The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ประวัติท่านอาจารย์มั่น โดยหลวงตามหาบัว

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ืทีมงานกรุธรรม, 2022-02-10 22:10:15

ประวัติท่านอาจารย์มั่น โดยหลวงตามหาบัว

ประวัติท่านอาจารย์มั่น โดยหลวงตามหาบัว

Keywords: ประวัติท่านอาจารย์มั่น โดยหลวงตามหาบัว

41

ต้องการ ตอ้ งวง่ิ วุ่นข่นุ เคืองเดอื ดรอ้ นเพราะทอ้ งเพราะปากดว้ ยความหวงั อาหารมากยิ่งกว่าธรรม
ธุดงค์ข้อห้ามอาหารที่ตามส่งมาทีหลังน้ีเป็นธรรมหรือเครื่องมือหักล้างกิเลสความมักมาก ในอาหาร 
ได้เป็นอย่างดี และตัดความหวังความกงั วลตา่ ง ๆ ที่เกย่ี วกับอาหาร ไดอ้ ยา่ งดีเยีย่ มหนง่ึ

การฉันมื้อเดียวหรือหนเดียว ในวันหนึ่ง ๆ เป็นความพอดีกับพระธุดงคกรรมฐานผู้มีภาระ
และความกังวลน้อย ไมพ่ ร่�ำเพรอ่ื กับอาหารหวานคาว ในเวลาต่าง ๆ อนั เป็นการกงั วลกับปากทอ้ ง
มากกว่าธรรมจนเกิน ไป ไมส่ มศกั ดศิ์ รขี องผู้แสวงธรรมเพือ่ ความพน้ ทกุ ขอ์ ยา่ งเตม็  ใจ แมเ้ ช่นนั้น
 ในบางคราวยงั ควรทำ� การผอ่ นอาหาร ฉนั แตน่ ้อย ในอาหารมือ้ เดียวนัน้ เพอ่ื จติ  ใจกับความเพยี ร
จะได้ด�ำเนิน โดยสะดวก ไม่อืดอาด เพราะมากจนเกิน ไป และยังเป็นผลก�ำ ไรทาง ใจอีกต่อหนึ่ง
จากการผอ่ นน้นั ดว้ ย สำ� หรบั รายทีเ่ หมาะกบั จริตของตน ธุดงควตั รข้อนเ้ี ปน็ ธรรมเคร่ืองสงั หาร
ลบลา้ งความเหน็ แก่ปากแก่ทอ้ งของพระธุดงค์ทมี่  ีใจมกั ละ โมบ โลเล ในอาหาร ได้ดี และเปน็ ธรรม
ขอ้ บงั คับที่เหมาะสมมาก

ทาง โลกกน็ ยิ มเชน่ เดยี วกบั ทางธรรม เชน่ เขามเี ครอื่ งปอ้ งกนั และปราบปรามสง่ิ ทเี่ ปน็ ขา้ ศกึ
ไมว่ ่าจะเปน็ ขา้ ศกึ ต่อทรพั ย์สินหรอื ต่อชีวติ จิต ใจ เช่น สนุ ัขดุ งดู ุ ชา้ งดุ เสือดุ คนดุ ไขด้ ุ หรือ
ไข้ทรยศ เขามีเครื่องมือหรือยาส�ำหรับป้องกันหรือปราบปรามกันท่ัว โลก พระธุดงคกรรมฐาน
ผ้มู ี ใจด ุใจหนัก ในอาหารหรอื  ในทาง ไม่ดี ใด ๆ ก็ตามที ่ไมน่ ่าดสู �ำหรบั ตวั เองและผ้อู ่นื จงึ ควรมธี รรม
เป็นเครื่องมือ ไว้ส�ำหรับปราบปรามบ้าง ถึงจะจัดว่าเป็นผู้มีขอบเขตและงามตาเย็น ใจส�ำหรับตัว
และผ้เู กย่ี วขอ้ งท่ัว ๆ ไ ป ธุดงค์ข้อนีจ้ งึ เปน็ ธรรมเครอื่ งปราบ ไดด้ หี น่ึง

การฉัน ในบาตร ไม่เก่ียวกับภาชนะอื่น ใดจัดเป็นความสะดวกอย่างยิ่งส�ำหรับพระธุดงค –
กรรมฐานผปู้ ระสงค์ความมกั น้อยสนั  โดษและมีนิสัย ไม่คอ่ ยอยกู่ ับทเ่ี ป็นประจ�ำ การ ไปเท่ียวจาริก
เพ่ือสมณธรรม ในทิศทาง ใดก็ ไม่ต้องหอบหิ้วพะรุงพะรังอันเป็นความ ไม่สะดวก และเหมาะสม
กับพระผู้ต้องการถ่ายเทส่ิงรกรุงรังภาย ใน ใจทุกประเภท เคร่ืองบริขาร ใช้สอยแต่ละอย่างย่อมท�ำ
ความกังวลแก่การบ�ำเพ็ญ ไดอ้ ย่างพอดู ฉะน้ัน การฉันเฉพาะ ในบาตรจงึ เปน็ กรณีท่ีควรสน ใจเป็น
พิเศษส�ำหรบั พระธดุ งค์ คุณสมบตั ทิ จี่ ะเกดิ จากการฉนั  ในบาตรยงั มีมากมาย คืออาหารชนดิ ต่าง ๆ
ท่ีรวมลง ในบาตรย่อมเป็นส่ิงท่ีสะดุดตาสะดุด ใจและเตือนสติปัญญามิ ให้น่ิงนอน ใจต่อการพิจารณา
เพือ่ ถือเอาความจรงิ ต่าง ๆ ทมี่ อี ยู่กับอาหารทร่ี วมกันอยู ่ไดอ้ ยา่ งดีเยย่ี ม ทา่ นเล่าวา่ ท่านเคย ไดร้ บั
อุบายต่าง ๆ จากการพิจารณาอาหาร ในขณะที่ฉันมาเป็นประจ�ำ แม้ข้ออ่ืน ๆ ก็มีนัยเช่นเดียวกัน
ทา่ นจึง ไดถ้ อื เปน็ ขอ้ หนกั แนน่  ในธุดงควัตรตลอดมามิ ไดล้ ดละ

42

การพจิ ารณาอาหาร ในบาตรเป็นอบุ ายตดั ความทะเยอทะยาน ในรสชาตขิ องอาหาร ไดด้ ี การ
พจิ ารณากเ็ ปน็ ธรรมเครอื่ งถอดถอนกเิ ลส เวลาฉนั  ใจก ็ไม่ทะเยอทะยาน ไปกับรสอาหาร มีความ
รู้สึกอยู่กับความจริงของอาหาร โดยเฉพาะ อาหารก็เพียงเป็นเครื่องยังชีวิต ให้เป็น ไป ในวันหนึ่ง ๆ
เทา่ นน้ั ไมก่ ลบั เปน็ เครอื่ งกอ่ กวนและสง่ เสรมิ  ให ้ใจก�ำเรบิ เพราะอาหารดีมีรสอร่อยบ้าง เพราะ
อาหาร ไม่ดีมีรส ไม่ต้อง ใจบ้าง การพิจารณา โดยแยบคายทุก ๆ คร้ังก่อนลงมือฉัน ย่อมท�ำ ให้ ใจ
คงตัวอยู่ ได ้โดยสมำ่� เสมอ ไม่ตืน่ เตน้ ไมอ่ ับเฉา เพราะอาหารและรสอาหารชนิดตา่ ง ๆ วางตวั
คือ ใจเปน็ กลางอยา่ งมีความสุข ฉะนั้น การฉนั  ในบาตรจึงเปน็ ข้อวัตรเครอ่ื งกำ� จัดกเิ ลสตัวหลง
รสอาหาร ไดเ้ ป็นอย่างดีหน่ึง

ทา่ นถอื ผา้ บงั สกุ ลุ เปน็ กจิ วตั ร พยายามอดกลน้ั  ไมท่ ำ� ตามความอยากอนั เปน็ ความสะดวก ใจ
ซึง่ มีนิสยั ชอบสวยงาม ในความเปน็ อยู่ ใชส้ อย โดยประการทัง้ ปวงมาดง้ั เดิม คอื เทยี่ วเสาะแสวงหา
ผา้ ทเ่ี ขาทง้ิ  ไว ้ในทตี่ า่ ง ๆ มปี า่ ชา้ เปน็ ตน้ เกบ็ เลก็ ผสมนอ้ ยมาเยบ็ ปะตดิ ปะตอ่ เปน็ เครอ่ื งนงุ่ หม่  ใชส้ อย
โดยเป็นสบงบ้าง เป็นจวี รบา้ ง เป็นสงั ฆาฏิบา้ ง เปน็ ผ้าอาบนำ�้ ฝนบา้ ง เป็นบรขิ ารอ่นื  ๆ บ้าง
เรือ่ ยมา บางครั้งทา่ นชกั บังสุกลุ ผ้าทเ่ี ขาพนั ศพคนตาย ในป่าช้าก็มีทเี่ จ้าของศพเขายนิ ดี เวลา ไป
บิณฑบาตมองเห็นผ้าขาดตกทง้ิ อยตู่ ามถนนหนทาง ทา่ นกเ็ ก็บเอาเป็นบังสุกุล ไมว่ า่ จะเปน็ ผา้
ชนิด ใดและ ไดม้ าจากที่ ไหน เม่อื มาถงึ ทพ่ี กั แล้ว ท่านนำ� มาท�ำการซกั ฟอก ให้สะอาดแลว้ เอามา
เยบ็ ปะสบงจีวรท่ขี าดบา้ ง เยบ็ ตดิ ตอ่ กันเป็นผ้าอาบน�ำ้ ฝนบา้ ง อยา่ งนน้ั เป็นประจำ� ตลอดมา

ตอ่ มาศรทั ธาญาต ิโยมทราบเขา้ ต่างกน็ �ำผ้าไปบงั สกุ ลุ ถวายท่าน ทป่ี า่ ชา้ บ้าง ตามสายทาง
ทท่ี ่าน ไปบิณฑบาตบา้ ง ตามบริเวณที่พักท่านบา้ ง ทกี่ ุฎีหรอื แครท่ ี่ทา่ นพักบ้าง การบังสกุ ลุ ท่ที ่าน
เคยท�ำมาดั้งเดิมกค็ ่อยเปลี่ยน ไปตามเหตกุ ารณ์ที่พา ให้เปน็  ไป ท่านเลยตอ้ งชักบังสกุ ุลผ้าท่เี ขามา
ทอด ไว้ตามท่ีต่าง ๆ ในข้อน้ีปรากฏว่าท่านพยายามรักษามาตลอดอวสานแห่งชีวิต ท่านว่า
พระเราตอ้ งท�ำตัวเหมือนผา้ ขร้ี วิ้ ทีป่ ราศจากราคาค่างวด ใด ๆ  แลว้ จึงเปน็ ความสบาย การกนิ อยู่
หลบั นอนและ ใช้สอยอะ ไรก็สบาย การเกย่ี วขอ้ งกับผูค้ นกส็ บาย ไม่มที ฏิ ฐิมานะความถือตวั ว่า
เราเป็นพระเป็นเณรผสู้ งู ศกั ดิด์ ้วยศลี ธรรม เพราะศีลธรรมอันแท้จรงิ มิ ได้อยูก่ ับความสำ� คัญเช่นนนั้
แตอ่ ยูก่ บั ความ ไม่ถอื ตัวยวั่ กิเลส อยู่กบั ความตรง ไปตรงมาตามผู้มสี ัตยม์ ีศีลมีธรรมความสม่ำ� เสมอ
เปน็ เครอื่ งครอง ใจ นีแ้ ลคอื ศลี ธรรมอนั แท้จรงิ ไม่มีมานะเข้ามาแอบแฝงทำ� ลาย ได้ อยูท่ ่ ีใดก็
เยน็ กายเยน็  ใจ ไม่มภี ยั ทงั้ แกต่ วั และผ้อู ่ืน

