ควรจะละกิเลสอะไรกอ่ น”
หลวงป่ถู วายวิสชั นาวา่
“กิเลสทงั้ หมดเกดิ รวมอยทู่ จี่ ิต ใหเ้ พ่งมองดทู ี่จติ อันไหนเกิด
กอ่ น ใหล้ ะอนั นน้ั ก่อน”
คร้ันทรงมีพระราชปจุ ฉาในธรรมข้ออนื่ ๆ พอสมควรแกเ่ วลา
แลว้ ทรงถวายจตุปจั จยั แกห่ ลวงปู่ เมอื่ เสด็จกลับทรงมีพระราชดำ�
รัสค�ำ สดุ ทา้ ยวา่
“ขออาราธนาหลวงปู่ใหด้ ำ� รงขนั ธอ์ ยู่ใหน้ านต่อไปอกี เกินรอ้ ย
ปี เพ่อื เปน็ ทเ่ี คารพนบั ถือของปวงชนทวั่ ไป หลวงปจู่ ะรบั ไดไ้ หม”
ทั้งๆ ท่ีพระราชด�ำรัสนี้เป็นสมั มาวจีกรรม ทรงประทานพรแก่
หลวงปโู่ ดยพระราชอธั ยาศัย หลวงปกู่ ไ็ มก่ ล้ารบั และไมอ่ าจฝืนสงั ขาร
จงึ ถวายพระพรวา่
“อาตมภาพรับไม่ไดห้ รอก แลว้ แต่สงั ขารเขาจะเป็นไปของเขา
เอง จะอยไู่ ด้นานอกี เท่าไรไมท่ ราบ”
ต่อจากนั้นทกุ พระองค์ก็เสดจ็ กลับแต่ในการเสด็จพระราชดำ�
เนินกลับน้นั ทรงไดร้ บั ความลำ� บากพอสมควรเน่ืองจากประชาชนได้
ไปเฝา้ ชืน่ ชมพระบารมีกันอยา่ งเนืองแน่น
อาพาธหนกั ครงั้ ทสี่ อง
หลังจากทห่ี ลวงปเู่ คยเขา้ รกั ษาอาพาธในโรงพยาบาลครง้ั แรก
เมื่อ พ.ศ.๒๕๐๘ หลังจากนน้ั อีก ๑๘ ปี เมอ่ื ทา่ นเจรญิ ขันธม์ าจนถึง
๙๕ ปี ทา่ นจงึ มอี าการผดิ ปกตดิ า้ นสขุ ภาพอกี ครัง้ หน่ึง
เมอ่ื วันที่ ๒๗ มกราคม พ.ศ.๒๕๒๖ หลวงปูเ่ รม่ิ มีอาการปวด
ชาตั้งแต่บ้ันเอวลงไปถงึ ปลายเทา้ เริ่มเปน็ ดา้ นซา้ ยขา้ งเดียวก่อน
ความจรงิ เคยเปน็ เล็กนอ้ ยมานานแล้ว เคยนวดถวายทา่ นกส็ ังเกต
เห็นไดว้ า่ ชพี จรเดินเบามาก ต่อมาอาการอยา่ งนี้กล็ ามมาทขี่ าขา้ ง
ขวา ท่านบอกว่าร้สู กึ เหมอื นจะปวดหนกั ปวดเบาอยตู่ ลอดเวลา
251
พาไปเขา้ ห้องนา้ํ กถ็ ่ายไม่ออกทงั้ หนกั และเบาแถมยังมีอาการเดี๋ยว
หนาวเดย๋ี วรอ้ นระคนกัน
จะใหค้ นไปตามหมอ ทา่ นกห็ ้ามบอกวา่ “ไม่จ�ำเปน็ ” ความ
จรงิ ทา่ นไมเ่ คยเรียกหาหมอ หรือใชใ้ ห้ใครไปตามหมอตลอดจนไม่
เคยบอกให้ใครพาไปโรงพยาบาล เทา่ ที่เคยมหี มอมารกั ษาพยาบาล
หรือเคยเขา้ ไปรักษาในโรงพยาบาลน้นั ลว้ นเป็นเรอ่ื งของลกู ศิษยล์ กู
หาเป็นห่วงและขอร้องท่านทัง้ สนิ้
ในคนื นน้ั ถา้ ไมส่ งั เกตให้ลกึ จะไม่รเู้ ลยวา่ ท่านอาพาธอย่าง
รนุ แรง ใบหน้าและผิวพรรณดเู ปน็ ปกติ สงบเยน็ ไมม่ ีความวติ กกงั วล
เหมอื นท่านไม่ได้เป็นอะไรเลย
ผู้รักษาดูแลทา่ นอย่างใกลช้ ิดมาตลอดจะรู้สกึ วา่ หลวงปู่มี
อาการออ่ นเพลยี มากในคนื นนั้ และแสดงว่าออ่ นเพลยี มากขนึ้ ทกุ ที จงึ
ตอ้ งตัดสินใจพาทา่ นไปเขา้ โรงพยาบาลสรุ ินทรเ์ ม่อื เวลาประมาณ
๐๔.๐๐ น.
ต้ังแตไ่ ปถึง จนถึง ๐๘.๓๐ น. ของเช้ามืดวันท่ี ๒๘ มกราคม
หมอได้ใหน้ าํ้ เกลอื และสวนปัสสาวะออก แต่อาการของหลวงปยู ัง่ ไม่ดี
ขึ้น ถงึ กระน้นั ทา่ นกร็ บเรา้ ขอใหพ้ าออกจากโรงพยาบาล ไมม่ ใี คร
กลา้ ทัดทาน จงึ ต้องนำ� ทา่ นกลับวดั เมือ่ เวลา ๑๕.๔๐ น. วันเดยี วกัน
เมอื่ กลับถงึ วดั คณะศษิ ยไ์ ด้ปรึกษาหารอื กนั และตกลงจะน�ำ
หลวงปู่เข้ากรุงเทพฯ ครัง้ แรกจะไปรักษาท่โี รงพยาบาลธนบรุ ี ต้ังใจ
จะออกเดนิ ทางเชา้ วันที่ ๒๙ มกราคม เวลา ๐๙.๐๐ น.
ตลอดคืนท่ีผา่ นมา สังเกตดอู าการป่วยของหลวงปหู่ นกั ขน้ึ
ทัง้ อากาศก็หนาวจดั อีกดว้ ย ตอนเช้าถวายอาหารทา่ น ท่านก็ฉนั ได้
เพียงเล็กนอ้ ย
เม่ือใกลจ้ ะถงึ เวลาออกเดินทาง ท่านพระครูนนั ทปญั ญาภรณ์
กำ� ลงั ยนื ดแู ลความเรียบร้อยอยนู่ อกกุฏิหลวงปู่มพี ระภิกษบุ างทา่ นเข้า
มาคดั ค้านแสดงความไมเ่ ห็นดว้ ยทจ่ี ะนำ� หลวงปเู่ ข้ากรุงเทพฯ โดย
เหตวุ ่า “หลวงปอู่ อ่ นเพลยี มากแล้ว ไม่ควรน�ำท่านไป ขืนไปก็คงไม่
252
ถงึ กรุงเทพฯ แน”่
ท่านเจา้ คุณจึงพดู กับทา่ นเหล่าน้นั วา่ “เท่าทท่ี า่ นแสดงความ
เหน็ มาน้ี นบั วา่ เปน็ การถกู ตอ้ งแลว้ ในฐานะทเ่ี ปน็ ศษิ ย์ย่อมมสี ทิ ธ์ิ
เตม็ ทท่ี จี่ ะคดั คา้ นได้ แตผ่ มเห็นว่าถา้ ไมไ่ ปกม็ ที างเดยี ว คือหลวงปู่
หมดลมแน่ แตถ่ ้าไปยังมสี องทาง เพราะฉะน้นั ตอ้ งไป”
และก่อนออกเดนิ ทางนัน้ เอง คณุ หมอทวสี ิน ส่งขา่ วใหท้ ราบ
ว่าได้ติดตอ่ ประสานงานทีโ่ รงพยาบาลจฬุ าฯ ใหแ้ ลว้ จึงขอใหเ้ ปลี่ยน
จากโรงพยาบาลธนบรุ ไี ปเป็นโรงพยาบาลจุฬาฯ แทน
ต้งั แตร่ ถพยาบาลเคลื่อนออกจากวัด หลวงป่นู อนสงบนง่ิ
ตลอด จนกระท่ังถงึ อ�ำเภอนางรอง จังหวดั บุรรี มั ย์ เวลา ๑๑.๐๐ น.
จึงหยดุ รถเพ่อื ถวายเพลหลวงปู่ โดยไปจอดหนา้ รา้ นอาหารแหง่ หน่ึง
เจา้ ของร้านตืน่ เต้นดีใจมาก เพราะหลวงปู่เคยมาท�ำพธิ เี ปิดร้านให้
เป็นการแวะมาจอดโดยบงั เอญิ เขาจดั แจงถวายอาหารเป็นอย่างดี
แต่หลวงปูฉ่ นั ขา้ วตม้ ได้เพียงเลก็ นอ้ ย
ระยะทางจากสุรนิ ทรถ์ ึงกรุงเทพฯ รถวิ่งตามปกตใิ ชเ้ วลา๖-๗
ชวั่ โมง แต่วันนั้นขอไมใ่ หว้ ิง่ เรว็ เพราะเกรงหลวงปู่จะกระเทือน จึงใช้
เวลาถึง ๙ ชัว่ โมง ตลอดระยะการเดินทางหลวงปนู่ อนสงบเงยี บ
ไมม่ ีเหตุอะไรให้น่าวิตกตลอดการเดนิ ทาง
ถงึ โรงพยาบาลจุฬาฯ เวลา ๑๗.๔๐ น. ต้องพาหลวงปู่เขา้
รกั ษาที่ตกึ ฉกุ เฉนิ เนื่องจากเปน็ วนั เสารแ์ ละนอกเวลาราชการ ใน
ตอนนลี้ กู ศษิ ยล์ กู หาต่างทกุ ข์กังวล ทเ่ี หน็ อาการของหลวงปหู่ นักมาก
แถมยงั ลำ� บากตอ้ งเดนิ ทางไกลและยังตอ้ งรอเวลาใหห้ มอตรวจเปน็
เวลานาน หมอสอบถามข้อมูลหลายอย่างและฉายเอ็กซเรย์ดว้ ย
เสรจ็ เรียบร้อยแล้วจึงไดพ้ าหลวงปู่เขา้ พักทหี่ อ้ งพกั พเิ ศษ ตกึ วชริ าวุธ
ชั้น ๒ หมายเลขหอ้ ง ๒๒
253
ความโกลาหล
เพราะเหตุทมี่ าถึงโรงพยาบาลนอกเวลาราชการ หลวงปจู่ ึง
ต้องเข้าตกึ คนไขฉ้ ุกเฉินเสียก่อน ไม่ใชห่ ้อง ไอ.ซ.ี ยู. ตามทบ่ี างท่าน
เข้าใจ
หลวงปเู่ ข้าพักไดป้ ระมาณ ๒ ชวั่ โมงกว่า คณุ หมอจรสั กับ
คณะก็มาตรวจอาการแลว้ บอกว่า ต้องเอาหลวงปู่เขา้ หอ้ งเอ็กซเรยอ์ กี
เพราะมีความจำ� เป็นมาก แมจ้ ะเหน็ หลวงป่อู อ่ นเพลยี มากก็ต้องท�ำ
ตอนนั้นเวลา ๕ ทุม่ แลว้ หลวงปู่ทา่ นนอนสงบนิ่ง จนบางทา่ นคดิ ว่า
ทา่ นคงจะมรณภาพละทิ้งสังขารไปแล้ว
ตอ้ งใส่ท่ออ๊อกซเิ จนช่วยหายใจนานนับ ๕ ชั่วโมง การทำ�
งานของหมอจงึ แลว้ เสรจ็ แต่การวนิ ิจฉยั ของหมอในคนื นั้นไม่ได้รับ
ผลอะไรเลย
เมอื่ ยกหลวงปขู่ ้นึ นอนบนแท่นฉายในห้องเอ็กซเรยแ์ ล้ว เจา้
หน้าทก่ี ็ลงมือฉาย ๒ ช่วั โมงกว่าก็ยังไมเ่ สร็จสงสัยว่าเครื่องฉายเสีย
หรือฟลิ ์มหมดอายุ เพราะปรากฏว่าฟิลม์ ท่อี อกมาแต่ละแผ่นด�ำสนิท
มองไมเ่ หน็ อะไรเลย
ทา่ นพระครนู นั ทปัญญาภรณ์ (พระโพธินันทมุนี) บันทกึ ไวว้ ่า
ใช้ฟิลม์ เอ็กซเรย์หลายแผ่น หนาเกอื บครึ่งคบื ก็ไมไ่ ดผ้ ลเลยทงั้ จอภาพ
ก็ไม่ปรากฏภาพให้เห็นได้ตลอด มีเห็นบา้ งไม่เหน็ บา้ ง ต้องฉายแลว้
ฉายอกี ตงั้ หลายคร้ัง หลวงปคู่ งตอ้ งอดทนอยา่ งมาก เห็นทา่ นนอน
หลับตานิง่ ไมไ่ หวติงเลย
พยาบาลจะฉดี ยา จะให้น้าํ เกลอื กท็ ำ� ไมส่ ะดวก บางครง้ั ก็
แทงเข็มไมเ่ ขา้ บา้ ง จนหมอบอกวา่ รา่ งกายของท่านไม่รบั ทางหมอ
เองกท็ อ้ ใจและแปลกใจ
คุณหมอสตรที ่านหนงึ่ ออกมาถามคณะศษิ ย์ว่า “ทำ� ไมถงึ เปน็
อยา่ งน้ี” ตา่ งคนตา่ งกไ็ ม่ทราบและไม่มใี ครกล้าตอบ
เมือ่ มาคดิ ดู โดยลักษณะน้ีอาจเปน็ วา่ หลวงปู่คงจะเข้าสมาธิ
254
สว่ นลกึ และละเอียดเพ่ือระงับทุกขเวทนา เพราะเวลา ๑๔ ชัว่ โมงที่
ผ่านมา ทา่ นหลบั ตาอยู่อย่างนน้ั โดยไม่ไหวติงเลย ตลอดเวลาเขา้
หอ้ งฉกุ เฉิน ตรวจร่างกาย ฉายเอ็กซเรย์ ตลอดจนเขา้ ห้องพักแลว้
กลบั เข้าหอ้ งเอ็กซเรยอ์ กี
ตลอดเวลา ๑๔ ชวั่ โมงนั้น ท่านอาจไมไ่ ดร้ ับรูก้ ารกระท�ำ
ของพวกเราเลยแมแ้ ตน่ ้อยก็เป็นได้
เมอ่ื ไดเ้ หน็ ภาพหลวงปู่นอนสงบอยู่บนเตียงพยาบาล ไดร้ บั
การดแู ลรักษาดว้ ยการแพทยส์ มัยใหม่ มกี ารใหอ้ อ๊ กซิเจนชว่ ยหายใจ
ใหน้ าํ้ เกลือและใหอ้ าหารทางสายยางเปน็ ทเี่ รยี บรอ้ ยพอวางใจไดแ้ ลว้
ความวิตกกังวลความเคร่งเครียดกระวนกระวายท่ีมีอยใู่ นหวั สมอง
ของผู้เขียน (พระครูนนั ทปัญญาภรณ์) เป็นเวลานานนบั ตัง้ แต่ออก
เดินทางจากจังหวัดสุรนิ ทร์มา ก็ไดบ้ รรเทาเบาบางลงและรสู้ ึกโล่งใจ
เกิดความมน่ั ใจวา่ หลวงป่จู ะตอ้ งหายได้ในครงั้ นอี้ ย่างแน่นอน
ครัน้ เวลาตี ๓ ล่วงแล้ว หมอกลับไปหมดแล้วหลวงปจู่ งึ ลืมตา
ข้นึ พร้อมกบั ค�ำถามประโยคแรกว่า “หมอตรวจเสรจ็ แล้วหรือ”
ได้กราบเรียนท่านวา่ “เสรจ็ แล้วครับ”
ท่านก็สง่ั วา่ “ให้กลบั เดี๋ยวนี”้
หมายถึงใหพ้ ากลบั วดั ต้องค่อยพดู อธิบายให้ท่านทราบวา่
ทา่ นยังกลบั ไม่ได้ ต้องอยพู่ กั รกั ษาทีโ่ รงพยาบาลอกี หลายวนั พรอ้ ม
ทั้งเลา่ เหตุการณท์ ่ผี า่ นมาให้ทา่ นทราบโดยตลอด ท่านก็ฟังเฉยโดย
ไมว่ า่ อะไร
ในวนั นั้นคณะศษิ ยไ์ ดก้ ราบเรยี นทา่ นเจา้ ประคุณสมเด็จพระ
ญาณสังวร (สมเดจ็ พระสังฆราชองคป์ จั จบุ นั ) ใหท้ รงทราบ ทา่ นเจ้า
ประคุณสมเดจ็ ฯ จงึ เจริญพรไปยงั สำ� นักพระราชวังตอ่ ไป
255
เหนือเอก็ ซเรย์
ตรงนข้ี อแทรกเรือ่ งเบาสมองสักเล็กนอ้ ย ขอ้ เขยี นต่อไปนเ้ี ป็น
บันทึกของคณุ บำ� รุงศกั ด์ิ กองสขุ ที่น่าสนใจไว้เปน็ อทุ าหรณ์ ดังนี้
คณุ จำ� นงค์ พนั ธุ์พงศ์ เล่าให้ผเู้ ขียนฟังถงึ เม่อื คร้งั หลวงป่ดู ลุ ย์
อตโุ ล อาพาธหนกั พระครนู ันทปญั ญาภรณ์เป็นผู้น�ำหลวงปเู่ ข้า
กรุงเทพฯ ใหแ้ พทยต์ รวจอาการ ณ โรงพยาบาลจฬุ าฯ
เม่อื น�ำหลวงปเู่ ข้าห้องเอ็กซเรย์ พนกั งานคนหนึ่งกพ็ ดู กับคุณ
จ�ำนงค์วา่
“อ้อ! คนแกๆ่ แบบน้ี เอ็กซเรยง์ ่ายสบายมาก”
คุณจ�ำนงคน์ กึ ในใจวา่ “ประเดีย๋ วก็รู้ เล่นพดู กบั หลวงปแู่ บบ
น!้ี ”
พอยกหลวงปู่ข้นึ เตยี งเลอ่ื นไฟฟา้ เตยี งไม่เลื่อนเขา้ ที่ เมอ่ื คณุ
จ�ำนงค์ก้มกระซบิ กราบขออนุญาตหลวงปเู่ ตยี งก็เลอื่ นเขา้ ทไี่ ด้
เจ้าหน้าท่ถี า่ ยเอก็ ซเรย์อยนู่ านถึง ๒ ชั่วโมง ขณะถา่ ยกไ็ ม่มี
ภาพปรากฏบนจอทวี ี หมดฟลิ ์มไปเป็นจ�ำนวนมาก พอลา้ งออกฟลิ ม์
ทุกใบดำ� หมด
คุณหมอมากราบขออนญุ าตกับหลวงปู่ คณุ จำ� นงคป์ ลกุ หลวง
ปูพ่ อให้รู้สึกตวั แลว้ กราบเรียนทา่ นวา่ “หลวงปู่ครบั อย่าเขา้ สมาธิ
เขาถา่ ยเอก็ ซเรยไ์ ม่ตดิ ”
หลวงป่วู ่า “ออ้ ! อย่างน้นั ร”ึ
หลังจากนนั้ จึงมีภาพปรากฏบนจอทีวแี ละฟลิ ม์ เอก็ ซเรย์ ก็ได้
ภาพตามตอ้ งการ
ถกู ตัวหลวงปไู่ ดไ้ หม
รุง่ ขน้ึ วนั ท่ี ๓๐ มกราคม ๒๕๒๖ หลวงปมู่ ีอาการดขี ้ึนพอที่
จะประคองใหน้ ั่งบา้ ง นอนบ้าง หลวงป่พู ูดเสยี งชัดเจนดี
256
