อีกด้วย เพราะมันเมาในเร่ืองหมากน้ัน ชื่อว่าเป็นนายหมากหรือเป็นนายปากไม่ได้
จงึ เสยี ปตี แิ ละปราโมทย์ อนั ความมงุ่ หมายกค็ อื เพอ่ื ฟงั ดว้ ยการกำ� หนดเอาเนอ้ื ความเอา
เหตผุ ลในธรรม ใหร้ สธรรมซมึ ซาบในใจตงั้ อยู่ ถา้ ใหซ้ ง้ึ จนถงึ ความสนิ้ ไปแหง่ อาสวะ
คอื กเิ ลสความช่ัวความเศร้าหมองไดก้ ย็ ิ่งประเสรฐิ
ถา้ ไมอ่ ยา่ งนน้ั เลา่ เมอ่ื ผฟู้ งั อยสู่ ว่ นใดทจี่ ะไดส้ งั เวชสลดใจกใ็ หไ้ ดส้ งั เวช สว่ นใด
ควรจะไดค้ วามเลือ่ มใสก็ให้ได้ความเล่อื มใส และให้ยกเอาตนเทียบดอู ีก ใหต้ รวจดู
ตนของตนเราทที่ า่ นแสดงโทษ ถา้ โทษของเราทางกาย วาจา ใจ มี เราจะไดเ้ พยี รละไป
ตามกำ� ลงั ของเราเทา่ ทจ่ี ะละได้ ถา้ ทา่ นแสดงประโยชนม์ ี พทุ ธคณุ ธรรมคณุ สงั ฆคณุ
หรอื ศลี ธรรม เปน็ ตน้ กต็ รวจดตู วั เราวา่ มหี รอื ไม่ ถา้ เรามี เราจะไดป้ ตี อิ มิ่ ใจและเลอื่ มใส
ยงิ่ ขนึ้ ถา้ เรายงั ไมม่ ี กพ็ งึ ทำ� ใหเ้ กดิ ใหม้ ขี น้ึ ตามสามารถของเรา คอื ฟงั แลว้ ไดเ้ พยี รละ
ความชวั่ แล้วกลับเพียรท�ำความดใี สต่ นไดอ้ ยา่ งนี้ ช่ือว่าถอื เอาประโยชน์แตก่ ารฟงั
ธรรมได้ ชอ่ื วา่ ฟงั ธรรมไดบ้ ญุ อยา่ งนอ้ ยกใ็ หไ้ ดค้ วามอม่ิ ใจและเลอื่ มใสในธรรม จงึ ชอื่ วา่
มปี ระโยชนต์ ามนอ้ ยมาก และไมพ่ งึ ใชแ้ ตค่ วามสำ� คญั ในใจอยา่ งเดยี ววา่ เมอื่ ฟงั จบแลว้
คงเหมอื นจะไดบ้ ญุ เพยี งเทา่ นี้ คอื ใหฟ้ งั เอาปญั ญา เอาความรคู้ วามเขา้ ใจ ใหแ้ จง้ ในธรรม
จะไดน้ ำ� เอาไปประพฤตปิ ฏบิ ตั ติ ามบา้ งและใหฟ้ งั เอาตามความจรงิ อยา่ ชอบฟงั แตก่ าร
ยอนกั เป็นการดี
193
อรยิ สจั จ์ ๔
ทุกขํ อริยสจจฺ ํ ทุกฺขสมุทโย อรยิ สจฺจํ ทุกฺขนิโรโธ อรยิ สจจฺ ํ ทุกขฺ นิโรธคามนิ ี
ปฏปิ ทา อริยสจฺจํ ทกุ ขอรยิ สจั จ์ ๑ ทกุ ขสมทุ ัยอรยิ สจั จ์ ๑ ทกุ ขนิโรธอรยิ สจั จ์ ๑
ทุกขนิโรธคามนิ ปี ฏิปทาอรยิ สจั จ์ ๑ อริยสัจจ์ ทา่ นแปลวา่ ของจริงทำ� บคุ คลให้เปน็
พระอรยิ เจ้าบา้ ง ของจริงของอรยิ เจา้ บ้าง ของจรงิ ท�ำบุคคลผูร้ ู้ผ้เู หน็ ให้ไกลจากข้าศกึ
ภายในบา้ ง ถอื เอาความในทน่ี ้ี คอื ของจรงิ ทำ� บคุ คลผรู้ ผู้ เู้ หน็ ใหไ้ กลจากขา้ ศกึ ภายใน
คือ กเิ ลส
ต่อไปน้ปี รารถนาจะกลา่ วโดยปคุ คลาธิษฐาน คอื ยกบุคคลเปน็ ท่ตี ้งั สกนธ์กาย
ของเราอนั เดยี วทอ่ นเดยี ว แตม่ อี าการ ๔ คอื มขี องจรงิ อยู่ ๔ อยา่ ง ทไี่ ดแ้ ก่ ทกุ ข์ สมทุ ยั
นโิ รธ มรรค ทกุ ขน์ นั้ ถา้ จะกลา่ วตามในทม่ี ามมี าก แตใ่ นทนี่ จี้ ะกลา่ วคอื ทกุ ข์ หมายเอา
ชาติ ความเกิดเปน็ ทกุ ข์ ชรา ความแก่เป็นทุกข์ มรณะ ความตายเป็นทุกข์
คำ� วา่ ชาติ ความเกดิ นนั้ หมายเอาแตต่ งั้ ปฏสิ นธใิ นทอ้ งมารดาเรอ่ื ยมาๆ จนถงึ
วันสนิ้ อายวุ นั ตายน้ี รวมชอื่ วา่ เกดิ
ชรา ความแก่ นั้น ไมไ่ ดห้ มายเอาแตท่ ่ศี รี ษะหงอก ฟนั หลดุ หลน่ ไป เนื้อหนงั
เหย่ี วแหง้ พงึ เขา้ ใจวา่ ความแก่ หมายเอาความแกท่ แี่ กม่ าแตต่ ง้ั ปฏสิ นธวิ ญิ ญาณมา คอื
แกม่ าทีละน้อยๆ แก่มาทุกนาทีช่วั โมงไม่เว้นระยะเลย ทลี ะนดิ หนึง่ ๆ ดังทีเ่ รยี กวา่
ทอ้ งแกก่ ม็ บี า้ ง เมอื่ แกพ่ อแกเ่ วลาคลอด กค็ ลอดออกจากทอ้ งมารดาโดยธรรมดา เมอื่
194
เวลาเดนิ ได้ กช็ อ่ื ว่าแก่กว่าเวลานอนอยทู่ ี่เบาะทผ่ี ้าอ้อม ระยะเป็นหนมุ่ เปน็ สาวก็แก่
คอื แกก่ วา่ เวลากำ� ลงั หดั เดนิ ครน้ั แลว้ กถ็ งึ แกศ่ รี ษะหงอก กายหงอ่ มถอื ไมเ้ ทา้ รวมเรยี ก
ว่า ชรา
มรณะ ความตาย นนั้ ก็หมายเอาตายมาแตว่ นั ปฏสิ นธิวิญญาณเหมือนกนั อกี
คอื ตายมาเปน็ ลำ� ดบั เหมอื นอยา่ งวา่ เมอื่ คลอดออกมานอนอยเู่ บาะทผ่ี า้ ออ้ มนน้ั ระยะอยู่
ในทอ้ ง ๑๐ เดอื น หรือ ๙ เดือน กต็ ายไปแล้ว ทเี่ มอ่ื เดนิ ได้วิ่งได้ กค็ อื เมอื่ นอน
อย่เู บาะและผา้ อ้อมตายไป แตเ่ พราะสนั ตตคิ วามสืบตอ่ มอี ยู่ จงึ เจรญิ ขนึ้ เปน็ ล�ำดบั
เปน็ ธรรมดาจนเปน็ หนมุ่ เป็นสาว เม่ือถึงเป็นคนแก่คนเฒา่ ความเปน็ สาวเป็นหนุ่ม
ก็ตายไปอีก ตายเรือ่ ยมาจนถงึ ตายทส่ี ุด คือ ดับไป ศนู ย์ไป หมดไป แหง่ สกลกายนี้
ทีเ่ รียกว่า ตาย
ตกลงว่า ชาติ ชรา มรณะ ความเกิด ความแก่ ความตาย นม้ี าพรอ้ มกนั เลย
เต็มหรือตามสกนธ์กายเรามาทง้ั ๓ อย่าง ทุกลมหายใจเขา้ ออก เมือ่ เห็นแจง้ ชัดโดย
นยั นี้เป็นอันดี จึงจะเปน็ ทุกขปริญญ คอื ก�ำหนดรู้ทุกข์ ได้ดังกล่าวมาน้ี หากจะมี
ผู้พดู สอดเขา้ มาว่า ศาสนาพระพุทธเจ้า หรอื ศาสนาพทุ ธ เปน็ ศาสนาเจ้าทุกข์ ไมใ่ ช่
อยา่ งนน้ั พระพทุ ธเจา้ ตรสั ตามทเ่ี ปน็ จรงิ อยา่ งไร ทเี่ ปน็ ของจรงิ โดยธรรมดาอยอู่ ยา่ งนี้
ถงึ ใครจะวา่ ทกุ ขห์ รอื ไมว่ า่ กต็ าม จะวา่ มหี รอื วา่ ไมม่ กี ต็ าม หรอื เพราะเบอื่ ไมอ่ ยากฟงั คำ�
แกๆ่ ตายๆ แลว้ ไมพ่ ดู เสยี กต็ าม อนั นก้ี จ็ ะเปน็ อยอู่ ยา่ งนี้ คอื ความเกดิ ความแก่ ความตาย
ข้าก็จะเปน็ ของจริงอยูอ่ ย่างนี้ หรอื จะมผี ้พู ดู สมมุติ เรียกว่า ความสขุ ข้ากจ็ ะเป็นอยู่
อยา่ งน้ี คอื ทกุ ขท์ เี่ ปน็ เอง และ ความเกดิ ความแก่ ความตาย นี้ เขาเปน็ เจา้ ของโลกมาสน้ิ
โกฏแิ ห่งกัลปเ์ ปน็ อันมาก
สว่ น สมทุ ยั ทว่ี า่ สมทุ ยั เปน็ เหตใุ หท้ กุ ขเ์ กดิ นน้ั ทา่ นหมายเอาตณั หา คอื กามตณั หา
ภวตัณหา วภิ วตณั หา ทง้ั ๓ นี้ เป็นเหตุความใคร่
ความยนิ ดปี รารถนาอยากในอารมณ์ คอื รปู เสยี ง กลนิ่ รส เครอื่ งสมั ผสั ธรรมารมณ์
ท่มี ากระทบ ตา หู จมูก ลน้ิ กาย ใจ เรียกว่า กามตณั หา
195
ความอยากเปน็ อยากมี ดงั นามรปู คอื สกนธก์ ายตวั ตนของเรานม้ี อี ยแู่ ลว้ อยา่ งไร
กอ็ ยากใหเ้ ปน็ ใหม้ อี ยอู่ ยา่ งนไี้ ปนาน อยากใหเ้ ปน็ อยอู่ ยา่ งนรี้ ำ�่ ไป นวี้ า่ สว่ นภายใน ถงึ สงิ่
ทเี่ ปน็ ของภายนอก ตวั ทไ่ี ดม้ าแลว้ ทม่ี อี ยแู่ ลว้ กข็ อใหเ้ ปน็ ของเราอยอู่ ยา่ งน้ี ใหเ้ รามอี ยู่
อยา่ งนี้ ใหเ้ ราเป็นผ้มู ีของน้ีร�่ำไปในกาลไหนๆ เรียกว่า ภวตัณหา
ความอยากไม่เป็นไม่มี ที่อยากไม่เป็นน้ันเป็นนี่ ดังอยากไม่มีโรคาพยาธิ
เบยี ดเบียน อยากไม่แก่ อยากไมใ่ ห้มคี วามตาย หรือ เมื่อประจวบอนิฎฐารมณ์ คือ
อารมณท์ ไ่ี ม่ชอบใจเกดิ ขึ้นแล้วเกลยี ดชังอย่างนี้ เรยี กวา่ วภิ วตณั หา
ตณั หาทง้ั ๓ ดงั กลา่ วมานี้ ทา่ นวา่ เปน็ สมทุ ยั เปน็ เหตใุ หท้ กุ ขเ์ กดิ แตท่ ใี่ หท้ กุ ขเ์ กดิ
ไมใ่ ชแ่ ตต่ ัณหาอย่างเดียว คอื อวิชชา ธรรมชาติไมร่ ูแ้ จง้ เป็นผู้หนุนอีกทีหนึ่ง ตณั หา
จงึ ตั้งอยไู่ ด้ ตณั หาเปน็ อาการของอวิชชา คอื ว่าอวิชชามแี ล้ว ตัณหาก็มี ตณั หามีแลว้
อปุ าทาน ความยึดความถอื กม็ ี ครนั้ แลว้ ภพความเป็นความมกี ม็ ขี นึ้ เมือ่ ภพมี ชาติ
ความเกดิ กม็ ขี นึ้ แลว้ มชี รา มรณะ ความโศก ความรำ�่ ไร ความลำ� บากกาย ความนอ้ ยใจ
ความคับแคบใจท่เี ปน็ ทุกขก์ ็เกดิ ข้ึน อย่างนี้จงึ วา่ ตณั หาเปน็ เหตุใหท้ กุ ขเ์ กิด
สว่ นนโิ รธความดบั ทกุ ขน์ นั้ ทา่ นหมายเอาความดบั ตณั หา คอื วา่ ถา้ อวชิ ชาความ
ไมร่ แู้ จง้ สกนธก์ ายตวั เรานว้ี า่ เปน็ ทกุ ข์ เปน็ สมทุ ยั เปน็ นโิ รธ เปน็ มรรค นดี้ บั ไป กลบั เปน็
วชิ ชา ความรแู้ จง้ วา่ สกนธก์ ายตวั เรานเี้ ปน็ ทกุ ข์ เปน็ สมทุ ยั เปน็ นโิ รธ เปน็ มรรค อยา่ งนี้
ตณั หากด็ บั สน้ิ ครน้ั แลว้ อปุ าทาน ภพ ชาติ ชรา มรณะ โศกะ ปรเิ ทวะ ทกุ ขโ์ ทมนสั สะ
อุปายาสะ กด็ บั ไปตามกนั ช่อื วา่ นิโรธ ความดับทกุ ข์หาทุกขม์ ิได้ เพราะดบั ตัณหา
ไมม่ เี หลอื ที่ เนอื่ งมาจากดบั อวชิ ชา ทว่ี า่ ความดบั ตณั หาไดส้ นิ้ เชงิ ไมม่ เี หลอื ทกุ ขก์ ด็ บั
ไปหมด ไดช้ อื่ วา่ นโิ รธ เพราะเปน็ ความดบั ทกุ ขน์ นี้ น้ั ขนั ธ์ ๕ ธาตุ ๔ กย็ งั มปี รากฏอยู่
ยงั ไมส่ ญู หายไปไหน ดงั ขนั ธ์ ๕ พระอรหนั ตข์ ณี าสพเปน็ ตวั อยา่ ง คอื วา่ พระอรหนั ต์
ยังมขี นั ธ์ ๕ แต่ อวชิ ชา ตณั หา อุปาทาน ทา่ นดบั เสียแลว้ นโิ รธในอรยิ สัจจ์นี้
หมายเอาความดบั ตณั หา ไมใ่ ชห่ มายความดบั สญั ญาและเวทนาทไ่ี มร่ สู้ กึ ตวั ทเ่ี รยี กวา่
สัญญาเวทยติ นิโรธ
196
สว่ น มรรค นนั้ ทา่ นกห็ มายเอาสกนธก์ ายเอาตวั เรานี้ แตอ่ าการของมรรคมี ๘
คอื
สมมฺ าทฏิ ฺ€ิ มีความเหน็ ชอบ คือ เหน็ อริยสัจจ์ ๔ ได้แก่ เห็นทุกข์ สมุทัย นโิ รธ
มรรค ๑
สมมฺ าสงกฺ ปโฺ ป ดำ� รชิ อบ คอื คดิ อยากจะออกจากกาม คดิ จะไมพ่ ยาบาท คดิ จะไม่
เบยี ดเบียนผอู้ ื่น ๑
สมมฺ าวาจา เจรจาชอบ เวน้ พดู สอ่ เสยี ด พดู มสุ า คำ� ไมจ่ รงิ พดู คำ� หยาบ พดู เพอ้ เจอ้
คอื พดู เร่อื งท่ีไมเ่ ป็นประโยชน์ พดู เลอะเทอะ ๑
สมมฺ ากมมฺ นโฺ ต ทำ� การงานชอบ ทา่ นวา่ การงานทไี่ มฆ่ า่ สตั ว์ ไมข่ โมยลกั ทรพั ยผ์ อู้ น่ื
ไมป่ ระพฤตผิ ิดหญงิ เขาหวง ๑
สมฺมาอาชีโว เล้ียงชีวติ ชอบ คือ ท�ำการงานเลี้ยงชพี ทีไ่ ม่หลอกลวงผอู้ ่ืน ๑
สมมฺ าวายาโม ทำ� ความเพยี รชอบ คอื เพยี รระวงั ตวั ไมใ่ หบ้ าปไมใ่ หค้ วามชวั่ เกดิ ขน้ึ
ในตน และเพยี รละบาปละความชวั่ ทเี่ กดิ แกเ่ ราแลว้ เพยี รทำ� กศุ ลทำ� ความดใี หเ้ กดิ ใหม้ ี
ขนึ้ ในตน ถา้ วา่ กุศล ถ้าความดไี ดเ้ กิดมีแต่ตนแลว้ เพยี รรักษาไวอ้ ยา่ ใหเ้ สอื่ มได้ ๑
สมมฺ าสติ ระลกึ ชอบ คอื สตเิ ขา้ ไปตงั้ ท่ี กาย เวทนา จติ ธรรม แลว้ พจิ ารณาวา่
กาย เวทนา จิต ธรรม นี้ เกิดขึ้นอยา่ งน้ี ดบั ไปอยา่ งน้ี ไมใ่ ช่สัตว์บุคคลตวั เราเขา
ในทสี่ ดุ เปน็ สภาวธรรม เปน็ ของเปลา่ ของศนู ยจ์ ากตวั ตน ดงั ทกี่ ลา่ วมานกี้ ค็ อื สตริ ะลกึ
ในสตปิ ฏั ฐาน ๔ ทจ่ี ะระลกึ ในพทุ ธคณุ วา่ อรหํ หรอื สมมฺ าสมพฺ ธุ โฺ ธ บทใดบทหนงึ่ กไ็ ด้
ก็นับเข้าสติปฏั ฐาน ๔ ดังกลา่ วมานั้น ๑
สมมฺ าสมาธิ ต้งั ใจมัน่ ชอบ คอื ขณิกสมาธิ ตงั้ ม่ันนานกว่าจนเฉียดเข้าไปใกล้
อปั ปนาสมาธิ ตั้งมน่ั ชวั่ ขณะ อุปจารสมาธิ ตง้ั ม่นั จนแนว่ แน่ และในบาลีท่านหมาย
ปฐมฌาน ทุตยิ ฌาน ตตยิ ฌาน จตตุ ถฌาน ๑
197
อาการ หรอื องค์มรรคทง้ั ๘ น้ี สามคั คีกนั เขา้ แล้ว เปน็ สมั มาทิฏฐิ ท่ีเรยี กวา่
มคี วามเหน็ ชอบ อยา่ งนก้ี ค็ อื เหมอื นเรอื นหลงั หนง่ึ ทจี่ ะเปน็ เรอื นไดก้ ต็ อ้ งประกอบพรอ้ ม
ดว้ ยเครอื่ งทพั พะสมั ภาระ มเี สากระดาน ขอื่ อกไก่ รอด ตง เครอ่ื งมงุ เปน็ ตน้ จงึ เปน็
เรอื นได้ มรรคกต็ อ้ งพรอ้ มดว้ ยองค์ ๘ เหมอื นเรอื นฉะนนั้ ทรี่ วมในสกนธก์ ายตวั ของ
เราน้ี คอื ตวั เราอนั เดยี วมอี าการ ๘ หรอื มอี งค์ ๘ เรยี กวา่ มรรค ในทน่ี ้ี มรรค แปลวา่
ทาง คอื เปน็ ทางของกาย วาจา ใจ จะพงึ เดนิ คอื ปฏบิ ตั ติ ามมรรคใหถ้ งึ ผลมนี พิ พาน
เปน็ ที่สดุ
อนง่ึ ทม่ี รรคมอี งค์ ๘ นนั้ พงึ รวู้ า่ สมมฺ าวาจา สมมฺ ากมมฺ นโฺ ต สมมฺ าอาชโี ว นเี้ ปน็
ศลี สงเคราะหเ์ ขา้ ในศลี เปน็ ศลี ขนั ธ์ สมมฺ าวายาโม สมมฺ าสติ สมมฺ าสมาธิ นเ้ี ปน็ สมาธิ
สงเคราะหเ์ ขา้ ในสมาธเิ ปน็ สมาธขิ นั ธ์ สมมฺ าทฏิ ฐฺ ิ สมมฺ าสงกฺ ปโฺ ป นเี้ ปน็ ปญั ญาสงเคราะห์
เข้าในปญั ญา เปน็ ปัญญาขันธ์ เม่ือรวมเขา้ มาอยา่ งน้ี มรรคมอี งค์ ๘ ก็คือ ศีล สมาธิ
ปญั ญา นเ้ี อง มเี พยี ง ๓ เทา่ น้ี ครนั้ แลว้ กาย วาจา ใจเปน็ ศลี ใจเปน็ สมาธิ ใจเปน็ ปญั ญา
ถา้ อยา่ งวา่ นก้ี ค็ อื สกนธก์ ายตวั เรา คอื กาย วาจา ใจ นเ้ี ปน็ มรรคและเปน็ ผล คำ� วา่ ใจ
เป็นศีลด้วยคือต้องการปกติ
อรยิ สจั จ์ ๔ น้ี ทกุ ขสจั จ์ สมทุ ยั สจั จ์ เปน็ สงั วฏั ฏะหมนุ เวยี นและประกอบดว้ ยทกุ ข์
นโิ รธสจั จ์ มรรคสจั จ์ เปน็ ววิ ฏั ฏะไมห่ มนุ เวยี นและประกอบดว้ ยความสขุ หรอื เรยี กวา่
ดบั ทกุ ข์ ไมม่ ที กุ ขเ์ ปน็ ผล ทกุ ขสจั จ์ สมทุ ยั สจั จ์ เปน็ กเิ ลสกบั กองทกุ ขเ์ หลอื ทจ่ี ะทนไดย้ าก
นโิ รธสจั จ์ มรรคสจั จ์ เป็นความบริสทุ ธ์ิ และมคี วามสุขดับทุกข์เสยี ได้เป็นผล และ
อริยสัจจข์ องจรงิ ท้งั ๔ นี้ ท่านวา่ มปี ริวัฏฏล์ ะ ๓ มอี าการ ๑๒ คอื
ทุกข์ เปน็ ของจรงิ อยา่ ง ๑
สมุทยั คอื ตัณหา เปน็ เหตุให้ทกุ ข์เกิด เปน็ ของจริงอย่าง ๑
นโิ รธ คือ ความดับตณั หาได้สิ้นเชิง เป็นความดับทุกข์ เปน็ ของจรงิ อยา่ ง ๑
มรรค คอื ปญั ญาเกดิ กลา้ ทสี่ ามคั คพี รอ้ มดว้ ยองคม์ รรคทงั้ ๘ ฆา่ กเิ ลสตาย คอื
ฆ่าตัณหาตาย ให้ถงึ ความดับตัณหาแลว้ ดับทุกข์ เป็นของจรงิ อยา่ ง ๑
198
จรงิ ทงั้ ๔ อยา่ งนเ้ี รยี กวา่ สจั จญาณ ทกุ ขเ์ ปน็ ของจะพงึ กำ� หนดรู้ อนั นเ้ี ปน็ กจิ ญาณ
ในทุกข์ สมุทยั คอื ตัณหาเป็นของจะพงึ ละ อนั นี้เปน็ กจิ ญาณในสมทุ ัย นโิ รธ คอื
ความดบั ตณั หาเปน็ ของจะพงึ กระทำ� ใหแ้ จง้ อนั นเ้ี ปน็ กจิ ญาณในนโิ รธ มรรคเปน็ ของ
จะพึงกระทำ� ใหเ้ กดิ ใหม้ ขี นึ้ อนั นเ้ี ป็นกิจญาณในมรรค และทุกข์น้ันได้นั้นได้กำ� หนด
รแู้ ลว้ อนั นเ้ี ปน็ กตญาณในทกุ ข์ สมทุ ยั กไ็ ดล้ ะแลว้ อนั นเ้ี ปน็ กตญาณในสมทุ ยั นโิ รธ
กไ็ ดก้ ระทำ� ใหแ้ จง้ แลว้ อนั นเี้ ปน็ กตญาณในนโิ รธ มรรคนนั้ กไ็ ดท้ ำ� ใหเ้ กดิ ใหม้ ขี นึ้ แลว้
อันน้เี ป็นกตญาณในมรรค จงึ รวมปริวัฏฏ์ละ ๓ มีอาการ ๑๒ ดังกล่าวน้ี
อนง่ึ อรยิ สจั จ์ ๔ นี้ ทา่ นวา่ เมอื่ เหน็ อรยิ สจั จอ์ นั หนงึ่ ไดแ้ ลว้ ดว้ ยญาณอนั แจง้ ชดั
กไ็ ดช้ อ่ื วา่ เหน็ ทง้ั ๔ สน้ิ ดว้ ยกนั คอื วา่ เมอื่ เหน็ ทกุ ขสจั จ์ กก็ ระเทอื นถงึ เหน็ สมทุ ยั สจั จ์
นิโรธสัจจ์ มรรคสัจจ์ ถ้าเม่ือเห็นสมุทัยสัจจ์ ก็เป็นอันเห็นทุกขสัจจ์ นิโรธสัจจ์