43

การปฏิบัติธุดงควัตรข้อน้ีเป็นเครื่องท�ำลายกิเลสมานะความส�ำคัญตน ในแง่ต่าง ๆ  ได้ดี
ผ้ปู ฏิบัตจิ ึงควรเข้า ใจระหวา่ งตนกับศีลธรรมด้วยดี อยา่ ปลอ่ ย ใหต้ ัวมานะเข้า ไปย้ือแยง่ ครอบครอง
ศลี ธรรมภาย ใน ใจ ได้ จะกลายเป็นผูม้ เี ขยี้ วมเี ขาแฝงข้ึนมา ในศลี ธรรมอันเปน็ ธรรมชาติเยือกเย็น
มาดั้งเดิม การฝึกหัดทรมานตน ให้เป็นเหมือนผ้าเช็ดเท้าจนเคยชิน โดย ไม่ยอม ให้ตัวทฏิ ฐมิ านะ 
โผลข่ น้ึ มาวา่ ตวั มีราคาค่างวด น้เี ปน็ ทางกา้ วหน้าของธรรมภาย ใน ใจ โดยสม�ำ่ เสมอ จนกลายเป็น 
ใจธรรมชาติ เป็นธรรมธรรมชาติ ไม่หว่ัน ไหว เหมือนแผ่นดิน ใครจะท�ำอะ ไร ๆ กไ็ มส่ ะเทอื น จิต
ที่ปราศจากทฏิ ฐมิ านะทกุ ประเภท โดยประการท้งั ปวงแล้ว ย่อมเป็นจิตท่ีคงทตี่ อ่ เหตกุ ารณด์  ี – ชั่ว
ทั้งมวล การปฏิบตั ติ ่อบงั สุกุลจวี รทา่ นถอื ว่าเป็นทางหนึ่งทจ่ี ะชว่ ยตัดทอนลบลา้ งตวั มรี าคาทฝี่ ังอยู่
ใน ใจอยา่ งลึกลับ ใหส้ ญู ซากลง ได้อย่างมน่ั  ใจขอ้ หนงึ่

การอยูป่ า่ เปน็ วตั รตามธดุ งค์ระบุ ไว้ ท่านก็เรมิ่ เหน็ คณุ แต่เริม่ ฝึกหดั อยูป่ ่าเปน็ ตน้ มา ท�ำ ให้
เกิดความวิเวกวังเวงอยู่คนเดียว ตาเหลือบมอง ไป ในทิศทาง ใดก็ล้วนเป็นทัศนียภาพเคร่ืองปลุก
ประสาท ให้ตน่ื ตนอย่เู สมอ ไมป่ ระมาทนอน ใจ นง่ั อยู่กม็ สี ติ ยืนอยู่ก็มีสติ เดนิ อยู่กม็ ีสติ นอน
อยกู่ ม็ ีสติ กำ� หนดธรรมทงั้ หลายที่มีอยรู่ อบตัว เว้นแตห่ ลบั เท่านนั้ ในอิริยาบถทั้งสีเ่ ต็ม ไปด้วย
ความปลอด โปรง่  โล่ง ใจ ไมม่ พี ันธะ ใด ๆ มาผกู พนั มองเห็นแตค่ วามมุ่งหวังพน้ ทุกขท์ ่เี ตรียมพรอ้ มอยู่
ภาย ใน ไมม่ วี นั จดื จางและอมิ่ พอ ยงิ่ พกั อย ู่ในปา่ เปลย่ี วอนั เปน็ ทอี่ ยขู่ องสตั วท์ กุ ชนดิ ซงึ่ ตงั้ อยหู่ า่ ง ไกล
จากหมู่บ้านด้วยแลว้ ใจปรากฏว่าเตรียมพรอ้ มอยูท่ ุกขณะประหนงึ่ จะทะยานเหาะขนึ้ จากหลม่ ลกึ
คอื กิเลส ในเดย๋ี วนนั้ ราวกับนกจะเหาะบนิ ข้นึ บนอากาศฉะน้นั ความจรงิ กิเลสกค็ งเปน็ กเิ ลสและ
ฝงั อย ู่ใน ใจตามความมอี ยู่ของมันนน่ั แล แต่ ใจมนั มคี วามรู้สึก ไปอีกแง่หนง่ึ

เมื่อ ไปอยู่ ในที่เช่นน้ัน ความรู้สึก ในบางครั้งเป็นเหมือนกิเลสตายลง ไปวันละร้อยละพัน
ยังเหลืออยู่บา้ งประปราย ราวตัวสองตัวเทา่ น้ัน เพราะอำ� นาจของสถานท่ที ่ีพักอยูช่ ว่ ยสง่ เสรมิ
ทง้ั ความรู้สึก โดยปรกตแิ ละเวลาบ�ำเพ็ญเพียรกลายเป็นเครือ่ งพยงุ  ใจ ไปทุกระยะทพี่ ักอยู่ ความคดิ
เก่ียวกับสตั วต์ า่ ง ๆ ท้งั สตั วร์ า้ ยและสัตวด์ ที ่ีมีอย่ทู ่ัว ไป ในบริเวณน้นั กค็ ดิ  ไป ในทางสงสารมากกวา่
จะคดิ  ในทางเป็นภัย โดยคิดวา่ เขากบั เรากม็ คี วามเกิดแก่เจ็บตายเท่ากัน ในชีวิตที่ทรงตวั อยูเ่ วลาน้ี
แต่เรายังดีกว่าเขาตรงท่ีรู้จักบุญ – บาป – ดี – ชั่วอยู่บ้าง ถ้า ไม่มีส่ิงนี้แฝงอยู่ภาย ใน ใจบ้างก็คงมี
น�้ำหนักเท่ากนั กับเขา

เพราะคำ� วา่ ‘สตั ว’์ เปน็ คำ� ทม่ี นษุ ย ์ไปตง้ั ชอ่ื  ใหเ้ ขา โดยทเ่ี ขาม ิไดร้ บั ทราบจากเราเลย ทง้ั  ๆ ท่ี
เราก็เปน็ สตั วช์ นิดหน่งึ คือสัตว์มนุษย์ที่ตัง้ ช่ือกันเอง สว่ นเขา ไมท่ ราบวา่  ไดต้ ้งั ช่อื  ให้พวกมนุษยเ์ รา

44

อย่าง ไรหรอื  ไม่ หรือเขาข โมยตั้งชื่อ ให้วา่ ‘ยักษ’์ ก ็ไมม่  ีใครทราบ ได้ เพราะสตั วช์ นิดนีช้ อบรังแก
และฆ่าเขาแลว้ นำ� เนื้อมาปรงุ เป็นอาหารก็มี ฆ่าทิ้งเปลา่  ๆ ก็มี จึงน่าเหน็  ใจสตั ว์ท่ีพวกมนษุ ย์เรา
ชอบเอารดั เอาเปรยี บเขาเกิน ไปประจ�ำนิสัยและ ไม่ค่อยยอม ให้อภัยแก่สัตว์ตัว ใดง่าย ๆ แม้แต่
พวกเดียวกันยังรังเกียจและเกลยี ดชงั กัน เบยี ดเบยี นกนั ฆา่ กนั  ไม่มหี ยุดหยอ่ นและผ่อนเบาลง
บ้างเลย ในวงสัตวก์ ็ร้อนเพราะมนุษย์เบียดเบยี นและฆา่ เขา ในวงมนษุ ย์เองก็ร้อนเพราะมนุษย์
เบียดเบียนและฆา่ กนั เอง ฉะน้นั สัตว์จงึ ระเวยี งระวังมนษุ ย์ประจ�ำสนั ดาน

ทา่ นวา่ การอย ู่ในปา่ มที างคดิ ทาง ไตรต่ รอง ไดก้ วา้ งขวาง ไมม่ ที างสนิ้ สดุ ทงั้ เรอ่ื งนอกเรอ่ื ง ใน
ซึ่งมีอยู่รอบตัวตลอดเวลา ใจที่มีความ ใคร่ต่อธรรมแดนพ้นทุกข์จึงรีบเร่งตักตวงความเพียร ไม่มี
เวลาลดละ บางคร้ังหมูป่าเดินเข้ามาหา ในบริเวณท่ีน้ัน และมองเห็นท่านก�ำลังเดินจงกรมอยู่
แทนท่ีมันจะกระ โดด โลดเต้นว่ิงหนีเอาตัวรอด แต่เปล่ามันมองเห็นแล้วก็เดินหากิน ไปตามภาษา
ของมนั อย่างธรรมดา ทา่ นว่ามันจะเหน็ ท่านเปน็ ยกั ษ ์ไปกับมนษุ ยผ์ รู้ า้ ยกาจทั้งหลายด้วย แต่มนั
 ไม่คิดเหมา ไปหมด มันจึง ไม่รบี ว่งิ หนี และเท่ียวขุดกนิ อาหารอย่างสบายเหมือน ไมม่ ีอะ ไร

ในตอนนี้ผู้เขียนขอแทรกบ้างเล็กน้อยเพ่ือเร่ืองกระจ่างข้ึนบ้าง อย่าว่าแต่หมูมัน ไม่กลัว
ท่านพระอาจารย์ม่ันท่ีอยู่องค์เดียว ในป่าเลย แม้แต่วัดป่าบ้านตาด เม่ือเริ่มสร้างวัด ใหม่ ๆ
และมีพระ – เณรอยู่ด้วยกันหลายรูป หมูป่าเป็นฝูง ๆ ยังพากันมาอาศัยนอนและเท่ียวหากิน
อยู่ตามบริเวณหน้ากุฎีพระ – เณร ในเวลากลางคืน ห่างจากที่ท่านเดินจงกรมราว ๒ – ๓ วา
เท่านน้ั ไดย้ ินเสียงมันขุดดนิ หาอาหารดว้ ยจมูกดงั ตุ๊บตบั๊  ๆ อย ู่ในบริเวณนัน้ ไมเ่ ห็นมันกลัวทา่ น
เลย เวลาทา่ นเรียกกนั มาดแู ละฟงั เสียงมันอยู่ ใกล้ ๆ ก็ ไมเ่ หน็ มนั ว่งิ หนี ไป ยงั พากนั เทยี่ วหากิน
ตามสบาย ในบรเิ วณนนั้ แทบทกุ คนื ทงั้ หมแู ละพระ – เณร จนเคยชนิ กนั  ไปเอง แตท่ กุ วนั นยี้ งั มเี หลอื
เลก็ น้อยและนาน ๆ พากันมาเท่ยี วหากินทีหน่งึ เพราะยักษ์ที่สตั ว์ต้ังช่ือ ให้ดังท่านพระอาจารย์มัน่
วา่ เอา ไปรับประทานกนั เกอื บจะ ไม่มีสัตวเ์ หลอื คา้ งแผน่ ดนิ แถบนั้นอยู่แลว้ เวลาน้ี ต่อ ไป ไม่กี่ปี
คงจะเรียบ ไปเอง

ที่ท่านเล่าคงเป็นความจริง ในท�ำนองเดียวกัน เพราะสัตว์แทบทุกชนิดชอบมาอาศัยพระ
พระอยู่ท ี่ไหนสัตว์ชอบมาอย่ทู นี่ ัน้ มาก แมว้ ดั ทอี่ ย ู่ในเมอื งสตั วย์ ังตอ้ งมาอาศยั เชน่ สนุ ขั เปน็ ตน้
บางวัดมีเป็นร้อย เพราะท่าน ไม่เบียดเบียนมัน เพียงเท่านี้ก็พอทราบ ได้ว่าธรรมเป็นของเย็น
สตั ว ์โลกจงึ  ไมม่  ีใครคอ่ ยรงั เกยี จ เวน้ กรณที ส่ี ดุ วสิ ยั จะกลา่ วเสยี เทา่ ทที่ า่ นปฏบิ ตั มิ ากอ่ น ทา่ นวา่ ปา่
เปน็ สถานท่ีช่วยพยุง ใจ ได้ดีมาก ฉะน้ัน ป่าจงึ เป็นจุดท่เี ด่นของพระผู้มีความ ใครต่ อ่ ทางพน้ ทกุ ข์