เกิดเหตุขดั ข้องทางผู้รักษาพยาบาลนดิ หนอ่ ยเพราะลว้ นแต่
เปน็ สภุ าพสตรี เมอ่ื จะทำ� หนา้ ทมี่ กั จะถามทา่ นพระครนู นั ทปญั ญาภรณ์
ซง่ึ เฝา้ ไข้อยู่ ณ ที่น้ันว่า
“หนถู ูกตอ้ งหลวงปไู่ ด้ไหมคะ”
ท่านพระครฯู ตอบ “ไมไ่ ด้ เจรญิ พร”
“อ้าว! แล้วจะให้หนทู ำ� อยา่ งไร”
“ไมท่ ราบ เจรญิ พร”
ท่านพระครฯู บอกว่า อยากจะใหพ้ วกเขาเขา้ ใจค�ำพดู ของ
ท่านเอาเอง เขากไ็ ม่เขา้ ใจงงอยอู่ ย่างนัน้ เอง ทา่ นจงึ ต้องอธิบายวา่
“คุณเปน็ ผหู้ ญิง หลวงปู่และอาตมาเป็นพระสงฆ์ เมื่อคุณถาม
วา่ ถูกตอ้ งตัวหลวงปไู่ ดไ้ หม จะให้อาตมาตอบว่าได้ อยา่ งน้ีไม่สมควร
ผดิ สมณวนิ ัย ใครมหี นา้ ท่อี ยา่ งไร พึงทำ� ไปตามหนา้ ที่ของตน”
พวกเขาเขา้ ใจและทำ� ตามหนา้ ทข่ี องตนด้วยความระมดั ระวัง
และออ่ นน้อมน่าชมเชย ตอ่ มาจงึ ขอให้มีบุรุษพยาบาลจากตึกสงฆม์ า
ท�ำหนา้ ท่แี ทนตลอดเวลาท่หี ลวงปูอ่ ยู่ในโรงพยาบาล ปัญหาขัดข้อง
ต่างๆ จึงหมดไปด้วยดี
ผลการวนิ ิจฉยั โรค
เช้าวันท่ี ๓๐ มกราคม ๒๕๒๖ คณะหมอไดเ้ ข้าตรวจร่างกาย
ของหลวงป่อู กี ครง้ั หนง่ึ คณุ หมอยกมือนมัสการขอพรและขออภัย
แล้วกท็ ำ� การตรวจ เหตุการณ์ทุกอยา่ งเปลี่ยนแปลงไปจากวนั กอ่ น
ผลการตรวจทุกอย่างชัดเจนดี จากการถ่ายฟิล์มเอ็กซเรย์มา ๖ แผน่
เมอื่ นำ� มาวินจิ ฉัย ปรากฏวา่ หลวงปู่มอี าการหนกั อยู่ ๓ อยา่ ง
คือ เก่ยี วกับ กระดูก ปอด และสมอง ซึ่งจะตอ้ งใช้เวลาอย่รู กั ษา
นานเปน็ เดือนข้นึ ไปและมคี วามหวังวา่ มีทางรกั ษาหายได้ จงึ ปลงใจ
ว่าแม้นานเท่าใดก็จะอยู่
ปัญหาทีม่ ใี นขณะนก้ี เ็ นอื่ งจากระเบียบของตึกแหง่ นค้ี ือ ไมใ่ ห้
257
ผู้อยูเ่ ฝ้าพยาบาลในหอ้ งเกนิ ๒ คน ท่านพระครนู ันทปญั ญาภรณจ์ งึ
ตอ้ งไปคา้ งคืนที่วดั บวรนิเวศฯ
เมอ่ื เขา้ กราบเรยี นทา่ นเจ้าประคุณ สมเดจ็ พระญาณสงั วร
เพอื่ กราบทลู ให้ทราบถึงอาการของหลวงปูส่ มเด็จฯ ท่านแนะน�ำวา่
ถ้ามีอะไรขัดข้องให้ติดต่อพระมหาวีระ ซ่งึ เปน็ เลขาฯ และอปุ ฏั ฐาก
ของทา่ นเจ้าคุณพระญาณวโรดม รองสมเด็จฯ
ทา่ นมหาวีระได้ตดิ ต่อไปท่ีคุณหญิงสมรักษ์ เพือ่ ใหห้ ลวงป่ไู ด้
ยา้ ยจากตึกวชิราวุธมาพกั ที่ตึกจงกลนีวัฒนวงศ์ ณ หอ้ งพระราชทาน
บนช้นั ท่ี ๓ ของตกึ จงึ เปน็ อนั วา่ หลวงปู่ไดย้ า้ ยมาอยู่หอ้ งพระราชทาน
ตึกจงกลนีวัฒนวงศ์ เมอ่ื วนั ที่ ๑ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๒๖ เวลาบา่ ยสอง
โมงเศษ
นับวา่ เป็นพระมหากรณุ าธิคุณเปน็ อย่างยิ่ง เพราะทน่ี ี่มคี วาม
กวา้ งขวางสะดวกท่จี ะใหล้ กู ศิษยล์ กู หาและผมู้ ีศรัทธาในหลวงปไู่ ด้เข้า
เยี่ยมไข้และเขา้ กราบหลวงปู่ เนื่องจากในแตล่ ะวนั มีญาตโิ ยมมาเยยี่ ม
หลวงป่จู ำ� นวนมาก หอ้ งพักเดิมคับแคบจงึ รู้สกึ หนักใจและเกรงใจโรง
พยาบาลเปน็ อย่างมาก
ห้องพระราชทาน
นบั เปน็ พระมหากรณุ าธคิ ณุ อย่างลน้ พ้น ทพ่ี ระบาทสมเดจ็
พระเจ้าอยูห่ วั ได้ทรงมีพระราชทาน สงเคราะหร์ ับหลวงปไู่ ว้ใน
พระบรมราชูปถมั ภ์และพระราชทานแพทยห์ ลวงมาท�ำการรักษาเปน็
พเิ ศษ
ส�ำหรับหอ้ งพระราชทานน้ี ภายในแบง่ เป็น ๓ หอ้ ง ดา้ นซ้าย
มือเป็นหอ้ งผปู้ ่วย ตอนกลางเปน็ หอ้ งโถงใหญ่สำ� หรับแขกหรือเป็นท่ี
ประชมุ ด้านขวามอื เปน็ ห้องจัดเตรยี มอาหารมเี คร่อื งสุขภัณฑพ์ ร้อม
มลู
ที่เรียกวา่ ห้องพระราชทานน้ัน ก็เพราะทรงมีไว้เพ่อื
258
พระราชทานเพือ่ ความสะดวกแกเ่ จา้ นายชั้นผใู้ หญ่ หรอื พระเถระชัน้
ผใู้ หญ่ หรือผอู้ นื่ ใดตามพระราชอัธยาศยั
กำ� ลังปล้ืมปตี ิวา่ หลวงปูไ่ ด้อยูห่ ้องพระราชทานในขณะเดียวกนั
ความกงั วลความหนกั ใจก็เกิดข้นึ มา ท้ังนีเ้ นอื่ งจากสำ� นึกตนว่าเปน็ ผู้
มสี ติปญั ญาน้อย มคี วามสามารถนอ้ ย ไม่รธู้ รรมเนยี มและระเบยี บ
ปฏบิ ัติของหอ้ งพเิ ศษเช่นนี้
อีกประการหน่งึ ไม่ทราบว่าตนเองจะสามารถรับผิดชอบ ใน
การดแู ลรกั ษาพยาบาลหลวงปู่ รวมทัง้ ต้องรับบคุ คลที่จะมานมัสการ
เยย่ี มหลวงปอู่ ยา่ งมากมายไดห้ รอื ไม่ ตลอดถึงอาจต้องรบั เสด็จดว้ ย
นอกจากนค้ี วรจะแนะนำ� ลูกนอ้ งของเรา ทจี่ ะมาอย่ชู ว่ ยอุปัฏฐาก
หลวงป่ใู หป้ ระพฤติและวางตวั อย่างไรจงึ จะเหมาะสม
ทั้งหมดน้ีล้วนแตเ่ ปน็ ส่งิ ทต่ี อ้ งคิด ต้องเตรียมการไว้ จงึ ได้
พยายามศึกษาและสอบถามเจา้ หนา้ ท่พี ยาบาลและผสู้ ันทัดกรณีคน
อื่นๆ ตามสมควร
อาการไขข้ องหลวงปู่
ดงั ไดก้ ล่าวแล้ววา่ อาพาธของหลวงปู่ คือ กระดูกและปอดมี
จดุ ดำ� แล้วลามไปถึงสมอง
การรักษาจึงหนักไปในการบ�ำรุงและพักผอ่ นใหม้ ากท่สี ดุ ท้งั
ยงั ต้องอาศยั เวลานานอกี ด้วย
ลกั ษณะอาการของโรคดังกลา่ ว แสดงออกให้เห็นได้โดย
อาการ ๓ อย่าง คือ เบ่ืออาหาร อ่อนเพลียเป็นเวลานานๆ ปวด
เมอ่ื ยท่ัวสรรพางค์กาย นอกจากนก้ี ม็ ีอาการกระสับกระส่าย นอน
หลบั ยาก
ส่วนตัวของหลวงปู่นั้นทา่ นอาศยั สมาธิชว่ ยในการหลบั และพกั
ผ่อนสมอง
ในระยะคร่ึงเดือนแรกเกอื บจะกล่าวไดว้ ่าอาการของทา่ นทรงๆ
259
อยู่ ไมม่ ีอะไรดขี ึน้
วนั หน่งึ เวลาเชา้ มืด ประมาณ ๐๔.๐๐ น. หลวงป่ใู หพ้ ระมา
เรยี กผู้เขยี นเข้าไปพบในหอ้ ง ตกใจนึกวา่ มอี ะไรเกดิ ขนึ้ กับหลวงปู่
เมื่อเขา้ ใกล้แล้ว ท่านปรารถว่า
“เทา่ ทีม่ าอยนู กี่ ็หลายวันแลว้ ไม่เหน็ มีอะไรดขี ึน้ เลย การเจบ็
ปวดก็ไม่เหน็ ทุเลา นอนก็หลบั ยาก หมอกไ็ มเ่ หน็ ทำ� อะไรมากนัก มี
แตใ่ ห้ฉันมากๆ ให้นอนมากๆ เทา่ นน้ั เอง”
ผู้เขยี นเข้าใจความหมายของท่าน ว่าท่านตอ้ งการจะกลับวัด
แนน่ อน แตท่ ี่ท่านพูดอย่างน้นั เปน็ การพดู อย่างเกรงใจลกู ศิษยล์ลกู
หารูส้ กึ สงสารท่านอยา่ งสุดซึง้ แตก่ ็จำ� เป็นอยา่ งยง่ิ ทจ่ี ะตอ้ งอยู่เพอื่
รักษาไปก่อน จนกว่าหมอจะมคี ำ� สง่ั ใหก้ ลับได้ จงึ ไมม่ อี ะไรดกี ว่าการ
หาค�ำพดู มาอธิบายและขอร้องใหท้ ่านเข้าใจ
“หลวงป่คู รับหมอท่นี ่ีเขาเชี่ยวชาญการรักษาเฉพาะโรคแต่ละ
สาขา เชน่ คณุ หมอจรสั มาตรวจกระดูก คณุ หมออังคณามาตรวจ
ปอดและสมองเป็นต้น แลว้ เขากป็ ระชุมกันทกุ วัน เพือ่ วินจิ ฉัยหา
สมฏุ ฐานของโรคและหาวธิ กี ารบำ� บัดอยา่ งถูกต้องตามหลักวชิ า ใน
การดแู ลรกั ษาหลวงปู่ ขออาราธนานมิ นต์หลวงปู่อยู่ตอ่ ไปอกี สัก
หนอ่ ยเถิด จะต้องดขี นึ้ อย่างแนน่ อน
หลวงปกู่ ็น่งิ เฉยไมว่ ่าอะไร
เมื่อเวลาผา่ นไป ๒ อาทิตยก์ วา่ อาการของหลวงป่คู อ่ ยๆ ดี
ข้นึ และสามารถปรับตวั ให้ชินกับเคร่ืองปรบั อากาศได้ ท่านกไ็ มว่ ่า
อะไรอีก
ผมู้ าเย่ียมนมัสการหลวงปู่
ส่ิงทเี่ คยนึกกงั วลใจไว้ล่วงหนา้ ก็คอ่ ยๆ ปรากฏเป็นจริงขึน้
กล่าวคอื พอข่าวแพรส่ ะพดั ออกไปว่าหลวงป่อู าพาธอยูท่โี รงพยาบาล
แหง่ น้ี บรรดาสานศุ ษิ ย์และผู้ที่เคารพนบั ถอื ก็ไดท้ ะยอยกนั มาเยย่ี ม
260
นมสั การมากขึน้ ทกุ ที
รวมทงั้ ผทู้ ่ีเยคพบเคยกราบไหวม้ ากอ่ นและผ้ทู เี่ คยไดย้ นิ แตช่ ื่อ
เสียง แตไ่ มเ่ คยเหน็ ตัวหลวงป่กู ถ็ อื โอกาสน้เี ป็นส�ำคัญทีจ่ ะไดม้ ากราบ
มารจู้ ักทา่ น
ฝา่ ยทางโรงพยาบาลก็แนะน�ำว่า ขอใหห้ ้ามเยี่ยมหา้ มรบกวน
เพราะต้องการใหห้ ลวงปู่ไดพ้ ักผ่อนอยา่ งเตม็ ท่ี
ผู้เขียนยอมรบั ว่าไม่มีปญั ญาทจี่ ะปฏิบตั ิตามระเบียบของโรง
พยาบาลอยา่ งเครง่ ครดั ได้ เพราะบังเอญิ เป็นผู้ท่ีมธี าตุแห่งคนใจออ่ น
เกรงใจเขา สงสารเขา เหน็ ใจเขา
เขาอุตสา่ หข์ ้ามบ้านขา้ มเมืองมาไกล ห้ิวข้าวของถอื เคร่อื งสัก
การะมาด้วยความศรทั ธาเลอื่ มใส ต้องการทีจ่ ะกราบไหว้หลวงปู่
เพื่อเป็นบุญเปน็ กุศล นปี่ ระการหน่งึ
อีกประการหนง่ึ เหน็ ว่าหลวงปอู่ าพาธด้วยโรคท่ไี ม่ใชไ่ ข้ ยงั มี
สติสัมปชัญญะสมบรู ณ์ทกุ ประการ หากว่าหลวงปเู่ ป็นทีต่ ัง้ แหง่ บุญ
กศุ ล อันผูท้ ่ไี ดก้ ราบไหวจ้ ะพึงได้บญุ ไดก้ ศุ ล ก็สมควรจะอ�ำนวยความ
สะดวก
เพราะคิดอยา่ งนนี้ เี่ อง ชนทกุ ชน้ั วรรณะทไี่ ปเยี่ยมนมัสการ
หลวงปจู่ งึ ไม่มีผใู้ ดผิดหวัง เมื่อไปถงึ แลว้ ทกุ คนยอ่ มมีโอกาสไดก้ ราบ
ไหว้หลวงป่อู ยา่ งใกล้ชิดไมม่ ากกน็ อ้ ย ไมเ่ ร็วก็ช้า บา้ งก็ไดถ้ ่ายรปู รว่ ม
กบั หลวงป่อู กี ด้วย
ท้ังนม้ี ใิ ชจะบ่มุ บา่ ม หรือขาดกาละเทศะจนเกนิ ไป ทุกอยา่ ง
กไ็ ดพ้ จิ ารณาแลว้ ว่าควรไมค่ วรประการใดดว้ ย
สมัยพทุ ธกาล เม่ือพระพทุ ธองค์ทรงประชวรหนักกอ่ นจะ
ปรนิ ิพพาน ท่านพระอานนท์ พุทธอุปฏั ฐาก ไดห้ ้ามมาณพผูห้ นงึ่ ซ่ึง
รอ้ งขอเข้าเผ้าพระพทุ ธเจา้ ในขณะนัน้ แม้มาณพขอร้องถึง ๓ คร้ัง
พระอานนท์กไ็ มย่ อมอยา่ งเด็ดขาด จนกระทัง่ เสียงขอเสียงขัดดงั ถงึ
พระพทุ ธองค์
พระองค์จึงตรสั ว่า “อานนท์ อยา่ ห้ามมาณพนัน้ เลย จงให้
261
เขา้ มาเถิด”
เมอื่ ไดเ้ ข้าเฝา้ และฟังพระธรรม มาณพก็บรรลุมรรคผล ขอ
บวชเปน็ พระสาวกองค์สดุ ท้าย มนี ามวา่ “สุภัททะ”
เมอ่ื น�ำมาพจิ ารณาดูจะเหน็ ได้วา่ พระอานนท์ทา่ นท�ำตาม
หน้าที่ของท่านถูกตอ้ งแล้ว ไมม่ คี วามผดิ พลาดอันใด
ส่วนการท่ีพระพทุ ธเจา้ ทรงให้มาณพเขา้ เฝ้า กเ็ ปน็ พระ
มหากรุณาธคิ ุณของพระองค์ ทท่ี รงมตี อ่ สรรพสตั ว์ท้ังหลายไมม่ ี
ประมาณ
บรรดาพระสาวกรนุ่ หลัง ตลอดมาจนถงึ พระเถรานุเถระและ
ครูบาอาจารยท์ งั้ หลายท่มี ีเมตตาธรรมสูง ย่อมเป็นทเ่ี คารพสกั การะ
ของหมู่ชนมาก ทา่ นอุทศิ ชวี ิตเพอ่ื กจิ พระศาสนา ไมเ่ คยคำ� นงึ ถึง
ความชรา ความอาพาธของท่าน เมอื่ เห็นวา่ ผู้ใดพงึ จะได้ประโยชน์
จากการสกั การะท่านแล้ว ทา่ นกอ็ �ำนวยประโยชนน์ ้นั ให้แกเ่ ขา
หลวงป่ทู า่ นมเี มตตาสูงอยแู่ ล้ว ไมเ่ คยบน่ หรอื เอือมระอาใน
เรือ่ งเหลา่ นี้ ต้อนรบั ญาตโิ ยมได้โดยไม่เลอื กชัน้ วรรณะ
ดงั น้นั อาศยั ท่ีผูเ้ ขียนเคยท�ำหนา้ ทน่ี ี้มานานจงึ ไม่ค่อยล�ำบาก
ใจอะไรนกั จะมกี แ็ ตล่ �ำบากกาย เพราะบางวนั ตอ้ งน่ังรับแขกตง้ั แต่
๖ โมงเช้า ตลอดจนถงึ ๔ ทุ่มกม็ ี
ตอ้ งต้อนรบั แขกแบบประชาสัมพนั ธ์ ทง้ั อธิบายธรรม ทง้ั ตอบ
คำ� ถาม เพราะผูท้ ไ่ี ปนมสั การหลวงปู่ส่วนมากเปน็ ผู้สนใจในธรรม
ปฏบิ ตั ิ บางทีกข็ อรอ้ งใหห้ ลวงปู่อธบิ ายขอ้ ธรรมะและแนะน กมั มฏั
ฐานใหก้ ม็ ี
ไม่มีก็ลำ� บาก มมี ากก็ยุ่ง
บรรดาผทู้ ่ไี ปเยยี่ มหลวงปเู่ ปน็ จำ� นวนมากนั้น ไมม่ ผี ใู้ ดไปมือ
เปล่า ตา่ งน�ำภัตตาหารและของขบฉันอน่ื ๆ ไปด้วย ตลอดถึงเครอ่ื ง
สกั การะ เช่น ดอกไม้ ธูปเทยี น เปน็ ตน้
262
