The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ชีวประวัติและพระธรรมเทศนา หลวงปู่ทองรัตน์, หลวงปู่มี, หลวงงปู่กินรี, หลวงปู่ทา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ืทีมงานกรุธรรม, 2022-07-12 22:19:47

ชีวประวัติและพระธรรมเทศนา หลวงปู่ทองรัตน์, หลวงปู่มี, หลวงงปู่กินรี, หลวงปู่ทา

ชีวประวัติและพระธรรมเทศนา หลวงปู่ทองรัตน์, หลวงปู่มี, หลวงงปู่กินรี, หลวงปู่ทา

Keywords: ชีวประวัติและพระธรรมเทศนา หลวงปู่ทองรัตน์, หลวงปู่มี, หลวงงปู่กินรี, หลวงปู่ทา

จติ เวน้ จากการเบยี ดเบยี น จงึ ไดช้ อื่ วา่ เปน็ จติ บรรพชติ เปน็ ผสู้ งบ เปน็ ผมู้ คี วามสขุ
อยา่ งเยอื กเยน็ อยเู่ ปน็ นติ ย์ นแี่ หละพระภกิ ษุ บรรพชติ ทา่ นใหร้ กั ษาศลี ระวงั อนิ ทรยี ์ ๖
มคี วามพากเพยี รทำ� สมาธิ เดนิ จงกรม ใหจ้ ติ สงบจากกเิ ลส ทำ� จติ ใหเ้ ปน็ เอกคั คตาจติ
ก็จะเห็นความสงบ เห็นความมหศั จรรย์ของจติ ดว้ ยตนเอง ดูจติ เห็นจิตของตนเอง
ก็จะพน้ จากบ่วงของมาร

คฤหสั ถญ์ าตโิ ยมใหร้ กั ษาศลี ๕ สมาทานศลี ๕ อยเู่ สมอ กจ็ ะพน้ จากอบายภมู ิ
เหน็ ทางไปสสู่ ุคตโิ ลกสวรรค์ ได้สมปรารถนา สมดังทา่ นตรสั รไู้ ว้วา่ มโนปพุ ฺพงฺคมา
ธมฺมาฯ จิตเป็นใหญ่ เป็นประธานฯ

คดิ วา่ พระอาจารยท์ องรตั น์ ทา่ นมเี จโตปรยิ ญาณ วนั หนง่ึ โยมสองคนสามภี รรยา
มาจากบา้ นหวั ดอน มาถวายอาหาร ภรรยาหวิ้ หมอ้ เขยี วใสอ่ าหารและกระตบิ ขา้ วเหนยี ว
เดนิ มากอ่ น สามหี าบมะพรา้ วออ่ น แตงไทย และแตงกวา ตามหลงั มาหา่ งๆ เมอื่ มาถงึ
ศาลาหอฉนั วางหาบ กราบพระประธาน กราบพระอาจารยท์ องรตั นแ์ ลว้ พระอาจารย์
ทองรตั นก์ ลา่ วยม้ิ ๆ วา่ เออ! จะเยย่ี วกว็ างหาบเสยี กอ่ น แลว้ นงั่ ลงเยยี่ ว ยนื เยยี่ ว นน่ั
มนั เปน็ พวกววั พวกควาย หาบของมาถวายพระกต็ อ้ งวางหาบจากบา่ กอ่ น จงึ จะสมกบั
เกดิ มาเปน็ คน พระเณรญาตโิ ยมในเชา้ วนั นนั้ แปลกใจวา่ หาบของมาตงั้ ไกล ๓-๔ กม.
ยืนเยีย่ วกลางทาง ไมว่ างหาบลงก่อน ท่านรูไ้ ดอ้ ย่างไร?

โยมใส่บาตรพระใหม่ด้วยปิง้ ไก่ ซ่อนไวก้ น้ ขันขา้ ว เมือ่ กลบั ถึงส�ำนัก ยงั ไมไ่ ด้
เอาขา้ วเอาอาหารออกจากบาตร ทา่ นเปรยขนึ้ วา่ วนั นท้ี า่ นเทยี บไดอ้ าหารพเิ ศษอกี แลว้
(โยมภรรยาครใู หญโ่ ทน ฉลวยศรี ซอ่ นไวใ้ ตข้ นั ขา้ วเสมอ ทา่ นจะรทู้ กุ ครงั้ ) ทา่ นรไู้ ดย้ งั ไง
ท่านตอ้ งมญี าณเจโตแน)่

ผวั เมียตีกนั ทะเลาะกัน ไปกราบทา่ น ไปฟอ้ งทา่ น เมอื่ ผวั เมียเขา้ ไปกราบท่าน
ทา่ นชไี้ ปทไ่ี มค้ านและดา้ มไมก้ วาดวา่ เอา้ ตกี นั ใหด้ หู นอ่ ย อยากจะดู (ทา่ นรกู้ อ่ นเดนิ
เขา้ เขตสำ� นกั ) ผวั เมยี มองหนา้ กนั แลว้ ยมิ้ อายๆ ทา่ นใหน้ ำ้� ไปคนละขวด (ขวดเหลา้ ขาว
ตรารวงขา้ ว โยมน�ำมากรอกนำ�้ ดืม่ ถวายพระ) ทา่ นบอกว่า เวลาโกรธกันใจมันรอ้ น

95

ใหอ้ มนำ้� ไวใ้ นปาก ใจจะเยน็ ปากกจ็ ะไมด่ า่ กนั ทะเลาะกนั มเี รอื่ งตา่ งๆ ทท่ี า่ นรลู้ ว่ งหนา้
ก่อนเสมอ แสดงวา่ ทา่ นมเี จโตปรยิ ญาณแน่ๆ

ทา่ นปรารภวา่ เมอื่ แรกกร็ กั กนั สามคั คกี นั ครนั้ มลี กู มเี ตา้ ขนึ้ มากท็ ะเลาะกนั ตกี นั
นแี่ หละเปน็ เรอื่ งของความไมเ่ ทยี่ ง ความไมเ่ ทย่ี งนน่ั แหละเปน็ ความทกุ ข์ คนรกั ษาศลี
มสี มาธิ ฝกึ ทำ� สมาธใิ หจ้ ติ วา่ งจากกเิ ลส คนพวกนจี้ ะไมท่ ะเลาะกนั เพราะอานสิ งสข์ อง
ศีลคมุ้ ครองรกั ษา พูดจากันก็มีผลส่งเสรมิ กนั ไปในทางเจรญิ

เป็นพระอาจารย์แตกฉานในธรรมของพระพุทธเจ้า ธัมมะทุกข้อในหนังสือ
เจ็ดต�ำนานแปล ทา่ นจะอธิบายให้เขา้ ใจโดยแจม่ แจ้ง

ก่อนเข้าพรรษา พระอาจารย์กินรีจะมากราบพระอาจารย์ทองรัตน์ทุกปี และ
ก�ำหนดนัดกันไว้ว่า ออกพรรษาแล้วประมาณหนึ่งเดือน พระอาจารย์ทองรัตน์จะ
กำ� หนดนดั พระอาจารยก์ นิ รไี วล้ ว่ งหนา้ แมช่ แี กว้ แมช่ ผี วิ ธานี เลา่ ใหผ้ มฟงั ) สว่ นมาก
ทา่ นจะธดุ งคไ์ ปนครจ�ำปาศกั ดิ์ ไปภูมะโรง ภดู า่ ง ในเขตประเทศลาว ตรงหมบู่ ้านใด
มคี นหมมู่ าก ไมม่ วี ดั ไมม่ สี ำ� นกั สงฆ์ ทา่ นจะปกั กลดอยเู่ ชงิ เขาหรอื ราวปา่ หา่ งหมบู่ า้ น
ราว ๑ กม.

ตาแสงหรอื กำ� นนั จะมาถามมาสนทนากบั ทา่ น และนมิ นตใ์ หท้ า่ นอยนู่ านๆ ทา่ นจะ
สงั่ ใหต้ าแสงบอกลกู บา้ นใหใ้ สข่ า้ วเหนยี วคนละกอ้ นเทา่ ไขไ่ ก่ อาหารกช็ นิ้ เดยี ว ถา้ เปน็
กลว้ ย กเ็ อาลกู เดยี ว เผอื กตม้ มนั ตม้ กห็ วั เดยี ว ใสบ่ าตรหลายบา้ นกเ็ ตม็ บาตร ใหเ้ ดก็
หนมุ่ ลาวไปเอาขา้ วอาหารเหลอื จากฉนั เอามาแบง่ กนั กนิ เนอ้ื ววั เนอื้ ควาย ลงิ คา่ ง ชะนี
หมปู า่ กระรอกกระแต งู พังพอน เต่า ตะพาบ ปลาไหล กระต่าย เกง้ กวาง ฯลฯ
ท่านไมฉ่ ัน จุดประสงคไ์ ม่ใหเ้ ขาไปฆ่าสตั ว์พวกน้ี ท่านบอกตาแสงก�ำนนั ว่า ปลาแห้ง
ปลาปน่ ตม้ เผือก ตม้ มัน พริก เกลอื พระกัมมัฏฐานท่านฉันได้อยู่

ชาวลาว นครจ�ำปาศักด์ิ เคารพเลือ่ มใสในพระอาจารย์ทองรัตน์มาก ไปที่ไหน
ชาวบา้ นกน็ มิ นตใ์ หท้ า่ นอยนู่ านๆ ทา่ นจะอยจู่ ำ� พรรษาทวี่ ดั บรู พา ต.ชที วน ออกพรรษา
แล้วจะไปธุดงค์ฝง่ั ลาวเสมอ ไปทกุ ปี ไปอยู่ฝ่งั ลาวมากกว่าฝ่งั ไทย

96

แมช่ แี กว้ ธานี ทราบประวตั ทิ า่ นด.ี ..แมช่ แี กว้ ธานี ยายของผม แมช่ ผี วิ ธานี แมช่ เี สยี่ ง
ธานี น้าของผม สามแม่ชนี ร้ี ปู้ ระวตั อิ าจารย์ทองรตั น์ดี บวชอย่กู ับอาจารย์ทองรตั น์
ตลอดชวี ติ ทงั้ สามทา่ นถงึ แกก่ รรมหมดแลว้ คงจะมญี าตขิ องทา่ น หลานของทา่ นอยบู่ า้ น
ทา่ โคม พอจะสืบถามประวตั ิของท่านไดบ้ ้าง!!!

ผมขอตอบจดหมายของทา่ นอุเทน กลั ยาโณ ดังนค้ี รบั

เหตุการณ์ท่ีผมได้ยินได้ฟังได้เห็นมา เหตุการณ์ที่ผมได้สอบถามดูและได้อยู่
ศึกษาปฏิบัติธรรมอยู่กับพระอาจารย์ทองรัตน์นั้น ได้เล่ามาถวายท่านอาจารย์แล้ว
พรอ้ มภาพพระอาจารย์ทองรัตน์ ๓ ภาพนนั้

บริขารของพระอาจารย์ทองรัตนอ์ ยทู่ ี่ใดบา้ ง
เรอื่ งบรขิ ารของพระอาจารยท์ องรตั นน์ น้ั ผมไมร่ เู้ ลย ปี ๒๔๙๙ ทท่ี า่ นมรณภาพนนั้
ผมท�ำงานอยบู่ รษิ ัทปูนซเี มนต์ไทย จ�ำกัด โรงงานทา่ หลวง จังหวดั สระบุรี

สาเหตแุ หง่ การมรณภาพ
สาเหตุแห่งการมรณภาพของท่านอาจารย์ ผมก็ไม่ทราบเลย มรณภาพที่ไหน
ใครเปน็ ประธาน เปน็ เจา้ ภาพ และฌาปนกจิ ทา่ นทไี่ หน ผมกไ็ มท่ ราบ เพราะไมท่ ราบ
ขา่ วเลย

แนวการสอนของทา่ น
ทา่ นใหอ้ า่ นพทุ ธประวตั ิ ๒ เลม่ อา่ นสวดมนตแ์ ปลฉบบั หลวง อา่ นเจด็ ตำ� นานแปล
โดยเฉพาะให้ศึกษาธมั มจกั กปั ปวตั ตนสูตร ท่ีเกดิ มีพระสงฆ์องคแ์ รกในพุทธศาสนา
สงสยั ในธรรมขอ้ ใดใหถ้ าม พระบวชใหมใ่ หท้ ำ� จติ ใหส้ งบ ใหส้ งบอยู่ในกาย ในถ�ำ้
ในหทยั อยา่ ใหฟ้ งุ้ ซา่ นไปนอกกาย อยา่ ใหจ้ ติ คดิ ไปถงึ เรอ่ื งขา้ งหนา้ ทย่ี งั ไมม่ าถงึ อยา่ ให้
จิตคดิ ถงึ เรือ่ งที่ผา่ นมาแล้ว มีศีลพร้อมดว้ ยกาย วาจา ใจ มีความเพยี รทำ� จิตใหส้ งบ
จากกเิ ลส จงึ จะมปี ัญญาเห็นธรรมของพระพทุ ธเจ้า ถ้าไมม่ ีความเพยี ร จิตไม่สงบ

97

จติ คดิ ไปรอบโลก จติ ไมส่ งบจากกเิ ลส จติ ไมเ่ ปน็ เอกคั คตาจติ บวชไปรอ้ ยปกี ไ็ มเ่ หน็
ธรรม เหน็ มรรคเหน็ ผลอะไรดอก ดงั นนั้ จงึ ใหม้ คี วามเพยี รมากๆ มศี รทั ธามาบวชแลว้
ให้มศี ลี บริสทุ ธิ์ มสี ติ มีสมาธิ มีปญั ญา จึงจะเหน็ ธรรม ฯลฯ
อุปนิสยั ใจคอของท่าน
ทา่ นเปน็ ผมู้ ธี รรมอนั สะอาด คอื มใี จเปน็ กศุ ล มจี ติ ใจขาวสะอาดอยเู่ สมอ สหี นา้
ทา่ นจะรา่ เรงิ มใี จเบกิ บาน ใจฟดู ว้ ยอารมณข์ นั ทกุ เวลา ใครไมส่ บายใจ เหน็ ทา่ นอาจารย์
จะสบายใจ รา่ เรงิ ใจดีขึ้น ทา่ นพดู ท่านแนะนำ� อะไรเปน็ ประโยชนเ์ ปน็ กุศลจิตทั้งนั้น
ทา่ นเทศน์ ทา่ นพดู นา่ ฟงั เปน็ สภุ าษติ ดี เปน็ ประโยชนใ์ นเบอ้ื งตน้ ทา่ มกลาง และสดุ ทา้ ย
ชาวบา้ นทไ่ี ดม้ าพบทา่ น มาฟงั ทา่ นเทศน์ อยากจะมาคารวะกราบไหวท้ า่ นอกี ถอื วา่ ไดม้ า
ออ่ นนอ้ ม ไดม้ ากราบไหวพ้ ระอรยิ เจา้ ไดบ้ ญุ ไดก้ ศุ ล ไดอ้ านสิ งสก์ ลบั ไปบา้ นอกี ดว้ ย
ทา่ นเคยจำ� พรรษาทไ่ี หนบ้าง พ.ศ. เท่าไร
เรอ่ื งการจำ� พรรษาทใี่ ดบา้ งของพระอาจารยน์ นั้ เรอื่ งนผ้ี มไมท่ ราบเลย หากแมช่ ี
แกว้ แม่ชผี ิว แม่ชเี ส่ยี ง ยังอยู่ ก็พอจะสอบถามได้บา้ ง
เกร็ดธรรมะของพระอาจารย์
เกรด็ ธรรมของทา่ นอาจารยค์ อื ความเพยี ร ใหถ้ อื เอาความเพยี รของพระจกั ขบุ าล
เปน็ ตวั อยา่ ง เพอ่ื นสหธรรมมกิ และแพทยร์ กั ษาตาใหห้ ยดุ ทำ� ความเพยี รสกั ๗ วนั ทา่ นไม่
เอาตาดี แตท่ า่ นเอามรรคผล เดนิ จงกรมจนตาแตกตาบอดและนพิ พานในทส่ี ดุ ทา่ นวา่
เปน็ คนไม่มีความเพียร ทำ� อะไรกไ็ ม่ดีทั้งนัน้ เปน็ พระไม่มีความเพียรกไ็ มเ่ ห็นธรรม
ไมบ่ รรลุธรรม ซ�ำ้ มาบวชสะสมกเิ ลสเปน็ บาปกรรมเปล่าๆ

98

พระครญู าณโสภติ (พระาณมนุ ี หลวงปูม่ )ี

วดั ญาณโศภติ วนาราม (วัดปา่ สงู เนิน) อ�ำ เภอสูงเนิน จงั หวัดนครราชสมี า



ชีวประวตั ิและพระธรรมเทศนา

พระครญู าณโสภิต (พระาณมุนี หลวงปู่ม)ี

99



ชีวประวัติ

พระครญู าณโสภติ (พระาณมนุ ี หลวงปมู่ ี)

หลวงปูม่ ี าณมนุ ี ทา่ นเกิดในสกลุ มาศสูงเนิน ในวนั อาทติ ย์ท่ี ๒ ธันวาคม
พ.ศ. ๒๔๓๗ ตรงกบั วันขน้ึ ๕ ค�่ำ เดือน ๑ ปมี ะเมยี ทอ่ี ำ� เภอสูงเนนิ จังหวดั
นครราชสมี า
ท่านเปน็ บุตรของนายกิ นางหมา มาศสูงเนิน มีพน่ี ้องร่วมบิดามารดาเดยี วกัน
๔ คน คอื
๑. นายแสง มาศสูงเนิน
๒. นางแพง แจง้ สงู เนิน
๓. หลวงปูม่ ี าณมนุ ี
๔. นายรอด สวา่ งธรรม
ตอนเปน็ เดก็ ทา่ นไดศ้ กึ ษาเลา่ เรยี นอยทู่ โ่ี รงเรยี นวดั ใหญส่ งู เนนิ ทา่ นสอบไลไ่ ด้
ช้นั ประถมปที ี่ ๒ เมอ่ื ปี พ.ศ. ๒๔๔๘
ทา่ นไดอ้ ปุ สมบทเมอื่ อายุ ๒๐ ปี ในวนั ท่ี ๒ มนี าคม พ.ศ. ๒๔๕๗ ณ พทั ธสมี า
วดั ใหญส่ ูงเนนิ อำ� เภอสูงเนนิ จังหวัดนครราชสีมา
โดยมี พระครสู หี ราชสมาจารมนุ ี เจา้ คณะจงั หวดั นครราชสมี า วดั กลางนคร ปจั จบุ นั
คือวดั พระนารายณ์มหาราชวรวหิ าร เปน็ พระอปุ ชั ฌาย์

101

พระเท่งิ วัดกลางนคร เป็นพระกรรมวาจาจารย์
พระชืน่ วัดกลางนคร เป็นพระอนสุ าวนาจารย์
ไดฉ้ ายา าณมุนี แปลความหมายว่า ผู้ปรีชาหย่ังรู้ บวชแล้วไดอ้ ยจู่ �ำพรรษาท่ี
วัดใหญ่สูงเนนิ

ปี พ.ศ. ๒๔๖๐ ไดย้ า้ ยไปศกึ ษาพระปรยิ ตั ธิ รรมทวี่ ดั ดษิ านกุ าราม (จางวางดษิ ฐ)์
และวดั พลบั พลาชยั แลว้ ยา้ ยไปอยวู่ ดั ชนะสงคราม จงั หวดั พระนคร ขณะนนั้ ได้ ๕ พรรษา
ตอนเย็นหลังเลิกเรยี นทา่ นจะมาฉนั น�ำ้ รอ้ นเป็นประจำ� ทุกวนั มอี ยูว่ นั หนงึ่ มีแม่ชีอายุ
มากแลว้ ถามทา่ นวา่ คณุ เคยนงั่ สมาธไิ หม ทา่ นตอบแมช่ วี า่ ไมเ่ คย ตกเยน็ มาฉนั นำ้� รอ้ น
ถา้ เจอแมช่ ๆี กจ็ ะถามทกุ ครง้ั ครนั้ ถกู ถามบอ่ ยๆ พอตกกลางคนื หลงั ไหวพ้ ระสวดมนต์
ท่านได้ลองนั่งสมาธิ ปรากฏว่าจติ รวมสงบน่งิ ซงึ่ ไมเ่ คยเปน็ อยา่ งนีม้ าก่อน ท่านได้
ตัดสินใจเลิกเรียนปริยัติธรรมกลับมาที่วัดใหญ่สูงเนิน และตัดสินใจออกประพฤติ
ปฏบิ ตั ธิ รรมเทย่ี วธดุ งคไ์ ปจำ� พรรษาเพอ่ื ศกึ ษาขอ้ วตั รปฏบิ ตั จิ ากสำ� นกั กรรมฐานตา่ งๆ
พอทา่ นปฏบิ ตั ไิ ปไดร้ ะดบั หนง่ึ ทา่ นมคี วามประสงคอ์ ยากจะเทยี บดวู า่ สงิ่ ทท่ี า่ นปฏบิ ตั ิ
อยู่นัน้ ถกู ตอ้ งหรือไม่