มรรคสจั จ์ ไปตามกนั เมอ่ื เหน็ นโิ รธสจั จ์ กจ็ ำ� เหน็ ทกุ ขสจั จ์ สมทุ ยั สจั จ์ มรรคสจั จด์ ว้ ย
เมือ่ เหน็ มรรคสจั จไ์ ดแ้ ลว้ ก็เป็นอันเหน็ ทุกขสัจจ์ สมทุ ยั สัจจ์ นโิ รธสจั จ์ ไปดว้ ยกัน
ในอกี ตวั
ท่ีท่านเปรียบอุปมาเหมือนคนแจวเรือข้ามฟาก คือเรือเมื่อข้ามไปฝั่งโน้น
คราวเดยี วกัน ย่อมพร้อมด้วยองค์ ๔ คือ ละฝ่งั ขา้ งน้ี ๑ บรรทกุ ของในเรอื ไป ๑
ตดั กระแสนำ้� ไป ๑ ถงึ ฝง่ั ฟากโพน้ ๑ เรอื ขา้ มฟากไปถงึ ฝง่ั พรอ้ มดว้ ยองค์ ๔ ความเหน็
อรยิ สจั จ์ ถา้ เหน็ แลว้ อยา่ งใดอยา่ งหนงึ่ กพ็ รอ้ มไปดว้ ยกนั ทง้ั ๔ เหมอื นเรอื ขา้ มนำ้� นน้ั
ธรรมของจรงิ ๔ อย่าง คอื อรยิ สจั จน์ ีช้ ือ่ วา่ เปน็ ของจริงแท้ ไมม่ ใี ครจะมาโยกย้าย
ให้แปรเป็นอนื่ ใหด้ บั เสียศนู ย์เสียจากโลกไมไ่ ด้ ชอ่ื ว่าความจรงิ เปน็ ของไม่ตาย และ
เป็นธรรมมีอยู่เป็นธรรมดา ท่ีมีก่อนพระพุทธเจ้ามาตรัสรู้ทุกพระองค์ ด้วยก็ชื่อว่า
พระธรรมเกดิ กอ่ นพระพทุ ธเจา้ พระพทุ ธเจา้ เกดิ หลงั พระธรรมน้ี ทพ่ี ระธรรมคอื อรยิ สจั จ์
มีอยู่ประจ�ำโลกก่อนพระพทุ ธเจ้าเป็นธรรมดา แตไ่ ม่มผี รู้ ้ผู ู้เห็นก็เปน็ เหมอื นไมม่ ี
ต่อพระพุทธเจ้ามาตรัสรู้ แล้วแสดงประกาศให้เทวดาและมนุษย์ท้ังหลายได้รู้
ไดเ้ หน็ พระธรรมนจ้ี งึ ปรากฏ และเปน็ เหมอื นเกดิ ขน้ึ ใหม่ ตอ่ ไปนหี้ ากสมมตุ วิ า่ มผี ถู้ าม
ขน้ึ วา่ กว็ า่ เปน็ ธรรม อรยิ สจั จน์ มี้ ที งั้ ทกุ ขสจั จว์ า่ ทกุ ขก์ จ็ รงิ และทกุ ขเ์ หลอื ทน ดงั เกดิ แก่
199
และ ความตาย เปน็ ต้น ทำ� ไมจึงไมใ่ หม้ แี ต่มรรคสัจจ์และนิโรธสจั จอ์ นั เป็นฝ่ายสุข
เทา่ นนั้ ใหท้ ุกข์มีทำ� อะไร ไมใ่ ชอ่ ย่างน้นั
ทกี่ ล่าวอยา่ งนัน้ กเ็ ท่ากับว่าจะเอาแตเ่ ยน็ อยา่ งเดยี ว เกลยี ดร้อน เหมอื นกบั จะ
เอาแตน่ ำ�้ เกลยี ดไฟ ถา้ มแี ตน่ ำ�้ เชน่ นนั้ ไมม่ ไี ฟเปน็ ของรอ้ นอยา่ งหนงึ่ จะเปน็ ไปไมไ่ ดเ้ ลย
จะมแี ตเ่ ยน็ อยา่ งเดยี ว ไมใ่ หม้ รี อ้ น โลกเปน็ ไปไมไ่ ด้ ทจ่ี ะใหม้ แี ตม่ รรคสจั จ์ นโิ รธสจั จ์
ทมี่ แี ตส่ ขุ อยา่ งเดยี ว กเ็ ปน็ ไปไมไ่ ดฉ้ นั นนั้ และทเี่ หมอื นกบั รอ้ นนกั แลว้ อาบนำ้� ระงบั รอ้ น
ไดจ้ รงิ นำ�้ จงึ ปรากฏวา่ เปน็ คณุ ถา้ ไมม่ รี อ้ น ไมไ่ ดอ้ าบนำ�้ และนำ�้ นนั้ ไมไ่ ดท้ ำ� กจิ อนั ใด
อยา่ งนี้ นำ้� นน้ั กไ็ มแ่ สดงคณุ ชอ่ื วา่ หาประโยชนไ์ มไ่ ด้ กเ็ ปน็ อนั วา่ ไมต่ อ้ งมี หรอื เหมอื น
ไมใ่ หม้ ไี ขเ้ สยี เลย แตใ่ หม้ แี ตย่ าเทา่ นนั้ อยา่ งนก้ี ม็ ยี าหาประโยชนม์ ไิ ด้ จะมยี าไปทำ� อะไร
อน่งึ เหมอื นจะให้มีแตเ่ กิดอยา่ งเดียวไม่ให้มตี าย ถา้ อยา่ งนัน้ แผน่ ดินและฟ้า
ทว่ี า่ งนี้ กไ็ มพ่ อทจี่ ะใสม่ นษุ ย์ ดนิ และฟา้ เตม็ ไปดว้ ยมนษุ ย์ ไมม่ ที วี่ า่ งจะวา่ ดหี รอื ไมด่ ี
คงไมใ่ ชค่ วามสขุ ทมี่ าแหง่ ทจี่ ะกลา่ ววา่ คนนแ้ี หละเปน็ กเิ ลส กเิ ลสนแี้ หละเปน็ นพิ พาน
อยา่ งน้ชี ื่อว่าชัว่ กลับดี หรอื ดีไปจากช่ัว
อนง่ึ ลองนกึ ดอู กี ที เหมอื นอยา่ งมะมว่ งผลหนง่ึ ในระหวา่ งหนงึ่ ระหวา่ งตน้ มแี ตด่ บิ
กบั เปรยี้ ว ครนั้ ตอ่ มาสกุ แลว้ กม็ แี ตส่ กุ กบั หวาน เมอ่ื เปน็ เชน่ น้ี เมอ่ื มแี ตส่ กุ กบั หวานน้ี
เปน็ มะม่วงผลอนื่ จากผลดบิ กับเปรย้ี วนนั้ หรอื กไ็ มใ่ ช่ กผ็ ลเดยี วน้ันเอง และเปร้ียว
ไปไหน กห็ ายไปเปน็ ธรรมดา แลว้ กลายเปน็ หวาน ถา้ อยา่ งนจี้ ะใหม้ แี ตม่ ะมว่ งสกุ และ
หวานเทา่ นน้ั จะไมใ่ หม้ มี ะมว่ งดบิ ทเ่ี ปรยี้ วกอ่ น จะเอาแตส่ กุ ขา้ งเดยี วอยา่ งนน้ั เปน็ ไป
ไมไ่ ด้ ฝนื ธรรมดาไปเสยี แล้ว
เหมือนจะให้มีแต่มรรคสัจจ์กับนิโรธที่เป็นผลอย่างเดียว จะไม่ให้มีทุกขสัจจ์
และสมทุ ยั สจั จไ์ มไ่ ดเ้ ปน็ อนั ขาด หรอื จะใหม้ แี ตท่ กุ ขสจั จ์ สมทุ ยั สจั จ์ เทา่ นนั้ จะไมใ่ ห้
มมี รรคสจั จแ์ ละนโิ รธสจั จเ์ ชน่ นนั้ เลา่ กเ็ ปน็ ไปไมไ่ ด้ เปน็ ธรรมดาอกี เมอื่ มที กุ ขก์ ต็ อ้ ง
มสี ขุ เปน็ คู่ เมอ่ื กลา่ วแสดงอรยิ สจั จ์ ยกปคุ คลาธษิ ฐาน มบี คุ คลเปน็ ทตี่ งั้ อยา่ งนี้ กต็ อ้ ง
ว่าสกนธก์ ายตัวเราน้ีเป็นตัวทกุ ข์ เปน็ ทงั้ ชาติ ชรา มรณะ เตม็ อย่ใู นตัวเรานี้
200
ครนั้ แลว้ กต็ อ้ งวา่ ทกุ ขอ์ นั ใด สมทุ ยั กอ็ นั นน้ั คอื ตณั หา ๓ กามตณั หา ภวตณั หา
วภิ วตณั หา กเ็ ตม็ อยทู่ ตี่ วั เชน่ น้ี และกต็ อ้ งวา่ สมทุ ยั อนั ใด นโิ รธกอ็ นั นนั้ คอื ความดบั
ตัณหาก็มีเต็มอยู่ในตัวเราน้ี แต่เราจะดับได้หรือยังดับไม่ได้เท่านั้น และก็ต้องว่า
นโิ รธอนั ใด มรรคกอ็ นั นน้ั คอื อฏั ฐงั คกิ มรรค ๘ หรอื สงเคราะหอ์ งคม์ รรค ๘ เขา้ ใน
ศลี สมาธิ ปญั ญา ครน้ั แลว้ ในศลี สมาธิ ปญั ญา กเ็ ตม็ อยใู่ นตวั เรานี้ เวน้ ไวแ้ ตย่ งั ไมท่ ำ�
ใหเ้ กิด หรือจะว่าเหมอื นขน้ึ ทางใดกล็ งทางน้นั ก็ได้ หรือกนิ ถ้วยใดก็ลา้ งถว้ ยน้นั
201
กินสุรารับศลี ฟังธรรมไม่ดี
ถา้ หากวา่ ในบคุ คลทงั้ หลาย เมอื่ เปน็ อยา่ งหนงึ่ มอี ยคู่ อื วา่ ผใู้ ดเมอ่ื ไปฟงั ธรรมทวี่ ดั
หรอื ทใี่ ดทหี่ นงึ่ แลว้ กนิ เหลา้ ไปฟงั ธรรมกด็ ี หรอื กนิ เหลา้ แลว้ ไปรบั ศลี กด็ ี ยอ่ มดไู มง่ าม
และเสยี วธิ ไี ปแลว้ กนิ เหลา้ ไปฟงั ธรรมและกนิ เหลา้ ไปรบั ศลี น้ี พงึ รวู้ า่ “สมเดจ็ พระสมั มา-
สมั พทุ ธเจา้ ตรสั ตเิ ตยี น” แลว้ ทรงเตอื นและไมส่ รรเสรญิ ยงั นกั ปราชญผ์ รู้ ทู้ ง้ั หลายอน่ื
กเ็ หน็ วา่ ไมส่ วยและไมส่ รรเสรญิ อกี ชอื่ วา่ เปน็ สงิ่ ทไี่ มใ่ ชบ่ ญุ เสยี แลว้ ซำ้� ถา้ เมาไปมากแลว้
ในทส่ี ดุ กไ็ ปนอนฟงั เทศนด์ ว้ ยความเมา อยา่ งนหี้ าสวยงามมไิ ด้ ไมต่ รงกบั คำ� ทว่ี า่ บญุ
คอื ความสะอาด ความงามใจ และงามกาย วาจา ไปตามกนั ชอื่ วา่ บญุ เมอื่ เราหาความดี
ใสต่ วั และอยากไดค้ วามดใี สต่ วั เรา กจ็ งสงั วรระวงั ในเรอื่ งนใ้ี หจ้ งดี การฟงั ธรรมและ
รบั ศีลจงึ สะอาดแจ่มใส และจะได้ชอ่ื วา่ ได้บญุ กุศลแท้
กนิ เหลา้ ลว่ งสรุ าอยา่ งเดยี ว ทำ� ใหเ้ กดิ ฆา่ หรอื เกดิ ตกี นั เบยี ดเบยี นกนั และอาฆาต
ทำ� ใหล้ ว่ งอทนิ นา คอื ลกั ขโมยขน้ึ ไดง้ า่ ยอกี เพราะไมม่ จี ะกนิ หรอื เพราะมดื ใจ ไมล่ ะอาย
ไมก่ ลวั บาป ใหป้ ระพฤตผิ ดิ ในทางกามได้ ไมค่ ดิ ถงึ โทษและคณุ ไดด้ ว้ ย ทำ� ใหล้ ว่ งมสุ า
ทพ่ี ดู พลา่ มและหยาบไปตามกนั คอื วา่ สรุ าอยา่ งเดยี ว ทำ� ใหบ้ าปอน่ื ลามปามเตม็ ไปดว้ ย
ความเสอื่ มอยา่ งอน่ื ไมม่ ที ส่ี นิ้ สดุ และเสอื่ มศลี ธรรมทางฝา่ ยธรรม เสอ่ื มทรพั ยส์ นิ ทาง
ฝา่ ยโลกทงั้ สองอยา่ งได้ ถา้ เมอ่ื ผใู้ ดเวลาไมไ่ ดก้ นิ สรุ าเขา้ หาพระไมถ่ งึ จะเขา้ หาพระไมไ่ ด้
ถา้ ไมไ่ ดด้ ม่ื เมอ่ื จะเขา้ หาพระกก็ ลวั หรอื อายเกนิ เมอ่ื จะเขา้ หาพระแตล่ ะครงั้ จะไปฟงั
ธรรมรบั ศลี แตล่ ะหน จะต้องกนิ ให้เมาเสยี ก่อนจึงจะไป อยา่ งนชี้ อื่ วา่ เป็นเรื่องความ
เหลวไหลหรือเหลวแหลก ไม่ใชม่ งคล
202
ความดจี ะส�ำเรจ็ เพราะการกระทำ�
ขอ้ อน่ื ยงั มอี กี ทกุ สง่ิ ทกุ อยา่ งอนั จะสำ� เรจ็ ดว้ ยผลดไี ด้ หรอื เรยี กวา่ ความดี มลี าภ
คอื ความมที รพั ย์ หรอื เกยี รตยิ ศและความสขุ หรอื อยา่ งสงู คอื มรรคผลนพิ พาน ไมใ่ ช่
ส�ำเร็จได้ดว้ ยเพยี งแต่พดู หรอื ความคิดนึกและความปรารถนา คือจะสำ� เรจ็ ได้ดว้ ย
การกระท�ำ ราชสีหส์ นุกท่จี ะนอนหลบั อยู่ แลว้ อ้าปากไวใ้ หเ้ น้ือวิง่ เข้าไปในปากใหเ้ อง
จะมีไดแ้ ตท่ ี่ไหน
อนึ่ง ถ้าวา่ มคี นหนึ่งน่งั ปรารถนาและนอนร้องเรยี กอยู่วา่ ฝ่งั ข้างโน้นจงมารบั
เราบา้ งเถดิ เราอยากไปจากฝ่ังน้ี เพราะไมบ่ ริบูรณ์ดว้ ยเงินดว้ ยทอง เราอยากไปฝั่ง
ฟากโพ้นเพราะเต็มไปดว้ ยเพชรดว้ ยแก้ว แต่ไมห่ าเรือหาแพพายไปหรอื ถ่อไปเพ่ือถงึ
เพยี งแตจ่ ะปรารถนาหรอื รอ้ งเรยี ก แลว้ สนุกนัง่ สนุกนอน คอยทา่ ให้ฝง่ั มารบั อย่างนี้
ไมไ่ ดเ้ ลย เคยมที ีไ่ หนว่าฝั่งมารบั คนเชน่ นั้นไปได้
ลาภและความสขุ หรอื สวรรคน์ พิ พาน กไ็ มม่ ารบั คนผไู้ มก่ ระทำ� ทไ่ี มท่ ำ� การงาน
ทไี่ มป่ ฏบิ ตั ิ คอื ไมม่ ศี ลี เปน็ ตน้ คอยแตน่ งั่ หรอื นอนปรารถนาและรอ้ งเรยี กใหส้ วรรค์
นพิ พานมารบั เหมือนกันน้ัน ไม่บำ� เพญ็ กุศล ไมท่ ำ� บญุ ไม่ปฏิบัตอิ นั ใด จะปรารถนา
หรอื รอ้ งเรยี กใหส้ วรรคน์ พิ พานมารบั ไมเ่ คยมเี ลยในโลกนหี้ รอื ในโลกอน่ื แตว่ า่ ถา้ มี
อกี คนหน่งึ รีบหาเรือไดแ้ ลว้ รีบแจวและรบี พาย ไม่รอ้ งเรียกและไม่ปรารถนา ก็ไปถึง
ฝง่ั ฟากโพน้ ได้ ผไู้ มป่ ระมาทรบี เรง่ ในการปฏบิ ตั งิ าน หรอื ปฏบิ ตั ใิ นทานในศลี เปน็ ตน้
แต่ไม่สกั แตน่ ง่ั ร้องเรียกกไ็ ปถงึ คือได้ลาภหรือเกยี รตยิ ศ และได้สวรรค์นพิ พานเอง
ท่ีไมป่ รารถนา คือไดเ้ พราะการกระทำ� เปน็ ใหญ่ อย่างนไ้ี ด้ผู้รู้สรรเสริญ
203
อนง่ึ บางคนมกั มนี สิ ยั เหมอื นกบั จะเอาแมวมาแลกชา้ ง หรอื จะเกบ็ เอามดเอาปลวก
ไปแลกเพชรแลกพลอย ทเี่ ปน็ ไปไดย้ าก คอื เหมอื นประกอบการกระทำ� นอ้ ย ปฏบิ ตั ใิ น
ขอ้ วตั รนดิ ๆ หนอ่ ยๆ และจะเรยี กเอาบำ� เหนจ็ และคณุ คา่ อยา่ งอน่ื ใหล้ น้ เหลอื ปฏบิ ตั ทิ ี่
ยงั ไมส่ มกใ็ ครแ่ ตจ่ ะเอาบญุ กศุ ล หรอื สวรรคน์ พิ พานใหไ้ ดม้ ากเกนิ คา่ หรอื ใหเ้ รว็ เกนิ
อยา่ งนี้ไมใ่ ช่เหตผุ ล เพราะเหมือนกบั จะสุกก่อนหา่ ม (สขุ ก่อนเหม่ิ ) ด้วย
204
การปฏบิ ัติศาสนา เราทำ� บญุ ที่บุญมีอยแู่ ล้ว
ขอ้ อน่ื ยงั มอี กี ในพวกเราทง้ั หลายปฏบิ ตั ศิ าสนาคอื ทำ� ทเ่ี ปน็ ของมอี ยแู่ ลว้ กลา่ ว
อยา่ งงา่ ยๆ ทเี่ รยี กว่าท�ำบญุ บญุ ท่เี ราทำ� น้ันเป็นของมีอยูแ่ ลว้ การท�ำบุญของเราจงึ
ได้บุญ ถ้าบุญไม่มีที่เราท�ำน้ันก็จะไม่ได้บุญไป เหมือนอย่างทาน การให้การสละ
ถา้ ใหเ้ ม่ือใด ทานกแ็ สดงตัวเมื่อนั้น เว้นแต่ไม่ใหเ้ ทา่ นน้ั เมอ่ื ไมใ่ ห้ ก็สงบเงียบอยู่
เป็นเหมอื นไม่มี ถา้ เปน็ ทานเมือ่ ใดกเ็ ป็นบญุ ทันที บุญแสดงตวั ท่เี รยี กวา่ บญุ เกดิ ขึ้น
แตท่ จ่ี ริงเป็นของมีอยูก่ ่อน
สว่ นศลี กเ็ ปน็ ของมอี ยแู่ ลว้ อยา่ งนนั้ อกี แตถ่ า้ ไมเ่ วน้ ฆา่ สตั ว์ ลกั ทรพั ย์ ประพฤตผิ ดิ
ในกาม พูดมสุ า ดม่ื สุราเมอ่ื ใด สิง่ เหลา่ นกี้ ็กลบอยู่ ปดิ บังอยู่ แสดงตวั ออกไม่ได้
ถา้ มวี ริ ตั เิ จตนา คดิ ละเวน้ เพกิ การฆา่ สตั ว์ ลกั ทรพั ย์ ประพฤตผิ ดิ ในกาม พดู มสุ า ดม่ื สรุ า
ออกเมอ่ื ใด ศลี กแ็ สดงตวั ใหป้ รากฏขน้ึ เองทนั ที ทเี่ รยี กวา่ เปน็ ศลี เกดิ ขนึ้ ครนั้ แลว้ กเ็ ปน็
กศุ ลเปน็ บุญเกดิ ขึน้ ตามกนั
สมาธิ กม็ อี ยแู่ ลว้ เหมอื นกนั นนั้ อกี แตย่ งั ไมไ่ ดท้ ำ� หรอื ทำ� แตย่ งั ไมถ่ งึ คอื วา่ นวิ รณ์ ๕
คอื กามฉันทะ พยาบาท ถีนมิทธะ อทุ ธัจจะกุกกจุ จะ วจิ ิกิจฉา ๕ อย่างนเ้ี กดิ ข้นึ
กลมุ้ รมุ จติ และปดิ บงั และทำ� ใหฟ้ งุ้ ซา่ น เปน็ ตน้ ถา้ เพกิ สงิ่ เหลา่ น้ี ๕ อยา่ งออกไดแ้ ลว้
สมาธกิ ป็ รากฏ ปกตขิ องใจย่อมมอี ยู่
205
ปญั ญาความรทู้ วั่ ความประจกั ษแ์ จง้ กม็ อี ยทู่ ว่ั กนั ทงั้ หมด แต่ อวชิ ชา คอื ธรรมชาติ
ไมร่ แู้ จ้ง หรือโลภะ ความโลภ โทสะ ความโกรธ โมหะ ความหลง ปิดบังใหม้ ืดมน
เหมือนฝาหรือก�ำแพงปิดบังตาไม่ให้เห็นรูปฉะนั้น หรือเหมือนกะเปาะไข่เปลือกไข่
อนั บงั ตาลกู ไกท่ อ่ี ยใู่ นไข่ ไมใ่ หเ้ หน็ ดนิ ฟา้ อากาศ ฉะนน้ั ถา้ เพกิ โลภะ โทสะ โมหะ ออกไป
จากใจได้แล้ว ปญั ญาไมม่ ีอะไรปิดบังแลว้ กฉ็ ายความรูอ้ อกสวา่ งทั่ว แสดงตวั เอง
ไดเ้ อง เหมือนพระจนั ทร์พน้ แล้วจากกลีบเมฆ สอ่ งโลกใหแ้ จ่มอยู่ ฉะนน้ั
ท่วี ่า วมิ ุตติ ความหลุดพ้นก็มอี ยู่แล้วเหมือนกนั นนั้ แต่ปัญญายงั ไม่เกดิ กลา้
ฆา่ กเิ ลสตาย เปน็ อรยิ มรรคเมอื่ ใด วมิ ตุ ตกิ แ็ อบอยนู่ นั้ แตไ่ มป่ รากฏ เมอ่ื ถงึ คราวปญั ญา
เกดิ ฆา่ อวชิ ชาสวะ กามาสวะ ภวาสวะ ใหด้ บั ไป ทนี่ จ้ี ติ กเ็ ปน็ วมิ ตุ ตหิ ลดุ พน้ แสดงตวั ได้
มรรคผลกเ็ ปน็ ของมอี ยแู่ ลว้ แตส่ งั โยชน์ ๑๐ คอื สกั กายทฏิ ฐิ วจิ กิ จิ ฉา สลี พั พตปรามาส
กามราคะ ปฏิฆะ รูปราคะ อรูปราคะ มานะ อทุ ธจั จะ อวิชชา ยังปิดอยไู่ ม่แสดงตวั
ทเ่ี รยี กวา่ ยงั ไมไ่ ดไ้ มถ่ งึ มรรคผล แตม่ รรคผลกต็ ง้ั อยนู่ น้ั แอบอยู่ เปน็ อกาลโิ ก ไมเ่ ลอื ก
เวลาใดท้ังหมด
เมอ่ื ใดเวลาเกดิ เอานพิ พานเปน็ อารมณ์ ปญั ญากลา้ ฆา่ กเิ ลส คอื สงั โยชน์ ๑๐ อยา่ ง
ตายไปดบั ไป คราวนี้ โสดา สกทิ าคา อนาคา อรหตั ต์ ทเ่ี กดิ ขนึ้ คอื ไดม้ รรคผล แสดงตวั
ออกมาใหป้ รากฏแกผ่ ไู้ ดน้ นั้ เอง ทสี่ ดุ พระนพิ พานกม็ อี ยแู่ ลว้ ทเ่ี ปน็ อกาลโิ ก เทยี่ งอยู่
เปน็ ปกติ ไมเ่ ลอื กเวลา ไมเ่ ลอื กกาล เหมอื นเมอื งหลวงทเี่ จรญิ ทสี่ ดุ เมอื งหนง่ึ ทม่ี อี ยแู่ ลว้
แตผ่ เู้ ดนิ ทางไปเมอื งนนั้ ไปยงั ไมถ่ งึ หรอื ถงึ แลว้ เทา่ นน้ั ถา้ อยา่ งวา่ นขี้ นั ธ์ ๕ ทสี่ มมตุ วิ า่
ตวั ตนคนเราทกุ คนกม็ คี วามดอี ยดู่ ว้ ยกนั ทงั้ หมด เปน็ แตไ่ ดป้ ฏบิ ตั ิ ไดอ้ บรม ไดศ้ กึ ษา
หรอื ไม่ได้ปฏบิ ตั ิ ไม่ไดอ้ บรม และไมไ่ ด้ศกึ ษาต่างกัน คือคนเรามดี ีอยูท่ กุ คน ถา้ ได้
ศกึ ษาและปฏิบตั ิดับอวิชชา ตณั หา หรอื ละโลภ ละโกรธ ละหลง ไดแ้ ลว้ วมิ ุตติ
ความหลดุ พน้ หรอื รวมเรยี กวา่ ความดี กแ็ สดงขน้ึ ใหแ้ จง้ ละความชวั่ ไดแ้ ลว้ ความดี
กป็ รากฏเทา่ นัน้ เอง
อน่งึ ทเ่ี หมอื นดาบหรือขวานเล่มหนึ่งท่ีเขาปล่อยทง้ิ ไว้ ๑๐ กวา่ ปี สนมิ เกดิ เตม็
