ์ ปในสถานทต่ี ่างๆ ละแวกใกล้เคียงจงั หวัดสรุ นิ ทร์
ปี พ.ศ. ๒๔๖๙ หลวงปู่ดูลย์ เหน็ ว่าพระสาม อกิญจฺ โน ไดร้ ับ
ผลจากการปฏบิ ตั ิพอสมควร และมีศรัทธามน่ั คงดีแลว้ จึงแนะน�ำให้
เดินทางไปกราบ และศึกษาธรรมกับพระอาจารยใ์ หญม่ ่นั ภรู ทิ ตโฺ ต
ซ่ึงขณะน้ันพำ� นักอยทู ีเ่ สนาสนะป่าบ้านสบบง อ.ท่าอเุ ทน จ.นครพนม
พระสาม กับพระบุญธรรม รวม ๒ องค์ ใชเ้ วลาเดนิ เท้า ๑๕
วนั จงึ ไปถงึ จงั หวดั นครพนม ได้อยูพ่ ำ� นักปฏบิ ตั ิธรรมกับพระ
อาจารยใ์ หญ่ ๓ เดอื นแล้วสง่ ไปใหพ้ �ำนักกบั หลวงป่สู งิ ห์ ขนตฺ ยาคโม
สหายสนทิ ของหลวงปูด่ ลู ย์ ซ่งึ ขณะน้ันอยู่ท่ีกง่ิ อ.อากาศอำ� นวย
จ.สกลนคร
ต่อมาพระบุญธรรม ได้มรณภาพลงเหลือแต่พระสามได้
ตดิ ตามหลวงปู่สิงห์ ไปหลายแห่งและเป็นกำ� ลังส�ำคัญในการเผยแพร่
ธรรมะในกองทัพธรรม
พระสาม อกญิ ฺจโน ไดอ้ อกธดุ งคป์ ฏบิ ัตธิ รรมไปท่วั ทกุ ภาค
ของประเทศ ถือเปน็ พระท่เี จริญดว้ ยธดุ งควตั ร เทย่ี วธดุ งคเ์ ปน็ เวลา
นาน พำ� นกั จำ� พรรษามากแห่ง เพ่ิงมาพ�ำนักประจ�ำ ท่วี ดั ป่าไตรวิเวก
อ�ำเภอเมือง จงั หวดั สุรนิ ทร์ ในปี พ.ศ. ๒๕๑๑ เมอื่ ทา่ นอายุ ๖๘ ปี
พระสาม อกิญจฺ โน ก็คอื หลวงปู่สาม อกิญจฺ โน ของพวกเรา

114

นน่ั เอง เพ่ือนสหธรรมกิ ท่ีสนทิ สนมกับท่านมากท่ีสดุ กค็ อื ทา่ นพอ่ ลี
ธมมฺ ธโร แหง่ ส�ำนักวดั อโศกการาม จ.สมุทรปราการกบั หลวงปูก่ งมา
จริ ปญุ โฺ ญ แห่งวัดดอยธรรมเจดีย์ จังหวดั สกลนคร
เมอ่ื พดู ถึง “พระด”ี ของจังหวดั สุรินทร์ เรามกั จะนึกถงึ
หลวงปู่ดูลย์ อตุโล กับหลวงปสู่ าม อกิญจฺ โน คูก่ นั เสมอ เพราะท้งั
๒ องค์ มปี ฏปิ ทาคลา้ ยคลงึ กันมีเรื่องราวต่างๆ ผูกพัน และเกี่ยวข้อง
กนั โดยตลอด ดังจะเหน็ ไดจ้ ากเร่ืองราวในตอนต่อๆ ไป
หลวงปูส่ าม อกญิ ฺจโน มรณภาพเมอ่ื วันท่ี ๑ กุมภาพันธ์
๒๕๓๔ สริ ริ วมอายุได้ ๙๑ ปเี ศษ ทา่ นมรณภาพหลงั หลวงป่ดู ลู ย์ ๘
ปี (หลวงปู่ดุลยม์ รณภาพเมอื่ ๓๐ ตุลาคม ๒๕๒๖)

หวนกลบั อุบลราชธานี

จากประวัติชวี ิตของหลวงป่ใู นชว่ งน้ี พอจะกลา่ วไดว้ า่ เป็นชว่ ง
แห่งการตอ่ สทู้ างความคิดกน็ า่ จะได้
ความคิดหน่งึ เปน็ การศึกษาเพิ่มเติมทางด้านปรยิ ตั ิ อนั เป็น
การศึกษาทางภาคทฤษฎี ศกึ ษาทางตัวหนงั สอื ดงั จะเหน็ ได้จากการ
เดนิ ทางออกจากส�ำนกั ป่าหนองเสมด็ ไปยังวัดสทุ ธจินดา
นครราชสีมา เพ่อื ฝากสามเณรโชติ ใหอยูศ่ ึกษาเลา่ เรยี น แล้วทา่ น
เดนิ ทางไปยังวดั สัมพันธวงศาวาส กรุงเทพฯ ดว้ ยความคิดท่จี ะ
ศกึ ษาเพิ่มเตมิ ทางพระปริยัติ
อีกความคิดหนึ่ง เปน็ การศึกษาดว้ ยการปฏิบตั ิ คือ การออก
ธดุ งค์ ม่งุ หาประสบการณต์ รง ค้นหาสัจธรรมด้วยตนเอง ดังจะเห็น
จากท่ที า่ นเปลย่ี นใจไม่ศึกษาดา้ นพระปรยิ ัติ ทว่ี ัดสมั พนั ธวงศาวาส
แลว้ เดินทางไปจงั หวดั ลพบุรี เพอ่ื บ�ำเพ็ญภาวนาทถี่ าํ้ อรหนั ตใ์ ห้นาน
ท่ีสดุ แตก่ ไ็ ดร้ ับการอาราธนานมิ นต์ให้มาโปรดญาตโิ ยมทจ่ี ังหวดั
สรุ ินทร์อกี
หลวงปกู่ ลบั มาพำ� นักทีส่ �ำนักปา่ หนองเสมด็ ตามเดิม หลงั จาก

115

ได้พระสาม อกญิ จฺ โน เป็นศษิ ย์ และส่งให้ไปศึกษาภาคปฏบิ ตั กิ ับ
พระอาจารยใ์ หญม่ ่ัน ภรู ิทตโฺ ตแล้ว หลวงปู่กพ็ �ำนกั โปรดญาตโิ ยม ณ
ส�ำนักปา่ หนองเสม็ดอีกระยะหนงึ่
ดว้ ยอธั ยาศยั และจิตใจของหลวงปโู่ นม้ เอียงมาทางดา้ นการ
ปฏบิ ตั ิ มากกวา่ ท่ีจะศกึ ษาทางพระปริยัติ ทา่ นจงึ ด�ำริท่ีออกกมั มัฏ
ฐานธุดงคอ์ ีกเพ่ือปฏิบตั ภิ าวนาใหย้ ่ิงๆ ขน้ึ ไป
ในท่ีสุด หลวงป่ดู ูลย์ อตโุ ล จึงลาญาติโยมออกเดนิ ทางจาก
สำ� นกั ปา่ หนองเสมด็ มุ่งไปยงั จงั หวัดอบุ ลราชธานอี ีกคร้งั หนง่ึ ดว้ ย
จดุ มุ่งหมายทจ่ี ะยอ้ นกลบั ไปกราบครบู าอาจารย์ และจะจาริกธุดงค์
ตอ่ ไป
แตเ่ มื่อหลวงปไู่ ปถึงวดั สทุ ศั นาราม จังหวดั อุบลราชธานแี ล้ว
ความตั้งใจเดมิ ก็ตอ้ งสะดุดหยดุ ลง เนือ่ งจากพระอปุ ชั ฌายะของท่าน
ไดข้ อร้องให้ท่านพำ� นักทว่ี ัดสทุ ศั นาราม เพ่อื ช่วยก่อสรา้ งโบสถใ์ ห้
เสร็จเสียก่อน
เมอ่ื พระอปุ ชั ฌายะผ้มู ีพระคณุ ขอร้องเชน่ น้ี ท่านจงึ มิกล้าขดั
และถือวา่ เปน็ โอกาสอันดีท่ีมีสว่ นทดแทนพระคณุ จำ� เปน็ ตอ้ งอยู่ช่วย
สรา้ งโบสถ์ แต่ทา่ นก็ต้งั ปณิธานไว้ว่าโบสถ์เสร็จเม่อื ไรก็จะออกธดุ งค์
กัมมฏั ฐานต่อไป
การเรม่ิ ต้นกอ่ สรา้ งโบสถ์ วดั สุทศั นารามในครัง้ นี้ ทางวดั มี
ทุนเร่ิมตน้ เพียง ๓๐๐ บาท ใชเ้ วลากอ่ สร้างนานท้ังสน้ิ ๖ ปี จงึ แล้ว
เสร็จ นับเป็นพระอุโบสถทีส่ วยงาม และใหญโ่ ตที่สุดของจงั หวัด
อุบลราชธานี เป็นท่เี ชดิ หน้าชูตาของจงั หวดั และใชป้ ระกอบกิจกรรม
ด้านพระพุทธศาสนาอย่างคมุ้ ค่า
ในระหว่างก่อสรา้ งโบสถน์ ัน้ หลวงปู่ดุลย์ไดช้ ่วยเหลือพระ
อปุ ัชฌายด์ ้วยหน้าที่หลายอยา่ ง นอกจากช่วยดา้ นงานสร้างโบสถ์
แลว้ กม็ ีงานปกครองพระภกิ ษุสามเณร และเป็นพระกรรมวาจาจารย์
บวชนาค

116

ไดศ้ ิษยส์ ำ� คญั ท่ีอุบล

ในชีวติ ของหลวงปดู่ ูลย์ อตโุ ล ได้มีสว่ นพัวพนั กบั “พระมหา
ปน่ิ ” 2 องคด์ ้วยกัน
มหาป่ินองค์แรกก็คอื พระมหาปนิ่ ปญญฺ าพโล น้องชายแทๆ้
ของหลวงปสู่ ิงห์ ขนฺตยาคโม โดยท่ีหลวงป่ดู ลุ ย์มีสว่ นรว่ มเขา้ ไปผลกั
ดนั และโน้มน้าวร่วมกับหลวงปสู่ งิ ห์ เพอ่ื ให้พระอาจารย์มหาปนิ่ ที่
แตเ่ ดมิ ใฝ่ใจเฉพาะในดา้ นปรยิ ัติ ให้ได้มาสนใจในการปฏบิ ัติธดุ งค์
กัมมัฏฐาน เพ่อื เสรมิ เติมเตม็ การศกึ ษาธรรมะใหค้ รบถว้ นบรบิ ูรณ์
ท้ังดา้ นทฤษฎี และภาคปฏบิ ัติ และตอ่ มาพระอาจารยม์ หาปิน่
ปญญฺ าพโล ไดเ้ ป็นก�ำลังส�ำคัญออกเผยแผธ่ รรมปฏิบัติธุดงคก์ ัมมัฏ
ฐาน เคยี งคูก่ ับหลวงปู่สิงห์ ขนตฺ ยาคโม จนกลายเป็น สองแม่ทัพ
ใหญ่ แห่งกองทพั ธรรม
มหาป่ินอีกองค์นน้ั มาเก่ียวข้องกบั หลวงปใู่ นขณะทท่ี า่ นพำ� นกั
อยู่ ณ วัดสุทัศนาราม จงั หวัดอบุ ลราชธานี เพ่อื ทำ� หนา้ ทชี่ ว่ ยเหลือ
พระอปุ ัชฌายะของท่านในช่วงที่กำ� ลงั สร้างโบสถ์
ไดม้ ีสามเณรนอ้ ยรปู หนงึ่ หน้าตาหมดจด ท่าทเี ฉลียวฉลาด
ขยนั ขันแขง็ ในการศึกษา ไดเ้ ขา้ มาเปน็ ศิษยป์ รนนบิ ัตริ บั ใช้ใกล้ชดิ
และฝึกปฏิบตั ิอย่กู ับหลวงปู่
หลวงปู่ได้พิจารณาเหน็ แววของสามเณรนอ้ ยรปู น้ี จึงต้องการ
สนับสนนุ ให้มีความก้าวหนา้ ตอ่ ไป จึงได้ฝากสามเณรให้ไปอยู่ใน
ความดแู ลของพระมหาเฉยยโส (ภายหลงั มีสมณศักดิ์ท่ี พระเทพ
ปญั ญากว)ี เจา้ อาวาสวัดสมั พนั ธวงศาวาส กรุงเทพมหานคร
สามเณรน้อยมคี วามเจรญิ ก้าวหน้าในการศึกษาดา้ นปรยิ ัตมิ า
เป็นลำ� ดับจนสามารถสอบไดถ้ งึ เปรียญธรรม ๗ ประโยค แล้วลา
สกิ ขาบทไปรบั ราชการ เปน็ อนศุ าสนาจารย์ในกองทัพบกไดเ้ ลื่อนยศ
เปน็ ถงึ “นายพันเอก”
ต่อมาได้ย้ายโอนจากกองทัพบกไปรับราชการทก่ี ระทรวง

117

ศึกษาธกิ าร ไดเ้ ลือ่ นตำ� แหน่งเป็นถงึ อธิบดกี รรมการศาสนา
สามเณรน้อยศิษยท์ ีเ่ คยรบั ใชใ้ กล้ชดิ ของหลวงปู่ดลุ ย์ อตุโล
นัน้ คนทวั่ ประเทศไทยร้จู กั ทา่ นดใี นนามพันเอกปิน่ มทุ กุ นั ต์ อดตี
อธบิ ดีกรมการศาสนา
พ.อ.ปิน่ มทุ ุกันต์ เป็นนกั ปาฐกฝปี ากคม เปน็ นกั เผยแพร่
ธรรมะทมี่ ชี อ่ื เสียง และมผี ลงานดา้ นหนังสอื ธรรมะมากมาย ท่านมี
ความรกั และเคารพตอ่ หลวงปูป่ ระดุจบิดาบงั เกดิ เกลา้ และเคารพ
ทา่ นเป็นครูบาอาจารยต์ ราบจนตลอดชวี ติ
ในคำ� น�ำ หนังสือธรรมะชดุ “กา้ วหน้า” พ.อ.ปนิ่ มุทกุ นั ต์ ได้
เขยี นถงึ หลวงปู่ว่า
“ทา่ นหลวงปู่ดูลย์ เป็นอาจารยก์ มั มฏั ฐานองคห์ น่ึง เป็นพระ
พูดน้อยแตท่ �ำมาก เทา่ ทีข่ า้ พเจา้ เคยเหน็ มา”
การพูดน้อยแต่ท�ำมาก จึงดูเปน็ เอกลักษณท์ ีโ่ ดดเด่นของ
หลวงปู่

รับบญั ชาคณะสงฆ์

หลวงปูด่ ูลย์ อยทู่ ่ีวดั สุทศั นาราม จงั หวัดอบุ ลราชธานี เพื่อ
ช่วยกจิ การอปุ ัชฌายะ ในขณะทก่ี ำ� ลงั ก่อสร้างโบสถ์ ดว้ ยภารกิจด้าน
การปกครอง และใหก้ ารอบรมภิกษุสามเณร และการเปน็ พระกรรม
วาจาจารย์บวชนาค รวมเปน็ เวลา ๖ ปี จนกระทั่งการก่อสร้างพระ
อุโบสถเสร็จเรียบรอ้ ย
เม่ือหลวงปเู่ ห็นวา่ ภาระท่ีรบั ปากพระอปุ ชั ฌายะเสรจ็ ลงแลว้
จงึ เตรียมการที่จะออกธุดงคแ์ สวงหาความวเิ วกตามปา่ เขาล�ำเนาไพร
ตามที่ต้งั ใจไว้แตเ่ ดมิ ต่อไป
แตแ่ ล้วเหตุการณไ์ ม่เป็นไปตามความประสงค์ จึงต้องเลิกลม้
ความตง้ั ใจเดมิ อย่างฉบั พลนั
ด้วยทา่ นเจา้ ประคุณ สมเดจ็ พระมหาวรี วงศ์ (ตสิ ฺโส อ้วน) ใน

