The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ชีวประวัติและพระธรรมเทศนา หลวงปู่ทองรัตน์, หลวงปู่มี, หลวงงปู่กินรี, หลวงปู่ทา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ืทีมงานกรุธรรม, 2022-07-12 22:19:47

ชีวประวัติและพระธรรมเทศนา หลวงปู่ทองรัตน์, หลวงปู่มี, หลวงงปู่กินรี, หลวงปู่ทา

ชีวประวัติและพระธรรมเทศนา หลวงปู่ทองรัตน์, หลวงปู่มี, หลวงงปู่กินรี, หลวงปู่ทา

Keywords: ชีวประวัติและพระธรรมเทศนา หลวงปู่ทองรัตน์, หลวงปู่มี, หลวงงปู่กินรี, หลวงปู่ทา

กับตาแล้วไมต่ อ้ งการละเวน้ บาป ความช่วั มแี ต่กระท�ำชั่วด้วย กาย วาจา ใจ เช่นน้ี
คน ๒ คนนอี้ ยากจะถามอีกว่าใครจะชอบข้างไหน

ผ้เู ขียนก็เขา้ ใจคิดวา่ ผู้จะเห็นด้วยผู้มปี ญั ญานอ้ ยแลว้ ไม่ทำ� บาปที่เป็นความชัว่
เพราะกลวั ตกนรกนน้ั และมากกวา่ อกี ตกลงวา่ นรกสวรรคจ์ ะไมม่ จี รงิ กต็ าม หรอื นรก
สวรรค์จะมีจริงก็ตาม คนผู้มีปัญญาน้อยแล้วรีบละความช่ัวกลับท�ำความดี มันก็ดี
เท่านั้น จะมีบาปมีกรรมมีโทษแต่ที่ไหน แต่ผู้หนักทางเหตุผลมีปัญญามากถือว่า
ไม่เหน็ นรกสวรรคก์ ับตาแลว้ ไม่เช่อื นรกสวรรค์ ทง้ั ทนี่ รกสวรรค์ไม่มีจรงิ หรอื นรก
สวรรคม์ ีจริง แตเ่ มื่อไมล่ ะความชวั่ คอื ทำ� แต่ความชว่ั ก็ต้องชวั่ อยแู่ ล้ว และไมไ่ ด้ทำ� ดี
กไ็ มไ่ ด้ดเี ทา่ นน้ั

ถา้ มคี นผหู้ นงึ่ เดนิ ทางไกลไปถงึ ชายดงแหง่ หนง่ึ เหน็ หนงั สอื ทปี่ า้ ยทเี่ ขาจารกึ บอก
ไวว้ า่ ทน่ี อ้ี ยา่ นอนเพราะมเี สอื รา้ ยตวั ใหญม่ าก คนผนู้ นั้ จะนอนหรอื ไมน่ อน หรอื จะวา่
ไมเ่ หน็ ตวั เสอื กบั ตาเมอื่ ใดกจ็ ะนอน กแ็ ลว้ แตค่ วามเหน็ แตเ่ มอ่ื นอนเลา่ จะวา่ มปี ญั ญา
หรือไม่มีปัญญา ถ้าไมน่ อนเลา่ จะวา่ ฉลาดหรือไมฉ่ ลาด

อนึ่ง สมมุติว่าบุรุษผู้น้ันเดินทางต่อไปอีกไปไม่สู้ไกลเท่าไรนัก ก็ถึงสถานท่ี
แหง่ หนงึ่ เปน็ สถานทที่ ด่ี มี าก เปน็ ทใ่ี กลภ้ เู ขา มจี ารกึ หนงั สอื ตดิ ไวก้ บั หนิ แตโ่ บราณวา่
จากกอ้ นหนิ กอ้ นนไ้ี ปทศิ เหนอื ๕ วา เปน็ บอ่ แกว้ เตม็ ไปดว้ ยแกว้ พเิ ศษทด่ี มี คี า่ มากยงิ่ นกั
ถา้ ขดุ ลงไปใหล้ กึ ได้ ๓ ศอกเทา่ นน้ั กจ็ ะพบแกว้ มากมาย เอาเทา่ ไรกไ็ ด้ และปา้ ยบอกวา่
จากกอ้ นหนิ ใหญน่ ไี้ ปทางทศิ ใต้ ๕ วา เปน็ บอ่ เพชรพลอย เมอื่ ขดุ ลงไปลกึ ได้ ๒ ศอก
กจ็ ะเตม็ ไปดว้ ยเพชรพลอยอยา่ งดที ส่ี ดุ ขดุ เถดิ หาภยั มไิ ด้ บรุ ษุ ผนู้ น้ั เมอ่ื ไมเ่ หน็ แกว้ แล
เพชรพลอยกบั ตาแลว้ กเ็ ลยไมเ่ ชอ่ื วา่ จะเปน็ ได้ กเ็ ปน็ อนั วา่ ไมข่ ดุ กนั เมอื่ ไมข่ ดุ เชน่ นนั้
จะว่าฉลาดหรอื ว่าโง่

ถา้ ขดุ เลา่ สสู้ ละแรงทงั้ ทไ่ี มเ่ หน็ กบั ตากอ่ นแลว้ จะวา่ มปี ญั ญาหรอื โง่ หรอื ไมเ่ หน็
กับตาก็เช่ืออยู่ และท่ีน้นั ก็มีแกว้ แลเพชรพลอยจรงิ แต่ไมข่ ดุ เลา่ จะว่าโงห่ รือปัญญา
ทจ่ี รงิ เมอื่ ความจรงิ มนั มอี ยแู่ ลว้ ถงึ ไมเ่ หน็ กบั ตามนั กม็ อี ยนู่ น้ั เอง เหมอื นไฟทมี่ นั มอี ยู่

143

ในไม้ ในหนิ ถงึ ไมเ่ หน็ มนั ลกุ เปน็ เปลวขนึ้ ใหเ้ หน็ มนั กม็ อี ยู่ แตเ่ มอ่ื ไมไ่ ดเ้ หตอุ นั หนง่ึ
กไ็ มแ่ สดงตวั ตอ่ เมอ่ื คนเอาไมท้ แ่ี หง้ มไี มไ้ ผเ่ ปน็ ตน้ สกี นั เขา้ กเ็ กดิ ไฟปรากฏ หรอื เอาหนิ
เอาเหลก็ ประหารกนั กม็ ีแสงจ้าออกมาใหเ้ ห็นให้รู้ไดว้ ่าไฟมี หรอื อีกอย่างหนึง่ เมือ่ ไป
ในดงหรือใกล้ดงแห่งหน่ึง ถ้าไปเห็นข้ีช้างหรือรอยเสือเข้าแล้ว ถึงไม่เห็นตัวมัน
ก็เปน็ ของน่าคิดว่าตัวมันมอี ยู่ในดงนี้ ควรระวงั มันอยู่แลว้ หรอื ไม่เห็นข้ีไมเ่ ห็นรอย
แตไ่ ดย้ นิ เสยี งมนั รอ้ งชดั เจน ถา้ อยา่ งนกี้ น็ า่ คดิ วา่ ตวั ชา้ งตวั เสอื จรงิ มนั คงจะมแี น่ เพราะ
ได้ยินเสียงให้เป็นท่ีเข้าใจ เท่าที่เขียนมานี้ก็คือข้อเขียนให้เป็นเร่ืองเตือนให้คิดและ
เพอื่ พิจารณาฯ

144

ตนเป็นทีพ่ ง่ึ ของตน

ก่อนแต่จะกล่าวถึงพระไตรสรณคมน์ อนั เป็นทรี่ ะลกึ ที่พึ่ง ท่ีจะกลา่ วข้างหน้านี้
ปรารถนาจะกลา่ วคำ� ทว่ี า่ ตนเปน็ ทพี่ ง่ึ ของตนกอ่ น เพอ่ื จะไดเ้ ขา้ ใจเอาความทงั้ สองอยา่ ง
และเพื่อจะได้ถือเอาประโยชน์แต่การมีตนเป็นที่พึ่ง และมีพระพุทธเจ้า พระธรรม
พระสงฆ์ เปน็ ทพ่ี ง่ึ ตอ่ ไป ในเมอื่ ตนนกึ ถงึ ตนขนึ้ ไดว้ า่ ในอนั จะหาความดใี สต่ นของเรา
ตนจะได้ มคี วามสขุ ความเจรญิ ใสต่ นของเรา กเ็ พราะมตี นเปน็ หลกั เปน็ ทพี่ ง่ึ แกต่ นกอ่ น

การตงั้ ใจและพิจารณาเหน็ ได้ดังทีก่ ล่าวมาน้ี เปน็ การชอบแก่ความจริงโดยแท้
ไดใ้ นบาลที ่ีรบั เข้ามาวา่ อตตฺ า หิ อตฺตโน นาโถ ฯลฯ นาถํ ลภติ ทลุ ฺลภํ แปลวา่
ตนน้ันแหละเป็นที่พ่ึงของตน คนอ่ืนใครเล่าพึงเป็นที่พึ่งได้ เม่ือบุคคลมีตนอันฝึก
ดแี ลว้ ยอ่ มไดท้ พ่ี ง่ึ อนั เขาไดด้ ว้ ยยาก ความวา่ สงิ่ ทเี่ ราจะพงึ่ ตวั เรากค็ อื กาย วาจา ใจ
กายเราจะพงึ เวน้ กระทำ� ความชว่ั แลว้ กระทำ� ความดมี าใสต่ วั เราเอง วาจาจะพงึ เวน้ วาจา
ทผี่ ดิ เสยี แลว้ กลา่ ววาจาทชี่ อบมาใสต่ วั เรา ใจจะพงึ คดิ เวน้ ทางทผ่ี ดิ เสยี แลว้ คดิ หาทาง
ชอบคิดหาความดีมาใส่ตัวเราเอง หรือถ้าว่าทางกิจบ้านการเรือนก็อย่างเดียวกันน้ี
อตตฺ โน นาโถ พง่ึ ตนเปน็ หลกั กอ่ นเปน็ ดี ฯลฯ หรอื เรยี กวา่ เราจะตอ้ งพงึ่ ตา หู จมกู ลนิ้
กาย ใจ ของเรานี้เปน็ สำ� คัญ

เหมอื นอย่างวา่ ถึงพระพุทธเจา้ พระธรรม พระสงฆ์ เป็นทพี่ ึง่ ถา้ ใจเราไม่เอา
เราไมถ่ งึ จะใหผ้ อู้ น่ื ถึงให้จะไดอ้ ย่างไร ศลี ๕ ถา้ เราไมร่ ักษาเองดว้ ยตัวเรา ใครจะ

145

รกั ษาใหเ้ ราไดเ้ ลา่ หรอื เหมอื นหวิ ขา้ ว ถา้ เราไมก่ นิ เอง จะพง่ึ ผอู้ น่ื ใหค้ นอนื่ กนิ ให้ จะได้
แตท่ ไี่ หน ทพ่ี ระพทุ ธเจา้ พระธรรม พระสงฆ์ จะเปน็ ทพ่ี งึ่ เราได้ เราจะเอาทา่ นเปน็ ทพี่ ง่ึ
เราตอ้ งตง้ั ใจเอาความดเี ปน็ ทพ่ี ง่ึ แกต่ นกอ่ น ถา้ ไมอ่ ยา่ งนน้ั ทา่ นเปน็ ทพี่ ง่ึ ใหไ้ มไ่ ดเ้ ลย
ในท่นี ีจ้ ะน�ำนทิ านเรอื่ งหนึ่งน�ำมาเป็นตัวอยา่ ง

ดงั ไดย้ นิ มาและถอื เอาความวา่ เรอื่ งยายสอ้ น ทแี่ กมแี ตช่ อ้ นปลาเปน็ ปกติ คอื วา่
มยี ายคนหนง่ึ ชอื่ ยายสอ้ น แกมแี ตจ่ ะเอาชอ้ นปลาของแกเปน็ นติ ยเ์ ปน็ อาจณิ แกไมไ่ ด้
ท�ำไวใ้ นใจทางพระพุทธเจา้ พระธรรม พระสงฆ์ เลย ไม่มีศรทั ธาในทางอนั จะเข้าวัด
ฟังธรรม จำ� ศลี ภาวนา อันเป็นทางทจี่ ะได้ท่ีพึง่

ในวาระสมยั หนงึ่ พระอานนทไ์ ด้ทูลถามพระพทุ ธเจา้ วา่ ขา้ แต่พระองค์ผู้เจรญิ
พระเจา้ ขา้ สว่ นคนอน่ื ทอี่ ยทู่ างไกลหรอื ใกล้ (ถงึ ทางไกลแสนโยชน)์ พระองคก์ ไ็ ปโปรด
แตย่ ายส้อนอย่ใู กล้นี้ เปน็ เหตุใดพระองค์ไมท่ รงพระกรุณาโปรดพระเจ้าข้า

พระผมู้ พี ระภาคพทุ ธเจา้ ตรสั ตอบพระอานนทว์ า่ ดกู อ่ นอานนท์ อนั คนไมเ่ อาแลว้
ถึงโปรดก็ไม่ไดป้ ระโยชน์อนั ใด ดูก่อนอานนท์ เราตถาคตจะทำ� ใหอ้ านนทด์ ู

ครน้ั แลว้ พระองคก์ เ็ ปลง่ รศั มไี ปสกดั หนา้ ยายสอ้ นเมอื่ เวลาชอ้ นปลาอยู่ เนรมติ
ใหเ้ ปน็ พระพทุ ธเจา้ องคห์ นงึ่ ประทบั อยเู่ ฉพาะหนา้ ยายสอ้ นเหน็ เมอื่ ยายสอ้ นแกกำ� ลงั
ชอ้ นปลาแลไปเหน็ พระพทุ ธเจา้ เนรมติ แกกเ็ บอื่ นกั แลว้ แกกห็ นั หนา้ ไปอกี ทศิ หนงึ่ แลว้
ช้อนปลาต่อไป พระพุทธเจ้าก็เปล่งรัศมีไปสกัดหน้า เนรมิตให้เป็นพระพุทธเจ้าอีก
องคห์ น่งึ ทางทิศน้นั ยายส้อนแลเหน็ เข้าก็ไมถ่ กู ใจ คดิ เกลียดชงั แลว้ ก็หันหนา้ ไปอกี
ทศิ หนงึ่ ชอ้ นปลาตอ่ ไปอกี พระพทุ ธเจา้ กเ็ ปลง่ รศั มไี ปอกี เนรมติ เปน็ พระพทุ ธเจา้ อกี
องค์หน่ึงสกัดหน้ายายส้อน เม่ือยายส้อนแลไปเห็นก็ร�ำคาญไม่ยินดี แล้วจึงกลับ
หนั หนา้ ชอ้ นปลาไปอกี อนั เปน็ ทศิ ท่ี ๔ พระพทุ ธเจา้ กเ็ ปลง่ รศั มไี ปเนรมติ เปน็ พระพทุ ธเจา้
อกี องคห์ น่งึ ประทับน่ังเฉพาะหนา้ ยายสอ้ นแลเห็นเขา้ กร็ อ้ นใจไมส่ บาย เลยเงยหน้า
แหงนข้ึนฟ้าแลตาไปบนฟ้าเพื่อจะไม่ได้เห็น พระพุทธเจ้าก็เปล่งรัศมีเนรมิตเป็น
พระพทุ ธเจา้ อกี องคห์ นง่ึ บนฟา้ ยายสอ้ นแลเหน็ เขา้ กก็ ลบั หนา้ กม้ หนา้ แลลงดนิ คราวน้ี

146

พระพทุ ธเจา้ กเ็ ลยไมเ่ ปลง่ รศั มสี กดั ทศิ ใต้ เพราะพระพทุ ธเจา้ ไมย่ อมอยใู่ ตค้ น จะอยู่
ใต้คนไมไ่ ด้ แล้วแผ่นดินก็สบู ยายส้อน

คำ� วา่ แผน่ ดนิ สบู ยายสอ้ น น้ี จะสบู หายไปใตด้ นิ จรงิ ๆ กต็ าม หรอื ไมส่ บู หายไป
เช่นน้ันกต็ าม ท่พี ระพุทธเจา้ โปรดอยู่เฉพาะหน้าแล้วไมร่ ับเอาความดีเลยแมแ้ ต่นอ้ ย
ไมไ่ ดป้ ระโยชนอ์ นั ใดแมอ้ ยา่ งหนง่ึ ยายสอ้ นนนั้ กไ็ มใ่ ชค่ นเปน็ คอื คนตายนน้ั เอง กช็ อ่ื วา่
ลงไปใตด้ นิ โดยแทท้ ม่ี ลี มหายใจเขา้ ออกอยู่ กช็ อ่ื วา่ เหมอื นคนตายทฝ่ี งั ในหลมุ ใตด้ นิ
กเ็ หมือนกันฉะนนั้ ถา้ แผ่นดนิ สูบยายส้อนหายไปจริงๆ ก็แล้วไป ถ้าไม่สูบใหห้ ายไป
กช็ ่ือวา่ แผ่นดินสูบแท้ เหมอื นแผน่ ดินสบู น้ันเอง เพราะเหมือนแผ่นดนิ สบู ไปใต้ดนิ
ก็เหมือนกนั

นแ้ี ล อนั คนไมเ่ อาแลว้ คนไมเ่ ปน็ ทพ่ี ง่ึ แกต่ นแลว้ น้ี พระพทุ ธเจา้ กเ็ ปน็ ทพ่ี ง่ึ ใหไ้ มไ่ ด้
อยา่ งยายสอ้ นนเี้ ปน็ ตวั อยา่ ง ถา้ ตนเปน็ ทพ่ี งึ่ แกต่ นเอง คอื เปน็ ผเู้ อา เปน็ ผรู้ บี หาความดี
ใสต่ นแล้ว พระพุทธเจ้ากเ็ ป็นที่พึง่ ได้ เหมอื นอย่างพระราชามหากบลิ กับนางอโนชา
ผเู้ ปน็ มเหสี ไดข้ า่ ววา่ จากพอ่ คา้ ทม่ี าแตเ่ มอื งอน่ื (เมอื งสาวตั ถ)ี บอกขา่ ววา่ พทุ โฺ ธ คอื
พระพทุ ธเจา้ เกดิ ข้นึ แลว้ ในโลก ค�ำว่า พทุ โฺ ธ นี้ ยากจะได้ยนิ ไดฟ้ ังย่ิงนัก แลว้ ก็ได้
พระราชทานใหร้ างวลั แกพ่ อ่ คา้ หลายแสน จงึ เสดจ็ ทรงมา้ ออกไปผนวช สว่ นนางอโนชา
เสดจ็ ออกทหี ลงั ทส่ี ดุ กไ็ ดส้ ำ� เรจ็ พระอรหนั ตด์ ว้ ยกนั ทงั้ สอง นเ้ี ปน็ ตวั อยา่ งผเู้ ปน็ ทพ่ี งึ่
ตนแล้ว พระพุทธเจา้ ก็ทรงโปรดเปน็ ที่พึง่ ได้อย่างน้ี

ตอ่ ไปนจี้ ะกลา่ วพระไตรสรณคมนต์ อ่ ไป คำ� วา่ ไตรสรณคมน์ กค็ อื พระพทุ ธเจา้
พระธรรม พระสงฆ์ นน้ั เอง ทไ่ี ดแ้ กค่ ำ� วา่ พระรตั นตรยั ดว้ ย รตั นะ แปลวา่ แกว้ ตรยั
แปลว่า ๓ ถือเอาความวา่ พระพทุ ธเจา้ พระธรรม พระสงฆ์ เป็นแกว้ ๓ ประการ
อนั เปน็ ทีป่ ีติยนิ ดีเอิบอิ่มใจแกผ่ ู้ไดผ้ ู้ถึงและเหน็ แจง้ ด้วยปญั ญา ยงิ่ กว่าแก้วภายนอก
แตจ่ ะพจิ ารณาตรกึ ตรองใหเ้ ขา้ ใจเพยี งใดแลเหน็ แจง้ ดว้ ยปญั ญา แลว้ ถอื เอาเปน็ ทพ่ี งึ่
ได้จริงแทเ้ ท่าใดน้นั กแ็ ล้วแตผ่ ้จู ะปฏิบัตไิ ด้

147

ไกเ่ ขีย่ แก้ว

ดงั จะเขยี นเรอื่ งทเี่ ปรยี บไวท้ น่ี ้ี พอเปน็ นยิ ายเรอื่ งเทยี บ คอื มไี กต่ วั หนง่ึ ไกต่ วั นนั้
ครน้ั เม่ือถงึ เวลาเช้าแล้วกอ็ อกไปเขี่ยหากินเหย่ือทกุ ๆ วนั เปน็ ปกตไิ มไ่ ด้ขาด ครน้ั มา
วนั หน่งึ ได้ไปเข่ียทกี่ องขยะมลู ฝอยอนั มฝี นุ่ ทตี่ ้องประสงคจ์ ะหาอาหารจกิ กิน จงึ เข่ีย
ฝนุ่ ออก แลว้ เหน็ แกว้ ดวงหนงึ่ ทเ่ี ขย่ี เตม็ ดว้ ยแสงสวา่ งอนั มคี า่ แพงยง่ิ จะหาแกว้ ใดเสมอ
ไดย้ าก หรอื เรยี กวา่ เปน็ แกว้ มคี า่ แตไ่ กเ่ มอื่ เหน็ แกว้ แลว้ กไ็ มก่ ระทำ� ไวใ้ นใจ ไมพ่ จิ ารณา
เอาเหตเุ อาผลอรรถรสแหง่ แกว้ นน้ั ได้ ตงั้ ใจมองตาไปขา้ งหนา้ ปรารถนาแตม่ ดแตป่ ลวก
และจะเอาแตข่ า้ วเปลอื กขา้ วสารกนิ เปน็ อาหารเทา่ นนั้ เอง ครนั้ แลว้ กเ็ ลยขา้ มแกว้ ไปเสยี
ไปหนา้ ตอ่ ไป เมอื่ ถงึ เวลากก็ ลบั มารงั ดว้ ยตนเปลา่ ไมไ่ ดแ้ กว้ อนั เปน็ ของดตี ดิ ตวั มาดว้ ย
และจะได้ตดิ ตัวตอ่ ไป

ซง่ึ นา่ คดิ นา่ เสยี ดายเปน็ อยา่ งยงิ่ นา่ เสยี ดายจรงิ ๆ วา่ ถา้ ไกไ่ ดส้ นใจและไดท้ ำ� ไว้
ในใจ เปน็ ผคู้ วรรคู้ ณุ คา่ ของแกว้ แลว้ สามารถเอาแกว้ มาไดจ้ ะมคี วามสขุ สกั เทา่ ไร แตน่ ี่
เพราะไมใ่ ชอ่ าหารทตี่ นจะจกิ กนิ กท็ ำ� ใหแ้ กว้ ไมม่ ปี ระโยชนแ์ กต่ นไปเสยี แลว้ มงุ่ แตจ่ ะ
เหน็ ข้าวเปลอื กขา้ วสารและมดปลวกอนั มคี า่ น้อยทตี่ นจะจิกกนิ เทา่ นน้ั น้อี ะไร กค็ ือ
ความไมร่ นู้ เ้ี องทใ่ี หเ้ สยี ประโยชนอ์ นั ดี เสยี แกว้ ประเสรฐิ และเสยี ไปทกุ อยา่ งไมใ่ ชน่ อ้ ย
ทแี่ กว้ เกดิ มแี ลว้ และมาถงึ ตนแตเ่ อาไมไ่ ด้ พดู อยา่ งหนงึ่ วา่ ไมร่ จู้ กั เอาแกว้ ไมร่ จู้ กั คณุ คา่
ของแก้ว เอาแกว้ ไมไ่ ด้ฯ

148

การรบั พระไตรสรณาคมน์ และศลี ๕

ตอ่ ไปนใ้ี ครจ่ ะกลา่ วการรบั พระไตรสรณคมน์ และรบั ศลี ๕ ทเี่ ปน็ ธรรมเนยี มที่
ของพวกเราตอ่ ไป เมอ่ื มกี ารไดป้ ระชมุ กนั เปน็ คราวหนงึ่ ๆ อยา่ งประชมุ กนั ทวี่ ดั นยิ มกนั
เมอื่ วนั เขา้ พรรษา วนั ปวารณา หรอื วนั ๘ คำ่� ๑๕ คำ่� ในพรรษา และวนั มงี าน
การบ�ำเพ็ญกุศลในบ้าน หรือในวัดท่ีใดที่หน่ึง ไม่ว่าท่ีมีธรรมเนียมขอนับถือเอา
พระพทุ ธเจา้ พระธรรม พระสงฆ์ เปน็ สรณะทพี่ งึ่ ทเ่ี รยี กวา่ รบั ศลี คอื รบั ศลี ๕ หรอื
ศลี ๘ พรอ้ มดว้ ยไตรสรณคมน์ เมอ่ื เสรจ็ แลว้ กต็ กั บาตร คอื ใสบ่ าตรถวายทาน และมี
รบั พรเปน็ ที่สุด

อนั การทำ� ไดอ้ ยา่ งนเ้ี ปน็ การดี เปน็ ธรรมเนยี มทด่ี ขี องพวกเราอยแู่ ลว้ แตถ่ า้ ไมท่ ำ�
เพยี งเปน็ ประเพณเี ทา่ นนั้ จะเปน็ การดมี าก คอื วา่ พงึ พจิ ารณาใหเ้ ขา้ ใจ ใหร้ คู้ วามมงุ่ หมาย
ของการปฏิบัติ แล้วใหถ้ อื เอาอรรถรสและความประสงคข์ องพระศาสนาทตี่ นปฏบิ ตั ิ
ด้วยปัญญาพิจารณาตรึกตรองให้รู้ให้แจ้งน้ัน และอีกทีหน่ึงจึงจะดีได้ จึงจะได้รส
พระธรรมและเหน็ คุณศาสนาดขี ึ้น ไมพ่ งึ ให้ใกล้กับคำ� ว่า บรุ ษุ ผูเ้ สยี ตาคือตาบอดได้
แว่นกระจก เลยไมส่ นุก หรอื เหมอื นหวั ล้านไดห้ วี ก็เลยไมส่ นุกเหมอื นกันเชน่ นั้น

