หน่ึงด้วย ไมร่ ้เู อาไปทำ� ไม
ครน้ั พอหลวงตาพวงไปถึงวัดปา่ ทันทีทีย่ ่างเท้าเข้าสบู่ ริเวณ
วัดป่าทนี่ ัน่ เอง อาการของจิตที่นอ้ มไปตดิ ม่ันอยู่กบั อารมณ์ภายนอก
โดยปราศจากการควบคุมของสติทไี่ ด้สดั สว่ นกนั กแ็ ตกทำ� ลายลง
เพราะถกู กระแทกดว้ ยอานภุ าพแห่งความโกรธ อนั เปน็ อารมณท์ ่ี
รนุ แรงกวา่ ยังสติสมั ปชัญญะให้บังเกดิ ขน้ึ ระลกึ ย้อนกลบั ไดว้ ่า
ตนเองไดท้ ำ� อะไรลงไปบา้ ง ผิดถูกอย่างไร สำ� คัญตนผิดอยา่ งไร และ
ไดพ้ ูดวาจาไมส่ มควรอยา่ งไรออกมาบ้าง
เม่ือหลวงตาพวงได้สติส�ำนึกแล้ว ก็ได้เขา้ พบท่านเจา้ คณุ พระ
ราชสทุ ธาจารย์ และเลา่ เรือ่ งตา่ งๆ ให้ท่านทราบ ทา่ นเจา้ คุณฯ กไ็ ด้
ชว่ ยแนะน�ำ และเตอื นสติเพิม่ เติมอกี ท�ำใหห้ ลวงตาพวงไดส้ ติคืนมา
อยา่ งสมบูรณ์ และบงั เกดิ ความละอายใจเป็นอยา่ งย่งิ
หลังจากไดพ้ ักผอ่ นเป็นเวลาพอสมควรแล้ว ก็ยอ้ นกลับมา
กราบขอขมาหลวงปู่ กราบเรยี นวา่ ทา่ นจ�ำค�ำพูด และการกระท�ำ
ทกุ อยา่ งได้หมด และรูส้ กึ ละอายใจมากที่ตนทำ� อย่างน้นั
หลวงปกู่ ็ได้แนะทางปฏิบตั ใิ ห้ และบอกว่า “ส่ิงทเ่ี กิดขึน้ เหล่านี้
ว่าถึงประโยชนก์ ม็ ีประโยชนอ์ ย่เู หมือนกัน มสี ว่ นดีอยูเ่ หมอื นกนั คือ
จะไดเ้ ปน็ บรรทัดฐาน เปน็ เคร่อื งนำ� สตมิ ิให้ตกอย่สู ภาวะนอ้ี กี เปน็
แนวทางตรงที่จะไดน้ ำ� มาประกอบการปฏิบัตใิ ห้ดำ� เนินไปอย่างมัน่ คง
ในแนวทางตรงต่อไป”
ช้แี นะศษิ ย์ผหู้ ลงทาง
เมอื่ หลวงตาพวงไดพ้ ักอยู่ปฏบิ ตั ิสมาธิภาวนากบั หลวงปู่เปน็
ระยะเวลาพอสมควรแล้ว กเ็ ดนิ ทางกลบั ไปบำ� เพ็ญเพียร และปฏบิ ตั ิ
ศาสนกจิ ตอ่ ไปทเ่ี ขาพนมรงุ้ จงั หวดั บรุ ีรัมย์
หลวงตาพวงเจริญอยใู่ นพระศาสนาสืบต่อมาจนวาระสดุ ท้าย
และถึงแกม่ รณภาพเมือ่ พ.ศ. ๒๕๒๖ เมื่ออายุได้ ๘๘ ปี และจนบดั นี้
151
สรีระของท่านก็ยงั คงตั้งอยู่ที่ วดั ปราสาทเขาพนมรงุ้ ยงั มิได้รบั
การกระทำ� พิธีฌาปนกิจแต่ประการใด
หลวงป่เู ลา่ ให้ฟังต่อมาภายหลงั ว่า มหี ลายทา่ นทีป่ ระสบเหตุ
ทางธรรมปฏบิ ตั เิ ชน่ เดยี วกนั กบั หลวงตาพวง ส�ำหรบั ท่เี ปน็ ศิษย์ของ
หลวงปู่เองกย็ งั มีอกี องคห์ นึง่ ท่ีสำ� คญั ตนผิดอยา่ งถงึ ขนาด กค็ อื
ท่านพระอาจารย์เสรจ็ ซงึ่ บัดนีม้ รณภาพไปแล้ว
ท่านพระอาจารยเ์ สร็จเปน็ ผเู้ ร่มิ ก่อต้ัง วัดกระดงึ ทอง จังหวัด
บรุ ีรัมย์ ทา่ นเปน็ พช่ี ายของท่านเจ้าคุณพระราชปัญญาวิสารตั น์
(เหลือง ฉนฺ ทาคโม) เจ้าคณะจงั หวัดบรุ รี มั ยฝ์ า่ ยธรรมยตุ ในปัจจบุ นั
ในกรณีของพระอาจารย์เสร็จน้ี หลวงปเู่ ล่าวา่ กำ� ลงั เตรยี มตวั เดินทาง
เพือ่ จะไปแสดงธรรมเทศนาโปรด สมเดจ็ พระสงั ฆราชเจา้ กรมพระ
วชริ ญาณวงศ์ (ม.ร.ว. ชืน่ นพวงศ์) แห่งวัดบวรนิเวศวิหาร
หลวงปูว่ ่าพระอาจารย์เสร็จ สำ� คญั ตนผดิ จนมีความทะเยอ
ทะยานมากถงึ ขนาดน้นั ดว้ ยเขา้ ใจวา่ คนอืน่ ๆ ไมร่ ้ธู รรมะธรรมโม
อะไรเลย
หลวงปู่ก็ได้ช่วยแก้ไข และช้แี นวทางใหอ้ ยา่ งทนั ตอ่ เหตุการณ์
ส�ำหรบั พระอาจารย์เสร็จน้ี หลวงป่วู า่ แก้ไขได้งา่ ยกว่าหลวง
ตาพวง เพราะไมถ่ งึ ข้ันตอ้ งย่ัวใหโ้ กรธเสียกอ่ น
ใน ๒ กรณที ีย่ กมาเปน็ ตวั อย่างแสดงให้เหน็ ว่า หลวงปู่เปน็
หลักที่สำ� คัญเพียงไร สำ� หรับนักปฏิบตั ิแถวจงั หวัดสรุ ินทร์ และ
บุรรี ัมย์ เมอื่ ศษิ ยานุศษิ ยห์ รือผใู้ ดมขี อ้ สงสัยไมเ่ ขา้ ใจ หรือประสบกับ
อปุ สรรคส�ำคัญในทางปฏิบตั ิ และชว่ ยตนเองไมไ่ ด้ ไม่ว่าในลำ� ดับของ
การปฏิบัตขิ ้ันใด หลวงปกู่ ็สามารถข้แี นะไดต้ ลอดสายท�ำให้ผเู้ ปน็ ศษิ ย์
เขา้ ถงึ ผลการปฏบิ ตั ิได้ แมใ้ นล�ำดบั ทสี่ ูงย่ิงๆ ขนึ้ ไป
152
โปรดนกั เลงให้กลับใจ
ขอย้อนถงึ เรอ่ื งราวทหี่ ลวงปเู่ ดินทางกลบั จากอุบลฯ มา
สรุ ินทร์ เพือ่ โปรดญาติโยมในครั้งแรก ทา่ นมาในรูปแบบของพระ
ธดุ งคก์ ัมมัฏฐาน และพำ� นักโปรดญาตโิ ยมอยทู่ สี่ ำ� นกั ป่าบ้านหนอง
เสม็ด ตำ� บลเฉนียง อ�ำเภอเมืองสรุ ินทร์
ในชว่ งนนั้ ไดม้ ีชายหัวนกั เลงอนั ธพาลผหู้ นง่ึ มคี วามโหดร้าย
ระดับเสอื เป็นที่กลวั เกรงแกป่ ระชาชนในละแวกนั้น กลุ่มของชายผู้น้ี
ท่องเท่ียวหากินแถบชายแดนไทย และกัมพชู า
เม่ือได้ยนิ ข่าวเลา่ ลือเกี่ยวกับพระธดุ งค์มาพ�ำนักทบ่ี ้านเสมด็
เขามั่นใจว่าพระจะตอ้ งเป็นผทู้ ่มี ีวิชาด้านคาถาอาคมอนั ลํา้ เลิศอยา่ ง
แน่นอน จงึ มคี วามประสงคจ์ ะได้วตั ถมุ งคลเครือ่ งรางของขลัง
ประเภทอยู่ยงคงกระพนั ยิงไมอ่ อก ฟันไม่เข้า
ดังนนั้ จงึ พาลกู สมนุ ตัวกลน่ั ๔ คน มีอาวุธครบครัน แอบเข้า
ไปหาหลวงปอู่ ย่างเงยี บๆ ขณะนน้ั เปน็ เวลาประมาณ ๒ ทุม่ แถว
หมู่บ้านปา่ ถือวา่ ดึกพอสมควรแล้วชาวบ้านที่มาฟงั ธรรม และบำ� เพญ็
สมาธิภาวนาพากนั กลับหมดแลว้
กลมุ่ นกั เลงแสดงตนใหป้ ระจกั ษ์ กลา่ วออ้ นวอนหลวงปูว่ ่า
พวกตนรกั การด�ำเนินชวี ติ ท่ามกลางคมหอกคมดาบ และไดก้ อ่ ศัตรูไม่
น้อย ที่มาครัง้ นก้ี ็เพราะมีความเลื่อมใสศรทั ธา มเี จตนาจะมาขอวิชา
คาถาอาคมไวป้ อ้ งกันตวั ให้พน้ จากอนั ตราย
ขอพระครทู า่ นได้โปรดมจี ิตเมตตา เห็นแกค่ วามล�ำบากยาก
เขญ็ ของพวกกระผม ทต่ี ้องฟันฝ่าอปุ สรรค หลบศัตรูมุ่งร้ายหมาย
ขวัญ ได้โปรดถา่ ยทอดวชิ าอาคมให้พวกกระผมเถดิ
หลวงปกู่ ลา่ วกับชายกลุ่มนนั้ ว่า “ข้อนี้ไมย่ าก แต่วา่ ผูท้ ่ีจะรบั
วชิ าอาคมของเราได้นน้ั จะต้องมีการปรับพื้นฐานจติ ใจใหแ้ ข็งแกร่ง
เสียก่อน มฉิ ะน้ันจะรองรบั อาถรรพ์ไวไ้ ม่อยู่ วิชากจ็ ะยอ้ นเข้าตัว เกิด
วบิ ัตภิ ยั ร้ายแรงได้”
153
วา่ ดังนนั้ แลว้ หลวงปู่กแ็ สดงพ้นื ฐานของวชิ าอาคมของทา่ นวา่
“คาถาทุกคาถา หรอื วิชาอาคมทป่ี ระสงคจ์ ะเรยี นนั้น จะตอ้ งอาศัย
พืน้ ฐาน คอื พลงั จติ จติ จะมพี ลงั ได้กต็ อ้ งมสี มาธิ สมาธินนั้ จะเกดิ ขึน้
ได้แต่จากการนงั่ ภาวนา ทำ� ใจให้สงบ วิชาท่จี ะรา่ํ เรยี นไปจึงจะบงั เกดิ
ผลศักด์ิสิทธิ์ ไมม่ พี บิ ตั ิภัยตามมา”
ฝา่ ยนกั เลงเหล่านั้น เมื่อเหน็ อากปั กิรยิ าอันสงบเยน็ ม่นั คง
มไิ ดร้ สู้ กึ สะทกสะท้านตอ่ พวกเขา ประกอบกบั ปฏปิ ทาอนั งดงามของ
ท่านกเ็ กดิ ความเยน็ กาย เย็นใจ เลอ่ื มใสนบั ถอื อีกอย่างก็มีความ
อยากได้วชิ าอาคมดงั กล่าว จงึ ยนิ ดีปฏบิ ตั ติ าม
หลวงปู่ไดแ้ นะนำ� ให้นั่งสมาธิภาวนา แลว้ บรกิ รรมภาวนาใน
ใจว่า พุทโธ-พทุ โธ ชว่ั เวลาประมาณ ๑๐–๒๐ นาทีเท่านั้น จอม
นักเลงกร็ ้สู ึกสงบเย็น ยงั ปตี ใิ ห้บงั เกดิ ซาบซา่ นข้นึ อย่างแรง เปน็ ปีติ
ชนิดโลดโผน เกดิ อาการสะดงุ้ สดุ ตัว ขนลกุ ขนชนั และร้องไห้
เห็นปรากฏชัดในสงิ่ ทตี่ นเคยกระท�ำมา เห็นววั ควายกำ� ลงั ถูก
ฆา่ เหน็ คนทม่ี อี าการทุรนทุราย เนอ่ื งจากถูกทำ� รา้ ย เห็นความชั่ว
ช้าเลวทรามตา่ งๆ ของตนทำ� ใหร้ ้สู กึ สังเวชสลดใจอย่างยิ่ง
หลวงปกู่ ป็ ลอบโยน ใหก้ ารแนะนำ� วา่ “ใหต้ ัง้ สมาธภิ าวนาต่อ
ไปอกี ท�ำตอ่ ไป ในไมช่ า้ กจ็ ะพ้นจากภาวะนั้นอย่างแน่นอน”
นักเลงเหลา่ น้นั พากนั นัง่ สมาธภิ าวนาอยูก่ บั หลวงปู่ไปจน
ตลอดคืน คร้นั รงุ่ เช้าอานุภาพแห่งศลี และสมาธิทีไ่ ดร้ ับการอบรม
ฝึกฝนมาตลอดทั้งคืนก็ยังปญั ญาใหเ้ กดิ แกน่ กั เลงเหลา่ น้นั
จติ ใจของพวกเขารู้สึกอ่ิมเอบิ ด้วยธรรม เปยี่ มไปด้วยศรทั ธา
บงั เกดิ ความเลือ่ มใส จึงเปลยี่ นใจไปจากการอยากได้วิชาอาคมขลัง
ตลอดจนกลับใจเลิกพฤติกรรมอันท�ำความเดือดรอ้ นท้งั แก่ตนเองและ
แกผ่ ้อู ืน่ จนหมดส้ิน ปฏิญาณตนเป็นค�ำตายกบั หลวงปู่ว่าจะไม่
ทำ� กรรมชั่วทจุ รติ อีกแลว้
เมอื่ พจิ ารณาเหตกุ ารณใ์ นครั้งน้ี จะเห็นว่าในขณะทพ่ี วกเขา
ทง้ั ๕ อย่ตู อ่ หน้าหลวงปู่ พวกเขามิไดก้ ระทำ� กรรมชว่ั อนั ใดลงไป
154
สว่ นกรรมชว่ั ทเ่ี ขาเคยกระทำ� มาแลว้ ก็หยดุ ไว้ช่ัวขณะ แฝงซอ่ นเรน้
หลบอยใู่ นขันธสนั ดานของเขา
ในตอนนน้ั พวกเขามเี พียงความรู้สึกโลภ ดว้ ยการอยากได้
คาถาอาคมจากหลวงปู่ แตค่ วามโลภชว่ งนั้นได้สร้างความศรทั ธาให้
เกดิ ทำ� ให้ตั้งใจปฏิบัติตามค�ำสอน
ในขณะจิตท่ตี ั้งใจ ความชัว่ ทง้ั หลายก็หยุดพักไว้ ศีลก็มคี วาม
สมบูรณ์พอทจ่ี ะเปน็ บาทฐานของสมาธิภาวนาได้ เมื่อรกั ษาไดอ้ ย่าง
น้ันไมข่ าดสาย จติ ยอ่ มตง้ั มน่ั อย่ดู ้วยดี เรยี กว่า มสี มาธิจติ ท่ีไม่ก�ำเริบ
แปรปรวนเรยี กว่าจิตมศี ีล และอาการตง้ั ม่ันอยู่ด้วยดีเรยี กวา่ มีสมาธิ
ยอ่ มมีความคลอ่ งแคล่วแก่การงาน ควรแกก่ ารพิจารณาปญั หาตา่ งๆ
ได้เป็นอย่างดี เรียกว่า สตปิ ัญญา
ความรู้สึก และอารมณด์ ังกลา่ ว ตรงตามค�ำสอนของทา่ น
พระอาจารย์ใหญ่มน่ั ภรู ทิ ตโฺ ต ทีว่ ่า “ศีลอนั ใด สมาธอิ ันนนั้ สมาธิ
อันใด ปญั ญาอันนัน้ ”
พดู ถึงการเผชิญสัตวร์ ้าย
ผเู้ ขยี น (พระโพธินนั ทมุน)ี เคยไดย้ นิ ไดฟ้ งั ประวัตขิ องทา่ น
พระอาจารยต์ า่ งๆ ท่ลี ่วงลบั ดบั ขันธ์ไปแลว้ มคี วามรสู้ ึกอยา่ งงหนงึ่
ว่าประวัติของท่านท่ีน�ำมาเล่ามาเขยี นถงึ ในระยะหลังๆ ย่ิงนานมาก็
ยงิ่ วิจติ รพสิ ดารข้ึนทกุ ที ยิ่งมีสีสนั ฉดู ฉาดข้นึ ทุกที ทง้ั ๆ ที่ประวตั ทิ ี่
ปรากฏในยคุ แรกๆ น้นั เต็มไปดว้ ยความสะอาดหมดจด อ่มิ ดว้ ยรส
พระธรรม งดงามไปด้วยปฏิปทาของพระมหาเถระเจ้าทน่ี า่ ยดึ ถือเป็น
แบบแผนส�ำหรบั อนุชนรุน่ หลังได้ประพฤตปิ ฏบิ ตั ิตามได้โดยง่าย
แต่มาในระยะหลัง เรือ่ งราวของพระมหาเถระเหลา่ น้ัน กลบั
กลายเป็นเรอื่ งทเ่ี ข้าใจยาก มองเห็นยาก พสิ ดาร และเหลอื วสิ ยั
ครั้นเมื่อได้พิจารณาถึงพุทธประวัติ อนั เป็นเรอื่ งราวของ
พระบรมศาสดาเองเลา่ ก็เกิดความเขา้ อกเข้าใจ จะเห็นวา่ พุทธประวตั ิ
155
ทปี่ รากฏในพระไตรปิฎกช้ันบาลนี ้นั มีแต่เรอื่ งเรียบงา่ ย มแี ต่เร่ือง
ประสูติ ตรัสรู้ แสดงพระธรรมโดยพุทธสาวกตา่ งๆ การแยกย้ายกนั
ไปประกาศพระศาสนา จนกระทง่ั ถงึ พุทธปรนิ พิ พาน
แต่พุทธประวัติที่ปรากฏในช้ันพระอรรถกถาจารย์ พระฎีกา
จารย์ ในตอนหลังจงึ เรม่ิ มีสสี ัน วรรณะฉดู ฉาดบาดนัยน์ตามากข้ึน
ทกุ ที จนกระทง่ั สมเด็จพระมหาสมณเจา้ กรมพระวชริ ญาณวโรรส
จ�ำเปน็ ต้องกลัน่ กรองออกมา เพือ่ ประโยชนแ์ ก่การศึกษาของกลุ บตุ ร
กุลธดิ าในภายหลัง
เมอื่ ผเู้ ขียนพิจารณาได้ดงั นี้แล้ว กเ็ กิดความเบาอกโลง่ ใจ
เพราะพ้นกงั ขาเสยี ได้ จึงมาคดิ ว่าในฐานะท่ีเป็นผู้เรียบเรยี งประวัติ
ของหลวงปดู่ ลุ ย์ จากการไดอ้ ยู่รับใช้ใกลช้ ดิ ทา่ นมาถงึ ๓๕ ปี มีเรือ่ ง
ราวอนั ใดทเี่ คยไดย้ ินได้ฟงั ก็จะนำ� มาบรรยายไว้อย่างเตม็ ท่ี โดยไม่
ตอ้ งเกรงใจตัวเอง เผ่ือวา่ ประวัตพิ ิสดารของทา่ นเกดิ งอกงามขนึ้ ก็
จะไดช้ ้ีแจงถูกวา่ เร่อื งทงั้ หมดมอี ยเู่ ทา่ นน้ั ตามท่ขี า้ พเจ้าไดร้ ู้ได้เห็น
ธรรมดาการเดินธดุ งคต์ ามปา่ เขาล�ำเนาไพร เป็นทีแ่ นน่ อนว่า
จะต้องมีการเผชิญหน้ากบั สัตว์ป่านานาชนดิ ดงั นนั้ การท่หี ลวงปู่
ดุลยเ์ คยประจนั หนา้ กับสัตว์ป่าทีด่ รุ ้ายจงึ ไมใ่ ช่เรอ่ื งประหลาดเหลอื
วิสยั
แต่เหตกุ ารณ์ท่เี กิดขึ้นกบั หลวงป่ดู ูออกจะเปน็ เร่ืองธรรมดา
สามัญ ไมโ่ ลดโผนต่นื เตน้ หรือนา่ ประทับใจอะไรมาก แตใ่ นเมือ่
เหตกุ ารณ์ทีเ่ กิดขน้ึ ในชวี ติ ของทา่ น และท่านเป็นผเู้ ล่าเอง หรือผทู้ ่อี ยู่
ในเหตกุ ารณ์เปน็ คนเลา่ และหลวงปู่ก็รบั รองวา่ เป็นความจริง ก็
สมควรทจ่ี ะต้องบันทกึ ไว้ เพอ่ื ประโยชน์แกผ่ ู้สนใจศกึ ษาต่อไป
เม่อื มใี ครๆ มาถามหลวงปูว่ ่า “ตอนท่หี ลวงปู่เดินธดุ งค์กัมมัฏ
ฐาน หรือตอนอย่ใู นป่าลึกๆ เคยพบเสอื หมี งพู ษิ หรือสตั วอ์ ะไร
อื่นๆ บ้างไหม ?”
หลวงปู่จะตอบวา่ “เคย”
ถามตอ่ ไปอกี วา่ “แลว้ หลวงปทู่ ำ� ยงั ไง, มนั ไมท่ ำ� อนั ตรายหรอื ?”
156
ท่านตอบวา่ “ตามธรรมดา พวกสตั วเ์ ดรัจฉานน้ัน ย่อมมี
ความกลวั มนษุ ย์ มันจะตกใจแล้วรบี หลบหนไี ปเม่ือได้พบเห็นมนษุ ย์”
ถามอีกว่า “แลว้ ช้างละ หลวงปู่เคยเหน็ ช้างไหม ?”
ตอบว่า “เคยเหน็ ”
ถามอีกว่า “แล้วหลวงปู่ท�ำยงั ไง ?”