118

สมยั ท่ียังดำ� รงสมณศกั ดิ์ทีพ่ ระธรรมปาโมกข์ เจ้าคณะมณฑล
นครราชสีมา ร่วมกับคณะสงฆ์ไดส้ ถาปนาวดั บูรพาราม ข้นึ เปน็ วดั
ธรรมยตุ แหง่ แรกของจงั หวดั สรุ ินทร์ในปี พ.ศ. ๒๔๗๖
มีบญั ชาให้ พระมหาพลอย อปุ สโม ป.ธ.๖ จากวัดสมั พันธ
วงศาวาส กรงุ เทพฯ เดนิ ทางมาจัดการฟืน้ ฟกู ารศึกษา
ขณะเดยี วกันก็มีบัญชาให้ หลวงปดู่ ลู ย์ อตโุ ล มาชว่ ยอีกแรง
หนึง่ ทา่ นดา้ นวิปัสสนาธุระ
ในขณะนัน้ วดั บรู พาราม กำ� ลงั อยู่ในสภาพที่ชำ� รดุ ทรุดโทรม
มาก เนอ่ื งดว้ ยกอ่ สร้างมานานรว่ ม ๒๐๐ ปี ตอ้ งการการบูรณะ
ซ่อมแซมเพอื่ ใหก้ ลบั ฟ้ืนคืนสสู่ ภาพทด่ี ี และใหเ้ ป็นศนู ยก์ ารศกึ ษาทาง
พระพุทธศาสนาท้ังฝา่ ยปริยตั ิ และฝา่ ยวิปัสสนา ตามความด�ำรขิ อง
คณะสงฆ์
ดว้ ยเหตทุ ีห่ ลวงปู่ดลู ย์ อตุโล น้ันเปน็ พระภกิ ษผุ เู้ จรญิ ดว้ ย
คณุ ธรรม มีความเปน็ ผวู้ ่านอนสอนง่าย จึงไม่อาจขดั บญั ชาของพระ
เถระผบู้ ริหารการคณะสงฆ์ได้ จงึ ตอ้ งเดนิ ทางกลับจงั หวดั สรุ ินทร์
เพื่อปฏบิ ตั ศิ าสนกจิ ตามทไี่ ดร้ บั มอบหมาย
เปน็ อนั ว่า ความประสงคท์ ี่จะออกธุดงคเ์ พ่อื บำ� เพญ็ คุณธรรม
ส่วนตัวใหย้ งิ่ ข้ึนไป ซ่ึงได้รง้ั รอไวถ้ ึง ๖ ปี จำ� เป็นตอ้ งยกเลกิ ไปโดย
สนิ้ เชิง ตงั้ แตบ่ ัดนน้ั เปน็ ต้นมา ตอ้ งเดินทางกลับมาตภุ มู ิเพ่อื บ�ำเพ็ญ
ประโยชนแ์ กป่ วงชน โดยมเี ป้าหมายแห่งศาสนกิจสำ� คญั รออยขู่ า้ ง
หน้าทีว่ ัดบรู พาราม จังหวดั สรุ นิ ทร์
หลวงปดู่ ลู ย์ อตโุ ล ได้บนั ทึกได้ด้วยมือของท่านเองเอาไวว้ ่า
“มาอยวู่ ดั บรู พาราม เมอ่ื วนั ที่ ๒๔ กรกฎาคม พ.ศ.๒๔๗๗
เปน็ เจา้ คณะอ�ำเภอรตั นบรุ ี เม่อื วนั ท่ี ๑ มีนาคม พ.ศ. ๒๔๗๙”

119

วัดบูรพาราม จังหวัดสรุ นิ ทร์

วัดบูรพาราม ตัง้ อยใู่ นใจกลางเมอื งสรุ นิ ทรห์ ากถือเอาคเู มือง
และก�ำแพงเมืองโบราณเป็นบรรทัดฐาน กจ็ ะมองเห็นท่ตี ัง้ ของวัดสำ�
คญั ๆ ในเมอื งสรุ นิ ทร์ไดด้ ังนี้
ขณะทว่ี ัดจมุ พลสุทธาวาส วัดพรหมสุรินทร์ วัดหนองบวั วดั
จำ� ปา และวดั ศาลาลอย ถือได้วา่ เป็นวดั นอกตวั เมือง ตงั้ อยตู่ ดิ กับ
คูเมอื งดา้ นนอก เรียงรายรอบตัวเมอื ง
ส�ำหรับวดั บูรพาราม กบั วดั กลาง ๒ วัดนี้ ถือได้วา่ เป็นวัดที่
อยู่ภายในกำ� แพงชั้นใน คือ อยใู่ นใจกลางเมอื งสรุ ินทร์
วดั บรู พาราม เปน็ วดั เกา่ แกเ่ กดิ ขนึ้ มาพรอ้ มกบั ตวั เมอื งสรุ นิ ทร์
ต้ังแตค่ ร้งั ยังเรียกวา่ เมืองประทายสมนั ต์ หรือเมอื งไผทสมนั ต์ น่นั
เทียว
สันนิษฐานวา่ วัดบรู พาราม สร้างขน้ึ ในสมยั กรงุ ธนบุรี หรือ
สมยั ตน้ รตั นโกสนิ ทร์ มอี ายุไม่ตํ่ากวา่ ๒๐๐ ปี เทา่ ๆ กับอายขุ อง
เมืองสรุ นิ ทร์
ตามตำ� นานของเมอื งสรุ ินทร์เล่าขานกนั มาว่า เมือ่ พระยา
สรุ นิ ทร์ภักดี ศรีณรงค์จางวาง (เชยี งปุม) ไดต้ ำ� แหน่ง จางวางเมอื ง
ประทายสมันต์ กเ็ ร่มิ ท�ำนุบ�ำรงุ บ้านเมอื ง ด้วยการ “ฝกึ ฟ้นื ใจเมอื ง”
ตามธรรมเนยี มการพฒั นาบ้านเมืองของไทยท่นี ิยมสบื ทอดกันมาแต่
โบราณ
คือ สง่ เสรมิ การพระศาสนาใหเ้ จรญิ ควบคกู่ ับการบำ� รุง
“กายเมือง” หรอื พฒั นาด้านวัตถุใหเ้ จริญควบคไู่ ปดว้ ยกัน
วดั บูรพาราม ไดร้ ับการปลูกสร้างข้นึ ท่ใี จกลางเมืองพอดี จึง
เปน็ วดั ทตี่ ั้งอยู่ภายในกำ� แพงเมอื งช้ันใน
เนอื่ งจากวดั แหง่ นสี้ รา้ งขนึ้ มานาน สภาพจงึ ชำ� รดุ ทรดุ โทรม
ทางคณะสงฆม์ ณฑลนครราชสมี า มคี วามประสงคท์ จี่ ะบรู ณะขน้ึ ใหม่
และสถาปนาเปน็ วดั ธรรมยตุ แหง่ แรกในจงั หวดั สรุ นิ ทรใ์ นปี พ.ศ.๒๔๗๖

120

เมอ่ื หลวงปดู่ ูลย์ ได้รับบญั ชาจากท่านเจ้าคณะมณฑล ให้มา
ดูแลบรู ณะวัดบูรพาราม ทา่ นจงึ รบั ภาระน้ีด้วยความเต็มใจ
หลวงป่ดู ูลยจ์ งึ งดกจิ ด้านออกธุดงค์และพ�ำนกั ประจำ� ท่ีวัด
บรู พารามน้ี ตดิ ต่อกันตลอดมาตราบเท่าถึงวนั มรณภาพของท่าน ซึง่
ท่านอยู่ประจ�ำท่วี ดั แหง่ นี้ รวมเวลาท้ังสิ้น ๕๐ ปี

หลวงพ่อพระชีว์ : พระพุทธรปู คเู่ มืองสุรนิ ทร์

ปูชนยี วตั ถุส�ำคัญที่ถือว่าก�ำเนดิ มาพร้อมกับวัดบรู พาราม และ
เป็นทเี่ คารพนบั ถือวา่ เป็นของคู่บา้ นคเู่ มืองของจังหวัดสุรินทร์ ก็คอื
พระพทุ ธรูปองคใ์ หญ่ ซ่งึ เป็นองคป์ ระธานในวัดทเ่ี รยี กขานกนั ทว่ั ไป
ว่า “หลวงพ่อพระชีว์” เปน็ พระพทุ ธรปู ปางมารวชิ ยั หน้าตกั กวา้ ง ๔
ศอก ประดิษฐานอย่ใู นมณฑปจตุรมขุ กอ่ อฐิ ถอื ปูนอย่ดู า้ นตะวันตก
ของพระอุโบสถปจั จุบนั
สำ� หรบั หลวงพ่อพระชีว์ องคน์ นี้ บั วา่ แปลกอย่างหน่ึง คือ
ไมส่ ามารถสบื ประวัตไิ ดว้ า่ สรา้ งขน้ึ เมือ่ ไร และทา่ นผใู้ ดเปน็ คนปรารภ
มา พอถามคนแกอ่ ายรุ ้อยปกี ็ได้ค�ำตอบว่า เคยถามคนอายรุ อ้ ยปี
เหมอื นกนั เขาก็บอกว่าเห็นองค์ท่านอยอู่ ย่างน้มี าแล้ว โดยสรปุ ก็
สามารถสบื สาวไปไดแ้ ค่ ๒๐๐ ปีก็จบ และไม่ทราบวา่ ผ้ใู ดสรา้ งและ
สร้างเมอ่ื ไร
สันนิษฐานวา่ คงจะสร้างมาพร้อมกบั เมืองสุรนิ ทร์ และก็
สนั นษิ ฐานกนั ตอ่ ไปวา่ ทำ� ไมจงึ ชื่อวา่ “หลวงพอ่ พระชวี ์” เป็นชื่อแต่
เดมิ มี “ว” การนั ต์ คอื “ชีวะ” ก็คงจะเป็น “ชวี ติ ” ซ่ึงอาจยกยอ่ ง
ท่านว่าเปน็ เสมือน เจ้าชีวิต หรือเป็น ยอดชวี ติ ของคนสมัยน้นั
กระมงั
ขอ้ สนั นษิ ฐานอกี ทางหนง่ึ กว็ า่ อาจจะเกีย่ วกับ ล�ำนาํ้ ชี เปน็ ล�ำ
นํา้ ที่ไหลผ่านจงั หวัดสรุ ินทร์ ทีไ่ ด้ชอ่ื น้อี าจจะไดไ้ มพ้ เิ ศษ หรือดิน
พเิ ศษ มาจากล�ำชมี าปัน้ เปน็ องคท์ า่ นกระมงั จงึ ได้ชื่ออยา่ งนี้

121

เคยกราบเรียนถามหลวงปู่ ทา่ นก็ไมท่ ราบประวัติของหลวง
พอ่ พระชีว์ เชน่ เดยี วกัน ทา่ นว่าก็เห็นองคท์ า่ นอยอู่ ย่างนี้แหละ แต่
ไหนแต่ไรมา ตั้งแตเ่ ล็กจนโตมาก็ถามคนโบราณเชน่ เดยี วกนั เขาก็วา่
“ก็เห็นอยอู่ ย่างนี้”
ถา้ ย้อนนึกถึงสมยั ก่อน เราตอ้ งยอมรับว่าแถวสรุ ินทร์ ซึ่งถอื
เป็นเมอื งบ้านนอกมีความอตั คตั เรอ่ื งพระพทุ ธรปู ทีจ่ ะกราบไหวก้ นั
เหลือเกนิ เมอื่ สมยั ๑๐๐ ปี หรอื ๗๐–๘๐ ปที ี่ผ่านมา หรือย้อนไป
ถงึ ๒๐๐ ปี จะเห็นว่าแถวนี้ไมม่ ีพระพทุ ธรปู ส�ำริด หรอื ทองเหลอื ง
มีเพียงพระพุทธรูปท่ีท�ำด้วยไม้ หรือดนิ ป้นั ซ่ึงก็ไมไ่ ดป้ น้ั ใหไ้ ด้ปรุ ิส
ลักษณะทแ่ี ท้จรงิ เพยี งแต่ทำ� ข้นึ เสมอื นหนึ่งวา่ สมมติให้เปน็ พระพทุ ธ
รูปเทา่ น้นั
สมยั นน้ั จงึ ไม่มพี ระพทุ ธรูปทง่ี ดงามให้กราบไหว้ “ดว้ ยเหตนุ ้ี
กระมงั คนสุรนิ ทรส์ มัยนน้ั จงึ ไมค่ อ่ ยสวยงาม ไม่คอ่ ยมีลกั ษณะทีด่ ี
เพราะการสรา้ งพระพุทธรปู ไม่ได้พระพุทธรปู ท่งี าม เมือ่ กราบติดอก
ตดิ ใจกไ็ มไ่ ด้ลูกเต้าทง่ี ดงามกระมงั ”
ในสมัยนั้นแถวจงั หวัดสุรนิ ทร์ บุรรี มั ย์ ศรีสะเกษ หรอื แถบ
อีสานใต้ ยงั ไมม่ พี ระพทุ ธรูปปั้นองคไ์ หนทงี่ ดงาม หรอื มลี กั ษณะทมี่ ีอำ�
นาจ และก็ไมม่ ขี นาดใหญ่เท่ากบั หลวงพอ่ พระชีว์เลย ด้วยทา่ นมี
ขนาดใหญ่ และดเู ครง่ ขรมึ มอี �ำนาจนา่ เกรงขาม ชาวบ้านจึงนับถอื
ทา่ นในดา้ นความศกั ดิส์ ิทธ์ิ
แมท้ างราชการ ในสมัยท่ีขา้ ราชการมีการท�ำพธิ ีด่มื น้าํ พระ
พพิ ัฒนส์ ตั ยา ก็ตอ้ งมาท�ำพธิ ีต่อหนา้ หลวงพ่อพระชีว์ องคน์ เี้ อง
ดว้ ยความเคารพนบั ถอื ทา่ นในแงค่ วามศักด์ิสทิ ธิ์ ประชาชนจึง
เชื่อวา่ ท่านสามารถดลบันดาลให้เขาส�ำเรจ็ ประโยชน์โสตถิผลอย่างใด
อย่างหน่งึ ได้
เมอ่ื สมัยสงครามโลกครัง้ ที่ ๒ แถวสุรินทร์ และบุรีรัมย์ถอื วา่
เป็นพ้นื ทีท่ ีห่ มนิ่ เหม่ต่ออันตราย ดว้ ยการเปน็ เปา้ หมายโจมตที าง
อากาศสมยั นน้ั พ.ศ. ๒๔๘๘ พวกอาตมายงั เปน็ เด็กเรียน ป.๑-ป.๒

122

จะมีเครื่องบินวนเวยี นไปทิง้ ระเบดิ แถวกมั พชู า และแถบสรุ นิ ทร-์
บุรีรัมย์ ชาวบา้ นตกอกตกใจกไ็ ดแ้ ต่ไปกราบไปไหวข้ อบารมีหลวงพ่อ
พระชวี เ์ ป็นทพี่ ึง่ ขออย่าใหบ้ ้านเมืองถูกระเบิดเลย หรือเครื่องบนิ มา
แล้วกอ็ ย่าไดม้ องเห็นบา้ นเมอื ง
นอกจากนชี้ าวบ้านก็มกั พากนั มาบนบานศาลกลา่ วเวลาเกิด
ยุคเข็ญตา่ งๆ เช่น เมอื่ เกดิ โรคภัยไข้เจ็บ เมอ่ื อหิวาตกโรค หรือโรค
ฝดี าษมีการระบาด ซ่งึ สมัยนน้ั ถ้ามโี รคระบาดมาแต่ละชดุ ผู้คนจะล้ม
ตายจำ� นวนมาก พวกเขาเหล่านนั้ กไ็ ดห้ ลวงพอ่ พระชีวเ์ ปน็ ทีพ่ ึ่งทางใจ
ใหเ้ ขาร้สู กึ ปลอดภัย หรือพน้ ภยั พบิ ตั ิ คนสรุ นิ ทร์จงึ นับถอื ท่านตลอด
มา
บางครั้งประชาชนกม็ าบนบานศาลกลา่ วใหป้ ระสบผลส�ำเร็จ
ประสบโชคดีในลกั ษณะนก้ี ม็ ี ซ่งึ ทางวดั ก็ไมไ่ ด้สนับสนนุ และก็ไมไ่ ด้
ปฏเิ สธ ในเร่อื งความเช่ือถอื ของประชาชนกเ็ พียงแตโ่ มทนาสาธุการ
ถา้ ความปรารถนาของเขาประสบผลสำ� เรจ็ และเปิดโอกาสให้
ประชาชนเขา้ กราบไหวไ้ ด้เต็มท่ี
ในแงน่ ี้ อาจกลา่ วไดว้ า่ หลวงปดู่ ูลย์ อตโุ ล กไ็ ดอ้ าศยั บารมี
หลวงพอ่ พระชวี ์ ในการพัฒนาวดั บรู พารามใหเ้ จริญรน่งุ เรืองโสต
หน่งึ ด้วย กล่าวคอื เมือ่ ชาวบา้ นพากนั เคารพนบั ถือ หลวงพอ่ พระชีว์
เป็นอนั มาก กเ็ ป็นการสะดวกต่อหลวงป่ขู องเราทจี่ ะบรู ณะวดั ใหเ้ จรญิ
รุ่งเรอื ง โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ การสร้างพระอุโบสถใหส้ �ำเรจ็ ซึ่งนับเปน็
เรือ่ งทีล่ �ำบากยง่ิ ในสมยั นน้ั