โดยเฉพาะอาหารทต่ี ้องฉนั ประจ�ำวนั ในเวลาที่จ�ำกดั พอมี
มากเกนิ ไปกเ็ กิดปญั หาเรอ่ื งภาชนะท้งั พระทีฉ่ ันกม็ ีน้อยรูป ทงั้ ปญั หา
ในการรกั ษาความสะอาดก็ตดิ ตามมา ดงั น้นั จึงตอ้ งน�ำของกินของใช้
ไปแจกจา่ ยทำ� บุญตอ่ ตามหอ้ งคนไขอ้ นาถา หลายตอ่ หลายครัง้
ต่อมา เมอ่ื อาการของหลวงป่คู อ่ ยหายวนั หายคนื ทุกคนก็
ค่อยสบายใจในความปลอดภยั ของหลวงปู่ในครง้ั น้ี
แต่หมอก็ยังไมอ่ นญุ าตใหอ้ อกจากโรงพยาบาล ตอ้ งอยรู่ กั ษา
ตอ่ ไปอีก
ผู้คนทไี่ ปเยย่ี มก็มมี ากขึ้นทุกที บรรดาท่านที่ไปเยย่ี มหลวงปู่
นั้น ไม่สามารถคณนาไดว้ ่ามที า่ นผใู้ ดบ้าง แตส่ ำ� หรบั พระเถระผู้ใหญ่
นน้ั มีดังนี้
สมเดจ็ พระญาณสังวร วดั บวรนิเวศวหิ าร
สมเด็จพระธรี ญาณมนุ ี วัดจักรวรรดริ าชาธวิ าส
พระธรรมวโรดม วดั ปทุมคงคาราม
พระธรรมบณั ฑิต วดั สมั พันธวงศาวาส
พระพรหมมนุ ี วดั นรนาถสุนทรกิ าราม
พระเทพโสภณ วดั ไทยลอสแอนเจลสี สหรฐั อเมรกิ า
พระอาจารยห์ นู สุจิตโฺ ต วดั ดอยแมป่ ัง๋ เชยี งใหม่
พระอาจารยย์ ันตระ พระธรรมจาริกท่ัวไป
หลวงป่สู าม อกิญฺจโน วดั ปา่ ไตรวเิ วก สุรนิ ทร์
พระอาจารยส์ วุ ัจ สวุ โจ วัดถ้ําศรแี ก้ว สกลนคร
ภิกษุสามเณรและชวี ัดสังฆทาน นนทบรุ ี ไปเย่ยี มเป็นกล่มุ ๆ
นอกจากน้ี มีพระเถระและภกิ ษสุ ามเณรอืน่ ๆ อกี มากมาย ซึ่ง
มอิ าจระบไุ ดห้ มดท่ีไปนมัสการเย่ยี ม แลว้ ยงั ไปชว่ ยผลดั เปลี่ยนรักษา
พยาบาลหลวงปูต่ ลอดระยะเวลาท่ีอยู่ในโรงพยาบาลอีกด้วย โดย
เฉพาะแพทยห์ ญงิ หม่อมเจา้ พันธุ์วโรภาส เศวตรณุ ทรงเปน็ แขก
พเิ ศษทีเ่ สดจ็ มาเยี่ยมกราบหลวงปแู่ ละสนทนาเสมอๆ พร้อมกับคณะ
แพทย์และพยาบาลจฬุ าลงกรณ์
263
เสดจ็ เย่ยี มเป็นการสว่ นพระองค์
เมอ่ื วันที่ ๔ มนี าคม ๒๕๒๖ เวลา ๑๙.๔๕ น. สมเด็จ
พระนางเจ้าพระบรมราชนิ นี าถ เสดจ็ เยย่ี มหลวงปู่ ทรงสนพระทัย
ไตถ่ ามอาการของหลวงปูด่ ้วยพระปริวิตก เกรงว่าหลวงปจู่ ะไม่
ปลอดภัยในครง้ั น้ี
เมือ่ ทรงทราบว่า หลวงปู่มอี าการดีขึ้นมากแลว้ ก็ทรงคลาย
ความเปน็ หว่ ง ทรงสนทนากบั หลวงปู่พอสมควรแก่เวลา ทรงถวาย
จตปุ ัจจัยไทยทานแก่หลวงป่แู ละพระภกิ ษุสามเณร ตลอดจนศษิ ยท์ อ่ี ยู่
รักษาพยาบาลโดยท่วั หน้ากัน
แลว้ จึงเสด็จกลบั เม่อื เวลา ๒๐.๓๐ น. รวมเวลาเสดจ็ เยย่ี ม
ทงั้ หมด ๔๕ นาที
วันท่ี ๑๒ มีนาคม ๒๕๒๖ เวลา ๑๘.๑๙ น. พระบาทสมเด็จ
พระเจา้ อยู่หวั พรอ้ มดว้ ยสมเด็จพระนางเจา้ พระบรมราชินนี าถ
เสด็จมาเยย่ี มหลวงปู่ ทำ� ใหผ้ ู้รักษาพยาบาลหลวงปตู่ ้องตกตะลึงเป็น
อันมาก เนอ่ื งจากไมม่ ีผู้ใดไดท้ ราบมากอ่ นว่าพระองค์ทา่ นจะเสดจ็
ทราบกต็ ่อเมอ่ื พระองค์ทา่ นเสด็จมาถึงหอ้ งหลวงปแู่ ลว้
แต่หลวงปูท่ ่านนง่ั เตรยี มพรอ้ มอยแู่ ลว้
ในระหวา่ งที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอย่หู วั ทรงสนทนากบั
หลวงปนู่ ้ัน สมเดจ็ พระบรมราชนิ ีนาถทรงจัดดอกไม้ทโ่ี ต๊ะหมบู่ ชู า
ดว้ ยพระองค์เองและทรงปรุงน้�ำปานะจากส้มเขยี วหวานด้วยฝี
พระหตั ถ์ แล้วน้อมเกล้าถวายในหลวงเพอื่ ทรงถวายหลวงปู่
หลวงปูฉ่ ันน�ำ้ ปานะพระราชทานโดยใช้หลอดดดู พระครนู นั ท
ปญั ญาภรณ์กราบเรียนหลวงปวู่ า่ “ในหลวงถวายแล้วหลวงปู่ตอ้ งฉัน
ใหห้ มด”
หลวงปูต่ อบวา่ “ไม่หมดหรอก”
ในหลวงทรงแยม้ พระโอษฐ์ แลว้ ทรงสนทนาธรรมกับหลวงปู่
ต่อไป โดยหลวงปไู่ ด้แสดงถวายถงึ การเข้าฌาณเข้าสปู่ รินิพพานของ
264
องคส์ มเด็จพระสมั มาสมั พทุ ธเจ้า
ในระหวา่ งนน้ั คณะแพทย์ผู้ให้การรักษาได้เปดิ โอกาสใหห้ ลวง
ป่พู ิจารณาตามอัธยาศัยวา่ จะกลับไปรักษาพยาบาลท่วี ัดกไ็ ด้ ทา่ น
พระครนู ันท์ฯ ก�ำหนดว่าจะรับหลวงปู่กลบั วัดในวนั ท่ี ๒๒ มนี าคม
จึงถือโอกาสถวายพระพรพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ วั ใหท้ รงทราบ
พระองคท์ รงยนิ ดแี ละตรัสวา่ “ถา้ หลวงปไู่ ด้กลับไปกค็ งทำ�
ประโยชนไ์ ด้มาก” แล้วทรงปรารภถงึ การเดินทางวา่ การไปสรุ ินทร์
ทางไหนจึงจะสะดวกทีส่ รุ ินทรม์ ีสนามบนิ ไหม ถ้าไปรถยนตห์ รอื รถไฟ
ใชเ้ วลากี่ชว่ั โมง
ท่านพระครูนันท์ฯ ถวายพระพรวา่ ถ้าไปรถยนตใ์ ชเ้ วลา ๖-๗
ชัว่ โมง รถไฟ ๘ ชั่วโมง สำ� หรับสนามบนิ นนั้ เนื่องจากไมม่ ีการบนิ
พาณิชย์ จึงยังไมม่ ีสนามบินคอนกรีต เวลาลงคงจะระวังไดย้ าก จึง
ถวายพระพรขอพาหนะรถยนตซ์ งึ่ จะสะดวกกว่า
พระองคท์ รงเห็นชอบด้วย ตรัสวา่ จะพระราชทานยานพาหนะ
รถยนต์ของพระราชสำ� นกั พรอ้ มรถพยาบาลและใหม้ ตี �ำรวจ
ทางหลวงนำ� ทาง
หลงั จากน้ัน ทรงถวายจตุปัจจยั แก่หลวงปูแ่ ละภกิ ษสุ ามเณร
ตลอดจนศิษยอ์ ยู่พยาบาล หลวงปอู่ นุโมทนาถวายพระพร
กอ่ นเสด็จกลับ ทั้งสองพระองคท์ รงถวายพระพรหลวงปู่
เหมือนกบั คร้ังก่อนว่า “ขอใหห้ ลวงปู่ดำ� รงขนั ธ์อยู่มากกว่าหน่งึ ร้อย
ปี”
หลวงปู่ก็ตอบเหมือนครั้งกอ่ นว่า “แล้วแต่สงั ขารเขาจะเป็นไป
เองของเขาหรอก”
เมอ่ื เสดจ็ ออกจากหอ้ งหลวงปูน่ ้ัน ศษิ ยห์ ลวงปจู่ ำ� นวนมากเฝา้
รอส่งเสด็จอยู่ท้ังสองพระองคใ์ หโ้ อกาสเข้าเฝ้าได้โดยใกลช้ ดิ ทั่วกัน
รวมเวลาเสด็จครง้ั น้ี ๑ ชั่วโมง ๕ นาที
วันท่ี ๑๕ มีนาคม ๒๕๒๖ เวลา ๑๗ นาฬกิ าเศษ สมเด็จพระ
เทพรัตนราชสดุ าฯ ได้เสดจ็ มาเย่ียมหลวงป่ดู ว้ ยเวลาอนั สนั้ เมอ่ื ทรง
265
ทราบวา่ หลวงปู่มีพลานามยั ดขี น้ึ ก็ทรงดพี ระทัยและทรงชมว่าหลวงปู่
แข็งแรงดี แล้วกเ็ สดจ็ กลบั ไปแวะเยีย่ มอาการป่วยของศาสตราจารย์
ทา่ นหนง่ึ ท่อี ยู่ห้องถดั ไป
การทพ่ี ระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หวั สมเด็จพระนางเจ้า
พระบรมราชนิ ีนาถและสมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ ทรงมพี ระ
มหากรุณาธคิ ุณสงเคราะหห์ ลวงป่คู ร้งั นี้ นำ� ความปลาบปลื้มยนิ ดีแก่
บรรดาสานุศษิ ย์และทา่ นที่เคารพนับถอื ต่อหลวงป่เู ป็นลน้ พน้ สดุ ทจี่ ะ
พรรณา
ก�ำหนดออกจากโรงพยาบาล
ครน้ั มกี �ำหนดการเป็นท่ีแนน่ อนแล้วว่าจะเดินทางกลบั ในวันที่
๒๒ มนี าคม ๒๕๒๖ จงึ ไดช้ กั ชวนสาธุชนท้งั หลายจดั ทำ� บญุ เพ่อื
อทุ ศิ สว่ นกุศลแดบ่ รรพบุรุษและท่านผู้มสี ่วนกอ่ สรา้ งโรงพยาบาล
จุฬาลงกรณ์ ตลอดถงึ ทกุ ท่านท่ีลว่ งลับดบั ชวี ิตในการรกั ษาพยาบาลที่
น่แี ละสรรพสัตวท์ งั้ หลายไมม่ ีประมาณ
การท�ำบญุ ไดจ้ ัดในตอนเช้าวนั ที่ ๒๐ มีนาคม มกี ารถวาย
ภัตตาหารแดพ่ ระสงฆจ์ �ำนวน ๑๐ รูป มีผมู้ ารว่ มทำ� บญุ กนั อยา่ ง
ลน้ หลาม
ผูเ้ ขียนทงั้ รู้สกึ ยนิ ดี ทง้ั เกรงใจเจ้าหนา้ ทีโ่ รงพยาบาลเปน็ อย่าง
มาก เพราะเปน็ เหตทุ ำ� ใหส้ ถานท่ีน้นั พลกุ พลา่ นดว้ ยผู้คนมากมาย แต่
ได้รับความรว่ มมือจากบรรดาเจ้าหนา้ ท่อี ย่างดยี ่ิง
อนึง่ จตุปจั จัยท่ีท่านผ้มู จี ติ ศรัทธาถวายตลอดเวลาทหี่ ลวงปูอ่ ยู่
ทโ่ี รงพยาบาลนั้นไดร้ วบรวมส่วนที่เหลือจากการใช้จา่ ยแล้วน�ำไป
บรจิ าคบ�ำรุงโรงพยาบาลเป็นเงนิ ๕๐,๐๐๐ บาท (ห้าหม่ืนบาทถ้วน)
ยังมีผูม้ เี กยี รติและสาธชุ นหลายทา่ น นอกจากจะไดไ้ ปกราบนมสั การ
เปน็ ครัง้ คราวแล้ว ยงั ได้สละกำ� ลังกาย กำ� ลังทรพั ยแ์ ละเวลาไปอยเู่ ฝา้
รักษาพยาบาลหลวงปดู่ ้วย ตลอดเวลาทห่ี ลวงป่พู กั รักษาตัวอยทู่ โ่ี รง
266
พยาบาล
ไดช้ ่วยถวายภตั ตาหาร ตลอดจนสิ่งจำ� เปน็ และอำ� นวยความ
สะดวกตา่ งๆ รวมทั้งชว่ ยอุปัฏฐากรับใชท้ ง้ั หลวงปทู่ ั้งพระสงฆท์ ม่ี าอยู่
เฝ้าพยาบาล
นบั ว่าท่านเหล่านน้ั ไดม้ กี ศุ ลเจตนาอนั สงู ส่งจนใจทีม่ อิ าจระบุ
พระนามและนามของทา่ นทง้ั หลายให้ปรากฏ ณ ท่นี ไ้ี ด้ จงึ ขอจารกึ
ไวใ้ นความทรงจำ�
บญุ อนั ใดทท่ี า่ นทง้ั หลายไดม้ กี ศุ ลจติ ทำ� ไปแลว้ อยา่ งไร ขอผล
แหง่ บญุ นน้ั จงสำ� เรจ็ แหง่ คณุ งามความดขี องทา่ นเถดิ และขออนโุ มทนา
บญุ กศุ ลโดยทว่ั กนั
เดนิ ทางกลับวัด
วนั ที่ ๒๒ มนี าคม ๒๕๒๖ เวลา ๐๘.๑๘ น. หลวงปกู่ ไ็ ดอ้ ำ� ลา
คณะแพทย์พยาบาลและเจ้าหนา้ ทผ่ี ูถ้ วายการรักษา แล้วออกจากโรง
พยาบาล เพื่อเดินทางกลับไปยงั วัดบรู พาราม อำ� เภอเมือง จงั หวดั
สรุ ินทร์
คณะแพทย์ พยาบาล เจ้าหน้าที่ ตลอดจนทา่ นผูม้ ีเกยี รติ
ศิษยานศุ ิษยแ์ ละทา่ นท่เี คารพนบั ถอื ทั่วไปได้พร้อมเพรียงกนั มาสง่
หลวงปทู่ ่ีหนา้ โรงพยาบาลกันอยา่ งล้นหลาม
พณฯ ดร.เชาว์ ณ ศีลวนั ต์ องคมนตรี เป็นผู้แทนพระองค์มา
ส่งหลวงป่แู ละกราบเรยี นหลวงปวู่ ่า “หลวงปู่ จะมีถ้อยค�ำอะไรถึง
ในหลวง กระผมจะนำ� ไปกราบทูลถวายในหลวงใหท้ รงทราบ”
หลวงปู่ตอบวา่ “ขอบคุณมาก”
ขบวนรถจากพระราชส�ำนกั รถโรงพยาบาลและรถส่วนตัว
ของลกู ศิษย์ลูกหาและทา่ นที่เคารพศรัทธาในหลวงปูไ่ ด้ติดตามสง่
เรยี งรายเปน็ แถวยาวเหยยี ด โดยมีรถตำ� รวจทางหลวงนำ� หนา้ และ
ปดิ ท้ายขบวนไปตลอดทาง
267
บางท่านได้มาส่งถงึ กับหล่งั นํา้ ตาร�ำพนั ว่า “ไมอ่ ยากใหห้ ลวงปู่หาย
เรว็ ๆ เลยอยากให้อยู่โรงพยาบาลนานๆ จะได้มาท�ำบุญถวายทาน
เป็นประจำ� ”
ตลอดการเดินทางหลวงปอู่ ยใู่ นอิริยาบถนอนสงบเงยี บราวกบั
หลับสนิท พอมีใครกระซิบถามว่าหลวงปู่รู้ไหมวา่ ขณะนีถ้ ึงไหนแลว้
หลวงปกู่ ต็ อบได้ถกู ต้องว่าถึงท่ีนน่ั ๆ แลว้ โดยไม่ตอ้ งลืมตาขึ้นดู
ขบวนรถมาสง่ หลวงป่เู ดินทางถึงวัดบูรพาราม เวลาประมาณ
๑๕.๐๐ น. ได้มีลกู ศิษยล์ ูกหาและญาติโยมพทุ ธบริษัทมารอรบั หลวง
ปู่อย่าง มากมาย
เป็นอนั วา่ การทไี่ ด้ตัดสนิ ใจนำ� หลวงปเู่ ข้าพกั รักษาตัวทีโ่ รง
พยาบาลในกรงุ เทพฯ คร้งั น้กี ป็ ระสบผลส�ำเรจ็ เปน็ ท่นี า่ ปล้ืมใจจากทุก
ฝ่าย กลา่ วคอื หลวงปทู่ า่ นหายจากอาพาธหนัก ยงั มีอาการอยบู่ า้ งก็
เป็นโรคของคนวยั ชรา ซึ่งถอื เปน็ เรือ่ งธรรมดาส�ำหรับบคุ คลท่มี ีอายุ
วยั ล่วงมาถึง ๙๕ ปีเหมือนกับหลวงปู่
ในโอกาสน้คี ณะสงฆ์น�ำโดยพระเถรานเุ ถระตลอดจนญาตโิ ยม
พทุ ธบรษิ ัทชาวจังหวดั สุรนิ ทร์ ได้รว่ มกันท�ำบญุ ประกอบพิธเี จริญ
พระพทุ ธมนต์ถวายกุศลเพอื่ แสดงกตเวทิตาคณุ แก่หลวงปู่
ตอนเช้าร่วมกันทำ� บญุ ตักบาตรถวายกศุ ลแดห่ ลวงปู่ เพื่อจะได้
เจรญิ ด้วยอายุ วรรณะ สขุ ะ พละ เพอื่ อยูเ่ ป็นรม่ โพธิร์ ม่ ไทรของลูก
หลานไปอีกนานเท่านาน
ทกุ คนต่างรู้สึกปล้ืมปตี ทิ ห่ี ลวงปหู่ ายจากการอาพาธและกลบั
มาอยทู่ ่วี ดั บรู พาราม เพื่อเปน็ ศนู ยร์ วมแหง่ ความศรัทธาในทางพทุ ธ
ศาสนาของเหลา่ สานศุ ิษยอ์ ีกต่อไป
งดกจิ นมิ นต์นอกวัด
