๘ กรกฎาคม ๒๕๒๘ งานพระราชทานเพลิงศพจดั ขึ้นทีเ่ มรุ
ชว่ั คราว ณ วนอทุ ยานแหง่ ชาติ เขาพนมสวาย ตำ� บลนาบวั อำ� เภอ
เมอื ง จงั หวดั สรุ ินทร์ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ ัวและสมเด็จ
พระนางเจ้าพระบรมราชนิ นี าถ พรอ้ มดว้ ยสมเด็จพระเทพรัตนราชสุ
ดาฯ สยามบรมราชกุมารี สมเดจ็ พระเจา้ ลูกยาเธอเจ้าฟ้าจฬุ าภรณ์ฯ
และน.อ. วรี ยทุ ธ ดษิ ยศริ นิ ทร์ เสดจ็ มาในงาน
ปฏปิ ทาพระเถระ
นับตัง้ แตป่ ี ๒๔๗๗ เมือ่ อายุ ๔๖ ปี จนถงึ วาระสุดท้ายเมอื่
อายุ ๙๖ ปีกับ ๒๖ วนั หลวงป่ดู ูลย์ อตุโล มิได้ไปจำ� พรรษาทีไ่ หน
อีกเลย ด้วยความซอ่ื สัตย์ม่นั คงต่อภาระหน้าทที่ ่ไี ด้รบั มอบหมาย
ทา่ นได้บากบนั่ เอาชนะอปุ สรรคนานาด้วยความอดทนและทมุ่ เท
ต้องบริหารการคณะสงฆ์ ท้ังด้านการปกครอง การศกึ ษา
การเผยแพรแ่ ละสาธารณปู การ รวมทั้งการก่อสร้างปฏิสังขรณ์ แผ่
ขยายสงั ฆมณฑลสร้างวดั ใหมท่ ้ังฝ่ายคามวาสแี ละอรัญวาสีอยา่ ง
มากมาย ทง้ั ในจังหวัดสรุ นิ ทร์และบุรรี ัมย์ ศษิ ยานุศษิ ย์กเ็ พ่ิมทวีคูณ
ขนึ้ เปน็ ล�ำดับ
แมห้ ลวงปจู่ ะอยาู ในปจั ฉมิ วยั กต็ ามทา่ นกย็ งั มสี ขุ ภาพพลานามยั
แขง็ แรง เปน็ ผทู้ ส่ี มบรู ณด์ ว้ ยพรหมวหิ ารธรรมเปน็ นจิ ผใู้ ดใครจ่ ะได้
เขา้ ไปพบนมสั การเวลาไหนไมม่ จี ำ� กดั ไมม่ พี ธิ รี ตี องใหต้ อ้ งยงุ่ ยาก
ลำ� บากหรอื อดึ อดั ใจ
พร้อมจะสงเคราะหใ์ นกจิ นิมนต์ของพุทธศาสนกิ ชนโดยไม่
เลอื กชนั้ วรรณะ ใครจะเอารถมารับกไ็ ด้ ไมม่ ารับกเ็ ดินไปด้วยระยะ
ทางนับสบิ ๆ กโิ ลเมตร ทา่ นกย็ นิ ดีไปสงเคราะหไ์ ด้ โดยไม่มกี ารบน่
หรอื เก่ียงงอนอะไรกับใคร ไม่วา่ จะเป็นสถานท่ีหรือจงั หวดั ไกลๆ ถา้ มี
ผูศ้ รัทธานมิ นต์ท่านกย็ ินดสี งเคราะหเ์ สมอ
อนึ่ง แม้วา่ ทา่ นจะมไิ ด้ออกธุดงค์ตามเจตนาเดมิ ก็ตาม ท่านก็
301
ยงั ถือธดุ งควตั รเปน็ นิสยั ตลอดมา ผลทที่ ่านเคยประพฤติปฏิบัติมาท�ำ
ให้ทา่ นมีชีวติ ที่บริสุทธ์ิงดงามในสมณวิสยั พอสรปุ ลักษณะเดน่ ๆ ที่
ปรากฏในองค์ทา่ นไดด้ งั น้ี
บำ� เพญ็ เพียรทางจิตเปน็ ปกตไิ ม่ขาดสาย ไมเ่ คยบกพรอ่ ง
กลางคืนจะพกั ผ่อนเพยี ง ๒ ช่ัวโมงเท่านนั้
สงบเสงยี่ มเยอื กเยน็ ไมห่ ว่นั ไหวแปรปรวน หรอื ตน่ื เตน้ ตาม
เหตกุ ารณ์
มใี บหน้าสงบราบเรียบ ผิวพรรณผอ่ งใส โดยเฉพาะวนั โกน
หลังปลงผมเสรจ็ จะดผู อ่ งใสงดงามเป็นพิเศษ
มอี ุเบกขาตอ่ ความล�ำบาก ไม่เคยบน่ เรอ่ื งอาหาร ทีอ่ ยแู่ ละ
ความสะดวกสบายทัง้ หลาย
มคี วามเป็นอยู่งา่ ย เมื่อขาดไมด่ น้ิ รนแสวงหา เม่ือมไี ม่ส่ังสม
เป็นอยู่ตามมีตามได้
ฉันมือ้ เดียวตลอดมาเว้นแตเ่ มื่อมกี ิจนิมนตจ์ ึงอนโุ ลมฉันสอง
ม้อื บ้างและลกู ศิษย์ออ้ นวอนขอใหฉ้ นั ๒ ม้ือ เมอื่ อาพาธและชราภาพ
มากแล้ว
มีโรคนอ้ ย สขุ ภาพแข็งแรงดี พลานามัยดี
มสี จั จะ พดู อะไรตอ้ งทำ� อยา่ งนนั้ ตง้ั ใจทำ� อะไรตอ้ งทำ� ใหส้ ำ� เรจ็
มีปฏภิ าณไหวพรบิ ดี ชข้ี ้อธรรมะไดถ้ กู ตอ้ งชดั เจน ส้ันและงา่ ย
แนะแนวทางปฏบิ ตั ไิ ดต้ ลอดสาย
“สลลฺ หุกวุตฺติ” เปน็ ผ้มู ีความประพฤติเบาพร้อมเป็นปกติ
กระฉับกระเฉงวอ่ งไว เดนิ ตวั ตรงและเร็ว
ไมม่ ีอาการหลงลืมหงำ� เหงอะเลอะเลอื น ไม่มีใครเคยเหน็ ท่าน
แสดงอาการงัวเงียงว่ งเหงา เมอ่ื ต่ืนนอนจะลุกขึ้นทนั ที สีหน้าไม่
เหมือนคนผา่ นการนอน เหมือนคนท่ตี น่ื พรอ้ มเต็มทเ่ี สมอ
ไมเ่ คยปรากฏแววหมองคลํา้ อดิ โรยหลงั จากผา่ นงานกลางแจง้
มาอย่างหนัก นอกจากอาการออ่ นเพลียทางรา่ งกายบา้ งเลก็ นอ้ ย
ไม่มีเหง่ือไคลไหลโทรม
302
นิยมการท�ำตัววางตัวงา่ ยๆ ไมม่ ีพธิ ีรตี รอง มกั ตำ� หนผิ ู้ทเ่ี จา้
บทเจา้ บาทมากเกนิ ควร
บทสวดมนต์ท่โี ปรดปราน “อรญุ ฺเญ รกุ ขฺ มูเล วา สญุ ฺญา
คาเร ว ภกิ ขฺ โว” เปน็ ต้น แสดงถึงจิตใจทีใ่ ฝ่วิเวกของท่าน
ศษิ ยานศุ ษิ ย์ทกุ คนใหค้ วามรกั เคารพและย�ำเกรงอยา่ งสุดซ้งึ
ประหนง่ึ ท่านเปน็ บิดาบงั เกิดเกล้า เพราะจริยาวตั รของทา่ นเปีย่ ม
พรอ้ มไปดว้ ยพรหมวิหารธรรมอยา่ งแทจ้ ริง ทกุ คนเรียกหลวงพ่อ
หลวงปู่ ไดอ้ ย่างสนทิ ปากสนิทใจ
คตธิ รรมประจำ� ใจทีส่ อนผอู้ ืน่ “อย่าส่งจติ ออกนอก” พรอ้ ม
ทั้งปรศิ นาธรรมวา่ “คิดเทา่ ไหรก่ ็ไมร่ ู้ ต่อเมอ่ื หยุดคิดจึงรู้ แต่ต้อง
อาศัยคดิ ”
คำ� สอนท่สี ั้นที่สุด “หยดุ คิดหยดุ นกึ ” หรอื หยดุ กริ ยิ าจติ ใน
กายยาววาหนาคบื น้ี
นมิ ติ ในคำ� สอนของทา่ นมี ๒ คอื รูปนิมติ กบั นามนิมิต ส่งิ
ที่ถกู รู้และถูกเหน็ ท้งั ส้ินเรียกว่า รูปนมิ ติ ญาณท้งั หลายมบี พุ เพนวิ า
สานสุ ติญาณ จุตปู ปาตญาณ เปน็ ตน้ ชอ่ื ว่านามนมิ ติ นมิ ติ ท้ังสอง
ไมค่ วรใส่ใจท้ังส้ิน
สรปุ หลกั ธรรมของทา่ นในแนวอริยสัจสค่ี อื
“จติ ทสี่ ่งออกนอก เปน็ สมุทัย
ผลอนั เกดิ จากจติ ที่ส่งออกนอก เป็นทกุ ข์
จิตเห็นจติ เปน็ มรรค
ผลอนั เกิดจากจิตเห็นจติ เป็นนิโรธ”
เหรยี ญและวัตถุมงคลของหลวงปู่
เรื่องทม่ี ผี สู้ อบถามกนั มากได้แก่ เร่ืองเหรียญและวตั ถมุ งคล
ของหลวงปู่ มีหลายทา่ นปรารถนาและมีเจตนาอยากใหร้ วบรวมเปน็
ท�ำเนียบ เปน็ หลักฐานว่ามีกี่รนุ่ รนุ่ ไหนมคี วามหมาย ความดัง
303
อยา่ งไร อยากจะได้ไว้เปน็ ประวัตสิ �ำหรบั ศึกษาคน้ คว้า อะไรทำ� นอง
น้ัน ซ่งึ กน็ ่าจะเปน็ อย่างน้ัน
ตามความเป็นจริง เมอื่ พดู ถึงเหรียญหรือวตั ถมุ งคลของหลวง
ปู่ อาตมภาพ (พระโพธนิ ันทมนุ ี) กม็ ีความล�ำบากใจและก็ไมส่ บายใจ
อยู่หลายข้อ เน่ืองจากหลวงป่ทู ่านไมเ่ คยใส่ใจและไม่สนใจเกีย่ วกบั
เรอื่ งวตั ถุมงคลเลย เรือ่ งเหล่านไ้ี ม่มอี ยู่ในความสนใจของท่าน
จากประวตั แิ ละปฏปิ ทาของหลวงปทู่ ่ีกลา่ วมาท้ังหมดแตต่ ้น
จะเปน็ ขอ้ ยืนยนั ไดว้ า่ ถ้าพดู ถึงเร่อื งสง่ิ ศักดิส์ ิทธ์ิ อิทธิฤทธิ์ สิง่
อาถรรพ์ลกึ ลับ หรือเร่อื งราวภายนอกการปฏบิ ัตธิ รรมแลว้ หลวงปู่
ไม่สนใจและไมใ่ สใ่ จเลย ไม่เคยช้ชี วนใหใ้ ครเชอ่ื หรอื ให้เกดิ ความรสู้ ึก
โนม้ เอยี งไปในทางทีเ่ ห็นความสำ� คัญของสงิ่ เหลา่ นัน้
แม้แตม่ ใี ครมาขอให้หลวงปชู่ ่วยกำ� หนดฤกษ์ยาม เชน่ หาวันดี
ทจี่ ะบวช หาฤกษด์ ที จ่ี ะท�ำงานมงคล วันไหนควรหรอื ไมค่ วรทำ�
กิจกรรมเชน่ ไร หลวงปมู่ กั จะบอกวา่ “วันไหนกไ็ ด้ วันไหนกด็ ี” นิด
เดยี วทา่ นก็ไม่เคยบอกว่าวนั น้นั วนั นี้ดแี บบหมอดูฤกษ์ยามทว่ั ไป
ในเร่อื งไสยศาสตรต์ ่างๆ ทา่ นก็ไมเ่ คยสนับสนนุ ไม่เคยปฏิเสธ
ใครมาถามหรอื ชวนคยุ ท่านกจ็ ะตัดบทออกไป ไม่ตอ่ ความยาวสาว
ความยืด ในท�ำนองวา่ ทา่ นไม่เคยเหน็ แล้วกไ็ มไ่ ด้ใส่ใจในเรอ่ื งเหล่าน้นั
ทีนม้ี าพูดเร่อื งเหรียญของหลวงปู่ จดุ ก�ำเนดิ อย่ตู รงทว่ี า่ สมยั
หนึ่งเมอ่ื ชาวกรุงเทพฯ และคนในจงั หวัดต่างๆ มกี ารไปมาหาส่กู ันใน
รปู ทัศนาจร หรอื จดั พาคณะไปกราบครูบาอาจารย์สายพระกัมมฏั
ฐาน โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ ทางภาคอสิ าน รวมทงั้ ไปเท่ยี วงานใหญๆ่
เชน่ งานชา้ ง รวมทัง้ มีเหตุการณ์สงครามแถบชายแดนของประเทศ
เป็นตน้
ภาวะการณ์เหลา่ นไ้ี ด้ท�ำให้มผี ูม้ ากราบนมสั การหลวงปมู่ าก
ขึ้น แต่ละคนแตล่ ะคณะมักจะถามหาวัตถมุ งคลของหลวงปู่ ปกติ
หลวงปูพ่ ดู นอ้ ยอยู่แล้ว ท่านก็พดู เพียงว่าอาตมาไม่มี อาตมาไมเ่ คยท�ำ
ท่านปฏิเสธอย่างน้ีเสมอมา แม้คนจะรบกวนถามทา่ นเร่ือยๆ สังเกตดู
304
กไ็ ม่เหน็ ท่านหวน่ั ไหวอะไร
เร่อื งทำ� เหรียญนี้ ต้องโทษท่อี าตมภาพ (พระโพธนิ นั ทมุน)ี
ซ่งึ ไดต้ ริตรองพอสมควร เห็นว่าหลวงปูจ่ ะตอ้ งกล่าวปฏเิ สธคนไป
เร่อื ยๆ เกรงทา่ นจะล�ำบากกเ็ ลยกราบเรยี นท่านว่า นา่ จะไดจ้ ัดทำ�
เหรียญทร่ี ะลกึ ของหลวงปสู่ ักครง้ั หนงึ่ สำ� หรบั แจกคนทีเ่ ขาสนใจ
ท่านกบ็ อกวา่ ไม่ตอ้ ง ไม่จำ� เป็นและก็ไมใ่ หส้ รา้ ง อาตมาจึงเงียบเฉยไป
เปน็ ปี คนกม็ าขอเหรียญหลวงปู่อย่างน้ีเรอื่ ยๆ ไป
อาตมากก็ ราบเรียนหลวงปเู่ ปน็ ครง้ั ที่ ๒ โดยยกตวั อยา่ งพระ
เถระองคอ์ นื่ ๆ ทางฝ่ายกมั มัฏฐาน สานุศิษย์ก็สรา้ งเหรียญถวาย เพ่อื
ใหท้ ่านแจกเป็นทรี่ ะลกึ ส�ำหรบั คนทเี่ ขายังมีภาวะจติ วา่ ต้องมีวัตถไุ ว้
เป็นท่ียดึ เหนี่ยว ไม่วา่ ท่านอาจารย์ฝ้นั หลวงปแู่ หวน ท่านก็มมี านาน
การมเี หรยี ญที่ระลกึ ก็ไม่ได้มเี จตนาเพอื่ สิ่งอน่ื ใด เพียงช่วย
หลวงปู่ไม่ตอ้ งอธิบาย ไม่ต้องปฏเิ สธ ถา้ ใครถามหากย็ ื่นใหเ้ ขาไป
หนึ่งเหรยี ญ คงจะท�ำใหห้ ลวงปู่สะดวกใจขึน้ คนท่ีมาขอเขากจ็ ะไมร่ ู้
สึกผิดหวงั
พยายามเรยี นท่านอยา่ งนี้ ท่านกพ็ ดู ว่า “เออ! ท�ำก็ท�ำ ซิ”
เม่อื หลวงปอู่ นญุ าตแล้ว อาตมากจ็ ัดทำ� ขึน้ เป็นรุ่นแรก ทำ�
เสรจ็ แลว้ ก็ถวายหลวงปูไ่ ว้ตลอดพรรษา ชว่ งนนั้ เป็นชว่ งทีก่ �ำลงั
พฒั นาปฏิสังขรณ์วัดด้วย ก็มผี ลประโยชนจ์ ากการทำ� บญุ เอามา
พัฒนาวดั บา้ งตามท่ีมคี นศรทั ธา เหรียญรุ่นน้นั ไม่มีการต้ังราคาแต่
อยา่ งใด
เม่ือเหรียญรนุ่ แรกออกมาก็มคี นฮือฮาพอสมควร แล้วก็มีลูก
ศษิ ยล์ ูกหาทง้ั ฝา่ ยคฤหสั นบ์ า้ ง ฝา่ ยสงฆบ์ ้างเรม่ิ เข้าหาหลวงปูข่ อ
อนุญาตสร้างเหรยี ญสร้างวัตถุมงคลกันต่อมาเรือ่ ยๆ