ปักหลักอย่ทู ีว่ ัดบรู พาราม

เม่ือหลวงปู่ดูลย์ อตโุ ล ไดร้ ับบญั ชาจากคณะสงฆม์ ณฑล
นครราชสีมา ให้มาพฒั นาวัดบรู พารามแล้ว ท่านกม็ ุ่งตรงไปยัง
จงั หวัดสรุ นิ ทร์ เพอื่ ปฏบิ ตั หิ นา้ ที่ทไ่ี ดร้ บั มอบหมายทันที
กจิ การด้านพระศาสนาท่ีรอรับหลวงปูน่ บั ว่าเป็นภารกจิ ที่หนัก

123

มาก เพราะจะต้องริเร่มิ ทุกด้าน ท้งั การศึกษา ดา้ นปรยิ ตั ิ และดา้ น
ปฏบิ ตั ิ ด้านการกอ่ สร้าง และการเผยแผ่สู่ประชาชน ซึง่ ในขณะน้ัน
ต้องยอมรบั วา่ ยงั ลา้ หลงั ในทุกๆ ด้านอย่างมากทีเดยี ว
ดังน้ัน เมือ่ หลวงปดู่ ลู ยต์ ดั สนิ ใจวา่ จะปกั หลักอยทู่ ว่ี ดั บรู พา
รามนี้แลว้ จึงต้องเริม่ งานด้านพระศาสนาทกุ อยา่ ง ตง้ั แต่จัดการ
ศึกษาด้านพระปริยตั ธิ รรม การเผยแผด่ า้ นการปฏิบัตฝิ า่ ยวิปสั สนา
กรรมฐาน ทัง้ ๒ ดา้ นจะต้องพัฒนาไปดว้ ยกัน
ถา้ ย้อนระลึกถงึ อดีต จะเหน็ ว่าการมาสรุ นิ ทรค์ รั้งน้ีเปน็ การ
มาครงั้ ที่ ๒ ของทา่ น ในรอบแรกเม่ือทา่ นมาสรุ ินทรใ์ นคร้งั นน้ั ท่าน
ไดเ้ รมิ่ แนะน�ำ เฉพาะดา้ นปฏบิ ัติกัมมฏั ฐานอย่างเดียว เพราะท่าน
เดินทางมาแบบพระธดุ งค์ เปน็ การเผยแผใ่ นระหว่างปฏบิ ัติ และผู้
สนใจในวงทไ่ี มก่ ว้างนกั รวมท้งั เผยแผใ่ นระหวา่ งสหธรรมกิ ที่
เปน็ พระสงฆด์ ว้ ยกนั การเผยแผ่ในครงั้ นน้ั ล้วนแต่เปน็ เรอ่ื งพระกมั มัฏ
ฐานลว้ น
การมาสุรนิ ทร์ในครัง้ ท่สี องน้ี เป็นดว้ ยบัญชาจากคณะสงฆใ์ ห้
ท่านมาปักหลกั อยู่จรงิ ๆ เนน้ การศกึ ษาทง้ั ด้านปรยิ ตั ิ และการปฏบิ ัติ
ท่านจงึ ต้องเรม่ิ งานทง้ั ๒ ด้านน้ีอย่างจริงจงั ต่อไป
ความจรงิ แล้วการศกึ ษาและการปฏบิ ัติด้านพระศาสนาในสมยั
โนน้ เป็นเพยี งการทำ� สบื ต่อกันมาตัง้ แต่สมยั บรรพกาล โดยเฉพาะ
อย่างยิง่ แถบจังหวัดสรุ ินทร์นน้ั เปน็ พนื้ เมืองท่ีอยใู่ กล้เคยี งกบั ประเทศ
กัมพูชามากท่ีสุด แต่ละแถบแตล่ ะถน่ิ ของสรุ นิ ทรม์ กั จะมภี าษาพืน้
เมืองเปน็ ภาษาเขมร แตอ่ สิ านทางเหนอื เชน่ อุดรธานี ขอนแก่น
อุบลราชธานี จะถนดั ไปทางภาษาลาว แมต้ ัวอกั ขระพยัญชนะท่ใี ช้ใน
การเรียน การเทศน์ การสวดก็ยงั มภี าษาธรรม หรอื อกั ษรของ
ประเทศลาวอยู่
ทางแถบอีสานใต้ เช่น สรุ นิ ทร์ บรุ รี มั ย์ และบางสว่ นของ
ศรีสะเกษนั้น แน่นอนจะต้องมีความโน้มเอยี งทัง้ ด้านภาษา ขนบ
ธรรมเนียม ไปทางเขมรอยู่มาก การเขยี นกน็ ยิ มใชอ้ กั ษรขอม ไม่วา่

124

จะใชใ้ นการเทศน์ การสวด หรือพิธกี รรมต่างๆ ตามประเพณี กย็ ัง
นยิ มใช้อักษรขอมอยู่ พระจะเทศนต์ ามคมั ภรี ์ และคัมภีร์เหลา่ นั้น
กเ็ ปน็ อกั ษรขอม
เมอ่ื เร่ิมมกี ารศึกษาด้านพระปริยตั ธิ รรมข้ึน ไมว่ า่ จะเปน็
หลกั สูตรนักธรรมตรี บาลศี ึกษาก็เร่ิมใชอ้ กั ษรไทย และภาษาไทย
มากขน้ึ จงึ กล่าวได้วา่ ในสมยั ของหลวงปู่นีเ้ อง เป็นสมยั เรม่ิ แรกของ
การศึกษาดา้ นพระปริยัติธรรมเป็นการศกึ ษายุคใหม่ ใช้วธิ ใี หม่
หลวงปู่จงึ ตอ้ งรับภาระนี้อยา่ งเตม็ ที่

ส่งเสรมิ ทง้ั ปริยตั ิ และปฏิบตั ิ

ปฏปิ ทาของหลวงปู่นั้น แมจ้ ะรับภาระด้านการบรหิ ารใน
ฐานะท่เี ปน็ เจา้ อาวาส เป็นพระอุปชั ฌาย์ อาจารยส์ อน เจ้าคณะอ�ำ
เภอ และเจา้ คณะจังหวดั ในภายหลงั หนา้ ทตี่ า่ งๆ เหล่านยี้ อมรบั
อย่างเต็มกำ� ลัง
ในขณะเดยี วกนั ปฏิปทาทางคุณธรรม หรอื ข้อปฏิบัตทิ ท่ี ่าน
เคยศึกษามาในทางกมั มัฏฐานทางธุดงค์ ทา่ นก็ยึดแนวทางนเี้ ป็น
หลักส�ำคญั อยู่ ทา่ นยังปฏิบัตสิ ม่าํ เสมอ ท้ังท่ีเปน็ ส่วนตัวของทา่ น
ขณะเดียวกนั กแ็ บ่งเวลาสอนพระภกิ ษุสามเณร และประชาชนท่ีสนใจ
เปน็ ประจ�ำเสมอมา
ในช่วงกลางๆ ชวี ิต ในระหวา่ งทหี่ ลวงปมู่ าอยูท่ สี่ รุ นิ ทร์นน้ั
ท่านจะมีการสมาคมไปทางครบู าอาจารย์ฝา่ ยกมั มัฏฐาน มีความร่วม
มือ การตดิ ต่อ การไปมาหาสู่เยย่ี มเยยี น รวมท้งั สง่ พระเณรไปศึกษา
หาความรจู้ ากครบู าอาจารยต์ า่ งๆ ด้วย
ทวี่ ัดบรู พาราม มีพระภิกษุ และสามเณรจ�ำนวนมากองคไ์ หน
ทีส่ นใจใสใ่ จศึกษาทางฝา่ ยปรยิ ัติ นอกจากจะเรียนเบ้ืองต้นในวดั
บรู พารามแลว้ กส็ ง่ มาเรยี นตอ่ ทีก่ รงุ เทพฯ ในระดบั สงู ตอ่ ไป
สำ� หรับบางรูปทีส่ นใจในการประพฤติปฏิบัตใิ ห้ย่งิ ๆ ขนึ้ ไป

125

นั่นคอื องค์ไหนสนใจในการธดุ งค์กัมมัฏฐานอยา่ งแท้จรงิ หลังจาก
หลวงป่ใู ห้การฝึกอบรมดว้ ยองคท์ ่านเองแลว้ ท่านก็จะสง่ องค์ท่ีสนใจ
ไปอยกู่ บั พระอาจารยฝ์ นั้ บา้ ง ทพ่ี ระอาจารยม์ หาบวั ญาณสมปฺ นฺโน
วดั ปา่ บ้านตาด อุดรธานี บ้าง
น่ีคือภาระหนา้ ที่ด้านการศึกษาทหี่ ลวงปทู่ �ำ ในระหว่างมาพ�ำ
นกั ทว่ี ัดบูรพาราม จังหวดั สรุ ินทร์ จนกระทง่ั การศกึ ษาพระศาสนา
ทัง้ ๒ ดา้ น มคี วามกา้ วหน้า เปน็ ปึกแผน่ มั่นคงมาตราบเทา่ ทกุ วนั นี้
ก็เป็นผลงานการวางรากฐานของหลวงปนู่ ่ันเอง
นอกจากภารกิจด้านการศกึ ษาแลว้ ดา้ นพิธีการปฏบิ ัติตา่ งๆ
ในจังหวดั สรุ ินทรใ์ นสมยั นั้น ก็ยงั ไมม่ แี บบแผนอะไร แทบกล่าวได้ว่า
ยังไมม่ ีอะไรเลย เปน็ ตน้ ว่าพิธีในวันวิสาขบูชา วนั มาฆบชู า การ
ตักบาตรเทโว เป็นตน้ คณะสงฆใ์ นสมยั นั้นก็ได้รเิ ริ่มจดั ใหม้ ขี ึ้น และกำ�
หนดแบบอยา่ งในการปฏบิ ัติ เช่น พธิ ีเวยี นเทยี นในวนั ส�ำคัญ ศาสน
พิธตี ่างๆ กเ็ พ่ิงจะมีการฟ้นื ฟู มกี ารจัดท�ำเป็นพิธีการในสมัยหลวงปู่
นัน่ เอง
สงิ่ ตา่ งๆ เหล่าน้ี คอื วธิ กี ารท่ีหลวงปมู่ าเผยแผ่ หรอื เปดิ กรุ
แห่งการศกึ ษาท้ังทางปรยิ ัติ ปฏิบัติ และแบบอย่างศาสนพิธี ให้แก่
จังหวดั สุรินทร์ในยุคนน้ั และสืบทอดมาจนถงึ ปัจจบุ ันนี้ นบั ว่าเป็น
มรดกธรรมท่เี กิดจากการริเรม่ิ ของหลวงปดู่ ลู ย์ อตุโล นเ่ี อง

กอ่ สร้างพระอโุ บสถ

เมือ่ มาพ�ำนกั ท่ีวัดบูรพาราม จงั หวัดสรุ ินทรใ์ นปี พ.ศ. ๒๔๗๗
แลว้ หลวงปู่ดลู ย์ อตโุ ล ได้รบั แตง่ ต้ังให้เป็นเจ้าคณะอ�ำเภอรตั นบรุ ี
อยชู่ ัว่ ระยะเวลาหนงึ่ ครั้นได้โอกาสอนั สมควรกเ็ ริม่ งานบรู ณะ
ปฏสิ งั ขรณว์ ดั บรู พารามทันที
ในปี พ.ศ. ๒๔๗๙ หลวงปู่เริ่มงาน สรา้ งพระอโุ บสถแบบ
คอนกรตี เสรมิ เหลก็ เปน็ แหง่ แรกของจังหวดั สรุ นิ ทร์ และนับเปน็ พระ

126

อโุ บสถท่ใี หญท่ ี่สุดของจังหวดั สุรนิ ทรด์ ้วย มีประโยชนใ์ ช้สอยมาก
ทส่ี ุด แต่ใชง้ บประมาณนอ้ ยที่สดุ เพราะแรงงานส่วนใหญ่ได้อาศยั
ชาวบ้านและพระภกิ ษเุ ณรชว่ ยกัน โดยหลวงปู่เปน็ ผูค้ ดิ แบบแปลน
ด้วยตวั ท่านเอง
การสร้างพระอโุ บสถแหง่ นี้ เสรจ็ เรียบรอ้ ยเมอ่ื ปี พ.ศ. ๒๔๙๓
ใชเ้ วลากอ่ สร้างรวมทง้ั สิ้น ๑๔ ปี
ในการสร้างพระอโุ บสถหลงั น้ี นอกจากอาศยั ความสามารถ
และบารมขี องหลวงปู่แล้ว ยังได้อาศยั ก�ำลังสำ� คญั ของศิษยานุศิษย์
อีกหลายทา่ น ทส่ี ำ� คัญได้แก่
๑.พระมหาโชติ คุณสมปฺ นฺโน ต่อมาเปน็ ทพี่ ระเทพสทุ ธาจารย์
เจ้าอาวาสวดั วชริ าลงกรณ์ อ�ำเภอปากชอ่ ง จงั หวดั นครราชสมี า
(มรณภาพเมอ่ื พ.ศ. ๒๕๑๘)
๒.พระมหาเปลย่ี น โอภาโส ตอ่ มาเป็นทีพ่ ระโอภาสธรรมภาณ
เจา้ อาวาสวัดป่าโยธาประสทิ ธ์ิ อ�ำเภอเมอื ง จังหวดั สุรนิ ทร์ (ใน
ปัจจุบัน-พ.ศ.๒๕๓๘-พ�ำนกั อยทู่ ่วี ดั บรู พาราม)
๓.พระอาจารยส์ าม อกญิ ฺจโน วดั ปา่ ไตรวิเวก ตำ� บลนาบัว อ�ำ
เภอเมอื ง จงั หวัดสุรินทร์ (มรณภาพเมื่อ ๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๓๔)
พระโพธนิ ันทมนุ ี (อดีตพระครนู ันทปญั ญาภรณ์) ลกู ศิษย์ใกล้
ชดิ ของหลวงปู่ ได้เลา่ ถึงการต่อสู้ของหลวงป่ใู นการพฒั นาวัดในยุค
เริ่มแรก และการสรา้ งพระอุโบสถ จะว่าใหญท่ ส่ี ดุ ในยคุ ก่อนของภาค
อีสานกไ็ ด้ด้วย
การก่ออฐิ ถือปนู เทคอนกรีตเปน็ หลังแรก ผู้คนในสมัยน้นั ก็
แตกต่นื มาดู “โบสถ์วัดบูรพ์”
“วดั บูรพ์” ในสมัยก่อนก็ดงั ไปทวั่ เพราะแมแ้ ต่อิฐแตป่ นู คน
แถวน้ันกไ็ มเ่ คยเหน็ หลวงปู่ท่านก็ทำ� ความพยายามของท่านจงึ
เปน็ การต่อสอู้ ยา่ งยงิ่ ซึง่ ในตอนหลงั ก็มีหลวงปสู่ าม มาช่วยอกี แรง
หน่งึ เปน็ ก�ำลังส�ำคัญให้โบสถส์ ำ� เร็จลงได้
สมยั ก่อนการบอกบญุ เร่ยี ไรเปน็ การยากล�ำบากจริงๆ หลวงปู่

