The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ชีวประวัติและพระธรรมเทศนา หลวงปู่ทองรัตน์, หลวงปู่มี, หลวงงปู่กินรี, หลวงปู่ทา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ืทีมงานกรุธรรม, 2022-07-12 22:19:47

ชีวประวัติและพระธรรมเทศนา หลวงปู่ทองรัตน์, หลวงปู่มี, หลวงงปู่กินรี, หลวงปู่ทา

ชีวประวัติและพระธรรมเทศนา หลวงปู่ทองรัตน์, หลวงปู่มี, หลวงงปู่กินรี, หลวงปู่ทา

Keywords: ชีวประวัติและพระธรรมเทศนา หลวงปู่ทองรัตน์, หลวงปู่มี, หลวงงปู่กินรี, หลวงปู่ทา

ชีวประวัติและพระธรรมเทศนา

พระกนฺตสโี ล หลวงป่ทู องรตั น์

วดั ป่ามณีรัตน์ (บ้านคมุ้ ) อ�ำเภอส�ำโรง จังหวัดอุบลราชธานี

พระครญู าณโสภิต (พระาณมนุ ี หลวงปู่มี)

วดั ญาณโศภิตวนาราม (วดั ป่าสงู เนนิ ) อ�ำเภอสูงเนิน จังหวดั นครราชสีมา

พระจนทฺ โิ ย หลวงปูก่ นิ รี

วดั กัณตะศลิ าวาส อำ� เภอธาตุพนม จังหวดั นครพนม

พระจารธุ มโฺ ม หลวงป่ทู า

วัดถำ้� ซบั มดื อำ� เภอปากชอ่ ง จังหวดั นครราชสมี า

อนสุ รณพ์ ิพิธภัณฑฉ์ ันทกรานสุ รณ์
วดั ป่าอมั พโรปัญญาวนาราม ในพระสงั ฆราชปู ถัมภ์
สมเดจ็ พระอริยวงศาคตญาณ (อมฺพรมหาเถร) สมเดจ็ พระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก

ชีวประวัติและพระธรรมเทศนา

พระกนฺตสโี ล หลวงปทู่ องรตั น์  พระครญู าณโสภิต (พระาณมนุ ี หลวงป่มู ี)
พระจนฺทโิ ย หลวงปู่กินรี  พระจารธุ มโฺ ม หลวงปทู่ า

เลขมาตรฐานหนงั สือ : ๙๗๘-๖๑๖-๔๔๕-๖๓๒-๗
พมิ พค์ ร้งั ที่ ๑ : พฤศจิกายน ๒๕๖๐
จำ� นวนพิมพ์ : ๕,๐๐๐ เล่ม
จัดพิมพ์โดย : มูลนิธพิ ทุ ธสมุนไพรคู่แผน่ ดินไทย ในพระบรมราชปู ถมั ภ์


สงวนลิขสทิ ธ์ิ : หา้ มคัดลอก ตัดตอน เปล่ียนแปลง แก้ไข ปรบั ปรงุ
ข้อความใดๆ ทั้งสน้ิ หรอื นำ� ไปพิมพ์จำ� หนา่ ย
หากท่านใดประสงคจ์ ะพิมพ์เพอื่ ให้เปน็ ธรรมทาน
โปรดติดตอ่ ขออนญุ าตจากทางมูลนิธพิ ทุ ธสมนุ ไพรคแู่ ผ่นดินไทย
ในพระบรมราชูปถมั ภ์

พมิ พท์ ี่ : บริษัท ศลิ ปส์ ยามบรรจุภัณฑ์และการพมิ พ์ จำ� กัด
๖๑ ถนนเลียบคลองภาษเี จริญฝัง่ เหนอื ซ.เพชรเกษม​๖๙
แขวงหนองแขม เขตหนองแขม กรุงเทพมหานคร
โทรศพั ท์ ๐­-­­๒๔๔๔-๓๓๕๑-๙ โทรสาร ๐-๒๔๔๔-๐๐๗๘
E-mail: [email protected] www.silpasiam.com

ค�ำปรารภ

เร่ืองการจัดท�ำหนังสือมรดกธรรมยอดโอวาทค�ำสอนของสมณะนักปราชญ์
วสิ ทุ ธเิ ทวา (พระปา่ ) จดั ทำ� ขน้ึ ๓๔ องค์ สมยั กรงุ รตั นโกสนิ ทร์ ระหวา่ งปี พทุ ธศกั ราช
๒๔๖๐-๒๕๕๔ โอวาทธรรมยอดแห่งค�ำสอนของวิสุทธิบุคคล ท่านแสดงบริสุทธิ์
สมบรู ณไ์ มว่ า่ ยคุ ใดสมยั ใด นำ� ผสู้ นใจพยายามตง้ั ใจปฏบิ ตั ติ าม ยอ่ มกา้ วลว่ งทกุ ขไ์ ปได้
สมความปรารถนา คณะปสาทะศรทั ธาเห็นควรจัดทำ� ข้ึนสงวนรกั ษาไว้ เพ่อื กุลบตุ ร
สุดท้ายภายหลังที่ พิพิธภัณฑ์ฉันทกรานุสรณ์ วัดป่าอัมพโรปัญญาวนาราม บ้าน
หนองกลางดอน ต�ำบลคลองกว่ิ อ�ำเภอบา้ นบึง จังหวดั ชลบุรี ผสู้ นใจกรณุ าเขา้ ไป
ศกึ ษาได้ตามโอกาส เวลาพอดี

ผฉู้ ลาดยึดหลักนักปราชญ์เปน็ แบบฉบับพาดำ� เนนิ ปกครองรกั ษาตน
คณะปสาทะศรทั ธา

ห้ามพิมพเ์ พือ่ จ�ำหนา่ ย สงวนลขิ สทิ ธ์ิ

สารบัญ ๑

พระกนตฺ สีโล หลวงปูท่ องรัตน์
๘๙
ชวี ประวัติและพระธรรมเทศนา พระกนตฺ สีโล หลวงปทู่ องรัตน์
ชีวประวัติ พระกนฺตสีโล หลวงปทู่ องรตั น ์ ๙๙
พระอาจารย์ทองรตั น์ กนตฺ สโี ล อธิบายเร่ืองพระกมั มัฏฐาน ๑๐๑
บนั ทึกจาก พระเทยี บ ถิรธมฺโม ๑๐๗

พระครญู าณโสภิต (พระาณมุนี หลวงป่มู )ี ๒๐๙
๒๑๑
ชวี ประวัติและพระธรรมเทศนา ๒๕๗
พระครูญาณโสภติ (พระาณมนุ ี หลวงป่มู ี)
ชวี ประวตั ิ พระครญู าณโสภติ (พระาณมนุ ี หลวงป่มู )ี ๒๗๓
พระธรรมเทศนา พระครญู าณโสภิต (พระาณมุนี หลวงปูม่ ี) ๒๗๕
๒๘๑
พระจนฺทิโย หลวงปกู่ นิ รี

ชวี ประวตั แิ ละพระธรรมเทศนา พระจนทฺ ิโย หลวงปกู่ ินรี
ชีวประวัติ พระจนทฺ ิโย หลวงปกู่ นิ รี
พระธรรมเทศนา พระจนทฺ ิโย หลวงป่กู นิ รี

พระจารธุ มฺโม หลวงปทู่ า

ชีวประวัตแิ ละพระธรรมเทศนา พระจารุธมโฺ ม หลวงปทู่ า
ชวี ประวตั ิ พระจารธุ มฺโม หลวงปทู่ า
พระธรรมเทศนา พระจารุธมโฺ ม หลวงปทู่ า

พระกนฺตสีโล หลวงป่ทู องรัตน์

วดั ปา่ มณีรัตน์ (บ้านคุ้ม) อ�ำ เภอสำ�โรง จงั หวัดอบุ ลราชธานี

ชวี ประวตั แิ ละพระธรรมเทศนา

พระกนฺตสโี ล หลวงปทู่ องรตั น์

1



ชีวประวตั ิ

พระกนฺตสโี ล หลวงปู่ทองรัตน์

๑. ชาติกำ� เนดิ
ครบู าจารยเ์ ฒา่ ทองรตั น์ ชอ่ื นเ้ี ปน็ ทคี่ นุ้ เคยและรจู้ กั กนั ดใี นแวดวงพระกรรมฐาน
เม่ือคราวการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในดินแดนสุวรรณภูมิ ยุคของบูรพาจารย์พระ
กรรมฐานสายพระครวู เิ วกพทุ ธกจิ (หลวงปเู่ สาร์ กนตฺ สโี ล) หลวงปมู่ น่ั ภรู ทิ ตโฺ ต เปน็ ยคุ
ที่อาณาจกั รดงขม้นิ เร่ิมเฟ่ืองฟแู ละแข็งแกร่งแผ่มาตราบเท่าทกุ วนั นี้
ครบู าจารยเ์ ฒา่ ทองรตั น์ กนตฺ สโี ล ไดร้ บั ยกยอ่ งใหเ้ ปน็ แมท่ พั นายกองใหญเ่ ผยแผ่
พระพุทธศาสนาฝ่ายมหานิกาย ตามแนวการปฏิบัติวิปัสสนาธุระสายหลวงปู่เสาร์
หลวงป่มู ่นั ในชว่ งระหวา่ งปพี ทุ ธศักราช ๒๔๕๒-๒๔๙๙
ครูบาจารย์เฒ่าทองรัตน์ ถือก�ำเนิดในครอบครัวใหญ่แห่งลุ่มแม่น้�ำสงคราม
เมอ่ื ปี พ.ศ. ๒๔๓๑ ทบ่ี า้ นสามผง อำ� เภอศรสี งคราม จงั หวดั นครพนม ตอ่ มาบดิ าไดพ้ า
ครอบครวั ยา้ ยมาตง้ั หมบู่ า้ นใหม่ ทดี่ งพะเนาว์ พรอ้ มพอ่ เฒา่ สามารถ พอ่ เฒา่ หนปู าน
และชาวบ้านจ�ำนวนหน่ึง ตั้งช่ือบ้านว่า ศรีเวินชัย ซ่ึงอยู่ห่างจากบ้านเดิมประมาณ
๓ กโิ ลเมตร

3

ดงพะเนาว์ แตก่ อ่ นปา่ แหง่ นเี้ ปน็ สถานทท่ี ป่ี กคลมุ ไปดว้ ยตน้ ไมห้ นาทบึ เนอื งแนน่
ด้วยสัตว์ป่านานาชนิด เป็นที่หลีกเร้นภาวนาของครูบาอาจารย์พระกรรมฐานเป็น
จำ� นวนมาก เช่อื กันวา่ บริเวณปา่ ดังกลา่ วเคยเปน็ เมอื งและวดั เก่ามาก่อน จากการพบ
ซากสงิ่ ของเคร่อื งใชต้ า่ งๆ โบสถ์ และพระพุทธรปู ปางตา่ งๆ สมยั เก่าจ�ำนวนมาก

โยมบดิ า คอื หลวงกำ� จดั เปน็ ขา้ หลวงใหญป่ กครองทอ้ งถน่ิ ในเขตนี้ ภรรยา ชอื่
แกว้ บุปผา แตก่ อ่ นการใช้นามสกุลยงั ไม่แพร่หลาย และยงั ไมม่ ีหลักเกณฑท์ เ่ี ด่นชัด
เทา่ ท่ีควร แลว้ แต่ความเหมาะสมของแตล่ ะบคุ คลจะเลอื กใช้ จงึ ไดเ้ ลือกช่อื สกลุ ว่า
“นะคะจดั ”

นะคะ มาจาก นครพนม
จดั มาจาก ชอ่ื ผู้เปน็ บิดา คอื หลวงกำ� จดั

หลวงก�ำจดั มีบตุ ร ธิดา ๙ คนคอื
๑. หมืน่ ชนชนะชัย (นายทะ นะคะจดั ) ไดร้ บั การแต่งตัง้ ให้เป็นผู้ใหญบ่ า้ น
บา้ นศรีเวนิ ชัยเปน็ คนแรก
๒. นายสีทัด นะคะจดั
๓. นายเทน นะคะจัด
๔. ครบู าจารย์เฒ่าทองรตั น์ กนตฺ สีโล (นะคะจัด)
๕. นางอูบแกว้ นะคะจดั
๖. นางหนเู ทยี น นะคะจัด
๗. นางเขยี น นะคะจดั
๘. นางเมง่ นะคะจดั
๙. นางวะ นะคะจดั

แมใ่ หญจ่ นั ทมิ า บตุ รคี นสดุ ทอ้ งของหมน่ื ชนชนะชยั ญาตทิ ใ่ี กลช้ ดิ ของครบู าจารยเ์ ฒา่
เลา่ วา่ หลงั จากท่ีหลวงกำ� จดั ไดน้ ำ� หน่มุ ทองรตั นไ์ ปบวช เคยไดเ้ ห็นทา่ นคร้ังเดยี วเม่ือ
คราวแมใ่ หญ่อายุ ๒๗ ปี ตอ่ จากนัน้ ไม่เคยเห็นท่านอกี เลย ไดท้ ราบข่าวหลงั สดุ วา่
ทา่ นไดม้ รณภาพท่จี ังหวดั อุบลราชธานี เมื่อปี พ.ศ. ๒๔๙๙

4

สมยั ทา่ นยงั เปน็ หนมุ่ หนมุ่ ทองรตั นเ์ ปน็ คนรา่ งใหญก่ ำ� ยำ� หา้ วหาญ ดดุ นั เดด็ ขาด
นา่ เกรงขามมาก ชอบเลน่ ตลกเฮฮา เปน็ คนท�ำหนา้ ทเ่ี ก็บส่วยใหห้ ลวงกำ� จดั และเป็น
กำ� ลงั สำ� คญั ของครอบครวั บอ่ ยครง้ั ทค่ี นรอบขา้ งตอ้ งตะลงึ เมอ่ื เหน็ พฤตกิ รรมทหี่ นมุ่
ทองรตั นไ์ ดแ้ สดงออกดว้ ยความหา้ วหาญ เชน่ มอี ยบู่ อ่ ยครงั้ สนุ ขั ชอบขโมยกนิ ขา้ วแช่
ทเี่ ตรยี มจะนง่ึ ในตอนเชา้ กอ่ นมารดาหรอื นอ้ งสาวจะนงึ่ ขา้ ว พอไปดกู เ็ หน็ ภาชนะเปลา่
กเ็ อะอะโวยวายวา่ “หมาลกั กนิ ขา้ วหมา่ อกี แลว้ ” หนมุ่ ทองรตั นไ์ ดย้ นิ เสยี งบน่ หลายวนั เขา้
ด้วยความท่ีมีนิสัยเด็ดขาดเป็นทุนเดิม จึงได้จับสุนัขน้ันมาตัดปาก พร้อมพูดว่า
“น!่ี มนั จ่งั บ่อไดก้ ินหลายเทีย่ ” (นี่! มันถงึ ไม่ได้กนิ หลายครัง้ )

และอกี คราวเมอ่ื ถึงฤดลู งนา ควายแมน่ าได้ออกลกู ๒-๓ เดอื น ยังไมอ่ ยา่ นม
ลูกควายจึงได้ตามติดแม่เพื่อจะกินนม หนุ่มทองรัตน์ได้ปล่อยให้กินเป็นเวลานาน
จนตะวันสายกวา่ ปกติ ลูกควายน้นั ก็ไมอ่ ม่ิ สักที หนุ่มทองรตั นค์ ิดวา่ คงสมควรแลว้
จึงได้นำ� แมค่ วายเข้าคันไถเพอื่ ไถนา แตล่ กู ควายนน้ั ก็ยังจะติดตามทจี่ ะกนิ นมไม่เลกิ
ไลส่ ักกค่ี ร้งั กไ็ ปไดห้ น่อยเดีย๋ วก็กลบั มา ไถนาก็ไมไ่ ด้เป็นชิน้ เปน็ อันสกั ที ด้วยความ
ห้าวหาญและเด็ดขาดของหนุ่มทองรัตน์ จึงได้ปลดแอกออกจากคอควายแม่นานั้น
พร้อมกบั ฟาดลงทหี่ วั ลูกควายน้นั เตม็ แรง ยงั ไมท่ นั ที่ทุกคนที่อยู่ใกล้ๆ จะร้องหา้ ม
ลกู ควายนน้ั ไดล้ ม้ ทงั้ ยนื ไปตามแรงแอกจนแนน่ งิ่ และนายทะ ผเู้ ปน็ พช่ี ายไดร้ อ้ งถามไป
วา่ “เอ็ดใหม้ นั ฮือหย่งั ” ภาษาย้อ (ตีมนั ท�ำไม) หนุม่ ทองรตั น์ไดต้ อบด้วยหน้าตาเฉย
วา่ “มันจั่งบอ่ ได้กินหลายเทีย่ ” (มันจะได้ไมก่ ินหลายครงั้ )

ครบู าจารยเ์ ฒา่ เคยเล่าใหล้ ูกศษิ ยค์ นสนทิ พอ่ ใหญ่จารย์กิ จันทร์ศรีเมอื ง บ้าน
หนองฮี อำ� เภอปลาปาก จงั หวดั นครพนม เมอื่ คราวออกบวชตดิ ตามเพอื่ ศกึ ษาขอ้ วตั ร
ปฏบิ ตั กิ บั ครบู าจารยเ์ ฒา่ วา่ สมยั ยงั เปน็ หนมุ่ ทา่ นมคี วามสามารถหลายดา้ น เชน่ ฝกึ ววั
เทยี มเกวยี น ไมไ่ ดบ้ อกยาก เมอ่ื เหน็ ทา่ นจะออกเดนิ ทาง ววั นน้ั จะเดนิ มาเทยี มเกวยี นเอง
โดยไมต่ อ้ งใหไ้ ลต่ ยี าก เมอ่ื จะผา่ นหว้ ยผา่ นหนอง บอกใหก้ ระโดด กจ็ ะกระโดดตามทส่ี ง่ั
ทบ่ี า้ นมวี วั ควายกวา่ ๓๐๐ ตวั ตอ้ งปลอ่ ยไวต้ ามทงุ่ สามผง-ดงพะเนาว์ นานๆ ทถี งึ จะ
ตอ้ นเขา้ ไปในหมบู่ า้ นเพอ่ื นำ� ไปขาย จะตอ้ นเขา้ ไปในหมบู่ า้ นแตล่ ะครง้ั ตอ้ งบอกชาวบา้ น
ใหป้ ิดขา้ วของ ปดิ ประตหู น้าตา่ งใหม้ ิดชดิ เพราะฝุ่นจะฟุ้งมาก

5

๒. ชวี ติ หนุ่มลกู ทุ่ง

บอ่ ยครงั้ ทมี่ งี านบญุ ไมว่ า่ ในหมบู่ า้ น หรอื หมบู่ า้ นใกลเ้ คยี ง หนมุ่ ทองรตั นพ์ รอ้ ม
บงั้ ทงิ ไมไ้ ผบ่ รรจสุ าโทยาวเปน็ เมตร ตอ้ งไดส้ ะพายไปรว่ มงานเพอ่ื เลยี้ งฉลองกนั ทกุ ที
ตามแบบฉบบั ของหนมุ่ ชนบท ถงึ แมว้ า่ หนมุ่ ทองรตั นจ์ ะมนี สิ ยั ชอบกนิ ชอบดม่ื แตไ่ ม่
เคยมีประวัตชิ กต่อยกันแตอ่ ยา่ งไร เปน็ เหตใุ ห้ไปท่ีไหนตอ้ งเป็นเปา้ สายตาของสาวๆ
ที่พบเหน็

ประเพณอี ยา่ งหนง่ึ ทชี่ ายหนมุ่ นยิ มกนั คอื “การสกั ลาย” และหนมุ่ ทองรตั นก์ เ็ ปน็
หนง่ึ ทส่ี กั ลายเหมอื นกนั เพราะนยิ มวา่ เมอื่ ชายใดทสี่ กั ขาลายแลว้ จะเปน็ ทหี่ มายปอง
ของสาวๆ ท่ัวไป

๓. ศักดศิ์ รลี ูกผ้ชู าย

มีคร้ังหนึ่งครูบาจารย์เฒ่าเล่าให้หลวงพ่อพร สจฺจวโร ศิษย์ผู้ใกล้ชิดรูปหนึ่ง
อยู่วดั บา้ นแกง่ ยาง ต�ำบลคอแลน อำ� เภอบุณฑริก จงั หวัดอุบลราชธานี วา่ ครงั้ แรก
บวชเปน็ สามเณร แตอ่ ยไู่ ดไ้ มน่ าน ตอ้ งสกึ ออกมาชว่ ยครอบครวั ทำ� งาน สาเหตทุ ต่ี อ้ ง
ออกบวชครงั้ ทสี่ อง คอื ทา่ นไดไ้ ปจบี สาวตา่ งบา้ น สาวนน้ั ไดเ้ กดิ ความชอบพอใจขน้ึ มา
และหลายครง้ั ไดค้ ะยน้ั คะยอใหท้ า่ นนำ� ญาตผิ ใู้ หญไ่ ปสขู่ อตามประเพณี ถา้ ไมไ่ ปสขู่ อ
สาวเจ้าไดย้ น่ื คำ� ขาดวา่ จะขอหนีตาม

หนมุ่ ทองรตั นไ์ ดค้ ดิ อยหู่ ลายวนั ถา้ จะปลอ่ ยใหส้ าวหนตี าม กไ็ มอ่ ยใู่ นวสิ ยั ของ
ลูกผู้ชายอย่างหนุ่มทองรัตน์จะท�ำ ถ้าจะปฏิเสธ ก็กลัวว่าสาวเจ้าจะเสียใจ และได้
ตดั สนิ ใจวา่ จะยงั ไมข่ อแตง่ งาน ถา้ ขนื อยตู่ อ่ ไปกค็ งจะไมพ่ น้ อยดู่ ี จงึ บอกพอ่ ใหพ้ าไป
ฝากกบั พระอปุ ชั ฌายเ์ พอื่ บวช พอ่ กไ็ มอ่ ยากใหบ้ วช เพราะทา่ นเปน็ กำ� ลงั สำ� คญั ในบา้ น
จงึ อยากใหม้ คี รอบครวั มากกวา่ ออกบวช แตก่ ต็ อ้ งยอมตามคำ� ออ้ นวอนและเหตผุ ลที่
ได้อ้างต่อพอ่ วา่ “ยงั ไม่อยากมีเมีย”

6

จงึ ไดพ้ าไปฝากอปุ ชั ฌายโ์ ดยไมบ่ อกใหใ้ ครรู้ แมแ้ ตค่ นในบา้ นกไ็ มม่ ใี ครรวู้ า่ พอ่
พาทา่ นไปบวชทไ่ี หน จนทา่ นบวชไดห้ ลายพรรษาแลว้ ทา่ นไดห้ วนกลบั บา้ น พอ่ แมแ่ ละ
ญาตบิ างคนไดล้ ม้ หายตายจากไปกอ่ นแลว้ ชาวบา้ นจงึ ไดร้ วู้ า่ ทา่ นไปบวชกบั อปุ ชั ฌาย์
คาร คนฺธโี ย ที่วดั โพธิ์ไชย อ�ำเภอทา่ อเุ ทน จงั หวัดนครพนม (เดิมเป็นวดั โพธไ์ิ ทร
ชาวบา้ นเรยี กวา่ วดั ทงุ่ ตอ่ มาหลวงบรหิ ารชนบทเปลยี่ นเปน็ วดั โพธไิ์ ชย) มพี ระอาจารย์
เกงิ่ อธมิ ตุ ตฺ โม วดั โพธชิ์ ยั อำ� เภอศรสี งคราม จงั หวดั นครพนม เปน็ พระกรรมวาจาจารย์
เมอ่ื สมยั ทพ่ี ชี่ ายทา่ น คอื หมนื่ ชนชนะชยั บวช พอ่ ทา่ นกไ็ ดน้ ำ� ไปฝากกบั พระอปุ ชั ฌายร์ ปู
น้ี เพราะแตก่ อ่ นพระอปุ ชั ฌายม์ ไี มม่ าก พระอปุ ชั ฌายค์ าร คนธฺ โี ย ทา่ นปกครองในเขต
๓ อำ� เภอ คอื อำ� เภอศรสี งคราม อำ� เภอบา้ นแพง อำ� เภอทา่ อเุ ทน ของจงั หวดั นครพนม