ถ้ารับแล้วไมเ่ อาไปปฏบิ ตั นิ ับถอื ตามพระไตรสรณคมน์ และไมเ่ อาศีลไปรกั ษา
ตามศลี ๕ ทรี่ บั ทส่ี มาทานแลว้ กเ็ ลยกลายเปน็ ไตรสรณคมนป์ ระเพณี ไมใ่ ชไ่ ตรสรณคมน์
นบั ถอื ปฏบิ ตั แิ ท้ ศลี ๕ กไ็ กลกบั ศลี ประเพณี ไมใ่ ชศ่ ลี รกั ษาเอากศุ ลเพอ่ื มรรคผลนพิ พาน

149

หรอื อาจเปน็ ไตรสรณคมน์ และศลี ๕ ประเพณี เลยกอ็ าจเปน็ ได้ อยา่ งนด้ี เู หมอื นเปน็
ก�ำพรา้ ก�ำพลอยจรงิ ๆ ที่จริงพระรัตนตรยั ท่ีเรารบั เราถอื นน้ั เป็นแว่นอยู่แล้ว จะว่า
แวน่ ของสวา่ งกไ็ ด้ เปน็ เครอ่ื งสวา่ งของใจ เปน็ ตาของใจ และเปน็ เครอ่ื งตน่ื ของใจอยา่ ง
ประเสริฐ

“โย จ พทุ ธฺ ญจฺ ธมมฺ ญจฺ สงฆฺ ญจฺ สรณํ คโต จตตฺ าริ อรยิ สจจฺ านิ สมมฺ ปปฺ ญฺ าย
ปสฺสติ ฯลฯ เอตํ สรณมาคมมฺ สพฺพทุกขฺ า ปมจุ จฺ ต”ิ ฯ

แปลความวา่ กผ็ ใู้ ดมาถงึ พระพทุ ธเจา้ พระธรรม พระสงฆ์ เปน็ สรณะ (ทพ่ี ง่ึ ) และ
มาเหน็ อรยิ สจั จ์ ๔ ดว้ ยปญั ญาอนั ชอบ คอื เหน็ ทกุ ข์ (ทไี่ ดแ้ ก่ ชาติ ชรา มรณะ เปน็ ทกุ ข)์
เหน็ เหตใุ ห้ทุกขเ์ กดิ (คอื กามตัณหา ภวตณั หา วิภวตัณหา) เหน็ นโิ รธความดับทกุ ข์
(ไดแ้ ก่ ความดบั ตณั หาไดส้ น้ิ เชงิ ) เหน็ มรรคทางใหถ้ งึ ความดบั ทกุ ข์ (ไดแ้ ก่ ปญั ญาเหน็ วา่
นท้ี กุ ข์ นเ้ี หตใุ หท้ กุ ขเ์ กดิ นน้ี โิ รธความดบั ทกุ ข์ นมี้ รรคทางใหถ้ งึ ความดบั ทกุ ข)์ นแ้ี ล
เปน็ สรณะอนั เกษม นเ้ี ปน็ สรณะอนั อดุ ม ผใู้ ดมาถงึ อนั นเ้ี ปน็ สรณะแลว้ ยอ่ มพน้ จากทกุ ข์
ท้งั ปวงได้

วิธีธรรมเนียมที่พวกเราท้ังหลายได้ท�ำได้ปฏิบัติกันอยู่ที่เป็นวิธีอันดีน�ำมาซ่ึง
ประโยชนแ์ กพ่ วกเราทงั้ หลายแตโ่ บราณกาล คอื รบั ศลี พรอ้ มกบั รบั พระไตรสรณคมน์
เป็นใจความว่า

นโม ตสฺส ภควโต อรหโต สมมฺ าสมฺพทุ ธฺ สฺส ๓ หน ความว่า ความนอบน้อม
แหง่ ขา้ พเจ้าจงมีแด่พระผู้มีพระภาค ผู้หกั เสยี ซึง่ กงกรรมคือกิเลส ผู้ตรัสร้ชู อบดว้ ย
พระองค์เอง ทวี่ ่า นโม ๓ หนน้ี เปน็ ความนอบน้อมพระพุทธเจ้าเทา่ นั้น

พุทธฺ ํ สรณํ คจฺฉามิ
ข้าพเจ้าถึงพระพุทธเจา้ วา่ เปน็ สรณะ (ทพี่ ึง่ )
ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ
ข้าพเจ้าถึงพระธรรมว่าเป็นสรณะ (ที่พึ่ง)

150

สงฆฺ ํ สรณํ คจฉฺ ามิ
ข้าพเจา้ ถึงพระสงฆว์ า่ เป็นสรณะ (ทพ่ี ึ่ง)

ทตุ ยิ มปฺ ิ หนที่ ๒
ตติยมฺปิ หนที่ ๓

อนั นเี้ ปน็ อนั รบั พระไตรสรณคมนแ์ ลว้ ทง้ั ๓ ตอนนเี้ รยี กวา่ ไตรสรณคมน์ ตอ่ ไปน้ี
ก็รับศลี ๕ ตอ่ ไป ศลี ๕ ต้ังแตป่ าณาฯ ไปคือ

ปาณาติปาตา เวรมณี สกิ ฺขาปทํ สมาทยิ ามิ
อทินนฺ าทานา เวรมณี สกิ ฺขาปทํ สมาทิยามิ
กาเมสุ มิจฺฉาจารา เวรมณี สิกฺขาปทํ สมาทยิ ามิ
มุสาวาทา เวรมณี สิกฺขาปทํ สมาทยิ ามิ
สุราเมรยมชชฺ ปมาทฏ€ฺ านา เวรมณี สิกฺขาปทํ สมาทิยามิ

ความเวน้ ตามนก้ี ร็ กู้ นั อยแู่ ลว้ วา่ ปาณาฯ เวน้ ฆา่ สตั ว์ อทนิ นา เวน้ ลกั ทรพั ย์ กาเมสุ
เว้นประพฤติผิดในกาม มสุ า เวน้ พูดเท็จ สรุ า เวน้ กนิ เหลา้ และเมรัย ในตอนท้าย
กบ็ อกอานสิ งสข์ องการรกั ษาศลี ๕ ดว้ ยวา่ อมิ านิ ปญจฺ สกิ ขฺ าปทานิ สเี ลน สคุ ตึ ยนตฺ ิ
สเี ลน โภคสมปฺ ทา สเี ลน นพิ พฺ ตุ ึ ยนตฺ ิ ตสมฺ า สลี ํ วโิ สธเย ความวา่ สกิ ขาบททงั้ ๕ น้ี
บคุ คลทง้ั หลายยอ่ มไปสสู่ คุ ตไิ ดด้ ว้ ยศลี บคุ คลทงั้ หลายเปน็ ผถู้ งึ พรอ้ มดว้ ยโภคสมบตั ิ
ไดด้ ว้ ยศลี บคุ คลทงั้ หลายยอ่ มไปสพู่ ระนพิ พานไดด้ ว้ ยศลี เพราะเหตนุ นั้ บคุ คลพงึ ยงั ศลี
ให้หมดจด (บริสุทธ์ิ)

ไตรสรณคมน์ คือพระรตั นตรยั น้ี ถ้าเมอ่ื กุลบตุ รปฏบิ ตั ิใหไ้ ดค้ วามชัดใจแล้ว
ย่อมมีคุณประโยชน์เหลือที่จะกล่าวให้ท่ัวถึง เป็นหลักของใจท่ีจะหวังความเจริญ
กา้ วหนา้ ไปสคู่ วามสุขในโลกไดด้ ยี ่ิง ส่วนศลี ๕ ก็เป็นขอ้ วัตรปฏบิ ัตเิ ครอ่ื งรกั ษาตวั
ผมู้ ศี ลี ผรู้ กั ษาศลี ๕ นไ้ี ดด้ ยี งิ่ เพอื่ จะไมใ่ หต้ วั ตกไปในทางเลวทางผดิ และมอี านสิ งส์
ดังท่ีกลา่ วมาแลว้ น้นั ท้งั มีอานสิ งสอ์ ย่างอ่นื อีกมากมาย ฯ

151

ศีล ๘

ยงั ส่วนศีล ๘ ก็จะตอ้ งกล่าวไวใ้ นท่นี ้ดี ้วย ศลี ๘ คือ

ปาณาติปาตา เวรมณี สิกขฺ าปทํ สมาทยิ ามิ
อทนิ นฺ าทานา เวรมณี สกิ ฺขาปทํ สมาทิยามิ
อพรฺ หฺมจรยิ า เวรมณี สกิ ฺขาปทํ สมาทิยามิ
มสุ าวาทา เวรมณี สกิ ขฺ าปทํ สมาทยิ ามิ
สุราเมรยมชฺช ปมาทฏฺ€านา เวรมณี สิกฺขาปทํ สมาทยิ ามิ
วิกาลโภชนา เวรมณี สิกฺขาปทํ สมาทิยามิ
นจจฺ คตี วาทิตวิสกู ทสฺสนา มาลาคนฺธวิเลปนธารณมณฑฺ นวิภสู นฏ€ฺ านา เวรมณี
สกิ ขฺ าปทํ สมาทิยามิ
อจุ จฺ าสยน มหาสยนา เวรมณี สกิ ขฺ าปทํ สมาทยิ ามิ

ความเวน้ ดงั จะกลา่ วถอื เอาความยอ่ ดงั นี้ ปาณาฯ เวน้ ฆา่ สตั ว์ อทนิ นฺ า เวน้ ลกั ทรพั ย์
อพรฺ หมฺ เวน้ ประพฤตกิ จิ ผดิ พรหมจรรย์ คอื วา่ ชายหญงิ จะประพฤตเิ มถนุ ธรรมดาไมไ่ ด้
แมผ้ วั ตนเองเมยี ตนเองไมไ่ ดท้ ง้ั หมด มสุ า เวน้ พดู ปด สรุ า เวน้ ดมื่ เหลา้ วกิ าลโภชนา
เวน้ กนิ อาหารเวลาวกิ าล นจจฺ คตี เวน้ ดฟู อ้ นหรอื เครอ่ื งดดี สตี เี ปา่ และทดั ทรงดอกไม้
และเครอื่ งกลน่ิ อนั เปน็ ของหอมและเครอ่ื งลบู ไล้ อจุ จฺ า เวน้ ทนี่ อนสงู ทนี่ อนใหญ่ คอื
ทนี่ อนสงู กว่า แปดนิ้วพระสุคต ท่นี อนสูงใหญ่ภายในใส่นนุ่ และสำ� ลี และศีล ๘ นี้

152

เมอื่ รกั ษาไดด้ แี ลว้ กน็ บั วา่ เปน็ เนกขมั มะคณุ ประการหนงึ่ ผเู้ ปน็ เพศหญงิ ทบี่ วชไมไ่ ด้
ถา้ รกั ษาศลี ๘ บรสิ ทุ ธิ์ กช็ อื่ วา่ เหมอื นไดบ้ วชกเ็ หมอื นกนั คอื บวชใจ ทว่ี า่ เปน็ เนกขมั มะคณุ
กเ็ พราะสงบระงบั กเิ ลส คอื กามคุณ ๕ ท่ไี ดแ้ ก่ รปู เสยี ง กลิน่ รส เคร่ืองสัมผสั คือ
ออกจากกาม เรยี กว่า เนกขมั มะคุณ ในที่น้ี
อนง่ึ รกั ษาศลี ๘ ถ้าอธษิ ฐานหรอื สมาทานรักษาอุโบสถศลี ก็รกั ษาสน้ิ วนั หนง่ึ
คนื หนง่ึ ตามทสี่ มาทาน เมอ่ื รกั ษาไดว้ นั หนง่ึ คนื หนง่ึ บรบิ รู ณ์ พอไดแ้ สงสวา่ งอรณุ ขนึ้ มา
กเ็ ปน็ สว่ นของเราเตม็ รอ้ ยแลว้ เหลอื จากนน้ั เวลาอน่ื จะไปผดิ พลาด กไ็ มม่ าเปน็ อนั ตราย
เศรา้ หมองอุโบสถนี้
อนึ่ง บุคคลบางคนหรือย่อมจะมีมาก มกั ไม่ยินดีในศลี แล้วพดู วา่ ถ้าไปรักษา
ศีลแล้ว ถา้ เรารักษาไม่ได้ มนั บาป ถา้ อยา่ งนน้ั ผู้ไม่รักษาศลี นนั้ ท�ำบาป มันไม่บาป
อยา่ งนนั้ หรอื จงพจิ ารณาดเู ถดิ คำ� วา่ รกั ษาไมไ่ ดน้ น้ั กค็ อื ไปทำ� ผดิ ไปทำ� สงิ่ ทเี่ ปน็ บาปเขา้
มฆี า่ สตั ว์ เปน็ ตน้ อนั ไปทำ� บาปแลว้ น้ี ถงึ เปน็ ผเู้ คยรกั ษาศลี อยู่ หรอื ไมไ่ ดร้ กั ษาศลี อยู่
หรือไม่ไดร้ กั ษาศีล มันกบ็ าปอยู่นนั้ เอง
ศลี ๘ หรอื อโุ บสถนี้ กเ็ ปน็ ขอ้ วตั รปฏบิ ตั ขิ องอบุ าสก อบุ าสกิ า ผมู้ ศี รทั ธาอยา่ งหนงึ่
ทมี่ มี าแลว้ ในศาสนาคำ� สง่ั สอนของพระสมั มาสมั พทุ ธเจา้ เปน็ เครอ่ื งยงั กเิ ลสใหเ้ บาบาง
และรกั ษาตวั ไดด้ ี ไมใ่ หต้ ัวตกไปในทางเลวทางผดิ ได้ และมอี านสิ งสอ์ ย่างอน่ื อีกเปน็
อันมาก

153

ควรรับพระไตรสรณาคมน์
และศลี ๕ เพอื่ ไปปฏิบตั ริ ักษา

เฉพาะอยา่ งยง่ิ ในทน่ี ้ี วา่ โดยสว่ นรวมแลว้ ถา้ ไมไ่ ดม้ าก ไมร่ สู้ งู ขนึ้ ไปยง่ิ กวา่ นแ้ี ลว้
กค็ อื พระรตั นตรยั และศลี ๕ ถา้ มพี ทุ ธคณุ ธรรมคณุ สงั ฆคณุ และศลี ๕ ประจำ� อยู่
ในตวั สวมตวั ไดแ้ ลว้ กพ็ อจะเรยี กไดว้ า่ ไดร้ บั แจกแจงสว่ นแบง่ จากพระพทุ ธศาสนาของ
สมเด็จพระสมั มาสัมพทุ ธเจา้ แต่พวกเราบางคนหรือส่วนมากไมร่ จู้ ักเอา ไมต่ ง้ั ใจเอา
ความดมี าใสต่ วั เสยี แลว้ คอื วา่ เมอ่ื รบั ไตรสรณาคมนแ์ ละศลี ๕ เสรจ็ แลว้ อนั จะใหเ้ กดิ
เปน็ ศลี ธรรมขน้ึ ในตน แตไ่ มก่ ระทำ� โยนโิ สมนสกิ าร ทเ่ี รยี กวา่ กระทำ� ไวใ้ นใจดว้ ยอบุ าย
ปญั ญา
เมื่อจากทน่ี ัน้ แลว้ ก็ละสตแิ ละความรตู้ วั เสีย วางธรรมวางศีลเสีย แลว้ กก็ ลับ
บา้ นเรอื น หรอื ไปทอ่ี น่ื โดยไมไ่ ด้คิดถงึ ทช่ี อื่ ว่าศลี ธรรมอยูแ่ ห่งหน่งึ คนอยแู่ ห่งหนึ่ง
ไมไ่ ดเ้ อาศลี ธรรมตดิ ตวั ไปใหถ้ งึ บา้ นถงึ เรอื น ทเี่ รยี กวา่ คนไปทใี่ ด ศลี ธรรมกต็ ดิ ตวั ไป
ในทนี่ นั้ เมอื่ ละความทำ� ไวใ้ นใจ ไมไ่ ดต้ ง้ั ใจปฏบิ ตั ติ ามหลกั ทต่ี นรบั และสมาทานแลว้
ชื่อว่าศีลธรรมกับคนหากันไม่เห็น คนก็ไม่พบกับศีลธรรม ศีลธรรมก็ไม่พบกับคน
ตกลงวา่ พระรตั นตรยั หรอื ศลี ธรรมกอ็ ยแู่ ตใ่ นตใู้ นคมั ภรี ์ ในผกู มดั และวดั โนน้ ไมไ่ ดท้ ำ�
ประโยชนโ์ ปรดผูย้ งั มที กุ ขอ์ ยใู่ ห้เจริญในตนและสว่ นรวมได้ ในบาลีวา่

154

โปฏ€ฺ เกสุ จ ยํ สปิ ฺปํ ปรหตเฺ ถ จ ยํ ธนํ
กิจเฺ จ อตฺเถ สมปุ ปฺ นเฺ น น ตํ สปิ ปฺ ํ น ตํ ธนํ

แปลวา่ มวี ชิ าความรอู้ ยใู่ นคมั ภรี ์ มเี งนิ แตอ่ ยใู่ นมอื คนอน่ื เมอื่ ธรุ กจิ หรอื ความ
ตอ้ งการเกดิ ขนึ้ วชิ านน้ั กไ็ มเ่ รยี กวา่ วชิ า เงนิ นน้ั กไ็ มเ่ รยี กวา่ เงนิ อนั ทร่ี บั และสมาทานศลี
พรอ้ มกนั ดว้ ยพระไตรสรณคมนน์ น้ั ดอี ยแู่ ท้ ดจี รงิ ๆ อนั ศลี และพระไตรสรณคมนน์ นั้
ท้ังดีทั้งจริง แต่ถ้ารับแล้วท�ำให้เป็นธรรมเนียมประเพณีไปเสีย ไม่ปฏิบัติรักษา
กเ็ ลยเสยี รสไมส่ นุกได้ หากวา่ การเป็นอยา่ งนี้ ก็ดูเหมอื นไกเ่ ขย่ี แกว้ ดังกล่าวมา คอื
ถา้ ไมร่ คู้ ณุ คา่ ของแกว้ ยง่ิ กวา่ ขา้ วเปลอื กขา้ วสาร หรอื มดปลวกรอ้ ยเทา่ แสนเทา่ ไกก่ จ็ ะ
ขา้ มแกว้ อนั ประเสรฐิ ไปไมไ่ ดเ้ ลย แตเ่ พราะไกไ่ มไ่ ดท้ ำ� ไวใ้ นใจทตี่ นจะรแู้ กว้ ไดด้ ี เมอ่ื เขย่ี
เห็นแก้วแล้วจึงข้ามเสีย หาปลวกและหามดและอย่างอื่นเป็นอาหารจิกกินต่างหาก
พวกเราผนู้ ับถอื ศาสนา ถ้าร้จู กั คุณคา่ ของศาสนา รู้จักเอาศาสนา รู้จกั ความประเสรฐิ
ของศาสนาแลว้ จะเวน้ ปฏบิ ตั แิ ลเอาศาสนาไปไมไ่ ดเ้ ลย จะไมใ่ หศ้ ลี ใหธ้ รรมอยแู่ ตใ่ นตู้
ในคมั ภรี แ์ ลว้ คนอยทู่ อ่ี นื่ ถา้ ผใู้ ดเอาศลี เอาธรรมออกมาจากตคู้ มั ภรี ม์ าไวก้ บั ตวั ได้ ผนู้ น้ั
เกง่ มากดมี าก เปน็ ผูค้ วรบูชา เป็นผู้ควรนบั ถอื
แตบ่ างคนมปี ญั ญาและศรทั ธาดี ไดเ้ หน็ เหตผุ ล แลว้ ถอื เอาพระศาสนาอนั จรงิ นใี้ ห้
เปน็ ประโยชนต์ นและเปน็ ประโยชนผ์ อู้ นื่ พจิ ารณาเอาความคอื พระพทุ ธศาสนาทง้ั สน้ิ
ย่อมแสดงชม้ี าท่ี กาย วาจา ใจ ของตน แล้วถือเอาได้ ดังเขียนอักษรตวั หนงั สือใส่
กระดานดำ� ลงวา่ ไก่ ทอี่ า่ นอกั ษรวา่ ไก่ ในกระดานดำ� นเ้ี ปน็ ไก่ ตวั อกั ษรตวั ก. ไมใ่ ชไ่ กแ่ ท้
ไกต่ วั จรงิ อยทู่ เ่ี ลา้ หรอื ใตถ้ นุ เรอื นในบา้ นโนน้ ตา่ งหาก มปี าก มคี อ มขี น มขี า มหี งอน
มหี าง และขนั ได้ จิกกินเหยอ่ื ได้ ทางธรรมคือศาสนาที่แสดงไวก้ ็อยา่ งน้ัน

155

พุทธคุณ ธรรมคุณ สังฆคุณ

คำ� ทวี่ า่ พระพทุ ธเจา้ พระธรรม พระสงฆ์ คอื พระรตั นตรยั กเ็ หมอื นกนั นนั้ ทที่ า่ น
ทำ� ทา่ นกลา่ วเอาไวใ้ นคมั ภรี ์ ตำ� รา ทท่ี ำ� เปน็ ตวั อกั ษรนน้ั ยอ่ มมปี ระโยชนแ์ ท้ เปน็ ประโยชน์
ใหญไ่ ดด้ มี ากทเี ดยี ว แตว่ า่ พระพทุ ธเจา้ พระธรรม พระสงฆ์ ในคมั ภรี อ์ นั เปน็ ตวั อกั ษรนนั้
ทหี นงึ่ สว่ นพระพทุ ธเจา้ พระธรรม พระสงฆ์ จรงิ นนั้ อกี ทหี นง่ึ ความจรงิ นนั้ ดงั จะกลา่ ว
โดยยอ่ คอื ความรนู้ น้ั แหละเปน็ พทุ ธ ความไมห่ วน่ั ไหวนนั้ แหละเปน็ ธรรม ความปฎบิ ตั ดิ ี
เขา้ ไปถงึ ความไมห่ วน่ั ไหวนนั้ แหละเปน็ สงฆ์ เพยี งเท่าน้ี แตก่ ็นอ้ ยเกนิ ไป

พงึ เขา้ ใจความในพทุ ธคณุ โดยยอ่ อกี ทหี นงึ่ คอื พระผมู้ พี ระภาคเจา้ นนั้ เปน็ ผไู้ กล
จากกเิ ลส คำ� วา่ ไกลจากกเิ ลส หมายจติ ใจผไู้ กลผพู้ น้ คอื ดบั อวชิ ชา ตณั หา อปุ าทาน
กรรม ฯลฯ หรอื เรียกวา่ ดบั โลภ โกรธ หลง เป็นต้น ใหส้ ้นิ ไป และค�ำว่า ไกล ไม่ได้
หมายความว่าอยู่ห่างกันคนละโยชน์ ก็อยู่ด้วยกันและใกล้กันนั่นเอง ดังตากับรูป
หูกับเสียง เป็นตวั อย่าง ก็เหน็ กไ็ ดย้ ิน แต่เพราะรเู้ ทา่ แล้วไมต่ ิดอย่กู ับกิเลส หรอื ไม่
ให้กิเลสติดได้ คือกเิ ลสกม็ ีอย่เู ต็มโลกแต่ไมเ่ อามันมาใช้ เรียกว่าไกล

พระผมู้ พี ระภาคเจา้ นนั้ เปน็ ผตู้ รสั รชู้ อบดว้ ยพระองคเ์ อง คำ� วา่ ผตู้ รสั รู้ นกี้ ห็ มาย
จติ หมายใจ ผตู้ รสั รหู้ รอื ผู้รู้ คอื รอู้ ริยสจั จ์ ๔ ทไ่ี ด้แก่ รทู้ กุ ข์ คือ ชาติ ชรา มรณะ
เปน็ ทกุ ข์ รเู้ หตใุ หท้ กุ ขเ์ กดิ ขน้ึ ไดแ้ ก่ ตณั หาเปน็ เหตใุ หท้ กุ ขเ์ กดิ รนู้ โิ รธ ความดบั ทกุ ข์
ไดแ้ ก่ ความดบั ตณั หา รมู้ รรค ทางใหถ้ งึ ความดบั ทกุ ข์ ไดแ้ ก่ ปญั ญารวู้ า่ นที้ กุ ข์ นเ้ี หตุ
ให้ทุกข์เกิด น้นี ิโรธความดบั ทกุ ข์ นี้มรรคทางใหถ้ งึ ความดบั ทุกข์

156

พระผมู้ พี ระภาคเจา้ นน้ั เปน็ ผถู้ งึ พรอ้ ม ดว้ ยวชิ ชา ๓ และวชิ ชา ๔ และจรณะ ๑๕
พระผูม้ ีพระภาคเจา้ นนั้ เปน็ ผู้ไปดแี ล้ว คอื ไปจากกเิ ลส มรี าคะ โทสะ โมหะ เปน็ ต้น
ไมก่ ลบั คนื มาสกู่ เิ ลสและกองทกุ ขใ์ นโลกนอ้ี กี พระผมู้ พี ระภาคเจา้ นน้ั เปน็ ผรู้ แู้ จง้ โลก
คือ สังขารโลก สัตวโลก ธาตโุ ลก พระผมู้ พี ระภาคเจ้านั้น เปน็ ผู้ฝกึ ผู้ทรมานบุรุษ
บุคคลควรทรมานไมม่ ใี ครยงิ่ กว่า คือสัง่ สอนใหล้ ะพยศอนั ร้ายแลว้ เข้าหาเอาความดี
พระผมู้ พี ระภาคเจา้ นนั้ เปน็ ครสู ง่ั สอนแหง่ เทวดาและมนษุ ยท์ ง้ั หลายดว้ ยพระองคเ์ อง
ฝกึ และสอนพระองคแ์ ลว้ จงึ สอนผอู้ น่ื ภายหลงั พระผมู้ พี ระภาคเจา้ นนั้ เปน็ ผตู้ รสั รแู้ ลว้
เปน็ ผตู้ นื่ แลว้ เปน็ ผเู้ บกิ บานเตม็ ท่ี พระผมู้ พี ระภาคเจา้ นน้ั เปน็ ผแู้ จกออกซงึ่ พระธรรม
คอื แสดงแจกให้กุลบตุ รปฏบิ ตั ิตามช้ันตามภูมิ เป็นต้น