ตามความเป็นจรงิ ทางวดั ไมเ่ คยมโี ครงการ ไมม่ ีเป้าหมาย
หรอื จัดระเบยี บในการจัดสร้างวตั ถมุ งคลแต่อย่างใดเลย เม่อื มคี นมา
ขอ บางทีอาตมาก็พาไปพบหลวงปูซ่ ึ่งมขี า้ ราชการผใู้ หญ่บ้าง ทาง
กองทัพ แมท่ พั บ้าง เมื่อเขาบอกเจตนาแล้วหลวงปู่กอ็ นญุ าตให้เขาท�ำ
305
ทางวดั ไมเ่ คยมโี ครงการ จงึ ไมเ่ คยมที ำ� เนยี บ มรี นุ่ ไมเ่ คยมี
การจดั ระเบยี บเรอ่ื งนแ้ี ตอ่ ยา่ งใด คนทท่ี ราบเรอ่ื งเหลา่ นดี้ ที สี่ ดุ กค็ อื
อาตมานแี่ หละ คอื รวู้ า่ มใี ครมาขอ มาสรา้ งแลว้ กช็ ว่ ยเหลอื สงเคราะห์
เขาไปตามควร
แต่ขอยนื ยันว่าเหรยี ญและวตั ถุมงคลทที่ ำ� จากวดั เอง ส�ำหรับ
แจกเป็นที่ระลกึ น้นั ไม่มโี อกาสออกไปขา้ งนอกก็แจกกันหมดภายในวดั
นั้นเอง ไมม่ ีการออกประกาศเร่ืองการพทุ ธาภเิ ษก การให้ส่งั จอง
และประกาศประชาสมั พันธต์ ่างๆ รบั รองว่าไม่เคยมีเด็ดขาด
การกระทำ� อย่างนน้ั ทางวัดเรารู้สึกไม่โปรง่ ใจ ไมส่ บายใจ
เร่ืองเหลา่ น้เี ราไมถ่ นัด อาตมาไม่ถนัด พดู ง่ายๆ คอื ส่งิ เหล่าน้หี ลวง
ปู่ไมช่ อบนนั่ เอง แต่ที่ทางเราท�ำข้ึนบ้างกเ็ พ่อื สนองความต้องการ
โดยท่หี ลวงปไู่ มต่ อ้ งปฏิเสธ ไม่ตอ้ งอธบิ าย
ชว่ งหลังๆ มีผ้มู าขอสรา้ ง ขอทำ� กนั หลายพวก หลายคน
หลายรนุ่ จนไม่ทราบว่าใครทำ� ร่นุ ไหน เม่อื ไร ไม่มกี ารจดจ�ำ ไม่มี
การรวบรวมเปน็ ทำ� เนยี บ
อย่างไรกต็ าม ถา้ จะมาบังคบั ใหอ้ าตมาบอกว่ามกี ่ีรุ่น อาตมา
กจ็ ัดรนุ่ จัดระเบียบตามแบบฉบับของอาตมาเอง ใครจะเห็นอยา่ งไรก็
แล้วแต่ อาตมาจดั ออกเป็น ๗ ร่นุ คอื “รุ่นวางเฉย รนุ่ ใส่ใจ รนุ่
สบายใจ รุน่ สะดวกใจ รนุ่ ล�ำบากใจ รุ่นต๊อื และรุน่ ปลอมอย่าง
แท้จริง”
เหรียญและวตั ถมุ งคลของหลวงปคู่ งจดั ไดใ้ นลกั ษณะน้ี ทตี่ อ้ ง
จดั อยา่ งน้เี พราะเร่ืองมนั มอี ยอู่ ยา่ งน้นั จรงิ
คนท่ีมาขออนุญาตสรา้ งเหรียญ หรอื ประธานการจัดสรา้ ง
แตล่ ะร่นุ นน้ั เขาไดร้ ับความรสู้ ึกอย่างนนั้ จริง บางทา่ นสร้างแลว้ ก็
ปลมื้ ใจ บางท่านกส็ บายใจ บางทา่ นก็ไม่คอ่ ยสบายใจเทา่ ใดนัก
การสร้างเหรียญรนุ่ แรก คอื “รุ่น ๐๘” รุ่นน้เี ปน็ การรเิ ริ่มของ
นายอำ� เภอพิศาล มูลศาสตร์สาทร ในสมัยนน้ั จัดท�ำมาเสร็จ
เรยี บรอ้ ยแลว้ ก็มาถวายไวท้ ีห่ ลวงปู่ หลวงปกู่ อ็ อื ออไปตามเรอ่ื งใหเ้ ขา
306
เก็บไว้ท่กี ุฏิ เมอื่ นานพอสมควรแล้ว เจ้าของเหรยี ญก็มารบั ไปและ
แบ่งถวายวัดไว้บางสว่ น ไว้ใหห้ ลวงปแู่ จกให้คนที่มาท�ำบุญ สรา้ ง
อะไรตอ่ อะไร ใครมาขอกแ็ จกให้ทุกคน
รนุ่ แรกน้จี ำ� ได้ดี เพราะเกิดขน้ึ เปน็ ครัง้ แรกในปี ๒๕๐๘ มจี ำ�
นวน ๓,๐๐๐ เหรยี ญเทา่ นั้นเอง ใช้เวลาแจก๑๐ปีก็ยังไม่หมด ใครมา
ท�ำบุญ ๕ บาทกใ็ หไ้ ป ไม่รวู้ ่าเขาสนใจหรือเปลา่ หรือใครขอก็ให้
รุน่ นจ้ี งึ เรยี กว่า “ร่นุ วางเฉย” คือไม่ไดใ้ สใ่ จว่าสำ� คัญหรอื ไมส่ ำ� คญั
ท้งั หลวงปู่ทั้งอาตมา รวมไปถึงคนทีไ่ ดร้ บั กเ็ ช่นกัน นีค่ ือ “รนุ่ ๐๘”
สรา้ งเมอ่ื หลวงปอู่ ายุ ๘๔ ปี
เหตุการณ์ผา่ นมาอีก ๑๐ ปี จนถงึ พ.ศ. ๒๕๑๘ เมอ่ื อาตมา
ได้ขอรอ้ งท่านเป็นครงั้ ท่ี ๒ แล้วท่านอนุญาต อาตมาจึงจัดทำ�
เหรยี ญของทา่ น ๑ หมนื่ เหรียญและเหรียญหลวงพอ่ พระชีว์อีก ๑
หมนื่ เหรียญ
รนุ่ นจี้ ดั เปน็ รนุ่ ท่ี ๒ เป็นรุ่นใส่ใจ เพราะหลวงปอู่ นญุ าตให้ท�ำ
แล้วทา่ นกใ็ หค้ าถาด้วย คาถาทอ่ี ยู่ในเหรียญเป็นภาษาขอมท่านก็
เขยี นให้ สรา้ งเสรจ็ กน็ ำ� มาถวายหลวงปู่ เกบ็ ไวใ้ นกฏุ ขิ องท่านจน
ตลอดพรรษา ต้ังใจวา่ ออกพรรษาแล้วจะเอามาแจกจ่าย ประกอบกบั
ทางวดั มภี าระในการพัฒนาและปฏิสงั ขรณห์ ลายอยา่ ง จึงกำ� หนด
ราคาค่าบชู าเหรียญละ ๒๐ บาท เพื่อความเป็นระเบยี บ
ช่วงน้นั ทางวัดไดเ้ ห็นตวั อย่างการท�ำพิธพี ุทธาภิเษก พระกร่ิง
จอมสุรนิ ทร์ที่ทางผจู้ ัดสร้างได้มาอาศัยสถานที่ของวัดทำ� พธิ พี ทุ ธา
ภิเษก
ขอท�ำความเข้าใจวา่ พระกรง่ิ จอมสรุ ินทร์ นนั้ ทำ� พิธพี ทุ ธา
ภิเษกทีว่ ัดบรู พาราม แตไ่ มใ่ ช่เป็นของวดั ชว่ งน้นั หลวงปูย่ ังวางเฉยใน
เรอ่ื งน้ี เพยี งแต่ตอนนนั้ ทา่ นผ้วู ่าฯ วเิ ชียร ศรีมันตร์ (พล.ต.ต.
วิเชยี ร ศรีมันตร์ ผูว้ ่าราชการจงั หวดั สุรินทร์ ในสมยั นั้น) ปรารภ
สร้าง พระกร่ิงจอมสรุ นิ ทร์ เพือ่ ใหค้ นบูชาแล้วนำ� ปจั จัยไปสรา้ งพระ
ประธานทเ่ี ขาพนมสวายและสรา้ งถาวรวตั ถทุ ่วี ัดหนองบวั
307
ในการสร้างได้ตั้งคณะกรรมการขน้ึ แล้วไดจ้ ดั พิธพี ทุ ธาภิเษก
ทีว่ ัดบูรพาราม ทางวัดเพียงเออ้ื เฟ้ือสถานท่ีเทา่ นั้น พระกริง่ เป็นของ
คณะกรรมการ เขาแบ่งพระทองให้หลวงปู่องคห์ นึ่ง แล้วกใ็ ห้พระเงิน
อาตมาองค์หน่ึง ทราบเร่อื งเพยี งแค่นี้
ทนี ี้เม่อื เหน็ ตัวอยา่ งการจัดพิธพี ุทธาภเิ ษกข้นึ ทางวดั ก็มีด�ำริ
จัดขึน้ ด้วย แต่เหรียญหลวงปดู่ ุลย์ ๑๐,๐๐๐ เหรียญ กบั เหรียญ
หลวงพ่อพระชีว์ ๑๐,๐๐๐ เหรยี ญ ท่ีทำ� ไวเ้ ดมิ คงไม่พอแจก จึงขอ
ใหท้ างโรงงานท�ำเพ่ิมอีกอยา่ งละ ๑ หม่ืนเหรยี ญ รวมเป็นอยา่ งละ
๒ หมน่ื เหรียญ ๑ หม่นื เหรยี ญแรกเกบ็ ไวก้ ับหลวงปตู่ ลอดพรรษา
อกี ๑ หมนื่ เหรียญป๊ัมเพม่ิ ใชแ้ บบเดียวกนั เอามาเขา้ พธิ พี ทุ ธาภิเษก
พร้อมกัน นอกจากน้กี ็มพี ระกริง่ หลวงพอ่ พระชีวร์ นุ่ แรก และรปู
เหมือน ๕ น้วิ กับ ๙ นิ้วจ�ำ นวนหน่งึ ดว้ ย
เหรยี ญและวตั ถุมงคลทีท่ �ำพิธพี ทุ ธาภิเษก ในปี ๒๕๑๘ นี้ จงึ
เรียกวา่ รุน่ ใส่ใจ ตามทกี่ ล่าวแล้ว
หลังจากรนุ่ น้ีส�ำเรจ็ ออกมากม็ ีรุ่น ๒, ๓, ๔ และรุ่นอน่ื ๆ ตาม
มา มที ่านผูใ้ หญ่ขออนุญาตทำ� บางทีทางทหารขอทำ� เพอ่ื แจกทหาร
และทา่ นทอี่ อกปฏิบตั ิหนา้ ทแ่ี ถวชายแดน หน่วยงาน องคก์ ารตา่ งๆ
ขอทำ� ดว้ ยวตั ถุประสงคอ์ ยา่ งใดอยา่ งหนึง่ หลวงปู่ทา่ นมเี มตตาอยู่
แลว้ ท่านจงึ อนญุ าตตามประสงค์ หรอื ไม่ก็เออออไปตามอธั ยาศยั
เม่อื ทำ� เสร็จเขาก็นำ� มาถวายท่าน ใหท้ า่ นแผ่เมตตาจิต-แผ่พลงั จิตให้
บางรุ่นก็เขา้ พิธพี ุทธาภิเษก ท่านก็ใหค้ วามสงเคราะห์ตามควร
หลงั จาก รุน่ วางเฉยและรุน่ ใสใ่ จ ผา่ นไปแล้ว ต่อมาก็เป็น
รนุ่ สบายใจ กค็ อื รุ่นทท่ี ่านท่วั ๆ ไปและหน่วยงานต่างๆ ไปกราบ
เรียนขออนุญาต ท่านกอ็ นุญาตใหท้ ำ� แลว้ นำ� ไปใหท้ ่านแผเ่ มตตาจิต
ทา่ นก็ท�ำใหโ้ ดยสมบรู ณ์ แต่ละคนแตล่ ะกลมุ่ ที่ท�ำกส็ บายใจ อาตมา
พูดตามอาการคือ ต่างคนตา่ งก็สบายใจ
แล้วรุ่นตอ่ มากค็ ือรุน่ ดใี จ กห็ มายความว่า เมือ่ แตล่ ะคนไปขอ
อนญุ าตจากทา่ น ท่านกอ็ นุญาตให้เขาทำ� เขากด็ ใี จ ไม่วา่ เขาเอาไป
308
ถวายใหท้ ่านแผเ่ มตตาจิต หรือขอใหพ้ ระเกจิรูปอนื่ ทำ� ก็แลว้ แต่ เขาก็
ดีใจว่าเขาไดพ้ ระจากหลวงปู่
ตอ่ มาก็รุ่นสะดวกใจ กค็ อื ว่าการดำ� เนินเร่อื งราวของเขาไดร้ ับ
ความสะดวกต้ังแตเ่ ขาสรา้ ง ตง้ั แต่กรรมการเข้าไปหาหลวงปู่ ขอ
เมตตาจากท่านก็สะดวกใจ เม่อื สะดวกใจกเ็ ปน็ โชคของเขาไป
ต่อมากม็ ีรนุ่ ล�ำบากใจ คอื บางทา่ นท�ำเหรียญเสร็จเรียบรอ้ ย
แลว้ ก็เกดิ ความลำ� บากใจขนึ้ มา คือเขาไมไ่ ด้รับอนญุ าตจากหลวงปู่ ท�ำ
ให้เขาเขา้ หาหลวงปูด่ ว้ ยความล�ำบากใจ (คือตัวเขาเองล�ำบากใจ แต่
หลวงปไู่ ม่ไดล้ ำ� บากใจ)
รนุ่ ต่อมาหนกั กวา่ นี้ คอื ไปจดั ท�ำเหรียญเรียบรอ้ ยแล้ว มีการ
โฆษณาและสั่งจองกันแลว้ ทำ� เหรยี ญไดด้ ีเปน็ พิเศษด้วย บางทีทำ�
แลว้ ไม่กลา้ เขา้ หาหลวงปู่ เกบ็ ไว้เปน็ ปีก็มีในท่สี ดุ ก็วิ่งเข้าหาคนนั้น
บา้ งคนนบ้ี ้าง บางทหี ลวงปู่ทราบขา่ วท่านก็ไมเ่ ห็นดีเห็นงามดว้ ย
ตอ้ งพยายามไปต๊ือลูกศิษย์ท้ังนอกวดั และในวดั จนกระทั่งมีโอกาส
เข้าหาหลวงปู่ เขา้ ไปตอื๊ หลวงปู่ แต่เมอื่ เขาเข้าหาขอความเมตตาแลว้
ท่านก็แผเ่ มตตาจิตให้ เขาก็รับไป รอดตวั ไป น่ีก็ใช้อาการพอสมควร
เรียกวา่ รนุ่ ต๊อื
ร่นุ ลำ� ดับถัดมา คอื รุน่ ๑๐๐% คือ ปลอมร้อยเปอรเ์ ซนต์
คอื จดั ทำ� ขึ้นมาแล้วก็แจกจา่ ยไปเลย จำ� หนา่ ยไปเลย อาศยั ช่ือเสยี ง
ต่างๆ มาท�ำประโยชน์ในการค้าขาย อันนก้ี ็เป็นเรือ่ งของเขาไป
เพราะฉะนั้นอาตมาจึงต้องขออภยั ท่ตี อ้ งพูดเช่นนี้ เพ่อื ไม่ให้
เป็นการระคายเคืองความรูส้ กึ ของท่านท่ีเปน็ ประธานการสร้าง
เหรียญแตล่ ะรุน่ กค็ อื เมื่อการสร้างเหรียญของทา่ นท�ำใหส้ บายใจ
ดีใจ สะดวกใจ และกอ็ นุ่ ใจแล้ว กถ็ ือวา่ เป็นของดงี ามดว้ ยกันท้ังนั้น
ถือวา่ ไดร้ ับ “พระคุณ” จากหลวงปู่เชน่ เดยี วกัน
ทีน้ที า่ นผ้ใู ดได้รับรุ่นไหน รนุ่ อะไร อยากจะพดู วา่ กแ็ ลว้ แต่
วาสนาของท่านเถอะ “สพเฺ พ สตตฺ า” แตถ่ า้ ท่านบูชาพระคุณของ
หลวงปเู่ สียอย่างแล้ว เมอื่ มคี ณุ ธรรมของหลวงปู่ มคี วามเลื่อมใส ส่ิง
309
เหล่านัน้ ลว้ นมคี วามหมายแม้ทา่ นมิไดร้ ่นุ พเิ ศษเทา่ ไหร่ แตถ่ า้ หากวา่
สภาวะทางจติ ใจ ความประพฤติ ความเลอื่ มใส ภูมิใจ ไดม้ าดว้ ยจติ
บรสิ ทุ ธ์ิ เพือ่ สกั การะบูชากถ็ อื เปน็ เรอ่ื งวเิ ศษเรื่องมงคลท้งั นนั้
ถา้ เปน็ ไปในทางตรงกนั ขา้ มอานุภาพก็ไมม่ เี ช่นเดยี วกนั อนั น้ี
จงึ เปน็ เร่อื งของวาสนาและเรือ่ งของภาวะจติ ใจของแต่ละคน
เหรยี ญร่นุ แรกๆ ยงั มอี ยู่ไหม?