45

จะถือเป็นสมรภูมิส�ำหรับบ�ำเพ็ญธรรมทุกชั้น โดย ไม่ระแวงสงสัยว่าป่าจะกลับเป็นข้าศึกต่อ
การบ�ำเพ็ญธรรม ตรงกับอนุศาสน์ที่พระอุปัชฌาย์อบรมสั่งสอนภิกษุผู้อุปสมบท ใหม่ ให้พากัน
เสาะแสวงหาอยู่ป่าตามอัธยาศัย ท่านพระอาจารย์จึงถือธุดงค์ข้อน้ีจนวาระสุดท้ายแห่งขันธ์
นอกจากสมยั ทจี่ �ำตอ้ งอนุ โลมผ่อนผนั  ไปตามเหตุการณ์เทา่ นัน้ เพราะทำ�  ให้ระลกึ วา่ ตนอยู ่ในปา่ ซึ่ง
เปน็ ท่เี ปลยี่ วกายเปลี่ยว ใจตลอดเวลา จะนอน ใจม ิได้ คุณธรรมจึงมที างเกดิ  ไมเ่ ลอื กกาลหนึ่ง

ธุดงควัตรข้ออยู่รุกขมูลคือร่ม ไม้ก็มีลักษณะคล้ายคลึงกัน ท่านอาจารย์มั่นเล่าว่าขณะท่ี
จิตของท่านจะผ่าน โลกามิส ไป ได้ โดยสิ้นเชิง คืนวันน้ันท่านก็อาศัยอยู่รุกขมูลคือร่ม ไม้ซ่ึงต้ังอยู่ 
โดดเด่ียวต้นเดียว ตอนส�ำคัญนี้จะรอลงข้างหน้าตามล�ำดับของการเท่ียวจาริกและการบ�ำเพ็ญ
ของท่าน จึงขออภัยท่านผู้อ่านท้ังหลาย โปรดรออ่านข้างหน้า วาระนี้จ�ำจะเขียน ไปตามล�ำดับ
ความจ�ำเป็นกอ่ นเพอ่ื เนอื้ เร่อื งจะ ไมข่ าดความตามลำ� ดบั การอย่ ูใตร้ ่ม ไมซ้ ึ่งปราศจากท่ีมงุ บงั และ
เครือ่ งปอ้ งกันตัวย่อมท�ำ ใหม้ คี วามรูส้ กึ ตัวอยเู่ สมอ จติ ที่ต้งั ความรู้สกึ  ไว้กบั ตัวยอ่ มเปน็ ทางถอดถอน
กิเลส ไปทุก โอกาส เพราะกาย เวทนา จิต ธรรม หรอื ทกุ ข์ สมทุ ัย นิ โรธ มรรค ท่ีเรยี กวา่
สติปัฏฐานและสัจจธรรมอันเป็นจุดท่ีระลึกรู้ของจิตแต่ละจุดน้ัน ย่อมเป็นเกราะเคร่ืองป้องกันตัว
เพอื่ ท�ำลายกิเลสแต่ละประเภท ได้อยา่ งมน่ั เหมาะ ซ่ึง ไมม่ ีที่อน่ื  ใดจะย่งิ  ไปกว่า

ฉะนั้น จิตท่ีระลึกรู้อยู่กับสติปัฏฐานหรืออริยสัจจ์เพราะความเปล่ียวและความกลัวเป็น
เหตุ จึงเป็นจิตที่มีหลักยึดเพื่อการรบชิงชัยเอาตัวรอด โดยสุค โตตามทางอริยธรรม ไม่มีผิดพลาด
ผู้ประสงค์อยากทราบเร่ืองของตัวอย่างละเอียดทั่วถึง โดยทางท่ีถูกและปลอดภัย จึงควรแสวงหา
ธรรมและสถานที่ท่ีเหมาะสมเป็นเครื่องพยุงทางความเพียร จะช่วย ให้มีความสะดวกรวดเร็วข้ึน
กว่าธรรมดาท่คี วรจะเป็นอยูม่ าก ดังนั้น ธุดงควัตรข้อรุกขมูลจึงเป็นธรรมเคร่ืองท�ำลายกิเลส ได้
เป็นอย่างดีเสมอมา ที่ควรสน ใจเป็นพเิ ศษอกี ขอ้ หน่ึง

ธุดงควัตรที่เกี่ยวกับการเย่ียมป่าช้าเป็นธุดงค์เคร่ืองปลุกเตือนพระและหมู่ชนมิ ให้ประมาท 
ในเวลามชี ีวิตอยู่ โดยเข้า ใจวา่ ตวั จะ ไม่ตาย ความจรงิ ก็คอื คนทีเ่ ร่ิมตายเลก็ ตายน้อยตาย ไปอยู่
ทกุ เวลานน่ั เอง เพราะคนทตี่ ายจนถงึ กบั ยา้ ยบา้ น ใหม ่ไปปลกู สรา้ งกนั อยทู่ ป่ี า่ ชา้ จนดาษดน่ื แทบจะ
หาทีเ่ ผาและท่ฝี ังกนั  ไม่ ได้ กล็ ้วนแตค่ นท่เี คยตายเล็กตายน้อยมาแล้วเชน่ พวกเราผูย้ ังมีชีวิตอยนู่ ีเ่ อง
จะเป็นคนแปลกหนา้ มาจากทไี่ หน พอจะเห็นวา่ เราเป็นคนท่แี ปลกกวา่ เขาแลว้ ประมาทวา่ ตนจะ 
ไม่ตาย ที่ท่านสอน ให้เยี่ยมญาติพี่น้องผู้เกิดแก่เจ็บตายด้วยกัน ก็เพ่ือเตือน ไม่ ให้หลงลืมญาติ
พ่ีน้องอนั ดงั้ เดมิ  ในปา่ ชา้ นน่ั เอง เพอื่ จะ ไดท้ อ่ งบน่  ไว ้ใน ใจวา่ เรามคี วามแกเ่ จบ็ ตายอยปู่ ระจำ� ตวั

46

ทวั่ หนา้ กัน ไม่ม ีใครจะกลา้ อตุ รเิ ย่อหยง่ิ ตัววา่ จะ ไม่เกดิ แก่เจ็บตาย ได้ เม่อื สายทางแหง่ วัฏฏะที่ตน
ยงั ท่องเทีย่ วสูตรเรียนอยยู่ ัง ไม่จบ

พระซึ่งเป็นเพศท่ีเตรียมพร้อมแล้วเพ่ือความหลุดพน้ จึงควรศึกษามลู เหตแุ หง่ วัฏฏทุกข์ท่ี
มอี ย่กู บั ตน คอื ความเกดิ แก่เจ็บตาย ทัง้ ภายนอกคอื การเย่ียมปา่ ช้าอนั เป็นทเ่ี ผาศพ ทัง้ ภาย ใน
คือตัวเองอันเปน็ ปา่ ชา้ รอ้ ยแปดพนั เก้าแหง่ ศพทีน่ �ำมาฝงั หรือบรรจอุ ยู่ ในตัวตลอดเวลา ทัง้ เกา่ และ 
ใหม่จนนับ ไมค่ รบและแทบเรียน ไม่จบ ใหจ้ บสน้ิ ลงด้วยการพิจารณาธรรมสังเวช โดยทางปจั จ –
เวกขณะ คอื องคส์ ติปัญญาเคร่อื งทดสอบแยกแยะหามลู ความจรงิ ไมน่ งิ่ นอน ใจทั้งนักบวชและ
ฆราวาสท่ชี อบเข้าเยี่ยมทั้งปา่ ช้านอกและปา่ ช้า ในตัวเอง โดยการพจิ ารณาความตาย เป็นตน้ เปน็
อารมณ์ ย่อมมีทางถอดถอนความเผยอเยอ่ หยิ่ง ในวยั  ในชวี ิตและ ในวิทยฐานะตา่ ง ๆ ออก ไดอ้ ย่าง
น่าชม ไมช่ อบผยองพองตวั  ในแงต่ า่ ง ๆ ตามนสิ ยั มนษุ ย์ซ่งึ มกั มีความพิสดารประจำ�  ใจอยเู่ ปน็ นติ ย์
ทั้งจะเหน็  โทษแห่งความบกพร่องของตวั และพยายามแก้ ไข ไปเปน็ ลำ� ดับมากกวา่ จะ ไปเหน็  โทษของ
คนอน่ื แลว้ นำ� มานนิ ทาเขา ซง่ึ เปน็ การสงั่ สมความ ไมด่  ีใสต่ นประจำ� นสิ ยั มนษุ ยท์ ช่ี อบเปน็ กันอยู่ท่วั  ไป
เหมือน โรคระบาดเร้อื รงั ชนดิ แก ้ไมห่ าย หรอื  ไมส่ น ใจจะแกน้ อกจากจะเพิ่มเชอ้ื  ให้มากขน้ึ เทา่ นน้ั

ปา่ ชา้ เป็นสถานทอ่ี �ำนวยความรูค้ วามฉลาด ให้แกผ่ ู้สน ใจพิจารณาอย่างกวา้ งขวาง เพราะ
ค�ำว่าป่าช้าเป็นจุด ใหญ่ท่ีสุดของ โลก ทุกคนทุกเพศทุกวัยและทุกชาติชั้นวรรณะจ�ำต้องประสบ
ด้วยกันจะกระ โดดข้าม ไป ไม่ ได้ เพราะ ไม่ ใช่คลองเล็ก ๆ พอจะก้าวข้าม ไปอย่างง่ายดาย โดยมิ ได้
พิจารณาจนรู้รอบขอบชิดก่อน ดังพระพุทธเจ้าและพระสาวกอรหันต์ท่านข้าม ไป แม้เช่นนั้น
ก็ปรากฏวา่ ทา่ นตอ้ งเรยี นวชิ าจากสถาบนั  ใหญค่ อื ความเกดิ แกเ่ จบ็ ตายจนเชย่ี วชาญทกุ  ๆ แขนงกอ่ น
แลว้ จงึ  โดดขา้ ม ไปอยา่ งสบายหายหว่ ง ไมต่ อ้ งตดิ บว่ งแหง่ มารอยเู่ หมอื นพวกทลี่ มื ตนลมื ตาย ไมส่ น ใจ
พิจารณาเร่ืองของตัวคือมรณธรรมอันขวางหน้าอยู่ ซ่ึงจะต้อง โดน ใน ไม่ช้านี้

การเยี่ยมป่าช้าเพื่อพิจารณาความตายจึงเป็นทางผ่อนคลายหายกลัวทั้งเรื่องของตัวและ
เรื่องของคนอื่น ได้อย่าง ไม่มีประมาณ จนเกิดความอาจหาญต่อความตายท้ัง ๆ ท่ี โลกกลัวกันท่ัว
ดินแดน ซ่งึ  ไมน่ า่ จะเป็น ไป ได้ แตก่  ็ได้เปน็  ไป ในวงของนกั ปฏบิ ตั ิธรรมมาแล้ว มีพระพุทธเจา้ และ
พระสาวกเป็นตัวอย่างอันยอดเย่ียม เสร็จแล้วจึงประทานพระ โอวาทเกี่ยวกับการพิจารณาความ
เกิดแก่เจ็บตาย ไว้ทุกแง่ทุกมุม เพื่อหมู่ชนผู้มีความรับผิดชอบ ในตนและผู้เก่ียวข้อง ได้น�ำ ไป
พจิ ารณาหาทางแก้ ไขบรรเทาความมัวเมาเขลาปัญญาของตนขณะที่ยังมีชีวิตอยู่ ซ่ึงเป็นเวลาที่
พอดิบพอดียัง ไม่สายเกิน ไป เม่ือส้ินลมหาย ใจจนไปถึงสถาบัน ใหญ่แล้วต้องนับว่าหมดหนทาง