ตอบว่า “เมื่อเห็นทีท่าว่ามนั จะมาทำ� อนั ตรายเรา กพ็ ยายาม
หลีกหนี ถ้าจ�ำเป็นก็ขนึ้ ตน้ ไม้ใหญๆ่ สตั ว์เหล่านั้นก็จะผา่ นพน้ ไปตาม
ทางของมัน แตถ่ า้ เราไม่เห็นมนั และชา้ งนน้ั กำ� ลังตกมัน หรือสตั ว์
อื่นท่ีเปน็ บ้า มนั ก็จะเอาความบา้ มาท�ำอันตรายเราได้ ถา้ สัตวน์ ั้นเปน็
ปกติธรรมดาแล้ว มันกย็ อ่ มกลัวเราเช่นกัน ย่อมจะไปตามเรอื่ งของ
มนั จะไมม่ ีการเบยี ดเบียนกนั เลย”
เกี่ยวกับเรือ่ งทำ� นองน้ี หลวงปมู่ ักจะพดู แบบนี้ทกุ คร้งั ไม่เคย
เลยท่ีหลวงปจู่ ะพดู เป็นทำ� นองว่า เสือมันกำ� ลังย่องเข้ามาหาอาตมา
อาตมากก็ ำ� หนดจติ แผเ่ มตตาให้มนั พร้อมกบั พจิ ารณาว่า “มหี วัง
ตายแน”่ แลว้ สัตวน์ ั้นๆ กไ็ ม่สามารถมาท�ำอนั ตรายอาตมาไดเ้ ลย
อย่างน้ันอยา่ งน…ี้
คำ� พูดในทำ� นองแสดงฤทธ์อิ ำ� นาจ หรอื เปน็ เรอ่ื งอัศจรรย์นั้น
ไม่เคยไดย้ นิ ทา่ นพดู เลยแมแ้ ตค่ ร้งั เดียว
เร่อื งเสือกลัวหมา
หลวงตาซอม เคยเลา่ เหตกุ ารณ์เมอ่ื ครัง้ ติดตามหลวงปอู่ อก
ธดุ งคไ์ ปแถบประเทศกัมพูชาใหฟ้ ังอยเู่ ร่อื งหนงึ่
หลวงตาซอมทา่ นนพ้ี �ำนกั อยปู่ ระจำ� ทวี่ ดั ส�ำโรงทาบ อำ� เภอส�ำ
โรงทาบ จังหวดั สรุ นิ ทร์
หลังจากท่ีหลวงปไู่ ด้เดนิ ธดุ งค์ไปทางเขาพระวหิ าร และไป
ทางกัมพูชา เม่ือครง้ั มีสามเณรโชติ (พระเทพสทุ ธาจารย)์ และ
สามเณรทอนติดตามไป แล้วหลวงปู่ถูกควายปา่ ไลข่ วิด แตไ่ มไ่ ด้รบั
157
อนั ตรายในครง้ั นน้ั แลว้ หลวงป่กู ลบั มาพำ� นักทว่ี ดั ปา่ หนองเสม็ด
ตามเดมิ
พอออกพรรษาอีกครง้ั หนงึ่ หลวงปกู่ อ็ อกทอ่ งธุดงค์ไปทาง
กัมพชู าอกี คร้ัง ครง้ั นีม้ ีเด็กชายซอม เปน็ ผู้ติดตาม
เด็กชายซอมมีกติ ตศิ พั ทว์ า่ มีความดอื้ ดงึ ผดิ ปกติกว่าเดก็ ทว่ั ไป
ขณะทห่ี ลวงปู่ และเดก็ ชายซอมเดนิ ทางผา่ นปา่ โปรง่ แหง่ หนงึ่ ก็ต้อง
ชะงกั ฝเี ทา้ ลง เพราะปรากฏภาพที่นา่ ต่ืนตระหนกสะทา้ นขวญั ขนึ้ ที่
ตน้ ไมใ้ หญเ่ บ้อื งหน้า
บนตน้ ไม้นั้นมีเสอื ตัวหนง่ึ หมอบนิง่ อยบู่ นกิ่งไม้ ตํ่าลงมาทีค่ า
คบไมไ้ มห่ ่างจากกนั มากนกั มหี มาปา่ ตัวหนึง่ อยูส่ งบนิง่ นยั นต์ าจอ้ ง
เขมง็ ไปทเี่ สือ สัตวท์ งั้ สองตวั ต่างจ้องคุมเชิงกันอยู่
ทัง้ อาจารย์ และศษิ ยห์ ลบอยู่ใกล้ๆ นน้ั ชนดิ ไม่ไหวตงิ สักครู่
หนึง่ หลวงป่กู ็ปลอบโยนเดก็ ชายซอมให้คลายจากความตน่ื ตกใจกลวั
เพราะเมื่อหลวงปสู่ ังเกตพิจารณาดโู ดยละเอยี ดถถ่ี ว้ นแล้ว ก็
นึกสงสัยวา่ เหตใุ ดสตั ว์รา้ ยสองตวั น้ีจงึ มาจ้องคมุ เชงิ กันอยู่ด้วยอาการ
นง่ิ เงียบไมไ่ หวติงเลย
แทนทีเ่ จ้าสนุ ัขป่าจะวิ่งหนี และเจา้ เสอื จะไล่ตะครบุ มาเป็น
ภกั ษาหารก็เปลา่ เมื่อสงั เกตดูดแี ลว้ ท่านจงึ พาเดก็ ชายซอมค่อยๆ
แอบไปดูใกลๆ้ ทา่ นชี้ให้เด็กชายดวู ่า เจ้าเสอื ทหี่ มอบน่งิ บนก่งิ ไมน้ ั้น
แสดงท่าทางตระหนกตกใจอยา่ งมาก ขนชชู ัน และหางของมันหลุบ
ซุกอยู่ท่กี น้ แสดงอาการกลัวชนดิ ขวญั หนดี ฝี อ่ ให้เห็นราวกบั วา่ คงไม่
คดิ จะสู้กับหมาป่าตัวนน้ั อีกแลว้
ส่วนเจา้ หมาป่าที่อยู่คาคบขา้ งลา่ งนนั้ มอี าการสงบนิ่ง อย่ใู น
ทา่ กระโจนตาจอ้ งเปง๋ อยทู่ เ่ี สือตัวน้นั อยา่ งไม่กระพริบ สว่ นคอของมนั
ขัดอย่กู ับงา่ มก่งิ ไม้ท่ีอยูส่ ูงถดั ขึ้นไป เมือ่ พิจารณาอย่างถว้ นถ่เี ห็นว่า
มนั น่าจะตายสนทิ
หลวงป่พู จิ ารณาดูพนื้ ดนิ และบรเิ วณรอบๆ ทา่ นก็สนั นษิ ฐาน
ได้ว่า เมอื่ คืนนีข้ ณะที่เจา้ เสือออกทอ่ งเท่ยี วหาอาหารอยตู่ ามลำ� พัง ก็
158
ประจันหน้าเข้ากับฝูงสนุ ขั ป่าทันที ฝงู สุนขั ป่าทด่ี รุ ้ายกว็ ิ่งไล่ลอ้ มขยำ�้
กดั อยา่ งชลุ มนุ วนุ่ วาย เจา้ เสอื กค็ งสสู้ ดุ ฤทธ์ิ แตด่ ว้ ยสุนขั ปา่ มหี ลาย
ตัว เสอื จงึ สู้ไมไ่ ด้ต้องหนเี อาตัวรอดชนดิ ขวัญหนีดีฝอ่
เสอื คงจะสูพ้ ลางหนพี ลาง พอมาถงึ ตน้ ไมน้ พ้ี อดเี สือก็กระโจน
ขน้ึ ไปหอบลิ้นห้อยอยู่บนน้นั ส่วนฝงู สุนัขป่าคงหอ้ มล้อมกนั อยใู่ ต้
ตน้ ไม้ชนดิ ไมย่ อมลดละ ต่างเหา่ กรรโชกใส่ ท�ำใหเ้ สือตระหนกตกใจ
มากยงิ่ ขนึ้ ต่างตวั กพ็ ยายามกระโจนขน้ึ งับ
เจา้ ตวั ที่ตายอยู่บนคาคบไมน้ น้ั อาจจะเป็นจา่ ฝงู กไ็ ด้ ดทู า่ จะ
กระโจนได้สูงกวา่ เพ่ือน แตเ่ คราะหร์ ้ายทีม่ นั กระโจนพรวดเข้าไปใน
งา่ มก่ิงไมพ้ อดี ในจังหวะท่มี นั ร่วงลงมา สว่ นศรษี ะจงึ ถูกงา่ มกง่ิ ขดั
เอาไว้ กระชากกระดกู กา้ นคอใหห้ ลดุ จากกนั ถึงกบั ตายทนั ที โดยท่ี
ตาทัง้ คทู่ ีฉ่ ายแววดรุ า้ ยกระหายเลอื ด ยังจ้องเปง๋ อยูท่ เ่ี สอื ตวั น้ันอยา่ ง
ชนิดมุ่งรา้ ยหมายขวัญ
ทำ� ให้เสือท่ีเข็ดเขยี้ วมาตั้งแตเ่ มอื่ คืน ไมก่ ล้าขยับเขยอื้ นหลบ
หนไี ปจากต้นไมน้ ั้น เพราะเกดิ อาการขวญั กระเจิง
เด็กชายซอมฟงั คำ� สนั นิษฐานจากหลวงปู่ ก็เข้าใจตามน้นั และ
หัวเราะออกมาเมอ่ื เหน็ ทา่ ทางอนั ขบขนั ของเสือ
หลวงปู่ให้เด็กชายซอมหากงิ่ ไม้มาแหย่ดนั ใหห้ มาป่าหลดุ จาก
ง่ามกิ่งไมต้ กลงมายังพ้นื แล้วช่วยกนั ตะเพดิ ไลเ่ จ้าเสอื ใหห้ ลบหนีไป
เม่อื เสอื เห็นเจา้ หมาป่าหล่นไปกองอยู่ทพี่ ้ืน ไมม่ าจ้องขมึงทึง
จะกินเลอื ดกนิ เนือ้ อย่อู กี มันกร็ ีบกระโจนพรวดหลบลงไปอกี ดา้ นหน่งึ
แล้วเผ่นหนีไปอยา่ งรวดเร็ว
ผูพ้ ิชติ งจู งอาง
บรรดาสตั ว์ป่าที่ดุร้ายทง้ั ปวง ว่ากันว่า เสอื นับเปน็ เจ้าปา่
เพราะแข็งแรงวอ่ งไว มเี ข้ียวเลบ็ แหลมคม และพลงั มหาศาล ยากที่
สัตวอ์ ่นื จะต้านทานไหว เว้นแตว่ า่ สัตว์อืน่ จะมากนั เปน็ ฝงู อยา่ งพวก
159
สุนัขปา่ ดังกล่าวแลว้
ส�ำหรบั ช้าง ถือว่าเปน็ สตั ว์ท่ีมีรูปรา่ งใหญ่โตทสี่ ุด มพี ละกำ� ลงั
มากท่สี ดุ แต่ทง้ั เสอื และชา้ งจะหลบหนีทันที เม่ือเจองูจงอาง เพราะ
งูจงอางน้ันมพี ิษรา้ ยแรงมาก สัตว์ใหญ่ๆ ขนาดชา้ งถกู งจู งอางฉกที
เดียวเทา่ น้ัน ชว่ั เวลาอดึ ใจเดยี ว กล็ ้มลงขาดใจตายทันที
แตว่ า่ ทุกส่งิ ทุกอยา่ งในโลกน้ยี อ่ มมีของขม่ กนั อยูโ่ ดยธรรมชาติ
เราอาจเคยได้ยนิ ค�ำพูดทีว่ ่า “ไก่กลัวหมู หมูกลวั ตะขาบ และตะขาบ
กลวั ไก”่ ดงั น้เี ป็นตน้
ถา้ เชน่ น้ัน ใครละ่ จะสามารถพชิ ติ งูจงอางได้ ?
หลวงปู่ และหลวงตาซอม ได้เคยเผชญิ กับงจู งอางมาแล้ว
และสามารถให้ค�ำตอบในเร่อื งนไ้ี ด้
ในระหวา่ งท่ีหลวงปกู่ บั เด็กชายซอมทอ่ งธุดงคก์ มั มัฏฐานอยใู่ น
ปา่ แถบชายแดนประเทศกัมพชู าในช่วงนั้นเอง ปา่ แถบนั้นเปน็ ป่าดง
ดิบ รกชฏั หาบา้ นผคู้ นอาศัยอยไู่ ดย้ ากชุกชุมไปดว้ ยสตั วป์ ่านานาชนดิ
สตั วป์ ่าท่เี คยชกุ ชมุ ตามชายแดนไทย ทนตอ่ การตามลา่ ตาม
ล้างเองชีวิตของคนไทยไมไ่ หว กห็ ลบหนมี ารวมกนั ในแดนกัมพชู า
จึงมีสัตว์อยอู่ ยา่ งชุกชุม
หลวงปู่ และเดก็ ชายซอมรู้สกึ เมอ่ื ยลา้ ดว้ ยเดนิ ทางมาไกล
จึงแวะพกั ผ่อนทีก่ ้อนหนิ ใหญ่ปลายเนินแหง่ หนงึ่
ขณะนัน้ แลเห็นสตั ว์เลก็ สตั ว์นอ้ ยแตกต่นื กลัวภยั อย่างใดอยา่ ง
หนง่ึ หลวงป่จู งึ พาเด็กชายซอมไปหลบในทีท่ ีเ่ หมาะ บอกวา่ คงจะ
ตอ้ งมสี ตั ว์ร้ายอะไรสักอย่างผา่ นมาแน่ๆ พวกสัตว์พวกนจ้ี งึ ดตู น่ื ตกใจ
เช่นน้ี
สักคร่หู นงึ่ ปรากฏรา่ งด�ำมะเม่ือม ละเล่ือมมนั ของงูจงอาง
ขนาดใหญ่ตัวหน่ึงเลอื้ ยปราดๆ มาอย่างรวดเร็ว ผา่ นพ้นหลวงปไู่ ป
ในพริบตา
หลวงปบู่ อกว่างูจงอาจตวั น้ไี ม่ไดไ้ ลท่ ำ� รา้ ยสัตวอ์ ่ืนอย่าง
แนน่ อน เพราะไมเ่ ห็นมนั ไล่สัตวอ์ ะไร
160
ตามธรรมชาตมิ นั จะเลื้อยอย่างแชม่ ช้า ตามวิสยั ของงูทม่ี พี ิษ
ท่ีหยิง่ ทรนงในความร้ายกาจแหง่ พษิ ของตน
แตเ่ มือ่ มันเล้อื ยเรว็ อย่างน้ี แสดงวา่ มันจะต้องหนอี ะไรมา
อยา่ งแน่นอน
หลวงป่บู อกวา่ ใหเ้ ด็กชายซอมคอยดูใหด้ ี ว่ามันเปน็ ตวั อะไร
กนั แน่ จงึ สามารถท�ำให้งูจงอางกลวั ได้
ไม่นานนักกป็ รากฏรา่ งผู้พิชติ งูจงอาง พอเห็นเขา้ เทา่ นน้ั เด็ก
ชายซอมถงึ กบั หวั เราะขบขันเมอ่ื เห็นร่างของผพู้ ชิ ิตน้ันมสี แี ดงมเี กราะ
หุ้มตัวเปน็ ปลอ้ งๆ เรียงซ้อนกนั ไปเปน็ แถวยาวประมาณวากวา่ ๆ มี
เทา้ สองแถวนบั เป็นร้อยๆ ค่อยโผลง่ มุ่ ง่ามออกมา ส่วนหวั ของมันกม้
ส่ายไปตามพ้ืนดนิ นัยน์ตาสองขา้ งแดงกา่ํ ดงั ทบั ทมิ สองเม็ดงาม
มันคือ ตะขาบยกั ษ์ทมี่ ีขนาดใหญ่ทีส่ ดุ เทา่ ที่เคยเหน็ มา และ
มันคอื ผูม้ อี �ำนาจ สามารถสยบงจู งอางได้
งจู งอางที่มีพษิ ร้ายกาจ เป็นท่หี วาดหวัน่ ของสตั ว์ปา่ น้อยใหญ่
ทงั้ หลาย ต้องมาพา่ ยแพ้แก่เจา้ ตะขาบยกั ษน์ ่เี อง
สักครู่หน่ึงเมือ่ เจา้ ตะขาบยักษ์จบั ระหัสร่องรอยของงจู งอางได้
มนั ก็ค่อยๆ เคล่อื นขบวนอันยาวของมนั งุม่ งา่ มๆ ต่อไป
จากน้ัน หลวงปู่ก็สอนเดก็ ชายซอมผู้เพ่งิ หายจากอาการ
ตระหนกตกใจวา่ ทกุ อยา่ งในโลกยอ่ มมีของแกข้ องข่มกันอยู่ ย่งิ ใหญ่
เยีย่ งพญางู กย็ งั สยบได้ด้วยพญาตะขาบ
ดังนั้น บคุ คลผู้มปี ญั ญาแม้มีอำ� นาจในโลก กไ็ ม่พึงมัวเมา
ผยองหยง่ิ วา่ หาผเู้ สมอเหมือนตนมไิ ด้
ส่วนผทู้ ีป่ ระสบภัยพบิ ัติ หรอื ตกอยู่ในสภาวะอบั จน กไ็ ม่ควร
หมดอาลยั ตายอยาก ควรทำ� จิตใจใหส้ งบระงบั ต้งั มัน่ อยู่ กจ็ ะค่อยๆ
หาทางออกให้แก่ตนได้ เพราะปัญหาทุกอย่างทีไ่ มม่ ีทางออกทางแก้
ย่อมไม่มีในโลก
ดเู อาเถอะว่า แม้แตป่ ญั หาเร่ืองความทุกข์ อันเกิดจากความ
เกิด แก่ เจบ็ ตาย พระพุทธองคก์ ย็ ังหาค�ำตอบไวใ้ ห้ได้ส�ำหรบั ปัญหา
161
อ่ืนๆ อันเล็กนอ้ ยจะไมม่ คี �ำตอบได้อยา่ งไร
จิตเสมอกนั
ต่อเนือ่ งกบั เร่ือง ผพู้ ชิ ติ งจู งอาง หลวงปู่ก็ให้การอบรมสงั่
สอนเด็กชายซอมต่อไปวา่
“สตั ว์ทง้ั หลายท้ังปวง เมื่อมีสภาวะแห่งจิตเสมอกัน ยอ่ มไม่
กระท�ำอนั ตรายแก่กัน และกัน และอาจส่ือสารสนทนากนั ได้สามารถ
เข้าอกเขา้ ใจกนั ได้”
ยกตวั อยา่ งเช่น สตั ว์ท่ีตกอยใู่ นสภาวะแหง่ ความกลวั ตอ่ สิง่
เดยี วกัน ก็สามารถวง่ิ หนีภัยไปดว้ ยกนั หรอื ไปชมุ นมุ อยใู่ นท่ีแหง่
เดยี วกันเมื่อเผชิญกบั น�ำ้ ป่าหรือไฟปา่ เปน็ ตน้
บางครงั้ เราจะเห็นเสือเดินผา่ นฝูงสตั ว์ตา่ งๆ ไปอย่างปกติ
ธรรมดา และสัตวเ์ หล่านน้ั เมือ่ เหลอื บเห็นเสือกม็ ิได้แตกต่นื หนี
เพราะมนั รูว้ า่ เสือได้อาหารอิ่มทอ้ งสบายใจแลว้
สัตว์เดรจั ฉานเหล่าน้ี จะมีจติ กำ� เริบเปน็ อนั ตรายต่อกนั และ
กันกต็ ่อเมอ่ื มคี วามหวิ โหย และปรารถนาความอยู่รอดแกต่ นแย่งชิง
ถิ่นท่อี ยู่ และเกดิ คลมุ้ คลัง่ ในสมยั ฤดูกาลสบื พันธุเ์ ท่านั้น
มนษุ ย์ต่างหากทม่ี ีความดุร้าย เป็นอันตรายตอ่ กนั และกนั ได้
มากกว่า
การอยู่ในป่าจงึ นับวา่ สามารถหลบหลีกอนั ตราย ซึ่งเป็นไป
อยา่ งเปดิ เผยได้ง่ายกว่าการอยูใ่ นบา้ นในเมือง
เพราะในสงั คมมนุษยน์ ้ัน นอกจากจะมกี ารมุ่งรา้ ยหมายขวญั
กันอยา่ งเปิดเผยแลว้ การประทษุ รา้ ยกันอย่างลับๆ ก็ยังเปน็ ไปอยู่
ตลอดเวลา ดว้ ยวิธกี ารสารพัดวธิ ี
อนึ่ง หลวงปเู่ คยส่ังสอนพระเณรว่าเม่อื อยใู่ นปา่ และประจญั
หนา้ กบั งจู งอาง งตู กใจแลน่ ไลจ่ ะทำ� อนั ตรายแก่เรา อย่าได้วงิ่ หนี
ตรงๆ ในทิศทางใดทศิ ทางหนงึ่ ใหว้ ิง่ หลบหักซ้ายบ้างขวาบ้าง งูจะ
162
เขา้ ถงึ ตัวได้ชา้ หรือไมก่ จ็ ะเลกิ ความมุ่งร้ายไปในท่ีสุด
เมอื่ มันยังไลต่ ามอยู่ ให้แก้ไขโดยเอาส่ิงของอย่างใดอยา่ งหนงึ่ เช่นผ้า
ขาวมา้ หรอื อะไรก็ตามโยนทิง้ ไว้ข้างหลงั มนั จะพุ่งเข้าฉกพัวพันอยู่
กบั ของส่งิ นั้น เลิกลม้ การไล่ติดตามเราอย่างสิ้นเชงิ ก็จะทำ� ให้รอดพน้
อนั ตรายไปได้
แบบฉบบั การเดนิ ธุดงค์
ตามธรรมเนยี มถือปฏิบัตใิ นการเดินธดุ งคก์ มั มัฏฐานนัน้ เมือ่
เดนิ ไปเร่ือยๆ จนถงึ หมู่บ้านหนง่ึ ในระยะเวลาบา่ ยมากแล้ว ถา้ ขืน
เดินทางตอ่ ไปจะตอ้ งคา่ํ มดื กลางทางแน่ พระธุดงค์ก็จะกำ� หนดเอา
หมูบ่ า้ นที่มาถึงในเวลาบา่ ยมากน้นั เปน็ ท่เี ทย่ี วภกิ ขาจารหาอาหารใน
เชา้ วันร่งุ ขน้ึ
ครน้ั ไดร้ ะยะห่างจากหมบู่ า้ นประมาณ ๕๐๐ ช่วงคนั ธนู หรือ
ประมาณ ๑ กโิ ลเมตร ตามท่ีพระวนิ ยั ก�ำหนดแล้วก็จะแสวงหาร่มไม้
หรือสถานทสี่ มควรปกั กลด กำ� หนดเป็นทพ่ี ำ� นักภาวนาในคนื นน้ั
พอรุ่งเช้า กจ็ ะย้อนเข้าในหมู่บ้านเพ่อื บิณฑบาต ชาวบ้านทร่ี ู้
ขา่ วต้ังแต่เม่ือวานก็นำ� อาหารมาใส่บาตรตามกำ� ลังศรัทธา และกำ� ลัง
ความสามารถ
ครนั้ กลับถึงที่พักปกั กลด กท็ �ำการพิจารณาฉนั ภัตตาหาร
เสรจ็ แล้วจงึ เดินทางตอ่ ไป ยกเวน้ แตจ่ ะกำ� หนดสถานทนี่ นั้ พกั ภาวนา
มากกวา่ ๑ คืนกจ็ ะอยู่บำ� เพ็ญภาวนา ณ สถานทแ่ี ห่งน้นั ตอ่ ไป
ชาวบา้ นท่สี นใจ กอ็ าจจะติดตามมาฟงั พระธรรมเทศนา และ
แนวทางปฏบิ ัติในตอนค่าํ บ้าง ในตอนเช้าหลังการบณิ ฑบาตบา้ ง
เมอื่ เป็นเชน่ นี้ พระธุดงคก์ จ็ ะถามชาวบ้านถงึ เส้นทางที่จะเดิน
ทางต่อไป เพื่อจะไดส้ ามารถก�ำหนดเสน้ ทาง และกำ� หนดหมู่บา้ นอัน
เป็นทีส่ มควรแก่การเทย่ี วภิกขาจารในวันต่อๆ ไปได้
เปน็ การเดินธดุ งค์ไปตามเสน้ ทางธรรมดาของพระธุดงค์แท้
163
พระธุดงคจ์ ริงตามแบบอย่างที่ พระอาจารย์ใหญม่ น่ั ภรู ทิ ฺตโต และ
บรรดาสานศุ ษิ ย์ได้ถือปฏิบตั กิ ันมา
สำ� หรับการปักกลดน้ัน ในทางปฏบิ ตั กิ ็ตอ้ งเอามุง้ กลดแขวนไว้
กบั เส้นเชือกท่ผี กู ตรงึ กบั ต้นไม้ ไม่ใช่ปกั ไว้กบั พืน้ ดิน เพราะการขุดดิน
หรือทำ� ให้ดนิ เสยี ปรกติสภาพของมนั ไปเปน็ การอาบัติโทษอย่างหน่ึง
ขอ้ ปฏิบตั ทิ ถี่ ือเปน็ ธรรมเนียมประการต่อไป คอื จะไปเทยี่ วปกั
กลดในหมูบ่ า้ นในสถานท่ีราชการ ใกลเ้ ส้นทางคมนาคมเชน่ รมิ ถนน
ริมทางรถไฟหรือที่มคี นพลุกพล่านผา่ นไปมา อยา่ งนั้นไมส่ มควร
สถานทพ่ี ำ� นกั ปกั กลดควรเปน็ ที่สงบวิเวก เหมาะแกก่ าร