หลวงป่มู ี าณมุนี ท่านได้เดินธุดงคเ์ ข้าไปในประเทศพมา่ กับหลวงปทู่ องรัตน์
กนตฺ สโี ล ซงึ่ เปน็ สหธรรมกิ ทส่ี นทิ กนั มาก ทา่ นและหลวงปทู่ องรตั น์ ไดร้ ว่ มเดนิ ธดุ งคก์ บั
คณะหลวงปเู่ สาร์ กนตฺ สโี ล ไดไ้ ปรวมตวั กนั ทอ่ี ำ� เภอธาตพุ นม จงั หวดั นครพนม แลว้ แยก
เปน็ กลมุ่ เพอื่ ออกเผยแผ่ หลวงปเู่ สาร์ กนตฺ สโี ล ใหห้ ลวงปทู่ องรตั นไ์ ปจำ� พรรษาบา้ น
ชที วน สว่ นหลวงปมู่ ี าณมนุ ี ใหไ้ ปกบั ทา่ น หลวงปเู่ สาร์ กนตฺ สโี ล ไดก้ ลา่ วกบั คณะ
พระธดุ งคว์ า่ ใหเ้ ทศนใ์ หไ้ ดเ้ หมอื นทา่ นอาจารยม์ ี หากทราบวา่ ทา่ นอาจารยม์ ไี ปเทศน์
ทไ่ี หน ทา่ นจะไปฟงั ขณะนน้ั หลวงพอ่ พธุ €านโิ ย วดั ปา่ สาลวนั ยงั เปน็ สามเณร หลวงปู่
เสาร์ กนตฺ สโี ล ไดเ้ คยมาเยยี่ มหลวงปมู่ ี าณมนุ ี ทว่ี ดั ปา่ สงู เนนิ และถา่ ยรปู รว่ มกนั

ปี พ.ศ. ๒๔๘๐ มอี ยคู่ รงั้ หนง่ึ หลวงปมู่ ี าณมนุ ี ไดน้ อนลม้ ปว่ ย ไมฉ่ นั อาหาร
เปน็ เวลา ๓ วนั มพี ระเณรนง่ั ลอ้ ม สว่ นชาวบา้ นกร็ อดอู าการอยหู่ า่ งๆ สมเดจ็ พระมหาวรี วงศ์
(ตสิ โฺ ส อว้ น) ไดม้ หี นงั สอื ถงึ หลวงปมู่ ี าณมนุ ี ความวา่ ใหห้ ลวงปมู่ ี าณมนุ ี กลบั โคราช

102

พอทา่ นไดร้ บั หนงั สอื ทา่ นไดล้ กุ ขน้ึ ฉนั อาหาร จดั บรขิ าร เดนิ ทางดว้ ยเทา้ ไปขน้ึ รถไฟ
ทีอ่ �ำเภอวารนิ ชำ� ราบ สร้างความประหลาดใจใหแ้ กช่ าวบา้ นเปน็ อยา่ งมาก ทงั้ ที่ทา่ น
ลม้ ปว่ ย ไมฉ่ นั อาหารมา ๓ วนั ทราบภายหลงั วา่ สมเดจ็ พระมหาวรี วงศ์ (ตสิ โฺ ส อว้ น)
ให้ท่านกลับมารับต�ำแหน่งเจ้าอาวาส วัดใหญ่สูงเนิน ซ่ึงสมเด็จพระมหาวีรวงศ์
(ติสฺโส อ้วน) ไดม้ ามอบตราตัง้ ดว้ ยตัวทา่ นเอง ทวี่ ัดใหญส่ ูงเนิน หลวงปูม่ ี าณมุนี
ไดร้ บั แต่งตง้ั เปน็ เจ้าอาวาสวดั ใหญส่ ูงเนิน เมื่อวันท่ี ๑๓ กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. ๒๔๘๑
ทา่ นไดส้ รา้ งสำ� นกั กรรมฐานทเ่ี สนาสนะปา่ บา้ นสงู เนนิ ปจั จบุ นั คอื วดั ปา่ ญาณโศภติ วนาราม
ไว้ส�ำหรับผมู้ ุง่ ประพฤตปิ ฏบิ ัตเิ พยี งอยา่ งเดยี ว

ปี พ.ศ. ๒๔๘๐ หลวงพอ่ สลี า อสิ สฺ รโิ ก ไดเ้ ดนิ ธดุ งคผ์ า่ นมาเหน็ สถานทสี่ งบวเิ วก
เหมาะแกก่ ารบำ� เพญ็ เพียรภาวนา จึงอยู่จำ� พรรษาทถี่ ำ�้ ซบั มืด ตอ่ มาปี พ.ศ. ๒๔๙๘
หลวงปมู่ ี าณมนุ ี พระอาจารยข์ องหลวงพอ่ สลี า อสิ สฺ รโิ ก หลวงปทู่ า จารธุ มโฺ ม และ
หลวงพอ่ สพุ รี ์ สสุ ญฺ โม ไดม้ าอยจู่ ำ� พรรษาทถ่ี ำ้� ซบั มดื อบรมชาวไรใ่ หร้ จู้ กั การใหท้ าน
รกั ษาศลี เจริญจิตภาวนา

ในประวัติของหลวงปู่เครื่อง สุภทฺโท วัดสระก�ำแพงใหญ่ อ.อุทุมพรพิสัย
จ.ศรสี ะเกษ ไดเ้ ลา่ วา่ หลวงปมู่ ี าณมนุ ี และพระลกู ศษิ ยร์ วม ๕ รปู ไดเ้ ดนิ ธดุ งคว์ เิ วก
ตามปา่ เขา หนง่ึ ในนนั้ คอื ทา่ นหลวงปเู่ ครอื่ ง สภุ ทโฺ ท ไดเ้ ดนิ ธดุ งคเ์ ขา้ ไปในปา่ ลกึ บา้ น
ซบั มว่ ง เขตอำ� เภอปากชอ่ ง จงั หวดั นครราชสมี า ลกั ษณะเปน็ ปา่ ดงดบิ ชน้ื ตามเชงิ เขา และ
ชกุ ชมุ ดว้ ยไขป้ า่ (ไขม้ าลาเรยี ) ไดพ้ กั ปกั กลด บำ� เพญ็ เพยี รภาวนา มถี ำ้� อยถู่ ำ้� หนงึ่ สวยงาม
ชอื่ ถำ�้ มดื ไมเ่ พยี งแตถ่ ำ�้ เทา่ นน้ั ทมี่ ดื ปา่ เขากม็ ดื ทบึ ไปหมด ทวี่ า่ ถำ�้ มดื เพราะวา่ แสงแดด
สอ่ งเข้าไปไมถ่ งึ อากาศไม่คอ่ ยพอหายใจ ภายในถ�ำ้ มีความเย็นยะเยอื ก มีเถาวลั ย์
เครือไมร้ ะโยงระยาง ซง่ึ ต่อมาได้เรียกถำ�้ น้วี า่ ถ�ำ้ ซับมืด

ปี พ.ศ. ๒๕๐๔ ทา่ นไดไ้ ปวเิ วกทางภาคเหนอื และจำ� พรรษาทีว่ ัดดอยพระเกิด๊
อำ� เภอจอมทอง จงั หวดั เชยี งใหม่ โดยมหี ลวงพอ่ ทองพลู €ติ ปญโฺ  และหลวงพอ่ สพุ รี ์
สสุ ญฺ โม ปจั จบุ นั เปน็ เจา้ อาวาสวดั ถำ�้ ซบั มดื ไดต้ ดิ ตามไปดว้ ย สว่ นหลวงปทู่ า จารธุ มโฺ ม
ทา่ นใหอ้ ยดู่ แู ลวดั ปา่ สงู เนนิ เพอื่ คมุ งานกอ่ สรา้ งศาลาการเปรยี ญและกจิ การในวดั ทกุ อยา่ ง

103

ออกพรรษา ปี พ.ศ. ๒๕๐๖ หลวงปทู่ า จารธุ มโฺ ม ไดก้ ราบนมิ นตห์ ลวงปมู่ ี าณมนุ ี
ใหก้ ลบั มาฉลองศาลาการเปรยี ญ หลงั จากฉลองศาลาการเปรยี ญเปน็ ทเ่ี รยี บรอ้ ยแลว้
ท่านได้ยอ้ นกลับไปจ�ำพรรษาทีว่ ัดดอยพระเกดิ๊ อกี คร้ัง โดยให้หลวงปทู่ า จารุธมฺโม
และหลวงพอ่ สพุ รี ์ สสุ ญฺ โม ตดิ ตามไปดว้ ย รวมระยะเวลาทที่ า่ นอยเู่ ชยี งใหมเ่ ปน็ เวลา
๙ ปี ขณะที่ทา่ นอยูท่ ี่เชยี งใหม่ ทา่ นส่ังให้ลกู ศษิ ย์แยกยา้ ยกนั ต้งั ใจประพฤตปิ ฏิบตั ิ
ท่านบอกว่าทา่ นไม่ไดม้ าหาท่ีปฏบิ ัติ แตท่ า่ นมาเพ่ือท�ำประวัตขิ องทา่ น

ท่านได้ตั้งสัจอธิษฐานกับพระเจ้าใหญ่ พระประธานในวิหารวัดดอยพระเก๊ิด
ทา่ นอธษิ ฐานวา่ อยา่ งไร หลวงปทู่ าไมก่ ลา้ ถาม และไดเ้ กดิ แผน่ ดนิ ไหว ๒ ครงั้ ครงั้ ท่ี ๑
มหี ลวงพอ่ ทองพลู และหลวงพ่อสพุ รี ์อยู่ด้วย ส่วนครัง้ ท่ี ๒ มีหลวงปูท่ าอยู่ด้วย

หลวงปทู่ าเลา่ ใหฟ้ งั วา่ แผน่ ดนิ ไหวเฉพาะดอยพระเกด๊ิ เสยี งดงั ฮดึ ฮดึ ฮดึ นง่ั
โอนเอนไปมา เสยี งดงั ถงึ ตีนดอย แผ่นดินไหวก็หยดุ ทา่ นกลา่ ววา่ เคยอา่ นพบแตใ่ น
พทุ ธประวตั ิ ตอนน้เี จอด้วยตนเองไมส่ งสยั แลว้

วดั ดอยพระเกด๊ิ มงี านกวนขา้ วทพิ ยท์ กุ ปี มอี ยคู่ รงั้ หนงึ่ มผี หู้ ญงิ รปู รา่ งสวยงาม
มารว่ มกวนขา้ วทพิ ย์ กวนเสรจ็ กห็ ายไป ไมท่ ราบวา่ ไปทางไหน ชาวบา้ นถามกนั วา่ ผหู้ ญงิ
ท่ีมากวนข้าวทิพย์เป็นลูกหลานใครไปทางไหน ต่างคนต่างก็ไม่ทราบ สร้างความ
ประหลาดใจใหแ้ กช่ าวบา้ นเปน็ อยา่ งมาก ปตี อ่ มามกี ารกวนขา้ วทพิ ยอ์ กี ชาวบา้ นตง้ั ใจ
มองหาผ้หู ญิงคนดังกลา่ วว่าจะมาร่วมกวนขา้ วทิพย์อีกหรือไม่ ปรากฏวา่ ไมม่ าใหเ้ ห็น
อีกเลย

หลวงป่มู ี าณมนุ ี เป็นพระเถระทีเ่ ปน็ ท่ีเคารพนบั ถือ มนี ิสัยสขุ ุมเยอื กเย็น
หนกั แนน่ ในธรรมวนิ ยั ชอบวเิ วกอยเู่ สนาสนะปา่ ชอบสมถะ ถอื สนั โดษ เปน็ ทเี่ คารพ
นบั ถอื ของพระภกิ ษุ สามเณร ตลอดจนชาวบา้ นเป็นอย่างดี

มีอยู่คร้ังหนึ่งที่อ�ำเภอสูงเนินมีเหตุการณ์แปลกประหลาด พอตกกลางคืนมี
แสงประหลาดวงิ่ ตามถนน สรา้ งความหวาดกลวั ใหแ้ กช่ าวบา้ นเปน็ อยา่ งมาก หลวงปมู่ ี
าณมุนี ได้น�ำพระสวดเจริญพระพุทธมนต์ ท�ำน�้ำมนต์ ไปประพรมตามท่ีต่างๆ

104

เหตกุ ารณค์ รงั้ นน้ั กส็ งบลง มพี ระอาจารยเ์ กงิ่ อธมิ ตุ ตฺ โก รวมอยดู่ ว้ ย เหตกุ ารณค์ รง้ั น้ี
ไดส้ รา้ งความศรทั ธาเลอ่ื มใสแกช่ าวบา้ น และพอ่ คา้ ชาวจนี ในตลาดอำ� เภอสงู เนนิ เปน็
อยา่ งมาก

ปี พ.ศ. ๒๕๑๒-๒๕๑๔ ท่านไดม้ าจ�ำพรรษาอยู่ทวี่ ดั ถ�้ำซบั มดื อ�ำเภอปากช่อง
จงั หวดั นครราชสมี า โดยมี หลวงปทู่ า จารธุ มโฺ ม และหลวงพอ่ สพุ รี ์ สสุ ญฺ โม ตดิ ตาม
มาอยดู่ ว้ ย มพี ระเถระมากราบเยย่ี มสนทนาธรรมกบั ทา่ นอยเู่ สมอ เทา่ ทที่ ราบมหี ลวงปู่
สิม พุทฺธาจาโร วดั ถ�้ำผาปลอ่ ง อ.เชียวดาว จ.เชียงใหม่ หลวงปูโ่ ชติ วดั วชิราลงกรณ์
อ.ปากช่อง จ.นครราชสีมา หลวงปู่ทัง้ สองได้มากราบเยี่ยมหลวงปมู่ ีเปน็ ประจำ� ท้ังที่
วดั ปา่ สงู เนนิ และวดั ถำ้� ซบั มืด

ปี พ.ศ. ๒๕๑๔ หลงั จากปวารณาออกพรรษาและรบั กฐนิ แลว้ ทา่ นไดก้ ลบั ไปพกั
อยทู่ ว่ี ดั ปา่ สงู เนนิ เนอื่ งจากทวี่ ดั ถำ้� ซบั มดื ปนี น้ั อากาศหนาวมาก อาการอาพาธของทา่ น
กก็ ำ� เรบิ ทา่ นอนญุ าตใหถ้ า่ ยรปู ซงึ่ เปน็ รปู สดุ ทา้ ยของทา่ น ชาวบา้ นไดท้ ำ� แครห่ ามทา่ น
จากวดั ถำ�้ ซับมดื ถึงบา้ นซบั มว่ ง นมิ นต์ทา่ นขึน้ รถไปสง่ ทวี่ ดั ปา่ สงู เนิน

วนั ท่ี ๖ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๑๔ คณะลกู ศษิ ยม์ หี ลวงพอ่ สลี า อสิ สฺ รโิ ก หลวงพอ่
สพุ นิ ปภสสฺ โร หลวงพอ่ สคุ นธ์ จติ ตฺ วิ ณโฺ ณ และหลวงพอ่ สพุ รี ์ สสุ ญฺ โม ไดพ้ ากนั ไป
เยยี่ มทา่ นทวี่ ดั ปา่ สงู เนนิ ทา่ นไดพ้ ดู วา่ จะมามาตกิ าทเี ดยี วเลยหรอื ทกุ ทา่ นทไ่ี ปเยย่ี ม
กม็ ไิ ดเ้ อะใจ สนทนาธรรมกนั พอสมควร ทา่ นใหแ้ ยกยา้ ยกนั ไปพกั ผอ่ น สว่ นทา่ นกเ็ ขา้
หอ้ งพัก

พอตกดกึ หลวงพอ่ สคุ นธเ์ หน็ ไฟในหอ้ งหลวงปมู่ ยี งั เปดิ อยู่ เกดิ ความสงสยั จงึ ได้
ชวนหลวงพอ่ สพุ รี ไ์ ปดู คอ่ ยๆ เปดิ ประตหู อ้ ง ปรากฏวา่ ไมไ่ ดใ้ สก่ ลอน มองเขา้ ไปในหอ้ ง
เหน็ หลวงปมู่ นี ง่ั พบั เพียบ หม่ จีวรพาดสงั ฆาฏิ น่ังก้มหนา้ หนั หน้าไปทางพระพทุ ธรปู
ทโ่ี ตะ๊ หมู่บชู า พอเขา้ ไปดูใกล้ๆ จงึ ไดท้ ราบวา่ หลวงปมู่ ีทา่ นมรณภาพแล้ว ตอนนัน้
เป็นเวลา ตี ๔ ของวันที่ ๗ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๑๔ ทา่ นน่ังละสังขารด้วยอาการสงบ
รวมสริ ิอายุ ๗๗ ปี พรรษา ๕๗

105



พระธรรมเทศนา

พระครญู าณโสภติ (พระาณมนุ ี หลวงป่มู )ี

107

นมตถฺ ุ สคุ ตสสฺ

สพพฺ ปาปสฺส อกรณํ กสุ ลสสฺ ูปสมฺปทา
สจติ ฺตปรโิ ยทปนํ เอตํ พทุ ฺธาน สาสนํ
พทุ ฺธ ธมฺมปทฏ€ฺ กถา
แปล กรรม ๓ อยา่ งนี้ คอื การไม่ท�ำบาปท้ังปวง ๑ การยงั กศุ ลใหถ้ ึงพรอ้ ม ๑
การชำ� ระจติ ของตนใหผ้ ่องแผ้ว ๑ เป็นคำ� ส่งั สอนของพระพุทธเจา้ ท้งั หลาย

อตฺตา หิ อตตฺ โน นาโถ โกหิ นาโถ ปโร สยิ า
อตฺตนา หิ สทุ นฺเตน นาถํ ลภติ ทลุ ลฺ ภํ
พุทธฺ ธมมฺ ปทฏ€ฺ กถา
แปล ตนนน้ั แหละเปน็ ทพี่ งึ่ ของตน คนอนื่ ใครเลา่ พงึ เปน็ ทพี่ งึ่ ได้ เมอ่ื บคุ คลมตี น
อันฝึกดแี ลว้ ยอ่ มได้ทพี่ ่งึ อนั เขาได้ด้วยยาก

108

พระพุทธเจ้าไดร้ ับความสุขแท้

พระสมั มาสมั พทุ ธเจา้ เปน็ ผหู้ นง่ึ ในโลกไดค้ วามสขุ แท้ ความสขุ ทมี่ อี ยใู่ นโลกน้ี
เปน็ อนั มาก อนั ผเู้ กดิ มาแลว้ ยอ่ มปรารถนาเปน็ อยา่ งยงิ่ ใครๆ ในโลกชอ่ื วา่ เกดิ มาแลว้
ไม่อยากได้ความสุขเป็นอันไม่มี พระพุทธเจ้าเป็นผู้ได้ความสุขอันจริงก่อนคนอื่น
สขุ อยา่ งยง่ิ ยวดคอื สขุ ในมรรคผลนพิ พาน ไมม่ สี ขุ อน่ื ยงิ่ ไปกวา่ แลเปน็ โลกตุ รสขุ เปน็ สขุ
ทแ่ี นน่ อน ไมใ่ ชโ่ ลกยี วสิ ยั ความสขุ อนั จรงิ ทมี่ ใี นนพิ พานน้ี พระพทุ ธเจา้ เปน็ ผคู้ น้ พบ
ดว้ ยพระปญั ญาอนั ประเสรฐิ กอ่ นเทวดาและมนษุ ยท์ งั้ หลาย ดว้ ยอยา่ งน้ี จงึ ไดส้ มกบั
เปน็ นายกผนู้ ำ� ของโลกไปในทางอนั ประเสรฐิ หาผอู้ นื่ จะสไู้ ดย้ ากอยา่ งยงิ่ ทมี่ นษุ ยใ์ น
สมยั โนน้ แลสมยั ปจั จบุ นั ไดถ้ อื เปน็ ตวั อยา่ ง สมควรจะถอื เอาเปน็ แบบอยา่ งได้ เพื่อได้
ความจริงอันมีในโลกเปน็ ธรรมดาตอ่ ไป