47

แก ้ไข มีอยู่เพยี งอย่างเดียวคือถ้า ไมเ่ ผากต็ ้องฝงั เทา่ น้นั จะพา ไปรกั ษาศลี ภาวนา ท�ำบญุ สนุ ทาน
อยา่ งแต่กอ่ นนัน้ เปน็  ไป ไม ่ไดแ้ ล้ว ท่านพระอาจารย์มัน่ ทา่ นเหน็ คุณของการเย่ียมปา่ ชา้ วา่ เป็น
สถานท่ีท่ี ให้สติปัญญารอบรู้กับเรื่องของตนตลอดมา ท่านจึงสน ใจเยี่ยมป่าช้านอกและป่าช้า ใน
อยู่เสมอ แม้พระบางองค์ที่เปน็ ลูกศษิ ย์ท่านก็ยังพยายามตะเกยี กตะกายปฏิบตั ติ ามทา่ น ท้งั  ๆ ที่
ตนเปน็ พระท่กี ลัวผีมาก ซงึ่ เรา ไม่ค่อย ไดย้ นิ กนั  ในค�ำวา่ พระกลัวผี และ ธรรมกลัว โลก แต่
พระองค์นั้น ได้เป็นพระทกี่ ลัวผีเสยี แล้ว

ท่านเล่า ใหฟ้ งั วา่ พระองคห์ นึ่งเทีย่ วธดุ งค์ ไปพกั อย ู่ในป่า ใกล้กับปา่ ชา้ แตเ่ จ้าตวั  ไม่รวู้ า่
ถูก โยมพา ไปพกั รมิ ปา่ ชา้ เพราะ ไปถึงหมู่บา้ นนัน้ ตอนเย็น ๆ และถามถึงปา่ ท่คี วรพกั บ�ำเพ็ญเพียร
โยมก็ช้บี อกตรงป่านนั้ ว่าเปน็ ทีเ่ หมาะ แต่มิ ไดบ้ อกวา่ เปน็ ป่าชา้ แลว้ พาท่าน ไปพักที่นนั้ พอพกั  ได้
เพยี งคืนเดียว วนั ต่อมากเ็ ห็นเขาหามผตี ายผ่านมาทีน่ ั้น เลย ไปเผาที่ปา่ ชา้ ซงึ่ อย่หู ่างจากทพ่ี กั ท่าน
ประมาณ ๑ เสน้ ท่านมองตาม ไปก็เหน็ ทเี่ ขาเผาอย่อู ย่างชดั เจน องคท์ า่ นเองพอมองเห็นหบี ศพ
ท่ีเขาหามผ่านมาเท่านน้ั กช็ ักเรม่ิ กลวั ใจ ไม่ดี และยังนึกวา่ เขาจะหามผ่าน ไปเผาท่อี ื่น แมเ้ ช่นนัน้
ก็นึกเป็นทุกข์ ไว้เพื่อตอนกลางคืนอยู่อีกกลัวว่าภาพนั้นจะมาหลอกหลอนท�ำ ให้นอน ไม่ ได้ตอน
กลางคืน

ความจริงที่ท่านพักอยู่กลับเป็นริมป่าช้าและยัง ได้เห็นเขาเผาผีอยู่ต่อหน้าซ่ึงอยู่ ไม่ห่าง 
ไกลเลย ท่านยงิ่ คดิ  ไม่สบาย ใจและเป็นทุกข์ ใหญ่ คอื ทั้งจะคิดเป็นทกุ ข ์ในขณะนั้นและคิดเปน็ ทกุ ข์
เพอื่ ตอนกลางคนื อกี ใจเรมิ่ กระวนกระวายเอาการอยนู่ บั แตข่ ณะท ี่ไดเ้ หน็ ศพทแี รก เมอื่ ตกกลางคนื
ยง่ิ กลวั มากและหาย ใจแทบ ไมอ่ อก ปรากฏว่าตีบตนั  ไปหมด นา่ สงสารท่พี ระกลวั ผถี งึ ขนาดนีก้ ม็ ี
จึง ได้เขียนลงเพื่อท่านผ้อู า่ นที่เปน็ นกั กลัวผี จะ ไดพ้ ิจารณาดูความบกึ บึนท่ที ่านพยายามตอ่ สกู้ ับผ ี
ในคราวนนั้ จนเป็นประวัติการณอ์ ันเก่ียวกับส่วน ได้ส่วนเสยี มีอย ู่ในเน้อื เรอ่ื งอนั เดียวกนั นี้

พอเขากลบั กนั หมดแลว้ ทา่ นเรมิ่ เกดิ เรอ่ื งยงุ่ กบั ผแี ตข่ ณะนน้ั มาจนถงึ ตอนเยน็ และกลางคนื
จติ  ใจ ไมเ่ ปน็ อนั สมาธภิ าวนาเอาเลย หลบั ตาลง ไปท ีไรปรากฏวา่ มแี ตผ่ เี ขา้ มาเยย่ี มถามขา่ วถามคราว
ความทุกขส์ ุกดบิ ตา่ ง ๆ อนั สืบสาวยาวเหยียด ไมม่ ปี ระมาณ และปรากฏว่าพากนั มาเปน็ พวก ๆ
ก็ยงิ่ ทำ�  ให้ทา่ นกลัวมากแทบ ไมม่ ีสตยิ บั ย้ังตั้งตัว ได้เลย เรอ่ื งเร่มิ แต่ขณะมองเหน็ ศพที่เขาหามผ่าน
หน้าทา่ น ไปจนถงึ กลางคืน ไมม่ ีเวลาเบาบางลงบ้างพอ ใหห้ าย ใจ ได้ นับว่าทา่ นเป็นทุกข์ถงึ ขนาดท่ี
จะทนอดกล้ันได้ นับแต่วันบวชมากเ็ พ่งิ มคี รัง้ เดียวเทา่ น้ันที่ต่อสกู้ บั ผี ในม โนภาพอย่เู ป็นเวลาหลาย
ชวั่  โมง

48

ทา่ นจึงพอมสี ติระลึก ไดบ้ า้ งว่า ท่ีเราคดิ กลัวผกี ็ดี ทเี่ ขา้  ใจว่าผีพากันมาเยีย่ มเราเป็นพวก ๆ
ก็ดี อาจไม่เป็นความจริงกเ็ ป็น ได้ และอาจเป็นเรอ่ื งเราวาดม โนภาพศพข้ึนมาหลอกตนเอง ให้
กลัวเปล่า ๆ มากกว่า อย่ากระนั้นเลย เพราะถึงอย่าง ไรเราก็เป็นพระธุดงคกรรมฐานทั้งองค์
ที ่โลก ให้นามวา่ เปน็ พระที่เกง่ กาจอาจหาญเอาจรงิ เอาจงั และเป็นพระประเภทที ่ไมก่ ลัวอะ ไร ๆ
ไมว่ า่ จะเปน็ ผีที่ตายแลว้ หรอื เป็นผเี ปรต ผหี ลวง ผที ะเลอะ ไร ๆ มาหลอกก็ ไมก่ ลวั แต่เราซึง่ เปน็
พระธุดงคท์  ่ีโลกเคยยกยอสรรเสริญอย่างยิ่งมาแล้วว่า ไมก่ ลวั อะ ไร แล้วทำ�  ไมจงึ มาเปน็ พระท่ีอาภัพ
อับเฉาวาสนา บวชมากลวั ผี กลวั เปรต กลวั ลมกลัวแลง้ อย่าง ไมม่ ีเหตุมีผลเอา ได้ เป็นท่ีน่าอบั อาย
ขายหน้าหมู่คณะซึ่งเป็นพระธุดงคกรรมฐานด้วยกัน เสียเร่ียวแรงและก�ำลัง ใจของ โลกที่อุตส่าห์
ยกยอ ให้วา่ เปน็ พระดี พระ ไม่กลัวผีกลัวเปรต คร้ันแลว้ กเ็ ป็นพระอย่างนี ้ไป ได้

เมื่อท่านพรรณนาคุณของพระธุดงค์และต�ำหนิตัวเองว่าเป็นพระเหลว ไหล ไม่เป็นท่าแล้ว
กบ็ อกกับตัวเองวา่ นบั แต่ขณะน้ีเปน็ ต้น ไป ซ่ึงขณะน้ันเปน็ เวลากลางคืน เรามีความกลัว ใน
สถานท ่ีใด จะตอ้ ง ไป ในสถานทน่ี นั้  ใหจ้ น ได้ กบ็ ดั น ี้ใจเรากำ� ลงั กลวั ผที กี่ ำ� ลงั ถกู เผาซงึ่ มองเหน็ กอง ไฟ
อยู่ ในป่าชา้ นั้น เราต้อง ไปที่นนั้  ให ้ได ้ในขณะนี้ ว่าแล้วกเ็ ตรียมตัวครองผา้ ออกจากที่พกั เดินตรง ไป
ทศ่ี พซึ่งก�ำลังถูกเผาและมองเห็นอยอู่ ย่างชัดเจนทนั ที พอออกเดิน ไป ได้ ไมก่ ่กี ้าว ขาชกั แขง็ กา้ ว
 ไมค่ อ่ ยออกเสยี แลว้ ใจทงั้ เตน้ ทง้ั สน่ั ตวั รอ้ นเหมอื นถกู แดดเผาเวลากลางวนั เหงอื่ แตก โชก ไปทงั้ ตวั
เหน็ ท่า ไม่ ไดก้ ารจงึ รีบเปลย่ี นวิธี ใหม่ คือเดนิ แบบเทา้ ต่อเท้าตดิ  ๆ กนั  ไป ไม่ยอม ใหห้ ยดุ อยู่กบั ที่
ตอนนีท้ ่านต้องบงั คบั  ใจอย่างเต็มที่ ทั้งกลวั ทั้งสนั่ แทบ ไมเ่ ปน็ ตวั ของตัว เหมือนอะ ไร ๆ มันจะ
สุด ๆ สิน้  ๆ ไ ปเสียแล้วเวลานนั้ แต่ทา่ น ไม่ถอยความพยายามทจ่ี ะกา้ ว ไป ใหถ้ ึงแบบเอาเปน็ เอาตาย
เขา้ วา่ กัน สุดท้ายก ็ไปจนถงึ

พอ ไปถงึ ศพแล้วแทนทีจ่ ะสบายตามความรู้สึก ในสงิ่ ทั่ว ๆ ไ ปว่า “สมประสงคแ์ ลว้ ” แต่
เวลานนั้ ปรากฏวา่ ตวั เองจะเป็นลมและลมื หาย ใจ ไปจนแลว้ จนรอด จงึ ขม่  ใจพยายามดูศพท่กี ำ� ลัง
ถูกเผาท้งั  ๆ ท่กี ำ� ลังกลัวแทบจะเป็นบา้ เป็นหลัง ไปอยู่แลว้ พอมองเหน็ กะ โหลกศีรษะผที ถี่ กู เผาจน 
ไหมแ้ ละขาวหมดแลว้ ใจก็ยิง่ ก�ำเริบกลวั  ใหญ่ แทบจะพาเหาะลอย ไป ในขณะนน้ั จงึ พยายาม
สะกด ใจ ไว้แลว้ พานงั่ สมาธลิ งตรงหน้าศพหา่ งจากเปลว ไฟเผาศพพอประมาณ โดยหันหน้ามาทาง
ศพเพื่อทำ� ศพ ให้เปน็ เป้าหมายของการพจิ ารณา บังคับ ใจท่ีก�ำลงั กลวั  ๆ ใ หบ้ ริกรรมวา่ เราก็จะตาย
เช่นเดยี วกับเขาคนน้ี ไมต่ ้องกลวั เราก็จะตาย ไม่ตอ้ งกลวั เราก็จะตาย กลัว ไปทำ�  ไม ไม่ต้อง
กลัว