บำ� เพญ็ เพยี ร เช่นในป่า ภูเขา ถา้ํ โคนไม้ เรอื นรา้ ง หรือป่าชา้
เป็นต้น
ถ้ามีพระ เณร หรือฆราวาสที่รว่ มเดนิ ทางดว้ ย แตล่ ะคนก็
แยกกนั ไปปกั กลดหา่ งกันพอสมควร เพ่ือไมใ่ ห้การปฏบิ ัติภาวนามกี าร
รบกวนกัน ไมใ่ ช่ปกั กลดอยเู่ ป็นกลุม่ ใกล้ชิดตดิ กัน
อยา่ งไรก็ดีการเดนิ ธุดงคต์ ามแบบดังกลา่ ว ถอื เป็นธรรมเนยี ม
หรือแบบฉบบั ทีค่ รบู าอาจารย์สายกมั มัฏฐานอบรมสงั่ สอน และพา
กันปฏบิ ตั สิ ืบต่อกันมา
ในยุคหลังๆ ในสมัยปจั จบุ นั จะเหน็ การเดนิ ธุดงคไ์ ปเปน็ คณะ
ใหญ่ๆ มกี ารโฆษณาประชาสมั พันธ์ให้ญาติโยมทราบ และเชิญชวน
มาร่วมทำ� บญุ ตลอดถงึ การน่งั รถไฟ รถทัวร์ ไปธดุ งค์ก็มี ที่ทันสมยั
กวา่ นั้นกจ็ ดั ธุดงคเ์ ปน็ คณะข้นึ เคร่อื งบินไปธุดงคท์ ่ตี ่างประเทศ เชน่
ฮอ่ งกง โตเกียว ปารีส ออสเตรเลยี หรอื ดสิ นียแ์ ลนด์ เป็นต้น จัด
เป็นการประยกุ ต์ หรือวิวฒั นาการของการธุดงคไ์ ปตามยคุ สมัย หรอื
อย่างไรกไ็ มท่ ราบ
164
หลงปา่ – อดอาหาร
ในชว่ งทห่ี ลวงปู่ดลู ย์ ยังไมไ่ ดพ้ ำ� นกั ประจำ� ท่วี ดั บรู พารามน้นั
ในระหวา่ งท่ีอยูส่ รุ นิ ทร์ทา่ นนิยมพาลูกศิษย์ลกู หาเดินธุดงค์ทอ่ งเทย่ี ว
ไปในป่าดงดบิ แถบชายแดนกัมพูชา ในบริเวณเขตตอ่ เน่ืองกับจงั หวัด
สรุ ินทร์ และศรีสะเกษถอื เปน็ ท่ีเหมาะแกก่ ารหลีกเรน้ จากหมคู่ ณะ
ตามแบบอย่างของพระธดุ งค์
ในปา่ แถบนี้ มผี อู้ าศยั อย่นู อ้ ย จงึ ลำ� บากตอ่ การแสวงหา
อาหารบณิ ฑบาต กว่าจะไปพบหยอ่ มบา้ นแตล่ ะแหง่ แหง่ ละหลังสอง
หลัง ตอ้ งใชเ้ วลาเดนิ ทางเปน็ วัน สองวนั หรอื มากกว่านน้ั
การอดอาหารของหลวงปู่ และลูกศษิ ย์จึงเปน็ เรือ่ งธรรมดาท่ี
หลีกเลีย่ งไมไ่ ด้ บางคร้งั ตอ้ งอดติดตอ่ กนั หลายวันกม็ ี
แตไ่ มเ่ คยได้ยินหลวงปพู่ ูด หรือเล่าว่าไดอ้ าศัยพวกอทิสสมาน
กายหรอื พวกทีร่ ูปกายไม่ปรากฏ เช่น เทพเทวดา หรอื ภูตผปี ีศาจ
ต่างๆ เอาอาหารมาถวาย อะไรทำ� นองน้ี
ทา่ นบอกแตเ่ พยี งวา่ “ก็อดทนไปในระยะสองสามวนั ร่างกาย
ยังไม่เดอื ดรอ้ น” หรือไม่กพ็ ดู วา่ “ด่มื แตน่ ้ํากส็ ามารถอยู่ได้ เดนิ ทาง
ตอ่ ไปได”้ อย่างน้เี ท่านน้ั
ท่านหลวงตาซอม เลา่ วา่ คร้ังหนงึ่ ไปกับหลวงปู่ เกดิ หลง
ทางในป่าอดอาหารเสยี แทบแย่ ตกกลางคนื ก็ตอ้ งนอนค้างอา้ งแรม
กันกลางปา่ ท้ังหวิ ท้ังกลัว
ส่วนหลวงปู่นัน้ นอกจากท่าทางท่ดี อู ดิ โรยเล็กน้อยแลว้ ทา่ นก็
ยังเปน็ ปกตเิ ฉยอยู่
พอร่งุ เชา้ ในขณะท่เี ดก็ ชายซอมรู้สึกหมดอาลยั ตายอยากแล้ว
คดิ วา่ ในวันน้นั จะต้องอดขา้ วต่อไปอกี เป็นแน่เพราะไมมี่ว่ีแววจะมผี คู้ น
หรือหม่บู ้านแถวนนั้ เลย ผลหมากรากไม้ท่ีเดก็ ชายอย่างทา่ นจะกนิ กนั
ตายก็ไม่มี
ทนั ใดน้ัน ดหู ลวงป่มู ที ่าทางกระปรก้ี ระเปร่า บอกวา่ “ไมต่ ้อง
165
กลวั อดแลว้ ได้ข้าวกินแนว่ ันน้ี”
เด็กชายซอมไมเ่ ชอ่ื หตู ัวเองวา่ หลวงปู่จะพูดอย่างนน้ั จรงิ จน
หลวงปู่ต้องยา้ํ อกี ที จงึ ค่อยร้สู กึ ว่ามีความหวงั ขนึ้ คอ่ ยมีก�ำลงั เดิน
ตามหลวงปตู่ ่อไป
หลวงปูเ่ ดนิ นำ� ลิว่ บกุ ปา่ ดงออกไปอีกด้านหนึ่งอย่างไม่รงั้ รอ
เด็กชายซอมเร่งฝีเทา้ ติดตามหลวงปอู่ ย่างไม่ลดละ แต่รสู้ ึกว่าย่ิงบกุ
ป่าไปนานเทา่ ไรกย็ ังเป็นป่าทึบเหมือนเดิม จึงลงความเหน็ ให้กับ
ตนเองวา่ “หลวงปูค่ งจะพดู ใหก้ ำ� ลงั ใจ เพ่อื จะไดม้ ีแรงเดนิ นนั่ เอง”
คดิ ดงั นี้แลว้ กเ็ ปน็ อนั วา่ แขง้ ขาไมม่ ีแรงเดิน แทบจะลม้ พบั ลง
ไป แต่ก็ต้องพยายามแข็งใจ ลากขาตามหลวงปู่ไปแบบหมดอาลยั
ตายอยาก
หลังจากนน้ั ไม่นานนกั หลวงปกู่ เ็ ดนิ นำ� ล่วิ ไปอยา่ งรวดเรว็
ก้าวพรวดพน้ ดงทบึ ออกไปยนื นิ่งอยู่ เดก็ ชายซอมชกั สงสัย รีบเร่ง
ฝเี ทา้ กระโจนออกไปยืนข้างๆ หลวงปู่
แทบไม่เชอื่ สายตาตนเอง ภาพท่ีปรากฏเบอื้ งหน้านัน้ หลวง
ตาซอมเลา่ ว่า “เปน็ ภาพกระท่อมนอ้ ย มงุ หญา้ เก่าคร่ําคร่า แตม่ ี
ความสวยงามที่สดุ สงา่ ยิ่งกวา่ ปราสาทราชวังเสยี อกี ”
ครนั้ ไดข้ า้ วไดน้ ํา้ เป็นท่สี ำ� ราญพอสมควรแล้ว จิตของเด็กชาย
ซอมกเ็ ริม่ ถกู ส่งออกนอกตามความเคยชิน สงสัยเสยี จริงๆ วา่ หลวง
ปู่รไู้ ด้อยา่ งไรว่ามีบา้ นอยตู่ รงน้ี จึงไดม้ ่ันใจว่าวันนี้มีขา้ วกนิ แน่ และน�ำ
ลิ่วมาถกู ทางเสยี ด้วย
เมื่อทนอัดอน้ั อยไู่ มไ่ หว จึงเรียนถามท่าน
หลวงปบู่ อกว่าท่านเดนิ ป่ามามาก ก็มีประสบการณ์ รู้จกั
สังเกตสังกา และอนุมานเอาได้ ขอใหพ้ ยายามฝึกฝนตอ่ ไป บม่ นิสัย
ตนเองใหร้ ู้จักสงั เกตมากข้ึนก็จะรู้ได้เอง
จงึ เป็นอนั ว่าหลวงตาซอมได้ค�ำตอบจากหลวงปู่มาเพียงเทา่ นี้
166
หลวงปูพ่ ดู ถงึ พระอาจารยใ์ หญ่
ลกู ศษิ ย์ลูกหาท่วี ดั บรู พารามเคยกราบเรยี นหลวงป่ดู ลุ ย์ อตโุ ล
เก่ยี วกบั เร่อื งราวของทา่ นพระอาจารย์ใหญ่ คือ หลวงปูม่ัน ภูรทิ ตฺโต
ซ่งึ หลวงปูก่ ็ไดเ้ ลา่ ใหฟ้ งั ในอกี แงม่ ุมหนงึ่ ทีอ่ าจแตกตา่ งจากท่เี คยได้ยิน
ไดฟ้ ัง ได้อา่ นพบในทต่ี ่างๆ ไปบา้ ง เหน็ ว่านา่ จะน�ำมาบันทึกรวมไว้
เพอ่ื ประโยชนแ์ ก่ผสู้ นใจดว้ ย
ครั้งนั้น ผเู้ ขยี น (พระโพธนิ นั ทมนุ )ี ไดก้ ราบเรยี นถามหลวงปู่
ว่า “ได้อ่านประวตั ิ ท่านพระอาจารย์มนั่ ทีม่ ผี ้เู ขยี นไว้อย่างพสิ ดาร
มสี ่งิ เรน้ ลบั เหนอื วิสยั และอภินหิ ารบางอย่างอยู่ในนน้ั มากมาย
หลวงป่เู คยอ่านบา้ งไหม และมีความเหน็ อยา่ งไร?”
หลวงปตู่ อบว่า “เคยอ่านเหมอื นกัน แตเ่ มือ่ สมยั ท่เี ราอยูก่ บั
ท่านนน้ั ไมเ่ คยไดย้ ินทา่ นพูดสงิ่ เหลา่ นี้ใหฟ้ งั เลย แตถ่ ้าจะพดู ในแง่
ธดุ งคแ์ ลว้ ท่านอาจารยใ์ หญ่จะถือธุดงคอ์ ย่างเครง่ ครดั ทส่ี ดุ ยนื ยัน
ไดเ้ ลยว่า ลูกศษิ ย์ของทา่ นทัง้ หมด ยังไมม่ ผี ใู้ ดถอื ได้เท่าเทียมกบั ทา่ น
อาจารย์ใหญเ่ ลยแมแ้ ตอ่ งค์เดียว”
แล้วหลวงปู่กเ็ ล่าตอ่ วา่ ทา่ นพระปรมาจารย์ หรือทา่ นอาจารย์
ใหญข่ องหลวงปนู่ ้นั จะไมย่ อมใชผ้ ้าสบงจวี รสำ� เรจ็ รปู หรอื คหบดี
จีวร ทมี่ ีผซู้ ื้อจากทอ้ งตลาดมาถวายเลย นอกจากไดผ้ า้ มาเอง แลว้
มาตัดเย็บย้อมเองทั้งหมดจงึ ใช้ และไม่เคยดำ� รหิ รอื รเิ ริ่มให้ใครคนใด
คนหน่งึ สรา้ งวดั สร้างวาเลย มีแต่สญั จรไปเร่อื ยๆ เม่อื เหน็ วา่ ป่าตรง
ไหนเหมาะสมท่านกอ็ ยู่ เรม่ิ ด้วยการปักกลดแล้วท�ำทส่ี ำ� หรับเดนิ
จงกรม
สว่ นญาติโยมผูม้ ีศรทั ธาเล่อื มใสเมือ่ มาพบ และมองเหน็ ความ
เหมาะสมส�ำคัญ กจ็ ะสรา้ งกฏุ นิ ้อย สรา้ งศาลาชว่ั คราวถวายทา่ น
นอกจากนั้น สถานทน่ี ้นั กก็ ลายเปน็ วดั ป่าเจริญร่งุ เรอื งตอ่ มา
ย่งิ กวา่ นนั้ แมแ้ ต่การรับกฐินทา่ นกไ็ ม่เคย สมัยต่อมาน้ันไม่
ทราบ และท่านไม่เคยถือเอาประโยชนท์ ไี่ ดร้ บั อานิสงสพ์ รรษาตาม
167
พระพทุ ธบญั ญตั ิ ท่ใี หส้ ทิ ธิพเิ ศษแกภ่ ิกษุสงฆ์ทอี่ ยู่จำ� พรรษาตลอด ๓
เดอื น ได้รับการยกเวน้ บางอย่างในการปฏิบัติ
ทา่ นจะถือตามสิกขาบทโดยตลอด ไม่เคยยกเว้น ถอื เปน็
หน้าทีท่ ี่จะต้องปฏบิ ัติตามกฎของธดุ งควตั รโดยสม่าํ เสมอ
ดา้ นอาหารการฉันกเ็ ช่นเดยี วกนั ท่านถอื การบิณฑบาตโปรด
สัตวเ์ ป็นประจ�ำไม่เคยขาด แม้จะเจบ็ ไข้ไดป้ ่วย แต่พอเดนิ ไดท้ ่านก็
เดนิ จนกระทั่งในทสี่ ดุ เมอ่ื เดินไปบณิ ฑบาตไมไ่ ด้ ท่านก็ลกุ ข้นึ ยนื
แล้วอมุ้ บาตร ศษิ ยานศุ ษิ ย์ทก่ี ลับมาจากบิณฑบาต และญาติโยมกม็ า
ใส่บาตรใหท้ า่ น แลว้ ท่านกจ็ ะขบฉันเฉพาะอาหารทีอ่ ย่ใู นบาตรเทา่ นัน้
แมเ้ มอื่ เวลาทา่ นชราภาพมากแลว้ เวลาท่านเจบ็ ไข้ หรอื ปว่ ย
มากจนไมอ่ าจเดินออกนอกวัดได้ ก็ทราบว่าทา่ นเปน็ อยอู่ ยา่ งน้ี และ
ยงั ฉนั อาหารม้อื เดียวตลอด
แม้แต่หยูกยาคิลานเภสัชต่างๆ ท่ใี ช้ในยามเจบ็ ไข้ ท่าน
อาจารย์ใหญก่ ็ไม่นยิ มใชย้ าส�ำเรจ็ รูป หรอื แม้แต่ยาต�ำราหลวง หาก
แตพ่ ยายามใช้สมนุ ไพรตวั ยาต่างๆ มาท�ำเอง ผสมเองเป็นประจ�ำ
แมแ้ ต่การเขา้ ไปพกั ตามวัดก็นยิ มพักทีว่ ดั ป่า จำ� ได้ว่าไมเ่ คย
เข้าไปอยใู่ นวัดบา้ นเลย แตจ่ ะอยวู่ ดั ท่ีเป็นปา่ หรอื ชายปา่ เมื่อไม่มวี ัด
เช่นนอี้ ยู่ ทา่ นจะหลกี เรน้ อย่ตู ามชายปา่ แม้ว่าจะมคี วามจำ� เปน็ เวลา
เดนิ ทางก็ยากนักทจ่ี ะเข้าไปอาศยั วดั วาในบ้าน
ครงั้ หน่งึ หลวงปไู่ ด้เลา่ ถึงค�ำสอนของท่านพระอาจารยใ์ หญ่
เกย่ี วกบั การขบฉันภัตตาหารได้ว่า
“ทา่ นอาจารยใ์ หญ่สงั่ สอนไวว้ า่ การฉันอาหารต้องฉันอย่าง
ประหยดั มสี ติสัมปชญั ญะ เพือ่ ขัดเกลาจติ ใจมิใหเ้ กิดความโลภ
วิธีการฉนั น้นั เม่อื รับข้าวสุกมากะว่าพออ่ิมส�ำหรับตนแล้ว ให้
แบง่ ข้าวสกุ ท่ีตนพออม่ิ นัน้ ออกเป็น ๔ สว่ น เอาออกเสียสว่ นหน่ึง
แล้วจงึ รับเอากบั ข้าวมาในปริมาณที่เทา่ กบั สว่ นหนึ่งทีเ่ อาออกไป
กล่าวคอื ใหม้ ขี า้ ว ๓ สว่ น กบั ขา้ ว ๑ สว่ น แลว้ จึงลงมือฉนั ท่าน
อาจารยใ์ หญ่เอง กจ็ ะฉันภตั ตาหารในลักษณะเช่นนี้โดยตลอด
168
เมอ่ื มผี ใู้ ดตระเตรยี มภตั ตาหารในบาตรถวายทา่ น ทา่ นอาจารย์
ใหญก่ จ็ ะแนะนำ� ใหจ้ ดั แจงมาในลกั ษณะเชน่ นี้ แลว้ ทา่ นจงึ ฉนั ”
นี่คอื ปฏิปทาสว่ นตัวของทา่ นพระอาจารย์ใหญ่ ทา่ นหลวงปู่
ม่ัน ภูริทตฺโต ตามท่หี ลวงป่เู ล่าใหฟ้ ัง ซ่ึงหลวงปู่จะพดู ถงึ แตใ่ นแงท่ ่ี
ท่านถือธดุ งค์ ในแงท่ ท่ี ่านเครง่ ครัดอย่างไร เพือ่ ใหผ้ สู้ นใจซกั ถามนน้ั
ไดถ้ อื เป็นแบบแผนเยี่ยงอย่าง
สว่ นคณุ ธรรมดา้ นอน่ื ๆ น้นั หลวงป่เู คยกลา่ วในแวดวงนัก
ปฏบิ ัติวา่ “ท่านอาจารย์ใหญเ่ ปน็ ผ้ทู ีม่ ญี าณใหญ่ ไมม่ ีใครเทยี บเท่า
ได”้ ดังน้ีเทา่ นน้ั ส่วนคุณวเิ ศษหรืออภญิ ญาใดๆ ท่ีมีในตวั พระ
อาจารยใ์ หญ่มน่ั นั้น หลวงปูไ่ มเ่ คยพูดถงึ เลย
พูดถึงครูบาอาจารย์องค์อ่นื ๆ
นอกจากพระอาจารยใ์ หญม่ ่นั ภรู ิทตฺโต แลว้ เม่ือพูดถึงครบู า
อาจารย์อ่นื ๆ ก็ทำ� นองเดียวกนั แม้ว่าในบางคร้งั จะมีพระอาจารย์
องค์ใดองคห์ น่งึ ตอบค�ำถามของผู้สนใจใคร่รู้ วา่ องค์โนน้ มคี ณุ พิเศษ
อยา่ งนน้ั องคน์ ้นั มอี านุภาพอยา่ งน้ี หลวงปดู่ ลุ ย์ อตโุ ล ซ่ึงอยูใ่ นท่ี
น้ันดว้ ย ก็จะตัง้ ใจรบั ฟงั
แตเ่ มือ่ ถงึ คราวทีท่ ่านจะต้องพูดถึงครูบาอาจารยอ์ งค์อ่ืนๆ
ทา่ นก็จะพูดถงึ แตป่ ฏปิ ทา จริยาวัตรอันน่าเล่อื มใสของครูบาอาจารย์
องค์นนั้ ๆ ว่าเป็นอย่างน้ันอยา่ งนีเ้ ท่านน้ั
ครง้ั หน่งึ มีผ้ถู ามหลวงปู่ถึงพระอาจารยฝ์ ้นั อาจาโร หลวงปู่
กเ็ ล่าถงึ ปฏิปทาในทางธดุ งค์กมั มัฏฐานอนั น่าศรทั ธาเลือ่ มใสของพระ
อาจารยฝ์ ัน้ แล้วเน้นวา่
“ทา่ นอาจารยฝ์ น้ั นั้นมพี ลังจิตสงู มาก น่าอัศจรรย์ในด้าน
การธุดงคก์ มั มฏั ฐาน หรอื การปฏิบตั ขิ องทา่ น ทา่ นเป็นนักตอ่ ส้แู ละ
เอาชีวติ เขา้ แลกทีเดยี วตอ่ การปฏิบตั ิ ดงั น้นั ในระยะหลงั จึงมคี น
นับถือทา่ นมาก ผู้สนใจการปฏบิ ตั ิกม็ าหาท่านมาก
169
เมือ่ มีคนมาหาทา่ นมาก ท่านมเี มตตากต็ อ้ งรบั แขกมาก คน
เหล่านั้นไม่รูห้ รอกว่าได้ท�ำความลำ� บากแกข่ นั ธข์ องทา่ นเพยี งไร
ตวั เรานถ้ี ้ามีแขกมาก หรอื ท�ำอะไรมากๆ อยา่ งทา่ นอาจารย์
ฝ้ันแล้ว กจ็ ะไม่มอี ายยุ นื นานถงึ ขนาดนีด้ อก
แตก่ เ็ ป็นธรรมดาส�ำหรับนักปฏบิ ัติระดับน้ี ท่ีจะตอ้ งเอื้อเฟือ้
ตอ่ สรรพสตั ว์ เพราะตนเองก็ไม่ห่วงสงั ขารอะไรอยู่แล้ว”
ครง้ั หนึ่ง หลวงปู่ได้พูดถงึ หลวงปูข่ าว อนาลโย แหง่ วดั ถ�ำ้
กลองเพลจงั หวัดอดุ รธานีวา่ ท่านพอจะทราบประวัติบ้างเหมือนกนั
คลา้ ยๆ ประวัตพิ ระเถระในสมัยพทุ ธกาล
หลวงปขู่ าวนน้ั มาบวชเมอ่ื มอี ายพุ อสมควรแลว้ และมคี รอบครวั
มากอ่ นทา่ นมอี าชพี เดมิ เปน็ พอ่ คา้ ขายววั ขายควาย
คร้ังหนึ่ง เดินทางตอ้ นวัวควายไปขายในท่ไี กล จะเปน็ เพราะ
มีความจำ� เป็นหรอื มีอุปสรรคอันใดไม่ทราบ ท่านหายหนา้ หายตาไป
หลายเดือนทีเดยี ว
ทีน้ีสมยั นั้น การสง่ ข่าวคราวมันไมไ่ ดร้ วดเรว็ เหมอื นสมัยน้ี
และคนมีอาชีพอย่างนี้ เมือ่ เกิดสูญหายไปไม่มรี อ่ งรอย ในสมัยนั้น
เขาสนั นษิ ฐานไว้ประการเดียว
ดงั นนั้ ภรรยาของทา่ นทางบ้านจึงคดิ ว่าทา่ นตายจากไปแลว้
กเ็ ลยมีสามีใหม่
เม่อื ท่านกลับมาทราบเรือ่ งเข้ากเ็ กดิ ความสลดสังเวชใจ จงึ
ออกบวช และมุ่งปฏบิ ตั ิธดุ งคก์ มั มัฏฐาน จนกระทัง่ เปน็ พระอาจารย์
ท่มี ีช่อื เสียงโด่งดงั
สำ� หรับหลวงปูแ่ หวน สุจิณโณ แหง่ วดั ดอยแม่ปง๋ั อ�ำเภอ
พร้าว จงั หวัดเชียงใหม่ นัน้ หลวงปเู่ คยกล่าววา่ หลวงปู่แหวนน้ีเคย
มีชื่อเสียงมาต้ังแต่ยังด�ำรงภกิ ษุภาวะอยู่ในคณะสงฆฝ์ า่ ยมหานิกาย
ครงั้ เมื่อญตั ติเปน็ ฝา่ ยธรรมยุตกิ นิกายแลว้ ก็เป็นพระอาจารย์ฝา่ ย
กัมมฏั ฐานทม่ี ชี ื่อเสยี งโดง่ ดังตลอดมา
ส่วนหลวงปู่หลยุ จนทฺ สาโร แหง่ วดั ถ้�ำผาบง้ิ อำ� เภอวงั สะพงุ
170
จังหวดั เลย และหลวงปเู่ ทสก์ เทสรงั สี แหง่ สำ� นักวัดหินหมากเป้ง
จังหวดั หนองคายนนั้ หลวงปูก่ ็เคยกล่าวยกย่องชมเชยไวเ้ ปน็ อนั
มากว่า
ทงั้ สองทา่ นน้เี ป็นผู้มปี ฏปิ ทาดีมาก ทัง้ ยังมีรปู ร่างงดงามได้
สัดส่วนกิรยิ ามารยาทงดงามเหมาะเจาะ ส้มุ เสียงมีกงั วานไพเราะ ทัง้
ยงั แตกฉานเชย่ี วชาญตลอดปริยตั ิ ปฏิบัติ จนถงึ ปฏิเวธ ฉลาดในการ
แสดงพระธรรมเทศนา คือ สมบรู ณด์ ้วยองคป์ ระกอบทกุ อยา่ งทท่ี �ำ
ให้เกดิ ความเล่ือมใสศรทั ธา เปน็ ก�ำลงั ใหญ่ในพระศาสนาดา้ น
วปิ สั สนาธุระเปน็ อยา่ งยิง่ และได้เคยรว่ มเดินธุดงค์บ้างบางครั้งบาง
คราวในระยะหลงั จงึ ทราบประวัติ และปฏิปทาของทา่ นดี
อนึง่ ในชว่ งสดุ ทา้ ยท่ีหลวงปู่อาพาธ นัยวา่ หลวงปู่เทสกไ์ ดส้ ง่
จดหมายฉบับหน่ึง มาเยยี่ มเยียนถามไถ่สุขภาพอนามัยหลวงปู่ ไม่
ทราบว่าหลวงปู่ได้รับหรือเปลา่ ?