ตลอดเวลาท่หี ลวงปพู่ กั ฟนื้ อยทู่ ว่ี ดั บูรพาราม เปน็ เวลา ๘
เดอื นกว่า แม้จะอยูใ่ นลกั ษณะโดยนยิ มวา่ หายจากอาพาธแลว้ แต่
268
ท่านกย็ ังมไิ ด้หายโดยเดด็ ขาดเลย
ดังนนั้ จงึ ตอ้ งจดั ใหม้ ีการกำ� หนดว่า “งดรับกิจนิมนต์นอกวัด”
และจำ� กดั เวลาในการต้อนรบั แขกไว้อย่างเปน็ ระเบยี บ
แตโ่ ดยเหตทุ อี่ ปุ นิสัยของหลวงปู่นน้ั ตา่ งจากคนสูงอายุท่ัวไป
ที่ไมช่ อบนอนจับเจา่ อยูก่ ับที่ ถ้าแข็งแรงพอลุกขนึ้ ไปไหนมาไหนได้
ทา่ นกจ็ ะออกเดินไปตามจดุ ตา่ งๆ ในบริเวณวดั หยดุ ยนื บา้ ง นงั่ บา้ ง
ตามทีท่ ่านเห็นว่าสมควร เป็นการพกั ผ่อนเปลี่ยนอริ ยิ าบถไปในตวั
ดว้ ยเหตุนจ้ี งึ ยากทจ่ี ะจ�ำกดั เวลารบั แขกให้แน่นอนชัดเจนลงไปได้
เพราะใครเห็นหลวงปกู่ อ็ ยากจะเขา้ ไปกราบไหว้ด้วยกันทงั้ นั้น สุดที่
ใครจะหา้ มใครได้และหลวงป่กู ็มใี จเมตตาอยแู่ ล้ว
การรักษาพยาบาลในระยะนไี้ ม่มอี ะไรเป็นพเิ ศษ นอกจาก
ถวายยาฉันตามท่โี รงพยาบาลจัดไวใ้ ห้และรายงานอาการใหแ้ พทย์
ประจำ� ทราบโดยสม่าํ เสมอ
ในสว่ นตัวของหลวงปูน่ น้ั ตามปกติไม่เคยท�ำความล�ำบากใจ
ใหใ้ ครอยู่แลว้ ทา่ นวางตนเป็นผู้สุขสบายทุกกรณีจงึ ท�ำให้ศิษยานุศษิ ย์
และบคุ คลท่ัวไปเห็นว่า ทา่ นมสี ุขภาพอนามัยแข็งแรงดีเปน็ ปกติ
โดยแทจ้ ริงแล้วผ้เู ขยี นในฐานะท่อี ยู่อปุ ฏั ฐากใกลช้ ิด เห็นว่า
หลวงปไู่ มไ่ ดห้ ายจากอาพาธโดยสนิ้ เชิงเลย แต่ท่ที า่ นอยอู่ ยา่ งมปี กติ
สภาพน้นั ก็ด้วยอำ� นาจแห่งขนั ตธิ รรมและด้วยบุญบารมีส่วนตัวของ
ท่านตลอดจนดว้ ยคุณธรรมอันเกิดจากสมาธภิ าวนา ที่ท่านฝึกฝน
อบรมมานานตา่ งหาก คุณธรรมเหลา่ นี้เองท่ีช่วยให้ท่านด�ำรงขันธ์
สบื ต่อมาไดอ้ ีกถงึ หนง่ึ ปี หลังจากออกจากโรงพยาบาลในครงั้ นัน้
จะมใี ครตั้งขอ้ สังเกตบ้างไหมว่า ในชว่ งระยะหลังนีห้ ลวงป่ใู ช้
เวลาใหห้ มดไปด้วยการกลา่ วธรรม ทา่ นจะเทศน์หรืออธบิ ายธรรมแก่
ภกิ ษุสามเณรและท่านทม่ี ากราบนมัสการท่าน
สว่ นมากเปน็ ขอ้ ธรรมท่เี ป็นขอ้ ปฏิบตั ภิ ายในไม่เคยปรารภถึง
งานกอ่ สร้างหรือการคณะสงฆอ์ กี เลย
บางครงั้ กเ็ รียกศษิ ย์ฝา่ ยกัมมัฏฐานมาสนทนาธรรมและชแี้ จง
269
ข้อปฏิบตั ิซ่งึ ผูเ้ ขยี นเอง (พระครนู นั ทปัญญาภรณ์) กพ็ ยายามใชเ้ วลา
อยู่กับหลวงปู่ใหม้ ากทีส่ ดุ
ข่าวมรณภาพของหลวงป่ขู าว
ในเดอื นพฤษภาคม ๒๕๒๖ ได้ขา่ วการมรณภาพของหลวงปู่
ขาว อนาลโย แห่งสำ� นกั วัดถ้าํ กลองเพล อ�ำเภอหนองบวั ลำ� พู
จงั หวดั อุดรธานี
ลูกศษิ ยจ์ ึงไปกราบเรยี นให้หลวงปู่ทราบ ขณะนัน้ เวลา ๑ ทุ่ม
เศษๆ หลวงป่นู ่งั บนเกา้ อีเ้ อนในห้องพัก คร้ันทราบขา่ วหลวงปขู่ าว
มรณภาพแลว้ หลวงปกู่ ็ปรารภว่า
“เออ! ท่านขาวกห็ มดภาระการแบกสงั ขารไปเสยี ที”
แล้วท่านก็พูดตอ่ วา่
“พบกันเมอ่ื ๓-๔ ปีทผี่ ่านมา เห็นล�ำบากสังขาร เพราะต้อง
ให้คนอนื่ ชว่ ยอย่เู สมอ เร่อื งวบิ ากของสังขารนี้ แมจ้ ะเปน็ พระอรยิ เจ้า
ช้ันไหนก็ตามก็ต้องตอ่ สกู้ ับมนั จนกวา่ จะขาดจากกนั ได้ ไม่เกยี่ วขอ้ ง
กันอกี ”
ทา่ นพระครนู ันทปญั ญภรณ์ถามวา่ “ผมเหน็ หลวงปู่เม่ือเริ่ม
อาพาธใหม่ๆ มอี าการกระสับกระส่าย พลิกไปพลกิ มา ผมู้ สี มาธแิ ก่
กล้าอย่างหลวงปู่จะพน้ ภาระอย่างน้ีไปไมไ่ ด้หรอื ครบั ”
หลวงปูต่ อบว่า “เมอื่ ให้จติ อยกู่ บั เวทนาสงั ขารร่างกาย มันก็
รับรูเ้ รื่องของเวทนาอยู่ แต่เมื่อทำ� จติ ให้พ้นเวทนาไปแล้ว อาการ
เหลา่ นมี้ กั ไมป่ รากฏ แต่ตามปกติสภาพของจิตแลว้ มันกย็ ังอย่กู บั สง่ิ
เหล่าน้เี อง แตกต่างจากจติ ทีฝ่ กึ ดีแลว้ เมอ่ื สิง่ เหลา่ นี้เกิดขนึ้ ยอ่ มละ
และระงับไดเ้ รว็ ไม่กงั วลไม่ยดึ ถอื หมดภาระเกี่ยวข้องกับสิ่งเหลา่
น้ัน มันก็แคน่ ั้นเอง”
ขอ้ ทน่ี ่าสังเกตอีกอย่างหนึ่งเกยี่ วกบั สุขภาพของหลวงปู่ใน
ระหวา่ งน้คี อื เร่อื งอาหารฉันก็ฉันได้ตามปกติ นาํ้ หนกั ตวั ก็ทรงอยู่
270
ไม่ข้นึ ไม่ลงและทีน่ ่าแปลกใจอกี ประการหน่งึ ก็คือ ราศีผิวพรรณของ
ท่านสดใสเปลง่ ปลัง่ กว่าปกติ ญาติโยมบางคนชอบมาน่ังพจิ ารณาดู
หลวงปูเ่ ป็นเวลานานๆ ทกุ คนชอบท�ำนายหลวงปู่ว่าทา่ นมีอายุเกิน
รอ้ ยปอี ย่างแน่นอน
สิ่งท่ผี ิดสงั เกตกค็ ือเท้าทั้งสองของท่านบวมขึ้นเปน็ บางครัง้
เม่ือปรึกษาหมอ หมอบอกว่าเกดิ จากการใหย้ าเกีย่ วกบั ปอดประกอบ
กับหลวงป่นู งั่ ห้อยเทา้ เปน็ เวลานานๆ จงึ ท�ำให้เท้าท่านบวมเป็นครั้ง
คราว
พอปรึกษาหลวงปทู่ า่ นก็บอกว่า “นี่เปน็ สญั ญาณอันตรายของ
คนมีอายุมากแล้ว” ซงึ่ ผูเ้ ขียนกม็ ไิ ดใ้ สใ่ จมากดว้ ยคิดว่าท่านพดู ปรารภ
ธรรมตามธรรมดา
จำ� ได้ว่าหลวงปเู่ คยพูดถึง ๒ คร้งั ว่า “เราไมม่ วี ิบากทาง
สังขาร” แต่ไม่เคยน�ำมาคิดหาเหตผุ ลว่าท่านหมายถงึ อะไร
กำ� หนดงานฉลองอายุ ๘ รอบ
หลวงปูยั่งคงด�ำรงอยู่ในปกติสภาพเช่นน้มี าจนถึงเดอื นตุลาคม
๒๕๒๖ ซง่ึ เปน็ เดือนท่ีหลวงปู่ไดด้ �ำรงขันธ์มาถงึ ๘ รอบ มอี ายุ ๙๖
ปบี ริบูรณ์ นบั เปน็ โอกาสทีห่ ายากอย่างยิง่ ทีจ่ ะมีคนอายยุ นื ยาวถงึ
ขนาดน้ี
ทางคณะศษิ ยจ์ งึ ตกลงกันจะจดั งานฉลองใหแ้ กห่ ลวงปูเ่ ป็น
กรณีพเิ ศษด้วยถือเปน็ อภลิ ักขิตกาลประกอบกบั การทีห่ ลวงป่ไู ด้ห าย
จากการอาพาธ อันเป็นเรอ่ื งที่นำ� ความปลาบปล้มื ยนิ ดีมาส่เู หล่า
สานศุ ษิ ยแ์ ละผมู้ จี ติ ศรัทธา
ทุกฝ่ายจึงพรอ้ มใจกันคิดทจี่ ะจัดงานให้เปน็ พิเศษกว่าทุกครงั้ ท่ี
ผา่ นมา โดยไดอ้ าราธนาพระเถระทง้ั ฝา่ ยคามวาสแี ละอรัญญวาสี
ตลอดจนสานศุ ิษยท์ ุกสารทิศได้มารว่ มงานถวายมุทติ าจิตแกห่ ลวงปู่
และทีส่ �ำคัญคือ ทางคณะศษิ ย์จะจดั ให้มีพิธีพุทธาภิเษกเหรยี ญรุ่น
271
พิเศษในโอกาสน้ีด้วย
การเตรยี มงานและการประชาสัมพันธด์ �ำเนนิ ไปอย่างแขง็ ขนั
สานศุ ษิ ย์และผูศ้ รทั ธาหลวงปู่ทีอ่ ยูใ่ นจงั หวดั ต่างๆ โดยเฉพาะใน
กรงุ เทพฯ ได้มีหลายคณะหลายกลุม่ แสดงความจ�ำนงมาทางวดั บาง
กลุ่มจะจัดโรงครัวทานถวาย บางกลมุ่ จะนำ� ผ้าป่ามาทอด แตล่ ะกล่มุ
แสดงเจตนาจัดงานบุญกุศลในครัง้ นด้ี ้วยกิจกรรมทีแ่ ตกตา่ งกนั จงึ
หวงั ได้ว่าจะเป็นงานฉลองอายคุ ร้งั ยิ่งใหญ่ทส่ี ุดในชวี ิตของหลวงปู่
ก�ำหนดงานจะเป็นวันที่ ๒๙-๓๑ ตุลาคม ๒๕๓๖ ต่างฝา่ ย
ต่างกต็ ั้งใจรองานนี้ด้วยโอกาสท่จี ะไดร้ ว่ มงานบญุ ครั้งใหญ่ เหมือนท่ี
เคยจัดมาเปน็ ประจำ� ปีตงั้ แตป่ ี พ.ศ. ๒๕๒๐ เปน็ ตน้ มา
ทางฝา่ บหลวงปทู่ า่ นรับทราบการจดั งานดว้ ยอาการสงบเฉย
ตามปกติ ทา่ นไมแ่ สดงอาการคัดค้าน หรือสนับสนนุ แตอ่ ย่างใด
เพราะเปน็ เร่ืองทีล่ กู ศิษย์ลกู หาประสงคจ์ ะจดั ขน้ึ ดว้ ยเจตนาอันดี โดย
ปรารภเหตุครบรอบวันเกดิ ของหลวงปเู่ ป็นโอกาสร่วมชุมนุมเพ่ือท�ำ
บุญในคร้งั นี้
อาการผดิ ปกตเิ รมิ่ ปรากฎ
วันที่ ๒๘ ตุลาคม ๒๕๒๖ ก่อนงานเรม่ิ เพียงวนั เดียว หลวงปู่
เริ่มแสดงอาการผดิ ปกติมาตง้ั แตเ่ วลาประมาณ ๐๔.๐๐ น. คอื ท่านมี
อาการออ่ นเพลีย ปวดเม่อื ยตามร่างกาย แล้วกก็ ระสบั กระสา่ ย ตัว
รอ้ นคล้ายจะเป็นไข้แต่ไมป่ วดศรีษะ
อาการทุกอยา่ งคลา้ ยคลงึ กับเมอ่ื ก่อนเขา้ โรงพยาบาลครั้งที่
แล้วไมม่ ีผดิ พระผู้เฝ้าพยาบาลไดช้ ่วยกนั ทานา้ํ มนั แลว้ ถวายนวดไป
ตามท่ีที่รู้สึกปวดเมื่อย อาการค่อยทุเลาลงบา้ งเลก็ น้อย
ครง้ั ถึงเวลา ๐๗.๐๐ น. ตามปกตหิ ลวงปู่จะออกมารบั ถวาย
ภตั ตาหารเชา้ และต้อนรบั แขก แต่วนั นี้ทา่ นไมอ่ อกจากห้องพกั จึงได้
นำ� ภัตตาหารไปถวายทา่ นขา้ งใน
272
หลวงปสู่ ามารถลุกข้นึ มานงั่ ฉันบนเก้าอ้ีไดแ้ ละฉนั ได้เกอื บ
เหมือนปกติ
หลงั จากนั้นได้เชิญ คุณหมอมนูญ มาตรวจร่างกายท่าน คณุ
หมอรายงานวา่ ความดนั ขนึ้ สูงหนอ่ ย แต่หลวงปบู่ อกว่าไม่ปวดศรี ษะ
เลยแลว้ ทา่ นกฉ็ ันยาทีห่ มอให้ จากน้นั กน็ อนหลับไปชวั่ โมงกว่าๆ
รา่ งกายรสู้ ึกวา่ ดเู ป็นปกติ แต่ยงั เพลยี อยู่
พอถึงเวลาเพล ท่านก็ลกุ ขึน้ มานง่ั ฉนั บนเกา้ อ้ีแต่ไมย่ อมฉัน
เมื่อลกู ศิษย์คะย้นั คะยอท่านกฉ็ นั ข้าวตม้ ให้ ๔ ช้อนและของหวานอีก
เล็กนอ้ ย หลังจากนนั้ ทา่ นก็นอนพักผอ่ น ดูผิวพรรณท่านผุดผ่องดี
เว้นแต่อาการเปล่ียนแปลงเร็วมาก ระหว่างกระปร้กี ระเปรา่ กบั
ออ่ นเพลียจะเปน็ ไปทุก ๔๐ หรอื ๔๕ นาที
ตลอดทั้งวันทีส่ านุศษิ ยฝ์ ่ายกมั มัฏฐานมาอยู่เฝา้ ทา่ นหลายรูป
ท่านใชเ้ วลาส่วนใหญ่ในการอธบิ ายธรรมใหฟ้ งั สติสัมปชญั ญะของ
ทา่ นยงั สมบรู ณ์ดมี าก สามารถลำ� ดับธรรมะเป็นกระแสท่ีชัดเจนและ
ตอบคำ� ถามข้อปฏิบัติขนั้ ปรมัตถ์อย่างดี ด้วยนํ้าเสยี งชดั เจนแจม่ ใส ทำ�
ใหค้ ณะศิษย์อนุ่ ใจว่าหลวงป่คู งไมเ่ ป็นอะไร
ครัน้ เวลา ๕ โมงเย็น ถวายนา้ํ สรงท่านตามปกติเสร็จแลว้
หลวงปกู่ ็นงั่ บนเกา้ อใี้ นห้อง ดูกิริยาทา่ ทางของทา่ นเป็นปกติดเี หมือน
กับไม่ได้ไข้ไมไ่ ดเ้ จบ็ อะไรดทู ่านสดใสดีมาก
ต่อมาสกั ครู่ ท่านปรารภธรรมให้ฟังวา่
“ในทางโลกเขามีส่ิงท่มี ี แตใ่ นทางธรรมมสี ิง่ ทไี่ ม่มี”
เมื่อถามถึงความหมาย ท่านกพ็ ูดวา่
“คนในโลกนต้ี ้องมสี งิ่ ทม่ี ี เพ่ืออาศยั สง่ิ นนั้ เป็นอยู่ ส่วนผู้
ปฏิบัติธรรมต้องปฏบิ ตั ิ จนถงึ สิ่งทไ่ี ม่มีและอยกู่ ับส่งิ ที่ไม่มี”
เมอ่ื เห็นวา่ หลวงปทู่ า่ นรูส้ กึ เพลีย จึงขอใหท้ า่ นพกั ผ่อนอาการ
ออ่ นเพลยี เพมิ่ มากข้นึ แต่ทา่ นก็นอนพูดธรรมให้ฟังตอ่ ไปอกี
ขณะน้นั ฝนตกหนักมาก (โปรดดูในตอนท่ี ๙๓ เรือ่ งวิบาก
เกี่ยวกบั ฝนตก)
273
ผู้เขียนอยเู่ ฝ้าหลวงปถู่ งึ ๕ ทุ่มกวา่ สังเกตเหน็ ว่า หลวงปมู่ ัก
จะพดู ธรรมะชัน้ สูง เกย่ี วกับการปฏบิ ัตเิ ร่ือง การเข้าฌาณออกฌาณ
บางชว่ งทา่ นกอ็ ยเู่ ฉยๆ คลา้ ยกับเข้าสมาธิหรือพจิ ารณากมั มฏั ฐานขอ้
ใดข้อหน่งึ พอทา่ นน่ิงไปสักพักหนง่ึ แล้วก็ปรารภธรรมบทใดบทหน่ึง
ต่อทนั ที
ท่านพระครนู นั ทปัญญาภรณ์ ถามว่า “หลวงปเู่ ช่ือความ
ศกั ดิส์ ทิ ธไิ์ หม”
หลวงปตู่ อบว่า “ความศักดิ์สิทธไ์ิ มเ่ คยมี มแี ต่พลงั และความ
สามารถของจิต”
มตี อนหนง่ึ ทา่ นพระครูฯ ได้เรยี นถามแบบทเี ลน่ ทจี ริงว่า
“ตามตำ� ราบอกว่าเทวดามาฟงั ธรรมะของพระพทุ ธเจา้ ครั้งละ
หลายโกฎิน้ัน จะมีศาลาโรงธรรมท่ีไหนให้ฟงั ได้หมด”
ทกุ คนตา่ งรสู้ ึกงงงวยกันมาก เพราะไมเ่ คยได้ยนิ ไดฟ้ ังและไม่
เคยพบในต�ำราท่ีไหนมากอ่ น เมอื่ หลวงปู่ตอบว่า
“ในเนอื้ ที่หนึ่งปรมาณู เทวดาอยู่ได้ ๘ องค์”
น่ีไม่ใช่คร้ังกอ่ น!