49

ขณะที่น่ังบังคับ ใจ ให้บริกรรมภาวนาความตายอยู่ด้วยท้ังความกระวนกระวายเพราะกลัว
ผีนั้น ได้ปรากฏเสียงแปลกประหลาดข้ึนข้างหลัง เสียงบาทย่างเท้าดังเข้ามาเป็นบทเป็นบาท
เหมอื นมอี ะ ไรเดนิ มาหาทา่ นซง่ึ กำ� ลงั นงั่ สมาธภิ าวนาอยู่ และเดนิ  ๆ หยดุ  ๆ เปน็ ลกั ษณะจด ๆ จอ้ ง ๆ
คล้ายจะมาท�ำอะ ไรทา่ น ซึ่งเป็นความร้สู ึกท่คี ดิ ข้ึน ในขณะนั้น กย็ ิง่ ทำ�  ให ้ใจกำ� เริบ ใหญ่ ถึงขนาด
จะวิ่งหนแี ละจะรอ้ งออกมาดัง ๆ วา่ “ผมี าแลว้ ช่วยด้วย” ถ้าเทียบทางวตั ถุก็ยังอกี เส้นผมเดียว
ทีท่ า่ นจะออกวง่ิ ท่านอด ใจรอฟงั  ไปอกี ก ็ไดย้ ินเสยี งค่อย ๆ เดินมาขา้ ง ๆ หา่ งทา่ นประมาณ ๓ วา
แลว้ ก็ ได้ยนิ เสียงเค้ียวอะ ไรกร้อบแกร้บ ยงิ่ ท�ำ ใหท้ า่ นคดิ  ไปมากวา่ มันมาเคย้ี วกินอะ ไรทน่ี ีเ่ สรจ็ แลว้
ก็จะมาเค้ียวเอาศรี ษะเราเข้าอีก กเ็ ปน็ อนั ว่าเราตอ้ งจบเรื่องกบั ผีตัวร้ายกาจ ไม ่ไวห้ นา้  ใครอยู่ท่นี ี้
แน่ ๆ 

พอคดิ ข้ึนมาถงึ ตอนน้ีทา่ นอดรนทน ไม ่ไหว จงึ คดิ จะลมื ตาขน้ึ ดมู ัน เผอื่ เห็นทา่  ไม ่ไดก้ าร
จะ ได้เตรียมวิ่งหนีเพื่อเอาตัวรอด ดีกว่าจะมายอมจอดจม ให้ผีตัว ไม่มีความดีอะ ไรเลยกินเปล่า
เมื่อชวี ติ รอด ไป ได้เรายงั มีหวัง ไดบ้ ำ� เพ็ญเพยี รตอ่  ไป ยงั จะมกี ำ�  ไรกว่าการเอาชีวิตของพระทั้งองค์
มา ให้ผกี นิ เปล่า พอปลงตกแล้วก็รีบลืมตาข้นึ มาดูผีตวั ก�ำลังเคย้ี วอะ ไรกรอ้ บ ๆ อยูข่ ณะนน้ั พร้อม
กับเตรียมตวั จะว่ิงเพือ่ เอาตัวรอด หวงั เอาชีวติ  ไปจอดข้างหนา้ พอลืมตาข้ึนมาดจู รงิ  ๆ ส่ิงที่
เข้า ใจว่าผีตัวร้ายกาจเลยกลายเปน็ สนุ ขั บา้ นออกมาเทยี่ วเกบ็ กนิ เศษอาหารทเี่ ขานำ� มาเพอ่ื เซน่ ผตู้ าย
ตามประเพณซี งึ่  ไมส่ น ใจกับ ใครและมาจากท่ี ไหน คงเท่ียวหากิน ไปตามภาษาสัตว์ซ่ึงเป็นผู้อาภัพ
ทางอาหารประจ�ำชาติตามกรรมนิยม

ส่วนพระธุดงคกรรมฐานพอลืมตาข้ึนมาเห็นสุนัขอย่างเต็มตาแล้ว เลยท้ังหัวเราะตัวเอง
และคดิ พูดทาง ใจกบั สุนขั ตวั  ไม่รู้ภาษาและ ไม่สน ใจกับ ใครนน้ั วา่ แหม่ สนุ ขั ตัวนม้ี ีอ�ำนาจวาสนา
มากจรงิ ท�ำเอาเราแทบตัวปลิว ไป ได้ และเป็นประวตั กิ ารณอ์ ันสำ� คญั ต่อ ไป ไมม่ สี ้ินสดุ ทงั้ เกิด
ความสลดสงั เวชตนอยา่ งยงิ่ ที ่ไม่เป็นท่าเอาเลย ทง้ั  ๆ ท่ี ได้พูดกับตัวเองแลว้ วา่ จะเป็นนักสแู้ บบเอา
ชีวิตเขา้ ประกัน แตพ่ อเขา้ มาเย่ยี มศพ ในปา่ ช้าและ ได้ยนิ เสยี งสนุ ขั มาเท่ียวหากนิ เท่านี้ก็แทบต้ังตัว 
ไม่ตดิ และจะเปน็ กรรมฐานบา้ วง่ิ เตลิดเปิดเปิง ไปจน ได้ ยังดที ่มี ีพระธรรมทา่ นเมตตา ไว้ ใหร้ อ
อยปู่ ระมาณผมเส้นหนง่ึ พอรเู้ หตุผลต้นปลายบา้ ง ไม่เช่นนน้ั คงเป็นบา้  ไปเลย โอ้ โฮ เรานีโ้ งแ่ ละ
หยาบถึงขนาดน้เี ชยี วหรอื ควรจะครองผ้าเหลืองอนั เป็นเครอื่ งหมายของศิษยพ์ ระตถาคตผู้องอาจ
กล้าหาญ ไม่มี ใครเสมอเหมือนอีกต่อ ไปล่ะหรือ และควรจะ ไปบิณฑบาตจากชาวบ้านมากิน ให้
ส้นิ เปลืองของเขาเปลา่  ๆ ดว้ ยความ ไม่เป็นทา่ ของเราอีกอย่หู รอื

50

เราจะปฏบิ ัตติ อ่ ตัวเองทแ่ี สนตำ่� ทรามอยา่ ง ไรบา้ ง จงึ จะสาสมกับความเลวทราม ไม่เปน็ ท่า
ของตนซง่ึ แสดงอยูข่ ณะน้ี ลกู ศิษย์พระตถาคตผู้ โงเ่ ขลาและตำ�่ ทรามขนาดเราน้ีจะยังมอี ยู ่ใหห้ นกั
พระศาสนาต่อ ไปอีก ไหมหนอ ขนาดมีเราเพียงคนเดียวเท่าน้ีก็นับว่าจะท�ำพระศาสนา ให้ซวย
พอแล้ว ถา้ ขืนมอี กี เชน่ เรานพ้ี ระศาสนาคงแย่แน ่ ๆ ความกลัวผีซง่ึ เปน็ เรือ่ งกดถ่วง ให้เราเป็นคน
ตำ�่ ทราม ไมเ่ ปน็ ท่าน้นั เราจะปฏิบัติต่อกนั อยา่ ง ไรรีบตัดสนิ  ใจเดีย๋ วนี้ ถา้ รอ ไปนานก็ขอ ใหเ้ ราตาย
เสยี ดกี วา่ อย่ามายอมตัว ให้ความกลวั ผเี หยยี บย่ำ� บนหวั  ใจอีกต่อ ไปเลย อาย โลกเขาแทบ ไม่มี
แผ่นดินจะ ให้คนหนักพระศาสนาอยู่ต่อ ไปอีกแล้ว พอพร�่ำสอนตนจบลง ทา่ นท�ำความเข้า ใจกับ
ตัวเองวา่ ถา้  ไมห่ ายกลวั ผเี มอ่ื  ไรจะ ไม่ยอมหนีจากท่ีน้อี ยา่ งเดด็ ขาด ตายกย็ อมตาย ไม่ควรอยู ่ให้
หนกั  โลกและพระศาสนาตอ่  ไป คนอนื่ ยงั จะเอาอยา่ ง ไมด่  ีไป ใชอ้ กี ดว้ ยและจะกลายเปน็ คน ไมเ่ ปน็ ทา่
 ไปหลายคนและหนกั พระศาสนายงิ่ ขนึ้  ไปอกี มากมาย

นับแต่ขณะน้ันมาท่านต้ัง ใจปฏิบัติต่อความกลัวอย่างกวดขัน โดยเข้า ไปอยู่ป่าช้าทั้งกลางวัน
กลางคืน ยดึ เอาคนทีต่ าย ไปแลว้ มาเทียบกับตนซ่ึงยังเป็นอยู่ ว่าเปน็ สว่ นผสมของธาตุเช่นเดียวกนั
เวลา ใจยังครองตวั อยกู่ ็มที างเปน็ สัตว์เปน็ บคุ คลสืบตอ่  ไป เมอ่ื ปราศจาก ใจครองเพยี งอยา่ งเดยี ว
ธาตทุ งั้ มวลทผี่ สมกนั อยกู่ ส็ ลายลง ไปทเ่ี รียกว่าคนตาย และยึดเอาความสำ� คญั ท่ี ไปหมายสุนัขท้ังตวั
ที่มาเที่ยวหากิน ในป่าช้าว่าเป็นผีมาสอนตัวเอง ว่าเป็นความส�ำคัญท่ีเหลว ไหลจนบอก ใคร ไม่ ได้
ไม่ควรเชอ่ื ถือวา่ เปน็ สาระตอ่  ไปกับคำ� ว่าผมี าหลอก ความจริงแล้วคือ ใจหลอกตวั เองทงั้ เพ การ
กลวั กก็ ลัวเพราะ ใจหลอกหลอนตัวเอง ทุกข์กเ็ พราะความเชื่อความหลอกลวงของ ใจ จนทำ�  ให้
เป็นทุกข์แบบจะเป็นจะตาย และแทบจะเสียคน ไปทั้งคน ในขณะนั้น ผีจริง ไม่ปรากฏว่ามา
หลอกหลอน

เราเคยหลงเชอ่ื ความคิดความหมายม่ันป้ันเรือ่ งหลอกลวงตา่ ง ๆ ของจติ มานาน แต่ยงั  ไม่
ถึงข้นั จะพาตวั  ให้ล่มจมเหมอื นครั้งนี้ ธรรมท่านสอน ไว้ว่าสญั ญาเปน็ เจา้ มายาน้นั แต่กอ่ นเรายงั
 ไม่ทราบความหมายชัดเจน เพ่ิงมาทราบเอาตอนจะตายท้ังเป็นและจะเหม็นท้ังที่ยัง ไม่เน่าขณะ
กลัวผีท่ีถูกเจ้าสัญญาหลอกและต้มตุ๋นนี้เอง ต่อ ไปนี้สัญญาจะมาหลอกเราเหมือนแต่ก่อน ไม่ ได้
แน่นอน เราจะต้องอยู่ปา่ ชา้ นจี้ นกวา่ เจา้ สญั ญาทเ่ี คยหลอกตาย ไปเสียกอ่ น จน ไมม่ ีอะ ไรมาหลอก 
ให้กลัวผีต่อ ไปถึงจะหนี ไปที่อื่น เวลาน้ีเป็นเวลาท่ีเราจะทรมานสัญญาตัวปล้ินปล้อนหลอกลวง
เกง่  ๆ น ี้ให้ตาย ไป จน ได้เผาศพมนั เหมอื นเผาศพผีตายดังท่ีเราเหน็ เม่อื วานเสียก่อน เมื่อชวี ิตยงั อยู่
อยาก ไปท่ี ไหนเราถึงจะ ไปทีหลงั