ไม่มหี รอก หมด แม้แต่เคยเก็บไวอ้ งค์สององค์ ไว้เป็นทรี่ ะลกึ
ส่วนตวั ก็มีผูห้ ลกั ผูใ้ หญ่มาถามหา ก็บอกว่ามีเหรียญสองเหรยี ญ เขา
บอกขอเถอะๆ ก็ตดั ใจว่าอย่างไรเสยี อยา่ มเี สยี เลยก็แลว้ กนั อยา่ ให้มี
เลยจะได้ไม่ตอ้ งมามกี ังวล
ตกลงเดีย๋ วน้กี ไ็ มม่ ี แตน่ านๆ บางทกี ็หมนุ กลบั มาบ้างเหมอื น
กนั ไปเหน็ พระรปู อน่ื ๆ ทีเ่ ป็นลูกศิษยเ์ ขามีมากกว่าเรา เราก็ไปตอื๊
เขา เขากใ็ ห้มาแล้วคนอ่ืนก็มาขอตอ่ ก็หมุนเวียนอยู่ แตต่ อนน้ไี มม่ ีก็
สบายใจไปอยา่ งหน่ึง
มีคนมาถามหาบอ่ ยไหม?
“บอ่ ย” ดังนั้นอาตมาต้องระวงั อารมณพ์ อสมควร มีคนมา
ถามมาเซา้ ซี้อยู่เรอ่ื ย ต้องเตอื นสตติ ัวเองไมใ่ หโ้ กรธ ตอ้ งระวงั อยา่ ง
มาก ไมง่ ัน้ เกดิ อารมณไ์ มด่ ีได้เหมอื นกนั เพราะวา่ มันเป็นส่งิ ทไี่ มม่ ี
และหายาก แมแ้ ต่รนุ่ สร้างหลงั ๆ เมื่อตอนทหี่ ลวงปยู่ ังมชี วี ิตอยู่ แต่
พอท่านมรณภาพ ระหว่าง ๒-๓ วันแรก มอี ะไรที่เก่ียวกบั หลวงป่กู ็
หมดในวนั น้นั แหละ คนมาจากใกลจ้ ากไกล เมอ่ื เขามาแล้วอะไรๆ ก็มี
ความหมายหมด กส็ รุปความไดว้ ่าเหรยี ญทส่ี ร้างเมื่อสมยั หลวงปมู่ ี
ชีวติ อยู่ ก็หมดไปในวนั ที่ทา่ นมรณภาพนนั่ แหละ
หลงั จากท่านมรณภาพแล้ว ก็มกี ารสรา้ งตามหลงั เพือ่ เปน็ ท่ี
ระลกึ เพราะชาวตา่ งจงั หวดั บางท่านมารู้กิตตศิ ัพทห์ ลวงปเู่ ม่อื หลัง
จากทา่ นมรณภาพแลว้ ทางวดั เหน็ วา่ สรา้ งไวเ้ พ่ือเปน็ ท่ีระลกึ สรา้ ง
แลว้ กจ็ ดั พธิ ีพทุ ธาภิเษกเองบา้ ง เอาไปเข้าพธิ รี ว่ มกับพธิ ีใหญๆ่ ท่ีที่อนื่
จดั บา้ ง เมอื่ คนเขามาวดั มากราบบารมีหลวงปู่ แม้จะได้เหรยี ญรุ่น
310
ใหมเ่ ขาก็พอใจ เขารับไวเ้ ปน็ ทีร่ ะลึก หรือไว้แจกในงานทอดกฐนิ บ้าง
ทอดผา้ ป่าตามวดั สาขาตา่ งๆ บา้ ง คนทีไ่ ด้รับไปเขาก็พอใจ
วัตถุประสงคก์ ็มีแคน่ ั้นเทา่ นัน้ เอง
สรุป ในชว่ งที่หลวงปยู่ ังมีชีวติ อยู่ ทางวัดบูรพารามเองไดจ้ ัด
ท�ำเหรยี ญและวัตถุมงคลทง้ั ส้ินรวม ๘ ร่นุ ดว้ ยกนั นอกน้ันคณะและ
หน่วยงานอน่ื ๆ เป็นผู้จดั ทำ� และทม่ี อี ยู่ในวดั ในขณะนเ้ี ป็นเหรยี ญทจ่ี ัด
ทำ� ข้ึนหลงั จากที่หลวงป่มู รณภาพแล้ว
อน่ึง จากบนั ทกึ ของคุณบ�ำรุงศกั ด์ิ กองสุข ในหัวขอ้ “วัตถุ
มงคลกับจิต” มดี งั นี้
ในระหวา่ งทห่ี ลวงปู่เรมิ่ มลี กู ศิษยไ์ ปขอให้ท่านเมตตาชว่ ยทำ�
วัตถุมงคล กม็ เี พอ่ื นนำ� รูปถ่ายมาอวดกบั ผเู้ ขียน ให้ดูรอยเจมิ ดา้ น
หน้า แตซ่ ึมผา่ นภาพมาปรากฏด้านหลัง (ทา่ นเจมิ ดว้ ยหมกึ ปม๊ั
ตรายาง)
ส่วนหลวงพ่ี พระสมั พนั ธ์ ไดน้ �ำแผน่ ทองแดง ๒ แผน่ ประกบ
กันมาอวด โดยแยกออกใหด้ รู อยแปง้ เจิมทัง้ ด้านหนา้ ดา้ นหลงั รวม
๔ ด้าน มีรอยแปง้ เจิมปรากฏทั้ง ๔ ดา้ นตรงกันพอดี รอยเจิมดว้ ย
แป้งดินสอพองน้ี พระสมั พนั ธ์ท่านบอกวา่ หลวงปู่ทา่ นเจมิ ใหด้ า้ น
หนา้ ดา้ นเดียวเท่านนั้
รอยเจิมของหลวงปูแ่ พรอ่ อกไปในหมศู่ ษิ ย์ ผเู้ ขยี น (บำ� รุง
ศักด)์ิ เคยสอบถามคณุ เอกชัย สืบนกุ ารณ์ ซึง่ มีรถยนต์หลายคนั
และชอบให้หลวงปเู่ จมิ รถ คณุ เอกชัยบอกวา่ หลวงปู่เจิมกระโปรงรถ
แลว้ แปง้ เจิมไปปรากฏอีกด้านหนง่ึ ดว้ ยเปน็ ความจริง
ผเู้ ขยี นทราบแต่ว่าหลวงปูส่ อนเฉพาะภาวนาเท่านน้ั เมือ่ มี
โอกาสจึงกราบเรยี นถามทา่ นว่า “หลวงปู่ทำ� ของแบบนี้ (วตั ถมุ งคล)
เปน็ ด้วยหรอื ขอรบั ”
หลวงปู่ตอบว่า “อนั น้เี ปน็ วชิ าโลกีย์ทเี่ คยเรยี นรมู้ า สว่ น
เรอื่ งจิตนัน้ เปน็ อกี เรอ่ื งตา่ งหาก”
และเมือ่ ครั้งหลวงปู่อาพาธอย่โู รงพยาบาลจฬุ าลงกรณ์ ไดม้ ีผู้
311
ขอเก็บเศษอาหารท่ีหลวงปูข่ บฉนั แล้วคายท้ิงนยั วา่ เพือ่ น�ำไปเป็นที่
ระลึกและท�ำวัตถุมงคล หลวงปู่ท่านก็ไม่ขดั แตท่ ่านแนะนำ� ว่า “อย่า
เอาของสกปรกไปท�ำวตั ถุมงคล”
หลวงปเู่ ทสกพ์ ดู ถึงหลวงปู่ดูลย์
ผู้เขยี นไดพ้ บหลวงปูด่ ลู ย์ อตโุ ล (พระราชวฒุ าจารย) แต่คร้งั
แรกทา่ นไปพกั เรียนหนังสอื อยทู่ ่วี ดั สทุ ศั นาราม อบุ ลราชธานี ใน
สมยั นน้ั ดเู หมอื นทา่ นได้ ๑๐ พรรษา ทา่ นมีเมตตาแกผ่ ูเ้ ขียนเปน็ อัน
มาก พอเห็นหน้าตาเขา้ เรียกรอ้ งให้ไปหาและก็ไดส้ มั โมทนียกถาโดย
สุภาพเรยี บรอ้ ย ตามวิสยั ของทา่ น ผ้มู นี ิสัยเช่นนนั้ เพราะทา่ นพูด
แต่ละค�ำน้ันดูเหมอื นกล่ันกรองแล้วจงึ คอ่ ยพดู พดู เฉพาะท่จี �ำเปน็ ไม่
ได้พดู พรา่ํ เพร่อื และพูดในสิง่ ทคี่ วรทำ� และท�ำได้ นับวา่ เป็นที่นา่
เลอ่ื มใสศรัทธาอย่างยิ่ง นสิ ยั อันน้ีนบั ไดว้ ่าเป็นประโยชนอ์ ย่างยิ่งส�ำ
หรับผู้ที่คบหาสมาคม
ผู้เขยี นก็ได้เข้าไปหาทา่ นเมอ่ื ท่านเรียกโดยสุภาพเรียบร้อย ฟัง
โอวาทของทา่ นแล้วประทับใจจนกระทั่งบัดนี้
ไมเ่ ฉพาะแต่ผู้เขียนเท่าน้นั ท่เี ห็นท่านแลว้ เคารพนบั ถือ พระ
เณรทั้งวดั ก็เคารพนับถือ ถงึ แมท้ ่านเปน็ คณะมหานิกายมาอาศัย
เรยี นหนงั สือช่ัวคราวก็ตาม กิจการงานท่านเป็นหัวหน้าหมูใ่ นวัดนนั้
ได้ แม้แต่สมภารกย็ งั นับถอื ท่านวา่ เปน็ ผู้ใหญค่ นหนึง่ และการสรา้ ง
พระอโุ บสถวัดสุทัศนฯ์ สมภารยงั นมิ นตท์ า่ นมาชว่ ยควบคมุ การ
ก่อสรา้ ง
ท่านไดญ้ ตั ตเิ ป็นธรรมยุตกอ่ นเขา้ พรรษา หรือออกพรรษา
แลว้ ผูเ้ ขยี นชักจะลมื เสียแล้ว แต่ถึงอย่างไรก็ดี เมื่อออกพรรษาแลว้
ทา่ นอาจารยส์ ิงหอ์ อกจากอบุ ลราชธานี ไปเทยี่ ววิเวกขึ้นมาทาง
จงั หวัดสกลนคร-อดุ รธาน-ี หนองคาย ท่านก็ได้ติดตามท่านอาจารย์
สิงหไ์ ปดว้ ย จากน้นั หลายปผี ูเ้ ขียนก�ำลงั เรยี นหนงั สอื ไม่ได้ตดิ ตาม
312
ขา่ วของท่าน
จนกระท่ังผู้เขยี นไดบ้ วชเปน็ พระ เมือ่ พ.ศ. ๒๔๖๖ เพราะ
เวลานน้ั ท่านอาจารยส์ ิงห์กลับคืนอบุ ลราชธานอี ีก ได้ขา่ ววา่ หลวงปู่
ดลู ยก์ ็กลับไปด้วย แต่ไม่ไดไ้ ปอบุ ลราชธานี ท่านแยกไปทางจังหวัด
สุรินทร์ เลยไมไ่ ดพ้ บท่าน ไดข้ ่าวว่าเมอื่ ทา่ นกลบั ไปทางจงั หวดั
สุรนิ ทร์แลว้ ก็ไมไ่ ดก้ ลับไปทางจังหวัดสกลนคร-อุดรธาน-ี หนองคาย
อกี ท่านคงเท่ียวอยูแ่ ถวจังหวดั สรุ ินทร์บ้านเดิมของทา่ น
เมื่องานศพหลวงปฝู่ ัน้ ท่ีอำ� เภอพรรณานคิ ม จงั หวดั สกลนคร
จึงไดพ้ บทา่ นอกี ท่านยังไดแ้ สดงความเมตตาปรารถนาหวังดีต่อผู้
เขียนอยา่ งยง่ิ ในท่ปี ระชมุ พระเถรานุเถระเปน็ อันมาก ท่านยงั
อตุ ส่าห์มาทกั ทายปราศรยั กบั ผเู้ ขยี น แล้วกพ็ ดู ธรรมะทลี่ ะเอียดลกึ ซง้ึ
สุขุมทเ่ี ป็นแนวปฏิบัตทิ ัง้ นัน้ ท่านมักพูดแตเ่ รอื่ งจิตคอื เรียกวา่ จิตคือ
พทุ ธะ และจติ ท่สี ง่ ออกไปภายนอกเรยี กวา่ สมทุ ัย อันเป็นเหตุนำ�
ทุกขม์ าให้ ทา่ นพดู อยา่ งนบ้ี ่อยๆ ทา่ นพูดกับผเู้ ขียนอยูน่ าน คล้ายๆ
กับว่าท่านจะเมตตากับผ้เู ขียนโดนเฉพาะ ท่านพูดแต่ในทางปฏบิ ัติ
เห็นว่าผู้เขยี นเป็นผูป้ ฏิบัติ คลา้ ยๆ กับว่าจะมคี วามรสู้ ูงในด้านปฏบิ ตั ิ
แตแ่ ท้จรงิ แลว้ เปล่า กพ็ ระเทสกธ์ รรมดาๆ นเี่ อง
ตอ่ มาครงั้ สุดท้ายทา่ นได้ไปวางศิลาฤกษ์อโุ บสถวัดหนึง่ ที่
อ�ำเภอผอื จงั หวดั อุดรธานี แลว้ ทา่ นไปนอนค้างท่วี ดั ของผู้เขยี นคืน
หน่ึง ทา่ นก็พดู อยา่ งเกา่ รูส้ ึกวา่ ทา่ นกระฉบั กระเฉงแขง็ แรงมาก
ชราภาพถึงขนาดนั้นแลว้ รูปร่างลักษณะของทา่ นยงั ไม่เปลี่ยนแปลง
ไปนักและท่านไม่เคยถือไมเ้ ทา้ เลย
ในโอวาทของทา่ นทท่ี า่ นพดู วา่ จติ คอื พทุ ธะ ในตอนนผ้ี เู้ ขยี น
ขออธบิ ายวา่ พทุ ธะ คอื ความรทู้ วั่ ไป ไมไ่ ดห้ มายถงึ สมั มาสมั พทุ ธะ
พทุ ธะ คอื ผรู้ ทู้ ว่ั ไป หรอื ธาตรุ กู้ ว็ า่
แล้วก็อีกคำ� หนง่ึ ทา่ นว่า จติ ส่งออกนอกเป็นตัวสมุทัย มนั ก็
แนท่ ีเดียว ถ้าจติ ส่งแลว้ มนั เปน็ ตัวสมทุ ยั โดยความเขา้ ใจของผู้เขยี น
จิต คือผู้คิดผนู้ กึ ผู้สง่ ผู้ปรุงแต่ง ผู้จดผจู้ ำ� เปน็ อาการวุ่นวายของ
313
จติ ทั้งหมด ครนั้ มาเหน็ โทษเห็นภัยเห็นเช่นนน้ั แลว้ ถอนเสียจากความ
ยุ่ง ความวนุ่ วายแล้ว เข้ามาหาตัวเดิม คอื ใจ แลว้ ไมม่ คี ิด ไมม่ ีนึก
ไม่มสี ง่ ไม่สา่ ย ไม่มีจดไม่มีจำ� อะไรทั้งหมด คอื เป็นกลางๆ อย่เู ฉยๆ
น่ลี ะ ผเู้ ขยี นเรียกวา่ ใจ คืออยู่กลางๆ ของความดคี วามชั่ว ความ
ปรุงความแต่ง อดีตอนาคตปล่อยวางหมด จงึ กลบั มาเปน็ ใจ จิตคือ
พุทธะ ท่านคงหมายเอาตอนนี้
ผใู้ คร่อยากร้ใู จแท้ ถงึ แมย้ งั ไม่เป็นสาวกพุทธะปัจเจกพทุ ธะ
สัมมาสัมพทุ ธะกต็ าม ขอให้ศกึ ษาพอเปน็ สุตตะพทุ ธะเสยี กอ่ น คือ จง
กลนั้ ลมหายใจไปสักพักหนึ่งลองดู ในที่นัน่ จะไม่มอี ะไรทงั้ หมด
นอกจากความรู้เฉยๆ ความร้วู ่าเฉยน่นั แหละเป็นตัวใจ พุทธะ ทัง้ ส่ี
จะมีขน้ึ มาได้ กเ็ พราะมีใจ ดงั น้ี ถ้าหาไมแ่ ลว้ พทุ ธะทง้ั สจี่ ะมไี ม่
ไดเ้ ลยเดด็ ขาด
แท้จริง จติ กบั ใจ ก็อนั เดียวกันน่นั เอง พระสัมมาสมั พทุ ธเจา้
พระองคต์ รสั ไวว้ ่า จติ อนั ใดใจกอ็ นั นนั้ แต่ผเู้ ขยี นมาแยกออกเพอ่ื ให้ผู้
ฟงั เข้าใจงา่ ยตามภาษาบา้ นเราเทา่ นนั้ เมอ่ื พูดถงึ ใจแลว้ ต้อง