รกรงุ รังเหลอื ท่ีคม จะทู่ไม่มคี ม ถงึ อยา่ งนัน้ คมกแ็ อบอยใู่ นนน้ั เองมีอยู่ เมือ่ เจา้ ของ
206
นกึ ขน้ึ ได้ หรอื มีคนใดคนหนง่ึ เอาไปลับไปฝนหิน ถูไป ๒๐ ทียงั ไมค่ ม ก็ถูอกี ๕๐ ที
หรือ ๑๐๐ ที ใหไ้ ดพ้ นั ที หรอื ย่ิงกวา่ คราวนค้ี มก็จา๊ ดออกมา เมอื่ ฝนจนบางคม
แสดงออกมานน้ั ไมใ่ ชค่ มมาจากอนื่ ทางทศิ เหนอื ทศิ ใตแ้ ตอ่ ยา่ งใด และไมใ่ ชม่ าจาก
เบอื้ งบนหรอื ขา้ งลา่ ง แลว้ เขา้ ไปในดาบนนั้ ใหม่ คอื มาจากอนื่ ใหมไ่ มใ่ ช่ คมกแ็ อบมอี ยู่
ในดาบนนั้ ตงั้ แตเ่ ดมิ ตดิ ตวั ดาบนนั้ อยู่ แตส่ นมิ หรอื ความทปู่ ดิ บงั ใหโ้ ทษอยแู่ สดงตวั
ไมไ่ ด้ ตอ่ เมอ่ื เพกิ สนมิ และนำ� ความทคู่ วามหนาออกดว้ ยฝนใหม้ ากแลว้ คมทอ่ี ยนู่ นั้ ก็
ปรากฏเองฉะน้ัน
ขอทา่ นผอู้ า่ นหนงั สอื นี้ จงเขา้ ถงึ พระพทุ ธธรรมเพอ่ื ประสบสนั ตสิ ขุ ทกุ ทา่ นเทอญ
207
พระจนฺทิโย หลวงปู่กินรี
วดั กณั ตะศลิ าวาส อำ�เภอธาตพุ นม จงั หวัดนครพนม
ชีวประวัตแิ ละพระธรรมเทศนา
พระจนฺทิโย หลวงปูก่ ินรี
209
“ถา้ ขาดสติ
โอกาสทจ่ี ิตใจจะวง่ิ ไปตามอารมณ์ภายนอก
มนั กม็ ีมากข้ึน
และอารมณท์ ้ังหลายก็ย่อมครอบงำ� จิต
ใหห้ ลงใหลมัวเมาไดง้ า่ ยขึน้ ”
หลวงปกู่ ินรี จนทฺ โิ ย
210
ชีวประวตั ิ
พระจนฺทโิ ย หลวงปูก่ ินรี
ทา่ นพระอาจารย์กินรี จนทฺ ิโย เกดิ เม่ือวันพุธ ที่ ๘ เดอื นเมษายน พทุ ธศกั ราช
๒๔๓๙* ตรงกบั ปวี อก แรม ๑๑ คำ�่ เดอื น ๕ จ.ศ. ๑๒๕๘ (ร.ศ. ๑๑๕) ทบ่ี า้ นหนองฮี
ตำ� บลปลาปาก อำ� เภอหนองบกึ จงั หวดั นครพนม เดมิ ทา่ นชอ่ื กลม นามสกลุ จนั ศรเี มอื ง
โยมบดิ าชอื่ โพธ์ิ โยมมารดาชอื่ วนั ดี ทา่ นพระอาจารยเ์ ปน็ บตุ รคนสดุ ทอ้ ง ในจำ� นวน
บตุ รธดิ าทง้ั ๗ ของพอ่ โพธ์ิ แมว่ นั ดี โยมบดิ ามารดาและพๆ่ี ทงั้ หมดของทา่ นพระอาจารย์
ต่างกล็ ้มหายตายจากกันไปกอ่ นหนา้ ทา่ นแล้ว
สมัยนั้นประเพณีท่ีนิยมกัน เม่ือพระอุปัชฌาย์จะให้การบรรพชาอุปสมบทแก่
ผใู้ ด กม็ กั จะตงั้ ชอ่ื ใหใ้ หม่ ทง้ั ชอ่ื ตวั และชอื่ พระ ทเี่ รยี กวา่ ฉายาพระ ดงั นนั้ ในกรณขี อง
ท่านพระอาจารย์นกี้ ็เชน่ กนั พระอุปัชฌาย์ คอื ท่านพระวงษ์ ได้ตง้ั ชอื่ ใหท้ า่ นใหม่วา่
“กนิ ร”ี มฉี ายาพระวา่ “จนทฺ โิ ย” อนั แปลวา่ ผเู้ ปรยี บประดจุ พระจนั ทร์ ซงึ่ ทา่ นพระวงษ์
พระอุปัชฌาย์ คงต้องประสงค์ท่ีจะให้ท่านพระอาจารย์เป็นพระผู้มีความบริสุทธ์ิอัน
หมายเหตุ : * จากหลกั ฐานในรายงานรบั รองของพระธรรมรส เจา้ อาวาสผรู้ บั รองหนงั สอื สำ� คญั ประจำ� ตวั ทา่ น
พระอาจารย์ ระบุ พ.ศ. เกดิ ของทา่ นผดิ เพย้ี นอยู่ คอื ทถ่ี กู ตอ้ งนนั้ ปวี อกจะตอ้ งเปน็ พ.ศ. ๒๔๓๙ มใิ ช่ พ.ศ. ๒๔๓๘
ดังที่ปรากฏในหลักฐานรับรองน้ัน และต่อมาภายหลังบ้านหนองฮีก็ถูกยกฐานะเป็นต�ำบล ต�ำบลปลาปาก
กลายเปน็ อำ� เภอ และอ�ำเภอหนองบึก เปล่ียนเป็นอำ� เภอเมอื ง จังหวัดนครพนม (ผ้เู รียบเรียง)
211
บรรเจิดจ้าดุจแสงแห่งพระจันทร์วันเพ็ญถึงปานนั้นก็เป็นได้ ส�ำหรับพระกรรม-
วาจาจารย์ หมายถงึ อาจารยส์ วดทงั้ สองของทา่ นนนั้ ไดแ้ ก่ พระพมิ พ์ กบั พระพรหมา
การอปุ สมบทของทา่ นพระอาจารยค์ รงั้ นี้ นบั เปน็ ครงั้ ทส่ี องของการอปุ สมบทในระยะ
เวลาตลอดชวี ติ ของท่าน ซง่ึ ตรงกบั วนั จนั ทร์ท่ี ๓ เดอื นเมษายน พทุ ธศักราช ๒๔๖๕
ขึ้น ๗ ค่�ำ เดอื น ๕ ปจี อ ทา่ นพระอาจารย์อปุ สมบทที่วัดศรบี ญุ เรือง ต�ำบลกดุ ตาไก้
อ�ำเภอหนองบึก จังหวดั นครพนม ส่วนการบรรพชาเป็นสามเณรและการอุปสมบท
ครัง้ แรกนั้น ไม่มหี ลักฐานปรากฏแนช่ ดั ทราบแตเ่ พียงวา่ ชีวิตในการบวชคราวแรก
ของท่านได้เป็นมาด้วยดนี บั ตัง้ แตเ่ ปน็ สามเณรจนกระทั่งเปน็ พระ ในช่วงเวลาถัดมา
ทา่ นกไ็ ดล้ าเพศบรรพชติ ออกไปครองเรอื นเปน็ คฤหสั ถ์ จนถงึ ไดแ้ ตง่ งานมเี หยา้ เรอื น
กบั หญงิ คนหนงึ่ ตามประเพณี แตพ่ อเพงิ่ จะมบี ตุ ร หญงิ นนั้ กต็ าย บตุ รทารกนนั้ กต็ าย
ประจวบกับในปีน้ัน ท่านซึ่งอยู่ในเพศฆราวาสก็ได้ลงทุนลงรอนต้อนกระบือไปขาย
ภาคกลาง ผลปรากฏวา่ การคา้ กระบอื คราวนนั้ ขาดทนุ ยอ่ ยยบั และบงั เอญิ ทบี่ ตุ รภรรยา
ก็มาตายจากไป สิ่งทั้งหลายเหล่านั้นมันดูคล้ายกับเป็นกองเพลิงท่ีสุมไหม้อยู่ในอก
ความทกุ ขโ์ ศกมนั จงึ ประดงั เขา้ มาสทู่ า่ นอยา่ งทว่ มทน้ พน้ ประมาณยง่ิ นกั และในขณะ
เดยี วกนั มันก็อาจกลา่ วได้วา่ ความทกุ ขเ์ หล่านัน้ เองท่เี ป็นกศุ ลปัจจัยผลกั ดันใหท้ ่าน
พระอาจารยไ์ ดย้ า่ งกา้ วเขา้ มาสคู่ วามเปน็ บรรพชติ ในบวรพระพทุ ธศาสนาอกี วาระหนงึ่
เมื่อท่านพระอาจารย์ได้บวชเป็นพระภิกษุแล้ว ในปีนั้นก็ได้เข้าจ�ำพรรษาอยู่ที่
วดั บา้ นหนองฮี กอ่ นเปน็ เบอื้ งแรก ในชว่ งสบิ ปแี รกน้ี ทา่ นไดอ้ ปุ การะรบั เอาพวกหลานๆ
บรรดาที่เกิดแต่พี่ชายพี่สาวของท่านเข้ามาไว้ในวัด เพื่อท่านจะประสิทธ์ิประศาสน์
วชิ าความรเู้ รอื่ งภาษาไทยให้ เพราะในสมยั นนั้ การพฒั นาการทางการศกึ ษายงั ดอ้ ยมาก
ขาดการแผ่ขยายให้กว้างขวางออกไปสู่ชนบท ท่ีจะเจริญก็คงมีแต่เมืองหลวงเท่านั้น
การเผยแพร่และการถ่ายทอดวิชาความรู้ในวิชาการบางสาขา จึงต้องอาศัยพระท่ีวัด
เป็นผสู้ อน และโดยเฉพาะอยา่ งยิง่ ก็มแี ตว่ ชิ าภาษาไทยเทา่ นน้ั ทส่ี อนกนั นอกเหนอื ไป
จากการสอนหลกั ธรรมะในทางพระพทุ ธศาสนา จดุ หมายของทา่ นพระอาจารยใ์ นระยะน้ี
มงุ่ อยทู่ ก่ี ารสงเคราะหญ์ าตเิ พอื่ ใหเ้ กดิ สตปิ ญั ญาความรู้ หวงั จะใหไ้ ดร้ บั ประโยชนม์ าก
ที่สุดเท่าท่ีจะมากได้ ซ่ึงความรู้เรื่องภาษาไทยของท่านพระอาจารย์ก็ดูเหมือนจะมี
212
มากพอทจ่ี ะสงั่ สอนพวกเขาได้ ดงั นนั้ เดก็ ๆ ทง้ั หลายรวมทงั้ เดก็ ชายยศ* จงึ ไดเ้ ขา้ ไป
สมั ผสั กบั ชวี ติ ในรม่ เงาของวดั รว่ มกบั เดก็ ทง้ั หลายอน่ื ซงึ่ กล็ ว้ นแตอ่ ยใู่ นความปกครอง
และดูแลสัง่ สอนของท่านพระอาจารยด์ ว้ ยกนั ทั้งน้ัน
อุปนิสัยของท่านพระอาจารย์นั้น เป็นที่กล่าวขวัญกันว่าค่อนข้างจะมุ่งมั่นและ
ขยนั ขนั แขง็ ในการงานอยมู่ ากทเี ดยี ว ปฏปิ ทาทเี่ ปน็ ไปจนตลอดชวี ติ ของทา่ น กค็ อื งาน
ท่านพระอาจารย์ไม่เคยอยู่น่ิงเฉย นอกจากขณะท�ำสมาธิภาวนา ไม่เคยเป็นคน
เกียจครา้ นเห็นแกค่ วามสุขจากการนอนการกินหรือพดู จารุม่ ร่ามร่าเริง โดยปกติแล้ว
ในตอนทว่ี า่ งเวน้ จากการงาน ทา่ นกม็ กั จะเขา้ เงยี บและเกบ็ ตวั อยแู่ ตผ่ เู้ ดยี วดว้ ยความ
สงบระงบั เมอื่ ออกจากทภ่ี าวนา หลงั จากทไี่ ดพ้ กั ผอ่ นรา่ งกายบา้ งแลว้ ทา่ นกจ็ ะทำ� งานอกี
โดยถา้ ไมท่ ำ� อยา่ งใดกต็ อ้ งเปน็ อยา่ งหนงึ่ หรอื ไมก่ ท็ ำ� ตดิ ตอ่ กนั ไปหลายๆ งานเลยทเี ดยี ว
พระผู้เฒ่ารูปหนึ่งที่อยู่กับท่าน ได้เล่าถึงความเป็นอยู่ในชีวิตบ้ันปลายในวันหนึ่งๆ
ของทา่ นวา่ “จะได้ยินเสียงกระแอมไอของทา่ นแตด่ กึ เสมอ โดยท่ีท่านจะยงั ไมอ่ อก
จากกฏุ ิ เมอื่ พระสองสามรปู ในวดั ซง่ึ สว่ นมากจะเปน็ พระหลวงตาผเู้ ฒา่ ทที่ า่ นเจา้ คณุ
หลวงพ่อชาส่งมาเฝ้าดูแลท่านพระอาจารย์ ลุกข้ึนมาล้างหน้าตา จัดแจงอาสนะ
ทนี่ ัง่ ฉนั ในตอนรุ่งสาง ก็จะเห็นบาตรของท่านพระอาจารย์วางอยู่ตรงอาสนะของ
ท่านเรียบร้อยแล้ว น้อยคนนักท่ีจะได้รับอนุญาตให้รับบาตรล้างบาตรของท่านได้
และในตอนท่ีท่านพระอาจารย์ยังลุกเดินเหินไปไหนมาไหนได้ พอได้เวลาก็จะออก
เทย่ี วภกิ ขาจารบณิ ฑบาตไปตามหมบู่ า้ นละแวกใกลเ้ คยี ง ทา่ นพระอาจารยเ์ ปน็ ผมู้ ปี กติ
คลอ่ งแคล่วมาก แม้แต่พระหนุ่มๆ บางทียังจะเดนิ ตามท่านไม่ทนั ถงึ แม้วา่ ร่างกาย
ของทา่ นในวัยชราจะเหยี่ วแหง้ ซบู ผอม มโี รคเสมหะทท่ี �ำใหต้ ้องกระแอมไอประจำ� ตัว
แต่ถึงกระนั้น ลักษณะการเดินเหินก็ยังคงว่องไวและกระฉับกระเฉงมาก และพอ
ฉนั เสรจ็ ทา่ นพระอาจารยก์ จ็ ะกลบั เขา้ กฏุ ิ จะเงยี บเสยี งไปบา้ งกไ็ มน่ าน และจะไดย้ นิ
เสียงเคาะอะไรสักอย่างกุกๆ กักๆ ดงั อยู่อยา่ งนน้ั ประเดย๋ี วเคาะ ประเดี๋ยวเงยี บอยู่
หมายเหตุ : * เด็กชายยศ หรอื พ่อทิดยศ มาภา บตุ รนางแดง พีส่ าวคนถดั ของท่านพระอาจารย์ ภายหลงั
ไดบ้ วชเป็นพระติดตามทา่ นพระอาจารย์ไปในการเดินทางอันยาวไกลของท่าน (เรื่องมีขา้ งหน้า) ค�ำว่า “ทดิ ”
แผลงมาจากค�ำว่า “บัณฑิต” คนอสี านหมายเอาผ้ทู เ่ี คยบวชเปน็ พระมาบ้างแลว้ (ผเู้ รยี บเรียง)
213
เช่นน้ันตลอดเวลาครึง่ ค่อนวนั จนกระทง่ั เวลาบา่ ย จึงจะเห็นท่านออกจากกุฏลิ งมา
ทล่ี านวดั บางทกี เ็ ดนิ เขา้ หาไมก้ ราดสำ� หรบั กวาดลานวดั หยบิ ลากเอาไปกวาดลานวดั
จนเตยี นโลง่ ทา่ นจะทำ� กจิ เหลา่ นนั้ ดว้ ยตนเอง ไมเ่ คยตรี ะฆงั รวม หรอื ใชใ้ หใ้ ครทำ� แตถ่ า้
ถงึ คราวทอ่ี ยากจะใหใ้ ครทำ� ทา่ นจะไมใ่ ชด้ ว้ ยวาจา กลบั จะลากเขง่ ใบขาดๆ เกา่ ๆ หรอื ใบ
ที่สานใหม่ซ่ึงก็เป็นฝีมือของท่านเอง มาวางท้ิงไว้ที่กองหยากเยื่อแล้วเดินหลีกหนีไป
ใชก้ ริ ยิ าทเ่ี ดนิ หนแี ทนการบอก เสรจ็ จากกวาดลานวดั บางทกี ห็ าไมต้ อกหรอื หวายมา
จกั สานทำ� เปน็ เครอื่ งใชไ้ มส้ อยประจำ� วดั หรอื ไมเ่ ชน่ นน้ั กเ็ ปน็ อปุ กรณอ์ ยา่ งใดอยา่ งหนง่ึ
ท่ีจะใช้ในวัด ท่านจะท�ำกิจเหล่านี้ไปจนเย็น ไม่เคยพูดจากับใครให้เป็นท่ีเอิกเกริก
แมส้ กั น้อยหนึ่ง บางคร้ังพระเณรจะไปชว่ ย ท่านกลบั หา้ มเสียด้วยซำ�้ บอกแตใ่ หเ้ ร่ง
ความเพียรปฏิบัติ เดนิ จงกรม น่ังสมาธิภาวนา เขา้ ใหม้ าก ค�่ำมดื แลว้ ทา่ นกส็ รงน้�ำ
กลบั เข้ากฏุ เิ กบ็ ตัวเงียบอกี ครั้งหน่ึง ที่จะเห็นกแ็ ตแ่ สงทอเรอื งๆ มัวสลวั ของตะเกยี ง
ใบเล็กคร�่ำคร่าที่สาดส่องขึ้นกระทบเพดาน แล้วเล็ดลอดออกมาตามช่องลมของกุฏิ
โบราณหลังนั้น”
และในคราวที่ท่านพระอาจารย์จ�ำพรรษาอยู่ที่วัดบ้านหนองฮีน้ี จะเป็นปีใด
ไม่ทราบชัด แต่มีอยู่คร้ังหน่ึงท่ีท่านพระอาจารย์ได้แสดงออกให้คนทั้งหลายเห็นว่า
ท่านเป็นผู้เอาจริงเอาจังกับการงานอย่างแท้จริง โดยครั้งนั้นท่านพระอาจารย์ได้
ขดุ ลอกสระน�้ำขนาดใหญ่สระหน่งึ ดว้ ยตวั ของทา่ นเอง จนเปน็ ผลส�ำเร็จขนึ้ ทห่ี มู่บ้าน
ดงั กลา่ ว ซง่ึ ความพากเพยี รพยายามอนั ประกอบไปดว้ ยกำ� ลงั กายและกำ� ลงั ใจของทา่ น
ในการงานครง้ั นนั้ ยงั ผลใหช้ าวบา้ นทงั้ นน้ั ไดม้ นี ำ�้ กนิ นำ้� ใชก้ นั มาจนตราบเทา่ ทกุ วนั น้ี
ต่อมาในตอนปลายของช่วงสิบปีแรก ท่านพระอาจารย์ได้เดินทางไปเรียน
พระกรรมฐานกบั ทา่ นครบู าจารยท์ องรตั น์ ซงึ่ ขณะนน้ั ทา่ นพำ� นกั อยทู่ บี่ า้ นสามผง ตำ� บล
สามผง อำ� เภอศรสี งคราม จงั หวดั นครพนม พนื้ ทเ่ี ดยี วกนั แตอ่ ยไู่ กลออกไปอกี อำ� เภอ
หนง่ึ หรอื สองอำ� เภอ นบั ไดว้ า่ เปน็ การรบั เอาพระธรรมกรรมฐานเขา้ ไวใ้ นกายในจติ ของ
ทา่ นพระอาจารย์ เปน็ การเริ่มแรกและตลอดมา เม่ือได้ศึกษาการปฏิบัตภิ าวนาคราว
น้ันแล้ว ท่านพระอาจารย์ก็ได้เดินทางไปมาหาสู่ท่านครูบาจารย์ทองรัตน์อยู่เสมอๆ
214
และนำ� เอาขอ้ วตั รปฏบิ ตั พิ ระธรรมกรรมฐานมาอบรมสง่ั สอนญาตโิ ยมชาวบา้ นหนองฮี
บา้ นเกดิ ของทา่ น และทท่ี า่ นพำ� นกั อยใู่ นขณะนน้ั ตอ่ มาทา่ นจงึ ไดส้ งเคราะหโ์ ยมมารดา
ของทา่ นใหไ้ ดบ้ วชเปน็ ชี และจดั ตงั้ สำ� นกั สงฆฝ์ า่ ยอรญั ญวาสขี น้ึ แหง่ หนง่ึ อยไู่ มไ่ กลจาก
บา้ นหนองฮีเทา่ ใดนัก ใหช้ ่อื สำ� นักวา่ “เมธาวิเวก”
ในระหวา่ งทท่ี า่ นพระอาจารยไ์ ปมาหาสเู่ พอื่ คารวะและปฏบิ ตั ธิ รรมรว่ มในสำ� นกั
ของทา่ นครบู าจารยท์ องรตั นน์ น้ั ทา่ นครบู าจารยไ์ ดพ้ าทา่ นพระอาจารยเ์ ดนิ ทางไปกราบ
นมสั การ ทา่ นพระอาจารย์ม่นั ภูริทตโฺ ต พระอาจารย์ใหญ่ฝ่ายวิปัสสนากรรมฐาน
ผมู้ ีชือ่ เสยี งและเกียรติคณุ เล่อื งลอื โดง่ ดงั มาก ขณะท่ีทา่ นพระอาจารยม์ ่นั พำ� นักอยทู่ ี่
วัดป่าสทุ ธาวาส จงั หวัดสกลนคร เพ่ือรบั โอวาทจากท่าน
คำ� ส่งั สอนธรรมท่ีทา่ นพระอาจารย์มน่ั ได้ใหแ้ ก่ทา่ นพระอาจารย์น้ัน รวมความ
ได้ว่า ข้อวัตรปฏบิ ัติพระธรรมกรรมฐานนนั้ มรี ากฐานอยู่ทีก่ ารกระท�ำศลี ใหส้ มบูรณ์
บรบิ รู ณ์ พร้อมๆ ไปกับการเจริญสมาธภิ าวนา เพ่อื จะทำ� จิตใหส้ งบระงับจากอารมณ์
ทงั้ ปวง เพราะความทจี่ ติ ปลอดจากอกศุ ลวา่ งเวน้ จากอารมณอ์ นั เกดิ มาจากการสมั ผสั
ทางอายตนะ* คอื ตาทก่ี ระทบกบั รปู หทู ก่ี ระทบกบั เสยี ง จมกู กระทบกบั กลนิ่ ลน้ิ กระทบ
กบั รส กายทก่ี ระทบกบั สงิ่ สมั ผสั ทางกาย และใจทก่ี ระทบกบั อารมณใ์ นภายใน ทที่ ำ� ให้
เกดิ เวทนาความรสู้ กึ สขุ รสู้ กึ ทกุ ข์ รดู้ รี ชู้ ว่ั รสู้ วยรไู้ มส่ วย รนู้ า่ รกั รไู้ มน่ า่ รกั ทง้ั หลายแลว้
จติ ใจกย็ อ่ มจะตง้ั มน่ั อยใู่ นอารมณอ์ นั เดยี ว อารมณน์ นั้ กไ็ ดแ้ กพ่ ระกรรมฐาน หมายถงึ
การเอาพระกรรมฐานเขา้ มาตง้ั ไวใ้ นใจ ความตงั้ มนั่ ของจติ ในลกั ษณาการเชน่ นี้ ยอ่ มจะ
ทำ� จติ ใหส้ งบอยา่ งเดยี ว เปน็ ความสงบทส่ี ะอาดและบรสิ ทุ ธผ์ิ อ่ งใส หลงั จากนน้ั แลว้ จงึ
หนั มาพจิ ารณาธาตทุ ง้ั ๔ อนั ไดแ้ ก่ ธาตดุ นิ ธาตนุ ำ้� ธาตไุ ฟ และธาตลุ ม และพจิ ารณา
ขนั ธท์ ง้ั ๕ ไดแ้ ก่ รปู เวทนา สญั ญา สงั ขาร และวญิ ญาณ ใหร้ วู้ า่ ธาตขุ นั ธแ์ ละรปู นาม
ทงั้ หลายเหลา่ นี้ แทจ้ รงิ กค็ อื บอ่ เกดิ ของความทกุ ขโ์ ศกรำ�่ ไรรำ� พนั นานาประการนน่ั เอง
เหตทุ ส่ี ง่ิ ทง้ั หลายเหลา่ นเ้ี ปน็ บอ่ เกดิ ของความทกุ ขก์ เ็ พราะอวชิ ชา ความไมร่ แู้ จง้ ในความ
