พอมาจวนจะถึงบ้านหนองฮี อันเป็นบ้านเกิดของท่าน ท่านพระอาจารย์ได้
เดนิ ผา่ นบา้ นตองโขบ นามน ซง่ึ ขณะนนั้ ทา่ นพระอาจารยม์ น่ั พำ� นกั อยปู่ า่ ใกลบ้ า้ นนนั้
พอทา่ นพระอาจารยท์ ราบ จงึ แวะเขา้ ไปนมสั การทา่ น ครน้ั ไปถงึ ทา่ นพระอาจารยม์ น่ั
ซงึ่ กำ� ลงั เดนิ จงกรมอยู่ พอเหน็ ทา่ นจงึ หยดุ เดนิ มายนื อยทู่ รี่ ม่ ไมใ้ กลๆ้ ทา่ นพระอาจารย์
ยอ่ ตวั ลงคารวะ ในขณะนนั้ ทา่ นพระอาจารยม์ น่ั ไดถ้ ามวา่ “กนิ รี ไดท้ อี่ ยแู่ ลว้ หรอื ยงั ?”
ทา่ นพระอาจารยจ์ งึ ตอบออกไปทนั ทวี า่ “ไดแ้ ลว้ ครบั ” ครนั้ ตอบดงั นนั้ แลว้ ทา่ นพระอาจารย์
ก็เดนิ กลบั บา้ นหนองฮที นั ที
มาถงึ บา้ นหนองฮี เปน็ ทางผา่ นปา่ ชา้ ไมท่ ราบวา่ คดิ อยา่ งไร ทา่ นพระอาจารยจ์ งึ
อยากจะแวะเขา้ ไป ครน้ั แวะเขา้ ไป กพ็ บกองฟอนทเ่ี หลอื แตเ่ ถา้ ถา่ นแลว้ นน่ั คอื ทเ่ี ผาศพ
โยมมารดาของทา่ นนน่ั เอง อกี ไมก่ ว่ี นั ตอ่ มา ทา่ นพระอาจารยก์ ไ็ ดน้ ำ� คณะญาตพิ น่ี อ้ ง
ลกู หลานทำ� บญุ เกบ็ อฐั ขิ องโยมแมช่ วี นั ดี โยมมารดาของทา่ นเปน็ ทเ่ี รยี บรอ้ ย กอ่ นกลบั
มาคร้ังน้ี ท่านพระอาจารย์ได้มอบปัจจัยเงินทองท่ีมีผู้ถวายระหว่างการอยู่จำ� พรรษา
ในพมา่ ใหแ้ กท่ า่ นพระครหู มบู่ า้ นชาวลาวเสยี จนหมดสน้ิ แตท่ า่ นพระครผู มู้ นี ำ�้ ใจกม็ ไิ ด้
รบั ไวเ้ ปน็ ของตวั กลบั จดั สง่ เงนิ เหลา่ นน้ั มาถงึ บา้ นหนองฮี กอ่ นทา่ นพระอาจารยก์ ลบั มา
ถงึ เสยี อีก ดงั น้ัน ปัจจัยเงนิ ทองเหล่าน้ันจงึ ไดถ้ กู นำ� มาใช้จา่ ยในการทำ� บญุ อุทศิ แก่
โยมมารดาของทา่ นคร้ังนี้พอดบิ พอดี การทำ� บุญคราวนั้น ทา่ นพระอาจารยห์ ้ามมิให้
ฆ่าสตั วต์ ัดชีวติ ห้ามมิให้ด่มื สรุ ายาเมาโดยเด็ดขาด พวกญาติๆ ทัง้ น้ันกม็ อิ าจฝา่ ฝืน
จงึ ท�ำให้การทำ� บุญเปน็ บญุ โดยแท้ ผดิ กับท่อี น่ื ๆ ซ่ึงเวลาจะท�ำบญุ อะไรสักครั้งหนง่ึ
จะตอ้ งมวี วั ควายตายไมม่ ากกน็ อ้ ยตวั จะตอ้ งเมาเหลา้ เมายาทะเลาะเบาะแวง้ กนั อกี ทง้ั
เป็นเหตใุ ห้สิ้นเปลืองทรัพย์สนิ ซ่งึ ความจรงิ แล้วมนั ไม่นา่ จะตอ้ งสน้ิ เปลืองถึงปานน้นั
นอกจากจะไมไ่ ด้บญุ แลว้ ยงั จะเปน็ บาปเสยี อกี ทเ่ี ป็นบาปกเ็ พราะชวี ติ อ่นื เขาต้องมา
ตายลงดว้ ยการทำ� บุญของเรา ทเี่ ราเรยี กว่าบุญ ผู้ทต่ี ายเขาคงตอ้ งเรียกว่าบาป มนั จงึ
เปน็ บญุ บรสิ ทุ ธไิ์ ปไมไ่ ด้ เพราะฉะนน้ั ทที่ า่ นพระอาจารยน์ ำ� ญาตพิ นี่ อ้ งลกู หลานทงั้ หลาย
ทำ� บญุ อทุ ศิ ใหโ้ ยมมารดาของทา่ นในครง้ั นนั้ จงึ เปน็ ความบรสิ ทุ ธบ์ิ รบิ รู ณโ์ ดยประการ
ท้ังปวง เป็นทตี่ ั้งแหง่ ความเลื่อมใสของคนผู้มีปญั ญาโดยแท้
241
เม่ือการท�ำบุญเสร็จส้ินลง ท่านพระอาจารย์ก็ได้เดินทางกลับไปพม่าอีก
ในระหวา่ งนม้ี เี สยี งเลา่ วา่ ทา่ นพระอาจารยไ์ ดไ้ ปพำ� นกั อยทู่ หี่ มบู่ า้ นลานสาง เขตจงั หวดั
ตากดว้ ย หมบู่ า้ นแหง่ นท้ี ราบวา่ เปน็ หมบู่ า้ นของพวกชาวเขาเผา่ มเู ซอ แตจ่ ะเปน็ ตำ� บล
หรืออ�ำเภอใดไม่ทราบชัด สันนษิ ฐานว่าอาจจะอย่ใู นเขตตำ� บลระแหง คราวท่อี ยกู่ ับ
พวกมูเซอคราวน้ี ท่านพระอาจารย์ได้เล่าให้พระสานุศิษย์รูปหนึ่งของท่านฟังว่า
ทา่ นปว่ ยดว้ ยโรคหวั ใจ ซงึ่ มอี าการเตน้ เรว็ ผดิ ปกติ อาการเพยี บหนกั มาก ทงั้ อยกู่ อ็ ยู่
องคเ์ ดียว ไมม่ ีใครเฝ้าไข้ ท่ีทอ่ี ยนู่ ั้นกอ็ ยู่บนเขา เปน็ ไขห้ นัก ลงมาบณิ ฑบาตไม่ได้
พวกชาวเขาจึงผลัดเปลี่ยนกันน�ำอาหารบิณฑบาตขึ้นไปส่งถวาย แต่ท่านก็ฉันไม่ได้
ทา่ นพระอาจารยก์ นิ ไมไ่ ดน้ อนไมห่ ลบั อยอู่ ยา่ งนน้ั ตลอด ๓ เดอื น อาหารไมม่ ตี กทอ้ งเลย
มนั ทำ� ใหค้ ลน่ื เหยี น วงิ เวยี น เบอื่ อาหารอยอู่ ยา่ งนน้ั ทา่ นพระอาจารยเ์ ลา่ วา่ ความเจบ็ ไข้
ทางกายนเ้ี มอื่ เปน็ หนกั เขา้ มนั กเ็ ปน็ อปุ สรรคตอ่ การภาวนาอยมู่ ากเหมอื นกนั เปน็ ทตี่ งั้
แหง่ นวิ รณค์ วามฟงุ้ ซา่ นรำ� คาญทง้ั หลาย บางครงั้ มนั กท็ ำ� ใหม้ คี วามสงสยั เคลอื บแคลง
ลงั เลใจไมแ่ นใ่ จไปเสยี ทกุ อยา่ ง สงสยั อาบตั ทิ จี่ ะมแี กต่ วั กส็ งสยั สงสยั อยา่ งอน่ื กส็ งสยั
จนทำ� ใหก้ ารภาวนาไมส่ บาย มนั รบกวนจิตใจอยู่ตลอดเวลา ที่ทรงไวไ้ ด้เปน็ อย่างดี
น่ันก็คือศีลเพียงอย่างเดียวเท่านั้น แต่ในท่ีสุดอารมณ์ทั้งหลายเหล่าน้ันมันก็สงบลง
เพราะการเพง่ พจิ ารณาอยใู่ นอารมณเ์ หลา่ นน้ั ของทา่ น จงึ ทำ� ใหร้ วู้ า่ ธรรมะนมี้ นั ไมเ่ กนิ
กว่าวิสยั ท่เี ราจะท�ำได้
ตอ่ มาคนื หนง่ึ ทา่ นพระอาจารยซ์ ง่ึ ขณะนน้ั ยงั นอนซมอยู่ ลกุ ไมไ่ ด้ คดิ แตว่ า่ คงจะ
ตอ้ งตายแนแ่ ลว้ คราวนี้ แตน่ วิ รณท์ งั้ หลายขาดไปสนิ้ แลว้ แตไ่ ขย้ งั ไมห่ าย กพ็ อดรี สู้ กึ
เปน็ นมิ ติ วา่ มพี ระภกิ ษสุ มยั โบราณ ๖ องคม์ านงั่ รายลอ้ มทา่ นอยู่ รปู สณั ฐานใหญน่ อ้ ย
ลำ� ดบั กนั ไป ทา่ นพระอาจารยเ์ หน็ พระโบราณทงั้ ๖ มานง่ั รายลอ้ มอยเู่ ชน่ นนั้ ทา่ นจงึ พดู
ออกไปวา่ จะมานงั่ เฝา้ ผมอยทู่ ำ� ไม ผมใกลจ้ ะตายแลว้ อกี หนอ่ ยมนั กม็ แี ตร่ า่ งทเ่ี นา่ เฟะ
เปอ่ื ยผพุ งั เทา่ นน้ั หาประโยชนม์ ไิ ด้ จงกลบั ไปเสยี เถดิ อยา่ ตอ้ งมานง่ั เฝา้ ผมใหล้ ำ� บาก
อยเู่ ลย ทา่ นพระอาจารยเ์ ลา่ วา่ เมอ่ื ทา่ นพดู ออกไปเชน่ นน้ั แลว้ พระองคใ์ หญท่ สี่ ดุ ทนี่ ง่ั อยู่
หวั แถวจงึ วา่ แกท่ า่ นวา่ อยา่ วา่ อยา่ งนนั้ เลย ทา่ นจะยงั ไมต่ ายกอ่ น ทา่ นจงบอกแกพ่ วก
ชาวเขาใหเ้ ขาไปน�ำสิ่งนี้มาให้กิน คร้ันท่านกินแล้ว ไข้นน้ั กจ็ ะหาย ครั้นวา่ ดงั นัน้ แลว้
242
กป็ รากฏวา่ พระโบราณทงั้ ๖ นน้ั ไดห้ ายไป วนั รงุ่ ขน้ึ พอพวกชาวเขาขน้ึ มา ทา่ นพระอาจารย์
จงึ บอกชอื่ ยาสมนุ ไพรตามคำ� บอกของพระโบราณรปู นนั้ ใหเ้ ขาไปหามาให้ พอเขานำ� มา
ท่านพระอาจารย์ก็ฝนยานั้นด่ืมกนิ ตอ่ มาโรคก็หาย
หรอื อาจจะเปน็ วา่ การพกั ฟน้ื ไขค้ ราวนจ้ี ะยงั ไมด่ นี กั กอ็ าจเปน็ ได้ จงึ ทำ� ใหส้ ขุ ภาพ
ร่างกายของท่านพระอาจารย์ผอมแห้งซวนเซไม่สมบูรณ์ อีกทั้งอาจจะเป็นไปได้ว่า
ชว่ งระยะตอ่ แตน่ ้ี สถานทที่ ที่ า่ นพระอาจารยอ์ ยู่ อาจจะตดิ กบั เขตพมา่ หรอื อยใู่ นเขตพมา่
กไ็ ด้ ครนั้ ทา่ นพระอาจารยต์ ดั สนิ ใจจะกลบั บา้ น จงึ ไดห้ นั มาใชท้ างเรอื โดยอาจจะตอ้ ง
ไปลงเรอื เดนิ ทะเลทเี่ มอื งมะละแหมง่ ประเทศพมา่ เพราะเสน้ ทางเดนิ เรอื มนั มอี ยทู่ นี่ น่ั