ทา่ นบวชเมอ่ื ปี พ.ศ. ๒๔๕๒ ในขณะทอี่ ายุ ๒๖ ปี หลงั จากบวชแลว้ ไมเ่ คยสง่
ขา่ วกลบั บา้ นเลยและไมไ่ ดก้ ลบั บา้ นดว้ ย เมอื่ บวชแลว้ ทา่ นกไ็ ดศ้ กึ ษาคน้ ควา้ ตำ� ราตา่ งๆ
เชน่ นวโกวาท ตลอดจนท่องปาฏโิ มกข์ได้ และอยกู่ บั พระอปุ ชั ฌายไ์ ด้ ๒ พรรษา
กค็ ดิ อยากจะลาสกิ ขา จะอยใู่ นอริ ยิ าบถไหน กค็ ดิ แตจ่ ะลาสกิ ขา กจิ วตั รตา่ งๆ ทพ่ี ระใหม่
ควรทำ� กท็ ำ� โดยไมบ่ กพรอ่ ง แตค่ วามอยากลาสกิ ขาไมห่ ายไป ซงึ่ ถอื เปน็ เรอื่ งธรรมดา
ของนักบวช แตท่ ไ่ี มธ่ รรมดาคอื จะทำ� อยา่ งไรเม่อื มันมอี ารมณ์อยากลาสกิ ขา แลว้
ทำ� ไมใ่ หม้ นั ลาสกิ ขา เมอ่ื คดิ ไดอ้ ยา่ งนน้ั จงึ กราบลาพระอปุ ชั ฌายเ์ ปลยี่ นสถานทวี่ เิ วก
ดูบา้ ง

๔. ยอมตาย เพราะอยากลาสกิ ขา

ครูบาจารย์เฒ่าเคยเล่าให้หลวงพ่อเดช กิตฺติปาโล (หลานครูบาจารย์เฒ่า)
วดั โพธชิ์ ยั บา้ นสามผง อำ� เภอศรสี งคราม จงั หวดั นครพนม ฟงั วา่ เมอ่ื คราวทา่ นอยาก
ลาสกิ ขา ในขณะน้ันบวชได้ ๒ พรรษา จึงไดล้ าพระอปุ ัชฌายห์ าสถานทีว่ ิเวกเพอ่ื หา
อบุ ายท่ีจะได้ไมล่ าสกิ ขา จากวดั พระอุปชั ฌายไ์ ปตามปา่ ตามเขา ยิง่ เดนิ กย็ ่งิ เหนื่อย
ยงิ่ เหนอื่ ยกย็ ง่ิ อยากลาสกิ ขา เดนิ ไปจนถงึ ภพู าน จงึ ไดห้ าสถานทป่ี กั กลด เดนิ จงกรม
นง่ั สมาธิ ทำ� ความเพยี รตามทเ่ี คยไดศ้ กึ ษาตำ� ราและเคยทำ� เองบา้ ง แตไ่ มเ่ ขา้ ใจเทา่ ทค่ี วร

7

ท�ำความเพียรอยู่ช่วงสองวันแรก ตื่นเช้ามาก็ออกบิณฑบาตกับชาวบ้านที่อยู่ตาม
กระทอ่ มตนี เขา พอไดฉ้ นั ยงิ่ ทำ� กย็ งิ่ ทกุ ขเ์ พราะอยากลาสกิ ขามาก

จงึ ได้ตั้งสจั จะกบั ตัวเองว่า “มึงอยากสึกหลาย ใหม้ ึงตายอยู่น่ี” ทำ� ความเพียร
เดนิ จงกรม น่งั สมาธิอยู่ ๖-๗ วนั ไม่ไปบณิ ฑบาต อาการอยากลาสกิ ขาจงึ ทเุ ลาลง
แตย่ งั ไมห่ าย ไมล่ งไปบณิ ฑบาตหลายวนั ชาวบา้ นคดิ วา่ ตายแลว้ จงึ ขน้ึ มาดู เหน็ ทา่ น
เดนิ จงกรมอยู่ จงึ กลบั ไปเอานำ้� เอาขา้ วไปถวายทา่ น ทา่ นกไ็ มฉ่ นั ญาตโิ ยมไดอ้ อ้ นวอน
ใหท้ า่ นฉนั จงึ ไดส้ นองศรทั ธา และโยมไดพ้ ดู ถงึ หลวงปเู่ สาร์ หลวงปมู่ น่ั วา่ ทา่ นทงั้ สอง
นี่ปฏิบัติดี ปฏบิ ตั เิ อาจริงเอาจงั มาก ใครก็ให้ความเคารพท่านมาก แตก่ อ่ นท่านเคย
เดินธุดงค์ผ่านมาทางนี้ด้วย และถามโยมได้ความว่า ท่านท้ังสองปกติก็พ�ำนักอยู่ท่ี
แถบจงั หวัดสกลนคร นครพนม จึงไดต้ ้งั ใจม่งุ ตรงไปยงั ครบู าจารย์ทง้ั สองเพ่อื กราบ
ขอฟงั อุบาย และไดล้ งจากภูพานเสาะแสวงหาองคท์ ่านท้งั สอง

๕. ผชู้ ้ที าง สวา่ ง

ครบู าจารยเ์ ฒา่ ไดต้ ดิ ตามสบื หาจนไดพ้ บทา่ นหลวงปมู่ นั่ ขณะนน้ั องคท์ า่ นพำ� นกั
อยทู่ วี่ ดั ปา่ สทุ ธาวาส จงั หวดั สกลนคร ซงึ่ แตก่ อ่ นเปน็ ปา่ ทเ่ี หมาะในการภาวนามาก จงึ ได้
ไปกราบท่านพักอยกู่ ับท่านได้ ๓-๔ วนั และขอรับฟงั โอวาทจากท่าน หลวงปู่ม่ันได้
เมตตาใหอ้ บุ ายในการปฏบิ ตั แิ ละไลใ่ หไ้ ปปฏบิ ตั เิ อง ครบู าจารยเ์ ฒา่ ทองรตั นไ์ ดก้ ราบลา
หลวงปู่มั่นออกปฏิบัติตามคำ� แนะน�ำตามล�ำพัง ย่ิงปฏิบัติไปในความรู้สึกมีแต่ความ
หนกั ไปหมด นงั่ กห็ นกั ยนื กห็ นกั นอนกห็ นกั แกไ้ มต่ ก จงึ คดิ ถงึ คำ� หลวงปมู่ น่ั ขนึ้ มา
และกลบั ไปกราบท่านอกี ครงั้ หน่งึ

เมอื่ ไปกราบหลวงปมู่ นั่ ทา่ นกถ็ ามวา่ “เปน็ จงั่ ไดก๋ ารปฏบิ ตั ”ิ ครบู าจารยเ์ ฒา่ บอกวา่
ไมร่ จู้ ะเอาอะไรมาบอกกบั หลวงปมู่ น่ั เพราะไมเ่ หน็ มอี ะไรเกดิ ขน้ึ มแี ตห่ นกั อยา่ งเดยี ว
เดนิ กห็ นกั นงั่ กห็ นกั หลวงปมู่ น่ั พดู เปน็ เชงิ ดวุ า่ “การปฏบิ ตั อิ ยากแตใ่ หม้ นั สงบ เอาแต่
ตณั หาเขา้ ไปท�ำ มนั จะเหน็ อะไร” และหลวงป่มู ั่นท่านได้ไล่ให้ไปปฏิบตั ิอกี

8

ด้วยนิสัยที่ดุดันเอาจริงเอาจังเป็นทุนอยู่แล้ว เมื่อท่านได้ยินหลวงปู่ม่ันท่านดุ
เหมอื นกบั วา่ ทา่ นใหก้ ำ� ลงั ใจ จงึ ไดส้ ะพายบาตรแบกกลดมงุ่ หนา้ สปู่ า่ หนาดงทบึ คราวนี้
เอาจรงิ ยงิ่ กวา่ เดมิ ทงั้ เดนิ จงกรม นง่ั สมาธทิ ง้ั คนื ทง้ั วนั ใหเ้ วลาในการพกั ผอ่ นนอ้ ยลง
ฉนั กล็ ดนอ้ ยลง จนมอี ยวู่ นั หนง่ึ ขณะเดนิ จงกรมอยู่ อาการทว่ี า่ “หนกั ” ไมร่ หู้ ายไปไหน
กลับมแี ต่เบากายเบาใจ เดินไปทางไหนเหมือนกบั จะปลิวไป ไม่สามารถจเล่าใหใ้ คร
ฟงั ถกู ปฏบิ ตั ติ ดิ ตอ่ อยนู่ าน อาการเบานน้ั กย็ งั เหมอื นเดมิ จงึ คดิ วา่ “นหี่ รอื ทคี่ รบู าจารย์
ม่ันบอกว่าอาการของสงบ” และได้กลับไปหาหลวงปู่ม่นั อกี

เมอื่ กลบั ไปกราบเรยี นหลวงปมู่ นั่ คราวนี้ ทา่ นไมด่ เุ หมอื นเมอ่ื กอ่ น และกราบเรยี น
ทา่ นวา่ “ขะนอ้ ยเหน็ แลว้ จติ สงบ” “มนั เปน็ จง่ั ไดจ๋ ติ สงบ” หลวงปมู่ นั่ ถาม “จติ สงบนน้ั
มนั เบากายเบาใจ ในอริ ยิ าบถไดม๋ นั กะเบา บอกบถ่ กื ” ครบู าจารยเ์ ฒา่ ทองรตั นเ์ ลา่ ให้
หลวงปมู่ ั่นฟังถึงอาการตา่ งๆ ที่ได้ประสบจากการทำ� ความเพยี รจนหมดส้ิน

คราวนห้ี ลวงปมู่ นั่ ทา่ นไดแ้ นะนำ� แนวทางปฏบิ ตั ติ อ่ โดยทา่ นใหพ้ จิ ารณาขนั ธ์ ๕
ให้เหน็ เป็นไตรลกั ษณ์ เปน็ อนิจจงั ทกุ ขงั อนตั ตา พจิ ารณาให้เห็นแล้วยอ่ เข้ามา คอื
กายกบั ใจ ทกุ สงิ่ ทกุ อยา่ งเปน็ ของไมเ่ ทย่ี ง เปน็ ทกุ ข์ เปน็ ของไมม่ ตี วั ตน แยกมนั ใหอ้ อก
หลงั จากไดอ้ บุ ายจากหลวงปมู่ น่ั แลว้ กก็ ราบลาทา่ นอกี ไดอ้ อกปฏบิ ตั เิ อง และไดน้ ำ� อบุ าย
จากหลวงปู่ม่ันท่ีให้มาพิจารณากลับไปกลับมาอยู่เป็นเวลานานหลายเดือน จนก่อน
เขา้ พรรษาท่ี ๓ ก็ปรากฏสภาวะทุกอยา่ งลงตวั เกิดปีติในจิตใจ สว่างโร่ทงั้ กลางวนั
กลางคนื เหน็ ทกุ สง่ิ ทุกอยา่ งไมแ่ ตกตา่ งกันอย่างไร โลกทง้ั โลกไมส่ งสยั อะไร คดิ อยู่
ในใจวา่ ถา้ จะมปี ญั หารอ้ ยแปดพนั ปญั หากไ็ มส่ งสยั อาการของจติ ในขณะนนั้ นงิ่ มาก
ไม่มีอะไรท�ำให้หว่ันไหวได้ อาการดังกล่าวยากท่ีจะบรรยายถ่ายทอดให้คนอื่นรู้ได้
นอกจากตวั เอง ทเ่ี รยี กวา่ “ปจั จตั ตงั ” ทา่ นไดธ้ ดุ งคไ์ ปรปู เดยี วไปตามปา่ บา้ ง ภเู ขาบา้ ง
ไปถำ้� ใดเขา้ ไดห้ มด ดว้ ยความอาจหาญ ไมค่ ดิ กลวั สตั วร์ า้ ย หรอื สง่ิ ตา่ งๆ จะมาทางไหน
ก็ไมก่ ลวั จะบอกว่าทงั้ ความกลวั และความสงสัยต่างๆ ไม่เปน็ เรื่องหนักใจอกี ต่อไป
ก็ไมผ่ ดิ

9

ลกู ศษิ ยร์ ปู หนง่ึ เคยไดย้ นิ ครบู าจารยเ์ ฒา่ พดู อยเู่ รอ่ื ยวา่ “คำ� สอนถงึ จะมมี ากมาย
สกั เพยี งไร กไ็ มเ่ ทา่ การปฏบิ ตั ใิ หเ้ หน็ เอง” จงึ ไดถ้ ามครบู าจารยเ์ ฒา่ ไปวา่ “ทว่ี า่ คำ� สอน
บท่ อ่ การปฏบิ ตั ิ มนั เปน็ อยา่ งไรครบั ” ครบู าจารยเ์ ฒา่ ตอบวา่ “การฟงั จากผอู้ นื่ พดู เปน็ ได้
แคแ่ นวทางเทา่ นน้ั ผอู้ น่ื ไมส่ ามารถบอกผลการปฏบิ ตั เิ ปน็ คำ� พดู ได้ สงิ่ ทเี่ กดิ นนั้ มนั จะ
เกดิ ขนึ้ เอง หากมกี ารปฏบิ ตั ดิ ว้ ยทำ� กาย วาจา ใจ บรสิ ทุ ธ์ิ ศลี สมาธิ ปญั ญา จงึ จะเกดิ เอง
เร่ืองอารมณเ์ ลก็ ๆ นอ้ ยๆ อย่าขา้ ม ถ้าศีลบริสทุ ธ์ิ สมาธบิ รสิ ุทธิ์ น่ังสมาธิ บางทีก็มี
คำ� ถามและคำ� ตอบขนึ้ มาพรอ้ ม ถา้ จติ ใจไมเ่ คารพศลี เขา้ ปา่ เปน็ พระกรรมฐานไมไ่ ด้
ผีหักคอบ้าง เสือกินบ้าง พระไม่มีศีลบริสุทธิ์ เสือกัดตาย ตามถ�้ำเขาเห็นกระดูก
กองถมไป”

๖. ประลองกำ� ลงั ลูกศิษย์

หลวงพอ่ กิ ธมมฺ ตุ ตฺ โม วดั ปา่ สนามชยั อำ� เภอพบิ ลู มงั สาหาร จงั หวดั อบุ ลราชธานี
ศษิ ยใ์ กลช้ ดิ รปู หนงึ่ เลา่ วา่ ในชว่ งทคี่ รบู าจารยเ์ ฒา่ ทองรตั นไ์ ดอ้ อกธดุ งคป์ ฏบิ ตั อิ ยา่ ง
เอาจรงิ เอาจงั อยูน่ ัน้ ไดท้ ราบว่าหลวงปมู่ น่ั ได้ธุดงคไ์ ปท่ภี าคเหนือทจ่ี งั หวดั เชียงใหม่
จงึ ไดธ้ ดุ งคต์ ามทา่ นไป พอดไี ปพบทา่ นทจี่ งั หวดั เชยี งใหมก่ อ่ นเขา้ พรรษา จงึ ไดก้ ราบทา่ น
อกี คร้งั หนง่ึ

หลวงปูม่ นั่ ไดถ้ ามถงึ การประพฤตปิ ฏบิ ตั ิของครบู าจารยเ์ ฒา่ ทองรตั น์ ทา่ นก็ได้
เลา่ ถวายหลวงปมู่ น่ั ตามทไ่ี ดพ้ บจากการปฏบิ ตั ทิ กุ อยา่ ง ปกตกิ อ่ นเขา้ พรรษา หลวงปมู่ น่ั
จะเรยี กรวมลกู ศษิ ย์เพือ่ จดั พระเณรจ�ำพรรษาในที่ตา่ งๆ หลวงปูม่ ่ันไดใ้ หค้ รูบาจารย์
เฒา่ ทองรตั นไ์ ปจำ� พรรษาทถี่ ำ้� บงั บด มขี อ้ แมว้ า่ ถา้ ไมค่ รบ ๓ พรรษา ไมต่ อ้ งลง ถำ้� น้ี
หลวงปมู่ น่ั เคยไดไ้ ปภาวนามา และสถานทแี่ หง่ นมี้ พี ระธดุ งคไ์ ปมรณภาพหลายรปู แลว้
ถา้ ไม่เกง่ จริง คงจะกลับออกมายาก

เมอื่ หลวงปมู่ นั่ แนะนำ� ดงั นน้ั ทา่ นจงึ ไดร้ บั และไดก้ ราบลาทา่ นไปทถี่ ำ�้ นนั้ รปู เดยี ว
เมอื่ ไปถึงถ้ำ� บังบด ไดห้ าสถานท่ปี กั กลด ทางเดินจงกรม ภาวนา อย่รู ปู เดยี วตลอด
๓ พรรษา

10

และในคืน ๑๕ คำ่� เดอื น ๑๐ พรรษาแรก หลงั จากเดินจงกรมตอนหวั คำ่� แลว้
ไดเ้ ปลยี่ นอริ ยิ าบถนง่ั สมาธบิ า้ ง ในขณะกำ� ลงั นง่ั สมาธสิ งบนงิ่ อยนู่ นั่ เอง ไดย้ นิ เสยี งดงั
สนนั่ กอ้ งไปท่ัว แยกไม่ออกวา่ เสียงอะไร ราวกับฟา้ จะทลาย ภูเขาทงั้ ลูกถกู เขย่าให้
สะเทอื นคลา้ ยกบั จะถลม่ ลงมาทง้ั ลกู มที งั้ เสยี งคนเสยี งสตั วร์ อ้ งโกลาหลไปทวั่ จะเดนิ
ออกไปดกู ไ็ มม่ น่ั ใจ ความกลวั ทว่ี า่ หมด ไมร่ มู้ าจากไหน ทง้ั ทๆ่ี กอ่ นมาเคยใหค้ ำ� รบั รอง
ตวั เองวา่ หมดความกลวั แลว้ พทุ โธทเี่ คยบรกิ รรม หายหมด มแี ตค่ วามกลวั ครบู าจารยเ์ ฒา่
เลา่ ใหศ้ ษิ ยฟ์ ังวา่

กลวั จนไมร่ วู้ า่ จะกลวั อะไร ขนและผมทกุ เสน้ มนั ลกุ จนคดิ วา่ มนั จะหลดุ ออกจาก
หวั เสยี แลว้ จวี ร สบง ไดช้ มุ่ ไปดว้ ยเหงอื่ เมอ่ื ถงึ ทสี่ ดุ ของความกลวั ไดม้ อี ะไรสกั อยา่ ง
มากระซบิ ขา้ งหวู า่ “ในสากลพภิ พนี้ สรรพสตั ว์ ตลอดทงั้ เทพ พรหม ยม ยกั ษ์ ทงั้ หลาย
ทง้ั ปวงลว้ นเคารพและยำ� เกรงตอ่ พระพทุ ธเจา้ ทงั้ สน้ิ เราเปน็ ลกู ศษิ ยพ์ ระตถาคตจะไป
กลัวอะไร”

เมอื่ ไดย้ นิ ดงั นนั้ สตเิ รม่ิ กลบั คนื มา แลว้ เกดิ ความอาจหาญขนึ้ ในจติ ในใจ ความกลวั
ค่อยเลือนหายไป ในทส่ี ดุ ไม่รู้ความกลวั หายไปไหน คดิ ให้กลวั กไ็ ม่กลัว คดิ เห็นเสือ
เหน็ ชา้ งเปน็ ธรรมดาไปหมด ไมม่ อี ะไรทน่ี า่ กลวั อกี มคี วามรสู้ กึ วา่ อาการหายกลวั ครง้ั น้ี
มอี านภุ าพมากกวา่ ครงั้ ทีผ่ า่ นมาหลายรอ้ ยพันเท่า เดนิ จงกรม น่ังสมาธิ มีแต่ความ
เยือกเยน็ สบาย ข้าวปลาอาหารไมห่ วิ เปน็ อยู่ ๗ วนั ๗ คืน นอนกไ็ มน่ อน

หลายวนั ตอ่ มา ชาวบา้ นขนึ้ ไปเยยี่ มทา่ น เพราะเหน็ ทา่ นไมไ่ ดล้ งไปรบั บณิ ฑบาต
หลายวนั คดิ วา่ ทา่ นคงเปน็ อะไรไป ทา่ นจงึ รสู้ กึ ตวั เมอื่ โยมขนึ้ ไป และญาตโิ ยมไดถ้ าม
ครบู าจารยเ์ ฒา่ วา่ “ไมส่ บายหรอื ตาจงึ แดง” “สบายด”ี ทา่ นตอบ “ทา่ นไมห่ วิ ขา้ วหวิ นำ�้ หรอื
ไม่เห็นลงไปบิณฑบาต นึกว่าเปน็ อะไรไปเหมอื นพระรูปอน่ื ๆ”

วนั ตอ่ มา ทา่ นจงึ ไดล้ งไปบณิ ฑบาตในหมบู่ า้ นใกลต้ นี เขา และฉนั เพยี ง ๒ คำ� เทา่ นน้ั
รา่ งกายเกดิ ไมร่ บั อาหาร ไมว่ า่ จะฉนั อะไรลงไป กอ็ าเจยี นออกมาหมด หลายวนั ตอ่ มา
รา่ งกายจึงปกติ และไดป้ ฏบิ ัตภิ าวนาอยู่ท่ีนัน่ จนครบ ๓ พรรษา

11

เมอ่ื ออกพรรษาแลว้ จงึ ไดล้ งมากราบหลวงปมู่ นั่ อกี ครง้ั และเลา่ อาการตา่ งๆ ให้
หลวงป่มู ่ันฟงั หลวงป่มู ั่นจงึ ไดพ้ ดู ให้ข้อคดิ วา่ “ทองรตั น์ เดีย๋ วน้ีจิตของท่านเทา่ กบั
จิตผมแล้ว ตอ่ ไปนีท้ ่านจะเทศนจ์ ะสอนคนอน่ื กจ็ งสอนเถดิ ”

หลงั จากออกเสาะแสวงหาครบู าจารย์ และไดม้ าภาวนาอยทู่ ถี่ ำ�้ บงั บดนคี้ ดิ เปน็ เวลา
กย็ าวนาน ประกอบกบั ผา้ จวี รฝา้ ยทป่ี น่ั และทอเยบ็ ดว้ ยมอื ถกู ใชน้ านหลายปเี กดิ เปอ่ื ย
ยยุ่ ใชก้ ารไมไ่ ด้ เพราะปกตผิ า้ จวี รขาดธรรมดากห็ าผา้ มาปะชนุ ได้ บางครงั้ หาดา้ ยและ
เขม็ ไมม่ ี ตอ้ งใชเ้ ปลอื กไมม้ าทบุ ใชเ้ ปน็ เสน้ ใยแทนดา้ ยเพอ่ื ชนุ ไว้ ซง่ึ ในเรอื่ งพระธรรม
วนิ ยั น้ี ครบู าจารยเ์ ฒา่ ทา่ นละเอยี ดมาก ถงึ แมอ้ าบตั เิ ลก็ นอ้ ย ทา่ นกไ็ มม่ องขา้ ม ผา้ ถงึ
จะเกา่ สจี ะหมองขนาดไหน กย็ ังงดงามตามพระธรรมวินยั