127

ทา่ นวา่ บางทีพระเดนิ บอกบญุ เร่ยี ไรเงนิ ๒ หมู่บา้ นแล้วยังได้แค่ ๒
สตางค์เท่านั้น (ไม่ใช่ ๒ บาท แต่เป็น ๒ สตางคเ์ ท่านน้ั ) พระต้อง
เดินบอกบญุ ไปหลายวนั จงึ จะรวบรวมปจั จยั ได้ ๑ บาท อยา่ งน้ีกม็ ี
การบอกบญุ ในสมยั นนั้ จงึ ไดใ้ หป้ ระชาชนบรจิ าคเปน็ ขา้ วเปลอื ก
ไดอ้ าศยั ข้าวเปลอื ก ถ้าขอใหช้ าวบ้านบริจาคเปน็ เงินสดก็จะไดเ้ พียง
หมบู่ ้านละ ๒-๓ สตางค์ เทา่ นัน้ คงไมไ่ หว
ขณะนน้ั ปูนซีเมนตก์ อ่ สรา้ งราคาถงุ ละ ๘๐ สตางค์ ไปถึง ๑
บาทกวา่ แลว้ ในสมยั น้ันซีเมนตส์ แี ดงๆ ไม่มคี ุณภาพเท่าไร
หลวงปู่เลา่ บอกว่า การบรจิ าคได้จากการเรี่ยไรข้าวเปลอื ก
เมื่อท�ำดงั น้นั ทุกคนทกุ บ้านก็มีขา้ วเปลือกดว้ ยกันทง้ั น้ัน เขาจงึ เอา
ขา้ วเปลอื กมาบรจิ าคคนละกระบุงคนละกะเฌอ ถา้ ตรี าคากะเฌอละ
๑๓–๑๔ สตางค์ ก็จะดีกว่าขอบริจาคเป็นเงนิ และจะได้ทุกบา้ น
เมอ่ื ได้ขา้ วเปลือกมาก็จะท�ำใหม้ องเหน็ เงินสด รอ้ ยบาทบา้ ง
สองร้อยบาทบา้ ง หรือบางทกี ็ไดถ้ ึงพนั แตล่ ะปกี น็ �ำเงนิ มาสรา้ งโบสถ์
เริม่ สร้างตง้ั แต่ พ.ศ. ๒๔๘๙ มาเสร็จเรียบร้อยเมื่อปี ๒๔๙๓ ลองคิด
ดใู ชเ้ วลาก่ปี ี นี่หลวงปไู่ ดต้ อ่ สเู้ ร่ืองสร้างโบสถ์มากับหลวงป่สู าม
พอสรา้ งโบสถ์ วดั บรู พเ์ สรจ็ แล้ว หลวงป่สู ามท่านจึงออกทอ่ ง
เท่ยี วธดุ งคไ์ ปเปน็ เวลานาน
น่ีคือชวี ิตการต่อส้ขู องครบู าอาจารยใ์ นสมัยก่อนกว่าจะสำ� เร็จ
ส�ำหรบั อิฐนนั้ ไมม่ ีขาย พระเณรในวดั และชาวบ้านชว่ ยกนั
เหยียบเอง และท�ำเตาเผาเองทั้งหมด แลว้ ใชไ้ มท้ างโรงเลือ่ ยมาชว่ ย

หลวงพ่อพระประธาน

ส�ำหรับพระประธานในโบสถ์ของวัดบูรพารามนั้น เป็น
พระพุทธชนิ ราชจ�ำลอง หล่อดว้ ยโลหะทองเหลือง หล่อเสร็จเมอื่ วันท่ี
๒๗ เมษายน ๒๔๙๐ โดยมพี ระครคู ณุ สารสมั บนั (โชติ คณุ สมปฺ นโฺ น)
พระครนู วกจิ โกศล (เปล่ียน โอภาโส) กบั คณะสงฆ์ ประชาชนชาว

128

สรุ นิ ทรร์ ่วมกนั สรา้ ง หลวงปดู่ ูลย์ อตุโล เป็นประธานดำ� เนนิ งาน
ท่านเจา้ คณุ พระโพธินนั ทมนุ ี ไดเ้ ลา่ ถึงเหตอุ ศั จรรย์เก่ยี วกับ
การสร้างพระประธานว่า
ในส่วนนมี้ ันกแ็ ปลก มสี ว่ นทอ่ี าตมาว่าแปลกเทา่ ทอ่ี าตมาอยู่
กบั ทา่ นเหน็ ว่า ท่านมคี วามเกีย่ วพนั กับนาํ้ ฝนหลายครัง้ จะว่าเป็น
เรอ่ื งฤทธ์ิ หรอื ไม่กไ็ มท่ ราบ เมือ่ หลอ่ พระพุทธรปู พระประธานที่
ประดิษฐาน ณ พระอโุ บสถ
เปน็ พระพทุ ธรปู หลอ่ ถอื เปน็ การจดั งานหลอ่ พระพทุ ธรปู ครงั้
แรกในจงั หวดั สรุ นิ ทร์ เหตกุ ารณค์ รง้ั นนั้ โดง่ ดงั ไปทว่ั จงั หวดั คอื เมอ่ื มี
การสรา้ งพระอโุ บสถใกลจ้ ะเสรจ็ แลว้ มกี ารหลอ่ พระประธานกค็ อื หลอ่
พระพทุ ธชนิ ราชจำ� ลองแบบสมยั ใหม่ องคท์ เี่ ปน็ พระประธานไว้ในพระ
อโุ บสถ ดว้ ยการเชิญชา่ งหล่อมาทำ� การหลอ่ ท่ี จังหวัดสุรนิ ทร์
ประชาชนให้ความสนใจเป็นอันมาก ได้สง่ ขา้ วของมาช่วย ไม่
วา่ จะเปน็ ทองเหลือง ทองแดง อะไรต่างๆ มาเยอะแยะ เสร็จแล้วก็
ประกอบพธิ ีขน้ึ
ในสมัยทเ่ี งนิ ทองก�ำลังหายาก กม็ ีช่อื โดง่ ดงั วา่ ในพิธจี ดั งานนี้
ได้เงนิ บรจิ าคสูงถึงแปดหม่ืนบาท เมื่อพ.ศ. ๒๔๘๙ สามารถรวบรวม
เงินทองโดยชาวบา้ นไปทำ� บญุ กับหลวงปู่เพื่อหล่อพระประธาน
การสร้างพระประธานใช้เงิน ๓ หมนื่ บาทในขณะนนั้ ได้รับ
เงนิ บริจาคถงึ ๘ หม่ืนบาท กม็ ีเหตุอศั จรรยฟ์ ้าผ่า ๘ ทิศใหป้ รากฏ
ความจริงเรอื่ งอัศจรรยต์ ่างๆ หลวงปู่ไม่ได้ใหค้ วามสนใจ
อาตมาก็ไมน่ ยิ มเรอ่ื งอัศจรรย์ทำ� นองนี้ แตท่ ่ีจะพูดไมใ่ ชจ่ ดุ น้ี
ไมใ่ ชเ่ รอ่ื งนี้ คือจะพูดจดุ ตรงที่วา่ เมอ่ื หล่อพระประธานเรียบร้อยแลว้
ตอนนัน้ อาตมาบวชเณรแล้วนะ หลอ่ พระประธานไดเ้ รียบรอ้ ยแลว้ ก็
จะอัญเชญิ เขา้ ประดิษฐานในโบสถ์ตามวนั ทีก่ �ำหนด
หลวงปู่ก็เชญิ ผู้ว่าราชการจังหวัด (สมัยนั้นเรยี กว่า ขา้ หลวง)
และบคุ คลส�ำคญั อื่นๆ ของจงั หวดั เชน่ เทศมนตรี ขา้ ราชการฝ่าย
ต่างๆ เพอื่ แจ้งให้คณะกรรมการทราบว่าวันทเี่ ท่านั้นๆ จะยกพระ

129

ประธานข้ึนประดิษฐานบนแทน่ ในโบสถ์ ขอใหม้ าช่วยกนั มาร่วมมอื
กันใหม้ ากหน่อย
พวกเขาเหล่านั้นกราบเรียนหลวงปูว่ ่า พระพุทธรปู องคส์ �ำคัญ
ขนาดน้ีไมค่ วรท�ำอยา่ งเงียบๆ ควรจะแห่รอบเมืองเสียก่อน จัดขบวน
แหใ่ ห้สวยงาม และย่ิงใหญ่เปน็ กรณพี เิ ศษ
หลวงปบู่ อกวา่ “ไม่ต้องหรอก ไม่ต้องแหห่ รอกมนั จะเปน็ การ
ลำ� บาก และกดี ขวางถนนหนทาง เมื่อหล่อเรียบร้อยแล้ว ก็อาราธนา
นิมนต์ท่านประดษิ ฐานในโบสถ์เลย” ท่านตกลงอยา่ งน้ี
ทีนเี้ ม่ือหลวงปูต่ กลงตดั บทอยา่ งนี้แลว้ พวกเขาเหล่าน้ันกม็ า
ประชุมกันตา่ งหาก และตกลงกันวา่ จะแห่ “เม่ือหลวงพ่อไม่ใหแ้ หก่ ็
เร่อื งของหลวงพอ่ คงไมเ่ ปน็ ไร พวกเราเหน็ ควรแหก่ ค็ งไม่เปน็ ไร”
ตกลงคณะกรรมการวัด และข้าราชการตกลงจดั ขบวนแห่
หลวงปู่กไ็ ม่ไดต้ ่อวา่ อะไรปลอ่ ยไปตามเรอ่ื งของเขา
พอถึงวนั แห่ ผู้คนมาร่วมอยา่ งมากมาย สมัยนั้นก็มพี วกญวน
อพยพกม็ ารว่ มดว้ ยจำ� นวนมาก จัดขบวนแห่กันอยา่ งมโหฬาร มกี าร
แต่งตัวตามแบบโบราณบา้ ง ตามแบบสมยั ใหม่บ้าง คนแตกต่นื มา
ร่วมกันมาก
แล้วกย็ กพระประธานขึน้ รถ ตอนนน้ั ดูเหมือนจะใช้รถยนต์คัน
เกา่ ๆ ของเทศบาล ยกพระประธานข้นึ รถเรยี บรอ้ ย พอจะได้เวลาแห่
ก�ำลงั จะเคลือ่ นขบวนกนั ก็ขอเล่อื นเวลาออกไปหนอ่ ย เนือ่ งจากจะ
ออกขบวนกันตงั้ แต่เท่ียงก็ร้อนไป เพราะเปน็ เดือนพฤษภาคม วันข้นึ
๑๔ คาํ่ ก็มาเปล่ยี นเวลาไปตอนบ่าย ให้หายรอ้ นสักหน่อย
ขบวนแห่ทกุ อย่างก็เตรียมพร้อม หลวงปู่ท่านอยู่ในกฏุ ิ ไมไ่ ด้
ออกมาดเู ลยพวกเขากจ็ ัดการกันเอง คนร่วมพิธอี ย่างเนอื งแน่น
เตรียมจะเคลอ่ื นขบวนออกไปทางหนา้ วัด ทางตะวนั ออก
ทุกคนมวั แต่กลุ กี จุ อ ไม่ได้หันหน้าไปดูทางด้านตะวนั ตก
ปรากฏว่าเมฆฝนตงั้ เคา้ บนทอ้ งฟา้ ด้านตะวนั ตก พอเรม่ิ จะเคล่อื น
ขบวนเทา่ นน้ั ทง้ั ฝนทง้ั ลมกม็ าอย่างหนักทว่ั ทิศ ลมกแ็ รง ตา่ งคน

130

ตา่ งก็หนีฝนขึน้ ศาลาบ้าง เข้าโบสถบ์ ้าง หลบใตถ้ ุนกฏุ บิ ้าง
ตน้ ไมห้ ักระเนระนาด หลายคนหาทห่ี ลบฝนไมท่ ัน เพราะคน
มันมากอาคารสถานท่ไี ม่พอกพ็ ากันกางร่ม แล้วถูกลมพดั กระจดั
กระจายหมด
ฝนตกนานเกอื บ ๒ ชั่วโมง ยังไมห่ ยุด พอฝนหยุดก็คํ่ามดื
พอดี ตา่ งคนต่างกแ็ ยกย้ายกนั กลบั โดยอตั โนมัติ
คนทีแ่ ต่งหน้าแต่งตามาสวยงามเพอื่ เขา้ ขบวน กเ็ สยี หายหมด
แปง้ ทาหน้าในสมัยกอ่ นสงสัยว่าจะสู้ทกุ วนั น้ไี ม่ได้ แป้งมันไหลลง
มายงั กบั อาคารรวั่ แลว้ สมี นั เลอะออกมาอยา่ งนนั้ แหละ แลว้ รม่ กระดาษ
ทีป่ ระชาชนเอามากาง ก็ถกู ลมพัดเอาไปหมด เหลืออยแู่ ตด่ ้ามเหมือน
กบั พากนั ถอื ไมต้ ะพด เพราะลมมันหอบเอาไปหมด กพ็ ากันเดนิ กลับ
บา้ นไป ทุกอย่างจบส้ิน ไม่มใี ครพดู ถึงเรือ่ งการแห่พระอีก
รุ่งเชา้ หลวงปกู่ ใ็ หเ้ รยี กพระเณรมารวมกัน รวมทง้ั ญาตโิ ยม
ทีม่ าวัดในเช้านนั้ ชว่ ยกันยกพระประธานขึน้ ประดษิ ฐานบนรตั น
บัลลังก์ ตั้งแต่บดั น้ันเป็นต้นมา
เรอื่ งนีเ้ ปน็ เหตุการณ์หนงึ่ ในกรณฝี นตก ซง่ึ จะเห็นว่าเหตุกา
รณ์สำ� คญั ๆ ในชวี ติ ของหลวงปผู่ กู พันกับฝนตก
หลายคร้ังหลายครา จนลกู ศษิ ย์ลกู หาสงสยั กนั วา่ หลวงปมู่ ี
วบิ ากอะไรผกู พันกบั ฝนก็ไมท่ ราบ แต่ไมเ่ คยมีใครกราบเรยี นถาม
หลวงปู่ในเรื่องน้ี
ทา่ นพระโพธินันทมุนี สรปุ วา่ “จะว่าอย่างไรก็ไม่ทราบ จะว่า
อทิ ธิฤทธิ์ หรือไมอ่ ทิ ธฤิ ทธ์ิ อาตมาไม่ทราบ อาตมาพดู ได้เพยี งวา่
อันน้ีเปน็ เร่ืองแปลกเท่านนั้ เอง”

พระอารามหลวง

ในการบรหิ ารการพระศาสนาทีว่ ดั บรู พารามน้ัน หลวงป่ทู ่าน
อยู่ในฐานะประธานสงฆ์ ได้แบง่ งานดา้ นการศกึ ษาและการปกครอง

131

ให้แก่ พระมหาพลอย อุปสโม เปน็ ผู้ด�ำเนนิ การ
ด้านการเผยแพรเ่ ทศนาอบรมประชาชน ได้มอบใหพ้ ระมหา
เปล่ียน โอภาโส เปน็ ผู้ดำ� เนินการ
จากวนั ที่ ๒๔ กรกฎาคม ๒๔๗๗ เมอื่ หลวงปมู่ าพำ� นักทีว่ ดั
บูรพารามครงั้ แรก จนกระท่งั ละสงั ขารเมอื่ เวลา ๐๔.๑๓ น. ของวัน
ท่ี ๓๐ ตุลาคม ๒๕๒๖ รวมเปน็ เวลา ๕๐ ปีเศษ ทหี่ ลวงปดู่ ุลย์
อตุโล พ�ำนักอยู่ ณ วดั แหง่ นี้
ปี พ.ศ. ๒๔๗๘ หลวงปู่ไดร้ บั แต่งตงั้ เป็นเจา้ คณะแขวงรตั นบรุ ี
ซ่งึ เป็นอำ� เภอทอี่ ยู่ตดิ ตอ่ กบั อำ� เภออุทมุ พรพิสัย จงั หวดั ศรสี ะเกษ
และอ�ำเภอสุวรรณภูมิ จงั หวัดร้อยเอ็ด
จนกระทัง่ ถงึ วนั ท่ี ๑ มีนาคม ๒๔๗๙ จงึ ไดร้ บั แตง่ ต้งั เป็น
พระครูสญั ญาบตั ร เจา้ คณะแขวงรัตนบุรี
วันที่ ๒๔ พฤษภาคม ๒๔๘๐ ไดร้ ับแต่งต้ังเป็นพระอุปัชฌาย์
วิสามญั ฝ่ายธรรมยตุ กิ นิกาย
กระทัง่ วนั ท่ี ๑ พฤษภาคม ๒๕๐๑ จึงได้รับแต่งต้ังเปน็ เจา้
คณะจังหวัดสุรนิ ทร์ ฝา่ ยธรรมยุติกนิกาย อกี ๓ ปตี อ่ มาไดร้ ับแต่ง
ต้ังเปน็ พระราชาคณะช้นั สามญั (เจ้าคุณ) ท่ีพระรตั นากรวสิ ุทธิ์ วนิ
ยานยุ ตุ ธรรมิกคณิสสร หรือ “พระรตั นากรวสิ ุทธ์ิ”
วันท่ี ๒ ธนั วาคม ๒๕๒๒ ทรงพระกรณุ าโปรดเกล้าฯ
พระราชทานสมณศกั ดเ์ิ ปน็ พระราชาคณะช้นั ราชท่ีพระราชวุฒาจารย์
ศาสนาภารธุรกจิ ยตคิ ณิสสร บวรสงั ฆารามคามวาสี หรือ “พระราช
วฒุ าจารย์” อนั เป็นสมณศักด์คิ ร้ังสุดท้ายของหลวงปู่
ตงั้ แตก่ ลบั จากจงั หวดั อบุ ลราชธานี เมอื่ พ.ศ. ๒๔๗๗ หลวงปู่
มาพำ� นกั ประจำ� ทวี่ ดั บรู พารามแหง่ เดยี วตดิ ตอ่ กนั มาทา่ นไดป้ ฏสิ งั ขรณ์
วัดใหเ้ จรญิ รงุ่ เรืองมาเป็นลำ� ดับ จนกระทัง่ กรมการศาสนาไดย้ กข้ึน
เป็นวัดพัฒนาตวั อย่าง ในปี พ.ศ. ๒๕๑๑
วดั บูรพารามไดร้ ับการพัฒนาต่อเน่อื งกนั มา และเป็นทีน่ า่
ปลาบปล้มื แก่ปวงชนชาวสรุ ินทรเ์ ป็นอย่างยิ่งที่พระบาทสมเดจ็