จงึ ทำ� ใหม้ เี สยี งเลา่ วา่ ขากลบั จากอนิ เดยี ทา่ นพระอาจารยก์ ลบั ทางเรอื แตค่ วามเปน็ จรงิ นน้ั
ไมม่ เี หตทุ จ่ี ะสนั นษิ ฐานไดเ้ ลยวา่ ทา่ นพระอาจารยก์ ลบั จากอนิ เดยี ทางเรอื โดยตรง แตท่ ี่
ใกลเ้ คยี งกว่า ดูเหมอื นจะเป็นการลงเรอื จากพมา่ ดงั ท่ีได้กล่าวแล้ว รวมความได้ว่า
การอยจู่ ำ� พรรษาทพี่ มา่ ของทา่ นพระอาจารยเ์ ปน็ ระยะเวลานบั ตง้ั แตต่ น้ จนกระทง่ั บดั น้ี
ได้ ๑๒ ปี จากนี้ ทา่ นพระอาจารยจ์ งึ กลบั มาอยบู่ า้ นหนองฮี โดยพำ� นกั ทส่ี ำ� นกั เมธาวเิ วก
อันเปน็ สำ� นกั ของท่านเองดังเช่นเคย
จะเปน็ ระยะใดไมท่ ราบชดั ทา่ นพระอาจารยเ์ ลา่ วา่ ขณะนน้ั ทา่ นอยกู่ บั พวกแมว้
ที่ที่ท่านอยู่นั้นเป็นกระท่อมเล็กบนยอดเขา ดูเหมือนว่ามันจวนจะได้เวลาที่ท่านจะ
เดินทางกลับบ้านเกิดเมืองนอนของท่านแล้ว พวกแม้วไม่มีของที่ระลึกส่ิงใดจะฝาก
จงึ ถวายลกู หมาแมว้ ตวั หนงึ่ ตวั เลก็ ๆ นา่ รกั นา่ เอน็ ดมู าก คงจะเพง่ิ หยา่ นมใหมๆ่ เทา่ นน้ั
ทา่ นพระอาจารยร์ บั เอาจะไปไหนกเ็ อามนั ไปดว้ ย จะขน้ึ เขากเ็ อาไปดว้ ย จะลงเขากเ็ อามนั
ลงมาดว้ ย เพราะความเมตตาสงสารมนั ยงิ่ ขณะทท่ี า่ นพระอาจารยใ์ ชช้ วี ติ อยใู่ นปา่ เขา
คนเดียวดว้ ยแลว้ เจา้ สนุ ขั ตัวน้อยนัน้ มันดูราวกะวา่ เป็นลกู ศิษย์ผู้ใกลช้ ิดของท่าน
คนหนง่ึ ทเี ดียว ถึงแมว้ า่ มนั จะเป็นสตั ว์ พดู ไมไ่ ด้ สรา้ งสรรค์สิ่งใดไมไ่ ด้ แต่โดย
ธรรมชาติอนั แท้จริงแล้ว มนั ก็ไม่ต้องการท่จี ะเปน็ ทกุ ขเ์ หมือนกัน และในเมื่อมคี วาม
ประสงค์ส่งิ เดียวกัน สัตวต์ วั น้อยๆ ดงั เช่นเจ้าลกู หมาแมว้ ตวั น้ี มันจงึ พอมสี ทิ ธ์ิท่จี ะ
เป็นสานศุ ษิ ย์ของทา่ นกับเขาคนหน่ึงดว้ ยเหมอื นกนั
243
วนั หนง่ึ ทา่ นพระอาจารยก์ ำ� ลงั จะเดนิ ขน้ึ ทพี่ กั ซงึ่ กอ็ ยหู่ า่ งหมบู่ า้ นชาวเขามากพอดู
ภูมิประเทศแถบนั้นมันเป็นป่าเขาดงทึบ ขณะที่ท่านพระอาจารย์มีมือหนึ่งถือกลด
มอื อกี ขา้ งหนงึ่ อมุ้ เจา้ ลกู สนุ ขั ตวั นน้ั กำ� ลงั เดนิ ขนึ้ เขา ทางทเ่ี ดนิ ขน้ึ ไปนนั้ ตอ้ งเลด็ ลอด
ไปตามสมุ ทมุ พมุ่ ไม้ พอถงึ ทางสงู ชนั แหง่ หนง่ึ สงิ่ ทป่ี รากฏอยขู่ า้ งหนา้ คอื ลกู เสอื ตวั หนงึ่
ตัวมนั กไ็ ม่ใหญโ่ ตเทา่ ใดนกั มนั มายืนขวางทางอยู่ สายตามนั จ้องอยทู่ ี่เจา้ หมาแม้ว
ทีก่ �ำลงั ทำ� ตาปรบิ ๆ อยู่น่ัน เจา้ เสือตวั นน้ั มันกเ็ ปน็ ลกู เสอื เจา้ สุนขั มันก็เป็นลกู สนุ ัข
กริ ยิ าของเจา้ ลกู เสอื มนั ไมไ่ ดใ้ สใ่ จทา่ น แตม่ นั ใสใ่ จอยทู่ เี่ จา้ ลกู หมาแมว้ ตวั นน้ั ลกู เสอื
มันอยากกนิ ลูกหมา มันยนื ๒ ขา ชขู ้นึ ท�ำทา่ กระหย่งอยู่ ทา่ นพระอาจารยก์ ไ็ ม่ให้
มันก็รๆี รอๆ อยูอ่ ย่างนน้ั จะหลกี ไป มนั กไ็ มห่ ลีก จะเขา้ มาใกล้ มันกไ็ มเ่ ข้ามา
ท่านพระอาจารย์จะใหก้ ไ็ ม่ให้ ในท่สี ดุ เมอ่ื มนั ยงั ไมห่ ลกี ทางให้ ท่านพระอาจารย์จึง
ยกกลดขนึ้ ชหี้ นา้ มนั เจา้ เสอื นอ้ ยมนั เหน็ กลดอนั เกา่ ครำ่� ครา่ มนั คงจะคดิ วา่ เปน็ อาวธุ
โบราณอะไรสกั อยา่ งหนง่ึ เปน็ แน่ ดนู า่ กลวั เหลอื เกนิ ทา่ นพระอาจารยก์ ย็ กกลดขน้ึ สา่ ย
ไปมา ในทสี่ ดุ เจา้ เสอื นอ้ ยมนั กต็ ดั สนิ ใจวงิ่ หนไี ป เหตกุ ารณค์ รง้ั นมี้ นั นา่ รกั นา่ เอน็ ดแู ละ
นา่ สงสารเจา้ สตั วน์ อ้ ย ๒ ชวี ติ นนั้ มากกวา่ ทจ่ี ะนา่ หวาดกลวั เมอื่ ไดฟ้ งั เรอ่ื งนี้ ทำ� ใหร้ สู้ กึ
สนกุ และขบขนั ไดพ้ อสมควรทเี ดยี ว
เลา่ เรอ่ื งเมอื งพมา่ กนั อกี ครง้ั ขณะทที่ า่ นพระอาจารยไ์ ปถงึ ยา่ งกงุ้ แลว้ ไมท่ ราบวา่
ทา่ นไดไ้ ปนมสั การพระเจดยี ช์ เวดากองหรอื ไม่ มแี ตท่ า่ นเลา่ วา่ ไดไ้ ปนมสั การพระเจดยี ์
อนิ ทรแ์ ขวนอยคู่ รงั้ หนงึ่ ซงึ่ ลกั ษณะของพระเจดยี อ์ นิ ทรแ์ ขวนนนั้ ไมใ่ ชเ่ จดยี ใ์ หญโ่ ต
อะไร ฟังดคู ล้ายกบั ว่าเปน็ ลกั ษณะกอ่ พระเจดียเ์ ลก็ ๆ บนโขดหินที่อยูบ่ นชะงอ่ นผา
ทน่ี า่ คดิ วา่ จะอศั จรรย์ กค็ งจะเปน็ เพราะคำ� เลา่ ลอื ทย่ี าวกวา่ ตวั ของคนธรรมดาๆ นเ่ี อง
ตามคำ� เลา่ นนั้ ธรรมชาตใิ นทน่ี น่ั มหี นา้ ผาสงู ลวิ่ ทา่ มกลางทอ้ งฟา้ อนั กวา้ งใหญไ่ พศาล
และอย่บู นยอดเขาท่มี ันยื่นสงู ขึน้ ไปในอากาศ ดูแลว้ ก็คงจะงามไมน่ อ้ ยเลย
ทา่ นพระอาจารยเ์ ลา่ วา่ ธรรมเนยี มของคนชาวพมา่ นน้ั เมอ่ื ครองเรอื นจนอายถุ งึ
๕๐ ปี สามภี รรยาจะตอ้ งสละเหยา้ เรอื นออกไปอยวู่ ดั สามไี ปอยวู่ ดั หนง่ึ ภรรยาไปอยู่
อีกวัดหนง่ึ แล้วถอื พรหมจรรย์กนั ไปตลอดชวี ิต นี้คือธรรมเนียมทถ่ี ือปฏบิ ัติกันใน
244
กลมุ่ ชนชาวพมา่ ในสมยั นน้ั ถา้ ผใู้ ดอายลุ ว่ ง ๕๐ ปแี ลว้ ถา้ ยงั หมกมนุ่ อยใู่ นกามารมณ์
เขาจะตำ� หนิวา่ เจ้าบา้ ตณั หา แต่ไมท่ ราบว่าธรรมเนยี มอย่างนจ้ี ะยังคงเหลอื อยหู่ รือไม่
ในปจั จบุ ัน
ทา่ นพระอาจารย์กลับมาอย่สู �ำนกั เมธาวิเวกแลว้ ต่อมาจึงยา้ ยไปอยวู่ ดั กณั ตะ-
ศลิ าวาส บา้ นต้อง ต�ำบลฝัง่ แดง อำ� เภอธาตุพนม จงั หวัดนครพนม อนั เป็นวัดทีท่ า่ น
อยจู่ นกระทง่ั มรณภาพ มคี ำ� เลา่ วา่ ทา่ นพระอาจารยไ์ ปๆ มาๆ กบั บา้ นตอ้ งนเี้ ปน็ หลายปี
เหมอื นกนั กอ่ นจะมาอยจู่ รงิ นบั ตง้ั แตส่ มยั ทยี่ งั เปน็ ทพี่ กั สงฆ์ ซงึ่ ทา่ นพระอาจารยเ์ สาร์
กนฺตสีโล เป็นผู้มาตง้ั รกรากขน้ึ เปน็ ครงั้ แรกตั้งแตส่ มัยเมอ่ื นานมาแลว้ และรา้ งไปเสีย
ตง้ั นาน ครง้ั แรกทที่ า่ นพระอาจารยเ์ สารม์ าอยทู่ ป่ี า่ แหง่ นี้ กเ็ ปน็ ทห่ี า่ งไกลบา้ นพอสมควร
ทเี ดยี ว เปน็ ปา่ เปน็ ดง มตี น้ ไทรใหญอ่ ยตู่ น้ หนง่ึ ทา่ นพระอาจารยเ์ สารไ์ ดเ้ ขา้ มากางกลด
อยู่ท่ีน่ี ซึ่งในยุคสุดท้ายของท่านพระอาจารย์เอง ท่านได้ต้ังความประสงค์เอาไว้ว่า
จะใหส้ รา้ งถำ�้ ขนาดยอ่ มๆ ขนึ้ ณ บรเิ วณโคนตน้ ไทร อนั เปน็ ทที่ ท่ี า่ นพระอาจารยเ์ สาร์
อาจารย์ของท่าน มาพ�ำนักอยู่ส�ำหรับเป็นที่อยู่ของท่าน แต่ยังไม่ทันสมความคิด
ท่านก็มาล่วงไปเสียก่อน หลังจากท่ีท่านพระอาจารย์มาต้ังรกรากม่ันคงอยู่ที่ส�ำนัก
แหง่ นแ้ี ลว้ จงึ ไดม้ ผี ขู้ ออนญุ าตตงั้ เปน็ วดั ขนึ้ ใหใ้ นภายหลงั โดยใหช้ อื่ วดั วา่ “กณั ตะ-
ศิลาวาส” อันได้มาจากนามฉายาของท่านพระอาจารย์เสาร์ดังท่ีปรากฏใช้กันอยู่ใน
ปัจจุบนั