ในตอนหลัง พระอาจารย์ชยั ชาญ ลูกศิษย์หลวงปู่เทสก์ได้มา
เย่ยี มหลวงปู่ และบงั เอญิ มาถึงตอนทห่ี ลวงปูม่ รณภาพพอดี ไดถ้ าม
ถึงจดหมายน้นั วา่ หลวงปไู่ ด้รับหรือไม่
ปรากฏว่า สอบสวนซักถามเท่าไหร่ๆ ก็ไม่พบว่าผใู้ ดไดร้ ับ
หรือได้เห็นจดหมายประวัติศาสตรฉ์ บับน้นั เพราะอยากทราบเป็น
อยา่ งยิง่ ว่า ท่านเขียนถึงกันว่าอย่างไร โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ เปน็
จดหมายท่เี ขียนถึงกันฉบับสดุ ทา้ ยดว้ ย
ผู้ไมม่ ีโทษทางวาจา
ในพระสตุ ตนั ตปิฏก มพี ระสูตรๆ หน่งึ วา่ ด้วยการพดู ซึง่ พระ
ผ้มู ีพระภาคเจา้ ตรัสสอนพระสงฆส์ าวกว่า ควรจะพูดถ้อยค�ำที่
ประกอบด้วยองค์ ๔ คอื เปน็ เรือ่ งจริง มปี ระโยชน์ ผ้ฟู งั พอใจ และ
ถูกต้องเหมาะกับเวลา และสถานท่ี จะขาดองคห์ นึ่งองคใ์ ดไม่ได้
หมายความว่า ถา้ ขาดองคห์ น่ึงองค์ใดก็ไม่ควรพูด เชน่ เปน็
171
เร่ืองยกเมฆ แต่ก็มปี ระโยชน์ คนฟงั ชอบได้ จังหวะเหมาะสมอยา่ งนี้
ก็ไมค่ วรพูด
เร่ืองจริงมปี ระโยชน์ ถูกกาลเทศะ แต่พดู แลว้ คนฟังจะตอ้ ง
โกรธกไ็ ม่ควรพดู อกี เหมือนกนั ดังน้เี ปน็ ต้น
สำ� หรบั หลวงปูด่ ลุ ย์ของพวกเราน้ันรูส้ กึ วา่ ทา่ นด�ำเนนิ ปฏปิ ทา
ในเรอ่ื งการพูดนี้ไดถ้ กู ตอ้ งตามพระพทุ โธวาทเปน็ อยา่ งดี เพราะเท่าท่ี
ได้อยูใ่ กล้ชิดกบั ท่านมานานปี มีความเห็นว่า “ทา่ นเป็นผไู้ มม่ ีโทษ
ทางวาจา”
ท้ังน้ี โดยปกตทิ า่ นเปน็ คนพดู นอ้ ย แตค่ ำ� พูดเหล่านัน้ มักจะ
รวบรดั จ�ำกดั ความ หมดจดชดั เจน แต่ก็มีความหมายลึกซงึ้ ยง่ิ คดิ ยิ่ง
มองเห็นความหมายมากขน้ึ ไปอกี
เป็นถ้อยค�ำทีไ่ มผ่ ดิ พลาดจากความเป็นจรงิ ถกู กาลเทศะ ตรง
ต่อพระธรรมวินยั ไม่เปน็ ไปเพื่อเบียดเบียนตน และผอู ื้่นทงั้ โดย
เจตนาหรอื ไมเ่ จตนา พูดตามความจำ� เป็นตามเหตกุ ารณ์
คำ� พดู แต่ละค�ำ ไมม่ มี ายาเจอื ปนแม้แตน่ อ้ ย ไมพ่ ูดพรํ่าเพรอื่
เพ้อเจ้อ เชงิ เลน่ หวั กับทงั้ สานุศิษย์กับทัง้ บุคคลอ่นื ท่ัวไป ไมพ่ ดู ตลก
คะนองหรือพูดเสียงดัง ไม่พูดเลา่ ถึงความฝนั ไม่พดู หรอื ปลอบโยน
เอาอกเอาใจ หรอื พดู เลียบเคียงหวงั ประโยชน์
เมือ่ มีเหตกุ ารณอ์ ะไรไมส่ มควร ทลี่ กู ศษิ ยป์ ระพฤตปิ ฏบิ ตั ิ
หลวงปจู่ ะพูดครั้งเดยี วแล้วก็หยดุ ไมพ่ ดู พร่ําเพรื่อ หรือเมอ่ื จำ� เปน็ ต้อง
ปรามให้หยุดการกระท�ำนนั้ ก็จะปรามคร้งั เดียวไมม่ ีอะไรต่อ คือจะมี
อะไรทแ่ี รงออกมาคำ� หนึ่งแล้วทา่ นก็สงบระงบั ไปอยา่ งรวดเร็ว แต่
เมอ่ื มีอะไรทนี่ ่าพอใจ นา่ ขนั ก็จะหัวเราะออกมาในวาระแรกแลว้ ตอ่
ไปกย็ ิ้มๆ และเปน็ ย้มิ ที่สะอาดหมดจด เป็นปรกติ จรงิ ใจ
บุคลกิ อกี อย่างหน่งึ ท่มี ปี ระจ�ำตวั หลวงปู่ก็คือ เม่ือเวลาสนทนา
กัน ท่านจะไม่มองหนา้ ใครตรงๆ จะมองเพียงครัง้ แรกทีพ่ บ จากนน้ั
กจ็ ะทอดสายตาลงตาํ่ นานๆ ครง้ั จงึ จะหนั หรือเงยหนา้ ขน้ึ มองบ้าง
เม่ือจ�ำเปน็ แม้แตเ่ มือ่ พูดกับสมณะดว้ ยกนั เชน่ ท่านหลวงป่ขู าว
172
เป็นตน้ ท่านกป็ ฏบิ ตั เิ ช่นน้ี ดงั น้ั เรอ่ื งการจดจ�ำบุคคลของหลวงปู่
ท่านจงึ จำ� ไม่ค่อยเกง่
ส�ำหรับผทู้ ่หี ลวงปจู่ ำ� ได้ดีเปน็ พิเศษ ส่วนมากเป็นบุคคลที่มา
ปฏิบตั ธิ รรมด้วย หรอื ผทู้ ีน่ ัง่ สมาธภิ าวนามาแล้วได้ผลอยา่ งไร แลว้
มากราบเรียนท่าน เพ่อื ท่านจะได้แนะน�ำแนวทางปฏิบัตใิ ห้ย่งิ ๆ ข้ึนไป
ส่วนผทู้ ีอ่ ุปัฎฐากด้วยปัจจยั ส่นี นั้ ทา่ นก็จ�ำไดเ้ ป็นครัง้ คราว
แล้วแตเ่ หตกุ ารณ์ในเรื่องการประชาสัมพนั ธ์ ติดตอ่ ขอรอ้ ง ขอความ
ช่วยเหลือ หรือขอความเห็นใจจากบคุ คลอ่นื หรือส่วนราชการต่างๆ
หลวงปู่ไม่เคยทำ� ท่านทำ� ไมเ่ ป็นหรือไมส่ นใจที่จะท�ำ
เช่น การจะเทย่ี วขอรอ้ งฝากใหล้ ูกศษิ ยเ์ ข้าโรงเรียน หรอื เขา้ ทำ�
งาน หรอื ขอความร่วมมือจากหน่วยงานราชการ ใหช้ ว่ ยอยา่ งนัน้
อย่างนี้ ท่านไม่เคยมี ไม่มแี มก้ ระทง่ั ความใกลช้ ดิ สนิทสนมกับใคร
หรอื กับตระกูลใดเป็นพิเศษ
ในกจิ นิมนต์นั้น หลวงปู่ก็จะสงเคราะหร์ ับไปตามความสะดวก
ตามความเหมาะควรโดยไมค่ �ำนึงถึงฐานะของเจ้าภาพ ไมค่ �ำนึงถึงชนั้
วรรณะ หรอื เห็นแกห่ น้าใคร ไมข่ ึน้ อยกู่ บั ค�ำแนะน�ำของใคร ทา่ นให้
ความอนุเคราะหเ์ สมอภาคกนั หมด
การชแ้ี จง้ แสดงธรรมะ หรอื ขอ้ ปฏบิ ตั นิ นั้ หลวงปไู่ มน่ ยิ มออกตวั
หรอื การอารมั ภบท เมอื่ จะพูดกพ็ ดู ชไ้ี ปตรงจดุ ตรงความม่งุ หมาย
อันสงู สดุ ของการปฏิบตั ิธรรม พูดถึงจิต อุบายวิธที �ำใหจ้ ติ สงบ หรอื
การพ้นจากทุกข์ โทษทางใจ นิพพาน ความว่าง จติ เดมิ จติ หนึ่ง
ท่านจะแสดงเฉพาะจดุ เฉพาะแนวทางตามภมู ขิ องผู้ปฏบิ ัติ หรือตาม
ความสนใจของผู้เรียนถามทา่ นเท่านนั้ บางทกี ็พูดแบบถามคำ� ตอบค�ำ
เคยมีนักปฏิบตั ิธรรมระดับสูงผู้หน่งึ ยกยอ่ งท่านว่า หลวงปู่
แสดงธรรมด้วยการไม่พูดอย่างไพเราะเพราะพรง้ิ ดงั นกี้ ็มี
หลวงปู่ไมเ่ คยแสดงธรรมนอกเร่อื งนอกราว ตลกคะนองสาธก
ยกนทิ านชาดก หรือเลน่ ส�ำนวนโวหาร
มีอยคู่ รงั้ หนงึ่ เมือ่ หลวงป่ไู ปกจิ นมิ นต์ และพระองค์อืน่ แสดง
173
พระธรรมเทศนา แลว้ มีใครคนหนึง่ วิจารณก์ ารแสดงธรรมให้ทา่ นฟัง
และขอค�ำวจิ ารณจ์ ากทา่ น หลวงปู่ก็สนองตามความตอ้ งการโดยไม่
ขัดอัธยาศัยทนั ทีด้วยการวิจารณว์ ่า “ท่านองคน์ ้ันกแ็ สดงธรรมไป
ตามความถนัด ตามความสามารถของทา่ นเอง”
การแนะนำ� ศิษย์ในเรื่องการเทศน์การแสดงธรรมนัน้ หลวงปู่
ไม่โปรดเร่อื งตลกคะนอง หรอื เร่ืองภายนอกมากเกนิ ไป ท่านยอมรับ
การเทศน์ตลก มีมุกข�ำขันของพระเดชพระคณุ ท่านเจ้าคุณอุบาลีคณุ ู
ปมาจารย์ (สิริจนโฺ ท จันทร)์ แหง่ วัดบรมนิวาส สมัยกอ่ น ซง่ึ เปน็ มกุ
ขำ� ขนั ทม่ี ีสาระ และประกอบดว้ ยธรรมะ
หลวงปปู ูแ่ นะนำ� ว่าในการแสดงพระธรรมเทศนานัน้ ควร
แสดงธรรมให้เปน็ กระแส จากต่�ำไปหาสูง จากงา่ ยไปหายาก ท่าน
ยาํ้ ว่า ถ้าตอ้ งการจะให้ผ้ฟู งั เกิดอารมณข์ ัน ไมง่ ว่ งกแ็ สดงใหเ้ ขาทราบ
ซงึ้ ในเนื้อหาแหง่ ธรรม หรือเข้าใจสัจธรรมขอ้ ใดข้อหนง่ึ มันก็ขนั ข้นึ
มาเอง ความโง่งมหลงเซอะบรรดามใี นโลก พอรสู้ ึกตวั “รู”้ เทา่ นั้น
มนั กน็ า่ ขันเสียทงั้ นัน้ ผู้ฟังก็จะขำ� ขันในความเขลาของตน ต่นื ตัวตน่ื
ใจขึ้นมาเอง
ศกึ ษาจากตำ� รา หรือว่าปฏบิ ัติเอง?