132

พระเจา้ อย่หู วั ทรงมีพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกลา้ ฯ ให้ยกวดั บรู พา
รามข้ึนเป็นพระอารามหลวง เมอื่ วนั ท่ี ๑ กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๒๐
ตัง้ แตน่ ั้นเปน็ ตน้ มา วดั บูรพาราม จังหวัดสุรินทร์ กไ็ ดก้ ลาย
เป็นที่รู้จักแก่สาธุชนผสู้ นใจในธรรมทวั่ ไป และเปน็ แบบอย่างแก่วัด
ทัว่ ไปในจงั หวดั สรุ นิ ทร์ และจังหวัดใกลเ้ คยี ง ประชาชนท่ัวไปไดเ้ รมิ่
หล่งั ไหลเข้ามาศึกษาธรรมะ เข้ามาคารวะกราบขอพรจากหลวงปู่
ตามกิตติศักด์ทิ ี่เลา่ ลือกนั ไปอยา่ งไมข่ าดสาย
แมก้ ระท่งั ทุกวนั นี้ แมห้ ลวงปู่ได้ละท้งิ สังขารไปแล้วตัง้ แต่
พ.ศ. ๒๕๒๖ และไมม่ อี งค์หลวงปอู่ ยทู่ ่ีวดั แล้ว ก็ยงั มผี ู้เล่อื มใสศรทั ธา
ดำ� เนนิ ตามแนวทางค�ำสอนของท่าน ไดช้ ่วยกนั ท�ำนบุ �ำรุงรกั ษาไว้ซึง่
แนวทางน้นั โดยทุกประการ ผู้ท่ีเคารพศรทั ธาในองค์หลวงปูก่ ็ยังแวะ
เวยี นไปกราบรปู เหมอื นของหลวงปู่ และมีความรู้สึกวา่ หลวงป่ยู งั คง
เป็นท่พี ง่ึ ทางธรรมใหแ้ ก่ลกู ศษิ ยล์ กู หาอย่ตู ลอดไป

ปชู นียบคุ คลที่หาไดย้ าก

ท่านเจ้าคุณ พระโพธนิ นั ทมุนี (พระมหาสมศักดิ์ ปณฺฑโิ ต) ได้
เล่าถงึ หลวงปู่ดูลย์ อตโุ ล ดงั น้ี
ในฐานะทอี่ าตมาอยู่ใกลห้ ลวงป่มู าตง้ั แต่เมอ่ื ท่านมีอายุ ๖๒ ปี
จนกระทั่งทา่ นมรณภาพเม่อื ใกล้รอ้ ยปี ก็ไดอ้ ยู่กบั ท่านในฐานะที่
ปฏิบตั ิรับใช้ท่านตลอดมา สารทุกข์สุขดิบ ความยากความง่าย
ปญั หาสารพนั นัน้ แม้จะไมม่ ปี ัญญาท่อี ยู่ในระดับทีจ่ ะช่วยท่านแก้ไขได้
แตห่ ัวสมองของอาตมานัน้ ไดร้ ับรู้ รับทราบ รบั สุข รบั ทุกข์ เข้าถงึ
อาตมามาโดยตลอดเช่นเดยี วกนั ในแง่ของการบริหารงาน
ฉะน้ัน ปฏิปทาของหลวงปทู่ ีเ่ ป็นสว่ นรวม และโดยเฉพาะท่ี
เปน็ สว่ นตวั ของทา่ นน้นั ร้สู กึ วา่ ทา่ นเปน็ พระเถระ หรอื เป็นปชู นยี
บคุ คลทห่ี าได้ยากอย่างยิ่ง
คือ ทา่ นจะท่มุ เทก�ำลังกาย ก�ำลังใจ ก�ำลังความสามารถ มา

133

ในทางการบริหารการพระศาสนาทงั้ หมด
การพูดถงึ ปัญหาภายนอก ไม่วา่ จะเปน็ ปญั หาบ้านเมอื ง
ปัญหาการเปลยี่ นแปลง หรอื ปญั หาอะไรตา่ งๆ นัน้ หลวงปูจ่ ะกลา่ ว
แต่นอ้ ย รบั รูน้ ้อย
ท่านจะพยายามมงุ่ มั่นแตใ่ นทางพระศาสนา โดยเฉพาะอยา่ ง
ย่งิ องค์หลวงปู่เอง เวลาทา่ นมาอย่วู ดั ท่ีเรยี กว่า “วตั รบริหาร” คอื
ไมใ่ ชต่ อนทีถ่ ือธดุ งควตั รตามปา่ เขากจ็ ริง แต่กิจวัตรส่วนตัวของท่าน
นนั้ กลา่ วได้วา่ ทา่ นไม่เคยบกพรอ่ งเลย
เคยปฏิบตั อิ ยา่ งไร กค็ งยึดปฏปิ ทาปฏิบัตอิ ยอู่ ย่างนน้ั อยา่ ง
สมา่ํ เสมอ ไม่ขาดตกบกพรอ่ ง ดา้ นการบณิ ฑบาต ทา่ นก็ท�ำเป็น
ประจ�ำ ฉันในบาตร ฉนั ม้อื เดยี ว กร็ ู้สกึ ว่าทา่ นปฏบิ ตั มิ าได้ตลอด
เว้นไวแ้ ต่มกี ิจจำ� เป็นทางราชการนมิ นต์ไปในภาระใดภาระ
หนึ่ง เชน่ ในรัฐพิธีบางอย่าง ทา่ นกฉ็ นั ใหเ้ ขาบ้างตามพธิ ี เพ่ือมใิ ห้
ขดั กบั ส่ิงแวดล้อมนั้นเอง
นี่คอื ปฏิปทาส่วนตวั ของท่าน ซงึ่ ในแต่ละเรือ่ งแต่ละตอนล้วน
แต่ปฏบิ ัตถิ กู ตอ้ ง งดงาม และท�ำเสมอต้นเสมอปลาย

บิณฑบาต ๒ ชน้ั

ทา่ นเจา้ คณุ พระโพธนิ นั ทมนุ ี เลา่ ถงึ ปฏปิ ทาของหลวงปดู่ ลู ย์
อตโุ ล ตอ่ ไปวา่ สงิ่ ทอ่ี าตมาภาพเหน็ วา่ ทา่ นไมค่ อ่ ยเหมอื นใคร และไมม่ ี
ใครหาโอกาสทำ� เหมอื นหลวงปู่ กค็ อื วา่ เมอื่ ทา่ นมภี าระมากแลว้ ก็
ชราภาพพอสมควรแลว้ การเดนิ บณิ ฑบาตโดยทวั่ ไปกอ็ าจจะขดั ขอ้ ง
แตท่ า่ นกไ็ มท่ ง้ิ บาตรเหมอื นกนั อยากจะใหท้ า่ นผอู้ า่ นไดท้ ราบในเรอ่ื งน้ี
ท่ีวา่ หลวงปู่ไมท่ ง้ิ บาตรก็คอื เมอื่ หลวงป่ไู ม่ได้ออกไปบณิ ฑบาต
ทา่ นกเ็ อาบาตรของท่านมาตง้ั ไวใ้ หล้ ูกศิษยน์ �ำบาตรมาตงั้ ไว้ทห่ี น้ากฏุ ิ
พระเณรสานุศิษยท์ ่อี อกบิณฑบาตมาจากทิศตา่ งๆ เม่อื เข้าสูบ่ รเิ วณ
วดั แล้ว ทกุ องคจ์ ะตรงไปท่หี นา้ กุฏิหลวงปแู่ ลว้ เอาทัพพีท่มี นี ้นั ตกั ข้าว

134

จากบาตรของตนใส่บาตรหลวงปู่คนละ ๑-๒ ทัพพี มอี ะไรก็ใสบ่ าตร
ถวายทา่ น
จึงเหมอื นกบั วา่ ท่านยังฉันข้าวที่ลงในบาตรตลอดมา ตราบ
จนสนิ้ อายขุ ยั ของทา่ น
ในการทำ� อย่างน้ี พวกเราทงั้ หลายเมือ่ บิณฑบาตมากม็ าใส่
บาตรหลวงปู่ บางองค์ก็อธษิ ฐาน บางองคก์ ็แสดงความเอ้ือเฟ้อื อยา่ ง
ย่งิ ทจ่ี ะใส่บาตรถวายหลวงปู่
อนั นีเ้ มื่อคิดดูแล้ว ส�ำหรบั อาตมากม็ คี วามรสู้ กึ ว่าเปน็ การถกู
ตอ้ งอยา่ งยง่ิ
หมายความวา่ ทีญ่ าตโิ ยมใส่บาตรในท่ีตา่ งๆ เราไปรบั บาตร
จากญาตโิ ยมก็จะมคี วามรู้สกึ ว่าบิณฑบาตท่ีเรารบั มานนั้ เรา
บณิ ฑบาตมาถวายหลวงปู่ ผ้เู ปน็ ปชู นยี ะ หรือผู้เป็นอปุ ัชฌายะของ
ตนเอง
เมอ่ื ใสบ่ าตรหลวงปู่แลว้ พวกเรารสู้ กึ วา่ ไดท้ �ำหนา้ ที่ในฐานะท่ี
แสวงหาภกิ ขามาไดโ้ ดยชอบธรรมแล้ว กเ็ อามาถวายหลวงปู่
บณิ ฑบาตในบาตรหลวงปู่ อาตมาถอื วา่ “บณิ ฑบาต ๒ ชน้ั ”
ใชค้ ำ� วา่ “บณิ ฑบาต ๒ ชนั้ ” กห็ มายความวา่ ญาตโิ ยมยกอธษิ ฐานใส่
บาตรพระเณรโดยทวั่ ไปแลว้ อนั นช้ี น้ั ทหี่ นง่ึ แลว้ พระเณรกม็ าอธษิ ฐาน
ถวายหลวงปู่ เพราะฉะนัน้ ข้าวในบาตรของหลวงปู่จึงเปน็ บิณฑบาต
๒ ชั้น ถอื ว่าเปน็ ของท่บี รสิ ทุ ธิห์ มดจด และเปน็ ของสูง ใครจะไป
ประมาทการบิณฑบาตของท่านไมไ่ ด้ ทา่ นก็ฉนั อาหารในบาตรของ
ทา่ นมาโดยตลอด
นเ่ี ปน็ ปฏปิ ทาอกี ขอ้ หนง่ึ ทผ่ี ดิ แผกจากองคอ์ น่ื ไมท่ ราบวา่
หลวงปทู่ า่ นมองเหน็ อยา่ งไร มเี จตนาอยา่ งไร คงจะเปน็ สงเคราะห์
ลกู หลาน สานศุ ษิ ย์ ใหเ้ ขาไดม้ โี อกาสรบั ใชป้ ฏบิ ตั คิ รบู าอาจารย์

135

ให้โอกาสสานศุ ษิ ย์

ปฏิปทาของหลวงปใู่ นการเปดิ โอกาสใหล้ กู ศิษย์ลูกหา ได้
ปรนนิบตั ริ บั ใช้ท่านนน้ั มีการเก่ียวเนื่องกับพระเณรในวัด คอื เราจะ
มกี ารจัดวาระไปปฏิบัติหลวงปู่เริ่มตั้งแต่ ๕ โมงเย็น หรือ ๔ โมงเยน็
กส็ รงนํ้า ซงึ่ หลวงปู่จะสรงนํา้ อุน่ ตลอด
จะมกี ารจัดเวรพระไว้ชุดหน่งึ นอกนนั้ แล้วแต่องคใ์ ดจะมี
ศรัทธา อยา่ งน้อยมี ๓ องค์ข้นึ ไป ท่ีไปรว่ มกันสรงนํา้ หลวงปทู่ กุ วนั
เมือ่ ผสมนำ�้ อุน่ เสร็จเรยี บร้อยแลว้ ก็อาราธนาทา่ น ทา่ นน่งั
เก้าอีใ้ กล้ต่มุ นำ�้ อุน่ น้ัน พระเณรก็ช่วยกนั สง่ ผา้ อาบนา้ํ ถวายท่าน
เหมอื นกับว่าช่วยนงุ่ ให้ทา่ นนน่ั แหละ ผลัดเปลยี่ นผ้าเสร็จแลว้ กอ็ าบ
ถขู ้างหนา้ หน่งึ หรอื สององค์ ขา้ งหลงั หน่งึ หรอื สององค์ ทา่ นกถ็ ูเอง
บนศรี ษะ ราดนํ้า แลว้ ก็หม่ สบง กเ็ หมือนกับช่วยทา่ นนุ่งนั่นแหละ
ก็ช่วยเหลอื ชว่ ยสง่ ให้ทา่ น ชว่ ยเชด็ ตวั ให้ทา่ น เรียบรอ้ ยแล้วก็ถอื วา่
หมดวาระในช่วงนั้น
ส่วนกลางคนื กแ็ ล้วแต่พระเณรท่ีมีศรทั ธาไปถวายการนวด
ไปนั่งเฝา้ รับใชท้ า่ น คอยรับธรรมะค�ำ สอนจากทา่ น แตล่ ะองคก์ ็
นิยมท�ำ เพราะวา่ เวลาเขา้ ใกล้หลวงป่แู ล้วจะรูส้ ึกว่าเยอื กเยน็ สบาย
อกสบายใจ แม้เรากลุ้มใจ ก็ร้สู กึ สบายใจได้ฟงั ข้อคิดธรรมะ ค�ำเตอื น
อนั นค้ี ลา้ ยๆ กับว่าตั้งแต่คาํ่ ไปจนถึง ๓ ทมุ่ พวกเราจะตอ้ ง
มาอยกู่ บั หลวงปู่ ถา้ ไมม่ แี ขกพวกเรากอ็ ยกู่ บั ท่าน แลว้ แต่ทา่ นจะสอน
แล้วแต่จะมีโอกาสอะไรทีจ่ ะรบั ใช้ทา่ น น่ีคือกจิ วตั รประการหนึง่
รู้สกึ วา่ เท่าที่เหน็ ครบู าอาจารย์มาฝา่ ยกมั มัฏฐาน เขาจะสนใจ
ตอ่ การปฏิบัตคิ รูบาอาจารยม์ าก ถือวา่ เปน็ กัมมัฏฐานขอ้ หน่งึ ของ
พระเณร ในการทีร่ ับใชค้ รูบาอาจารย์
บางองคเ์ ขาก็นกึ เข้ามาทางทต่ี ัวเองวา่ “โอ ! เราไม่ไดร้ ับใช้
คุณพ่อคุณแม่ เมอ่ื เรามาบวชอยูใ่ นพระศาสนาการได้รบั ใชค้ รบู า
อาจารย์ รบั ใชห้ ลวงปู่ก็เหมอื นกบั การไดร้ บั ใชพ้ ่อแม่ดว้ ย” ก็เกดิ

136

ความภมู ิใจ ดใี จ กน็ ับเป็นบญุ กศุ ลของเขา บญุ กุศลกค็ งจะต่อไปให้
กับบดิ ามารดาของตัวเองบา้ ง
อันนค้ี ือปฏิปทาอยา่ งหน่งึ ของหลวงปู่ ทเ่ี กย่ี วกับสานศุ ษิ ยท์ ่ี
พึงจะรับใช้ท่าน