ทา่ นพระอาจารยไ์ ดใ้ หค้ ำ� แนะนำ� แกพ่ ระผเู้ ฒา่ ดว้ ยความขอ้ หนง่ึ วา่ “การภาวนานน้ั
มอี ยู่ ๓ ขณะดว้ ยกนั ขณะแรกนน้ั ใหต้ นื่ แตด่ กึ แลว้ นง่ั กำ� หนดจติ ใหส้ งบ ใหม้ คี วาม
ตงั้ มน่ั อยใู่ นจติ ใหม้ าก ทำ� จติ ใหผ้ อ่ งใส อยา่ ใหม้ คี วามคดิ สงิ่ ใดเขา้ ไปปะปนกอ่ น ทำ� จติ
ให้สงบสงัดจากอารมณ์จริงๆ ครั้นนานได้ท่ีดีแล้ว จึงเป็นขณะท่ี ๒ โดยขณะน้ี
ให้คิดค้นหัวข้อธรรมที่เราอาจจะใช้เทศนาสั่งสอนคนก็ได้ ให้คิดค้นหาหัวข้อธรรม
เหลา่ นนั้ สาธยายใหเ้ ปน็ ดี แลว้ จงึ ถงึ ขณะท่ี ๓ กลา่ วคอื หนั มาวพิ ากษว์ จิ ารณพ์ จิ ารณา
ในเนอื้ ความแหง่ หวั ขอ้ ธรรมเหลา่ นนั้ ใหล้ ะเอยี ดแยบคาย แลว้ จากนน้ั ความรแู้ จม่ แจง้
ในธรรมนัน้ ๆ ก็จะเกดิ ข้ึนแกเ่ ราได้”
245
แม้ว่าปฏิปทาของท่านพระอาจารย์จะไม่ค่อยมีแนวโน้มไปในทางการเทศนา
สงั่ สอนมากมายเทา่ ใด แตก่ อ็ าจจะเหน็ ไดช้ ดั วา่ ปญั ญาความคดิ ของทา่ นพระอาจารยน์ นั้
ลมุ่ ลกึ มากอยู่ นานๆ จะพดู จะสอนจะใหค้ ำ� แนะนำ� ตกั เตอื นหรอื สะกดิ ใจใครสกั คนหนงึ่
กท็ ำ� ไดอ้ ยา่ งลกึ ซงึ้ และกนิ ใจยงิ่ นกั ตวั อยา่ งเชน่ คราวทท่ี า่ นพระอาจารยช์ ามาเปน็ ศษิ ย์
อยดู่ ว้ ยทา่ น ครน้ั จะลากลบั บา้ นไป ทา่ นพระอาจารยก์ ไ็ ดใ้ หข้ อ้ คดิ สนั้ ๆ วา่ “ระวงั ใหด้ ี
ถ้าทา่ นคิดถงึ ใคร ผู้น้นั จะใหโ้ ทษแกท่ า่ น” ขอ้ น้เี ป็นคำ� ทไ่ี มต่ ายของท่านพระอาจารย์
โดยแท้เทียว
ทา่ นพระอาจารยเ์ ลา่ วา่ ครงั้ หนงึ่ นานมาแลว้ ทา่ นไดข้ น้ึ ไปพำ� นกั อยทู่ ถี่ ำ�้ แหง่ หนงึ่
อยู่องค์เดยี ว เวลาเช้าเดินลงจากเขาไปบณิ ฑบาตหาอาหารมาฉัน เสร็จแลว้ กภ็ าวนา
ท�ำความเพียร เปน็ อย่ดู ้วยความสงบระงับ อยมู่ าวันหนึง่ มีหญิง ๒ คนข้นึ มาหาทา่ น
ทางที่ข้นึ มาน้ันเปน็ ทางแคบๆ ขึ้นมาตามซอกเขา ซง่ึ ดูแลว้ นา่ จะไม่ใช่ทางเดินด้วยซ้�ำ
หญงิ ๒ คนนน้ั ครนั้ มาถงึ แลว้ กน็ งั่ ลงกราบ ๓ หน ทา่ นพระอาจารยจ์ งึ โบกมอื หา้ มวา่
ขนึ้ มาทำ� ไม เปน็ ผหู้ ญงิ ไม่มผี ชู้ ายมาดว้ ยจะมาหาพระไม่ได้ หญงิ ๒ คนน้นั จงึ วา่
แก่ทา่ นวา่ จะมาขอรบั ศีลและฟังธรรม ทา่ นพระอาจารยร์ ีบบ่ายเบ่ยี ง หวังจะให้หญิง
ทั้งสองนั้นลงไปโดยเรว็ โดยพดู ว่า อย่างนั้นไม่ได้สิ รับแคศ่ ีลก็พอแลว้ แลว้ ท่าน
กใ็ หศ้ ลี พอใหศ้ ลี เสรจ็ แลว้ ทา่ นกบ็ อกใหห้ ญงิ ทงั้ สองนน้ั กลบั ลงไปเสยี หลอ่ นทงั้ สอง
กก็ ลับลงไปตามทิศทางเดิม ทา่ นพระอาจารยเ์ ล่าวา่ มนั เป็นซอกหินแคบๆ เทา่ นนั้
ไมอ่ ยากจะวา่ มนั เปน็ โพรง วา่ แตว่ า่ มนั เปน็ ชอ่ งแคบๆ ทไ่ี มน่ า่ จะลงไปได้ หญงิ ทงั้ สองนนั้
กเ็ ดนิ ลบั หายลงไปตามซอกหนิ นน้ั ทา่ นพระอาจารยเ์ ล่าถงึ เพยี งแคน่ ี้
การปฏิบัติภาวนาของท่านพระอาจารย์ดูเหมือนว่าจะเป็นวิธีการที่ค่อนข้างจะ
เขา้ ใจทา่ นยาก การจะสงั เกตเอาทกี่ ริ ยิ าภายนอกดจู ะไมเ่ หน็ สม เรอ่ื งความรคู้ วามเหน็
ในภายในจติ ใจนั้น มนั เป็นคนละเรอ่ื งกันกับกิรยิ าทางกาย ท่านหลวงพอ่ ชาเคยเลา่
ใหฟ้ งั วา่ สมยั เมอื่ อยกู่ บั ทา่ นพระอาจารยน์ นั้ ทา่ นเองทำ� ความเพยี รอยา่ งหนกั เดนิ จงกรม
ทั้งวัน ฝนจะตกแดดจะออกก็ตอ้ งเดนิ ท่ีเดนิ นนั้ เดินมันจนทางเปน็ ร่องเลยทีเดยี ว
แตท่ า่ นพระอาจารยก์ ลบั ไมค่ อ่ ยเดนิ ครน้ั จะเดนิ กเ็ พยี งสองสามกลบั แลว้ กห็ ยดุ ไปหา
246
ผา้ มาปะมาเยบ็ หรอื ไมก่ น็ งั่ ทำ� นน่ั ทำ� น่ี ทา่ นหลวงพอ่ ชาพดู วา่ เราคดิ วา่ ทา่ นพระอาจารย์
จะไปถงึ ไหนกนั เดินจงกรมก็ไมเ่ ดิน จะนงั่ นานๆ กไ็ ม่เหน็ นั่ง คอยแต่จะท�ำนั่นทำ� นี่
แต่เรานป้ี ฏบิ ัตมิ ิได้หยุดหย่อน ถงึ ขนาดนมี้ นั ยังไมร่ ไู้ มเ่ ห็นอะไรเอาเสียเลย ท่านพระ
อาจารย์ปฏิบัติแค่นีแ้ ลว้ จะไปรู้ไปเห็นอะไรได้ ท่านหลวงพ่อชาเล่าอย่างน้ี แลว้ จึงพูด
ในทา้ ยทส่ี ดุ วา่ “เรามนั คดิ ผดิ ไป ทา่ นพระอาจารยร์ อู้ ะไรๆ มากกวา่ เราเสยี อกี คำ� เตอื น
ของทา่ นสนั้ ๆ หว้ นๆ ถงึ แมจ้ ะนานๆ ทหี นง่ึ แตม่ นั กเ็ ปน็ สง่ิ ทเี่ ราไมเ่ คยคดิ มากอ่ นเลย
มนั อปุ มาเหมอื นแสงจนั ทรก์ บั แสงเทยี น แสงจนั ทรย์ อ่ มสอ่ งสวา่ งกวา่ แสงเทยี นมากมาย
เพยี งใด ปญั ญาความคดิ ของครบู าอาจารยผ์ เู้ ฒา่ โบราณนนั้ กย็ อ่ มจะสอดสอ่ งไดล้ กึ กวา่
ไกลกวา่ ปญั ญาความคดิ ของคนชน้ั ลกู ชน้ั หลานเปน็ ไหนๆ แตข่ อ้ นท้ี จ่ี ะถอื เปน็ กฎเกณฑ์
ได้น้นั มันย่อมขน้ึ อยู่กับการประพฤติปฏิบตั ิของแตล่ ะบุคคลด้วย ซง่ึ เมือ่ พูดถึงตัว
การปฏบิ ตั แิ ทๆ้ แลว้ มนั มใิ ชก่ ริ ยิ าอาการภายนอก ไมใ่ ชก่ ารเดนิ ดว้ ยเทา้ มใิ ชก่ ารนง่ั
ขดั สมาธิ มใิ ชก่ ารศกึ ษาจากตำ� รา มใิ ชจ่ ะรเู้ หน็ ดว้ ยขอ้ ความในตวั หนงั สอื มนั มใิ ชค่ ำ� พดู
และมใิ ชส่ ง่ิ ทจ่ี ะยกใหเ้ หน็ เปน็ ตวั เปน็ ตนได้ แตก่ ารปฏบิ ตั ภิ าวนาทแี่ ทจ้ รงิ นนั้ มนั เปน็
กริ ยิ าอาการในภายใน เปน็ การเดนิ ทางดว้ ยใจ เปน็ การนง่ั นงิ่ อยใู่ นใจ ทำ� อารมณใ์ หน้ งิ่
ทำ� จติ ใหน้ ง่ิ เปน็ การศกึ ษาจากจติ เปน็ การรกู้ ารเหน็ ดว้ ยความรสู้ กึ ภายในจติ เปน็ สง่ิ ที่
ไมอ่ าจจะพดู ใหเ้ ปน็ ตวั ตนจรงิ ได้ เพราะฉะนน้ั เราจะไปจบั เอาทก่ี ารกระทำ� ดว้ ยกายของ
ครูบาอาจารยผ์ ู้เฒา่ นนั้ ไมไ่ ดเ้ ลย”
พระผู้เฒ่าเล่าว่า เม่ืออยู่กับท่านพระอาจารย์ก็ไม่ค่อยได้รับค�ำสอนจากท่าน
แต่ท่านจะบอกเพียงว่าให้รักษาศีลให้ดี ท�ำความเพียรให้มาก มันก็จะรู้เองเห็นเอง
ทา่ นพระอาจารยไ์ มช่ อบสอนดว้ ยคำ� พดู แตช่ อบทำ� ใหด้ ู พระธรรมวนิ ยั กม็ แี ลว้ ใหป้ ฏบิ ตั ิ
รกั ษาให้เข้มงวด ถ้าผิด ทา่ นจะบอกทนั ที ถ้ายงั ไมผ่ ิดก็แลว้ ไป หลักสำ� คญั นั้นคอื
กฎระเบยี บเปน็ สงิ่ ทจี่ ะพลง้ั เผลอไมไ่ ด้ แมก้ ระทง่ั สกิ ขาบทเลก็ ๆ นอ้ ยๆ ในพระวนิ ยั จะ
ประมาทไมไ่ ดเ้ ลย เชน่ ครงั้ หนงึ่ พระรปู หนง่ึ อยกู่ บั ทา่ น เวลากลางวนั ๆ หนง่ึ ตากจวี ร
แลว้ ลมื ทงิ้ ไว้ หลกี ไปเสยี ทอ่ี นื่ มไิ ดอ้ ยเู่ ฝา้ รกั ษาผา้ พอดที า่ นพระอาจารยเ์ ดนิ ไปพบเขา้
ทา่ นจงึ เอะอะขน้ึ ทนั ที ทา่ นตำ� หนเิ อามากมาย ชใี้ หเ้ หน็ โทษของความประมาทในสกิ ขาบท
เล็กๆ นอ้ ยๆ เหลา่ น้ี ด้วยว่าการเปน็ สมณะนน้ั จะต้องเปน็ ผู้มกั น้อยสันโดษ เป็น
247
อยงู่ า่ ยๆ กนิ แต่นอ้ ย มที รัพย์สิง่ ของน้อย ผ้านมุ่ ผ้าหม่ ก็ต้องมีแตพ่ อใชส้ อย จึงตอ้ ง