สว่ นพระธรรมนนั้ คอื สภาพทีท่ รงอยู่เปน็ ธรรมดา ก็ชือ่ ว่าพระธรรม ความ
ยุติธรรม ความเปน็ กลาง ความเทย่ี งธรรมก็ชือ่ วา่ พระธรรม ศีลธรรม สมาธธิ รรม
ปญั ญาธรรม วิมุตตธิ รรม ทสั นธรรม มรรคธรรม ผลธรรม นพิ พานธรรม แต่ที่มา
ในบาลี ธรรมคณุ นนั้ คอื พระธรรมอนั พระผมู้ พี ระภาคเจา้ ตรสั ดแี ลว้ ทไ่ี ดแ้ ก่ ศลี ฆา่
กเิ ลสอยา่ งหยาบ สมาธฆิ า่ กเิ ลสอยา่ งกลาง ปญั ญาฆา่ กเิ ลสอยา่ งละเอยี ด เปน็ ตน้ ทที่ า่ น
หมายโลกตุ รธรรม เปน็ ของอนั บคุ คลผปู้ ฏบิ ตั พิ งึ เหน็ เอง เปน็ ของไมเ่ ลอื กกาล เปน็ ของ
อนั จะเรยี กผอู้ น่ื มาดมู าชมได้ เปน็ ของอนั จะพงึ นอ้ มมาใสต่ นไดไ้ มเ่ หลอื วสิ ยั เปน็ ของอนั
บัณฑติ จะพงึ รแู้ จง้ เฉพาะตัว

ส่วนพระสงฆ์นั้น ตามท่ีมาในบาลีสังฆคุณนั้นคือ พระสงฆ์สาวกของพระผู้มี
พระภาคเจา้ สปุ ฏปิ นโฺ น ปฏบิ ตั ดิ แี ลว้ อชุ ปุ ฏปิ นโฺ น ปฏบิ ตั ติ รง ายปฏปิ นโฺ น ปฏบิ ตั ิ
เพื่อรู้ธรรม สามีจปิ ฏปิ นโฺ น ปฏบิ ตั ิชอบแท้ ค�ำวา่ สปุ ฏปิ นโฺ น ปฏิบัติดแี ลว้ น้ัน กค็ ือ
ปฏิบตั ิตาม ศลี สมาธิ ปญั ญา นนั้ เอง ที่น�ำศลี สมาธิ ปญั ญา เขา้ มาในตนไดด้ ีแลว้
เมื่อ ศีล สมาธิ ปัญญา สามัคคีกนั เกิดขึ้นทีจ่ ติ ที่เหน็ นิพพานเป็นอารมณ์ ฆ่ากเิ ลส
ครงั้ ที่ ๑ ฆา่ กเิ ลสครงั้ ที่ ๒ ฆา่ กเิ ลสครั้งที่ ๓ ฆ่ากเิ ลสครัง้ ท่ี ๔ ท่เี รียกวา่ ไดโ้ สดา
ไดส้ กิทาคา ได้อนาคา ไดอ้ รหันต์ น้ีชอื่ วา่ พระสงฆ์สาวกของพระผู้มพี ระภาคเจ้า

157

ถา้ อยา่ งนี้ ใครอ่ ยากกลา่ ววา่ ศลี สมาธิ ปญั ญา นแ้ี หละเปน็ สงฆ์ กลา่ วอยา่ งน้ี
ช่ือว่าหมายเอาสงฆ์ส่วนกลาง คือสงฆ์กลางไม่ได้กล่าวแยกสมมุติเป็นนิกายน้ัน
นกิ ายน้ี และพงึ เขา้ ใจวา่ สงฆม์ ี ๒ อยา่ ง คอื สงฆท์ ไ่ี ดท้ ำ� ศลี สมาธิ ปญั ญา ใหเ้ กดิ ขนึ้ ในตน
รวมเปน็ อรยิ มรรคฆา่ กเิ ลส จติ ตกกระแสธรรมโลกตุ ระ ทเี่ รยี กวา่ โสดา สกทิ าคา อนาคา
อรหนั ต์ เรยี กวา่ อรยิ สงฆ์ อยา่ งหนงึ่ สงฆท์ ไ่ี มไ่ ดท้ ำ� ศลี สมาธิ ปญั ญา ใหเ้ กดิ ขนึ้ ทร่ี วม
อริยมรรคฆ่ากิเลส จิตไม่ได้ตกกระแสธรรมโลกุตระ ท่ียังเป็นปุถุชนอยู่ เรียกว่า
สมมตุ สิ งฆ์ อย่างหนึง่

ในคณุ พระรัตนตรยั คือ พทุ ธคุณ ธรรมคณุ สงั ฆคณุ ดังที่กล่าวมาโดยยอ่ นี้
ไมใ่ ชม่ คี วามหมายแตจ่ ะใหถ้ อื เพยี งเทา่ นนั้ แตอ่ ยา่ งเดยี ว คอื ใหก้ ราบบชู าสกั การะ และ
ต้ังไว้ที่ใจแล้วพึงปฏิบัติตาม พระพุทธเจ้าพระองค์ไกลจากกิเลสอย่างใด ละกิเลส
อยา่ งใด คอื ทา่ นไมโ่ ลภ ไมโ่ กรธ ไมห่ ลง เราตงั้ ใจปฏบิ ตั กิ ระทำ� ตาม เพอ่ื เราจะไดล้ ะโลภ
โกรธ หลง ของเราไปตามกำ� ลงั เทา่ ทจ่ี ะได้ หรอื ใหโ้ ลภ โกรธ หลง หมดไปเหมอื นอยา่ ง
ทา่ นบา้ ง หรอื เพยี รละความชว่ั ทาง กาย วาจา ใจ เทา่ ทจี่ ะละใหน้ อ้ ยลงหมดสนิ้ ไป ทวี่ า่
พระผมู้ พี ระภาคเจา้ นนั้ เปน็ ผตู้ รสั รชู้ อบดว้ ยพระองคเ์ อง เรากเ็ พอ่ื รใู้ นธรรมของทา่ น คอื
อรยิ สจั จ์ ๔ ทไ่ี ดแ้ ก่ ทกุ ข์ สมทุ ยั นโิ รธ มรรค หรอื อยา่ งตำ�่ กใ็ หร้ คู้ ณุ พระรตั นตรยั ศลี ๕
ศลี ๘ รูท้ าน รบู้ ชู า และกราบไหว้ แลว้ น�ำมาใส่ตน คอื ปฏบิ ัตติ ามอยา่ งนี้ ก็จะส�ำเรจ็
ประโยชนส์ มกับตนถอื พระพทุ ธเจ้าเป็นสรณะท่พี ่งึ

บทต่อไปกพ็ ึงปฏบิ ัตโิ ดยนยั น้ี ให้ถงึ พรอ้ มด้วยวชิ ชาแลจรณะ ๑๕ มศี ลี สงั วร
เปน็ ตน้ ฯลฯ มจี ตตุ ถฌานเปน็ ทสี่ ดุ แมศ้ ลี ๕ ศลี ๘ กช็ อ่ื วา่ จรณะ ใหเ้ ปน็ ผไู้ ปดี คอื ไป
จากกเิ ลส ละกเิ ลสหรอื ละความชวั่ ทางกาย วาจา ใจ ชอ่ื วา่ เปน็ ผไู้ ปดี พงึ เปน็ ผรู้ แู้ จง้ โลก
คอื สงั ขารโลก สตั วโ์ ลก ธาตโุ ลก ใหเ้ ราฝกึ สอนเราไปในทางทดี่ ี คอื ฝกึ กาย วาจา ใจ
ของเราใหป้ ระพฤตไิ ปในทางชอบ เพอ่ื ละความชว่ั เสยี ได้ หรอื มสี ตฝิ กึ สอนตา หู จมกู
ลน้ิ กาย ใจไปในทางสงบ หรือเพื่อสงั วรแลเพอื่ รใู้ หเ้ ราเป็นผู้มีสติ รู้ตน ใหพ้ งึ เป็นผู้
มศี ลี ธรรมดเี พอื่ ใหล้ กู ใหห้ ลานหรอื คนอนื่ เปน็ แบบอยา่ ง เปน็ การแจกออกซงึ่ พระธรรม
ไปในตัวเป็นอย่างต่�ำ

158

ถา้ ตงั้ ใจปฏบิ ตั ติ าม ทำ� ตาม อยา่ งทา่ นบา้ ง ดงั ทก่ี ลา่ วมาน้ี พทุ ธคณุ กม็ าตดิ ตวั เรา
แล้วเราก็จะได้ประโยชน์สุขตามก�ำลังสามารถที่เราปฏิบัติได้ หรือปฏิบัติตาม
ในบารมี ๑๐ กไ็ ดช้ อ่ื วา่ นำ� เอาพทุ ธคณุ มาสวมตวั เราเหมอื นกนั คอื ทานบารมี ศลี บารมี
เนกขมฺมบารมี ปญฺาบารมี วิริยบารมี ขนฺติบารมี สจฺจบารมี เมตฺตาบารมี
อเุ ปกขฺ าบารมี ทง้ั ๑๐ น้ี เราตรวจดใู นตวั เรา ถา้ เหน็ วา่ เราบกพรอ่ งบารมใี ด กท็ ำ� บารมนี นั้
ใหเ้ กดิ ใหม้ ี หรอื ใหบ้ รสิ ทุ ธข์ิ น้ึ ในตวั เรา หรอื เหน็ วา่ สบายบารมใี ด กท็ ำ� บารมนี น้ั ใหม้ าก
หรอื ใหม้ ขี นึ้ กจ็ ะไดช้ อื่ วา่ บชู าสมเดจ็ พระสมั มาสมั พทุ ธเจา้ ของเราดว้ ยปฏบิ ตั บิ ชู า สมกบั
เราถอื พระสมั มาสมั พทุ ธเจา้ เปน็ ครเู ปน็ แบบอยา่ ง และเปน็ ศาสดาสงั่ สอนเราในทางอนั
จะได้ทพี่ ่งึ

บารมี ๑๐ อยา่ งนี้ พระสมั มาสมั พทุ ธเจา้ พระองคไ์ ดท้ ำ� ไดส้ รา้ ง และไดท้ ดลอง
มาแลว้ ทไี่ ดผ้ ลดยี งิ่ เหมอื นเปน็ ยาดยี าวเิ ศษขนานหนง่ึ มเี ครอ่ื งเขา้ ๑๐ อยา่ งดว้ ยกนั
ได้เคยแก้ไข้อย่างร้ายแรงที่สุด หรือไข้ท่ีเป็นเจ้าเรือนเจ้าบ้านอยู่ในตัวท่ีแทรกเข้าถึง
กระดกู และใหห้ ายไดอ้ ยา่ งเดด็ ขาด และผเู้ ชอ่ื ยานกี้ นิ หายจากโรคดงั กลา่ วแลว้ มาเปน็
แสนๆ บารมี ๑๐ อย่างท่พี ระพทุ ธเจ้าพระองคไ์ ด้ทดลอง และพระสงฆ์สาวกท่เี ป็น
พระโสดา พระสกทิ าคา พระอนาคา พระอรหันต์ ได้ปฏิบัติไดท้ ดลองมา ได้ผลดยี ิ่ง
นับเป็นแสนๆ โดยอเนกมาแลว้

แต่มาน่าสลดใจว่า ผจู้ ะปฏิบตั ิตามหลักศาสนาจรงิ ๆ ผเู้ พียรทำ� ตามภมู ติ ามช้นั
ของตนจริงๆ น้ันมีนอ้ ยนกั ร้อยคนจะเอาสกั ๕ คน ก็ท้ังยาก ถา้ มีบ้างก็ความทำ�
นอ้ ยไป เมอ่ื ไดท้ ำ� อะไรเขา้ สกั เลก็ นอ้ ยแลว้ กว็ า่ ตวั ไดท้ ำ� แลว้ ทนี่ นั้ กห็ ยดุ ทำ� เสยี ความทำ�
ไมพ่ อกนั กบั กเิ ลสทมี่ ใี นตนมากมาย กเิ ลสกด็ บั ไปไมไ่ ด้ ทเี่ หมอื นกนิ ยาไมพ่ อกนั กบั โรค
กนิ ยานดิ ๆ หนอ่ ยๆ ตยิ าวา่ ขมบา้ งฝาดบา้ ง จะใหโ้ รคไขห้ ายไมไ่ ดเ้ ลย เพราะโรคมยี าขม่
ไมพ่ อ กต็ อ้ งยงั รออยไู่ ปกอ่ น เมอื่ ยาถงึ เมอ่ื ใด กห็ ายเมอื่ นน้ั การทำ� การปฏบิ ตั ศิ าสนา
ก็อยา่ งเดยี วกันฯ

สว่ นพระธรรมกอ็ ยา่ งเดยี วกนั นอ้ี กี พระธรรมอนั พระผมู้ พี ระภาคเจา้ ตรสั ดแี ลว้
คอื ศลี สมาธิ ปญั ญา ศลี ละความชวั่ อยา่ งหยาบ สมาธลิ ะความชว่ั อยา่ งกลาง กพ็ งึ ปฏบิ ตั ิ

159

พระธรรมโดยนยั น้ีเมอ่ื ศีล สมาธิ ปัญญา เกิดขนึ้ ในตน กาย วาจา ใจ เปน็ ศลี
สมาธิ ปญั ญา ไดแ้ ลว้ กล็ ะกเิ ลสจากตนได้ กจ็ ะเบกิ บานใจ จติ ใจกส็ วา่ งไสว แจม่ แจง้
ละกเิ ลสไดเ้ ทา่ ใด กไ็ ดค้ วามสขุ เทา่ นน้ั ยงิ่ ละกเิ ลสละความชว่ั ไดม้ ากนกั แลว้ ไมต่ อ้ งไป
เท่ยี วหาความสุขเลย ความสขุ หากมาเองเกดิ ขน้ึ เองท่นี นั้ เม่ือไดร้ สแหง่ ความสขุ แจ้ง
แกใ่ จแลว้ พระธรรมกป็ รากฏเป็นของมปี ระโยชนย์ ิ่งและเป็นจริงข้นึ ไม่ต้องเชอื่ แต่
ผอู้ นื่ บอก และเขา้ ใจแจง้ วา่ พระธรรมเปน็ ของไมเ่ ลอื กกาล เปน็ ของอนั จะพงึ ควรพงึ เรยี ก
ผู้อน่ื มาดูคือมาปฏิบตั ิตามได้ เปน็ ของจะพึงนอ้ มมาใหเ้ กดิ ใหม้ ีขึน้ ในตนได้ เปน็ ของ
อนั บณั ฑติ จะพงึ รแู้ จง้ เฉพาะตวั อยา่ งนี้ อยา่ งตำ�่ เมอื่ ปฏบิ ตั ใิ นทาน ศลี ในการกราบและ
สกั การบชู า กย็ งั ไดป้ ตี เิ บกิ บานใจและไดส้ ุขตามสมควรแก่ปฏบิ ตั ินัน้

ถา้ เมอื่ ไดน้ ำ� พระธรรมมาปฏบิ ตั ใิ นตนดงั ทกี่ ลา่ วมาน้ี พระธรรมคณุ กม็ าตดิ ในตวั
เราแลว้ ชอ่ื วา่ ไดพ้ ระธรรมเปน็ ทพี่ งึ่ ตามทเ่ี ราไดน้ ำ� พระธรรมบทใดบทหนงึ่ หรอื อยา่ งใด
อยา่ งหนงึ่ มาปฏบิ ตั ใิ นตน หรอื พงึ ปฏบิ ตั ใิ น สงั คหวตั ถุ ๔ คอื ทานํ ใหส้ งิ่ ของๆ ตนแกค่ น
ทค่ี วรใหค้ วรสงเคราะห์ ไมต่ ระหนเี่ กนิ ไป ๑ ปยิ วาจา กลา่ ววาจาออ่ นหวานในทชี่ มุ นมุ ชน
และบคุ คลท่วั ไป ๑ อตถฺ จรยิ า ประพฤตปิ ระโยชนค์ อื ทำ� ประโยชนเ์ พือ่ ผอู้ น่ื ท่ไี มเ่ หน็
แกต่ วั เกนิ ไป ๑ สมานตตฺ ตา เปน็ ผมู้ ตี นเสมอ คอื ไมถ่ อื ตวั ไมป่ รารถนาทจี่ ะยกตนขม่
ผอู้ ่นื ๑

คำ� วา่ ทานํ การใหก้ ารแจกจา่ ยนี้ เปน็ ธรรมเปน็ ของดมี าตงั้ แตด่ กึ ดำ� บรรพ์ ตง้ั แตโ่ กฏิ
แหง่ กลั ปม์ าเปน็ อนั มาก ยงั ใชไ้ ดด้ อี ยทู่ กุ เมอื่ สมเดจ็ พระสมั มาสมั พทุ ธเจา้ เมอื่ ยงั เปน็
โพธสิ ตั ว์ ไดใ้ หไ้ ดป้ ระพฤตใิ นทานแจกจา่ ยมาสน้ิ โกฏแิ หง่ กลั ปเ์ ปน็ อเนกมาแลว้ และมี
ประจ�ำส�ำหรับโลกมาจนบดั น้ี ยงั เปน็ ธรรมของดอี ยู่ ไม่ไดเ้ ก่าแก่สูญหายไปไหน

ปยิ วาจา กลา่ ววาจาออ่ นหวาน อนั นกี้ เ็ ปน็ ธรรม เปน็ ของดี ไมจ่ ดื จางทกุ เวลามา
ประจำ� โลก สมเดจ็ พระผมู้ พี ระภาคเจา้ พระองคไ์ ดใ้ ชป้ ยิ วาจากลา่ ววาจาออ่ นหวานมาแต่
เปน็ โพธสิ ตั ว์ จนไดต้ รสั รเู้ องเปน็ พระพทุ ธเจา้ แลว้ พระองคก์ ย็ งั ใชป้ ยิ วาจานใ้ี หไ้ ดเ้ ปน็
ประโยชนแ์ กโ่ ลกเปน็ อนั มาก

160

อตถฺ จรยิ า คำ� วา่ ประพฤตปิ ระโยชนแ์ กผ่ อู้ น่ื อนั นพี้ ระผมู้ พี ระภาคเจา้ ตงั้ แตเ่ ปน็
โพธสิ ัตว์มาจนได้ตรสั รแู้ ล้ว ดเู หมอื นกันกบั พระองค์ท�ำเป็นอาหารเสวย (ฉันอาหาร)
อยทู่ กุ วนั กเ็ หมอื นกนั คอื วา่ พระพทุ ธเจา้ พระองคม์ แี ตจ่ ะประพฤตปิ ระโยชนเ์ พอ่ื ผอู้ นื่
ไม่มีเวลาวา่ ง ต้งั แต่เป็นโพธสิ ัตว์มาก็ตั้งอยู่แล้วในความเป็นอย่างนี้

สมานตตฺ ตา ทวี่ า่ ไมถ่ อื ตวั อนั นพี้ ระสมั มาสมั พทุ ธเจา้ พระองคไ์ ดท้ ำ� มาแลว้ เรอื่ ง
พระองคเ์ ห็นนิสยั พราหมณช์ าวนาคนหนึ่งที่จะได้มรรคผล เมอ่ื พราหมณไ์ ปทำ� นาอยู่
พระองค์อาศัยพระกรุณาไปทนี่ าพราหมณ์ ไปๆ มาๆ จนพราหมณเ์ รยี กเกลอหรอื
สหาย แลว้ วา่ ถา้ ขา้ วในนาเราไดบ้ รบิ รู ณ์ เราจะใหส้ หายกงึ่ หนงึ่ เราจะเอากงึ่ หนง่ึ ในทสี่ ดุ
พระพุทธเจ้าโปรดด้วยเทศนาได้สำ� เร็จโสดาปตั ติผล คำ� ท่พี ราหมณ์ว่า ถ้าข้าวในนา
ของเราได้บรบิ รู ณ์ เราจะให้สหายกึง่ หน่งึ ดูเหมือนพราหมณไ์ มร่ ู้ว่าเปน็ พระพุทธเจ้า
ผ้ลู ะกเิ ลส ความโลภ โกรธ หลง ความอยากไดข้ องเชน่ นน้ั ไมม่ ี คืออยากได้ข้าวกบั
พราหมณก์ ง่ึ หนง่ึ นนั้ ไมม่ ี แตค่ ำ� วา่ เปน็ ผมู้ ตี นเสมอไมถ่ อื ตวั ไมไ่ ดห้ มายวา่ เปน็ ผใู้ หญ่
แลว้ ไมถ่ อื ไปเล่นกบั คนทีเ่ ปน็ บ้า เป็นต้นฯ

สว่ น สงั ฆคณุ คอื คณุ ของพระสงฆน์ น้ั กพ็ งึ นำ� มาปฏบิ ตั ใิ นตนอยา่ งเดยี วกนั เทา่ ท่ี
จะนำ� มาปฏบิ ตั ิได้ คอื ทีว่ า่ พระสงฆส์ าวกของพระผมู้ พี ระภาคปฏบิ ตั ดิ ี เข้าไปถงึ ความ
ไมห่ วนั่ ไหวอยา่ งไรกไ็ ดก้ ลา่ วแลว้ เรากพ็ งึ ทำ� กายของเราใหเ้ ปน็ ศลี ทำ� วาจาใหเ้ ปน็ ศลี
ทำ� ใจให้เป็นศีล ใหเ้ ปน็ ปกติ ไม่ใหก้ �ำเริบไปในทางผิด และท�ำใจให้เป็นสมาธิ ท�ำใจ
ใหเ้ ปน็ ปญั ญาเหมอื นอยา่ งทา่ นบา้ ง ถา้ ไดอ้ ยา่ งทวี่ า่ สปุ ฏปิ นโฺ น ปฏบิ ตั ดิ ี อชุ ปุ ฏปิ นโฺ น
ปฏบิ ตั ติ รง ายปฏปิ นโฺ น ปฏบิ ตั เิ พอ่ื รธู้ รรม สามจี ปิ ฏปิ นโฺ น ปฏบิ ตั ชิ อบแท้ กย็ ง่ิ เปน็
การชอบยิ่งนักในเรา แต่ถ้าไม่ได้เช่นนั้น ได้เพียงขั้นใดก็ยังดีตามสามารถของเรา
เทา่ ทเ่ี ราได้ แมแ้ ตไ่ ดต้ งั้ ใจวา่ จะพยายามละความชวั่ ดว้ ยกาย วาจา ใจ จะยงั ความดี
ใหเ้ กดิ ในตน มพี ระรตั นตรยั ศลี ๕ ศลี ๘ เปน็ ตน้ ใหม้ าตงั้ อยใู่ นกาย วาจา ใจ ของตน
ก็ยงั ดอี ยแู่ ลว้ น้ีกลา่ วมาถึงขน้ั อุบาสก อุบาสกิ า เขา้ ดว้ ย

เมอ่ื เราไดน้ �ำมาปฏบิ ัติในตนของเราตามน้อยมากแล้ว สงั ฆคุณก็ติดมารวมใน
ตวั เราอนั เปน็ พระธรรม และจะไดส้ มกบั เราทำ� ในใจวา่ ขอถงึ พระสงฆเ์ ปน็ สรณะทพี่ ง่ึ

161

กจ็ ะไมเ่ สยี ที คอื เราจะไดค้ วามสขุ แลเบกิ บานใจตามกำ� ลงั ความสามารถ และพระสงฆ์
สาวกของพระผมู้ พี ระภาคเจา้ นนั้ ๔ คู่ คอื โสดามรรค โสดาผล คู่ ๑ สกทิ าคามมิ รรค
สกิทาคามผิ ล คู่ ๑ อนาคามมิ รรค อนาคามิผล คู่ ๑ อรหตั ตมรรค อรหัตตผล คู่ ๑
เรยี กบคุ คลเปน็ ๘ คอื โสดามรรค โสดาผล สกทิ าคามมิ รรค สกทิ าคามผิ ล อนาคามมิ รรค
อนาคามิผล อรหัตตมรรค อรหตั ตผล รวมเป็น ๘

นี้พระสงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้าท่านเป็นผู้ควรแก่ของค�ำนับ และเป็น
ผคู้ วรแก่ของต้อนรบั เปน็ ผ้คู วรแก่ทกั ขิณาทาน และเปน็ ผคู้ วรแก่อญั ชลีกรรม คือ
กระพมุ่ มอื ทยี่ กขนึ้ ไหว้ และเปน็ เขตนาบญุ ของสตั วโ์ ลก ไมม่ เี ขตอน่ื ยง่ิ กวา่ เพราะทา่ น
ประกอบดว้ ยคณุ มศี ลี คณุ เปน็ ตน้ ทา่ นจงึ เปน็ ผคู้ วรแกข่ องคำ� นบั เปน็ ตน้ จนถงึ เปน็
เขตนาบุญของสตั ว์โลก ไมม่ ีเขตอนื่ ยิง่ กวา่