อนง่ึ ความรู้ ความเหน็ และความไดส้ ขุ อยา่ งพระพทุ ธเจา้ ไดน้ ี้ ไมใ่ ชข่ องอนั จะ
พึงใช้ผู้อ่ืนเป็นทูตไปรู้ไปเห็นมาแล้วให้มาบอกมาสอนพระพุทธเจ้าหรือสอนคนอื่น
ไมไ่ ดเ้ ปน็ อนั ขาด แมจ้ ะใชใ้ หไ้ ปเปน็ แสนๆ กต็ อ้ งไมไ่ ดค้ วาม เปน็ เรอ่ื งของพระองคท์ า่ น
พระพทุ ธเจา้ ตอ้ งออกไปดว้ ยตนเอง กลา่ ววา่ ละปราสาทและชา้ งมา้ ทงั้ ทรพั ยอ์ น่ื มากมาย
ก่ายกอง โอรสและมเหสี ออกไปแลว้ ส�ำเรจ็ ความปรารถนา

ในที่นใ้ี คร่อยากจะกลา่ ววา่ ถ้าจะติดอยใู่ น รปู เสยี ง กลนิ่ รส เครอื่ งสัมผสั
ติดอยู่ในทรัพย์ ก็น่าให้พระพุทธเจ้าน้ันแลติดอยู่ อย่าให้ท่านหนีได้ เพราะท่านมี

109

ปราสาทและทรพั ยส์ ว่ นอน่ื ชา้ งมา้ มากมายยง่ิ นกั ทง้ั โอรสและมเหสี ทผี่ มู้ นี ดิ ๆ หนอ่ ยๆ
อยา่ งพวกเราประชาชนสว่ นมากนา่ จะละไดง้ า่ ยไดเ้ รว็ ยงิ่ กวา่ แตท่ า่ นละของอเนกอนนั ต์
พวกเราทำ� ไม่ได้เชน่ นน้ั ไฉนจึงตรงกนั ขา้ ม คอื พวกเรามนี ้อยนกั แตก่ ลบั ละไม่ได้
เพราะปัญญาและบารมีอ่ืนอีกของท่านกับของพวกเรามันไกลกันมากแสนที่จะไกล
เหมอื นอยา่ งวา่ จะตดั เหลก็ เสน้ เทา่ แขง้ หรอื เทา่ ขา ผมู้ ปี ญั ญาตดั ดว้ ยเครอื่ งตดั ครเู่ ดยี ว
ก็ขาดได้ แตผ่ ู้ไมม่ ีปญั ญา เสน้ เหล็กเลก็ นิดหนง่ึ ใชป้ ากกัด จะทำ� ใหเ้ หลก็ ขาดไม่ได้
แมส้ นิ้ เวลานาน หรอื กำ� กำ� ปน้ั สองมอื แลว้ เขา้ ไปเพอ่ื จะตใี หเ้ สอื ตาย กเ็ ทา่ กบั เอากำ� ปน้ั
เขา้ ไปใหเ้ สอื กดั ตวั เทา่ นน้ั เปน็ อนั สเู้ สอื ไมไ่ ด้ ไมเ่ ปน็ การจะฆา่ เสอื ใหต้ ายได้ ตอ่ เวลาอนื่
มีอันจะสู้ได้ เมือ่ ใดจึงจะสู้ไดเ้ มอ่ื น้ัน
พระพุทธเจา้ ได้ไปค้นพบความสุขทีเ่ ปน็ ความสุขแท้ ไม่ใช่ความสขุ ทีร่ ะคนดว้ ย
ทุกขไ์ ปตามกนั ไดค้ วามเยน็ แท้ ไมใ่ ช่เยน็ ระคนด้วยความร้อนอยา่ งเย็นอื่นที่เหมือน
อยา่ งวา่ มอื ขา้ งหนงึ่ จบั หมอ้ นำ้� แตข่ า้ งหนง่ึ จบั ไฟอยา่ งนี้ อนงึ่ พระพทุ ธเจา้ พระองคไ์ ด้
ฝกึ ใจทำ� สมาธจิ ติ ใหใ้ จเขม้ แขง็ มาแลว้ กอ่ นแตย่ งั ไมต่ รสั รู้ ใจอนั ฝกึ ดแี ลว้ ทำ� ใหต้ ง้ั มนั่
อยกู่ บั อารมณอ์ นั เดยี วได้ ทำ� ใหช้ ำ� นาญเปน็ ใจเขม้ แขง็ ใจทท่ี รมาน คอื ฝกึ ดแี ลว้ อยา่ งนี้
จำ� ทำ� อะไรทงั้ ทางธรรมและทางโลกมกั สำ� เรจ็ ไดด้ ี ไมเ่ หมอื นจติ ฟงุ้ ซา่ น ทไี่ มม่ หี ลกั ทท่ี ำ�
กิจการใหส้ ำ� เร็จเพื่อประโยชนไ์ ดย้ าก

110

พระพุทธเจ้าสรู้ บกบั กเิ ลสมาร

อีกอย่างหนึ่ง ถ้าว่าในทางสู้รบ พระพุทธองค์ท่านก็ได้ผ่านมาแล้วเป็นคร้ัง
ใหญห่ ลวง พระองคไ์ ดเ้ ขา้ สงครามตอ่ สกู้ บั ขา้ ศกึ คอื พญามารอยา่ งเตม็ กำ� ลงั ทไี่ ดแ้ ก่
คราวพญามารยกทัพมารบจะแยง่ เอาแท่นแกว้ กเิ ลสมาร คอื เจตสิกเครื่องฝา่ ยรา้ ย
สำ� หรบั เกดิ ขนึ้ กบั ใจ ทำ� ใจใหเ้ ศรา้ หมอง เฉพาะในทน่ี เ้ี มอื่ พระองคท์ า่ นไดท้ ำ� ทกุ รกริ ยิ า
คอื ทำ� ความเพยี รอยา่ งลำ� บากตรากตรำ� มาไดถ้ งึ ๖ ปบี รบิ รู ณ์ กจ็ ะเกดิ เหนอ่ื ยใจ ทอ้ ใจ
เปน็ ตน้ อันเปน็ สิ่งทจ่ี ะใหก้ ดี ขวางที่จะส�ำเร็จโพธิญาณ

แตท่ า่ นผรู้ จนาพรรณนาในทร่ี จนาไวเ้ ปน็ การใหญ่ กลา่ วถงึ พระยาวสั สวั ดมี าราธริ าช
ขช่ี า้ งครี เี มฆถอื กงจกั ร ยกกองทพั พรอ้ มดว้ ยเสนามารอยา่ งมหมึ า คอื มากมายมาจะรบ
เอาแทน่ แกว้ พระพทุ ธเจา้ ฯลฯ แลว้ วา่ พระพทุ ธเจา้ พระองคท์ า่ นจงึ กลา่ วพระคาถาวา่
อายนตฺ ุ โภนโฺ ต อธิ ทานสลี า เนกขฺ มมฺ ปญฺ า สห วริ ยิ ขนตฺ ี เปน็ ตน้ ถอื เอาความโดย
ยอ่ วา่ ดกู อ่ นบารมที ง้ั หลาย เราไดส้ รา้ งไดเ้ ลยี้ งทา่ นมาสน้ิ กาลนานเปน็ อเนก ฯลฯ จงมา
ช่วยเราเวลานเ้ี ถดิ

เมอื่ ผจญสรู้ บกนั เปน็ การใหญย่ งิ่ เชน่ นน้ั แลว้ ในทสี่ ดุ พระพทุ ธเจา้ มชี ยั ขา้ งพญามาร
เป็นฝ่ายแพ้ดังน้ี อย่างนี้ก็ช่ือว่าสว่างเกิดข้ึนแล้วมืดก็ดับ เหมือนตะวันขึ้นแล้วมืด
กลางคนื กด็ บั ไปกลายเปน็ กลางวนั ฉะนน้ั โดยธรรมดาเมอ่ื นำ�้ มากกวา่ ไฟนกั ไฟกด็ บั
เมอ่ื ไฟมากกวา่ น้�ำนกั นำ�้ กแ็ หง้ แลว้ แตข่ า้ งไหนจะมีก�ำลงั กวา่ ข้างนั้นกช็ นะฝ่ายขา้ ง
ตรงกันขา้ ม

111

ความมชี ัยแห่งพระสัมมาสมั พทุ ธเจา้ ในท่ีนชี้ ื่อว่าชนะประเสรฐิ กวา่ ชนะอืน่ ใดๆ
เพราะได้ความชนะภายในถึงขีดสุด กิเลสภายในอันเป็นเหตุให้เวียนเกิดเวียนดับ
วนกนั อยใู่ นสงั สารวฏั มี อวชิ ชา ตณั หา อปุ าทาน ฯลฯ หรอื โลภะ โทสะ โมหะ เปน็ ตน้
เกดิ ขึ้นไม่ได้อีกต่อไป เปน็ การทำ� ประโยชนใ์ หแ้ กพ่ ระองคเ์ องใหถ้ ึงพร้อม ท่ีพระองค์
ได้ตรากตร�ำล�ำบากสร้างบารมมี า มี ทาน ศลี เป็นตน้ สน้ิ โกฏิแหง่ กัลปเ์ ปน็ อนั มาก
และเปน็ ไปเพอ่ื ประโยชนผ์ อู้ นื่ เปน็ อนั มาก หาประมาณมไิ ด้ คอื สงั่ สอนประชานกิ รสตั ว์
ใหไ้ ดร้ บั รสพระธรรมเหลอื ทจ่ี ะมากตอ่ มาก ทพ่ี ระผมู้ ภี าคพระองคต์ รสั วา่ “ตนแลอนั ใคร
ชนะแล้วประเสรฐิ กว่า” อนั น้เี ป็นดีเอาอย่างมากๆ ทีเดยี ว คือชนะตนคนเดียวได้เปน็
ประเสริฐยง่ิ

ดงั จะกลา่ วอกี ทหี นงึ่ วา่ “ถา้ ผใู้ ดชนะใจของตนอนั เดยี ว ไดช้ อ่ื วา่ เปน็ ผชู้ นะเลศิ ”
ทชี่ นะอนั ใดอนั หนง่ึ ไดท้ ว่ี า่ เปน็ อศั จรรยน์ น้ั กด็ อี ยู่ แตช่ นะสงิ่ ทเ่ี ปน็ ภายนอกกช็ อ่ื วา่ ยงั ไม่
สำ� คญั เทา่ ภายใน เพราะยงั ไมไ่ ดค้ วามสขุ อนั ยวดยงิ่ และอาจกลบั แพอ้ กี กไ็ ด้ ถา้ ชนะใจ
อันเป็นภายใน จงึ ไดค้ วามสุขในโลกอยา่ งสันติสงบแท้ คำ� ทวี่ า่ ชนะหรือท่วี ่าชนะใจนี้
หมายปรารภความดี ทำ� ศลี เปน็ บาท ทำ� สตอิ บรมใจ ทำ� ใหเ้ ปน็ และชนิ เคย ใหห้ ยดุ อยไู่ ด้
เป็นสมาธแิ ละม่ันคง ท�ำปัญญาใหเ้ กดิ กลา้

เมอ่ื สตกิ บั ปญั ญาเกดิ กลา้ ฆา่ กเิ ลสตาย ฆา่ ความชว่ั ตาย ใจกย็ งั อยู่ และอยปู่ ระกอบ
กับความบริสทุ ธ์ิ ใจหมดพิษรา้ ย และสงบแล้ว และหยุดแลว้ ไม่ท�ำความชวั่ ตอ่ ไป
แตถ่ า้ ไม่ได้อย่างสงู อย่างกลา้ กค็ อื มีสตเิ ตอื นตัวสกดั เราไว้ หา้ มเราไว้ ไม่ให้กระทำ�
ความชวั่ ดว้ ย กาย วาจา ใจ เพราะมี หริ โิ อตตฺ ปปฺ ละอายแกใ่ จ และกลวั เกรงบาปทเ่ี ปน็
ทุจริตความชวั่ ทั้งทีล่ บั ท้ังท่ีแจง้ ได้ตามสามารถของตน เพียงเทา่ นีย้ งั ดี ช่อื ว่าชนะตน
ไดอ้ ยา่ งหน่ึง

112

พระพุทธเจา้ นพิ พาน ไม่เอาบารมีไปดว้ ย

อกี อยา่ งหนงึ่ พระพทุ ธเจา้ เมอื่ พระองคด์ บั ขนั ธน์ พิ พานไป ทา่ นไมไ่ ดเ้ อาบารมไี ป
นพิ พานดว้ ย ทา่ นกว็ างไวใ้ นศาสนาในโลกนเ้ี พอ่ื ผมู้ ศี รทั ธาและปญั ญาจะไดป้ ฏบิ ตั ติ าม
ความสามารถของตน บารมี ๑๐ คอื ทาน การให้บริจาค ๑ สลี การรกั ษากาย วาจา
ใหป้ กตเิ รยี บรอ้ ย ๑ เนกขฺ มมฺ การออกจากกาม ๑ ปญฺ า ความรอบรหู้ รอื รทู้ วั่ ถงึ ๑
วริ ยิ ความเพยี ร ๑ ขนตฺ ิ ความอดใจหรอื อดทน ๑ สจจฺ ความจรงิ กาย จรงิ วาจา จรงิ ใจ ๑
อธฏิ €ฺ าน ความตงั้ ใจยงิ่ ๑ เมตตฺ า ความรกั ใครป่ รารถนาอยากใหผ้ อู้ นื่ เปน็ สขุ ๑ อเุ ปกขฺ า
ความวางเฉยในอารมณ์ท้ังปวง ๑

ทงั้ ๑๐ อยา่ งทกี่ ลา่ วมาน้ี ไมพ่ งึ เขา้ ใจวา่ เปน็ ของพระพทุ ธเจา้ เทา่ นนั้ แลว้ ไมก่ ลา้
ไม่อยากปฏิบัติกระท�ำตาม พงึ เข้าใจวา่ บารมที งั้ ๑๐ เป็นพระธรรม เปน็ ธรรมทด่ี ีจริง
และเปน็ ของกลาง ไมใ่ ชข่ องผหู้ นง่ึ ผใู้ ด แตพ่ ระพทุ ธเจา้ พระองคส์ รา้ งสน้ิ โกฏแิ หง่ กลั ป์
เปน็ อนั มาก เมอ่ื สรา้ งบารมนี เ้ี ตม็ บรบิ รู ณไ์ ดด้ แี ลว้ พระองคท์ า่ นกไ็ ดเ้ ปน็ พระพทุ ธเจา้
สำ� เรจ็ โพธญิ าณดว้ ยกำ� ลงั บารมขี องทา่ น เมอ่ื ทา่ นดบั ขนั ธป์ รนิ พิ พาน ทา่ นกว็ างไวต้ าม
สภาพเดมิ ใหเ้ ป็นของมแี ละอยตู่ ามเดมิ ทา่ นกน็ ิพพานแตส่ ว่ นตัวพระองคท์ า่ นเทา่ นนั้
บารมี ๑๐ อยา่ งเปน็ เสมอื นสะพานขา้ มแมน่ ำ้� ทผี่ ใู้ ดไตส่ ะพานขา้ ม แลว้ กไ็ มเ่ อาสะพาน
ไปดว้ ยอยา่ งเดยี วกนั เมอื่ ผใู้ ดในโลกนส้ี รา้ งไดเ้ ตม็ บรบิ รู ณแ์ ลว้ เมอื่ ใด ผนู้ น้ั กไ็ ดเ้ ปน็
พระพทุ ธเจา้ ไมใ่ ชจ่ ะไดเ้ ปน็ พระพทุ ธเจา้ เฉพาะแตพ่ ระพทุ ธเจา้ ของเราพระองคเ์ ดยี ว

113

อนง่ึ ถา้ ผใู้ ดสรา้ งบารมไี มไ่ ดบ้ รบิ รู ณท์ กุ อยา่ ง สรา้ งได้ คอื ปฏบิ ตั ติ ามไดแ้ ตเ่ พยี ง
๒ อยา่ ง คอื ทาน ศลี เทา่ นี้ หรอื ปฏบิ ตั ไิ ด้ ทาน ศลี ปญั ญา หรอื ได้ ๔ อยา่ ง ๕ อยา่ ง
กแ็ ลว้ แต่สามารถจะปฏิบัตไิ ด้ กจ็ ะไดก้ ุศลบารมี ได้ผล ไดป้ ระโยชน์ ความสุขตาม
สมควรแก่ก�ำลงั ของตนๆ เมื่อทำ� ไดใ้ นบารมใี ดๆ กจ็ ะไดร้ ับอานิสงสแ์ ห่งบารมนี น้ั ๆ
ทใ่ี หไ้ ดร้ บั ตามนอ้ ยมาก ไมว่ า่ บรรพชติ หรอื คฤหสั ถย์ อ่ มปฏบิ ตั ไิ ดต้ ามกำ� ลงั และความ
สามารถ ไม่มกี ารขัดขอ้ งแตอ่ ย่างใด มแี ตจ่ ะเป็นความดอี ยา่ งเดยี ว

114

บารมี ๑๐ ไม่ใช่จะใหไ้ ด้ตรสั รู้
เป็นพระพทุ ธเจ้าแต่อยา่ งเดียว

อีกอย่างหน่งึ บารมีทงั้ ๑๐ อย่าง ที่เปน็ ศีลเป็นธรรมอนั ดีอันจริงและเป็นของ
ไมต่ ายในโลกน้ี ถา้ เม่อื ได้สรา้ งบริบรู ณ์เตม็ ทีแ่ ลว้ ไม่ใชแ่ ตจ่ ะใหป้ ระเสรฐิ แต่ฆา่ กิเลส
แลว้ ตรสั รเู้ ปน็ พระพทุ ธเจา้ อยา่ งเดยี ว พงึ เขา้ ใจวา่ อะไรมใี นพระกาย คอื ตวั พระพทุ ธเจา้
แลว้ เลยเปน็ ดไี ปทงั้ หมด กด็ ว้ ยอำ� นาจพระบารมนี นั้ เองใหด้ ใี หป้ ระเสรฐิ พงึ เหน็ เชน่
พระธาตุ คอื เสมหฺ ํ เสลด หรอื เขฬะ นำ�้ ลาย กม็ ฤี ทธม์ิ เี ดชได้ หรอื รอยทพ่ี ระพทุ ธเจา้
ทรงอธษิ ฐานเหยียบไว้ ที่เรยี กวา่ พระบาท ยอ่ มเป็นทีใ่ หเ้ กดิ ปีตพิ อใจและใหเ้ กิดเปน็
บญุ กศุ ลแก่ผ้ไู ดส้ กั การบูชาเป็นอนั ดี และที่น้นั อาจให้เกิดสักการลาภโดยไม่เปน็ การ
ยากก็ได้

ถา้ อยา่ งวา่ มาน้ี ความประเสรฐิ หรอื ความดีของคนเราผ้ทู �ำดี ไม่ไดห้ มายวา่ อยู่
เบอื้ งบน คอื ศีรษะหรือกลางตวั และแข้งขา คืออยู่เตม็ ทว่ั ตวั เหมือนอยา่ งพระบาท
พดู งา่ ยๆ กว็ า่ รอยพระพทุ ธเจา้ จนแตร่ อยความดกี ย็ งั ไปปรากฏอยไู่ ดใ้ หเ้ ปน็ กศุ ลแก่
ผู้กราบนมสั การ ส่วนพระธาตุที่เปน็ พระธาตุพระสมั มาสัมพทุ ธเจ้ายอ่ มเป็นอัศจรรย์
ประกอบไปด้วยปาฏิหาริย์ เปล่งรัศมีฉายแสงแล้วเสด็จไปท่ีอ่ืนเองใกล้บ้างไกลบ้าง
เมอื่ สมควรแก่กาลเวลาแล้ว กเ็ สด็จกลบั มายังทีอ่ ยู่ตามเดิมได้ เหมือนอย่างพระธาตุ
จอมทอง ได้ยนิ ว่าพระธาตุจอมทองนเ้ี ปน็ ธาตุ เสมหฺ ํ เสลดหรอื น้�ำมูก ย่อมเสดจ็ ไป