เป็นของไม่เที่ยง ในความเป็นของเส่ือมโทรมของธาตุขันธ์ทั้งหลายเหล่าน้ันเป็นเหตุ
หมายเหตุ : * แปลว่า ทีต่ ้งั แห่งการกระทบ มี ๖ คู่ เช่น ตา กับ รปู , หู กับ เสยี ง เปน็ ต้น
215
และเพราะความไม่รู้จักส่ิงท้ังหลายตามเป็นจริงว่ามันมิใช่สัตว์บุคคลตัวตนเราเขา
ไม่รู้จกั ความไมเ่ ทย่ี ง ไม่รู้จกั ความเปน็ ทกุ ข์ และไมร่ ้จู ักความเปน็ อนัตตา คอื ไม่ใช่
ตวั ตนตามเปน็ จรงิ แลว้ อาสวะกเิ ลส คอื ราคะ โลภะ โทสะ โมหะ กย็ อ่ มครอบงำ� จติ
ของคนๆ นนั้ ใหม้ ืดมัวเรา่ ร้อนและเปน็ ทุกขไ์ ดใ้ นที่สดุ
ดังน้ัน การประพฤติปฏิบัติธรรมจึงมีรากฐานส�ำคัญอยู่ท่ีการปฏิบัติศีลเป็น
เบอื้ งตน้ และทำ� สมาธใิ นทา่ มกลาง เพอ่ื จะใหเ้ กดิ ปญั ญาความรแู้ จง้ แทงตลอดในธาตุ
ขนั ธท์ ง้ั หลายเหลา่ นน้ั ไดใ้ นทสี่ ดุ และเพอื่ จะใหร้ จู้ กั พจิ ารณาวา่ รา่ งกายของเราทปี่ น้ั ปรงุ
ขนึ้ มาจากธาตทุ งั้ ๔ น้ี ประกอบอยดู่ ว้ ยนามธาตอุ กี อยา่ งหนงึ่ ซงึ่ แบง่ ออกไดเ้ ปน็ ๔ อยา่ ง
ไดแ้ ก่ เวทนา คอื ความรสู้ ขุ รทู้ กุ ข์ และไมส่ ขุ ไมท่ กุ ข์ สญั ญา คอื ความจำ� ไดห้ มายรใู้ น
อายตนะทง้ั หลายทมี่ ากระทบแลว้ รสู้ กึ แลว้ สงั ขาร คอื ความไหลเวยี นปรงุ เปลยี่ นไมห่ ยดุ
อยขู่ องนามธาตนุ น้ั และวญิ ญาณ คอื ความรสู้ กึ ได้ รวมเปน็ ๔ อยา่ งดว้ ยกนั เรยี กวา่ ขนั ธ์
เมอ่ื รวมเขา้ กบั ธาตทุ งั้ ๔ คอื รปู ขนั ธด์ ว้ ยแลว้ จงึ เปน็ ขนั ธ์ ๕ รวมยอ่ แลว้ กว็ า่ กายกบั ใจ
นเ้ี ปน็ สง่ิ ทไี่ มย่ นื ยงคงที่ ไมเ่ ทย่ี งแทแ้ นน่ อนอะไรเลย โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ กค็ อื รา่ งกาย
เนื้อหนังของเราน้ีเปน็ ของไมส่ วยไมง่ าม สกปรกโสโครก นับวันแตจ่ ะเนา่ เปื่อยผพุ ัง
ดบั ไปสลายไปเทา่ น้นั จะหาความเป็นแกน่ สารไมไ่ ด้โดยประการทงั้ ปวง การภาวนาที่
ถกู ตอ้ งจะตอ้ งเปน็ ไปในลกั ษณะน้ี นกั ภาวนาเมอื่ รเู้ หน็ ซงึ่ สภาพตามเปน็ จรงิ อยา่ งนแี้ ลว้
ยอ่ มจะมคี วามสยดสยอง มคี วามสะดุ้งกลวั ตอ่ ภยั และความเปน็ โทษทุกข์ของสังขาร
เม่ือเล็งเห็นโทษและความไม่เป็นแก่นสารของสังขารทั้งปวงแล้ว จิตของนักปฏิบัติ
ก็ย่อมจะเบื่อหน่าย อยากจะหลีกหนีไปให้พ้นจากสังขารและโทษทุกข์ของสังขาร
ไมอ่ ยากประสบพบเหน็ กบั ความทกุ ขท์ รมานเหลา่ นอี้ กี แลว้ เมอ่ื นนั้ จติ กย็ อ่ มจะคลาย
จากความก�ำหนัดยินดใี นรปู เสยี ง กล่นิ รส โผฏฐพั พะ และธรรมารมณ์ ยอ่ มคลาย
ความกำ� หนดั รกั ใครช่ อบใจ ในสง่ิ อนั เปน็ ทตี่ งั้ แหง่ ความรกั ใครช่ อบใจ เมอ่ื จติ มคี วาม
เบ่อื หน่ายคลายความกำ� หนดั เช่นนีแ้ ล้ว ทกุ ข์ท้งั ปวงกย็ อ่ มดบั ลงได้โดยแท้ ข้อท่วี า่
ทกุ ขท์ งั้ ปวงดบั ลงน้ี เปน็ เพราะอวชิ ชา คอื ความไมร่ ตู้ ามเปน็ จรงิ ในธรรมดบั ไปนนั่ เอง
จงึ เปน็ เหตใุ หค้ วามรคู้ วามเหน็ ในธรรมทเี่ รยี กวา่ ปญั ญานน้ั เจรญิ ถงึ ทสี่ ดุ ผลทไี่ ดร้ บั
ก็คือปัญญาอนั สงบระงับและแจม่ แจง้
216
วันหนึ่ง ระหว่างท่ีท่านพระอาจารย์อยู่ศึกษาและปฏิบัติพระกรรมฐานกับท่าน
พระอาจารย์มั่นน้ัน ท่านพระอาจารย์ได้เล่าให้พระสานุศิษย์ของท่านรูปหนึ่งฟังว่า
ขณะทีท่ า่ นน่งั สมาธทิ ำ� บรกิ รรมภาวนา* อยู่ รสู้ ึกว่าจิตค่อยสงบเขา้ ไปทลี ะนอ้ ยๆ แลว้
กป็ รากฏวา่ รา่ งกายเนอ้ื หนงั ของทา่ นนนั้ เปอ่ื ยหลดุ ออกจากกนั จนเหลอื แตซ่ ากกระดกู
อันเป็นโครงร่างที่แท้จริงในภายในกายนี้ ส่ิงที่ปรากฏในอาการอย่างนั้นมันชวนให้
นา่ เบื่อหนา่ ยย่ิงนกั
ประสบการณใ์ นธรรมโดยลกั ษณะน้ี เกดิ ขนึ้ อกี ครงั้ หนงึ่ ในเวลาตอ่ มา แตไ่ มท่ ราบ
ชดั วา่ ในขณะนน้ั ทา่ นพระอาจารยพ์ ำ� นกั อยทู่ ใี่ ด ครง้ั นที้ า่ นพระอาจารยเ์ ลา่ ใหพ้ ระผเู้ ฒา่
รปู หนง่ึ ฟงั วา่ ในขณะทภ่ี าวนาอยู่ ไดเ้ กดิ เพลงิ ไหมข้ น้ึ ทตี่ วั ของทา่ น เปลวเพลงิ ไดล้ กุ ลาม
พดั ไหมไ้ ปทว่ั รา่ ง ในทสี่ ดุ กเ็ หลอื อยแู่ ตซ่ ากกระดกู ทถ่ี กู เผาไหมจ้ นกลายเปน็ ถา่ นแลว้
ทา่ นพระอาจารยย์ งั ไดเ้ คาะเอาถา่ นจากซากกระดกู ทถี่ กู เผาของทา่ นนนั้ และคดิ อยใู่ น
ท่ีนั่นวา่ “ร่างกายคนเราจะสวยงามแคไ่ หน ในทสี่ ุดมันกต็ อ้ งถกู เผาอยา่ งนี้เอง”
ทา่ นพระอาจารยไ์ ดใ้ ชช้ วี ติ อยกู่ บั ทา่ นพระอาจารยม์ น่ั เพยี งหนงึ่ หรอื สองปเี ทา่ นนั้
ส่วนมากทา่ นจะอยูผ่ ูเ้ ดยี ว เปน็ ตัวของตัวเองมากกวา่ ผู้ทมี่ ีพระคณุ และเปน็ ทเ่ี คารพ
นับถอื ของท่านเป็นพิเศษ ก็เหน็ จะไดแ้ กท่ า่ นครบู าจารย์ทองรัตน์ เพราะทา่ นเป็นผ้ทู ่ี
ใหว้ ิชาความรใู้ นทางการปฏบิ ตั ิแกท่ า่ นพระอาจารย์เปน็ องคแ์ รก และมกั จะไปมาหาสู่
กันเสมอ อีกท้ังท่านพระอาจารย์และท่านครูบาจารย์ก็มีพ้ืนฐานทางฝ่ายมหานิกาย
* ภาวนา มี ๓ อย่าง ได้แก่ :
๑. ปรกิ มั มภาวนา (บรกิ รรม) คอื การภาวนาอาศยั การกำ� หนดพระกรรมฐานอยา่ งใดอยา่ งหนงึ่ เปน็ อารมณ์ เพอ่ื จะ
ทำ� จติ ใหต้ งั้ มนั่ ขน้ั นยี้ งั เปน็ เพยี งการกำ� หนดนกึ ยงั ไมเ่ ปน็ อารมณท์ แี่ นน่ แฟน้ จรงิ จงั มกี ารเจรญิ อานาปานสติ
หรอื การภาวนาพทุ โธ เปน็ อาทิ ขอ้ นเี้ ปน็ การภาวนาในระดบั ทจ่ี ะทำ� ใหเ้ กดิ ปรกิ มั มนมิ ติ ต์ อนั เปน็ นมิ ติ ขอ้ ตน้
เทา่ น้ัน
๒. อปุ จารภาวนา คอื การภาวนาทเ่ี รม่ิ จะทำ� จติ ใหต้ งั้ มน่ั ดกี วา่ ขอ้ แรกขนึ้ อกี นดิ หนงึ่ ขอ้ นอี้ คุ คหนมิ ติ ตจ์ ะปรากฏ
ข้ึนได้
๓. อัปปนาภาวนา เปน็ การภาวนาท่แี นว่ แน่ อาจท�ำให้เกดิ ปฏภิ าคนมิ ิตต์ได้ (นมิ ติ ต์ ๓ มอี ธบิ ายภายหน้า)
217
ด้วยกนั มไิ ด้ญัตติ๑ เป็นธรรมยตุ เชน่ พระทง้ั หลายอื่น โดยเฉพาะทา่ นครูบาจารย์
ทองรตั นน์ นั้ ดจู ะเปน็ นายทพั นายกองธรรมใหญร่ ะดบั แนวหนา้ ของทา่ นพระอาจารยม์ น่ั
ท่ีสังกัดมหานิกายแต่เพียงผู้เดียว ท่านพระอาจารย์มั่นให้โอกาสเป็นพิเศษแก่ท่าน
ไมต่ อ้ งใหเ้ ขา้ ญตั ติ กลา่ วกนั วา่ ทา่ นพระอาจารยม์ นั่ ประสงคท์ จี่ ะใหท้ า่ นครบู าจารยร์ กั ษา
แนวปฏบิ ตั ไิ วใ้ นฝา่ ยมหานกิ าย มคี ำ� อปุ มาวา่ ทา่ นเปน็ นกตอ่ ของทา่ นพระอาจารยม์ นั่
ส�ำหรับชักเอาพระภิกษุฝ่ายมหานิกายให้ได้หันมาหาข้อวัตรปฏิบัติพระกรรมฐาน
เป็นอบุ ายอย่างหนงึ่ ในการชกั จงู คนและเผยแพรธ่ รรมในส่วนการปฏิบัติ ถึงแม้วา่ จะ
ไดไ้ ปมาใกลช้ ดิ กัน แต่ทา่ นพระอาจารยก์ ็ไมไ่ ดอ้ ย่รู ว่ มกับท่านครบู าจารยเ์ ลยทเี ดียว
ซ่ึงก็เป็นอุปนิสัยอันมีเอกลักษณ์พิเศษของท่านพระอาจารย์เองโดยเฉพาะ นั่นก็คือ
ความเปน็ คนผเู้ ดยี ว แมว้ า่ จะมคี วามเคารพในพระธรรมและครบู าอาจารยม์ ากสกั ปานใด
กต็ าม แตค่ ณุ ลกั ษณะเฉพาะตวั ของทา่ นพระอาจารย์ กค็ อื การแยกตวั ออกอยตู่ ามลำ� พงั
ดังเชน่ ท่ีกล่าวแล้ว
เป็นระยะเวลาหลายปีท่ีท่านพระอาจารย์ท่องเท่ียวไปมาในที่ต่างๆ โดยท่ีปกติ
คนทางบา้ นจะไม่รู้เลยวา่ ทา่ นไปแห่งใด พวกเขาจะทราบอยูบ่ า้ งก็แต่เพยี งว่าทา่ นพระ
อาจารยไ์ ปมาหาสเู่ พอื่ กราบคารวะทา่ นครบู าจารยท์ องรตั น์ ทา่ นพระอาจารยเ์ สาร์ และ
ท่านพระอาจารย์ม่ัน ในระยะที่ท่านพระอาจารย์น�ำโยมมารดามาบวชเป็นชีน้ีก็ชรา
มากแลว้ ทา่ นพระอาจารยจ์ ึงพยายามสงเคราะหอ์ �ำนวยความสะดวกถามถึงสารทกุ ข์
สุกดิบประการต่างๆ เป็นอย่างดีอยู่เสมอ และท่านพระอาจารย์ได้เกลี้ยกล่อมเอา
เดก็ หญงิ เลย่ี น* ผเู้ ปน็ หลานสาวเขา้ มาบวชชอี ยปู่ รนนบิ ตั ริ กั ษาคณุ ยายผเู้ ปน็ โยมมารดา
ของทา่ นดว้ ย โดยทท่ี า่ นพระอาจารยไ์ ดใ้ หเ้ หตผุ ลวา่ ตามธรรมเนยี มโบราณ ผเู้ ปน็ หลาน
ควรจะไดท้ ดแทนพระคณุ ญาตผิ ใู้ หญ่ เฝา้ ปรนนบิ ตั อิ ปุ ฏั ฐากคณุ ตาคณุ ยายในวยั ชรา
หมายเหตุ ๑ ญตั ติ เปน็ คำ� ยอ่ มาจากคำ� วา่ ญตั ตจิ ตตุ ถกรรม ซงึ่ หมายถงึ กรรมของสงฆท์ ต่ี อ้ งสวดประกาศใน
ทา่ มกลางหมคู่ ณะ ดว้ ยญตั ตคิ อื ขอ้ ประกาศครง้ั หนงึ่ และคำ� เผดยี งอกี สามครงั้ รวมเปน็ สี่ ในทน่ี หี้ มายถงึ การ
ท�ำอปุ สมบทกรรมของสงฆฝ์ า่ ยธรรมยตุ ิกนิกาย เพอ่ื รับเอาภกิ ษุฝา่ ยมหานกิ ายเขา้ หมู่ เรียกกไ็ ด้ว่าบวชใหม่
หมายเหตุ : *เดก็ หญงิ เลยี่ น ต่อมาคอื แมช่ เี ล่ียน นามสกลุ มาภา เป็นหลานสาว ซงึ่ เปน็ บุตรีของนางแดง
พส่ี าวคนถัดของทา่ นพระอาจารย์ และแม่ชเี ล่ียนผนู้ ้ียงั คงถือเพศชีอยตู่ ลอดมา
218
ญาติพ่ีน้องนั้นไม่มีใครอีกแล้วที่จะมาท�ำเช่นนี้ได้ ต่างคนเขาก็ต่างแยกย้ายกันไปมี
ครอบครวั เหย้าเรอื น หาความสนกุ สุขส�ำราญส่วนตวั เขา เราสเิ ปน็ เดก็ เป็นเล็กควรจะ
ภมู ใิ จและเตม็ ใจทำ� หลานสาวเชอื่ ฟงั คำ� ทา่ น จงึ ยอมบวช และตง้ั แตบ่ ดั นนั้ มาจนกระทง่ั
บดั น้ี แม่ชีเลีย่ นกย็ งั คงเป็นแมช่ เี ลย่ี นอยู่เหมือนเดิม มิได้เปลีย่ นแปลง
ทา่ นพระอาจารยเ์ คยเลา่ ใหพ้ ระผเู้ ฒา่ ฟงั วา่ บรรดาถำ้� และปา่ เขาทง้ั หลายในแถบ
ถิ่นอสี านตอนเหนอื เหลา่ นนั้ และเหล่าโนน้ ท่านเคยไปอยู่บำ� เพญ็ ภาวนามาหมดแลว้
ปฏปิ ทาอนั ราบเรยี บของทา่ นพระอาจารยด์ อู อกจะโชกโชนเอาการอยเู่ หมอื นกนั เมอื่ พดู
ถงึ เรอื่ งถ�้ำ ป่า และภเู ขา ยง่ิ ปกติวสิ ัยท่ที ่านไมช่ อบคลุกคลีหมูค่ ณะด้วยแล้ว มันจงึ
เป็นการเหมาะสมและเขา้ กนั ได้เป็นอย่างดีย่งิ นกั ถา้ จะได้อาศัยและสอ้ งเสพเสนาสนะ
ตามธรรมชาติเชน่ น้นั มพี ระพทุ ธภาษิตตรัสไวว้ ่า เอตานิ ภิกฺขเว รกุ ขฺ มูลานิ เอตานิ
สญุ ฺ าคารานิ ซง่ึ แปลวา่ ดกู อ่ นภกิ ษทุ ง้ั หลาย นนั่ โคนไมท้ งั้ หลาย นน่ั เรอื นวา่ งทงั้ หลาย
ฌายถ ภกิ ฺขเว มา ปมาทตถฺ ดกู อ่ นภิกษทุ ง้ั หลาย พวกเธอทั้งหลายจงเพียรเผากิเลส
อยา่ ไดป้ ระมาท มา ปจฉฺ า วปิ ปฺ ฏสิ ารโิ น อหวุ ตถฺ พวกเธอทงั้ หลาย อยา่ ไดเ้ ปน็ ผทู้ ต่ี อ้ ง
รอ้ นใจในภายหลังเลย * ดงั นี้แล้ว จงึ อาจจะกลา่ วไดว้ ่าท่านพระอาจารยไ์ ดด้ ำ� เนิน
ตามทางทพี่ ระศาสดาทรงสงั่ สอนไวไ้ ดถ้ กู ตอ้ งไมน่ อ้ ยเลย ขอ้ วตั รปฏบิ ตั ทิ ง้ั หลายเหลา่ น้ี
ไดม้ ผี ู้ด�ำเนนิ มาแล้วมากมาย แมพ้ ระพทุ ธเจ้าและพระอรยิ สาวกทงั้ ปวงในอดีต และ
ทงั้ ยอ่ มจะดำ� เนนิ ตอ่ ไปในอนาคต โคนไมอ้ นั รม่ รน่ื ไรส้ ง่ิ แปลกปลอม พระโยคาวจรเจา้
ทัง้ หลายยอ่ มซ้องเสพเสนาสนะคือโคนไมเ้ หล่านัน้ ผ้าพรมทท่ี อดว้ ยพน้ื ดิน ลวดลาย
อนั งามวจิ ติ รตามธรรมชาติ บนพรมผนื นนั้ คอื เสน้ หญา้ และใบไมท้ ถี่ งึ คราวสน้ิ อายขุ ยั
ของมนั นค่ี อื บรขิ ารของสมณะ ศลิ ปะเหลา่ นด้ี ชู า่ งวจิ ติ รงดงามยง่ิ กวา่ เครอื่ งปน้ั ดนิ เผา
และส่งิ ทอจากเส้นใยเปน็ ไหนๆ
ท่านพระอาจารย์กล่าวเตือนสานุศิษย์ของท่านว่า อย่าอยู่ในถ�้ำระหว่างเดือน
๑๑-๑๒ เพราะถำ้� ฤดนู นั้ จะชน้ื มากและมเี ชอื้ ไขป้ า่ ชกุ ชมุ ถา้ เขา้ ไปอาศยั อยใู่ นถำ�้ เวลานน้ั
ถ้�ำจะดูดเอาจนทำ� ให้เป็นไขจ้ ับสั่นได้
* จาก สฬายตนวคคฺ ส.ํ ๑๘/๔๔๑/๖๗๔
219
ชว่ งเวลาทีท่ ่านพระอาจารยพ์ ำ� นักอยสู่ �ำนักเมธาวิเวกเปน็ หลายปีนั้น ระยะหน่งึ
ทา่ นจะอยู่ ระยะหนงึ่ ทา่ นจะไป ท่ีจะม่ัวสุมอยู่แต่ในส�ำนกั โดยตลอดเชน่ นัน้ กห็ ามิได้
แตก่ ารไปของทา่ นพระอาจารยท์ กุ ครง้ั จะไมม่ กี ารบอกกลา่ วเลา่ สบิ วา่ ทใี่ ดเปน็ จดุ หมาย
แตพ่ อจะรๆู้ กนั อยวู่ า่ ถา้ ทา่ นไมไ่ ปสำ� นกั ทา่ นครบู าจารยท์ องรตั น์ กต็ อ้ งไปทสี่ ำ� นกั ทา่ น
พระอาจารยม์ นั่ และถา้ ไมไ่ ปสำ� นกั ทา่ นพระอาจารยม์ นั่ กต็ อ้ งไปทส่ี ำ� นกั ทา่ นพระอาจารย์
เสาร์ หรอื ไมก่ ถ็ ำ้� กบั ปา่ และในระหวา่ งทที่ า่ นพระอาจารยพ์ ำ� นกั อยทู่ สี่ ำ� นกั เมธาวเิ วกน้ี
ทา่ นครบู าจารยท์ องรตั นก์ เ็ คยมาอยรู่ ว่ มในสำ� นกั ของทา่ นดว้ ย สำ� หรบั ทา่ นพระอาจารย์
เสารน์ นั้ ดเู หมอื นจะมเี รอื่ งเลา่ ถงึ ทา่ นนอ้ ยมาก แมว้ า่ ทา่ นพระอาจารยจ์ ะเคยอยรู่ ว่ มกบั
ทา่ นถงึ หกปกี ต็ าม และเมอื่ พดู ถงึ เรอื่ งการปฏบิ ตั แิ ตล่ ะครงั้ ทา่ นพระอาจารยจ์ ะไมล่ มื
คำ� วา่ เปน็ ขอ้ วตั รปฏบิ ตั ขิ องทา่ นพระอาจารยเ์ สาร์ พระอาจารยม์ นั่ เลย ทา่ นพระอาจารย์
เคารพนบั ถือทา่ นพระอาจารยเ์ สาร์วา่ เป็นพระอาจารยผ์ มู้ พี ระคณุ สงู ยงิ่ ของทา่ น
ตอ่ มาอกี พคี่ นทสี่ องถดั จากทา่ นพระอาจารยข์ น้ึ ไปซงึ่ เปน็ พช่ี ายกต็ าย ทา่ นพระ
อาจารยจ์ ดั การฌาปนกจิ ศพให้ และถอื โอกาสนน้ั ชวนนายยศ หลานชาย ทเ่ี คยอยวู่ ดั
เรยี นหนงั สอื ดว้ ยเมอ่ื สมยั อยวู่ ดั บา้ น และตอ่ มาบวชเปน็ สามเณรแลว้ สกึ ไปคราวทที่ า่ น
พระอาจารยไ์ มอ่ ยนู่ น้ั ใหม้ าบวชอกี ครง้ั หนงึ่ โดยครงั้ นที้ า่ นพระอาจารยไ์ ดอ้ า้ งเหตผุ ลวา่
ลงุ ตายเสยี แลว้ ลกู กไ็ มม่ ี ใครเลา่ จะบวชอทุ ศิ สว่ นกศุ ลไปใหท้ า่ น เธอนแี่ หละเหมาะสมแลว้
จงบวชเสยี เถดิ ถา้ อยา่ งไรเมอื่ จะไปไมไ่ หวจรงิ ๆ บวชไดส้ กั ๗ วนั ๑๕ วนั จงึ คอ่ ยสกึ
ดงั นน้ั นายยศจงึ ไดเ้ ขา้ มาบวชอกี ครง้ั หนงึ่ โดยครงั้ นอ้ี ายยุ ส่ี บิ สองปแี ลว้ จงึ บวชเปน็
พระภิกษุเสียทเี ดยี วเลย
ทติ ยศเลา่ วา่ พอบวชเปน็ พระแลว้ ในปนี น้ั การเดนิ ทางครงั้ ยง่ิ ใหญท่ ส่ี ดุ ในชวี ติ ของ
เขาก็ไดเ้ ร่ิมขน้ึ มนั เปน็ การเดนิ ทางอันยาวไกลและทรหดอย่างไม่มีทางทจ่ี ะลืมมันได้
แรกทีเดียวนั้น ท่านพระอาจารย์ชวนว่าจะพาไปธุดงค์* ซ่ึงใครก็ตามถ้าเป็นพระ
หมายเหตุ *ธุดงค์ แปลวา่ องค์คณุ เครอื่ งกำ� จดั กเิ ลส เปน็ ชือ่ วัตรปฏบิ ตั ขิ องภกิ ษุ ๑๓ อย่าง เช่น การถือ