ความทก่ี ลา่ วมาในเรอื่ ง พทุ ธคณุ ธรรมคณุ สงั ฆคณุ เพอ่ื เปน็ ทางปฏบิ ตั แิ กพ่ วกเรา
โดยยอ่ นี้ เปน็ การกลา่ วกระเทอื นถงึ กนั อยเู่ สมอไป คอื วา่ เมอ่ื กลา่ วพทุ ธคณุ แลว้ กจ็ ำ� ตอ้ ง
กระเทอื นถงึ ธรรมคณุ และสงั ฆคณุ ดว้ ย เมอื่ กลา่ วถงึ ธรรมคณุ แลว้ กก็ ระเทอื นกนิ ความ
ไปถงึ พทุ ธคณุ และสงั ฆคณุ อกี เมอื่ กลา่ วถงึ สงั ฆคณุ เลา่ คอื เมอ่ื ปฏบิ ตั ติ ามในสงั ฆคณุ แลว้
กก็ ระเทอื นไปถงึ พทุ ธคณุ และธรรมคณุ ไปตามกนั เพราะวา่ พทุ ธคณุ ธรรมคณุ สงั ฆคณุ
ทงั้ ๓ นแ้ี ยกกนั ไมอ่ อก จะแยกตดั ตอนออกจากกนั ใหข้ าดเลยนน้ั ไมไ่ ด้ ฉะนนั้ เมอื่ ถงึ
เมอื่ เจรญิ พทุ ธคณุ ไดค้ วามจรงิ แลว้ กเ็ ปน็ อนั ไดถ้ งึ ธรรมคณุ และสงั ฆคณุ ดว้ ยกนั ถา้ เมอื่
ถงึ ธรรมคณุ หรอื สงั ฆคณุ ไดค้ วามชดั และสำ� เรจ็ ประโยชนไ์ ดแ้ ลว้ กไ็ ดช้ อื่ วา่ ถงึ แลว้ ทง้ั
๓ ประการดว้ ยดี

การนก้ี ็เทา่ กับวา่ จับขาขวามาได้ สว่ นขาซ้ายกพ็ ลอยมาด้วยไมล่ �ำบาก เมื่อเอา
ขาซา้ ยมาแลว้ ขาขวากไ็ มย่ าก และสว่ นอน่ื อกี ทง้ั ตวั กม็ าดว้ ยไมม่ เี หลอื ฉะนน้ั นา่ ทำ� ในใจ
วา่ พระพทุ ธเจา้ เปน็ ทพ่ี ง่ึ ของขา้ พเจา้ ทใี่ จ ดเู หมอื นจะใกลเ้ ขา้ ไปหนอ่ ย จะไมไ่ ดอ้ ยแู่ ตใ่ นตู้
ในคัมภรี ์อยา่ งเดียว และจะได้เป็นประโยชน์ ไปไหนก็จะได้ติดตวั ไปตามกันไดบ้ า้ ง
จะดกี ว่ารับหรือสมาทานแล้ววางไว้เสียทีส่ มาทานน้ัน

162

ศลี ๕

เวลานพ้ี วกเราชาวประชาชน ไดพ้ ากนั โอดครวญรอ้ งเรยี กหาศลี ธรรม กนั อยา่ ง
กกึ กอ้ ง ทเี่ รยี กวา่ ศลี ธรรม คำ� วา่ ศลี ธรรม คำ� นี้ ไมว่ า่ สถานทใ่ี ด เปน็ ไดย้ นิ คนกลา่ วถงึ
แทบทกุ แหง่ ไมว่ า่ ในเมอื งแลบา้ นนอกทกุ แหง่ หน แตไ่ มม่ ผี สู้ นใจ ไมม่ ผี ปู้ ฏบิ ตั ริ กั ษา
เปน็ สว่ นมาก การเปน็ เชน่ น้ี บางคนอาจเหน็ วา่ ศลี หรอื ธรรม ศาสนาไมเ่ ปน็ ของสำ� คญั
ไมเ่ ปน็ ของแปลก จะเอากไ็ ด้ ไมเ่ อากไ็ ด้ เลยดูเหมอื นอยา่ งวา่ ใกล้กันกับคนตาบอด
ไปอยใู่ กลบ้ อ่ ทองหรอื บอ่ แกว้ แลว้ ไมร่ วย ไมไ่ ดค้ วามสขุ ไมไ่ ดค้ วามสนกุ ใจ เพราะอยกู่ บั
บอ่ ทองบอ่ แกว้ แทนทจี่ ะรวยมง่ั มมี ากยงิ่ นกั เพราะทไ่ี ดอ้ ยกู่ บั บอ่ แตก่ ลบั ไพลไ่ ดแ้ ตบ่ น่
วา่ จนเงนิ จนทองไมม่ คี วามสขุ และบน่ วา่ อยากไดท้ องไดแ้ กว้ แตก่ ไ็ มม่ ที องทมี่ อื ตนเอง
อันนีเ้ ปน็ เรือ่ งท่นี า่ เหน่ือยใจอันหนึง่

แตบ่ างคนหรอื บางถน่ิ เหน็ ศลี เหน็ ธรรมเปน็ สำ� คญั แลว้ มศี ลี ธรรมดเี ปน็ ปกติ สงิ่ ที่
จะสร้างคนให้เป็นคนก็คือศีลธรรมนี้เอง จะท�ำให้ชีวิตของคนมีคุณค่าเป็นสัปปุรุษ
ทเ่ี รยี กวา่ คนผดู้ ใี นทางนจี้ ะมมี ากหรอื นอ้ ยตามลำ� ดบั จนถงึ อรยิ บคุ คลเปน็ ทส่ี ดุ แลว้ แต่
สามารถ ศลี ๕ เปน็ ของมีประโยชนม์ าก และมมี าแลว้ สำ� หรบั ประจ�ำโลก ก่อนแต่
พระพุทธกาลก็มีมาแล้วด้วยดี แต่ว่าเม่ือพระสัมมาสัมพุทธเจ้าได้ทรงอนุมัติแล้ว
ก็นับว่าเปน็ พทุ ธภาษิต เปน็ พระพทุ ธศาสนาด้วยดีดังที่พวกเราชาวพุทธมามกะได้ยนิ
ได้ฟังท่ังถงึ กันว่า

๑. ปาณาตปิ าตา เวรมณี เวน้ ไม่ฆ่าสตั วท์ ่มี ีชีวิตให้ตกไป
๒. อทนิ นาทานา เวรมณี เว้นไม่ลกั ทรพั ย์ท่เี จา้ ของหวง
๓. กาเมสุ มจิ ฉาจารา เวรมณี เวน้ ประพฤตผิ ดิ ในกามคอื ในหญงิ ทเี่ ขาหวง

163

๔. มสุ าวาทา เวรมณี เวน้ พูดเท็จ คำ� ไมจ่ ริง
๕. สรุ าเมรยมชั ชปมาทฏั ฐานา เวรมณี เวน้ ดม่ื สรุ าและเมรยั อนั เปน็ ทตี่ ง้ั แหง่ ความ
ประมาท

ในทน่ี ป้ี ระสงคม์ วี ริ ตั เิ จตนาตงั้ ใจละเวน้ ตามนจี้ รงิ ๆ จงึ เรยี กวา่ ศลี ๕ หรอื จงึ เรยี กวา่
ผู้มีศลี ในท่นี ้ไี ม่ได้หมายว่ารับ หรือเรยี กว่าสมาทานกับผ้ใู หศ้ ลี จบแล้ว กเ็ ปน็ ผูม้ ศี ลี
ไดเ้ ลย ไมไ่ ดห้ มายอยา่ งนน้ั เมอื่ สมาทานรบั แลว้ จากนน้ั ไปแลว้ ไมเ่ วน้ ตามองคศ์ ลี อนั ใด
จะว่าเป็นผมู้ ีศีลไม่ได้ เม่ือมี หิรโิ อตตฺ ปฺป ความละอายแก่ใจ ความเกรงกลวั ในใจ
ทง้ั ทลี่ บั ทง้ั ทแี่ จง้ แลว้ เวน้ ตามในนนั้ ไดแ้ ลว้ จงึ วา่ มศี ลี แท้ ตามนยั ทม่ี าทา่ นวา่ หริ โิ อตตฺ ปปฺ
ความละอาย ความกลวั บาป เปน็ อาสนั นะเหตแุ หง่ ศลี คอื เปน็ เหตใุ หม้ ศี ลี เปน็ อนั ดไี ด้
หริ โิ อตตฺ ปปฺ ยอ่ มมเี พราะปญั ญาและศรทั ธา พจิ ารณารเู้ หตรุ ผู้ ล เหน็ โทษเหน็ ประโยชน์
จะมีข้นึ ไดด้ ี

ในทน่ี บี้ คุ คลทกุ คนยอ่ มมสี ง่ิ ประจำ� ใจอยวู่ า่ ใจอยทู่ ไ่ี มช่ อบใหผ้ หู้ นง่ึ ผใู้ ดมาฆา่ เรา
ถึงตายหรือทุบตีเบียดเบียน พอใจท่ีไม่ได้เห็นโจรผู้จะปล้นหรือขโมยจะลักท่ีทรัพย์
ของตน จะเสยี ไปดว้ ยวธิ ที กุ อยา่ ง พอใจวา่ เมอ่ื บตุ รภรรยามอี ยู่ ยนิ ดที ไ่ี มพ่ บคนบาป
อกศุ ลมาประพฤตผิ ดิ ในบตุ รภรรยา และไมอ่ ยากใหบ้ ตุ รภรรยาประพฤตผิ ดิ ในทางนนั้
พอใจอยวู่ า่ เมอื่ เราอยอู่ ยา่ ง อยา่ ใหผ้ ใู้ ดมาพดู กลา่ วตู่ พดู คำ� มสุ า ไมจ่ รงิ แกเ่ รา ทท่ี รพั ย์
ของเราจะเสียไป หรอื พดู หลอกลวงท่ีเป็นคำ� ไมจ่ ริงและหยาบคายโดยประการตา่ งๆ
พอใจอยวู่ า่ เวลานเี้ ราอยอู่ ยา่ งนด้ี อี ยู่ ขออยา่ ไดม้ คี วามไมด่ มี ารบกวน คอื อยา่ มคี นเมาที่
กนิ สรุ าแล้วมาตะโกนด่าว่า หรอื ทำ� อันใดอนั หนงึ่ ท่ีหยาบคายในบา้ นเรอื น ดงั นี้

ทมี่ ปี รารถนาความสขุ และพอใจยนิ ดที ไ่ี มม่ โี ทษ ๕ อยา่ งแกต่ น คอื ไมม่ กี ารฆา่
ไมม่ กี ารลกั แมข้ โมยมนั ลกั ของคนอน่ื มาได้ มนั กไ็ มอ่ ยากใหค้ นอนื่ มาลกั ตอ่ อกี ไมม่ ี
การลว่ งบตุ รภรรยาของตน ไมม่ กี ารมสุ าและกลา่ วหยาบ ไมม่ เี มามาทำ� ใหย้ งุ่ ยาก นเี้ ปน็
ความปรารถนาอยู่ในตัวท่ัวโลก การเป็นอย่างนี้ก็คือความปรารถนาศีลธรรมนั้นเอง
ถงึ ไมก่ ลา่ วไมต่ งั้ ความปรารถนาดว้ ยเสยี งปาก กเ็ ปน็ อนั ปรารถนาอยใู่ นตวั ซงึ่ จะเวน้ ไป
ไมไ่ ด้ แตไ่ มช่ อบใจ เปน็ การทอ้ ถอยใจเอาอยา่ งมากๆ ทเี ดยี ว ทจ่ี ะรกั ษาศลี นใี้ หม้ ศี ลี

164

มธี รรมในตวั ใหบ้ รสิ ทุ ธิ์ อนั นี้จะเปน็ ดว้ ยถน่ิ นั้นๆ ดินฟา้ อากาศไม่อ�ำนวยหรือจะเป็น
ดว้ ยตามยคุ ตามคราว หรอื เปน็ ดว้ ยบคุ คลไมเ่ อาเอง เพราะความเขา้ ใจผดิ เปน็ ตน้ กเ็ อา
แต่จะว่า

แตถ่ า้ หากว่ามผี ู้ใดได้ความเห็นชอบในตวั จากศาสนา แล้วมศี ลี ๕ เป็นนิตยไ์ ด้
เวน้ โทษหา้ อยา่ งนไ้ี ดเ้ ปน็ ปกติ เมอื่ เปน็ ไดอ้ ยา่ งนใี้ นทมี่ า ทา่ นวา่ เปน็ ผไู้ มม่ เี วรไมม่ ภี ยั
อยใู่ นโลก คอื วา่ ผมู้ ศี ลี เวน้ เวรหา้ นเ้ี สยี ไดก้ ม็ คี วามสขุ ใจ ทงั้ ไมก่ ลวั ภยั อนั จะเกดิ ขนึ้
แต่เวรนนั้ ๆ มที คุ ติ เปน็ ตน้ เพราะตนไดล้ ะเวรทง้ั หลายเหล่านั้นเสียแล้ว เปน็ ผ้ไู ม่มี
บาปกรรม ไมม่ เี วรกบั ใครๆ ทง้ั ไดม้ ปี ตี เิ อบิ อมิ่ ใจ และไดป้ ราโมทยเ์ บกิ บาน ในเมอ่ื ไดฟ้ งั
นกั ปราชญผ์ รู้ สู้ รรเสรญิ ศลี ธรรมแหง่ พทุ ธศาสนา ในศลี ๕ ดงั ทก่ี ลา่ วมานก้ี อ็ กี นา่ เขา้ ใจ
หรอื ทำ� ในใจวา่ ศลี ของเราอยทู่ กี่ าย วาจา ใจ เราน้ี ถา้ อยา่ งนดี้ เู หมอื นจะใกลเ้ ขา้ หนอ่ ย

ศลี จะไมไ่ ดอ้ ยแู่ ตใ่ นตำ� รา ในตู้ ในคมั ภรี ์ แตอ่ ยา่ งเดยี ว จะไดเ้ หน็ คณุ เหน็ ประโยชน์
แหง่ ศีล และจะไดเ้ ป็นประโยชน์ตน จะไดเ้ ปน็ ประโยชนด์ แี กป่ ระเทศชาตแิ ละศาสนา
ต่อไปได้ ศีลอย่างน้ีเป็นศีลส�ำเร็จประโยชน์ได้แท้ ตัวศีลแท้หรือความเป็นศีลแท้
พระพทุ ธเจา้ ชมี้ าที่ กาย วาจา ใจ ของเราน้ี ทงั้ ศลี ทงั้ ธรรมพระองคช์ มี้ าท่ี กาย วาจา ใจ
เราน้ที ง้ั ส้นิ ไมไ่ ด้แสดงไปในทอี่ ื่น

ถา้ เมอื่ รศู้ ลี รธู้ รรม รศู้ าสนา คำ� สง่ั สอนของพระสมั มาสมั พทุ ธเจา้ ไดด้ ี และไดน้ ำ�
มาปฏบิ ตั ใิ นตนกอ่ น จงึ จะไดร้ สปตี แิ ละสขุ อนั เกดิ แตธ่ รรม ถา้ ไดอ้ ยา่ งนก้ี จ็ ะไดก้ บั ทวี่ า่
ผมู้ ือดีมนี ว้ิ สมบูรณ์ได้แหวนเพชรแหวนพลอยที่ท�ำให้ตนงามได้

ถ้าตรงกันข้าม ท่ีงามท่ปี ระเสรฐิ อยู่แต่ศาสนา แตไ่ มไ่ ด้เอามาปฏิบัตเิ ลยอยา่ งนี้
ก็เลยไปได้กบั คำ� ว่ามือด้วน (มอื กดุ ) ไดแ้ หวน คือเม่ือแหวนเพชรแหวนพลอยตกไป
อยู่กับคนมอื ด้วนจะงามอยา่ งไร จะให้ตนเองและคนอนื่ เหน็ งามไดแ้ ต่ทไ่ี หน ขอให้
ศลี ธรรมใหศ้ าสนาทดี่ มี คี า่ อนั ลำ้� เลศิ ยง่ิ กวา่ แกว้ กวา่ ทอง หรอื เรยี กวา่ ไมม่ คี า่ จงไดอ้ อก
จากหบี จากคมั ภรี ์ มาตง้ั อยใู่ นจติ ในใจของพวกเราชาวพทุ ธศาสนาใหไ้ ดค้ วามสขุ เจรญิ
รุ่งเรอื งทัว่ กนั ทุกทา่ นทุกคนสิ้นกาลนานเทอญ

165

ไตรสรณาคมนน์ อก ไตรสรณาคมนใ์ น

ตอ่ ไปนจี้ ะกลา่ ว ไตรสรณาคมนน์ อก ไตรสรณาคมนใ์ น ไตรสรณาคมนก์ ลาง และ
ศลี นอก ศลี ใน ศลี กลาง ตอ่ ไป เพอ่ื ผยู้ นิ ดปี ฏบิ ตั จิ ะไดเ้ ขา้ ใจความมงุ่ หมายและปฏบิ ตั ิ
ใหถ้ กู ความประสงค์ ในทน่ี ค้ี ำ� วา่ ไตรสรณาคมนน์ อกและศลี นอก นนั้ คอื ไตรสรณาคมน์
และศีลของผอู้ น่ื และรบั แลว้ ไมเ่ อาติดตัวไปเพ่อื ปฏิบตั ิ ช่อื ว่าเป็นภายนอกผู้อ่ืน และ
รบั แลว้ ไม่เอาตดิ ตวั ไปเพ่อื ปฏบิ ตั ิ ช่อื ว่าเป็นภายนอก ยงั อย่นู อก คืออย่นู อกตัวเรา

อนงึ่ ผรู้ บั ผสู้ มาทานไตรสรณาคมนแ์ ละศลี ไมเ่ ขา้ ใจไมเ่ หน็ แจง้ ดว้ ยปญั ญาของ
ตนเอง จงึ ไดอ้ าศัยความรขู้ องครอู าจารย์ท่านสอนให้ ทา่ นให้รับใหน้ บั ถอื และรกั ษา
และกป็ ฏบิ ตั ติ ามทา่ นสอนใหน้ น้ั เปน็ อนั ดี มกี ราบไหวบ้ ชู าพระรตั นตรยั และเวน้ ขอ้ หา้ ม
ในศลี ทหี่ า้ มไว้ เปน็ ตน้ แลว้ กน็ บั วา่ เปน็ ไตรสรณาคมนแ์ ละศลี ไดอ้ ยู่ แตเ่ พราะสญั ญา
ใหเ้ หมอื นกบั วา่ ไตรสรณาคมนอ์ ยกู่ บั ครบู าอาจารยห์ รอื อยวู่ ดั อยอู่ ารามทนี่ อกจากตวั
และส�ำคัญในใจเหมือนกับว่าศีลนั้นอยู่กับครูอาจารย์ หรือกับพระที่ท่านให้ศีล
เมอ่ื รบั ศลี กบั ทา่ น กเ็ หมอื นวา่ ศลี ออกมาจากทา่ นมาเขา้ ในปากเราหรอื ตวั เรา ทเี่ หมอื นกบั
ศีลมตี นตวั หัวหางไต่ไดเ้ ดนิ ได้ อยา่ งน้เี รียกวา่ ไตรสรณาคมนน์ อกและศลี นอก เป็น
ไตรสรณาคมน์และศีลอย่างอ่อน

สว่ นท่ีว่า ไตรสรณาคมนใ์ นและศลี ใน นั้น คอื เข้าใจด้วยความเห็นในตนว่า
ไตรสรณาคมนแ์ ละศลี ยอ่ มเกดิ กบั เรา เกดิ ขนึ้ ทางกาย วาจา ใจ แตว่ า่ การรบั การสมาทาน
เปน็ การกระทำ� ทดี่ เี ปน็ ระเบยี บทด่ี ี คอื ปฏญิ าณตนกลา่ วตอ่ หนา้ พระสงฆ์ มพี ระสงฆ์

166

เปน็ หลกั ใจเครอื่ งชว่ ยสตแิ ละเปน็ แบบอยา่ งแกผ่ อู้ นื่ ไดด้ อี กี แลว้ รใู้ นใจเชอื่ วา่ พระพทุ ธเจา้
พระธรรม พระสงฆ์ เปน็ ของมแี ท้ และตดั สนิ อยใู่ นใจวา่ พระพทุ ธ พระธรรม พระสงฆ์
อยู่ทใี่ จเราน้เี อง

พระพทุ ธเจา้ ผไู้ กลจากกเิ ลสตรสั รชู้ อบเอง เรากถ็ อื แลว้ ทใี่ จเรา และเพอื่ จะปฏบิ ตั ิ
เพ่ือไกลจากกิเลสเหมือนอย่างทา่ นบา้ งตามก�ำลงั ของตน และได้รไู้ ด้เขา้ ใจธรรมตาม
กำ� ลงั ของตน อยทู่ ใ่ี จเราน้ี คอื รธู้ รรมดว้ ยปฏบิ ตั ิ ศลี สมาธิ ปญั ญา ทเ่ี ราทำ� กาย วาจา ใจ
ใหเ้ ปน็ ศลี สมาธิ ปญั ญา แลว้ ไดส้ ขุ ไดป้ ตี อิ มิ่ ใจทใี่ จของเราแท้ ความปฏบิ ตั ดิ ี เขา้ ไปหา
ความไมห่ วนั่ ไหวคอื พระธรรม พระธรรมของเราไมห่ วนั่ ไหวดว้ ยปฏบิ ตั ติ ามศลี สมาธิ
ปญั ญา กร็ วมอยทู่ ใ่ี จเรานี้ กเ็ รยี กวา่ พระพทุ ธเจา้ พระธรรม พระสงฆ์ อยทู่ ใี่ จทต่ี วั เรา
ด้วยคณุ ธรรม คอื เรารับเราปฏญิ าณเอาตอ่ หน้าพระสงฆ์ แล้วเรากป็ ฏบิ ตั ใิ หเ้ กดิ ขนึ้ ที่
ตัวเราสว่ นหน่งึ

สว่ นศลี เลา่ เมอ่ื เราสมาทานเรารบั ศลี นน้ั แลว้ เรากท็ ำ� วริ ตั เิ จตนาละเวน้ ใหเ้ กดิ ขน้ึ
ทเ่ี รา แลว้ กเ็ วน้ ขอ้ หา้ มนน้ั ๆ กเ็ ปน็ ศลี เกดิ ขน้ึ ทเี่ ราน้ี ไมใ่ ชศ่ ลี เปน็ ตวั และหวั ขาออกมา
จากปากพระผใู้ หศ้ ลี แลว้ มาเขา้ ปากเขา้ ตวั เราดงั ความสำ� คญั สญั ญานน้ั เมอื่ ตนไปทใี่ ด
อยทู่ ใ่ี ด ไตรสรณาคมน์ คอื พระพทุ ธ พระธรรม พระสงฆ์ และศลี ทตี่ ดิ ตวั ตามตวั ไปดว้ ย
หรอื เมอ่ื ไมไ่ ดส้ มาทานศลี แตม่ เี จตนาละ เมอื่ พบสตั ว์ ควรฆา่ ไมฆ่ า่ พบทรพั ย์ ควรลกั
ไมล่ กั พบกาเม ควรเสพไมเ่ สพ พบคนหรอื มเี รอ่ื ง ควรจะมสุ าไมม่ สุ า พบสรุ าและเมรยั
ควรดม่ื ไมด่ มื่ กเ็ ปน็ ศลี อยแู่ ลว้ เรยี กวา่ สมั ปตั ตวริ ตั เิ ปน็ ศลี เหมอื นกนั ทไี่ ดส้ มาทานหรอื
ไมไ่ ดส้ มาทาน แตต่ วั เปน็ ผมู้ ศี ลี เกดิ ขน้ึ ทตี่ นดงั กลา่ วมานี้ เรยี กวา่ ศลี ใน เปน็ ไตรสรณาคมน์
และศลี อยา่ งกลาง ทวี่ า่ ไตรสรณาคมนก์ ลางและศลี กลางนน้ั คอื เมอ่ื พระไตรสรณาคมน์
และศลี อยใู่ นตวั ดอี ยแู่ ลว้ จงึ ทำ� ปญั ญาใหเ้ หน็ แจง้ เกดิ ขน้ึ ทข่ี นั ธ์ ๕ หรอื อายตนะ ๑๒

ดงั จะกลา่ วตอ่ ไปโดยยอ่ เปน็ ใจความวา่ ธาตุ ๔ คอื ดนิ นำ�้ ลม ไฟ รวมกนั เขา้ เปน็
รปู ขนั ธ์ เวทนาขนั ธ์ คอื ความรสู้ กึ และเสวยรสชาตแิ หง่ อารมณท์ เี่ ปน็ สขุ เปน็ ทกุ ข์ ไมใ่ ชส่ ขุ
ไมใ่ ชท่ กุ ข์ สญั ญาขนั ธ์ คอื ความจำ� หมายอารมณ์ สงั ขารขนั ธ์ คอื เจตสกิ ธรรม ไดแ้ ก่
อารมณท์ เี่ กดิ กบั ใจปรงุ ใจใหค้ ดิ ดี คดิ ชวั่ คดิ ไมด่ ี ไมช่ วั่ วญิ ญาณขนั ธ์ คอื ความรแู้ จง้

167

ทาง ตา หู จมูก ลนิ้ กาย ใจ ทง้ั ๕ ขันธน์ ี้ พจิ ารณาโดยเปน็ ไตรลักษณ์ว่าไมเ่ ทยี่ ง
เป็นของไม่แนน่ อน เป็นทกุ ข์ มชี าตทิ กุ ข์ ชราทุกข์ มรณะทกุ ข์ เป็นต้น ไม่ใชต่ วั ตน
วา่ งเปลา่ เปน็ สภาพอย่างหน่ึงๆ