115

ทีอ่ ื่นด้วย เปลง่ รศั มเี ปน็ ดวงใหญ่และสวา่ งได้กว้างมาก คร้นั แลว้ กเ็ สดจ็ กลับมายังท่ี
อยนู่ น้ั เอง และเปน็ ทน่ี บั ถอื ขนึ้ บชู าสกั การะบำ� เพญ็ กศุ ลแหง่ ศรทั ธามหาชนเปน็ อนั มาก
เลยตรงกนั ขา้ มกบั รา่ งกายของปถุ ชุ นคนสามญั ดงั ทม่ี าในบาลมี คี วามวา่ กายนี้
มวี ญิ ญาณไปปราศแลว้ อนั เขาทง้ิ เสยี แลว้ จกั นอนทบั แผน่ ดนิ ไมน่ านหนอ ดงั ทอ่ นไม้
อนั หาประโยชนม์ ไิ ดฉ้ ะนน้ั เมอื่ เปน็ ของพระพทุ ธเจา้ แลว้ ในพระกายนนั้ แมแ้ ตเ่ สลด
หรอื นำ้� ลาย เลยเปน็ ดวี เิ ศษยง่ิ กวา่ แกว้ ปกตหิ รอื เพชรพลอยทน่ี ยิ มวา่ ดมี คี า่ เสยี อกี หรอื
ซ้�ำที่ไม่ใช่ตัวองค์พระธาตุ เพียงแต่ทะนานที่ตักตวงพระธาตุที่โทณพราหมณ์ตวง
พระธาตแุ บง่ ใหก้ ษตั รยิ ์ ๘ หวั เมอื งนน้ั โทณพราหมณไ์ ดไ้ ปแลว้ บรรจใุ นพระสถปู ใหไ้ ด้
เป็นท่ีสักการบูชาแห่งมหาชนทั้งหลาย ก็ยังเป็นท่ีเจริญจิตใจแห่งปวงชนได้เป็นการ
บ�ำเพญ็ กศุ ลได้ดฯี

116

พระบรมธาตุ

วดั หลวงจอมทอง ต�ำบลบ้านหลวง อ�ำเภอจอมทอง จงั หวดั เชียงใหม่ ในวัด
หลวงจอมทองนี้ มพี ระธาตุพระสมั มาสัมพทุ ธเจา้ ซ่ึงน่าสกั การบชู า นา่ ยินดเี ลอ่ื มใส
เปน็ อยา่ งยงิ่ มที า่ นพระครสู วุ รรณโมลี เจา้ คณะอำ� เภอ และมเี จา้ อาวาสวดั จอมทองน้ี
ชอ่ื วา่ ทา่ นพระครสู วุ ทิ ยธรรม เปน็ เจา้ อาวาส ทา่ นทง้ั ๒ องคน์ เ้ี ปน็ ผรู้ กั ษาปฏบิ ตั พิ ระธาตุ
เปน็ อยา่ งดี และวดั นเี้ ปน็ ทเี่ ยอื กเยน็ สบายทจ่ี ะดจู ะชม กน็ บั วา่ วดั หนงึ่ เปน็ ทด่ี ไู ด้ เปน็ ท่ี
ศรทั ธาสัปบุรษุ เข้าวัดบำ� เพ็ญกุศล ใหท้ าน รักษาศีล เจริญภาวนา ท�ำจติ ทำ� ใจกันเป็น
อันดี พระธาตทุ ีม่ อี ยใู่ นทน่ี ้นี น้ั ใส่โกฏิทอง (ทองคำ� ) แล้วเก็บไว้ทซ่ี ึง่ นิยมเรยี กกนั วา่
ปราสาทแก้วในวหิ าร

พระธาตนุ มี้ ขี นาดเทา่ เมลด็ ขา้ วโพด มสี ขี าวหมน่ และเหลอื งออ่ นๆ และมปี าฏหิ ารยิ ์
อยา่ งนว้ี า่ บางครงั้ เปลง่ รศั มที ำ� แสงสวา่ งใหเ้ ปน็ ลำ� คอื เปน็ เลาขน้ึ เบอ้ื งบน เปน็ เลาขนาด
เท่าบาตร หรอื ทเ่ี รียกวา่ เท่าต้นตาลสงู ขน้ึ ไปบน แลว้ ใหแ้ สงสว่างใหแ้ จง้ ไปในบริเวณ
บ้านใหญ่ ประมาณแปดรอ้ ยหลังคาเรือนแจ้งทั่วกนั ไปหมด ดูใบไมเ้ ขยี วใบไม้แห้ง
ไดต้ ามสบายอยา่ งแจม่ แจง้ ในเวลากลางคนื ดกึ ประมาณ ๖ ทมุ่ (เทยี่ งคนื ) และแสงนน้ั
มสี ีเปน็ ๓ อย่างคอื สีเขยี ว ขาว เหลอื ง เป็นพรอ้ มกันทัง้ ๓ สดี งั นี้ ในเมอ่ื เวลา
เปน็ แสงสวา่ งอยู่ ถา้ มผี จู้ ะเดนิ ไปกเ็ ดนิ ผา่ นไปไดย้ าก คอื ใหข้ นลกุ ขนพองแลว้ ไมก่ ลา้
เดนิ ได้

117

อนง่ึ บางครงั้ พระธาตนุ เี้ สดจ็ ออกไปเอง ไปยงั สถานทแี่ หง่ หนง่ึ ซงึ่ ทน่ี นั้ เปน็ ภเู ขา
(ดอย) ทมี่ สี งิ่ สำ� คญั คอื มพี ระพทุ ธรปู อยทู่ นี่ น้ั อนั เปน็ ของตง้ั แตโ่ บราณนานนกั ประมาณ
๑๐๐ กวา่ ปี (๑ ศตวรรษ) และเปน็ ทสี่ กั การบชู าแหง่ มหาชน เปน็ ทนี่ า่ ยนิ ดี นา่ กราบไหว้
และเมอื่ พระธาตเุ สดจ็ ไปนน้ั กเ็ ปน็ รศั มฉี ายแสงออกไปใหส้ วา่ งรงุ่ เรอื งแผแ่ สงออกไป
กวา้ งไกลมาก คอื เปน็ ดวงกลมประมาณเทา่ บาตร แลว้ เสดจ็ ไปดว้ ยสี ๓ อยา่ ง คอื สแี ดง
เขยี ว ขาว ไปพรอ้ มกนั เมอื่ ไปถงึ ทภ่ี เู ขาอนั พระพทุ ธรปู มอี ยนู่ นั้ กไ็ ปหายลงทน่ี นั้ ครน้ั เมอื่
สมควรแก่เวลาแล้ว ก็เสด็จมายังท่ีอยู่ตามเดิมซึ่งรู้กาลเวลาที่จะเสด็จกลับมาได้เอง
เป็นอยา่ งดียิ่ง เทา่ ท่กี ล่าวมาโดยยอ่ นพี้ อเป็นเคร่ืองพิจารณาแหง่ พวกเราตอ่ ไป
พระธาตุ เทา่ ทก่ี ลา่ วมากค็ อื สง่ิ ทไ่ี มม่ จี ติ วญิ ญาณ ไฉนจงึ เปลง่ รศั มเี ปน็ ครงั้ คราว
แลว้ เสดจ็ ไปทส่ี ำ� คญั ๆ แลว้ รเู้ สดจ็ กลบั มาทอี่ ยเู่ ดมิ ได้ อนั พทุ ธวสิ ยั นเี้ หลอื วสิ ยั ทพ่ี วกเรา
จะตามรไู้ ด้ นบั เขา้ ในอจนิ ไตยอยา่ งหนงึ่ คอื เปน็ ของทไี่ มค่ วรคดิ ใหเ้ กนิ สามารถทจ่ี ะรู้
อนง่ึ ซง่ึ เปน็ ทนี่ า่ ยนิ ดี บารมี ๑๐ อยา่ ง มี ทานบารมี เปน็ ตน้ มี อเุ ปกขฺ าบารมี เปน็ ทส่ี ดุ
ทพี่ ระพทุ ธเจา้ ทรงสรา้ งใหเ้ ตม็ บรบิ รู ณแ์ ลว้ ทำ� ใหเ้ ปน็ พระพทุ ธเจา้ โดยเปน็ พระธาตกุ ใ็ ห้
ทำ� ปาฏหิ ารยิ ์ ซงึ่ นา่ อศั จรรยแ์ ละนา่ เลอ่ื มใส การเปน็ เชน่ นไี้ ดก้ ไ็ มใ่ ชอ่ นื่ ไกล คอื อำ� นาจ
ผลแหง่ บารมแี หง่ พระองคน์ น้ั เอง ทสี่ มควรพวกเราจะปฏบิ ตั ไิ ดต้ ามสามารถกจ็ ะไดร้ บั
ประโยชน์อนั เป็นของตนตามมากนอ้ ยโดยไมต่ อ้ งสงสยั ฯ

118

พระบรมธาตอุ ีก

ต่อไปน้ีใคร่จะเขียนเรื่องพระธาตุอีกสักเร่ืองหน่ึง เพ่ือผู้อ่านจะได้คิดหรืออ่าน
แปลกๆ หน่อยหนึง่

ยงั มหี ญงิ ๒ คน ในกาลไมน่ านนกั คนหนงึ่ ชอ่ื ยะเด้ เพราะแกแ่ ลว้ กเ็ รยี ก ยายยะเด้
คนหนง่ึ ชอื่ นางเสาร์ ยงั มคี นชาวสวนคนหนง่ึ ไดท้ ำ� สวนเปน็ อาชพี ครนั้ แลว้ คนชาวสวนนี้
ไดจ้ า้ งยายยะเดก้ บั นางเสาร์ สองคนนไ้ี ปหาขนี้ กคา้ งคาว (ขเ้ี จยี ) มาขายใหเ้ พอื่ ใสเ่ ปน็ ปยุ๋
ในสวนผกั ยายยะเดก้ บั นางเสารไ์ ปเอาขน้ี กคา้ งคาวทถ่ี ำ้� หนงึ่ อนั มที ภ่ี เู ขาแหง่ หนง่ึ และ
ถ�ำ้ นน้ั เรียกว่า ถำ้� ง่าว ภาษาอ่นื เรยี กคำ� ง่าว นี้ว่า โง่ คอื ถ้ำ� น้นั เม่ือใครเขา้ ไปแล้ว
ท�ำจิตใจให้โง่ไป แต่ภาษาเมืองนนั้ เรยี กความโง่วา่ ง่าว

ครนั้ แลว้ จงึ ไปเหน็ หมอ้ ลกู หนง่ึ มอี ยใู่ นถำ้� นน้ั เมอ่ื เหน็ วา่ เปน็ ของแปลก จงึ เอามา
เปิดฝาออกดบู ้าง เมอ่ื เปดิ ฝาออกก็เห็นกบั (ค�ำวา่ กบั จะเปน็ อบั หรือผอบหรือแอบ
ก็ไม่แน)่ อย่ขู า้ งในนนั้ อกี ชน้ั หนึ่ง และในกบั น้นั มีพระธาตอุ ยู่ในนัน้ ขนาดเท่าเมล็ด
ขา้ วโพด และมชี ้อนทอง คอื ชอ้ นทองค�ำและช้อนเงนิ อีกเป็น ๒ อยา่ ง ช้อนน้ีสำ� หรับ
ตกั พระธาตเุ วลาอาราธนาเชญิ ออกมาสรง ธรรมเนยี มอาราธนาเชญิ พระธาตอุ อกมาสรง
ไมใ่ ชม้ ือหยบิ เอาชอ้ นตักเชญิ ออกมา

เม่ือยายยะเด้กับนางเสาร์เหน็ วา่ เปน็ ของแปลก จงึ เอามาบ้านด้วย ครั้นเอามา
นางเสารก์ อ็ ยากไดไ้ ปไวบ้ า้ นตวั ยายยะเดก้ อ็ ยากไดม้ าไวท้ างบา้ นยายยะเด้ ยายยะเด้

119

จงึ วา่ กเู หน็ กอ่ น เอาไปไวบ้ า้ นกเู ถดิ แลว้ นางเสารก์ ย็ อมใหไ้ ป และกริ ยิ าอาการทเ่ี อามา
จากถำ�้ นนั้ เอาขน้ี กคา้ งคาวใสต่ ะกรา้ แลว้ กเ็ อาใบตองพลวง ทเี่ รยี กวา่ ตองกงุ บา้ ง เรยี กวา่
ตองตึงบา้ ง ปกบนขน้ี กค้างคาวท่ีปากตะกร้า แล้วเอาหมอ้ พระธาตุตง้ั ลงบนนน้ั แล้ว
หาบมา เมื่อเอามาถงึ บ้านแลว้ ก็เอาหมอ้ พระธาตไุ ว้ขา้ งเบ้อื งท่สี งู
ครัน้ เม่ือเป็นเชน่ นแี้ ล้ว พอเวลากลางคนื ดึกมากแลว้ (นา่ จะเปน็ เวลาตี ๑ หรือ
ตี ๒ หรือตี ๓) พระธาตุก็เปลง่ รศั มฉี ายแสงออกสวา่ งไสวไปหมดทัว่ เรอื นท่ัวบา้ น
เมอื่ ตนื่ ขนึ้ ไดเ้ หน็ เชน่ นนั้ แลว้ กแ็ ปลกใจตกใจวา่ เปน็ อะไรอยา่ งน้ี ของอยใู่ นหมอ้ นเ้ี อง
ทำ� ใหแ้ จง้ ใหส้ วา่ งอยา่ งน้ี เพราะยายยะเดแ้ กกเ็ ปน็ ผหู้ ญงิ แกกไ็ มร่ อู้ ะไรไปใหม้ าก และ
แกก็ยงั มีสตไิ ดด้ วี า่ คิดจะเอาไปบา้ นแก่บา้ น คอื บา้ นผูใ้ หญบ่ า้ น
คร้ันแล้วท่ีสุด แกก็เข้าไปบ้านผู้ใหญบ่ ้าน ตามความคดิ เห็นแล้วผู้ใหญ่บา้ นได้
พจิ ารณาเหน็ วา่ เปน็ พระธาตขุ องดขี องประเสรฐิ สมควรจะเชญิ เอาไปไวว้ ดั แลว้ ในทส่ี ดุ
ก็ได้เชิญเอาไปไว้วัด ชอื่ ว่า วดั ท่าขา้ ม โดยประชาชนทง้ั หลายก็ปีตยิ นิ ดีเป็นอนั มาก
ครนั้ แลว้ ตอ่ มา วดั ทา่ ขา้ มนนั้ กเ็ จรญิ ดขี นึ้ กวา่ แตก่ อ่ นแตเ่ ดมิ มา ในกาลไมน่ านทหี่ มอ้
พระธาตตุ กไปอยใู่ นถำ�้ น้ี จะเปน็ ดว้ ยเมอ่ื เกา่ กอ่ น ผรู้ กั ษาปฏบิ ตั พิ ระธาตจุ ะถกู กาลเวลา
มีข้าศึกสงครามแล้วกลัวพระธาตุจะตกไปในมือข้าศึก หรือจ�ำเป็นจะได้อพยพย้าย
บ้านเรอื นไปอยู่ทีใ่ ดทีอ่ น่ื จึงเอาพระธาตไุ ปซกุ ไวใ้ นถ�ำ้ กเ็ ลยรไู้ มไ่ ด้ และพระธาตุน้ี
ก็ถอื กนั วา่ เป็นพระธาตพุ ระสัมมาสัมพุทธเจา้ ฯ วดั ทา่ ข้าม อ�ำเภอแมส่ ะเลียง จงั หวัด
แม่ฮ่องสอน

120

พระธรรมคุณและพระธรรมไมเ่ สื่อม

สภาพทีท่ รงอย่เู ปน็ ธรรมดา ชือ่ ว่าพระธรรม ความไม่หวนั่ ไหว ชือ่ ว่าพระธรรม
ความเทยี่ งธรรม ชอื่ วา่ พระธรรม อนง่ึ พระธรรม คอื ศลี ธรรม สมาธธิ รรม ปญั ญาธรรม
วมิ ตุ ตธิ รรม วมิ ตุ ตญิ าณทสั สนธรรม มรรคธรรม ผลธรรม นพิ พานธรรม ผใู้ ดตง้ั อยู่
ในความไมห่ วน่ั ไหว ในความเปน็ ยตุ ธิ รรม ในความเปน็ กลาง ในความเทยี่ งธรรม ชอ่ื วา่
เป็นผ้ตู ง้ั อยู่ในธรรม หรือเรยี กวา่ ผมู้ ธี รรมมาต้งั อยูใ่ นใจ ต้งั อยใู่ นตน

พระพทุ ธศาสนา อนั ไดแ้ กค่ ำ� สงั่ สอนของพระสมั มาสมั พทุ ธเจา้ คอื ธมโฺ ม จ วนิ โย จ
แปลความว่า ธรรมดว้ ยวินัยดว้ ย นี้ก็คอื ส่วนท่เี ปน็ ศีลและส่วนท่ีเปน็ ธรรม รวมเข้า
เรยี กวา่ ศลี ธรรม หรอื รวมเรยี กวา่ ธรรม เปน็ ของบรสิ ทุ ธแิ์ ละสวา่ งแจม่ แจง้ อยเู่ ปน็ นติ ย์
คอื วา่ ศลี ฆา่ กเิ ลสอยา่ งหยาบ คอื ฆา่ โลภะ โทสะ โมหะ อยา่ งหยาบทใ่ี หล้ ว่ งการทำ� บาป
ดว้ ยกาย วาจา ใหด้ บั ไป สมาธฆิ า่ กเิ ลส คอื โลภะ โทสะ โมหะ อยา่ งกลาง ทเ่ี รยี กวา่
นวิ รณ์ ๕ ใหด้ บั ไป ปญั ญาฆา่ กเิ ลส คอื โลภะ โทสะ โมหะ อยา่ งละเอยี ด ทเี่ รยี ก อนสุ ยั ๗
ใหด้ บั ไป คราวน้กี ็ถงึ วิมตุ ตคิ วามหลุดพ้น ท่เี ป็นทีส่ ดุ แห่งพระพุทธศาสนาแล้วกเ็ ปน็
วิสทุ ธิ คอื กาย วาจา ใจ บริสุทธิ์ แลเป็นสนั ติ คอื ใจสงบยง่ิ แล้วกน็ ิพพานไปเอง

อยา่ งนถี้ อื เอาความวา่ เมอื่ ศลี ฆา่ กเิ ลสอยา่ งหยาบดบั ไปแลว้ ความสขุ กเ็ กดิ ขนึ้ ทเี่ รา
ไดข้ นั้ หนง่ึ และใจเรากร็ แู้ จง้ ทใ่ี จเราเองวา่ มคี วามสขุ มคี วามเยน็ ใจอยา่ งนๆ้ี เมอื่ สมาธิ
ฆา่ กเิ ลสอยา่ งกลางใหด้ บั ไปแลว้ ความสขุ กเ็ กดิ ขน้ึ อกี ทหี นง่ึ แลเรากร็ ไู้ ดท้ ใ่ี จเรานเี้ องวา่

121

มคี วามสขุ และละเอยี ดเขา้ ไป สขุ มากเขา้ ไปอกี ทหี นง่ึ เพราะวา่ การละกเิ ลสนน้ั ๆ เมอ่ื ละ
กเิ ลสไดม้ ากเทา่ ใด กไ็ ดร้ บั ความสขุ มากเทา่ นนั้ เมอ่ื ปญั ญาฆา่ กเิ ลสละเอยี ดใหด้ บั ไปแลว้
ความสขุ กเ็ กดิ มากยงิ่ ขนึ้ เมอ่ื ใจไดร้ บั ความเบา ความเบกิ บาน ความแชม่ ชน่ื คอื สขุ จรงิ ๆ
ท่ใี จตนแล้ว กเ็ หน็ ก็รู้ได้เอง ไมต่ ้องเชือ่ แต่ผอู้ นื่ บอก