บรโิ ภคอาหารหนเดยี ว การอยใู่ นปา่ และการอยโู่ คนไม้ ในทน่ี หี้ มายเอาลกั ษณะของการเทยี่ วจารกิ ไปสโู่ คนไม้
เรอื นว่าง ป่าช้า ป่าชัฏ ภูเขา เพือ่ หลีกเร้นสำ� หรบั ภาวนา พระภิกษผุ ู้เดินทางจารกิ ไปอย่างนี้ มกั นิยมเรยี ก
กันว่า “พระธุดงค”์
220
กรรมฐานใหม่ เปน็ ตอ้ งอยากไปทง้ั นนั้ ดว้ ยความอยากรอู้ ยากเหน็ ในรสชาตขิ องมนั วา่
จะเปน็ อยา่ งไร เคยไดย้ นิ แตเ่ ขาวา่ พระธดุ งคๆ์ มาถงึ คราวตนบา้ ง จงึ เตม็ ใจไปดว้ ยทา่ น
การเดินทางคร้งั น้ันไปดว้ ยกันทงั้ หมด ๓ คน ลว้ นแต่เปน็ พระทัง้ สิน้ ประกอบด้วย
ทา่ นพระอาจารยเ์ ป็นอาจารยแ์ ละหวั หน้าคณะ ตดิ ตามดว้ ยพระยศ ผู้หลาน รูปหนึง่
กบั พระหลอด ชาวจงั หวดั มหาสารคามอกี รปู หนง่ึ ความจรงิ แลว้ การทท่ี า่ นพระอาจารย์
พาศษิ ยท์ งั้ สองออกเดนิ ธดุ งคใ์ นครง้ั น้ี เปน็ เพราะดว้ ยเหตผุ ลสองประการ ขอ้ หนงึ่ คอื
เปน็ อปุ นสิ ยั ของทา่ นพระอาจารยเ์ องทชี่ อบแสวงหาประสบการณค์ วามรแู้ ละความสงบ
วิเวกจากหุบเขาล�ำเนาป่า อันเป็นอุปกรณ์ในการปฏิบัติภาวนาของท่าน จึงประสงค์
จะออกเดินธดุ งค์ในครั้งน้ี และอกี ขอ้ หนึง่ ท่านใคร่ทีจ่ ะสงเคราะหญ์ าติ ซึ่งหมายถึง
พระยศนนั่ เอง ทา่ นมงุ่ หวงั ทจี่ ะใหพ้ ระหลานชายอยเู่ ปน็ พระเพอื่ ประพฤตปิ ฏบิ ตั ริ กั ษา
พรหมจรรยใ์ นเพศบรรพชติ อยา่ งนตี้ ลอดไป ไมอ่ ยากจะใหส้ กึ หาลาเพศออกไปครอง
เรอื นอีก จงึ ชกั ชวนหนไี ปให้พ้นจากบ้านเกดิ เมอื งนอนของตนเสีย ดว้ ยวา่ วถิ ีทางใด
ทจ่ี ะชว่ ยใหญ้ าตพิ น่ี อ้ งหลดุ รอดจากปากเหยย่ี วปากกาในโลกแหง่ สงั สารวฏั นไ้ี ปไดแ้ ลว้
นักปราชญ์อาจารย์ทั้งหลายย่อมจะขวนขวายหาทางน้ัน ท่านพระอาจารย์พยายามท่ี
จะดงึ ดกั ชกั จงู พระหลานชายใหอ้ ยเู่ ปน็ สมณะเชน่ เดยี วกบั ทา่ น ดว้ ยหวงั จะใหพ้ น้ จาก
กองทกุ ขใ์ นวฏั ฏะที่ท่วมทับหม่สู ัตว์โลกทั้งหลาย
โลกคอื หมสู่ ตั ว์ อนั ชรานำ� เขา้ มาไมย่ ง่ั ยนื โลกคอื หมสู่ ตั ว์ พรอ่ งอยเู่ ปน็ นจิ ไมร่ จู้ กั อม่ิ
เปน็ ทาสแหง่ ตณั หา โลกคือหมสู่ ัตว์ ไมม่ ใี ครเป็นใหญๆ่ เฉพาะตน โลกคือหมู่สัตว์
ไมม่ อี ะไรเปน็ ของๆ ตน จำ� จะละสงิ่ ทง้ั ปวงไป ภาษติ เหลา่ นเี้ ปน็ สง่ิ ทถี่ กู กลน่ั กรองออก
มาจากสว่ นลกึ ในหวั ใจของพระอรยิ สาวกแหง่ สมเดจ็ พระสมั มาสมั พทุ ธเจา้ ผตู้ รสั รเู้ อง
โดยชอบ สมณะผดู้ ำ� เนนิ ตามทางแหง่ พรหมจรรยอ์ นั เปน็ ไปเพอื่ ความสน้ิ ทกุ ขท์ ั้งหลาย
ลว้ นแลว้ แตม่ องดูโลกโดยลกั ษณะน้ที ั้งน้ัน เท้าท่ถี กู ก้าวเดนิ ฝา่ เท้าที่หยาบและแตก
ระแหง เพราะถกู เหยยี บยา่ งครง้ั แลว้ ครง้ั เลา่ แสงแดดทแ่ี ผดเผาไมร่ แู้ ลว้ วนั แลว้ วนั เลา่
ท่ตี ้องคลกุ เคลา้ อยกู่ ับส่ิงเหล่านี้ ชวี ิตของพระกรรมฐานผธู้ ุดงคน์ ้ัน ไม่แตกตา่ งอะไร
กนั นกั กับพญาช้างสารหรือนอแรดที่ชอบเทีย่ วไปตวั เดียว ถึงแมว้ า่ ชีวติ ความเปน็ ไป
จะอดมอื้ กนิ มอ้ื ทรพั ยส์ ง่ิ สนิ กเ็ ปน็ อนั ปราศไปแลว้ ความอม่ิ เอมทางกามคณุ กเ็ วน้ ขาด
221
เสียแล้ว สิ่งใดเลา่ ท่ตี ้องแสวงหา? ก็ สนั ติ นนั่ อย่างไรเล่า เปน็ ส่ิงท่ีต้องแสวงหา
พระพทุ ธองค์ได้ตรสั ภาษติ ไว้วา่ กาลเวลาลว่ งไป วนั คืนย่อมผ่านพน้ ไป อายแุ ละวัย
กส็ น้ิ ไป เมอื่ บคุ คลเลง็ เหน็ ภยั ในความตายนนั่ แลว้ พงึ ละสงิ่ ทง้ั หลายในโลกเสยี แลว้ เพง่
หาสนั ตคิ อื ความสงบเถิด ดงั นี้
ท่านพระอาจารย์พาคณะออกเดินทางจากวัดเมธาวิเวก อันเป็นส�ำนักของท่าน
มงุ่ หนา้ ตรงไปทางทศิ ตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ผา่ นอำ� เภอปลาปาก* หนองดนิ แดง แลว้ เขา้
ส่เู ขตจังหวดั นครพนม ผ่านตวั จังหวัด มุ่งหนา้ ไปทางชายแดน ลัดเลาะไปตามแนว
แมน่ ำ้� โขง เดนิ มงุ่ ไปทางทศิ เหนอื เรอ่ื ยไปจนถงึ อำ� เภอทา่ อเุ ทน จากทา่ อเุ ทนผา่ นเขา้ เขต
อำ� เภอศรสี งครามตอนรมิ แมน่ ำ�้ โขง และยงั คงเดนิ หนา้ ขน้ึ เหนอื เรอ่ื ยไป เลยเขตอำ� เภอ
ศรสี งคราม เข้าเขตอำ� เภอบ้านแพง ซงึ่ กว่าจะเข้าเขตนน้ั ได้ กก็ ินระยะทางรว่ มร้อย
กิโลเมตร ใช้เวลาเดินกนั พอสมควรทเี ดยี ว ซึง่ ตามปกตแิ ลว้ ถา้ คนเดินอยา่ งรบี เรง่
ทงั้ ทแ่ี บกหรอื สะพายของหนกั จะสามารถเดนิ ไดอ้ ยา่ งเรว็ ทสี่ ดุ กเ็ พยี ง ๕-๖ กโิ ลเมตร
ตอ่ ชวั่ โมงเทา่ นน้ั ถา้ เดนิ แตเ่ ชา้ พอตอนสายเขา้ ไปจนถงึ บา่ ย ความเรว็ กอ็ าจจะลดหยอ่ น
ลงบา้ ง จะไปมกี ำ� ลงั แรงและเรว็ ขนึ้ อกี กป็ ระมาณบา่ ยสองหรอื สามโมงลว่ งแลว้ วนั หนงึ่
จะไปไดไ้ กลสดุ ประมาณ ๔๐ กโิ ลเมตร และจะทำ� ไดภ้ ายในกำ� หนด ๕ วนั เปน็ อยา่ งดี
ท่ีสุด หลงั จาก ๕ วันไปแลว้ สถติ ิทางไกลจะลดลง จากนน้ั จงึ มกั จะคอ่ ยเปน็ ค่อยไป
เพราะกำ� ลงั ตกมากแลว้ นนั่ เอง ขดี ความสามารถในการเดนิ ธดุ งคโ์ ดยใชค้ วามเรว็ มดี งั น้ี
ไม่อาจจะท�ำได้ดีเกนิ กว่านี้เลย
แตค่ วามเปน็ จรงิ แลว้ จดุ มงุ่ หมายของการเดนิ ธดุ งคแ์ สวงหาทว่ี เิ วกนน้ั มไิ ดอ้ ยู่
ท่ีการเดินใช้ความเร็วดังที่ว่ามา หากแต่ว่าครูบาอาจารย์พระกรรมฐานท่านมุ่งความ
สนใจไปทีส่ ถานท่ที เ่ี ดนิ ทางผ่านนัน้ มากกวา่ ถา้ ทีแ่ ห่งใด ไมว่ า่ จะเปน็ ป่าชา้ ป่ารกชัฏ
หรอื ถำ้� หบุ เขา และรมิ ธาร แมก้ ระทงั่ โคนไมห้ รอื เรอื นวา่ ง ถา้ มที พี่ อไดอ้ าศยั และสามารถ
หมายเหตุ *เพอื่ ความสะดวกในการศกึ ษาเสน้ ทางเดนิ ของทา่ นพระอาจารยแ์ ละคณะในการเดนิ ทางอนั ยาวไกล
ครงั้ นน้ั จะถอื เอาตามฐานะทอ้ งถน่ิ ทรี่ ะบไุ วใ้ นแผนทขี่ องกรมทางหลวง ฉบบั พมิ พเ์ มอื่ เดอื นตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๑๔
222
เท่ยี วสัญจรบณิ ฑบาตเล้ยี งชีพอยู่ไปไดด้ ว้ ยความสงบระงับแลว้ ทา่ นก็มักจะอยู่ทน่ี น่ั
ตามเวลาอนั สมควร
ทา่ นพระอาจารยเ์ คยตกั เตอื นไวว้ า่ อยา่ งนอ้ ย ๓ วนั อยา่ งมาก ๑๕ วนั สำ� หรบั การ
พกั อยแู่ ตล่ ะหมบู่ า้ น สถานทจ่ี ะมสี ปั ปายะ คอื อยเู่ ปน็ ผาสกุ ไดอ้ ยา่ งไรหรอื ไมก่ ส็ ดุ แท้
แต่จะพิจารณาเห็นเหมาะสม การกำ� หนดแนะเชน่ น้ี เปน็ แต่เพียงข้อสังเกตที่ไดจ้ าก
ประสบการณข์ องทา่ นพระอาจารยเ์ ทา่ นน้ั และใชก้ บั กาลนอกพรรษาเวลาทอ่ี าจจะธดุ งค์
รอนแรมไปตามป่าเขาได้
จากอ�ำเภอบ้านแพง ผ่านบ้านเหล่าหลวง เดินเป็นเส้นขนานกับลำ� น้�ำโขงทวน
กระแสนำ�้ ข้นึ ไปเรือ่ ย ทิตยศ อดตี พระผตู้ ิดตาม เล่าว่า การเดินทางมิไดเ้ ป็นไปอยา่ ง
รบี เร่งแตอ่ ย่างใด ท่านพระอาจารยน์ �ำคณะเดินทางไปได้พอสมควรแล้ว ถงึ หมบู่ ้าน
บางแหง่ เหน็ เหมาะสม กห็ ยุดพักแรมคืน อาศัยรม่ และโคนไม้เป็นท่พี ักกางกลดอยู่
ไมใ่ กล้ไมไ่ กลกันนกั ถ้าหมู่บ้านใดมปี ่าช้าพอทจ่ี ะพกั ได้ ก็พักทีป่ ่าช้าน้นั ตามปกติ
เมอ่ื เดนิ ทางตรากตรำ� กนั ทง้ั วนั พอถงึ ทพี่ กั แลว้ มกั จะรบี สรงนำ้� แตว่ นั ๆ กอ่ นจะมดื คำ่�
เผอื่ ผา้ ทน่ี งุ่ สรงนำ้� นนั้ จะไดแ้ หง้ ทนั แลว้ ใชป้ นู อน ทสี่ รงนำ�้ บางแหง่ อาศยั บอ่ นำ้� กลางนา
หรอื ไมก่ เ็ ปน็ หว้ ยหนองคลองบงึ ไปตามสภาพทอ้ งท่ี สดุ แตจ่ ะหาไดอ้ ยา่ งไร โดยกอ่ นที่
จะหยดุ พกั กต็ อ้ งตรวจดบู รเิ วณรอบๆ ใหท้ ว่ั เสยี กอ่ น ถา้ มนี ำ�้ พอจะใชส้ อยทใี่ ด กพ็ กั
ทใ่ี กลน้ ำ�้ นนั้ หรอื หากวา่ เดนิ ทางจนมดื คำ่� เสยี กอ่ นพบหมบู่ า้ นวนั นน้ั กเ็ ปน็ อนั โมฆะไป
คอื ไม่ตอ้ งสรงนำ�้ เพราะน้�ำไมม่ ี ซ่งึ เปน็ เรือ่ งท่ไี มน่ า่ วติ กอะไรนกั แต่เวลาเช้านน้ั ดูจะ
สำ� คญั กวา่ เพราะตอ้ งเทยี่ วบณิ ฑบาตแสวงหาอาหารมาเลย้ี งชพี สำ� หรบั จะไดม้ เี รย่ี วแรง
เดินทาง ซ่ึงมันขึ้นอยู่กับศรัทธาและธรรมเนียมของชาวบ้านในถิ่นนั้น บางหมู่บ้าน
ชาวบา้ นอาจจะตนื่ สาย หรอื ไมก่ เ็ คยตกั บาตรกนั สายๆ เมอื่ พระธดุ งคไ์ ปพบเขา้ ตอนเชา้
ก็เข้าไปบิณฑบาตแต่เช้าตามวิสัยเคยชิน จึงอาจจะท�ำให้ไม่ได้อาหารขบฉันหรือ
ถา้ แมน้ ได้ กไ็ ดแ้ ตน่ ้อย บางครัง้ ก็ได้แต่ขา้ วเปลา่ ๆ ไม่มแี กงกับ เลยกต็ ้องฉันกันไป
ตามมีตามได้ จะไปร้องขอชาวบ้านเขาก็ท�ำไม่ได้ จึงอาศัยแต่ความอดกล้ันอดทน
บากบั่นต่อสู้กับความแร้นแค้นเร่ือยไป ข้อน้ีเป็นเหตุให้ได้ก�ำลังพลังเพ่ิมขึ้นอีกมาก
ทเี ดยี ว ถงึ แมว้ า่ อาหารทางกายจะอดอยากยากแคน้ แตก่ ำ� ลงั จติ กลบั มมี ากขนึ้ กวา่ เวลา
223
ทอี่ ยสู่ ขุ สบายเสยี อกี เพราะตามธรรมชาตจิ ติ ของคนเรานนั้ เมอื่ ไดม้ าก อม่ิ หมพี มี นั มาก
ความขี้เกียจมักงา่ ยมันก็มมี ากขึ้นเป็นเงาตามตัว เม่อื ถงึ คราวขาดแคลน จิตใจมักจะ
กระสบั กระสา่ ย ดน้ิ รนหา และใครไ่ ด้ เมอ่ื ดใู หร้ อบคอบแลว้ จะเหน็ วา่ ในคราวทกุ ขย์ าก
เช่นนน้ั ความขยันขันแข็งและความเพียรกลับมมี ากขน้ึ ดังน้นั การเดนิ ธุดงค์ท่ตี อ้ ง
ตรากตรำ� อดอยากเชน่ นี้ จงึ เปน็ เครอื่ งชว่ ยอยา่ งหนง่ึ ในการปฏบิ ตั ภิ าวนาใหม้ กี ำ� ลงั และ
ปัญญาความเฉลยี วฉลาดมากข้ึนในเวลานนั้ เหมอื นกัน
คณะของท่านพระอาจารย์เดินทางเข้าผ่านเขตบ้านต้อง-นาทราย-บ้านใหม่-
โนนสมบรู ณ์ ไปจนถงึ อำ� เภอบงึ กาฬ จงั หวดั หนองคาย บางหมบู่ า้ นทผ่ี า่ นมา ชาวบา้ น
ไมค่ ่อยจะรู้จกั การใหท้ านเลยก็มี หมบู่ ้านท่บี ณิ ฑบาตไดแ้ ตข่ า้ วเปลา่ ๆ ก็มี เวลาเดนิ
เข้าไปบณิ ฑบาตในบางหมูบ่ ้าน สนุ ัขเห็นมนั ก็เหา่ กรรโชกทำ� ท่าจะกดั บา้ นทีไ่ ลใ่ ห้กม็ ี
ไม่ไล่ให้ก็มี ภาวะเช่นนี้รู้สึกว่าจะท�ำให้พระผู้ยังใหม่ต่อการฝ่าฟันอุปสรรคในคราว
ยากเขญ็ แทบจะทนฝนื ไมไ่ ด้ แตส่ ำ� หรบั ทา่ นพระอาจารยเ์ องนนั้ บางคราวและหลายๆ
คราวทท่ี า่ นไม่ฉันมนั เสียดว้ ยซ�ำ้ และมิใชแ่ ต่วันสองวนั แตบ่ างครั้งทา่ นอดอาหารถงึ
๗ วนั ทา่ นพระอาจารยเ์ ลา่ ถงึ ตวั ของทา่ นเองวา่ ทา่ นไดท้ ำ� มนั เชน่ นน้ั จนชนิ และรสู้ กึ วา่
มันเปน็ เหตุใหเ้ ป็นโรคหวั ใจเต้นผิดปกตใิ นภายหลัง จนกระทั่งทา่ นชราภาพมากแลว้
โรคนัน้ ก็ยงั ไมห่ าย อาการท่ีเคยระงับมาบ้างแล้วกก็ ลบั ก�ำเริบขึ้นอีก
มนั อาจจะเปน็ ไปไดว้ า่ การทที่ า่ นพระอาจารยอ์ ดอาหารบอ่ ยๆ เชน่ นน้ั เปน็ เพราะ
เหตทุ ท่ี า่ นรสู้ กึ เบอ่ื หนา่ ย ไมใ่ ครจ่ ะเอาใจใสใ่ นรา่ งกายสงั ขารอนั ไมม่ อี ะไรจะจรี งั ยงั่ ยนื
ของตวั เอง มงุ่ แตจ่ ะหาทางพน้ ทกุ ข์ พยายามอดกลนั้ อดทน สละทกุ สงิ่ ทกุ อยา่ งออกไป
ใหเ้ หลอื นอ้ ยทสี่ ดุ เทา่ ทจี่ ะนอ้ ยได้ เพอ่ื จะไดไ้ มห่ ว่ งใยอาลยั อาวรณอ์ ยใู่ นวตั ถทุ งั้ หลาย
ทา่ นพระอาจารยพ์ าสานศุ ษิ ยท์ ง้ั สองออกเดนิ จากอำ� เภอบงึ กาฬ อนั เปน็ ดนิ แดน
ตอนเหนือสุดของภาคอีสาน ซึ่งมีอาณาเขตติดกับแม่น้�ำโขงต่อเขตประเทศลาว
ภมู ปิ ระเทศตงั้ แตแ่ ถบนไี้ ปเปน็ ปา่ ดงทบึ มาก ผา่ นเขตโนนสวา่ ง-ปากคาด-นาสวรรค-์
หนองพนั ตา เดนิ เลยี บตามลำ� นำ้� โขงไปอำ� เภอโพนพสิ ยั ถงึ อำ� เภอโพนพสิ ยั แลว้ จงึ ขา้ ม
แมน่ ำ�้ โขงไปประเทศลาว จากนั้นจึงเทย่ี วธดุ งค์รอนแรมไปในเขตประเทศลาว
224
ท่านพระอาจารย์และคณะได้เดินธุดงค์จาริกไปนมัสการปูชนียสถานโบราณ
สถานอันควรคา่ แกก่ ารเคารพของลาว นั่นคอื พระพทุ ธบาทพลสนั ต์ิ แลว้ จากนน้ั จึง
ทอ่ งเทย่ี วเรอื่ ยไปตามปา่ เขาขนึ้ ไปทศิ เหนอื แตไ่ มไ่ กลนกั กย็ อ้ นกลบั ลงมาขา้ มแมน่ ำ้� โขง
กลบั เขา้ สปู่ ระเทศไทยทางดา้ นจงั หวดั หนองคาย ถงึ เขตจงั หวดั หนองคายแลว้ เดนิ เปน็
เสน้ ขนานกบั ลำ� นำ�้ โขง ซงึ่ จะพายอ้ นกลบั ลงใตเ้ ลก็ นอ้ ยตามทศิ ทางของนำ�้ แลว้ วกกลบั
ขนึ้ เหนอื อกี ครง้ั หนง่ึ จงึ ผา่ นโคง้ เขา้ เขตอำ� เภอทา่ บอ่ จากนนั้ กเ็ ลยไปอำ� เภอศรเี ชยี งใหม่
ผ่านเขตบ้านหม้อ-เชียงดี-อ�ำเภอสังคม-บ้านห้วย-เชียงคาน-บ้านห้วยเห้ียม
เลยี บลำ� นำ้� โขงตลอดไปจนถงึ อำ� เภอปากชม แลว้ เขา้ อำ� เภอเชยี งคาน จงั หวดั เลย ตงั้ แต่
ตน้ ทางมาจนบดั น้ี เปน็ การเดินดว้ ยเท้ากันท้ังนน้ั
ทติ ยศ ผตู้ ดิ ตามไปกบั ทา่ นพระอาจารยท์ กุ ระยะเลา่ วา่ แมจ้ ะอยใู่ นภาวะทกุ ขย์ าก
ลำ� บากสกั เพยี งใด ทา่ นพระอาจารยก์ ไ็ มเ่ คยละทงิ้ ขอ้ ปฏบิ ตั เิ ลย ทา่ นอบรมสงั่ สอนให้
ศษิ ยผ์ รู้ ว่ มเดนิ ทางทงั้ สองมคี วามพากเพยี รพยายามในการปฏบิ ตั ริ กั ษาศลี ใหบ้ รสิ ทุ ธิ์
บริบรู ณ์ มใิ ห้ขาดมใิ หด้ ่างพรอ้ ย ส่งิ ใดทเ่ี ปน็ บาปทจุ รติ ทางกายทางวาจาและทางใจ
ทา่ นใหล้ ะใหเ้ พกิ ถอนมนั ออกโดยเรว็ ทา่ นสอนใหฝ้ กึ ทำ� จติ ใหต้ ง้ั มน่ั แมใ้ นระหวา่ งการ
เดนิ ทาง โดยสอนวา่ การปฏบิ ตั นิ นั้ มใิ ชจ่ ะอยทู่ กี่ ารนงั่ สมาธแิ นน่ งิ่ อยอู่ ยา่ งเดยี ว แตก่ าร
ปฏบิ ตั ภิ าวนาทถี่ กู ตอ้ งนนั้ จะตอ้ งเปน็ ไปในทกุ ๆ อริ ยิ าบถ จะนง่ั จะยนื จะเดนิ จะนอน
เราจะทำ� สงิ่ ใดในขณะใดกใ็ หม้ สี ตอิ ยทู่ กุ ขณะ ลมหายใจเขา้ ออกทเ่ี ราจะกำ� หนดไดน้ น้ั
ก็อาจจะทำ� ไดแ้ ม้ในขณะเดนิ กล่าวคือถา้ เรามีสตริ ้วู า่ ความคิดนึกอย่างใดทเี่ ป็นบาป
อย่างใดทไ่ี มเ่ ป็นบาป อยา่ งใดท่ที �ำจติ ใหเ้ ศร้าหมอง อย่างใดท่ีทำ� จิตไมใ่ หเ้ ศร้าหมอง
ถา้ เรามสี ตริ จู้ กั สง่ิ ทงั้ หลายเหลา่ นอี้ ยตู่ ลอดเวลาแลว้ พยายามขจดั ความคดิ ทเี่ ปน็ บาป
ทเี่ ศรา้ หมองออกไปเสยี อยา่ ใหเ้ กดิ มขี นึ้ มาในจติ ได้ นน่ั แหละทเี่ รยี กวา่ ความพากเพยี ร
ทถ่ี กู ตอ้ ง เปน็ การภาวนาทถี่ กู ตอ้ ง ลมหายใจมนั กจ็ ะรอู้ ยใู่ นนนั้ เสรจ็ ถอื วา่ เราปฏบิ ตั ิ