รกั ษาทะนถุ นอมบรขิ ารเหลา่ นน้ั จงึ จะไดใ้ ชส้ อยนานๆ ไมส่ น้ิ เปลอื งมาก ถา้ เราใชอ้ ยา่ ง
สรุ ุย่ สรุ ่าย ก็แสดงให้เหน็ ว่าเราขาดสตใิ นการประคับประคองตัวของเราใหอ้ ยูใ่ นรอ่ ง
รอยของสมณะ และเมอื่ ขาดสตเิ สยี แลว้ เราจะเอาสง่ิ ใดเลา่ มาเปน็ เครอื่ งมอื ในการปฏบิ ตั ิ
ภาวนา สตนิ ีเ้ ปน็ สิ่งส�ำคัญมาก ถา้ เราทราบระเบียบวนิ ยั ที่มีอยู่มากมายอยา่ งละเอยี ด
รอบคอบแล้ว และตามรกั ษาได้อย่างถว้ นท่วั สติของเรามันก็ต่อเน่ืองกัน จิตใจกจ็ กั
จดจอ่ อยแู่ ต่ในขอ้ วัตรปฏิบัติของตน ไม่มีโอกาสทีจ่ ะสอ่ ส่ายไปภายนอก ถ้าขาดสติ
โอกาสทจ่ี ติ จะวง่ิ ไปตามอารมณภ์ ายนอกมนั กม็ มี ากขน้ึ อารมณท์ งั้ หลายกย็ อ่ มครอบงำ�
จติ ใหห้ ลงใหลมวั เมา ดงั นน้ั การปฏบิ ตั ทิ มี่ งุ่ มนั่ เอาใจจดจอ่ มสี ตอิ ยแู่ ตก่ บั ขอ้ วตั รปฏบิ ตั ิ
ของตัว จึงย่อมจะเป็นเคร่ืองกั้นอารมณ์ท้ังปวงให้ขาดหายไปจากจิตใจได้ เมื่อนั้น
สตกิ ย็ อ่ มจะมตี อ่ เนอ่ื งกนั เปน็ สายนำ�้ เมอื่ มสี ตติ อ่ เนอื่ ง จติ ใจกย็ อ่ มจะตง้ั มนั่ ความตง้ั มน่ั
ของจิตในลักษณะน้ีก็คือสมาธิน่ันเอง เมื่อสมาธิเกิดจิตก็มีก�ำลัง มันก็พร้อมท่ีจะ
รอู้ ะไรๆ ได้ จติ กพ็ รอ้ มทจ่ี ะพจิ ารณาสงิ่ ทง้ั ปวงได้ นนั่ คอื ปฏปิ ทาในการประพฤตปิ ฏบิ ตั ิ
แต่ทน่ี กั ปฏิบัติท้ังหลายท�ำไม่ไดเ้ ช่นนั้น ก็อาจจะเรยี กไดว้ ่ามันมมี ูลเหตมุ าจากความ
พลง้ั เผลอ แมแ้ ตจ่ ากการรกั ษาจวี รเพยี งขอ้ เดยี ว ถา้ มองในแงห่ นง่ึ การรกั ษาจวี รอยา่ งนี้
กด็ เู หมอื นจะเปน็ เรอื่ งเลก็ นอ้ ยเสยี เหลอื เกนิ แตถ่ า้ มองใหล้ กึ ซง้ึ จรงิ ๆ แลว้ วตั รปฏบิ ตั ิ
แมเ้ พยี งเทา่ นเ้ี องทเี่ ปน็ ทางดำ� เนนิ เขา้ สมู่ รรค ผล และนพิ พาน ดว้ ยวา่ มนั มอี งคป์ ระกอบ
ท่พี รอ้ มไปด้วย สัทธา วิริยะ สติ สมาธิ และปัญญา อยู่ในขณะเดยี วกันนัน้ เสร็จ
ซ่ึงส่ิงทั้ง ๕ นี้ มันเป็นธรรมท่ีท�ำให้เกิดก�ำลังในการด�ำเนินตามทางปฏิบัติน่ันเอง
คำ� สอนของทา่ นพระอาจารยเ์ ปน็ คำ� สอนงา่ ยๆ เปน็ การสอนดว้ ยขอ้ ปฏบิ ตั ิ ใหผ้ เู้ ปน็ ศษิ ย์
ไดป้ ฏบิ ตั กิ ระทำ� ทนั ที แลว้ ความรทู้ ไี่ ดจ้ ากการปฏบิ ตั นิ นั้ กจ็ ะเปน็ ตวั ปญั ญาของเขาเอง
มันไม่จ�ำเป็นทีจ่ ะตอ้ งบรรยายอะไรๆ ให้มากนัก น่คี อื วิธีการสอนธรรมของท่านพระ
อาจารย์
อกี อยา่ งหนงึ่ คอื การสรรเสรญิ การเปน็ อยผู่ เู้ ดยี ว ไมค่ ลกุ คลดี ว้ ยหมคู่ ณะ ทา่ น
พระอาจารยพ์ ยายามทจ่ี ะใหพ้ ระเณรผเู้ ปน็ ศษิ ยม์ ภี าระการงานนอ้ ยทส่ี ดุ พอเลกิ จากกจิ
จำ� เปน็ ในสว่ นรวมแลว้ ทา่ นจะใหก้ ลบั เขา้ ทพี่ กั ทนั ที บอกใหเ้ รง่ การกระทำ� ความเพยี ร
248
เดินจงกรมให้มาก ท�ำสมาธิให้มาก อย่าได้เป็นอยู่ด้วยความเกียจคร้าน อย่าเป็น
ผพู้ ดู มากหรอื เอกิ เกรกิ เฮฮา ไมจ่ ำ� เปน็ จรงิ ทา่ นจะไมใ่ หป้ ระชมุ กนั เลย แมแ้ ตก่ ารสวด
มนตท์ ำ� วตั ร ทา่ นยงั ถอื วา่ เปน็ กจิ ตอ้ งหา้ ม อยา่ งมากทสี่ ดุ ทา่ นจะอนญุ าตใหส้ วดมนต์
ท�ำวัตรร่วมกันสัปดาห์ละคร้ังเท่านั้น ท่านพระอาจารย์พูดว่า ท่านพระอาจารย์มั่น
พระอาจารยเ์ สาร์ ไมเ่ คยทำ� อยา่ งนี้ หมายถงึ ไมไ่ ดร้ ว่ มสวดมนตไ์ หวพ้ ระดว้ ยกนั มากๆ
อย่างนี้ การไหว้พระสวดมนตม์ นั เปน็ สง่ิ ทต่ี อ้ งทำ� ดว้ ยตนเองอยแู่ ลว้ กใ็ หถ้ อื เปน็ การ
สว่ นตวั อยา่ เพกิ เฉย การไหวพ้ ระก็ดี การสาธยายมนต์กด็ ี มันเป็นอุบายท่ีจะทำ� จิต
ใหเ้ ปน็ สมาธิ ใหเ้ ยอื กเยน็ ปลอ่ ยวางไมต่ ดิ อยใู่ นอารมณภ์ ายนอกนนั่ เอง มนั เปน็ การ
ปฏบิ ตั อิ ยา่ งหนึง่ เมื่อเราอยผู่ ู้เดียว ถา้ เราเวน้ ขาดไมม่ พี ระพุทธคุณ พระธรรมคณุ
และพระสงั ฆคณุ หรอื ไมม่ มี นตอ์ ยใู่ นใจแลว้ เมอ่ื นน้ั เรากม็ ใิ ชพ่ ระ การเขา้ ถงึ พระ เขา้ ถงึ
ธรรม หรอื เข้าถึงมนต์ กค็ ือการมจี ิตท่อี ยู่เหนืออารมณ์ทัง้ หลาย ดงั น้ัน การไหว้พระ
สาธยายมนต์ มนั จงึ เปน็ วธิ กี ารภาวนาในขณะหนง่ึ เหมอื นกนั ทำ� ดว้ ยตวั เองกพ็ อแลว้
ใหอ้ ยู่คนเดยี วมากๆ สาธยายดว้ ยตัวเองให้มาก ใหม้ ีจิตที่กลุม้ รุมอยู่ดว้ ยพระธรรม
ใหม้ ากนเี้ ปน็ การดที ส่ี ดุ ขอ้ ทค่ี ลกุ คลกี นั นี้ ทา่ นครบู าจารยท์ องรตั นท์ า่ นยง่ิ พดู รนุ แรง
เลยวา่ “มนั ไปมวั รอ้ งโหวกๆ เหวกๆ อกึ ทกึ ครกึ โครมกนั อยทู่ ำ� ไม ถา้ จะวา่ ทำ� เพอื่ ศกึ ษา
มนั จะศกึ ษาไปหาวมิ านอะไรวะ มนั เอาไปไมไ่ ดส้ กั อยา่ งหรอก หยดุ หายใจแลว้ มนั กต็ าย
เทา่ นนั้ มนั ทง้ิ ไปหมดทงั้ นนั้ แหละ เอาไปไมไ่ ดเ้ ลยสกั สง่ิ เดยี ว หยดุ อยนู่ งิ่ ๆ สิ นดี่ ที ส่ี ดุ
เชือ่ พอ่ เถอะ พอ่ ทำ� มาหมดแล้ว” ทา่ นครูบาจารยท์ องรัตนท์ ่านว่าอย่างน้ี ส่ิงที่ท่าน
สรรเสรญิ กค็ อื ความนง่ิ ของจติ ความผอ่ งใสของจติ ใหอ้ ยคู่ นเดยี วใหม้ าก ทำ� ใหม้ าก
เจรญิ ให้มาก
ด้วยเหตุผลเหล่านี้ ท่านพระอาจารย์ท่านจึงรักษาธรรมเนียมข้อหนึ่งมากที่สุด
นนั่ คอื การขอวตั ร คำ� วา่ ขอวตั ร คอื เมอื่ ผเู้ ปน็ ศษิ ยค์ ดิ จะทำ� กจิ พเิ ศษอยา่ งใดอยา่ งหนง่ึ ท่ี
นอกเหนอื ไปจากขอ้ วตั รปฏบิ ตั ติ ามปกตทิ ท่ี า่ นพระอาจารยใ์ หถ้ อื ปฏบิ ตั อิ ยู่ กจ็ ะตอ้ งไป
กราบเรยี นขออนญุ าตเพอ่ื ทำ� กจิ สง่ิ นน้ั กบั ทา่ น เชน่ วา่ ตามปกตทิ า่ นหา้ มไมใ่ หส้ วดมนต์
ไหวพ้ ระรวมกนั เมอ่ื ศษิ ยป์ ระสงคจ์ ะทำ� อยา่ งนนั้ กต็ อ้ งขอวตั รจากทา่ น ถา้ ทา่ นอนญุ าต
จงึ ทำ� ได้ แตถ่ า้ ทา่ นไมอ่ นญุ าต ศษิ ยย์ งั ขนื ทำ� และกลา่ วคำ� ตำ� หนติ เิ ตยี นใหโ้ ทษแกท่ า่ น
249
นนั่ หมายความวา่ มนั เปน็ ความเลวร้ายอย่างทสี่ ุดของผู้เป็นศิษย์เอง เพราะว่าความท่ี
ศิษยย์ ังถอื ทฏิ ฐมิ านะเป็นตวั เป็นตน ด้อื ดึง ไมเ่ ชือ่ ฟงั คำ� สอนของครูบาอาจารยผ์ เู้ ฒ่า
ถงึ แมว้ า่ กจิ ทจ่ี ะทำ� นน้ั มนั เปน็ ไปดว้ ยเจตนาอนั ดแี ละเปน็ กศุ ล แมจ้ ะสกั มากมายปานใด
กต็ าม แตค่ วามชว่ั เพราะดอ้ื รน้ั และมอี กศุ ลจติ ตอ่ ครบู าอาจารยน์ น้ั มนั เลวรา้ ยเสยี ยง่ิ กวา่
มนั อาจจะเปน็ วา่ เมอ่ื ศษิ ยค์ ดิ ปรงุ แตง่ ในทางกศุ ลแลว้ หวงั จะทำ� สงิ่ นนั้ ๆ ไปตามความคดิ
ปรงุ แตง่ เมอ่ื ครบู าอาจารยท์ า่ นรู้ และตอ้ งการจะทำ� ใหศ้ ษิ ยห์ ยดุ ความคดิ ปรงุ แตง่ ใน
จิตเสยี แลว้ หา้ มมใิ หท้ �ำสิ่งน้ันๆ ถา้ ศิษย์เช่ือฟังแล้วหยดุ อยู่ นั่นคอื ความคดิ ปรุงแตง่