ในหมูผ่ สู้ นใจศกึ ษาศาสนาจะมขี ้อโตแ้ ยก้ ันเสมอระหว่างการ
ศึกษาจากต�ำรา คือศึกษาดา้ นปรยิ ตั ิ กบั อีกฝา่ ยหนึ่งเนน้ การปฏบิ ัติ
และไมเ่ นน้ การศึกษาจากตำ� รา วา่ แนวทางใดจะให้ผลดีกว่ากนั หรอื
ตรงกวา่ กัน
สำ� หรบั หลวงปดู่ ลุ ย์ อตโุ ล ทา่ นเสนอแนะใหด้ ำ� เนนิ สายกลาง
น่ันคอื ถ้าเน้นเพยี งดา้ นใดดา้ นหน่ึง และละเลยอีกดา้ นหน่งึ กเ็ ปน็ การ
สดุ โต่งไป
หลวงปทู่ า่ นแนะนำ� ลกู ศษิ ยล์ กู หาทมี่ งุ่ ปฏบิ ตั ธิ รรมวา่ ใหอ้ า่ นตำ�
หรบั ต�ำราสว่ นท่ีเปน็ พระวนิ ยั ใหเ้ ข้าใจ เพือ่ ท่ีจะปฏบิ ัติไมผ่ ิด แตใ่ น
174
ส่วนของพระธรรมน้นั ให้ตั้งใจปฏิบัติเอา
จากค�ำแนะนำ� นี้แสดงวา่ หลวงปู่ถอื เร่ือง การปฏิบตั ใิ ห้ถกู ตอ้ ง
ตามพระวินัยเป็นเร่ืองส�ำคัญ และจะต้องมาก่อน ศึกษาใหเ้ ข้าใจ และ
ปฏบิ ตั ิตนใหถ้ ูก แลว้ เร่อื งคณุ ธรรมและปัญญาสามารถสร้างเสรมิ ขึน้
ไดถ้ า้ ต้ังใจ
ยกตวั อยา่ งในกรณีของ หลวงตาแนน
หลวงตาแนน ไมเ่ คยเรยี นหนงั สือ ท่านมาบวชพระเมือ่ วัยเลย
กลางคนไปแลว้ ท่านเป็นพระทมี่ ีความต้งั ใจดี ว่างา่ ยสอนง่าย ขยัน
ปฏบิ ัติกจิ วตั รไม่ขาดตกบกพรอ่ ง เหน็ พระรูปอ่นื เขาออกไปธดุ งค์ก็
อยากไปด้วย จึงไปขออนุญาตหลวงปู่
เม่อื ไดร้ ับอนญุ าตแล้วหลวงตาแนนก็ให้บงั เกดิ ความวติ กกงั วล
ปรบั ทุกขข์ ้นึ ว่า “กระผมไมร่ ูห้ นังสือ ไม่ร้ภู าษาพูดเขา จะปฏิบตั ิกะ
เขาได้อยา่ งไร”
หลวงปูจ่ งึ แนะนำ� ดว้ ยเมตตาวา่
“การปฏบิ ตั ิไม่ไดเ้ กี่ยวกับอกั ขระ พยัญชนะ หรือค�ำพูดอะไร
หรอก ท่รี ู้ว่าตนไม่รกู้ ด็ ีแลว้ สำ� หรบั วธิ ีปฏบิ ัตนิ นั้ ในส่วนวนิ ยั ให้
พยายามดแู บบเขา ดูแบบอย่างครบู าอาจารย์ผนู้ �ำ อย่าท�ำใหผ้ ิดแผก
จากทา่ น ในส่วนธรรมะน้นั ใหด้ ูท่จี ิตของตัวเอง ปฏบิ ตั ิทจ่ี ิต เมอ่ื
เข้าใจจติ แลว้ อยา่ งอื่นกเ็ ข้าใจไดเ้ อง”
เนอื่ งจากหลวงปู่ได้อบรมสั่งสอนลูกศษิ ยผ์ ปู้ ฏบิ ัตมิ ามากตอ่
มาก ท่านจึงให้ข้อสงั เกตในการปฏิบตั ธิ รรมระหวา่ งผทู้ ีเ่ รยี นนอ้ ยกบั
ผู้ท่ีเรียนมากมากอ่ น ว่า
“ผ้ทู ่ยี ังไมร่ ูห้ วั ข้อธรรมอะไรเลย เม่อื ปฏิบัติอย่างจรงิ จัง มกั จะ
ได้ผลเรว็ เมอื่ เขาปฏบิ ัติจนเข้าใจจติ หมดสงสัยเรอื่ งจติ แลว้ หันมา
ศกึ ษาตริตรอง ข้อธรรมะในภายหลัง จงึ จะรู้แจ้งแทงตลอดแตกฉาน
นา่ อศั จรรย์”
“าว่ นผทู้ ่ีศกึ ษาเลา่ เรยี นมาก่อน แลว้ จงึ หันมาปฏิบัตติ อ่ ภาย
หลงั จิตจะสงบเป็นสมาธิยากกว่า เพราะชอบใช้วิตกวิจารมาก เม่อื
175
จิตวติ กวิจารมาก วจิ กิ ิจฉาก็มาก จึงยากทจี่ ะประสบผลสำ� เรจ็ ”
อย่างไรกต็ าม ข้อสังเกตดังกลา่ ว หลวงปู่ย้าํ ว่า “แต่ทงั้ น้ีก็ไม่
เสมอไปทเี ดียว” แล้วทา่ นใหข้ อ้ แนะนำ� ตอ่ ไปอกี ว่า
“ผู้ที่ศกึ ษาทางปรยิ ัติจนแตกฉานมาก่อนแลว้ เมือ่ หันมามงุ่
ปฏิบตั อิ ย่างจริงจงั จนถึงขัน้ อธจิ ติ อธปิ ัญญาแล้ว ผลสำ� เรจ็ กจ็ ะยง่ิ
วเิ ศษขึน้ ไปอีก เพราะเป็นการเดินตามแนวทางปรยิ ตั ิ ปฏบิ ตั ิ ยอ่ ม
แตกฉานท้ังอรรถะ และพยญั ชนะ ฉลาดในการช้แี จงแสดงธรรม”
หลวงปไู่ ด้ยกตัวอย่างพระเถระทงั้ ในอดตี และปัจจุบัน เพ่อื
สนับสนนุ ความคิดดังกล่าว กม็ ที ่านเจ้าคณุ พระอุบาลคี ุณูปมาจารย์
(สิรจิ นฺโท จันทร)์ แหง่ วัดบรมนิวาส กรงุ เทพฯ และ ทา่ นอาจารย์
พระมหาบวั ณานสมฺปนฺโน แห่งส�ำนักวดั ปา่ บา้ นตาด จังหวัด
อดุ รธานี เป็นตน้
ทั้งสององคน์ ี้ “ได้ท้งั ปรยิ ตั ิ ปฏิบัติ ปฏเิ วธ อาจหาญชาญ
ฉลาดในการแสดงธรรม เปน็ ประโยชน์ใหญ่หลวงแก่พระศาสนาเปน็
อยา่ งยงิ่ ”
โดยสรุป หลวงปสู่ นบั สนุนท้งั ต�ำรา คอื ปริยตั ิ และปฏิบัติ
ต้องไปดว้ ยกนั และทา่ นยา้ํ ว่า
“ผใู้ ดหลงใหลในต�ำรา และอาจารย์ ผู้นน้ั ไมอ่ าจพน้ ทุกข์ได้
แต่ผู้จะพน้ ทกุ ขไ์ ด้ ต้องอาศยั ตำ� รา และอาจารยเ์ หมือนกนั ”
ปริยตั คิ กู่ บั ปฏบิ ตั ิ
ในหัวข้อท่ผี ่านมาไดก้ ลา่ วถึงการสอนของ หลวงป่ดู ลุ ย์ อตุโล
วา่ ทา่ นไม่ทง้ิ ทงั้ ปรยิ ตั ิ และปฏบิ ัติ ต้องมปี ระกอบกัน
ในหัวข้อนี้เป็นตัวอยา่ งการสอนของหลวงป่จู ากประสบการณ์
ของหลวงพ่อเพม่ิ กิตตฺ ิวฒฺโน (พระมงคลวัฒนคณุ ) แหง่ วดั ถ้ํา
ไตรรตั น์ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า ขอยกข้อความมาดังน้ี
การศกึ ษาความรูก้ บั หลวงปู่ดุลย์ เม่อื ครัง้ ทท่ี า่ น (หลวงพอ่
176
เพิ่ม) ยังเป็นสามเณรน้อยไดร้ บั การช้ีแนะอบรมพรำ�่ สอนจากหลวงปู่
ดลุ ย์อย่างใกลช้ ิด โดยท่านจะเนน้ ให้ศษิ ย์ของท่านมีความส�ำนกึ ตรึก
อยู่ในจติ เสมอถงึ สภาวะความเป็นอย่ใู นปัจจบุ นั ว่า
บดั น้ีเราได้บวชกายบวชใจ เขา้ มาอย่ใู นบวรพทุ ธศาสนา เป็น
สมณะที่ชาวบา้ นทั้งหลายใหค้ วามเคารพบชู า ท้ังยงั อุปัฎฐากอุปถมั ภ์
คํ้าจุนดว้ ยปจั จัยสี่ ควรท่ีจะกระทำ� ตนให้สมกบั ทเี่ ขาเคารพบูชา ถอื
ประพฤตปิ ฏบิ ตั ิตามศีลธรรม ตามพระวินัยอย่างเคร่งครดั ไมฝ่ ่าฝืน
ทัง้ ท่ลี บั และทแี่ จ้ง
พระเณรที่มาบวชกับท่านหลวงปู่ จึงให้ศึกษาทัง้ ในดา้ นปรยิ ตั ิ
และปฏิบัตคิ วบคกู่ ันไป
ด้านปรยิ ัติ ท่านใหเ้ รยี นนกั ธรรมบาลี ไวยากรณ์ ใหเ้ รียนรู้
ถึงเรอ่ื งศีล ธรรม พระวินัย เพอื่ จะได้จดจำ� นำ� ไปประพฤติปฏบิ ตั ใิ ห้
ถกู ตอ้ ง ไมอ่ อกนอกลู่นอกทางทพ่ี ระพทุ ธองคท์ รงวางไว้ ซง่ึ จะทำ� ให้
สามารถด�ำรงตนอยไู่ ดอ้ ยา่ งเหมาะสมเย่ยี งผู้ถือบวชทชี่ าวบา้ นศรทั ธา
เขากราบไหวบ้ ชู า
ดา้ นปฏิบัติ ทา่ นเนน้ หนักเป็นพิเศษใหพ้ ระเณรทกุ รปู ทกุ องค์
ปฏบิ ัติกัมมัฏฐาน เพราะการปฏบิ ตั ิพระธรรมกมั มฏั ฐานน้ี จะเป็น
การฝึกกายฝกึ จติ ให้ผศู้ กึ ษาธรรม ได้รไู้ ดเ้ ห็นของจริงโดยสภาพทเี่ ปน็
จริง อนั เกิดจากการร้กู ารเห็นของตนเอง ไมใ่ ชเ่ กดิ จากการอา่ นจดจ�ำ
จากต�ำรบั ต�ำราซึ่งเปน็ การรูด้ ้วยสัญญาแหง่ การจำ� ได้ หมายรู้ คือรู้
แตย่ ังไมเ่ หน็ ยงั ไม่แจ้งแทงตลอดอยา่ งแทจ้ ริง
ขอ้ ธรรมกมั มฏั ฐานท่หี ลวงป่ดู ลุ ย์ ทา่ นใหพ้ จิ ารณาอยู่เป็น
เนืองนิตยก์ ค็ ือ หัวขอ้ กัมมฏั ฐานทีว่ ่า สพฺเพ สงขฺ ารา สพฺพสญฺญา
อนตฺตา
การพจิ ารณาตามหวั ข้อธรรมกมั มฏั ฐานดังกล่าวนี้ หากได้
พิจารณาทบทวนอยา่ งสมํา่ เสมอแลว้ ในเวลาตอ่ มาก็จะรแู้ จ้ง
สว่างไสว เขา้ ใจไดช้ ดั เจนวา่ สงั ขารทง้ั หลายทงั้ ปวงเป็นสง่ิ ไม่เท่ียงแท้
หาความจรี งั ยั่งยนื ไม่ได้
177
มกี ารเกดิ ดบั -เกิดดบั อยูต่ ลอดเวลา
เมื่อพจิ ารณาเห็นอย่างนแี้ ลว้ จะทำ� ให้เลิกละจากการยึดถอื ตวั
ตนบคุ คลเราทา่ น เพราะไดร้ ู้ไดเ้ หน็ ของจริงแลว้ ว่า สงั ขารทเ่ี รารัก
หวงแหนนั้น ไม่ชา้ ไม่นานมนั กต็ ้องเส่ือมสูญดับไปตามสภาวะของมัน
ไม่อาจทจ่ี ะฝ่าฝนื ได้
เมอื่ สังขารดบั ได้แล้ว ความเป็นตัวเป็นตนก็จะไม่มี เพราะไม่
ได้เข้าไปเพ่อื ปรงุ แต่ง คร้นั เม่อื ความปรุงแตง่ ขาดหายไป ความทุกข์
จะเกิดไดอ้ ยา่ งไร
ศลี สมาธิ ปญั ญา แต่ละระดับ
เน้ือหาในหัวขอ้ นคี้ ดั ลอกมาจากประวตั ิของ หลวงพ่อเพิ่ม กิตฺ
ตวิ ฒฺโน (พระมงคลวฒั นคณุ ) เช่นเดียวกบั ตอนที่ผา่ นมา ดงั ตอ่ ไปน้ี
ค�ำสอนของหลวงปู่ดุลย์ อตโุ ล อีกประการหน่ึง ท่ีทา่ นแนะน�ำ
พร่าํ สอนต่อผ้มู าขอแนวทางการปฏิบัตจิ ากทา่ น ไมว่ ่าจะเปน็ พระภกิ ษุ
สามเณร อุบาสก อบุ าสกิ า จะเป็นเดก็ หรือผูใ้ หญก่ ็ดี ทา่ นจะให้
ปฏิบัติโดยแนวทางแห่งศลี สมาธิ ปญั ญา เหมือนกันหมด
หลวงพอ่ เพิ่ม ท่านไดเ้ ลา่ ว่า สมัยที่ท่านยังเปน็ สามเณร และ
อยูก่ ับหลวงปู่ดลย์ ที่วัดบูรพาราม จังหวดั สรุ ินทร์ มคี นเคยมาถาม
หลวงปถู่ ึงคำ� สั่งสอนดงั กล่าวของท่านว่า
“สอนเด็ก กส็ อนศลี สมาธิ ปัญญา
สอนหน่มุ สาว กส็ อนศลี สมาธิ ปญั ญา
สอนผเู้ ฒ่าผู้แก่ ก็สอนศีล สมาธิ ปญั ญา
สอนพระเณร ก็สอนศีล สมาธิ ปัญญา
ศีล สมาธิ ปัญญา ในระดับต่างๆ กนั น้นั เหมือนกันหรือแตก
ตา่ งกันอยา่ งไร?
ขณะทมี่ ผี ้ถู ามมนัน้ ตอนน้ันหลวงปดู่ ูลยก์ �ำลงั ปะชนุ เยบ็ จวี รอยู่
เม่อื ทา่ นฟังคำ� ถามน้ันจบลง ทา่ นก็ยกเข็มใหด้ ูแลว้ กลา่ วว่า
178
“คณุ ลองดูวา่ เขม็ น้แี หลมไหม?”
ผถู้ ามก็ตอบวา่ “แหลมขอรับหลวงปู่”
หลวงปอู่ ธบิ ายว่า :
“ความแหลมคมของสติปญั ญาในระดบั เด็ก ระดับผูใ้ หญ่ ก็มี
ความแหลมคมไปคนละอย่าง แต่ในระดับความแหลมคมของสติ
ปัญญาพระอรหันต์นน้ั อยเู่ หนอื ความแหลมคมทงั้ หลายทง้ั ปวง
ความแหลมคมของเข็มนนั้ เกิดจากคนเราท�ำขน้ึ แตส่ ติปญั ญา
ท่ีเกิดจากพระพทุ ธเจ้า และพระอรหันตท์ ัง้ หลายนน้ั เป็นศลี สมาธิ
ปญั ญา ระดบั โลกตุ รธรรม ทไ่ี มม่ ีส่ิงใดเสมอเหมอื น มคี วามม่ันคงไม่
แปรเปลยี่ นอีกแล้ว
ส�ำหรับสติปัญญาระดบั ปถุ ุชนก็เปน็ ศลี สมาธิ ปัญญา เชน่ กัน
แต่เป็นศีล สมาธิ ปญั ญาท่ีจะต้องระมัดระวัง เพราะยงั อยูใ่ นขัน้ โลกยี
ธรรม ยังคงมคี วามเปลี่ยนแปลงผนั แปรไดเ้ สมอ”
คำ� ตอบของหลวงปดู่ ลุ ย์ดังกล่าวนัน้ ชีใ้ ห้เปน็ ถงึ ไหวพรบิ และ
ปฏภิ าณในการอธบิ ายข้อธรรมท่ลี มุ่ ลกึ ได้อยา่ งฉบั ไว โดยสามารถยก
สงิ่ เล็กๆ นอ้ ยๆ ทีเ่ ราคดิ ไมถ่ ึงมาเปน็ ตัวอยา่ งประกอบชีใ้ หเ้ หน็ ปญั ญา
ท่ีไตถ่ ามได้อยา่ งแจ่มแจ้ง ซ่งึ นับว่าเป็นการอธิบายขอ้ ธรรมทน่ี า่
อศั จรรย์ยง่ิ
ภาวนา กบั นิมิต
หลวงพ่อเพมิ่ ได้เลา่ ถึงประสบการณ์ในการปฏิบตั ิกมั มัฏฐาน
สมยั เริม่ ต้น เมอื่ ครงั้ ยงั เปน็ สามเณรว่า ตอนที่ฝึกกมั มัฏฐานใหม่ๆ
นน้ั ทา่ นยงั ไม่ประสปี ระสาอะไรเลย หลวงปู่ดุลย์ ไดแ้ นะนำ� ถงึ วธิ ี
การทำ� สมาธิ วา่ ควรนั่งอยา่ งไร ยืน เดนิ นอน ควรท�ำ อย่างไร
ในชั้นตน้ หลวงปใู่ หเ้ รมิ่ ท่กี ารนั่ง เมื่อน่ังเข้าทเ่ี ขา้ ทางกใ็ หห้ ลับตา
ภาวนา “พุทโธ” ไว้ อย่าสง่ ใจไปคดิ ถึงเร่อื งอ่นื ให้นึกถึงแต่ พุทโธ-
พทุ โธ เพยี งอย่างเดียว กจ็ ดจ�ำน�ำไปปฏบิ ตั ติ ามที่หลวงปู่สอนปกติ
179
ของใจเปน็ สงิ่ ที่ไมห่ ยุดน่งิ มักจะคดิ ฟุง้ ซา่ นไปโนน้ ไปนี่เสมอ ในระยะ
เร่ิมต้นคนทีไ่ มเ่ คยฝึกมากอ่ น อยู่ๆ จะมาบงั คับใหม้ ันหยดุ น่งิ คิดอยู่
แตพ่ ทุ โธประการเดยี วเปน็ สิง่ ท่ีท�ำได้ยาก
สามเณรเพ่มิ กเ็ ชน่ กัน เมอื่ ภาวนาไปตามที่หลวงปู่สอนไดร้ ะยะ
หน่งึ กเ็ กิดความสังสยั ขน้ึ จึงถามหลวงปู่ว่า “เมอื่ หลบั ตาภาวนาแต่
พุทโธแลว้ จะเห็นอะไรครบั หลวงป่”ู
หลวงปู่าบอก “อย่าไดส้ งสัย อยา่ ไดถ้ ามเลย ให้เรง่ รีบภาวนา
ไปเถิด ให้ภาวนาพทุ โธไปเรือ่ ยๆ แลว้ มันจะรู้เองเหน็ เองแหละ”
มีอย่คู ราวหนึง่ ขณะที่สามเณรเพิม่ ภาวนาไปได้ระยะหน่งึ
จิตเริ่มสงบกป็ รากฏร่างพญางยู กั ษด์ �ำ มะเม่ือมขน้ึ มาอยู่ตรงหนา้
มนั จ้องมองท่านด้วยความประสงคร์ ้าย แผ่แม่เบยี้ ส่งเสียงขู่ฟ-ู่ ฟู่ อยู่
ไปมา
สามเณรเพิม่ ซง่ึ เพิ่งฝกึ หัดภาวนาใหม่ๆ เกิดความหวาดกลวั
ผวาลืมตาขน้ึ ก็ไม่เหน็ พญางูยกั ษ์ จึงรูไ้ ด้ทันทีวา่ สง่ิ ทท่ี า่ นเหน็ นน้ั
เปน็ การเหน็ ดว้ ยสมาธจิ ิตทเี่ รียกวา่ นมิ ติ น่นั เอง จงึ ไดห้ ลับตาลง
ภาวนาตอ่ พอหลบั ตาลงเทา่ น้ัน ก็พลนั เห็นงูยักษ์แผ่แม่เบยี้ ส่งเสียงขู่
ท�ำทา่ จะฉกอกี แม้จะหวาดกลัวน้อยลงกว่าครั้งแรก แต่ก็กลัวมาก
พอทีจ่ ะต้องลมื ตาขนึ้ อกี
เมื่อนำ� เรือ่ งนไ้ี ปถามหลวงปู่ ได้รับคำ� อธิบายวา่
“อย่าส่งใจไปดูไปรใู้ นส่ิงอืน่ การภาวนาท่านให้ดูใจของตนเอง
หรอก ทา่ นไม่ให้ดสู ่งิ อนื่ ”
“การบ�ำเพ็ญกมั มฏั ฐานนี้ ไมว่ า่ สิ่งหน่งึ สงิ่ ใดจะเกิดขนึ้ ไปรู้ไป
เหน็ อะไร เราอยา่ ไปดู ใหด้ ูแตใ่ จ ใหใ้ จอยทู่ พี่ ทุ โธ
เมือ่ กำ� ลังภาวนาอยู่ หากมีความกลวั เกิดข้นึ ก็อยา่ ไปคิดในส่ิง
ท่นี า่ กลวั นน้ั อยา่ ไปดูมนั ดูแตใ่ จของเราเพยี งอย่างเดียวเท่านั้น แล้ว
ความกลัวมันจะหายไปเอง”
หลวงปู่ได้ชี้แจงต่อไปวา่ สิ่งทเ่ี ราไปรไู้ ปเหน็ น้ัน บางทีก็จริง
บางทกี ็ไม่จรงิ เหมอื นกับว่า คนทภ่ี าวนาแล้วไปรไู้ ปเหน็ ส่ิงต่างๆ เขา้
180
การท่เี ขาเหน็ น้นั เขาเหน็ จริง แต่สง่ิ ทเี่ ห็นนน้ั มนั ไม่จรงิ เหมือนอยา่ ง
ทเ่ี ราดหู นัง เหน็ ภาพในจอหนงั ก็เหน็ ภาพในจอจริงๆ แต่ส่งิ ท่เี หน็ น้นั
ไม่จริง เพราะความจรงิ นัน้ ภาพมันไปจากฟลิ ์มต่างหาก
ฉะน้ันผภู้ าวนาต้องดูท่ใี จอย่างเดียว ส่งิ อ่ืนนอกจากนัน้ จะหาย
ไปเอง ใหใ้ จมนั อยู่ที่ใจน้ันแหละ อย่าไปสง่ อออกนอก
ใจนี้มันไมไ่ ดอ้ ยู่จ�ำเพราะทว่ี า่ จะตอ้ งอยูต่ รงน้ันตรงนี้ คำ� ว่า
“ใจอยู่กบั ใจ” น้ีคือ คดิ ตรงไหนใจกอ็ ยตู่ รงน้ันแหละ ความนกึ คิดกค็ อื
ตัวจิตตวั ใจ
หากจะเปรยี บไปก็เหมอื นเช่นรูปกับฟิลม์ จะว่ารปู เปน็ ฟลิ ์ม
ก็ได้ จะว่าฟลิ ม์ เปน็ รปู กไ็ ด้ ใจอยกู่ บั ใจ จงึ เปรียบเหมือนรปู กบั ฟิล์ม
นั่นแหละ
แตโ่ ดยหลักปฏิบตั แิ ล้ว ใจก็เป็นอยา่ งหนึง่ สติกเ็ ปน็ อย่างหน่ึง
แต่ทีจ่ รงิ แล้วมันก็เปน็ สงิ่ เดยี วกัน เหมอื นหน่งึ ว่าไฟกบั กระแสไฟ
ความสว่างกับไฟก็อนั หน่ึงอันเดยี วกนั นน่ั แหละ แตเ่ รามาพดู ให้เป็น
คนละอย่าง
ใจอยู่กับใจ จึงหมายถงึ ให้มสี ติอยกู่ �ำกบั มันเอง ให้อยู่กบั สติ
แตส่ ติสำ� หรบั ปุถุชน หรอื สติส�ำหรับผเู้ รมิ่ ปฏบิ ัติ เปน็ สติท่ียังไมม่ น่ั คง
มนั จงึ มลี กั ษณะขาดชว่ งเปน็ ตอนๆ ถา้ เราปฏบิ ัติจนสตมิ นั ตอ่ กันไดเ้ ร็ว
จนเปน็ อันหนง่ึ อนั เดียวกนั ให้เปน็ แสงสวา่ งอยา่ งเดยี วกัน อยา่ งเช่น
สัญญาณออด ซึ่งที่จริงมนั ไมไ่ ด้มเี สยี งยาวตดิ ต่อกนั เลย แต่เสียงออด
- ออด - ออด ถมี่ ากจนความถเี่ ป็นอนั หนึง่ อนั เดยี วกนั เราจงึ ได้ยิน
เสียงออดน้นั ยาว
ในการปฏิบัตทิ ี่วา่ ปฏิบัตจิ ิต ปฏิบัติใจ โดยให้ใจอยกู่ บั ใจน้ี ก็
คอื ใหม้ ีสตกิ �ำกับใจ ใหเ้ ปน็ สตถิ าวร ไม่ใชเ่ ปน็ สตคิ ลา้ ยๆ หลอดไฟที่
จวนจะขาด เดีย๋ วก็สวา่ งวาบ เดีย๋ วก็ดับ เดีย๋ วกส็ วา่ ง แต่ใหม้ ันสวา่ ง
ตดิ ต่อกันไปตลอดเวลา
เมอื่ สตมิ นั ตดิ ต่อกนั ไปอย่างน้ีแลว้ ใจมนั กม็ สี ติควบคุมอยู่
ตลอดเวลา เรียกอกี อยา่ งหนึง่ วา่ “อยู่กบั ตวั รู้ ตลอดเวลา”
181
ตวั รู้ กค็ ือ สติ น่ันเอง
หรือจะเรยี กวา่ “พทุ โธ” ก็ได้ พทุ โธท่ีวา่ รู้ ต่ืน เบิกบาน ก็
คือตวั สตนิ ั่นแหละ
เมอื่ มีสติ ความรู้สกึ นึกคดิ อะไรต่างๆ มันกจ็ ะเปน็ ไปไดโ้ ดย
อัตโนมตั ิของมนั เอง เวลาดีใจก็จะไมด่ ใี จจนเกนิ ไป สามารถพจิ ารณา
รไู้ ดโ้ ดยทันทวี ่า สิง่ นี้คืออะไรเกดิ ข้นึ และเวลาเสยี ใจมนั ก็ไม่เสยี ใจจน
เกนิ ไป เพราะว่าสติมันรู้อย่แู ล้ว
คำ� ชมกเ็ ป็นค�ำชนิดหน่ึง คำ� ตกิ ็เปน็ ค�ำชนิดหนึง่ เมอ่ื จบั สง่ิ
เหลา่ นม้ี าถว่ งกนั แลว้ จะเห็นว่ามันไม่แตกต่างกนั จนเกินไป มันเป็น
เพียงภาษาคำ� พดู เท่านนั้ เอง ใจมันกไ็ มร่ บั
เมอื่ ใจมันไม่รบั ก็รวู้ า่ ใจมันไมม่ คี วามกังวล ความวิตกกังวล
ในเร่ืองตา่ งๆ กไ็ ม่มี ความกระเพ่ือมของจติ กไ็ ม่มี กเ็ หลอื แตค่ วามรู้
อย่ใู นใจ
สามเณรเพม่ิ จดจำ� ค�ำแนะนำ� ส่ังสอนจากหลวงปู่ไปปฏบิ ตั ิตอ่
ปรากฏวา่ สง่ิ ท่นี ่าสะพงึ กลวั ไมท่ �ำ ใหท้ า่ นหวาดหวัน่ ใจอีกเลย
ทำ� ใหท้ า่ นสามารถโนม้ นา้ วใจสคู่ วามสงบคน้ พบปญั ญาทจ่ี ะนำ�
สู่ความสุขสงบในสมาธธิ รรมต้ังแต่บดั นน้ั มา
สามเณรขอลาสกึ
ดังท่ีหลวงปู่อธบิ ายแตต่ น้ ว่า ศลี สมาธิ ปญั ญา ของผูป้ ฏบิ ตั ิ
ทกุ คนเหมอื นกนั หมดแตต่ า่ งระดบั กัน มีความแหลมคมรอบรู้ธรรม
ไม่เหมือนกัน ในระดบั ของผ้บู รรลธุ รรมขั้นสูงเป็น โลกตุ รธรรม ท่ี
ไม่มีสิ่งใดเสมอเหมือน มีความมนั่ คงไมแ่ ปรเปลี่ยนอกี แล้ว
แต่ศลี สมาธิ ปญั ญาของปถุ ชุ น ซึง่ อยใู่ นขอบขา่ ยของโลกยี
ธรรม ยงั คงมีการเปล่ียนแปลงผนั แปรไดเ้ สมอ
ดงั เชน่ สามเณรเพิม่ แมจ้ ะปฏิบัติภาวนามาร่วม ๓ ปี แต่ก็
ยงั ไม่อาจยกระดบั จิตระดบั ใจก้าวขนึ้ สู่ภูมธิ รรมขัน้ โลกุตระได้ ความ
182
ผันแปรในใจจงึ เกดิ ขนึ้ เปน็ ธรรมดา คือ ในชว่ งของพรรษา ปี พ.ศ.