ถกู ตอ้ งตามอรยิ มรรคแลว้ การกระทำ� เชน่ นนั้ เราอาจจะทำ� ไดใ้ นทกุ ๆ ขณะยา่ งกา้ ว จะนง่ั
อยกู่ บั ทเ่ี งยี บๆ และกำ� หนดลมหายใจเขา้ ออกใหจ้ ติ สงบนน้ั กเ็ ปน็ ไปเพอื่ จะละอกศุ ล
และเจรญิ กศุ ลอย่างนี้ การยืนสงบนงิ่ อยู่ใตต้ ้นไม้ในปา่ หรอื ในสวน หลบหลีกอยแู่ ต่
ผู้เดียวเพื่อท�ำจิตให้สงบนั้น ก็ต้องท�ำเพื่อละอกุศล บ�ำเพ็ญกุศลอย่างนี้ จะนอน
225
ก็ตอ้ งทำ� เพ่ือความเปน็ อย่างน้ี จะเดินกเ็ หมอื นกนั ให้มสี ติอยู่ตลอดเวลา เมือ่ ท�ำได้
อยา่ งถูกตอ้ งสมบูรณแ์ ลว้ น่ันก็หมายความว่าเราไดท้ �ำสมั มาวายามะ* ใหเ้ กดิ ข้ึนแล้ว
ผลคือปัญญาความรู้แจ้งสว่างไสวก็จะเกิดข้ึนมาเอง นี้คือการปฏิบัติภาวนาของเรา
ฉะนน้ั ทา่ นจงึ สอนใหพ้ ยายามพากเพยี รกระทำ� ใหถ้ กู ตอ้ งอยเู่ สมอ แมใ้ นการเดนิ ธดุ งค์
รอนแรมไปในทตี่ า่ งๆ และถงึ แมว้ า่ ความเปน็ อยทู่ างรา่ งกายจะทกุ ขย์ ากเพยี งไร ปญั ญา
ทเี่ กดิ ขน้ึ มานนั้ กจ็ ะชว่ ยเราไมใ่ หเ้ ปน็ ทกุ ขใ์ จได้ ถา้ ไมเ่ ชน่ นน้ั ตณั หาในลกั ษณะของความ
น้อยเนอ้ื ต่ำ� ใจ พร้อมทง้ั ความทะเยอทะยานอยากในความสขุ ท้งั หลาย ก็จะมาทำ� จิต
ของเราใหเ้ รา่ รอ้ นดน้ิ รนและกวดั แกวง่ ไดเ้ ปน็ แท้ ทา่ นพระอาจารยจ์ งึ ตกั เตอื นสง่ั สอน
สานศุ ษิ ยใ์ หม้ คี วามอดทนอดกลนั้ และพยายามพากเพยี รฝกึ ปฏบิ ตั กิ นั ตอ่ ไป สภาวะท่ี
หลกี เรน้ และความเป็นอสิ ระพรอ้ มๆ ไปกบั ความอดอยากในระหวา่ งการเดนิ ทางอนั
ยาวนานเชน่ นี้ มนั เปน็ สง่ิ ทช่ี ว่ ยไดม้ ากในการประพฤตปิ ฏบิ ตั ิ และเปน็ สงิ่ ทชี่ ว่ ยใหไ้ ดม้ ี
โอกาสทดสอบตวั เองไดม้ ากกวา่ การหมกมนุ่ ตกจมอยกู่ บั ท่ี ทแ่ี ทบจะไมต่ อ้ งประสบกบั
อารมณส์ ิ่งใดเลย
เรอื่ งการเดนิ ธดุ งคร์ อนแรมไปดว้ ยความอดอยากแรน้ แคน้ นี้ มนั เปน็ สงิ่ ทดสอบ
นักปฏิบัติอันวิเศษเลยทีเดียว วิเศษในแง่ท่ีว่าจะเป็นเคร่ืองบอกให้นักปฏิบัติรู้ตัวว่า
เมอ่ื ประสบกบั ความทกุ ขย์ ากลำ� บากแลว้ จติ ใจจะหวนั่ ไหวหรอื ไม?่ นค้ี อื คณุ เครอื่ งให้
สำ� เรจ็ ประโยชนใ์ นการปฏบิ ตั ภิ าวนาประการหนง่ึ ยกตวั อยา่ งเชน่ วา่ คนเราจะเปน็ สขุ
กเ็ พราะมกี นิ มใี ช้ เมอ่ื ใครจ่ ะไดซ้ อื้ กไ็ ดซ้ อ้ื เมอ่ื ใครจ่ ะไดก้ นิ ไดบ้ รโิ ภคกไ็ ดก้ นิ ไดบ้ รโิ ภค
เมอ่ื ไดต้ ามปรารถนากเ็ รยี กวา่ เปน็ สขุ ซง่ึ ไมเ่ ฉพาะแตม่ นษุ ย์ แมแ้ ตส่ ตั ว์ เชน่ สนุ ขั หรอื แมว
มนั กเ็ ปน็ เชน่ น้ี ดงั จะเหน็ วา่ แมวนน้ั เมอื่ มนั ไดก้ นิ อาหารจนเตม็ ทอ้ งและอม่ิ ไปมอื้ หนง่ึ ๆ
แลว้ มนั กห็ ลบั นอนอยอู่ ยา่ งสขุ สบาย บอ่ ยๆ เขา้ รา่ งกายกอ็ ว้ นพี ตาทง้ั สองขา้ งของมนั
เกือบจะลืมไม่ข้ึน เรียกว่าแมวมันเป็นสุขสบายเพราะได้กินอ่ิมหมีพีมัน แต่ในทาง
ตรงกนั ขา้ ม เมอื่ ขาดอาหาร แมวมนั กผ็ อมโซ อดอยากหวิ โหยเปน็ ทกุ ขเ์ ปน็ รอ้ น ตอ้ งวงิ่
วนไปทกุ ทศิ ทกุ ทางเพอื่ หาอาหารกนิ โดยลกั ษณะนมี้ นษุ ยเ์ รากเ็ ปน็ เชน่ นน้ั รวมความวา่
* สัมมาวายามะ แปลวา่ ความพากเพียรชอบ เปน็ ขอ้ ที่ ๖ ในอรยิ มรรคมอี งค์ ๘
226
เมือ่ ไดต้ ามปรารถนาก็เปน็ สขุ ถ้าไม่ได้ตามปรารถนากเ็ ป็นทกุ ข์ และเม่อื เปน็ เช่นน้นั
นกั ปฏบิ ตั ภิ าวนานจี้ ะเปน็ อยา่ งไร? จะเปน็ สขุ หรอื เปน็ ทกุ ขเ์ ลา่ ? ดงั นนั้ มนั จงึ เปน็ เครอ่ื ง
ทดสอบกเิ ลสและอาสวะ* ในจติ ใจของเราไดเ้ ปน็ อยา่ งดี สมณะทงั้ หลายควรสอ้ งเสพ
และฝกึ ฝนดว้ ยขอ้ ปฏบิ ตั เิ หลา่ นนั้ ใหส้ มกบั ทพ่ี ระพทุ ธองคไ์ ดท้ รงตรสั ไวว้ า่ ดกู อ่ นภกิ ษุ
ทัง้ หลาย นน่ั โคนไม้ นน่ั เรือนว่าง ดงั ท่เี คยไดก้ ลา่ วมาแล้ว
ในชีวิตของท่านครูบาจารย์ทองรัตน์ต้ังแต่ต้นจนตลอดชีวิตก็เหมือนกัน ชีวิต
ท้ังหมดล้วนแต่เป็นการเที่ยวไปคนเดียว เหมือนช้างมาตังคะ* ที่เที่ยวไปตัวเดียว
ท่านเป็นพระไมม่ วี ัด ถงึ จะอยูว่ ดั ก็ไมน่ านกาเล ท่านมักจะเที่ยวไปเร่อื ยๆ ในสภาวะ
ท่เี ป็นอยูต่ ามมตี ามได้ ท่านไมม่ สี มบัติพัสถานใดๆ ไม่มขี องมีค่าสิ่งใด เมือ่ เทย่ี วไป
นานปนี กั ผา้ นงุ่ ผา้ หม่ กข็ าด แมก้ ระนน้ั ทา่ นกไ็ มเ่ อย่ วาจาขอจากผใู้ ด แตใ่ นคราวเชน่ นนั้
ท่านจะเดินมุ่งหน้ากลับมาท่ีบ้านเกิดเมืองนอนของท่าน ซ่ึงยังมีญาติพี่น้องหลาน
เหลนอยเู่ พอ่ื ขอผา้ สำ� หรบั ตดั เยบ็ สบงจวี รจากเขาเหลา่ นนั้ พอไดผ้ า้ ขาวทป่ี กตทิ อดว้ ย
หกู พนื้ เมอื งเนอื้ หนาคอ่ นขา้ งหยาบมาแลว้ ทา่ นจะกะผา้ และตดั เยบ็ เปน็ สบง จวี ร สงั ฆาฏิ
จนแล้วเสร็จด้วยตัวท่านเอง แล้วจึงย้อมด้วยน้�ำย้อมฝาดแก่นขนุนท่ีต้มเคี่ยวได้ท่ีดี
แลว้ นนั้ ผา้ เหลา่ นน้ั ทีถ่ กู เยบ็ ดว้ ยมอื แมจ้ ะไมป่ ระณตี แตก่ ส็ ำ� เรจ็ เปน็ ไตรจวี รถกู ตอ้ ง
ดว้ ยดที กุ ประการ แลว้ จากนนั้ ทา่ นกจ็ ะธดุ งคต์ อ่ ไป ทา่ นครบู าจารยผ์ เู้ ฒา่ ทำ� อยเู่ ชน่ นน้ั
จนถงึ วนั สดุ ทา้ ยแหง่ ชวี ติ ของทา่ น พอทา่ นละโลกนไี้ ปแลว้ จงึ มผี คู้ น้ พบวา่ สมบตั ทิ ที่ า่ นมี
กค็ อื บรขิ ารทท่ี า่ นมเี ทา่ นนั้ เอง ไดแ้ กข่ องไมก่ สี่ ง่ิ มบี าตร ไตรจวี รเกา่ ๆ กลด ธมกรก*
ถงุ ยา่ มสำ� หรบั ใสบ่ รขิ ารเลก็ นอ้ ยกบั จอกใสน่ ำ�้ และผา้ นสิ ที นะคอื ผา้ ปนู งั่ และสงิ่ สดุ ทา้ ย
ทม่ี รี าคาแพงกวา่ สงิ่ อน่ื แมว้ า่ มนั จะหมดคา่ เสยี แลว้ ในขณะนน้ั กค็ อื มดี โกน ทมี่ คี มเวา้
* กิเลส คอื สิง่ ที่ทำ� จติ ใหเ้ ศร้าหมอง อาทิเชน่ ราคะ โทสะ
อาสวะ แปลว่า เครอ่ื งหมักดองในสันดาน เปน็ ช่ือของกเิ ลสอีกชอื่ หนึ่ง
* มาตงั คะ ศพั ทน์ ใ้ี นคมั ภรี อ์ ภธิ านปั ปทปี กิ า ของพระวรวงศเ์ ธอ กรมหลวงชนิ วรสริ วิ ฒั น์ สมเดจ็ พระสงั ฆราชเจา้
วดั ราชบพิธ ใหค้ วามหมายว่า “ชา้ งพลาย” แปลว่า ชา้ งตวั ผหู้ รอื ชา้ งหนมุ่
* ธมกรก อา่ นว่า ทะมะกะหรก แปลว่า กระบอกกรองน้�ำของพระสงฆ์ หรือเครื่องกรองน้ำ� ดว้ ยลมเป่าหรอื
กระบอกกันผูกผา้ พระต้องใช้กรองน้ำ� ไม่ใหม้ ีตวั สัตวเ์ วลาจะบรโิ ภค
227
ลึกเข้าไปจนเกือบจะถึงสันเล่มเดียว นอกน้ันไม่มีอะไรเลย ท่านสาธุชนผู้น่านับถือ
ทงั้ หลาย...ขอจงรไู้ วเ้ ถดิ วา่ สาวกของพระผมู้ พี ระภาคเจา้ นน้ั นบั ตง้ั แตอ่ ดตี จนถงึ ปจั จบุ นั
สงิ่ ทพ่ี อจะมีค่าส�ำหรบั ท่านในภพท้งั ๓ นน้ั * ดจู ะหาไมไ่ ดเ้ ลย อริยมรรคคือหนทาง
ดบั ทกุ ขอ์ นั ประเสรฐิ สง่ิ เดยี วเทา่ นนั้ ทม่ี คี ณุ คา่ และนน่ั เปน็ ทางอนั สงู สดุ แหง่ สรรพสตั ว์
ผแู้ สวงหาทางหลดุ พน้ จากกองทกุ ขท์ ง้ั หลาย - กจิ ฉฺ ํ มจจฺ านํ ชวี ติ ํ ความเปน็ อยขู่ องสตั วน์ นั้
ยากนกั - สงขฺ ารา สสสฺ ตา นตถฺ ิ สงั ขารทง้ั หลายทจ่ี ะยง่ั ยนื ไมม่ ี - มา ปมาทมนยุ ญุ เฺ ชถ
อยา่ เปน็ อยดู่ ว้ ยความประมาท - น มยิ ยฺ มานํ ธนมนเฺ วติ กญิ จฺ ิ ทรพั ยส์ กั นดิ กต็ ดิ ตามไป
ไมไ่ ด้เมือ่ คณุ ตาย!
แลว้ คณะของทา่ นพระอาจารยก์ ท็ งิ้ เชยี งคานไวเ้ บอื้ งหลงั เดนิ มงุ่ หนา้ ตอ่ ไปอยา่ ง
ไมห่ ยดุ ยงั้ จนกระทงั่ แยกออกจากลำ� นำ�้ โขง เพราะระยะทพี่ น้ เชยี งคานมาแลว้ น้ี ลำ� นำ้� โขง
จะอยู่ในเขตลาว ต่อไปเส้นเขตแดนไทยกับลาวก็จะอยู่ในระหว่างหุบเขาและธารน�้ำ
กลางดงทบึ ทา่ นพระอาจารยพ์ าสานศุ ษิ ยท์ ง้ั สองแรมคนื เรอื่ ยไปในทา่ มกลางขนุ เขาและ
ปา่ ใหญ่ การเดนิ ทางโดยทางเทา้ ในปา่ ดงดบิ เปน็ ไปดว้ ยความยากลำ� บาก บางชว่ งกบ็ กุ ปา่
บางชว่ งตอ้ งปนี เขา ทติ ยศ เลา่ วา่ ในระหวา่ งทางไดพ้ บชา้ ง เสอื หมี เกง้ กวางและสตั วป์ า่
อ่นื ๆ มากมายหลายครั้ง แตก่ ็ไม่มีอปุ สรรคหรืออันตรายใดๆ เกิดขน้ึ เลย ดว้ ยการ
ยึดเอาอ�ำนาจแห่งเมตตาธรรมเป็นที่ต้ังจึงเดินทางมาได้โดยปลอดภัยแต่ถึงกระน้ัน
กย็ งั อดจะใจสนั่ ขวญั แขวนไมไ่ ด้ ในคราวทพี่ บพานกบั สตั วป์ า่ ซง่ึ ๆ หนา้ ธรรมชาตใิ น
ปา่ ใหญม่ นั วเิ วกวงั เวงดนี กั พอๆ กบั เชอื้ ไขป้ า่ ทชี่ กุ ชมุ และคกุ คาม คณะผเู้ ดนิ ทางบางองค์
เปน็ ไขแ้ ตก่ พ็ ออดทนไดส้ ทู้ นกดั ฟนั เดนิ มนั เรอ่ื ยไปจากเขตประเทศไทย คณะของทา่ น
พระอาจารย์ก็ได้ข้ามเข้าไปในประเทศลาว โดยช่วงนั้นเป็นเขตอ�ำเภอท่าล่ี อันเป็น
ชายแดนไทยกบั ลาวตดิ ตอ่ กนั เขา้ เขตลาวแลว้ กย็ ง่ิ มแี ตป่ า่ เขาดงลกึ แตก่ ค็ งมหี มบู่ า้ น
ชาวปา่ ชาวเขาทงิ้ ระยะหา่ งๆ กนั อยบู่ า้ งพอไดอ้ าศยั ทา่ นพระอาจารยพ์ าสานศุ ษิ ยท์ ง้ั สอง
ธุดงค์ฝ่าหบุ เขานอ้ ยใหญ่ไปเป็นอันมาก และระหว่างนีก้ ็ไดห้ ันเข้าเดินเลยี บลำ� นำ�้ โขง
ซง่ึ อย่ใู นแดนลาวอกี คร้งั หน่ึง
* ภพ ๓ ไดแ้ ก่ ๑. กามภพ คอื ภพทอ่ี ยใู่ นกามคณุ ท้งั ๕ มี รปู เสียง เปน็ ตน้ ๒. รูปภพ คอื ภพแห่งผู้ได้
ฌานสมาบตั ขิ ้ันท่ียังบรกิ รรมด้วยรูป ๓. อรปู ภพ คือ ภพท่ีไมม่ ีรปู ของผ้ไู ด้อรูปฌาน
228
ระหวา่ งทอี่ ยใู่ นปา่ ใหญใ่ กลเ้ มอื งปากลายบนผนื แผน่ ดนิ ลาว ซงึ่ มภี เู ขารายลอ้ ม
อยู่รอบทิศน้ัน คณะของท่านพระอาจารย์ก็เดินทางมาถึงหมู่บ้านชาวเขาแห่งหนึ่ง
ท่หี ม่บู า้ นแห่งนี้มพี ระภกิ ษุอาศัยอยู่กับเขาดว้ ยตนหนึง่ ทเ่ี รยี กว่า “ตน” น้กี เ็ พราะวา่
เมอ่ื ทา่ นพระอาจารยเ์ ดนิ ทางมาถงึ เขา้ พระตนนนั้ กอ็ อกมาตอ้ นรบั ขบั สู้ แลว้ พาเขา้ ไป
ทข่ี า้ งใน ครน้ั เมอ่ื สนทนากนั อยคู่ รใู่ หญพ่ อรเู้ รอ่ื งราวความเปน็ อยู่ และเปน็ ไปของกนั
และกนั ทง้ั สองฝา่ ยแลว้ พระตนนน้ั จงึ ไดเ้ อย่ ปากชวนทา่ นพระอาจารยว์ า่ ทา่ นมากด็ แี ลว้
จงอยเู่ สยี ทน่ี ด่ี ว้ ยกนั เถดิ อยา่ เดนิ ทางใหล้ ำ� บากตอ่ ไปเลย อยทู่ นี่ นี่ ด้ี นี กั ทา่ นพระอาจารย์
จงึ ถามไปวา่ ทวี่ า่ ดนี น้ั ดอี ยา่ งไร พระตนนนั้ แกกต็ อบวา่ ทวี่ า่ ดนี นั้ กเ็ พราะวา่ ชาวเขาเผา่ น้ี
เขามีน้ำ� ใจดี มศี รัทธาแรงกลา้ คอื เม่อื เวลาคนหนมุ่ คนสาวหรือผชู้ ายกบั ผูห้ ญงิ คู่ใด
เขารกั ใครช่ อบพอกนั เมอื่ จะแตง่ งานกนั นนั้ เขาจะตอ้ งนำ� หญงิ เจา้ สาวนนั้ มาใหเ้ รามา
เชยชมเสยี กอ่ น เขาถอื ว่าเปน็ บญุ อนั เลศิ และเรากไ็ ด้เชยชมหญิงกอ่ นเขาเสียทกุ ครง้ั
เพราะเหตนุ ี้สเิ ราจึงวา่ ดี
พอท่านพระอาจารย์ได้ฟังดังนั้น ท่านถึงกับอุทานออกมาด้วยความตกใจ
ครน้ั ทราบความเปน็ อลชั ชี ไมม่ ลี ะอายตอ่ บาปของพระตนนนั้ แลว้ ดงั นน้ั ทา่ นพระอาจารย์
จึงพาคณะของท่านกล่าวอ�ำลาพระตนน้ันออกเดินทางจากหมู่บ้านอัญญเดียรถีย์
แห่งนั้นไปทันที ดูเหมือนว่าพอท่านพระอาจารย์พาคณะเดินทางออกจากหมู่บ้าน
กามทานแหง่ นน้ั มาแลว้ ตอ่ มาจงึ ไดพ้ บเขา้ กบั คนปา่ อกี พวกหนงึ่ คนลาวเขาเรยี กวา่ พวก
“ขา่ ตองเหลอื ง” คำ� วา่ “ขา่ ” น้ี เปน็ ชอื่ เรยี กคนชาวเขาจำ� พวกหนง่ึ ซงึ่ จดั อยใู่ นตระกลู
มอญ-เขมร คนป่าจ�ำพวกนม้ี อี ยู่มากมายหลายเผ่าด้วยกนั พวกข่าตองเหลืองนี้มีช่อื
เรยี กอกี อยา่ งหนงึ่ วา่ ขา่ อตั ตะปอื จดั วา่ เปน็ คนละเผา่ กบั พวก ขา่ ระแด กบั ขา่ จะราย
ซง่ึ ขา่ ระแดกบั ขา่ จะรายนน้ั จดั อยใู่ นตระกลู ชวา-มลายู และอาศยั อยแู่ ตท่ างฝง่ั ซา้ ยของ
แม่น้�ำโขงเท่านั้น ท่านพระอาจารย์เล่าว่า ข่าพวกน้ีเป็นคนป่าจริงๆ นุ่งแต่ใบไม้
เปลอื ยกายทอ่ นบนเสยี สนิ้ ทา่ นเลา่ ใหพ้ ระผเู้ ฒา่ ฟงั วา่ ทา่ นบงั เอญิ เดนิ ไปพบขา่ ผหู้ ญงิ
กำ� ลังคลอดลูกอยรู่ มิ ฝัง่ นำ้� ซ่ึงเป็นล�ำธารเล็กๆ ไหลลงมาจากภเู ขา กิรยิ าอาการมัน
ไม่แปลกแตกต่างอะไรกับสัตว์เลย ทันทีท่ีข่าตองเหลืองหญิงนั้นเหลือบมาเห็นท่าน
กต็ กใจกลัว จึงตะเกยี กตะกายลกุ ข้ึนแลว้ วง่ิ หนีไป แต่พวกผู้ชายไม่มที ที า่ ว่าจะกลวั
เทา่ ใดนกั ทา่ นพระอาจารย์เล่าเรอ่ื งนีแ้ ค่น้ี
229
ต่อจากนั้น ท่านพระอาจารย์จึงพาคณะข้ามแม่น�้ำโขงไปทางฝั่งซ้ายได้พบกับ
คนปา่ อกี พวกหนง่ึ ทม่ี สี ภาพเลวรา้ ยลงไปกวา่ พวกกอ่ น นนั่ คอื พวกทค่ี นลาวเรยี กกนั วา่
“ถกั แถ”่ ค้นดคู ำ� ในภาษาไทยแล้วไมป่ รากฏวา่ มีค�ำๆ นี้ แตเ่ มอ่ื พจิ ารณาถงึ ถิ่นท่ีอยู่
ของพวกขา่ ระแดกับขา่ จะรายแล้ว ปรากฏว่าอยทู่ างฝงั่ ซา้ ยของแมน่ ้ำ� โขงเช่นเดยี วกัน
จงึ อาจจะสันนษิ ฐานได้วา่ ค�ำว่า “ถักแถ”่ กับ “ระแด” นี้ อาจจะเป็นคำ� ๆ เดียวกัน
เพียงแต่ว่าพูดออกส�ำเนียงเพี้ยนกัน พวกถักแถ่ซึ่งอาจจะเป็นข่าระแดน้ีมีส่วนที่ผิด
จากมนษุ ยธ์ รรมดาอยตู่ รงทตี่ วั เลก็ กวา่ คนตามปกติ สะบา้ หวั เขา่ ไมม่ ี ถา้ หกลม้ ตอ้ งอาศยั
เกาะเถาวลั ยพ์ ยงุ ตวั ลกุ ขน้ึ แลว้ เดนิ หรอื วง่ิ ตอ่ ไป รปู รา่ งหนา้ ตากเ็ ปน็ คน แตด่ ๆู แลว้
คลา้ ยจะเปน็ สัตวไ์ ปก็เทา่ กนั
การเดนิ ทางในช่วงน้ี นับวา่ เปน็ ระยะเวลาอนั ยาวนานพอดู จนกระท่ังในทส่ี ดุ
ท่านพระอาจารย์จึงได้น�ำคณะศิษย์เดินทางย้อนกลับมาเข้าประเทศไทยอีกวาระหน่ึง
บุกปา่ ฝ่าเขานอ้ ยใหญเ่ ขา้ ส่ไู ทยทางด้านบา้ นห้วยมุ่น อ�ำเภอน้�ำปาด จงั หวัดอุตรดิตถ์
ครั้งน้ีดูเหมือนว่าท่านพระอาจารย์ยังไม่ได้พาสานุศิษย์ท้ังสองอยู่จ�ำพรรษากับพวก
แมว้ ท่นี ่นั เพราะทา่ นเลา่ ว่าคราวทอ่ี ยู่จำ� พรรษากับพวกชาวเขาเผ่าแมว้ ในเขตจังหวัด
อตุ รดติ ถน์ นั้ ทา่ นอยกู่ บั เดก็ ชายซงึ่ เปน็ หลานลกู พชี่ ายของทา่ นเทา่ นน้ั ซงึ่ กน็ า่ ทจ่ี ะเดา
ได้ว่าในคราวท่ีพาเด็กหลานชายมาจำ� พรรษาอยู่กับพวกแม้วนี้ เป็นระยะหลังจากท่ี
พระยศและพระหลอดศษิ ย์ผรู้ ่วมเดนิ ทางอันยาวไกลทง้ั สอง ไดล้ าทา่ นกลับบา้ นเกดิ
เมืองนอนของตนไปแลว้
ท่านพระอาจารยเ์ ล่าวา่ คราวทีอ่ ยจู่ �ำพรรษากับพวกแม้วกับหลานชายนัน้ วา่ ถึง