หมายความของกลาง อยา่ งใจมอื ใจเท้า หรือใจไม้ แม้แต่ใจของคน
กช็ เ้ี ข้าตรงท่ที ่ามกลางอกนั่นเอง แตค่ วามจรงิ แลว้ ใจไมไ่ ด้อยู่ที่น่ัน ใจ
ย่อมอยใู่ นที่ท่ัวไป สดุ แท้แต่จะเอาไปเพ่งไวต้ รงไหน แม้แตฝ่ าผนังตกึ
หรอื ต้นไม้ เมื่อเอาใจไปไว้ตรงน้นั ใจก็ย่อมปรากฏอยู่ ณ ที่นน้ั
ค�ำพูดของหลวงปูด่ ลุ ย์ทวี่ า่ จิต คือ พุทธะ ย่อมเข้ากบั ค�ำ
อธิบายของผูเ้ ขียนที่วา่ ใจ คือ ความเป็นกลางนง่ิ เฉย ไม่ปรงุ แตง่
ไม่นกึ ไม่คิด ไมม่ ีอดีต อนาคต ลงเปน็ กลางมีแตร่ ู้ตัววา่ นิ่งเฉยเทา่ นั้น
เมือ่ ออกมาจาก ใจแลว้ จงึ รคู้ ิดนึกปรงุ แต่งสารพดั วิชาทง้ั ปวงเกดิ
จากจติ นีท้ ั้งสิ้น
นักปฏบิ ัติทั้งหลายจึงต้องควบคุมจติ ของตน ด้วยตั้ง สติ
รกั ษาจิต อยูต่ ลอดเวลา ถา้ จติ แสส่ า่ ยไปในกามโลก รูปโลก อรูป
โลก ร้วู ่าเป็นไปเพือ่ กอ่ แลว้ รบี ดึงกลบั มาใหเ้ ข้าใจ นับว่าใช้ได้แต่ยัง
ไมด่ ี ตอ้ งเพยี รพยายามฝกึ หัดตอ่ ไปอีก จนกระท่ังใจนึกคิดปรงุ แต่ง
314
ไปในกามโลก รปู โลก อรปู โลก กร็ ู้เทา่ ทนั ทุกขณะ อยา่ ไปตามรู้
หรอื รตู้ าม จะไมม่ เี วลาตามทนั เลยสักที เหมอื นคนตามรอยโคไม่เห็น
ตวั มัน จงึ ตามรอยมนั
รูเ้ ท่า คือ เห็นตัวมนั แลว้ ผูกมัดเอาตัวมนั เลย แล้วฝึกหดั จน
กระทง่ั มันเช่ือง แลว้ จะปลอ่ ยให้มนั อยอู่ ยา่ งไรกต็ าม ไม่ตอ้ งตามหา
มนั อกี นับว่าใชไ้ ด้ดี
ถ้าตามใจของตนไม่ทนั หรอื ไมเ่ ห็นใจตน มนั จะไปหรอื อยู่
หรือมนั จะคดิ ดีคดิ รา้ ยอย่างไรก็ไมร่ เู้ รือ่ งของมันนั้นใช้ไมไ่ ด้เลย จมด่ิง
ลงกามภพโดยแท้
เราขอตกั เตือนเพือ่ นสหธมั มิก ผู้บวชมาหวังความบริสุทธ์ิ
เจริญกา้ วหน้าในพทุ ธศาสนาวา่ การกระทำ� สิง่ ใด ดว้ ยกาย วาจา
และใจอันเป็นไปเพ่อื โลก เม่อื ถามตนเองก็ร้อู ยูแ่ ละโลกมนษุ ย์ทั้งหลาย
ก็รู้อยู่ สิ่งนัน้ ผิดวสิ ยั ของสมณะ จงละเสียอยา่ กระท�ำ จงศึกษาแต่
ธรรมวนิ ัยและข้อวัตรปฏิบตั ใิ หเ้ ข้าใจถอ่ งแท้และปฏบิ ัติตามให้ถูกทกุ
ประการ อันจะน�ำมาซ่ึงความเยน็ ใจแก่ตนและเป็นเหตุใหค้ นอนื่ เกดิ
ความเล่ือมใสศรัทธา เป็นเหตุให้พทุ ธศาสนาจรี ังถาวรสืบไป
หลวงปู่ดลู ย์ อตุโล (พระราชวฒุ าจารย์) ได้สละทิ้งร่างกาย
อันกอปรด้วยของปฏิกลู โสโครกทนได้ยาก พรอ้ มทั้งญาตโิ ยมและ
สานศุ ษิ ย์จำ� นวนมากไปแลว้ แตเ่ มตตาธรรมทท่ี ่านได้ประสาทไว้แก่
สานศุ ษิ ยท์ ั้งหลายยังเหลอื อยู่ คณุ ธรรมดงั กล่าวแลว้ ประทบั จติ ใจของ
ทุกๆ คนไม่ลมื หาย กระผมพระเทสรังสี พรอ้ มด้วยอุบาสกอุบาสกิ า
และสานศุ ิษย์พระภิกษุสามเณรทัง้ หลาย ขอน้อมถวายความเคารพ
ด้วยกายวาจาและใจในที่ทุกสถาน ทุกกาล ทุกเมื่อ
พระนิโรธรังสี คมั ภรี ปญั ญาจารย์ (เทสก์ เทสรังส)ี
๙ มีนาคม ๒๕๒๘
วดั หินหมากเปง้ อำ� เภอศรเี ชียงใหม่ จังหวัดหนองคาย
315
316
พระราชวุฒาจารย์ (หลวงปู่ดลู ย์ อตุโล)
คำ� สอนทัง้ ๘๔,๐๐๐ พระธรรมขันธ์น้นั
เป็นเพยี งอบุ ายใหค้ นท้งั หลายหนั มาดูจิตนั่นเอง
ค�ำสอนของพระพทุ ธองค์มีมากมายกเ็ พราะกเิ ลสมมี ากมาย
แต่ทางทด่ี บั ทกุ ข์ไดม้ ที างเดยี ว พระนพิ พาน
การท่เี รามโี อกาสปฏบิ ัติธรรมทถี่ กู ทางเช่นนี้มีน้อยนัก
หากปล่อยโอกาสใหผ้ ่านไป
เราจะหมดโอกาสพน้ ทุกข์ไดท้ ันในชาตนิ ้ี
แล้วจะต้องหลงอยู่ในความเห็นผดิ อกี นานแสนนาน
เพ่ือจะพบธรรมอันเดียวกันนี้
ดงั นั้นเมือ่ เราเกดิ มาพบพระพทุ ธศาสนาแลว้
รบี ปฏบิ ตั ิให้หลุดพ้นเสยี มิฉะน้นั จะเสียโอกาสอนั ดนี ี้ไป
เพราะวา่ เม่ือสจั จธรรมถูกลมื
ความมืดมนย่อมครอบงำ� ปวงสัตวใ์ หอ้ ยใู่ นกองทกุ ข์สิ้นกาลนาน
นมิ ติ บางอยา่ งมนั ก็สนกุ ดี นา่ เพลดิ เพลินอยู่หรอก
แต่ถา้ ตดิ อย่แู ค่นน้ั ก็เสยี เวลาเปลา่
วธิ ีละไดง้ า่ ยก็คอื อยา่ ไปดูสิง่ ทถ่ี ูกเห็นเหลา่ นัน้
ใหด้ ผู ู้เห็น แล้วส่งิ ที่ไมอ่ ยากเหน็ น้ันก็จะหายไปเอง
ขอใหท้ า่ นทงั้ หลาย สำ� รวจดคู วามสขุ วา่
ตรงไหนที่ตนเห็นวา่ มันสขุ ที่สดุ ในชวี ิต
คร้นั ส�ำรวจดแู ล้วมนั ก็แคน่ ั้นแหละ
แคท่ ่ีเราเคยพบมาแล้วน่ันเอง
ท�ำไมจึงไม่มากกว่าน้ัน มากกว่านน้ั ไม่มี
โลกน้มี อี ยู่แค่น้ันเอง แลว้ ก็ซำ้� ๆ ซากๆ อยแู่ คน่ นั้
เกดิ แก่ เจ็บ ตาย อยรู่ ำ�่ ไป
317
มนั จึงน่าจะมคี วามสขุ ชนดิ พเิ ศษกวา่
ประเสริฐกวา่ นัน้ ปลอดภยั กว่านั้น
พระอริยเจา้ ท้ังหลาย ท่านจึงสละสขุ ส่วนน้อยนน้ั เสยี
เพื่อแสวงหาสุขอนั เกดิ จากความสงบกาย สงบจติ สงบกิเลส
เป็นความสุขทปี่ ลอดภยั หาสิง่ ใดเปรียบมิได้เลย
ภิกษเุ ราถา้ ปลกู ความยนิ ดใี นเพศภาวะของตนไดแ้ ลว้
กจ็ ะมีแตค่ วามสขุ เยอื กเยน็
ถ้าตวั เองอยูใ่ นเพศภกิ ษุ แต่กลบั ไปยนิ ดีในเพศอนื่
ความทุกขก์ ็จะทับถมอยูร่ ่ำ� ไป
หยุดกระหาย หยดุ แสวงหาได้ น่นั คอื ภกิ ษภุ าวะโดยแท้
ความเป็นพระน้นั ยงิ่ จน ย่งิ มคี วามสขุ
ศีรษะที่ปลงผมหมดแลว้
สตั วเ์ ลอ้ื ยคลานเลก็ น้อยเช่น เหาย่อมอาศัยอยไู่ ม่ไดฉ้ นั ใด
จิตทพี่ น้ จากอารมณ์ ขาดการปรงุ แต่งแล้ว
ทกุ ขก์ ็อาศัยอยไู่ ม่ได้ฉนั นั้น
ในทางโลกเขามีสงิ่ ที่มี แตใ่ นทางธรรมมีสิ่งที่ไมม่ ี
คนในโลกนต้ี อ้ งมสี ิ่งทม่ี ี เพ่อื อาศยั ส่งิ น้นั เปน็ อยู่
สว่ นผู้ปฏบิ ตั ธิ รรมต้องปฏบิ ตั ิจนถงึ สงิ่ ที่ไมม่ แี ละอยกู่ บั สง่ิ ทไ่ี มม่ ี
การปฏบิ ตั ธิ รรม ไมจ่ ำ� เปน็ ตอ้ งเดินทางไปไหน
ในเมอื่ กายยาว ๑ วา หนา ๑ คืบ นี้แลเปน็ ตัวธรรม
เป็นตัวโลก เป็นท่ีเกิดแห่งธรรม เปน็ ทด่ี บั แห่งธรรม
เปน็ ทีท่ ่ีพระผู้มพี ระภาคเจา้ ไดอ้ าศยั บัญญัตไิ ว้ซงึ่ ธรรมทงั้ ปวง
แม้ใครใคร่จะปฏิบตั ิธรรม กต็ ้องปฏิบัตทิ ่ีกายและใจน้ี
หาไดป้ ฏิบตั ิท่อี ่ืนไม่
318
ดังน้ัน ถา้ ตงั้ ใจจริงแลว้ นง่ั อยทู่ ่ไี หน ธรรมกเ็ กดิ ทตี่ รงนนั้
นอนอยู่ท่ีไหน ยืนอยู่ทีไ่ หน เดนิ อยทู่ ี่ไหน ธรรมก็เกดิ ที่ตรงนน้ั
หลกั ธรรมที่แท้นน้ั คอื จติ
ให้ก�ำหนดดูจติ ให้เข้าใจจิตตัวเองให้ลกึ ซ้ึง
เม่อื เขา้ ใจจติ ตวั เองได้ลกึ ซ้ึงแลว้ นน่ั แหละไดแ้ ล้วซงึ่ หลักธรรม
กเิ ลสทง้ั หมด เกดิ รวมอยทู่ จ่ี ิต ใหเ้ พง่ มองทจี่ ิต
อนั ไหนเกิดก่อน ให้ละอันนั้นก่อน
จิตที่สง่ ออกนอก เป็นสมทุ ยั
ผลอนั เกิดจากสตทิ ่ีสง่ ออกนอก เป็นทุกข์
จติ เหน็ จติ เป็นมรรค
ผลอนั เกดิ จากจติ เห็นจิต เปน็ นิโรธ
จติ คอื พุทธะ
พระพุทธเจ้าทั้งปวง และสตั วโ์ ลกท้ังสิ้นไม่ได้เป็นอะไรเลย
นอกจากเป็นเพียง จิตหน่งึ นอกจากจติ หน่งึ แลว้ มไิ ด้มอี ะไรตง้ั อยู่
เลย จิตหนึ่ง ซง่ึ ปราศจากการต้ังตน้ นี้ เปน็ ส่งิ ทม่ี ไิ ด้เกิดข้นึ และไม่
อาจถูกท�ำ ลายไดเ้ ลย
มันไม่ใชเ่ ปน็ ของมีสเี ขยี ว หรือสเี หลืองและไมม่ ีทั้งรปู ไมม่ ีท้ัง
การปรากฏ ไมถ่ กู นบั รวมอยใู่ นบรรดา สิ่งทมี่ ีการตัง้ อยแู่ ละไม่มี
การต้ังอยู่ ไมอ่ าจจะลงความเห็นว่า เป็นของใหมห่ รอื เกา่ ไมใ่ ช่ของ
ยาวหรือของสัน้ ของใหญห่ รอื ของเล็ก
ท้งั นี้ เพราะมนั อยเู่ หนอื ขอบเขต เหนอื การวดั เหนอื การตั้ง
ชอ่ื เหนือการทงิ้ ร่องรอยไว้ และ เหนอื การเปรียบเทยี บทงั้ หมด
จติ หนึ่งนี้ เป็นส่ิงทเี่ ราเหน็ ต�ำ ตาเราอย่แู ท้ๆ แตจ่ งลองไปใช้
319
เหตผุ ล (วา่ มนั เป็นอะไร เปน็ ต้น) กับมันเข้าดซู ิเราจะหลน่ ลงไปสู่
ความผดิ พลาดทนั ที สง่ิ นี้ เป็นเหมอื นกับความว่าง อันปราศจาก
ขอบทกุ ๆ ดา้ น ซงึ่ ไมอ่ าจจะหยั่ง หรอื วดั ได้
จติ หนง่ึ น้ีเทา่ นั้นเป็น พุทธะ ไม่มีความแตกต่างระหว่าง
พทุ ธะกบั สัตว์โลกทงั้ หลาย เพยี งแตว่ า่ สตั วโ์ ลกท้ังหลายไปยึดม่นั ต่อ
รปู ธรรมต่างๆ เสยี และเพราะเหตุนน้ั เขาจึงแสวงหาพุทธะภาวะจาก
ภายนอก การแสวงหาของสัตวเ์ หลา่ นนั้ น่นั เองทำ� ให้เขาพลาดจาก
พุทธภาวะ การท�ำ เชน่ น้นั เท่ากบั การใช้สิ่งท่เี ปน็ พุทธะ ใหเ้ ทีย่ ว
แสวงหาพทุ ธะและการใช้จิตใหเ้ ที่ยวจับฉวยจิต แม้ว่าเขาเหลา่ นนั้ จะ
ไดพ้ ยายามจนสุดความสามารถของเขา อยตู่ ้งั กัปป์หน่งึ เต็มๆ เขาก็
จะไมส่ ามารถลถุ ึงภาวะพทุ ธภาวะได้เลย
เขาไมร่ ู้ว่า ถ้าเขาเอง เพยี งแตห่ ยดุ ความคดิ ปรุงแตง่ และ
หมดความกระวนกระวายเพราะการแสวงหา เสยี เทา่ นั้น พุทธะก็
จะปรากฏตรงหนา้ เขา เพราะว่า จิต นี้คือ พทุ ธะ น่ันเองและพทุ ธะ
คือ สงิ่ ท่มี ชี วี ติ ท้งั หลายทัง้ ปวง น่ันเอง สง่ิ ๆ น้ี เม่อื ปรากฏอยทู่ ี่
สามญั สัตว์ จะเปน็ ส่งิ เล็กนอ้ ยกห็ าไม่และเม่ือปรากฏอย่ทู ่ี
พระพุทธเจา้ ท้งั หลาย จะเปน็ สงิ่ ใหญ่หลวงกห็ าไม่
สำ� หรบั การบำ� เพ็ญปารมิตาทั้ง ๖ ก็ดี การบ�ำเพญ็ ข้องวัตร
ปฏบิ ัตทิ ่ีคลา้ ยๆ กนั อีกเปน็ จำ� นวนมากก็ดี หรือการได้บุญมากมาย
นบั ไม่ถว้ น เหมือนจ�ำนวนเม็ดทรายในแม่นาํ้ คงคากด็ ี เหลา่ นน้ี นั้ จง
คิดดเู ถดิ เมื่อเราเป็นผู้สมบูรณ์โดยสัจจะพนื้ ฐานในทกุ กรณีอย่แู ล้ว