ถา้ เมอื่ เอาอายตนะ ๑๒ ขนึ้ พจิ ารณา กค็ อื กำ� หนด ตา หู จมกู ลนิ้ กาย ใจ นใี้ หเ้ หน็
ตามเปน็ เองวา่ ทง้ั ๖ อยา่ งนไี้ มเ่ ทยี่ ง เปน็ ทกุ ข์ มคี วามเปน็ ของไมใ่ ชต่ วั ตนเปน็ ธรรมดา
ครน้ั แลว้ พจิ ารณาสว่ นทเ่ี ปน็ รปู ทเี่ ปน็ รปู ดมี ากระทบตา ทำ� ใหเ้ กดิ โลภะอยากได้ หรอื
ราคะ ความกำ� หนดั ยนิ ดี และใหเ้ กดิ โมหะความหลง แลว้ พจิ ารณาวา่ ไมเ่ ทย่ี ง เปน็ ทกุ ข์
มคี วามแปรปรวนเป็นธรรมดา เมือ่ รปู ไม่ดมี ากระทบตาพาให้เกดิ โทสะอนั เป็นกิเลส
กพ็ จิ ารณาวา่ ไมเ่ ทย่ี ง เปน็ ทกุ ข์ มคี วามแปรปรวนเปน็ ธรรมดา แลว้ วางใจเปน็ กลาง ไมย่ นิ ดี
ยนิ รา้ ย เมอ่ื เสยี งดไี พเราะมากระทบหใู หเ้ กดิ โลภะ และราคะ และโมหะ อนั เปน็ กเิ ลส

เมือ่ เสยี งไม่ดมี ากระทบหูใหเ้ กิดโทสะ กพ็ ิจารณาว่าไม่เทย่ี ง เป็นทกุ ข์ มีความ
แปรปรวนเปน็ ธรรมดา ใหใ้ จเปน็ กลาง ไมย่ นิ ดยี นิ รา้ ยในเสยี งนน้ั เมอ่ื กลนิ่ ดแี ละกลน่ิ ชวั่
มากระทบจมกู สว่ นดใี หเ้ กดิ โลภะ และราคะ และโมหะ สว่ นชว่ั ใหเ้ กดิ โทสะ แลว้ พจิ ารณา
วา่ ไมเ่ ทยี่ ง เปน็ ทกุ ข์ มคี วามแปรปรวนเปน็ ธรรมดา ใหใ้ จเปน็ กลาง ไมย่ นิ ดไี มย่ นิ รา้ ย
เมอื่ รสมากระทบลนิ้ เครอ่ื งสมั ผสั ถกู ตอ้ งมากระทบกาย และเมอื่ ธรรมารมณค์ อื อารมณ์
มากระทบใจ เปน็ ฝา่ ยดใี ห้เกดิ โลภะ และราคะ และโมหะ เปน็ ฝ่ายช่ัวใหเ้ กดิ โทสะ
แล้วพิจารณาวา่ ไมเ่ ที่ยง เป็นทุกข์ มคี วามแปรปรวนเป็นธรรมดา ใจก็เป็นกลาง

เมอ่ื ใจเปน็ กลาง ไมย่ นิ ดไี มย่ นิ รา้ ย ไมด่ ใี จ ไมเ่ สยี ใจ ดว้ ยอำ� นาจวปิ สั สนาปญั ญา
แก่กล้าฆ่ากิเลสอย่างน้ี ละกิเลสเป็นสมุจเฉทประหารอย่างน้ี ไตรสรณาคมน์ก็เป็น
สรณาคมน์กลาง และศีลกเ็ ป็นศลี กลางด้วยตามกนั และเปน็ โลกตุ รสรณาคมน์ และ
โลกตุ รศลี เปน็ ของแนน่ อนแท้ ไมม่ เี วลาเสอื่ ม นป้ี ระสงคก์ ลา่ ว สมจุ เฉทวริ ตั ิ เวน้ ขาด
ทเี ดยี วเปน็ ศลี มนี พิ พานเปน็ อารมณ์ อยา่ งนเี้ ปน็ ไตรสรณาคมนแ์ ละศลี อยา่ งอกุ ฤษฏ์
อย่างสูง เท่าท่ีกลา่ วมาเป็นศีลนอก ศีลใน ศลี กลาง อยา่ งน้ี กเ็ พอ่ื จะให้เข้าใจและจะ
ไดป้ ฏบิ ตั ใิ หถ้ กู ตามความประสงคข์ องการปฏบิ ตั แิ ละใหไ้ ดผ้ ลดขี นึ้ บา้ ง จะไดส้ มกบั เรา
ถอื พุทธศาสนา เราเปน็ เจ้าของศาสนาพุทธมานานทีท่ �ำความเป็นเจ้าของศาสนา

168

แตท่ ว่ี า่ ศลี นอก ไตรสรณาคมนน์ อก คอื ศลี และไตรสรณาคมนอ์ ยกู่ บั ผอู้ น่ื เปน็ ของ
คนอนื่ แลว้ ทตี่ นไมม่ ี อยา่ งนไ้ี มป่ ระสงคเ์ สยี แลว้ ประสงคใ์ หต้ นเปน็ ผมู้ ขี น้ึ ในตนทใี่ ห้
เปน็ ไตรสรณาคมนแ์ ละศลี ในไดเ้ ปน็ ดี จงึ จะเหน็ คณุ เหน็ ประโยชนแ์ หง่ ศาสนา และจะได้
สมกับตนถอื ศาสนาเป็นเจา้ ของศาสนาไดแ้ ท้ และทวี่ ่าปฏบิ ตั ติ ามพระไตรสรณาคมน์
และปฏบิ ตั ศิ ลี อยู่ แตว่ า่ ไมร่ ดู้ ว้ ยปญั ญาของตนเอง ไดแ้ ตส่ ญั ญาความสำ� คญั วา่ เหมอื น
อยใู่ นผกู ในคมั ภรี ์ หรอื อยกู่ บั ครบู าอาจารยท์ ที่ า่ นบอกใหว้ า่ ให้ จงึ ไดร้ กั ษาปฏบิ ตั อิ ยา่ ง
นกี้ ด็ อี ยู่ ดกี วา่ ไมป่ ฏบิ ตั ทิ เี ดยี ว ดกี วา่ ไมป่ ฏบิ ตั แิ ท้ แตย่ งั ไมถ่ งึ ความประสงคท์ แี่ ทจ้ รงิ
ความประสงคท์ แี่ ทใ้ นทน่ี ี้ ประสงคใ์ หพ้ จิ ารณาใหเ้ ขา้ ใจใหไ้ ดค้ วามรขู้ น้ึ ทตี่ นเอง
อกี ทีหนงึ่ ท่ีเรยี กว่าได้ปัญญาความรขู้ ้ึนบ้าง คือใหเ้ ข้าใจวา่ พระรัตนตรยั ท่ีเรานบั ถือ
เปน็ ทพ่ี งึ่ ไมใ่ ชอ่ ยทู่ ว่ี ดั ทสี่ มดุ หรอื คมั ภรี ท์ ไ่ี หน และไมใ่ ชอ่ ยทู่ คี่ รบู าอาจารยอ์ ยา่ งเดยี ว
อยู่ท่ตี ัวเราท่ีใจอนั เปน็ ภายในน้ีเอง ศลี ก็อยา่ งเดียวกนั นี้ ไม่ใชศ่ ีลมีอยู่แตใ่ นกับพระ
ผใู้ หศ้ ลี ไมใ่ ชอ่ ยแู่ ตก่ บั ครบู าอาจารย์ ไมไ่ ดอ้ อกมาจากอปุ ชั ฌายอ์ าจารยห์ รอื ทอ่ี นื่ มขี น้ึ
เปน็ ศลี ทเ่ี กดิ ขน้ึ ทต่ี วั เราทก่ี ายวาจาเราทเี่ ปน็ ภายในนตี้ า่ งหาก อยา่ งนจี้ งึ ประสงค์ และ
ประสงคใ์ หเ้ ปน็ ศลี กลาง ไตรสรณาคมนก์ ลาง อกี ตอ่ ไป ถา้ วา่ ตง้ั ใจปฏบิ ตั ไิ ตรสรณาคมน์
และศลี เปน็ โลกตุ ระไดแ้ ลว้ จะประกอบไปดว้ ยคณุ ประโยชนเ์ ปน็ อยา่ งยงิ่ จะไดก้ บั ทม่ี า
ในบาลเี ป็นใจความว่า “โสดาปัตตผิ ลประเสริฐกว่าความเปน็ เอกราชในพ้นื ปฐพี และ
ความไปสวรรค์และความเป็นอธิบดีในโลกทัง้ หมด”

169

เหนื่อยใจ

เท่าทีก่ ล่าวเรือ่ ง คุณพระรัตนตรยั และศีล ๕ หรือกลา่ วเรอื่ งค�ำว่าศีลธรรมมาน้ี
ผู้กลา่ วดูเหมือนออกจะพดู วนเวยี นซ�ำ้ แล้วซ้ำ� อกี ไปน้อยหนงึ่ การเป็นเชน่ นี้ กเ็ พราะ
ผู้กล่าวสลดใจมากที่อยากให้พวกเราชาวพุทธได้มีศีลได้ธรรม ได้มีพระรัตนตรัย
เป็นที่พึ่งเจริญรุ่งเรืองในพุทธศาสนาจริงๆ จึงได้กล่าวแล้วกล่าวอีกในเร่ืองให้เอา
พระรตั นตรยั และศลี ๕ มาไวใ้ นตวั จะไดผ้ ล อยา่ ใหอ้ ยแู่ ตใ่ นตใู้ นคมั ภรี ท์ พี่ ระรตั นตรยั
และศลี ธรรมกบั คนหากันไม่เห็น คร้นั แลว้ พวกเราพทุ ธมามกะปฏบิ ัตพิ ุทธศาสนาอัน
ประเสรฐิ ของพวกเราท้ังหลาย ดเู หมือนคอ่ นขา้ งจะไมไ่ ดค้ วามแจม่ แจง้ เปน็ ส่วนมาก

อันนกี้ ด็ เู หมือนจะเป็นด้วยรบั และสมาทานพระไตรสรณาคมนแ์ ละศีล ๕ แล้ว
ไม่สนใจ ไม่ทำ� ไวใ้ นใจ ไม่นำ� เอาไปปฏบิ ัตใิ ห้ไดจ้ ริง จงึ ไมร่ ไู้ ม่เขา้ ใจอยา่ งนัน้ คือ
ดเู หมอื นวา่ เมอ่ื ไดท้ ำ� วธิ รี บั และสมาทานตามประเพณธี รรมเนยี มแลว้ กด็ แี ลว้ ไดบ้ ญุ แลว้
ก็หยุดสุดกันเพียงนี้เอง เป็นอันว่าข้างส่วนมากยังไม่รู้จักเอาศาสนา จึงให้สลดใจ
สะดดุ ใจในเร่อื งน้มี าก ทง้ั พวกเราทกุ คนกเ็ ป็นเจา้ ของพทุ ธศาสนาดว้ ยกนั ทกุ คน แต่
ถา้ จะถามบา้ งวา่ พระรตั นตรยั คอื อะไร กต็ อบวา่ ไมร่ ู้ อนั นเี้ ปน็ เรอื่ งเหนอ่ื ยใจอนั หนง่ึ

ถ้าถามวา่ ศีล ๕ คืออะไร ให้ละเวน้ อะไรบา้ ง ก็ตอบวา่ ไม่รู้ น้ีก็เหนือ่ ยใจอีก
ถ้าถามวา่ ศลี ธรรมคืออะไร อะไรเปน็ ศีลธรรม กต็ อบวา่ ไม่รู้ นีผ้ ู้ถามก็เหนอื่ ยใจอกี
บญุ น้นั ถา้ ทำ� แล้ว บญุ ท�ำให้ใจผ่องใส ท�ำใหใ้ จเบิกบาน ท�ำใหอ้ ่มิ ใจ ครัน้ แล้วให้ผล

170

เปน็ สขุ บาปนน้ั ถา้ ทำ� แลว้ บาป ทำ� ใหใ้ จเศรา้ หมอง ทำ� ใหใ้ จเดอื ดรอ้ นทสี่ ดุ ใหผ้ ลเปน็ ทกุ ข์
ถ้าเราจะถามว่า บุญน้ันคืออะไร ก็ตอบว่า ไม่รู้ บาปน้ันคืออะไร ก็จะตอบว่า
ไมร่ ู้ อนั นกี้ เ็ อาเขา้ อีก คือผูถ้ ามก็เหน่ือยใจอีก ทว่ี ่ามาน้ี ว่าขั้นท่พี วกยังไม่รู้อย่างนี้
ยังมีมากนัก

171

ขนั ธ์ ๕

ความจริงในสกนธ์กายของเราน้ี รวมท้ังสิ้นในตัวในกายอันเดียวที่เรียกว่า
คนหน่งึ น้ี ก็มกี ้อนเดยี วกองเดียวท่ีเรียกวา่ ขนั ธ์ มีขนั ธเ์ ดยี วเท่านี้ แต่เมอื่ แยกออก
แบง่ ออกตามอาการของขนั ธจ์ งึ เปน็ ๕ ขนั ธ์ ทเ่ี รยี กวา่ ขนั ธ์ ๕ คอื รปู ขนั ธ์ ๑ เวทนาขนั ธ์ ๑
สัญญาขนั ธ์ ๑ สังขารขันธ์ ๑ วญิ ญาณขนั ธ์ ๑ รปู ขนั ธน์ ัน้ เฉพาะในทนี่ กี้ ลา่ วแตย่ ่อ
หมายเอาธาตุ ๔ รวมธาตุ ๔ คือ ธาตุดนิ ธาตุน�้ำ ธาตไุ ฟ ธาตลุ ม เข้าประชุมกนั
เปน็ กายน้ี เรยี กวา่ รปู ขนั ธ์ แตท่ ม่ี าในพระอภธิ รรมวา่ รปู ทเี่ ปน็ อดตี อนาคต ปจั จบุ นั
ทเ่ี ปน็ ภายในและภายนอก รปู หยาบ ละเอยี ด เลว ประณตี ในทไี่ กล ในทใ่ี กล้ กเ็ รยี กวา่
รปู ขนั ธน์ ดี้ ว้ ย สว่ นเวทนาขนั ธน์ น้ั หมายเอา สขุ เวทนา ความเสวยอารมณค์ อื ความรสู้ กึ
รสชาติแห่งอารมณ์ที่เป็นสุข ทุกขเวทนา ความเสวยรสชาติแห่งอารมณ์ที่เป็นทุกข์
อทุกขมสขุ เวทนา ความเสวยอารมณม์ ธั ยสั ถ์เป็นกลาง

สว่ นสญั ญาขนั ธ์ นนั้ ไดแ้ ก่ ความจำ� คอื ความจำ� รปู เสยี ง กลน่ิ รส เครอ่ื งสมั ผสั
อารมณ์ทเ่ี กิดกับใจได้ เป็นตน้ จนถงึ จำ� มือ เท้า แข้ง ขา ตา หู จ�ำพี่ จำ� นอ้ ง เปน็ ตน้
สว่ นสงั ขารขนั ธน์ น้ั คอื เจตสกิ ไดแ้ ก่ อารมณท์ เ่ี กดิ กบั จติ เปน็ สว่ นดี เรยี กกศุ ล ปรงุ จติ
ใหค้ ดิ ดี ทเ่ี ปน็ สว่ นชว่ั เรยี ก อกศุ ล ปรงุ จติ ใหค้ ดิ ชวั่ ทเี่ ปน็ สว่ นกลางๆ ไมด่ ไี มช่ ว่ั เรยี ก
อพั ยากฤต ปรงุ จติ ใหค้ ดิ ไมด่ ไี มช่ ว่ั แตพ่ ระอาจารยบ์ างทา่ นอธบิ ายวา่ สงั ขารขนั ธ์ คอื
จติ คดิ ปรงุ แตง่ เรยี กวา่ สงั ขารขนั ธ์ สว่ นวญิ ญาณขนั ธน์ น้ั คอื ความรแู้ จง้ ทางตา หู จมกู
ลนิ้ กาย ใจ ในเมอื่ รปู เสยี ง กลน่ิ รส เครอื่ งสมั ผสั ธรรมารมณ์ มากระทบในตา เปน็ ตน้

172

และรตู้ ามไปในจำ� พวก สญั ญา และเวทนา และสงั ขารไปดว้ ย เปน็ อนั วา่ วญิ ญาณ ความรนู้ ี้
เตม็ อยใู่ นสกนธก์ ายนท้ี ง้ั สน้ิ ทกุ สว่ นในกายนท้ี ง้ั หมด วญิ ญาณยอ่ มเตม็ ไปสนิ้ ดว้ ยกนั

ตอ่ ไปนใี้ นสว่ นรปู ขนั ธน์ นั้ ใครจ่ ะกลา่ วถงึ ทวตั ตงิ สาการ คอื อาการ ๓๒ อาการ ๓๒ นี้
มกี ายเปน็ ประธานอนั เดยี วน้ี แตม่ อี าการ ๓๒ อยา่ ง เฉพาะ ธาตดุ นิ ๒๐ คอื ผม ขน เลบ็
ฟนั หนงั เนื้อ เอ็น กระดกู เยอื่ ในกระดกู ม้าม หวั ใจ ตับ พังผดื ไต ปอด ไส้
ใหญ่ ไส้น้อย อาหารใหม่ อาหารเก่า สมอง ศีรษะ ธาตนุ ้ำ� ๑๔ คือ ดี เสลด หนอง
เลอื ด เหง่อื มนั ข้น น้�ำตา มนั เหลว น้�ำลาย นำ้� มกู นำ�้ ไขข้อ มตู ร ทงั้ ๓๒ อาการนี้
รวมกนั เข้าเรยี กวา่ กาย ว่ารูป เป็นรปู กายอันเดียว ทา่ นว่าใหส้ าธยายทอ่ งใหข้ ึ้นปาก
ขน้ึ ใจ

ครนั้ แลว้ ใหพ้ ิจารณาให้ทว่ั ถึงท้ัง ๓๒ อาการนใ้ี หด้ ี ใหเ้ ห็นเปน็ ไมง่ ามเตม็ ไป
ดว้ ยของไมส่ ะอาดมปี ระการตา่ งๆ และถา้ เมอื่ พจิ ารณาไปเหน็ สว่ นใดปรากฏแกใ่ จตน
แจ้งชดั มากและสบายใจ แลว้ กใ็ หเ้ อาอาการนัน้ เปน็ อารมณ์ กำ� หนดแตอ่ นั เดียวนั้น
ใหม้ าก จนกวา่ ใจจะเปน็ สมาธติ ง้ั มนั่ อยใู่ นอารมณน์ นั้ และสมาธใิ นทนี่ ี้ ประสงคส์ มาธิ
ดงั ทม่ี าในบาลี คอื ปฐมฌาน ทตุ ยิ ฌาน ตตยิ ฌาน จตตุ ถฌาน หรอื ไดส้ มาธใิ นอรปู ฌาน ๔
เขา้ อีก ก็ย่งิ เปน็ การดีหนกั ข้นึ

ปฐมฌาน มอี งค์ ๕ คือ วิตก ได้แก่ ยกจติ ขน้ึ ส่อู ารมณ์ท่ีเรียกวา่ ตรกึ ๑ วิจาร
ไดแ้ ก่ พจิ ารณาอารมณท์ ่ีเรยี กว่าตรอง ๑ ปีติ ความอ่มิ ใจ ๑ สุข คอื ความสขุ ใจ ๑
เอกคคฺ ตาจติ มอี ารมณอ์ ันเดยี ว ๑

ทตุ ยิ ฌาน มอี งค์ ๓ คอื ละวิตกกับวจิ ารเสยี เพราะยังหยาบอยู่ และเป็นของ
ไมแ่ นน่ อนทเี ดยี ว อาจวติ กวจิ ารไปในทางผดิ กไ็ ด้ ทางถกู กไ็ ด้ คงยงั เหลอื อยแู่ ตป่ ตี ิ ๑
สขุ ๑ เอกคคฺ ตา ๑

ตตยิ ฌาน มอี งค์ ๒ คอื ละปตี เิ สยี เพราะวา่ ปตี คิ วามอม่ิ ใจยงั หยาบอยู่ ยงั เปน็
ของกระโดดโลดเต้นอยู่ และยังไม่แน่นอน อาจปีติไปในทางผิดก็ได้ ทางถูกก็ได้
คงเหลืออย่แู ต่ สขุ ๑ เอกคคฺ ตา ๑

173

จตุตถฌาน มีองค์ ๒ คอื เอกคคฺ ตา ๑ อเุ ปกขฺ า ๑ คือละทัง้ สุขละทง้ั ทกุ ข์
เพราะวา่ ความสขุ กบั ความทกุ ขเ์ ปน็ ของไมแ่ นน่ อน ทเ่ี ปน็ สขุ แลว้ อาจกลบั เปน็ ทกุ ขก์ ไ็ ด้
ที่เปน็ ทุกข์แล้วอาจกลบั เปน็ สขุ ก็ได้ คงยงั เหลืออย่แู ต่ เอกคคฺ ตา กับ อเุ ปกขฺ า ทจ่ี ติ
มอี ารมณอ์ นั เดียวกบั อุเปกขฺ าเปน็ กลาง และประกอบด้วยความท่ีสติเปน็ ของบริสุทธิ์
และรเู้ รยี นรอบจิตยอ่ มมี (ที่ละเอยี ด)

คราวนจ้ี ะเขยี นเพอ่ื เป็นทางพิจารณาด้วยปญั ญาตอ่ ไป คอื รูปทีเ่ ปน็ ส่วนรปู กด็ ี
เวทนา สัญญา สังขาร วญิ ญาณ ทเี่ ป็นส่วนนามก็ดี ยอ่ มอยู่ในลักษณะ ๓ ทั้งส้ิน
คือ เป็น อนิจจฺ ํ ไม่เทีย่ ง คงแปรไป ทกุ ขฺ ํ เปน็ ทกุ ข์ อนตฺตา ไม่ใช่ตวั ตนทีว่ ่างเปลา่
จากตวั ตนเป็นปกติธรรมดา และสังขารท้งั หลายทม่ี ปี ัจจยั แตง่ ขนึ้ ปรงุ ขึน้ นี้ เขาพรอ้ ม
ด้วยเหตุผลด้วยผลของเขาแลว้ เขาจึงไมอ่ ยใู่ นบังคับบัญชาของเรา ทีส่ ดุ เขาจงึ เปน็
อนตตฺ า ไมใ่ ช่ตวั ตนของเรา

เม่ือกล่าวถึงค�ำว่า อนตฺตา เช่นน้ีแล้ว ดังจะกล่าวสมมุติเรื่องอุปมาที่เปรียบ
ดว้ ยกองดอกจานวา่ มคี นเมาคนหนงึ่ ดม่ื สรุ ามากไป จงึ เดนิ ไปถงึ สถานทห่ี นงึ่ ในเวลา
กลางคืนเดือนหงาย จึงเห็นกองดอกจานกองหน่ึงแดงอยู่ท่ีน้ัน ส�ำคัญว่ากองเนื้อ
จึงนั่งเฝ้านอนเฝ้าอยู่คืนยังรุ่ง ด้วยคิดว่าพรุ่งน้ีเราจะได้กินเนื้อน้ีได้สมปรารถนา
ของเรา เราจะไดม้ คี วามสขุ จะไดส้ นกุ เพราะเนอื้ นใี้ นวนั พรงุ่ นเ้ี ปน็ แน่ ครนั้ ถงึ เวลาเชา้
แสงพระอาทติ ยส์ วา่ ง แลว้ อาศยั แสงพระอาทติ ยส์ วา่ งจงึ มองดกู องดอกจานอกี จงึ เหน็
ไมม่ กี องเนอ้ื เลย เปน็ กองดอกจานไป คราวนค้ี วามสำ� คญั วา่ เปน็ เนอ้ื แตก่ อ่ น กเ็ ลยไมจ่ รงิ
เหมอื นอยา่ งวา่ เปน็ อนั วา่ ความเขา้ ใจผดิ วา่ เปน็ เนอ้ื นนั้ กห็ ายไป ความปรารถนาวา่ จะกนิ
เน้อื ให้สนุกใหม้ คี วามสุขในวันพรุ่งนเ้ี พราะเนอื้ นน้ั ก็หายไป แลว้ กห็ มดอาลัยหนจี าก
ทนี่ ่นั ไปอน่ื

อนั นฉ้ี นั ใด คนเราผยู้ งั มี โลภะ โทสะ โมหะ อยู่ ผมู้ กี าย วาจา ใจ ยงั ไมไ่ ดอ้ บรม
ยงั ไมไ่ ดฝ้ กึ กระทำ� ใหแ้ จง้ ใหเ้ หน็ ตามเปน็ จรงิ อยา่ งไร คอื ปญั ญายงั ไมเ่ กดิ ใหเ้ หน็ ธรรม
ตามเปน็ จรงิ อยา่ งไร กจ็ ำ� จะตอ้ งเมาอยเู่ อง คอื เมารปู เมาเสยี ง เมากลน่ิ เมารส เมาเครอื่ ง
สัมผัสถกู ตอ้ ง และเมาลาภ เมายศ เมาความสรรเสริญ เมาความสุข เฉพาะอย่างยง่ิ

174

ในทนี่ ้ี คอื เมากาย เมาวา่ ตวั ตน มคี วามเหน็ วา่ ตนเปน็ รปู เวทนา สญั ญา สงั ขาร วญิ ญาณ
เหน็ วา่ รปู เวทนา สญั ญา สงั ขาร วญิ ญาณ เปน็ ตน ตนอยใู่ นรปู เวทนา สญั ญา สงั ขาร
วญิ ญาณ เหน็ วา่ รปู เวทนา สัญญา สังขาร วญิ ญาณ อยใู่ นตน เปน็ ทิฏฐวิ ปิ ลาส
ความเห็นผดิ ๒๐ ประการ ดังน้ี เป็นสักกายทฏิ ฐแิ ละเปน็ สกั กายสมุทัย