51

ตอนนถ้ี งึ ขนั้ เด็ดขาดกบั สัญญา ทา่ นก็เดด็ จรงิ  ๆ และทรมานถงึ ขนาดท่ีสญั ญาหมายขึ้นวา่
ผีมีอยู่ ณ ท่ ีใดและเกดิ ขน้ึ ขณะ ใดท่านต้อง ไปท่นี น้ั เพอ่ื ดแู ละร้เู ท่ามันทันที จนสัญญาเผยอตวั ข้ึน 
ไม่ ได้ ในคืนวันน้ันเพราะท่าน ไม่ยอมหลับนอนเอาเลย ต้ังหน้าต่อสู้กับผีภายนอกคือสุนัขซ่ึงเกือบ
เสยี ตัว ไปกับมนั พอ ได้เงื่อนและ ไดส้ ตทิ ่านก็ยอ้ นกลับมาต่อสูก้ บั ผีภาย ใน ให้หมอบราบ ไปตาม ๆ
กัน นบั แต่ขณะท่ีรู้ตัวแล้วความกลวั ผี ไมเ่ คยเกดิ ขึน้ รบกวนท่าน ไดอ้ ีกตลอดท้งั คนื แม้คืนตอ่ มา
ท่านก็ต้ังท่ารับความกลัวน้ันอย่างแข็งแกร่งตลอด ไป จนกลายเป็นพระองค์กล้าหาญต่อหลาย ๆ
สงิ่ ข้ึนมาอย่าง ไม่น่าเชอ่ื แต่เรือ่ งกเ็ ป็นความจรงิ จากทา่ นมาแลว้ จนเปน็ เร่ืองฝัง ใจและต้งั ตัว ได้
เพราะผีเปน็ เหตแุ ตบ่ ัดนั้นเปน็ ตน้ มา ความกลวั ผจี ึงเปน็ ธรรมเทศนากณั ฑ์เอก โปรดทา่ น ใหก้ ลาย
เป็นพระอันแทจ้ รงิ ขน้ึ มาองค์หน่งึ ถึง ได้น�ำมาแทรกลง ในประวัตขิ องทา่ นพระอาจารยม์ ่นั เผ่ือ
ท่านผู้อา่ น ได้น�ำ ไปเป็นคตติ อ่  ไป คง ไม ่ไร้สาระ ไปเสยี ทีเดยี ว เช่นกับประวัติของท่านผเู้ ปน็ อาจารย์
ซง่ึ เปน็ ประวตั ิท่ี ใหค้ ติแก ่โลกอยเู่ วลาน้ี ฉะนัน้ การเยยี่ มปา่ ช้าจงึ เปน็ ความส�ำคญั สำ� หรบั ธดุ งควัตร
ประจ�ำสมัยตลอดมาหนงึ่

การถอื  ไตรจวี รคือผา้ ๓ ผืนเปน็ วตั ร ทา่ นพระอาจารย์มั่นถือปฏิบตั มิ าแต่เร่ิมอปุ สมบท
ไม่ลดละ จนถึงวยั ชราจึงลดหย่อนผ่อนตามธาตุขันธท์ ่ตี ้องการความบำ� รงุ มากขนึ้ ทกุ ระยะ ท่ีท่าน
ปฏบิ ัตเิ ชน่ นนั้  โดยเหน็ ว่าพระธุดงคกรรมฐานครัง้ นั้น ไมอ่ ยปู่ ระจำ� ทนี่ ัก นอกจาก ในพรรษาเทา่ นั้น
ตอ้ งเทยี่ ว ไป ในป่านน้ั  ในภเู ขาลกู น้อี ยู่เสมอ การ ไปกต็ อ้ งเดนิ ดว้ ยเท้าเปลา่ ไม่มีรถราเหมอื นสมัยน้ี
มบี ริขารมากนอ้ ยต้องสะพาย ไปเอง ชว่ ยตัวเองท้งั นน้ั ของ ใครของเรา ชว่ ยกันก ็ไม ่ได้ เพราะ
ตา่ งคนตา่ งมพี อกบั กำ� ลงั ของตวั จะมมี ากกวา่ นนั้ กเ็ อา ไป ไม ่ไหว ทงั้ เปน็ ความ ไมส่ ะดวกพะรงุ พะรงั
อกี ดว้ ย จึงมีเฉพาะที่จ�ำเปน็ จรงิ  ๆ นาน ไปกก็ ลายเป็นความเคยชินตอ่ นสิ ยั แม้มผี มู้ าถวายก็ ให้
ทานผ้อู นื่  ไป ไมส่ ั่งสม ใหเ้ ป็นการกงั วล เพราะสมณะเรามคี วามสวยงามอย่กู บั การปฏิบัติดแี ละ
ไมส่ ง่ั สม เวลาตาย ไป ใหม้ แี ตบ่ รขิ ารแปดซง่ึ เปน็ ของจำ� เปน็ สำ� หรบั พระเทา่ นน้ั เปน็ ความงามอยา่ งยงิ่
เมือ่ มีชวี ิตอยูก่ ็สงา่ ผา่ เผยด้วยความจนแบบพระ เวลาตายกเ็ ปน็ สุค โต ไมม่ อี ารมณ์กบั สิง่  ใด อนั
เป็นเกยี รติอยา่ งย่ิงของพระผตู้ ายดว้ ยความจน มนุษย์และเทวดาสรรเสริญ ธุดงควตั รขอ้ นีจ้ ึงเปน็
เครื่องประดบั สมณะ ใหง้ ามตลอดอวสานข้อหนง่ึ

ธุดงควัตรเหล่านี้ท่านเคยปฏิบัติมาเป็นประจ�ำ ไม่ลดละ ปรากฏว่าเป็นผู้คล่องแคล่วช�ำนิ
ช�ำนาญ ในทางนี้อย่างยากจะหาผู้เสมอ ได้ ในสมัยปัจจุบัน และ ได้อบรมส่ังสอนพระ – เณรผู้มา
ศกึ ษาอบรมด้วยธุดงควัตรเหลา่ นี้ คือทา่ นพาอยูร่ กุ ขมลู ร่ม ไม้ ในป่า ในเขา ในถ�ำ้ เงอ้ื มผา ปา่ ชา้
ซงึ่ ล้วนเป็นสถานทีเ่ ปล่าเปล่ียวน่ากลัว พาบณิ ฑบาตเป็นกจิ วตั รประจ�ำวัน ไม่พารบั อาหารทมี่ ี

52

ผตู้ ามส่งทีหลัง ข้อนี้คณะศรัทธาเมอื่ ทราบอธั ยาศัยท่านแล้วเขามีอาหารคาวหวานอย่าง ไรกพ็ ากนั
จดั  ใสบ่ าตรถวายทา่ น ไปพรอ้ มเสรจ็ ไมต่ ้อง ไปสง่  ใหล้ ำ� บาก พาฉนั สำ� รวม ในบาตร ไมม่ ภี าชนะ
ชนิดส�ำหรบั  ใสอ่ าหาร ท้งั คาวและหวานรวมลง ในบาตร ใบเดยี ว พาฉนั ม้อื เดียวคือวนั ละหนมาเปน็
ประจ�ำ จนอวสานสุดท้าย

พระ – เณรทเี่ ป็นลูกศิษยต์ ลอดฆราวาสญาต ิโยมนับวนั แนน่ หนาขนึ้ เป็นลำ� ดบั ทา่ น ไปพกั
ณ ท่ี ใดมีพระ – เณรพยายามติดสอยห้อยตามเปน็ จ�ำนวนมาก บางสมยั มีพระ – เณรอยู่กบั ทา่ น
ราว ๖๐ – ๗๐ รูปกม็ ี ทพ่ี ักอยูแ่ ถวบริเวณ ใกล้เคยี งกย็ ังมอี ีกมาก แตท่ ่านพยายามระบายพระ
 – เณร ให้แยกย้ายกัน ไปอยู่ ในที่ต่าง ๆ  ไม่ ไกลนัก พอ ไปหามาสู่เพ่ือศึกษาอรรถธรรม ในเวลาเกิด
ความสงสยั สะดวกและเหมาะแก่การบ�ำเพญ็ ธรรม ไมห่ ลายองคเ์ กิน ไปจนกลายเป็นความ ไม่สงบ
วันอ ุโบสถปาฏ ิโมกข์ต่างก็ทยอยมารวมกันทำ� ที่สำ� นกั ท่าน หลังจากปาฏิ โมกข์แลว้ ท่าน ให ้โอวาท
ส่ังสอนและแกป้ ัญหาข้อข้อง ใจแก่ผู้มีความสงสยั เรยี นถามเปน็ ราย ๆ ไ ป จนเปน็ ทพ่ี อ ใจ แลว้
ต่างองคก์ ็กลับ ไปส่ทู ีอ่ ยู่ของตนด้วยความอิม่ เอบิ  ในธรรมที ่ได้รับจากท่าน และต่างก็ตัง้ หน้าปฏบิ ัติ
ดว้ ยความสน ใจ ทง้ั ศลี ทั้งสมาธแิ ละปัญญาตามภูมแิ ละกำ� ลงั ของตน ตลอดขอ้ วัตรปฏบิ ัตอิ ย่างอ่นื
ทีเ่ ป็นอปุ กรณ์แกก่ ารบ�ำเพ็ญ

พระ – เณรแมจ้ ะอยู่กับทา่ นเป็นจำ� นวนมาก ในบางสมัย แตก่ ารปกครองเปน็ ที่เบา ใจตลอด
มา เพราะท่านท่มี าศกึ ษาต่างพร้อมแล้วทจ่ี ะปฏิบัตติ นเพ่อื ความเป็นคนดตี าม โอวาทที่ทา่ นอบรม
สัง่ สอน เรอ่ื งราวอนั เปน็ ขา้ ศกึ ตอ่ ความสงบจึง ไม่ค่อยมี ในปา่ ทีพ่ ระ – เณรกับท่านพักอยรู่ วมกนั
เปน็ จ�ำนวนมาก แต่เป็นเหมอื น ไม่มคี นอยู่ทนี่ ้นั เลยถา้  ไป ไม่ถูกกบั เวลาท่ีทา่ นมารวมกนั เชน่ เวลา
ฉันและเวลาประชุมเท่าน้ัน นอกเวลาแล้วจะ ไปหาท่านก็ ไม่พบ เพราะต่างองค์ต่างหลีกเร้นอยู่
กับความเพียร คือการเดนิ จงกรม นั่งสมาธิภาวนา ในปา่ เป็นแห่ง ๆ จำ� เพาะองค์ ทั้งกลางวันและ
กลางคืน

เวลาท่านประชุม ให้ โอวาทแก่พระ – เณรตอนกลางคืนจะ ได้ยินเฉพาะเสียงท่านที่ ให้ โอวาท
เทา่ นัน้ เสียงจากพระ – เณรแม้จะอย่รู ว่ มกันเป็นจ�ำนวนมาก ไมป่ รากฏ ในขณะนั้น กระแสเสยี ง
และเนอื้ ธรรมทท่ี ่าน ให ้โอวาทแก่พระ – เณร รู้สกึ ซาบซึ้งจับ ใจ ไพเราะ ท�ำ ใหผ้ ู้ฟงั เคล้ิม ไปตาม
กระแสธรรม จนลืมเนื้อลมื ตวั ลืมความเหนด็ เหน่ือย ลืมเวล�ำ่ เวลา ไมร่ ้สู กึ กับสง่ิ อ่ืน ใด ในขณะน้นั
นอกจากกระแสธรรมกบั  ใจสมั ผัสสมั พันธก์ นั อย่อู ยา่ งเพลนิ ตวั ไม่รู้จักอมิ่ พอเทา่ นน้ั การประชมุ
คร้ังหนึ่ง ๆ เป็นเวลาหลายชั่ว โมง เพราะถือเป็นการท�ำความเพียรทางสมาธิและปัญญาอันเป็น

53

ภาคปฏิบัติอยู่กับการฟัง ในขณะนั้นด้วย

พระธุดงค์จึงมีความเคารพเล่ือม ใส ในอาจารย์และ ในการฟังมากเป็นพิเศษ เนื่องจาก
อาจารย์ผู้คอย ให้ โอวาทตักเตือนและการฟังถือเป็นเส้นชีวิตจิต ใจแห่งการปฏิบัติทางภาย ในของ
พระธุดงค์จรงิ  ๆ ทา่ นจึงมคี วามเคารพรกั ต่ออาจารยม์ าก แมช้ วี ิตก็ยอมสละแทน ได้ ท่พี ระอานนท์
มีความจงรักภักดีต่อพระพุทธองค์ถึงกับกล้าสละชีวิตวิ่งออกขัดขวางช้างตัวเมามันที่เทวทัตปล่อย 
ให้มาทำ� ลายพระองค์ ไดอ้ ยา่ ง ไม่อาลยั ชวี ติ กเ็ พราะความเคารพรกั เปน็ สำ� คญั