คือเป็นจิตหน่ึง หรือเป็นอนั หนง่ึ อันเดียวกันกบั พุทธะท้งั หลายอยู่
แล้ว เราก็ไมค่ วรพยายามจะเพ่ิมเติมอะไรใหแ้ กส่ ่งิ ที่สมบรู ณ์อย่แู ล้ว
นนั้ ดว้ ยการบ�ำเพญ็ วตั รปฏิบัตติ ่างๆ ซ่งึ ไรค้ วามหมายเหลา่ น้นั ไมใ่ ช่
หรอื เมื่อไหร่โอกาสอำ� นวยใหท้ �ำ กท็ ำ� มนั ไปและเม่อื โอกาสผ่านไป
แล้วอยเู่ ฉยๆ กแ็ ล้วกัน
ถ้าเราไม่เหน็ ตระหนักอยา่ งเดด็ ขาดลงไปวา่ จิต นั้นคอื
พุทธะ ก็ดแี ละถ้าเรายงั ยึดมั่นถือม่ันต่อรูปธรรมต่างๆ อย่กู ็ดี ต่อ
320
วตั รปฏิบัตติ า่ งๆ อยู่ก็ดแี ละตอ่ วธิ ีการบ�ำเพ็ญบุญกศุ ลตา่ งๆ กด็ ี
แนวความคดิ ของเราก็ยังคงผิดพลาดอยูแ่ ละไมเ่ ข้ารอ่ งเขา้ รอยกนั กบั
ทาง ทางโน้นเสยี แลว้
จิตหน่ึง น่ันแหละคือ พุทธะ ไม่มพี ุทธะอน่ื ใดท่ีไหนอกี ไมม่ ี
จิตอ่ืนใดทไ่ี หนอีก มันแจม่ จา้ และไรต้ ำ� หนิเชน่ เดยี วกบั ความว่าง คือ
มันไม่มรี ปู รา่ งหรอื ปรากฏการณ์ใดๆ เลย ถ้าเราใช้จติ ของเราให้
ปรงุ แต่งความคิดฝนั ตา่ งๆ นั้น เท่ากบั เราท้งิ เนอ้ื หาอนั เป็นสาระ
เสีย แล้วไปผูกพนั ตวั เองอยู่กบั รปู ธรรมซง่ึ เป็นเหมอื นกับเปลอื ก
พุทธะซ่งึ มอี ยตู่ ลอดกาลน้นั ไมใ่ ชพ่ ทุ ธะของความยึดมั่นถอื มั่น
การปฏบิ ัติปารมิตาทง้ั ๖ และการบ�ำ เพญ็ ข้อวัตรปฏิบัติ
ตา่ งๆ ที่คล้ายคลงึ กนั อีกเปน็ จ�ำ นวนนับไมถ่ ้วนด้วยเจตนาที่จะเป็น
พุทธะสกั องค์หนงึ่ นน้ั เป็นการปฏบิ ตั ชิ นิดท่คี บื หนา้ ทลี ะขน้ั ๆ แต่
พุทธะซึ่งมอี ยู่ตลอดกาลดังที่กล่าวแลว้ นั้น หาใชพ่ ทุ ธะที่ลุถึงได้ดว้ ย
การปฏิบัติเป็นข้นั ๆ เชน่ น้นั ไม่ เรือ่ งมนั เป็นเพยี งแต่ ตน่ื และลมื ตา
ต่อจติ หน่ึงนัน้ เท่านัน้ และไมม่ อี ะไรที่จะต้องบรรลุถึงอะไร น่ีแหละ
คอื พทุ ธะท่แี ทจ้ ริง พทุ ธะและสตั ว์โลกทงั้ หลาย คือ จิตหนง่ึ นีเ้ ท่านนั้
ไมม่ ีอะไรอื่นนอกไปจากนอ้ี ีกเลย
จิตเป็นเหมือนกบั ความวา่ งซ่ึงภายในนนั้ ยอ่ มไม่มีความ
สับสน และความไม่ดีตา่ งๆ ดังจะเห็นได้ในเมือ่ ดวงอาทติ ยผ์ ่านไป
ในท่วี ่างนนั้ ยอ่ มส่องแสงไปไดท้ ้งั สี่มุมโลก เพราะวา่ เม่ือดวง
อาทติ ย์ขน้ึ ย่อมใหค้ วามสวา่ งทวั่ พื้นโลก ความว่างทีแ่ ท้จริงนนั้
มันก็ไมไ่ ด้สวา่ งขึน้ และเมอ่ื ดวงอาทิตย์ตกความว่างก็ไม่ได้ มดื ลง
ปรากฏการณข์ องความสว่างและความมดื ยอ่ มสับเปลยี่ นซึง่ กัน
และกัน แต่ธรรมชาตขิ องความวา่ งน้ันยงั คงไมเ่ ปลยี่ นแปลงอยู่
น่ันเอง จิตของพุทธะและของสตั วโ์ ลกทั้งหลายกเ็ ป็นเช่นน้ัน
ถ้าเรามองดูพทุ ธะ วา่ เปน็ ผ้แู สดงออกซึง่ ความปรากฏของส่งิ
ทบ่ี รสิ ุทธ์ิ ผอ่ งใสและรู้แจง้ กด็ ี หรอื มองสัตวโ์ ลกท้งั หลายวา่ เปน็ ผู้
แสดงออกซึ่งความปรากฏของสิง่ ทโ่ี ง่เงา่ มดื มนและมอี าการสลบไสล
321
กด็ ี ความรู้สึกนึกคิดเหลา่ น้ี อนั เปน็ ผลเกดิ มาจากความคิดยึดม่นั ตอ่
รปู ธรรมน้นั จะกันเราไว้เสยี จากความร้อู ันสูงสุด ถึงแมว้ ่าเราจะได้
ปฏบิ ตั ิมาตลอดก่ีกัปปน์ ับไม่ถ้วน ประดุจเมด็ ทรายในแม่นํา้ คงคงแล้ว
กต็ าม มีแต่จติ หน่ึงเทา่ น้นั และไม่มีสิ่งใดแมแ้ ต่อนุภาคเดยี วทจี่ ะอิง
อาศยั ได้ เพราะจติ นน้ั เอง คือ พทุ ธะ
เม่อื พวกเราท่เี ป็นนกั ศึกษาเรอ่ื ง ทาง ทางโน้นไมล่ ืมตาตอ่ สิ่ง
ซง่ึ เปน็ สาระ กลา่ วคือ จิตนี้ พวกเราจะปิดบงั จิต นนั้ เสยี ด้วย
ความคิดปรงุ แตง่ ของเราเอง พวกเราจะเทีย่ วแสวงหา พทุ ธะ นอก
ตวั เราเอง พวกเรายงั คงยึดม่นั ต่อรูปธรรมทั้งหลาย ต่อการปฏบิ ัติ
เมาบุญตา่ งๆ ทำ� นองนัน้ ทั้งหมดนี้เป็นอันตรายและไม่ใชห่ นทาง
อันนำ� ไปสู่ความรู้อันสงู สุดทก่ี ล่าวนั้นแต่อย่างใด
เนือ้ แท้แหง่ สง่ิ สงู สดุ ส่งิ นน้ั โดยภายในแลว้ ยอ่ มเหมอื นกับ
ไมห้ รือก้อนหิน คือภายในน้นั ปราศจากการเคลื่อนไหวและโดย
ภายนอกแลว้ ย่อมเหมือนกบั ความว่าง กล่าวคอื ปราศจากขอบเขต
หรอื สิ่งกีดขวางใดๆ สิ่งนี้ไม่ใช่เป็นฝ่ายนามธรรม หรือฝ่ายรปู
ธรรม มันไมม่ ีทีต่ งั้ เฉพาะ ไม่มรี ปู รา่ งและไม่อาจจะหายไปไดเ้ ลย
จิตนีไ้ มใ่ ช่จติ ซงึ่ เปน็ ความคิดปรุงแตง่ มนั เป็นส่งิ ซึ่งอยตู่ า่ ง
หาก ปราศจากการเกี่ยวขอ้ งกบั รปู ธรรมโดยสิน้ เชิง ฉะนัน้
พระพทุ ธเจา้ ทงั้ หลายและสัตว์โลกท้งั ปวงก็เปน็ เช่นนน้ั พวกเรา
เพยี งแตส่ ามารถปลดเปลือ้ งตนเองออกจากความคดิ ปรงุ แตง่
เท่านั้น พวกเราจะประสบความสำ� เรจ็ ทกุ อย่าง
หลกั ธรรมทแ่ี ทจ้ รงิ กค็ อื จติ นั่นเอง ซึ่งถ้านอกไปจากนั้น
แลว้ กไ็ ม่มีหลกั ธรรมใดๆ จิตนน่ั แหละคือหลักธรรม ซึง่ ถ้านอกไปจาก
น้ันแลว้ มนั ก็ไมใ่ ช่จติ จิตนั้น โดยตวั มนั เองก็ไม่ใช่จิต แตถ่ ึงกระนัน้
มันกย็ งั ไม่ใช่ มใิ ชจ่ ิต การท่จี ะกลา่ ววา่ จติ นน้ั มใิ ช่จิต ดังน้ีนน่ั
แหละ ยอ่ มหมายถึง สง่ิ บางส่ิงซ่งึ มีอยจู่ รงิ ส่งิ น้มี ันอยู่เหนือคำ� พูด
ขอจงเลิกละการคิดและการอธบิ ายเสยี ให้หมดส้นิ เมอ่ื น้ัน เราอาจ
กล่าวได้ว่า คลองแหง่ คำ� พูดกไ็ ด้ถูกตัดขาดไปแลว้ และพฤตขิ องจิต ก็
322
ถูกเพิกถอนขึน้ สิน้ เชิงแลว้
จิตนีค้ ือพุทธโยนิ อนั บริสทุ ธ์ิ ซึง่ มปี ระจ�ำอยแู่ ลว้ ในคนทุก
คน สตั ว์ซึง่ มีความรู้สกึ นึกคดิ กระดุกกระดกิ ได้ทั้งหมดก็ดี
พระพทุ ธเจ้าพร้อมทง้ั พระโพธิสตั ว์ทงั้ หลายทง้ั ปวงกด็ ี ล้วนแตเ่ ป็น
ของแห่งธรรมชาติอนั หนึ่งนเ้ี ทา่ นัน้ และไมแ่ ตกต่างกันเลย ความแตก
ต่างท้งั หลายเกดิ ขึน้ จากเราคิดผิดๆ เทา่ นนั้ ย่อมน�ำเราไปสูก่ ารก่อ
สร้างกรรมท้ังหลายทั้งปวงทกุ ชนิดไมม่ หี ยดุ
ธรรมชาติแหง่ ความเปน็ พทุ ธะดั้งเดิมของเรานนั้ โดยความ
จริงอันสงู สดุ แล้ว เป็นสิ่งทีไ่ มม่ ีความหมายแห่งความเปน็ ตวั ตนแมแ้ ต่
สกั ปรมาณเู ดยี ว สงิ่ นน้ั คอื ความวา่ ง เปน็ ส่งิ ที่มอี ยใู่ นทกุ แห่งสงบ
เงียบและไมม่ ีอะไรเจือปน มันเปน็ สันติสุขท่รี ุ่งเรอื งและเรน้ ลบั และ
ก็หมดกันเพียงเท่าน้ันเอง
จงเขา้ ไปสสู่ ง่ิ สง่ิ นี้ได้ลึกซึง้ โดยการลมื ตาตอ่ สงิ่ น้ดี ้วยตวั เรา
เอง สิ่งซึ่งอยู่ตรงหนา้ เรานีแ้ หละ คอื สิง่ สง่ิ นน้ั ในอตั ราทเี่ ตม็ ที่
ทง้ั หมดทง้ั ส้ิน และสมบูรณ์ถึงที่สุดแล้ว ไม่มีอะไรนอกไปจากนีอ้ กี
แล้ว
จติ คือพทุ ธะ (สิ่งสงู สุด) มันย่อมรวมสิ่งทุกสิง่ เข้าไว้ในตัว
มันทงั้ หมด นบั แตพ่ ระพุทธเจ้าที่ตรัสรู้แล้วทง้ั หลายเป็นส่งิ ทส่ี ดุ ใน
เบ้อื งสูง ลงไปจนกระท่ังถงึ สตั ว์ประเภททีต่ ่าํ ตอ้ ยทีส่ ุด ซ่ึงเปน็ สตั ว์
เลอ้ื ยคลานอยู่อกี ดว้ ยและแมลงต่างๆ เปน็ ทีส่ ดุ ในเบือ้ งตํา่ ส่งิ เหล่านี้
ทุกสง่ิ มันย่อมมีสว่ นแหง่ ความเป็นพทุ ธะเท่ากันหมดและทกุ ๆ ส่งิ
มเี นอื้ หาเป็นอนั หนง่ึ อนั เดยี วกันกับ พทุ ธะ อยู่ตลอดเวลา
ถา้ พวกเราเพียงแต่สามารถทำ� ความเข้าใจในจิตของเราเองนี้
ไดส้ �ำเรจ็ แล้วคน้ พบธรรมชาติอันแทจ้ ริงของเราเองได้ ด้วยความ
เข้าใจอนั นน้ั เท่านนั้ มนั กจ็ ะเปน็ ทแ่ี นน่ อนวา่ ไม่มอี ะไรทพ่ี วกเราจำ�
เป็นที่จะต้องแสวงหาแมแ้ ต่อยา่ งใดเลย
จติ ของเรานั้น ถ้าเราทำ� ความสงบเงียบอย่จู รงิ ๆ เว้นขาด
จากการคิดนกึ ซึ่งเป็นการเคลือ่ นไหวของจิตแม้แต่น้อยทสี่ ุดเสยี
323
ใหไ้ ด้จริงๆ ตวั แทข้ องมันก็จะปรากฏออกมาเปน็ ความว่าง แลว้ เรา
จะไดพ้ บวา่ มนั เปน็ ส่ิงทป่ี ราศจากรปู มนั ไม่ได้กินเนอื้ ทีอ่ ะไรๆ ทีไ่ หน
แมแ้ ต่จุดเดยี ว มันไม่ไดต้ กลงสูก่ ารบญั ญตั วิ ่าเป็นพวกท่มี ีความเป็น
อยู่ หรอื ไม่มคี วามเป็นอย่แู มแ้ ต่ประการใดเลย เพราะเหตทุ ส่ี ่งิ เหล่า
น้เี ปน็ สิ่งที่เรารสู้ กึ ไมไ่ ดโ้ ดยทางอายตนะ เพราะจิตซึ่งเปน็ ธรรมชาติ
ทแี่ ทข้ องคนเรานั้นมันเป็นครรภ์หรอื ก�ำเนดิ ไม่มใี ครทำ� ใหเ้ กดิ ขน้ึ
และไมอ่ าจถกู ท�ำลายได้เลย
ในการทำ� ปฏิกิริยาตอบสนองต่อสิ่งแวดลอ้ มต่างๆ น้นั มัน
เปลีย่ นรูปของมันเองออกมาเป็นปรากฏการณต์ ่างๆ เพอ่ื สะดวกใน
การพดู เราพูดถึงจติ ในฐานะทเ่ี ปน็ ตัวสติปญั ญา แตใ่ นขณะที่มนั ไม่
ได้ท�ำการตอบสนองต่อสิ่งแวดล้อม คือไม่ได้เป็นตวั สติปญั ญาที่นึกคดิ
หรือสร้างสง่ิ ตา่ งๆ ขนึ้ มานน้ั มันเปน็ สงิ่ ทไ่ี มอ่ าจถกู กลา่ วถึงในการท่ี
จะบญั ญัตวิ ่ามนั เป็นความมีอยู่ หรอื ไมใ่ ชค่ วามมีอยู่
ยิง่ ไปกว่านนั้ อีกแมใ้ นขณะทม่ี ันทำ� หนา้ ทสี่ ร้างสิง่ ตา่ งๆ ข้ึนมา
ในฐานะท่ตี อบสนองต่อกฎแหง่ ความเป็นเหตุและผลของกันและกัน
น้นั มนั กย็ ังเป็นสิง่ ทเี่ ราร้สู กึ ไมไ่ ด้โดยทางอายตนะ ตา หู จมกู ลิ้น
กายและมโนทวารอยู่นนั่ เอง ถา้ เราทราบความเปน็ จรงิ ขอ้ น้ี เราทำ�
ความสงบเงียบสนทิ อยูใ่ นภาวะแหง่ ความไม่มอี ะไรในขณะนัน้ พวก
เรากำ� ลังเดินอยูแ่ ลว้ ในทางแหง่ พระพุทธเจ้าทัง้ หลายโดยแทจ้ ริง
ดังน้ัน เราควรเจรญิ จิตใหห้ ยดุ อยบู่ นความไมม่ ีอะไรเลยทัง้ ส้นิ
มูลธาตุทง้ั ๕ ซึ่งประกอบกนั ข้นึ เป็นวิญญาณนั้นเปน็ ของวา่ ง