นเ้ี องท่ีว่า สวฺ ากฺขาโต ภควตา ธมโฺ ม ที่แปลว่า พระธรรมอนั พระผมู้ ีพระภาค
ตรสั ดแี ลว้ สนทฺ ฏิ €ฺ โิ ก เปน็ ของอนั บคุ คลพงึ เหน็ เอง หมดเรอ่ื งทจ่ี ะถามผอู้ นื่ วา่ พระธรรม
มคี ณุ มปี ระโยชนจ์ รงิ หรอื ใหไ้ ดค้ วามสขุ จรงิ หรอื อยา่ งนเี้ สยี แลว้ เหมอื นตนกนิ อาหาร
ทดี่ ี มเี ปรยี้ วหวานทป่ี ากตนแลว้ กห็ มดเรอื่ งทจี่ ะถามหรอื ทจ่ี ะเชอ่ื แตผ่ อู้ นื่ และเหน็ อยู่
เหน็ ไดไ้ มเ่ ลอื กกาลเวลา และมอี ยแู่ ทไ้ มเ่ ลอื กฤดู วนั คนื เดอื นปี ทง้ั สน้ิ และเปน็ ของจะ
เรียกผ้อู ่นื มาดูมาชมมาปฏิบัติได้เพราะเปน็ ของดีแท้ และเป็นของจะพึงน้อมพึงน�ำมา
ใสต่ นได้ ไมเ่ หลอื วสิ ยั และพระธรรมทงั้ ดที งั้ จรงิ ดงั กลา่ วมาน้ี เปน็ ของอนั วญิ ญชู นผมู้ ี
ปญั ญาจะพงึ เหน็ แจง้ เฉพาะตวั จะไปเหน็ แทนคนอนื่ ผไู้ มม่ ปี ญั ญาหรอื ไมไ่ ดป้ ฏบิ ตั ติ าม
ธรรมนน้ั ไม่ได้

พระธรรมเทา่ ทกี่ ลา่ วมานคี้ อื ศลี สมาธิ ปญั ญา กย็ งั บรบิ รู ณอ์ ยู่ ไมไ่ ดส้ ญู หายไปไหน
อฏั ฐงั คกิ มรรค คอื มรรคมอี งค์ ๘ ทส่ี งเคราะหเ์ ขา้ ในศลี สมาธิ ปญั ญา ทเี่ ปน็ ทางปฏบิ ตั ิ
ใหถ้ งึ นพิ พานนนั้ กย็ งั บรบิ รู ณค์ รบทง้ั ๘ เทา่ เดมิ ยงั ไมข่ าดสญู ไปแตอ่ งคใ์ ดองคห์ นง่ึ
เฉพาะอยา่ งยง่ิ พระรตั นตรยั คอื พทุ ธคณุ ธรรมคณุ สงั ฆคณุ กย็ งั คง ๓ อยอู่ ยา่ งเดมิ
ไมม่ ขี าดตกบกพรอ่ งแปรเปน็ อนื่ หรอื ศลี ๕ กค็ งเตม็ ๕ ไมไ่ ดข้ าดหายไปไหน ทจี่ ะไดว้ า่
ยงั เหลอื แต่ ศลี ๓ หรอื ศลี ๒ ศลี ๘ กอ็ ยา่ งเดยี วกนั กย็ งั คง ๘ อยเู่ ทา่ เดมิ หรอื ถา้ วา่
ดว้ ยสตปิ ฏั ฐาน ๔ สมั มปั ปธาน ๔ อทิ ธบิ าท ๔ อนิ ทรยี ์ ๕ พละ ๕ โพชฌงค์ ๗ กย็ งั
เต็มส่วนบริบูรณ์ครบอยูท่ กุ อยา่ ง

เมอื่ เปน็ เชน่ น้ี ถา้ วา่ เสอ่ื ม กค็ อื พทุ ธบรษิ ทั ๔ ภกิ ษุ ภกิ ษณุ ี อบุ าสก อบุ าสกิ า เสอื่ มเอง
เพราะไม่ได้เรียนไม่ได้ศึกษาให้รู้ให้พอกันกับการศาสนา และไม่ได้ปฏิบัติตาม
พระศาสนา คอื ศลี สมาธิ ปญั ญา อนั เปน็ ขอ้ ปฏบิ ตั ิ เปน็ ตน้ ทพ่ี ระสมั มาสมั พทุ ธเจา้ ตรสั
ไวแ้ ลว้ หรอื เฉพาะบางคน ถา้ หากวา่ มที เ่ี หน็ ไปวา่ พทุ ธศาสนานเ้ี ปน็ ของเกา่ แกไ่ ปแลว้

122

ถงึ จะปฏบิ ตั เิ ทา่ ไรกไ็ มเ่ หน็ ไปไหนมาไหน ไมเ่ ปน็ ของแปลก ครนั้ แลว้ กท็ อดทงิ้ ศลี ธรรม
ค�ำสั่งสอนเสียหมด ทั้งระเบียบธรรมเนยี มประเพณีท่ดี ีเสยี แล้ว ไปประพฤตทิ างอน่ื
อันเป็นทางไมช่ อบแก่ศลี ธรรม เขา้ ใจวา่ มีความสนกุ มีความสขุ อนั เลอเลิศ

ดังที่กล่าวมาน้ี ก็เป็นทางเส่ือมทางเศร้าหมองแห่งศาสนา แต่เส่ือมด้วยเหตุ
อยา่ งอน่ื กม็ มี ากแลว้ แตเ่ หตกุ ารณ์ แตไ่ มป่ ระสงคจ์ ะนำ� มากลา่ วในทน่ี ใี้ หท้ วั่ ถงึ ทเ่ี หน็ วา่
ศาสนาเปน็ ของเกา่ แลว้ หรอื เหน็ วา่ เวลานศ้ี าสนาลว่ งไปมาก มรรคผลวายไปแลว้ หมดเขต
ทจี่ ะไดม้ รรคผล ถงึ จะปฏบิ ตั ดิ อี ยา่ งไร จะเอามรรคผลใหไ้ ด้ กไ็ มไ่ ดอ้ ยเู่ อง ครน้ั แลว้
กว็ างใจ ไมเ่ กย่ี วขอ้ งกบั วดั กบั ศาสนาไปทเี ดยี ว อยา่ งนดี้ เู หมอื นนา่ สงั เวชและนา่ เสยี ดาย
กศุ ลและความสขุ ทต่ี นจะได้ ซง่ึ เปน็ ผคู้ วรจะไดร้ บั คณุ ความดที กุ หนา้ ทใี่ นทางนี้ ถา้ ไมไ่ ด้
ไมถ่ งึ โลกุตระชั้นมรรคผล เมือ่ ใหเ้ ป็นกศุ ลเปน็ บุญไดแ้ ลว้ ถึงเป็นโลกยิ กศุ ลก็ยงั ดี

ทกี่ ลา่ วอยา่ งนแี้ ลว้ ใครอ่ ยากจะกลา่ วสมมตุ วิ า่ มบี รุ ษุ ผหู้ นงึ่ ตามดื บอด ไมเ่ หน็ แจง้
สวา่ งได้ เมอ่ื ไดย้ นิ วา่ บอ่ เพชรบอ่ พลอยทางโนน้ มี และเพชรพลอยบอ่ นมี้ มี าก เหลอื ท่ี
จะมากและไม่มีทางเลือกฤดูเดือนปีเลย ก็ไปขุดเพชรพลอยดูบ้าง เมื่อขุดแล้วในท่ี
บริเวณน้ันๆ ก็มากไปด้วยเพชรด้วยพลอย แต่ไม่รู้ว่าจะเอาเม็ดไหนที่จะเป็นเพชร
เปน็ พลอย กเ็ ลยไมร่ บั สะดวก มแี ตค่ วามลำ� บากอยนู่ นั้ เอง จะเอารำ่� รวยใหม้ ง่ั ใหม้ กี เ็ ลย
เอาไมไ่ ด้ แลว้ กค็ ดิ ไปตา่ งๆ บา้ งวา่ จะมเี พชรพลอยหรอื ไมม่ จี รงิ อยา่ งไรกไ็ มแ่ น่ เพราะ
เราก็ไมเ่ ห็นแจ้งกับตาเราเอง เปน็ อันว่าลำ� บากเพราะไม่เหน็ ไม่รู้ พดู งา่ ยๆ ว่าตาบอด
ไปขดุ เพชรขดุ พลอย เลยไมไ่ ด้ความ

เมอื่ เปน็ เชน่ นี้ จะกลา่ วใหโ้ ทษวา่ ไมม่ เี พชรพลอยหรอื จะวา่ เพชรบอ่ นเ้ี กา่ แกไ่ ปแลว้
เหน็ จะเปน็ ทรี่ ว่ งโรย เหน็ จะไมม่ เี พชรพลอย ถา้ ฝนื ขดุ ไปกจ็ ะมแี ตค่ วามเหนอ่ื ยความ
ลำ� บากเปลา่ เพราะไมเ่ หน็ มอี ะไรกบั ตาได้ ถา้ ไปนง่ั บน่ นง่ั วา่ ใหโ้ ทษแกบ่ อ่ เพชรบอ่ พลอย
อยอู่ ยา่ งน้ี คนตาดที เ่ี ขาไปขดุ ไดม้ ากๆ เขากห็ วั เราะ ฉะนน้ั จะไปตเิ ตยี นนนิ ทาบอ่ เพชร
บอ่ แกว้ วา่ มโี ทษมากเพราะเกา่ แลว้ และไมม่ เี พชรมแี กว้ ไมไ่ ด้ ทไ่ี มไ่ ดเ้ พชรพลอยใหเ้ ปน็
ลาภเป็นรวยก็ด้วยเพราะตาของผไู้ ปขุดไม่เหน็ เอง ตกลงวา่ โทษอยู่ทต่ี าไม่เห็น ไมใ่ ช่
โทษอยทู่ ีข่ ้างบอ่ เพชรบอ่ แก้ว ส่วนบอ่ และตัวเพชรพลอยหาโทษมไิ ด้ เปน็ ของมีแท้

123

ผู้เห็นว่าพระพุทธศาสนาน้ีเป็นของเก่าแก่ ถึงจะปฏิบัติเท่าใดก็ไม่ได้มรรคผล
เพราะหมดเขตมรรคผลจะเกดิ จะมีเสียแล้ว ถึงจะวา่ มผี ไู้ ดผ้ ูถ้ ึง เราก็ไมเ่ หน็ กับตาเรา
ถ้าจะวา่ ศาสนามีมรรคมผี ลไมเ่ ลอื กกาล กไ็ มเ่ ห็นมผี ู้ใดเปน็ ผไู้ ดผ้ ู้ถึง และตวั เราเอง
ก็ไม่เห็นไปไหนมาไหน เหมือนบุรุษคนผู้เสียจักษุคือตาบอดไปขุดเพชรขุดพลอย
เม่ือไม่ไดเ้ พชรพลอยแล้ว ก็นั่งบ่นนัง่ ว่าบอ่ เพชรบอ่ พลอยฉะน้ัน

อย่างหนึง่ ใคร่จะกล่าวอุปมาแถมอีก คอื อุปมาเหมอื นทองคำ� ทเี่ ป็นธรรมชาติ
บรสิ ทุ ธแิ์ ลว้ บางคราวบางสมยั บคุ คลไมน่ ยิ มเขานยิ มสง่ิ อนื่ ไปเสยี ราคาทองคำ� กต็ กตำ่�
แตบ่ างครงั้ ประชาชนไมม่ สี ง่ิ อนื่ จะนยิ มกวา่ กน็ ยิ มทองคำ� วา่ เปน็ ดี ราคาทองคำ� กส็ งู ขนึ้
ความเป็นเช่นน้ีไม่ใช่ทองค�ำเส่ือมลงและเจริญขึ้น คือเวลาทองค�ำราคาตกต่�ำก็ไม่ใช่
ทองคำ� นนั้ เปลยี่ นรปู กลายเปน็ ของไมบ่ รสิ ทุ ธไ์ิ ป และกไ็ มเ่ สยี ใจวา่ ตนไมม่ ใี ครนบั ถอื แลว้
กก็ ลายเป็นตะกว่ั เป็นทองแดงทองเหลอื งไป ก็คงเปน็ ทองคำ� อยู่เท่าเก่าคงท่ี

เมอ่ื สมยั ใดคนนยิ มทำ� ราคาใหส้ งู ขนึ้ กค็ งเปน็ ทองอยเู่ ทา่ เดมิ และกไ็ มด่ ใี จเหอ่ เหมิ
แลว้ กลายตวั ใหเ้ ปน็ ทองวเิ ศษยง่ิ ขนึ้ กท็ รงตวั คงทม่ี สี มี เี นอ้ื อยเู่ ทา่ นน้ั ตามเคย และถา้
เมื่อบางคราวได้ลงไปอยใู่ ตด้ นิ ขโี้ คลนได้ ๑๐ ปี ๑๐๐ ปี หรือยิ่งกว่านัน้ ไมม่ ใี ครเหน็
ก็ทรงตัวเป็นทองค�ำอยู่ได้ ดินและขี้โคลนไม่สามารถจะท�ำให้ทองค�ำนั้นเสื่อมเสีย
แตอ่ ยา่ งใดอยา่ งหนงึ่ การเปน็ อยา่ งนี้ เมอ่ื คราวทองคำ� ราคาตำ�่ กเ็ ปน็ ดว้ ยคนทำ� ราคา
ใหต้ ำ่� เอง เมอื่ คราวทองราคาสงู กเ็ ปน็ ดว้ ยคนนยิ มทำ� ราคาใหส้ งู เอง ตกลงวา่ เปน็ เรอื่ ง
ของคนตามยคุ ตามคราว

ศาสนาประกอบไปดว้ ยประโยชนท์ ดี่ ี เปน็ ศลี ธรรมอนั ดอี นั จรงิ พระพทุ ธเจา้ แสดง
ไวท้ ง้ั สว่ นโลกียธรรม ท้งั ส่วนโลกตุ รธรรม กเ็ ป็นของสว่าง เปน็ ทางให้ไปสู่ความดี
จนมรรคผลนิพพานกเ็ ป็นอย่อู ย่างน้ัน แม้ถงึ คราวทค่ี นไม่รู้ไม่เห็นหรือไม่ปฏบิ ัตติ าม
พระธรรมนน้ั กค็ งมแี ละบรสิ ทุ ธอิ์ ยู่ ไมไ่ ดเ้ คลอื่ นหนสี ญู หายไปไหนจากโลกน้ี เปน็ แต่
คนไมร่ ไู้ มเ่ หน็ เองเทา่ นั้น

124

ผ้ไู มป่ ฏบิ ตั ิไม่ไดด้ ืม่ กนิ รสพระธรรม

ขอ้ อนื่ ยงั มอี กี ผถู้ อื พระพทุ ธศาสนากเ็ ปน็ การดี ผเู้ รยี นผทู้ รงจำ� พระพทุ ธศาสนา
ไดม้ ากกเ็ ปน็ การดยี อ่ มเปน็ ทชี่ อบยง่ิ เมอื่ ไดป้ ฏบิ ตั ไิ ดเ้ ทา่ ใดตามสามารถของตนๆ กไ็ ด้
รสปตี อิ มิ่ ใจตามมากนอ้ ย แตว่ า่ ถา้ ศาสนาอนั ประเสรฐิ ประกอบดว้ ยรสใหเ้ อบิ อม่ิ ใจนี้
เมอื่ ยังไมไ่ ด้น�ำมาปฏิบัติตาม ก็ยงั ไมไ่ ด้ด่มื กนิ ซง่ึ รสพระธรรมเมื่อนน้ั

ดงั ทท่ี า่ นเปรยี บไวว้ า่ เหมอื นคนเลย้ี งโคในวนั หนงึ่ ๆ กจ็ ะตอ้ งไดต้ ามฝงู โค ไลไ่ ป
เลยี้ งทมี่ หี ญา้ และนำ�้ ครนั้ ถงึ เวลา กต็ อ้ นโคกลบั มาใหไ้ ดแ้ ละไมใ่ หโ้ คหาย การเปน็ เชน่ นี้
คนเลยี้ งโคกไ็ ดค้ า่ จา้ งไมข่ าดได้ แตไ่ มไ่ ดก้ นิ รสแหง่ นำ้� นมโคทตี่ นเลย้ี งและตามฝงู โค
อยทู่ กุ วนั เป็นแต่ได้ค่าจ้างเลี้ยงเท่าน้ัน

ดงั มที ม่ี าจะถอื เอาใจความวา่ พระนาคเสน เรยี นพระไตรปฎิ กทพ่ี ระอาจารยจ์ บแลว้
กว็ ่าเปน็ ผู้เช่ยี วชาญอยา่ งดี แตพ่ ระอาจารย์ไดเ้ ตือนพระนาคเสนวา่ ดูกอ่ นนาคเสน
ทา่ นไดเ้ รยี นพระไตรปฎิ กจบแลว้ นน้ั กเ็ ปน็ การดี แตว่ า่ คนเลย้ี งโคไดแ้ ตค่ า่ จา้ งเลย้ี งโค
เท่าน้นั ถา้ ไม่ไดก้ ินรสแหง่ นำ้� นมโค ก็ไม่รู้ว่านำ�้ นมโคนัน้ มีรสหวานมันเท่าไร มรี สดี
เพียงไหนเลยรู้ไม่ได้ สว่ นน้�ำนมโคนั้น กผ็ เู้ จ้าของโคได้ดื่มกินรสแหง่ นำ้� นมโคน้นั

เมอื่ พระนาคเสนไดฟ้ งั อยา่ งนแี้ ตพ่ ระอาจารย์ เพราะตนเปน็ ผเู้ ชย่ี วชาญมปี ญั ญา
อยแู่ ลว้ กไ็ ดส้ ตแิ ละสะดงุ้ ในใจ รบี ออกไปไดท้ สี่ งดั แลว้ บำ� เพญ็ สมณธรรมปฏบิ ตั ติ าม
ทต่ี นเรยี นรู้ ไมน่ านกไ็ ดส้ ำ� เรจ็ พระอรหตั ตผล ถอื เอาความวา่ ผรู้ ศู้ าสนา รศู้ ลี รธู้ รรม

125

แตถ่ า้ เมอ่ื ไมป่ ฏบิ ตั ติ ามศลี ธรรมทรี่ แู้ ลว้ กไ็ มไ่ ดป้ ตี ปิ ราโมทย์ ยงั ไมส่ มกบั ทพ่ี ระพทุ ธเจา้
ตรัสว่า บคุ คลผเู้ ขา้ ไปดื่มรสอันเกิดแตว่ ิเวกและรสธรรมเป็นทีเ่ ข้าไประงับ ดมื่ รสปีติ
อนั เกดิ แต่ธรรม ยอ่ มไมไ่ ดค้ วามกระวนกระวาย ไม่มีความเศร้าหมอง

126

ธรรมเป็นขอ้ ๆ

ต่อไปนีใ้ คร่จะเขยี นธรรมเป็นข้อๆ เพื่อผอู้ ่านพิจารณาดังนี้

๑. ความรกั ในโลกยอ่ มมนี านาประการ ถา้ จะกลา่ ววา่ ความรกั ลกู ความรกั เมยี
เป็นยิ่งกว่าสิง่ อ่ืนและกลา่ ววา่ รักพ่อรักแม่ เป็นความรักกว่าอะไรท้ังหมด บางคนกว็ ่า
รกั ศลี รกั ธรรมเปน็ รกั กวา่ อะไรทงั้ นนั้ กเ็ ปน็ สงิ่ ทกี่ ลา่ วทง้ั หมดดว้ ยกนั หรอื อาจกลา่ ววา่
รกั วชิ ารกั เรยี นเปน็ ตอ้ งรกั กวา่ สงิ่ อะไรๆ ในโลก ผปู้ รารถนาพทุ ธภมู ิ หรอื อคั รสาวกภมู ิ
และปัจเจกภมู ิก็น่าจะกล่าววา่ พทุ ธภูมิ ปจั เจกภูมิ อคั รสาวกภูมิ เป็นทร่ี กั อยา่ งยง่ิ
ไมม่ อี ะไรสไู้ ด้ แตพ่ งึ รเู้ ถดิ วา่ ความรกั ตนนนั้ แล เปน็ ความรกั ยงิ่ กวา่ ความรกั ทง้ั หลาย
ไดท้ ม่ี าในบาลวี า่ “นตถฺ ิ อตตฺ สมํ เปมํ ความรกั จะเสมอดว้ ยรกั ตนไมม่ ”ี รกั สง่ิ อน่ื มาก
กจ็ รงิ อยู่ แตก่ ็ตอ้ งปรารภตนกอ่ น