จงึ คดิ วา่ จะกลบั ไปกราบครบู าจารย์ และขอลาเลยไปขอผา้ จากญาตทิ างบา้ นสามผง
ดงพะเนาวด์ ว้ ย เพราะไมม่ ีโยมปวารณาถวายผา้ จะขอคนผู้ไมใ่ ชญ่ าตกิ ็ไม่เหมาะใน
สมณวสิ ยั จะพงึ กระทำ� พอไปกราบหลวงปมู่ น่ั และจะลาทา่ นไปบา้ นเพอื่ ขอผา้ มาเยบ็ จวี ร
หลวงปมู่ นั่ จงึ พดู ดกั ใจไว้ กลวั ศษิ ยจ์ ะเผลอตวั วา่ “เออ อยากไดอ้ ยากเหน็ ธรรมบแ่ มน่ บอ้
จั่งมาบวช สิมามัวกบั ญาตโิ ยมอยหู่ ั่นบ้อ” (เออ อยากไดอ้ ยากเห็นธรรมไม่ใชห่ รอื
จงึ ไดอ้ อกบวช จะไปมวั ขอ้ งเกย่ี วกบั ญาตโิ ยมอกี หรอื ) และหลวงปมู่ น่ั กไ็ ดอ้ นญุ าตให้
กลับบ้าน ครูบาจารย์เฒ่าทองรัตน์ทราบความปรารถนาดีของพ่อแม่ครูบาจารย์แล้ว
จงึ กราบลากลบั บา้ น

๗. กลับบา้ นครัง้ แรก

แมใ่ หญจ่ นั ทมิ า ลกู สาวคนเลก็ ของพช่ี ายคนโต (ผใู้ หญท่ ะหรอื หมน่ื ชนชนะชยั )
เลา่ วา่ “ปที คี่ รบู าจารยท์ า่ นกลบั บา้ นครง้ั แรกนน้ั แมใ่ หญอ่ ายุ ๒๗ ปี เมอื่ กลบั ไปถงึ บา้ น
ไมม่ ใี ครจำ� ได้ แมแ้ ตผ่ เู้ ปน็ พช่ี าย (ผใู้ หญท่ ะ) ตอนเชา้ ครบู าจารยท์ า่ นไปรบั บณิ ฑบาต
และไดย้ นื อยหู่ น้าบา้ นตง้ั นาน ปกตไิ ม่มพี ระมายืนหน้าบ้านสกั ที จนคนบา้ นใกล้กนั
เขาเหน็ อาการของพระรปู นนั้ แปลกๆ หรอื เขาอาจจะจำ� หนา้ พระรปู นน้ั ได้ เขาจงึ รอ้ งไป
ทางผใู้ หญ่ทะ “พ่อเย่อ พ่อเยอ่ บ่แมน้ ญาคูนอ้ งชายพ่อเย่อบ้อ มายนื อยู่หนา้ เฮือน

12

เจา้ นน่ั ” (คณุ ตา คณุ ตา ไมใ่ ชพ่ ระนอ้ งชายคณุ ตาหรอื มายนื อยหู่ นา้ บา้ นนน่ั ) ผใู้ หญท่ ะ
จงึ ชำ� เลอื งไปดู แตก่ ย็ งั ไมป่ กั ใจเชอ่ื จงึ ลงจากบา้ นไปถามดู พอไปถงึ กน็ งั่ พนมมอื ถาม
“ญาคูนิมนต์ มาแต่เสอขะน้อย” (พระอาจารย์นิมนต์ มาจากไหนครบั )

“อาตมาเปน็ คนบา้ นนี่ เปน็ ลกู พอ่ ใหญก่ ำ� จดั มาพกั อยวู่ ดั ปา่ ฮนั่ ” ครบู าจารยต์ อบ
และไดเ้ ดนิ บณิ ฑบาตตอ่ ไป ปลอ่ ยใหผ้ ใู้ หญท่ ะนง่ั งงงวยอยคู่ นเดยี ว ยงั คดิ ไมอ่ อกวา่
พระรูปนี้คือใครกันแน่ มาแอบอา้ งวา่ เปน็ ลกู เปน็ หลานพอ่ ใหญ่กำ� จัด ซึง่ เป็นพอ่ ของ
ตนเอง เมอื่ ครบู าจารยเ์ ฒา่ ไดบ้ ณิ ฑบาตกลบั วดั ผใู้ หญท่ ะไดเ้ ดนิ ตามหลงั ครบู าจารยเ์ ฒา่
จนถงึ วดั เพอ่ื ไปถามใหแ้ นใ่ จทวี่ า่ เปน็ ลกู เปน็ หลานพอ่ ใหญก่ ำ� จดั จรงิ หรอื เมอ่ื ไปถงึ วดั
ผใู้ หญท่ ะไดซ้ กั ถามวา่ ทา่ นคอื ใครกนั แน่ รอ้ ยวนั พนั ปยี งั ไมเ่ คยเหน็ วา่ หลวงกำ� จดั มลี กู
บวชเป็นพระ พ่อก็ไม่เคยบอกวา่ น้องท่หี ายไป ไปทำ� อะไรอยทู่ ไี่ หน

ครบู าจารยเ์ ฒา่ จงึ เลา่ เหตกุ ารณใ์ หฟ้ งั วา่ “อาตมาชอ่ื ทองรตั น์ ปนี น่ั พอ่ ไดพ้ าไปฝาก
บวชอยู่กับพระอุปัชฌาย์ อยู่วัดโพธิ์ไชย ท่าอุเทน” ผู้ใหญ่ทะจึงยอมเชื่อว่าพระที่
ไปบณิ ฑบาตเมอื่ เชา้ คอื นอ้ งชายตนเองนนั่ เอง จงึ ไดไ้ ตถ่ ามสารทกุ ขส์ กุ ดบิ ดใี จทพี่ ระ
นอ้ งชายยงั มชี วี ติ อยู่ คาดไมถ่ งึ วา่ จะไดเ้ จอนอ้ งชายอกี สว่ นพอ่ แมแ่ ละญาตบิ างคนได้
ลม้ หายตายจากไปกอ่ นหน้านี้แล้ว

พระครอู ดลุ ยธ์ รรมภาร วดั ศรวี ชิ ยั เลา่ วา่ “ครง้ั แรกทค่ี รบู าจารยท์ า่ นมาพกั ทว่ี ดั นี้
ซงึ่ เปน็ วดั ทคี่ รบู าจารยว์ งั ครบู าจารยม์ า เปน็ องคส์ รา้ ง แตก่ อ่ นวดั ยงั ไมม่ ศี าลา มแี ตผ่ าม
(ร้านที่ท�ำเพื่อกันแดด) กฏุ กิ ม็ ีกุฏทิ ่ีมุงหญา้ คา ๒-๓ หลัง เมือ่ ครบู าจารยม์ าคร้ังแรก
จงึ ไปปกั กลดใต้รม่ โพธ์ทิ ้ายวดั ซง่ึ แตก่ อ่ นยงั เปน็ ปา่ อย”ู่

ตอ่ มาผใู้ หญ่ทะได้จดั หาผ้าขาวทท่ี างแมบ่ า้ นปัน่ และทอเองเปน็ ผ้าฝ้าย มาถวาย
ครบู าจารยเ์ ฒา่ เพอื่ ทำ� จวี ร ทา่ นไดเ้ ยบ็ จวี รดว้ ยมอื เสรจ็ แลว้ ไดน้ ำ� ไปยอ้ มสดี ว้ ยนำ้� ฝาด
แก่นขนุนท่ีเคี่ยวได้ที่แล้วจนเสร็จ ส่วนทางผู้ใหญ่ทะเห็นพระน้องชายปักกลด
อยตู่ ามรม่ ไม้ กไ็ ดร้ วมชาวบา้ นสรา้ งกฏุ มิ งุ หลงั คาให้ กฏุ ยิ งั ไมท่ นั เสรจ็ ครบู าจารยเ์ ฒา่
ก็ได้บอกลาไปธุดงค์ต่อไปซึ่งเป็นปกติของครูบาจารย์เฒ่า ท่านไม่ชอบการก่อสร้าง

13

เสนาสนะเปน็ ทถ่ี าวร ถงึ จะมโี ยมมาขอสรา้ งให้ ทา่ นกจ็ ะพยายามบา่ ยเบยี่ ง ถา้ หา้ มไมไ่ ด้
จรงิ ๆ ทา่ นจะบอกวา่ สรา้ งกส็ รา้ ง แตจ่ ะนมิ นตม์ าใหอ้ ยู่ ทา่ นจะไมร่ บั วา่ จะอยใู่ หต้ ลอด
อยากไปเม่ือไหร่กจ็ ะไป

หลวงพอ่ อวน ปคโุ ณ เลา่ วา่ ครบู าจารยเ์ ฒา่ ทองรตั น์ ทา่ นไมช่ อบสรา้ งวดั เปน็ หลกั
เปน็ แหลง่ สว่ นใหญอ่ ยตู่ ามรม่ ไม้ กระทอ่ มมงุ หญา้ คา พน้ื ปดู ว้ ยไมไ้ ผส่ บั งา่ ยๆ เมอื่ ทา่ น
จากไป กระทอ่ มนนั้ พงั พอดี จงึ ยากทจี่ ะตามรอยทา่ นเจอ แมแ้ ตป่ จั จบุ นั สถานทท่ี ที่ า่ น
เคยจำ� พรรษาหลายแหง่ เชน่ ฝง่ั โขง เมอื งลาว บา้ นดงชน บา้ นดงมะเกลอื บา้ นไผล่ อ้ ม
บ้านโนนหอม วัดหว้ ยศรีคูณ อ�ำเภอนาแก เขมรตอนบน บ้านชที วน บ้านโคกสวา่ ง
บ้านค้มุ แต่ละแห่งแทบจะไมม่ สี ญั ลกั ษณใ์ ห้ดูวา่ แห่งน้ันเคยมพี ระมาจำ� พรรษา จะมี
เฉพาะบา้ นคมุ้ และบา้ นโคกสวา่ ง ทม่ี เี จดยี อ์ งคเ์ ลก็ ๆ ทช่ี าวบา้ นสรา้ งขน้ึ เพอ่ื บรรจอุ ฐั ทิ า่ น
เทา่ นน้ั เอง และเปน็ แหง่ เดยี วท่ีทา่ นจำ� พรรษานานทสี่ ุด

หลงั จากครบู าจารยเ์ ฒา่ เยบ็ จวี รเสรจ็ แลว้ ไดอ้ อกเดนิ ธดุ งคไ์ ปในทต่ี า่ งๆ บางครงั้
ตดิ ขดั เรอ่ื งปญั หาการภาวนา กอ็ าศยั ประสบการณท์ ผ่ี า่ นมาบา้ ง เมอ่ื มโี อกาสจงึ ไปกราบ
เรยี นหลวงปเู่ สาร์ หลวงปมู่ น่ั บา้ ง และไดอ้ อกวเิ วกไปในทตี่ า่ งๆ ตามปา่ ตามถำ�้ ทา่ นมกั
จะไปองคเ์ ดยี ว ไมช่ อบคลกุ คลกี บั หมคู่ ณะ จงึ เปน็ เหตใุ หพ้ ระสงฆอ์ งคเ์ ณรสว่ นใหญ่
ไมร่ จู้ กั ทา่ น เพราะนานๆ ทา่ นจงึ จะเขา้ กราบฟงั อบุ ายธรรมจากหลวงปเู่ สาร์ หลวงปมู่ นั่
ทหี นงึ่ และถงึ ไปกอ็ ยไู่ มน่ าน พอไดฟ้ งั อบุ ายธรรมกไ็ ปตอ่ บางครงั้ ไมพ่ กั คา้ งคนื โดย
สถานที่ชว่ งแรกของชีวติ นกั บวชทา่ นอยู่ที่นครพนม สกลนคร ลาว พมา่ มีบางครัง้ ท่ี
ครบู าจารยเ์ ฒา่ ได้มโี อกาสรว่ มกบั สหธรรมมกิ รว่ มครูบาจารยเ์ ดยี วกัน เชน่

หลวงปแู่ หวน สจุ ณิ โฺ ณ วดั ดอยแม่ปง๋ั อ.พรา้ ว จ.เชียงใหม่
หลวงปู่ตอ้ื อจลธมโฺ ม วดั อรัญญวิเวก อ.ศรสี งคราม จ.นครพนม
พระครูญาณโสภิต (หลวงปู่มี าณมุนี) วัดญาณโสภิตวนาราม อ.สูงเนิน
จ.นครราชสมี า

14

โดยเฉพาะทปี่ ระเทศพมา่ ทา่ นไดม้ โี อกาสเดนิ ธดุ งคร์ ว่ มกบั สหธรรมกิ ทา่ นหนงึ่
คือ พระครญู าณโสภิต (หลวงปู่มี าณมนุ )ี

ด้วยความคุ้นเคยและเปน็ ศิษย์รว่ มอปุ ัชฌายเ์ ดียวกนั ครบู าจารยเ์ ฒ่าทองรัตน์
กบั หลวงปตู่ อื้ จงึ ชอบพดู กนั อยบู่ อ่ ยๆ ปกตหิ ลวงปตู่ อื้ เวลาทา่ นออกธดุ งคต์ ามสถานที่
ตา่ งๆ ทา่ นมกั จะมอี ะไรตดิ ไมต้ ดิ มอื กลบั วดั เกอื บทกุ ครง้ั โดยเฉพาะพระพทุ ธรปู ปาง
ตา่ งๆ หลายองคท์ ป่ี ระดษิ ฐานอยทู่ วี่ ดั โพธชิ์ ยั อำ� เภอทา่ อเุ ทน จงั หวดั นครพนม หลวงปตู่ อื้
เปน็ ผนู้ ำ� มา ครบู าจารยเ์ ฒา่ ทองรตั นจ์ งึ พดู วา่ “ญาถา่ นตอ้ื นไี่ ปภาวนาหมอ่ งไดไ๋ ดแ้ ตพ่ ระ
กลบั มา” (ทา่ นอาจารยต์ อ้ื นไ่ี ปภาวนาทไี่ หนไดแ้ ตพ่ ระกลบั มา) แตถ่ งึ พดู อยา่ งไร สององค์
ท่านก็หาได้ถือโทษโกรธเคืองกันไม่ และครูบาจารย์เฒ่าได้เคยพูดกับลูกศิษย์ว่า
“ญาถา่ นตอื้ นต่ี อ่ ไป จะเปน็ ผมู้ ชี อ่ื เสยี งบารมหี ลายองคห์ นง่ึ ” และกเ็ ปน็ สมดงั ทที่ า่ นพดู ไว้
ดงั ที่พวกเราชาวพุทธศาสนิกชนทราบกันดี

๘. ชา้ งยงั เกรง

หลวงพอ่ อวน ปคโุ ณ วดั จนั ทยิ าวาส ต.นามะเขอื อ.ปลาปาก จ.นครพนม เลา่ วา่
มอี ยคู่ รงั้ หนงึ่ หลวงพอ่ อวนไดอ้ อกธดุ งคใ์ นเขตฝง่ั ลาว และไดท้ ราบขา่ ววา่ ครบู าจารย์
ทองรตั นท์ า่ นไดธ้ ดุ งคไ์ ปเยย่ี มญาตทิ ฝี่ ง่ั ลาว (แมใ่ หญจ่ นั ทมิ าเลา่ วา่ มญี าตทิ ว่ี า่ เปน็ พี่
คนที่ ๓ ของครบู าจารยเ์ ฒา่ คอื นายเทพ หลงั จากมเี รอื่ งกบั แมย่ าย เอากงหลาปน่ั ดา้ ย
ตีแมย่ ายแล้วหนีข้ามไปฝั่งลาว ไมก่ ลบั มาอกี เลยจนถึงทุกวนั น)ี้ ครบู าจารยท์ องรัตน์
ไดพ้ กั ทปี่ า่ ชา้ ดอนเจา้ ปู่ บา้ นนาขาม ซงึ่ ชาวบา้ นไดท้ ำ� เปน็ กฏุ ไิ วห้ ลงั หนงึ่ เพอื่ ไวส้ ำ� หรบั
พระเณรทธ่ี ดุ งคม์ าจะไดพ้ กั หลวงพอ่ อวนไดพ้ าสามเณรไปกราบทา่ นและขอพกั กบั ทา่ น
๕-๖ วนั

ในชว่ งนนั้ เปน็ ชว่ งพอดี นายฮอ้ ยควานชา้ งไดเ้ ดนิ ทางมาจากเขตคำ� มว่ นเพอื่ นำ� ชา้ ง
ไปขายทางเวียงจันทน์ พอเดินทางมาถึงดอนเจา้ ปู่ บา้ นนาขาม นัน้ ช้างทั้ง ๑๖ เชอื ก
ไม่เดินทางต่อไปเอาเฉยๆ ถึงจะไล่ตีอย่างไร ช้างก็เอางวงกอดต้นไม้ไว้อย่างน้ัน
จนนายฮอ้ ยชา้ งหมดปัญญา จงึ เข้าไปในหม่บู า้ นเพ่ือหาพอ่ เฒา่ จ้ำ� หมอผรี กั ษาป่าชา้

15

พ่อเฒ่าจ้�ำแนะน�ำให้ตั้งขันดอกไม้ธูปเทียนเพ่ือไปขอขมาขอทางผ่าน เพราะสงสัยว่า
จะเป็นการกระทำ� ของผดี อนเจา้ ป่นู ้ันแน่

พวกนายฮ้อยช้างได้กลับไปแต่งขันเพื่อขอขมาโทษต่อผีดอนเจ้าปู่ เมื่อขอขมา
ช้างก็ไม่ไป จนหมดหนทาง ทุกคนกอ็ ่อนใจ มีคนหนึ่งพูดด้วยความสงสัยว่า หรือใน
ดอนเจา้ ปนู่ จี้ ะมอี ะไรทำ� ใหช้ า้ งกลวั จงึ พากนั เขา้ ไปในดอนเจา้ ปู่ และไดไ้ ปเจอครบู าจารย์
เฒ่าปักกลดอยู่พอดี ต่างปรึกษากันว่า หรือจะเป็นพระธุดงค์องค์น้ีท่ีท�ำให้ช้างกลัว
นายฮ้อยจึงพากันเขา้ ไปกราบครูบาจารยเ์ ฒ่า ครูบาจารยเ์ ฒ่าไดถ้ ามก่อนว่า “ไปหยง๋ั
พวกหมูเ่ จ้ามาหยัง๋ ?”

“โอย้ ชา้ งของพวกขา้ นอ้ ยขผ่ี า่ นมาฮอดมอ่ งน่ี จก๊ั เปน็ หยงั๋ เอางวงกอดตน้ ไมไ้ ว้
เหมดิ ขโู่ ตเอาโลด สไิ ลส่ ติ จี งั่ ไดก๋ ะบไ่ ป” (โอย้ ชา้ งของพวกกระผมขผี่ า่ นมาถงึ ทน่ี ไี่ มร่ ู้
เปน็ อะไร เอางวงรัดตน้ ไมไ้ ว้หมดทุกตวั จะไลจ่ ะตีอย่างไรก็ไมไ่ ป) นายฮอ้ ยชา้ งพดู

“ฮ่วย บ่แม่นช้างพวกหมู่เจ้ามันหวิ หยา่ บ?่ ” (ไม่ใชช่ ้างพวกโยมหิวหญ้าล่ะม้ัง?)
ครบู าจารย์เฒา่ ถาม

“สิหิวจั่งได๋ พวกข้าน้อยเล้ียงมาสุดทางต้ังแต่เช้าเท่าบ่าย” (จะหิวอย่างไร
พวกกระผมเลยี้ งมาตลอดทางตง้ั แต่เช้าถึงบ่าย) นายฮอ้ ยช้างตอบ

ครบู าจารยท์ องรตั นไ์ ดพ้ ดู ทเี ลน่ ทจี รงิ จนพวกนายฮอ้ ยชา้ งตา่ งถอนใจ จะหาวธิ อี น่ื
ก็มองไมเ่ ห็นว่าจะมีวิธีใดจะแกไ้ ด้ ก็ยิง่ ปกั ใจเชอื่ วา่ เปน็ อทิ ธิปาฏิหารยิ ข์ องพระธุดงค์
รปู นแ้ี น่นอน พวกนายฮอ้ ยชา้ งได้ออ้ นวอนอยู่ตง้ั นาน

“โอย้ ซอ่ ยพวกขา้ นอ้ ยแนถ่ อ่ นญาคเู อย เจา้ ปกู่ ะแฮกแลว้ กะหยงั บอ่ อก” (หลวงพอ่
โปรดชว่ ยพวกกระผมดว้ ย ผปี ตู่ ากบ็ นบานศาลกลา่ วแลว้ กย็ งั ไมไ่ ป) นายฮอ้ ยชา้ งพดู

“บแ่ มน่ มันเหม่ือย มันใจฮา้ ยบ้อ” (ไมใ่ ช่มันเหน่ือย มนั โกรธหรอื ) ครบู าจารย์
ถาม

16

“บ่ มันบ่เหมอื่ ยบใ่ จฮา้ ยอิหยังดอก เลย่ี งกะเล่ยี งมาพอแฮง” (ไม่ใช่มนั โกรธ
มันเหนื่อยหรอก เลย้ี งกเ็ ลยี้ งมาแล้ว) นายฮอ้ ยชา้ งตอบ

“มันหย่าละหัน่ ออกไปเบ่งิ น”ู (นัน่ มันปล่อยแล้วนั่น ไปดูซิ) ครูบาจารยบ์ อก

เมอื่ พวกพ่อค้าชา้ งออกไปดู เห็นชา้ งกินใบไผเ่ ฉยอยู่ ต่างก็เช่อื แน่วา่ เปน็ อทิ ธิ-
ปาฏหิ ารยิ ข์ องครบู าจารยอ์ ยา่ งแนน่ อน จงึ พากนั มากราบขอขมาโทษทไี่ ดล้ ว่ งเกนิ และ
ไดพ้ ากันขช่ี ้างมุง่ หน้าไปเวยี งจนั ทนต์ ่อไป

๙. ดบั ไฟแคน้

พระครอู รญั ญกจิ โกศล (พทุ ธา พนธฺ จติ โฺ ต) วดั ปา่ หนองยาว อำ� เภอเดชอดุ ม จงั หวดั
อบุ ลราชธานี ไดฟ้ งั สบื ทอดมาจากหลวงพอ่ กวิ า่ “มอี ยคู่ รงั้ หนง่ึ ครบู าจารยเ์ ฒา่ ไปภาวนา
อยปู่ า่ แหง่ หนง่ึ ไมท่ ราบแนช่ ดั วา่ ทใี่ ด ดว้ ยอบุ ายทแี่ ยบยลของครบู าจารยเ์ ฒา่ จงึ กลบั ใจ
คนได”้

คอื มพี อ่ คา้ ขายสงิ่ ของตา่ งๆ เดนิ ทางไปขายของกบั คณะ เดอื นสองเดอื นจงึ จะกลบั
ครง้ั หนงึ่ ไดป้ ลอ่ ยใหเ้ มยี เฝา้ บา้ นพรอ้ มญาตพิ นี่ อ้ ง สามนี นั้ เมอื่ ขายของไดห้ มดแลว้
จึงจะได้เดินทางกลับเพ่ือน�ำเงินทองที่ได้มาฝากเมียฝากลูก ผู้เฝ้าบ้านคอยรักษา
ทรพั ยส์ นิ ทส่ี ามหี ามาไดเ้ พอื่ บำ� รงุ และบรหิ ารการบา้ นใหไ้ ปไดด้ ว้ ยดี คอยสามผี กู้ ลบั มา
จากแดนไกล แต่ในระหว่างการไปครง้ั นี้ ผเู้ ป็นสามไี มเ่ อะใจเลยว่าจะเกิดลางรา้ ยขนึ้
กบั ตวั เอง เมอื่ กลบั ถงึ บา้ น แทนทจ่ี ะไดร้ บั การตอ้ นรบั จากแมศ่ รภี รรยาเหมอื นทกุ ครงั้
แต่สงิ่ ทีไ่ ดร้ ับการตอ้ นรบั ครง้ั นค้ี ือความแคน้ เม่อื ทราบขา่ วว่าเมยี รักไดข้ นทรัพย์สิน
ทห่ี ามาไดต้ ามชายชู้ไป ดว้ ยความแคน้ ที่ถูกเหยยี ดหยาม จึงได้รวมพรรคพวกพร้อม
อาวธุ ครบมอื เพอ่ื ชำ� ระหนแ้ี คน้ ไดร้ อนแรมไปตามหมบู่ า้ นและสถานทต่ี า่ งๆ ทค่ี ดิ วา่ เมยี
และชายชจู้ ะไป