และมลู ธาตทุ ้งั ๕ ของรูปกายนั้นไมใ่ ช่เปน็ ส่ิงซ่งึ ประกอบกนั ขึ้นเป็น
ตวั ของเรา จิต จริงแท้นัน้ ไม่มีรปู ร่างและไมม่ อี าการมาหรอื อาการ
ไป ธรรมชาตเิ ดิมแทข้ องเรานน้ั เป็นส่ิงๆ หนึง่ ซึ่งไมม่ ีการต้งั ต้นท่ี
การเกดิ และไมม่ ีการสิน้ สดุ ลงท่กี ารตาย แตเ่ ป็นของสิ่งเดยี วกัน
รวด และปราศจากการเคล่อื นไหวใดๆ ในส่วนลกึ จริงๆ ของมนั
ทง้ั หมด
จติ ของเรากบั สิง่ ต่างๆ ซึง่ แวดล้อมเราอยนู่ ั้นเป็นสิ่งสิง่
324
เดยี วกนั ถ้าเราท�ำความเข้าใจไดต้ ามนจี้ รงิ ๆ เราจะได้ลุถึงความรู้
แจ้งเห็นแจ้งไดโ้ ดยแวบเดยี วในขณะน้ันและเราเป็นผ้ทู ี่ไม่ตอ้ งเกีย่ วขอ้ ง
ในโลกทั้งสามอกี ตอ่ ไปเราจะเป็นผอู้ ยเู่ หนือโลก เราไม่มีการโนม้ เอยี ง
ไปสู่การเกดิ ใหมอ่ ีกแม้แต่นิดเดียว เราจะเปน็ แต่ตัวเราเองเทา่ น้ัน
ปราศจากความคดิ ปรงุ แตง่ โดยสนิ้ เขงิ และเปน็ สงิ่ เดยี วกับสิง่ สงู สุด
สิง่ นนั้ เราจะไดล้ ถุ ึงภาวะแหง่ ความท่ีไม่มอี ะไรปรงุ แตง่ ไดอ้ กี ต่อไป
ฉะนน้ั น้ีแหละคือหลักธรรมท่เี ปน็ หลักมูลฐานอย่ใู นทีน่ ี้
สมั มาสมั โพธิ เปน็ ชอื่ ของการเหน็ แจง้ ชดั ว่าไม่มีธรรมใด
เลยท่ีไม่เปน็ โมฆะ ถ้าเราเขา้ ใจความจริงขอ้ น้ีแล้ว ของหลอกลวงท้งั
หลายจะมปี ระโยชน์อะไรแก่เรา
ปรัชญา คือการรแู้ จง้ ความร้แู จง้ คอื จิตตน้ ก�ำเนิดดงั้ เดิม
ซ่ึงปราศจากรปู ถา้ เราสามารถท�ำความเข้าใจได้ว่า ผกู้ ระท�ำและสง่ิ
ทีถ่ กู กระทำ� คอื จติ และวัตถุเป็นสิ่งๆ เดยี วกันนนั่ แหละ จะน�ำเราไป
ส่คู วามเขา้ ใจอนั ลึกซึ้งและลกึ ลบั เหนอื คำ� พดู และโดยความเข้าใจอันน้ี
เอง พวกเราจะได้ลมื ตาตอ่ สัจธรรมทแี่ ทจ้ ริงด้วยตวั เราเอง
สัจธรรมทแ่ี ท้จริงของเรานนั้ ไม่ได้หายไปจากเรา แม้ใน
ขณะทีเ่ รากำ� ลังหลงผดิ อยูด่ ้วยอวชิ ชาและไมไ่ ดร้ บั กลบั มา ในขณะ
ทเ่ี รามกี ารตรสั รู้ มันเป็นธรรมชาตแิ หง่ ภตู ัตถตา ในธรรมชาตนิ ้ี
ไม่มีทง้ั อวิชชา ไม่มีทั้งสัมมาทฐิ ิ มันเตม็ อยใู่ นความว่าง เป็น
เนอ้ื หาอนั แท้จรงิ ของจติ หนง่ึ นั้น เม่อื เป็นดงั นัน้ แลว้ อารมณต์ ่างๆ ท่ี
จติ ของเราไดส้ รา้ งขน้ึ ท้ังฝา่ ยนามธรรมและฝา่ ยรปู ธรรม จะเปน็ สิ่ง
ซ่งึ อยภู่ ายนอกความวา่ งนนั้ ได้อยา่ งไร
โดยหลกั มูลฐานแล้ว ความว่างนั้นเป็นสิ่งซงึ่ ปราศจากมิติ
ตา่ งๆ แหง่ การกินเนื้อท่ี คือปราศจากกิเลส ปราศจากกรรม
ปราศจากอวชิ ชาและปราศจากสมั มาทิฏฐิ พวกเราตอ้ งทำ� ความ
เขา้ ใจอย่างกระจ่างแจ้งว่าโดยแทจ้ ริงแลว้ ไมม่ อี ะไรเลย ไมม่ มี นุษย์
สามัญ ไม่มีพทุ ธท้งั หลาย เพราะว่าในความวา่ งนัน้ ไมม่ ีอะไรบรรจุ
อยูแ่ ม้เท่าเสน้ ขนทเ่ี ลก็ ที่สดุ อนั เป็นสง่ิ ซง่ึ สามารถจะมองเหน็ ได้โดย
325
ทางมิติ หรอื กฎแหง่ การกินเนอ้ื ที่เลย มันไมต่ ้องอาศยั อะไรและไมต่ ิด
เนอื่ งอยู่กบั สิ่งใด มันเปน็ ความงามทีไ่ รต้ �ำหนิ เป็นสิง่ ซ่งึ อย่ไู ดด้ ว้ ยตัว
มนั เองและเป็นสง่ิ สูงสดุ ทไี่ มม่ ีอะไรสร้างขึ้น มันเปน็ เพชรพลอยที่อยู่
เหนอื การตีค่าท้ังปวงเสยี จริงๆ เราต้อง แยกรปู ถอดด้วยวชิ ชา
มรรคจติ เหตตุ ้องละ ผลตอ้ งละ ใชห้ นกี้ ห็ มด พน้ เหตเุ กิด
สงิ่ มีชีวิตและไมม่ ชี วี ติ ในจักรวาล มีนับไม่ถว้ นรวมแลว้ มี รูป
กบั นาม สองอย่างเท่านั้น นามเดมิ กค็ อื ความว่างของจักรวาล
เขา้ คกู่ นั เป็น เหตุเกดิ ตวั อวิชชา เกิดเหตุก่อ ที่ใดมีรูป ทน่ี ั้นต้องมี
นาม ทีใ่ ดมนี าม ท่นี ัน้ ตอ้ งมีรูป รปู นามรวมกัน เปน็ เหตเุ กิด
ปฏิกิรยิ า ให้เปลีย่ นแปลงตลอดกาลและเกดิ กาลเวลาข้นึ คือรปู
ยอ่ มมคี วามดงึ ดดู ซง่ึ กันและกนั จึงเปน็ เหตใุ ห้รปู เคลื่อนไหวและหมุน
รอบตวั เองตามปัจจยั รปู เคลอ่ื นไหวได้ตอ้ งมนี าม ความวา่ งค่ัน
ระหวา่ งรูป รปู จงึ เคล่ือนไหวได้
เม่ือสภาวธรรมเป็นอยา่ งน้ี สรรพส่ิงของวัตถุ สสารมชี วี ิต
และไมม่ ีชีวิตจงึ ตอ้ งเปลยี่ นแปลงเปน็ ไตรลักษณ์ เกดิ ดบั สืบตอ่ ทกุ
ขณะจติ ไมม่ วี ันหยดุ นิ่งให้คงทนเปน็ ปัจจบุ นั ได้
จติ วญิ ญาณ กเ็ กิดมาจาก รูปนามของจกั รวาล มนั เปน็
มายาหลอกลวงแลว้ เปลีย่ นแปลงให้คนหลง จากรปู นามไม่มชี วี ติ
เปล่ียนมาเปน็ รูปนามทมี่ ชี วี ิต จากรูปนามที่มชี วี ิต มาเปน็ รูปนาม
มชี ีวติ ทมี่ ีจติ วิญญาณ แลว้ จิตวญิ ญาณกเ็ ปล่ยี นแปลงแยกออกจาก
กัน คงเหลอื แตน่ ามวา่ งทป่ี ราศจากรูปนี้ เป็นจดุ สดุ ยอดของการ
หลอกลวงของรปู นาม
ตน้ เหตเุ กิดรูปนามของจกั รวาลนน้ั เป็นเหตุเกดิ รปู นามพภิ พ
ต่างๆ ตลอดจนดวงดาวนบั ไมถ่ ้วน เพราะไม่มีท่ีสิน้ สดุ รูปนามพิภพ
ต่างๆ เป็นเหตุให้เกดิ รูปนามพชื รปู นามพชื เป็นเหตใุ ห้เกดิ รปู นาม
สัตว์ เคล่อื นไหวได้ จงึ เรียกกันวา่ เปน็ สิง่ มชี วี ิต
ความจรงิ รปู นามจะมีชีวิตหรือไม่มีชวี ิตมันกเ็ คลอ่ื นไหวได้
เพราะมันมรี ปู กับนามเป็นเหตุ เป็นผลให้เกดิ ปฏกิ ิริยาอยู่ในตวั ให้
326
เคล่อื นไหวตลอดกาล และ(เกิด) การเปลีย่ นแปลงบางอยา่ ง เรามอง
ด้วยตาเน้ือไม่เหน็ จงึ เรยี กกันว่าเป็นส่ิงไม่มชี ีวติ
เม่อื รปู นามของพชื เปลี่ยนมาเป็นรูปนามของสัตว์ เปน็ จดุ ตง้ั
ต้นชีวติ ของสตั ว์และเป็นเหตุให้เกดิ จิต วญิ ญาณ การแสดง การ
เคลือ่ นไหว เป็นเหตุใหเ้ กิดกรรม
สัตวช์ าตแิ รกมีแตส่ รา้ งกรรมชว่ั สัตวก์ ินสัตวแ์ ละ (มี) ความ
โกรธ โลภ หลง ตามเหตุ ปจั จัย ภายนอกภายในท่ีมากระทบ กรรม
ทส่ี ัตวแ์ สดง มี ตา หู จมกู ลิ้น กาย ๕ อยา่ ง ไปกระทบกับ รปู
เสียง กล่นิ รส สัมผัส ๕ อย่าง แล้วมาประทับ บรรจุ บันทึก ถา่ ย
ภาพ ติดอยูก่ บั รปู ปรมาณู ซ่ึงเป็น สุขมุ รปู แฝงอยูใ่ นความว่าง
เราไม่สามารถมองเหน็ ด้วยตาได้ ที่แฝงอยู่ในความวา่ งระวางคนั่ ตา
หู จมูก ล้ิน กาย นั้นไว้ไดห้ มดสน้ิ
เม่ือสตั วช์ าติแรกเกิดน้ี ไดต้ ายลงมี กรรมช่วั อย่างเดยี ว
เปน็ เหตใุ ห้สัตวต์ ้องเกิดอีกเพอ่ื ใหส้ ัตว์ต้อง ใชห้ นี้ กรรมชั่วทไี่ ดท้ ำ� ไว้
แต่สัตวเ์ กดิ ขึน้ มาแลว้ หาย่อม ใชห้ น้เี กิด กนั ไม่ มันกลบั เพ่ิมหนี้ ให้
เปน็ เหตเุ กิด ทวีคณู ด้วยเพศผู้เพศเมียเกิดเปน็ สุขุมรูป ติดอยู่ใน
๕ กองน้ี เป็นทวีคณู จนปัจจบุ ันชาติ
ดังนั้น ดว้ ยอ�ำนาจกรรมชว่ั ในสุขุมรปู ๕ กอง ก็เกิดหมุน
รวมกนั เข้าเป็น รูปปรมาณูกลม คงรูปอยู่ไดด้ ว้ ยการหมุนรอบตวั
เอง มิหยุดนง่ิ เป็นคูหาให้จติ ใจไดอ้ าศยั อยขู่ ้างใน เรยี กว่า รูป
วิญญาณ หรอื จะเรยี กว่า รปู ถอด กไ็ ด้ เพราะถอดมาจากนาม
ระวางค่นั ตา หู จมกู ล้นิ กาย นั่นเอง ซึง่ เป็นสขุ มุ รปู แฝงอยู่
ในความว่าง รปู วญิ ญาณ จงึ มชี ีวิตอยคู่ งทนอยู่ ยืนนานกว่า รปู
หยาบ มีกรรมช่วั คอยรักษาใหห้ มุนคงรูปอยู่ ไมม่ เี ทพเจ้าองคใ์ ดฆ่า
ให้ตายได้ นอกจาก นพิ พาน เท่านน้ั รูปวญิ ญาณจึงจะสลาย
สว่ นการแสดงกรรมของสตั ว์ทป่ี ระทับอยูใ่ นสขุ มุ รปู มรี ูป ตา
หู จมูก ลนิ้ กาย ๕ กองนั้นรวมกนั เขา้ เรยี กวา่ จติ จึงมสี �ำนกั งาน
จิต ตดิ อยู่ในวิญญาณ ๕ กอง รวมกันเป็นทที่ �ำงานของ จติ กลาง
327
แล้วไปตดิ ต่อกบั ตา หู จมกู ลิ้น กาย ภายนอก ซงึ่ เปน็ ส่อื ติดต่อ
ของจติ ดงั น้ัน จิต กับ วิญญาณ จึงไมเ่ หมือนกัน จติ เป็นผรู้ สู้ ึก
นึกคิด สว่ นวญิ ญาณเปน็ คหู าให้จติ ไดอ้ าศยั อยู่ และเปน็ ยาน
พาหนะพาจิตไปเกิด หรอื จะไปไหนๆ ก็ได้ เปน็ ผู้รกั ษา สุขมุ รูป
รูปท่ีถอดจากรปู หยาบ มรี ูปเพศผู้ เพศเมยี รูป ตา หู จมกู ลนิ้
กาย อย่ใู นวญิ ญาณไวไ้ ดเ้ ปน็ เหตุเกดิ สืบภพต่อชาติ
เม่อื สัตวต์ าย ชีวติ รา่ งกายหยาบของภพภูมิชาติน้ันๆ กห็ มด
ไปตามอายขุ ัย (ของ) ชวี ิตร่างกายหยาบของภมู ิชาตินั้นๆ สว่ นชีวติ
แท้ รปู ปรมาณู วญิ ญาณ จะไมต่ ายสลายตาม จะตอ้ งไปเกิดตาม
ภพภมู ติ า่ งๆ ตามเหตปุ จั จยั ของวัฏฏะหมนุ เวียนเปลี่ยนไปดว้ ย
ชวี ติ แท้-รปู ถอดหรอื วิญญาณหมนุ รอบตวั เอง นเี้ อง เปน็
เหตใุ ห้จิตเกดิ ดับ สบื ต่อ คอยรับเหตกุ ารณภ์ ายนอกภายในทม่ี า
กระทบ จะดหี รอื ชว่ั กส็ ะสมเข้าไว้ เป็นทุน เหตเุ กิด เหตุดบั หรือปรุง
แต่งตอ่ ไป จนกว่า กรรมช่วั -เหตเุ กดิ จะหมดไป ชีวิตแท้-รปู ถอด
หรอื วิญญาณ ก็จะหยุดการหมุน รูปสุขมุ -รูปวญิ ญาณ ซึง่ เกดิ มาจาก
กรรมชว่ั สบื ตอ่ มาแตช่ าติแรกเกดิ ก็จะสลายแยกออกจากกันไป คง
รูปอยไู่ มไ่ ด้ มันกก็ ระจายไป ส่วนกิจกรรมดี ธรรมะท่ีตดิ อย่กู บั
วิญญาณ มนั กจ็ ะกระจายไปกบั รปู ปรมาณู คงเหลือแต่ความว่างท่ี
คน่ั ช่องวา่ งของรปู ปรมาณูทกุ ๆ ช่อง ฉะน้ัน โดยปราศจากรูป
ปรมาณู ความวา่ งนนั้ จงึ บริสทุ ธ์ิและสวา่ ง รวมเข้ากบั ความ
ว่าง บริสทุ ธิ์ สวา่ ง ของจกั รวาลเดิม เขา้ เป็นหนึง่ เรียกว่า
นิพพาน
เม่ือสมเด็จพระสัมมาสมั พทุ ธเจ้า พระองค์ทรงสร้างชวี ติ
พระพุทธศาสนา ใหก้ ่อเกดิ เปน็ ชวี ติ อยา่ งบรบิ รู ณ์ดงั พระประสงคแ์ ลว้