ความเมาเหลา่ นี้ เพ่อื จะสรา่ งได้ใหส้ ้ินเชิง หรือให้บรรเทาเบาบางลงตามความ
สามารถของตน กพ็ งึ เอาสกนธก์ ายของเรานเี้ องตง้ั ลง แลว้ พจิ ารณาแยกออกเปน็ กองๆ
คอื กองแหง่ รปู สว่ นหนงึ่ แยกเวทนาออกเปน็ สว่ นหนง่ึ และแยกสว่ นสญั ญาออกเปน็
กองหนึง่ แยกสงั ขารออกเป็นกองหนง่ึ แยกวญิ ญาณออกเป็นกองหน่ึง แลว้ กำ� หนด
พจิ ารณาให้เห็นว่าขนั ธ์ ๕ ทกุ ส่วนดังกล่าวนี้ ลว้ นแต่เป็นสังขตธรรม มปี จั จยั แตง่
ทเี่ รียกวา่ เกดิ แต่เหตุ

เมอื่ พจิ ารณาใหล้ ะเอยี ดแลว้ ยอ่ มจะเหน็ วา่ มคี วามแปรปรวนเคลอ่ื นไปทลี ะนอ้ ยๆ
ไมม่ เี วลาจะนง่ิ เฉยอยไู่ ดเ้ ลยแมแ้ ตท่ เี ดยี ว ทน่ี า่ ดลู มหายใจเขา้ ออกของเรา มนั มเี วลา
หยุดไหม เม่ือสว่ นท้ังหา้ ท่เี รยี กขนั ธ์ ๕ นี้ ไม่เทย่ี ง แปรปรวนเป็นธรรมดา มีความ
ไม่เที่ยงคุกคามบังคับอยู่อย่างน้ี ส่วนท้ังห้านี้ก็ต้องเป็นทุกข์อยู่เอง ท่ีทนอยู่ได้ยาก
ตอ้ งโศกเศรา้ ใจ คบั แคบใจ เปน็ ตน้ หรอื รวมคอื ชาติ ชรา มรณะ เปน็ ทกุ ข์ หรอื โดยยอ่
ขนั ธ์ ๕ เปน็ ทกุ ข์

เม่ือส่วนทั้งห้าเป็นทุกข์ ทนอยู่ไม่ได้ หรือเรียกว่าเป็นของทนได้ยากอย่างน้ี
ขนั ธ์ ๕ กต็ อ้ งเปน็ อนตตฺ า ไมใ่ ชต่ วั ตนของเราไปในตวั ในทส่ี ดุ กศ็ นู ย์ และทงั้ เพราะ
เราไมม่ อี ำ� นาจจะบงั คบั วา่ กลา่ ว ขา้ ชอบอยา่ งนี้ ขนั ธห์ า้ จงเปน็ อยอู่ ยา่ งนเี้ ถดิ อยา่ ไดเ้ ปน็
อย่างอ่นื เลย อยา่ งนี้ไมไ่ ด้ ดเู หมือนกบั วา่ ของฝากของคนอื่นจรงิ ๆ คือวา่ เหมอื นมี
คนหนงึ่ เอารถหรอื ลอ้ หรอื เอาเกวยี นมาฝากไว้ พดู สง่ั วา่ เมอื่ ขา้ ยงั ไมม่ าเอาไปเมอ่ื ใดแลว้
กใ็ หใ้ ชใ้ หข้ ไี่ ปเถดิ ครนั้ แลว้ เมอ่ื ถงึ เวลา กม็ าเอาของทตี่ นฝากไวไ้ ปใชต้ ามทเ่ี ปน็ ของตน
ตามเคย เบญจขันธ์ของเรารวมสมมุตวิ า่ ตวั ตนน้ีกเ็ หมือนกบั ของฝากน้ัน

175

ต่อไปนี้พึงพิจารณาเพื่อเห็นหรือเข้าใจของจริงอีกทีหนึ่ง คือว่าสิ่งท่ีสมมุติชื่อ
คือต้ังชื่อว่า รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ น้ีเป็นเพียงสมบัติเท่าน้ันเอง
เป็นสังขารธรรม ใหพ้ จิ ารณาเพื่อออกเสีย เม่อื เพิกออกแลว้ พงึ เหน็ ส่วนทีเ่ หลอื ทเี่ คย
รองสมมตุ อิ ยนู่ น้ั เปน็ สภาวะ เปน็ ธรรมฐติ ิ ธรรมนยิ าย คอื เปน็ สภาวะเปน็ ธรรมตงั้ อยแู่ ลว้
เปน็ ธรรมทไี่ มม่ กี ารเปลยี่ นแปลง ตามทม่ี าทา่ นวา่ เปน็ วสิ งั ขารดว้ ย เปน็ ของจรงิ ยนื ตวั อยู่
เปน็ ปกตอิ ยอู่ ยา่ งนนั้ ใครจะสมมตุ เิ รยี กอะไรกต็ าม หรอื จะไมเ่ รยี กกต็ าม กเ็ ปน็ ของมี
และเปน็ ของกลางๆ และเปน็ ของจรงิ ยนื ตวั อยู่อยา่ งน้ันเอง ไม่มไี ม่เป็นขึน้ เพราะคน
สมมตุ ใิ ห้หรอื ไม่สมมุตใิ ห้ และไมม่ ไี ม่เป็นขนึ้ เพราะคนนิยม ไมเ่ สอื่ มไมด่ ับไปเพราะ
คนติเตยี นนินทาและไม่นับถือ

สภาวธรรมและสมมตุ นิ ้ี ใครจ่ ะกลา่ วเพอื่ พจิ ารณาวา่ เหมอื นอยา่ งวา่ มบี รุ ษุ ผหู้ นง่ึ
เอาเพชรมาวางไวแ้ ลว้ กไ็ ป มคี นหนงึ่ มาเหน็ เขา้ กเ็ รยี กวา่ แกว้ ตามภาษาของตนแลว้ กไ็ ป
มีคนหน่งึ มาอกี เมื่อเห็นเขา้ กก็ ลา่ วว่าเพชร ตามภาษาของตนแล้วก็ไป เมื่อเป็นเช่นน้ี
เมอ่ื คนแรกมาเรยี กแกว้ อยู่ กเ็ ปน็ อนั วา่ มแี ตแ่ กว้ สว่ นเพชรไมม่ ี เมอื่ คนที่ ๒ มา กม็ า
เรยี กวา่ เพชร กเ็ ปน็ อนั วา่ มแี ตเ่ พชร สว่ นแกว้ ไมม่ ี เมอ่ื เปน็ เชน่ นี้ ตกลงกไ็ มม่ ดี ว้ ยกนั
ทงั้ ๒ คอื แกว้ ก็ไมม่ ี เพชรกไ็ ม่มี มีแต่สภาวธรรมที่เปน็ กลางๆ อยู่นั้น ถา้ จะวา่ มี
กม็ โี ดยสมมตุ ดิ ว้ ยกนั ทง้ั สอง มเี พยี งสมมตุ เิ รยี กกนั เทา่ นนั้ สว่ นความจรงิ คอื กอ้ นอนั นนั้
เปน็ ของไมม่ ชี อ่ื ปกตอิ ยู่ ขนั ธ์ ๕ ทถี่ กู สมมตุ วิ า่ รปู เวทนา สญั ญา สงั ขาร วญิ ญาณ ถา้ เพกิ
เอาช่ือออกแล้ว ก็ยังเหลือแต่สภาวะและเป็นกลางเป็นของจริงยืนตัวเหมือนกันนั้น
ซงึ่ เปน็ สภาวะธรรมดา

ตอ่ ไปนพี้ ึงเขา้ ใจสงั ขารกบั วสิ ังขารตรงกันขา้ ม สังขตธรรม คอื ธรรมทมี่ ีปัจจัย
ปรงุ แต่งเปน็ สังขาร และ อสังขตธรรม คอื ธรรมที่เปน็ วิสังขารไมม่ ีปจั จยั แต่ง สว่ น
สงั ขตธรรม ยอ่ มมลี กั ษณะ ๓ ดงั นี้ คอื เกดิ ขนึ้ กป็ รากฏ ๑ ตงั้ อยแู่ ละแปรไปกป็ รากฏ ๑
ดบั ไปกป็ รากฏ ๑ เมอ่ื เปน็ เชน่ นี้ เบญจขนั ธข์ องคนเราทเี่ กดิ ขนึ้ นี้ กค็ อื เกดิ ขนึ้ กป็ รากฏ
ตง้ั อยแู่ ละแปรไปกป็ รากฏ ดบั ไปกป็ รากฏ ทเ่ี ปน็ สงั ขารธรรมอนั ปจั จยั แตง่ จงึ ประกอบ
ไปดว้ ยทกุ ข์เหลือทน ยากที่จะอยู่ได้ดว้ ยงา่ ย ส่วนวสิ ังขารธรรม คือ ธรรมปราศจาก

176

สงั ขาร ไมม่ เี หตปุ จั จยั แตง่ นนั้ กม็ อี สงั ขตลกั ษณะ ๓ พงึ กำ� หนดดงั น้ี คอื เกดิ ขน้ึ กไ็ ม่
ปรากฏ ๑ ตั้งอยูแ่ ละแปรไปก็ไมป่ รากฏ ๑ ดบั ไปกไ็ ม่ปรากฏ ๑ น้ี

เมือ่ กล่าวถึงนิพพานแลว้ นพิ พานก็อยู่ในอสงั ขตลกั ษณะ ๓ น้ี นพิ พานจงึ ไม่
ประกอบดว้ ยทกุ ข์ นพิ พานเปน็ ธรรมทไี่ มม่ ปี จั จยั แตง่ จงึ เรยี กวา่ นพิ พาน เปน็ วสิ งั ขารแท้
เมอื่ กลา่ วอยา่ งนแี้ ลว้ กอ็ ยา่ พงึ เขา้ ใจวา่ ความไมม่ เี บญจขนั ธเ์ ปน็ นพิ พาน เพราะวา่ เมอ่ื
อรยิ มรรคเกดิ ขนึ้ ทเ่ี อานพิ พานเปน็ อารมณ์ แลว้ ฆา่ กเิ ลสตายนน้ั เบญจขนั ธ์ คอื ขนั ธ์ ๕
กย็ งั มปี รากฏบรบิ รู ณอ์ ยู่ ไมไ่ ดส้ ญู หายไปไหน และนพิ พานปราศจากสมมตุ ิ ไมม่ สี มมตุ ิ
ชื่อเสียงโดยประการทั้งปวง แต่ธรรมคือนิพพาน ท่ีสมมุติว่าอายตนะนั้นมีอยู่แท้
ที่สมมุติว่าอายตนะคือนิพพานนั้น ก็แต่เพียงว่าสิ่งอันหน่ึงเท่าน้ัน ไม่ได้มีชื่อเสียง
อยา่ งใด และไมใ่ ช่ ดนิ นำ�้ ไฟ ลม ไมใ่ ชอ่ ากาศ และวญิ ญาณ ไมใ่ ชม่ อี าการจากนไ้ี ปโนน้
ไมใ่ ชม่ อี าการโนน้ มาน้ี ไมใ่ ชม่ อี าการขน้ึ ไปแลว้ ลงมา ความจตุ ิ ความเคลอื่ นไมม่ ี และ
ไม่มที ตี่ ้ังอยทู่ ี่ใดท่ีหน่ึง ไม่มสี ิ่งใดส่ิงหนึ่งเปน็ อารมณเ์ ลย นเ้ี รียกวา่ นพิ พาน ซ่งึ เป็น
ทีส่ ุดแห่งทกุ ขแ์ ละเปน็ ท่ีสดุ แหง่ ความสุขในโลก ไมม่ ีสขุ อน่ื ยิ่งไปกวา่

อยา่ งหน่งึ ท่วี ่า เหน็ นพิ พานรนู้ พิ พาน ก็เหมือนคนเขา้ ไปในวิหาร แลว้ ไปเหน็
แก้ววิเศษก็เหมือนกัน คือสมมุติว่ามีวิหารใหญ่หลังหนึ่งที่มีแก้ววิเศษดวงหน่ึง
ราคาแพง จนเรยี กวา่ ไมม่ คี า่ และในวหิ ารไมม่ สี ตั วส์ ง่ิ ตา่ งๆ ใดๆ ทง้ั หมด ทสี่ มมตุ วิ า่
มนษุ ย์ เทวดา อนิ ทร์ พรหม นาค ครฑุ มารดา บดิ า ลงุ ปา้ นา้ อา ชาย หญงิ ไมม่ เี ลย
ยงั มีบุรุษคนหนึ่งเข้าไปในวิหารนัน้ ไปเห็นแกว้ ถนัดตาและจับยกขึ้นดดู ว้ ยมือตนเอง
แลว้ พอใจอยา่ งยง่ิ หาทส่ี ดุ มไิ ด้ ครน้ั แลว้ เมอื่ จะพดู กบั ใครผใู้ ดผหู้ นงึ่ วา่ ลงุ ปา้ นา้ อา
จงมาดแู กว้ นวี้ เิ ศษยงิ่ นกั กไ็ มม่ ผี ใู้ ดอยใู่ นนนั้ พอจะพดู กนั ได้ จงึ เปน็ อนั วา่ พดู ไมอ่ อก

ครน้ั วางแกว้ ไวท้ เี่ ดมิ แลว้ กอ็ อกมาภายนอก จงึ มาเหน็ มนษุ ยห์ ญงิ ชาย เหน็ เพอ่ื น
มติ รสหายและพน่ี อ้ งปา้ ลงุ จงึ พดู ขนึ้ ไดว้ า่ ลงุ อาทง้ั หลาย แกว้ ดวงหนงึ่ มอี ยใู่ นวหิ ารนี้
แสงสวา่ งไสวประเสรฐิ ทส่ี ดุ ใครอยากดใู ห้เขา้ ไปในวิหารน้เี ถดิ จะเห็นแก้วนไ้ี ม่ต้อง
สงสยั อนั นฉ้ี นั ใด เมอื่ ดนู พิ พานดว้ ยปญั ญากเ็ หน็ วา่ นพิ พาน ไมม่ สี มมตุ บิ ญั ญตั ิ ไมม่ ี
สตั วส์ งั ขารใดๆ ในนพิ พานเลย ไมม่ เี กดิ แก่ เจบ็ ตาย อะไรทง้ั หมด ดงั ทโี่ ลกเปน็ อยู่

177

ไมม่ มี นษุ ย์ สตั ว์ บคุ คล ชาย หญงิ ใดๆ ทงั้ สน้ิ แตเ่ มอื่ จะพดู วา่ นพิ พานกพ็ ดู ดว้ ยสมมตุ ิ
วา่ นพิ พานเปน็ อยา่ งนน้ั ๆ คอื อกมาพดู กนั เพอื่ รเู้ พอ่ื เปน็ เครอื่ งหมายพอใหร้ โู้ ดยสมมตุ ิ
โวหาร เหมือนบุรุษเข้าไปในวิหารยังพูดไม่ได้ แล้วออกมาพูดได้แต่ภายนอกวิหาร
ฉะนัน้

ถา้ เมอ่ื แยกสงั ขตธรรมอนั เปน็ สงั ขาร คอื แยกขนั ธ์ ๕ ออก กำ� หนดใหแ้ จง้ ชดั แลว้
และกระทำ� ใหเ้ หน็ ชดั ใจ สว่ นวสิ งั ขาร คอื อสงั ขตธรรม ทไี่ ดแ้ ก่ ธรรมไมม่ ปี จั จยั แตง่
ไดแ้ ลว้ จะไดอ้ านิสงส์มากมายเหลอื ที่จะน�ำมากล่าวให้สน้ิ สดุ ได้ จะละความเมาลาภ
เมายศ เมาความสรรเสริญ เมาความสขุ ได้ และละความเมารปู เมาเสยี ง เมากลน่ิ
เมารส เมาเครอื่ งสัมผสั ถกู ต้อง เป็นต้นได้ ตามกำ� ลังน้อยมาก ท่ีเหมือนบรุ ษุ คนเมา
ไปเหน็ กองดอกจานกลางคนื แลหลงวา่ เนอื้ เมอ่ื แสงพระอาทติ ยข์ นึ้ กห็ มดอาลยั ดงั กลา่ ว
แลว้ เฉพาะอยา่ งยง่ิ ในทนี่ ้ี จะละความเมารปู กาย คอื ตวั ตน ทเ่ี หน็ วา่ ตนเหน็ รปู เวทนา
สญั ญา สงั ขาร วญิ ญาณ แลเห็นว่า รูป เวทนา สญั ญา สงั ขาร วิญญาณ เป็นตน้
เห็นวา่ ตนอยใู่ น รปู เวทนา สัญญา สงั ขาร วิญญาณ เห็นวา่ รปู เวทนา สัญญา
สงั ขาร วญิ ญาณ อยใู่ นตน อนั เปน็ ทฏิ ฐวิ ปิ ลาส ๒๐ ประการ อนั เปน็ สกั กายทฏิ ฐิ และ
เป็นสกั กายสมุทัยเสียได้

ครน้ั แลว้ เบญจขนั ธ์ คอื ขนั ธ์ ๕ น้ี กก็ ลายเปน็ สกั กายนโิ รธ คอื ทฏิ ฐวิ ปิ ลาส ๒๐
ประการ ดับไปนัน้ เอง ทเ่ี รียกว่า ละสักกายทฏิ ฐเิ สียได้ และจะละเสยี ได้ซึง่ วจิ ิกจิ ฉา
ความสงสยั ในกาล ๓ คอื อดตี กาล อนาคตกาล ปจั จบุ นั กาล คอื วา่ เบญจขนั ธท์ เี่ ปน็
อดตี ทลี่ ว่ งไปแลว้ กเ็ ปน็ เพยี งสญั ญาเทา่ นน้ั กเ็ ปน็ อนั วา่ ลว่ งไปแลว้ กช็ อื่ วา่ ไมม่ เี บญจขนั ธ์
ท่เี ปน็ ส่วนอนาคตกย็ งั มาไมถ่ ึง ก็เป็นอันว่าไมม่ ี เบญจขันธท์ เ่ี ป็นปัจจุบันปรากฏอยู่
เฉพาะหนา้ เดี๋ยวนี้ ก็เปน็ เพียงสญั ญาเขา้ อีก ทด่ี ับ กด็ ับไปวา่ งไป ท่ีเกิดเปน็ สนั ตติ
สบื ตอ่ กนั กเ็ กดิ ไป แลว้ กด็ บั ไปเลา่ แลว้ กเ็ กดิ สบื ตอ่ กนั ไปอกี ทสี่ ดุ กเ็ ปน็ เพยี งสง่ิ ทวี่ า่ ง
ท่ีเปลา่ อย่เู ท่าน้นั เอง กเ็ ปน็ อนั ไม่มนี ั้นเอง

เมอ่ื เหน็ ชดั อยา่ งนแี้ ลว้ กเ็ ปน็ อนั สนิ้ สงสยั ใน ๓ กาลดงั กลา่ วแลว้ และหมดความ
สงสยั ในศลี แลวตั รปฏบิ ตั ขิ องตน หมดความสงสยั ในพระพทุ ธเจา้ พระธรรม พระสงฆ์

178

เป็นอย่างดี เพราะศีล สมาธิ ปญั ญา ตนกไ็ ด้ประพฤตปิ ฏิบตั ิทำ� ใหเ้ กดิ ใหม้ ีขนึ้ แล้ว
จนได้เห็นคุณเห็นประโยชน์ คือความสุขใจได้มีแก่ใจตนแล้ว ได้มีความเชื่อต่อ
ไตรสกิ ขาอนั เปน็ ภายในแจง้ ชดั ใจไมไ่ ดป้ ระโยชนส์ ขุ เพราะศลี แลวตั รปฏบิ ตั อิ ยา่ งอนื่
อนั เปน็ ภายนอกศาสนาน้ี ไดล้ ะความลำ� บาก ใจทส่ี งสยั วา่ อะไรหนอๆ อยา่ งนเี้ สยี ไดแ้ ลว้
ก็ได้สุขใจท่ีเห็นประจักษ์ใจ ไม่ต้องเชื่อแต่ผู้อื่นเป็นเบื้องหน้าได้แล้ว คร้ันแล้วก็ละ
สลี พั พตปรามาสไปตามกนั ทวี่ า่ สลี พั พตปรามาส นนั้ กค็ อื ความลบู คลำ� ศลี แลวตั รท่ี
ตนประพฤตปิ ฏิบตั ิอยนู่ ั้นเอง

ดว้ ยวา่ เมือ่ ไตรสกิ ขา คอื ศีล สมาธิ ปญั ญา ยังไม่ปรากฏแจง้ ชดั แก่ใจตนเอง
กช็ อ่ื วา่ ยงั มวั เหมอื นกบั วา่ ศลี อยกู่ บั ผอู้ น่ื ขอ้ วตั รปฏบิ ตั ติ อ้ งอาศยั ผอู้ น่ื เปน็ ผนู้ ำ� ผบู้ อก
ตอ้ งไปศกึ ษาถามผอู้ น่ื แลว้ จงึ ปฏบิ ตั เิ ปน็ ไป ชอ่ื วา่ เหมอื นศลี แลวตั รอยกู่ บั ผอู้ น่ื ยงั ไม่
เป็นสันทฏิ ฐิโกที่ตนเห็นเอง คร้ันแล้วก็ลูบคล�ำศีลและวตั รปฏิบัตวิ า่ ศลี เราจะบริสุทธ์ิ
หรอื หนอ วัตรของเราจะเศร้าหมองหรอื หนอ แล้วก็ปฏบิ ัตเิ ปน็ ไป และบางทกี ็ปฏบิ ตั ิ
เอาแต่ประเพณีธรรมเนียมเขา้ ว่าบา้ ง และเอาแตต่ ำ� ราเขา้ วา่ บา้ ง เข้าใจวา่ บญุ กุศลอยู่
กบั ประเพณีแต่อยา่ งเดยี วเทา่ นั้น ยงั ไมเ่ ขา้ ใจทีแ่ จง้ ใจว่า ประเพณีธรรมเนียมก็ดีอยู่
เปลอื กหนง่ึ แตส่ ว่ นธรรมทแี่ จง้ ทสี่ วา่ งกบั ใจมอี กี ทหี นงึ่ เมอื่ เปน็ เชน่ นกี้ ย็ งั ลำ� บากทจ่ี ะ
ลูบๆ คล�ำๆ ต่อไป

ตอ่ เมอ่ื ไตรสกิ ขาคอื ศลี สมาธิ ปญั ญา ทต่ี นทำ� ใหเ้ กดิ ใหม้ ขี น้ึ ทต่ี นนน้ั ไดท้ ำ� ให้
สวา่ งแจง้ ขึ้นกับใจตนเอง ศีล สมาธิ ปญั ญา น้ีท�ำใจตนใหไ้ ด้ความสขุ ใจ ไมใ่ ช่อนื่
ได้รู้แจ้งผลพร้อมท้ังเหตุแล้วก็หมดสงสัยดังกล่าวแล้ว ก็ละถอนสีลัพพตปรามาส
ความลบู คล�ำศลี แลวัตรเสียได้ ผถู้ อนลูกศร ๓ ประการ คือ สักกายทฏิ ฐิ วจิ กิ ิจฉา
สีลัพพตปรามาส อันเป็นเคร่ืองแทงเสียบอยู่ในอกในจิตใจนี้เสีย ได้ชื่อว่าเป็นผู้ได้
ตกกระแสธรรมทเี่ ปน็ โลกตุ รธรรม นบั วา่ เปน็ สปุ ฏปิ นั โนบคุ คลไดแ้ ลว้ มอี นั ไมไ่ ปสทู่ คุ ติ
เป็นธรรมดา

ผมู้ ธี รรมเกดิ ในใจ ผู้ตกกระแสธรรมแลว้ อยา่ งนี้ ย่อมไม่เป็นทกุ ข์ในใจ เพราะ
จนทรัพย์ภายนอก ถงึ ว่าเงินทองเป็นตน้ อนั เปน็ ทรพั ย์ภายนอก มีน้อยก็ยงั มคี วาม

179

สขุ ใจมาก เพราะเปน็ ผมู้ อี รยิ ทรพั ย์ มศี รทั ธา มศี ลี เปน็ ตน้ ไดเ้ กดิ มกี บั ตนใหไ้ ดภ้ มู ใิ จ
มคี วามสขุ อยเู่ ปน็ ปกติ และเหน็ นพิ พานปรากฏกบั ใจ ไมต่ อ้ งอาศยั แตผ่ อู้ นื่ บอก และ
ไม่อาศัยแต่อ้างต�ำราเป็นประมาณ ผู้มีทรัพย์ภายนอก มีวิญญาณกทรัพย์และ
อวญิ ญาณกทรพั ยม์ ากมายกา่ ยกอง กไ็ มไ่ ดค้ วามสขุ เทา่ ผถู้ งึ ธรรมนไ้ี ด้ และเปน็ ผมู้ คี ณุ
พระพทุ ธเจ้า พระธรรม พระสงฆ์ ปรากฏเฉพาะหนา้ เป็นนิตย์เสมอ เป็นอจลศรทั ธา
ไมม่ เี วลาเสอื่ ม ผใู้ ครต่ อ่ ความสขุ แทจ้ รงิ ทมี่ ใี นพระศาสนาแลว้ กอ็ ยา่ ประมาท ใหอ้ ตุ สา่ ห์
พยายามเถดิ ถา้ พระธรรมอนั เปน็ ความจรงิ เปน็ ของเกนิ ความสามารถแลว้ พระพทุ ธเจา้
กค็ งไมต่ รัสไว้ ถ้าผูใ้ ดปฏบิ ัตจิ รงิ กจ็ ะไดป้ ีติปราโมทย์