๒. แสงสวา่ งทมี่ อี ยใู่ นโลกนม้ี ากหลาย มที ง้ั แสงพระอาทติ ยท์ ส่ี วา่ งไปไดใ้ นทไ่ี กล
และแสงพระจันทร์ก็นับว่าเป็นแสงสว่างหน่ึงได้ ยังแสงไฟปกติก็นับว่าอย่างหนึ่ง
เหมอื นกนั ซำ้� ยังประกอบไฟน้นั ให้แสงสว่างเป็นพิเศษ ถ้าจะกลา่ ววา่ ส่งิ เหลา่ นี้และ
สว่างมากก็ชอบอยู่แล แต่พึงรู้เถิดว่า แสงสว่างคือปัญญา เป็นสว่างกว่าแสงสว่าง
ทั้งหลายได้ ในบาลีเป็นใจความวา่ “แสงสว่างจะเสมอดว้ ยปัญญาไม่ม”ี ความสวา่ ง
อย่างอืน่ เป็นแต่สวา่ งภายนอก จะสอ่ งไปให้เหน็ กรรมวา่ ทำ� ดไี ดด้ ี ท�ำชว่ั ไดช้ ่วั เช่นน้ี
เปน็ ต้น กส็ ่องไปให้ไมถ่ งึ แตป่ ัญญาย่อมสว่างไปได้โดยประการทง้ั ปวง ไม่มอี ะไร

127

ส่องถึงเท่าปัญญาได้ ถึงแม้จะมีส่ิงที่อยู่ใต้น�้ำหรือใต้ดิน ปัญญาย่อมส่องได้ หรือ
ฝา่ ยธรรมท่ีเปน็ โลกียธรรมถงึ โลกตุ รธรรม มรรคผลนิพพาน ปัญญากท็ �ำใหแ้ จ้งได้

๓. คนเรายอ่ มมีการเมาอยูแ่ ล บางครั้งกเ็ มาฝิน่ บางครั้งกเ็ มากญั ชา และบางที
กเ็ มาอาหารทเี่ รากนิ อนั ใดอันหนึ่งก็มี เมาอยา่ งที่กล่าวมานีก้ ็เปน็ อยา่ งหนึ่ง และกอ็ าจ
เป็นได้ แต่ให้คิดเห็นไปอีกว่า เมาโลกีย์ลืมตาย เมากายลืมแก่ เมาเมียลืมแม่
เมาชอบเนื้อลืมกรุณา เมาสุราลืมคำ� สัตย์

๔. คนเราย่อมให้กนั ในสิง่ ใดสิ่งหน่ึง เปน็ มาแตน่ มนาน ให้เปน็ การตอบแทน
บญุ คุณ อยา่ งให้พ่อให้แม่ก็มี หรือให้ดว้ ยเพราะกรุณาแก่ผ้ขู อกม็ ี แตใ่ นที่นีใ้ ครจ่ ะ
กลา่ วอีกทวี ่า ผซู้ าวอยู่ท่มี อื ผูถ้ อื อยทู่ โ่ี กรธ ผใู้ ห้คุณให้โทษอย่ทู ่ีกรรม (ทำ� ดที ำ� ชัว่ )
ท�ำดีให้รับผลดี ท�ำชว่ั ให้รบั ผลชว่ั

๕. วาจาทคี่ นเราตอ้ งพดู ตอ้ งกลา่ วมมี ากหลาย บางคนกม็ กั บรรยายความใหม้ ากได้
บางคนกพ็ ดู นอ้ ย และแตบ่ างคนกม็ กั กลา่ วพอประมาณ การเจรจาดงั ทก่ี ลา่ วมากย็ งั ดี
ยอ่ มจะพอฟงั ได้ แตพ่ งึ รวู้ า่ วาจาแมส้ กั รอ้ ยหนงึ่ หรอื ยงิ่ มากกวา่ พนั ถา้ วาจานน้ั ฟงั ไมไ่ ด้
ปญั ญาเครอ่ื งรู้ และไมไ่ ดส้ ตเิ ครอ่ื งตน่ื เครอื่ งเตอื นใจอนั ใดได้ วาจานนั้ ยงั ไมป่ ระเสรฐิ
แตว่ าจาใดฟงั แลว้ แมเ้ ลก็ นอ้ ย แตฟ่ งั ไดส้ ติ วาจานน้ั คำ� เดยี วยงั ดกี วา่ ไดใ้ นบาลที มี่ ามี
ใจความวา่ (วาจาแมส้ กั พนั หนงึ่ แตไ่ มแ่ สดงประโยชน์ (ฟงั ไมเ่ ปน็ ทสี่ งบระงบั ได)้ วาจานนั้
ยงั ไมป่ ระเสรฐิ ผใู้ ดกลา่ วคาถาแมบ้ ทหนง่ึ ฟงั เปน็ ทสี่ งบระงบั ได้ คาถาทผี่ นู้ น้ั กลา่ วแลว้
นั้นบทเดยี วประเสริฐกวา่ )

๖. วาจาทก่ี ลา่ ว ถา้ เวน้ วาจาสอ่ เสยี ด เวน้ วาจามสุ าได้ กเ็ ปน็ การดี ทกี่ ลา่ วแลว้ เวน้
คำ� หยาบ เวน้ คำ� เพอ้ เจอ้ ได้ กเ็ ปน็ การดี แตพ่ งึ รวู้ า่ วาจาทผี่ ใู้ ดกลา่ วดว้ ยปญั ญา แสดง
เหตดุ ว้ ย แสดงผลดว้ ย คือพูดมเี หตผุ ลและประกอบดว้ ยปัญญา วาจาของผ้นู นั้ จึง
ไพเราะ

๗. ไฟใดทเ่ี กดิ แลว้ ทบ่ี า้ นนอกและในเมอื งทวี่ า่ รอ้ น หรอื ไฟใดทเ่ี กดิ ในภเู ขาแล
ในปา่ ท่รี าบ หรือที่ดอนและทีใ่ ดๆ ท้ังหมด ไฟเหล่านไ้ี มป่ รากฏวา่ จะให้ล�ำบากด้วย

128

รอ้ นเทา่ ใดนกั และเปน็ ไฟภายนอกหรอื รอ้ นแตพ่ ระอาทติ ยก์ ไ็ มร่ า้ ยแรงเสยี อกี แตว่ า่
ไฟทใ่ี หร้ อ้ นจะเสมอดว้ ย ไฟคอื ราคะ ไฟคอื โทสะ ไฟคอื โมหะ ไมม่ เี ลยในโลก ทย่ี าก
อยา่ งยิ่งอันผหู้ วังจะดบั แลว้ ให้ใจนน้ั ถงึ ความสุขอนั แท้จรงิ ได้

๘. ถา้ จะกลา่ วใกลๆ้ วา่ ทกุ ขเ์ กดิ แตค่ วามยากจน ไมม่ ที รพั ย์ ทกุ ขเ์ กดิ แตค่ วาม
ไมม่ ที รพั ยจ์ ะจา่ ย บรโิ ภค เครอ่ื งนงุ่ หม่ ทอ่ี ยทู่ น่ี อน ทกุ ขเ์ กดิ แตเ่ พราะเปน็ หนที้ า่ นผอู้ น่ื
ทกุ ขเ์ กดิ แตป่ ระกอบการงานทางผดิ มากดว้ ยโทษอยา่ งนก้ี ฟ็ งั ได้ แตพ่ งึ รเู้ ถดิ ทกุ ขใ์ นโลก
จะเสมอดว้ ยขันธ์ ๕ ไม่มี

๙. ถา้ จะกลา่ ววา่ ความประจวบกบั สงิ่ ทไ่ี มช่ อบใจเปน็ ทกุ ข์ ความพรากจากความรกั
ของชอบใจเปน็ ทกุ ข์ ความปรารถนาสงิ่ ใดไมไ่ ด้ตามปรารถนาเป็นทกุ ข์ กย็ ง่ิ เปน็ การ
ถกู ตอ้ ง กแ็ ตพ่ งึ เขา้ ใจอกี วา่ ความทกุ ขย์ ง่ิ กวา่ ความไมส่ งบไมม่ ี ไมส่ งบกาย ไมส่ งบวาจา
ไม่สงบใจลงได้ เพราะ อวชิ ชา ตัณหา เปน็ ทุกข์อยา่ งยิง่

๑๐. ความไปยอ่ มมมี ากอยา่ งมนี านาประการ ไปทำ� การคา้ ยอ่ มได้ กลา่ ววา่ ไปนาน
หรือไปช้า ได้กลับมาชา้ หรอื มาเร็ว ไปไม่กลบั มาก็มอี ยบู่ า้ ง ไปผิดหรอื ไปชอบ อันน้นั
ก็แล้วแตเ่ หตกุ ารณ์ และร้กู นั อยแู่ ล้วว่ามกั ไปดว้ ยเท้าปกติ แต่ใหค้ ดิ ไปอกี ทีหนงึ่ ว่า
ผ้กู ินอยู่ท่ปี าก ผยู้ ากท่ใี จ ผไู้ ปอยู่ที่ทอ้ ง

๑๑. ใครเรยี นใครก็รู้ส่งิ ทง้ั หลาย ใครเรียนช่างไม้กร็ ชู้ ่างไม้โดยการ ใครเรยี น
แพทย์เยียวยาพยาบาลก็รู้ได้ดีในทางนั้นท้ังภายในภายนอก ใครเรียนวิศวกรรม
พาณชิ ยกรรม กสกิ รรม แตล่ ะอยา่ งกอ็ าจรไู้ ดต้ ามวชิ า และยอ่ มไดย้ อ่ มมเี ปน็ สว่ นมาก
เหลา่ นนี้ กั ปราชญท์ งั้ หลายไมก่ ลา่ ววา่ หาไดย้ ากนกั แตพ่ งึ รวู้ า่ “บคุ คลผรู้ คู้ ณุ ของผอู้ น่ื
ที่ท�ำให้แก่ตนแล้วตอบแทน” ความรู้อย่างนี้เป็นคุณธรรมของผู้ดีท่ีหาได้ยากในโลก
ถา้ หากมอี ยู่และหาไดแ้ ล้ว ผนู้ นั้ ควรชมและควรถือเป็นแบบอยา่ งได้

๑๒. ความมที รพั ย์ เปน็ วญิ ญาณกทรพั ย์ ชา้ ง มา้ โค กระบอื เปน็ ตน้ อวญิ ญาณกทรพั ย์
แกว้ แหวน เงนิ ทอง เปน็ ตน้ ความมดี งั ทกี่ ลา่ วมานี้ มนี นั้ แลเปน็ ดี ใครเลยจะไมก่ ลา่ ววา่
ความมีทรพั ยเ์ ปน็ ของดีในโลก ซ่งึ ทำ� ให้ได้ความสขุ ความสนกุ ใจแกผ่ ู้ม่ังมเี หลอื ทจี่ ะ

129

กล่าวให้ท่ัวถึง แต่พึงรู้เถิดว่า ยังเป็นความมีภายนอกอยู่ก่อนท่ีเป็นทรัพย์นอกตัว
ก็แต่ว่าศีลธรรมในที่น้ี ช่ือว่าเป็นทรัพย์ในตัวแท้ท่ีไม่มีภัยแก่ผู้ทรงศีลผู้รักษาศีลให้
บรสิ ทุ ธิไ์ ด้

ภยั คือ โจร ไฟไหม้ น�ำ้ ทว่ ม ไมม่ ีแก่ศลี ธรรม ศีล แปลวา่ ทรงไว้หรอื ตั้งไวเ้ พอ่ื
กศุ ลธรรมทงั้ ปวง ศลี แปลวา่ อดุ ม ศลี แปลวา่ เยน็ ศลี แปลวา่ อนั บณั ฑติ พงึ สอ้ งเสพ คอื
รกั ษาเปน็ อยา่ งดี และเปน็ ทสี่ รรเสรญิ แหง่ นกั ปราชญท์ งั้ หลาย มพี ระสมั มาสมั พทุ ธเจา้
เป็นต้น ได้ในบาลีเป็นใจความว่า “ก็ผู้ใดมีศีลช่ัวเลวทราม (คือความประพฤติช่ัว
เลวทราม) มีใจไม่ม่ันคง พงึ เป็นอยู่ ๑๐๐ ปี (ไม่ประเสริฐ) ผมู้ ศี ีลและมีความเพง่
พจิ ารณาวนั เดยี วประเสรฐิ กวา่ ” ความวา่ ผไู้ มม่ ศี ลี ธรรม ใหว้ นั คนื ลว่ งไปไดร้ อ้ ยปี วนั คนื
ของผนู้ นั้ ยงั ไมป่ ระเสรฐิ แตผ่ มู้ ศี ลี ธรรมดี มคี วามเพง่ พจิ ารณาใหว้ นั คนื ลว่ งไปวนั เดยี ว
ประเสริฐกวา่ นน้ั

๑๓. การกลา่ วสั่งสอนกนั ได้เคยมีมาแล้วแต่โบราณกาล การใหโ้ อวาทการฝึก
การอบรม ยอ่ มทำ� ประโยชนใ์ หเ้ กดิ ขน้ึ กแ็ ตม่ คี วามในภาษติ วา่ ผจู้ ะสอนยงั ไมส่ อนตนกอ่ น
ผจู้ ะใหโ้ อวาทยงั ไมใ่ หโ้ อวาทตนกอ่ น ภาษติ หรอื โอวาทนน้ั ยงั ไมข่ ลงั และไมไ่ พเราะ พงึ รวู้ า่
บคุ คลเมอ่ื จะสอนผอู้ น่ื อยา่ งใด พงึ ทำ� ตนอยา่ งนนั้ กอ่ น ถา้ เมอ่ื บดิ าหรอื มารดาจะสอน
บตุ รอยา่ งใด กค็ วรทำ� ตนอยา่ งนน้ั จะหา้ มผอู้ นื่ ฉนั ใด กพ็ งึ หา้ มตนฉนั นนั้ กอ่ น แลว้ จงึ
หา้ มผอู้ น่ื ภายหลงั โอวาทนนั้ จงึ ไพเราะไดจ้ งึ ไมล่ ำ� บาก ไดใ้ นบาลี “บณั ฑติ พงึ ตงั้ ตนไว้
ในคณุ อันสมควรกอ่ น จึงสอนผอู้ ่ืนภายหลังจงึ ไม่ลำ� บาก” ดังนี้

๑๔. การใหโ้ อวาท การกลา่ วสอนคนอน่ื ไดม้ มี าแลว้ มากหลาย และยอ่ มไดผ้ ลดมี า
กม็ ากตอ่ มาก ไมว่ า่ กจิ การใดๆ และตรงกนั ขา้ ม ทไี่ มไ่ ดผ้ ลกย็ อ่ มมี คอื มไี ดก้ ย็ อ่ มมเี สยี
กแ็ ตใ่ นทน่ี ้ี เมอื่ คดิ ไปกใ็ หใ้ ครก่ ลา่ ววา่ ผอู้ น่ื สอนไดย้ ากกต็ ามที แตไ่ ฉนยอ่ มมี ในทมี่ าวา่
ตนเองสอนไดย้ าก แทนทวี่ า่ กายตนเองกอ็ ยทู่ ต่ี นและอยใู่ นทใ่ี กล้ วาจาตนเองกอ็ ยทู่ ต่ี น
ใจของตนเองกอ็ ยทู่ ตี่ นและอยใู่ นทใ่ี กลอ้ ยา่ งยงิ่ แลว้ จะสอนงา่ ยมใิ ชห่ รอื ไฉนจงึ ตอ้ ง
ตรงกนั ขา้ มวา่ ตนเองสอนไดย้ าก ไดใ้ นบาลเี ปน็ ใจความวา่ “ถา้ วา่ บคุ คลจะสอนผอู้ นื่
ฉันใด ควรท�ำตามฉันน้ัน ฝึกตนดีแลว้ หนอจงึ ฝึกผอู้ นื่ ไดย้ ินว่าตนเองฝึกไดย้ าก”

130

๑๕. ผใู้ ดผจญคนรา้ ยไดต้ ง้ั หมน่ื หรอื ตงั้ แสนกด็ ี สจู้ ระเขแ้ ละมงั กรหรอื พาลไพร
ได้ถึงลา้ นก็ดี หรอื สู้เสือสู้หมฝี ูงโคและหมูช่ ้างได้ตง้ั หมืน่ จะว่าเป็นผู้มีชยั นา่ อศั จรรย์
กจ็ รงิ ยงั ฟงั ได้ แตย่ งั ไมใ่ ชผ่ ชู้ นะประเสรฐิ กอ่ น พงึ รวู้ า่ ถา้ ผใู้ ดชนะใจตนอนั เดยี ว ไดช้ อ่ื วา่
มชี ยั เปน็ ผชู้ นะเลศิ ถา้ เราแพใ้ จทป่ี ระกอบดว้ ยความหลงและความอยากน้ี มนั กใ็ หเ้ รา
อยใู่ ตเ้ หลอื ทจี่ ะยงุ่ ยาก ถา้ เราเอาชนะได้ เรากใ็ ชม้ นั บา้ ง คราวนไี้ ดอ้ ยเู่ หนอื อยสู่ งู นหี้ มาย
ใจทฝี่ กึ ดแี ลว้ ในขน้ั หนง่ึ ถา้ ใจใครจ่ ะทำ� ในทางผดิ มสี ตชิ กั ใหห้ ยดุ ได้ มสี ตเิ ตอื นไปใน
ทางชอบแล้วแต่สิ่งอันนี้ นี้ก็ชือ่ ว่าชนะอยา่ งหน่ึง

๑๖. ผู้ใดได้ทำ� คณุ แก่คนอ่ืนแล้วมากหลาย ไดห้ ยิบยกสง่ิ ท่ีมีของตนให้แกก่ นั
เปน็ อเนก ไดม้ ากแลว้ ขวนขวายชว่ ยคนอนื่ ดว้ ยเมตตาจติ และกรณุ าจติ เปน็ เทย่ี ง การทำ�
ไดแ้ ลว้ นเ้ี ปน็ การทำ� ดที ำ� ชอบแกต่ นและคนอนื่ แท้ แตพ่ งึ รเู้ ถดิ วา่ ความสขุ จะมแี ตผ่ ใู้ ห้
ก็คือไม่หวังแม้การตอบแทน ถ้าหวังว่าจะได้การตอบแทนมาแล้วทุกอย่าง ก็เป็น
ความหวงั โดยเขลาโดยโง่

๑๗. ไมค้ ด เขากใ็ ชท้ ำ� ขอและในงานมนี านาอเนก ทำ� กงลอ้ หรอื แอกไถ ทำ� อะไรๆ
หลายอยา่ งยงั มมี าก เหลก็ งอ คนกย็ งั ปรารถนาทำ� การงานใหม้ ากได้ แมท้ างคดกย็ งั ได้
เดนิ ใหส้ ำ� เรจ็ งานไมใ่ ชน่ อ้ ย แต่ คนคด หรอื เรยี กวา่ คดคน นี้ ใชอ้ ะไรไมไ่ ด้ ควรลหี้ ลกี หนี
ให้นึกไปว่า ถา้ ผัวเมยี คิดคดไม่สัตยซ์ อ่ื ต่อกัน เป็นต้น จะเปน็ อยา่ งไร หาความสขุ
ความเจริญมิไดเ้ ลย

๑๘. ความตนื่ ในโลกนหี้ ลายประการ ตน่ื ขา่ วมกั หาแกน่ สารไดย้ าก ตน่ื มงคลกาล
กม็ อี ยบู่ า้ งแลว้ แตผ่ ถู้ อื แตต่ นื่ ยงั มอี กี ตน่ื ไปกระทำ� การกสกิ รรม วาณชิ ยกรรม การทำ� นา
และการคา้ หรอื ทำ� สวน ทำ� ไร่ อนั เปน็ ประโยชนแ์ กต่ นนบั วา่ เปน็ การดี ตน่ื เพอ่ื ประกอบ
ทางของแพทย์หรือราชการอันไม่ผิดทางแห่งความเป็นธรรม ก็นับว่าเป็นการตื่นดี
ด้วยกันทั้งนั้น แต่พึงรู้เถิดว่า ความตื่นทั้งหลายดังกล่าวมานี้ ยังไม่ประเสริฐก่อน
แตต่ นื่ ปัญญา คอื ปญั ญาเกิด เปน็ ประเสริฐกวา่ ต่นื ทั้งหลายในโลก