มันดับลง มันก็เป็นการถกู ตอ้ งแล้ว เป็นการกระทำ� จิตให้สงบจากอารมณค์ วามคดิ
ปรงุ แตง่ ไดแ้ ลว้ ผลทเ่ี กดิ ขนึ้ จากสงิ่ เหลา่ นมี้ นั มคี า่ สงู กวา่ การทอ่ งบน่ หรอื สาธยายหรอื
กระท�ำสงิ่ อืน่ ใดมากมาย เพราะมนั เป็นมรรคผลอยูใ่ นตัวแลว้ และเปน็ จดุ มุ่งหมายที่
ครูบาอาจารยต์ ้องการจะใหศ้ ิษย์เข้าถึงอย่างแทจ้ ริง
การขอวตั ร ดูเหมือนจะเปน็ รากฐานอันมัน่ คงและส�ำคญั ประการใหญข่ องทา่ น
พระอาจารยจ์ รงิ ๆ แมแ้ ตว่ า่ พระเณรผเู้ ปน็ ศษิ ย์ ประสงคจ์ ะเปดิ หนา้ ตา่ งทปี่ ดิ อยเู่ พอื่ ให้
อากาศและแสงแดดถา่ ยเท ขอ้ นกี้ ต็ อ้ งขอวตั รจากทา่ น เมอื่ คดิ จะอปุ ฏั ฐากทา่ น หวงั จะ
ซักยอ้ มผา้ ใหท้ ่าน ขอ้ นกี้ ต็ ้องขอวตั ร เมอื่ ทา่ นจะสรงน้�ำ คดิ จะขดั สกี ายให้ท่าน ขอ้ นี้
กต็ อ้ งขอวตั ร ทา่ นฉนั เสรจ็ คดิ จะลา้ งบาตรใหท้ า่ น ขอ้ นก้ี ต็ อ้ งขอวตั ร กฎเกณฑท์ ง้ั หลาย
เหลา่ นดี้ จู ะเครง่ ตงึ ไปเสยี ทกุ อยา่ ง และถา้ หากวา่ เราไดพ้ จิ ารณากนั ดว้ ยจติ ทเี่ ปน็ กศุ ล
แล้วก็จะเหน็ วา่ มนั เปน็ ความโอบอุม้ สานศุ ษิ ยท์ ั้งหลายไว้ดว้ ยความรกั ความอบอุ่น
และความเมตตาอารอี นั จะหาทเ่ี ปรยี บปานมไิ ด้ การเลยี้ งดแู นะนำ� พรำ่� สอนในลกั ษณะนี้
มนั อปุ มาดว้ ยการเลย้ี งดขู องแมท่ ม่ี ตี อ่ บตุ รทารก แมท่ เี่ ลยี้ งทารกดว้ ยความทะนถุ นอม
คดิ อยากจะใหล้ ูกนัน้ เปน็ สขุ ทง้ั ให้นมท้ังอ้มุ ไกวท้งั พัดวแี ละปลอบโยนเพ่อื ให้ลกู รกั
อยเู่ ปน็ ผาสกุ ความรกั ความกรณุ าทมี่ ารดามตี อ่ บตุ รนฉ้ี นั ใด ความรกั ความกรณุ าของ
ครบู าอาจารยท์ ม่ี ตี อ่ ศษิ ยก์ เ็ หมอื นกนั ฉนั นน้ั ไมเ่ คยมคี รบู าอาจารยท์ า่ นใดทเี่ คยจะคดิ
ฆา่ ศษิ ยท์ ต่ี นรกั แมแ้ ตโ่ จรผอู้ าจารยก์ ย็ งั จะทำ� เชน่ นนั้ ไมไ่ ด้ เพราะศษิ ยท์ ต่ี นรกั นนั้ หรอื
จะฆ่าได้ลงคอ มีแต่ศิษย์เท่าน้ันท่ีคิดจะฆ่าอาจารย์ หรือยุดแย่งแข่งดีกับอาจารย์
มันเหมอื นขยุ ไผอ่ ัปรียท์ ่ีดีแตจ่ ะฆ่ากอไผใ่ ห้วอดวายไปฉะน้ัน
250
คร้ังหน่ึงท่านพระอาจารย์เล่าว่า ท่านได้ไปอยู่ในป่าช้า วันหน่ึงหลังจากที่เดิน
จงกรมไดเ้ วลาพอสมควรแลว้ มนั เปน็ เวลาตะวนั กำ� ลงั จะตกดนิ แสงทเี่ คยสวา่ งจา้ กซ็ าลง
ทา่ นพระอาจารยเ์ ลกิ จากเดนิ จงกรมกเ็ ขา้ นง่ั สมาธใิ นกลด ขณะนน้ั บรเิ วณรอบขา้ งนน้ั
มีแสงท่มี วั สลวั เพียงแต่พอจะมองเหน็ ได้ เมื่อท่านนั่งไปสักครหู่ นง่ึ ปรากฏว่ามเี สยี ง
ใครคนหนง่ึ เดนิ เขา้ มาทางดา้ นหลงั ทา่ นพระอาจารยค์ ดิ วา่ คงจะมคี นมาหา จงึ ลมื ตาขน้ึ
หนั ชำ� เลอื งไปดทู า่ มกลางแสงสลวั ขมกุ ขมวั นนั้ ทา่ นพระอาจารยก์ เ็ หน็ คนๆ หนง่ึ ดจู ะเปน็
ผชู้ าย ใสเ่ สอ้ื แดงมผี า้ ขาวมา้ คาดเอวกำ� ลงั ยนื รๆี รอๆ อยู่ สกั ครกู่ เ็ ดนิ หายลบั กลบั ไป
ท่านพระอาจารย์ยังคดิ สงสัยอยู่ แตม่ ิไดว้ ่าส่งิ ใดบรรยากาศรอบๆ บรเิ วณน้ันมนั ยงิ่
เยน็ ลงๆ และวเิ วกวงั เวงลงไปทกุ ทๆี ดว้ ยวา่ เปน็ เวลากลางคนื แลว้ ธรรมชาตใิ นปา่ ชา้
ทเี่ ตม็ ไปดว้ ยหลมุ ฝงั ศพมนั ชา่ งเงยี บเชยี บยง่ิ นกั เหมาะแกก่ ารบำ� เพญ็ ภาวนาเสยี จรงิ ๆ
มนุ ผี มู้ ศี ลี เปน็ ผไู้ มม่ โี ทษเครอ่ื งระแวงระไว จงึ ไมเ่ คยหวนั่ เกรงแมใ้ นสถานทท่ี คี่ นเขา
หวาดสะดุ้งกลัวกันเช่นนั้น ถึงแม้ว่าบางคร้ังนักปฏิบัติผู้ใหม่ต่อการฝึกฝนในการใช้
ชวี ติ อยใู่ นปา่ ชา้ จะมคี วามหวาดกลวั อยมู่ ากบา้ งนอ้ ยบา้ งในคราวทอ่ี ยใู่ นปา่ ชา้ แตด่ ว้ ย
อานภุ าพของการรกั ษาศลี ซง่ึ เปน็ อบุ ายเวน้ จากกาเบยี ดเบยี น และดว้ ยขอ้ วตั รอนั บรสิ ทุ ธิ์
ทถี่ อื กระทำ� อยู่ นน่ั เปน็ สง่ิ ชว่ ยใหค้ วามหวาดกลวั เหลา่ นน้ั จางคลายลงไปได้ สำ� หรบั ทา่ น
พระอาจารย์ดูเหมือนมันจะชาชินเสียแล้วในการอยู่ในป่าช้าอย่างนั้น ครั้นถึงเวลา
วนั ตอ่ มา ทา่ นพระอาจารยจ์ งึ ไดย้ นิ ชาวบา้ นเขาเลา่ กนั ถงึ เรอื่ งคนใสเ่ สอ้ื แดงมผี า้ ขาวมา้
คาดพุงวา่ ถกู ฆา่ ตายอยู่ในละแวกบา้ นแห่งนมี้ านานแลว้
ทา่ นพระอาจารยต์ กั เตอื นพระผเู้ ฒา่ วา่ จงฝกึ อยใู่ นปา่ ชา้ ใหไ้ ด้ เพราะอานสิ งสข์ อง
การอยใู่ นปา่ ชา้ นด้ี นี กั เปน็ เครอ่ื งทำ� จติ ใหก้ ลา้ ใหอ้ งอาจ ใหจ้ ติ ตนื่ อยเู่ สมอ เหมาะทจ่ี ะ
ภาวนาพจิ ารณาธรรมใหถ้ ถ่ี ว้ น เพราะจติ ในขณะทอี่ ยใู่ นปา่ ชา้ นน้ั จะปราศจากนวิ รณ์
ความงว่ งเหงาได้เปน็ อย่างดี จงอยา่ หวาดกลวั สง่ิ ใด มนั ไม่มีอะไรจะมาท�ำอะไรเราได้
มเี รอื่ งมากมายทเ่ี กยี่ วกบั คำ� เลา่ ลอื ในตวั ทา่ นพระอาจารย์ หรอื วา่ จะเปน็ ความเชอื่
ทอี่ อกจะงมงายไรส้ าระของคนธรรมดาทงั้ หลายกอ็ าจเปน็ ได้ ขอ้ นม้ี ใิ ชก่ ารยอมรบั หรอื
ปฏเิ สธ และมใิ ช่เจตนาทจี่ ะกอ่ ใหเ้ กดิ ความยดึ ม่ันในเร่อื งทงั้ หลายเหลา่ น้แี ต่อยา่ งใด
251
มคี ำ� เลา่ ลอื กนั วา่ มคี นทงั้ หลายมาขอวตั ถเุ ครอ่ื งบชู าจากทา่ นพระอาจารย์ ประสาผเู้ ฒา่
ทไี่ มต่ อ้ งการจะใหใ้ ครมารบกวนนกั เวลาวา่ งจากการงาน ทา่ นพระอาจารยจ์ ะทำ� วตั ถุ
บางอยา่ งทงิ้ ไว้ เมอื่ มคี นมารบเรา้ ออ้ นวอนขอ ทา่ นกจ็ ะยนื่ สง่ิ นนั้ ใหเ้ ปน็ สง่ิ มงคล มใิ ช่
อัปมงคล แต่เขาว่า ต่อมาสิ่งท่ที ่านให้แก่พวกเขาน้นั มันกลบั กลายมาเป็นเคร่ืองชว่ ย
ใหเ้ ขาเหลา่ นนั้ แคลว้ คลาดจากภยนั ตรายตา่ งๆ กนั มบี างคนถกู ไฟไหมบ้ า้ น ทรพั ยส์ นิ
บา้ นเรอื นถกู ไฟไหมส้ น้ิ เหลอื อยแู่ ตบ่ านหนา้ ตา่ งบานเดยี วทไ่ี ฟไหมไ้ มไ่ ด้ เขาวา่ กนั วา่
หน้าต่างบานน้ันมียันต์ที่ท่านพระอาจารย์เขียนเต็มอยู่ มันก็นับว่าเป็นสิ่งแปลกอยู่
เหมอื นกนั ถ้าหากเปน็ จริงเช่นนัน้ แต่จะอย่างไรก็ตาม ส่ิงเดียวที่ท่านพระอาจารย์
สรรเสรญิ นนั่ กค็ อื การปฏบิ ตั ธิ รรมะ และมนั อาจจะเปน็ ไปไดว้ า่ สง่ิ มหศั จรรยท์ งั้ หลาย
เหล่านั้นที่ผู้คนเป็นอันมากได้ประสบพบเห็นมาจากท่าน มันเป็นเกมส์กีฬาและ
เครอื่ งเล่นของครูบาอาจารยผ์ ู้เฒา่
มีอยู่ครั้งหน่ึงที่ท่านพระอาจารย์ชวนอุบาสกชรากลุ่มหนึ่งไปหารากยาสมุนไพร
ณ ปา่ ตำ� บลหนงึ่ ซงึ่ ทางทจ่ี ะเขา้ ไปในปา่ แหง่ นนั้ มนั เปน็ ทงุ่ กวา้ งอยใู่ นเขตพน้ื ทส่ี แี ดง
ตามแผนท่ีทางทหาร เขตนั้นมันมีภัยทางการเมืองคุกคามอยู่เสมอ ขณะที่ท่าน