ยา่ งเขา้ วนั ที่ ๒๙ ตุลาคม ๒๕๒๖ ซ่ึงเป็นวนั เริม่ งานพิธี
ฉลองอายุหลวงป่เู ป็นวนั แรก หลวงปมู่ อี าการกระสับกระสา่ ยเลก็
น้อยและปวดทางเทา้ ซ้ายขน้ึ มาจนถึงบ้นั เอว พร้อมท้ังมีอาการไข้ขน้ึ
เล็กน้อย ชีพจรมอี าการเต้นผิดปกตจิ นถงึ เวลา ๖ โมงเช้า อาการ
เปล่ียนไปมาแบบทรงๆ ทรุดๆ
เมอ่ื เห็นอาการของหลวงปูเ่ ป็นเช่นน้ี ท่านพระครนู นั ทปญั ญา
ภรณจ์ ึงไดโ้ ทรศพั ท์ทางไกลเขา้ กรุงเทพฯ กราบเรียนอาการท่านเจ้า
ประคุณสมเด็จพระญาณสังวร ให้ทรงทราบ
ทางด้าน อาจารยพ์ วงทองได้โทรศัพท์ไปบอก คณุ หมอชูฉตั ร
ก�ำภทู ่ที างพระราชส�ำนกั มอบหมายให้ดูแลหลวงปู่และเปน็ ผนู้ ำ� หลวง
274
ปูเ่ ดนิ ทางกลับจากโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์มาพักท่ีวัด เมอ่ื ครง้ั ไปรับ
การรกั ษาเม่ือคราวก่อน
คณุ หมอชูฉัตร แนะนำ� ให้รีบน�ำหลวงปู่เขา้ ไปรักษาอาการที่
กรุงเทพฯ แตย่ ังไมเ่ ป็นทต่ี กลงกนั วา่ จะเอาอย่างไรกันแน่
๐๖.๓๐ น. หลวงปูย่ังออกจากห้องได้ น่งั ฉันภัตตาหารข้าง
นอกตามปกติ เสรจ็ แลว้ นงั่ พักประมาณ ๑๐ นาที แล้วเข้าไปพัก
ผ่อนในห้อง
๐๗.๒๐ น. หมอมาตรวจอาการอกี วัดความดนั ดูยังอยู่ใน
ระดับปกติ หมอไดฉ้ ดี ยานอนหลับถวายเพอื่ ใหห้ ลวงปู่ได้พกั ผ่อน
มากๆ
ในการฉดี ยาแต่ละครง้ั หลวงปมู่ ักจะห้ามไว้ไมใ่ ห้ฉดี แตส่ ว่ น
ใหญห่ มอจ�ำเป็นต้องฝืนฉดี ให้
หมอได้ถวายนํ้าเกลอื เขา้ เส้น แตห่ ลวงปไู่ มย่ อมรับ ทา่ นส่ังให้
เอาสายออก ทา่ นบอกวา่ ขออยูเ่ ฉยๆ ดกี วา่
ขณะนนั้ เห็นว่าเปน็ จังหวะดี ทา่ นพระครูนนั ทปญั ญาภรณ์จึง
ได้กราบเรียนหลวงปวู่ ่า “จะน�ำหลวงปูไ่ ปรกั ษาทโ่ี รงพยาบาลใน
กรุงเทพฯ อีก”
ท่านรบี ตอบปฏเิ สธ “ไม่ตอ้ งเอาไปหรอก”
และหา้ มต่อไปวา่ “หา้ มไม่ใหพ้ าไป”
ถามทา่ นวา่ “ท�ำไมหลวงปจู่ งึ ไมไ่ ป”
หลวงปูว่ า่ “ถึงไปกไ็ ม่หาย”
“ครั้งก่อนหลวงปูห่ นกั กว่านี้ยงั หายได้ ครง้ั นี้ไม่หนกั เหมอื น
แต่ก่อนต้องหายแนๆ่ ” ท่านพระครูชแ้ี จง
หลวงปวู่ ่า “นนั่ มนั ครง้ั ก่อน นมี่ ันไม่ใชค่ ร้งั กอ่ น”
ทา่ นพระครนู นั ท์ฯ ยอมรบั วา่ ครงั้ นีม้ คี วามลงั เลใจอย่างยิ่ง
ตรงกนั ขา้ มกบั คร้ังก่อนท่สี ามารถตดั สนิ ใจได้อย่างเดด็ ขาด
275
วันแรกของงาน
ตอ่ มาทา่ นผวู้ า่ ราชการจงั หวดั สรุ นิ ทรค์ อื นายเสมอ มลู ศาสตร์
พร้อมด้วยข้าราชการชนั้ ผูใ้ หญ่ของจังหวดั ๔-๕ คน ได้มากราบ
เยย่ี มอาการของหลวงปู่ จงึ ได้ปรกึ ษากันวา่ ควรจะน�ำหลวงปเู่ ดนิ ทาง
เข้าไปรักษาทก่ี รุงเทพฯ หรอื ไม่
ทุกคนทเ่ี ห็นหลวงปมู่ กั จะเขา้ ใจว่าท่านไม่เปน็ อะไรมาก เมอ่ื
เห็นว่าท่านไม่อยากไปด้วยแลว้ ก็พากันวางเฉยตามท่านไปดว้ ย
โดยปกติชวี ติ ของหลวงปู่ ท่านไมเ่ คยเรียกหาหมอยาเลย เทา่
ท่ีเคยเขา้ รักษาในโรงพยาบาล ๒ คร้งั ก็เม่อื ทา่ นมีอาการหนักแลว้
คณะศิษยจ์ งึ พาทา่ นไป ทา่ นไมอ่ ยากขัดใจจงึ ต้องปล่อยตาม
อาการป่วยไข้ทีจ่ ะแสดงใหค้ นอน่ื กังวลหนกั ใจการรกั ษา
พยาบาลนั้นไม่มี เพราะทา่ นมีความอดทนเป็นเยีย่ มตัง้ แตส่ มัยออกบำ�
เพ็ญเพียรตามป่าเขา ทา่ นเคยตอ่ สกู้ บั ความเจ็บปว่ ยและความตายมา
อย่างโชกโชน
เทา่ ทผ่ี ้เู ขียนอยใู่ กลช้ ดิ กบั หลวงปู่มาตลอด ไม่เคยไดย้ นิ เสียง
ท่านครวญครางโอดโอย หรอื ถอนหายใจแม้แตค่ ร้งั เดียว เวลาท่าน
ลกุ นงั่ เปล่ียนอิริยาบถตา่ งๆ เป็นไปด้วยความคลอ่ งแคล่ว
กระฉับกระเฉงเสมอ
วันนี้ วันท่ี ๒๙ ตลุ าคม ๒๕๒๖ เปน็ วนั เรมิ่ ทำ� บญุ ครบรอบ
อายุของท่าน การจดั งานคร้งั นี้กจ็ ัดกันเป็นพิเศษ ศิษยานศุ ิษยฝ์ า่ ย
สงฆ์มากันอยา่ งพรง่ั พรอ้ ม พุทธศาสนกิ ชนทว่ั ไปทง้ั ในจงั หวดั สรุ ินทร์
และจงั หวัดอ่ืนต่างหลั่งไหลกันมาอย่างมากมาย มีสุภาพสตรีมาร่วม
บวชชีปฏบิ ตั ธิ รรมจ�ำนวนมากกวา่ หนึ่งพันคน
ทางฝา่ ยท่านพระครูนนั ท์ฯ ทา่ นคิดวา่ รออยใู่ หเ้ สร็จงานเสีย
ก่อน หากอาการของหลวงปยู่ ังไมด่ ีข้ึน จะตอ้ งพาท่านเข้าไปรกั ษาใน
กรุงเทพฯ อย่างแน่นอนได้ปรกึ ษาและตกลงกับท่านผู้ว่าราชการ
จังหวัดวา่ อยา่ งนั้น
276
ทา่ นผวู้ ่าฯจึงไดแ้ ตง่ ตงั้ นายแพทย์ผู้อำ� นวยการโรงพยาบาล
สุรินทร์ พร้อมทัง้ นายแพทยอ์ ีก ๒ ทา่ น เป็นกรรมการถวายการ
รกั ษาพยาบาลหลวงปู่
เมื่อถงึ เวลาตามหมายก�ำหนดการ ประชาชนต่างหล่ังไหลกัน
มาเปน็ จ�ำนวนมาก
เวลา ๑๐.๐๐ น. พระสงฆ์ ๑๐ รูป เจรญิ พระพุทธมนต์
เวลา ๑๑.๐๐ น. ถวายภตั ตาหารเพล
เวลา ๑๓.๐๐ น. ท่านเจา้ คณุ พระพุทธพจนว์ ราภรณ์ วดั
ราชบพิธแสดงพระธรรมเทศนาเรอ่ื ง “ปูชนยี บุคคลประยกุ ตก์ บั
คณุ ธรรมความดขี องหลวงป”ู่
เรารออยา่ งนอี้ ยูแ่ ลว้
ขณะท่ีการแสดงพระธรรมเทศนาก�ำลงั ด�ำเนินอยกู่ ม็ ีพระมา
กระซิบบอกท่านพระครนู ันทปญั ญาภรณว์ ่า
“หลวงปเู่ รียกใหไ้ ปพบ”
ท่านพระครูฯ รูส้ ึกตกใจเลก็ น้อย รีบไปหาหลวงปู่ พอไปถึง
เหน็ ท่านนอนหงายหนุนหมอนสูงอยู่ ดูอาการทา่ นยงั สดใสเปน็ ปกติ
เม่ือเข้าไปใกล้ หลวงปกู่ ็ถามถงึ การจัดงานว่าเป็นอย่างไร ฟงั
เสยี งท่านคลา้ ยกบั ปากคอแหง้ ไมม่ ีน้าํ ลาย
ท่านพระครฯู รายงานท่านให้ทราบวา่ งานทกุ อยา่ งเปน็ ไป
ดว้ ยความเรียบรอ้ ยตามทก่ี ำ� หนดไว้ ปนี ้ีมีผ้มู าบวชเป็นแม่ชีพราหมณ์
มากกวา่ ทกุ ครง้ั จนศาลาใหมเ่ ตม็ หมดทัง้ ชัน้ บนและช้ันล่าง
หลวงป่จู ึงถามถึงศษิ ย์ฝ่ายสงฆ์ วา่ ครบหมดทกุ องค์แลว้ ยงั
ท่านพระครูฯ กราบเรียนวา่ มาแล้ว แต่กำ� ลงั อยูใ่ นพธิ แี สดงพระธรรม
เทศนาอยบู่ นศาลา เมอ่ื จบพิธีแสดงธรรมแล้ว ทุกองค์จะเขา้ มามนสั
การถวายสักการะหลวงป่ใู นทนี่ ี้
หลวงปพู ดู่ ว่า “เออ! เรารออยา่ งน้อี ยแู่ ล้ว”
277
ต่อจากนนั้ หลวงปพู่ ดู อะไรกไ็ ม่ทราบ เพราะท่านพูดเบามาก
ท่านพระครนู นั ทปัญญาภรณ์เอียงหไู ปฟังชดิ กับทา่ นมาก ท่านจบั
แขนไวแ้ ล้วนง่ิ เฉย ทา่ นพระครูฯ สะดงุ้ ตกใจนกึ วา่ หลวงป่สู น้ิ ลมแล้ว
เม่ือพจิ ารณาดูโดยละเอยี ดเห็นวา่ หลวงปหู่ ายใจเป็นปกติ แตแ่ ผ่วเบา
มาก เห็นทา่ นอย่ใู นอาการสงบนง่ิ จึงแนใ่ จว่าทา่ นไมเ่ ป็นไร ไดผ้ ละ
หา่ งจากทา่ นเลก็ น้อย หลวงปู่น่ิงเฉยอยูค่ ่อนขา้ งนาน เขา้ ใจว่าท่าน
คงเขา้ สมาธิอยู่
เม่ือหลวงปลู ื่มตาขน้ึ มา เห็นว่ามีอาการผอ่ งใสสดชนื่ เป็น
พิเศษ ท่านพระครฯู จึงปรารภเรอ่ื งงานใหห้ ลวงปฟู่ งั เพือ่ ทา่ นจะได้
ไม่ต้องเปน็ กังวล
ต่อมาได้เรยี นถามท่านวา่ “หลวงป่หู ลบั หรือเข้าสมาธิขอรบั ”
หลวงปู่ตอบวา่ “พิจารณาลำ� ดบั ฌาณอยู่”
พอดจี ังหวะน้ันมีศิษย์อาวุโสหลายองคเ์ ข้ามานมสั การหลวงปู่
บางองคส์ งสยั ในขอ้ ปฏบิ ตั กิ ไ็ ดก้ ราบเรยี นถามทา่ น ทา่ นอธบิ ายลำ� ดบั
ขอ้ ปฏบิ ตั ิธรรมให้ฟังตลอดสายอย่างชดั เจนไม่ตดิ ขดั
เม่ือเห็นเหตุการณ์เป็นดังน้ี ทา่ นพระครูฯ คอ่ ยรสู้ ึกเบาใจ จงึ
ผละจากหลวงปู่ออกไปท่ีงานบนศาลา ซงึ่ มญี าติโยมสนใจมาบ�ำเพญ็
กศุ ลบวชเป็นชีอย่างมากมาย
สวดมนตใ์ หฟ้ ัง
ครั้ง ๔ โมงเย็นล่วงแล้ว หลวงปสู่ ามารถออกมานง่ั รับแขก
ขา้ งนอกได้ ญาตโิ ยมจ�ำนวนมาก ไดถ้ อื โอกาสรบี มากราบหลวงปู่
สักครู่ใหญต่ ่อมาหลวงปู่กก็ ลับเข้าห้อง พระเณรถวายน้�ำสรง
แก่ทา่ น เช็ดตวั และน่งุ หม่ เรยี บร้อย ก็ถวายน้ําผึ้งผสมมะนาวและ
สมอตำ� ละเอียด ท่านฉันนา้ํ ผึง้ อย่างเดยี ว ไม่ฉันสมอ
แล้วหลวงปนู่ อนพกั ผ่อนท่ามกลางสงฆ์ฝ่ายอรัญญวาสี ซ่งึ นง่ั
หอ้ มลอ้ มเปน็ จ�ำนวนมาก อยู่ในอิริยาบถนอนหงาย หนุนหมอนสูง
278
หลับตาลง ดูสผี วิ ของทา่ นเปล่งปลงั่ ผดิ ธรรมดา
ทา่ นพระครูนันทปญั ญาภรณ์บอกวา่ ชว่ งนนั้ ทำ� ให้ทา่ นคิด
สังหรณใ์ จไปต่างๆ นานา แทนท่ีจะรู้สกึ สบายใจเหมือนกบั คนอ่นื ๆ
พระลูกศษิ ยท์ กุ รูปทนี่ งั่ อยู่ ณ ที่นัน่ เหน็ หลวงปูน่ อนน่งิ เฉยอย่กู ็พา
กันเงียบกรบิ ไม่มีการพูดจากันแต่อยา่ งใด
หนึ่งทมุ่ ผา่ นไป หลวงปลู่ มื ตาขนึ้ มองไปตรงช่องว่างท่ีเป็นกระ
จกท่มี ีผ้ามา่ นปดิ อยู่ ทา่ นยกแขนขวาขนึ้ บอกท่าทางให้รดู มา่ นออก
สกั ครู่ต่อมาทา่ นบอกให้พระเณรออกจากหอ้ งไปได้ ยงั เหลือพระคอย
ดแู ลรบั ใช้ ๘-๙ องค์
หลงั จากนั้นสักพกั ท่านก็สง่ั ให้พระท่อี ยสู่ วดมนต์ใหท้ ่านฟัง ดู
สีหนา้ ของพระเหล่านั้นเริ่มฉงนสนเทห่ ์ใจพร้อมใจกันสวดมนต์เจด็ ตำ�
นาน ให้หลวงปู่ฟงั จนจบ
แล้วหลวงปบู่ อกให้สวดเฉพาะโพชฌงคสตู ร อย่างเดียว ๓ จบ
แล้วใหส้ วด ปฏจิ จสมปุ บาท อกี ๓ รอบ
พอสวดจบหมอกเ็ ขา้ ไปตรวจอาการ ตอนนน้ั เป็นเวลา ๔ ทุม่
ล่วงแล้วหมอและพยาบาลคงรสู้ กึ ถงึ บรรยากาศของการเปล่ียนแปลง
บางอย่าง ทกุ คนตา่ งอยู่ในอาการสงบนิ่ง ไมม่ ใี ครพดู อะไร
ทุกคนทีอ่ ยใู่ นทีน่ น้ั ตา่ งประจักษ์ชดั ด้วยกนั ว่าอะไรจะเกิดขึ้น
หมอกก็ ราบลาหลวงปกู่ ลับออกไป เช่ือว่าทุกคนคงจะรูว้ ่าเปน็ การ
กราบลาหลวงปูเ่ ป็นครั้งสดุ ทา้ ย บรรยากาศ ณ ที่น้นั อยใู่ นความ
สงบนิง่ ไม่มใี ครปริปากพดู อะไร
สวดมหาสติปฏั ฐานสูตร
หลงั จากหมอกลับออกไปแลว้ หลวงป่ลู ืมตาข้นึ บอกให้พระ
สวดมหาสติปัฏฐานสตู รใหฟ้ ังปรากฏวา่ พระท่อี ยู่ ณ ทน่ี น้ั ๘-๙ องค์
ไม่มใี ครสวดได้ เพราะเปน็ พระสตู รทย่ี าวกวา่ สตู รอ่นื ๆ ท้ังหมด
หลวงปบู่ อกให้เปดิ หนงั สอื สวด เผอญิ หนงั สอื กไ็ ม่มอี ีก พอดีพระ
279
อาจารย์พนู ศักดิ์ ซง่ึ เฝา้ รกั ษาหลวงปู่มาโดยตลอด มีหนังสอื สวด
มนตฉ์ บับหลวงเลม่ ใหญ่ติดมาดว้ ย จงึ หยิบมาเปดิ คน้ หาพระสูตรนน้ั
กำ� ลงั พลกิ ไปพลิกมาเปดิ หาอยู่
หลวงป่สู ่งั ว่า “เอามาน”่ี
พระอาจารยพ์ ูนศกั ดิ์รบี ยื่นถวาย หลวงปรู่ บั ไปแล้วเปดิ
หนงั สอื ข้ึนโดยไม่ต้องดบู อกวา่ “สวดตรงนี”้
ทกุ องค์ท่ีอย่ใู นทีน่ ้นั ตา่ งตะลงึ เพราะหน้าทห่ี ลวงปู่เปดิ เป็น
หน้าที่ ๑๗๒ เปน็ บทสวดมหาสตปิ ฏั ฐานสูตร พอดี
พระอาจารยพ์ นู ศักด์ิรับหนงั สอื จากหลวงปูม่ าน่งั สวดองค์
เดียว หลวงปู่นอนฟงั โดยตะแคงข้างขวา อย่ใู นอาการสงบน่ิง
พระสูตรนีม้ คี วามยาวถงึ ๔๑ หนา้ ใชเ้ วลาสวดเกอื บ ๒
ชัว่ โมง เพราะหลวงปู่บอกให้สวดแบบช้าๆ
ระหวา่ งนี้พระบางองค์ทะยอยออกไปบา้ ง หลังจากท่สี วด
มหาสตปิ ฏั ฐานสูตรจบลง หลวงปยู่ งั อยู่ในอาการปกติ ทา่ นพดู
ธรรมะกบั พระท่เี ฝา้ อยเู่ ป็นครงั้ คราวลุกขนึ้ น่งั บนเก้าอบี้ ้าง นอนบา้ ง
มตี อนหนึง่ หลวงปใู่ ห้พาออกไปนอกห้องและออกไปนอกกุฏิ
เพอื่ สดู อากาศบริสุทธิ์ภายนอก หลวงปเู่ พง่ มองไปทศ่ี าลาท่อี ยตู่ รง
หน้ากฏุ ิของทา่ น ซง่ึ ในขณะน้นั ทง้ั พระเณรและฆราวาสเปน็ จำ� นวน
มาก ต่างชมุ นุมปฏบิ ตั ิธรรมกนั อยู่ มกี ารสวดมนต์ ฟังเทศน์ ปฏบิ ตั ิ
สมาธภิ าวนากันอยู่
อากปั กิริยาที่หลวงปูอ่ อกมานอกกุฏนิ ี้ ทา่ นได้กวาดสายตา
มองดูไปรอบๆ บริเวณวัด ไมม่ ใี ครทราบวา่ เปน็ การมองดูครง้ั สดุ ทา้ ย
คล้ายกบั เปน็ การให้ศีลใหพ้ รและเป็นการลาสถานทแี่ ละสานศุ ษิ ย์ของ
ท่านทกุ คน
ไมม่ ใี ครเฉลียวใจ เพราะเห็นว่าทา่ นยงั มีอาการเป็นธรรมดา
มสี ติสมั ปชัญญะบริบูรณแ์ ละพูดธรรมปฏิบัตใิ ห้พระเณรฟังไดอ้ ย่าง
ชัดเจน
280
แสดงธรรมคร้ังสุดท้าย
ผา่ นเข้ามาถงึ ตี ๓ ของวันที่ ๓๐ ตลุ าคม ๒๕๒๖ หลวงปไู่ ด้
แสดงธรรมให้แก่ลูกศษิ ยล์ ูกหาทอี่ ยู่ในห้องน้นั ไดร้ บั ฟงั
ธรรมท่หี ลวงปแู่ สดงเป็นธรรมว่าด้วย ลกั ษณาการแห่งพทุ ธ
ปรนิ ิพพาน ท่านแสดงด้วยน�้ำเสียงปรกตธิ รรมดาและอยใู่ นอริ ยิ าบถ
นอนหงาย มเี น้ือหาดังนี้
“เม่ือพระสัมมาสัมพทุ ธเจ้าทรงสรา้ งพระพทุ ธศาสนา ให้กอ่
เกดิ เปน็ ชวี ติ อยา่ งบริบูรณด์ งั ประสงค์แล้ว พระองค์จึงได้ละ
วภิ วตัณหานนั้ เสดจ็ เขา้ สู่อนุปาทเิ สสนพิ พาน คอื เป็นผู้หมดสน้ิ ทกุ
ตณั หา เปน็ ผู้ดับรอบโดยลกั ษณาการแห่งอนปุ าทิเสสนิพพานของ
พระองค์”
ลำ� ดับแรกกเ็ จรญิ ฌาณ ดิ่งสนิทไปจนสัญญาเวทยิตนโิ รธ
หมายความวา่ เข้าไปลกึ สดุ อยเู่ หนือรูปฌาณ
ในวาระแรกนนั้ พระองคย์ ังมไิ ดด้ บั ขนั ธต์ า่ งๆ ใหส้ ิน้ สนทิ เดด็
ขาดแต่อยา่ งใดเพียงเขา้ ไปเพื่อทรงกระบวนการแหง่ การเขา้ ส่นู พิ พาน
หรอื นิโรธ เป็นครงั้ สดุ ท้ายแห่งชีวติ
พดู ง่ายๆ ก็คอื สูส่ ง่ิ ท่พี ระองค์ไดส้ รา้ งไดพ้ ากเพียรกอ่ เป็นทาง
เปน็ แบบอย่างไวเ้ ป็นครงั้ สดุ ท้ายเสียหน่อย ซ่ึงเรยี กได้ว่า สงิ่ อนั เกิด
จากการทีพ่ ระองคไ์ ด้ยอมอยกู่ บั ธลุ ที กุ ข์ อนั เปน็ ธลุ ที ุกข์ท่มี นุษย์
ธรรมดามีจติ หยาบเกินกวา่ ทีจ่ ะสมั ผัสได้ว่ามันเปน็ ทกุ ข์
น่ีแหละกระบวนการกระท�ำจติ ตนให้ถงึ สัญญาเวทยิตนิโรธ
เป็นกระบวนการทพ่ี ระอนุตรสัมมาสมั พทุ ธเจา้ ผเู้ ปน็ ยอดศาสดาใน
โลกเทา่ นัน้ ท่ีทรงคน้ พบ ทรงน�ำมาตเี ผยแผ่แจ้งออกส่โู ลกใหพ้ ึงปฏิบัติ
ตาม
เมอ่ื ทรงส่งิ สุดท้ายนี้แลว้ จงึ ได้ถอยกลับมาสู่ภาวะตน้ คอื
ปฐมฌาณ แล้วตัดสนิ พระทยั ครั้งสุดท้ายเสดจ็ ดบั ขนั ธ์ตา่ งๆ ไปทีละ
ขนั ธ์
281
วญิ ญาณขนั ธแ์ หง่ ชวี ิตและร่างกายน้นั ไดด้ ับไปเสียตั้งแต่ก่อน
จะเขา้ สปู่ ฐมฌาณนานแล้ว เพราะต้องการดบั สงั ขารขันธ์ หรือ
สังขารธรรมข้นั แรกก่อนวิญญาณขันธ์จงึ ไดด้ ับ
ดงั น้นั จึงไม่มเี ช้ือใดเหลอื อย่แู หง่ วิญญาณขนั ธ์ที่หยาบนนั้
พระองคเ์ รม่ิ ดับสงั ขารขันธ์ หรอื สงั ขารธรรมชนั้ ในสดุ อนั จะส่งผลให้
กอ่ วิภวตัณหาไดช้ ้ันหน่งึ เสียกอ่ น แลว้ จงึ เลอ่ื นเข้าสทู่ ตุ ิยฌาณ แลว้ จงึ
ดบั สญั ญาขันธเ์ ลื่อนเข้าส่ตู ติยฌาณ
เม่ือพระองค์ทรงดับสงั ขารขันธ์ หรือสงั ขารธรรมชัน้ ใจสุดอีก
ที กเ็ ป็นอันเลอ่ื นขน้ึ สจู่ ตตุ ถฌาณ คงมแี ต่เวทนาขนั ธส์ ุดทา้ ยแห่งชีวติ
น่นั แลคือลักษณาการแหง่ ขั้นสดุ ทา้ ยของการจะดับส้ินไมเ่ หลือ
เมอื่ พระองคด์ บั สังขารขันธ์ หรอื สงั ขารธรรมใหญ่สดุ ทา้ ยทมี่ ี
ท้ังส้ินแล้ว กม็ าดับเวทนาขนั ธ์ เป็น จติ ขนั ธห์ รือนามขันธท์ ่ใี นจติ
ส่วนในคือ ภวงั คจิตเสียก่อน แลว้ จงึ ได้ออกจาก จตุตถฌาณ พร้อม
ทั้งมาดับจิตขันธ์ หรือนามขันธส์ ดุ ท้ายจรงิ ๆ ทต่ี รงน้ี
พระองคไ์ ม่ไดเ้ ข้าสู่พระนิพพานในฌาณสมาบตั ิอะไรทไี่ หน
หรอก เมือ่ พระองคอ์ อกจากจตุตถฌาณแลว้ จิตขันธห์ รอื นามขนั ธ์ก็
ดับพร้อมไม่มีอะไรเหลอื ไม่ถกู ภาวะอน่ื ใดมาครอบง�ำ อ�ำพรางให้
หลงใหลใดๆ ทั้งส้นิ เป็นภาวะแหง่ ตนเองอย่างบริบูรณ์ ภาวะอนั น้ัน
จะเรยี กว่า “มหาสุญญตา” หรอื “จกั รวาลเดิม” หรือวา่ เรียก “พระ
นิพพาน” อย่างใดอย่างหนงึ่ ก็ได้ เราปฏิบัตมิ าก็เพ่ือถึงภาวะอนั นี้
วจสี ังขารหรอื วาจาของหลวงปดู่ ูลย์ อตโุ ล สน้ิ สดุ ลงเพยี งแค่น้ี หลัง
จากนัน้ ไมม่ ีวาจาใดออกมาจากท่านอกี เลย
หลวงปู่ละทิ้งสังขาร
เวลาผา่ นเลยถึงตี ๓ ของวนั ที่ ๓๐ ตุลาคม ๒๕๒๖
หลวงปนู่ อนสงบน่ิง หายใจเบาๆ ดอู าการเป็นปกตคิ ลา้ ยนอน
หลบั ตามธรรมดา สังเกตเหน็ ลมหายใจทา่ นเบาลงมาก ทุกคนปลอ่ ย
282
ใหท้ า่ นอย่ขู องทา่ นไมม่ ีการรบกวน รสู้ กึ จะเห็นตรงกันวา่ ถา้ หาก
หลวงปูจ่ ะปล่อยวางสังขาร ก็ใหท้ า่ นปลอ่ ยวางตามสบาย ไมค่ วรทำ�
ให้ท่านต้องลำ� บากจากการชว่ ยเหลือของแพทยห์ รอื พยาบาล
หลวงปู่อย่ใู นอาการสงบน่งิ ไมม่ ใี ครแน่ใจว่าทา่ นปลอ่ ยวาง
สงั ขารในช่วงวนิ าทีใด
ผู้ที่เฝ้าพยาบาลอยู่ด้านซ้ายเชือ่ ว่าหลวงปูห่ ยุดการหายใจเม่อื
เวลา ๐๔.๑๓ น. สำ� หรับผู้ท่ีเฝ้าอยทู่ างดา้ นขวา เข้าใจวา่ เม่ือเวลา
๐๔.๔๓ น. (ทางวัดตกลงถือเวลา ๐๔.๑๓ น.)