๑๙. ใครได้กลิ่นดอกไมห้ รอื เครื่องหอมทท่ี �ำโดยนานาประการ กเ็ ปน็ ความดี
อนั กลา่ ววา่ ไดก้ ลนิ่ หอมเปน็ ดี เพราะเปน็ ทเี่ พลดิ เพลนิ ใจกจ็ รงิ แตอ่ นั นเ้ี ปน็ กลน่ิ ปกติ

131

ไม่ใช่กล่ินหอมอย่างสูง พึงรูว้ า่ กลิ่นดอกไมก้ ็หอมไปได้แต่ตามลม กลนิ่ จนั ทน์ หรือ
กฤษณา และกระล�ำพัก* กห็ อมไปได้แตต่ ามลม กลิ่นเครอื่ งหอมท่ที ำ� ข้ึนกห็ อมจริง
ด้วยกันทั้งหมด แตก่ ็หอมไปได้แตต่ ามลม จะหอมไปทวนลมเหนอื ลมไมไ่ ด้ กแ็ ต่ว่า
กลิ่นแห่งศีลเปน็ เยี่ยมกว่ากลน่ิ ท้งั หลายเหล่านี้ เพราะกลิน่ แหง่ ศีลยอ่ มหอมไปได้ทั้ง
ตามลม ทง้ั เหนือลม และทางขวาง

๒๐. ความไดฟ้ งั เสยี งขบั รอ้ งไพเราะเสนาะโสต คอื เพราะหู กเ็ ปน็ ความดี ไดฟ้ งั
เสยี งฆอ้ ง เสยี งกลอง หรอื นกกาเหวา่ แลเสยี งกา เสยี งอฐู ฟา้ รำ่� รอ้ งกด็ ี ยอ่ มมอี ยู่ แตไ่ มใ่ ช่
อย่างเยี่ยม พึงรู้ว่า ถ้าเม่ือได้ฟังพระพุทธเจ้าทรงแสดงธรรม หรือได้ฟังพระสงฆ์
แสดงธรรมแลว้ เห็นธรรมด้วยปัญญา น้ีแลเป็นความได้ฟังอยา่ งเยี่ยม เพราะเปน็ ไป
เพอ่ื รยู้ งิ่ เหน็ จรงิ เปน็ ไปเพอื่ รดู้ รี ชู้ อบ เปน็ ไปเพอื่ กระทำ� ใหแ้ จง้ ซง่ึ พระนพิ พาน กระทำ�
ทีส่ ุดแหง่ ทุกข์ได้ หรือแมไ้ ดฟ้ งั ครูหรือได้ฟงั อาจารยอ์ ธบิ ายสอนวิชาเพอ่ื รู้ ก็ช่ือวา่ ได้
ฟงั ดีในที่น้ี

๒๑. ในโลกอนั กวา้ งใหญไ่ พศาล หมมู่ นษุ ยม์ นี านาประการตา่ งชาตติ า่ งหมเู่ หลา่
ตา่ งกม็ ผี ทู้ เี่ ปน็ หวั หนา้ นำ� ไปเพอื่ ประโยชนข์ องตนนนั้ ๆ พระพทุ ธเจา้ กน็ บั วา่ ผหู้ นง่ึ ทเี่ ปน็
นายกผู้น�ำประเสริฐในโลกเพื่อทางไปสู่สขุ อันจรงิ เป็นตวั อยา่ งอนั ดี เปน็ สูงสดุ ของ
เทวดาแลมนษุ ย์ทัง้ หลาย คอื สนั ติ ความสงบ (นิพพาน) เปน็ ความสุขอย่างยอดย่งิ
ถงึ อยา่ งนกี้ ด็ กี ป็ ระเสรฐิ อยแู่ ท้ แตก่ ย็ งั เปน็ ภายนอก พงึ รวู้ า่ ผถู้ งึ กอ่ นผเู้ ปน็ หวั หนา้ ภายใน
คอื ใจนแี้ ลเปน็ ผนู้ ำ� เปน็ หวั หนา้ ทสี่ ำ� คญั จรงิ เพราะวา่ ถา้ ใจชว่ั ใจไดเ้ หน็ ผดิ ไป โจรเหน็ โจร
หรือคนมเี วรเห็นคนมีเวร ก็ไมร่ ้ายเทา่ นไ้ี ด้ ความประพฤตกิ จ็ ะผดิ ไปไดร้ อ้ ยแปดพนั
ประการไมม่ ที ส่ี ดุ ถา้ เมอ่ื ใจดแี ลว้ มารดา บดิ า หรอื ญาตมิ ติ รสหาย จะทำ� ใหก้ ไ็ มป่ ระเสรฐิ
เท่าได้ทีเดียว ความประพฤติและความเจริญกจ็ ะตามมาภายหลัง

เพราะใจดแี ลว้ น้นั หาทีส่ ดุ มิได้ ได้ในทมี่ าโดยบาลมี ใี จความว่า “ธรรมทั้งหลาย
มใี จถงึ กอ่ น มใี จประเสรฐิ กวา่ สำ� เรจ็ แลว้ ดว้ ยใจ ถา้ ใจชวั่ แลว้ จะพดู อยกู่ ช็ วั่ จะทำ� อยกู่ ช็ วั่

* กระลำ� พกั (น) เนอื้ ไมห้ อมอยา่ งดที ห่ี นงึ่ เกดิ จากแกน่ ไมเ้ ปน็ โรค โรคนลี้ งจบั ตน้ ไมใ้ ด จะทำ� ใหต้ น้ ไมน้ นั้ ตาย
และท�ำให้เนือ้ ไม้หอม

132

เพราะความชวั่ นน้ั ทกุ ขย์ อ่ มตามผนู้ นั้ ไป เหมอื นลอ้ เกวยี นตามรอยเทา้ แหง่ โคไปฉะนน้ั ”
“ธรรมทงั้ หลายมใี จถงึ กอ่ น มใี จประเสรฐิ กวา่ สำ� เรจ็ แลว้ ดว้ ยใจ ถา้ ใจผอ่ งใส (ใจด)ี แลว้
จะทำ� อยกู่ ผ็ อ่ งใส จะพดู อยกู่ ผ็ อ่ งใส เพราะความผอ่ งใสนน้ั สขุ ยอ่ มตามผนู้ นั้ ไปเหมอื น
เงาตามตนไปฉะนัน้ ”

๒๒. ในเมอ่ื ทรพั ยท์ ง้ั หลายมอี ยู่ ทร่ี กู้ นั อยแู่ ลว้ ทว่ั ไปในโลก คอื วญิ ญาณกทรพั ย์
มี ชา้ ง มา้ เปน็ ตน้ และอวญิ ญานกทรพั ย์ มเี งนิ ทอง นาสวน บา้ นเรอื น เปน็ ตน้ รแู้ ลว้ วา่
เป็นของดีมีค่า ท้ังท่ีเป็นประโยชน์และความสุขแก่โลกท้ังปวงได้ แต่ถึงอย่างนี้
กเ็ พราะดว้ ยเปน็ ทรพั ยภ์ ายนอก ยงั ประกอบไปดว้ ยภยั มโี จรภยั เปน็ ตน้ จงึ กลา่ ววา่
ทรพั ยท์ งั้ หลายดงั กลา่ วมาแลว้ นน้ั มชี า้ งมา้ แลเงนิ ทอง เปน็ ตน้ ปญั ญาประเสรฐิ กวา่ คอื
ปญั ญาประเสริฐกวา่ ทรพั ย์ทงั้ หลายเหลา่ นัน้ มที ม่ี าในบาลวี ่า

ชีวเตวาปิ สปปฺ ญฺโ อปิ วิตฺตปริกฺขยา
ปญฺาย จ อลาเภน วิตฺตาวาปิ น ชวี ติ

แปลวา่ ผมู้ ีปัญญา ถงึ แม้ทรัพยจ์ ะสิน้ ไปก็ยังเปน็ อยไู่ ด้ แตเ่ พราะไมม่ ีปญั ญา
(คอื ไมม่ ีปัญญา) ถงึ มีทรพั ยก์ ็เปน็ อย่ไู ม่ได้

๒๓. หมอ้ ใบโตมไิ ดใ้ ส่น�้ำใหเ้ ต็ม หมอ้ ใบนนั้ มีเสยี งดีกอ้ งนัก หมอ้ ใบใดใสน่ ำ้�
ใหเ้ ต็ม หม้อใบนั้นยอ่ มเงยี บเสยี งสงบอยู่ คนพาล ทา่ นกล่าวไวว้ ่า เหมือนหมอ้ อันมี
น้ำ� ไดค้ ร่งึ หน่ึง ย่อมจะมเี สยี งสนั่นล่ันไป ส่วนวา่ ผ้เู ปน็ บัณฑติ นักปราชญ์นนั้ เหมือน
หม้อน�ำ้ อนั เต็ม จะไดอ้ วดอ้างคยุ โอ้หามไิ ด้

๒๔. ถา้ ไมเ่ หน็ ศลี ธรรม ศาสนาเปน็ เพยี งหญา้ ปากคอกจะดมี าก ถา้ ไมเ่ หน็ กบั ตา
จะไม่เชอ่ื อยา่ งนน้ั หรือ ถ้าอย่างนัน้ บางวันนอนฝันวา่ ไดเ้ งนิ ได้ทองหรอื ฝันว่าไดป้ ลา
เมื่อตืน่ ข้นึ มาไมเ่ ห็นปลา จะว่าตนนอนไมฝ่ ันอย่างนนั้ หรอื หรอื เดนิ ทางไปบ้านไกล
ไปเหน็ ปา้ ยทเ่ี ขาทำ� ลกู ศรไวด้ ว้ ยและสบั เปน็ ตวั หนงั สอื ไวด้ ว้ ย ถา้ ไมเ่ หน็ บา้ นทล่ี กู ศรชไ้ี ป
และตวั หนงั สอื บอกนน้ั กบั ตาเองจะไมเ่ ชอื่ หรอื ตอ้ งใหเ้ หน็ กบั ตาจงึ จะเชอ่ื อยา่ งนน้ั หรอื
ถา้ ไมเ่ ชอ่ื ลกู ศรกบั หนงั สอื ทป่ี า้ ยนนั้ จะวา่ โงห่ รอื ฉลาด ถา้ เชอ่ื ลกู ศรกบั หนงั สอื จะวา่ โง่
หรือฉลาด

133

๒๕. พระพทุ ธศาสนา มเี หตผุ ลตามเปน็ จรงิ อยา่ งไร พระพทุ ธเจา้ แสดงมบี ทบาท
ดมี าก เหมอื นอยา่ ง ดิน น�้ำ ไฟ ลม ทมี่ ีจรงิ อยู่อย่างนี้ ดินมเี พชรมีพลอย เปน็ ตน้
นำ้� มปี ระโยชนด์ งั ทร่ี กู้ นั ลมมปี ระโยชนด์ งั ทร่ี อู้ ยแู่ ลว้ แตอ่ ยา่ งลมหายใจเขา้ ออก ไมใ่ คร่
จะมผี นู้ กึ ถงึ เลย ศาสนาศลี ธรรมเวลาน้ี ทง้ั ทเ่ี ปน็ ของมแี ละทง้ั ดที ง้ั จรงิ แตไ่ มใ่ ครจ่ ะมี
ผูน้ กึ ถงึ เหมอื นลมหายใจกเ็ หมือนกนั เมอ่ื ถึงเวลากนิ กน็ กึ ถึงข้าวนึกถึงแกงไปเสยี
เมอื่ ถงึ เวลาอาบ กน็ กึ ถงึ นำ้� ทแี่ มน่ ำ้� หรอื ทบี่ อ่ แตล่ มหายใจน้ี ทง้ั ทใี่ หเ้ ปน็ ชวี ติ กไ็ มใ่ คร่
จะมีผ้เู อาใจใส่ คอื ไม่ใคร่คดิ เหน็

๒๖. ไม่วา่ ในถน่ิ ใดๆ ท้งั หมดท่วั ไป ถา้ วา่ บุคคลในถนิ่ นนั้ ๆ มีศลี ธรรมพอตวั
มีทรัพย์พอกิน มีปัญญาพอใช้ ก็หายลักหายขโมยเท่าน้ันเอง ถ้าว่าไม่ว่าถิ่นใด
ดังกล่าวแล้ว ถ้าว่าประชาชนไม่มีศีลธรรมพอตัว (ไม่มีศีลธรรมในตัวหรือติดตัว)
ไมม่ ีทรัพย์พอกนิ ไม่มปี ญั ญาพอใช้ ทนี ีก้ ็ขโมยเท่าน้ันเอง

๒๗. คนพาลทไี่ มไ่ ดป้ ระโยชนท์ ง้ั สองอยา่ ง คอื ไมไ่ ดป้ ระโยชนต์ นแลประโยชน์
คนอนื่ เมอื่ เขา้ ไปใกลบ้ ณั ฑติ จนตลอดชวี ติ กร็ ธู้ รรมไมไ่ ด้ เหมอื นชอ้ น (หรอื ทพั พ)ี ไมร่ ู้
รสแกงฉะนนั้ แต่ว่าวญิ ญูชนผ้มู ปี ัญญาที่มปี ระโยชนท์ ้งั สอง คอื ไดป้ ระโยชน์ตนแล
ประโยชนผ์ อู้ น่ื เมอ่ื ไดเ้ ขา้ ไปใกลบ้ ณั ฑติ แมค้ รหู่ นง่ึ ยอ่ มรธู้ รรมไดฉ้ บั พลนั เหมอื นลนิ้
รรู้ สแกงฉะน้นั

๒๘. ในโลกนอี้ นั กวา้ งใหญโ่ ดยธรรมดา ถา้ ไมม่ สี รุ ยิ สญั จรใหแ้ สงสวา่ งได้ โลกนนั้
ถึงจะงามอยแู่ ลว้ ชอื่ วา่ ไม่มงี าม โลกใดทีพ่ ระอาทิตย์อทุ ยั สญั จรผ่านได้ ให้แสงสว่าง
เรอื งโรจน์ โลกนน้ั ถงึ จะเปน็ ตา่ งรปู รา่ ง กค็ งชอื่ วา่ สวยงามแท้ รปู กายของคนเรามมี าก
รูปใดถึงจะสวยอยา่ งลอยเลศิ ประการใดก็ตาม ถ้าขาดปัญญาและความประพฤติดนี ้ี
เสยี แลว้ หอ่ นไดง้ ามเลย รปู ใดไดง้ ามยง่ิ โดยแท้ หรอื ขเี้ หรเ่ กนิ ประมาณ แตว่ า่ ทรงปญั ญา
ความประพฤตดิ ี ยงั มวี ชิ าศลิ ปะเตม็ เปย่ี ม รปู อยา่ งนถ้ี งึ จะขเ้ี หรล่ น้ ฟา้ กใ็ หพ้ งึ รวู้ า่ งามจรงิ

134

รวมความหมายของศาสนา

พระพทุ ธศาสนา คำ� สง่ั สอนของพระสมั มาสมั พทุ ธเจา้ เปน็ ของใหญข่ องกวา้ ง หรอื ที่
จะใหญ่จะกว้างจนเหลือทพี่ วกเราท้ังหลายจะศึกษาและจดจำ� ให้ได้ท่วั ถึง แตร่ วมย่อ
เขา้ มาก็มหี ลกั อยคู่ อื
“สพฺพปาปสฺส อกรณํ กสุ ลสฺสูปสมฺปทา
สจิตฺตปรโิ ยทปนํ เอตํ พุทฺธาน สาสนํ”
แปลวา่ กรรม ๓ อยา่ งน้ี คอื การไมท่ ำ� บาปทง้ั ปวง ๑ การยงั กศุ ลใหถ้ งึ พรอ้ ม ๑
การชำ� ระจติ ของตนใหผ้ อ่ งแผว้ ๑ เปน็ คำ� สงั่ สอนของพระพทุ ธเจา้ ทงั้ หลาย รวมยอ่ เขา้ มา
มหี ลัก ๓ อย่างเท่าน้ี

135

ไม่พงึ ท�ำบาปท้ังปวง

ค�ำทวี่ ่า บาป นน้ั ก็คอื เรียกว่าบาปบา้ ง เรียกว่าอกศุ ลบ้าง เรยี กว่าความชว่ั บา้ ง
ทเี่ รยี กวา่ บาปอกศุ ล กค็ อื ความชวั่ ทเ่ี ปน็ เจตสกิ คอื ธรรมชาตเิ กดิ ขนึ้ กบั ใจ ทำ� ใจให้
เศรา้ หมอง ท�ำใจให้ขุ่นมวั ช่ือวา่ บาป ที่สดุ กใ็ หผ้ ลนำ� มาซง่ึ ทุกข์ ใหเ้ ลวใหเ้ ส่ือมจาก
ความสขุ ความเจรญิ อนั ตนจะได้ คำ� วา่ บาปอกศุ ลนเี้ ปน็ ความจรงิ อยา่ งหนงึ่ ถา้ หากจะมี
ผหู้ นงึ่ กลา่ ววา่ บาปอกศุ ลไมม่ จี รงิ กต็ าม แตบ่ าปอกศุ ลกม็ อี ยอู่ ยา่ งนนั้ เพราะเปน็ ของ
ไดม้ แี ลว้ หากจะมผี กู้ ลา่ ววา่ บาปอกศุ ลมจี รงิ กม็ ี เพราะเปน็ ของมอี ยจู่ รงิ เหมอื นอยา่ ง
ไฟท่ีเป็นของมีอยู่แล้วและเป็นของร้อนจริง การกล่าวของคนเราหากจะมีผู้กล่าวว่า
ไฟไม่มจี ริง หรอื กล่าววา่ มี แต่ไมใ่ ชข่ องร้อน การกล่าวเช่นนนั้ จะกลา่ วหรือไม่กลา่ ว
ไมเ่ ปน็ ปญั หา จะกล่าวก็ตามหรอื ไม่กลา่ วกต็ าม แตถ่ ้าไปจับเขา้ ก็ตอ้ งร้อนตามหนา้ ท่ี
ไดก้ ับทม่ี าทางฝ่ายนวี้ า่ “ผูใ้ ดทำ� ชว่ั ผูน้ ้นั ได้ช่ัว” ที่เปน็ ของไมพ่ งึ กระท�ำ ยิ่งเปน็ สว่ น
ทไ่ี มจ่ ำ� เปน็ กย็ งิ่ เปน็ ของทไ่ี มค่ วรกระทำ� เสยี เลยทเี ดยี ว เปน็ ของจะพงึ ละใหน้ อ้ ยลงทส่ี ดุ
เทา่ ที่จะให้นอ้ ยได้ หรือหมดไปไม่มเี หลอื

อยา่ งหนงึ่ คำ� ทวี่ า่ บาป อกศุ ล ความชวั่ เปน็ ของจรงิ อยา่ งหนง่ึ นี้ ดงั จะเขยี นตาม
อันมีทีม่ าวา่ เหมอื นอยา่ ง ปิตุฆาต ฆ่าบดิ า ๑ มาตุฆาต ฆา่ มารดา ๑ อรหนั ตฆาต
ฆา่ พระอรหนั ต์ ๑ โลหิตุปบาท ทำ� พระกายพระพทุ ธเจ้าให้ห้อพระโลหิต ๑ (ทำ� กาย
พระพทุ ธเจา้ ใหห้ อ้ เลอื ด) สงั ฆเภท ทำ� ลายสงฆใ์ หแ้ ตกกนั เปน็ ๒ ฝา่ ย ๑ ทงั้ ๕ อยา่ งน้ี
ทา่ นวา่ สงั ฆเภท ทำ� ลายสงฆใ์ หแ้ ตกกนั เปน็ บาปหนกั ทส่ี ดุ กวา่ ปติ ฆุ าต มาตฆุ าต เปน็ ตน้

136

ไมต่ อ้ งกลา่ วถงึ ฆา่ มารดาบดิ า ฆา่ พระอรหนั ต์ ทำ� โลหติ ปุ บาท หรอื ทำ� สฆั เภท เพยี งแตต่ ี
หรอื ดา่ มารดา บดิ า และพระอรหนั ต์ ทำ� ลายพระพทุ ธรปู หริ โิ อตตฺ ปปฺ ความละอายแกใ่ จ
ความกลัวแก่ใจ ไมต่ ้องทำ� บาปด้วยกาย วาจา ใจ ทงั้ ท่ีลบั และที่แจ้ง เพราะพิจารณา
ด้วยปัญญาดเู หตดุ ูผลอย่างน้ี จะเป็นการดีไดไ้ ม่นอ้ ยทีเดียว