พระพทุ ธองคจ์ ึงไดท้ รงละวภิ วตัณหาน้นั เสด็จส่อู นปุ าทิเสสนิพพาน
คือเปน็ ผูห้ มดส้นิ ทกุ ตัณหา เป็นผูด้ ับรอบโดยลกั ษณาการแห่งอนุปาทิ
เสสนพิ พานของพระพุทธองคก์ ็คือ ลำ� ดับแรก กเ็ จริญฌานด่งิ สนิท
เข้าไปจนถงึ สญั ญาเวทยิตนโิ รธ หมายความว่า เขา้ ไปดับลกึ สดุ อยู่
328
เหนอื อรปู ฌาน
ในวาระแรกนน้ั พระองคย์ งั ไม่ได้ดับขันธ์ต่างๆ ใหส้ ้ินสนทิ เป็น
เดด็ ขาดแตอ่ ย่างใด ยังเพียงเข้าไปเพอ่ื ทรงกระบวนการแห่งการสู่
นิพพาน หรือนิโรธ เป็นครั้งสดุ ท้ายแห่งชวี ิต พูดง่ายๆ ก็คือส่สู ่งิ ท่ี
พระองคไ์ ด้ทรงสรา้ งได้ทรงพากเพยี รกอ่ เป็นทาง เป็นแบบอยา่ งไว้
เป็นครั้งสุดทา้ ยเสียหนอ่ ย ซึง่ เรียกได้ว่าส่งิ อนั เกิดจากท่ีพระองคไ์ ด้
ยอมอยกู่ ับธลุ ีทุกข์ อันเปน็ ธุลีทุกขท์ ม่ี นุษยธ์ รรมดา (เปน็ ) ผู้ทม่ี จี ิต
หยาบเกินกวา่ จะสัมผสั วา่ มนั เป็นทกุ ข์
นีแ่ หละ กระบวนการกระท�ำจติ ตน ให้ถงึ ซ่ึงสัญญาเวทยติ นิ
โรธนน้ั เป็นกระบวนการท่ีพระอนตุ ตรสัมมาสมั พุทธเจ้า พระผู้เปน็
ยอดแห่งศาสดาในโลกเท่านนั้ ท่ีทรงคน้ พบ ทรงน�ำ มาตีแผ่เผยแจง้
ออกส่สู ตั วโ์ ลกให้พงึ ปฏบิ ัตติ าม เม่อื ทรงส่ิงซ่ึงสุดท้ายน้แี ล้ว จงึ ได้
ถอยกลับมาสสู่ ภาวะตน้ คือ ปฐมฌาน แล้วจงึ ไดต้ ัดสนิ พระทัย
สดุ ท้าย เพราะตอ้ งดับสงั ขารขนั ธ์ หรือสงั ขารธรรมชน้ั แรกเสยี กอ่ น
วญิ ญาณขนั ธ์จึงไดด้ ับ ดังนั้นจึงไม่มเี ชื้อใดเหลืออยูแ่ หง่ วญิ ญาณขันธ์
ทีห่ ยาบนั้น
พระองค์เรม่ิ ดบั สงั ขารขนั ธ์ หรอื สังขารธรรม ชน้ั ในสุดอีก
ที อนั จะสง่ ผลใหก้ ่อน วภิ วตณั หา ไดช้ ั้นหนึง่ เสียก่อน แล้วจงึ ได้
เล่ือนเขา้ สู่ ทุติยฌาน แลว้ จงึ ดับ สญั ญาขนั ธ์ เล่อื นเขา้ สู่ ตตยิ ฌาน
เม่ือ พระองค์ดับสังขารขันธ์ หรือสังขารธรรม ชนั้ ในสดุ อีกที ก็เป็น
อันเลอื่ นเข้าสู่ จตุตถฌาน คงมีแต่ เวทนาขันธ์ สดุ ท้ายแหง่ ชีวิต
นนั้ แล คือลักษณาการแหง่ ขน้ั สดุ ท้ายของการจะดบั ส้ินไม่เหลอื
เม่ือพระองค์ดบั สงั ขารขันธ์ หรอื สังขารธรรม ใหญ่
สดุ ทา้ ยท่ีมีทัง้ สิ้นแลว้ แล้วก็มาดับ เวทนาขนั ธ์ อันเปน็ จิตขันธ์
หรือ นามขนั ธ์ ท่ใี นจิตส่วนในคอื ภวังคจติ เสยี ก่อน แล้วจึงได้ออก
จาก จตุตถฌาน พร้อมกับมาดบั จิตขันธ์ หรือ นามขันธ์ สดุ ท้าย
จรงิ ๆ ของพระองค์เสยี ลงเพยี งนน้ั
น้ี พระองคเ์ ข้าสู่นพิ พานอยา่ งจริงๆ อยู่ตรงนี้ พระองค์ไมไ่ ด้
329
เขา้ สู่นพิ พานในฌานสมาบตั ิอะไรที่ไหนดอก เมอ่ื พระองค์ออกจาก
จตุตถฌานแล้ว จติ ขนั ธห์ รือนามขันธก์ ด็ บั พรอ้ ม ไมม่ ีอะไรเหลอื นน่ั
คอื พระองคด์ ับเวทนาขันธ์ในภาวะจิตตื่น หรือวิถีจิตปกตขิ อง
มนุษย์ ครบพร้อมทั้งสติและสมั ปชญั ญะ ไมถ่ กู ภาวะอน่ื ใดทีม่ า
ครอบง�ำ อ�ำพราง ให้หลงใหลใดๆ ทั้งสนิ้ เป็นภาวะแหง่ ตนเอง
อยา่ งบริบูรณ์
เม่อื เวทนาขนั ธ์ สุดท้ายแทๆ้ จรงิ ๆ ได้ถูกท�ำลายลงอย่าง
สนทิ จึงเปน็ ผบู้ รสิ ุทธ์ิ หมดส้ินแล้วซง่ึ สงั ขารธรรมและหมดเชือ้ จิต
ขันธ์ หรือ นามขนั ธ์ ทงั้ ปวงใดๆ ในพระองค์ท่าน ไม่มเี หลอื คงท้ิง
แต่ รูปขันธ์ อันจะมีชีวิตนนั้ ไมไ่ ดแ้ น่ เพราะรูปไมใ่ ชช่ วี ิตหากส้นิ นาม
เสยี แลว้ ก็คอื แท่ง คือก้อนวัตถุหน่ึง เทา่ นัน้ เอง
นัน่ แล คือ ลำ� ดับฌาน ท่ีพระอนรุ ุทธเถระเจ้าได้น�ำฌานจิต
เขา้ ไปดู เปน็ วธิ กี ารดบั โดยแท้ ดบั โดยจรงิ โดยพระองค์เป็นผ้ดู บั เอง
เสียดว้ ย
วธิ เี จริญจิตภาวนา
วิธเี จริญจิตภาวนาตามแนวการสอนของ หลวงปดู่ ุลย์ อตุโล
๑. เร่มิ ต้นอริยาบทท่ีสบาย ยนื เดิน นั่ง นอน ได้ตาม
สะดวก ท�ำความรู้ตวั เต็มทแี่ ละรู้อยู่กบั ที่ โดยไม่ต้องรู้อะไร คอื
ร้ตู ัวอย่างเดยี ว
รกั ษาจติ เช่นนไี้ ว้เรอื่ ยๆ ให้ “ร้อู ยเู่ ฉยๆ” ไมต่ ้องไปจ�ำ แนก
แยกแยะ อยา่ บงั คับ อยา่ พยายาม อย่าปลอ่ ยลอ่ ง
ลอยตามยถากรรม
เมอ่ื รักษาได้สกั ครู่ จติ จะคิดแสไ่ ปในอารมณต์ า่ งๆ โดยไม่มี
ทางรทู้ นั กอ่ น เป็นธรรมดาส�ำ หรับผู้ฝกึ ใหม่ ต่อ เม่อื จติ แล่นไป คดิ
ไปในอารมณ์นัน้ ๆ จนอ่มิ แล้ว ก็จะรู้สึกตวั ขึน้ มาเอง เม่อื รู้สกึ ตวั แล้ว
ใหพ้ จิ ารณาเปรยี บเทยี บภาวะของตนเอง ระหว่างทีม่ ีความรูอ้ ยู่กบั ท่ี
330
และระหวา่ งท่จี ิตคดิ ไปในอารมณ์ว่ามีความแตกตา่ งกันอยา่ งไร เพอ่ื
เปน็ อุบายสอนจติ ให้จดจำ�
จากนนั้ ค่อยๆ รกั ษาจติ ให้อยู่ในสภาวะร้อู ยู่กบั ท่ตี อ่ ไป ครน้ั
พลงั้ เผลอรกั ษาไม่ดีพอ จิตกจ็ ะแลน่ ไปเสวยอารมณ์ข้างนอกอกี จน
อิ่มแล้ว กจ็ ะกลับร้ตู ัว รูต้ วั แล้วกพ็ ิจารณา และรกั ษาจิตตอ่ ไป
ดว้ ยอบุ ายอยา่ งน้ี ไม่นานนัก ก็จะสามารถควบคุมจิตได้ และ
บรรลสุ มาธใิ นทส่ี ุดและจะเปน็ ผู้ฉลาดใน “พฤติแหง่ จิต” โดยไมต่ ้อง
ไปปรึกษาหารอื ใคร
ข้อหา้ ม ในเวลาจติ ฟงุ้ เตม็ ท่ี อย่าทำ� เพราะไม่มีประโยชน์
และยงั ท�ำใหบ้ ่ันทอนพลังความเพยี ร ไมม่ กี ำ� ลังใจในการเจรญิ จติ
ครัง้ ต่อๆ ไป
ในกรณีทีไ่ มส่ ามารถท�ำ เชน่ น้ี ใหล้ องนกึ ค�ำว่า “พทุ โธ” หรือ
คำ� อะไรก็ได้ท่ไี ม่เป็นเหตุเย้ายวน หรอื เปน็ เหตุขดั เคอื งใจ นกึ ไป
เร่อื ยๆ แลว้ สังเกตดูวา่ คำ� ทน่ี กึ นั้น ชัดท่ีสดุ ทีต่ รงไหน ทต่ี รงนนั้
แหละคอื ฐานแห่งจติ
พงึ สงั เกตว่า ฐานน้ีไม่อยคู่ งทีต่ ลอดกาล บางวันอยู่ท่หี นงึ่
บางวนั อยูอ่ ีกทีห่ นึ่ง
ฐานแห่งจิตที่ค�ำ นึงพุทโธปรากฏชัดท่สี ุดนี้ ยอ่ มไม่อยภู่ ายนอก
กายแนน่ อน ตอ้ งอยู่ภายในกายแน่ แต่เมอื่ พิจารณาดใู หด้ ีแลว้ จะ
เห็นวา่ ฐานนจี้ ะว่าอยู่ทส่ี ว่ นไหนของร่างกายกไ็ ม่ถกู ดังน้ัน จะว่าอยู่
ภายนอกก็ไมใ่ ช่ จะว่าอยูภ่ ายในก็ไม่เชงิ เมอ่ื เปน็ เชน่ น้ี แสดงวา่ ได้ก�ำ
หนดถูกฐานแหง่ จิตแล้ว
เม่ือก�ำหนดถูกและพุทโธปรากฏในมโนนกึ ชดั เจนดี ก็ให้
กำ� หนดนกึ ไปเรอ่ื ย อยา่ ใหข้ าดสายได้
ถ้าขาดสายเมอ่ื ใด จติ กจ็ ะแลน่ สูอ่ ารมณ์ทนั ที
เม่ือเสวยอารมณ์อิม่ แลว้ จึงจะร้สู กึ ตัวเองก็คอ่ ยๆ นึกพุทโธต่อ
ไปดว้ ยอบุ ายวิธใี นท�ำนองเดียวกบั ที่กล่าวไว้เบ้ืองต้น ในท่ีสุดกจ็ ะ
คอ่ ยๆ ควบคุมจิตใหอ้ ยใู่ นอ�ำนาจไดเ้ อง
331
ขอ้ ควรจ�ำในการกำ� หนดจติ นนั้ ต้องมเี จตจำ� นงแน่วแน่ ใน
อนั ท่จี ะเจริญจติ ให้อยใู่ นสภาวะที่ตอ้ งการ
เจตจำ� นงนี้ คือ ตัว “ศีล”
การบริกรรม “พุทโธ” เปล่าๆ โดยไรเ้ จตจำ� นงไมเ่ กิด
ประโยชน์อะไรเลย กลบั เป็นเคร่ืองบ่นั ทอนความเพียร ทำ� ลายกำ�
ลงั ใจในการเจริญจิตในคราวตอ่ ๆ ไป
แตถ่ า้ เจตจ�ำนงมน่ั คง การเจริญจิตจะปรากฏผลทุกครัง้ ไม่
มากกน็ อ้ ยอยา่ งแน่นอน
ดังนน้ั ในการนึกพุทโธ การเพง่ เล็งสอดสอ่ ง ถึงความ
ชัดเจน และความไมข่ าดสายของพุทโธ จะตอ้ งเป็นไปด้วยความ
ไมล่ ดละ
เจตจ�ำนงทมี่ ีอยอู่ ย่างไม่ลดละน้ี หลวงปู่เคยเปรยี บไว้ว่า มี
ลักษณาการประหน่ึงบรุ ษุ หนง่ึ จดจ้องสายตาอยทู่ ี่คมดาบทีข่ า้ สกึ เงอ้ื
ข้นึ สุดแขนพร้อมทจ่ี ะฟันลงมา บุรษุ ผูน้ นั้ จดจ้องคอยทีอยูว่ า่ ถา้ คม
ดาบนั้นฟาดฟนั ลงมาตนจะหลบหนปี ระการใดจึงจะพ้นอันตราย
เจตจำ� นงต้องแน่วแนเ่ หน็ ปานน้ี จึงจะยังสมาธใิ หบ้ งั เกดิ ได้
ไม่เชน่ นัน้ อย่าทำ� ให้เสยี เวลาและบน่ั ทอนความศรทั ธาตนเองเลย
เมื่อจติ ค่อยๆ หยงั่ ลงสู่ความสงบทีละนอ้ ย ๆ อาการที่จติ แล่น
ไปสอู่ ารมณภ์ ายนอกกค็ ่อย ๆ ลดความรุนแรงลง ถงึ ไปก็ไป
ประเด๋ียวประด๋าว กร็ สู้ กึ ตัวไดเ้ ร็ว ถงึ ตอนนค้ี �ำบรกิ รรมพุทโธ ก็จะ
ขาดไปเอง เพราะคำ� บรกิ รรมนน้ั เปน็ อารมณห์ ยาบ เม่ือจิตล่วงพ้น
อารมณห์ ยาบและค�ำบรกิ รรมขาดไปแลว้ ไม่ต้องย้อนถอยมาบรกิ รรม
อกี เพียงรักษาจิตไว้ในฐานท่กี �ำหนดเดิมไปเรอ่ื ยๆ และสังเกตดคู วาม
รสู้ กึ และ “พฤติแหง่ จิต” ท่ีฐานน้ัน ๆ
บริกรรมเพอ่ื รวมจติ ให้เปน็ หนง่ึ สงั เกตดูวา่ ใครเป็นผบู้ ริกรรม
พุทโธ
๒. ดจู ิตเมอ่ื อารมณส์ งบแลว้ ให้สติจดจอ่ อยู่ทฐ่ี านเดมิ เชน่
นน้ั เม่ือมีอารมณ์อะไรเกิดขนึ้ กใ็ หล้ ะอารมณ์น้นั ท้งิ ไป มาดูที่จิตต่อ
332
ไปอกี ไม่ตอ้ งกังวลใจ พยายามประคบั ประคองรกั ษาใหจ้ ติ อยใู่ นฐาน
ทต่ี ัง้ เสมอๆ สติคอยก�ำหนดควบคุมอยู่อย่างเงียบๆ (รู้อย)ู่ ไม่ต้อง
วิจารณก์ รยิ าจติ ใดๆ ที่เกิดขึ้น เพียงก�ำหนดรแู้ ล้วละไปเทา่ น้ัน เป็น
ไปเช่นนีเ้ รื่อยๆ กจ็ ะคอ่ ยๆ เข้าใจกรยิ าหรอื พฤตแิ ห่งจติ ได้เอง (จติ
ปรงุ กิเลส หรอื กิเลสปรงุ จติ )
ท�ำความเข้าใจในอารมณ์ความนึกคดิ สงั เกตอารมณ์ท้งั
สาม คือ ราคะ โทสะ โมหะ
๓. อย่าส่งจติ ออกนอก กำ� หนดรู้อยูใ่ นอารมณ์เดียวเท่านน้ั
อยา่ ให้ซดั สา่ ยไปในอารมณภ์ ายนอก เม่ือจิตเผลอคิดไปก็ให้ตง้ั สติ
ระลกึ ถงึ ฐานกำ� หนดเดิม รักษาสมั ปชญั ญะใหส้ มบรู ณอ์ ยู่เสมอ (รูป
นมิ ิตใหย้ กไว้ ส่วนนามนิมติ ทง้ั หลายอย่าได้ใสใ่ จกับมนั )
ระวงั จิตไมใ่ หค้ ิดเรอ่ื งภายนอก สังเกตการหว่นั ไหวของ