วนั หนงึ่ ตอนบา่ ยแกๆ่ เผอญิ วนั นนั้ ครบู าจารยเ์ ฒา่ ไดป้ กั กลด และเดนิ จงกรมอยู่
ชายปา่ ทพี่ อ่ คา้ จะผา่ น กลมุ่ ชายพอ่ คา้ ตามหาเมยี และชายชไู้ มพ่ บ เมอ่ื เหน็ ครบู าจารยเ์ ฒา่

17

จงึ คดิ วา่ พระธดุ งคร์ ปู นท้ี า่ นเดนิ ธดุ งคต์ ามทตี่ า่ งๆ ทา่ นคงจะเหน็ คนเดนิ ผา่ นไปเปน็ แน่
ด้วยที่มีจิตยงั มคี วามเลือ่ มใสในพระเจ้าพระสงฆ์อยู่ จึงซ่อนอาวุธไวก้ ่อน แลว้ ปรบั
เครอ่ื งแตง่ ตวั ใหม่ จากเสอื รา้ ยกลายเปน็ ผใู้ ฝธ่ รรม โดยนำ� ผา้ ขาวมา้ พาดบา่ พรอ้ มกบั
ไปกราบครบู าจารยเ์ ฒา่ ในขณะทท่ี า่ นกำ� ลงั เดนิ จงกรมอยู่ ยงั ไมท่ นั ทช่ี ายเหลา่ นน้ั ไดถ้ าม
ครบู าจารย์เฒา่ ท่านก็ทักวา่

“ลกู เอย๋ ตามทีพ่ วกลูกจะไปเฮ็ดจั่งซ่ัน มันเปน็ บาปเปน็ กรรมไดล๋ ูกเอย๋ ”

ชายเหล่าน้นั ถึงกบั อง้ึ หนา้ เปลี่ยนสไี ปทนั ที เมือ่ ไดย้ ินค�ำพดู ครบู าจารย์เฒ่าพดู
ดกั ใจอยา่ งนนั้ และครบู าจารยเ์ ฒา่ ไดโ้ อกาส จงึ ไดพ้ ดู ตอ่ ไปวา่ “ปนื ผาหนา้ ไมท้ พ่ี วกลกู
เสอื่ งไว้ ใหว้ างมนั สา อยา่ ไดจ้ บั มนั อกี เลย พอ่ ฮเู้ บด๊ิ ทพ่ี วกลกู มานเ่ี พอ่ื กจิ อนั ใด ในใจของ
พวกลกู กำ� ลงั โหมดว้ ยไฟฮอ้ น การแกแ้ คน้ นนั้ มนั บไ่ ดเ้ ปน็ การแกแ้ คน้ ไดล๋ กู แตม่ นั กลบั
เปน็ การเพม่ิ พนู บาปกรรมใหห้ ลายขน้ึ ซื่อๆ เมียของลกู ทห่ี นีตามชูไ้ ปน้ัน ในอดตี ชาติ
ท่แี ท้จริงเปน็ คเู่ วรคกู่ รรมกนั กบั ลูก คันถา่ ลูกตามเขามาได้ ก็จะได้นางผีฮา้ ยกลบั มา
เขาเฮด็ กบั ลกู ทอ่ น้ี ลกู กย็ งั เจบ็ จนทนบไ่ ด้ แลว้ สนิ ำ� เขากลบั มาเฮด็ หยงั ปลอ่ ยเขาไปสา
ลกู เอย๋ พอ่ วา่ ” ในขณะทค่ี รบู าจารยเ์ ฒา่ ไดพ้ ดู เตอื นสตอิ ยนู่ นั้ ฝา่ ยพอ่ คา้ ไดน้ ง่ั กม้ หนา้
พิจารณาตามคำ� พูดครูบาจารย์เฒ่า

เมอื่ ครบู าจารยเ์ ฒา่ พดู จบ ชายพอ่ คา้ นนั้ ถงึ กบั ไดก้ ม้ กราบแทบเทา้ ครบู าจารยเ์ ฒา่
รอ้ งไหอ้ อกมาดว้ ยความตนื้ ตนั ใจทเี่ กอื บไดส้ รา้ งกรรมหนกั และเสยี ใจทเ่ี มยี บงั อาจทำ�
ได้ขนาดน้ี

เมื่อสงบสติอารมณไ์ ด้ จงึ เอย่ ปากขอบวชติดตามครูบาจารยเ์ ฒ่าในเวลาตอ่ มา
สว่ นเพอ่ื นทต่ี ดิ ตามไปดว้ ย ไดล้ ำ่� ลาสงั่ เสยี กนั กลบั บา้ นบอกขา่ วแกท่ างบา้ น สว่ นลกู ศษิ ย์
ท่ีกลบั ใจ ได้ขอครูบาจารยเ์ ฒ่าบวช ทา่ นได้ไปฝากกบั พระอกี ส�ำนกั หนึง่ แล้วท่านได้
ธดุ งคต์ อ่ ไปตามจรติ เดมิ ทท่ี า่ นเคยทำ� มา คอื ไมช่ อบใหค้ นอนื่ ตดิ ตามไปดว้ ย เพราะกลวั
คนอนื่ จะล�ำบาก และไม่ชอบติดตามใครไปถ้าไม่จำ� เปน็

18

๑๐. อปุ สรรคของการภาวนา

ครูบาจารย์เฒ่าได้เล่าประสบการณ์การภาวนาของท่านให้ลูกศิษย์ฟังเพ่ือเป็น
อบุ ายสอนใจในการปฏิบัตติ อ่ ไป เพราะทา่ นได้ผ่านอปุ สรรคแบบนีม้ าก่อนแล้ว เช่น
ครั้งหน่ึงในขณะที่ท่านออกธุดงค์อยู่ท่ีภูเขาลูกหนึ่ง ท่านได้ปักกลดและเดินจงกรม
ทัง้ วันทั้งคนื ได้เกดิ นมิ ติ เหน็ ยักษ์ตนหนงึ่ รปู ร่างใหญโ่ ตน่ากลัวมาก ตวั เทา่ ภเู ขาได้
กระโดดมาขวางทางเดนิ จงกรมทา่ น ครูบาจารย์เฒา่ ซงึ่ มีสตพิ ร้อมอยู่ จึงไดร้ ะลึกถงึ
คำ� ตรัสของพระสัมมาสมั พุทธเจ้าว่า

“ส่ิงใดเกดิ ขึ้น สิง่ นัน้ ย่อมดับ ถ้าไม่ดบั ถอื ว่าสิ่งน้ันเปน็ สง่ิ ลวง”

ด้วยปญั ญาอนั แยบคายของครูบาจารยเ์ ฒ่า จึงได้ตะโกนคนเดยี วอยใู่ นปา่ ว่า

“ผบี า้ หนา้ หมา มงึ ตว๋ั กู ยกั ษผ์ บี า้ หนา้ หมา มงึ ตว๋ั ก”ู พดู อยอู่ ยา่ งนน้ั จนนมิ ติ ได้
เลอื นหายไป

และอกี คร้ังหนึ่ง ครูบาจารย์เฒ่าท่านธุดงคพ์ ักปักกลดที่ภเู ขาทม่ี ีตน้ ไผ่ปกคลุม
ทง้ั ลกู ไมท่ ราบแนช่ ดั วา่ ทใ่ี ด ขณะทเี่ ดนิ จงกรมอยนู่ นั้ ไดม้ ใี บไผป่ ลวิ รว่ งลงมามากมาย
หมุนรอบเหนอื ทางเดินจงกรม และใบไผ่นนั้ ก็กลายเปน็ ปลาหลดหนา้ นอ้ ยลอยหมนุ
อยอู่ ยา่ งนนั้ อากาศกก็ ลายเปน็ นำ้� ดว้ ยประสบการณท์ ไี่ ดเ้ กดิ ขนึ้ หลายครงั้ จงึ เปรยี บ
เสมอื นอาวธุ ในการฟนั ฝา่ อปุ สรรคนอ้ ยใหญใ่ หท้ า่ นไดอ้ ยา่ งดี ทา่ นไดร้ อ้ งตะโกนขน้ึ อยู่
คนเดียวว่า

“ใบไผผ่ บี า้ หนา้ หมา โคตรพอ่ โคตรแม่ มงึ ตวั๋ กู ใบไผก่ ะเปน็ ใบไผ่ อากาศกะเปน็
อากาศ มงึ อย่ามาตัว๋ กู ส่ิงได๋เกิด สิ่งนัน้ กด็ ับ”

บรกิ รรมอยอู่ ยา่ งนน้ั จนนมิ ติ นนั้ เลอื นหายไป ใบไผป่ ลวิ เปน็ ใบไผต่ ามธรรมชาติ
ไมเ่ หน็ ว่าจะหมนุ เป็นปลาอะไร อากาศก็เป็นอากาศเช่นเดมิ

19

๑๑. ตอ่ สกู้ ามราคะ

การผา่ นพน้ อปุ สรรคแตล่ ะครง้ั ตอ้ งใชค้ วามอดทนอดกลน้ั เปน็ อยา่ งมากในการ
ประหตั ประหารกบั อปุ สรรคนน้ั ๆ บางครงั้ ตอ้ งเอาชวี ติ เขา้ แลก และนก่ี เ็ ปน็ อปุ สรรคอกี
อย่างหนึ่งของครบู าจารย์เฒ่า ทา่ นเล่าให้ลูกศิษย์ฟงั วา่

ครงั้ หนง่ึ ขณะเดนิ จงกรมอยู่ จติ เกดิ ฟงุ้ ซา่ น กามราคะเขา้ ครอบงำ� ดว้ ยความทก่ี าร
ตอ่ สอู้ ปุ สรรคแตล่ ะอยา่ งอยา่ งหา้ วหาญและเดด็ ขาด เปน็ คณุ สมบตั ปิ ระจำ� ตวั องคท์ า่ น
ท่านคว้าขวานเก่าข้ึนสนิมเกรอะได้ เดินตรงร่ีด้วยความฉุนเฉียวคล้ายจะไปฆ่าใคร
สักคน พอไปถึงขอนไมผ้ ุ ได้ใชข้ วานนั้นสับๆ ไปเตม็ กำ� ลัง พร้อมทัง้ รอ้ งทงั้ ด่าไป
เหมอื นกบั ระบายความโกรธวา่ “โคตรพอ่ โคตรแมม่ งึ มงึ สไิ ปสรา้ งโลกโลกาทางได๋
มงึ ฮจู้ กั อยบู่ อ้ มนั ทกุ ข์ โคตรพอ่ โคตรแมม่ งึ ” ทง้ั สบั ทงั้ รอ้ งตะโกน ทำ� อยอู่ ยา่ งนนั้ จนตวั
ทา่ นเองหมดแรง ขอนไมก้ ็ไม่ขาด เพราะขวานก็ขน้ึ สนมิ แรงกห็ มด ความกำ� หนดั จึง
จางหายไป

๑๒. ครูบาจารย์เฒ่าหยา่ ศึก

ครบู าจารยเ์ ฒา่ มกั จะสอนลกู ศษิ ยเ์ สมอวา่ การพดู คยุ ถา้ มากเกนิ ไป จะไมเ่ ออ้ื ใน
การปฏบิ ตั ิ ยง่ิ การพดู โดยหยบิ เอาธรรมะมาพดู คยุ กนั ยงิ่ จะเกดิ อนั ตรายถา้ ผพู้ ดู คยุ นนั้
ไมม่ คี วามลกึ ซง้ึ ในขอ้ ธรรมนนั้ พอ ดงั คำ� โบราณทา่ นวา่ “สบิ สขิ า่ ซาวสขิ า่ ใหเ้ อาไมข้ ยงุ
เอาไมย้ างตี อยา่ ไดเ้ อาคมั ภรี ต์ ตี า่ งแทนคอ้ น” (สบิ , ยสี่ บิ จะตจี ะฆา่ กนั ใหเ้ อาไมพ้ ะยงู
ไม้ยางตี อย่าไดเ้ อาต�ำราตแี ทนคอ้ น คืออยา่ อ้างตำ� รามาพดู เพ่ือแขง่ ดแี ข่งชนะกัน)

ในช่วงหน่ึงที่ท่านได้มีโอกาสเข้ากราบหลวงปู่มั่น บังเอิญว่าในช่วงนั้นมีพระ
ได้น่ังจับกลุ่มคุยกันตามประสาพระยังใหม่ในพระธรรมวินัย เมื่อพูดไปถึงเร่ือง
พระธรรมวินัยเข้า ต่างฝ่ายต่างไม่ยอมกัน เริ่มเสียงดังมากข้ึนเรื่อยๆ และได้มี
พระรูปหน่ึงได้ไปหยิบหนังสือนวโกวาทมาให้ดูเป็นหลักฐาน เพ่ือท่ีตัวเองจะได้เป็น
ฝ่ายชนะเพราะมีหลักฐานประกอบ แม้กระนั้นเรื่องก็ยังไม่ยุติ มีท่าทีจะบานปลาย

20

จากการพูดเป็นการคยุ จากการคุยเปน็ การโตแ้ ยง้ จากการโตแ้ ยง้ กลายเปน็ โตเ้ ถียง
เรอื่ งทำ� ทา่ จะวางมวยกนั พอดคี รบู าจารยเ์ ฒา่ ไมร่ มู้ าจากไหน เดนิ ตรงรเ่ี ขา้ มาพรอ้ มกบั
คว้าหนังสือท�ำท่าเหมือนเช็ดตูดแล้วโยนทิ้งต่อหน้าพระทั้งสอง และพร้อมกับพูดว่า
“ฮขู้ ก้ี หู น”่ี (ตดู ขา้ น)่ี แลว้ พดู เปน็ นยั ปลอบวา่ “อยา่ เฮด็ คอื ครบู าจารยไ์ ดม๋ นั บาป” (อยา่ ทำ�
เหมอื นกับอาจารย์นะ มันบาป) ทำ� ใหพ้ ระทัง้ สองน้นั เปลีย่ นจากจะวางมวย มายนื ดู
ครูบาจารยเ์ ฒ่าท่านเอาหนังสือเช็ดตูด ผลสุดท้ายพระทง้ั สองจึงได้สงบศึกลง

๑๓. หอมผู้บ่าว

หลวงปกู่ นิ รี จนทฺ โิ ย วดั กณั ตะศลิ าวาส ต.ฝง่ั แดง อ.ธาตพุ นม จ.นครพนม เลา่ วา่
คราวใดที่ครูบาจารย์เฒ่าทองรัตน์ไปกราบฟังธรรมหลวงปู่มั่นท่ามกลางหมู่สงฆ์
หลวงปู่มั่นชอบเอ่ยชื่อและยกตัวอย่างท่านให้พระเณรฟังบ่อย และมีบางครั้งท่าน
ต้องได้รับค�ำสั่งให้ตรวจดูพฤติกรรมของพระเณรที่อยู่นอกลู่นอกทางพระธรรมวินัย
จึงเป็นเหตุให้เป็นท่ีจงเกลียดจงชังแก่พระเณรไม่น้อย บ่อยครั้งในท่ามกลางสงฆ์ที่
หลวงปมู่ ่ันได้มอบหมายงานตา่ งๆ ให้ครบู าจารยเ์ ฒ่า เพราะครบู าจารย์เฒา่ เองเป็น
คนทีไ่ มเ่ กรงกลวั ใคร ไม่วา่ จะรา้ ยประการใด ตรงไปตรงมาตามพระธรรมวนิ ยั อยา่ ง
สม่ำ� เสมอ

ครง้ั หนงึ่ หลวงปมู่ นั่ เหลยี วมองมาทางครบู าจารยท์ องรตั น์ พรอ้ มกบั เรยี กชอ่ื ทา่ น
วา่ “ทองรตั น”์ , “โดยขะนอ้ ย” (ขอรบั กระผม) ครบู าจารยป์ ระนมมอื รบั “เดยี๋ วนพี้ ระ
เณรเฮาบค่ อื เกา่ แลว้ ละ เครอ่ื งใชไ้ มส้ อย สบู่ ผงซกั ฟอก อหี ยงั๋ มนั หอม เกนิ วสิ ยั สมณะ
ทจ่ี ะใช้ บฮ่ ู้จะแก้แนวได๋แลว้ ” (เดย๋ี วนพี้ ระเณรเราไม่เหมือนเดิม เคร่อื งใช้ตา่ งๆ เช่น
สบู่ ผงซกั ฟอก มันหอม ผดิ วิสัยทส่ี มณะจะใช้ ไม่รจู้ ะแก้ยงั ไงแล้ว)

ต่อมาวนั หนึง่ ครบู าจารยท์ องรตั นน์ งั่ อยภู่ ายในวดั มีกลมุ่ พระภกิ ษุ ๒-๓ รูป
เดินผ่านท่าน กลิ่นสบู่หอมจนติดจมูกเหมือนกับที่หลวงปู่ม่ันพูดจริงๆ ครูบาจารย์
ทองรตั น์รอ้ งตะโกนด้วยเสียงอนั ดงั ว่า “โอ้ย หอมผู้บา่ วโวย้ ๆๆ” (โอ้ย หอมหน่มุ จงั
โวย้ ๆๆ) ท�ำใหพ้ ระกล่มุ นั้นแหยงกลัวท่านมาก ไมก่ ล้าส้หู นา้ อกี เลย

21

พระครกู มลภาวนากร วดั ภหู ลน่ อ.โขงเจยี ม จ.อบุ ลราชธานี ไดฟ้ งั สบื ทอดจาก
หลวงพ่อกิ เลา่ ว่า ในเรอ่ื งใชส้ บู่ ผงซกั ฟอก ครูบาจารย์ทองรัตน์ท่านเข้มงวดมาก
โดยเฉพาะสบู่ สว่ นมากทา่ นจะไมใ่ ช้ ถา้ ใช้ ทา่ นจะใหต้ ดั แบง่ ครง่ึ กอ่ น สบนู่ น้ั ตอ้ งไมม่ ี
กลิ่นหอม เพราะทา่ นถือว่าสบ่ทู ยี่ งั เปน็ กอ้ นสมบูรณท์ �ำใหจ้ ิตใจฟูดว้ ยกิเลสพอใจขึน้
มาได้

๑๔. ผงเขา้ ตา

ตามพระธรรมวนิ ยั กำ� หนดไวว้ า่ สง่ิ ทอ่ี นโุ ลมไมต่ อ้ งประเคน คอื นำ้� สะอาดบรสิ ทุ ธิ์
ไมเ้ จยี (แปรงสฟี นั ทำ� ดว้ ยไมข้ อ่ ย, ไมค้ นทา, ไมด้ คี น หรอื ไมอ้ น่ื ๆ สว่ นมากมรี สขม)
ท่ีมีขนาดยาวไมต่ ่ำ� กว่า ๕ น้ิว และไม้ยาวไม่เกนิ ๘ นิ้ว

ครงั้ หนงึ่ หลวงปู่ทองดซี งึ่ เป็นสหธรรมกิ ของครูบาจารย์ทองรัตน์ ซ่ึงปกติทา่ น
จะกระทำ� การตา่ งๆ ดว้ ยความรอบคอบเสมอ แตว่ นั นไ้ี มท่ ราบดว้ ยเหตใุ ดจงึ ไดพ้ ลาด
คือเม่ือฉันภัตตาหารเสร็จ พระเณรได้อุปัฏฐากตามสมณกิจ โดยถวายน้�ำบ้วนปาก
และไมเ้ จีย บังเอญิ ว่าไมเ้ จยี สั้นไป ขณะแปรงฟันอยู่น้นั ไม้เจยี หลุดมอื รว่ งลงไปติด
ทล่ี ำ� คอ ทำ� อยา่ งไรกไ็ มอ่ อกตอ้ งทรมานอยนู่ านกไ็ มอ่ อก จนครบู าจารยท์ องรตั นไ์ ดม้ า
เจอเขา้ เหน็ อาการกท็ ราบวา่ มอี ะไรตดิ คอหลวงปทู่ องดี ครบู าจารยท์ องรตั นเ์ ลยใหส้ ติ
ไปวา่ “โอย้ ! ญาถา่ นดี เหลอื แตป่ ฏบิ ตั มิ าไดต้ ง้ั หลวงตงั้ หลาย ละลายเหลก็ ละลายขางได้
เปน็ หยงั บเ่ อามาใซ”่ หลวงปทู่ องดจี งึ ไดส้ ติ ไดน้ ง่ั กำ� หนดสตชิ วั่ ขณะ ไมเ้ จยี นนั้ กห็ ลดุ ไป
โดยไมน่ ่าเชอ่ื

๑๕. มรรคผลไม ่ ไดอ้ ยทู่ ่ีนิกาย

จากหนงั สอื สจุ ณิ โณนสุ รณ์ ของหลวงปแู่ หวน สจุ ณิ โฺ ณ วดั ดอยแมป่ ง๋ั จ.เชยี งใหม่
เลา่ เรอ่ื งญตั ตกิ รรมวา่ เดมิ หลวงปแู่ หวนออกปฏบิ ตั ใิ หมๆ่ เกดิ ความสงสยั ไมส่ บายใจ
ในเรอื่ งนกิ ายทง้ั สอง ซง่ึ ในชว่ งทห่ี ลวงปแู่ หวนไปอบรมปฏบิ ตั ธิ รรมกบั หลวงปมู่ นั่ นนั้ มี

22

พระสงฆม์ หานกิ ายหลายรปู ดว้ ยกนั ทยี่ งั ไมญ่ ตั ติ เมอ่ื เกดิ อาการเคลอื บแคลงสงสยั อยู่
พลอยเป็นเหตใุ ห้การปฏบิ ตั ติ ดิ ขัดไปด้วย

วนั หนง่ึ จงึ เขา้ ไปกราบขอญตั ตกิ บั หลวงปมู่ นั่ หลายรปู ดว้ ยกนั ผลปรากฏวา่ บางรปู
ทา่ นไมอ่ นญุ าต บางรปู ทา่ นอนญุ าต สว่ นหลวงปแู่ หวนทา่ นไดอ้ นญุ าต เฉพาะรปู ทท่ี า่ น
ไมอ่ นญุ าต ท่านให้เหตผุ ลวา่

“ถา้ พากนั มาญตั ตเิ ปน็ พระธรรมยตุ กิ นกิ ายหมดเสยี แลว้ ฝา่ ยมหานกิ ายจะไมม่ ี
ใครแนะนำ� การปฏบิ ตั ิ ผลมรรคไมไ่ ดข้ นึ้ อยกู่ บั นกิ ายหรอก แตม่ รรคผลขน้ึ อยกู่ บั การ
ปฏบิ ัติดี ปฏบิ ัตชิ อบ ตามพระธรรมวินัยทพ่ี ระพทุ ธเจ้าไดท้ รงแนะน�ำสัง่ สอนไว้แลว้
ละในสง่ิ ทค่ี วรละ เวน้ ในสง่ิ ทค่ี วรเวน้ เจรญิ ในสงิ่ ทคี่ วรเจรญิ นน่ั แหละทางดำ� เนนิ ไป
สูม่ รรคผลนพิ พาน” บรรดาศิษยฝ์ ่ายมหานิกายท่ที ่านไดอ้ นุญาตให้ญตั ติ ตอนนัน้ มี
หลายรปู และทที่ า่ นไมอ่ นุญาต มที ่านพระอาจารย์ทองรัตน์ เปน็ ตน้