พระธุดงค์ ในสมัยท่านพระอาจารย์มั่นพาด�ำเนินรู้สึกเป็นไปด้วยความเคารพเชื่อฟัง โอวาท
อย่างถึง ใจ พอจะทราบ ได้เวลาท่านหาอุบายจะ ใหพ้ ระทีอ่ าศยั อยกู่ ับทา่ น ได้ก�ำลงั  ใจเป็นกรณพี ิเศษ
วา่ ท่านองค์น้ันควร ไปอยปู่ า่ น้นั องค์นีค้ วร ไปอย่ ูในถำ้� นน้ั ดังนี้ พระองคท์ ถ่ี กู ระบุนามจะ ไม่ขัดขืน
และ ไปดว้ ยความเคารพเตม็  ใจจรงิ  ๆ โดย ไมส่ น ใจคดิ วา่ จะกลัวหรอื จะเป็นจะตายอะ ไรเลย มแี ต่
ความด ีใจและมั่น ใจวา่ ตัวจะต้อง ได้ก�ำลัง ใจจากสถานที่ทที่ า่ นแสดงอุบาย ให้ ไปท่าเดียว และต้งั  ใจ
บ�ำเพ็ญเพียรท้ังกลางวันกลางคืน ไม่หยุดย้ังลดละ มีความมุ่งมั่นต่อผลที่จะพึง ได้จากความเพียร 
ในสถานท่ีนั้นตามค�ำที่ท่านแนะ ให้ ไป ประหนึ่ง ได้รับค�ำพยากรณ์จากท่านมาแล้วอย่างมั่น ใจว่า
เม่ือพักอยู่ท่ีนั้นจะ ได้ผลอย่างน้ัน ๆ ท�ำนองพระอานนท์ท่ี ได้รับค�ำพยากรณ์จากพระพุทธเจ้า
เวลาจะเสด็จปรนิ ิพพานวา่ อีกสามเดือนเธอจะเป็นผู้ ไมม่ ีกเิ ลสเหลืออย ู่ใน ใจ คือจะ ไดต้ รสั รู้เป็น
พระอรหนั ตบุคคล ในวนั ท�ำสังคายนาแน่นอนฉะนนั้ เหล่านพ้ี อจะทราบ ได้วา่ ความเคารพเช่ือฟงั
ครอู าจารยเ์ พื่อผลทีต่ นมงุ่ หวังเปน็ สงิ่ ส�ำคัญมาก ท�ำ ให้ผนู้ ัน้ มคี วามสน ใจจดจอ่ ไมเ่ ผอเรอและ
เล่ือนลอยปลอ่ ย ใจปล่อยตัว นับว่าเปน็ ผูม้ หี ลักยดึ ของ ใจด้วยดี พูดอะ ไรกพ็ อรู้เร่อื งกันบ้าง ไม่
ตอ้ งพดู ซำ้�  ๆ ซาก ๆ จนกลายเป็นเรอื่ งรำ� คาญและหนัก ใจดว้ ยกันท้งั สองฝ่าย โดย ไม่เกิดประ โยชน์
อะ ไรเลย

ท่านพระอาจารย์มั่นกลับ ไปภาคอีสานเท่ียวท่ีสองน้ีท�ำ ให้ผู้คนพระ – เณรต่ืนเต้น
และกระตือรือร้นกันท้ังภาค เพราะท่านเที่ยวจาริกและอบรมส่ังสอน ในที่ต่าง ๆ เกือบทุก
จังหวดั เริ่มผา่ น ไปแต่จงั หวดั นครราชสมี า ศรสี ะเกษ อุบล ฯ  นครพนม สกลนคร อดุ รธานี
หนองคาย เลย หล่มสกั เพชรบรู ณ์ และขา้ ม ไปเวยี งจันทน์ ท่าแขก ประเทศลาว กลับ ไป
กลับมาหลายตลบ ในแต่ละจังหวัด จังหวัดที่มีป่ามีเขามากท่านชอบพักอยู่นานเพ่ือการบ�ำเพ็ญ
เป็นแห่ง ๆ ไ ป เชน่ ทางทศิ  ใต้และทิศตะวนั ตกเฉยี ง ใตข้ องตวั จงั หวดั สกลนครมีปา่ มเี ขามาก ท่าน
พกั จำ� พรรษาอยู่แถบนัน้ คอื จ�ำพรรษาทห่ี มูบ่ า้ น โพนสว่าง อ�ำเภอสว่างแดนดิน จงั หวดั สกลนคร

54

แถบน้ันมีแต่ป่าแต่เขา พระธุดงค์จึงมีประจ�ำมิ ได้ขาดตลอดมาจนทุกวันนี้ เพราะท่านเหล่าน้ี
ชอบปา่ ชอบเขามาก

เวลาทา่ นเท่ยี วจารกิ  ในหนา้ แลง้ ที่พกั หลบั นอน โดยมากก็เปน็ ร้านหรือแคร่เลก็  ๆ ปดู ้วย
ฟากทที่ ำ� ด้วย ไม้ ไผ่สับแผอ่ อกเป็นแผ่นแบน ๆ ยาวประมาณ ๑ วา กว้าง ๒ หรือ ๓ ศอก
สงู ประมาณ ๑ ศอก เฉพาะแตล่ ะรปู อยู่หา่ งกันตามแต่ปา่ ท่ี ไปอาศยั กว้างหรอื แคบ ถา้ ป่ากวา้ ง
กอ็ ยู่ห่างกันออก ไปประมาณ ๒๐ วา มีป่าค่นั มอง ไมเ่ ห็นกนั ถา้ ป่าแคบและอยู่ดว้ ยกันหลายรปู
กห็ า่ งกนั ราว ๑๕ วา แต่ โดยมากตัง้ แต่ ๒๐ วาขนึ้  ไป อยู่น้อยองคด์ ้วยกันเท่า ไรก็ยง่ิ อยู่ห่างกนั
ออก ไปมาก พอ ได้ยินเสียง ไอหรือจามเทา่ นนั้

ญาติ โยมพากันมาท�ำทางส�ำหรับเดินจงกรม ให้ท่านประจ�ำที่พักองค์ละหนึ่งสาย ยาว
ประมาณ ๕ วาหรือ ๑๐ วาทกุ องค์ ส�ำหรบั ทำ� ความเพียร ในทา่ เดนิ และเดิน ได้ท้งั กลางวนั
กลางคนื ตามแต่สะดวก ในเวลาต้องการ

ถ้ามพี ระขี้กลัวผีหรือกลัวเสือ ไปอยู่ดว้ ย ทา่ นมกั จะ ใหอ้ ยู่ห่าง ๆ หมู่เพอ่ื นเปน็ พเิ ศษ เพือ่
เป็นการฝึกทรมาน ให้หายพยศความขี้ขลาดของตัวเสียบ้าง จนมีความเคยชินต่อป่าดงพงลึกและ
สัตว์เสือหรอื ผตี ่าง ๆ ที่จิต ไปท�ำความสำ� คัญมั่นหมายสิง่ นน้ั  ๆ มาหลอกตวั เอา จะ ได้เหมอื นทา่ นท่ี
เคยฝึกมาแลว้ บ้าง ไปท่ี ไหนจะ ไมต่ อ้ งหาบหามความกลวั  ไปดว้ ย เพราะวิธีนที้ า่ นถอื วา่  ไดผ้ ลดกี วา่
การปล่อยตาม ใจ ซึ่ง ไมม่ วี ันจะเกดิ ความกลา้ หาญ ไดเ้ ลย ถา้  ไปอย ู่ใหม ่ ๆ ตา่ งองคก์ น็ อนกบั พน้ื ดนิ  
ไปกอ่ น โดยเทยี่ วหาใบ ไมแ้ หง้ หรือ ใบ ไมส้ ดมารองนอน ถา้ มีฟางกเ็ อาฟางมาปรู องท่ีนอน

ท่านว่าหน้าเดอื น ๑ – ๒ ซึ่งเปน็ ฤดูฟา้  ใหมฝ่ นเกา่ ประสานกนั นร้ี สู้ กึ ลำ� บากอยบู่ า้ ง เวลา
ฝนตกต้องเปียกและตากฝนทุกปี บางครั้งนอนตากฝนตลอดคืนจนกว่าจะหยุด กลดก็สู้ ไม่ ไหว
เพราะทั้งฝนทั้งลม ต้องทนหนาวตวั สน่ั อยู่ ในกลดนน่ั แล ตากม็ อง ไมเ่ หน็ จะหน ีไป ไหนก ็ไม ่ได้
ถา้ กลางวนั กค็ อ่ ยยงั ชวั่ บา้ ง แมจ้ ะเปยี กกพ็ อมองเหน็ นน้ั เหน็ นี้และคว้าน้นั คว้านี้มาชว่ ยปิดบังฝน ได้
บ้าง ไมม่ ดื มดิ ปดิ ตายเสยี ทเี ดียว ผา้ สังฆาฏิและ ไม้ขดี  ไฟซงึ่ เป็นสงิ่ จำ� เป็นตอ้ งเก็บ ไว ้ในบาตรเอาฝา
ปิด ไว้ ใหด้ ี สว่ นจีวรเอา ไว้ส�ำหรับหม่ กันหนาวขณะฝนกำ� ลงั ตก มงุ้ ทกี่ าง ไวก้ บั กลดตอ้ งลดลงเพอ่ื กนั
ฝนสาดเวลาลมพดั แรง ไมเ่ ชน่ นน้ั กเ็ ปยี กหมด ตกตอนเชา้  ไม่มผี า้ หม่ บณิ ฑบาตก็ยิ่งแย่ ใหญ่

พอตกเดือน ๓ เดอื น ๔ หรอื เดอื น ๕ อากาศเรม่ิ รอ้ นบ้าง กข็ น้ึ บนภเู ขาหาพกั ตาม
ถำ้� หรอื เงอื้ มผา พอบังแดดบังฝน ได้บ้าง ถ้า ไปตอนเดือน ๑ – ๒ ซึ่งพนื้ ท่ียงั  ไม่แหง้ ดกี ท็ �ำ ใหเ้ ปน็  

55

ไข้และชนิดจบั ส่ันที่เรยี กกนั ว่ามาลาเรยี ซง่ึ  ใครเปน็ เขา้ แลว้  ไมค่ ่อยหายเอางา่ ย ๆ เสยี เวลาต้งั
หลาย ๆ เดือนกว่าจะหายขาด หรือบางทีก็กลายเป็น ไข้เรื้อรัง ไปเลย คิดอยาก ไข้เมื่อ ไรก็เป็น
ขึ้นมาชนิดทเ่ี ขาเรยี กวา่ “ ไขพ้ อ่ ตา – แมย่ ายเบ่ือหน่ายเกลียดชัง” รับประทาน ได้ แต่ท�ำงาน ไม่ ได้
คอยแต่จะ ไข้ ถา้ เปน็ อยา่ งว่านี้ ไมว่ ่าแต่พอ่ ตา – แม่ยาย ใคร ๆ ก็คงจะเบื่อหน่ายเหมือนกัน ไข้
ประเภทน้ ีไมม่ ยี ารบั ประทาน ในสมัย โน้น ใครเป็นเขา้ ตอ้ งปล่อย ใหห้ าย ไปเอง ไขท้ ่นี า่ เข็ดหลาบ
ประเภทนี้ผู้เขียนเองเคยถูกมาบ่อยท่ีสุด เวลาเป็นขึ้นมาแล้วก็ต้องปล่อย ให้หาย ไปเองเช่นกัน
เพราะ ไม่มยี ารักษา ทา่ นพระอาจารย์ม่ันเลา่ เร่อื งพระธดุ งคเ์ ปน็  ไขป้ ่าไข้มาลาเรียนับแต่องคท์ า่ น
ลง ไปถึงลกู ศษิ ย์ บางองคถ์ งึ กับตาย ไปกม็ ี ฟังแลว้ เกิดความสงสารสังเวชท่านและคณะของท่าน
มากมาย รอดตายมาแล้วถึง ได้มาส่ังสอนธรรม พอเป็นร่องรอยแก่คณะลูกศิษย์ ได้ยึดถือและ
ปฏบิ ตั ิตามท่านบา้ ง