งานเผยแพร่ไปส่ปู ระชาชน

นอกจากงานด้านคันถธรุ ะ จะไดร้ บั การพัฒนาใหเ้ จริญ
รุ่งเรอื งดังไดก้ ล่าวมาแลว้ ด้านวปิ ัสสนาธรุ ะกม็ ิไดล้ ้าหลัง นกั ปฏิบัติผู้
ใคร่ในธรรมชาวสุรินทร์ ก็ได้หลวงปเู่ ป็นหลักสำ� คญั ในการใหก้ าร
อบรมส่ังสอน และแกไ้ ขช้ีแนะแนวทางปฏบิ ตั ิ นบั วา่ เปน็ บญุ ญลาภอนั
ประเสริฐของชาวสรุ ินทร์ และจังหวดั ใกลเ้ คียง
ถ้าเทียบกับประชาชนในถนิ่ อ่ืนหลายแห่ง จะเหน็ ว่าผูใ้ ฝ่ใจใน
ธรรมปฏบิ ตั ิ ต้องเทย่ี วเสาะหาครูบาอาจารย์กันเป็นเวลาแรมเดือน
แรมปี เปน็ ระยะทางไกลเปน็ รอ้ ยเป็นพันกิโลเมตร ก็ยังไดพ้ บบา้ ง ไม่
ไดพ้ บบ้าง เนอ่ื งจากครบู าอาจารย์ตา่ งๆ ทา่ นไมค่ ่อยอยปู่ ระจำ� ท่ี
แตช่ าวสรุ ินทรน์ ัน้ มีหลวงป่ดู ูลย์ ผสู้ ามารถชีแ้ นะไดต้ ลอด
สาย คอยอยเู่ ปน็ ประจ�ำทีว่ ดั แล้ว จึงทำ� ให้การพระศาสนาดา้ น
วิปสั สนาธุระ เจรญิ กา้ วหน้าไปด้วยดี
จะเห็นว่าการสอนวิปสั สนาของหลวงปู่ที่สำ� นักวัดบรู พาราม
นน้ั ไม่มีการยกปา้ ยเปดิ ปา้ ยให้ร้วู ่ามกี ารเรียน การสอนในดา้ นนี้แต่
อย่างใด แตก่ ็เป็นท่ีรู้จกั กนั ดใี นหมู่ผู้เสาะแสวงหาธรรมปฏิบัติจากท่ัว
ประเทศ
อนึ่ง เป็นทน่ี า่ สงั เกตว่าในสมัยทห่ี ลวงปทู่ ่านยังมชี วี ิตอยู่นน้ั
มชี าวสรุ นิ ทรจ์ �ำนวนไมน่ อ้ ยทไ่ี มร่ จู้ กั หลวงปู่ดูลย์ อตโุ ล ดังจะเห็น
จากเร่อื งราวที่วา่ “ชาวคณะจังหวดั สรุ นิ ทร์ ผใู้ ฝใ่ นการบญุ การกุศล
ไดพ้ ากนั เหมารถบสั เพอ่ื ไปกราบนมัสการ หลวงปแู่ หวน สุจิณฺโณ ท่ี
ดอยแมป่ ๋งั เชยี งใหม่ บา้ งไปกราบหลวงปู่ฝน้ั อาจาโร ทสี่ กลนคร

137

บา้ ง พระคุณเจ้าเหลา่ นน้ั ไดก้ ล่าวเป็นเชิงชี้แนะแก่ชาวสุรินทรเ์ หลา่
น้ันวา่ ท่จี งั หวัดสรุ นิ ทร์เองกม็ พี ระอริยเจา้ ผมู้ ีคุณธรรมสงู อยู่ทีน่ ่นั คือ
หลวงปู่ดูลย์ อตุโล ทำ� ไมจึงไม่ไปกราบ หรอื ท�ำไมจึงไม่รกู้ ัน อตุ ส่าห์
ด้ันด้นตะเกียกตะกายไปถงึ ท่ไี กลๆ โดยทไี่ ม่รวู้ า่ ทีจ่ งั หวดั ของตนก็มี
พระดพี ระดังชัน้ สุดยอดเหมือนกนั ”
ขอ้ ความนี้คัดลอกจากบันทึกในหนังสือ “อกญิ ฺจโนบูชา”
อนสุ รณใ์ นงานพระราชทานเพลงิ ศพของหลวงปสู่ าม อกิญฺจโน เมื่อ
วนั ที่ ๘ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๓๕
จากความทรงจ�ำ ของท่านเจา้ คณุ พระโพธินนั ทมุนี ได้เล่าถึง
ภารกิจด้านการเผยแผพ่ ระศาสนาของหลวงปู่วา่ ในระหวา่ งท่หี ลวงปู่
ยังมีชีวติ อยู่น้นั งานหลักประเภทหนึง่ นั้นกค็ อื งานก่อสร้างปฏสิ งั ขรณ์
และขยายวดั วาไปตามสาขาต่างๆ
กล่าวคอื เมอ่ื ฝ่ายกัมมฏั ฐาน เผยแผไ่ ปสูญ่ าติโยมทางไหน
ก็ตามกิจกรรมทางดา้ นวัดวากจ็ ะเกิดข้นึ ตามมา ไมว่ า่ แต่ละจุดแตล่ ะ
แห่ง ญาติโยมแตล่ ะตำ� บล แต่ละอ�ำเภอ ลว้ นอยากได้ “วดั ปา่ ” ล้วน
อยากได้พระปฏิบตั ิทัง้ นนั้
อันน้ี เทา่ ทไี่ ด้ฟงั ไดเ้ ห็นมานบั วา่ เปน็ การลำ� บาก เป็นการเพ่มิ
ภาระแกห่ ลวงปอู่ ย่างย่งิ คอื ไม่มีกำ� ลงั พล ไมส่ ามารถจะหาพระเณร
ไปโปรดญาตโิ ยมใหไ้ ด้หลายจุด และให้ได้หลายแหง่ ก็เปน็ อนั ว่า
ขัดข้องพอสมควร
แตเ่ มอื่ ชาวบา้ นเขาไม่ได้พระไป กห็ าโอกาสมาฟังเทศน์ฟัง
ธรรมเปน็ ครั้งคราว หรือมาท�ำบุญบรจิ าคทานทีห่ ลวงป่เู ป็นคร้งั
คราว เพ่อื ฟังข้อวัตรปฏบิ ัตหิ รอื ขอ้ แนะน�ำ กมั มฏั ฐาน
อาจกลา่ วได้ว่า ญาตโิ ยมผปู้ ฏิบตั กิ มั มัฏฐาน ปฏิบตั ิสมาธิ
ภาวนาในจังหวดั สุรินทรเ์ มือ่ เทยี บกบั จงั หวัดอ่นื แล้วมักจะมขี ้อสงั เกต
ว่า ในจังหวัดอืน่ นั้นพระสงฆส์ ามารถปฏบิ ัตกิ มั มฏั ฐานไดด้ ี แต่ทาง
จังหวดั สรุ นิ ทร์ แสดงใหเ้ ห็นวา่ ญาตโิ ยมจะมโี อกาสท�ำได้ดเี ป็นจ�ำนวน
มาก

138

เพราะเทา่ ทหี่ ลวงปู่เผยแผ่คณุ ธรรมมาการเข้าถึงสมาธปิ ัญญา
น้นั ท�ำให้ญาติโยมตนื่ ตวั ในการประพฤติ ปฏบิ ัติ ฝา่ ยกัมมัฏฐานเป็น
อนั มาก
ท่านพระอาจารยส์ ุวจั สุวโจ ศษิ ย์อาวโุ สองค์หน่ึงของหลวงปู่
ได้เคยพูดเปรียบเทียบในเรื่องน้ีวา่
ทางแถบอีสานเหนือ เชน่ อุบล อุดร ขอนแก่น นัน้ ในแง่
การปฏิบัติรับใช้เลย้ี งดู ถวายอาหารการบรโิ ภค การบำ� รุงพระกัมมฏั
ฐาน ท�ำได้ดี แตใ่ นแงก่ ารตง้ั ใจท�ำสมาธภิ าวนานน้ั สู้ทางจงั หวดั
สุรินทร์ไมไ่ ด้
ส่วนทางสุรินทร์น้ัน ในแงก่ ารทะนบุ �ำรุงจตุปจั จัยใหถ้ วาย
อปุ ถัมภ์แกพ่ ระกมั มัฏฐานทางวัตถุน้นั สทู้ างอสี านเหนอื ไม่ได้ แต่ถ้า
ในแง่การตั้งใจด้านสมาธิภาวนารักษาศีล ๘ ดูตามจ�ำนวนแล้ว ทาง
สรุ ินทรน์ ้ีไม่ใช่ธรรมดาเลย ทางสรุ นิ ทร์กับบรุ รี มั ย์แถวน้ีนบั ว่าการ
ปฏิบัติภาวนาอยใู่ นเกณฑด์ ี
พระเถระผู้ใหญ่ทา่ นใหข้ อ้ สงั เกตดังนี้ และเท่าทส่ี งั เกตมาก็
เห็นวา่ เปน็ ไปดงั น้นั จริง ท้งั นค้ี งเป็นผลจากที่หลวงปูไ่ ด้ทุ่มเทความรู้
ความสามารถในการเผยแผก่ ัมมฏั ฐาน พรอ้ มกบั สนใจใหก้ ารศกึ ษา
ดา้ นพระปรยิ ัติไปดว้ ยกระมัง จึงไดผ้ ลออกมาในลกั ษณะดังกลา่ ว

สงเคราะหศ์ ิษย์ในการบวช

ส�ำหรบั ชวี ิตประจ�ำวนั ของหลวงปู่ กม็ กี ล่าวถงึ ปฏิปทาในตอน
อ่นื มาพอสมควร ว่าท่านมีความเปน็ อยูอ่ ย่างไร คือ ท่านอยู่อยา่ ง
ง่ายๆ คำ� เตอื นของทา่ น โดยเฉพาะทา่ นจะเตอื นพระเณร ดว้ ยคำ�
เตอื นง่ายๆ
อยา่ งเช่น พระบางองคพ์ อบวชมาแลว้ ก็ตอ้ งการจะลาสึก
อยา่ งนี้เปน็ ต้น หลวงปู่ก็มักจะแนะน�ำวา่
“เออ ! อยชู่ ว่ ยวัดวาวาศาสนาไป การจะสกึ หาลาเพศไปน้นั

139

ญาติโยมเขากอ็ ยูภ่ ายนอกเยอะแล้ว เขากอ็ ยู่ไดท้ �ำได้ เรามีโอกาสได้
มาบวชปีสองปกี ต็ ้ังใจศึกษาปฏิบัติ ช่วยวดั วาชว่ ยพระศาสนาไป”
โดยมากแลว้ พระทจี่ ะไปลาสกึ กนั นั้นไมม่ ใี ครไปขอลาคร้งั เดียว
แล้วกส็ �ำเรจ็ (ยกเวน้ ลางาน ลาราชการบวชชั่วคราว) จะถกู ทา่ น
แนะน�ำจนกระทงั่ ทา่ นเห็นวา่ คนน้ันถอยจริงๆ แลว้ ถอยศรทั ธาแลว้
ถึงอยู่ตอ่ ไปก็คงไมไ่ ด้อะไร ทา่ นจงึ จะอนญุ าต
แต่ถา้ พอแกไ้ ข แนะน�ำชกั ชวนใหอ้ ยู่ประพฤติปฏิบตั ติ ่อได้
ทา่ นก็มักจะแนะน�ำ ตักเตอื นเสียก่อน ซง่ึ มหี ลายองคจ์ ะได้ผล และอยู่
บวชเรยี นต่อๆ มาจนมีชอื่ เสียงมาจนปจั จุบนั นี้
สง่ิ ส�ำคัญอกี ประการหนึ่งก็คือ การสงเคราะห์ในการให้
บรรพชาอุปสมบท นับเปน็ เร่ืองทน่ี ่าสนใจยง่ิ และน่าเหน็ ใจท่านมาก
การสงเคราะหใ์ ห้คนเข้าบวชน้นั บางคนไมร่ หู้ นังสอื ไมไ่ ด้
ก.ไก่ - ข.ไขม่ า เมอื่ มาอยวู่ ดั แล้วบางทีหลวงปู่ต้องลงทนุ สอนดว้ ยตวั
ท่านเอง กระทั่งเขาอา่ นออกเขยี นได้ แล้วสอบได้นักธรรมตรี โท
เอก ไปจนถงึ มหาเปรยี ญ กม็ เี ยอะ
ในเร่ืองการสงเคราะห์คนใหไ้ ด้บวชเรยี นนน้ั ท่านท้งั หลายคง
ยอมรับว่าในชว่ งสมยั สงครามนนั้ หลวงปหู่ ลวงพ่อในรนุ่ นัน้ ถอื เปน็
ร่นุ ทกุ ขย์ ากลำ� บากขาดแคลนมากในเรือ่ งปจั จยั สี่ โดยเฉพาะเครอ่ื ง
นุ่งห่ม
สำ� หรับทา่ นทีส่ งู อายสุ ักหนอ่ ยจะเห็นว่าจาก พ.ศ. ๒๔๘๐
กระทัง่ พ.ศ. ๒๔๙๐ และถงึ ๒๕๐๐ นนั้ เรื่องเครอ่ื งนุ่งหม่ โดย
เฉพาะในบา้ นนอกบ้านนานน้ั นบั ว่าแร้นแคน้ อย่างท่ีสดุ
ผ้ทู ม่ี าขอบวชกับหลวงปู่ เมือ่ สนใจเล่ือมใสแล้วก็จะถกู พอ่ แม่นำ�
ตวั มาถวาย “แล้วแต่หลวงปู่จะเมตตา แล้วแต่หลวงพอ่ จะกรุณา สบง
จวี รอะไรกไ็ ม่มีหรอก แล้วแตห่ ลวงพอ่ จะเมตตากรุณาเถอะ”
แมแ้ ต่สบงจวี รท่จี ะบวชกไ็ ม่มี หลวงปู่กบ็ วชให้โดยเฉพาะใน
ช่วงหลังๆ หลวงปู่บวชใหม้ ากจริงๆ คอื ปีหนง่ึ ๆ ทา่ นจะบวชพระ-
เณร ตั้งแต่ ๒๐๐ องคข์ ึ้นไป

140

บุรรี มั ยแ์ ละสรุ นิ ทรใ์ นสมัยนัน้ ไมม่ พี ระอปุ ชั ฌาย์ ฝา่ ยสงฆ์
ธรรมยตุ กม็ ารวมงานบวชที่วัดนีแ้ หง่ เดยี ว พระอุโบสถวัดบรู พาราม
น้นั จงึ ใชใ้ นการบวชอย่างคุ้มคา่ มาก จนกล่าวได้ว่า ไมม่ วี ันไหนท่ไี ม่มี
ใครเดินทางมาบวช อันนี้วา่ โดยท่ัวๆ ไป
ถาพ้ ูดถึงสง่ิ ทีห่ ลวงปู่ให้การสงเคราะหแ์ ลว้ ท่านสงเคราะหท์ กุ
อยา่ ง ตัวท่านเองกจ็ ะใชข้ องตา่ งๆ เพยี งพอยงั อตั ภาพเทา่ นั้น โดย
เฉพาะด้านการน่มุ หม่ เมือ่ ไดม้ า มีมา หรือบางครง้ั ต้องไปหาซอ้ื จา่ ย
มา เพื่อสงเคราะหใ์ ห้คนได้บวช
ลูกศษิ ยอ์ ย่างพวกอาตมาก็เคยว่า “หลวงปู่ เมอ่ื เขาไม่มอี ะไร
แลว้ เราไม่มอี ะไร กน็ ่าจะปลอ่ ยตามเรื่องเขาบา้ ง”
แต่ไมไ่ ด้หมายความว่า ทุกคนจะเป็นในลักษณะน้ีหมด คือ
ถ้ามีมาบวชสักสิบราย ก็จะมีคนพรอ้ มท่จี ะจดั หาเคร่อื งบวชประมาณ
๕-๖ ราย สว่ น ๒–๓-๔ รายนน้ั จะมาตวั เปลา่ ที่หวงั มาพ่งึ บารมี
หลวงปู่
ท่านก็ใหก้ ารสงเคราะหต์ ามมีตามเกิด แมแ้ ตส่ บงจวี รก็ไม่มี
ครนั้ บวชแล้วจะไปห่วงอะไรถึงเรอ่ื งเส่ือ หมอน หรือเครอ่ื งใชไ้ ม้สอย
ต่างๆ ไมต่ ้องพดู ถึง ทางหลวงปูต่ อ้ งสงเคราะห์ท้งั น้นั หลวงป่ตู อ้ ง
ต่อสู้มาอย่างนัน้
พอกราบเรียนทา่ นเรือ่ งน้ี ท่านเคยพดู ให้ข้อคดิ ว่า“สงเคราะห์
กันไปสิบไดห้ นง่ึ ร้อยไดส้ อง ก็ยงั ดี”
นนั่ คอื ใครมาขอให้ทา่ นบวชให้ ทา่ นก็บวชใหก้ ารสงเคราะห์
เผอ่ื วา่ บางคนจะมีบญุ มวี าสนาในทางประพฤติปฏบิ ัติ ไดเ้ ลอื อยชู่ ่วย
วัดวาไปนานๆ ท�ำนองว่า บวชสัก ๑๐ คน ยังเหลอื อยู่ ๑ หรือบวช
๑๐๐ คน เหลอื อยู่ ๒ คนกย็ ังดี
ถา้ พูดถงึ การสงเคราะห์ในการบวชแล้ว ร้สู ึกเห็นใจหลวงปู่
มาก ท่านท�ำได้มากเหลือเกนิ อยา่ ว่าแตม่ ีผูม้ ีจตุปัจจยั ถวายพระ
อุปัชฌาย์เลย แม้แต่สบงจีวรใหค้ รบชดุ กย็ ังไม่มี แตห่ ลวงปู่ก็ท�ำของ
ทา่ นมาตลอดอายุขยั ของทา่ น จะมีการสงเคราะห์ประเภทน้ีแหละ