๑๖. นิกายเดยี วกนั

หลวงพอ่ กิ ธมมฺ ตุ ตฺ โม เลา่ วา่ เรอ่ื งเกยี่ วกบั นกิ ายทง้ั สอง ครงั้ หนงึ่ ครบู าจารยเ์ ฒา่
ท่านไปกราบหลวงปู่มั่น ได้มีพระเณรน่ังพูดสนทนาวิพากษ์วิจารณ์กันถึงเรื่องนิกาย
ทงั้ สอง และไดพ้ ดู ดถู กู พระนกิ ายอนื่ วา่ ไมเ่ หมอื นกบั พวกตนเอง และไดพ้ ดู ลามปามไป
ถงึ ครบู าจารยท์ องรตั นว์ า่ พระหลวงตารปู นเ้ี ปน็ พระมหานกิ าย ไมไ่ ดญ้ ตั ตเิ ปน็ ธรรมยตุ กิ -
นกิ ายเหมอื นกบั พวกพระเณรเขา พอดคี รบู าจารยท์ า่ นไดย้ นิ ทา่ นไดเ้ ดนิ เขา้ ไปหาแลว้
หนั หลังถกสบงขน้ึ จนเหน็ กน้ พรอ้ มกบั กล่าวว่า

“มายดั เขา้ ฮขู้ ก้ี นู ”ี่ (มายดั เขา้ รตู ดู ขา้ น)่ี ทำ� ใหพ้ ระเณรกลมุ่ นนั้ แตกกลมุ่ ไปคนละ
ทศิ ละทาง เพราะเจอของจรงิ เขา้ อยา่ งจัง

เรอื่ งระหวา่ งธรรมยตุ กบั มหานกิ าย เปน็ เรอ่ื งทยี่ กขนึ้ มาพดู หลงั พทุ ธปรนิ พิ พาน
นานแลว้ ทำ� ใหผ้ คู้ นไมเ่ ขา้ ใจในเรอ่ื งนดี้ พี อตอ้ งไขวเ้ ขวไปดว้ ย จนเกดิ เรอ่ื งราวกนั มา
นบั ไม่ถ้วน ในสมัยครูบาจารย์เฒ่าทองรตั นก์ ม็ ีเรื่องวพิ ากษ์วจิ ารณไ์ มน่ อ้ ย

23

เมอื่ คราวทค่ี รบู าจารยเ์ ฒา่ ทองรตั นไ์ ดศ้ ึกษาข้อวัตรกบั หลวงปเู่ สาร์ หลวงปู่มั่น
เปน็ เวลาพอสมควร จนครบู าจารยเ์ ฒา่ ทา่ นไดล้ มิ้ รสอมฤตธรรมแลว้ จงึ เกดิ เรอ่ื งนขี้ นึ้
เพราะตอนแรกท่านได้ไปกราบขออุบายธรรมจากหลวงปู่ใหญ่ทั้งสองเป็นเวลาส้ันๆ
ไมถ่ งึ กับท�ำสังฆกรรมรว่ มกัน

แตม่ อี ยวู่ นั หนง่ึ ทา่ นไดไ้ ปกราบหลวงปมู่ นั่ ใกลว้ นั อโุ บสถ พระเณรในวดั เกดิ การ
วพิ ากษว์ จิ ารณก์ นั มากเกย่ี วกบั เรอ่ื งน้ี บางรปู กว็ า่ ครบู าจารยเ์ ฒา่ ทองรตั นไ์ มไ่ ดญ้ ตั ติ
ไมน่ า่ ใหร้ ว่ มสงั ฆกรรมดว้ ย บางรปู กว็ า่ ในเมอ่ื มขี อ้ วตั รปฏบิ ตั เิ หมอื นกนั แถมยงั เปน็
ลกู ศษิ ยพ์ อ่ แมค่ รบู าจารยเ์ ดยี วกนั ควรทจ่ี ะใหร้ ว่ มสงั ฆกรรมดว้ ย กอ่ นถงึ วนั อโุ บสถ
หลวงปมู่ น่ั ไมร่ ไู้ ปไดย้ นิ มาจากใครวา่ พระเณรกำ� ลงั กงั วลในเรอ่ื งนมี้ าก กลวั วา่ เมอ่ื รว่ ม
สังฆกรรมแล้ว จะไมเ่ กดิ ผลดีต่อคณะสงฆศ์ ษิ ยท์ ัง้ สองฝา่ ย เพราะเหตุเคลอื บแคลง
สงสยั ในสงั ฆกรรมนน้ั หลวงปมู่ น่ั ไดห้ าอบุ ายเพอื่ ใหพ้ ระเณรลว่ งสงสยั หลวงปมู่ น่ั จงึ
ถามครบู าจารยเ์ ฒา่ ในทา่ มกลางสงฆท์ รี่ วมกจิ วตั รประจำ� วนั ดว้ ยกนั วา่ “ทา่ นทองรตั น์
สงสัยในสังฆกรรมอยูบ่ ้อ”

ครบู าจารยเ์ ฒา่ กราบเรยี นพรอ้ มกบั พนมมอื “โดยขา้ นอ้ ย ขา้ นอ้ ยบส่ งสยั หรอก
ข้านอ้ ย” (ครบั กระผม กระผมไม่สงสัยหรอกขอรับ)

หลวงปมู่ น่ั พดู “เออ บส่ งสยั กะดแี ลว้ ใหม้ าลงอโุ ปนำ� กนั เดอ้ ” (เออ ไมส่ งสยั กด็ ี
ใหม้ าลงอโุ บสถรว่ มกนั นะ) ดว้ ยครบู าจารยเ์ ฒา่ กไ็ มอ่ ยากใหค้ รบู าจารยต์ อ้ งลำ� บากใจ
จงึ พดู ไปวา่ “โดยขา้ นอ้ ยบเ่ ปน็ หยงั ดอก ขา้ นอ้ ย ขา้ นอ้ ยขอโอกาสไปลงทางหนา้ พนู้ ดอก
ขา้ นอ้ ย” ครบู าจารย์ตอบพรอ้ มกับพนมมอื รบั

และต่อๆ มา เม่อื มพี ระมหานกิ ายทไ่ี ปกราบขอศกึ ษาประพฤตปิ ฏิบตั ธิ รรมกบั
หลวงปเู่ สาร์ หลวงปมู่ น่ั ทยี่ งั ไมญ่ ตั ติ หรอื ไมป่ ระสงคจ์ ะญตั ติ ทา่ นกบ็ อกใหไ้ ปศกึ ษา
กับครูบาจารย์ทองรัตน์ตลอด และได้มีพระสงฆ์ที่ไปขอศึกษาประพฤติปฏิบัติกับ
หลวงปูเ่ สาร์ หลวงปูม่ ัน่ ทไี่ มไ่ ดญ้ ตั ติ บางรปู ถงึ แม้จะไปขอญัตติ ทา่ นกไ็ มญ่ ัตตใิ ห้
โดยทา่ นใหเ้ หตผุ ลวา่ “ถา้ พากนั มาญตั ตหิ มด จะทำ� ใหพ้ ระสงฆเ์ กดิ การแตกแยกเปน็ กก๊

24

เปน็ เหลา่ มากกวา่ ทเี่ ปน็ อย”ู่ ซง่ึ หลวงปเู่ สาร์ หลวงปมู่ นั่ ทา่ นพยายามเปน็ อยา่ งยงิ่ ทจี่ ะ
คนื นิกายท้ังสองนน้ั ให้เปน็ อันเดียวกัน

ครบู าจารยท์ ไ่ี มญ่ ตั ตเิ ปน็ ธรรมยตุ กิ นกิ ายทเ่ี ปน็ สหธรรมกิ และเปน็ ลกู ศษิ ยค์ รบู าจารย์
เฒา่ ทองรตั น์ กนตฺ สโี ล แมท่ พั ธรรมนายกองใหญฝ่ า่ ยมหานกิ าย สายบรู พาจารยเ์ สาร์
กนตฺ สีโล หลวงปูม่ ่นั ภูรทิ ตฺโต อาทิ

๑. หลวงพอ่ ทา วดั ถำ้� ซบั มืด อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า
๒. พระครูญาณโสภติ (หลวงปมู่ ี าณมนุ ี) วดั ปา่ สูงเนนิ จ.นครราชสีมา
๓. หลวงปู่สเี ทา บา้ นแวง จ.ยโสธร
๔. หลวงปู่พรม บ้านโคกก่อง จ.ยโสธร
๕. หลวงพอ่ บญุ มาก €ติ ปญโฺ  วดั ภมู ะโรง (วดั สาลวนั ) จำ� ปาศกั ด์ิ ประเทศลาว
๖. หลวงปู่กินรี จนทฺ โิ ย วดั กณั ตะศิลาวาส อ.ธาตพุ นม จ.นครพนม
๗. พระครภู าวนานศุ าสตร์ (หลวงพอ่ สาย จารวุ ณโฺ ณ) วดั หนองยาว อ.เดชอดุ ม
จ.อบุ ลราชธานี
๘. พระโพธิญาณเถร (หลวงพ่อชา สุภทฺโท) วดั หนองปา่ พง อ.วารนิ ชำ� ราบ
จ.อุบลราชธานี
๙. หลวงพอ่ กิ ธมมฺ ตุ ตฺ โม วดั สนามชยั อ.พบิ ลู มงั สาหาร จ.อบุ ลราชธานี (ภายหลงั
จงึ ญตั ต)ิ
๑๐. หลวงพอ่ พรม วัดน�ำ้ เขยี ว อ.สุวรรณภมู ิ จ.ร้อยเอด็
๑๑. หลวงพอ่ ปุ่น ฉนทฺโก วดั ป่าฉนั ทาราม บ้านคำ� แดง จ.ยโสธร
๑๒. หลวงพอ่ พร สจจฺ วโร วัดบา้ นแก่งยาง อ.บณุ ฑรกิ จ.อบุ ลราชธานี
๑๓. หลวงพอ่ กองแกว้ ธนปญโฺ  วดั ปา่ เทพบรุ มย์ บา้ นแกง่ ยาง อ.พบิ ลู มงั สาหาร
จ.อุบลราชธานี
๑๔. หลวงพอ่ อวน ปคโุ ณ วดั จนั ทยิ าวาส บา้ นนามะเขอื อ.ปลาปาก จ.นครพนม
เปน็ ต้น

25

๑๗. อบุ ายเพ่ือใหไ้ ด้ฟังเทศน์

หลวงพอ่ อวนเลา่ วา่ ครบู าจารยท์ องรตั นห์ ามแี ตไ่ ดร้ บั หนา้ ทใ่ี หค้ วบคมุ ดแู ลพระ
เณรทป่ี ฏบิ ตั ริ ว่ มกนั ในสำ� นกั หลวงปเู่ สาร์ หลวงปมู่ นั่ ในชว่ งทไ่ี ดม้ โี อกาสอยรู่ ว่ มปฏบิ ตั ิ
กับพอ่ แม่ครูบาจารยท์ งั้ สองอย่างเดียวกห็ าไม่ แต่การทำ� ทุกอยา่ งกเ็ พื่อควบคุม หรือ
เตือนสติพระเณรผู้ก�ำลังพล้ังเผลอต่อพระธรรมวินัย ซึ่งผลที่จะตามมาคือความ
เศรา้ หมองของพระเณรเอง มอี ยบู่ อ่ ยครงั้ ทพี่ ระเณรทเี่ ขา้ ศกึ ษาปฏบิ ตั ธิ รรมกบั พอ่ แม่
ครูบาจารย์ท้ังสอง แต่ละองค์แต่ละท่านต่างมีความประสงค์ที่จะได้รับรสพระธรรม
เพอ่ื เปน็ แนวทางปฏบิ ตั ิ แตอ่ งคท์ า่ นกท็ รมานพระเณรเหลา่ นน้ั โดยไมอ่ บรม ไมเ่ ทศนา
จนพระเณรทนไมไ่ หว จงึ ไปกราบเรยี นครบู าจารย์เฒา่ ทองรัตน์

ครง้ั หนง่ึ หลวงพอ่ ชาไดไ้ ปเลา่ ความประสงคใ์ หค้ รบู าจารยเ์ ฒา่ ฟงั วา่ ทำ� อยา่ งไร
จงึ จะไดฟ้ งั ธรรมจากหลวงปมู่ น่ั สกั ที ครบู าจารยท์ องรตั นจ์ งึ บอกวา่ “อยากฟงั อหี ลบี อ้ ”
(อยากฟงั จริงๆ หรือ) เมือ่ เห็นครูบาจารย์เฒ่าพูดอยา่ งนน้ั พระเณรมองเห็นชอ่ งทาง
ทจ่ี ะไดฟ้ ังเทศนแ์ ล้ว พนมมือพดู เสรมิ เข้าไปอกี ว่า “พวกขะนอ้ ยมาปฏิบตั กิ บั พอ่ แม่
ครูบาอาจารยต์ ง้ั ดนตั้งนาน แต่บเ่ หน็ ครูบาจารยเ์ พนิ่ เทศน”์ (พวกกระผมปฏบิ ตั ิกบั
หลวงปมู่ ัน่ ตัง้ นานนมแล้ว ยงั ไม่ไดฟ้ งั องคท์ ่านเทศน์ขอรบั กระผม)

“บย่ ากตว๋ั เดยี๋ วมอ่ื แลงกะไดฟ้ งั เทศนเ์ พน่ิ ” (ไมย่ าก เดย๋ี วตอนเยน็ กไ็ ดฟ้ งั ทา่ น
เทศน)์ ครบู าจารยท์ องรตั นร์ บั ปาก หลงั จากนน้ั เมอื่ ถงึ เวลาออกรบั บณิ ฑบาต และบงั เอญิ
วนั นม้ี ญี าตโิ ยมเอาแตงกวาใสบ่ าตร เมอื่ ไดโ้ อกาส ครบู าจารยเ์ ฒา่ ทองรตั นซ์ ง่ึ เดนิ ตาม
หลงั หลวงปมู่ นั่ กไ็ ดเ้ ดนิ ลว้ งเอาแตงกวาในบาตรนน้ั ออกมากดั เคย้ี วกนิ เฉย เมอ่ื หลวงปมู่ น่ั
หนั กลบั มาดู กป็ ดิ ปากไว้ เมอ่ื ทา่ นหนั กลบั กเ็ คย้ี วตอ่ ผลปรากฏวา่ ตอนเยน็ ไดเ้ รอ่ื ง เพราะ
หลวงป่มู ่นั ทา่ นได้เทศน์ให้พระเณรฟังสมความปรารถนา

มีอกี คราวหน่ึงทเี่ ลา่ สบื ทอดกนั มาว่า กม็ เี หตุพระเณรอยากฟังเทศน์เหมือนกัน
แต่คนละกลมุ่ คนละเวลากัน ครูบาจารยเ์ ฒา่ ทองรัตน์ทา่ นก็ได้เอ้ือเฟ้ือต่อพระเณรที่
ต้องการฟังเทศนห์ ลวงปู่ม่ัน คอื ตอนกลางวัน ครบู าจารย์เฒ่าไดไ้ ปต่อยมวยชกลม

26

ใตถ้ นุ กฏุ หิ ลวงปมู่ น่ั จนแนใ่ จวา่ หลวงปมู่ น่ั ทา่ นไดย้ นิ วา่ มพี ระเณรไปตอ่ ยมวยใต้ถนุ
กฏุ ทิ า่ น ตกตอนเยน็ มากไ็ ดผ้ ลตามคาดหมาย เมอ่ื หลวงปมู่ น่ั ทา่ นเทศนใ์ หพ้ ระเณรฟงั
อยา่ งเตม็ อมิ่ ทำ� ใหพ้ ระเณรเหน็ ความสำ� คญั ยกยอ่ งครบู าจารยเ์ ฒา่ ทองรตั นว์ า่ มคี วาม
กลา้ หาญเปน็ เลศิ เพราะไมม่ ใี ครกลา้ ทำ� ในสงิ่ ดงั กลา่ ว และยง่ิ พอ่ แมค่ รบู าจารยด์ ว้ ยแลว้
พระเณรต่างไมก่ ลา้ ใหญ่ เพราะมคี วามเคารพยำ� เกรงต่อครบู าจารย์มาก

๑๘. “เฮย้ บ่างใหญ่มาแล้วโว้ย”

เรอื่ งของการปฏบิ ตั กิ รรมฐานน้ี ทกุ คนมโี อกาสสมั ผสั ผลจากการปฏบิ ตั กิ นั ทกุ คน
แต่ละคนจะต้องมีลักษณะแตกต่างกันออกไป บางคนถ้าสติไม่เท่าทันกับอุปสรรคท่ี
เกิดข้ึน จะต้องยอมแพ้อุปสรรคน้ันได้ หรือบางคนอาจจะไปคิดกับสิ่งท่ีเกิดข้ึนน้ัน
เหน็ วา่ เปน็ สงิ่ ทถี่ กู ตอ้ ง แตล่ ะอยา่ งจะเปน็ สง่ิ ขวางกนั้ หรอื เปน็ สงิ่ ทฉี่ ดุ รง้ั ใหก้ ารเดนิ ทาง
เนน่ิ ชา้ ลง บางทา่ นถา้ รวู้ ธิ แี ก้ กส็ ามารถเดนิ ทางตอ่ ไปไดถ้ งึ ทหี่ มายเรว็ บางทา่ นตอ้ งใช้
เวลานานหลายปกี ม็ ี ฉะนนั้ จงึ จำ� เปน็ ทนี่ กั ปฏบิ ตั ใิ หมๆ่ ตอ้ งมคี รบู าจารยเ์ ปน็ ผชู้ ที้ างให้
นก้ี เ็ ป็นอุปสรรคอนั หนงึ่ ทหี่ ลวงปูก่ ินรเี ลา่ ให้ฟงั ว่า

ในคืนวนั หนง่ึ มีพระชรารปู หนง่ึ ได้นั่งสมาธภิ าวนาอยู่จนจติ ใจสงบ ปรากฏว่า
ตวั ทา่ นเปน็ บา่ งใหญ่ (กระรอกบนิ ) บนิ ไปมาในสวนมะพรา้ วแหง่ หนง่ึ เกดิ ปตี ใิ นใจวา่
การปฏบิ ตั ขิ องตนเองไดค้ บื หนา้ ไปมาก จนสวา่ งไปบณิ ฑบาต อาการนน้ั กย็ งั เปน็ อยจู่ น
ไมอ่ ยากพูดกบั ใคร พอบณิ ฑบาตมาถงึ วัด ดว้ ยอาการปีติอยู่นนั่ เอง ครูบาจารย์เฒ่า
ไดร้ อ้ งตะโกนใสด่ ว้ ยเสยี งอนั ดงั วา่ “เฮย้ ๆ บา่ งใหญม่ าแลว้ โวย้ ๆๆ” พระชรารปู นน้ั จงึ ได้
สตกิ ลบั มา จึงรวู้ ่าตัวเองถูกนิมติ หลอกเอา

มอี กี ครงั้ หนง่ึ หลวงพอ่ กิ ธมมฺ ตุ ตฺ โม เลา่ ใหฟ้ งั วา่ ครบู าจารยเ์ ฒา่ ไดม้ าพำ� นกั กบั
หลวงปเู่ สาร์ และพระเณรจำ� นวนหนง่ึ พระเณรทกุ รปู ตา่ งตงั้ หนา้ ตงั้ ตาปฏบิ ตั ทิ ำ� ความ
เพยี ร ไมม่ ใี ครจะพดู กบั ใคร จนในวนั หนงึ่ มพี ระรปู หนงึ่ ปฏบิ ตั จิ นคดิ วา่ ตนเองเหาะได้
ในขณะทเี่ อะอะโวยวายอยนู่ นั้ หลวงปเู่ สารไ์ ดบ้ อกครบู าจารยเ์ ฒา่ วา่ “เอาแมะ ทองรตั น์

27

เอาแมะ” ครบู าจารย์เฒา่ ไดล้ กุ ขนึ้ เอากำ� ป้ันทุบใสห่ ูพระองค์นั้นเตม็ แรง พระองค์นัน้
เซถลาไปเตม็ แรงกำ� ปน้ั ลม้ ลงกับพ้ืน จงึ ค่อยสร่างได้สติกลบั มา

๑๙. ช่วยคนตายให้ฟ้ืน

ความพลดั พรากจากสง่ิ อนั เปน็ ทร่ี กั ทช่ี อบใจ ยอ่ มนำ� มาซงึ่ ความเศรา้ โศกเสยี ใจ
เปน็ ธรรมดา ลกู ศษิ ยร์ ปู หนงึ่ ของครบู าจารยเ์ ฒา่ เลา่ วา่ ทา่ นไดม้ โี อกาสออกธดุ งคร์ ว่ ม
กับครูบาจารย์เฒ่าพร้อมกับเณรจ�ำนวนหนึ่ง ในขณะท่ีได้ธุดงค์ผ่านทุ่งนาแห่งหนึ่ง
ทกี่ ระทอ่ มไดม้ คี นรว่ มกนั จดั งานบางอยา่ ง และในขณะทกี่ ำ� ลงั เดนิ ผา่ นกระทอ่ มงานนน้ั
ได้มีหญิงวัยกลางคนคนหน่ึงร้องห่มร้องไห้ฟูมฟายปร่ิมใจจะขาด วิ่งตรงมาท่ีกลุ่ม
พระกรรมฐานนน้ั ไดก้ ราบนมิ นตใ์ หไ้ ปทก่ี ระทอ่ มงาน และไดอ้ อ้ นวอนครบู าจารยเ์ ฒา่
พร้อมกับนำ้� ตา ใหช้ ่วยลกู เขาท่ีเพง่ิ ตายไปไม่นานให้กลบั ฟน้ื มชี ีวิตใหมด่ ้วย

ครบู าจารยเ์ ฒา่ ได้พดู ดว้ ยเสียงอนั ดงั เหมอื นกบั โกรธกนั มากอ่ นวา่ “ใหม้ นั ตาย
เหมดิ โคตร เหมดิ แนว เหมดิ พอ่ เหมดิ แมม่ นั พนู่ ” (ใหม้ นั ตายใหห้ มดทง้ั ตระกลู มนั เลย)
หญงิ คนนน้ั ไดห้ ยดุ รอ้ งไห้ และมองตาขวางใสค่ รบู าจารยเ์ ฒา่ เหมอื นกบั โกรธครบู าจารย์
เฒา่ มาเปน็ รอ้ ยปี และครบู าจารยเ์ ฒา่ ทา่ นไดโ้ อกาส จงึ เทศนพ์ รรณนาถงึ ความทกุ ขต์ า่ งๆ
เพอ่ื ใหห้ ญงิ คนนน้ั คลายความโศกเศรา้ จนในทส่ี ดุ หญงิ คนนนั้ ไดค้ ลายสะอกึ สะอนื้ แต่
นง่ั ฟงั เทศนด์ ว้ ยอาการสงบ มองดสู หี นา้ เหมอื นกบั คนไมเ่ คยรอ้ งไหม้ ากอ่ น ครบู าจารยเ์ ฒา่
จึงพาพระเณรเดนิ ทางตอ่ ไป

๒๐. ควายปา่ ยังขยาด

ครูบาจารย์เฒ่าไดม้ โี อกาสธุดงค์กบั ทา่ นเจ้าคุณอบุ าลี (จันทร์ สิรจิ นฺโท) และ
หลวงปมู่ นั่ จากการบอกเลา่ สบื ตอ่ กันมาวา่ ครบู าจารย์เฒา่ ทองรัตน์ถงึ แมว้ ่าจะเป็น
ลกู ศิษยข์ องหลวงปู่มั่นกจ็ รงิ แต่โอกาสทีค่ รบู าจารยเ์ ฒา่ ทองรัตนจ์ ะไดอ้ อกธดุ งคก์ ับ
หลวงปมู่ ั่นมไี มบ่ ่อยครัง้ นกั อาจจะเปน็ เพราะหลวงป่มู ่ันไม่ชอบใหศ้ ิษย์ติดตามหรอื