ความรสู้ ึกของศิษยท์ ั้งสองฝา่ ยต่างกนั ถึง ๓๐ นาที ไมม่ ีใคร
ทันสังเกตเห็นได้ เพราะหลวงป่มู ไิ ด้หายใจแรงให้เรารไู้ ดว้ า่ เฮอื กใด
เป็นลมหายใจเฮอื กสดุ ทา้ ยของทา่ น
นบั เป็นลกั ษณาการมรณภาพทไ่ี ม่ปรากฏรอ่ งรอย เปน็ ความ
งดงามบริสุทธิ์และสงบเยน็ อยา่ งสิ้นเชิง
สังขารธรรมทอี่ บุ ตั ิขึน้ เมอ่ื วันท่ี ๔ ตลุ าคม ๒๔๓๑ ณ บ้าน
ปราสาท ตำ� บลเฉนียง อำ� เภอเมืองจงั หวดั สุรนิ ทร์ ได้พฒั นามาโดยลำ�
ดับ รงุ่ เรอื ง สดใส มั่นคงและบริสทุ ธิ์ ปราศจากละอองธลุ อี ย่าง
แท้จริง ได้ทอ่ งเทย่ี วไปมาท่ัวแดนแหง่ พุทธจกั รจนรแู้ จ้งเห็นธรรม
อยา่ ง “ไมม่ ีผใู้ ดเทยี บ” ตรงตามฉายา “อตุโล” ของทา่ น บ�ำเพ็ญ
ประโยชนต์ นและประโยชน์ผ้อู นื่ อยา่ งมหาศาล เผยแพร่ดวงประทปี
แก่ชาวโลกเป็นเวลานาน กด็ ับลงแล้วดว้ ยการยกชวี ติ สงั ขารของท่าน
สอนคนให้รถู้ ึงความเปน็ จรงิ แหง่ ชีวิต ซึ่งท่านชอบใช้คำ� วา่ “ยังงนั้
ยงั งัน้ แหละ”
หลวงป่ดู ลู ย์ อตโุ ล ละทงิ้ สังขาร มรณภาพเมอื่ วันท่ี ๓๐
ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๒๖ เวลา ๐๔.๑๓ น. รวมอายุได้๙๖ ปี กบั ๒๖
วัน พรรษา ๗๔
สาธ!ุ ศษิ ยท์ ุกคนกราบแทบเท้าขอขมากรรมหลวงปู่ ธรรมะ
ใดทห่ี ลวงปเู่ ขา้ ถึงแลว้ ขอให้ศษิ ยท์ ุกคนไดเ้ ขา้ ถึงธรรมะนน้ั และได้
ดวงตาเห็นธรรมด้วยเถิด
283
ไมม่ วี บิ ากของสงั ขาร
บรรดาศิษย์เพิง่ ทราบความหมายทหี่ ลวงปเู่ คยพดู เสมอว่า
ท่านไมม่ ีวิบากของสงั ขาร ซงึ่ หมายถงึ เมื่อคราวจะตอ้ งละสังขาร
จริงๆ แลว้ ทา่ นกล็ ะไปเลยโดยไม่ตอ้ งท้งิ ความอ่อนแอ ความเจบ็ ไข้ได้
ป่วยใหป้ รากฏเป็นการทรมานทง้ั แก่ตนเอง และสรา้ งความลำ� บากยงุ่
ยากให้แก่ผูอ้ ่นื อนั เน่ืองมาจากสังขารเป็นเหตุ
รวมไปถึงการทต่ี อ้ งเปลืองหมอเปลืองยา ท�ำให้ได้รบั ความล�ำ
บากกายล�ำบากใจ สร้างความวติ กกงั วลและความเปน็ ห่วงให้แก่
บคุ คลทอ่ี ย่ภู ายหลงั
เมื่อหลวงปู่ดำ� รงขนั ธ์จนย่างเขา้ ปจั ฉมิ วัยจะเขา้ สูร่ อ้ ยปกี ต็ าม
สุขภาพพลานามัยของทา่ นยังอยใู่ นเกณฑ์แข็งแรง ทัง้ สังขารร่างกาย
ทัง้ สตสิ ัมปชัญญะสมั พนั ธก์ นั อยา่ งสมบูรณ์
เม่ือคราวทจ่ี ะต้องละท้งิ สงั ขารไปจรงิ ๆ ความไม่มีวิบากของ
สงั ขารของทา่ น จงึ ปรากฏออกมาใหท้ ุกคนได้ประจกั ษ์อย่างชัดเจน
คือ ทา่ นปลอ่ ยวางสังขารในท่ามกลางความมสี ติสมั ปชญั ญะท่ี
สมบูรณ์ ดา้ นสุขภาพ รา่ งกายก็แขง็ แรงสมบรู ณ์ตามสภาพของวัย
ซงึ่ นับวา่ เป็นเรือ่ งท่ีหายากอยา่ งย่ิง สำ� หรับคนทวั่ ไป
ที่น่าคิดประการหนงึ่ คอื เสมือนหนึง่ ว่าหลวงป่กู ำ� หนดวาระ
การปล่อยวางสังขาร ในระหวา่ งที่มกี ารเตรยี มงานพร้อมมลู อยู่แลว้
คอื งานท่สี านศุ ษิ ยจ์ ัดขึ้นเปน็ พเิ ศษเพ่อื เปน็ การฉลองการหายอาพาธ
และทำ� บญุ ฉลองครบรอบถวายท่าน ในระหว่างวันที่ ๒๙-๓๐-๓๑
ตลุ าคม ๒๕๒๖
สานศุ ิษย์ฝา่ ยบรรพชติ ทง้ั ฝา่ ยคามวาสีและอรัญวาสี มา
ประชมุ กันพร้อมเพรียง เพ่อื เปิดโอกาสให้มกี ารสนทนาวิสาสะ รบั สัก
การะบชู า ตลอดถึงตอบปัญหาขอ้ วัตรปฏิบตั ิให้แกส่ านศุ ษิ ย์ของทา่ น
ได้ฟังอย่างครบถ้วนบรบิ รู ณ์ เหมือนหนึง่ เปน็ การทบทวนขอ้ วัตร
ปฏิบตั ิ อันเป็นคุณสมบัติท่ที า่ นรักษามาตลอดอายุขัย
284
ให้สมบรู ณ์ เปน็ ท่ีอบอุน่ ใจ สบายใจของทุกฝา่ ย
ลกั ษณาการแหง่ การสิ้นสดุ สงั ขารขันธ์ของหลวงปูค่ ร้ังนี้ ยัง
ความอศั จรรยใ์ จระคนกับความเศร้าโศกอาลยั อาวรณ์ ในบรรยากาศ
ของการทำ� บุญครบรอบของท่าน เทา่ กบั ว่าศาสนกิ ชนทวั่ ไปมาในงาน
เดียวได้สองงาน
ไดม้ ารว่ มงานศิริมงคลอายคุ รบรอบ พรอ้ มกับไดม้ ารับรูก้ าร
ละสังขารของท่านในชว่ งเวลาเดยี วกัน นับเป็นเหตกุ ารณ์ทน่ี า่
อัศจรรย์และเกิดขนึ้ ได้ยากยง่ิ
การบ�ำเพญ็ พระราชกศุ ลงานศพหลวงปู่
ช่ัวเพยี งไม่กน่ี าที ขา่ วมรณภาพของหลวงป่ดู ลุ ย์ อตุโล กแ็ พร่
สะพัดไปทวั่ จงั หวดั สรุ ินทรแ์ ละทั่วประเทศ
สาธชุ นและสานุศิษยจ์ ากทกุ สารทศิ หลง่ั ไหลมานมสั การและ
สรงนํ้าสรีระของหลวงป่จู ำ� นวนมากเหลอื คณานับ ตลอดวนั ท่ี ๓๐
และ ๓๑ ตลุ าคม ๒๕๒๖ มีประชาชนเบยี ดเสียดกนั มาอย่างคลาคลํา่
เพอื่ ถวายนํ้าสรงสรีระหลวงป่ทู ุกคนท่ีศรทั ธาในหลวงปเู่ ม่อื รู้ขา่ วก็เรง่
รบี มา โดยท่ีไมต่ อ้ งมกี ารประกาศเชิญชวน
ทราบซึง้ ในพระมหากรุณาธคิ ุณเป็นล้นพ้น เน่ืองจากหลวงปู่
เป็นพระเถระช้นั ผู้ใหญฝ่ ่ายวิปัสสนา ท่พี ระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยูห่ วั
และสมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถทรงเคารพนับถอื ทรง
ใหก้ ารสงเคราะห์หลวงปมู่ าตลอด ทงั้ ยามปกตแิ ละยามอาพาธ
ทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ พระราชทานหอ้ งพเิ ศษ และ
พระราชทานหมอหลวง เพอื่ ทำ� การรกั ษาพยาบาลหลวงปู่ เม่ือคราว
หลวงปูอ่ าพาธทโ่ี รงพยาบาลจฬุ าลงกรณ์และทรงเสดจ็ เป็นการสว่ น
พระองค์เพือ่ เยีย่ มอาพาธ
ครั้นเมือ่ หลวงปมู่ รณภาพลง พระองคท์ ่านไดท้ รงพระกรุณา
โปรดเกล้าฯพระราชทานน้�ำสรงศพ พรอ้ มท้ังพระราชทานโกศโถฉตั ร
285
เบญจาต้ังประดับและทรงพระมหากรุณาโปรดบำ� เพ็ญพระราชกศุ ล
ดงั น้ี
ทรงพระมหากรุณาโปรดบ�ำเพญ็ พระราชกศุ ล ๗ วัน ในวนั ที่
๕-๖ พฤศจิกายน ๒๕๒๖
ทรงพระมหากรณุ าโปรดบำ� เพ็ญพระราชกศุ ล ๕๐ วัน ในวนั
ที่ ๒๘-๒๙ ธนั วาคม ๒๕๒๖
ทรงพระมหากรุณาโปรดบำ� เพ็ญพระราชกุศล ๑๐๐ วัน ใน
วันท่ี ๖-๗ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๒๗
นบั เปน็ พระมหากรุณาธคิ ุณอยา่ งหาทส่ี ุดมิได้ ทพ่ี ระองคท์ า่ น
ไดท้ รงเมตตาตอ่ หลวงปแู่ ละพสกนิกรชาวสุรินทร์ ตลอดจนสานศุ ิษย์
และสาธุชนผ้เู คารพศรทั ธาในหลวงปู่
งานพระราชทานเพลงิ ศพหลวงปู่
ศพของหลวงปูไ่ ด้ต้ังบำ� เพ็ญกศุ ลและให้ประชาชนกราบสกั กา
ระ ท่ีวดั บูรพาราม อ�ำเภอเมือง จงั หวัดสุรนิ ทร์ ต้งั แต่วันมรณภาพ
คือวันที่ ๓๐ ตุลาคม ๒๕๒๖ เป็นตน้ ไป จนถึงวนั พระราชทานเพลงิ
ศพ เมอื่ วันที่ ๘ กรกฎาคม ๒๕๒๘ เปน็ เวลา ๒ ปี ภายหลังการ
มรณภาพละทงิ้ สงั ขารของหลวงปู่
ในงานพระราชทานเพลงิ ศพของหลวงปนู่ ้ี ไดจ้ ดั ใหม้ ขี ึ้นท่ี
วนอทุ ยานแห่งชาติเขาพนมสวาย ซง่ึ อยู่ห่างจากจังหวดั สุรนิ ทร์ไป
ทางทิศใต้ประมาณ ๒๒ กโิ ลเมตร
พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อย่หู ัวและสมเด็จพระนางเจ้าพระบรม
ราชินีนาถ ไดเ้ สดจ็ พระราชด�ำเนินไปพระราชทานเพลงิ พร้อมด้วย
สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาสยามบรมราชกมุ ารี สมเด็จพระเจา้ ลูก
ยาเธอเจ้าฟ้าจฬุ าภรณ์ และน.อ. วรี ยทุ ธ ดิษยศริ นิ ทร์ ยังความ
ปลาบปล้ืมแด่สานศุ ษิ ย์หลวงปแู่ ละชาวสุรินทร์อย่างลน้ พน้
แม้สถานทจ่ี ัดงานพระราชทานเพลิงศพจะอย่หู า่ งไกลจากตัว
286
เมอื งสรุ ินทรไ์ ปถึง ๒๒ กโิ ลเมตร ก็มผี ไู้ ปร่วมงานอย่างล้นหลาม
คลาคล่าํ ไปด้วยพระเถรานุเถระ พระภกิ ษุสามเณร นกั บวชชี
พราหมณ์ ขา้ ราชการทุกหมเู่ หลา่ และพอ่ ค้าประชาชนจากทัว่
สารทิศ ทุกคนทไ่ี ปร่วมงานตา่ งกป็ ลื้มใจ ที่มาร่วมแสดงกตัญญุตา
คณุ ในงานมลายขันธข์ องหลวงปู่ในครงั้ นน้ั
ทำ� ไมจึงสรา้ งเมรุทีเ่ ขาพนมสวาย
คำ� ถามหน่งึ ท่ีผูต้ ้ังข้อสังเกตและซักถามกนั เสมอ ในงาน
พระราชทานเพลงิ ศพของหลวงปู่ ว่าทำ� ไมจงึ ตอ้ งไปจัดที่เขาพนม
สวายทั้งๆ ทตี่ อ้ งเดินทางห่างจากทต่ี ั้งบำ� เพญ็ กศุ ลถึง ๒๒ กิโลเมตร
และไปจัดกลางปา่ กลางเขาเชน่ น้นั มเี หตุผลอะไร
คำ� ถามดังกล่าวแม้จะถอื ว่าไม่ใชเ่ รอ่ื งส คัญ กไ็ มค่ วรจะให้ตดิ
ค้างอยู่
ทา่ นผูว้ า่ ราชการจงั หวดั สรุ ินทรใ์ นครั้งนนั้ คอื นายเสนอ มูล
ศาสตร์ ไดชแ้ี จงในหนังสอื ที่ระลึกงานพระราชทานเพลิงศพของ
หลวงปู่ในหวั เรอ่ื ง “จะสร้างเมรุพระราชทานเพลงิ ศพหลวงปฯู่
ทีไ่ หน” ดังข้อความต่อไปนี้
เม่ือ พระราชวฒุ าจารย์ (หลวงป่ดู ุลย์ อตโุ ล) มรณภาพ
จังหวดั ไดน้ ำ� ความขึ้นกราบบังคมทลู พระบาทสมเด็จพระเจ้าอย่หู ัว
และสมเดจ็ พระนางเจา้ พระบรมราชินีนาถ ทรงทราบฝ่าละอองธลุ ี
พระบาทและได้รับพระราชทานนา้ํ อาบศพ โกศ ฯลฯ ซึง่ เป็นคร้งั แรก
ท่ชี าวจังหวัดสุรินทร์ได้รับพระมหากรณุ าธิคุณและเรากค็ ิดตอ่ ไปว่า
โอกาสเชน่ นี้คงจะไม่มีอกี แลว้
ระหวา่ งที่เก็บศพหลวงปู่รอพระราชทานเพลิงศพ ได้มีผู้ตั้งคำ�
ถามมากมาย มีท้งั พากันไปพบผมท่ีบ้าน มที ้ังสอบถาม พระครูสถิต
สารคุณ พระครนู นั ทปัญญาภรณ์ ทวี่ ัดบรู พ์ฯ เช่น ไดม้ ผี ูบ้ อกผมว่า
เปน็ ญาตขิ องหลวงปู่ พากันไปหาผมทบี่ ้านพักและขอวา่ ศพหลวงปู่
287
น้ันเก็บไวต้ ลอดไป โดยไม่ต้องเผาจะได้ไหม
ผมตอบว่าไมไ่ ด้ เพราะเราได้ด�ำเนินการในหลายๆ เรอ่ื ง ล่วง
เลยมาจนบดั นแี้ ลว้ ทา่ นเหล่าน้นั กเ็ ขา้ ใจและหมดขอ้ กงั ขา
มีผู้ถามวา่ เมื่อตอ้ งทำ� พิธีพระราชทานเพลงิ ศพ จะเลือกทไ่ี หน
จึงจะเหมาะสม เพราะมปี ัญหาตามมามากมาย ทัง้ ในเรอ่ื งคนจะมา
รว่ มงานจะตอ้ งมากจะมที ี่รบั พอหรอื รถยนต์ทัง้ ส่วนตวั และโดยสารจ�ำ
นวนเปน็ รอ้ ยเปน็ พัน จะใหจ้ อดกนั ท่ไี หน การให้ความสะดวกแก่ผู้มา
ร่วมงาน ท่เี คารพศรทั ธาหลวงปูม่ ีเปน็ หมน่ื ๆ จะให้เขาไดร้ ับความ
สะดวกสบายอย่างไร มีผู้เสนอความเห็นหลายอยา่ งอาทิ
ใหจ้ ดั พิธพี ระราชทานเพลิงศพท่ีวัดบูรพาราม
ให้จัดที่หนา้ ศาลากลางจังหวดั
ให้จัดท่ีสนามกีฬาจงั หวัด
ให้จดั ท่ีบริเวณวิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชวี ศกึ ษา วทิ ยาเขต
เกษตรสุรินทร์ ตรงหน้าวดั ป่าโยธาประสิทธ์ิ
โดยใหร้ อ้ื แปลงหม่อนของทางวทิ ยาลัยออกและใช้สถานท่ี
บริเวณนนั้ ทกุ สถานทที่ ม่ี ผี เู้ สนอดงั กล่าวขา้ งต้น ตา่ งมผี ู้แย้งในเรอ่ื ง
สถานท่ีดงั กล่าวว่ามบี รเิ วณแคบ ไม่พอท่จี ะรับผู้มารว่ มงาน ซ่งึ คาด