๒๔๙๗ เป็นปที ี่ ๓ แหง่ การบวชสามเณรเพิ่มวัย ๑๘ ปี เกิดมีความ
อยากจะสกึ หาลาเพศไปใช้ชวี ติ ฆราวาสเตม็ กำ� ลัง
สามเณรเพ่มิ เขา้ ไปกราบขอลาสกึ จากหลวงปู่ถึง ๓ คร้ัง แต่
ด้วยเหตุผลใดไมท่ ราบ หลวงปู่ตอบปฏเิ สธทุกครงั้ สามเณรเพม่ิ เฝ้า
เพียรพยายามหาลทู่ างขอสึกใหไ้ ด้
หลงั จากจดๆ จ้องๆ มองหาโอกาสอยหู่ ลายวนั จนกระทั่ง
เหน็ ว่าโอกาสเหมาะ หลวงปพู่ กั ผ่อนอยใู่ นกฏุ อิ งค์เดียว สามเณรเพมิ่
จงึ ตั้งใจวา่ วนั นล้ี ะ่ อย่างไรเสียตอ้ งลาสกึ ใหไ้ ด้ จึงจัดหาดอกไม้ธูป
เทียนใสฝ่ าบาตร ค่อยยอ่ งเข้าไปหาหลวงปูใ่ นกฏุ ิ
ขณะน้ันเปน็ เวลาประมาณ ๑ ทมุ่ พอสามเณรโผลห่ น้าเขา้ ไป
หลวงปเู่ หลือบมองมานดิ หน่งึ แตไ่ ม่พดู อะไร สามเณรค่อยคลาน
เข้าไปกราบหลวงปู่แลว้ พูดวา่ “หลวงปคู่ รบั ขอให้ผมบีบนวดใหห้ ลวง
ปู่นะครบั ”
สามเณรเพิ่มไมเ่ ขา้ ใจเหมอื นกนั วา่ ทำ� ไมต้องพูดเช่นน้นั ทั้งๆ
ทเี่ ตรียมคำ� พดู มาอย่างดี และตดั สนิ ใจอยา่ งเด็ดขาดแล้วกต็ าม
สามเณรบีบนวดหลวงปตู่ ัง้ แต่ ๑ ท่มุ จนกระท่ังถึง ๖ ทมุ่
หลวงปูไ่ มเ่ อ่ยปากพดู แมแ้ ตค่ ำ� เดยี ว พอเลย ๖ ทุม่ ไปเลก็ น้อย ท่าน
จีงเอ่ยปากวา่
“เอาล่ะ! แค่นพี้ อแล้ว คงจะนวดเปน็ ทพี่ อใจแลว้ นะ”
กล่าวจบ หลวงปูก่ ็เงียบไปชัว่ อดึ ใจ แล้วถามสามเณรวา่
“มาคืนนี้ เณรถ้าจะมาลาสึกอีกละสิ”
โดนคำ� ถามจี้ใจเชน่ น้ี สามเณรเพิ่มร้สู กึ ตกใจเล็กนอ้ ยแต่แทนที่
จะตอบรบั หลวงปตู่ ามท่ตี ัง้ ใจ กลบั ตอบไปวา่
“เปลา่ ครับ หลวงป”ู่
หลวงปถู่ ามตอ่ “ถ้ายังงั้นคืนนีเ้ ขา้ มาท�ำไมละ่ ”
“กระผมจะมาลาหลวงป่ไู ปอยู่ วดั สุทธจนิ ดา ครบั ”
วดั สทุ ธจนิ ดา อยู่ทีจ่ ังหวัดนครราชสีมา เปน็ วัดหนงึ่ ทีม่ ีการ
183
สอนด้านปรยิ ตั ธิ รรม และหลวงป่มู ักส่งพระภิกษุ และสามเณรไป
ศึกษาท่วี ดั แหง่ น้ี
หลวงปตู่ อบว่า “เปน็ ยังไง อย่ทู ี่นไ่ี มส่ บายใจหรอื อยา่ งไร ไป
อยู่วดั สทุ ธจินดากบั อยทู่ ี่นกี่ ็เหมือนกนั นัน่ แหละ เณรอย่าไปเลย”
สามเณรเพิ่มจึงกราบเรยี นหลวงปวู่ า่ “ถ้าอยา่ งน้นั กระผมขอ
ไปเรียนหนงั สือทว่ี ัดบรมนวิ าส นะขอรบั ”
“ออ๋ ! อยากไปอยเู่ มืองหลวงละซี เอาเถอะถา้ เณรอยากไป
จรงิ ๆ ก็ไปอย่วู ัดบวรฯ ซิ (หมายถึง วดั บวรนิเวศวหิ าร) ที่นั่นเขามี
การเรียนการสอนเหมือนกัน”
“ขอรบั หลวงปู่”
สามเณรตอบรบั คำ� ทัง้ ๆ ทใ่ี จไมเ่ คยนกึ อยากไปวดั บวรฯ เลย
เพราะที่นัน่ การเรยี นการสอนเขาเข้มงวดมาก สวดมนต์กห็ ลายบท
ตง้ั ๙๕ สูตร เกรงวา่ สตปิ ญั ญาของตนเองจะไปไมไ่ กล แตภ่ ายหลงั
จากทีไ่ ปอย่แู ล้วท่านกลา่ วว่า ส่งิ ทีท่ า่ นเกรงกลัวกลับไมม่ ีปัญหาอะไร
เลย ซํา้ ยงั ไดร้ ับเลือกใหเ้ ปน็ เณรหวั หนา้ ซ้อมสวดมนต์อกี ดว้ ย
สามเณรเพ่ิมเดินทางเขา้ วดั บวรนเิ วศฯ ในปี ๒๔๙๘ โดยมี
หลวงปูโ่ ชติ คุณสมฺปนโฺ น (พระเทพสุทธาจารย)์ น�ำไปฝากตวั กบั
สมเด็จพระสังฆราชเจา้ กรมหลวงวชิรญาณวงศ์ ซึ่งเปน็ เจ้าอาวาสวดั
บวรนเิ วศฯ ในสมยั น้ัน
ในกรณีของสามเณรเพม่ิ เปน็ ตวั อยา่ งหนึ่งทีแ่ สดงถึงเมตตา
ในการให้การศึกษาแก่ลกู ศษิ ย์
อบุ ตั ิเหตทุ เ่ี ขาพนมสวาย
ในหวั ขอ้ นยี้ งั เปน็ เรอื่ งราวของสามเณรเพม่ิ อยซู่ งึ่ เปน็ เหตกุ ารณ์
หน่ึงในประวตั ิของ หลวงปู่ดลู ย์ อตโุ ล เห็นวา่ นา่ สนใจจึงคัดลอกมา
ไว้ ณ ทน่ี ี้
ในสมัยที่ หลวงพอ่ เพมิ่ กิตฺตวิ ฒฺฑโน ยงั เปน็ สามเณรอยู่
184
ทา่ นกล่าววา่ หลังจากทเ่ี รียนร้พู นื้ ฐานด้านศีลธรรมจรรยา อนั เปน็
ขอ้ วัตรปฏิบัตทิ เ่ี หมาะสมตามควรแลว้ หลวงปดู่ ลุ ย์ ก็นำ� ออกฝึกภาค
สนามยังป่าเขาลำ� เนาถ้าํ ต่างถนิ่ ตา่ งสถานที่ การท่ีได้ตดิ ตามหลวงปู่
ไปยงั ที่ตา่ งๆ นั้น สามเณรเพิม่ ได้เรยี นรูส้ ่งิ ตา่ งๆ ท่ไี มอ่ าจหาได้ในวัด
หลายประการ
ความวิเวกสงบสงัดของปา่ เขากเ็ ปน็ ครบู าอาจารย์ประการ
หนึง่ ทสี่ อนใหผ้ ู้ปฏบิ ัติเกดิ ความกลา้ หาญ มจี ิตใจมง่ั คง เช่ือมนั่ ใน
พระรัตนตรยั มากยง่ิ ขน้ึ
ครง้ั แรกทีห่ ลวงปู่นำ� สามเณรออกสสู่ นามของพระอริยะนั้น
ไดพ้ าไปฝกึ ปฏิบัตทิ ่ี เขาพนมสวาย ซึ่งอยู่ในเขตอำ� เภอเมืองสรุ ินทร์
นน่ั เอง และสถานที่แห่งนี้เองทถี่ ูกก�ำหนดให้เปน็ สถานประกอบพธิ ี
พระราชทานเพลิงศพของหลวงปใู่ นภายหลัง
ในสมยั น้ันเขาพนมสวายยงั เป็นปา่ ดงรกชฏั อยู่ ห่างไกลบา้ น
เมือง และมีความสงดั เงยี บจนวังเวง สามเณรท้ังหลายมีความหวาด
กลัว โดยเฉพาะยามคํา่ คนื เมื่อเข้าม้งุ เขา้ กลดแล้วจะมีความรู้สกึ
คลายใจ เมือ่ นกึ ถงึ วา่ หลวงปู่คอยปกปอ้ งดูแลอยู่
ในช่วงกลางวนั เม่ือวา่ งเว้นจากการปฏบิ ัตชิ ว่ั คราว บรรดา
สามเณรก็ชกั ชวนกันไปวง่ิ เลน่ บนเขา ตามประสาเด็กท่ยี ังคกึ คะนอง
ชอบเลน่ สนุกสนาน
ของเล่นทีพ่ อหาได้กม็ พี วกก้อนหนิ ขนาดต่างๆ คณะสามเณร
ช่วยกนั กล้งิ หนิ ก้อนเล็กกอ้ นนอ้ ยลงมาทำ� ใหเ้ กดิ ความสนุกสนานเบกิ
บานใจของคณะสามเณร ตามประสาเด็กกลางปา่ กลางเขาชาวดง
ดอย
ในขณะทส่ี ามเณรเหล่าน้นั ก�ำลังเล่นกลงิ้ กอ้ นหินอย่อู ยา่ ง
เพลิดเพลินจนเกนิ ขอบเขต กเ็ กิดเหตุการณท์ ีไ่ มค่ าดฝัน จนเกือบจะ
ก่อโศกนาฏกรรมขน้ึ โดยไม่เจตนา
ปรากฏว่า คร้ังหนงึ่ เมอ่ื สามเณรช่วยกันผลักหนิ ก้อนใหญใ่ ห้
กลิง้ ลงไป ปรากฏว่าก้อนหนิ พงุ่ ตรงลว่ิ เขา้ หารา่ งของหลวงปูท่ ่ียืนอยู่
185
ข้างลา่ งอยา่ งรวดเร็ว
สามเณรท้งั กลุ่มตะลงึ ลานดว้ ยความตกใจสุดประมาณ เพราะ
พวกตนรแู้ ก่ใจว่าความเรว็ ของกอ้ นทพ่ี ่งุ ตวั ลงไปน้ัน หลวงป่ผู เู้ ปน็
อาจารย์ท่อี ยูใ่ นวยั ชราจะต้องกระโดดหลบหลีกไมท่ ันอย่างแน่นอน
และคร้งั นี้นัยวา่ พวกตนรว่ มกันสร้างบาปกรรมขั้นมหันต์ขนึ้ แล้ว
ขณะท่บี รรดาสามเณรยนื ตะลงึ ตวั แขง็ อยู่เบอื้ งบนเขา ด้วย
ความรสู้ ึกทย่ี ากจะบรรยายอยนู่ ั้น ฝ่ายหลวงป่ซู ่ึงกำ� ลงั จะถูกหินพุง่
เขา้ ชนกลบั ยืนนิง่ เฉยไม่มอี าการหวาดหวั่นสะทกสะทา้ นต่ออันตรายที่
จะเกดิ ขึ้นในเส้ียววินาที
ดูอาการท่านสงบราบเรยี บ ไรอ้ าการตนื่ กลวั สายตาทา่ นเพ่ง
จับทีก่ ้อนหิน ดปู ระหน่งึ วา่ ทา่ นพร้อมทีจ่ ะรับชะตากรรมทีล่ ูกศิษย์ก�ำ
ลังกอ่ ขน้ึ คล้ายกับว่าหากเป็นเวรกรรมทีท่ ่านเคยกระท�ำไว้ ทา่ นกค็ ง
ยนิ ดีที่จะชดใชก้ รรมด้วยความเต็มใจ
ชั่วเวลาที่ทุกคนก�ำลังตะลงึ ดงั ต้องมนต์สะกดอยูน่ น้ั เหตุการณ์
ท่ไี ม่นา่ จะเปน็ ไปไดก้ ็อบุ ัติขน้ึ ใหป้ รากฏแกส่ ายตาทุกคู่
เมอื่ หินกล้งิ มาดว้ ยความเรว็ ใกล้รา่ งหลวงปปู่ ระมาณ ๓ วา
เศษ มนั กลับเบนเบยี่ งเปลี่ยนทิศทางไปจากเดิมอยา่ งกระทันหนั
ประดจุ มีมือยักษท์ ี่ทรงพลังมาปัดใหเ้ ฉออกนอกทศิ ทางเดิม พงุ่ เลย
ร่างหลวงปู่ออกไปอีกทางหนง่ึ
บรรดาสามเณรจอมซนรู้สกึ โลง่ ใจ เมือ่ ไดส้ ตติ า่ งกร็ บี วง่ิ ลง
มายงั พื้นลา่ ง ทรุดตัวหมอบกราบแทบเทา้ ของหลวงปู่ อยา่ งส�ำนกึ ใน
ความผดิ หลวงปู่มองการกระท�ำของสามเณร แล้วกล่าวดว้ ยน�ำ้ เสยี ง
ราบเรียบว่า
“พวกเณรทบี่ วชเขา้ มาในพระพทุ ธศาสนา ผทู้ ่ีคนทว่ั ไปยกยอ่ ง
วา่ เป็นผมู้ ศี ีลมธี รรม ควรทจี่ ะหมั่นศึกษาพระธรรมวนิ ัย ยดึ ม่ันในศลี
มคี วามเพียรในการประพฤตปิ ฏบิ ตั ิธรรม เพอื่ ท่ีจะสร้างคุณธรรมให้
เกดิ ข้ึนกับตน สมกบั ทเ่ี ขาเชอื่ ถือ
บัดนีพ้ วกเธอไม่ใช่เดก็ นอ้ ยลูกหลานชาวบา้ น ทีจ่ ะเทยี่ วว่ิงเลน่
186
ซกุ ซนได้ตามอำ� เภอใจเหมือนเชน่ แตก่ อ่ น แต่เธอเป็นบตุ รศากยะใน
พระพทุ ธศาสนา ทจ่ี ะตอ้ งปฏบิ ัตติ ามศลี ตามธรรมอยา่ งเครง่ ครดั ขอ
ใหเ้ ธอมคี วามสำ� นึกเช่นนอี้ ยู่ทกุ เมือ่ ”
หลวงปกู่ ล่าวแล้วกเ็ ดินจากไป เหมอื นกบั ไม่มเี หตุวิกฤตอะไร
เกิดขึ้นก่อนหน้านั้น จิตใจของสามเณรทุกรปู ตา่ งก็เกิดปณิธานขน้ึ
โดยฉับพลันว่า
“ต้ังแต่นีไ้ ป พวกตนจะไมแ่ สวงหาความสนกุ สนานคกึ คะนอง
เหมอื นที่ทำ� มา แต่จะตั้งหน้าศกึ ษาศลี ปฏิบัติธรรม ให้สมกับความ
รักความเมตตาทห่ี ลวงปู่ท่านสอนสงั่ อยา่ งจริงจังเสยี ที”
ภตู ิ ผี วิญญาณ และเทวดา
โดยปกตนิ น้ั เมื่อหลวงปูจะพดู อะไรกม็ ักจะพูดแตส่ ิง่ ทเ่ี ปน็
ภายใน คือ เรอื่ งจิตเรอื่ งใจเป็นส่วนมาก แตก่ ม็ ีบา้ งนานๆ ครัง้ ท่พี ูด
ถึงสิ่งภายนอกเช่นเรื่องเกย่ี วกบั ภตู ิผปี ีศาจ สมั ภเวสี หรอื โอปปาติกะ
เปน็ ต้น แต่ไมเ่ คยได้ยินหลวงปูพ่ ดู ออกมาตรงๆ ว่าเคยพบเคยเหน็
หรือมีอะไรมาเบียดเบียน หรอื มาเปน็ มิตรสนบั สนุนท่านอย่างใด
อย่างหนึ่ง
แตก่ ็มเี รอ่ื งประหลาดอยเู่ รอ่ื งหนึ่ง
ครั้นน้ัน หลวงปู่ และคณะศิษยเ์ ดนิ ทางไปเยีย่ ม พระอาจารย์
สวุ จั สุวโจ ทสี่ �ำนกั ถ�ำ้ ศรแี กว้ อ�ำเภอกุดบาก จังหวัดสกลนคร
หลวงปพู่ �ำนักอยูท่ศี าลาต้อนรับ ตอนกลางคนื ดกึ สงัด ท่าน
นอนอยูแ่ ต่ยังไม่หลบั ยงั อยู่ในภาวะตนื่ มีสตสิ มั ปชัญญะเตม็ ที่ ท่านได้
เห็นรา่ งชาย ๒ คน ยนื อยู่ที่ปลายเตยี ง ท่านผงกศรี ษะขึน้ ถามว่า
ใคร ก็ไมไ่ ด้รบั ค�ำตอบ ทา่ นจงึ ลุกข้นึ นั่งมองดู รา่ งทงั้ สองนน้ั ก็หาย
วับไปในทนั ที
หลวงปรู่ ูส้ กึ แปลกใจ จึงเลา่ เหตุการณใ์ หล้ ูกศิษยท์ ่ตี ิดตามฟัง
ในตอนเช้าวันรุ่งขึน้
187
ในชว่ งท้ายๆ ของชวี ติ ตอนท่หี ลวงปูไ่ ปพักรกั ษาตวั อยู่ท่โี รง
พยาบาลจุฬาฯ ก็มีเหตุการณ์แปลกๆ คล้ายกับว่าทา่ นกำ� ลังพูดคุย
หรอื เทศน์ให้ใครฟัง ทำ� ใหพ้ ระเณรท่ีอยู่พยาบาลเช่ือว่าทา่ นมกี ริ ิยา
วาจากบั ใครอย่างใดอย่างหน่ึงในเวลาดึกสงดั
เมอื่ ถามภายหลงั วา่ ทำ� ไมหลวงปู่จึงสวดยถาให้พร ทำ� ไมจงึ
กล่าวอรรถะคาถาธรรมข้อใดข้อหน่งึ ในระหว่างน้ัน จนผูอ้ ยู่เฝา้
พยาบาลได้ยิน ก็ได้รบั ค�ำตอบทีไ่ ม่อาจขจดั ความพิศวงสงสยั ได้
ชัดเจน
แตก่ ็ยืนยนั กันได้วา่ ท่านแสดงกิริยาอยา่ งนนั้ โดยทสี่ ังเกตได้
ชดั วา่ สตสิ ัมปชัญญะของท่านยังสมบรู ณ์ดีทุกประการ
เรื่องทำ� นองเดยี วกนั น้ี คุณบำ� รงุ ศกั ด์ิ กองสขุ ได้เขยี น
บรรยายไว้ดังนี้
ผู้เขียน (หมายถงึ คุณบำ� รุงศักด)ิ์ ไดย้ นิ พระเณรวดั บูรพาราม
จงั หวัดสุรินทร์ เลา่ สกู่ ันฟังว่ ในตอนดึกๆ มักจะไดย้ นิ หลวงปใู่ ห้พร
คล้ายๆ วา่ มีแขกมาเยอื นในยามวิกาล ผ้แู อบสังเกตการณ์เหลา่ นัน้
สรปุ เอาเองวา่ หลวงปู่พดู กบั เทวดา
ผู้เขยี นไดฟ้ งั เป็นคร้ังแรก คดิ อกศุ ลวา่ คงจะเปน็ แผนของทา่ น
พระครูฯ (หมายถึงพระครนู นั ทปญั ญาภรณ์ ภายหลังเล่อื นสมณศักด์ิ
ที่พระโพธนิ นั ทมุนี) ออกอบุ ายเพอ่ื จะได้จ�ำหนา่ ยเหรยี ญหลวงปู่
กระมัง จงึ ได้ให้พระเณรปน้ั เรื่องเปน็ ขา่ วลอื เช่นน้ี
ผเู้ ขียนรู้จักกหลวงปู่มา กไ็ มเ่ คยไดย้ นิ วา่ มีเรื่องลกึ ลับอะไร
แบบนี้ รู้แตว่ ่าหลวงป่ทู า่ นสอนไม่ใหง้ มงาย สอนเร่อื งจติ ภาวนา
ปจั จบุ ันทันสมัย
เมอ่ื หลวงปู่อาพาธ เขา้ รักษาตวั ทโ่ี รงพยาบาลจุฬาฯ ลกู ศษิ ย์
ที่เฝา้ พยาบาลหลวงป่กู ไ็ ดร้ ูเ้ หน็ ทวั่ กันวา่ ในคนื วนั นั้น เมอ่ื เวลาตี ๒
หลวงป่ตู นื่ ขึน้ กลางดกึ บอกให้พระจดุ เทียนรบั เทวดาทีม่ าหา
พระครูเยือ้ นบอกหลวงปวู่ ่า เปิดไฟฟ้าแล้วหลวงปกู่ ไ็ มว่ ่าอะไร
ตกลงไมจ่ ุดเทียนหลวงปูก่ ส็ วดมนต์เจริญพระคาถาน่งั สมาธิพกั ใหญๆ่
188
จงึ เอนตวั ลงนอน
มีผถู้ ามหลวงปู่เร่อื งเทวดาในวนั ตอ่ มาหลวงป่กู ็ตอบวา่
“ไมใ่ ชเ่ ร่อื งของการปฏิบตั ิภาวนา”
วันต่อมาผูเ้ ขยี น (คณุ บำ� รุงศักดิ์) ได้โอกาสเหมาะ ลองถาม
หลวงป่บู า้ งวา่ “เทวดาทมี่ าหาหลวงปู่ พวกเขาแตง่ กายแบบลเิ ก
หรือแบบไหนครบั ”
ทา่ นช้มี าทีผ่ ูเ้ ขียนแล้ววา่ “แตง่ กายแบบนี้แหละ” ท่านวา่ “ท่ี
อยู่ของพวกพรหมน้นั เขาอยหู่ ่างไกลจากโลกมนุษยม์ าก”
ความเชือ่ ถอื เร่ืองอทิ ธิฤทธ์ิ
ในตอนต้นไดเ้ คยเขยี นถึงเหตุการณท์ ี่หลวงปู่ผจญภยั โดยถูก
ควายปา่ ไลข่ วดิ ตอนออกธดุ งค์ ในแดนกัมพชู ามาแล้ว
หลายครั้งท่ีมผี ถู้ ามหลวงป่วู า่ ตอนท่ีทา่ นเดินธุดงคไ์ ปกมั พูชา
แลว้ มคี วายปา่ มาไล่ขวิดทา่ นอตุ ลดุ ไปหมด แต่ท่านไม่เป็นอันตราย
นัน้ หลวงปมู่ ขี องดี หรอื คาถาอาคมอะไรหรือเปล่า
หลวงป่ตู อบว่า “ไม่มีอะไร มันขวดิ ไมถ่ กู เอง ถกู แต่ตามซอก
แขนซอกขาเท่านัน้ ถ้าถกู เต็มทีม่ นั กอ็ นั ตรายเหมือนกนั ”
ทง้ั ๆ ท่ที า่ นกต็ อบตามความเป็นจริงอยา่ งน้ี คนก็มกั ไมค่ อ่ ย
เช่อื กนั พยายามพากเพียรรบเร้าขอวตั ถุมงคล หรือของดอี ะไรตา่ งๆ
จากหลวงปอู่ ย่เู รอื่ ยๆ
ความจริงแล้ว ส�ำหรบั หลวงปดู่ ูลย์ อตุโล นนั้ เป็นทท่ี ราบกัน
ดีว่าความเช่ือถือในสิ่งศักดส์ิ ิทธกิ์ ็ดี ในสิง่ เร้นลับเหลือวิสัยก็ดี ในเรอ่ื ง
ฤกษ์งามยามดีต่างๆ ไมม่ เี อามาเปน็ สาระในจติ ใจทา่ น ซึง่ เปน็ ท่ีรกู้ นั
ทั่วไปจากอาการท่ปี รากฏทางร่างกาย ทางวาจาของทา่ นนน่ั เอง
เมื่อมีผ้ใู ดจะดำ� เนินกจิ กรรมอะไร มาถามความเห็นท่านเรื่อง
ฤกษ์งามยามดี หลวงปู่กจ็ ะบอกวา่ วนั ไหนกไ็ ด้ วนั ไหนพร้อม วนั ไหน
สะดวกสบาย ใชไ้ ด้ทง้ั หมด และกน็ ง่ิ เฉย ไม่คอ่ ยจะพูดว่า วนั นั้นดี
189
วนั น้ีเหมาะ วนั นนั้ ใช้ไม่ได้
หลวงปเู่ คยพูดในหมู่สงฆว์ ่า “ถา้ กาย วาจา และจติ ใจดี
อ�ำนาจความดีงามก็จะเกดิ ข้นึ เอง”
ในหนังสือ หลวงปูฝ่ ากไว้ ไดย้ กตวั อย่างเหตกุ ารณ์ท่เี กิดขน้ึ
เม่อื ต้นเดือนกนั ยายน ๒๕๒๖ ซึง่ คณะแม่บ้านกระทรวงมหาดไทย
ได้แวะไปกราบหลวงปูเ่ ม่อื เวลา ๑๘.๒๐ น. แล้วมีสุภาพสตรที า่ นหน่ึง
ถือโอกาสพเิ ศษกราบหลวงปวู่ า่ “ดฉิ นั ขอของดจี ากหลวงป่ดู ว้ ยเถอะ
เจา้ คะ่ ...”