28

อยา่ งไรไมอ่ าจจะทราบได้ และในครงั้ นไ้ี ดม้ โี อกาสพเิ ศษทไี่ ดร้ ว่ มธดุ งคก์ บั ครบู าจารย์
พร้อมทั้งไดร้ ่วมต้อนรบั เจา้ คณุ อบุ าลดี ว้ ย

ในระหวา่ งทางทีเ่ ดนิ จากตวั เมืองไปทบี่ า้ นสามผง ตอ้ งผ่านป่าทบึ และผา่ นโป่งท่ี
สัตว์ป่านานาชนิดต่างก็ลงมากินโป่งในตอนบ่ายแก่ๆ ในระหว่างทางน้ันเองได้เกิด
เหตกุ ารณไ์ มค่ าดคดิ คอื เสน้ ทางทก่ี ำ� ลงั จะเดนิ ผา่ นนนั้ ไดม้ ฝี งู ควายปา่ กำ� ลงั กนิ โปง่ อยู่
แลว้ มคี วายปา่ ตวั เขอ่ื งกำ� ลงั ยนื จงั กา้ ขวางทางอยู่ ทำ� ทา่ ไมเ่ ปน็ มติ รกบั ใคร ดว้ ยความที่
ทกุ คนตา่ งตกใจทำ� อะไรไมถ่ กู นนั้ ครบู าจารยเ์ ฒา่ ทองรตั นไ์ ดข้ อโอกาสรบี เดนิ นำ� หนา้
ครูบาจารยเ์ ฒ่าตรงรี่ไปทค่ี วายปา่ ตัวนน้ั พร้อมกับยกขาทแี่ ข็งแกร่งและวอ่ งไวถีบเข้า
ทชี่ ายโครงควายปา่ ตวั นนั้ เสยี งดงั ตบึ ควายปา่ นนั้ ไดต้ กใจ วง่ิ นำ� หนา้ ควายปา่ ตวั อนื่ ๆ
แตกหนีกระเจงิ ไปคนละทศิ ละทางอยา่ งไม่คิดชีวิต

หลวงพ่อเดช เปน็ หลานครบู าจารย์เฒา่ และเคยอยอู่ ปุ ัฏฐากทา่ นเมอ่ื คราวอยู่
บา้ นคมุ้ จงั หวดั อบุ ลราชธานี เลา่ วา่ หลวงปมู่ น่ั ทา่ นไดไ้ ปวดั โพธชิ์ ยั บา้ นสามผง ไดส้ รา้ ง
ศาลาโรงธรรมเสร็จ ได้นิมนตค์ รูบาจารยไ์ ปร่วมอนุโมทนาเปน็ จำ� นวนมาก แตก่ ่อน
สถานทแี่ หง่ นเ้ี ปน็ ดนิ โปง่ ทสี่ ตั วป์ า่ ชอบลงมากนิ เปน็ ประจำ� และมบี งึ อยหู่ ลายบงึ ดว้ ยกนั
บางชว่ งเป็นป่ารกทึบ

ครบู าจารยเ์ คยมาพกั วเิ วกแถวนห้ี ลายรปู ตามคำ� บอกเลา่ วา่ ทเ่ี รยี กสามผง เพราะ
วันหน่ึงมีนายพรานออกล่าสัตว์ท่ีโป่งน้ี ได้ยิงกวางตัวหนึ่งจนได้รับบาดเจ็บและวิ่ง
ไม่ได้ไกลก็ล้มลง ทุกคนท่ีว่ิงตามกวางคิดว่ากวางตัวน้ันคงหมดแรงและสิ้นใจแล้ว
เลยชะลา่ ใจ พอเดนิ เขา้ ไปใกล้ กวางตวั นน้ั ไดล้ กุ ขนึ้ และกระโดดไปสามครง้ั ทำ� ใหฝ้ นุ่
ฟงุ้ กระจายไปทว่ั ทกุ คนออกหาอยา่ งไรกไ็ มพ่ บ คดิ วา่ กวางตวั นนั้ คงมอี ทิ ธฤิ ทธ์ิ ตอ่ มา
ไดม้ ีการสรา้ งกระต๊อบ ๒-๓ หลงั ใกล้โป่งนน้ั เพื่อพกั แรมในคราวไปล่าสตั ว์ ต่อมา
ได้ขยายใหญ่จนเป็นบ้านเปน็ เมอื ง จงึ เอานิมติ หมายตรงนั้นมาเปน็ ชอ่ื บ้าน เรยี กว่า
“บา้ นสามผง”

29

๒๑. วดั ถำ้� จ�ำปา

ยายกง แสนสขุ บา้ นวังไฮ ตำ� บลภวู ง อำ� เภอหนองสูง จงั หวดั มกุ ดาหาร เลา่ ว่า
หลวงปเู่ สารท์ า่ นไดม้ าสรา้ งวดั ถำ�้ จำ� ปา บา้ นคนั แท ตำ� บลภวู ง อำ� เภอหนองสงู จงั หวดั
มกุ ดาหาร ซง่ึ อยไู่ มไ่ กลจากบา้ นวงั ไฮมากนกั หลวงปทู่ า่ นกล็ งมาบณิ ฑบาตทบี่ า้ นวงั ไฮ
และฉนั อยศู่ าลาตนี ภู แลว้ จงึ กลบั ขนึ้ ภู บางปกี ม็ หี ลวงปมู่ นั่ มาจำ� พรรษา แตก่ อ่ นบา้ น
วงั ไฮยงั ไมม่ วี ดั ปา่ บางวนั ญาตโิ ยมกข็ น้ึ ไปถวายจงั หนั ทศี่ าลาตนี ภู ซงึ่ อยไู่ มไ่ กลจากบา้ น
วังไฮมากนัก

๒๒. สร้างวดั ป่าบ้านวังไฮ

ครบู าจารยเ์ ฒา่ ทองรตั นไ์ ดม้ าสรา้ งวดั ปา่ ทบี่ า้ นวงั ไฮ ตอนนน้ั ยายกงอายุ ๑๒-๑๓ ปี
ไดม้ าชว่ ยผใู้ หญข่ นดนิ ขดุ บอ่ นำ�้ ดว้ ย ในพรรษานมี้ ชี ี ๓ คน คอื คณุ แมป่ นิ คณุ แมจ่ นั ทรา
คณุ แมเ่ ขยี ว พระ ๒ รปู คอื ครบู าจารยเ์ ฒา่ ทองรตั น์ กบั ครบู าจารยเ์ จมิ กบั สามเณรอกี
หนง่ึ รูป

ในพรรษาท่ี ๒ แมใ่ หญ่ค�ำมากไ็ ด้จดั องค์กฐินสามัคคีขึน้ เพอื่ ถอดถวายพระท่ี
จำ� พรรษา แตก่ อ่ นทา่ นจะไมม่ เี จา้ ภาพกฐนิ ทกุ คนในบา้ นจงึ ชว่ ยกนั จดั หาผา้ ขาวซงึ่ เปน็
ผา้ ทอเอง ในพรรษาจะมพี ระเกอื บ ๑๐ รปู ทจี่ ำ� ไดม้ ี ครบู าจารยเ์ ฒา่ ทองรตั น์ ครบู าจารย์
เจมิ ครบู าจารยโ์ คตร เมอื่ ทอดถวายผา้ กฐนิ ทา่ นแลว้ ทา่ นกจ็ ะพากนั เยบ็ เปน็ ไตร และ
ย้อมเสรจ็ ภายในวันน้ัน

บอ่ ยครง้ั ครบู าจารยเ์ ฒา่ จะพาพระเณรไปกราบหลวงปเู่ สาร์ ทวี่ ดั จำ� ปา หลงั จากนนั้
ท่านก็เดนิ ธดุ งคต์ ่อไป ต่อมาวัดวงั ไฮก็มีพระสงฆอ์ ื่นมาพกั หลวงปูห่ ล้า เขมปตฺโต
วดั ภจู อ้ กอ้ จงั หวดั มกุ ดาหาร เคยพดู ไวว้ า่ ทา่ นเคยมาพกั ทวี่ ดั นอี้ ยคู่ รงั้ หนง่ึ เปน็ วดั ของ
ครูบาจารยท์ องรัตน์สร้างไว้

ปจั จบุ นั วดั ปา่ วงั ไฮ ไดย้ า้ ยจากทเี่ ดมิ ไปตดิ กบั ลำ� หว้ ยบกั อ่ี ยงั มเี หลอื บอ่ นำ้� พอให้
ทราบวา่ ที่ดงั กล่าวเคยมีพระมาจ�ำพรรษา ซึ่งยายกงมสี ่วนรว่ มในการขดุ

30

๒๓. เคารพในสงิ่ ทค่ี วรเคารพ

พระครกู มลภาวนากร ได้ฟังสืบทอดมาจากหลวงพอ่ กิ เล่าวา่ มีอีกคราวหนง่ึ
ครูบาจารย์เฒ่าได้มีโอกาสออกเดินธุดงค์กับหลวงปู่ม่ันและพระเณรท่ีภูเขาแห่งหนึ่ง
ทกุ รปู ตอ้ งปนี เขาเพอื่ ขา้ มไปอกี ทหี่ นงึ่ พระเณรขอโอกาสทจ่ี ะสะพายบาตรบรขิ ารของ
หลวงปมู่ น่ั แตห่ ลวงปไู่ มใ่ หโ้ อกาส เมอื่ ขนึ้ เขาทสี่ งู ชนั มากไดป้ ระมาณครง่ึ ทาง เผอญิ
บาตรของหลวงปู่มั่นได้หลุดออกจากบ่าองค์ท่านและกลิ้งลงตามเขา ผ่านพระเณร
๒-๓ รปู ตา่ งตกใจไมร่ จู้ ะทำ� อยา่ งไร เพราะทกุ รปู เคารพในครบู าจารยม์ าก แมแ้ ตบ่ รขิ าร
ท่านกไ็ มก่ ลา้ แตะต้อง ถ้าไมจ่ �ำเปน็ ปลอ่ ยใหบ้ าตรหลวงปูม่ นั่ กลง้ิ ลงตามความสงู ชนั
ของภูเขา พอบาตรกล้ิงถึงช่วงครูบาจารย์เฒ่าๆ ได้ใช้เท้าเหยียบสายถลกบาตร
หลวงปมู่ นั่ โดยไมร่ งั้ รอ หลวงปมู่ น่ั จงึ พดู ขนึ้ วา่ “เออ บม่ ผี ใู้ ดค๋ ดิ สอ่ ยครบู าจารยห์ รอก
ทองรัตน”์ (เออ ไม่มใี ครคิดชว่ ยอาจารยห์ รอกทองรตั น)์

๒๔. ประเพณที ฝี่ ากไว้

วัดปา่ เมธาวเิ วก เดิมเปน็ สถานที่ค่ันกลางระหว่างที่นา ๒ แปลง มีทิศตะวนั ตก
ตดิ กบั ลำ� หว้ ยแคน ชาวบา้ นตา่ งมคี วามพยายามทจี่ ะเขา้ ทำ� ประโยชนจ์ ากสถานทแี่ หง่ น้ี
ตา่ งคนตา่ งพยายามครง้ั แลว้ ครง้ั เลา่ แตก่ ม็ อี นั เปน็ ไปทกุ ราย แมแ้ ตห่ าหนอ่ ไม้ หาฟนื
พอตกเยน็ ตอ้ งเจบ็ ปว่ ย หลายคนทต่ี อ้ งจบชวี ติ ลงเนอ่ื งจากการลว่ งละเมดิ ความอาถรรพ์

ปี ๒๔๗๓ ครบู าจารยโ์ สม ซงึ่ เปน็ หนงึ่ ในศษิ ยห์ ลวงปมู่ น่ั และเปน็ สหธรรมกิ หลวง
ป่กู ินรี ได้เดนิ ธดุ งคม์ าแถบนน้ั พอดี ชาวบา้ นจงึ ไดร้ วมกันไปนมิ นตท์ ่านให้มาพ�ำนัก
ปกั กลดดบู า้ ง ลำ� พงั ชาวบา้ นแลว้ ไมม่ ใี ครกา้ วยา่ งเขา้ ไปในเขตนนั้ มานานแลว้ ทา่ นกร็ บั
และมาพำ� นักให้ระยะหนึง่ แลว้ ก็จากไป

ในระหว่างนั้นที่หลวงปู่กินรีท่านได้มาเป็นสมภารท่ีวัดด�ำรงเมธยาราม บ้าน
หนองฮี อนั เปน็ บา้ นเกดิ ของทา่ น และไดเ้ อาสามเณรยศ มาภา ซง่ึ เปน็ หลานมาบวช

31

อยดู่ ว้ ย เพอ่ื สอนศลี ธรรมและหนงั สอื ไปดว้ ย ซง่ึ แตก่ อ่ นบา้ นหนองฮยี งั ไมม่ โี รงเรยี น
ชาวบา้ นทไ่ี ดร้ หู้ นงั สอื ตอ้ งอาศยั ครบู าอาจารยท์ ไ่ี ดม้ โี อกาสบวช และออกจากบา้ นเพอ่ื
ไปแสวงหาความรจู้ ากทอ่ี น่ื มาแลว้ มาถา่ ยทอดกนั เปน็ ทอดๆ หลงั จากทห่ี ลวงปกู่ นิ รไี ด้
นำ� วชิ าความรมู้ าสอนลกู หลานใหม้ คี วามรอู้ า่ นออกเขยี นไดแ้ ลว้ ในเวลาตอ่ มาชาวบา้ น
ทมี่ ลี กู ชายจงึ ไดน้ ำ� มาฝากเปน็ ลกู ศษิ ยว์ ดั เพม่ิ มากขนึ้ บา้ งกบ็ วชเปน็ พระเณรไปศกึ ษา
ธรรมวินยั ในส�ำนกั ตา่ งๆ ก็มาก

พอ่ ใหญธ่ รรมรส แสงผา อดตี พระธรรมรส โอภาโส ซงึ่ เคยไดศ้ กึ ษาพระธรรมวนิ ยั
ตลอดทง้ั หลกั ภาษาไทยกบั หลวงปกู่ นิ รี เมอ่ื ศกึ ษาไดข้ นั้ หนง่ึ แลว้ หลวงปไู่ ดส้ ง่ ไปเรยี น
ขนั้ สงู ตอ่ ไปทส่ี ำ� นกั อนื่ จนพระธรรมรสมคี วามรคู้ วามสามารถพอจะถา่ ยทอดได้ จงึ กลบั
ถนิ่ ฐานเดมิ และปรกึ ษากบั หลวงปกู่ นิ รเี พอื่ ขอใหส้ รา้ งอาคารเรยี นในวดั เพอื่ ลกู ศษิ ยว์ ดั
จะได้มีท่ศี กึ ษาเลา่ เรียนเปน็ หลกั เป็นฐานบา้ ง

ด้วยหลวงปู่กินรีเป็นคนท่ีมองเห็นการณ์ไกล จึงแนะน�ำให้ไปสร้างในสถานที่
ทเี่ ปน็ ทตี่ งั้ ของโรงเรยี นหนองฮใี นปจั จบุ นั พระธรรมรสจงึ ถอื ไดว้ า่ เปน็ ครคู นแรกของ
โรงเรียน และได้ถา่ ยทอดสบื ต่อกนั เรื่อยมาจนถึงปัจจบุ นั

จงึ ไมใ่ ชเ่ รอื่ งแปลกในปจั จบุ นั ทคี่ นตา่ งถน่ิ เมอ่ื เขา้ ไปในวดั จะเหน็ ศษิ ยว์ ดั มาให้
การปฏสิ นั ถารเปน็ ประจำ� เพราะในอดตี ทผี่ า่ นมา เรอ่ื งความเคารพ ความผกู พนั ระหวา่ ง
พระเณรและเด็กได้ถูกปลูกฝงั สบื ทอดกันมามไิ ด้ขาด

ประเพณอี นั ดงี ามทชี่ าวหนองฮไี ดป้ ลกู ฝงั มาจากอดตี ทยี่ งั ตราตรงึ ตอ่ ผพู้ บเหน็ ใน
ปจั จบุ นั อกี อยา่ งคอื ความสามคั คพี รอ้ มเพรยี ง ถงึ แมบ้ า้ นหนองฮจี ะเปน็ หมบู่ า้ นใหญ่
แยกออกเป็น ๔ หมู่ มวี ัด ๓ วัด โรงเรยี น ๒ โรง แตค่ วามสามคั คขี องชาวบ้านจัก
แบง่ กนั กห็ าไม่ เมอื่ มงี านคมุ้ หรอื หมบู่ า้ นไหน ทกุ หมบู่ า้ นตา่ งตอ้ งไปรว่ มดว้ ยชว่ ยกนั
หาได้แบ่งแยกไม่ โครงการต่างๆ ที่ทางราชการจดั ตงั้ ขึน้ หลายโครงการ บา้ นหนองฮี
ต้องถูกบรรจชุ ่อื เข้าแทบทุกโครงการ

32

พอ่ ใหญย่ ศ มาภา อดตี สามเณรยศ เลา่ วา่ หลวงปกู่ นิ รที า่ นเปน็ คนเอาจรงิ เอาจงั
กบั การงานมาก โดยเฉพาะเรอื่ งอาบตั เิ ลก็ นอ้ ย ทา่ นไมม่ องขา้ ม เชน่ การประเคนของ
ถา้ วนั ไหนมแี ตผ่ หู้ ญงิ มาวดั เพอื่ ถวายของ ทา่ นจะไมร่ บั เดด็ ขาด แมจ้ ะทงิ้ ไวท้ ง้ั วนั ทง้ั คนื
ก็ทิ้งไป ทำ� ให้แมอ่ อกเกรงท่านมาก วันๆ อย่าแมแ้ ต่คดิ ทจ่ี ะท�ำตัวสนิทสนมกบั ทา่ น
แมแ้ ตผ่ เู้ ปน็ แมบ่ งั เกดิ เกลา้ หลงั จากทา่ นรกั ษาการสมภารได้ ๓ ปี กอ็ อกธดุ งคต์ อ่ ไป
จะกลบั มาบ้างก็ชั่วคร้งั ช่วั คราว จะจากบา้ นแต่ละครง้ั โยมมารดาไม่เคยได้ส่ังเสียทัน
ทกุ ที ทา่ นไมเ่ คยบอกลว่ งหนา้ และไมต่ อ้ งการใหใ้ ครตดิ ตามดว้ ย แมแ้ ตส่ ามเณรยศ
ซงึ่ เปน็ หลานแทๆ้ กอ่ นทา่ นจะออกไปธดุ งค์ ทา่ นไดน้ ำ� มาฝากไวก้ บั หลวงปวู่ เิ ศษ ทว่ี ดั ปา่
เมธาวเิ วก ซ่งึ หลวงปวู่ เิ ศษท่านไดม้ าอย่สู ืบต่อจากหลวงป่โู สม

ปี พ.ศ. ๒๔๗๗ ครูบาจารย์เฒ่าทองรัตนไ์ ดม้ ีโอกาสมาแวะและพักจำ� พรรษาที่
วดั ปา่ เมธาวเิ วก ครบู าจารยเ์ ฒา่ ถอื ไดว้ า่ เปน็ บรู พาจารยส์ ำ� คญั ของเหลา่ อบุ าสกอบุ าสกิ า
บา้ นหนองฮอี กี รปู หนง่ึ เพราะประเพณอี นั ดงี ามและเดน่ หลายอยา่ งทที่ ำ� ใหบ้ า้ นหนองฮี
ท่ีมเี อกลกั ษณ์เฉพาะตวั เชน่ การตกั บาตร ทกุ เชา้ ชาวบ้านจะพรอ้ มกนั ออกท�ำบุญ
ตักบาตร ไม่วา่ หญงิ หรอื ชาย จะน่งั ลงเวลาจบขา้ วใส่บาตร จะหงายมอื ใส่บาตร เวลา
พระเณรเดินผ่าน จะถอดรองเทา้ ถอดหมวกนัง่ ลงพร้อมกบั พนมมือจนกว่าพระเณร
จะเดินพน้ ไป

เมื่อมาจำ� พรรษาท่วี ดั ป่าเมธาวเิ วก ในวันพระชว่ งกลางพรรษา ครูบาจารยเ์ ฒา่
ทองรัตน์ต้องการจัดให้มีการปฏิบัติธรรมตลอดคืนขึ้น แต่ทางวัดป่าเมธาวิเวกไม่มี
สถานทพ่ี อ เลยไปจดั ทว่ี ดั ในบา้ น คอื วดั ดำ� รงเมธยาราม มกี ารเทศนต์ ลอดคนื ญาตโิ ยม
พากนั ไปฟังเทศนเ์ ป็นจำ� นวนมาก และไม่มใี ครลุกกอ่ นทจี่ ะมกี ารเทศน์จบตลอดคืน
เมื่อญาติโยมง่วงนอน ครูบาจารย์เฒ่าทองรัตน์จะข้ึนเทศน์เพื่อให้ญาติโยมหายง่วง
เม่ือหายง่วงแล้ว องค์อ่ืนกข็ น้ึ เทศน์ต่อ

สาเหตทุ ค่ี รบู าจารยเ์ ฒา่ ทองรตั นม์ าจำ� พรรษาทว่ี ดั ปา่ เมธาวเิ วก เพราะตอ้ งการมา
เยย่ี มญาตโิ ยมของลกู ศษิ ย์ คอื หลวงปกู่ นิ รี หลวงปกู่ นิ รไี ดไ้ ปกราบและปฏบิ ตั ธิ รรมกบั
ครบู าจารย์เฒา่ บอ่ ยๆ

33

ในชว่ งทคี่ รบู าจารยเ์ ฒา่ ทองรตั นจ์ ำ� พรรษานนั้ หลวงปกู่ นิ รไี ดเ้ ดนิ ธดุ งคไ์ ปทอ่ี น่ื แลว้
และมแี ม่ชีพกั อยทู่ ี่วดั น้นั ๔ คน

การเทศนส์ อนคณะชขี องครบู าจารยเ์ ฒา่ แมช่ เี ลยี นเลา่ วา่ สว่ นมากทา่ นจะสอนเนน้
การปฏบิ ตั ภิ าวนาใหร้ หู้ นา้ ทตี่ นเอง “เฮาเปน็ ชี ใหฮ้ จู้ กั หนา้ ทเ่ี จา้ ของ อยา่ คดึ จะไปฮน่ั มาน่ี
คือผู้ชาย เฮาเป็นหญิง หน้าที่ของเฮาคือเก็บผักหักฟืน อุปัฏฐากอุปถัมภ์พระสงฆ์
องคเ์ จา้ ”

ทา่ นจะไมใ่ หโ้ อกาสชตี ดิ ตอ่ กบั พระสงฆ์ เทา่ ทจ่ี ำ� ไดใ้ นพรรษาทค่ี รบู าจารยเ์ ฒา่ มา
จำ� พรรษา ทบี่ า้ นหนองฮี ไดม้ โี อกาสตอบคำ� ถามทา่ นประมาณ ๒ ครงั้ และไมเ่ คยพดู คยุ
กับทา่ นตลอดกระท่งั พระเณรเลยแม้แต่ครั้งเดียว ในเวลาตอนบา่ ยทุกวนั หลังจาก
ท่ีพระเณรฉันเสร็จ จะแยกย้ายท�ำความเพียร เป็นโอกาสท่ีเหล่าแม่ชีจะได้มีโอกาส
อปุ ฏั ฐากสงฆ์ คอื ตกั นำ้� ใชน้ ำ�้ ฉนั ใหเ้ ตม็ ตมุ่ แลว้ ตอ้ งรบี หนไี ป กลวั จะเจอกบั พระเณร
แมแ้ ตก่ ารประเคนสงิ่ ของ หลวงปกู่ นิ รไี ดฝ้ กึ ไวค้ อื ถา้ มเี ฉพาะแมช่ หี รอื ผหู้ ญงิ ทา่ นจะ
ไมร่ ับสง่ิ ของนนั้ แมจ้ ะรบั ดว้ ยผ้า ท่านกไ็ ม่ท�ำ