วา่ จะต้องเป็นเรือนหมื่นเรือนแสน แมจ้ ะมีบรเิ วณพอจะรับคนได้ แต่
ก็ไมม่ บี รเิ วณพอทเ่ี ปน็ สถานทจ่ี อดรถ ไม่สามารถก�ำหนดเส้นทางเข้า
ออกโดยมิให้สวนทางและเกิดรถติด จะตอ้ งรื้อถอนทรัพยส์ นิ ของ
หลวง เชน่ ถ้าใชบ้ ริเวณวิทยาเขตเกษตรสรุ นิ ทร์ กต็ ้องร้อื แปลง
หม่อนจำ� นวนมากออกทง้ั แปลง หลวงปู่เปน็ ทีเ่ คารพศรัทธาของคน
ท่วั ไป เมือ่ เราคดิ จะท�ำอะไรเพอื่ หลวงปูก่ ็ต้องคิดใหร้ อบคอบและไม่
เกดิ ความเสยี หายแกส่ ่วนรวม ประเด็นสำ� คญั ท่ที กุ คนคิดเหมือนกันก็
คือสถานท่ที ่ีสร้างเมรุต้งั ศพและทำ� พิธพี ระราชทานเพลงิ ศพของหลวง
ปู้น้นั เมื่อพระราชทานเพลิงเกบ็ อฐั ิ รื้อเมรอุ อกแลว้ กค็ วรจะเปน็
สถานทศ่ี กั ดิส์ ิทธ์ิ ทมี่ คิ วรปล่อยใหถ้ กู เหยยี บยา่ํ และเราต้องมาช่วยกัน
คิดสรา้ งส่ิงใดสงิ่ หน่ึงครอบสถานท่ตี รงน้ันเพ่อื เปน็ ทีส่ กั การะระลกึ ถงึ
288
หลวงปูใ่ นอนาคตดว้ ย
สถานท่ที ี่ทุกคนตอ้ งการหาได้ไมง่ ่ายนกั แต่เราก็ช่วยกันคดิ หา
จนได้ สถานทีน่ ั้นคอื บรเิ วณหมู่เขา “พนมสวาย” ต�ำบลนาบวั
อำ� เภอเมอื งสรุ นิ ทร์
ท�ำไมเลอื กเอาที่ตรงนัน้ เพราะตรงนัน้ มวี ัด
วัดแหง่ น้ีกำ� เนดิ ขึน้ มาโดยหลวงปู่
พระพทุ ธสรุ ินทรมงคล ศาลาอฎั ฐมขุ ประดษิ ฐานรอย
พระพทุ ธบาทจ�ำลอง
เปน็ ที่แสวงหาบญุ ของพุทธศาสนกิ ชนในเทศกาลขึน้ เขาสวาย
ในเดอื นห้าทกุ ปี เมอ่ื พระราชทานเพลิงศพหลวงปแู่ ล้วเราจะสร้าง
สถปู ประดษิ ฐานรปู หลวงปู่ บรรจุอฐั ิหลวงปู่ไวเ้ ป็นที่สกั การะกท็ ำ� ได้
ขณะนีท้ างจังหวัดไดก้ �ำหนดบริเวณดงั กลา่ วเปน็ วนอุทยาน
แลว้ เราสามารถปลูกต้นไม้ พัฒนาใหส้ วยงามได้
การกำ� หนดเส้นทางใหร้ ถเข้าออกในขณะมงี าน เราก็แกไ้ ด้
และท�ำแล้ว
การไม่มไี ฟฟา้ แสงสวา่ งให้ความสะดวก เรากแ็ ก้ได้
เรื่องนํ้าด่ืมน้ําใช้ เราก็แก้ได้
เร่ืองท่พี ักผมู้ าร่วมงาน เราก็แก้ได้ โดยจดั ท�ำที่พักชั่วคราว
โดยชาวบ้านบรเิ วณใกลเ้ คียงท่เี ล่ือมใสศรัทธาหลวงปู่
ทต่ี รงน้ันไมไ่ กลไปหรอื ผมกว็ า่ ไมไ่ กลเพราะเมอ่ื หลวงป่ยู งั มี
ชวี ิตอยู่ เคยมสี ามล้อคนหน่งึ นมิ นตห์ ลวงปขู่ นึ้ น่งั สามลอ้ แล้วถีบ
สามลอ้ ไปส่งหลวงป่ถู ึงวดั พนมสวาย ถ้าคดิ วา่ การเดินทางเขา้ ไปใน
บริเวณไกล เราก็แกไ้ ด้โดยจัดรถรับส่งเพ่ิมขนึ้
เรอ่ื งความสะดวกในการเดินทาง การให้ความปลอดภยั แก่ผู้
มาร่วมงานเรากแ็ ก้ไดแ้ ละได้เตรยี มการไว้แล้ว
นค่ี อื ขอ้ ยตุ แิ ละเหตผุ ลทว่ี า่ ทำ� ไมจงึ เลอื กบรเิ วณภเู ขา “พนม
สวาย” เปน็ สถานทส่ี รา้ งเมรพุ ระราชทานเพลงิ ศพพระราชวฒุ าจารย์
(หลวงปดู่ ลู ย์ อตโุ ล) ของชาวสรุ นิ ทร์
289
ลงช่ือ นายเสนอ มลู ศาสตร์ ผวู้ า่ ราชการจังหวดั สุรนิ ทร์
อนุสรณส์ ถาน
ภายหลังการมรณภาพของหลวงปู่ ทางคณะกรรมการฝา่ ย
สงฆ์และฆราวาส ไดม้ มี ติใหจ้ ัดสร้างอาคารอนุสรณ์ส�ำหรับหลวงปูข่ ้นึ
ส�ำหรบั เปน็ ทส่ี กั การะระลกึ ถึงท่าน ภายในบริเวณวดั บูรพาราม
อาคารดังกลา่ วสรา้ งเสร็จในปี พ.ศ. ๒๕๒๘ มชี ่ือวา่ “พพิ ิธภัณฑ์
กมั มฎั ฐาน หลวงป่ดู ูลย์ อตโุ ล”
ภายในพพิ ิธภณั ฑม์ รี ปู เหมอื นของหลวงปู่อยูใ่ นทา่ น่ังหอ้ ยเท้า
หลอ่ ด้วยโลหะ ขนาด ๒ เท่าคร่ึงขององคจ์ รงิ และยังเป็นสถานทเ่ี กบ็
อัฐิธาตุของหลวงปู่ไวใ้ หป้ ระชาชนทว่ั ไปไดส้ ักการะและเปน็ สิ่งเตอื นใจ
ให้ระลกึ ถึงความดีและเตือนใจให้เห็นวา่ “ความตาย” เปน็ สงิ่ ธรรมดา
ทีท่ ุกคนจะตอ้ งพบ จงึ ไม่ควรใช้ชีวิตอยู่ด้วยความประมาท
นอกจากนีย้ งั ไดร้ วบรวมเคร่อื งอฎั ฐบริขารและเคร่ืองใชต้ า่ งๆ
ของหลวงป่ตู ้งั แต่สมยั ออกทอ่ งธดุ งคก์ มั มัฎฐานและของใช้ต่างๆ ที่
หลงเหลืออยู่ นบั ต้ังแตห่ ลวงป่เู ขา้ มาพำ� นักประจำ� ทว่ี ัดบูรพาราม
ตลอดระยะเวลา ๕๐ ปี
ทางวัดไดก้ �ำหนดการไวว้ ่าในปี พ.ศ. ๒๕๓๘ ซึง่ เปน็ ปที ่ีหลวง
ป่มู อี ายุครบรอบ ๑๐๘ ปี หรอื ๙ รอบ ถือว่าเป็นโอกาสมงคลอย่าง
ยิ่ง จงึ ได้จดั สร้างรปู หลอ่ หุ่นขผี้ ึง้ ของหลวงปู่ขนาดเทา่ องคจ์ ริง
บรรจไุ ว้เพิ่มเตมิ เพือ่ เป็นที่พ่งึ ทีร่ ะลกึ สำ� หรับผศู้ รัทธาตอ่ หลวงปู่ได้
เคารพกราบไหว้ หรอื ผู้ทีต่ อ้ งการความสงบมานง่ั สมาธิภาวนา
เสมอื นนง่ั อยู่ต่อหนา้ ของหลวงปู่ ย่อมชักนำ� จิตใจให้เกิดความสงบ
ความเยน็ ได้
อนุสรณ์สถานส�ำหรับหลวงปู่อกี แห่งหนึง่ คือ พระธาตุเจดยี ์
บรรจอุ ฐั ธิ าตุของหลวงปู่ อยู่ท่บี ริเวณวนอทุ ยานแห่งชาติเขาพนม
สวาย ก่อสร้างครอบเมรทุ ี่พระราชทานเพลงิ ศพของหลวงปมู่ ีลกั ษณะ
290
เป็นเจดยี ์ ภายในมรี ปู เหมือนของหลวงปู่ หล่อดว้ ยโลหะขนาดเทา่
องค์จรงิ และมภี าพจติ รกรรมฝาผนังเกย่ี วกับประวัตชิ วี ติ ของหลวงปู่
พระธาตเุ จดียน์ ้ตี ัง้ อยทู่ ีต่ ำ� บลนาบัว อ�ำเภอเมือง จงั หวัดสรุ ินทร์ อยู่
ห่างจากตวั เมืองไปทางทศิ ใตร้ ะยะทางประมาณ ๒๒ กโิ ลเมตร
อนสุ รณ์ธรรมทั้ง ๒ แหง่ เปน็ สงั เวชนียสถานเพื่อระลึกถึง
หลวงปู่ เปิดให้ประชาชนเข้ากราบไหว้ตลอดเวลา
ครูบาอาจารยข์ องหลวงปู่
นอกจากบิดามารดา ญาตสิ นิท ทา่ นเจา้ เมอื งสรุ นิ ทรท์ ใ่ี หค้ วาม
อุปการะและเพอ่ื นร่วมคณะละครทห่ี ลวงปสู่ ังกัดอย่ทู ่ใี ห้การสนบั สนนุ
และชว่ ยเหลือหลวงปูต่ ลอด ๒๒ ปีในการใช้ชวี ติ ฆราวาสแล้วก็มคี รบู า
อาจารย์ในทางธรรมที่เปน็ ผูม้ พี ระคณุ แก่หลวงปู่ ในฐานะผรู้ ว่ มสร้าง
สมใหห้ ลวงปู่ได้พบความส�ำเรจ็ ในทางธรรม มดี งั น้ี
๑. พระครวู มิ ลศีลพรต (ทอง) เป็นพระอุปชั ฌาย์ ให้การ
บรรพชาแกห่ ลวงปู่ ณ พทั ธสมี า วัดจุมพลสุทธาวาส ในเมือง
สรุ นิ ทร์ เมื่อพ.ศ. ๒๔๕๓ โดยมีพระครบู กึ เป็นพระกรรมวาจาจารย์
และพระครูฤทธเิ์ ปน็ พระอนสุ าวนาจารย์
๒. หลวงพ่อแอก เจา้ อาวาสวดั คอโค ตำ� บลคอโค อำ� เภอ
เมอื ง จงั หวดั สรุ นิ ทร์ นับเป็นพระอาจารย์สอนกัมมัฎฐานองค์แรกแก่
หลวงปู่ ซึ่งได้เพียงสอนใหฝ้ ึกหดั ท่อง สวดและฝึกวตั รปฏิบัตทิ นี่ ิยมใน
สมยั น้นั รวมทั้งฝึกบรกิ รรมภาวนาโดยวิธี “อญั เชญิ ปิตทิ ้ัง ๕” หลวง
ปู่ได้เฝ้าเพยี รรับการอบรมกบั หลวงพอ่ แอก เปน็ เวลา ๖ ปี ระหวา่ ง
พ.ศ. ๒๔๕๓ - ๒๔๕๙ ก่อนเดนิ ทางไปศึกษาด้านปริยตั ิธรรมท่ี
จังหวัดอุบลราชธานี
๓. พระมหารฐั พระอปุ ชั ฌาย์ เมอื่ หลวงปู่ได้ญัตตสิ กิ ขาบท
จากมหานกิ ายมาอปุ สมบทในธรรมยุติกนิกายเมือ่ วันท่ี ๑๔ ตุลาคม
๒๔๖๑ ณ พทั ธสมี าวัดสทุ ัศนารามอ�ำเภอเมือง จังหวัดอบุ ลราชธานี
291
โดยมีพระศาสนดลิ ก เจ้าคณะมณฑลอดุ รในสมัยนน้ั เปน็ พระกรรม
วาจาจารย์
๔. หลวงปมู่ ัน่ ภรู ทิ ตโฺ ต พระอาจารย์ใหญ่ฝา่ ยอรัญญวาสี
หรือฝา่ ยธดุ งคก์ มั มฎั ฐานเป็นครบู าอาจารย์ท่ี หลวงปู่ใหค้ วามเคารพ
ศรทั ธามากทส่ี ดุ ในฐานะทีเ่ ป็นผูใ้ หแ้ นวทางการภาวนาและวางแบบ
อยา่ งในการถือธุดงควตั ร หลวงปไู่ ด้เปน็ ก�ำลงั สำ� คญั ของพระอาจารย์
ใหญ่ ในการเผยแผแ่ นวค�ำสอน ในฐานะแม่ทัพธรรมทีม่ ีความรบั ผิด
ชอบในพืน้ ทภ่ี าคอสิ านตอนใต้ บรเิ วณจังหวัดสุรนิ ทร์ ศรีสะเกษ และ
บรุ รี ัมย์ หลวงปู่มน่ั ภูรทิ ตโฺ ต จึงเป็นผู้ใหค้ วามงอกงาม ในทางธรรม
แกห่ ลวงปู่อยา่ งแท้จรงิ ในช่วงท้ายสดุ หลวงปูม่ ่ันมาพำ� นกั อยู่ประจ�ำ
ท่ี ทว่ี ัดปา่ บ้านหนองผือ อำ� เภอพรรณานิคม จงั หวดั สกลนครและ
มรณภาพทว่ี ัดป่าสุทธาวาส อำ� เภอเมืองสกลนคร เมือ่ วนั ท่ี ๑๑
พฤศจกิ ายน พ.ศ. ๒๔๙๒
๕. สมเด็จพระมหาวีรวงศ์ (ติสฺโส อ้วน) ในสมยั ที่ดำ� รง
สมณศักดิ์ท่ี พระธรรมปาโมกข์ เจา้ คณะมณฑลนครราชสีมา เป็นผู้
ให้ความอปุ การะและสนับสนนุ การศกึ ษาดา้ นปริยตั ิแกห่ ลวงปู่ ใน
สมัยทศ่ี กึ ษาอย่ทู ว่ี ัดสทุ ัศนาราม จงั หวัดอบุ ลราชธานี พระองค์ท่าน
เป็นผ้วู างแผนและสงั่ การให้หลวงปู่มาพัฒนาวดั บรู พารามให้เปน็ วดั
ธรรมยตุ ิกนิกาย เป็นแหง่ แรกในภาคอสิ านตอนใตเ้ ป็นเหตุให้หลวงปู่
ต้องพ�ำนกั ประจ�ำท่ี ทวี่ ัดแห่งนี้ตดิ ตอ่ กันเป็นเวลา ๕๐ ปี ต้งั แต่วนั ท่ี
๒๔ กรกฎาคม ๒๔๗๗ จนกระทง่ั มรณภาพเมอื่ วนั ที่ ๓๐ มกราคม
๒๕๒๖
๖. สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสงั ฆราช พระองคม์ ี
ความสนทิ สนมคุน้ เคยและตดิ ต่อกันกับหลวงปเู่ สมอมา ตงั้ แตส่ มัย
ดำ� รงสมณศักด์ทิ ่ีสมเดจ็ พระญาณสังวร (เจริญ สวุ ฒั ฺโน) เจา้ อาวาส
วดั บวรนิเวศวหิ าร ท่านเจ้าประคณุ สมเดจ็ ฯ เคยไปร่วมงานฉลอง
อายุของหลวงปูเ่ มอ่ื ปี พ.ศ. ๒๕๒๐ ครัน้ เมอื่ หลวงปเู่ ข้ารกั ษาตัวทโี่ รง
พยาบาลจุฬาลงกรณ์ พระองคท์ า่ นได้ให้ความอนเุ คราะหแ์ ละช่วย
292
ประสานงานใหท้ ุกอยา่ ง
นอกจากน้ยี งั ไดเ้ สดจ็ ไปเปน็ ประธานฝ่ายสงฆ์ ในงาน
พระราชทานเพลิงศพของหลวงปู่ เม่อื วันท่ี ๘ กรกฎาคม ๒๕๒๘
และเป็นประธานบรรจอุ ฐั ิธาตุและเปดิ พิพธิ ภัณฑ์กัมมฎั ฐานของหลวง
ปู่ เม่ือวันที่ ๓๐ ตลุ าคม ๒๕๒๘
เพ่อื นสหธรรมกิ ของหลวงปู่
ในสว่ นของพระสหธรรมิกของหลวงปู่นน้ั มีมากมายเหลอื เกิน
ทั้งสมยั ที่ท่านอยู่ศกึ ษาพระปรยิ ัตธิ รรมทจ่ี งั หวัดอบุ ลราชธานี สมัยที่
ศกึ ษาดา้ นปฏบิ ัตภิ าวนากบั พระอาจารย์มนั่ ภรู ิทตโฺ ต สมยั ทอ่ี อก
ธุดงคก์ ัมมฏั ฐาน รวมท้ังทส่ี นิทสนมคนุ้ เคยกนั ในโอกาสต่างๆ
พระสหธรรมิกของหลวงป่นู ับวา่ มีมาก ทั้งน้เี พราะอัธยาศัย
และคณุ ธรรมของหลวงปู่ ทเี่ ป็นท่ศี รทั ธาและช่ืนชอบอยา่ งกวา้ งขวาง
ดว้ ยทา่ นมจี ริยาวัตรที่งดงามบรสิ ทุ ธ์ิ จรงิ ใจ ไมต่ ิฉินนนิ ทาใครทงั้ ตอ่
หนา้ และลับหลัง
อย่างไรก็ตาม ในท่ีนีจ้ ะขอยกมาเฉพาะพระสหธรรมิก ท่ีเป็น
ศิษย์ร่วมพระอาจารยใ์ หญ่รุน่ แรกกับหลวงปู่ ซึ่งได้แก่
พระอาจารย์สิงห์ ขนตฺ ยาคโม นบั วา่ มคี วามสนทิ สนมคุ้น
เคยกับหลวงปมู่ ากทสี่ ุด ทา่ นเป็นผู้มอี ุปการะคณุ ต่อหลวงปู่ ในฐานะ
สนบั สนุนใหห้ ลวงปไู่ ด้เปลีย่ นญตั ตมิ าสูธ่ รรมยุติกนิกาย เมอ่ื พ.ศ.