หลวงป่เู จรญิ พรวา่ “ของดีกต็ อ้ งภาวนาเอาเองจึงจะได้ เม่ือ
ภาวนาแล้วใจกส็ งบ กายวาจาก็สงบ แล้วกายกด็ ี วาจาใจก็ดี เราก็
อยดู่ มี ีสุขเท่านนั้ เอง”
“ดิฉนั มีภาระมาก ไม่มีเวลาจะนั่งภาวนา งานราชการเดี๋ยวนี้
รัดตัวมากเหลอื เกิน มเี วลาท่ีไหนมาภาวนาได้เจ้าค่ะ” สุภาพสตรที า่ น
นน้ั ช้ีแจง
หลวงปอู่ ธบิ ายว่า “ถา้ มีเวลาส�ำหรับหายใจ ก็ตอ้ งมเี วลาสำ�
หรับภาวนา”
เร่อื งการประพรมน้าํ มนต์ หรอื เจิมรถเจมิ บ้านรา้ นคา้ อะไร
ตา่ งๆ แต่ก่อนหลวงป่ไู ม่ยินดที �ำเลย มาในระยะหลงั ๆ เห็นว่าบุคคลมี
หลายระดบั เพ่ือเป็นการใหก้ ำ� ลงั ใจแก่เขา ใหเ้ ขาได้พน้ ทกุ ข์เลก็ ๆ
นอ้ ยๆ ทา่ นจึงปฏิบัตไิ ป เพ่อื โลกตั ถจรยิ า เป็นการอนุเคราะหอ์ นโุ ลม
ตามความประสงคข์ องทางโลกเทา่ นั้น
ครัง้ หน่ึง มีพระภกิ ษสุ งฆน์ �ำรถของตนมาให้ทา่ นเจมิ หลวงปู่
ไม่ยอมทำ� และดเุ อาว่า “งมงาย”
บางครงั้ มคี นมาขอชานหมาก ท่านกว็ า่ “เอาไปท�ำไมของ
สกปรก”
มคี นมาขอใหเ้ ป่าหัว ท่านก็วา่ “เป่าท�ำไม เด๋ียวนํ้าลายเลอะ”
เรอ่ื งวัตถมุ งคล เช่นเหรยี ญตา่ งๆ เป็นต้น หลวงปไู่ มน่ ิยม
ยนิ ดีท่ีจะท�ำ หรือให้ทำ� เลย แต่ภายหลังท่านก็อนุโลมตามบา้ ง เมื่อมี
190
ลูกศิษย์ลูกหาจดั ทำ� ขนึ้ ดว้ ยวตั ถปุ ระสงคต์ ่างๆ ท่านก็อนุโลมแผ่
พลังจติ ใหต้ ามสมควร เพอื่ ไมใ่ หเ้ ปน็ การขัดศรัทธาตอ่ ทายกทายกิ า
และลูกศิษย์ลูกหาที่มีความปรารถนาเช่นนัน้
วตั ถมุ งคลศกั ด์ิสทิ ธ์ิจรงิ หรอื
หลวงปูเ่ ล่าวา่ คร้ังหน่งึ มีพวกสาธชุ นปญั ญาชนกลุ่มหนึ่งมา
สนทนาธรรมดว้ ย และถามท่านวา่
“วตั ถมุ งคลมคี วามศกั ดสิ์ ิทธ์ิจรงิ หรือ หลวงปู่จึงได้สรา้ ง หรือ
อนญุ าตให้สร้างเหรียญข้ึน?”
หลวงปูจ่ งึ วิสชั ชนาวา่
“พวกทา่ นทงั้ หลายแสดงความสนใจในการบ�ำเพญ็ ภาวนา ก็
พากนั บำ� เพ็ญภาวนาไป ไม่ต้องไปห่วงไปสนใจกบั วตั ถุมงคลอนั เปน็
ของภายนอกน้ี แตส่ ำ� หรับผมู้ จี ติ ใจเพลิดเพลนิ อยู่ ยังยนิ ดีในการเกิด
ตายในวฏั ฏสงสาร ยังไมส่ ามารถหันมาสู่การปฏบิ ัตธิ รรมได้ กใ็ ห้
อาศยั วัตถุภายนอกเช่นวตั ถมุ งคลเชน่ นเ้ี ปน็ ทพี่ ึ่งไปก่อน อยา่ ไปตำ� หนิ
ติเตยี นอะไรเลย
ครัน้ เขาเหลา่ น้นั ประสบเหตุเภทภัยมอี นั ตรายแกต่ น และเกดิ
แคล้วคลาดดว้ ยคุณแหง่ พระรตั นตรัยก็ดี โดยบงั เอิญกด็ ี ก็จะเกิด
ความเล่ือมใสศรทั ธาในพระพุทธศาสนาได้ในภายหลัง ซง่ึ กจ็ ะเปน็
เหตุให้เจรญิ งอกงามในทางท่ีถกู ตอ้ งได้เอง
สำ� หรบั ผู้ท่ีมีศรัทธามากแล้วชอบการบำ� เพ็ญภาวนาจิตใจใน
ธรรมปฏิบัตอิ นั ยง่ิ ๆ ข้นึ ไป
ในเรอ่ื งวัตถุมลคลนี้ หลวงปจู่ ะบอกตามสจั จะธรรมวา่ ไมม่ ี
อะไร เป็นเพียงชว่ ยด้านก�ำลงั ใจเทา่ นนั้ ”
หลวงปมู่ กั กลา่ วว่า “เอาไปทำ� ไม ของท่เี ปน็ ภาระตอ้ งเอาใจใส่
ดแู ลของทต่ี ้องทง้ิ เสยี ในภายหลงั ”
แลว้ ทา่ นก็สอนเปน็ ปริศนาธรรมวา่ “จงเอาสิง่ ท่ีเอาได้ จง
191
อยา่ เอาสง่ิ ท่เี อาไมไ่ ด้”
ถ้ามองในแงข่ องปถุ ุชนสามัญธรรมดาแลว้ ความศกั ดสิ์ ทิ ธ์ิ
แหง่ คุณพระรัตนตรัยย่อมมีปรากฏเปน็ อศั จรรยไ์ ด้
ดงั เชน่ พระพุทธานุภาพแหง่ พระบรมศาสดาทไ่ี ดท้ รงแสดงแก่
เหลา่ เดียรถยี น์ อกศาสนา
ดงั น้นั ความอศั จรรย์ของอานุภาพแห่งคุณพระรตั นาตรัยจะ
บงั เกิดคณุ ประโยชน์อยา่ งไร ขอทา่ นท้งั หลายพิจารณาถอื เอาตาม
สมควรแกต่ นเทอญ
ผเู้ จริญด้วยยถาลาภสนั โดษ
โดยเหตุทีห่ ลวงป่ถู อื ธุดงควตั ร ทา่ นจงึ มีความยนิ ดีในการ
บิณฑบาตเป็นวัตร และไดป้ ระพฤติปฏบิ ัตมิ าอย่างสมา่ํ เสมอ จน
กระท่งั มาในระยะหลงั เมือ่ ท่านชราภาพมากแลว้ ประกอบกบั อาพาธ
ขาข้างซ้ายเลือดลมเดนิ ไมส่ ะดวก และบรรดาภิกษุสามเณรพยายาม
วงิ วอนขอร้อง ขอใหห้ ลวงปงู่ ดออกเดนิ บิณฑบาตนอกวดั ขอให้ทา่ น
รับบณิ ฑบาตภายในวัดเทา่ นัน้ โดยภกิ ษุสามเณรจะพากันใสบ่ าตร
ทา่ นที่วัดในตอนเช้าด้วย ถ้าหลวงปยู่ ังคงออกบณิ ฑบาตนอกวัดอยู่
และเกดิ อาพาธระหว่างทาง เทา่ กับวา่ จะยง่ิ ท ให้ลูกศษิ ยล์ ูกหา และ
ญาตโิ ยมเกิดความลำ� บากใจเปน็ แน่แท้ หลวงปู่ไดแ้ ตเ่ พียงหวั เราะ
และยอมอนโุ ลมตาม
ครั้นเมอ่ื ภกิ ษุสามเณร และญาตโิ ยมใส่บาตรใหท้ า่ นแล้ว ท่าน
กจ็ ะฉันภัตตาหารท่ีได้รบั จากบาตรนนั้ โดยปรกติหลวงป่ฉู นั แตน่ ้อย
เป็นผู้เจรญิ ด้วยยถาลาภสนั โดษ คอื ยินดีในของบรโิ ภคตามมีตามได้
เมอ่ื รบั การถวายมาอยา่ งไร ท่านกย็ นิ ดอี ยา่ งน้นั ไม่เดือดร้อนเร่ือง
การขบฉนั ไม่ฉนั พลางด่ืมนาํ้ พลาง เพราะจิตวิญญาณไม่เร้าร้อน ไม่
เคยตำ� หนิ หรอื ชมเชยอาหารทส่ี าธชุ นถวายวา่ “สิ่งน้อี รอ่ ย - ส่งิ นี้
ไมอ่ รอ่ ย” หรือ “เออ! วันนม้ี ีอาหารถกู ปาก อยา่ งนั้นไม่ถูกโรคกัน”
192
เหลา่ นเี้ ปน็ ต้น
อาหารจะจดื จะเคม็ อยา่ งไรท่านกไ็ ม่เคยเรียกหาอะไรเพม่ิ เตมิ
ประเคนอย่างไรก็ฉนั อยา่ งนน้ั ทำ� ใหภ้ กิ ษสุ ามเณรท่อี ุปัฏฐากท่านถงึ
กับละเลยเลนิ เลอ่ เมือ่ ตอ้ นรบั อาคนั ตกุ ะอยู่บอ่ ยๆ
ลูกศิษยล์ กู หาบางท่านมนี ิสยั ตรงข้าม จงึ ถูกหลวงปู่ดเุ อาวา่
“แคน่ ้ีก็ทนไม่ได้ แลว้ จะท�ำอะไรได”้
ในระหว่างการขบฉัน หลวงปูม่ ีความสำ� รวมระวงั ไมบ่ กพรอ่ ง
ในขอ้ วตั รปฏบิ ัตทิ ี่เคยไดร้ บั อบรมมา ไม่นิยมพดู ในขณะฉนั เมือ่ มผี ู้
ถามไถ่ทา่ นกจ็ ะตอบเม่ือจ�ำเปน็ และไม่มคี ขา้ วอยใู่ นปาก ไมม่ กี าร
ชะเง้อทกั ทายโหวกเหวกกบั ญาติโยม
ปรมิ าณการฉันของท่านกเ็ ปน็ ไปตามปกติธรรมดา มีน้อยก็
ฉนั เทา่ ที่มี มมี ากกฉ็ นั พออิม่ เทา่ ทเี่ คย
เม่อื เสรจ็ จากภตั ตกิจแล้วหลวงปูม่ กั จะเดินจงกรม ทำ� ตามพระ
วินัย และขอ้ วัตร
ปจั จยั อน่ื ๆ นอกจากอาหารก็ทำ� นองเดียวกัน เมอ่ื มลี าภสักกา
ระมาก ท่านไม่เคยสัง่ สมคอยดแู ลพระเณรทขี่ าดแคลนตามวดั ต่างๆ
อยูเ่ สมอ ท่ีไหนขาดก็แบ่งบันไปใหท้ ว่ั ถึง เมอ่ื ถึงคราวมนี ้อยก็ว่ากันไป
ตามมีตามเกดิ
หลวงปู่ไม่เคยปรารถนาอยากไดอ้ ะไร เชน่ “รอ้ นมาก ถ้ามี
แอร์ก็จะดี” หรือวา่ “แก่มากแลว้ ไปมาลำ� บาก มีรถยนต์นงั่ ตดิ แอร์
เยน็ ๆ สักคันกเ็ หมาะ” ตามแบบอย่างทเ่ี รยี กกันขำ� ๆ ท�ำนองประชด
วา่ “ยถาโลภะสันโดษ” หรือ “ยถาราคะสนั โดษ” คือ ยนิ ดีตามแต่
ความโลภ หรอื ความทะยานอยากในกามสขุ จะบงการให้เปน็ ไปอยา่ ง
น้ีเป็นการไม่สมควร
แต่ในวิสยั สมณะ คอื การเจรญิ ดว้ ยลาภะสนั โดษ หมายถึง
การยินดใี นของบริโภคตามมีตามได้ มนี ้อยก็ใชน้ อ้ ย ไมม่ กี ็ไมต่ ้องใช้
มมี ากก็ใชเ้ ท่าทจ่ี ำ� เปน็ ไม่ดิ้นรนแสวงหา
193
รสอาหารดอี ยู่ทใี่ จ
ทา่ นเจา้ คุณพระโพธินันทมุนี (อดีตท่านพระครูนนั ทปัญญาภ
รณ์) เล่าให้ฟังว่าในอดตี ท่าน “มคี วามไมค่ ่อยดอี ยอู่ ยา่ งหนง่ึ ” คือ
ทั้งๆ ท่พี ยายามปฏิบตั ติ ามค�ำสั่งสอนของหลวงปู่ และครูบาอาจารย์
ทัง้ หลาย แต่กส็ ังเกตตวั เองไดว้ ่า ถา้ วันไหนมภี ัตตาหารเป็นปกติ
ธรรมดา เชน่ นํ้าพรกิ ผกั ตม้ หรอื อาหารพืน้ บา้ นทั่วๆ ไป กม็ คี วาม
สุขกายสบายใจเปน็ ธรรมดาตามความเคยชนิ แต่ถ้าวนั ไหนมอี าหาร
ทพ่ี ิเศษพิศดารขน้ึ กว่าปกตกิ ็ชักจะรูส้ กึ สนุกสนานผิดธรรมดาไปหนอ่ ย
จนกระทั่งเกิดความรำ� คาญตัวเองขึ้นมา จึงตอ้ งแก้ไขดัดนิสัยตวั เอง
ด้วยการฉนั เฉพาะอาหารผักเสียบ้าง ใหม้ นั รูส้ กึ ยากล�ำบากตอ่ การได้
มายิง่ ข้นึ ให้รสชาติอาหารเป็นธรรมดาๆ มากข้ึน
ดว้ ยเหตนุ ีเ้ องทำ� ให้เกิดความคิดขึน้ มาอย่างหนึ่งวา่ พระเถระ
ก็ดีอบุ าสกอุบาสิกาก็ดี ทีเ่ จริญด้วยการปฏิบัติธรรมย่งิ ๆ ข้ึนไป
ชะรอยจะตดั ความยินดีในรสอาหารเสยี ได้ จึงไมย่ นิ ดียนิ รา้ ยในรส
อาหารเสยี เลย ไมว่ า่ จะเปน็ อาหารอะไร ลว้ นพอใจทง้ั สนิ้ ทจี่ ะไดร้ ับ
ไมร่ สู้ กึ รงั เกียจไมร่ ูส้ ึกอรอ่ ย หรอื ไมอ่ รอ่ ย ไมเ่ รยี กรอ้ งการปรงุ รส
เพม่ิ เตมิ นับว่าเป็นที่นา่ ชื่นชมควรคารวะย่งิ นกั
ครนั้ คดิ ได้เช่นนแ้ี ล้ว จงึ เขา้ ไปหาหลวงปู่ และกราบเรยี นทา่ น
ถึงความคดิ ของตน พรอ้ มทัง้ ขอทราบความคดิ เห็นของทา่ น
หลวงปูบ่ อกวา่ “เข้าใจถูกครึ่งหนึง่ เข้าใจผิดครึง่ หนงึ่ แต่ก็
เปน็ การดีแลว้ ท่ีมาพบ เพ่ือพยายามทำ� ความเขา้ ใจ”
แล้วหลวงปกู่ ็อธิบายต่อไปวา่
“ทว่ี ่าเขา้ ใจถกู นั้น กค็ ือทา่ นผปู้ ฏิบัตดิ ีปฏบิ ัติชอบแลว้ สามารถ
ตดั ความยินดใี นรสอาหารได้จรงิ
ท่วี ่าผิดน้ันก็เพราะท่านมคี วามร้สู กึ รับรูถ้ ึงรสอาหารได้เปน็
อยา่ งดีผดิ คนธรรมดาสามัญ ท้ังน้เี นอ่ื งจากขันธธ์ าตขุ องทา่ นบรสิ ทุ ธ์ิ
หมดจดแล้ว สะอาดแล้วดว้ ยการชำ� ระล้างแหง่ ธรรมอนั ยิ่ง ประสาท
194
รบั ร้รู สอันประกอบด้วยเส้นตั้งพนั ตามท่ปี รากฏใหพ้ ระธรรมบทขุท
ทกนกิ ายตา่ งกป็ ฏิบตั ิหนา้ ที่รบั ร้รู สของตนได้อยา่ งอิสระเต็มที่เต็มทาง
ตามความสามารถแห่งคณุ สมบัติของตน จงึ รรู้ สชาตติ ่างๆ ได้อยา่ ง
ชัดเจนละเอยี ดละออ ไม่ขาดไปแม้แตร่ สเดยี ว และแตล่ ะรสมรี สชาติ
ขนาดไหนกร็ ู้สกึ ได้ เสียแตว่ า่ ไม่มคี ำ� พูดหรือภาษาทีบ่ ัญญตั ิไว้ใหพ้ อ
อธิบายไดเ้ ขา้ ใจเทา่ น้นั เอง ซึง่ ด้วยภูมิธรรมของปุถชุ นสามัญธรรมดา
หากสามารถรับรู้รสชาตเิ ห็นปานนั้นไดน้ า่ ทจ่ี ะต้องเกิดคลง่ั ไคล้ใหล
หลงอย่างแน่นอนถ้าได้บรโิ ภคอาหารท่สี มบรู ณด์ ้วยคุณคา่ และรสชาติ
จรงิ ๆ
ดังนั้นไมว่ า่ อาหารนัน้ จะไดร้ บั การปรุงแตง่ ใหม้ รี สชาติมาก
หรอื รสชาตนิ ้อยอย่างไร รสชาตบิ รรดาทม่ี ีอยู่ในตัวอาหารน้นั ๆ ท่าน
ท่ีปฏิบัติชอบแลว้ กส็ ามารถรบั รไู้ ด้จนครบถ้วนทุกรส แตเ่ ม่อื รบั รู้
แลว้ กห็ มดกนั เท่าน้นั ไม่เกิดความยนิ ดพี อใจสบื เน่ืองต่อไป”
พระอรหนั ต์ไมร่ ับรอู้ ะไรจริงหรือ
หวนคิดขึ้นมาได้ถึงเหตุการณ์ทเี่ กดิ ข้นึ ครัง้ หน่ึง ครั้นนั้น
สามเณร ๒ รูป เสรจ็ จากการศกึ ษาพระปรยิ ตั ธิ รรมแลว้ นัง่ พักผ่อน
อย่ใู ตต้ น้ ไมห้ นา้ กฏุ ิ ถกเถียงกันอยู่ถึงคณุ แห่งพระอรหนั ต์ท่ีศกึ ษามา
จากห้องเรยี น
สามเณรใหญ่ชี้แจงว่า “พระอรหันต์นน้ั ละกิเลสไดห้ มดสิ้นแล้ว
ไม่รับรอู้ ะไรท้งั ส้ิน ไมย่ ุง่ เก่ยี วกบั อะไรทง้ั นัน้ หมดความยดึ ม่นั ถอื มั่น
โดยสน้ิ เชิง”