แมช่ สี วุ นั ดี (โยมแมข่ องหลวงพอ่ กนิ ร)ี แมช่ คี ำ� แมช่ เี ลยี น (หลานของหลวงพอ่ กนิ ร)ี
ผไู้ ดม้ โี อกาสอปุ ฏั ฐากและตดิ ตามไปกราบครบู าจารยเ์ ฒา่ ทต่ี า่ งๆ หลายที่ เชน่ บา้ นชที วน
บา้ นคุม้ การไปมาสมัยก่อนยงั ไมม่ รี ถยนต์มาก ถนนจะมีเฉพาะทางเกวียน ในปที ี่
ครบู าจารยเ์ ฒา่ มาจำ� พรรษา มพี ระเณร ๕-๖ รปู หลงั จากออกพรรษาแลว้ ครบู าจารยเ์ ฒา่
ไดอ้ อกธดุ งค์ต่อไป และนานๆ จะมาแวะครัง้ หนงึ่ จะมแี ต่ครบู าจารยช์ าเท่านัน้ ทแี่ วะ
มาเยี่ยมเยยี นบ่อยๆ การมาแต่ละครง้ั ทา่ นจะตอ้ งน�ำของใชต้ ่างๆ ไปให้

ชวี ติ ชสี มยั กอ่ น ถงึ เวลาตอนบา่ ย ตอ้ งตกั นำ้� ใชต้ กั นำ�้ ลา้ งเทา้ ถวายครบู าจารย์ การตกั นำ้�
กต็ กั ตอนทคี่ รบู าจารยไ์ มอ่ ยู่ และจะไมไ่ ดพ้ ดู คยุ กนั กบั ครบู าจารย์ ถา้ ครบู าจารยไ์ มถ่ าม
จะไมพ่ ดู เดด็ ขาด ครบู าจารยเ์ ฒา่ ทองรตั นท์ า่ นเนน้ เรอื่ งนมี้ าก บางครง้ั ครบู าจารยถ์ าม
ตอ้ งรีบกม้ หน้าพนมมือพดู โดยไม่มองหนา้

34

๒๕. ตดิ ตามหลวงปเู่ สารก์ ลับมาตภุ มู ิ

พ.ศ. ๒๔๗๘ ครบู าจารยเ์ ฒา่ ทองรตั นจ์ ำ� พรรษาอยทู่ อี่ ำ� เภอนาแก นครพนม ทวี่ ดั
ธาตศุ รคี ณู ทวี่ ดั นเี้ อง ครบู าจารยเ์ ฒา่ ไดผ้ ทู้ สี่ บื ทอดพระศาสนาเพม่ิ คอื พระกิ โสธโร
(ต่อมาได้ญัตติเป็นธรรมยุต เปลี่ยนฉายาเป็น ธมฺมุตฺตโม) โดยหลวงพ่อบุญมาก
€ติ ปิ ญฺโ เป็นผู้นำ� ไปฝากจากมาตุภมู ิ บา้ นหนองผำ� เมืองจ�ำปาศกั ด์ิ ประเทศลาว

ช่วงออกพรรษา หลวงปเู่ สาร์ กนตฺ สโี ล ไดส้ ง่ ข่าวใหค้ รูบาจารย์เฒ่าทองรตั น์
นำ� ลกู ศษิ ยไ์ ปร่วมกนั ทวี่ ดั ศรีวนั ชยั เพอื่ ฉลองศาลาทเี่ พิ่งสรา้ งเสรจ็ ซงึ่ พระอาจารย์
บุญมาและอาจารย์วงั เปน็ ผู้สร้างวดั นี้ โดยหลวงปู่เสารไ์ ด้ลว่ งหน้าไปก่อนแลว้ ในราว
เดือนธนั วาคม เพอ่ื ประชุมปรกึ ษาหารอื เก่ียวกับการท่หี ลวงปเู่ สาร์มีความประสงค์จะ
กลบั ไปเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนาทบ่ี า้ นเกดิ คอื บา้ นขา่ โคม จงั หวดั อบุ ลราชธานี เพราะได้
จากมานาน และยงั ไมไ่ ดท้ ำ� ประโยชนใ์ หถ้ นิ่ ทอ่ี ยมู่ าตภุ มู เิ ลย จงึ ไดป้ รกึ ษาศษิ ยานศุ ษิ ย์
และมขี อ้ ตกลงวา่ หลวงปเู่ สารค์ วรปรกึ ษากบั ทา่ นเจา้ คณุ ศาสนดลิ ก วดั ศรที อง (วดั ศร-ี
อบุ ลรัตนาราม ในปจั จุบนั ) และท่านเจ้าคณุ ศรีธรรมวงศาจารย์ วัดสุปฏั นารามกอ่ น
หลวงปเู่ สารจ์ งึ ใหล้ กู ศษิ ยต์ ดิ ตอ่ โทรเลขเพอื่ ปรกึ ษาทา่ นเจา้ คณุ ทง้ั สอง ซง่ึ ทา่ นเจา้ คณุ
ทงั้ สองกเ็ หน็ ดดี ว้ ย และในชว่ งเดอื นสาม หลวงปเู่ สารจ์ งึ ไดส้ ง่ ขา่ วใหล้ กู ศษิ ยท์ ก่ี ระจาย
ในสถานทีต่ ่างๆ ใหม้ ารวมกันอกี ครง้ั หนึ่ง ท่วี ัดเกาะแกว้ อมั พวัน ธาตพุ นม เพ่ือร่วม
ประชมุ ปรกึ ษาเกย่ี วกบั เรอื่ งดงั กลา่ วกอ่ น ปกตทิ กุ ปี กม็ กี ารเรยี กประชมุ ในวนั มาฆบชู า
ท่ีรอบพระธาตุพนมอยูแ่ ลว้

๒๖. สามีจกิ รรมรว่ มกันเปน็ ประจำ� ปี

หลวงพอ่ อวนเล่าว่า ในการประชมุ กนั ท่วี ดั เกาะแก้วในปี พ.ศ. ๒๔๗๙ เป็นปี
สดุ ทา้ ยทหี่ ลวงปเู่ สารท์ า่ นออกปฏบิ ตั ศิ าสนกจิ แถบอสี านตอนเหนอื หลงั จากการประชมุ
แจกแจงแบ่งสายงานออกเผยแผ่แล้ว หลวงปู่เสาร์ได้ลงไปท่ีบ้านข่าโคมเลย ส่วน
หลวงปู่มั่นจะท�ำหน้าท่ีอยู่เขตอีสานเหนือเลยไปถึงภาคเหนือ ในปีน้ีมีครูบาจารย์ท้ัง

35

ลูกศษิ ย์มหานิกายและธรรมยตุ มารว่ มประชุมกันเปน็ จำ� นวนมาก หลวงพอ่ อวนกไ็ ด้
มีโอกาสเข้าร่วมประชุมในครั้งนี้ด้วย ซึ่งจะนัดประชุมกันทุกปี ไม่ก่อนวันมาฆบูชา
ก็หลงั วันมาฆบชู าเลก็ นอ้ ย จะมีที่รว่ มประชมุ ใหญ่ทีว่ ัดเกาะแก้ว ซ่ึงไมห่ ่างจากองค์
พระธาตพุ นมมากนกั หรอื ทวี่ ดั ปา่ สุทธาวาส จ.สกลนคร ซ่งึ ท้ังสองวัดจะเป็นวัดที่
บรู พาจารย์ท้ังสองท่านเปน็ องค์ดำ� ริสรา้ ง

หลวงพ่ออวนเล่าว่า สาเหตุของการด�ำริสร้างวัดเกาะแก้วอัมพวัน อาจจะเป็น
เพราะว่า ท่ีแห่งน้ีอยู่ใกล้ชุมชนและเป็นศูนย์กลางที่ลูกศิษย์ลูกหาจะไปมาสะดวก
ประกอบกับเมื่อมีการรวมกันแต่ละครั้ง จะมีภิกษุสามเณรรวมกันเป็นจ�ำนวนมาก
การขบฉันต้องอาศัยชุมชนบิณฑบาตเป็นหลัก บางทีถ้ามีญาติโยมมารวมกันมาก
ท่านจะมีการเทศนาให้ญาติโยมท้ังหลายฟัง หลังจากร่วมประชุมกันเสร็จเป็นเวลา
ค�ำ่ คืน บางปีจะมกี ารเทศน์ตลอดคืน จะเปลยี่ นองคเ์ ทศน์ไปเรื่อยๆ โดยจะมีพ่อแม่
ครบู าจารยเ์ สาร์ ครบู าจารยม์ น่ั เปน็ หลกั ถา้ รสู้ กึ วา่ ดกึ หนอ่ ยญาตโิ ยมเรม่ิ มอี าการงว่ ง
กจ็ ะนมิ นตค์ รบู าจารยเ์ ฒา่ ขนึ้ เทศน์ เพราะทว่ งทำ� นองการเทศนข์ องทา่ นเสยี งดงั ฟงั ชดั
ท่านมีมุขทำ� ให้ญาตโิ ยมตนื่ ตัวได้ จะหมุนเวียนกันขึ้นเทศน์ โดยการเทศนแ์ ต่ละองค์
จะเทศน์จากประสบการณท์ ่ีได้ประพฤตปิ ฏบิ ตั มิ า

หลวงพอ่ กเิ ลา่ วา่ หลวงปเู่ สารไ์ ดส้ งั่ ใหค้ รบู าจารยเ์ ฒา่ ทองรตั นไ์ ปจำ� พรรษาทบ่ี า้ น
ชที วน โดยสงั่ วา่ “ทา่ นทองรตั น์ เมอื่ นใี่ หไ้ ปจำ� พรรษาอยบู่ า้ นชที วน บา้ นชที วน ผมเคย
ไปอยู่ เปน็ มอ่ งสำ� คญั มอ่ งนงึ เปน็ มอ่ งทมี่ คี นมคี วามฮคู้ วามฉลาดหลาย คนดกี ม็ หี ลายคน
ขฮี้ า้ ยกะมมี าก ผอู้ นื่ ไปอยบู่ ไ่ ด้ สว่ นผมสไิ ปจำ� อยบู่ า้ นขา่ โคม ซง่ึ เปน็ บา้ นเกดิ และคนั ไป
ฮอดตำ� อิด ใหไ้ ปโฮมกนั อยวู่ ดั บรู พารามในโตเมอื งอุบลฯ ก่อน”

เมอ่ื ตกลงกนั ไดแ้ ลว้ กแ็ ยกยา้ ยกนั เดนิ ธดุ งคล์ งมาเมอื งอบุ ลราชธานเี ปน็ หมคู่ ณะ
๕ รปู บา้ ง ๑๐ รปู บา้ ง สว่ นครบู าจารยก์ มิ ากบั ครบู าจารยเ์ ฒา่ ทองรตั น์ ไดเ้ ดนิ มาสองรปู
เมือ่ ถึงวดั บูรพารามแล้ว หลวงป่เู สาร์ไดแ้ บง่ สายอีกทีหนงึ่ ให้ครบู าจารยด์ ี จำ� พรรษา
ทบี่ ้านกุดแห่ ครูบาจารย์ทองอยู่บา้ นสวนงวั ครูบาจารยบ์ ุญมากอยู่วดั ป่าเรไร บา้ น
ทา่ ศาลา หลวงปู่เสาร์อย่บู ้านขา่ โคม ส่วนครบู าจารย์ทองรตั นอ์ ยทู่ ีบ่ ้านชที วน

36

พ่อใหญ่จารย์เพ็ง ค�ำพิพาก (หลานหลวงปู่เสาร์) ปัจจุบันอยู่ อ.เดชอุดม
จ.อบุ ลราชธานี เลา่ วา่ ไดบ้ วชเปน็ สามเณรในสำ� นกั ของหลวงปเู่ สารเ์ มอื่ ปี พ.ศ. ๒๔๗๙ ซง่ึ
เปน็ พรรษาแรกทห่ี ลวงปเู่ สารไ์ ดพ้ าพระเณรกลบั มาตภุ มู ิ ไดบ้ วชพระระหวา่ งปี ๒๔๘๐ -
๒๔๙๐ ได้อาศัยแนวการประพฤติปฏิบัติท่ีได้รับจากพ่อแม่ครูบาจารย์มา จึงได้มี
ความเขา้ ใจ ถงึ แมว้ า่ จะไมไ่ ดอ้ ยใู่ นเพศนกั บวช แตด่ า้ นการประพฤตปิ ฏบิ ตั กิ ไ็ มเ่ คยทงิ้
เพราะมลี กู หลานอำ� นวยความสะดวกใหท้ กุ อยา่ ง ทกุ วนั จะปฏบิ ตั เิ ปน็ สว่ นตวั จะออกมา
เฉพาะเวลารับประทานอาหารเท่านั้น รู้ตัวดีว่าตัวเองน้ีมีโอกาสน้อย จะประมาท
ไมไ่ ดแ้ ลว้ และมคี วามคดิ วา่ “ธรรมะไมไ่ ดอ้ ยทู่ ว่ี ดั เสมอไป หากแตอ่ ยทู่ เี่ จา้ ของ อยทู่ ่ี
ทกุ คนรูจ้ กั ธรรมะ” และเลา่ ตอ่ ไปวา่ หลงั จากครบู าจารย์เสารไ์ ด้ออกปฏบิ ตั ศิ าสนกิจ
ตามจงั หวดั ตา่ งๆ แลว้ บนั้ ปลายชวี ติ จงึ ไดก้ ลบั มาทบี่ า้ นเกดิ และมาตงั้ วดั ปา่ หนองออ้
บา้ นข่าโคม เดิมเปน็ สนม (ดนิ หลม่ ) มหี นองน�้ำเป็นหยอ่ มเหมอื นปจั จบุ นั และเปน็
ดอนเจา้ ปู่ของบา้ นขา่ โคม อ�ำเภอเมอื ง จังหวดั อบุ ลราชธานี

เมอ่ื ปี ๒๔๗๙ หลวงปเู่ สารไ์ ดธ้ ดุ งคม์ าจากวดั บรู พาในตวั จงั หวดั อบุ ลฯ พรอ้ มกบั
ครบู าจารยท์ องรตั นแ์ ละพระเณร ไดม้ าทบ่ี า้ นขา่ โคม อยไู่ ดร้ ะยะหนง่ึ หลวงปเู่ สารไ์ ดไ้ ป
กรงุ เทพฯ เพอื่ ไปฝากสามเณรพธุ (พระราชสงั วรญาณ) นครราชสมี า ใหเ้ รยี นหนงั สอื
กบั เจา้ คณุ ปญั ญาพศิ าลเถร (หนู €ติ ปญโฺ ) วดั สระปทมุ ขณะนน้ั องคท์ า่ นหลวงปเู่ สาร์
ชราภาพมากแล้ว ตอ้ งถือไม้เท้าไป

เม่ือหลวงปู่เสาร์เข้าสู่กรุงเทพฯ เจ้าจอมมารดาทับทิม ซ่ึงก�ำลังประชวรอยู่
ไดใ้ หค้ นนมิ นตห์ ลวงปเู่ ขา้ ในวงั เพอ่ื เทศนโ์ ปรด เพราะทราบกติ ตศิ พั ทข์ องหลวงปจู่ าก
สามเณรนาค ท่เี ป็นลกู ศิษยข์ องหลวงป่รู ูปหนง่ึ ซึง่ เจ้าจอมฯ อปุ ถมั ภใ์ นการบวชพระ
และเจา้ จอมไดเ้ ปน็ ผอู้ ปุ ถมั ภว์ ดั ปา่ หนองออ้ บา้ นขา่ โคม เรอื่ ยมา เมอ่ื ออกพรรษาแลว้
วันขึ้น ๑๕ ค�่ำ เดือน ๑๒ ปี ๒๔๘๐ คณะเจา้ จอมฯ มีผู้ตดิ ตาม เช่น คณุ นายหวดั
คุณนายชม คุณนายพรง้ิ เป็นต้น พรอ้ มท้งั พระนาค พระมหาสมบรู ณ์ ได้น�ำกฐินมา
ทอดทว่ี ดั ปา่ หนองออ้ และเจา้ จอมฯ ไดอ้ ปุ ถมั ภใ์ นการอปุ สมบทใหส้ ามเณรเพง็ คำ� พพิ าก
อกี รปู หน่ึงในวันน้นั ดว้ ย

37

๒๗. บา้ นชีทวน

พอ่ ใหญก่ ณั หา สทุ ธพิ นั ธ์ เลา่ วา่ พอ่ ใหญพ่ รอ้ มกบั ญาตโิ ยม บา้ นชที วน เมอ่ื ทราบวา่
หลวงปเู่ สารก์ ลบั มาพำ� นกั ทบี่ า้ นขา่ โคม จงึ ไดร้ วมกนั นำ� ผา้ ไหมเพอื่ ไปถวายใหห้ ลวงปู่
เสารบ์ งั สกุ ลุ เยบ็ จวี ร เมื่อทำ� พธิ เี สร็จ ได้โอกาสกราบนมิ นต์ทา่ นให้ไปจ�ำพรรษาทบี่ ้าน
ชที วนอกี ครง้ั หนงึ่ เพราะแตก่ อ่ นทท่ี า่ นเคยเดนิ ธดุ งคไ์ ปพำ� นกั และสงั่ สอนทบี่ า้ นชที วน
จนญาตโิ ยมสว่ นใหญเ่ ขา้ ใจแนวทางปฏบิ ตั ขิ องทา่ น ตอ่ มาทา่ นไดอ้ อกธดุ งคไ์ ปตามทศิ
ตา่ งๆ และวัดนน้ั ก็ว่างจากพระกรรมฐานไปนาน เพราะแตก่ ่อนการจะหาพระปฏิบตั ิ
กรรมฐานนยี้ ากมาก บางหมบู่ า้ นเมอ่ื ชาวบา้ นเหน็ พระกรรมฐานตา่ งกก็ ลวั กนั หลบเขา้ ปา่
กนั คนละทศิ ละทาง บางหม่บู ้าน บิณฑบาตแทบจะไมไ่ ดข้ า้ วฉนั เพราะคนกลวั พระ
กรรมฐาน

หลวงปเู่ สารเ์ มอื่ เหน็ ญาตโิ ยมยงั ใหค้ วามศรทั ธาทจ่ี ะนำ� เสนอขอ้ ประพฤตปิ ฏบิ ตั ิ
ไปใชเ้ พอ่ื พฒั นาตวั เอง จงึ ไดบ้ อกญาตโิ ยมไปวา่ “ถา้ จะใหท้ า่ นไปจำ� พรรษาทบ่ี า้ นชที วน
ท่านไปไม่ได้ เพราะรับนิมนต์ญาติโยมทางบ้านข่าโคมไว้แล้ว” ญาติโยมที่มีศรัทธา
เป็นที่ตั้งเดิมอยู่แล้ว ได้พยายามกราบอ้อนวอนทุกวิถีทางท่ีจะได้พระกรรมฐานไป
เปน็ ทพ่ี ง่ึ เปน็ ผนู้ ำ� ทางดา้ นจติ วญิ ญาณ หรอื ทา่ นอาจจะหยง่ั ดคู วามศรทั ธาของญาตโิ ยม
ที่มีอยู่เดิมยากท่ีจะเดาได้ จึงไม่บอกรับง่ายๆ เมื่อทราบแน่ว่าความมั่นคงในทาง
พระพทุ ธศาสนาของญาตโิ ยมทบี่ า้ นชที วนยงั แนน่ แฟน้ ดี จงึ รบั ใหค้ วามหวงั กบั พอ่ ใหญ่
กณั หาพร้อมกบั ญาติโยมทไี่ ปด้วยกันว่า

“ถา้ จะเอาพระไปเดยี๋ วนย้ี งั ไมไ่ ด้ เพราะพระยงั ไมม่ า” ญาตโิ ยมเหน็ พระมตี ง้ั เยอะ
ตง้ั แยะ ทำ� ไมหลวงปจู่ งึ บอกวา่ ยงั ไมม่ า ญาตโิ ยมกลวั วา่ จะไมไ่ ดพ้ ระเณร ไปจำ� พรรษา
ซงึ่ เหลอื เวลาเพยี ง ๓ วนั จะเขา้ พรรษา ไดถ้ ามหลวงปไู่ ปวา่ “หลวงปู่ ขา้ นอ้ ย พระอยใู่ นวดั
คอื จง่ั มหี ลายองคอ์ ยู่ แบง่ ไปใหก้ อ่ นบ่ ไดบ้ อ้ ขา้ นอ้ ย” หลวงปไู่ ดบ้ อกปฏเิ สธและบอกวา่
“บ้านชที วนเป็นบ้านเจ้าคมั ภีร์ใหญต่ ัว๋ ถา้ ใหพ้ ระมะเขมะขาไปสิมเี รอ่ื งกัน ถ่าสากอ่ น
จัก๊ ๒ ม่ือ เพิ่นจง่ั สมิ าฮอด”

38

ในชว่ งนนั้ ครบู าจารยเ์ ฒา่ ไมท่ ราบวา่ ไปธรุ ะทไ่ี หน ญาตโิ ยมเมอื่ ไดย้ นิ หลวงปเู่ สาร์
รับเป็นม่ันเป็นเหมาะว่าจะให้พระไปจ�ำพรรษา และเป็นเวลาท่ีใกล้เข้าพรรษาเต็มที
เมอื่ หลวงปรู่ บั รองอยา่ งนนั้ กพ็ ากนั ดอี กดใี จ และลาทา่ นกลบั บา้ น ทกุ คนไดต้ งั้ ความหวงั
และดใี จเปน็ ทสี่ ดุ ทจี่ ะได้มพี ระกรรมฐานไปอยู่ใกลบ้ ้าน

เมอ่ื กลบั ถงึ บา้ น ตา่ งกจ็ ดั สถานท่ี ซอ่ มแซมกฏุ วิ หิ าร ทำ� ความสะอาดวดั กนั ใหเ้ ปน็
ท่รี นื่ รมยเ์ หมาะแก่การพ�ำนักของแขกผู้สำ� คญั ท่จี ะมาพักด้วย เม่อื ครบเวลาได้ ๒ วนั
ญาตโิ ยมบา้ นชที วนตา่ งพากนั มงุ่ หนา้ ไปทบ่ี า้ นขา่ โคม พรอ้ มทงั้ สมั ภาระ บา้ งกม็ กี ลว้ ย
มอี อ้ ย เพอ่ื ถวายพระสงฆอ์ งคเ์ ณรทบ่ี า้ นขา่ โคม ตอ้ งออกเดนิ ทางแตเ่ ชา้ มดื เมอ่ื ไปถงึ
พอดที นั ถวายภตั ตาหาร จดั แจงถวายของตา่ งๆ ทน่ี ำ� ไปพรอ้ ม และไดก้ ราบเรยี นพดู คยุ
กบั หลวงปเู่ สาร์เป็นเวลาพอสมควร หลวงปูเ่ สาร์จึงบอกว่า