180

อายตนะ ๑๒

จกฺขวฺ ายตนํ อายตนะ คอื ตา รปู ายตนํ อายตนะ คอื รปู โสตายตนํ อายตนะ
คอื หู สททฺ ายตนํ อายตนะ คอื เสยี ง ฆานายตนํ อายตนะ คือ จมูก คนธฺ ายตนํ
อายตนะ คอื กลนิ่ ชวิ หฺ ายตนํ อายตนะ คอื ลน้ิ รสายตนํ อายตนะ คอื รส กายายตนํ
อายตนะ คอื กาย โผฏ€พพฺ ายตนํ อายตนะ คอื โผฏฐพั พะถกู ตอ้ ง มนายตนํ อายตนะ
คือ ใจ ธมฺมายตนํ อายตนะ คือ ธรรมารมณ์

อายตนะ ท่านแปลวา่ ที่ตอ่ แลแปลว่า บอ่ เกิด อายตนะ ท้งั ๑๒ นี้ สว่ นทเ่ี ป็น
ภายในมี ๖ คอื ตา หู จมกู ลนิ้ กาย ใจ สว่ นทเ่ี ปน็ ภายนอกมี ๖ คอื รปู เสยี ง กลนิ่ รส
เครอ่ื งสัมผสั ถูกตอ้ งกาย ธรรมารมณ์ คอื อารมณท์ ่ีเกิดกับใจดงั นี้

อายตนะ ๑๒ นเ้ี ปน็ สำ� คญั อยา่ งหนงึ่ วา่ ทางปฏบิ ตั กิ เ็ ปน็ ไดท้ ง้ั ศลี สมาธิ ปญั ญา
ไดด้ ดี ว้ ย คอื อนิ ทรยี สงั วรศีล ก็ได้แก่ความมสี ตสิ ำ� รวมอายตนะภายใน ๖ น้ี ไม่ให้
ยนิ ดยี นิ รา้ ยในเมอื่ อารมณม์ รี ปู มากระทบทางทวารตา เปน็ ตน้ ทเี่ รยี กวา่ อนิ ทรยี สงั วรศลี
ส่วนสมาธิ กค็ อื การก�ำหนดส่วนแหง่ ศลี หรอื ส่วนแหง่ ตา หู จมกู ลิ้น กาย ใจ
ทส่ี ว่ นใดสบายแกใ่ จ กก็ ำ� หนดเอาส่วนนน้ั เปน็ อารมณ์ จติ กเ็ ปน็ สมาธิ ส่วนปญั ญา
กค็ อื ความรคู้ วามเหน็ ในอายตนะทเี่ ปน็ ภายในแลภายนอกทว่ั ถงึ ตามเปน็ จรงิ อยา่ งไร
แลรู้ไปในศลี ในสมาธิ ไปตามกนั และอายตนะสว่ นภายใน ๖ คือ ตา หู จมกู ล้ิน
กาย ใจ น้ี

181

ถา้ ปกตอิ ยู่ ไมไ่ ดก้ ระทบกบั อารมณอ์ นั ใด คอื รปู เสยี ง กลน่ิ รส เครอ่ื งสมั ผสั
อารมณ์ทีเ่ กิดกับใจ ท่ีเปน็ อายตนะภายนอกไม่มากระทบในตา เป็นต้น กไ็ ม่เรยี ก
อายตนะ ไมเ่ ปน็ อายตนะ ถา้ ว่า รปู เสียง กลน่ิ รส เคร่อื งสมั ผัส ธรรมารมณ์
มาต่อกันเขา้ เมื่อใด ก็เป็นอายตนะเมือ่ นั้น ครนั้ แล้วก็พร้อมด้วยเกดิ จกั ขสุ มั ผัส และ
เกดิ จกั ขวุ ญิ ญาณ แลว้ กเ็ กดิ เวทนา เกดิ ตณั หา อปุ าทาน เกดิ ทำ� ดที ำ� ชวั่ เกดิ พดู เกดิ คดิ
ตดิ ตอ่ กนั ไปทวั่ โลกโลกา ไมม่ ที สี่ ดุ อยา่ งนจ้ี งึ วา่ เปน็ ทงั้ ทตี่ อ่ เปน็ ทง้ั บอ่ เกดิ เมอ่ื เสยี ง
มากระทบหเู มอ่ื ใด เปน็ สว่ นดหี รอื เปน็ สว่ นชว่ั กใ็ หเ้ ปน็ อายตนะเมอื่ นนั้ ครนั้ แลว้ กเ็ กดิ
ผสั สะ และโสตวญิ ญาณ เกดิ เวทนา ตัณหา อปุ าทาน แล้วประกอบกรรมดี กรรมชวั่
เกดิ โลภ โกรธ หลง เกิดชงั เกิดรกั ตดิ ต่อกนั ไปยืดยาวไม่มที ่สี น้ิ สดุ อีก เม่ือกลิ่น รส
เครอื่ งสมั ผสั ธรรมารมณ์ มาตอ่ กบั จมกู ลน้ิ กาย ใจ กใ็ หเ้ กดิ เปน็ อายตนะ แลว้ เกดิ
ผสั สะวญิ ญาณ เวทนา ตณั หา อปุ าทาน ตอ่ ๆ กนั ไป จนเกดิ ความเหน็ ชอบและความ
เหน็ ผดิ เกดิ เปน็ ประโยชนเ์ ปน็ คณุ คดิ กศุ ลคดิ บญุ ทงั้ เจรญิ และเสอ่ื มแผอ่ อกลามปาม
เต็มโลกเหมือนกันกบั จกั ขโุ สตนัน้

อย่างหนึ่ง สิ่งทง้ั ๖ คอื ตา หู จมูก ล้ิน กาย ใจ น้เี ป็นเคร่อื งใชไ้ ด้ดี เมอื่ เวลา
ตอ้ งการดรู ปู ใชต้ าดแู ละเหน็ รปู เมอื่ เวลาตอ้ งการฟงั เสยี ง ใชห้ ฟู งั แลว้ รเู้ สยี งดเี สยี งรา้ ย
เมอ่ื เวลาประสงคร์ กู้ ลน่ิ ใชจ้ มกู เวลาปรารถนารส กใ็ ชล้ นิ้ ถา้ ปรารถนาสมั ผสั กใ็ ชก้ าย
เมื่อมีอารมณ์มาทางใจ ก็ใช้ใจรับรู้อารมณ์ดีอารมณ์ชั่วได้ ถ้าขาดไปแต่อย่างใด
อยา่ งหนง่ึ หรอื ๒ อยา่ ง คอื มตี า แตบ่ อดมดื เสยี กด็ ี หรอื หหู นวกเสยี กด็ ี หรอื ทงั้ บอด
ทง้ั หนวกกด็ ี เทา่ นกี้ เ็ สยี ความสขุ ในโลกไปไมใ่ ชน่ อ้ ยเลย ยง่ิ ถา้ เสยี สว่ นใจเขา้ คอื มใี จ
แตค่ ลมุ้ คลงั่ ไป ทไี่ ดแ้ กบ่ า้ อนั นย้ี งิ่ รา้ ยทสี่ ดุ เลยเสยี ตามกนั ไปหมดทกุ อยา่ ง หาความ
สขุ มิได้

ถา้ ดบี รบิ รู ณท์ กุ อยา่ ง แตไ่ ปตอ่ กบั ทางผดิ ใชไ้ ปในทาง อวชิ ชา โมหะ อยา่ งเดยี ว
กจ็ ะเตม็ ไปดว้ ยความมดื และเตม็ ไปดว้ ยโทษอยา่ งมหนั ต์ ถา้ เปน็ ไปกบั ทางชอบ ใชไ้ ปใน
ทางวชิ ชา ปญั ญา เครอ่ื งสวา่ ง กย็ งิ่ สวา่ งกา้ วหนา้ ทวคี ณู เตม็ ไปดว้ ยคณุ อนนั ตห์ าทส่ี ดุ
มไิ ด้ ค�ำวา่ เป็นบอ่ เกดิ กช็ ่างสมเสยี จรงิ ๆ ทั้งเป็นบอ่ เกดิ ท่ีทำ� ใหเ้ กดิ มรรคผล คือ

182

ทำ� ใหเ้ กดิ ไดม้ รรคไดผ้ ล ทำ� ใหไ้ ดถ้ งึ นพิ พานทน่ี เี้ อง และทางฝา่ ยชว่ั กท็ ำ� ใหเ้ กดิ บาปกรรม
และเวร ทำ� ใหเ้ กดิ ทุคติที่นี้ด้วยอยา่ งหนึง่ ความเปน็ ปกติของอายตนะนีม้ ีอยู่ คอื ใจนี้
เม่อื ไม่มีอารมณด์ อี ารมณ์ชั่วมากระทบใจ ก็เปน็ ปกติอยู่ คือเฉยๆ อยู่ สว่ นตาเลา่
เมอ่ื ไมม่ อี ารมณ์ คอื รปู ดรี ปู ชวั่ มากระทบตา กเ็ ปน็ ปกตเิ ฉยๆ อยู่ หู จมกู ลน้ิ กาย กม็ ี
ปกตขิ องตนๆ ถ้าไมม่ ีเสียง กลิน่ รส เครื่องสมั ผัสมาถงึ กเ็ ฉยๆ อยู่ ฝา่ ยอายตนะ
ภายนอกเขาก็เป็นปกติอยู่อย่างนี้คือ รูปเขาก็ปกติอยู่เฉยๆ ตามหน้าที่อยู่อย่างนั้น
เสยี ง กลิน่ รส วัตถุเคร่อื งสมั ผสั ถูกต้อง ก็เหมือนอย่างน้ัน ย่อมเป็นปกติตามหน้าที่
ของตนๆ

แตใ่ จนี้ เมอื่ อารมณด์ หี รอื อารมณช์ ว่ั มากระทบเขา้ ใจมกั เสยี ปกติ ถา้ ใจเสยี ปกติ
ไหวไปตามอารมณ์ เกดิ ยินดยี ินรา้ ย ดใี จเสียใจไปตามอารมณ์แลว้ ก็ชอื่ ว่าเสยี ปกติ
เม่ือใจเสียปกติแลว้ รปู กเ็ ลยเสียปกติไปด้วยตามกันน้อยบา้ งมากบ้าง เลยกลายเป็น
ยงุ่ เหยงิ เปน็ ใหญเ่ ปน็ โตไปกแ็ ลว้ แตบ่ างคราวถงึ รปู ไมม่ ากระทบตาดงั กลา่ วนี้ ใจกย็ งั
ส่ายหาเพ่อื ตอ้ งการรปู อันนี้ก็ชอ่ื ว่าเสยี ปกตแิ ลว้ ตา หู จมกู ลน้ิ กาย ก็เสยี ปกติ
ไปหมดด้วยกนั รปู เสียง กล่ิน รส เครอ่ื งสมั ผสั อารมณท์ เี่ กดิ กบั ใจ ก็เสียปกติ
ไปทุกอย่าง

เมอ่ื เปน็ เชน่ น้ี พงึ เขา้ ใจวา่ อายตนะภายนอกไมเ่ ปน็ สำ� คญั เขากอ็ ยตู่ ามเรอื่ งตาม
หนา้ ที่ เขากม็ เี ขากด็ บั ไปตามปกตธิ รรมดาของเขาเทา่ นนั้ เอง บางทเี ขากม็ าผา่ น บางที
เขากไ็ ม่มาผ่าน ที่เขามาผ่านแลว้ ถ้าเราไม่รบั เขา เขาก็ผ่านไปผา่ นมาตามเรอ่ื งของเขา
ผ่านแลว้ เขากด็ บั ไปเอง แตเ่ อาอายตนะภายใน คือ ตา หู จมกู ล้นิ กาย ใจ ไว้ให้ได้
กแ็ ลว้ กนั สว่ นสำ� คญั ทส่ี ดุ กค็ อื ใจ ถา้ เอาใจไวใ้ หอ้ ยอู่ นั เดยี ว กป็ กตอิ ยไู่ ดส้ น้ิ ทง้ั หมด
ด้วยกนั คร้ันแลว้ อยา่ งหนงึ่ พงึ เหน็ ส่วนภายใน คอื ตา หู จมกู ล้นิ กาย ใจ ทง้ั น้ี
เปน็ สงิ่ ทไี่ มเ่ ทยี่ ง เปน็ ทกุ ข์ มคี วามเปน็ ของไมใ่ ชต่ วั ตน เปน็ ปกตธิ รรมดา อยา่ ใหอ้ วชิ ชา
ตณั หา อุปาทาน ครอบงำ� ใจ และอยา่ ให้ ตา หู จมกู ลนิ้ กาย ใจ เป็นเคร่ืองรกใจ
ดังทีม่ าในคมั ภรี ์วิสุทธมิ รรคเปน็ ใจความว่า

183

อายตนะภายใน ๖ คอื ตา หู จมกู ลนิ้ กาย ใจ นใ้ี หพ้ จิ ารณาใหเ้ ปน็ อนจิ จฺ ํ ทกุ ขฺ ํ อนตตฺ า
เป็นของไมเ่ ทีย่ ง เปน็ ทกุ ข์ และเป็นของไม่ใช่ตวั ตน เป็นของวา่ งของเปลา่ ของศนู ย์
ทเ่ี ป็นเหมอื นบา้ งร้าง บา้ นเซ บ้านเปลา่ บ้านศูนย์ทง้ั ๖ บ้าน คอื เทียบดว้ ยบา้ นร้าง
อยู่ ๖ บา้ น ท่ผี ู้คนไม่มีอยู่หนีไปอยทู่ ีอ่ น่ื ปลอ่ ยให้รา้ งวา่ งเปล่าเอาไว้จากผคู้ น และ
ผลประโยชน์อยา่ งอืน่ มีผลไม้ เปน็ ต้น อายตนะ คอื ตา หู จมกู ลนิ้ กาย ใจ ก็เป็น
เหมอื นบ้านร้าง ฉะนั้น ทยี่ งั อายตนะภายนอก ๖ คอื รูป เสียง กล่นิ รส โผฏฐัพพะ
ธรรมารมณ์ ถา้ เมอื่ รปู มากระทบตา จะเปน็ รปู ดกี ต็ าม รปู ชว่ั กต็ าม กใ็ หพ้ จิ ารณาวา่ ไมเ่ ทย่ี ง
เป็นทกุ ข์ มคี วามแปรปรวนเปน็ ธรรมดา ไม่ให้ใจยินดียินร้าย ใหเ้ ปน็ ปกติ เปน็ กลาง
เมอื่ เสยี งมากระทบหู จะเปน็ เสยี งดหี รอื เสยี งไมด่ กี ด็ ี เมอื่ กลนิ่ มากระทบจมกู จะเปน็
กลนิ่ ดหี รอื กลน่ิ ไมด่ กี ด็ ี เมอื่ รสมากระทบลนิ้ จะเปน็ รสดหี รอื ไมด่ กี ด็ ี เมอ่ื เครอื่ งสมั ผสั
มากระทบกาย จะเปน็ ของประณตี หรือของหยาบกด็ ี

เมอ่ื อารมณ์ คอื สงิ่ ทเี่ ราไดเ้ หน็ ไดย้ นิ ไดฟ้ งั และไดก้ ลน่ิ ไดล้ ม้ิ รสอาหาร ไดถ้ กู ตอ้ ง
โผฏฐพั พะดว้ ยกาย มาแตก่ อ่ นทเี่ ปน็ สญั ญาความจำ� หมายทง้ั ๕ อยา่ ง คอื เสยี ง กลนิ่
รส เครอ่ื งสมั ผสั อารมณ์ เกดิ กบั ใจดงั กลา่ วนมี้ าเกดิ ขนึ้ กใ็ หม้ สี ตพิ จิ ารณาใหร้ เู้ ทา่ วา่
ไมเ่ พยี งเปน็ ทกุ ข์ มคี วามแปรปรวนเปน็ ธรรมดา ใหเ้ หน็ ตามเปน็ จรงิ อยา่ งไรแลว้ อยา่ ให้
ใจยินดยี นิ ร้าย ไม่พงึ ดใี จเสียใจ ในเม่อื ส่ิงเหลา่ นีม้ ีขนึ้ และดบั ไป แปรเปน็ อ่ืน ทำ� ใจ
ใหเ้ ป็นกลาง เปน็ อเุ บกขาตง้ั อยู่ และให้รใู้ ห้เหน็ ใจ และปกตขิ องใจ เมือ่ วปิ สั สนา
ปญั ญาเกดิ กลา้ เปน็ อรยิ มรรคฆา่ กเิ ลสตาย ไมต่ ดิ ในอารมณ์ จติ เปน็ อเุ บกขา เปน็ กลาง
ศลี ทเี่ กดิ ขนึ้ พรอ้ ม กเ็ ปน็ อธศิ ลี สกิ ขา สมาธทิ เี่ กดิ ขนึ้ พรอ้ ม กเ็ ปน็ อธจิ ติ ตสกิ ขา ปญั ญา
ทเ่ี กดิ ข้ึนพรอ้ มก็เปน็ อธปิ ญั ญาสิกขา

อยา่ งหนงึ่ อายตนะภายใน ๖ คอื ตา หู จมกู ลนิ้ กาย ใจ นี้ ทา่ นวา่ เปน็ ทวาร ๖
ดว้ ยทวาร คอื ชอ่ งทเี่ ปน็ ทางเดนิ ของจติ ทเ่ี ทย่ี ว ทเี่ ดนิ ออกเดนิ เขา้ ทอ่ี าศยั อายตนะ
ภายนอก ๖ คอื รปู เสยี ง กลนิ่ รส เครอ่ื งสมั ผสั อารมณท์ มี่ าทางใจ ทวาร คอื ชอ่ ง ๖
ช่องนี้ ชอ่ งใจเปน็ ช่องสำ� คัญกวา่ ช่องทงั้ หลายอ่ืน อย่างนีส้ มกบั ท่ีมาอนั พระอาจารย์
ทา่ นกลา่ ววา่ “อยา่ สง่ ใจออกไปภายนอก อยา่ วงิ่ ตะครบุ แสงตะครบุ เงา ใหจ้ บั ตวั ใหถ้ กู

184

ใหท้ วนกลบั ใจเขา้ มาตง้ั ทใี่ จ” ตอ่ ไปนใี้ ครจ่ ะกลา่ ววา่ คำ� วา่ อยา่ สง่ ใจออกไปภายนอกนนั้
คืออยา่ ส่งใจออกไปตามสัญญาอารมณภ์ ายนอก ให้ทวนกลบั ใจเข้ามาตั้งทใี่ จ ให้ดับ
สญั ญา อุปาทาน ในอารมณภ์ ายนอกเสีย เอาสติมาระลกึ อยทู่ ใ่ี จ เอาความรู้มารอู้ ยู่
ท่ใี จ

ท่ีกล่าวอย่างน้ีแล้ว ปรารถนาจะกล่าวเร่ืองเพื่อเทียบกัน เปรียบความเพ่ือให้
เข้าใจง่าย คือมีพรานเนื้อคนหนึ่ง เม่ือได้ข้าวถุงเพ่ือเป็นเสบียงแล้วแบกปืนขึ้นบ่า
ออกเดนิ ทางไปปา่ ใหญด่ ว้ ยความตงั้ ใจจรงิ ครนั้ ไปเหน็ รอยแรดตวั หนง่ึ ทมี่ นี อดวี เิ ศษ
ยงิ่ นกั กต็ ามรอยแรดตวั นนั้ ไป ใครจ่ ะไดย้ งิ เอานอมาขายใหไ้ ด้ ครน้ั ตามรอยไปดว้ ย
ความทย่ี ังไม่ฉลาด ก็เอารอยเข้าวา่ ถา้ รอยเขา้ ป่าเข้ารกกเ็ ขา้ ดว้ ย หนามขูดขาขดู แข้ง
ถ้ารอยออกที่เตียนก็ออกตาม ถ้ารอยโค้งวกไปโน้นก็โค้งไปตาม และเห็นข้ีเก่าบ้าง
ขใี้ หมบ่ า้ ง และทำ� ใหช้ า้ ไมท่ นั แรด กเ็ ปน็ อนั ไมไ่ ดย้ งิ ครนั้ หมดขา้ วถงุ แลว้ กก็ ลบั คนื บา้ น
เลยไมไ่ ดน้ อแรดดีนัน้ มาขายตามปรารถนา

ครน้ั แลว้ มพี รานคนท่ี ๒ เมอื่ ไดข้ า้ วถงุ เพอื่ เปน็ เสบยี งแลว้ แบกปนื ออกปา่ ไปเหน็
รอยแรดท่ีมีนอดเี ข้าอกี ก็ตัง้ ใจตามรอยแรดตอ่ ไป ด้วยความดีใจวา่ เราจะไดย้ ิงแรด
จะไดน้ อดมี าขายให้ได้เปน็ แน่ ครั้นตามรอยแรดไปแลว้ เปน็ กาลสมควรไมไ่ กลนกั
ไมใ่ กล้นกั กห็ ยดุ ยืนสนั นษิ ฐานกำ� หนดพิจารณาในใจว่า แรดตัวนเ้ี มื่อมนั ไปตรงน้ี
แลว้ มนั จะไปตดิ แมน่ ำ้� โนน้ เมอื่ มนั ขา้ มนำ้� ไมไ่ ด้ จำ� เปน็ จะตอ้ งโคง้ ออ้ มมาทางภเู ขานน้ั
และยงั จะไปติดภูเขาอีก เม่ือไปติดผาแห่งภเู ขา ไปไมไ่ ด้แล้ว กจ็ ะตอ้ งวกเวยี นไปท่ี
ช่องน้ันเป็นแน่แท้ จะไปที่อ่ืนไปไม่ได้เลยเป็นอันขาด ครั้นแล้วก็ละรอยแรดท่ีนั้น
ไม่ตามรอยต่อไป แบกปืนกับสะพายข้าวถุงบ่ายหน้าเดินตัดเดินลัดไปท่ีช่องน้ัน
เมอ่ื ถงึ แล้วก็ต้ังทา่ คอยแรดอย่ดู ้วยดีตามสบาย มสี ตสิ ัมปชญั ญะ รตู้ ัวอยูเ่ สมอเป็น
อันดี

เมอ่ื เหน็ วา่ เปน็ เวลาอนั สมควรใกลแ้ รดจะมาแลว้ กเ็ ตรยี มตวั ตง้ั ทา่ ครนั้ แลว้ แรด
กม็ าได้ตามเวลาจรงิ ๆ เหมือนอย่างว่า เมอ่ื เหน็ แล้วกเ็ อบิ อิ่มใจยงิ่ นักว่า เราจะได้ยิง
แรดตวั นแ้ี ละจะไดน้ อแรดดตี วั นโี้ ดยแท้ ครนั้ คดิ รน่ื เรงิ ใจฉะนแี้ ลว้ กย็ กปนื ขนึ้ ทบั ไหล่

185

(ทบั บา่ ) แลว้ เอย้ี วคอหลวิ่ ตาเลง็ ใหต้ รงและบยุ้ ปาก แลว้ กล็ น่ั ปนื ไปถกู แรดตรงทหี่ มาย
แรดกล็ ม้ ตายอยทู่ นี่ น้ั นายพรานก็ปีตปิ ราโมทยห์ าที่สดุ มิได้วา่ สมปรารถนาเราแลว้
แรดนี้ มนั จะไปไหนได้ เม่อื ยงิ เอานอแรดไดส้ มหมาย ก็เลยกลับบ้าน เอานอมาขาย
ได้เงินรวยทรพั ย์

เทา่ ทก่ี ลา่ วคลา้ ยเปน็ นทิ าน (เปน็ นยิ าย) มาน้ี เพอื่ บง่ บอกวา่ ชอ่ งใจเปน็ สำ� คญั ทสี่ ดุ
คือพรานคนท่ีแรกไม่เข้าใจในวิธีการท่ีจะยิงเอานอแรด ยังไม่รู้ที่ส�ำคัญ จึงตามเอา
รอยแรดเขา้ วา่ แตอ่ ยา่ งเดยี ว เมอ่ื โคง้ ไปตามรอยกท็ ำ� ใหช้ า้ ไปในตวั กเ็ ปน็ อนั ไมท่ นั แรด
หมดข้าวถงุ แล้วก็ต้องกลบั คนื น่ีก็เหมือนเหน็ ช่องอ่นื ๆ คือ ชอ่ งตา หู จมกู ล้ิน กาย
ไปในทอี่ นื่ ทวารอน่ื เสยี หมด ครนั้ แลว้ กว็ ง่ิ ตามอารมณท์ มี่ ากระทบทเี่ ปน็ เพยี งสญั ญา
นามธรรม ไม่ใช่ของแนน่ อนอะไร และเมอื่ จะกล่าวใหก้ วา้ งออกหน่อย กค็ ือเข้าใจวา่
พระธรรมมแี ตอ่ ยใู่ นคมั ภรี ใ์ นใบลานหรอื ในสมดุ ทที่ ำ� ทแ่ี ตง่ เอาไวก้ นั ความลมื หรอื เพอ่ื
ความเห็นถกู ตอ้ งและเข้าใจ แลว้ กก็ ราบไหว้ บูชา ท่องบ่น สาธยาย มคี วามเหน็ ว่า
พระธรรมมีแต่ท่ีนับถืออย่างเดียว ไม่เข้าใจว่าพระธรรมในคัมภีร์ท้ังหมดท่านกล่าว
ทา่ นแสดงชมี้ าทต่ี วั เราทป่ี ระกอบดว้ ยทวาร ๖ คอื ตา หู จมกู ลนิ้ กาย ใจ ของเราทเ่ี ปน็
ภายในอีกทีหนึ่ง ท่ีรวมเข้ามาประชุมใจ