๒๔๖๑ รว่ มเปน็ ศษิ ยร์ ุ่นแรกของ ท่านพระอาจารยใ์ หญ่ รว่ มออก
ธดุ งค์ดว้ ยกันครง้ั แรกและใช้ชีวิตจำ� พรรษาอยู่ดว้ ยกันในช่วงออก
ธุดงคน์ านกวา่ ทกุ รูป ในระยะต่อมาหลวงปู่ดุลยไ์ ดส้ ง่ ลกู ศิษยข์ องท่าน
ให้ไปฝึกภาวนาอยกู่ ับหลวงป่สู ิงหท์ ี่มีชื่อเสยี งและเปน็ ทรี่ จู้ ักกนั ดคี อื
หลวงปูส่ าม อกิญจโน ในช่วงสุดทา้ ย หลวงปู่สิงห์ ทา่ นพำ� นักอยู่
ประจำ� ท่ี ที่วัดป่าสาลวัน อ�ำเภอเมอื ง จงั หวดั นครราชสีมา ดำ� รง
สมณศักด์ทิ ่ี พระญาณวศิ ษิ ฏส์ มทิ ธิวีราจารยแ์ ละมรณภาพเมอื่ วนั ที่
293
๘ กันยายน ๒๕๐๔ หลวงปู่สงิ ห์เปน็ ผ้นู �ำแห่งกองทพั ธรรม ในสาย
ของพระอาจารยใ์ หญม่ ั่น ภูริทตโฺ ต
หลวงปขู่ าว อนาลโย แหง่ ส�ำนักวัดถา้ํ กลองเพล อำ� เภอเมือง
จงั หวัดหนองบวั ลำ� ภู เป็นเพ่ือนสหธรรมกิ ทีส่ นิทสนมคนุ้ เคยในฐานะ
ทเี่ ฝา้ ตดิ ตามศึกษาธรรมกบั พระอาจารยใ์ หญ่รว่ มกันและรว่ มออก
ธดุ งค์ในป่าเขาแถบจงั หวดั สกลนคร หนองคายและอุดรธานี โดย
เฉพาะการธดุ งค์บรเิ วณถา้ํ กลองเพลและหลวงปู่ขาวไดย้ ดึ สถานที่นี้
เปน็ ทีพ่ �ำนกั ประจ�ำสบื มา จนกระท่ังท่านมรณภาพเม่อื วันที่ ๑๖
พฤษภาคม ๒๕๒๖ กอ่ นการมรณภาพของหลวงป่เู พยี ง ๖ เดือน แม้
ทงั้ ๒ องคจ์ ะมีอายรุ ุน่ ราวคราวเดียวกนั คอื เกดิ ปเี ดียวกนั แต่หลวงปู่
ขาวออ่ นอายพุ รรษากวา่ เพราะทา่ นบวชหลงั หลวงปู่ถึง ๙ ปี
ยังมสี หธรรมกิ รนุ่ หลังหลวงปู่อีกเปน็ จำ� นวนมาก ท่เี ป็นที่
เคารพศรัทธาและรู้จักกวา้ งขวางได้แก่
หลวงปแู่ หวน สจุ ณิ ฺโณ วดั ดอยแมป่ งั๋ อำ� เภอพรา้ ว จงั หวัด
เชียงใหม่
พระนิโรธรงั สี คัมภีรปัญญาจารย์ (หลวงปูเ่ ทสก์ เทสฺรงสฺ )ี
วัดหนิ หมากเป้ง อำ� เภอศรีเชียงใหม่ จังหวัดหนองคาย
หลวงปหู่ ลยุ จนทฺ สาโร วัดถํา้ ผาบิ้ง อ�ำเภอวงั สะพงุ จังหวดั
เลย
สหธรรมิกรุ่นหลังของหลวงปู่ที่ยังมีชวี ิตอยไู่ ด้แก่ พระ
อาจารย์หลวงตามหาบวั ญาณสมฺปนฺโน วัดป่าบ้านตาด จงั หวดั
อดุ รธานี เปน็ ลูกศิษย์ผ้อู ุปฎั ฐากใกล้ชดิ พระอาจารย์ใหญ่มั่น ภูรทิ ตฺ
โต ได้ร่วมปฏบิ ตั ิธรรมกบั หลวงปบู่ ้าง ซง่ึ ทา่ นมีความสนิทสนมกันพอ
สมควร ในช่วงหลังๆ หลวงป่ไู ดส้ ง่ ลกู ศษิ ยห์ ลายองคไ์ ปอยู่ศกึ ษาดา้ น
สมาธิภาวนากับทา่ นหลวงตาฯ หลังจากพระอาจารยใ์ หญม่ รณภาพ
แล้ว ท่านหลวงตามหาบวั ไดป้ ฏบิ ัติหน้าท่ีรักษามรดกธรรมคล้ายๆ
กับองคแ์ ทนของพระอาจารยใ์ หญ่ ซ่งึ ครูบาอาจารยร์ ุ่นอาวุโสบาง
ทา่ นได้แนะน�ำว่า “ถ้าอยากรู้ว่าทา่ นพระอาจารย์ใหญท่ า่ นเป็น
294
อย่างไร ใหไ้ ปดูได้ท่หี ลวงตาวัดบ้านตาด แลว้ จะเข้าใจ”
ลกู ศิษย์ของหลวงปู่
ลกู ศษิ ย์ผสู้ ืบทอดมรดกธรรมของหลวงปู่ มีหลายยุคหลายรนุ่
พอจะลำ� ดับไดด้ ังนี้
ร่นุ แรกสดุ ในสมัยที่หลวงปู่ยงั ทอ่ งธุดงค์อยใู่ นแถบภาคอิสาน
ตอนบน หลวงปไู่ ดส้ ร้างพทุ ธบุตรให้แก่วงการพระศาสนาฝา่ ยอรัญญ
วาสีจ�ำนวนไมน่ ้อย ทีเ่ ปน็ ที่รจู้ ักอย่างกวา้ งขวางมี ๒ รูปคอื
๑. หลวงปฝู่ น้ั อาจาโร วดั ปา่ อดุ มสมพร อำ� เภอพรรณานคิ ม
จังหวดั สกลนคร ได้พบและฝากตัวเป็นศิษยป์ ฏิบัติธรรมกบั หลวงปู่
สมัยเป็นพระหนุ่ม เมอ่ื หลวงปไู่ ปพักจำ� พรรษาทว่ี ดั มว่ งไข่ บ้านกุด
ก้อม อำ� เภอพรรณานคิ ม จงั หวดั สกลนคร ในปพี .ศ. ๒๔๖๓ ครงั้ น้ัน
ถือเป็นเหตุการณ์ พลกิ แผ่นดนิ ของวดั มว่ งไข่ คือหลังออกพรรษาปี
นนั้ พระเณรทัง้ วดั พากนั สละท้ิงวัดแลว้ ออกธดุ งค์ตามหลวงป่ไู ป
ทงั้ หมด จนปล่อยให้วัดร้าง หลวงปฝู่ น้ั ซ่งึ ยงั เป็นพระหนุ่มอยู่วัดใกล้
กนั นนั้ ก็ออกตดิ ตามไปปฏิบัตธิ รรมกับหลวงปู่ดว้ ย แล้วหลวงปูไ่ ด้นำ�
มาถวายเปน็ ศษิ ยป์ ฏบิ ตั ิธรรมกบั พระอาจารย์ใหญใ่ นเวลาต่อมา ดงั
ปรากฏหลักฐานภาพปัน้ ทซี่ มุ้ ประวตั ิ ซมุ้ ที่ ๗ ทีเ่ จดยี ์พพิ ิธภัณฑ์หลวง
ปฝู่ ้นั อาจาโร ศิษยร์ ่นุ หลงั ๆ ของหลวงปดู่ ุลยท์ ่สี นใจดา้ นปฏิบตั ิ
ภาวนาจะถูกส่งตวั มาให้อยู่ฝึกปฏบิ ัติกบั หลวงปฝู่ ้นั จ�ำนวนหลายรุ่น
หลวงปูฝ่ ั้นมรณภาพเมอื่ วนั ที่ ๔ มกราคม ๒๕๒๐ ก่อนหลวงปู่ ๖ ปี
๒. หลวงปอู่ อ่ น ญาณสริ ิ วัดป่านิโครธาราม อ�ำเภอ
หนองวัวซอ จังหวัดหนองบวั ลำ� พู ปวารณาตวั เปน็ ศิษย์ติดตามหลวง
ปู่ตั้งแต่สมยั ยงั เป็นเณรอยูว่ ัดม่วงไข่ แล้วได้ไปปฏบิ ตั ธิ รรมอยู่กบั
หลวงปูม่ ั่นอยู่ระยะหนึ่งแล้วท่องธดุ งคก์ มั มฏั ฐานจนมคี ุณธรรมแก่
กลา้ ไดร้ ับมรรคผลจนมีชอ่ื เสียงขจรขจาย
สานศุ ิษย์เม่อื ครง้ั ท่ีหลวงปูม่ าอยู่สรุ นิ ทรแ์ ละร่วมในกองทพั
295
ธรรมแหง่ อสิ านใต้ ในชว่ งทห่ี ลวงปมู่ าพกั ทวี่ ดั นาสาม วดั ปา่ หนอง
เสมด็ และวดั บรู พาราม รวมเวลาทงั้ สนิ้ ๖๐ ปเี ศษ ไดส้ รา้ งพทุ ธบตุ รไว้
ประดบั วงการสงฆฝ์ า่ ยวปิ สั สนาธรุ ะมากมาย จำ� นวนนบั ดว้ ยเรอื นพนั
ลกู ศิษยอ์ าวโุ สท่มี รณภาพแล้ว (กอ่ นปพี ทุ ธศักราช ๒๕๓๘
- วทิ วสั ) ซึ่งไดก้ ล่าวถงึ บ่อยในประวตั ชิ วี ิตของทา่ นท่ีน�ำเสนอขา้ งตน้
ได้แก่
๑. พระเทพสุทธาจารย์ (โชติ คุณสมฺปนฺโน) วดั วชริ าลง
กรณ์ อ�ำเภอปากช่อง จงั หวดั นครราชสีมา มรณภาพเม่อื วันท่ี ๓
เมษายน ๒๕๑๘
๒. หลวงปู่สาม อกญิ ฺจโน วัดป่าไตรวิเวก ต�ำบลนาบวั
อ�ำเภอเมอื ง จงั หวัดสุรนิ ทร์ มรณภาพเมื่อวันที่ ๑ กุมภาพันธ์
๒๕๓๔ อายุ ๙๑ ปเี ศษ
๓. พระมหาพลอย อุปสโม ป.ธ. ๖ จากวัดสัมพนั ธวงศา
วาส กรุงเทพฯ เมอ่ื คณะสงฆ์มลฑลนครราชสีมาได้สถาปนาวดั บูรพา
รามข้ึนเปน็ วัดธรรมยุตแห่งแรกของจงั หวัดสุรนิ ทร์ เมอ่ื ปี พ.ศ.
๒๔๗๖ แล้วจึงมบี ัญชาใหพ้ ระมหาพลอย เดนิ ทางมาฟื้นฟกู ารศกึ ษา
ฝา่ ยพระปรยิ ตั ิธรรมและได้ลาสกิ ขาบทออกมาใช้ชีวิตฆราวาสในภาย
หลัง
ลูกศิษย์อาวุโสทย่ี ังมีชีวิตอยใู่ นขณะน้ี (พ.ศ. ๒๕๓๘) มดี ังนี้
๑. พระราชวสิ ทุ ธธิ รรมรงั ษี (เปลย่ี น โอภาโส) อดตี เจา้
อาวาสวดั ปา่ โยธาประสทิ ธ์ิ ปจั จบุ นั พำ� นกั อยทู่ วี่ ดั บรู พาราม เปน็ ศษิ ยผ์ ู้
รว่ มงานเคยี งบา่ เคยี งไหลก่ บั หลวงปมู่ าตลอด ปจั จบุ นั อายุ ๗๙
สขุ ภาพยงั แขง็ แรงมาก ยงั ออกเดนิ บณิ ฑบาตทกุ เชา้
๒. พระราชปญั ญาวสิ ารทั (เหลอื ง ฉนทฺ าคโม) เจา้ อาวาส
วดั กระดึงทอง อำ� เภอเมอื ง จงั หวัดบรุ ีรัมยแ์ ละเจ้าคณะจงั หวัด
บุรีรมั ยฝ์ า่ ยธรรมยุต
๓. พระรัตนากรวสิ ุทธิ์ (เสถียร สถโิ ร) เจ้าอาวาสวัดบูรพา
รามสบื ต่อจากหลวงปขู่ ณะน้ี (พ.ศ. ๒๕๓๘) มอี ายุ ๗๓ ปี
296
๔. พระครูเขมคุณโสภณ (จนั ทร์ เขมสริ )ิ วดั ป่าสาลวัน
อำ� เภอเมอื ง จงั หวดั นครราชสีมา
๕. หลวงพอ่ สุวจั สุวโจ วัดถ้าํ ศรีแก้ว อำ� เภอกุดบาก จังหวัด
สกลนคร
ลกู ศิษย์รุ่นกลางท่พี อจะนึกชอ่ื ได้ มดี ังน้ี
๑. พระโพธนิ นั ทมนุ ี (พระมหาสมศกั ดิ์ ปณฺฑิโต) อดีต
พระครูนันทปญั ญาภรณ์ อปุ ฏั ฐากใกล้ชิดหลวงปมู่ าตั้งแต่บวชเปน็
สามเณรตดิ ตอ่ มาจนกระทัง่ หลวงปมู่ รณภาพ เปน็ เวลา ๔๐ ปี
ปจั จุบนั อายุ ๖๔ ปี พรรษา ๔๒
๒. พระมงคลวฒั นคณุ (พระมหาเพิ่ม กติ ตฺ วิ ัฒฑโน) เจ้าอา
วาสวัดถา้ํ ไตรรตั น์ และอดตี เจ้าอาวาสวดั วชริ าลงกรณ์ อำ� เภอ
ปากช่อง จังหวดั นครราชสมี า
๓. พระวสิ ทุ ธนิ ายก (บุญเอยี ด พุทธฺ วโํ ส) เจา้ อาวาสวัดไตร
รัตนาราม อำ� เภอเมือง จงั หวัดสรุ นิ ทร์ เจา้ คณะจงั หวัดสรุ นิ ทร์ฝ่าย
ธรรมยุต
๔. พระครพู นมศลี คุณ (สวน สารธมโฺ ม) เจา้ อาวาสวัดเขา
สวาย อำ� เภอเมอื ง จงั หวัดสุรนิ ทร์ สถานทีจ่ ดั พิธพี ระราชทานเพลิง
ศพและท่ปี ระดษิ ฐานพระธาตเุ จดียข์ องหลวงปู่
๕. พระครญู าณกิจไพศาล (ใหญ่ ญาณวโี ร) เจา้ อาวาสวัด
ปา่ ตาเตน อำ� เภอเมือง จงั หวัดสรุ นิ ทร์
๖. พระครูปิยธรรมโสภณ (หนื ) วัดปา่ ไพศาล อ�ำเภอ
ประโคนชัย จงั หวดั บุรีรมั ย์
๗. พระครูวีรากรณว์ ิสทุ ธ์ิ (เด่น) วัดปา่ ชยั มงคล จงั หวดั
สุรินทร์
ลูกศิษยร์ นุ่ หลงั ๆ เท่าทพ่ี อนกึ ได้ มดี งั นี้
๑. พระครญู าณวิรยิ าคม (เย้ือน) วดั เขาศาลา อ�ำเภอบัวเชด
จังหวดั สุรนิ ทร์
๒. พระครภู าวนาวิสุทธิ์ (ตรคี ณู ) วดั ป่าประโคนชัย อ�ำเภอ
297
ประโคนชยั จงั หวดั บรุ ีรัมย์
๓. พระครเู กษตรคุณารักษ์ (เคลม็ ) วดั ป่าอุดมธรรม อำ� เภอ
กระสัง จังหวัดบุรรี มั ย์
๔. พระครูธรรมประเวที วดั ทงุ่ โพธิ์ อ�ำเภอเมอื ง จงั หวัด
บุรรี ัมย์
๕. พระครูบรริ กั ษพ์ ัฒนา (เสวย) วัดบุรีรมั ยร์ ัตนารมย์
อ�ำเภอเมือง จังหวดั บรุ ีรมั ย์
๖. หลวงพอ่ กมิ ทีปธมฺโม วัดป่าดงดู อ�ำเภอล�ำดวน จงั หวดั
สุรนิ ทร์ มีชื่อเสียงในด้านจติ ภาวนา
๗. พระอาจารยค์ นื วัดบวรสังฆาราม ต้งั อยหู่ นา้ เรือนจำ�
จงั หวัดสรุ ินทร์
๘. พระอาจารยส์ ุพร วัดปราสาทจอมพระ อ�ำเภอจอมพระ
จังหวดั สรุ ินทร์
๙. พระอาจารยว์ สันต์ วงคโี ส วัดเขาโตะ๊ อำ� เภอกาบเชิง
จงั หวดั สรุ ินทร์
๑๐. พระเทพสทิ ธญิ าณรงั สี (จันทร์ เควสโก) หรอื “หลวง
ตาจันทร์” วัดป่าชัยรังสี อำ� เภอเมอื ง จงั หวัดสมทุ รสาคร
๑๑. พระครสู ถติ ปญั ญาคณุ (พิรณุ คีรีปุณฺโณ) วดั ปรอื เกียน
อ�ำเภอเมอื ง จงั หวัดสรุ ินทร์
๑๒. พระครบู ุญเล้ยี ง วดั วอชงิ ตันวราราม กรงุ วอชงิ ตนั
ด.ี ซี. สหรัฐอเมรกิ า
๑๓. พระอาจารย์ทองยอ้ ย วดั ธรรมรังษี นครซิดนยี ์
ประเทศออสเตรเลีย
๑๔. พระอาจารย์จำ� เริญ วดั ปารีส นครปารสี ประเทศ
ฝรั่งเศส
๑๕. พระอาจารย์สจุ ิต สจุ ินฺโน วดั เบอร์ลนิ นครเบอรล์ ิน
ประเทศเยอรมนั
๑๖. พระอาจารยท์ นงศักดิ์ วดั ปา่ ธรรมชาติ จังหวดั
298
เชยี งใหม่
๑๗. พระมหาเหรยี ญ วัดป่าธรรมชาติ ลองบชี แคลฟิ อรเ์ นีย
สหรัฐอเมรกิ า
๑๘. พระอาจารย์เจิม วัดนรนารถสุนทรกิ าราม กรุงเทพฯ
๑๙. พระอาจารยท์ อง วดั ญาณสงั วราราม จงั หวัดชลบุรี
๒๐. พระครูลบี าลอง วดั อโศการาม กรุงนิวเดลี ประเทศ
อินเดยี
ยงั มพี ระภกิ ษสุ ามเณรอกี เปน็ จำ� นวนมากทเ่ี ปน็ ศษิ ยห์ ลวงปชู่ ว่ ง
หลงั ๆ ตอ้ งกราบขออภยั ดว้ ยทไ่ี มส่ ามารถกลา่ วนามไดห้ มด ณ ทน่ี ้ี
งานของคณะสงฆ์และสมณศักดข์ิ องหลวงปู่
หลวงป่ดู ลู ย์ อตุโล มาอยูป่ ระจำ� ที่วัดบูรพาราม จังหวัด
สุรินทร์ ตง้ั แต่วนั ท่ี ๒๔ กรกฎาคม ๒๔๗๗ เมือ่ ทา่ นอายุ ๔๖ ปี
พรรษา ๒๔ หลังจากวัดบรู พารามไดร้ บั การสถาปนาเปน็ วดั ปา่ ธรรม
ยุตในปี พ.ศ. ๒๔๗๖
งานของคณะสงฆแ์ ละสมณศักด์ขิ องหลวงปมู่ ีตามลำ� ดบั ดงั นี้
ปี พ.ศ. ๒๔๗๘ ได้รับแต่งตง้ั เป็นเจา้ คณะแขวงรตั นบุรี
๒๔๗๙ เร่ิมลงมือก่อสร้างโบสถว์ ัดบูรพาราม แล้วเสรจ็ ปี
พ.ศ. ๒๔๙๓ รวมเวลาก่อสรา้ ง ๑๔ ปี
๑ มนี าคม ๒๔๗๙ ไดร้ ับแต่งตั้งเป็นพระครูสญั ญาบัตร เจา้
คณะแขวงรัตนบรุ ี โดยมสี มณศกั ด์ิท่ี พระครรู ัตนากรวิสทุ ธิ์
๒๔ พฤษภาคม ๒๔๘๐ ได้รับแตง่ ต้งั เป็นพระอปุ ชั ฌายส์ ามัญ
ฝ่ายธรรมยุตกิ นิกาย
๒๔ เมษายน ๒๔๙๐ เป็นประธานสงฆใ์ นการหลอ่ พระพุทธ
ชินราชจ�ำลอง เพ่ือเป็นพระประธานประดษิ ฐานในอโุ บสถ
๒๔๙๔ ไดร้ ับแต่งต้งั เป็นเจ้าคณะอ�ำเภอเมืองสรุ ินทร์ ฝ่าย
ธรรมยุติกนกิ าย
299
๑ พฤษภาคม ๒๕๐๑ ได้รบั แต่งตง้ั เป็นเจา้ คณะจงั หวดั
สรุ ินทร์ ฝา่ ยธรรมยตุ ิกนิกาย
๒๕๐๔ ได้รับแตง่ ตัง้ เป็นพระราชาคณะชน้ั สามัญ ทีพ่ ระ
รตั นากรวสิ ทุ ธ์ิ
๒๕๐๕ ปฏิสงั ขรณม์ ณฑปหลวงพ่อพระชีว์ เปล่ยี นจากอาคาร
ไม้เป็นอาคารจตุรมุข คอนกรีตเสรมิ เหลก็
๒๕๑๑ กรมการศาสนาประกาศให้วดั บูรพารามเป็นวดั พฒั นา
ตัวอยา่ ง
๑ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๒๐ ทรงพระกรณุ าโปรดเกล้าฯ ให้ยกวัด
บูรพารามเป็นพระอารามหลวงช้ันตรี ประเภทสามญั
๒๕๒๐ ไดส้ ร้างศาลาการเปรยี ญ “ศาลาอตุโลเถระ” ขนาด
๑๖x๔๖ เมตร มูลคา่ ประมาณ ๑.๘ ลา้ นบาทเศษ
๒๕๒๒ สรา้ งโรงเรยี นพระปริยัตธิ รรม “ราชบรู พา” เปน็ ตึก
๒ ช้ัน ๘ ห้องเรียน มลู คา่ ประมาณ ๑.๒ ล้านบาทเศษ
๒ ธันวาคม ๒๕๒๒ ทรงพระกรณุ าโปรดเกล้าฯ พระราชทาน
สมณศกั ด์ิเปน็ พระราชาคณะชั้นราช ทีพ่ ระราชวุฒาจารย์ ศาสนราช
ธุรกิจ ยติคณิสสรบวรสงั ฆราช คามวาสี
๑๘ ธนั วาคม ๒๕๒๒ ล้นเกล้าทง้ั ๒ พระองค์ พร้อมด้วย
พระบรมวงศานวุ งศ์ เสด็จนมสั การหลวงปู่ ทว่ี ัดบูรพาราม ไดแ้ สดง
พระธรรมเทศนาถวายด้วย
๒๙ ตุลาคม ๒๕๒๖ เวลา ๑๖.๐๐ น. ออกรบั แขกเพ่อื การสง่ั
ลาคร้ังสดุ ทา้ ยตามธรรมเนียม ท้งั พระสงฆแ์ ละประชาชนเข้ากราบ
เวลา ๒๒.๐๐ น. เริม่ แสดงธรรมบทสดุ ท้าย ออกมาลาสถานทดี่ ้วย
องค์ท่านเอง
๓๐ ตลุ าคม ๒๕๒๖ เวลา ๐๒.๐๐ น. เทศน์บทสดุ ท้ายเรอื่ ง
ลกั ษณาการปรนิ พิ พานของพระพทุ ธองค์ เวลา ๐๔.๑๓ น. แสดง
ความเปน็ “ตถตา” คือแสดงให้เห็นความเป็นธรรมดาแกช่ าวโลก
ด้วยการละสงั ขารเหลือไว้แต่มรดกธรรมใหช้ าวโลกถือเป็นอทุ าหรณ์
300