สามเณรน้อยเถียงทันที “พระอรหันตข์ องหลวงพีช่ า่ งนา่
เวทนานกั เหมอื นเสาตน้ หนง่ึ ก้อนหินกอ้ นหนึง่ จะเกิดนาํ้ ท่วมไฟ
ไหมก้ ไ็ มร่ อู้ ะไรเลย คงจะตอ้ งตายเสยี เปลา่ และยงั เปน็ บุคคลทไี่ ร้
ประโยชน์สน้ิ เชงิ ”
ขณะที่วิวาทะกำ� ลังด�ำเนนิ ไปอยา่ งผดิ เป้าหมาย ก็มเี สียง
195
กระแอมดังขึน้ จากในกุฏิ สามเณรทงั้ ๒ จึงสามัคคีกันหลบหนีไป
ครน้ั ขอ้ ถกเถยี งนล้ี ว่ งรถู้ งึ หลวงปู่ ทา่ นกบ็ อกวา่ “แมจ้ ะเปน็ การ
ถกเถยี งเอาชนะกนั แตก่ เ็ ปน็ การตงั้ ขอ้ สงั เกตทน่ี า่ พนิ จิ พจิ ารณา”
แลว้ หลวงปอู่ ธิบายวา่
“จติ เปน็ สภาพรู้อารมณ์ ตราบใดทมี่ ีจติ การรบั รู้อารมณก์ ็
ย่อมมเี ป็นธรรมดา โดยไมต่ ้องสงสัย ดังนนั้ บคุ คลธรรมดารับรู้
อารมณ์อย่างไร พระอรหนั ตก์ ย็ อ่ มจะต้องรบั รูอ้ ารมณอ์ ยา่ งนั้น และ
การรบั ร้อู ารมณข์ องท่านน่าจะเป็นไปด้วยดี ยง่ิ เสยี กว่าคนธรรมดา
สามญั ดว้ ยซํ้า เพราะจติ ของท่านไม่มเี มฆหมอก คอื กิเลสปกคลมุ อยู่
อนั จะท�ำให้ความสามารถรบั รู้อารมณ์ลดลง”
ดังนี้ การกลา่ วหาวา่ พระอรหันต์ไมร่ บั รอู้ ะไร ไม่ยุง่ ไมเ่ กย่ี ว
อะไรทง้ั นัน้ จึงไมถ่ ูกตอ้ งอย่างแนน่ อน
ส่วนการที่ทา่ นหมดความยดึ ม่นั ถอื มัน่ โดยสิ้นเชิงน้ัน ยอ่ ม
หมายความว่าแม้กระทง่ั ความไมย่ ึดม่ันในสงิ่ หน่ึงสิง่ ใดก็ย่อมไมม่ ีแก่
ทา่ น
กล่าวคือ ทา่ นหมดท้งั ความยึดมัน่ ถือมัน่ และความไม่ยดึ มน่ั
ถอื ม่นั ไมม่ ีท้งั ความพอใจในสง่ิ ใด ทั้งความรงั เกยี จในสงิ่ ใด ดังนีจ้ ึง
จะเรียกวา่ “โดยสิน้ เชิง” ได้
จติ ของท่านจึงลอยเด่นเหนอื ความดึงดูด และผลกั ดนั ตอ่
สรรพส่ิงเปน็ อสิ ระชั่วนิรนั ดร
หลวงปไู่ ด้ช้แี นวทางพจิ ารณาว่า
“อยา่ พยายามทกึ ทักเอาเองตามความรสู้ กึ ของตนวา่ พระ
อรยิ บคุ คลไมว่ า่ ในล�ำดับใด เป็นบคุ คลท่ีมีอะไรผิดแปลกไปจากคน
ธรรมดาสามญั ท่านกม็ ีอะไรทกุ อยา่ งเหมือนๆ กับคนธรรมดาสามญั
ทงั้ รา่ งกาย และจิตใจ
หรอื ถา้ จะว่าใหถ้ ูก ท่านเสยี อกี เป็นธรรมดาสามัญ ปถุ ุชนตา่ ง
หากที่มีอะไรผิดธรรมดาวปิ ริตไปด้วยการปรงุ ของกเิ ลสตณั หาอนั เป็น
เหตแุ ห่งทุกข์
196
พระอรหันต์ท่านเป็นปกตธิ รรมดา พ้นจากการปรุงแต่ง จงึ
อยอู่ ย่างไม่มีทกุ ข์
พระอริยบุคคลท่ีรองๆ ลงมาก็มกี ารด�ำรงอยู่อยา่ งมีทุกขม์ าก
ขนึ้ ตามลำ� ดับ และก�ำลงั ด�ำเนินไปสู่การด�ำรงอย่อู ยา่ งไมม่ ีทุกข์ตอ่ ไป
ก็แล การดำ� รงอยอู่ ยา่ งไมม่ ที ุกข์นยี้ ่อมเปน็ ยอดปรารถนาของ
สัตวโ์ ลกท้งั มวล
สรรพสตั วท์ กุ หมเู่ หล่าท่ีวิ่งเต้นดน้ิ รนอยดู่ ้วยประการตา่ งๆ ทุก
วันเวลานี้ ก็ลว้ นแตเ่ พอ่ื จุดประสงคท์ ีจ่ ะระงบั ดบั ทกุ ข์ของตนๆ อย่าง
เดียวเท่านั้น มิไดเ้ ปน็ ไปเพ่อื ประการอ่นื ใดเลยแม้แตน่ ้อย เม่อื หิวก็
เสาะแสวงหาอาหาร เม่อื เกดิ โรคภัยก็วงิ่ หายารักษาโรค เป็นต้น”
ทุกหมู่เหล่าลว้ นแสวงหานพิ พาน
คร้ังหนึ่ง หลวงปกู่ ลา่ วว่า “โดยนัยอนั ปรากฏอยใู่ นพระธรรม
จกั กปั ปวัตตนสูตร อันเปน็ พระปฐมเทศนานัน้ พระศาสดาแสดงไว้
ชดั เจนวา่ สตั ว์ทุกหมู่เหล่าลว้ นแสดงหาพระนพิ พาน คือความดับ
แห่งทุกข์ แต่เพราะความเขลาร้เู ทา่ ไม่ถึงการณ์ จงึ พยายามดับทุกข์
ดว้ ยวิธที ่ไี ม่ถูกตอ้ ง ความทุกขจ์ งึ เกดิ มีมาให้ดบั อยรู่ �่ำไป
วธิ ีอนั โงเ่ ขลาทีส่ รรพสัตวใ์ ช้ในการดบั ทุกข์ มี ๒ วธิ ี คอื กาม
สขุ ลั ลกิ านุโยค อธิบายงา่ ยๆ ว่า วิธีคลอ้ ยตามความปรารถนา คือ
เมอ่ื ปรารถนาส่งิ ใดก็ให้สมปรารถนาในสิ่งนั้น ความทุกข์กร็ ะงับดับ
ไป และอัตตกลิ มถานโุ ยค หมายถึง วธิ ีหกั ห้ามความปรารถนา คอื
เม่ือเกิดปรารถนาสิ่งใดกแ็ กไ้ ขหักห้ามตรงๆ บ้าง หันเหจิตใจไปสู่
อารมณอ์ ื่นทสี่ ุขมุ ประณีตกวา่ เช่น การเลน่ กฬี า เล่นตน้ ไม้ เป็นตน้
บา้ ง ในทส่ี ุดความทกุ ขน์ ้นั ก็ระงบั ดบั ไป
สรรพสัตว์ทุกหมู่เหล่าลว้ นแสวงหาพระนพิ พานแกต่ นด้วยวธิ ี
การอนั โงเ่ ขลาท้งั ๒ วธิ มี าเปน็ เวลานาน ความทุกขก์ ็ยงั เกิดมีมาให้
ดับอยู่รํา่ ไป
197
จนพระพุทธเจ้าเสด็จอุบัติขน้ึ มาในโลก และทรงรู้แจง้ จงึ ช้ี
แนวทางท่ถี กู ตอ้ งให้ดำ� เนินตาม
ทรงชีใ้ ห้เหน็ ว่า ปัญหาที่แท้จริงอยู่ท่ีตวั ความปรารถนานัน้
นน่ั เอง ถา้ สามารถทำ� ความเข้าใจให้แจ้งชดั รถู้ ึงเหตุปัจจัยการปรุง
แตง่ ของมัน หรือรูร้ ากเหงา้ ของมนั ธ�ำรงจติ เสยี ใหม่ใหถ้ กู ต้อง
ธ�ำ รงจติ ใหอ้ ยโู่ ดยประการที่ความทกุ ขไ์ มอ่ าจท่วมทบั ได้ โดย
ประการทเี่ หตุปจั จยั ท้ังหลายไม่อาจปรุงแต่งจิตให้หลงโงเ่ ขลาได้ ดังน้ี
แลว้ ก็เป็นอันวา่ ได้บรรลุถึงวธิ กี ารดำ� รงอยอู่ ยา่ งไม่มีทกุ ขโ์ ดยสน้ิ เชิง
เหลือภารกจิ โดยธรรมดาอย่อู ย่างเดยี ว คอื การดแู ลรักษาขันธ์
นต้ี ่อไปจนกว่าจะส้ินอายขุ ัย เมอื่ มนั ต้องการอาหารก็หาให้ เมื่อมโี รค
ภัยกเ็ ยียวยารักษาไปดงั น้แี ล”
จากโอวาทของหลวงปู่ขา้ งต้นนี้ แสดงให้เหน็ ว่าสตั ว์ทกุ หมู่
เหลา่ ตา่ งดำ� เนนิ กจิ กรรมตา่ งๆ เพื่อหาทางระงบั ความทกุ ข์ ความ
กระวนกระวายทั้งทางกาย และทางวิญญาณของตน
ทกุ ข์ทางกาย อันเปน็ ทุกขป์ ระจำ� นี้ ก็บำ� บดั เสยี ดว้ ยการ
แสวงหาปัจจยั ๔ คือ อาหาร เคร่ืองนงุ่ หม่ ที่อยู่อาศยั และยา
รกั ษาโรค
ส่วนทุกขท์ างใจ อันเป็นความกระวนกระวายทางวญิ ญาณ
ตา่ งก็บำ� บดั กันไปตามแตจ่ ะเหน็ ชอบ ซง่ึ พอสรปุ ได้เป็น ๒ วิธี คอื
กามสขุ ัลลกิ านโุ ยค ระงับความกระวนกระวายทางวิญญาณดว้ ยการ
คลอ้ ยตามความปรารถนา เมือ่ เกิดความทะเยอทะยานอยากใน
อารมณ์ กบั อตั ตกลิ มถานุโยค คือการหักห้ามจิตใจให้พน้ จาก
อ�ำนาจความปรารถนาในอารมณท์ ่นี า่ ปรารถนา ใหพ้ ้นจากความไม่
ปรารถนา ในอารมณ์ท่ไี ม่นา่ ปรารถนา ดว้ ยอบุ ายวิธีต่างๆ เช่น หกั
หา้ มจติ ใจโดยตรงไม่ยอมคลอ้ ยตาม หรือด้วยการเตอื นตัวเองว่าไม่
อาจสนองตอบได้ และหกั หา้ มจติ ใจให้หนั ไปส่อู ารมณ์อนั เปน็ ตรงข้าม
เชน่ หันไปเล่นกีฬา เป็นต้น ตลอดจนถึงการทรมานกายด้วย
ประการตา่ งๆ ของพวกโยคเี ป็นตวั อย่าง ก็เป็นการทำ� ใหว้ ญิ ญาณ
198
สงบลงไดเ้ หมือนกนั
การระงับดบั ทกุ ขท์ ัง้ ๒ วธิ ี สามารถบำ� บัดได้เพียงชั่วคร้ัง
ชั่วคราว บางอย่างกลับเพิม่ ความทกุ ข์ซ้าํ ซอ้ นขึ้นมาเสยี อีก จงึ ไม่ใช่
วิธีระงับดบั ทุกขท์ ่ีไดผ้ ลอยา่ งแท้จริง เพราะต้นเหตุมนั อยู่ทีค่ วาม
ปรารถนาท่ีเกิดขึน้ ที่จติ ใจต้องแกก้ นั ที่เหตุต้องดบั กันที่เหตุ ทกุ ข์จงึ จะ
ระงับดบั ไปไดแ้ นน่ อน
วธิ แี ก้กด็ ว้ ยการธำ� รงจติ ให้ถูกตอ้ ง จะท�ำใหเ้ หน็ และเขา้ ใจทกุ
ส่งิ ทุกอย่างตามทีเ่ ปน็ จริง แลว้ จิตใจก็จะสมบูรณด์ ว้ ยปญั ญาสามารถ
รเู้ ทา่ ทันเหตุปัจจัยทงั้ หลายที่เคยปรุงแต่งใหห้ ลงโง่เขลา กจ็ ะถกู
ขดั เกลาให้หมดไป บุคคลน้นั ๆ ก็จะดำ� รงชีวิตอย่อู ย่างเปน็ สุข
ปราศจากความทกุ ขท์ างวิญญาณโดยส้นิ เชิง
เม่ือเราสามารถธ�ำรงจิตไดถ้ กู ตอ้ ง เรายอ่ มดำ� รงชวี ติ อยู่
ท่ามกลางสรรพสงิ่ ได้อยา่ งสบายสรรพส่ิงทั้งหลาย ทีค่ รัง้ หนึง่ เคย
เป็นปฏปิ กั ษช์ กั นำ� ให้ทุกขเ์ กิดแกเ่ รากจ็ ะกลับกลายมาเป็นมิตร มา
เป็นเคร่อื งอ�ำนวยประโยชนส์ ุขใหแ้ กเ่ รา เพราะเหตุว่าแท้จริงนัน้
สรรพสิ่งหาไดเ้ ปน็ เหตุแห่งทุกข์ไม่ ความหลงผิดต่างหากทีเ่ ป็นตวั การ
เมือ่ ความหลงผดิ ถกู ก�ำจดั สญู สิน้ ไป เพราะการร้เู ทา่ ทันทุกสิ่ง
ทุกอยา่ งตามทเ่ี ปน็ จรงิ การปรงุ แตง่ ให้จิตหลงผดิ ซาํ้ ๆ ซอ้ นๆ ก็
สลายตวั ลงอย่างราบคาบสนั ตสิ ขุ ถาวรย่อมด�ำรงอยชู่ ัว่ นิรนั ดร
ดว้ ยเหตนุ ี้ หลวงปู่ดุลย์ ท่านจึงชอบใจนกั หนากบั ค�ำกลา่ วใน
สูตรของเวย่ หลา่ งท่ีวา่ “คนโงย่ ่อมหลบหลกี ปรากฏการณ์ แตไ่ มห่ ลบ
หลีกความคิดปรงุ แต่ง สว่ นคนฉลาดยอ่ มหลบหลกี ความคดิ ปรงุ แตง่
และไมจ่ �ำเป็นต้องหลกี ปรากฏการณ์”
ผมู้ ตี นเปน็ ที่พึ่งตลอดกาล
ผลทไ่ี ดร้ ับจากการอยรู่ บั ใชใ้ กลช้ ดิ หลวงป่มู านานปี มอี ย่อู ยา่ ง
หนึ่งซึง่ บอกไมถ่ กู ว่าเป็นผลดีหรอื ไม่ดี คอื เป็นคนทไี่ ม่ฉลาด และไม่
199
พถิ พี ถิ นั ในการเอาอกเอาใจผู้อ่ืน ทง้ั นี้กเ็ พราะเหตุทีห่ ลวงปทู่ ่านเป็น
คนท่ีสุดแสนจะปรนนิบตั งิ า่ ย
หลวงปดู่ ลู ย์ อตโุ ล ไมย่ นิ ดใี หผ้ อู้ นื่ ตอ้ งเสยี เวลามาปรนนบิ ตั ิ
ทา่ นจนเกนิ จำ� เปน็ ทา่ นจะยนิ ยอมใหพ้ อสมควรแกก่ ารทศี่ ษิ ยไ์ ดน้ บั
วา่ บำ� เพญ็ อปุ ชั ฌายวตั รอาจารยิ วตั รเรยี บรอ้ ยตามพระวนิ ยั เทา่ นนั้
เสรจ็ แลว้ ทา่ นกร็ บี ไลใ่ หไ้ ปดตู ำ� รบั ตำ� รา หรอื ไปทำ� สมาธภิ าวนากนั
ตอ่ ไป
กิจที่ยังมีเหลือให้ทำ� อย่อู กี ท่านกจ็ ะชว่ ยตัวเอง บางครั้งแมจ้ ะมี
พระเณรคอยรับใช้อย่ทู า่ นกย็ ังทำ� เอง เช่น เดนิ ไปหยิบของ เดินไป
เปดิ ปิดไฟ หรือรนิ นํา้ ใส่แกว้ เปน็ ตน้ และทา่ นทำ� ด้วยความ
คล่องแคล่วรวดเรว็ มาก จนผูค้ อยปฏิบตั ิอาจาริยวัตรขยับตัวไม่ทนั
เลยทเี ดียว แมก้ ารนุ่งห่มสบงจีวร แต่งเครอื่ งบรขิ ารท่านกม็ ักจะท�ำ
เองโดยไมย่ อมใหใ้ ครช่วย
เมือ่ ลองมาพิจารณาดูแลว้ กพ็ อจะสรปุ เหตุผลได้ดงั น้ี
ประการแรก หลวงปู่ทา่ นเป็นคนไม่มมี ายา ไมม่ ีการวางมาด
นง่ั อย่างนนั้ ยนื อย่างน้ี พูดอยา่ งนี้ เดินอย่างนี้ อะไรท�ำนองที่ทึกทกั
ด้วยตนเองวา่ ท�ำให้เกดิ ความภูมฐิ าน นา่ เลอ่ื มใสนา่ นับถือ นา่ ยำ� เกรง
หรือมบี ญุ ญาธกิ าร
เวลาจะพูด กไ็ มม่ ีการท�ำสุม้ เสยี งใหห้ า้ วกระหึม่ ผดิ ปรกติ ให้
น่าเกรงขามทำ� ตนให้เปน็ คนทใ่ี ครๆ เอาใจยากๆ หน่อย ไมเ่ ชน่ นน้ั จะ
ดูเป็นคนปกตธิ รรมดาสามัญไป
หลวงปูจ่ ะท�ำอะไร ท�ำโดยกิรยิ า พูดโดยกริ ยิ า ไมท่ ำ� ให้ใคร
ล�ำบากโดยใชเ่ หตุ ไมพ่ ูดให้ใครอดึ อดั ใจ เพียงเพื่อจะสนองตณั หา
หรือปมด้อยหรอื อัสมมิ านะ (การถือเขาถือเรา) อะไรบางอย่าง
ประการทีส่ อง หลวงปู่ทา่ นเปน็ คนเข้มแข็ง คนท่เี ขม้ แข็งย่อม
ไมน่ ยิ มการพึ่งพาผอู้ ่นื เป็นธรรมดา โดยเฉพาะในกจิ ที่เลก็ ๆ น้อยๆ
คนอ่อนแอเทา่ นั้น ทีค่ อยแตจ่ ะอาศัยคนอ่ืนโดยไมจ่ �ำเป็น เด็กที่
อ่อนแอยอ่ มคอยแตจ่ ะอ้อนมารดา โยกเยกโยเยดว้ ยอาการตา่ งๆ เปน็
200