พระอาจารยส์ าละวนพาพวกอบุ าสกขดุ กน่ วา่ นยาอยนู่ นั้ กไ็ ดเ้ กดิ การยงิ ตอ่ สปู้ ะทะกนั
ระหวา่ งฝา่ ยตรงกนั ขา้ มทง้ั สองฝา่ ยโกลาหลวนุ่ วายขนึ้ เสยี งกระสนุ ปนื ปลวิ วอ่ นไปใน
อากาศ ถูกก่ิงไม้เปลือกไม้แตกหักกระสานซ่านเซ็นไปทั่ว เสียงค�ำรามจากอาวุธปืน
ของทง้ั สองฝ่ายดังอยหู่ วดี หวิวกกึ ก้อง อบุ าสกชราทง้ั น้นั ตา่ งตกใจตน่ื พากันว่งิ หนหี ่า
กระสนุ ไป อบุ าสกนายหนง่ึ เลา่ วา่ ไดย้ นิ เสยี งทา่ นพระอาจารยร์ อ้ งตะโกนไลห่ ลงั มาวา่
หยุดกอ่ น อย่าหนไี ปทางน้ัน มันไมใ่ ช่หนทางกลับบา้ น อยากตายรึนนั่
เมอื่ ทา่ นพระอาจารยว์ า่ ดงั นน้ั แลว้ ทา่ นกเ็ อาผา้ อาบนำ้� ขนึ้ วางบนศรี ษะเพอื่ กนั แดด
แลว้ เดนิ ออกจากปา่ ฝา่ ดงปนื เขา้ ไป ทางทที่ า่ นเดนิ ไปนนั้ มนั เปน็ ทางทจี่ ะกลบั บา้ น แต่
เขายงิ กนั ชลุ มนุ อยู่ พวกอบุ าสกกลวั พากนั วง่ิ หนไี ปทางอนื่ แตท่ า่ นพระอาจารยย์ งั เหน็ วา่
ถา้ จะกลบั มนั ตอ้ งไปทางนนั้ จงึ เดนิ ไป อบุ าสกนายนนั้ แกตกใจกลวั จนตวั สนั่ คดิ วา่
ทา่ นพระอาจารยจ์ ะตอ้ งไดร้ บั อนั ตรายจากกระสนุ ปนื แนค่ ราวนี้ แตแ่ ลว้ พอเหน็ ทา่ นเดนิ
252
เขา้ ไป พวกนนั้ เขากลบั หยดุ ยงิ แลว้ เลกิ รากนั ไป ทา่ นพระอาจารยก์ เ็ ดนิ กลบั ทางเกา่ นนั้
ไปเป็นปกติ เหมอื นไมม่ สี งิ่ ใดเกิดขน้ึ เลย
ครงั้ หนงึ่ มผี มู้ าแอบถา่ ยรปู ทา่ นพระอาจารยโ์ ดยไมไ่ ดข้ ออนญุ าตหรอื บอกกลา่ ว
ทา่ นกอ่ น ปรากฏวา่ ถา่ ยรปู ไมต่ ดิ ขอ้ นเ้ี ปน็ เหตชุ วนใหส้ งสยั และเปน็ ทวี่ พิ ากษว์ จิ ารณ์
กนั ไปตา่ งๆ นานา บา้ งกว็ า่ เปน็ จรงิ บา้ งกว็ า่ เปน็ เพยี งคำ� เลา่ ลอื เทา่ นน้ั ดงั นนั้ พระผเู้ ฒา่
รปู หนึ่งจงึ เรยี นถามท่านวา่ เปน็ จรงิ หรือๆ ทำ� อยา่ งไรจงึ เปน็ ท่านพระอาจารย์พดู กบั
พระชรารปู น้นั ว่า อย่าสงสยั เลย มนั ไม่มอี ะไรหรอกนะ จงทำ� ศีลของเราให้บริสทุ ธ์ิ
อยา่ งเดียวเท่านั้น เมอื่ เราไมใ่ ห้ มนั ก็ถ่ายไมต่ ดิ
ในบ้ันปลายชีวติ ของท่านพระอาจารย์ ทุกสง่ิ ทุกอย่างเปน็ ไปด้วยอาการอันสงบ
ระงบั หยดุ การทอ่ งเทย่ี วไปเสยี แลว้ ไมส่ นใจในใครๆ ทา่ นพระอาจารยช์ อบจะใชช้ วี ติ
เป็นอยู่ของท่านองค์เดยี ว นานๆ ทจี ะไปเยี่ยมหลวงพ่อชา ผเู้ ปน็ ศษิ ย์ของท่านเองท่ี
จังหวัดอุบลฯ และถึงแม้ว่าหลวงพ่อชาจะรบเร้าขอนิมนต์ให้ไปอยู่ในส�ำนักด้วยเพ่ือ
ท่ีจะได้ดูแลถวายการอุปัฏฐากในยามท่านพระอาจารย์เฒ่าชราเช่นนี้ ท่านก็ไม่ยอม
ประสงคจ์ ะอยแู่ ตผ่ เู้ ดยี ว ดงั นนั้ หลวงพอ่ ชาจงึ ไดข้ อวตั รจากทา่ น แลว้ สง่ พระบรรดา
ท่ีเป็นศิษย์ทีละสองรูปบ้างสามรูปบ้างมาอยู่ปรนนิบัติอุปัฏฐากดูแลท่านอยู่ท่ีวัด
ของท่าน สว่ นมากพระเหลา่ นั้นจะเปน็ พระผู้ชราด้วยเหมอื นกนั
ไม่มีผู้ใดจะเคยได้ยินค�ำพูดที่ออกจากปากของท่านพระอาจารย์ท่ีจะเป็นไป
ในทางโอ้อวดคุณธรรมวิเศษอะไรในตน ท่านพระอาจารย์เป็นผู้มีปฏิปทาอันเสง่ียม
เจยี มตวั และสงบระงบั ครนั้ จะมผี ซู้ กั ถามเกย่ี วกบั ชวี ประวตั ติ ามขน้ั ตอนตา่ งๆ ของทา่ น
โดยละเอยี ด ทา่ นเปน็ เปลย่ี นเรอื่ งพดู ทนั ที อาจจะเปน็ วา่ ทา่ นไมย่ นิ ดที จ่ี ะใหใ้ ครๆ มา
เสยี เวลาค้นคว้าประวัติของท่าน ทงั้ นอี้ าจจะเปน็ ไดว้ า่ เพราะความเห็นทีว่ ่าสังขารคอื
ร่างกายจิตใจน้ี มันเป็นของไม่เที่ยง และจะหาสาระแก่นสารอะไรมิได้โดยประการ
ทั้งปวงอย่างน้ันกเ็ ป็นได้ท่ที ำ� ให้ท่านพระอาจารยบ์ า่ ยเบ่ยี งซ่อนเงอื่ นในเรอื่ งดงั กล่าว
253
รูปธาตปุ ริญฺาย อรูเปสุ อสณฺ€ิตา
นิโรเธ เย วมิ ุจฺจนตฺ ิ เต ชนา มจฺจุหายิโน
พระพทุ ธภาษติ บทน้ี พระพทุ ธองคไ์ ดต้ รสั ไวเ้ ปน็ ใจความวา่ ชนเหลา่ ใดกำ� หนดรู้
รูปธาตุ ไมต่ ้งั อย่ใู นอรูปธาตุ ย่อมหลุดพ้นไปในนโิ รธธาตนุ ่นั เทยี ว ชนเหลา่ น้นั ชื่อวา่
เปน็ ผลู้ ะซง่ึ มจั จคุ อื ความตายเสยี ได้ และมที ตี่ รสั ไวใ้ นแหง่ อน่ื อกี วา่ ผดู้ บั กเิ ลสไดแ้ ลว้
หมดความหวน่ั ไหวแลว้ รทู้ ส่ี ดุ ทงั้ สองขา้ งแลว้ ผนู้ น้ั ยอ่ มไมต่ ดิ อยู่ ณ ทท่ี า่ มกลางดว้ ย
ปัญญา เราเรยี กผู้นัน้ ว่าเปน็ มหาบรุ ุษ เปน็ ผู้ละตณั หาเครื่องรอ้ ยใจในโลกนีไ้ ด้ และ
มีท่ีกล่าวไว้อีกว่า ผู้มีบุตรย่อมเศร้าโศกเพราะบุตร ผู้มีโคย่อมเศร้าโศกเพราะโค
บคุ คลยอ่ มมคี วามเศรา้ โศกเพราะอปุ ธิ แตผ่ ใู้ ดทไี่ มม่ อี ปุ ธิ ผนู้ นั้ กไ็ มต่ อ้ งเศรา้ โศกเลย
ดังนี้
ชวี ติ ของทา่ นพระอาจารยท์ ดี่ ำ� เนนิ มาตง้ั แตต่ น้ จนกระทงั่ วาระสดุ ทา้ ยนี้ เปน็ ชวี ติ
ท่เี รียบงา่ ยและนา่ เคารพบชู า บทบาทอันส�ำคญั ในปฏิปทาของท่านเป็นสิ่งทบี่ ง่ ให้เห็น
ถึงคุณค่าอันมหาศาลท่ีมีอยู่แล้วในตัว โดยเฉพาะอย่างยิ่งก็คือคุณธรรมแห่งความ
พากเพียรพยายามในการรักษาตนอย่ดู ้วยข้อปฏิบัติอันไดแ้ ก่ ศลี สมาธิ และปัญญา
ท่านพระอาจารย์เป็นผู้มักน้อยถ่อมตน เป็นผู้ที่ไม่รักสวยรักงาม บริขารท่ีใช้อยู่ใน
เรอื นรา่ งของทา่ น ลว้ นแลว้ แตเ่ ปน็ ของปอนเศรา้ หมอง จวี รสคี ลำ้� ทปี่ ะแลว้ ปะเลา่ มนั เปน็
สงิ่ ทใี่ ชส้ ำ� หรบั คลมุ กายทา่ น เครอ่ื งใชส้ อยทป่ี ระดษิ ฐเ์ องและไมส่ วยงามอะไร มนั ถกู ทา่ น
ใช้จนสึกกรอ่ น เพราะท่านพระอาจารยช์ อบใช้มนั ความละอายต่อบาปชั่วและความ
เคารพตอ่ พระธรรมวนิ ยั เป็นคุณสมบัตปิ ระจ�ำตวั ของท่าน ความไมโ่ อ้อวดกับตำ� รา
พระภิกขปุ าตโิ มกขเ์ ล่มน้ันดมู ันจะมีอายุมากพอๆ กัน
ทา่ นพระอาจารยไ์ ดล้ ะโลกแหง่ ความวนุ่ วายนไี้ ปแลว้ ทา่ นทง้ิ เรอื นรา่ งอนั เตม็ ไป
ด้วยทุกข์และโทษน้ีไปเสียแล้วด้วยความสงบ ดูคล้ายกับว่าท่านมิได้อาลัยในส่ิงใด
สงั ขารรา่ งกายของทา่ นจะมไิ ดเ้ หลอื อยอู่ กี ตอ่ ไป แตค่ ณุ ธรรมความดงี ามในวตั รปฏบิ ตั ิ
ท้งั หลายของท่านกลับเป็นสิ่งท่ีจะเหลืออยู่และไม่มวี ันตาย
254
มนั เปน็ เวลาจวนเทย่ี งของวนั พธุ ที่ ๒๖ เดอื นพฤศจกิ ายน พทุ ธศกั ราช ๒๕๒๓
ตรงกบั วนั แรม ๔ คำ�่ เดอื น ๑๒ ปวี อก อนั เปน็ วนั สดุ ทา้ ยแหง่ ชวี ติ คอื วนั มรณภาพของ
ท่านพระอาจารย์กนิ รี จนทฺ ิโย แหง่ วัดกัณตะศลิ าวาส จงั หวัดนครพนม
ขอบารมแี หง่ ภมู ปิ ญั ญาของทา่ นพระอาจารย์ จงสถติ ยอ์ ยใู่ นโลกน้ี และแผผ่ ายสู่
จติ ใจของสรรพสตั วผ์ ทู้ นทกุ ขท์ รมานอยใู่ นหว้ งแหง่ ความเกดิ แก่ เจบ็ ตาย จงทว่ั ทกุ
ตัวคนด้วยเถิด.