จติ ตามอารมณ์ทีร่ บั มาทางอายตนะ ๖
๔. จงทำ� ญาณใหเ้ หน็ จติ เหมือนดง่ั ตาเห็นรปู เม่ือเรา
สังเกตกิริยาจติ ไปเร่อื ย ๆ จนเขา้ ใจถึงเหตปุ จั จัยของอารมณค์ วาม
นกึ คิดต่างๆ ไดแ้ ลว้ จติ ก็จะค่อย ๆ รู้เท่าทนั การเกดิ ของอารมณ์ตา่ งๆ
อารมณค์ วามนกึ คดิ ต่างๆ ก็จะค่อยๆ ดบั ไป เรอ่ื ยๆ จนจติ วา่ งจาก
อารมณ์ แลว้ จิตกจ็ ะเปน็ อสิ ระ อยตู่ า่ งหากจากเวทนาของรูปกาย อยู่
ท่ีฐานก�ำหนดเดมิ นัน่ เอง การเหน็ นเ้ี ป็นการเหน็ ด้วยปัญญาจกั ษุ
คิดเทา่ ไหร่กไ็ มร่ ู้ ตอ่ เมอ่ื หยดุ คิดจึงรู้ แต่ต้องอาศัยการคิด
๕. แยกรปู ถอด ดว้ ยวชิ ชา มรรคจิต เม่อื สามารถเขา้ ใจได้
ว่า จติ กับ กาย อยูค่ นละส่วนได้แลว้ ให้ดูท่ีจติ ต่อไปวา่ ยงั มีอะไร
หลงเหลอื อยู่ท่ฐี านทกี่ �ำ หนด (จติ ) อกี หรือไม่ พยายามให้สตสิ งั เกต
ดูท่ี จิต ทำ� ความสงบอยใู่ น จิต ไปเรือ่ ยๆ จนสามารถเข้าใจ พฤติ
ของจิต ไดอ้ ย่างละเอยี ดลออตามขั้นตอน เขา้ ใจในความเปน็ เหตุเปน็
ผลกนั วา่ เกดิ จากความคิดมันออกไปจากจติ น่ีเอง ไปหาปรงุ หาแตง่
หาก่อ หาเกดิ ไมม่ ที ี่สิน้ สดุ มนั เป็นมายาหลอกลวงใหค้ นหลง แลว้
จติ ก็จะเพิกถอนสิ่งทีม่ ีอยใู่ นจิตไปเรอื่ ยๆ จนหมด หมายถงึ เจริญจิต
333
จนสามารถเพกิ รูปปรมาณูวญิ ญาณทีเ่ ลก็ ท่สี ดุ ภายในจติ ได้
ค�ำว่า แยกรูปถอด น้ันหมายความถงึ แยกรูปวิญญาณ
นัน่ เอง
๖. เหตุตอ้ งละ ผลตอ้ งละ เมอื่ เจรญิ จิตจนปราศจากความ
คดิ ปรงุ แตง่ ไดแ้ ลว้ (วา่ ง) ก็ไมต่ อ้ งองิ อาศัยกับกฎเกณฑ์ แ์ หง่ ความ
เปน็ เหตุเป็นผลใด ๆ ท้งั ส้นิ จติ กอ็ ยเู่ หนือภาวะแห่งคลองความคิดนกึ
ต่างๆ อยู่เป็นอสิ ระปราศจากสิ่งใดๆ ครอบง�ำอ�ำพรางทั้งสิน้
เรยี กวา่ “สมจุ เฉทธรรมทงั้ ปวง”
๗. ใชห้ นีก้ ห็ มด พน้ เหตุเกิด เมอื่ เพิกรปู ปรมาณูทเี่ ลก็ ที่สุด
เสียได้ กรรมชว่ั ท่ปี ระทับ บรรจุ บันทึก ถา่ ยภาพ ติดอยกู่ ับรูป
ปรมาณูนั้น ก็หมดโอกาสท่ีจะใหผ้ ลตอ่ ไปในเบ้ืองหนา้ การเพิม่ หนกี้ ็
เปน็ อันสะดุดหยดุ ลง เหตปุ ัจจยั ภายนอกภายในที่มากระทบ กเ็ ป็นสกั
แตว่ า่ มากระทบ ไมม่ ผี ลสบื เนื่องต่อไป หนี้กรรมชว่ั ท่ไี ด้ทำ� ไวต้ ั้งแต่
ชาติแรกกเ็ ปน็ อันได้รบั การชดใช้หมดส้นิ หมดเร่ืองหมดราวหมด
พันธะผูกพันทจี่ ะตอ้ งเกดิ มาใชห้ นีก้ รรมกนั อีก เพราะกรรมชวั่ อัน
เปน็ เหตุใหต้ ้องเกิดอีก ไม่อาจใหผ้ ลต่อไปได้ เรียกวา่ “พน้ เหตุ
เกดิ ”
๘. ผทู้ ่ตี รัสรู้แลว้ เขาไม่พูดหรอกว่า เขาร้อู ะไร เมอ่ื ธรรม
ท้ังหลายได้ถูกถ่ายทอดไปแล้ว ส่ิงท่ีเรียกว่า ธรรม จะเปน็ ธรรมไปได้
อยา่ งไร ส่ิงที่ว่า ไม่มธี รรม นนั่ แหละมันเป็นธรรมของมนั ในตวั
(ผู้ร้นู ะ่ จริง แต่สิง่ ทร่ี ูท้ ัง้ หลายน้ันไมจ่ รงิ )
เมือ่ จติ วา่ งจาก “พฤต”ิ ต่างๆ แลว้ จติ ก็จะถึง ความวา่ งทแ่ี ท้
จริง ไมม่ อี ะไรใหส้ ังเกตไดอ้ กี ตอ่ ไปจึงทราบได้ว่าแทท้ ีจ่ ริงแล้ว จิตน้นั
ไมม่ รี ปู รา่ ง มันรวมอยู่กับความวา่ ง ในความว่างน้ัน ไมม่ ขี อบเขต
ไมม่ ีประมาณซาบซมึ อยใู่ นส่ิงทุกๆ สิง่ และจติ กบั ผู้รูเ้ ป็นสิ่งเดยี วกนั
เมือ่ จติ กับผู้ร้เู ป็นสง่ิ เดียวกนั และเปน็ ความวา่ ง ก็ยอ่ มไม่มี
อะไรทจี่ ะให้อะไรหรอื ใหใ้ ครรู้ถึง ไมม่ ีความเป็นอะไรจะไปรู้สภาวะ
ของอะไร ไม่มีสภาวะของใครจะไปรคู้ วามมีความเป็นของอะไร
334
เมอื่ เจริญจติ จนเขา้ ถงึ สภาวะเดิมแทข้ องมนั ไดด้ งั นแ้ี ลว้ “จติ
เห็นจติ อยา่ งแจม่ แจ้ง” จิตก็จะอยเู่ หนือสภาวะสมมตุ บิ ัญญตั ทิ งั้ ปวง
เหนอื ความมีความเป็นทง้ั ปวง มันอยเู่ หนอื คำ� พูดและพน้ ไปจากการก
ล่าวอา้ งใดๆ ทัง้ สน้ิ เปน็ ธรรมชาติอนั บริสทุ ธแ์ิ ละสวา่ งรวมกันเข้ากับ
ความวา่ งอันบริสุทธ์ิและสว่างของ จกั รวาลเดิมเขา้ เปน็ หนึ่งเรยี กวา่
“นพิ พาน”
โดยปกติ คำ� สอนธรรมะของหลวงปดู่ 6ลย์ อตุโล นน้ั เป็น
แบบ “ปรศิ นาธรรม” มใิ ชเ่ ปน็ การบรรยายธรรม ฉะนน้ั คำ� สอน
ของทา่ นจงึ ส้ัน จ�ำกัดในความหมายของธรรม เพ่ือไมใ่ หเ้ ฝือหรือ
ฟ่มุ เฟอื ยมากนัก เพราะจะทำ� ใหส้ บั สน เมื่อผ้ใู ดเป็นผ้ปู ฏบิ ัตธิ รรม
เขายอ่ มเขา้ ใจได้เองว่า กริ ยิ าอาการของจิตทเ่ี กดิ ขนึ้ น้ันมีมากมาย
หลายอยา่ ง ยากที่จะอธิบายใหไ้ ด้หมด ดว้ ยเหตนุ นั้ หลวงปทู่ ่านจึง
ใช้ค�ำว่า “พฤติของจิต” แทนกิริยาท้ังหลายเหลา่ นนั้
ค�ำว่า “ดจู ิต อย่าส่งจติ ออกนอก ท�ำญาณใหเ้ ห็นจิต” เหลา่
น้ี ย่อมมีความหมายครอบคลุมไปทั้งหมดตลอดองค์ภาวนา แต่เพือ่
อธิบายให้เป็นข้ันตอน จงึ จดั เรยี งให้ดูงา่ ยเท่านน้ั หาได้จัดเรียงไป
ตามล�ำดับกระแสการเจริญจิตแตอ่ ย่างใดไม่
ทา่ นผมู้ ีจติ ศรทั ธาในทางปฏบิ ัติ เม่ือเจรญิ จติ ภาวนาตามค�ำ
สอนแล้ว ตามธรรมดาการปฏบิ ตั ิในแนวนี้ ผปู้ ฏิบัติจะค่อยๆ มีความ
รู้ความเข้าใจไดด้ ้วยตนเองเป็นล�ำดบั ๆ ไป เพราะมีการใส่ใจสงั เกต
และกำ� หนดรู้ “พฤตแิ หง่ จติ ” อยู่ตลอดเวลา แต่ถา้ หากเกดิ ปัญหาใน
ระหว่างการปฏบิ ตั ิ ควรรีบเขา้ หาครบู าอาจารย์ฝ่าย วปิ สั สนาธุระ
โดยเรว็ หากประมาทแล้วอาจผิดพลาดเป็นปัญหาตามมาภายหลงั
เพราะค�ำว่า “มรรคปฏิปทา” น้ัน จะตอ้ งอยู่ใน “มรรคจติ ” เทา่ นัน้
มใิ ช่มรรคภายนอกตา่ งๆ นานาเลย
การเจรญิ จิตเขา้ สทู่ ่สี ุดแหง่ ทุกข์น้ัน จะตอ้ งถงึ พรอ้ มดว้ ย
วสิ ทุ ธศิ ลี วิสทุ ธธิ รรม พร้อมทง้ั ๓ ทวาร คอื กาย วาจา ใจ จึง
จะยงั กจิ ใหล้ ลุ ว่ งถึงท่ีสดุ แห่งทุกขไ์ ด้
335
อเหตกุ จติ ๓ ประการ
๑. ปญั จ ทวารวชั นจิต คอื กิริยาจิตท่ีแฝงอยู่ตาม อายตนะ
หรือทวารท้งั ๕ มีดงั นี้
ตา ไปกระทบกบั รปู เกดิ จกั ษุวิญญาณ คือการเหน็ จะหา้ ม
ไมใ่ ห้ ตา เหน็ รปู ไมไ่ ด้
หู ไปกระทบเสยี ง เกดิ โสตวิญญาณ คือการไดย้ ิน จะห้าม
ไม่ให้ หู ได้ยินเสียงไมไ่ ด้
จมูก ไปกระทบกับกลิ่น เกดิ ฆานะวญิ ญาณ คอื การไดก้ ล่ิน
จะหา้ มไม่ให้ จมกู รบั กลน่ิ ไมไ่ ด้
ล้นิ ไปกระทบกบั รส เกิด ชวิ หาวิญญาณ คอื การได้ รส จะ
ห้ามไมใ่ ห้ ล้ิน รบั ร้รู สไม่ได้
กาย ไปกระทบกับโผฏฐพั พะ เกดิ กายวิญญาณ คือการ
สัมผัส จะหา้ มไมใ่ ห้ กาย รับสมั ผัสไมไ่ ด้
วญิ ญาณท้งั ๕ อย่างนี้ เป็นกิรยิ าทแ่ี ฝงอยใู่ นกายตามทวาร
ท�ำหนา้ ทีร่ บั รู้ส่ิงตา่ งๆ ที่มากระทบเปน็ สภาวะแห่งธรรมชาตขิ องมัน
เปน็ อยเู่ ช่นน้ัน
กแ็ ตว่ า่ เมอ่ื จิตอาศัยทวารทง้ั ๕ เพอื่ เช่ือมตอ่ รับร้เู หตกุ ารณ์
ภายนอกทีเ่ ขา้ มากระทบ แล้วสง่ ไปยังส�ำนกั งานจติ กลางเพอ่ื รบั รู้
เราจะห้ามมิให้เกิด มี เปน็ เชน่ น้ัน ย่อมกระทำ� ไมไ่ ด้
การปอ้ งกันทุกขท์ จี่ ะเกดิ จากทวารทัง้ ๕ นั้น เราจะต้องส�ำ
รวมอินทรีย์ทัง้ ๕ ไม่เพลิดเพลินในอายตนะเหล่านนั้ หากจ�ำเป็นตอ้ ง
อาศยั อายตนะทั้ง ๕ นน้ั ประกอบการงานทางกาย ก็ควรจะก�ำหนด
จิตใหต้ ั้งอยใู่ นจิต
เชน่ เมอื่ เหน็ ก็สักแต่ว่าเห็น ไมค่ ดิ ปรงุ ไดย้ ินก็สกั แต่วา่ ได้ยิน
ไมค่ ดิ ปรุง ดงั นี้ เป็นต้น
(ไมค่ ิดปรุงหมายความวา่ ไม่ใหจ้ ติ เอนเอียงไปในความเห็นดชี ั่ว)
๒. มโนทวารวชั นจิต คอื กิริยาจติ ท่ีแฝงอยู่ที่มโนทวาร
336
มหี นา้ ท่ผี ลติ ความคิดนกึ ต่างๆ นานา คอยรับเหตกุ ารณภ์ ายใน
ภายนอกมากระทบ จะดหี รือชวั่ ก็สะสมเอาไว้ จะห้ามจติ ไม่ใหค้ ิดใน
ทุกๆ กรณยี อ่ มไม่ได้
กแ็ ต่ว่าเมอ่ื จติ คดิ ปรงุ ไปในเรอ่ื งราวใดๆ ถึงวตั ถุ สิ่งของ
บคุ คลอย่างไร ก็ใหก้ �ำ หนดรูว้ า่ จติ คดิ ถงึ เรื่องเหลา่ น้ันก็สักแตว่ ่า
ความคิด ไมใ่ ช่สตั ว์บคุ คล เราเขา ไม่ยดึ ถือวิจารณ์ความคิดเหล่านน้ั
ทำ� ความเห็นให้เป็นปกติ ไม่ยึดถอื ความเหน็ ใดๆ ทง้ั สิ้น จติ
ย่อมไม่ไหลตามกระแสอารมณ์เหล่าน้นั ไมเ่ ป็นทกุ ข์
๓. หสติ ุปบาท คือ กริ ิยาท่จี ติ ยมิ้ เอง โดยปราศจากเจตนาท่ี
จะยิ้ม หมายความว่าไมอ่ ยากยิม้ มันกย็ ้มิ ของมนั เอง กิริยาจติ อนั น้มี ี
เฉพาะเหลา่ พระอรยิ เจา้ เทา่ นน้ั ในสามญั ชนไมม่ ี
สำ� หรบั อเหตุกจติ ข้อ ๑ และ ๒ มเี ท่ากนั ในพระอริยเจ้า
และในสามัญชน นกั ปฏิบตั ิธรรมทั้งหลาย เมื่อตัง้ ใจปฏบิ ัตติ นออก
จากกองทุกขค์ วรพิจารณา อเหตุกจิต นใี้ ห้เขา้ ใจด้วย เพอ่ื ความไม่
ผิดพลาดในการบำ� เพ็ญปฏบิ ัติธรรม
อเหตกุ จิต นี้ นักปฏิบัติท้ังหลายควรท�ำ ความเข้าใจให้ได้
เพราะถา้ ไม่เชน่ น้ันแล้ว เราจะพยายามบงั คบั สงั ขารไปหมด ซึง่ เปน็
อันตรายต่อการปฏบิ ตั ธิ รรมมาก เพราะความไม่เขา้ ใจใน อเหตกุ จติ
ขอ้ ๑ และ ๒ นีเ้ อง
อเหตกุ จติ ขอ้ ๓ เป็นกิริยาจติ ท่ียม้ิ เองโดยปราศจากเจตนา
ทีจ่ ะยิม้ เกิดในจติ ของเหล่าพระอรยิ เจา้ เท่านัน้ ในสามญั ชนไมม่ ี
เพราะกริ ิยาจิตนี้เปน็ ผลของการเจรญิ จิตจนอยู่เหนอื มายาสงั ขารได้
แล้ว จิตไม่ตอ้ งติดข้องในโลกมายา เพราะความรู้เท่าทนั เหตปุ จั จยั
แห่งการปรงุ แต่งได้แล้ว เป็นอิสระด้วยตัวมนั เอง
337
338
339
340