เมอ่ื ไมไ่ ดค้ วามแจง้ สวา่ งในธรรมอนั จรงิ ทใ่ี จตน กเ็ ลยละเสยี เลยเลกิ การศกึ ษา
และปฏบิ ตั ติ อ่ ไป เหมอื นพรานคนทแี่ รกทไ่ี มไ่ ดย้ งิ แรดแลว้ กลบั บา้ นนน้ั แตน่ ายพราน
คนท่ี ๒ เปน็ ผเู้ ขา้ ใจวธิ กี ารทจ่ี ะไดย้ งิ แรดเปน็ อยา่ งดยี ง่ิ สนั นษิ ฐานตรกึ ตรองพจิ ารณาไป
ก็เห็นว่าช่องโน้นเป็นช่องส�ำคัญ ครั้นแล้วโดยไม่ต้องตามรอย ไปท่ีไปคอยยิงเอาท่ี
ชอ่ งโนน้ ก็ไดย้ ิงแรดจรงิ ๆ เหมือนอยา่ งคิดไว้ นกี้ ็คือเห็นทาง ตา หู จมกู ลิน้ กาย
ไมไ่ ปอนื่ ไปทใี่ ด ยอ่ มมารวมทใ่ี จสนิ้ ดว้ ยกนั ทม่ี ใี จเปน็ ธรรมถงึ กอ่ น มใี จประเสรฐิ กวา่
สำ� เรจ็ แลว้ ด้วยใจ

เมอ่ื กลา่ วใหก้ วา้ งหนอ่ ยกค็ อื พระวนิ ยั พระสตู ร พระปรมตั ถ์ พระวนิ ยั กเ็ ปน็ วนิ ยั
พระสตู ร พระปรมตั ถ์ รวมเรยี กวา่ ธรรม จงึ รวมเขา้ ดว้ ยกนั ทงั้ สน้ิ เรยี กวา่ พระธรรมวนิ ยั
ท่ีมีแล้วในคัมภีรใ์ นตำ� ราท้ังหลายที่ทา่ นทำ� ไวด้ แี ล้ว ท�ำไวด้ ีจริงๆ เปน็ ประโยชน์ดียง่ิ

186

แตเ่ ปลอื กหนง่ึ เมอื่ เอาความหมาย เอาประโยชน์ และเอาอรรถรสอกี เปลอื กหนงึ่ แลว้
ความกแ็ สดงชมี้ าทต่ี ัวของเราที่ประกอบดว้ ยทวาร ๖ คือ ตา หู จมูก ลิน้ กาย ใจ น้ี
ท่ีรวมเข้าหาใจท่เี ปน็ ทวารคือชอ่ งส�ำคญั ดังกล่าวแล้ว จึงเอาสติเข้าไปตัง้ ท่ีใจ สติเป็น
ของจำ� เปน็ มาก เปน็ ของจำ� ปรารถนามาก กำ� หนดเอาใจทไี่ มไ่ ดส้ า่ ยออกไปภายนอกให้
รใู้ จ ใหเ้ หน็ ใจ ใหเ้ หน็ ปกตใิ จ กไ็ ดค้ วามวา่ ใกลต้ อ่ เอกจติ เอกธรรม คอื จติ อนั เดยี ว
ธรรมอนั เดยี ว

เมอ่ื รใู้ จเหน็ ใจชดั แลว้ กร็ กู้ ายเหน็ กายตามเปน็ อยา่ งไร มเี หน็ วา่ กายนเ้ี ปน็ ทง้ั สว่ น
แหง่ ธาตุ ๔ และท้งั ส่วนปฏิกลู ทป่ี ระกอบด้วยอาการ ๓๒ ในทสี่ ดุ เป็นอพั ยากฤต
มีสภาวะสูญเปล่าอย่างนี้ คร้ันรู้กายรู้ใจให้ชัดใจได้เต็มที่แล้ว ก็กลายเป็นเอกจิต
เอกธรรมไป และเมอ่ื เหน็ จิตเห็นธรรมชดั เชน่ น้ีแล้ว กจ็ ะเหน็ ตน คอื ตนก็เปน็ ธรรม
ธรรมเปน็ ตน ชอื่ วา่ อตั ตทปี า มตี นเปน็ เกาะเปน็ ทพี่ ง่ึ ธมั มทปี า มธี รรมเปน็ เกาะเปน็ ทพี่ งึ่
อตั ตสรณา มีตนเปน็ ท่ีระลกึ ธัมมสรณา มีธรรมเปน็ ทร่ี ะลึก

ต่อไปนีพ้ งึ เข้าใจวา่ เมือ่ ใจเป็นธรรมแล้วจะวา่ อะไรก็ไดด้ อก คือว่าเมอ่ื ใจไมม่ ี
อาการยนิ ดยี นิ รา้ ย ไมด่ ใี จไมเ่ สยี ใจ ไมม่ อี าการขนึ้ ไมม่ อี าการลง ไมม่ อี าการไป ไมม่ ี
อาการมา ไมม่ อี าการออก ไมม่ อี าการเขา้ แลว้ อยา่ งน้ี จะวา่ เปน็ เมตตา กรณุ า มทุ ติ า
อเุ บกขา กไ็ ด้ จะวา่ เปน็ สมั มทฏิ ฐิ สมั มาสงั กปั โป สมั มาวาจา สมั มากมั มนั โต สมั มาอาชโี ว
สมั มาวายาโม สมั มาสติ สมั มาสมาธิ กไ็ ด้ หรอื จะวา่ เปน็ ทาน ศลี เนกขมั มะ ปญั ญา
กไ็ ด้ จะว่าเปน็ วริ ยิ ะ ขนั ติ สจั จะ อธิษฐาน เมตตา อุเบกขา กไ็ ด้ หรอื จะว่าเปน็
สติปฏั ฐาน ๔ สัมมปั ปธาน ๔ อทิ ธบิ าท ๔ อินทรีย์ ๕ พละ ๕ กไ็ ด้ หรอื วา่ จะเป็น
โพชฌงค์ ๗ คอื สติ ความระลกึ ธรรมวจิ ยะ ความสอดสอ่ งหรอื เลอื กคน้ ธรรม วริ ยิ ะ
ความเพยี ร ปตี ิ ความอิ่มใจ ปัสสัทธิ ความสงบใจ สมาธิ ความต้ังใจมั่น อุเบกขา
ความวางเฉย กไ็ ด้

อารมณ์ท้ัง ๖ ที่เป็นอายตนะภายนอก คือรูปท่ีตาเห็นย่อมมากมาย มีทั้ง
ดบี า้ งชวั่ บา้ ง เสยี งทไี่ ดย้ นิ ดว้ ยหนู ก้ี ม็ ากมาย เหลอื ทจ่ี ะกลา่ วใหท้ วั่ ถงึ กลน่ิ แล รสแล
เครื่องสมั ผสั ถกู ตอ้ ง และอารมณท์ ่เี กดิ กับใจเหล่าน้ีทุกอย่าง กเ็ หลอื ที่จะมากตอ่ มาก

187

ทางฝา่ ยดีกเ็ ต็มโลก ทางฝา่ ยชั่วกล็ ามปามเต็มไปไมม่ ที ่ีสุด อารมณท์ ัง้ ๖ นี้ ท่มี าผ่าน
ตา หู จมกู ลนิ้ กาย ใจ ถา้ เราจะเอาเสยี ทกุ อยา่ งใหไ้ ดท้ ง้ั หมด จะทำ� ตามอารมณใ์ หไ้ ด้
ทั้งสิ้น จะพูดตามอารมณ์ให้จบสิ้นทุกอย่าง จะคิดไปตามอารมณ์อันเป็นสิ่งที่มา
ถกู ตอ้ งทางใจใหไ้ ดท้ กุ อยา่ งตามปรารถนา ถา้ จะทำ� อยา่ งทว่ี า่ มาน้ี เรากจ็ ะตายทงิ้ เปลา่
ยงิ่ จะทำ� ตามใจทกุ อยา่ ง กย็ งิ่ กวา้ งเกนิ ยงิ่ พดู กย็ ง่ิ ไมร่ จู้ บ ยง่ิ คดิ กย็ งิ่ ไมร่ จู้ กั สนิ้ ตกลง
ต้องเอาแต่ท่ีพอดี เอาเท่าท่ีได้ เอาพอกับก�ำลังความสามารถเท่าน้ัน จึงเป็นความ
สุขไดฯ้

188

การฟงั ธรรม

ในเรื่องต่อไปนี้ การฟงั ธรรมมีช่อื วา่ เป็นการยงั กศุ ลใหเ้ กิดขนึ้ อย่างหน่งึ ดเู ป็น
ความส�ำคญั ไม่ใช่น้อย การรูน้ ั้นดอี ย่มู ากทเี ดยี ว ดีจริงๆ แต่ขอให้ระวงั วา่ อย่ารูเ้ ลย
ของดขี องจรงิ ไปเสยี หมด รสู้ ง่ ไปขา้ งหนา้ ดา้ นเดยี ว ไมเ่ หลยี วมาขา้ งหลงั บา้ ง ทเ่ี หมอื น
รู้มากแล้วไม่นึกถึงนอ้ ย รสู้ งู ลืมต่ำ� หรือ รู้ปลายไมน่ กึ ถึงตน้ ท่สี ำ� คัญวา่ เหมอื นกบั
จะไมไ่ ดผ้ ลอันใด แต่พึงเห็น เชน่ พระสารบี ุตร เมอ่ื คราวเป็นคฤหสั ถช์ อ่ื อปุ ตสิ สะ
ฟังอรยิ สัจจ์ ๔ ยอ่ จากพระอัสสชิ มีความว่า

เย ธมฺมา เหตุปปฺ ภวา เตสํ เหตุํ ตถาคโต
เตสญจฺ โย นิโรโธ จ เอววํ าที มหาสมโณ

แปลวา่ ธรรมทงั้ หลายเหลา่ ใดเกดิ แตเ่ หตุ พระตถาคตเจา้ ทรงแสดงถงึ เหตแุ หง่
ธรรมนั้น และความดบั ของธรรมนัน้ พระมหาสมณะมปี กตกิ ลา่ วอยา่ งนี้

อุปติสสะฟังเท่านี้ ได้ส�ำเร็จโสดาปัตติผล พระยสกุลบุตรเมื่อยังเป็นคฤหัสถ์
เหน็ นางปารจิ ารกิ า ผบู้ ำ� เรอตน ทำ� เปน็ วปิ รติ นอนหลบั เปลอื ยกายแลอา้ ปาก เปน็ ตน้ แลว้
เบอ่ื หนา่ ย สวมรองเทา้ ไดแ้ ลว้ บา่ ยหนา้ ไปทางพระพทุ ธเจา้ เสดจ็ ไดฟ้ งั ธรรมอนปุ พุ พกิ ถา
ที่พระผมู้ ีพระภาคเจ้าทรงแสดง เม่ือจบเทศนา ไดส้ ำ� เรจ็ โสดาปัตติผล ครัน้ ฟังครัง้
ท่ีสองที่พระพุทธเจ้าแสดงแก่บิดาของตนก็ได้อรหันต์ เศรษฐีผู้เป็นบิดาพระยสก็ได้
ฟงั อนุปพุ พกิ ถาไดส้ ำ� เรจ็ โสดาปตั ตผิ ล

189

อนปุ พุ พกิ ถา คอื แสดง ทาน ศลี แลสวรรคอ์ นั เปน็ อานสิ งสแ์ หง่ ทาน ศลี อาทนี วกถา
แสดงโทษแหง่ กาม เนกขฺ มมฺ แสดงอานสิ งสแ์ หง่ การออกจากกาม ทส่ี ดุ แสดงอรยิ สจั จ์ ๔
คอื ทุกข์ สมทุ ยั นโิ รธ มรรค เรยี กวา่ อนุปุพพกิ ถา คอื แสดงแต่ตน้ ไปตามลำ� ดบั
มารดาและภรรยาเก่าพระยสกุลบุตรได้ฟังพระองค์ตรัสอนุโมทนา ก็ได้ส�ำเร็จโสดา
ทา่ นผู้ได้สำ� เร็จโสดาเหลา่ นย้ี ังไมเ่ คยได้ยนิ ได้ฟงั ธรรมเช่นน้ีเลย ยังไมไ่ ด้ศกึ ษาธรรม
อยา่ งนมี้ ากอ่ น พงึ ไดฟ้ งั เทา่ นแ้ี ตน่ อ้ ยกไ็ ดส้ ำ� เรจ็ มรรคผล เมอ่ื เปน็ เชน่ นน้ี า่ คดิ วา่ ความ
สำ� เรจ็ มรรคผลไมใ่ ชห่ นา้ ทข่ี องความรมู้ าก ถา้ ฟงั เอาธรรมแลว้ ฟงั ไมม่ ากกไ็ ดม้ รรคผล
หรอื ไม่อยา่ งนนั้ กไ็ ด้กศุ ลมาก

ขอ้ อน่ื ยงั มอี กี คอื พระสารบี ตุ รไดไ้ ปทบ่ี า้ นนายเพชฌฆาต แลว้ เทศนาโปรดนาย
เพชฌฆาตหนวดแดง ดว้ ยเทศนาธรรมไมม่ าก นายเพชฌฆาตหนวดแดงฟงั จบเทศนา
ไดส้ ำ� เรจ็ โสดาปตั ตผิ ล ถา้ ฟงั ไมเ่ อาแลว้ ถงึ จะฟงั มากเทา่ ใด กไ็ มไ่ ดม้ รรคผล หรอื เอา
ความรไู้ ปฟงั ธรรม กม็ กั กดี ขวางทางอนั จะไดม้ รรคผล คอื วา่ ถอื วา่ ตนเปน็ ผรู้ มู้ ากแลว้
อะไรๆ เรากร็ ู้แล้ว เราได้ศกึ ษา เราได้เรยี นหมดแลว้ ถา้ ถอื ตวั เปน็ ผู้รมู้ ากไปเสยี แล้ว
อยา่ งนไี้ ปฟงั ธรรม มรรคผลมกั ไมเ่ กดิ ไดง้ า่ ย เหมอื นกบั คนทมี่ ที อ้ งอม่ิ อยแู่ ลว้ หรอื กำ� ลงั
ท้องข้ึนไม่ปกติแลว้ จะกินข้าวอกี นน้ั กินนดิ หน่อยกร็ ับแตน่ ้อย

ถา้ วา่ ถงึ รมู้ ากกไ็ มถ่ อื ตวั ทเี่ ปน็ อตั ตานทุ ฏิ ฐิ ความตามเหน็ วา่ ตวั ตน เปน็ ผถู้ อ่ มตน
ออ่ นโยน เคารพพระธรรม อยากไดอ้ ยากถงึ ธรรมเพอ่ื ดบั กเิ ลสหรอื ละความชวั่ อยา่ งนี้
ฟงั ธรรมเปน็ ทางใหไ้ ดม้ รรคผลไดด้ ี ถา้ ไมถ่ งึ เชน่ นน้ั อยา่ งตำ่� กไ็ ดก้ ศุ ลมาก เหมอื นคน
หิวขา้ วมาก ทอ้ งก็วา่ ง ไมแ่ น่นไมเ่ ฟ้อ ก็กนิ ขา้ วมาก ฉะน้นั

อนง่ึ ไปฟงั ธรรมพงึ ใหป้ ระเพณธี รรมเนยี มอยสู่ ว่ นหนง่ึ คอื วา่ การรกั ษาประเพณี
ธรรมเนียมได้เป็นดี แต่ว่าอย่าติดประเพณี อย่าเอาแต่ประเพณีธรรมเนียมเป็น
เบือ้ งหนา้ เพียงเทา่ นนั้ ถ้าเอาแตป่ ระเพณเี ข้าวา่ พระธรรมจะไมซ่ มึ ซาบ จะไมแ่ ทรก
เข้าในจิตใจของเรามาก จะไม่รู้ธรรมอันดีอันจริงยิ่งข้ึนไปกว่าเดิม และจะไม่ได้ปีติ
ปราโมทย์มาก เพราะประเพณีเป็นสัญญากีดขวางไม่ให้ก้าวหน้าไปได้ง่าย ให้เพิก
ประเพณอี อกเปน็ สว่ นหนงึ่ เสยี แลว้ ฟงั เอาธรรมเพอ่ื เอาความรคู้ วามเหน็ แจง้ ในธรรม

190

ใหจ้ งหนกั เปน็ การดี และอยา่ ไปฟงั เพอ่ื เอาหนา้ หรอื เอาชอื่ เสยี ง ความสรรเสรญิ ของโลก
เพราะจะเปน็ โลกาธปิ ไตยไปไมต่ อ้ งการ ใหเ้ อาธรรมาธปิ ไตย คอื เอาธรรมเปน็ เบอ้ื งหนา้
เอาธรรมเปน็ ใหญใ่ หถ้ กู ธรรม ถา้ ไปฟงั ธรรมแลว้ ปรารถนาเอาหนา้ เอาชอื่ เสยี ง กไ็ ดแ้ ต่
หน้ากบั ช่อื เสยี ง เลยไม่ได้บุญที่ต้องประสงค์ในทีน่ ้ี คือตอ้ งประสงค์บุญทเ่ี ปน็ ธรรม

ในทนี่ ปี้ รารถนาใครจ่ ะนำ� ความเปรยี บไวส้ กั อยา่ งหนงึ่ วา่ หมอแพทยผ์ มู้ คี ณุ ธรรม
สมบรู ณ์ แลฉลาดในวธิ หี มอมคี วามรจู้ รงิ ๑ ยาของแพทยก์ เ็ ปน็ ยาทด่ี จี รงิ ๑ คนผปู้ ว่ ย
เปน็ ไขก้ อ็ ยากหายจรงิ และเชอ่ื หมอแลว้ กนิ ยาจรงิ ๑ ถา้ พรอ้ มดว้ ยการ ๓ อยา่ งนก้ี ห็ วงั
ในการไดผ้ ลแน่ ทจี่ ะไมไ่ ดผ้ ลนนั้ นอ้ ยทส่ี ดุ ถา้ ไดห้ มอดแี ละยาวเิ ศษ แตค่ นไขไ้ มเ่ อาการ
ไมก่ นิ ยา ในเมื่อลับตาหมอแลว้ เอายาซกุ ซ่อนเสยี เชน่ นัน้ หาความหายโรคไม่ได้เลย
เมอื่ คนไขป้ รารถนาดยี ง่ิ เชอื่ หมอจรงิ ๆ คอยฟงั คำ� สงั่ และคอยกนิ ยา แตว่ ชิ าความรแู้ ละ
คณุ ธรรมความบรสิ ทุ ธใิ์ จของหมอไมม่ ี วางยาคอื ใหก้ นิ ยาผดิ ๆ ถกู ๆ อยา่ งนี้ ความสำ� เรจ็
คอื ไดผ้ ลดกี ไ็ มม่ อี กี ยงิ่ ทางหมอกห็ าวชิ าความรไู้ มไ่ ด้ ทง้ั ผปู้ ว่ ยกไ็ มเ่ อาการ เกลยี ดชงั
ยาทีส่ ดุ กนิ ยาก็จำ� ใจกินเอาอยา่ งทข่ี ดั ไมไ่ ด้ กนิ นิดๆ หนอ่ ยๆ ก็ยิง่ ไปกนั ใหญ่ ท่หี า
ประโยชนไ์ มไ่ ดใ้ นการรกั ษาและความหายโรค ในทางการศาสนาคอื ผแู้ สดงธรรมและ
ผฟู้ งั ธรรม ก็เหมือนกับแพทย์และคนผเู้ ปน็ ไข้ ฉะน้ัน

ในครงั้ โนน้ พระพทุ ธเจา้ ทรงเทศนาโปรดดว้ ยพระองคเ์ อง ยงิ่ พระองคเ์ ปน็ อนตุ ตฺ โร
ปุริสทมฺมสารถิ เปน็ ผูท้ รมานคือฝึกสอนบุรษุ บุคคลควรทรมาน ไมม่ ีใครยิ่งกวา่ ที่
ประกอบดว้ ยความรจู้ รติ นสิ ยั สตั วท์ งั้ หลายวา่ คนหมนู่ นั้ หรอื เฉพาะคนนน้ั ในบพุ พชาติ
ปางก่อนได้เจริญธรรมอะไร จะโปรดแสดงด้วยธรรมอะไรจึงเป็นที่สบายก็รู้ชัดด้วย
พระญาณทงั้ สนิ้ ครนั้ แลว้ กเ็ ทศนาโปรดดว้ ยธรรมใหถ้ กู กบั จรติ นสิ ยั ของผฟู้ งั ทงั้ หลาย
นน้ั ๆ เมอื่ การเทศนาและฟงั ธรรมเป็นเช่นนีแ้ ลว้ ความได้มรรคผลกม็ หี วังส�ำเร็จเปน็
สว่ นมาก

ในเมอ่ื พระผมู้ พี ระภาคเจา้ พระองคต์ รสั เทศนาโปรดดว้ ยพระองคเ์ องกเ็ ปน็ อยา่ งน้ี
แตค่ รนั้ เปน็ สว่ นของพระสาวกเทศนาและผรู้ บั ฟงั เทศนากไ็ ปอกี อยา่ งหนง่ึ ถา้ พระสาวก
ผเู้ ทศนาเปน็ ชนั้ อรยิ บคุ คลทไี่ ดม้ รรคผลแลว้ กจ็ ะไปกนั ไดด้ อี ยู่ เหมอื นอยา่ งพระสารบี ตุ ร

191

อัครสาวก เทศนาโปรดพุทธบริษัทด้วยเทศนามงคลสูตร ปรากฏว่าเมื่อจบเทศนา
พทุ ธบรษิ ทั ผูร้ ับธรรมได้มรรคผลเป็นอนั มากนบั เป็นหลายหมื่นเปน็ ตวั อยา่ ง

หากว่าสาวกผเู้ ทศนาไมใ่ ชข่ นั้ อริยบุคคลเข้าแลว้ กจ็ ะไปกัน้ อกี อย่างหน่งึ และ
ทั้งจะไม่ประกอบดว้ ยคณุ ธรรม มีศีลคณุ สมาธคิ ุณ ปญั ญาคุณ วิมตุ ติคุณ เป็นต้น
ผูร้ ับฟงั พระธรรมนนั้ จะมี กาย วาจา ใจ ไปอีกอยา่ งอน่ื ทีไ่ ม่ต้องด้วยคุณลักษณะ
พอทจ่ี ะไดร้ บั มรรคผล ทไ่ี ดก้ บั คำ� วา่ คนตาบอดจงู คนตาบอดเลยเวยี นรอบตน้ ตาลอยู่
ไมไ่ ดไ้ ปไหน อนั บอดตอ่ บอดจงู กนั ทจ่ี ะเอากนั ไปใหถ้ งึ จดุ หมายทต่ี นจะไปนน้ั มนั เปน็
การได้ยากอยู่เอง ก็จะพากันวนไปวนมาเวียนรอบต้นตาลต้นเดียวอยู่ดังกล่าวแล้ว
อนั ตนขา้ มนำ�้ ยงั ไมไ่ ด้ แลว้ จะเอาคนอนื่ ใหข้ า้ มไดน้ ้ันทไ่ี หนจะไมย่ าก

เฉพาะอยา่ งยงิ่ ในทน่ี ี้ การฟงั ธรรมทท่ี า่ นแสดงพระธรรม ถา้ พทุ ธบรษิ ทั ตง้ั ใจฟงั
ดว้ ยความเคารพและสงบเงยี บ พรอ้ มกบั ดว้ ยรกั ษามารยาทดว้ ยเปน็ การดี ถา้ ยง่ิ ไปฟงั
ทว่ี ดั แลว้ วดั นนั้ กช็ อื่ วา่ เปน็ บา้ นพระพทุ ธเจา้ และชอ่ื วา่ เปน็ บา้ นพระสงฆ์ กย็ งิ่ ทำ� ความ
เคารพและรกั ษากาย วาจา ทำ� ใหด้ ใี หง้ าม และเพราะวดั เปน็ ทฝ่ี กึ ทอี่ บรมกาย วาจา ใจ
แหง่ ผถู้ อื พระพทุ ธศาสนาดว้ ยศลี ธรรมคำ� สงั่ สอนพระสมั มาสมั พทุ ธเจา้ ชอ่ื วา่ เราไปบา้ น
พระพุทธเจ้า ไปหาศลี หาธรรมใสต่ น ไปเอาความรู้ ไปหาความดีใส่ตน

ถ้าไปเพื่อฟังธรรม แต่เม่ือถึงเวลาฟังเข้าแล้วก็คุยกันพูดกันให้กลบพระธรรม
ไมเ่ ป็นการฟงั ให้ดไี ด้อย่างน้ี ชื่อวา่ ไปฟังธรรมไมไ่ ดบ้ ญุ ชอ่ื วา่ เปน็ ทาสปาก เป็นทาส
แหง่ คำ� กลา่ วคำ� พดู ไมไ่ ดเ้ ปน็ นายปากเราเอง และเมอื่ ถงึ เวลาการฟงั อยู่ ใจไมก่ ำ� หนด
เอาเนื้อความในพระธรรม ครน้ั แล้วกต็ ่อยเหลก็ ไฟสบู ยา หรือขดี ไม้ขดี ไฟ สูบยาเสยี
ไมเ่ ปน็ การทำ� ประโยชนใ์ หส้ ำ� เรจ็ แตก่ ารฟงั ธรรมไดอ้ ยา่ งนก้ี ช็ อื่ วา่ ไมไ่ ดบ้ ญุ ชอ่ื วา่ เปน็
ทาสบุหร่ีอกี เอาตวั เป็นนายบหุ รี่ไมไ่ ด้

ขอ้ หนึ่งยงั มีอกี เมอ่ื เวลาจะตง้ั ใจฟงั ด้วยเคารพ แตเ่ อาหมากออกมาตำ� หมาก
แล้วกินหมากไปเสีย แล้วส่งใจไปอน่ื ไม่ได้เอาสตผิ ูกใจไว้ในพระธรรม เพ่อื จะได้
ความรคู้ วามเหน็ ตามกำ� ลงั ทต่ี นจะได้ อยา่ งนก้ี ช็ อ่ื วา่ ไมไ่ ดบ้ ญุ ชอื่ วา่ เปน็ ทาสหมากเขา้

192


Click to View FlipBook Version