141

ท่านใหก้ ารสงเคราะห์ตามมีตามเกดิ
สามารถกล่าวไดว้ ่า หลวงปู่ท่านอาศัยคณุ ธรรมอย่างเดียว
ใครจะรู้วา่ หลวงปู่มีคุณธรรมแค่ไหน เพียงไร นน้ั ยากแตจ่ ะเหน็ ว่า
หลวงป่ทู า่ นอยอู่ ย่างสนั โดษ อย่ใู นคณุ ธรรม ไมค่ ิดสร้างอุบาย หรอื
นโยบายอยา่ งใดอยา่ งหน่งึ เพือ่ ใหค้ นท่ัวไปเกดิ ความนบั ถอื หรอื ทำ�
ให้เกดิ ความอัศจรรย์แก่ใคร ทา่ นเคยอยู่อยา่ งไร ก็อยอู่ ย่างน้ัน แลว้
กล็ �ำบาก
เพิง่ จะมาช่วงหลังๆ น้ี ชาวเมืองหรอื ชาวกรุงเทพฯ เขามี
ความนยิ มพระป่า และหลวงปกู่ เ็ ปน็ พระฝา่ ยป่ามาก่อน จึงมคี นหล่ัง
ไหลมากราบไหว้จำ� นวนมาก ฐานะความเปน็ อยขู่ องวัดของหลวงปู่
จึงมากระเตื้องตอนที่ท่านอายุ ๙๐ ปแี ล้ว อันนีพ้ ูดตามสัจตามจริง
ใหท้ ่านทง้ั หลายได้ทราบ
ในส่วนของหลวงปู่ ทา่ นเคยอยอู่ ยา่ งไร ก็อยูอ่ ยา่ งนั้นเอง
อยู่อยา่ งเสมอต้นเสมอปลาย การกระท�ำของทา่ นไมม่ ีการแสดง
การโอ้อวด ไมม่ ีการพดู เลียบเคียง หรือมกี ารขวนขวายในเร่อื ง
ลาภสักการะ หลวงป่จู ึงอย่ตู ามสภาวะแล้วก็สงเคราะห์เฉพาะส่งิ ที่
หมดจด
เมอ่ื หลวงปอู่ ยู่แบบนี้ หมายถงึ วา่ ส่งิ ท่ีทา่ นได้มาก็บรสิ ทุ ธ์ิ ส่ิง
น้นั กห็ มดจด สง่ิ น้ันก็สะอาด กศุ ลก็เกดิ ขึ้นทัง้ สองฝ่าย
ปฏิปทาของท่านมักจะเปน็ อยูอ่ ย่างน้ี

อยูอ่ ยา่ งบริสทุ ธิ์

เรื่องความเป็นอยู่ในชวี ิตประจำ� วัน โดยเฉพาะด้านอาหารการ
บริโภคนน้ั ยิง่ มองเหน็ ชดั เจนวา่ ลำ� บากอย่างย่ิง อยกู น่ั มาดว้ ยความ
ยากล�ำบาก แต่กไ็ ดผ้ ลตรงท่สี านศุ ิษย์ของหลวงปู่ มีความอดทน ที่
ยังเหลอื อยู่ในเพศสมณะนน้ั มีมากมาย ท้งั ในสรุ ินทร์ บรุ รี ัมย์ ในจัง
หวดั อื่นๆ ในกรงุ เทพมหานคร กระทั่งในต่างประเทศกย็ ังมสี านุศิษย์

142

ที่แผ่ขยายออกไป
อันน้ี คอื ปฏปิ ทาส่วนตวั ของท่าน ทที่ ่านด�ำรงตวั อยู่ได้กค็ ือ
ขันติธรรม
ขนั ตธิ รรมของหลวงปนู่ ับว่าใหญ่หลวงนกั สมกับทท่ี ่านสอน
เสมอว่า “อย่าสง่ จิตออกนอก” ข้อนน้ี ับว่าเหมาะสมอย่างมาก
ในดา้ นค�ำพดู ของหลวงปู่ แมจ้ ะปล่อยโอกาสให้พูดตามสบาย
บ้าง ก็เวลาท่านท�ำงานกบั พระเณร แต่กพ็ ูดแตเ่ รอ่ื งภายในธรรม
ภายในพระวินยั ไม่มีการตลกโปกฮาในเรอื่ งภายนอกอะไร
ถา้ จะพูดใหค้ ลายอารมณ์ ก็จะพูดแต่เรอ่ื งในธรรมวนิ ัย แบบ
กระเซ้าเล่นวา่ พระองคน์ ั้นยะถาไมถ่ กู พระองคน์ รี้ บั สพั พผี ดิ อะไรทำ�
นองนนั้ หรอื นาคนั้นขานแบบนนั้ แบบนี้ คือจะเปน็ เรื่องขบขันใน
ธรรมในวนิ ยั ในวัดในวาเท่าน้นั เอง ไม่มีเรอ่ื งภายนอกมาก ปฏิปทา
ของทา่ นจะอย่อู ย่างนี้
มานึกถึงวา่ ความผิดพลาด บกพรอ่ ง ตลอดชวี ิตของหลวงปู่
ทีจ่ ะพงึ หยบิ ยกมาวา่ ตรงน้ันน่าจะเปน็ อยา่ งนั้น ตรงน้ีนา่ จะเป็นอย่าง
นี้ รูส้ กึ ว่าหาได้ยาก มองจุดออ่ นของการวางตัวของท่านไดย้ าก มอง
ไมเ่ หน็ เลย
ส�ำหรบั เร่อื งของการบริหาร อยา่ งเร่อื งการบรหิ ารภายนอก
เกย่ี วกับการทางราชการ ซ่ึงถอื เปน็ เรื่องภายนอกน้ัน ทา่ นอาจจะ
ปฏิบัติไม่ถกู ต้องกบั ระเบยี บที่โลกภายนอกเขาถอื ปฏิบัติกนั บ้างเพราะ
ท่านไมค่ ้นุ เคยแตถ่ า้ เป็นเรอื่ งภายใน เร่อื งข้อวตั รปฏบิ ัติของทา่ น เรา
ไมส่ ามารถจะจบั จุดออ่ น จดุ บกพรอ่ ง จดุ พลงั้ เผลอของหลวงปู่ไดเ้ ลย
แม้แตน่ อ้ ย จนตลอดชีวติ ทา่ น ดังนี้ถอื ว่าเปน็ สงิ่ มหศั จรรยอ์ ยา่ งหนง่ึ
ของหลวงปู่

143

แนวทางการสอนศษิ ย์

ส�ำหรับศษิ ยานศุ ิษยท์ ่เี ป็นภกิ ษุสามเณร และปรารถนาจะ
เจรญิ งอกงาม อยู่ในบวรพุทธศาสนานนั้ หลวงปจู่ ะช้แี นะแนวทางด�ำ
เนนิ ปฏปิ ทาไว้ ๒ แนวทาง ซงึ่ ท่านใหค้ วามเห็นวา่ ผู้ที่จะเปน็ ศาสน
ทายาทนัน้ ควรทำ� การศึกษาท้งั สองดา้ นคือ ทงั้ ปริยตั ิ และปฏิบัติ
ดังนัน้ หลวงปู่จงึ แนะน�ำวา่ ผู้ทอี่ ายยุ งั นอ้ ย และมแี วว มีความ
สามารถ ในการศกึ ษาเล่าเรียน กใ็ ห้เลา่ เรยี นพระปริยัตธิ รรมไปกอ่ น
ในเวลาทีว่ ่างจากการศกึ ษากใ็ ห้ฝกึ ฝนปฏิบัติสมาธภิ าวนาไปด้วย
เพราะจติ ใจทีส่ งบ มสี มาธิ ยอ่ มอ�ำนวยผลดีแกก่ ารเรยี น
เมอื่ มผี สู้ ามารถท่จี ะศึกษาเล่าเรียนตอ่ ไปในชนั้ สงู ๆ ได้หลวงปู่
ก็จะจดั สง่ ใหไ้ ปเรยี นตอ่ ในส�ำนักตา่ งๆ ทีก่ รุงเทพฯ หรอื ท่ีอืน่ ทเ่ี จรญิ
ด้วยการศกึ ษาดา้ นพระปรยิ ัตธิ รรม
ศิษยานุศิษย์ของหลวงป่จู ึงมมี ากมายหลายรปู ทศ่ี ึกษาพระ
ปรยิ ตั ธิ รรมจบชนั้ สงู ๆ ถงึ เปรยี ญ ๘ เปรียญ ๙ ประโยค หรือจบ
ระดับปริญญาจากมหาวทิ ยาลยั สงฆ์ จนกระทง่ั ไปศกึ ษาตอ่ ยงั ตา่ ง
ประเทศ เชน่ อนิ เดยี ออสเตรเลยี ฝร่งั เศส และสหรัฐอเมรกิ า
สำ� หรบั อกี แนวทางหนง่ึ นน้ั ส�ำหรับผู้ท่ีมีอายมุ ากแล้วก็ดี ผูท้ ี่
รสู้ กึ ว่ามนั สมองไมอ่ �ำนวยตอ่ การศึกษาก็ดี ผทู้ ี่สนใจในธดุ งคก์ ัมมฏั
ฐานก็ดี หลวงปู่ก็แนะนำ� ใหศ้ กึ ษาพระธรรมวินัยใหพ้ อเขา้ ใจ ให้พอ
คุ้มครองรกั ษาตวั เอง ใหส้ มควรแกส่ มณสารูปแลว้ จงึ ม่งุ ปฏบิ ัติกัมมฏั
ฐานตอ่ ไปให้จริงจัง
กแ็ ลสำ� หรับผูท้ ี่เลอื กแนวทางที่สองนั้น หลวงปู่ยงั ไดช้ ี้แนะไว้
อีก ๒ วธิ ี
คอื ผทู้ ใี่ ฝใ่ นทางธดุ งคก์ มั มฏั ฐานตามแบบฉบบั ของพระอาจารย์
ใหญม่ น่ั ภรู ทิ ตโฺ ต หลวงปกู่ จ็ ะแนะนำ� และสง่ ใหไ้ ปอยรู่ บั การศกึ ษา
อบรมกบั ครบู าอาจารยจ์ งั หวดั สกลนคร อดุ รธานี และหนองคาย
โดยเฉพาะอย่างย่ิง ทีส่ ำ� นกั วัดปา่ อดุ มสมพร และส�ำนักถ้ํา

144

ขาม ของท่านพระอาจารย์ฝนั้ อาจาโร หลวงป่ไู ดฝ้ ากฝงั ไปอยูม่ าก
ทส่ี ดุ และมาในระยะหลังมฝี ากไปสำ� นักวดั ปา่ บา้ นตาดของทา่ น
อาจารยม์ หาบวั ญาณสมปฺ นโฺ น บ้าง
เป็นท่ีสงั เกตว่าไมม่ ลี ูกศษิ ย์ลกู หาท่ีสนใจใฝ่ในกิจธดุ งค์คนใด
ทีห่ ลวงปจู่ ะแนะนำ� ให้ไปเอง หรอื เที่ยวเสาะแสวงหาเอาเอง หรือเดนิ
ทางไปส�ำนกั นนั้ ๆ เอง
ในเร่อื งนท้ี า่ นเจ้าคุณ พระโพธนิ ันทมุนี ยืนยันว่าหลวงป่เู คย
ใชใ้ หท้ า่ นเจ้าคุณเองเปน็ ผนู้ �ำพระไปฝากไว้ท่ีสำ� นักทา่ นพระอาจารย์
ฝั้น หลายเท่ยี ว หลายชดุ ด้วยกนั ศษิ ย์ทไี่ ดร้ บั การฝึกฝนอบรมจากส�ำ
นกั ทา่ นพระอาจารยฝ์ ั้นน้นั ก็ได้กลบั มาบำ� เพญ็ ประโยชนแ์ กก่ ารพระ
ศาสนา ด้านวปิ สั สนาธรุ ะ ท่จี ังหวดั สุรนิ ทร์ และบรุ ีรัมย์ หลายทา่ น
ด้วยกนั จนกระท่ังมีไปเผยแพรพ่ ระศาสนาในด้านนี้ถึงสหรัฐอเมริกา
กห็ ลายรปู ในปัจจบุ นั นี้ ทัง้ น้กี ็เป็นเพราะผลการสงั เกตเหน็ แวว และ
ส่งเสรมิ สนบั สนุนของหลวงปูน่ ่นั เอง
ส่วนอีกวิธีนั้น หลวงปูช่ ีแ้ นะไวส้ ำ� หรับผู้ที่สนใจจะปฏบิ ัตทิ าง
ด้านสมาธวิ ปิ สั สนาเพียงอยา่ งเดยี ว ไม่สนใจในธดุ งคก์ มั มัฏฐาน อาจ
เปน็ ด้วยไมช่ อบการนงุ่ ห่มแบบนน้ั หรือมีสุขภาพไมเ่ หมาะแกก่ ารฉัน
อาหารมื้อเดียว หรอื เพราะเหตุผลอ่นื ใดก็ตาม
หลวงปู่จะไม่แนะน�ำให้ไปท่ีไหน แตใ่ ห้อยู่กบั ทที่ ีต่ นยนิ ดีชอบใจ
ในจงั หวัดสุรนิ ทร์ หรอื บรุ รี มั ย์ อาจเป็นวดั บูรพาราม หรอื วดั ไหน
ก็ไดท้ ่ีรู้สกึ วา่ อยู่สบาย
หลวงปู่ถือวา่ การปฏบิ ตั ิธรรมอย่างน้ี ไม่จ�ำเป็นต้องเดินทาง
ไปทีไ่ หน ในเม่ือกายยาว ๑ วา หนา ๑ คืบนแ้ี ลเปน็ ตัวธรรม เป็น
ตัวโลก เป็นที่เกดิ แหง่ ธรรม เป็นท่ีดับแหง่ ธรรม เปน็ ทท่ี ีพ่ ระผู้มีพระ
ภาคเจา้ ไดอ้ าศัยบญั ญตั ิไว้ ซ่ึงธรรมทัง้ ปวง แม้ใครใครจ่ ะปฏิบตั ิธรรม
ก็ตอ้ งปฏบิ ตั ิทกี่ าย และใจเรานี้ หาได้ไปปฏบิ ตั ทิ อ่ี นื่ ไม่
ดังน้นั ไมจ่ �ำเป็นตอ้ งหอบสงั ขารน้ไี ปท่ีไหน ถา้ ตงั้ ใจจรงิ แลว้
นง่ั อยู่ที่ไหน ธรรมกเ็ กิดทตี่ รงน้นั นอนอยูทไี่ หน ยนื อย่ทู ่ีไหน เดิน

145

อยทู่ ไี่ หน ธรรมก็เกิดทต่ี รงนัน้ น่ันแล
ยิ่งกวา่ น้นั หลวงปอู้ ธิบายว่า ยิง่ ผ้ใู ดสามารถปฏิบตั ภิ าวนาใน
ทา่ มกลางความว่นุ วายของบา้ นเมือง ทมี่ แี ตค่ วามอกึ ทกึ ครกึ โครม
หรอื แมแ้ ตก่ ระทงั่ ในขณะทรี่ อบๆ ตวั มแี ตค่ วามเอะอะวนุ่ วายกส็ ามารถ
กำ� หนดจติ ต้งั สมาธิได้สมาธิ ท่ผี ู้นน้ั ท�ำใหเ้ กิดได้จงึ เป็นสมาธทิ เ่ี ขม้ แขง็
และมน่ั คงกวา่ ธรรมดา ด้วยเหตทุ ส่ี ามารถตอ่ สเู้ อาชนะสภาวะที่ไม่
เป็นสัปปายะ คือไม่อำ� นวยนน่ั เอง เพราะวา่ สถานท่ที ี่เปล่ียววิเวกน้นั
ย่อมเป็นสปั ปายะ อำ� นวยให้เกิดความสงบอยแู่ ลว้ จิตใจยอ่ มจะหย่ัง
ลงสสู่ มาธิไดง้ ่ายเปน็ ธรรมดา
หลวงปูย่ งั เคยบอกดว้ ยวา่ การเดินจงกรม จนกระท่งั จิตหย่ัง
ลงสู่ความสงบนั้น จะเกดิ สมาธทิ ่ีแขง็ แกร่งกวา่ สมาธทิ ่ีส�ำเรจ็ จาก
การนัง่ หรือนอน หรือแม้แต่การเข้าปา่ ย่งิ นกั
ด้วยเหตุนี้ จะสงั เกตเหน็ วา่ ในแถบจงั หวัดสรุ ินทร์ บุรีรัมย์ จะ
มนี กั ปฏิบัติหลายท่านชอบไปน่งั ทำ� สมาธิใกลๆ้ วงพณิ พาทย์ หรอื
ใกลๆ้ ท่ที ่มี ีเสียงอกึ ทึกครึกโครมต่างๆ ยง่ิ ดังเอะอะน่าเวียนหัวเทา่ ไร
ยงิ่ ชอบ
อยา่ งไรก็ตามแม้ว่าการท�ำสมาธินน้ั ตามความเปน็ จรงิ แล้ว
ย่อมไม่เลอื กสถานที่ปฏบิ ัติกต็ าม แตส่ ำ� หรบั ผูม้ จี ิตเบา วอกแวกงา่ ย
หรอื ผู้ทต่ี ้องการ “เคร่ืองทนุ่ แรง” จ�ำเป็นตอ้ งอาศยั สภาพแวดลอ้ มที่
อำ� นวยความสงบพึงแสวงหาสถานทว่ี ิเวก หรอื ออกธุดงค์กมั มฏั ฐาน
แสวงหาท่ีสงัดทีเ่ ปลย่ี ว เช่น ถ้ํา เขา ปา่ ดง หรือปา่ ชา้ ที่น่าสะพรึง
กลวั จะไดเ้ ปน็ เคร่ืองสงบจิตไม่ใหฟ้ ้งุ ซา่ น และตกอยภู่ ายใตก้ าร
ควบคุมของสติได้โดยง่าย กจ็ ะทำ� ใหก้ ารบำ� เพ็ญสมาธภิ าวนาส�ำเรจ็ ได้
สะดวกย่ิงขึ้น