ขนบธรรมเนียมประเพณีความเชอื่ ถอื ของชนเผ่าน้ี เขามพี ิธีสำ� คญั อยู่พธิ ีหนงึ่ คือพธิ ี
เฝา้ ศพญาตผิ ลู้ ว่ งลบั กลา่ วคอื เมอ่ื เวลาญาตผิ ใู้ ดผหู้ นง่ึ ของเขาเกดิ ตายลง โดยเฉพาะ
ทเี่ ปน็ ญาตผิ ใู้ หญม่ บี ดิ ามารดาเปน็ ตน้ ครน้ั ตายลงพวกลกู ๆ หลานๆ จะนำ� ศพไปนอน
ไวใ้ นเรอื น ซงึ่ กเ็ ปน็ เรอื นทป่ี ลกู แบบงา่ ยๆ ลอ้ มไมไ้ ผ่ มงุ จากตามแบบฉบบั ของหมบู่ า้ น
ชาวเขาทว่ั ไป แตพ่ น้ื ซงึ่ เปน็ ดนิ ภายในเรอื นของเขานน้ั จะถกู ตบขดั จนแนน่ เรยี บเกอื บ
จะขน้ึ เงา ศพของผตู้ ายจะถกู เกบ็ ไวบ้ นเรอื นถงึ ๗ วนั โดยเปน็ ทแ่ี นน่ อนวา่ พวกเขาจะ
230
ตอ้ งไมร่ จู้ กั วธิ กี ารฉดี ยาหรอื ดองศพไวไ้ มใ่ หเ้ นา่ ดว้ ยวธิ กี ารอยา่ งใดเลย พวกลกู หลาน
จะผลดั เปลยี่ นวาระกนั เฝา้ ปรนนบิ ตั พิ ดั วศี พนนั้ อยตู่ ลอดเวลา เพอ่ื ขบั ไลเ่ จา้ พวกแมลงวนั
ทมี่ ันพากันมาจับมาตอมศพอยอู่ ย่างมากมายมหาศาลกระท่ังวนั กระทั่งคืน กาลเวลา
ผา่ นไปวนั หนงึ่ กแ็ ลว้ สองวนั กแ็ ลว้ พวกลกู ๆ หลานๆ กจ็ ะเฝา้ พดั วอี ปุ ฏั ฐากอยเู่ ชน่ นน้ั
ศพกจ็ ะคอ่ ยๆ ขน้ึ อดื ทลี ะเลก็ ทลี ะนอ้ ย อนั เปน็ สภาพธรรมดาของการเปลยี่ นแปลงตาม
กฎทางชวี ะ ในทางพระพทุ ธศาสนามบี าลเี รยี กขนั้ ตอนการเปลยี่ นสภาพตามกฎทางชวี ะ
เหลา่ นวี้ า่ อสภุ กมั มฏั ฐาน มอี ยดู่ ว้ ยกนั ทง้ั หมด ๑๐ ชนดิ ไดแ้ ก่ ๑. เรยี กวา่ อทุ ธะมาตะกงั
แปลวา่ ซากศพทกี่ ำ� ลงั ขนึ้ พองเพราะลมในกายดนั ปะทขุ น้ึ นบั ตงั้ แตว่ นั สนิ้ ลมหายใจ
ชนดิ ท่ี ๒ เรยี กวา่ วนิ ลี ะกงั แปลวา่ ซากศพทกี่ ำ� ลงั เปลย่ี นเปน็ สเี ขยี ว กลา่ วคอื เปน็ ซากศพ
ทมี่ สี ตี า่ งๆ ปนกนั มสี แี ดง สขี าว สเี ขยี ว ทตี่ รงไหนมเี นอื้ มากจะกลายเปน็ สแี ดง นำ้� หนอง
จะเปน็ สขี าว แตจ่ ะมสี เี ขยี วมากกวา่ อยา่ งอนื่ จงึ รวมเรยี กซากศพในลกั ษณะท่ี ๒ นวี้ า่
วนิ ีละกงั ซง่ึ แปลว่า เขยี ว ชนดิ ท่ี ๓ เรยี ก วปิ พุ พะกัง คือซากศพที่มีหนองปนเลือด
ไหลออกจากรา่ งกายเนอ่ื งดว้ ยเหตใุ ดเหตหุ นงึ่ ชนดิ ที่ ๔ เรยี กวา่ วธิ ฉทิ ทะกงั คอื ศพ
ท่ีมีเนือ้ เปอื่ ยขาดเป็นหลุมๆ ชอ่ งๆ ชนิดที่ ๕ วิกขายิตะกงั หมายถึงซากศพท่มี ีสตั ว์
กดั กนิ อยทู่ ง่ั ทงั้ ตวั ชนดิ ที่ ๖ วกิ ขติ ตะกงั แปลวา่ กระจดั กระจายไป หมายถงึ ศพทถี่ กู
สตั วก์ ดั ทง้ึ ดงึ ออกไปในทศิ ทางตา่ งๆ กระจดั กระจายหา่ งกนั ออกไป ชนดิ ท่ี ๗ เรยี ก
สัตถะวหิ ะตะกัง หมายถึงศพทถี่ ูกสับถกู ฟนั ดว้ ยอาวุธมีคม มีแผลเหวอะหวะไปทั่ว
ทัง้ รา่ ง ชนิดท่ี ๘ โลหติ ะกัง แปลว่า ศพมเี ลอื ดไหลออก คงจะหมายถึงน้ำ� เหลืองที่มี
สแี ดง ชนดิ ท่ี ๙ เรยี ก ปฬุ วุ ะกงั แปลวา่ มหี นอนบอ่ นอยเู่ ปน็ ขมุ ๆ ทวั่ ไปทงั้ รา่ ง ชนดิ ที่ ๑๐
เป็นชนดิ สุดทา้ ยเรยี กว่า อฏั ฐิกงั คอื เปน็ ซากศพเหลอื แตก่ ระดูกสีขาวเป็นโครงรา่ ง
กระจัดกระจายไปทกุ ทิศทกุ ทาง สภาพท้งั ๑๐ น้ีเรียกวา่ อสภุ กมั มัฏฐาน แปลว่า
พระกัมมัฏฐานท่ีว่าด้วยความเป็นของไม่งาม ซึ่งหมายถึงการพิจารณาซากศพใน
ลักษณะตา่ งๆ ดังท่ไี ด้กลา่ วมาแล้ว
ตอ่ มาเมอื่ ศพขนึ้ อดื พองแลว้ กเ็ ปลย่ี นสเี ปน็ สเี ขยี ว จากนน้ั กจ็ ะมนี ำ้� หนองไหลเยมิ้
ออกมา พวกเดก็ ๆ ลกู หลานกจ็ ะพากนั เอามอื มาลบู นำ้� หนองนำ�้ เหลอื งจากซากศพนนั้
ไปทาศีรษะและร่างกายของพวกเขา ซึ่งพวกเขามิได้มีความรังเกียจญาติผู้ใหญ่ของ
231
พวกเขาเลยแมว้ ่าจะกลายเปน็ ซากทีเ่ น่าเฟะแล้วกต็ าม ขนบธรรมเนยี มประเพณขี อง
ชนชาวเขาเผา่ นน้ั เปน็ อยา่ งนนั้ จรงิ ๆ และในขณะทเี่ ฝา้ ดแู ลรกั ษาศพอยนู่ น้ั พวกเขากจ็ ะ
รอ้ งไหค้ รำ�่ ครวญไปพลาง พวกเขาจะพากนั เอาดอกไมป้ า่ นานาชนดิ มาโรยไวบ้ นซากศพ
เพอ่ื ใหด้ ูสวยงาม พวกผชู้ ายท่สี ามารถดีดกระจับปี่สซี อได้ จะมานง่ั บรรเลงเพลงขบั
กลอ่ มไวอ้ าลยั อยทู่ ใี่ กลๆ้ พวกทรี่ อ้ งไหก้ ร็ อ้ งไป พวกเลน่ ดนตรกี เ็ ลน่ ไป เมอ่ื ไดย้ นิ เสยี ง
ดนตรีกับเสียงร้องไห้ท้ังน�้ำตาสลับสับกันไปเช่นนั้น ก็ดูพิลึกกึกกือและชวนให้สลด
รันทดใจไปกับเขาดว้ ยเหมอื นกัน เม่ือเฝ้าศพอยไู่ ดค้ ำ� รบครบ ๗ วัน พวกเขาก็จะใช้
ไมค้ านหามแครท่ ว่ี างศพนน้ั ไปทำ� พธิ ฝี งั พวกเขาบอกวา่ เหตทุ ไี่ มใ่ ชว้ ธิ เี ผานนั้ เปน็ เพราะ
“อดี ”ู เขา คำ� วา่ “อดี ”ู แปลวา่ สงสาร ซง่ึ กค็ งจะเปน็ คำ� ๆ เดยี วกบั คำ� วา่ เอน็ ดใู นภาษาไทย
ของเรานเ่ี อง และจนบัดนไี้ มท่ ราบว่าประเพณีอนั น่านบั ถือเหลา่ นน้ั จะยงั คงหลงเหลอื
อยูห่ รอื เปลา่ ในยุคทีอ่ ารยธรรมแผนใหมท่ ่ีความนยิ มทางด้านวตั ถุมีมากกวา่ ทางดา้ น
จติ ดา้ นวญิ ญาณไดค้ บื คลานเขา้ ไปแปลกปนในชวี ติ ความเปน็ อยขู่ องชนชาวเขาเหลา่ นนั้
ในปจั จุบนั
ทา่ นพระอาจารยเ์ ลา่ วา่ อยทู่ นี่ น่ั ไดฉ้ นั แตข่ า้ วโพดอยา่ งเดยี ว ขา้ วเหนยี วขา้ วเจา้
ไมม่ ี เพราะพวกเขากนิ กนั อยา่ งนน้ั ทา่ นกฉ็ นั มนั อยา่ งนนั้ เหมอื นกนั ตลอดทงั้ พรรษา
ไดฉ้ นั แตข่ า้ วโพด เดก็ นอ้ ยหลานชายของทา่ นกเ็ กง่ ไมเ่ บาเลยทเี ดยี ว ทา่ นพระอาจารย์
ฉนั อยา่ งไร เธอกก็ นิ อยา่ งนนั้ อรอ่ ยหรอื ไมอ่ รอ่ ยไมว่ า่ ขอแตม่ ขี องใหไ้ ดก้ นิ กพ็ อ ตอ่ มา
พวกชาวเขาคงจะสังเกตเห็นว่าท่านพระอาจารย์ฉันอาหารท่ีพวกเขาท�ำมาถวายไม่ได้
จะเป็นดว้ ยเพราะรังเกียจว่าสกปรกหรืออยา่ งไร อยูม่ าวันหนงึ่ พวกเขาจึงเอาเนอ้ื สกุ ร
ดบิ ๆ มาถวาย แล้วบอกกบั ทา่ นว่า กลวั ตเุ๊ จ้าจะฉนั อาหารท่พี วกข้าท�ำมาถวายไม่ได้
ดังนั้นขอให้ตุ๊เจ้าเอาเน้ือน้ีท�ำอาหารกินเองเถิด ท่านพระอาจารย์ได้ฟังดังน้ันแล้ว
ได้แต่ยิม้ ภายในรสู้ ึกตื้นตันเตม็ ไปด้วยความเมตตาสงสารพวกเขาผไู้ ม่ประสีประสา
เหล่าน้ัน ธรรมชาติกลางป่ากลางดงมันช่างแสนจะสงบวิเวกวังเวงพร้อมกับหัวใจ
อนั สตั ยซ์ อื่ และกริ ยิ าอนั เทอะทะแตเ่ ปย่ี มลน้ ไปดว้ ยศรทั ธาของชาวปา่ ชาวเขา มนั เปน็
สงิ่ ทแี่ ทบจะหาไม่ไดเ้ ลยในปา่ แสงและเสยี ง ทา่ มกลางตกึ คอนกรตี
232
ชีวิตความเป็นอยขู่ องชาวเขาเผ่านี้ ทา่ นพระอาจารย์เลา่ ว่า บ้านเรือนส่วนมาก
มักจะปลกู อยู่กบั พื้นดนิ พน้ื ภายในเรือนก็เป็นพน้ื ดนิ ปกติ แต่ดินนั้นดจู ะเรยี บเกือบ
เป็นเงา กระทะใบเดียวส�ำหรับท�ำกับข้าว ก้นมันด�ำเกรอะกรังเพราะไม่เคยถูกล้าง
เปน็ ใบเดยี วกบั ทใี่ ชใ้ สเ่ ศษอาหารใหส้ นุ ขั กบั หมกู นิ ปกตหิ มบู่ า้ นเหลา่ นจ้ี ะอยบู่ นภเู ขาสงู
ดงั นน้ั ในแตล่ ะครวั เรอื นจงึ จำ� ตอ้ งมสี ตั วเ์ ลยี้ งสำ� หรบั เปน็ อาหารเอาไวใ้ ชใ้ นยามขดั สน
สัตว์เหลา่ นน้ั ไดแ้ ก่ เป็ด ไก่ หมู สุนขั ครนั้ ถึงเทศกาลงานเลย้ี งฉลองครั้งสำ� คัญๆ
พวกเขากจ็ ะสงั หารสตั วเ์ ลยี้ งบางชนดิ เปน็ ตน้ วา่ หมู เพอ่ื นำ� มาเปน็ อาหารเลย้ี งในงาน
บางคราวกจ็ ะฆา่ เพอื่ นำ� ไปขายเปน็ สนิ คา้ ขาออก ซงึ่ ไมใ่ ชจ่ ะออกขา้ มนำ�้ ขา้ มทะเลไปไหน
แตห่ มายถงึ วา่ ออกไปยงั ตำ� บลหรอื อำ� เภอทค่ี วามเจรญิ เขา้ ไปถงึ ซงึ่ กอ็ ยใู่ กลบ้ า้ งไกลบา้ ง
การฆ่าสุกรเพ่ือน�ำเน้ือไปขายแต่ละคร้ังจะไม่เอาตัวใหญ่นัก เพราะมันล�ำบากในการ
เทยี วหามขนึ้ ลง การนำ� สกุ รตวั เลก็ ทฆ่ี า่ แลว้ ไปขายสะดวกกวา่ ปจั จยั เงนิ ทองทไี่ ดจ้ าก
การขายเนอ้ื สกุ รหรอื ของปา่ บางชนดิ ในแตล่ ะครงั้ พวกผหู้ ญงิ มกั จะนำ� ไปซอื้ หาผา้ ผอ่ น
ทอ่ นสไบหรอื เครื่องประดับตกแต่งกายตามประสาหญิง ซ่ึงไม่วา่ จะเปน็ คนบา้ นนอก
คอกนาหรอื ชาวปา่ เมอื งกรงุ ยอ่ มลว้ นแตร่ กั สวยรกั งามดว้ ยกนั ทงั้ นนั้ สทิ ธเิ สรภี าพของ
มนษุ ยม์ นั เทา่ เทยี มกนั อยทู่ ต่ี รงน้ี แรส่ ขี าวเนอ้ื ออ่ นทเ่ี รยี กวา่ “เงนิ ” นบั วา่ เปน็ อาภรณ์
ประดบั กายทหี่ ญงิ ชาวเขาเผา่ แมว้ รกั และนยิ มชมชน่ื อยมู่ ากเหมอื นกนั พอขากลบั จาก
ตลาด ส่ิงเหล่านจ้ี ะถูกแลกเปลี่ยนนำ� กลบั ขึ้นไปบนเขาด้วย มนั จะถกู น�ำไปรวมอยู่ท่ี
ลำ� คอ ขอ้ มือ และขอ้ เท้าของพวกแม้วผูห้ ญิง
โดยมารยาทอีกอย่างหนงึ่ ของคนเหลา่ น้ี คอื อาคันตกุ ะ หรือผู้เป็นแขกทมี่ าถึง
ครน้ั มาถงึ แลว้ หา้ มยนื รๆี รอๆ อยตู่ รงลานหนา้ บา้ นเปน็ อนั ขาด ถา้ จะเขา้ ไปในบา้ นชอ่ ง
หอ้ งหอเลยเขาจะไม่วา่ จะไปอยา่ งไรเขากไ็ ม่ว่า ขออย่างเดยี ว อย่าไปยืนอย่ตู รงลาน
หน้าบา้ น เพราะพวกเขาถือวา่ ผดิ ผี ซ่งึ ไม่ทราบว่าเขาน�ำวฒั นธรรมอยา่ งน้ีมาจากไหน
และแม้ว่าความเช่ือเหล่านี้ดูค่อนข้างจะงมงายไร้สาระแบบ สีลัพพตปรามาส คือ
ลูบๆ คล�ำๆ ซ่งึ ขนบธรรมเนียมประเพณีอย่มู ากก็ตาม แตถ่ ้าหากว่าผเู้ ป็นแขก เช่น
ท่านพระอาจารย์ เมื่อไปถึงแดนเขาเข้า ถ้าท�ำให้ถูกต้องตามประเพณีของเขาแล้ว
ทุกส่ิงมันก็กลายเป็นความถูกต้องข้ึนมา จะเรียกว่าเป็นการใช้ปัญญาเพ่ือปั้นแปล
233
ความหลงผิดให้กลายเป็นถูกก็ได้ และเม่ือใครก็ตามท่ีได้ท�ำตัวเองให้ถูกต้องตาม
คลองธรรมแลว้ ยอ่ มจะชกั นำ� ให้มนษุ ย์ผหู้ ลงผิดทง้ั หลายกลับกลายมาเปน็ ผู้มคี วาม
เห็นชอบได้ในท่สี ดุ
จากห้วยมนุ่ คณะของทา่ นพระอาจารย์ได้เดนิ เข้าสู่อ�ำเภอน�้ำปาด ทน่ี �้ำปาดน้มี ี
พช่ี ายของทา่ นคนหนึง่ เข้ามาต้ังรกรากปกั ฐานอยนู่ านแลว้ พอท่านพระอาจารยม์ าพกั
อยทู่ น่ี ี่ โยมพช่ี ายกบั พสี่ ะใภจ้ งึ มารว่ มทำ� บญุ กบั ชาวบา้ นชาวเมอื งทงั้ หลาย และหลงั จาก
ทไี่ ดส้ ทู้ นอดอยากมานานแสนนาน คราวนเี้ องทไี่ ดบ้ รโิ ภคขบฉนั อาหารกนั อยา่ งอม่ิ หนำ�
ส�ำราญบา้ ง แตก่ ม็ ใิ ชจ่ ะหลงใหลมัวเมาอย่กู บั รสทั้งหลายเหลา่ นั้น ด้วยเท่าทผี่ า่ นมา
มนั ทกุ ขย์ ากลำ� บากทรมานกายสดุ จะหาสง่ิ ใดเปรยี บไดแ้ ลว้ ดงั นน้ั ถงึ อาหารจะมรี สชาติ
สักเท่าใด น�้ำหนักมันก็ยังไม่เท่ากับความทุกข์ยากทรมานแต่หนหลัง จึงมิได้มีจิต
พรัน่ พรงึ ตอ่ สัมผัสและอารมณ์ ทา่ นพระอาจารยแ์ ละคณะพักอยู่ทน่ี �้ำปาดพอสมควร
แลว้ ทา่ นพระอาจารยจ์ งึ ไดแ้ จง้ ความประสงคใ์ นการทจ่ี ะเดนิ ธดุ งคเ์ พอ่ื แสวงหาความรู้
หากำ� ลงั และประสบการณต์ อ่ ไปในตา่ งประเทศคอื ประเทศพมา่ อกี ทงั้ ตงั้ ใจจะไปศกึ ษา
ขนบธรรมเนียมประเพณีของชาวพุทธอื่นว่าต่างจากเราอย่างไร กับจะได้นมัสการ
เจดียสถานโบราณท่ีอาจจะยังหลงเหลืออยู่ในต่างประเทศด้วย เมื่อโยมพ่ีชายและ
พส่ี ะใภท้ ราบความตง้ั ใจของทา่ นพระอาจารยด์ งั นน้ั แลว้ จงึ ไดป้ รกึ ษากนั และตดั สนิ ใจ
มอบบุตรชายคนหนึ่งของตนซึ่งเป็นหลานของท่านพระอาจารย์ ให้เป็นผู้อุปัฏฐาก
ติดตามท่านพระอาจารย์ไป คราวน้ันมีผู้ร่วมท�ำบุญอนุโมทนาในการเดินทางเพ่ือ
แสวงหาสัจธรรมและนมัสการปูชนียสถานของท่านพระอาจารย์มากมาย ได้เงินทุน
ส�ำหรับใช้จา่ ยในระหว่างทางเป็นจ�ำนวนถงึ สองร้อยหกสิบบาท ซง่ึ นบั ว่ามากอกั โขใน
สมัยนน้ั
ดงั นั้น คณะของท่านพระอาจารย์จงึ ได้สมาชิกเพ่ิมขึ้นอีกคนหนึ่ง คือเด็กชาย
ผเู้ ปน็ หลานของทา่ นเอง คณะทงั้ หมดกลา่ วรำ่� ลาญาตโิ ยมทงั้ หลายชาวบา้ นนำ�้ ปาดแลว้
ออกเดนิ ทางมงุ่ สจู่ งั หวดั อตุ รดติ ถ์ จากอตุ รดติ ถต์ อ่ ไปถงึ สวรรคโลก จากนน้ั กข็ นึ้ รถยนต์
ทสี่ วรรคโลกไปจงั หวดั ตาก โดยออกไปพกั อยทู่ ตี่ ำ� บลระแหง อำ� เภอเมอื งตาก อนั เปน็
234
ทางทจี่ ะไปอำ� เภอแมส่ อดตอ่ เขตกบั ประเทศพมา่ ทร่ี ะแหงน้ี กม็ ผี คู้ นชาวบา้ นมาทำ� บญุ
ฟังเทศน์มิใช่น้อย ท่านพระอาจารย์ได้เทศนาให้พวกเขาฟังพอสมควร ต่อจากนั้น
ก็เดินทางเข้าสู่อ�ำเภอแม่สอดภายในระยะเวลาไล่เลี่ยกัน คณะของท่านพระอาจารย์
ก็ได้ข้ามเข้าสู่เขตประเทศพม่า ซึ่งสมัยน้ันการเข้าประเทศจะต้องใช้หนังสือเดินทาง
หรือไม่ ไมท่ ราบ แตท่ า่ นพระอาจารย์ไม่ไดใ้ ช้ การเดนิ ทางของทา่ นพระอาจารย์และ
คณะบนเส้นทางต่อไปนี้ต้องอาศัยรถยนต์กับรถไฟเป็นพาหนะไป ชื่อเมืองท่ีคณะ
ของทา่ นเดนิ ทางผา่ นเทา่ ทจี่ ดจำ� ไดก้ ม็ ี เมอื งกอระเกกมลู เมน (มะละแหมง่ หรอื เมาะลำ� เลงิ )
มะตะบัน และถงึ ยา่ งก้งุ สำ� หรับเส้นทางเดินตามจุดต่างๆ อย่างละเอยี ดนน้ั ไมอ่ าจมี
ผใู้ ดจดจ�ำเอาไวไ้ ด้
ในปจั จบุ นั การเดนิ ทางจากประเทศไทยไปพมา่ นนั้ อาจจะเดนิ ทางไปได้ ๓ ทาง
ดว้ ยกนั คอื ทางอากาศ ตอ้ งโดยสารเครอ่ื งบนิ จากสนามบนิ ดอนเมอื ง กรงุ เทพฯ ตรงไป
ยงั สนามบนิ ยา่ งกงุ้ และมณั ฑะเลกถ็ งึ ถา้ จะไปทางเรอื จะตอ้ งเดนิ ทางโดยรถไฟ หรอื
รถยนต์ จากกรุงเทพฯ ไปอำ� เภอกนั ตงั จงั หวดั ตรงั แล้วลงเรือโดยสารทางทะเลดา้ น
มหาสมทุ รอนิ เดยี โดยเรอื จะแวะท่ี ภเู กต็ ระนอง มะรดิ เย เมาะลำ� เลงิ และถงึ ยา่ งกงุ้
ทางสุดท้ายคือทางบก จะต้องเดินทางจากต�ำบลชายแดนทางด้านตะวันตกของ
ประเทศไทยผา่ นช่องเขาสงิ ขร พระเจดีย์สามองค์ แม่สอด อันเปน็ เสน้ ทางเดียวกบั ท่ี
คณะของทา่ นพระอาจารย์เดินทางไปครั้งน้ันจึงจะถงึ ประเทศพม่าได้ และโดยเฉพาะ
การเดนิ ตามเสน้ ทางนเ้ี ปน็ หนทางทลี่ ำ� บากมาก จะตอ้ งผา่ นปา่ ทบึ และภเู ขาสงู ใหญ่ และ
ยงิ่ ในสมยั เมอื่ ทา่ นพระอาจารยเ์ ดนิ ทางนน้ั ดว้ ยแลว้ การคมนาคมไมม่ เี ลย ทำ� ใหไ้ ดร้ บั
ความยากลำ� บากมากทสี่ ุด
กอ่ นทจ่ี ะถงึ ยา่ งกงุ้ เมอื งหลวงของพมา่ คณะของทา่ นพระอาจารยก์ ไ็ ดผ้ า่ นหมบู่ า้ น
แห่งหน่ึง เป็นหมู่บ้านชาวลาวที่อพยพมาต้ังรกรากถิ่นฐานกันท่ีน่ี เม่ือคนอพยพมา
มากเขา้ จงึ กลายเปน็ หมบู่ า้ นเปน็ ตำ� บลขนึ้ จากคำ� บอกเลา่ ของทดิ ยศบอกวา่ หมบู่ า้ นนี้