ยงั มอี ะไรอกี อยา่ งหนง่ึ ซงึ่ ใครจ่ ะกลา่ วในทน่ี คี้ อื ความเปน็ นกั เลงหญงิ ความเปน็
นกั เลงสรุ า ความเปน็ นกั เลงเลน่ การพนนั ความคบคนชว่ั เปน็ มติ ร ทงั้ ๔ อยา่ งนี้ เขาวา่
ชา้ งรา้ ยงรู า้ ย กย็ งั ดอี ยู่ ยงั ไมร่ า้ ยแท้ ยงั ไมแ่ ปลกนกั คอื วา่ ชา้ งรา้ ยงรู า้ ย มนั กอ็ ยใู่ นทอ่ี นื่
มใี นปา่ ในดง เปน็ ตน้ อยใู่ นถนิ่ อนั หนง่ึ แลว้ กห็ าใสป่ ากใสท่ อ้ งของตนตามทไ่ี ด้ เสอื รา้ ย
หมีร้ายอันน่ากลัวย่อมมีจริง แต่อยู่ในป่ารก หรือมีท่ีดอยที่ภูเขาและถ�้ำ แล้วหา
อาหารกินไปทางหนง่ึ ทง้ั ๔ อยา่ งท่วี ่าสตั วร์ ้ายนี้ ไม่อศั จรรย์ เพราะไม่ขึน้ บ้านข้นึ
เรอื นใคร ผเู้ จรญิ ผปู้ านกลาง และผตู้ ำ่� แลว้ ทำ� ทรพั ยส์ นิ เงนิ ทองของใครๆ ใหส้ น้ิ เสอื่ ม
เสยี ประโยชน์

แตค่ วามเปน็ นกั เลงหญงิ และนกั ดมื่ นกั การพนนั คบคนชว่ั คนพาล นรี้ า้ ยกวา่ นนั้
รอ้ ยเทา่ พนั เท่าเสียอกี ยอ่ มข้ึนบา้ นเรือนคนเราได้ ครัน้ แลว้ ใหว้ ิญญาณกทรพั ย์ และ
อวิญญาณกทรพั ยเ์ สือ่ มสิน้ แทบไมม่ ีอะไรเหลอื

ดงั ทเ่ี ขาเรยี กวา่ ไลว่ วั ไลค่ วายเขา้ ไปในปากขวดปากไห ทำ� ใหห้ ลวมเขา้ ไปได้ ๑๐ ตวั
หรอื ๑๐๐ ตัว ยงั เอานาเอาสวนใสใ่ นปากขวดปากไหนน้ั ได้อกี ๒ ทงุ่ หรือ ๓ ทุง่
ซ�้ำเอาเรอื นเอาท่ีบ้านใส่เขา้ ไปอีกและสิ่งอืน่ ก็เป็นอนั มาก จงึ กลา่ วว่า ช้าง งู เสอื และ
หมรี า้ ย ไมใ่ ชค่ วามยาก สง่ิ ทจ่ี ะใหม้ นษุ ยบ์ คุ คลลำ� บาก กค็ อื สง่ิ ๔ อยา่ งดงั กลา่ วแลว้

อยา่ งหนงึ่ เขายอ่ มพดู เลา่ กนั อยมู่ ากหลายวา่ โจรปลน้ ทโี่ นน้ เสยี ทรพั ยไ์ ปมากมาย
ไฟไหมท้ โี่ นน้ สน้ิ บา้ นเรอื นไปเปน็ สบิ เปน็ รอ้ ย และสง่ิ อนื่ เปน็ อนั มาก อนั นยี้ อ่ มเปน็ ได้
แตถ่ งึ อยา่ งนกี้ ย็ งั ไมใ่ ชส่ งิ่ ทรี่ า้ ยนกั กอ่ น เพราะวา่ ถา้ โจรปลน้ กค็ งเอาแตท่ รพั ยม์ เี งนิ ทอง
เปน็ ตน้ บนเรอื นนนั้ และไป คงไมเ่ อาเรอื น เอาทบี่ า้ น เอายงุ้ เอาฉางไปดว้ ย และโจรปลน้ นน้ั
ยังจะมีเจ้าหน้าที่เจ้านายเป็นที่กลัวแลจับกุมได้บ้าง หรือมีประตูบ้านปิดด้วยหนาม

137

มสี นุ ขั เหา่ มกี ญุ แจใสแ่ ลว้ เอาไปไมไ่ ดก้ ย็ งั จะมี ทไ่ี ฟไหมก้ ค็ งจะไหมต้ ามเสาเรอื น ยงั ไหม้
ไปใตด้ ินไมไ่ ด้ และคงจะตามไปไหมท้ ไี่ รท่ ่ีนาทีส่ วนอนั เป็นแผ่นดนิ ไม่ได้ หรือท่บี ้าน
อนั ตนอยกู่ ไ็ หมไ้ มไ่ ดเ้ หมอื นกนั และเชอื่ วา่ ไมส่ ำ� คญั กเ็ พราะเปน็ โจรเปน็ ไฟภายนอก
แตโ่ จรขโมยหรอื ไฟทเี่ ปน็ ภายใน คอื ของ ๔ อยา่ งดงั กลา่ วแลว้ เพราะความอยาก
สนกุ อยากกนิ อยากได้ อยากรวย นลี้ ำ� บากมาก จะลำ� บากยงิ่ กวา่ นน้ั รอ้ ยเทา่ พนั เทา่ ทวี
ทเี่ อาสตเิ อาสมั ปชญั ญะความรตู้ วั ยงั้ ตวั ไวไ้ มไ่ ด้ แลว้ มกั หลวมตวั เขา้ ไปเหน็ วา่ เปน็ สนกุ
ทส่ี ดุ ยอ่ มมกั หมดไปสน้ิ ไป ทง้ั ทน่ี าแลทส่ี วน สง่ิ ทอี่ ยกู่ บั ดนิ มที บี่ า้ นอนั ไดอ้ ยไู่ ดอ้ าศยั
กห็ มดไปตามกนั จงึ กลา่ ววา่ นกั เลงหญงิ และนกั ดม่ื นกั การพนนั แลคบคนชว่ั รา้ ยกวา่
สิ่งทง้ั หลายท่เี ป็นภายนอกดงั กลา่ วมาแล้วทง้ั ๔ ประการ
อันสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าได้ตรัสไว้นี้ ถ้าผู้ใดเชื่อและปฏิบัติตามแล้ว
เวน้ เสยี ถงึ จะมมี ากหรอื มแี ตน่ อ้ ยกไ็ ดค้ วามสขุ ไมเ่ ดอื ดรอ้ นใจเพราะเรอื่ งน้ี ถา้ วา่ ผใู้ ด
ผู้ไม่เชื่อแล้วประพฤติหนักในทางน้ี ก็ย่อมถึงความทุกข์โศกเพราะเสียดายทรัพย์ท่ี
เสยี ไป ถงึ จะเป็นสมัยไหนกเ็ ปน็ อย่างนั้นแล จงึ กลา่ วในที่นี้วา่ ศาสนาพระสัมมา-
สมั พทุ ธเจา้ ทนั สมยั อยา่ งหนง่ึ แท้ ความสนกุ ของคนกนิ เหลา้ แลเลน่ การพนนั ดเู หมอื น
ความสนกุ ของผตู้ กอยใู่ นหลมุ ในบอ่ ทอี่ ยใู่ นทแี่ คบ ไมใ่ ชค่ วามสนกุ อนั จรงิ เลย เพราะ
สนกุ กนิ เหลา้ เลน่ การพนนั ยอ่ มระคนกบั ดว้ ยความรอ้ นใจทง้ั ทไี่ มร่ สู้ กึ หรอื ไดค้ วามทกุ ข์
ลำ� บาก ความเศร้าใจเมอ่ื ภายหลงั ฯลฯ

138

พงึ ยังกศุ ลใหเ้ กดิ ให้มขี ึ้น

ค�ำท่ีเรยี ก กุศล ก็คือ ท่ีเรยี กวา่ กุศลบ้าง เรียกวา่ บญุ บ้าง เรียกวา่ ความดบี า้ ง
แตพ่ ระอาจารยบ์ างทา่ นกลา่ ววา่ บญุ ใหถ้ งึ เพยี งชนั้ สวรรค์ กศุ ลใหถ้ งึ มรรคผลนพิ พาน
กศุ ลกค็ อื เจตสกิ ทเ่ี ปน็ ธรรมชาตเิ กดิ ขนึ้ กบั ใจ ชำ� ระใจใหผ้ อ่ งใส ฟอกใจสะอาดใหข้ าว
เอบิ อมิ่ ใจ ทำ� ใจใหบ้ รสิ ทุ ธิ์ช่ือว่ากุศลและเปน็ ของเตม็ โลก จะท�ำอยทู่ ี่รกหรอื ทเ่ี ตียน
ทใี่ กลห้ รอื ทไี่ กล ทไ่ี ดก้ ศุ ลดว้ ยกนั ไมเ่ ลอื กที่ กศุ ลเปน็ ทางแหง่ ความดคี อ่ ยเจรญิ กา้ วหนา้
ไปเปน็ ลำ� ดบั ทสี่ ดุ นำ� มาซงึ่ ความสขุ จนถงึ โลกตุ รสขุ ในมรรคผลนพิ พาน อนั เปน็ ผลของ
การบำ� เพ็ญกศุ ลนี้ และกุศลน้กี เ็ ปน็ ความจริงอย่างหน่ึง

ถา้ หากจะมบี างคนใชค้ วามเหน็ อกริ ยิ ทฏิ ฐิ กศุ ลไมม่ ที ำ� ได้ กไ็ มเ่ ปน็ อนั ทำ� ถงึ ทำ� ได้
กเ็ ปน็ อนั เปลา่ ไปเทา่ นน้ั เอง ถงึ จะกลา่ วอยา่ งน้ี กศุ ลกม็ อี ยู่ ถา้ หากมผี ถู้ อื วา่ กศุ ลเปน็ ของ
มีจริง กุศลน้ีมีแท้อย่างน้ีกุศลก็มีอยู่ เพราะเป็นของมีจริงยืนตัวอยู่แล้ว เหมือนมี
ผกู้ ล่าววา่ น้�ำเปน็ ของไมม่ ีจรงิ หรอื กล่าวว่ามแี ต่กลา่ ววา่ น�้ำนถี้ ้ามกี ็ต้องเปน็ ของรอ้ น
ยงิ่ กวา่ ไฟเชน่ น้ี นำ้� กค็ งมแี ละเปน็ ของเยน็ อยนู่ นั้ เอง การกลา่ วของคนหรอื ไมก่ ลา่ ว ไมเ่ ปน็
ปญั หา กศุ ลเปน็ ความจรงิ ยนื ตวั ไดด้ งั ทก่ี ลา่ วมาวา่ ผใู้ ดทำ� ดี ผนู้ นั้ ไดด้ ี นเี้ ปน็ ของแน่

กุศลหรือบุญนี้เป็นของควรท�ำให้เกิดให้มีขึ้นให้มากเท่าจะมากได้ ตัวอย่างดัง
สมเดจ็ พระสมั มาสมั พทุ ธเจา้ พระองคไ์ ดก้ ระทำ� มาแลว้ และไดผ้ ลดที ส่ี ดุ และทเ่ี รยี กวา่
กศุ ลอนั จะพงึ จะกระทำ� นนั้ ตวั อยา่ งคอื ทาน การใหบ้ รจิ าค ๑ ศลี รกั ษากายวาจาให้

139

เรยี บรอ้ ย ๑ เนกขมั มะ การออกจากกาม ๑ ปญั ญา ความรอบรู้ ๑ วริ ยิ ะ ความเพยี ร ๑
ขนั ติ ความอดทน ๑ สจั จะ ความจริง ๑ อธิษฐาน ความต้ังใจย่งิ ๑ เมตตา
ความรกั ใครผ่ อู้ นื่ อยากใหผ้ ูอ้ ่นื เป็นสขุ ๑ อเุ บกขา ความวางเฉย ๑ ทั้ง ๑๐ อย่างน้ี
เปน็ กศุ ลธรรมดว้ ยกนั ทกุ อยา่ ง แลว้ แตอ่ ยา่ งใดจะสบายของตนๆ แตใ่ นทนี่ ใี้ ครจ่ ะกลา่ ว
ทานขอ้ ตน้ โดยย่อ

ทานนี้ ตามนยั ทม่ี าวา่ สมเดจ็ พระสมั มาสมั พทุ ธเจา้ เมอื่ ยงั เปน็ โพธสิ ตั ว์ พระองค์
ใหท้ านเปน็ อเนกอนนั ตงั จนถงึ ใหบ้ ตุ รใหภ้ รรยาเปน็ ทานตามในเวสสนั ดรชาดก ทสี่ ดุ ได้
ยกบารมีทั้งมวลข้ึนกล่าวว่า ยกทานบารมีขึ้นก่อนผจญกับพญามารพร้อมด้วยเสนา
พระองค์มีชยั ฝา่ ยข้างพญามารฝา่ ยแพ้

ทานนี้เม่ือจะกล่าวโดยประโยชน์แล้วว่าโดยย่อมีประโยชน์อยู่ ๒ อย่าง คือ
มปี ระโยชนส์ ว่ นตนเปน็ ภายใน ๑ มปี ระโยชนแ์ กผ่ อู้ น่ื อนั เปน็ ภายนอกถงึ เปน็ ประโยชน์
สว่ นรวม ๑

ทว่ี ่าเป็นประโยชน์ตนอนั เปน็ ส่วนภายในนั้นกค็ ือ การสละ การละ เปน็ เครื่อง
ฟอกใจ ทำ� ใจใหส้ ะอาดบรสิ ทุ ธจิ์ ากความขต้ี ระหนี่ อนั เปน็ กเิ ลส ใหเ้ บาบางไปหรอื หมดไป
ขตี้ ระหนค่ี วามหวงแหนเหนยี วแนน่ เปน็ กเิ ลส เครอ่ื งหมองใจอยา่ งหนง่ึ ทเ่ี นอ่ื งมาจาก
อวิชชา ตัณหา โลภะ เมอื่ สละได้ ใจกส็ ะอาดแจม่ ใสและเพื่อความบริสทุ ธ์ิ ท้งั เปน็
นสิ ยั ทดี่ ไี ดอ้ ยา่ งหนงึ่ ในเมอ่ื ถงึ คราวทตี่ นจะออกเพอื่ ธรรมสว่ นโลกตุ ระ กเ็ ปน็ ทางอนั จะ
พึงไดด้ ว้ ยง่าย

อยา่ งพระสมั มาสมั พทุ ธเจา้ ปรารถนาโมกขรรม คอื เมอ่ื พระองคไ์ มเ่ คยใหไ้ มเ่ คย
บรจิ าคนกั หนาแล้ว ที่ไหนจะละปราสาทราชวงั ช้าง มา้ โภคทรัพย์ อันเหลอื ทจ่ี ะมาก
เสวยสขุ สมบตั นิ นั้ ได้ แลว้ เสดจ็ ไปถอื บวชเพอ่ื โมกขธรรมและไดพ้ ระสมั มาสมั โพธญิ าณ
ที่พระองค์สละท้ังทรัพย์อันมากมายก่ายกองทั้งบุตรแลภรรยาเช่นนั้นได้ ก็เพราะ
นสิ ยั เคยสละบรจิ าคกระทำ� มาเปน็ อเนกอนนั ตน์ น้ั เอง และประกอบดว้ ยบารมอี น่ื มี ศลี
เนกขมั มะ ปญั ญา เปน็ ต้น จึงออกได้เชน่ นัน้

140

ท่ีว่าเป็นประโยชน์แก่ผู้อื่นจนถึงเป็นประโยชน์ส่วนรวมน้ัน อย่างท่ีสร้างถนน
หนทาง สรา้ งสะพานแลท�ำนบ ขุดบอ่ ขดุ สระนำ้� และทำ� ศาลาทพี่ ักในท่เี ปล่ยี วหรือ
ทไ่ี มเ่ ปลย่ี ว สรา้ งโรงเรยี น ศาลาการเปรยี ญ โบสถ์ หรอื วหิ าร เปน็ ตน้ หรอื ใหท้ านแก่
สมณะแลทคุ ตะผยู้ ากจนอนาถา หรอื คนเฒา่ คนแกผ่ ไู้ มม่ ที พี่ ง่ึ ชอื่ วา่ ทานเปน็ ประโยชน์
แกผ่ อู้ น่ื เมอื่ กลา่ วเรอ่ื งอกศุ ลหรอื บาปวา่ เปน็ ของควรละ กลา่ ววา่ กศุ ล หรอื เรยี กวา่ บญุ
เป็นของจะพงึ ท�ำใหเ้ กดิ ใหม้ ขี ึ้นในตนมาบ้างแล้วอยา่ งน้ี

141

คนปัญญานอ้ ย เชอื่ นรกสวรรค์ ไม่ท�ำบาป
คนปัญญามาก ไม่เชือ่ นรกสวรรค์ ทำ� บาป

ตอ่ ไปนใี้ ครจ่ ะเขยี นขอ้ เพอ่ื พจิ ารณาหรอื เพอื่ เปน็ เรอ่ื งคดิ สกั นอ้ ยหนง่ึ ถา้ สมมตุ วิ า่
นรกไม่มี สวรรคไ์ มม่ ี แต่ครัน้ แล้วมีคน ๒ คน คนหนง่ึ มปี ญั ญานอ้ ย มแี ตจ่ ะเช่ือว่า
นรกมี สวรรคม์ ี แลว้ กลวั แตจ่ ะไปตกนรก กไ็ มท่ ำ� บาป ไมท่ ำ� ความชว่ั ดว้ ยกาย วาจา ใจ
แล้วก็เพียรท�ำกุศลให้เกิดให้มีในตนให้ทานและรักษาศีล ท�ำใจให้มีเมตตากรุณา
ออ่ นโยนและเออ้ื เฟอ้ื เผอ่ื แผ่ มหี ริ โิ อตตปั ปะ ละอายและกลวั แตบ่ าปอกศุ ล แลว้ ไมท่ ำ� บาป
เพราะกลวั จะไปตกนรกทงั้ ท่ีไม่เห็นกบั ตากต็ าม

แต่อีกคนหน่ึงมีปัญญามากหนักข้างเหตุผล คือเม่ือไม่เห็นกับตาแล้วไม่เช่ือ
เพราะอยา่ งนแ้ี ลว้ กไ็ มเ่ ชอื่ นรกสวรรคเ์ ลย คราวนก้ี ไ็ มต่ อ้ งการจะเวน้ บาป มแี ตก่ ระทำ�
บาปดว้ ยกาย วาจา ใจ ฆา่ สตั ว์ ลกั ทรพั ย์ ประพฤตผิ ดิ ลกู เมยี คนอน่ื มสุ าหรอื กลา่ วตู่
และกลา่ วหยาบ ดมื่ สรุ า และไมม่ หี ริ โิ อตตปั ปะ ไมล่ ะอาย ไมก่ ลวั ความชวั่ ทงั้ ทกุ อยา่ ง
เชน่ น้ี คน ๒ คนน้ี ใครจะเลวข้างไหน คน ๒ คนน้ี ใครจะดีกวา่ กัน

ขา้ พเจา้ ผเู้ ขยี นน้ี เขา้ ใจวา่ ผจู้ ะเอาขา้ งคนทมี่ ปี ญั ญานอ้ ยแลว้ เวน้ บาป เวน้ ความ
ประพฤติชั่วทางกาย วาจา ใจ มากกว่า และถ้าสวรรคน์ รกมีจรงิ เลา่ ผู้มีปญั ญาน้อย
เช่ือว่านรกสวรรค์มี เว้นบาป ความชว่ั เพราะกลวั ไปตกนรกท้ังท่ีไมเ่ หน็ กบั ตา ทำ� ดี
ท�ำกุศลเพื่อจะได้ไปสวรรค์ แต่ผู้มีปัญญามากไม่เชื่อนรกสวรรค์ ด้วยถือว่าไม่เห็น

142


Click to View FlipBook Version