๒๘. ครูบาจารย์เฒา่ ไดร้ บั มอบหมายให้ไปอยู่บ้านชีทวน

“น่ันเดะ พระทเี่ พนิ่ สไิ ปอยู่นำ� พวกหม่เู จา้ ” หลวงป่เู สารช์ ไี้ ปทางครบู าจารยเ์ ฒ่า
ทองรตั น์ กบั หลวงพอ่ กิ ซงึ่ นงั่ อยขู่ า้ งๆ ทา่ น ญาตโิ ยมทกุ คนตา่ งมองไปทพี่ ระทงั้ สอง
ทงั้ รสู้ กึ พอใจทหี่ ลวงปเู่ สารท์ า่ นไดจ้ ดั พระให้ ถงึ แมไ้ มใ่ ชห่ ลวงปเู่ สารเ์ อง กย็ งั ดกี วา่ ไมไ่ ด้
และกราบนมิ นตท์ า่ นเพอ่ื เดนิ ไปยงั บา้ นชที วน พรอ้ มพระประมาณ ๓ รปู สว่ นหลวงพอ่ กิ
ทา่ นใหไ้ ปจำ� พรรษากบั พระอาจารก์ อน อาจารยบ์ ญั ชี บา้ นโพนงาม ต.หนองบอ่ อ.เมอื ง
จ.อบุ ลราชธานี

ในระหวา่ งจำ� พรรษาทบี่ า้ นชที วนนน่ั เอง ครบู าจารยเ์ ฒา่ ทองรตั นต์ อ้ งเจออปุ สรรค
ปัญหาหลายประการอย่างท่ีพ่อแม่ครูบาจารย์เสาร์บอกไว้ก่อนมาไม่มีผิด พ่อใหญ่
กัณหา โยมอุปฏั ฐากผใู้ กลช้ ดิ ได้เล่าใหฟ้ งั ว่า “ปญั หาแตล่ ะอยา่ ง ถ้าไมใ่ ช่ครบู าจารย์
ทองรตั น์ คงจะอย่ไู มไ่ ด้ เพราะมันหนักและยุ่งยากมากในการแก้ทิฏฐิคน”

ปญั หาอนั ดบั แรก เชน่ เมอ่ื กราบอาราธนาทา่ นไปจำ� พรรษา โยมกไ็ ดแ้ บง่ แยกกนั
เปน็ สองฝา่ ย

39

ฝา่ ยหนง่ึ บอกวา่ เปน็ พระเปน็ เจา้ อยใู่ นปา่ นงั่ หลบั หหู ลบั ตามนั จะเหน็ อะไร แมแ้ ต่
คนตาดๆี ลมื ตาดมู นั ยงั มองไมเ่ หน็ สว่ นอกี ฝา่ ยกบ็ อกวา่ ชา่ งเขา คนเขาพดู เขาไมเ่ หน็
กบั เรา

พวกผหู้ ญงิ ชอบเอาคุ (ถงั นำ�้ สานดว้ ยไมไ้ ผพ่ อกดว้ ยชนั ) ไปตกั นำ�้ ในบอ่ ของวดั ปา่
ครบู าจารยก์ บ็ อกวา่ “แมเ่ อย๊ อยา่ เอาคลุ งตกั นำ�้ ในสา้ ง (บอ่ นำ้� ) เดอ้ ใหเ้ อาคลุ กู หาให้
นนั้ ตกั ” พวกโยมทเ่ี ปน็ ปฏปิ กั ษท์ า่ น หาวา่ ทา่ นหวงนำ�้ โยมอปุ ฏั ฐากกไ็ ดถ้ ามครบู าจารย์
เฒ่าว่า “เป็นหยัง ครูบาจารย์จ่ังห่ามแนวนั่น หรือแพงน�้ำบ่” (ท�ำไมพระอาจารย์
จงึ หา้ มเอาถงั ลงตกั ในบอ่ หรอื วา่ หวงนำ�้ หรอื ) ไดร้ บั คำ� ตอบทเี่ ปน็ ทพี่ อใจวา่ “เมอ่ื พวกแม่
เอาคุ คาวปลา คาวกบ ตักน้�ำ เม่ือพระเจา้ พระสงฆไ์ ปตกั น้ำ� นั่นมากินมาฉนั พระน่นั
เพ่นิ กะเปน็ อาบัติตั๋วพอ่ ”

อดตี พอ่ กำ� นนั ใจ เชอ้ื ปทมุ บา้ นชที วน เลา่ วา่ ครบู าจารยจ์ ะใชส้ รรพนามแทนตวั
ว่าลูก จะพูดกับญาตโิ ยมทง้ั ผ้หู ญิงทัง้ ผชู้ ายวา่ พอ่ แม่ หมดทุกคน และเคยถามทา่ น
เปน็ การสว่ นตวั ทา่ นไดใ้ หค้ ำ� ตอบวา่ “ทใ่ี ชค้ ำ� พดู อยา่ งนน้ั ตอ้ งการหดั ใหล้ กู เขารจู้ กั พดู
กบั พอ่ แมด่ ว้ ยคำ� พดู ทสี่ ภุ าพ” นา่ จะเปน็ ไปไดท้ เี่ ดก็ สมยั กอ่ นการพดู กบั ผใู้ หญม่ กั พดู
ใชน้ �ำหนา้ สรรพนามว่า “อี” เช่น อีพ่อ อีแม่ พ่ีชายก็ “บัก” พ่ีสาวก็อีนั่นอนี ่ี ซึ่งฟัง
ดแู ลว้ ไม่สภุ าพ

๒๙. ตอ้ งยกใหท้ องรตั น์

หลงั จากไดม้ อบหมายใหไ้ ปจำ� พรรษาทบี่ า้ นชที วนแลว้ กอ่ นไป หลวงปเู่ สารไ์ ดส้ ง่ั
กำ� ชบั วา่ บา้ นชที วนนเ้ี ปน็ บา้ นทคี่ นมกี ารศกึ ษามาก เปน็ มหากเ็ ยอะ เรอื่ งทจ่ี ะไปพดู เฉยๆ
ไมม่ อี บุ าย จงึ ยากท่คี นเหล่าน้ันจะเชอื่ เคยสง่ พระไปหลายรปู แลว้ ต้องหันหลังกลบั
อย่างไม่เป็นท่า เพราะถูกลองภูมิ แมแ้ ตห่ ลวงปสู่ มัยทไี่ ปสรา้ งวดั ใหม่ๆ ยงั เคยถกู
ลองดมี าแลว้ หลวงปูไ่ ดบ้ อกวา่ “ถา้ บแ่ ม่นท่านทองรัตน์ บม่ ไี ผสิเอาอย่”ู (ถ้าไม่ใช่
ท่านทองรตั น์แล้ว ไม่มีใครสอนคนบ้านนีไ้ ด้)

40

ในพรรษา ลกู ศษิ ยท์ งั้ มหานกิ ายและธรรมยตุ กิ นกิ ายทไ่ี ปจำ� พรรษาอยวู่ ดั ตา่ งๆ
ตา่ งกม็ ารว่ มลงอโุ บสถรว่ มกนั ทวี่ ดั ปา่ หนองออ้ บา้ นขา่ โคม ไดร้ ว่ มลงอโุ บสถอยชู่ ว่ งหนง่ึ
ตอ่ มาพระผใู้ หญท่ างเมอื งหลวงทราบขา่ วมพี ระธรรมยตุ กบั มหานกิ ายรว่ มลงอโุ บสถกนั
จงึ ไดแ้ จง้ มายงั หลวงปเู่ สารใ์ หท้ ง้ั สองนกิ ายไดง้ ดรว่ มอโุ บสถกนั หลวงปเู่ สารเ์ ลยบอกวา่
ถา้ ทางการไมใ่ หร้ ว่ ม กใ็ หล้ กู ศษิ ยแ์ ตล่ ะวดั ไดท้ ำ� อโุ บสถกนั เอง เมอ่ื มงี านจงึ มารว่ มกนั
ปรกึ ษาประชุมกนั

โยมบา้ นชที วนในสมยั นน้ั หาผทู้ เ่ี หน็ ความดคี รบู าจารยเ์ ฒา่ ทา่ นยากมาก เพราะ
ครบู าจารยเ์ ฒา่ จะสอนทกุ วถิ ที างทจี่ ะใหโ้ ยมรจู้ กั การเสยี สละทาน เชน่ บา้ นไหนทเี่ ตรยี ม
จะใสบ่ าตร แลว้ ลมื มองดพู ระ ทา่ นกจ็ ะยนื รอ แลว้ รอ้ งบอกใหม้ าใสบ่ าตร และรอจน
โยมคนนนั้ มาใสบ่ าตร ทา่ นจงึ จะไปรบั บาตรบา้ นหลงั อน่ื ทา่ นจะไมถ่ อื โทษโกรธเคอื ง
เม่ือไปบิณฑบาต ท่านจะท�ำความคุ้นเคยกับญาติโยมทุกคน แม้แต่วันไหนฝนตก
ทา่ นกบ็ อกวา่ “แมบ่ ต่ อ้ งลงมาหรอก มนั เปยี ก ลกู สไิ ปรบั เอง” จนบางคนคดิ รงั เกยี จทา่ น
หาวา่ เป็นพระท�ำตัวประจบญาตโิ ยม แต่ทา่ นไมต่ �ำหนแิ ตอ่ ย่างไร ถ้าบา้ นไหนไมเ่ คย
ใส่บาตร ท่านก็จะพยายามใหโ้ ยมคนนนั้ ใสจ่ นได้

บางครง้ั เหน็ กลว้ ยสกุ บนตน้ ทา่ นกพ็ ดู กบั โยมวา่ “แม่ กลว้ ยมนั สกุ คาเครอื บอ่ ยาก
ไดบ้ ญุ บอ้ คนั อยากได้ กะเอามาใสบ่ าตรต”ี้ (แมเ่ หน็ กลว้ ยสกุ อยบู่ นตน้ ไมอ่ ยากไดบ้ ญุ
บา้ งหรือ ถ้าอยากได้ กเ็ อามาใสบ่ าตรบา้ งสิ) ท่านยืนรอจนโยมน�ำกล้วยมาใสบ่ าตร
เมอื่ ถงึ วดั ทา่ นกไ็ มฉ่ นั ถอื วา่ ของนน้ั ไดม้ าไมบ่ รสิ ทุ ธ์ิ ขดั ตอ่ พระธรรมวนิ ยั แตท่ ท่ี ำ� ไป
เพ่ือสอนให้คนร้จู กั เสยี สละ

มีโยมบางคนเหน็ ทา่ นไปทุกวนั ก็บอกวา่ ขา้ วยงั ไม่สกุ วนั ต่อมาทา่ นได้แบกฟนื
ไปให้ พรอ้ มทง้ั พดู วา่ “เอา้ แม่ ฟา้ วเรง่ ไฟเขา้ ลกู สทิ า่ ” (เอา้ แม่ รบี เรง่ ไฟเขา้ ลกู จะรอ)
จนขา้ วสุก โยมนำ� มาใส่บาตร ท่านจึงไป กลับมาถงึ วัด ท่านกเ็ อาออกไมฉ่ นั

แม่ชีเลียนเล่าว่า แม่ชีค�ำที่เคยประพฤติปฏิบัติร่วมที่บ้านหนองฮี ได้มีโอกาส
ติดตามไปกราบครูบาจารย์เฒ่าท่ีต่างๆ บางครั้งถ้าบ้านไหนไม่เคยเข้าวัดให้ทานเลย

41

ครบู าจารยเ์ ฒา่ ทา่ นจะบอกใหแ้ มช่ ไี ปขออะไรกไ็ ด้ หมากพลู บหุ ร่ี ตามแตจ่ ะให้ พอไดม้ า
จะไมใ่ ชป้ ระโยชนจ์ ากของทไ่ี ดม้ าจากการรอ้ งขอ การกระทำ� ดงั กลา่ วทำ� ใหโ้ ยมบางคน
ทไ่ี ม่เข้าใจ ต่างก็แกลง้ หาเร่ืองใสท่ า่ นต่างๆ นานา บางครง้ั เมือ่ ท่านออกไปบณิ ฑบาต
กพ็ ดู ใสท่ า่ นวา่ ทา่ นทำ� ตวั ไมเ่ หมาะสม แตท่ า่ นไมส่ นใจ บางคนทนไมไ่ หวจรงิ ๆ ถงึ กบั
เอาคอ้ นตสี ว่ิ ใสบ่ าตรใหท้ า่ น เมอ่ื ไปถงึ วดั ทา่ นพดู กบั พระเณรวา่ “โยมเขาคอื สคิ ดิ วา่
ทางวดั ปา่ บ่มคี อ้ นตอกสิว่ เขาเลยใส่บาตรให”้

๓๐. รอดตายเพราะบาตร

ทกุ วนั ครบู าจารยเ์ ฒา่ ทา่ นกบ็ ณิ ฑบาตตามปกตเิ หมอื นไมม่ อี ะไร หลายวนั ตอ่ มา
โยมคนนนั้ ทำ� ทมี าใสบ่ าตรเหมอื นเดมิ มขี า้ วและหอ่ ใบตองกลว้ ยอยา่ งดี หอ่ ใหญเ่ ปน็
พเิ ศษ เมอื่ เดนิ กลบั ครบู าจารยเ์ ฒา่ ไดพ้ ดู กบั พระเณรวา่ โยมคนทเ่ี อาคอ้ นตอกสวิ่ ใส่
บาตรให้ วนั นีเ้ ขาเอาอะไรหนอใส่บาตรให้หอ่ ใหญผ่ ิดปกติ

เมื่อไปถึงวัดทกุ วนั ครูบาจารย์เฒ่าจะจัดอาหารออกจากบาตร ถา้ มสี ว่ นไหนที่
ไม่ถูกตามธรรมวินัย เชน่ ของน้ันเอย่ ปากขอมา อาหารดบิ ท่านจะเลือกออกไม่ฉัน
เมอื่ เลอื กเสรจ็ จะแบง่ ใหพ้ ระเณรใหไ้ ดฉ้ นั ทกุ รปู วนั นก้ี เ็ ชน่ กนั ทา่ นเลอื กอาหารเสรจ็
จะแกะอาหารแจกแบง่ พระเณร แตผ่ ดิ สงั เกตวา่ วนั นไ้ี ดห้ อ่ ใบตองซง่ึ หอ่ ใหญผ่ ดิ ปกติ
ประกอบดว้ ยโยมคนนไี้ ดต้ อ่ วา่ ทา่ นหลายครง้ั ทา่ นคอ่ ยๆ แกะไมก้ ลดั หอ่ หมกนน้ั ออก
ในขณะทค่ี อ่ ยบรรจงแกะนนั้ ในใจกค็ ดิ วา่ จะเปน็ นำ�้ หรอื เปน็ เนอื้ กลวั นำ้� จะหกกก็ ลวั

ทนั ใดนนั้ สง่ิ ไมค่ าดวา่ จะเปน็ ไปไดก้ เ็ ปน็ ไปได้ เมอ่ื อาหารประหลาดมสี ข่ี ากระโดด
ออกจากห่อหมกอยา่ งรวดเรว็ ด้วยความว่องไวเป็นทนุ ของครูบาจารยเ์ ฒ่า ท่านรีบ
ตะครุบอาหารประหลาดน้นั ไว้ได้ พรอ้ มกบั วา่ “เออ้ สะมามวั เขาบ่ใส่บาตรใหพ้ ่อนอ้
เจ้านอ้ เกือบเจา้ ไปเข่าหม้อตม้ เขาแล้วน้อ” (เอ้อ เกือบเขาไมเ่ อามาใส่บาตรให้พอ่ นะ
เกือบเขาน�ำเจ้าไปท�ำต้มย�ำแล้ว) เสร็จแล้วให้สามเณรน�ำอาหารประหลาดคือกบน้ัน
ไปปลอ่ ย

42

๓๑. ตัวโลกธรรม

วนั ตอ่ มา ทา่ นออกบณิ ฑบาตตามปกติ ไมผ่ ดิ สงั เกตอะไร โยมคนทใ่ี สก่ บใหท้ า่ น
เมื่อวาน กม็ ายนื มองท่านด้วยอาการขำ� ๆ แต่ท่านทำ� เปน็ ไม่รไู้ ม่ชี้ เหมอื นไม่มอี ะไร
เกดิ ข้นึ และตอ่ มาเมอ่ื ทา่ นออกไปรบั บณิ ฑบาตตอนเชา้ ได้มีคนเขียนบตั รสนเทห่ ใ์ ส่
บาตรทา่ น เมอ่ื กลบั ถงึ วดั ทา่ นไดห้ ม่ จวี รพาดผา้ สงั ฆาฏอิ ยา่ งดี เอาบตั รสนเทห่ น์ น้ั ให้
เณรอา่ นวา่ “เอา้ ลกู อา่ นอมฤตธรรมแนน่ ี่ เทวดาเขาใสบ่ าตรมา หาฟงั ยากตว๋ั ” พระเณร
ไดอ้ า่ นไป ตวั ทา่ นไดพ้ นมมอื ฟงั ไป ใจความมวี า่ “พระผบี า้ เปน็ พระเปน็ เจา้ ไมม่ สี ำ� รวม
ไมม่ ศี ีล ไมม่ วี นิ ัย ประจบสอพลอขอของจากชาวบ้าน พระแบบนีถ้ งึ จะเหาะเหินเดิน
อากาศได้ กไ็ มน่ บั ถอื เป็นพระ ให้รบี ออกจากวดั ไป ถา้ ไมไ่ ปจะเอาลูกตะกัว่ มาฝาก”

พอเณรอา่ นจบ ทา่ นไดพ้ นมมอื สาธุ จนพระเณรไดย้ นิ ทกุ รปู และทา่ นไดพ้ ดู วา่
“เอาเกบ็ ไวแ้ ทน่ บชู าเดอ้ โลกธรรมแปดมนั นเี่ อง แตก่ อ่ นไดย้ นิ แตช่ อ่ื วา่ มลี าภ-เสอื่ มลาภ
มยี ศ-เสอื่ มยศ มสี รรเสรญิ -มนี นิ ทา มสี ขุ -มที กุ ข์ โอย้ ของดตี ว๋ั นี่ สาธุ พอ่ ไดฟ้ งั แลว้
แก่นธรรม เพ่ิงมามอื่ น่เี อง เก็บไวเ้ ก็บไว”้

วนั ตอ่ มา ทา่ นไดอ้ อกบณิ ฑบาตเหมอื นเดมิ โยมทนี่ ำ� บตั รสนเทห่ ใ์ สบ่ าตรเมอื่ วาน
ยนื ยมิ้ หนา้ รวั้ บา้ นทที่ า่ นเดนิ ผา่ น พระเณรสงั เกตดอู าการทา่ น กไ็ มเ่ หน็ โกรธเคอื งโยม
คนนนั้ แต่อยา่ งไร

๓๒. น�ำ้ ตาผู้เห็นผิด

๒-๓ วนั ตอ่ มา ครอบครวั ของโยมคนนนั้ เกดิ วนุ่ วายขนึ้ ทง้ั ตบทง้ั ตกี นั จนในทสี่ ดุ
โยมคนน้นั เกิดเป็นบา้ ขึ้น อยบู่ า้ นก็หวาดระแวงว่าจะมีคนมาฆา่ ตอ้ งไปหลบซอ่ นอยู่
ในปา่ ถงึ ญาตพิ น่ี อ้ งจะตามไปเกลย้ี กลอ่ มอยา่ งไรกไ็ มย่ อมกลบั บา้ น พดู ไดค้ ำ� เดยี ววา่
กลัวคนจะมาฆา่ สุดท้าย ญาติพ่ีน้องต้องนำ� ขันดอกไม้มาขอขมาตอ่ ครบู าจารย์เฒา่
ถงึ ทา่ นจะบอกวา่ ไมไ่ ดท้ ำ� อะไรใหใ้ ครเดอื ดรอ้ น แตญ่ าตโิ ยมคนนนั้ กไ็ มเ่ ชอื่ ผลสดุ ทา้ ย

43

ครบู าจารยเ์ ฒา่ จงึ ไดโ้ อกาสเทศนาใหฟ้ งั ถงึ โทษและกรรมตา่ งๆ ทใ่ี สร่ า้ ยคนอน่ื แลว้ บอก
ให้ญาติโยมคนนั้นกลับ พอกลับถงึ บา้ น โยมคนที่ใส่รา้ ยท่านก็มอี าการปกติ

ชาวบา้ นทนดูเหตกุ ารณ์ตา่ งๆ ทีค่ รูบาจารย์เฒ่าทา่ นถูกแกล้งไมไ่ หว จงึ ไดถ้ าม
ทา่ นวา่ “ขอโอกาสขา้ นอ้ ย ครบู าจารยบ์ เ่ คยี ดบข่ มเขาบอ้ ทเี่ ขาแกลง้ ทกุ มอ่ื ทกุ เวน่ แมน้
ข้านอ้ ยสหิ นีมนั แตด่ น บ่อย่ใู ห้เขาแกลง้ ดนปานนี้ดอก” (ขอโอกาสครบั ครูบาจารย์
ไมโ่ กรธเขาเหรอทเ่ี ขาแกลง้ ตา่ งๆ ทกุ วที่ กุ วนั เปน็ กระผมจะหนนี านแลว้ ไมอ่ ยใู่ หเ้ ขา
ทำ� นานขนาดนด้ี อก) และทา่ นไดพ้ ดู วา่ “ทา่ ไทบา้ นทชี วนบไ่ หน้ ำ� สบิ ห่ น”ี (ถา้ ชาวบา้ น
ชีทวนไม่ร้องไห้ตาม จะไม่ยอมหนี)

๓๓. จ้องจบั มาต้ัง ๓ ปี

การที่คนมีการศึกษามากแต่ไม่เข้าใจในการศึกษาอย่างถ่องแท้ ความท่ีเรียน
มานน้ั อาจจะเปน็ อาวธุ หำ�้ หั่นตวั เองฉันนนั้ หลงั จากทคี่ รบู าจารย์เฒา่ ไดร้ ับคำ� บญั ชา
จากหลวงปู่เสาร์ใหไ้ ปจ�ำพรรษาทีบ่ ้านชีทวนแล้ว ครูบาจารย์เฒา่ ไดพ้ ยายามอย่างย่ิง
ท่ีจะท�ำให้คนมองดูตัวเองให้เห็นบ้าง บางครั้งต้องเอาความรู้สึกดีๆ เพื่อแลกกับ
ความเห็นผดิ บางครงั้ ก็เอาชวี ิตของตวั เองเพือ่ แลกกับความถูกตอ้ งก็ยอม

ทง้ั พระทงั้ โยมทไ่ี มเ่ ขา้ ใจทา่ น ตา่ งจอ้ งหาความผดิ จากทา่ นใหไ้ ด้ มพี ระอาจารย์
รปู หนึ่งชื่อ อาจารย์สี เป็นคนเครง่ วนิ ัยมาก ที่มาอยูก่ บั ครูบาจารยเ์ ฒ่ากเ็ พ่อื จะมาหา
เรอื่ งจบั ผดิ ครบู าจารยเ์ ฒา่ และตลอดเวลาทอี่ ยกู่ บั ครบู าจารยเ์ ฒา่ ๓ ปี กห็ าขอ้ จบั ผดิ
ไมไ่ ด้

มีอยู่วันหน่ึง ครูบาจารย์เฒ่าเห็นอาจารย์สีท่านนั่งอยู่ใกล้พอจะมองเห็นราง
ปสั สาวะ ครบู าจารยเ์ ฒา่ เลยเดนิ ไปปสั สาวะ แลว้ บว้ นนำ�้ ลายลงในรางปสั สาวะ บงั เอญิ
ทา่ นอาจารยส์ ซี ง่ึ จอ้ งจะจบั ผดิ ครบู าจารยเ์ ฒา่ อยแู่ ลว้ เลยรบี เดนิ ไปตอ่ วา่ ครบู าจารยเ์ ฒา่
ว่า “ไหนวา่ เครง่ วินยั ท�ำไมถึงบ้วนน้�ำลายลงรางปสั สาวะ ไมร่ ูห้ รอื ว่ามนั ผิดวนิ ัย”

44


Click to View FlipBook Version