ชอ่ื วา่ “จกั ร”ี ซง่ึ ไมป่ รากฏวา่ มอี ยใู่ นแผนทแี่ ตอ่ ยา่ งใด เขา้ ใจวา่ ถา้ มี กค็ งจะเปน็ ตำ� บล
หรอื หมบู่ า้ นเลก็ ๆ เทา่ นน้ั ณ หมบู่ า้ นแหง่ นี้ ทา่ นพระอาจารยพ์ รอ้ มทงั้ คณะไดพ้ บกบั
235
ทา่ นพระครรู ปู หนงึ่ ซง่ึ เปน็ พระภกิ ษชุ าวลาว ทา่ นไดอ้ พยพมาตง้ั สำ� นกั อยกู่ บั ชาวบา้ นลาว
แหง่ นดี้ ว้ ย ทา่ นพระครไู ดใ้ หก้ ารตอ้ นรบั ดว้ ยอธั ยาศยั ไมตรอี นั ดยี ง่ิ แตก่ ารพกั อยกู่ บั
ทา่ นพระครคู รงั้ นี้ เปน็ การพกั อยเู่ พยี งชว่ั คราวเทา่ นนั้ แลว้ คณะของทา่ นพระอาจารย์
จงึ ไดก้ ลา่ วอำ� ลาทา่ นพระครเู ดนิ ทางตอ่ ไป ทา่ นพระครขู อนมิ นตใ์ หท้ า่ นพระอาจารยแ์ ละ
คณะกลบั มาอยจู่ ำ� พรรษากบั ทา่ นทน่ี นั่ ทา่ นพระอาจารยก์ ร็ บั คำ� โดยมขี อ้ แมว้ า่ ถา้ ไมม่ ี
ท่ีอยู่ในภายหน้าก็จะมา ท่านพระครูจึงอวยชัยให้พรขอให้คณะธุดงค์ของท่านพระ
อาจารยจ์ งประสบกบั ความสวัสดแี ละปลอดภัย และบรรลุถงึ จดุ หมายปลายทางตาม
ที่ประสงค์จ�ำนงหวัง จากนั้น คณะของท่านพระอาจารย์ก็ได้จากหมู่บ้านแห่งน้ันมา
จนในทสี่ ดุ จงึ ไดบ้ รรลถุ งึ นครยา่ งกงุ้ ราชธานโี บราณของพมา่ ดนิ แดนแหง่ ชเวดากอง
พระเจดยี ์ทองอนั เลือ่ งช่อื
เม่ือเดินทางมาถึงย่างกุ้ง คณะธุดงค์ผู้เป็นอาคันตุกะของนครโบราณเร่ิมจะมี
ความคดิ เหน็ แตกแยกกนั เสยี แลว้ กลา่ วคอื พระยศกบั พระหลอดถามทา่ นพระอาจารย์
วา่ จะเดนิ ทางไปถงึ ไหนกนั เลา่ และทจ่ี ะไปนนั้ เพอื่ สง่ิ ใด นก่ี เ็ ดนิ ทางมาไกลมากและนาน
มากแลว้ ควรจะกลบั บา้ นเสยี ที ถา้ วา่ จะเดนิ ทางไปคน้ หาธรรมะรึ ธรรมะอะไรเลา่ จะอยู่
ไกลถงึ เพยี งนี้ ธรรมะหรอื คณุ ความดนี นั้ มนั มอี ยแู่ ลว้ ในจติ ใจมใิ ชห่ รอื ทำ� ไมไมห่ าเอา
ท่ีใจตัวเอง ท�ำไมจึงต้องมาเดินทางไกลให้ล�ำบากถึงเพียงน้ี ท่านพระอาจารย์ได้ฟัง
พระยศกบั พระหลอดว่าดงั นั้น ท่านจึงถามออกไปว่า ท่ีพดู เชน่ น้ีนน้ั เธอจะไปหรือ
ไมไ่ ปเลา่ พระยศกบั พระหลอดจงึ วา่ ไมไ่ ป ทา่ นพระอาจารยจ์ งึ วา่ ไมไ่ ปกก็ ลบั เธอทง้ั สอง
ตอ้ งกลบั ฉนั จะไปของฉนั เอง เมอื่ ตกลงกนั เดด็ ขาดเชน่ นน้ั แลว้ ทา่ นพระอาจารยจ์ งึ สง่
พระยศกบั พระหลอดกลบั โดยสง่ ไปกบั ยานพาหนะทจ่ี ะกลบั ถงึ เขตตอ่ แดนไทย จงึ เปน็
อนั วา่ คณะพระธดุ งคท์ งั้ สามผไู้ ดร้ ว่ มทกุ ขร์ ว่ มสขุ กนั มาแตต่ น้ ตอ้ งมามอี นั แตกสลาย
ไปจากกนั ในทสี่ ดุ แตม่ ใิ ชว่ า่ พระยศกบั พระหลอดสานศุ ษิ ยท์ ง้ั สองของทา่ นพระอาจารย์
ผู้ได้รับโอวาทค�ำสั่งสอนจากท่านมาโดยตลอดจะคิดคดทรยศเอาใจออกห่างท่านนั้น
หามิได้ ความเห็นท่ีพวกเขาแสดงออกมาด้วยวาจานั้น เป็นความคิดเห็นที่มีอยู่ใน
จิตใจจริงๆ มิใช่ด้วยทิฏฐิมานะ แม้ว่าดูค่อนข้างจะรุนแรงและเอนเอียงไปในทาง
สบประมาททา่ นอยบู่ า้ ง แตท่ า่ นพระอาจารยก์ ม็ ไิ ดถ้ อื สา เพราะทา่ นรดู้ วี า่ ทฏิ ฐคิ อื ความ
236
คิดเห็นมันยอ่ มมีอยู่เปน็ ของตายตวั ในตัวใครๆ ทุกคน แต่ถา้ หากมคี วามเชื่อมน่ั ใน
ตวั เองอยา่ งถกู ตอ้ งแลว้ กย็ อ่ มมสี ทิ ธทิ จ่ี ะแสดงออกมาใหผ้ อู้ น่ื เหน็ หรอื เขา้ ใจได้ และ
ในกรณที ส่ี านศุ ษิ ยท์ ง้ั สองของทา่ นมเิ ตม็ ใจทจี่ ะเดนิ ทางตอ่ ไปดว้ ยแลว้ กใ็ หเ้ ขากลบั ไป
ถา้ จะบังคับใหอ้ ย่หู รอื ใหเ้ ดินทางร่วมไปดว้ ยอกี กม็ แี ตจ่ ะเปน็ ทกุ ขเ์ สียเท่าน้ัน ไหนๆ
เขากไ็ มส่ มคั รใจไปดว้ ยเราอกี แลว้ กป็ ลอ่ ยใหเ้ ขาไปโดยดๆี กวา่ พระยศกบั พระหลอด
เมอื่ ไดต้ ัดสินใจดงั น้นั จงึ ได้กราบลาทา่ นพระอาจารย์ และท่านพระอาจารย์จึงไดใ้ ห้
โอวาทสงั่ สอนพระภกิ ษทุ งั้ สองนน้ั เปน็ ครง้ั สดุ ทา้ ย แลว้ จากนน้ั ทงั้ สองฝา่ ยคอื อาจารย์
กบั ศิษยก์ ็จากกนั
ตอ่ มา ทา่ นพระอาจารยไ์ ดบ้ รรลถุ งึ วดั แหง่ หนง่ึ ในเมอื งยา่ งกงุ้ พรอ้ มกบั เดก็ ชายนอ้ ย
ผเู้ ปน็ หลาน จงึ เขา้ ไปขอพกั พาอาศยั อยใู่ นวดั กบั ทา่ นเจา้ อาวาส เรอ่ื งภาษานนั้ นบั ตง้ั แต่
เขา้ เขตพมา่ มา ไมเ่ คยพดู รเู้ รอ่ื งกนั เลย ดตี อนทพ่ี กั อยกู่ บั ทา่ นพระครทู ห่ี มบู่ า้ นชาวลาวนน้ั
เพราะมนั เหมอื นกบั อยบู่ า้ นเราทุกอยา่ ง ทง้ั ภาษาทพี่ ูด ทัง้ อาหารการขบฉนั แตพ่ อมา
เขา้ กลมุ่ พมา่ เขาพดู มาหรอื เราพดู ไป มนั ไมร่ เู้ รอ่ื งกนั ทง้ั นน้ั ตอ้ งใชภ้ าษามอื ไมช้ ก้ี ลบั
หนา้ มาหลงั แทนภาษาพดู และธรรมเนยี มการทำ� บญุ ตกั บาตรนนั้ บา้ นเขากไ็ มเ่ หมอื น
กบั บา้ นของเรา พระเขาออกบณิ ฑบาตแตด่ กึ ประมาณตหี นง่ึ แลว้ ไปบณิ ฑฯ เอาอกี เมอื่
จวนเพล ท่านพระอาจารย์ท�ำด้วยไม่ได้ เพราะเป็นผเู้ ครง่ ครัดวินยั มาแต่เดิม จงึ ตอ้ ง
อาศยั เดก็ นอ้ ยใหไ้ ปซอื้ ขา้ วปลาอาหารมาฉนั กนิ กนั สองคน เพราะบณิ ฑบาตไมไ่ ดแ้ ลว้
จะเป็นเพราะเหตุข้อนี้ขอ้ หนง่ึ กระมัง ท่ีพระยศกับพระหลอดลากลับบา้ น ด้วยวา่ มนั
ลำ� บากเรอ่ื งอาหารการขบฉนั ถา้ จะอาศัยแตป่ จั จัยทีค่ นเขาถวายมาตามทาง กเ็ กรงว่า
จะไม่พอ ปัจจัยก็นับวันแต่จะร่อยหรอลงทุกวันๆ ขณะท่ีตกอยู่ในภาวะอย่างนั้น
ทา่ นพระอาจารยจ์ ึงฉันอาหารแตพ่ อประทงั หิว จะให้อิ่มนักก็ไม่ได้ เพราะปจั จยั น้อย
และก�ำลงั พจิ ารณาอยู่วา่ จะทำ� อยา่ งไรตอ่ ไป จะกลับดีหรอื ว่าจะไปตอ่ ดี
กพ็ อมอี บุ าสกพมา่ นายหนงึ่ มาพบทา่ นเขา้ จงึ เกดิ ความเลอื่ มใสเหน็ เปน็ พระธดุ งค์
กรรมฐานมาแตเ่ มอื งไกล แกจงึ ขอปวารณาตวั เพอื่ รบั ใชท้ า่ นพระอาจารย์ แรกทเี ดยี ว
แกมาขอฟงั ธรรม แต่มีปญั หาเรื่องภาษาพดู อุบาสกคนนั้นแกนึกข้นึ ได้ จงึ ไปตาม
237
คนๆ หนงึ่ มา เปน็ คนลาว จงึ พดู ลาวไดใ้ หม้ าชว่ ยเปน็ ลา่ มให้ ดงั นนั้ วนั นน้ั ทา่ นพระอาจารย์
จงึ เทศนาผา่ นลา่ มใหอ้ บุ าสกกลุ าจอ่ งฟงั อบุ าสกพมา่ ไดฟ้ งั ธรรมของทา่ นพระอาจารย์
กเ็ กดิ ปตี ปิ ราโมทยป์ ลาบปลมื้ ใจ ขอนมิ นตใ์ หท้ า่ นพระอาจารยย์ า้ ยจากวดั นน้ั ไปอยอู่ กี
วดั หนงึ่ ซงึ่ อยเู่ ลยใจกลางเมอื งยา่ งกงุ้ ไปอกี ฟากขา้ งหนง่ึ ชอ่ื วดั นนั้ วา่ “กลุ าจอ่ ง” แกให้
เหตผุ ลแกท่ า่ นพระอาจารยว์ า่ ถา้ ไปพกั อยทู่ นี่ น่ั จะสะดวกสบายดี เพราะเปน็ วดั ทบี่ ดิ า
มารดาของแกเปน็ คนสรา้ ง อยา่ งไรเสยี กน็ มิ นตท์ า่ นพระอาจารยไ์ ปพกั ดกู อ่ น จะอยจู่ ะไป
กค็ อ่ ยวา่ กนั ทหี ลงั พอไดฟ้ งั ดงั นน้ั ทา่ นพระอาจารยจ์ งึ พาเดก็ นอ้ ยหลานชายอำ� ลาทา่ น
เจา้ อาวาสวดั นน้ั ออกไปพกั ทวี่ ดั กลุ าจอ่ ง ตามคำ� นมิ นตข์ องนายอบุ าสกชาวฮลั เลวงั กา
ครนั้ มาถงึ วดั กลุ าจอ่ ง สมภารวดั จงึ ออกมาตอ้ นรบั ตามประเพณชี าวพทุ ธ จากนนั้
จงึ นำ� ทา่ นพระอาจารยก์ บั เดก็ ผหู้ ลานขนึ้ ไปพกั บนชนั้ สองของศาลาโรงธรรมหลงั ใหญ่
หลงั หนง่ึ อนั เปน็ สถานทสี่ ำ� หรบั ตอ้ นรบั อาคนั ตกุ ะของวดั เมอ่ื อบุ าสกคนนนั้ มาสง่ ทา่ น
พระอาจารย์ถงึ ท่ีอยแู่ ลว้ ก็ลากลับไป
วันต่อมาตอนเช้ายงั ไมเ่ หน็ อุบาสกพม่าคนนั้นมาหาเลย ทา่ นพระอาจารยจ์ ึงให้
เด็กเจียดทรัพย์ไปซ้ือกับข้าวมาฉนั จังหัน เวลาวันนัน้ ขณะท่ีท่านพระอาจารย์กำ� ลังนั่ง
พกั ผอ่ นอยบู่ นทพี่ ักในหอ้ งโถงใหญ่ของศาลา ทนั ใดนัน้ ท่านกเ็ หลือบไปเห็นสามเณร
ลกู วดั เจา้ ถนิ่ รปู หนง่ึ กำ� ลงั ยนื อยตู่ รงประตใู หญ่ จดหมดั ตงั้ ทา่ มวยมาใสท่ า่ น ประเดยี๋ ว
เดยี วกแ็ วบ็ หายไป อกี สกั ครกู่ โ็ ผลม่ ายนื อยทู่ ป่ี ระตอู กี ดา้ นหนงึ่ ตง้ั ทา่ มวยหราใสท่ า่ นอกี
แล้วก็แผล็บหายไป สักประเดี๋ยวก็กลับมาท�ำอย่างน้ันอีก หลายครั้งหลายคราว
เมอ่ื ทา่ นพระอาจารยเ์ หน็ ดงั นนั้ จงึ มาพจิ ารณาวา่ เหน็ จะไมเ่ หมาะเสยี แลว้ ถา้ มนั เปน็
อยใู่ นรปู น้ี มนั ยอ่ มเปน็ เครอ่ื งบง่ ชดั วา่ วดั นเ้ี ขามกี ารอบรมสง่ั สอนพระเณรกนั อยา่ งไร
นี่แสดงว่าเขาไม่ได้อบรมแนะน�ำพร�่ำสอนพระเณรด้วยข้อวัตรปฏิบัติและกิริยา
มารยาทเลย มนั จงึ เปน็ เชน่ นี้ ลงวา่ พระเณรทำ� อยา่ งนไ้ี ดแ้ ลว้ เรอื่ งการรกั ษาพระวนิ ยั
สกิ ขาบทใหญน่ อ้ ยทงั้ ปวงทง้ั อาบตั หิ นกั อาบตั เิ บา มนั คงเลอะเทอะเปรอะเปอ้ื นเปน็ แน่
ถงึ แมว้ า่ เราจะวางเฉยเสยี แลว้ และอยทู่ นี่ ตี่ อ่ ไป กค็ งไมค่ มุ้ คา่ เหนอื่ ย ไหนๆ เรากไ็ มไ่ ด้
ตง้ั ใจวา่ จะมาตง้ั รกรากอะไรทน่ี แี่ ลว้ เมอ่ื เปน็ เชน่ น้ี เรากก็ ลบั ไปเสยี จะดกี วา่ อยา่ งนอ้ ย
238
ถงึ แมว้ า่ เรายงั ไมม่ โี อกาสจะไดไ้ ปอนิ เดยี มนั กไ็ มไ่ กลนกั ไปอยกู่ บั ทา่ นพระครเู มอื งลาว
โนน่ ยงั จะดเี สยี กวา่ ทา่ นพระอาจารยค์ ดิ เชน่ นน้ั แลว้ จงึ พาเดก็ นอ้ ยเดนิ ทางกลบั มาพกั
ทว่ี ัดเก่าแรกมาถึงย่างกงุ้ หวังวา่ จะอยชู่ ัว่ คราวกอ่ น
รงุ่ ขนึ้ การขบฉนั กฉ็ นั จงั หนั ทเี่ ดก็ ไปซอื้ มาอกี ตามเคย และฉนั แตน่ อ้ ย ปจั จยั กจ็ วน
จะหมดสน้ิ ใจหนงึ่ อยากจะกลบั ไปหมบู่ า้ นชาวลาวดงั ทค่ี ดิ แตอ่ กี ใจหนงึ่ อยากจะไปให้
ถงึ ประเทศอนิ เดยี เพราะไหนๆ มนั กไ็ ด้มาถึงน่ีแล้ว กำ� ลงั คดิ ทบทวนอยกู่ ็พอดเี ป็น
เวลาเย็น จึงเห็นอุบาสกพม่านายน้ันตามมาพร้อมกับล่ามคนเดิม แกบอกว่าเช้านี้
ตดิ ธรุ ะสำ� คญั จรงิ ๆ มาหาทา่ นไมไ่ ดก้ เ็ สยี ใจอยู่ พอไปหาทว่ี ดั นนั่ กไ็ มพ่ บทา่ นเสยี แลว้
ถามใครๆ กไ็ ม่ร้วู ่าท่านไปไหน คิดวา่ ทา่ นอาจารยจ์ ะออกไปจากยา่ งกงุ้ เสียแล้ว แต่ก็
ลงั เลอยู่ จงึ ลองตามมาทน่ี ดี่ กู พ็ บทา่ น แลว้ แกกถ็ ามถงึ สาเหตทุ ท่ี า่ นพระอาจารยร์ บี เรง่
ออกมาเสยี จากวดั กลุ าจ่องนัน้ ทา่ นพระอาจารยจ์ ึงอธิบายให้แกทราบว่าเร่ืองราวและ
ความคดิ ของทา่ นเปน็ เชน่ ไร เมอ่ื อบุ าสกคนนนั้ แกรดู้ งั นน้ั จงึ ขออโหสกิ รรมขมาลาโทษ
ทา่ นแทนสามเณร และสมภารทปี่ ระมาทพลาดพลง้ั เพราะรเู้ ทา่ ไมถ่ งึ การณ์ และเผอเรอ
มิได้เอาใจใส่ เสรจ็ แลว้ แกก็เฝา้ อปุ ฏั ฐากท่านพระอาจารย์ต้งั แตน่ ้นั
วนั หนงึ่ ตอ่ มา มพี ระภกิ ษชุ าวไทยรปู หนง่ึ ผอู้ ยใู่ นประเทศพมา่ ไมป่ รากฏชอื่ และ
ถน่ิ ทอี่ ยอู่ นั แทจ้ รงิ ไดม้ าพบทา่ นเขา้ ทว่ี ดั นน้ั พระรปู นน้ั เลา่ วา่ ไดเ้ คยไปอนิ เดยี มาแลว้
จึงพอจะรจู้ กั ลู่ทางอยู่ และถา้ ทา่ นพระอาจารยอ์ ยากจะไปก็อาสาจะพาไป จะขอเปน็
ผนู้ ำ� ทางให้ เมอ่ื ไดฟ้ งั ดงั นน้ั มนั เหมอื นกบั มคี นมาเปดิ ฝาหบี ออกให้ ทา่ นพระอาจารย์
กับเดก็ น้อยดีใจนักหนา คดิ วา่ จะได้ไปอนิ เดียกนั ก็คราวนี้ ตั้งใจไวน้ านแลว้ ว่าจะไป
นมสั การสงั เวชนยี สถานทง้ั ๔ บดั นก้ี เ็ หน็ จะสมความคดิ แลว้ และแลว้ การเดนิ ทางไกล
สแู่ ดนพทุ ธภมู ิ อนั เปน็ การเดนิ ทางครงั้ สำ� คญั ซอ้ นสองของทา่ นพระอาจารยก์ ไ็ ดเ้ รม่ิ ขนึ้
จนกระท่ังท่านพระอาจารย์กับเด็กน้อยได้บรรลุถึงสถานที่อันศักด์ิสิทธิ์แห่งพระพุทธ
ศาสนาสมเจตจ�ำนงหมาย
หลังจากนนั้ แล้ว ท่านพระอาจารยจ์ งึ ได้นำ� คณะเดินทางกลบั พมา่ แต่เส้นทาง
เดินกลับนั้น จะเป็นทางใดก็ไม่อาจทราบได้อีกเหมือนกัน มีบางเสียงกล่าวว่าการ
239
เดินทางกลับจากอินเดียครั้งนั้น ท่านพระอาจารย์กลับโดยทางเรือ แต่ความข้อน้ัน
ไม่น่าจะเชื่อถอื ได้ เพราะเหตุว่าการเดนิ ทางกลบั ของทา่ นคร้งั น้ี มิไดก้ ลับมาบา้ นเกิด
เสยี ทเี ดยี วเลย กลา่ วคอื พอกลบั จากอนิ เดยี แลว้ ทา่ นพระอาจารยไ์ ดใ้ ชเ้ วลาอยจู่ ำ� พรรษา
ในประเทศพม่าอกี ถึง ๑๒ ปี ขอ้ ทว่ี ่าทา่ นพระอาจารย์กลบั เมอื งไทยโดยทางเรือนนั้
ถ้าเป็นจริง ก็อาจจะเป็นการกลับจากพม่าหลังจากท่ีได้อยู่จ�ำพรรษาอยู่ถึง ๑๒ ปี
ดงั กล่าวแลว้ ดว้ ยเหตผุ ลนี้นา่ จะชดั แจ้งกว่า
ขากลับจากอินเดียสู่ประเทศพม่านั้น ท่านพระอาจารย์อาจจะอาศัยพาหนะ
มรี ถยนตแ์ ละรถไฟบา้ งเหมอื นกบั เทยี่ วไป ครน้ั กลบั มาถงึ พมา่ แลว้ ในระยะน้ี เชอ่ื วา่ ทา่ น
พระอาจารยค์ งจะแยกทางกบั พระภกิ ษชุ าวไทยผเู้ ปน็ มคั คเุ ทศกน์ ำ� ทางไปอนิ เดยี รปู นน้ั
แล้วจะยังมิได้จ�ำพรรษาในเขตพม่าก่อน เนื่องจากตามค�ำบอกเล่าท่ีสืบทราบน้ันว่า
ขณะทจ่ี ำ� พรรษาอยพู่ มา่ ทา่ นพระอาจารยอ์ ยรู่ ปู เดยี ว ไมม่ เี ดก็ จงึ อาจจะสนั นษิ ฐานไดว้ า่
พอกลบั จากอนิ เดยี ทา่ นพระอาจารยก์ น็ ำ� เดก็ นอ้ ยผเู้ ปน็ หลานกลบั บา้ นของแกทอ่ี ำ� เภอ
น�้ำปาด จงั หวัดอุตรดติ ถ์ โดยในปนี ้นั อาจจะพาเดก็ จ�ำพรรษาอยกู่ ับชาวเขาเผา่ แมว้
ตามท่ีได้เล่าเร่ืองที่ท่านได้ไปพบขนบธรรมเนียมประเพณีของชาวเขาเผ่านั้นมาแล้ว
ในระยะถดั มา ครนั้ สง่ เดก็ กลบั ถงึ พอ่ แมข่ องแกแลว้ ทา่ นพระอาจารยจ์ งึ ไดเ้ ดนิ ทางกลบั
ประเทศพมา่ อกี ครง้ั หนง่ึ และนบั ตง้ั แตน่ น้ั เปน็ ตน้ มาเปน็ เวลา ๑๒ ปี ทา่ นพระอาจารย์
จึงได้จำ� พรรษาอย่พู มา่ มาตลอด
แตพ่ ออยพู่ มา่ ได้ ๑๐ ปี คนื หนง่ึ ท่านพระอาจารย์หลังจากทที่ ำ� สมาธิภาวนา
พอสมควรแลว้ จงึ ไดพ้ กั ผอ่ น ครน้ั พกั ไดไ้ มน่ าน กเ็ กดิ เปน็ นมิ ติ วา่ โยมมารดาซง่ึ เปน็ ชี
ได้มานิมนต์ให้ท่านพระอาจารย์เดินทางกลับบ้าน ท่านพระอาจารย์ติดใจในนิมิต
เหลา่ นนั้ อยถู่ งึ ๗ วนั เกดิ ความวติ กวจิ ารณม์ ากมายอยู่ จงึ พจิ ารณาวา่ คงจะมเี หตกุ ารณ์
อะไรสักอย่างเกิดขึ้นกบั โยมมารดาเปน็ แน่ หรือว่าท่านอาจจะตายเสยี แลว้ พอคดิ ได้
ดงั นน้ั จงึ ตดั สนิ ใจเดนิ ทางกลบั บา้ น การเดนิ ทางกลบั ครง้ั นท้ี ราบวา่ มาโดยทางบก อาศยั
ยานพาหนะรบี มา
240