255
“ถ้าทา่ นรกั ใคร
คิดถึงใคร
เป็นหว่ งใคร
ผูน้ นั้ จะให้โทษแก่ท่าน”
หลวงปูก่ ินรี จนทฺ โิ ย
256
257
258
259
260
261
262
263
264
265
266
267
268
269
270
271
272
พระจารธุ มโฺ ม หลวงปู่ทา
วดั ถำ�้ ซบั มดื อ�ำ เภอปากช่อง จังหวัดนครราชสมี า
ชีวประวัตแิ ละพระธรรมเทศนา
พระจารธุ มโฺ ม หลวงปู่ทา
273
ชีวประวตั ิ
พระจารธุ มโฺ ม หลวงปทู่ า
หลวงปทู่ า จารธุ มโฺ ม ทา่ นเกดิ ในสกลุ อารวี งศ์ ในวนั ขน้ึ ๑๑ คำ�่ เดอื น ๔ ปรี ะกา
ตรงกบั วนั องั คารท่ี ๑ เมษายน พ.ศ. ๒๔๕๒ ทต่ี ำ� บลคเู มอื ง อำ� เภอวารนิ ชำ� ราบ จงั หวดั
อบุ ลราชธานี ทา่ นเปน็ บตุ รของนายล-ี นางเขยี ว อารวี งศ์ มพี น่ี อ้ งรว่ มบดิ ามารดาเดยี วกนั
๙ คน ท่านเปน็ บุตรคนท่ี ๗ น้อง ๒ คน เสยี ชวี ติ ตง้ั แต่ยงั เลก็
ตอนเป็นเด็ก ท่านไม่มีโอกาสได้ศึกษาเล่าเรียนหนังสือ ต้องช่วยบิดามารดา
เลยี้ งนอ้ ง เลย้ี งควาย บดิ ามารดาของทา่ นเกดิ ในตระกลู สมั มาทฐิ ิ ใสบ่ าตร เขา้ วดั ฟงั ธรรม
อยเู่ ปน็ ประจำ� พอทา่ นอายไุ ด้ ๕ ขวบ โยมมารดาของทา่ นเสยี ชวี ติ หลงั จากนน้ั ไมน่ านนกั
โยมบดิ ากเ็ สยี ชวี ติ ตามไปอกี คน ทา่ นตอ้ งเปน็ เด็กก�ำพร้าตง้ั แต่ยงั เล็ก ลกู ทั้ง ๗ คน
ตอ้ งแยกยา้ ยไปอาศยั อยกู่ บั ญาตผิ ใู้ หญ่ สว่ นทา่ นไปอยกู่ บั โยมนา้ หญงิ ซง่ึ ทา่ นเรยี กวา่
แมน่ า้ ทอี่ ำ� เภอเขอื่ งใน จงั หวดั อบุ ลราชธานี โยมนา้ ไมม่ ลี กู จงึ รบั ทา่ นเปน็ บตุ รบญุ ธรรม
ใหก้ ารเลยี้ งดใู หค้ วามอบอนุ่ เปน็ อยา่ งดี ทา่ นไดช้ ว่ ยโยมนา้ ทำ� ไร่ ปลกู ออ้ ย เลยี้ งควาย
เม่อื วา่ งจากหนา้ ทก่ี ารงานทางบา้ น ทา่ นจะไปอยวู่ ดั รับใชพ้ ระ
พอทา่ นอายุได้ ๒๐ ปี ไดอ้ ุปสมบทท่วี ดั ใหญ่ชีทวน และไดจ้ ำ� พรรษาอยทู่ วี่ ดั
ท่าชที วน เปน็ เวลา ๕ พรรษา แต่เปน็ ทีน่ ่าเสยี ดายทไ่ี ม่มีอาจารยผ์ ูส้ อนอบุ ายธรรม
ท่านจงึ ได้ลาสิกขาบทเพ่ือมาช่วยงานทางบา้ น มีอยูว่ ันหนึง่ ท่านและเพอื่ นได้ไปตัด
ตน้ ชาตทิ รี่ าวปา่ ตดิ ลำ� โดมใหญ่ เพอ่ื เอาไมม้ าทำ� ฮวงหบี ออ้ ย (เครอ่ื งหบี ออ้ ย) เพอื่ นแตล่ ะ
คนแสดงอาการคกึ คะนอง และพดู จาไมส่ ภุ าพ ส่วนท่านส�ำรวมระวังตัวอยเู่ สมอ
275
หลงั จากนน้ั ไมน่ าน เพอื่ นทไ่ี ปตดั ไมด้ ว้ ยกนั ไดล้ ม้ ปว่ ยและเสยี ชวี ติ ไปทลี ะคนๆ
โดยไมท่ ราบสาเหตุ สว่ นทา่ นกล็ ม้ ปว่ ย มอี าการหนกั มาก นอนอยทู่ รี่ ะเบยี งบา้ น ฝนตกหนกั
ฟ้ารอ้ ง ท่านไม่ได้ยินเลย โยมแมน่ ้าได้พูดท่ขี ้างหวู า่ จะตายจริงๆ หรอื และบอกให้
ภาวนา พทุ โธ ภาวนาไปสกั ระยะหนง่ึ จติ เรมิ่ สงบ หลงั จากนน้ั อาการไขไ้ ดท้ เุ ลาลง และ
หายไปในท่สี ดุ
กาลตอ่ มา คณะพระธดุ งคก์ รรมฐาน มหี ลวงปเู่ สาร์ กนตฺ สโี ล เปน็ หวั หนา้ คณะ
และมหี ลวงปมู่ ี าณมนุ ี พรอ้ มคณะ ไดเ้ ดนิ ทางผา่ นบา้ นชที วน และปกั กลดทปี่ า่ บา้ น
ชที วน เพือ่ เดินทางตอ่ ไปยังบา้ นข่าโคม อำ� เภอเขอ่ื งใน จังหวดั อุบลราชธานี ซง่ึ เปน็
บา้ นเกิดของหลวงปู่เสาร์ กนฺตสโี ล ชาวบา้ นชที วนพอทราบขา่ ววา่ คณะพระธดุ งคม์ า
ปักกลด ตกเย็นหลังจากเสร็จกิจการงานทางบ้าน ชาวบ้านชีทวนได้พากันออกไป
ฟงั ธรรม โยมพอ่ นา้ แมน่ า้ กอ็ อกไปฟงั ธรรมกบั เขา หลวงปทู่ าไดม้ โี อกาสตดิ ตามไปดว้ ย
คณะพระธดุ งคไ์ ดผ้ ลดั เปลย่ี นกนั แสดงธรรม ทา่ นไดฟ้ งั ธรรมจากหลวงปมู่ ี เกดิ ศรทั ธา
เลอื่ มใสตัง้ ใจวา่ หากได้บวช จะบวชกบั พระอาจารย์องค์นี้
หลงั จากนนั้ ราว ๓ ปี ทา่ นไดก้ ราบลา พอ่ นา้ แมน่ า้ ผเู้ ปรยี บเสมอื นบดิ ามารดา
คนท่ีสองของท่าน เพื่อไปฝากตัวเป็นศษิ ยข์ องหลวงปู่มี าณมนุ ี ทา่ นไดเ้ ดินทาง
ลงไปทำ� งานทก่ี รุงเทพเป็นเวลา ๑ เดอื น แลว้ จงึ ย้อนกลบั มาหาหลวงปู่มี ฝากตวั เปน็
ศษิ ย์ ปรนนบิ ตั ริ บั ใชห้ ลวงปมู่ ี อยทู่ เี่ สนาสนะปา่ บา้ นสงู เนนิ ปจั จบุ นั คอื วดั ปา่ ญาณ-
โศภติ วนาราม
ตลอดระยะเวลา ๓ ปี ท่านได้ท�ำกิจวัตรเหมอื นพระทกุ อย่าง ทำ� วตั รเชา้ -เย็น
ตกกลางคนื เดนิ จงกรมภาวนา ถงึ ๖ ทมุ่ จึงขนึ้ ที่พกั เม่อื หลวงปมู่ ีเหน็ วา่ ทา่ นตง้ั ใจ
ทำ� กจิ วัตร มีกริ ยิ ามารยาทเรยี บรอ้ ย สมควรทบ่ี วชได้แลว้ จงึ อนญุ าตใหบ้ วชได้
ทา่ นได้อปุ สมบทเมอื่ อายุ ๓๔ ปี ในวนั ท่ี ๒๖ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๘๕ เวลา
๑๒.๒๔ น. ณ อุโบสถวดั ใหญส่ งู เนิน อ�ำเภอสงู เนิน จังหวัดนครราชสมี า
276
โดยมี หลวงปูม่ ี าณมนุ ี เปน็ พระอปุ ชั ฌาย์
พระอาจารยเ์ นยี ม เป็นพระกรรมวาจาจารย์
พระอธิการถนอม เปน็ พระอนุสาวนาจารย์
ไดฉ้ ายา จารธุ มโฺ ม แปลความหมายว่า ผมู้ ธี รรมประดุจทอง
ดว้ ยความศรทั ธาเล่ือมใสในองคห์ ลวงปู่มเี ป็นอย่างมาก ท่านไดต้ ้งั ใจประพฤติ
ปฏิบัติตามพระธรรมวินัยอย่างเคร่งครัด ปฏิบัติตามค�ำอบรมสั่งสอนของหลวงปู่มี
ทกุ ประการ ทา่ นวา่ ถา้ ผใู้ ดบวชมาอยกู่ บั หลวงปมู่ แี ลว้ ไมต่ งั้ ใจประพฤตปิ ฏบิ ตั ิ หลวงปมู่ ี
ทา่ นจะขบั ออกจากสำ� นกั ทนั ที ทา่ นอยจู่ ำ� พรรษากบั หลวงปมู่ ที เ่ี สนาสนะปา่ บา้ นสงู เนนิ
เปน็ เวลาหลายปี พอออกพรรษา ท่านกเ็ ที่ยววิเวกไปตามทีต่ า่ งๆ