146

วิปัสสนปู กเิ ลส

ในการปฏบิ ตั ิพระกัมมัฏฐานนัน้ ในบางครงั้ กม็ อี ุปสรรค
ขัดขอ้ งต่างๆ รวมทั้งเกดิ การหลงผดิ บ้างกม็ ซี ึ่ง หลวงปู่ดูลย์ อตโุ ล
ก็ไดใ้ หค้ วามช่วยเหลือแนะน�ำ และชว่ ยแกไ้ ขแกล่ ูกศษิ ยล์ ูกหาได้ทนั
ท่วงที ดังตัวอยา่ งทยี่ กมาน้ี
มอี ยคู่ รงั้ หน่งึ เกิดปัญหาเก่ยี วกับ วิปสั สนปู กิเลส ซง่ึ หลวงปู่
เคยอธบิ ายเร่อื งนวี้ า่ เมื่อไดท้ ำ� สมาธิจนสมาธเิ กดิ ข้ึน และได้รับความ
สขุ อนั เกดิ แต่ความสงบพอสมควรแลว้ จิตกค็ ่อยๆ หยัง่ ลงสสู่ มาธิส่วน
ลกึ นกั ปฏิบตั ิบางคนจะพบอปุ สรรคสำ� คญั อย่างหนึง่ เรยี กวา่ วิปัสสนู
ปกเิ ลส ซ่งึ มี ๑๖ อยา่ ง มโี อภาส คอื เห็นแสงสว่าง และอธโิ มกข์ คอื
ความน้อมใจเชื่อ เปน็ ต้น
พลังแหง่ โอภาสนน้ั สามารถนำ� จิตไปสสู่ ภาวะต่างๆ ได้อยา่ งนา่
พิศวงเช่น จติ อยากรู้อยากเห็นอะไร ก็ไดเ้ ห็นไดร้ ้ใู นส่ิงน้นั แม้แต่
กระทั่งไดก้ ราบไดส้ นทนากบั พระพุทธเจา้ กม็ ี
เจ้าวปิ สั สนปู กิเลสนี้ มีอิทธิ และอำ� นาจ จะทำ� ให้เกดิ ความ
นอ้ มใจเชอื่ อยา่ งรนุ แรง โดยไมร่ ู้เท่าทันวา่ เป็นการส�ำคัญผิดซึง่ เป็น
การสำ� คญั ผดิ อยา่ งสนทิ สนมแนบเนียน และเกดิ ความภมู ิใจในตวั เอง
อย่เู งยี บๆ บางคนถึงกับสำ� คัญตนว่าเป็นพระพทุ ธเจ้าองค์หน่ึงดว้ ยซา้ํ
บางรายส�ำคัญผิดอย่างมีจติ กำ� เริบยโสโอหังถึงขนาดที่เรียกกันว่า
เปน็ บ้าวิกลจริตกม็ ี
อย่างไรก็ตาม วปิ สั สนูปกิเลส ไม่ไดเ้ ป็นการวกิ ลจริต แมบ้ าง
ครง้ั จะมอี าการคล้ายคลึงคนบา้ กต็ ามแต่คงเป็นเพียงสตวิ ิกลอันเน่อื ง
จากการมีจิตตั้งมัน่ อย่กู ับอารมณ์ภายนอก แล้วสติตามควบคุมไม่ทัน
ไม่ได้สัดไม่ได้ส่วนกันเท่านน้ั ถา้ สติตัง้ ไวไ้ ด้สดั ส่วนกัน จิตกจ็ ะสงบ
เปน็ สมาธิลกึ ลงไปอีก โดยยังคงมสี ่ิงอันเปน็ ภายนอก เปน็ อารมณอ์ ยู่
นัน่ เอง
เช่นเดยี วกับการฝึกสมาธิของพวกฤาษชี ไี พร ทีใ่ ชว้ ิธีเพ่งกสิณ

147

เพ่ือใหเ้ กิดสมาธิ ในขณะแห่งสมาธิเช่นน้ี เราเรียกอารมณ์น้นั ว่า
ปฏิภาคนมิ ิต และเมอ่ื เพิกอารมณน์ ้นั ออกโดยการย้อนกลับไปสู่ “ผู้
เหน็ นมิ ิต” น้ัน นั่นคือย้อนสตู่ น้ ตอคือ จิต นัน่ เอง จติ กบ็ รรลถุ งึ
สมาธขิ ั้นอัปปนาสมาธิ อนั เป็นสมาธจิ ิตขั้นสงู สดุ ได้ทนั ที
ในทางปฏิบัติทม่ี ่ันคง และปลอดภยั นัน้ หลวงปู่ดูลย์ ท่าน
แนะน�ำว่า “การปฏิบตั ิแบบจิตเหน็ จิต เป็นแนวทางปฏบิ ตั ทิ ่ีลัดส้ัน
และบรรลเุ ปา้ หมายไดฉ้ บั พลัน ก้าวล่วงภยนั ตรายได้ส้ินเชิง ทนั ทีท่ีกำ�
หนดจิตใจได้ถกู ต้อง แมเ้ พียงเรม่ิ ตน้ ผูป้ ฏิบัติก็จะเกิดความรคู้ วาม
เขา้ ใจไดด้ ว้ ยตัวเองเปน็ ล�ำดับๆ ไป โดยไมจ่ �ำเป็นต้องอาศัยครูบา
อาจารย์อีก
ในประวตั ขิ องหลวงปดู่ ูลย์ อตุโล พอจะเหน็ ตัวอยา่ งของวปิ สั
สนปู กิเลส ๒ ตวั อย่าง คือ กรณีของทา่ นหลวงตาพวง และกรณี
ของท่านพระอาจารยเ์ สรจ็ จะขอยกมาเลา่ เพอ่ื ประดับความรูต้ อ่ ไป

เร่ืองของหลวงตาพวง

ศษิ ยข์ องหลวงปหู่ ลวงตาพวงได้มาบวชตอนวยั ชรา นับเป็นผู้
บกุ เบกิ สำ� นักปฏิบัติธรรมบนเขาพนมรุ้ง จงั หวัดบรุ รี มั ย์
หลวงตาพวง ไดท้ ่มุ เทชวี ิตจิตใจให้แกก่ ารประพฤตปิ ฏบิ ัติ
เพราะท่านสำ� นกึ ตนวา่ มาบวชเม่อื แก่ มีเวลาแห่งชวี ิตเหลือน้อย จงึ
เรง่ ความเพียรตลอดวนั ตลอดคนื
พอเริ่มไดผ้ ลเกดิ ความสงบ ก็เผชิญกบั วปิ ัสสนปู กเิ ลสอยา่ ง
ร้ายแรง เกดิ ความส�ำคัญผดิ เชือ่ ม่ันอย่างสนิทวา่ ตนเองไดบ้ รรลุ
อรหัตผล เป็นพระอรหันต์องคห์ นึ่ง เปน็ ผสู้ ำ� เรจ็ ผู้เปยี่ มไปด้วยบญุ
ญาธิการ ได้เลง็ ญาณ (คดิ เอง) ไปจนทัว่ สากลโลก เหน็ ว่าไม่มใี ครรู้
หรอื เข้าถึงธรรมเสมอด้วยตน
บังเกิดจิตคิดเอ็นดสู รรพสตั วท์ ้ังหลาย ใคร่จะไปโปรดให้พน้
จากทุกข์โทษความโงเ่ ขลา เล็งเห็นพระสงฆ์ท้งั หมด ตลอดจนครบู า

148

อาจารย์ ลว้ นแตย่ ังไม่รจู้ ึงตั้งใจจะต้องไปโปรด หลวงปูด่ ลู ย์ ผเู้ ปน็
พระอาจารยเ์ สยี ก่อน
ดังนัน้ หลวงตาพวงจึงไดเ้ ดินทางดว้ ยเท้าเปลา่ มาจาก
เขาพนมรุง้ เดินทางข้ามจังหวดั มาไม่ตาํ่ กวา่ ๘๐ กโิ ลเมตร มาจน
ถึงวดั บรู พาราม หวงั จะแสดงธรรมให้หลวงปฟู่ ัง
หลวงตาพวงมาถึงวัดบูรพาราม เวลา ๖ ทุ่มกวา่ กฏุ ทิ ุกหลัง
ปดิ ประตูหนา้ ต่างหมดแล้ว พระเณรจำ� วัดกันหมด หลวงปกู่ ็เขา้ หอ้ ง
ไปแล้ว ทา่ นกม็ ารอ้ งเรยี กหลวงปูด่ ้วยเสยี งอนั ดัง
ตอนนนั้ ทา่ นเจ้าคณุ พระโพธินนั ทมนุ ี ยงั เป็นสามเณรอยไู่ ด้ยิน
เสียงเรยี กดังลนั่ วา่ “หลวงพ่อ หลวงพ่อ หลวงพ่อดลู ย์…” กจ็ ำ� ได้วา่
เปน็ เสยี งของหลวงตาพวง จึงลุกไปเปดิ ประตรู บั
สงั เกตดูอากปั กิรยิ าก็ไมเ่ ห็นมีอะไรผดิ แปลกเพียงแต่รสู้ กึ แปลก
ใจว่าตามธรรมดาท่านหลวงตาพวง มีความเคารพออ่ นนอ้ มตอ่ หลวง
ปพู่ ดู เสยี งเบา ไมบ่ ังอาจระบชุ ื่อของทา่ น แตค่ ืนนค้ี ่อนข้างจะพดู เสยี ง
ดังและระบุช่ือดว้ ยวา่
“หลวงตาดูลย์ ออกมาเดยี๋ วน้ี พระอรหนั ตม์ าแล้ว”
ครน้ั เมื่อหลวงปู่ออกมาแล้ว ตามธรรมดาหลวงตาพวงจะตอ้ ง
กราบหลวงปู่ แต่คราวน้ไี มก่ ราบแถมยังต่อว่าเสียอีกว่า “อา้ ว ! ไม่
เห็นกราบ ทา่ นผ้สู �ำเร็จมาแล้วไม่เหน็ กราบ”
เขา้ ใจว่าหลวงปทู่ า่ นคงทราบโดยตลอดในทันทนี นั้ วา่ อะไรเปน็
อะไร ท่านจงึ นงั่ เฉยไม่พูดอะไรแม้แต่คำ� เดยี ว ปลอ่ ยใหห้ ลวงตาพวง
พูดไปเรอื่ ยๆ
หลวงตาพวงสำ� ทบั วา่ “ร้ไู หมวา่ เดย๋ี วนี้ผู้ส�ำเรจ็ อุบัติข้นึ แล้ว
ที่มาน่กี ด็ ้วยเมตตา ตอ้ งการจะมาโปรด ต้องการจะมาชแ้ี จงแสดง
ธรรมปฏบิ ตั ิให้เข้าใจ”
หลวงป่ยู ังคงวางเฉย ปล่อยให้ท่านพูดไปเป็นชว่ั โมงทเี ดียว ส�ำ
หรับพวกเราพระเณรทไ่ี มร่ ้เู ร่อื ง ไม่เขา้ ใจ ก็พากนั ตกอกตกใจกันใหญ่
ด้วยไม่ร้วู า่ มนั เป็นอะไรกันแน่

149

ครัน้ ปล่อยให้หลวงตาพวงพดู นานพอสมควรแล้ว หลวงปู่ก็ซกั
ถามเป็นเชิงคล้อยตามเอาใจว่า “ท่วี ่าอย่างน้ันๆ เป็นอย่างไร และ
หมายความวา่ อยา่ งไร” หลวงตาพวงก็ตอบตะกกุ ตะกกั ผดิ ๆ ถกู ๆ
แตก่ อ็ ตุ ส่าหต์ อบ
เม่ือหลวงปู่เหน็ วา่ อาการรนุ แรงมากเช่นนัน้ จึงส่งั ว่า “เออ
เณรพาหลวงตาไปพักผ่อนที่โบสถ์ ไปโน่น ทีพ่ ระอุโบสถ”
ทา่ นเณร (เจ้าคุณพระโพธนิ ันทมุน)ี ก็พาหลวงตาไปทโี่ บสถ์
จัดทจ่ี ัดทางถวาย หลวงตาวางสัมภาระแล้วก็กลับออกจากโบสถ์ ไป
เรยี กพระองค์น้นั องค์น้ีทที่ า่ นรู้จัก ใหล้ กุ ขึน้ ฟังเทศน์ฟังธรรมรบกวน
พระเณรตลอดท้งั คืน
หลวงปพู่ ยายามแกไ้ ขหลวงตาพวงด้วยอุบายวธิ ตี า่ งๆ หลอก
ลอ่ ให้หลวงตานัง่ สมาธิ ใหน้ ่ังสงบแล้วย้อนจิตมาดูท่ตี ้นตอ มใิ หจ้ ติ
แลน่ ไปขา้ งหน้า จนกระทง่ั สองวันกแ็ ลว้ สามวนั กแ็ ลว้ ไม่ส�ำเรจ็
หลวงปจู่ งึ ใชอ้ ีกวธิ ีหน่ึง ซึ่งคงเปน็ วิธีของท่านเอง ด้วยการพดู
แรงใหโ้ กรธหลายครั้งก็ไม่ไดผ้ ล ผ่านมาอกี หลายวนั กย็ ังสงบลงไมไ่ ด้
หลวงปเู่ ลยพูดใหโ้ กรธด้วยการด่าวา่ “เออ! สตั ว์นรก สตั วน์ รกไป
เดีย๋ วนี้ ออกจากกุฏิเดีย๋ วน้ี”
ท�ำใหห้ ลวงตาพวงโกรธอย่างแรง ลกุ พรวดพราดขึน้ ไปหยิบ
เอาบาตร จีวร และกลดของท่านลงจากกฏุ ิ ม่งุ หน้าไป วัดปา่ โยธา
ประสิทธิ์ ซงึ่ อย่หู า่ งจากวดั บูรพารามไปทางใต้ ประมาณ ๓-๔
กิโลเมตร ซง่ึ ขณะนน้ั ท่านเจ้าคณุ พระราชสทุ ธาจารย์ (โชติ คุณสมฺ
ปนโฺ น) ยังพำ� นกั อยู่ทน่ี ั่น
ทีเ่ ข้าใจว่าหลวงตาพวงโกรธน้ัน เพราะเห็นท่านมอื ไม้สนั่ หยบิ
ของผิดๆ ถกู ๆ ควา้ เอาไต้ (สำ� หรับจดุ ไฟ) ดุน้ หน่ึง นึกวา่ เปน็ กลด
และยังเปลง่ วาจาออกมาอยา่ งน่าขำ� ว่า “เออ ! กจู ะไปเด๋ยี วนี้ หลวง
ตาดุลยไ์ ม่ใชแ่ มก่ ”ู
เสร็จแลว้ ก็ควา้ เอาบาตร จีวร และหยิบเอาไต้ดุน้ ยาวข้นึ แบก
ไว้บนบ่า คงนึกวา่ เปน็ คนั กลดของท่าน แถมคว้าเอาไมก้ วาดไปดา้ ม

150


Click to View FlipBook Version