ทา่ นเลา่ ให้ฟังว่า ในชีวติ ของทา่ น ทา่ นกลับบา้ นเกิดเพยี ง ๒ คร้งั
ครง้ั ท่ี ๑ ไปเผาศพแมใ่ หญ่ (ยายของท่าน)
คร้งั ท่ี ๒ ไปเผาศพพ่ีชาย
ปี พ.ศ. ๒๕๐๓ หลวงปมู่ ี าณมนุ ี หลวงพอ่ ทองพลู €ติ ปญโฺ และหลวงพอ่ สพุ รี ์
สสุ ญฺ โม ไดข้ นึ้ ไปวเิ วกทางภาคเหนอื และอยจู่ ำ� พรรษทวี่ ดั ดอยพระเกดิ๊ อำ� เภอจอมทอง
จังหวัดเชียงใหม่ โดยให้หลวงปู่ทาอยู่ดูแลวัดป่าสูงเนิน เพื่อคุมงานก่อสร้างศาลา
การเปรยี ญ ชว่ งท่ีหลวงป่มู ีเทย่ี ววิเวกท่เี ชยี งใหม่ หลวงป่ทู าทา่ นเข้าออกอยู่ระหว่าง
วัดปา่ สูงเนินกบั วดั ปา่ สระเพลง วดั ปา่ สระเพลงเป็นอีกสถานทหี่ นงึ่ ท่ีสปั ปายะถกู จรติ
กบั ทา่ นมาก
ปี พ.ศ. ๒๕๐๖ หลวงปทู่ าไดม้ าอยจู่ ำ� พรรษาทวี่ ดั ถำ้� ซบั มดื ตำ� บลจนั ทกึ อำ� เภอ
ปากชอ่ ง จงั หวัดนครราชสีมา ซงึ่ ในสมัยน้นั ยงั เปน็ ป่าดงดบิ ไขม้ าลาเรยี ระบาดหนกั
มสี ตั วป์ า่ นานาชนดิ เชน่ เสอื เกง้ กวาง หมปู า่ เปน็ ตน้ พอออกพรรษา ทา่ นไดก้ ลบั ไป
อย่ทู ่ีวัดปา่ สูงเนนิ เพือ่ เตรียมการฉลองศาลาการเปรียญ และท่านได้ขน้ึ ไปเชียงใหม่
เพื่อกราบนิมนต์หลวงปู่มีให้มาเป็นประธานฉลองศาลาการเปรียญที่วัดใหญ่สูงเนิน
277
หลังจากจัดงานฉลองศาลาการเปรียญเสร็จเป็นท่ีเรียบร้อยแล้ว หลวงปู่มีมีความ
ประสงคจ์ ะขนึ้ ไปเชียงใหมอ่ กี คร้งั โดยให้หลวงปู่ทาติดตามไปด้วย
ปี พ.ศ. ๒๕๐๗-๒๕๑๑ หลวงปมู่ ี าณมนุ ี หลวงปทู่ า จารธุ มโฺ ม และหลวงพอ่
สพุ รี ์ สสุ ญฺ โม ไดจ้ ำ� พรรษาอยทู่ วี่ ดั ดอยพระเกด๊ิ อ.จอมทอง จ.เชยี งใหม่ หลวงปทู่ า
ไดเ้ ลา่ ถงึ หลวงปมู่ วี า่ ทา่ นมเี มตตาตอ่ ทา่ นมาก ทา่ นวา่ ไมว่ า่ ผมไปอยทู่ ไ่ี หน หลวงปมู่ ี
จะใหผ้ มมาอยกู่ ฏุ ใิ กลๆ้ ทา่ น ทา่ นวา่ เวลาเรยี กหาจะไดย้ นิ สว่ นพระรปู อนื่ ใหแ้ ยกกนั
อยหู่ า่ งๆ กัน
ทา่ นไดเ้ ลา่ ถงึ อดตี กรรมของทา่ นวา่ ในคราวทท่ี า่ นไปบำ� เพญ็ เพยี รภาวนาทวี่ ดั ปา่
โคกมะกอก มอี ยวู่ นั หนง่ึ ทา่ นเปน็ ไขห้ นกั โยมมานมิ นตไ์ ปสวดมาตกิ าบงั สกุ ลุ ขณะท่ี
สวดมาตกิ า อาการไขก้ ห็ นกั อยู่ พอกลบั มาถงึ กฏุ ิ อาการไขก้ ไ็ มไ่ ดท้ เุ ลาลง ทา่ นจงึ นงั่ สมาธิ
ผินหน้าไปทางหน้าต่างภาวนาจนจติ สงบ เกดิ นมิ ิตเห็นควายกับฮวงหบี อ้อย (เครื่อง
หีบออ้ ย) จิตบอกว่ารู้แล้ว รแู้ ลว้ รูแ้ ล้ว ท่านไดล้ ุกขนึ้ อาเจยี นทห่ี น้าต่าง หลงั จากนนั้
อาการไขจ้ ึงค่อยทุเลาลง
ทา่ นไดย้ อ้ นรำ� ลกึ ถงึ ครงั้ เปน็ ฆราวาส ทา่ นเคยบงั คบั ควายใหห้ บี ออ้ ย ควายเพงิ่ กนิ
หญา้ มาใหม่ๆ มันไมย่ อมเดิน ท่านตบี ังคบั ให้มนั เดิน เม่อื บังคบั มันมากๆ มนั อวก
หญ้าออ่ นทเี่ พ่งิ กินเข้าไปออกมา ทา่ นเกิดความสลดสงั เวช จึงเลกิ บงั คับมนั เพราะ
กรรมน้ีเองปรากฏใหเ้ ห็นในนมิ ิต ท�ำใหท้ า่ นเป็นโรคลมและอาเจียนเปน็ ประจ�ำ
ทา่ นไดเ้ รง่ ความเพยี รอยา่ งหนกั ทวี่ ดั ปา่ สระเพลง ถอื เนสชั ชกิ ไมน่ อนตลอด ๗ วนั
ขณะนงั่ สมาธิ ไดย้ นิ เสยี งเหมอื นมใี ครมาเทศนอ์ ยขู่ า้ งหลงั เทศนเ์ รอ่ื งอรยิ สจั ๔ ประมาณ
๑-๒ ช่ัวโมง เป็นธรรมะอนั ลึกซ้ึงซึ่งท่านไมเ่ คยไดย้ ินได้ฟังมากอ่ น
ท่านจึงนึกถึงค�ำพูดของหลวงปู่มีที่เคยกล่าวกับท่านว่า ให้ภาวนาจนถึงขั้น
พระพุทธเจ้ามาเทศน์ใหฟ้ งั นัน่ ถึงจะดี
หลวงปู่ทา ท่านเป็นผู้สืบทอดข้อวัตรปฏิบัติปฏิปทาจากหลวงปู่มีได้มากท่ีสุด
อาจจะพดู ไดว้ า่ เป็นหนงึ่ เดียวก็ว่าได้
278
ปี พ.ศ. ๒๕๑๒ หลวงปมู่ ี าณมุนี ได้มาอยู่จำ� พรรษาทีว่ ดั ถ้ำ� ซับมดื โดยมี
หลวงปทู่ า และหลวงพอ่ สพุ รี ์ ตดิ ตามมาอยดู่ ว้ ย ตงั้ แตน่ น้ั มา หลวงปทู่ าทา่ นกไ็ มเ่ คย
ไปจ�ำพรรษาท่ีไหนอีกเลย
หลงั จากหลวงปมู่ มี รณภาพไปแลว้ ทา่ นกไ็ ดอ้ ยจู่ ำ� พรรษากบั หลวงพอ่ สพุ รี ์ อบรม
ส่งั สอนลูกศษิ ยด์ ้วยการทำ� ใหด้ ู เปน็ อยใู่ หเ้ ห็น ฉันนอ้ ย นอนน้อย ปฏบิ ตั ิใหม้ าก
ทา่ นครองสมณเพศอยา่ งเรยี บงา่ ย สมถะ ถอื สนั โดษ เปย่ี มดว้ ยเมตตาธรรม เปน็ ทเี่ คารพ
ศรทั ธาเล่อื มใสของพระภิกษุ สามเณร ตลอดจนสาธชุ นท่ัวไป
มพี ระกรรมฐานทงั้ ฝา่ ยมหานกิ ายและธรรมยตุ ไดม้ าอยรู่ ว่ มกบั ทา่ น ปฏบิ ตั ติ าม
ธรรมวนิ ัย อย่รู ่วมกนั อยา่ งเยน็ ใจตลอดมา
ตลอดระยะเวลา ๔-๕ ปี กอ่ นทา่ นมรณภาพ การอาพาธกบ็ อ่ ยขนึ้ แตท่ า่ นกไ็ ม่
พงึ ปรารถนาทจ่ี ะไปหาหมอ หรอื เขา้ พกั รกั ษาทโี่ รงพยาบาลแตอ่ ยา่ งใดเลย มอี นโุ ลมบา้ ง
ตามค�ำขอของลูกศษิ ยใ์ นบางคร้งั ท่านพูดเสมอว่า หมอเขาก็รกั ษาตามหนา้ ท่ขี องเขา
เราก็ดู เราก็รู้ของเราอย่เู สมอ
แมอ้ าพาธจะรมุ เรา้ ทา่ นยงั รกั ษาปฏปิ ทาปฏบิ ตั ศิ าสนกจิ ไดเ้ ปน็ อยา่ งดี เมตตาตอ่
ลูกศิษยอ์ ยา่ งไมม่ ปี ระมาณ
ทา่ นพูดเสมอว่า ทา่ นจะตายทน่ี ่ี (กุฏิของท่าน)
ตอ่ มาเมอ่ื วนั ท่ี ๓๐ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๐ ทา่ นไดล้ ะสงั ขารดว้ ยอาการสงบทกี่ ฏุ ิ
อนั เปน็ ทพ่ี กั ประจำ� ของทา่ น เขา้ สมาธแิ บบสงบนง่ิ ไมม่ อี าการขนึ้ ลงทางธาตขุ นั ธ์ ตรงกบั
เวลา ๒๑.๓๙ น. รวมสิรอิ ายุ ๙๘ ปี พรรษา ๖๕
279
พระธรรมเทศนา
พระจารธุ มฺโม หลวงป่ทู า
281
282
283
284
285
286
287
288