เทศน์สอนฆราวาสเลิกนับถือผีหันมานับถือพระไตรสรณาคมน์

แต่ก่อนที่ท่านพระอาจารย์ม่ันและพระอาจารย์เสาร์ยัง ไม่ ได้ผ่าน ไปอบรมสั่งสอนพอ ให้
รู้เรอื่ งดีเรื่องชว่ั เรอ่ื งผีเร่ืองคน เรอ่ื งบุญเรอ่ื งบาปบา้ ง ภาคอสี านทงั้ ภาคเป็นภาคทนี่ ับถือผีอยา่ ง
เป็นชวี ติ จติ  ใจจรงิ  ๆ จะท�ำนาท�ำสวนปลูกบ้านสรา้ งเรือนอะ ไร ๆ แทบทง้ั น้ัน ตอ้ งลงเลขลงยาม
หาวันดีเดือนดีปีดี หาฤกษ์งามยามดีและเซ่นสรวงวิงวอนผี ให้เห็นดีเห็นชอบก่อนถึงจะลงมือท�ำ
อะ ไรลง ไป ได้ ไมเ่ ชน่ นนั้ หากมสี งิ่  ไมด่ เี กดิ ขนึ้ เชน่ ไอบา้ ง จามบา้ ง ตามธรรมดาธาตขุ นั ธ์ แมแ้ ต่
สุนัขก็ยังมี ได้เป็น ได้ แต่เป็นต้องหาว่าผิดผีเข้าแล้ว ต้อง ไปเชิญหมอมาท�ำนายทายทัก ให้ 
ในทนั ทที ัน ใด หมอสมัยนั้นก็เก่งจริงเก่งกว่าหมอสมัยนเ้ี ปน็  ไหน ๆ เปน็ ตอ้ งทายเปาะออกมาว่า
ผิดผตี รงน้นั บ้าง ตรงนี้บ้างทันที เมื่อ ไปบวงสรวงแล้วจะหาย หวดั ก็หาย จามกห็ าย ไอก็หาย แม้
ผูเ้ ป็นจะยัง ไอยังจามฟิก ๆ แฟก ๆ อยกู่ ต็ าม ถา้ หมอสมยั นน้ั วา่ หายแล้วกห็ าย ไปตามและสบาย ใจ
ไปเลยทั้งท ี่ไอและจามฟกิ  ๆ อยู่นัน่ แล ฉะน้นั จงึ กลา้ เขียนว่าหมอสมัยน้นั เก่งจริง และคน ไข้
สมัยนน้ั เกง่ จริง หมอบอกอยา่ ง ไรก ็ได้อยา่ งน้ัน ไมต่ อ้ งสน ใจหาหยูกหายามารกั ษากัน เอาหมอกับ
ผีมาเป็นยารักษาเป็นหายเรียบ ไปเลย

แต่พอท่านอาจารย์ท้ังสองผ่าน ไปและอบรมสั่งสอนอย่างมีเหตุผล เร่อื งบ้าผีแลบา้ หมอ
ทายผีก็ค่อยจางลงจนแทบ ไม่มเี ลย แม้หมอเสยี เองก็ยอมรับพระ ไตรสรณาคมน์ คือ ถอื พระพทุ ธ
พระธรรม พระสงฆ์ แทนการถือผ ีไหว้ผีตา่ ง ๆ แตบ่ ัดนั้นเป็นตน้ มา ทุกวนั นแี้ ทบจะ ไม่มี ใครทำ� กัน
ก็ว่า ได้ เวลาเที่ยว ไปตามหมบู่ า้ นต่าง ๆ ทางภาคอีสานไมค่ ่อย โดนและเหยยี บผแี ละเหยยี บเครอ่ื ง

56

สงั เวยผเี หมือนแต่กอ่ น นอกจากเขาจะพากนั  ไปทำ� อยู่ ใตด้ นิ ซึง่ สดุ วสิ ยั ทจี่ ะ ไปเที่ยวซอกแซกเห็น
จึงนับวา่ ภาคอีสานมวี าสนาอยู่บา้ ง ไมพ่ ากนั กอดคอกนั ตายกบั ผ ีไปตลอดชาติ ยงั มพี ทุ ธ ธรรม
สงฆ์ กราบ ไหวบ้ ชู าแทนผบี า้ ง ในกาลตอ่ มา ชาวอสี านท ี่ไดร้ บั ความเมตตาอนุเคราะห์จากท่านพระ
อาจารย์ทั้งสองคง ไม่ลืมบุญคุณท่าน เพราะเป็นผู้มีพระคุณแก่คนภาคนั้นจนสุดที่จะพรรณนา
ท้ังนี้เขียนตามประวัติที่ท่านเล่า ให้ฟัง ส่วนจะผิดหรือถูกผ้เู ขยี นกท็ ราบ ไม่ ได้ ในระยะนน้ั อาจยงั  
ไมเ่ กิดหรือยงั เป็นเด็กอยมู่ ากท่ีพอ่  – แม่พานบั ถอื ผีเป็นชีวิตจติ  ใจเหมอื นคนทัว่  ไปก ็ได้ จึงขออภัย
ด้วย

สมัย โน้น ไม่ว่าการอบรมฆราวาสหรือพระ – เณร ท่าน ได้ทุ่มเทก�ำลังและความสามารถ
ทุกด้านเพ่ือ ให้คนเป็นคนจริง ๆ  ท่านเที่ยว ไปบางหมู่บ้าน มีนักปราชญ์บัณฑิตประจ�ำหมู่บ้าน
มาถามปัญหากับท่านก็มี ความว่าผีมีจริง ไหมบ้าง ว่ามนุษย์เกิดมาจาก ไหนบ้าง ว่าอะ ไร
ท�ำ ใหผ้ หู้ ญงิ กับผูช้ ายเกิดรักชอบกันเอง โดย ไม่มี โรงรำ�่  โรงเรยี นสอน ใหร้ ักชอบกนั บา้ ง ว่าสัตว์ชนดิ
เดียวกันตัวผู้กับตัวเมียท�ำ ไมจึงเกิดรักชอบกันเองบ้าง ว่ามนุษย์และสัตว์ ไปเรียนความรักชอบซ่ึง
กันและกันมาจาก ไหนจึง ได้เกิดรักชอบกันขึ้นมาบ้าง แต่ผู้เขียนก็จ�ำ ได้บ้างเล็กน้อย ไม่ละเอียด
ทว่ั ถึง จงึ น�ำมาลง ไว้เทา่ ท่จี ำ�  ได้ จะถูกหรือผิดประการ ใดน้ันขนึ้ อยกู่ บั ผูเ้ ขยี นเอง เพราะเป็น
ผู้จดจ�ำผิดพลาดคลาดเคลื่อนมาตามนิสัยที่เคยเป็นมาประจ�ำ แม้แต่จ�ำค�ำที่ตนเคยพูดและเรื่อง
ของตัวที่เคยเป็นมา ก็ยังมีผิดพลาด ได้เสมอมา อย่างแก้ ไม่ตก จึง ไม่สามารถจดจ�ำค�ำของท่าน
ทกุ คำ� ดว้ ยความถูกต้อง ได้

ปัญหาทว่ี า่ ผีมีจริง ไหม ? ท่านแก้ว่า ไมว่ ่าแตผ่ หี รือส่ิง ใด ๆ ใ น โลก ถ้าสง่ิ นนั้ มอี ยู่จริง
สิ่งน้ันต้องเป็นอิสระ ไปตามความมีอยู่ของตน ไม่ข้ึนอยู่กับความสนับสนุนหรือท�ำลายของ ใครท่ี 
ไปว่าสิง่ นั้นมจี รงิ หรอื สง่ิ นั้น ไม่มี ส่งิ นน้ั ถึงจะมหี รือจะสญู  ไป แตส่ ิ่งนน้ั ต้องมอี ยู่ตามธรรมชาตขิ อง
ตน ไมม่ กี ารเพ่มิ ขน้ึ และลดลงตามค�ำเสกสรรของ ใคร ๆ  ผีท่มี มี นุษยส์ งสัยกนั ทั่ว โลกว่ามีหรอื  ไมม่ ี
ก็เช่นกัน ความจริงผีที่ท�ำ ให้คนเกิดความกลัวและเป็นทุกข์กันนั้นเป็นผีท่ีคนคิดข้ึนที่ ใจว่าผีมีอยู่
ทีน่ ัน้ บ้างทีน่ ี้บา้ ง ผจี ะมาทำ� ลายบา้ งตา่ งหาก จึงพา ใหเ้ กดิ ความกลัวและเป็นทุกข์ขน้ึ มา ถ้าอยู่
ธรรมดา ไมก่ ่อเรื่องผขี ้นึ ท่ ีใจก็ ไม่เกดิ ความกลัวและ ไม่เปน็ ทุกข์ ฉะนน้ั ผจี ึงเกดิ ข้ึนจากการก่อเรอื่ ง
ของผู้กลวั ผีขึน้ ท ี่ใจ มากกว่าผีจะมาจากท่ีอ่ืน แตผ่ จี ะมีจริงหรอื  ไมน่ ้ันแม้จะบอกวา่ ผมี ีจริงก ็ไมม่ ี
พยานหลกั ฐานยนื ยนั กันพอ ให้เชอ่ื  ได้ เพราะนสิ ยั มนษุ ย์เรา ไมช่ อบยอมรบั ความจรงิ แม ้ไปเทีย่ ว
ข โมยของเขามา เจ้าของตามจับตัว ได้พร้อมท้ังของกลางและพยานหลักฐานมาอย่างพร้อมมูล
ยัง ไม่ยอมรบั ตามความจรงิ แถมยงั ปนั้ พยานเทจ็ ขน้ึ หลอกลวงเพ่อื หาทางรอดตัว ไปจน ได้ โดย ไม่

57

ยอมรบั ว่าตวั ทำ� ผดิ นอกจากถูกบงั คับดว้ ยหลักฐานพยานเทา่ นั้นก็ยอมรบั  โทษ ไป ท้งั  ๆ ท ี่ใจจรงิ
และกิริยาท่ีแสดงออก ไม่ยอมรับว่าตัวผิด เวลา ไปเป็นนัก โทษอยู่ ในเรือนจ�ำแล้วมีผู้ ไปถามว่า
คณุ ท�ำผดิ อะ ไรถึงต้องมาติดคุกและเสวยกรรมอยา่ งนี้ นกั  โทษคนน้ันจะรบี ตอบเปน็ เชิงแก้ตวั ทนั ที
ว่าเขาหาว่าผมข โมยของเขา แต่จะยอมรับตามความจริงว่าผม ไปข โมยของเขาอย่างนี้ ไม่ค่อยมี
ราย ไหนถกู ถามรายน้นั ตอ้ งตอบอยา่ งเดียวกนั นีค่ ือมนุษย์เรา โดยมากเปน็ อยา่ งนี้

ปญั หาท่ีวา่ มนษุ ยเ์ กดิ มาจาก ไหน ? ท่านตอบวา่ มนษุ ยเ์ ราต่างก็มพี อ่ มแี ม่เป็นแดนเกิด
แมผ้ ถู้ ามกม็  ิไดเ้ กดิ จาก โพรง ไม้ แตม่ พี อ่  – แมเ่ ปน็ ผ ู้ใหก้ ำ� เนดิ และเลยี้ งดมู าเหมอื นกนั จงึ  ไมค่ วรถาม
ถ้าจะตอบว่ามนุษยเ์ กิดจากอวิชชาตณั หาก็ยงิ่ จะมืดมดิ ปิดตายงิ่ กวา่  ไม่ตอบเป็น ไหน ๆ  เพราะ ไม่
เคยรวู้ า่ อวิชชาตัณหาคืออะ ไร ทง้ั  ๆ ทม่ี ีอยู่กบั ทุกคน เว้นพระอรหันต์ทา่ นเท่านัน้ แต ่ไม่สน ใจ
อยากร้แู ละปฏิบตั ิเพอื่ รสู้ ง่ิ ดังกลา่ ว นอกจากจะตอบว่าเกดิ จากพอ่ กบั แมท่ ี่เหน็  ๆ กนั อยู่นเี้ ทา่ นั้น
ผ้ถู ามกจ็ ะหาว่าตอบตดั ส�ำนวน จงึ ลำ� บาก ในการตอบตามความจรงิ เพราะผู้ถามม ิได้สน ใจกบั
ความจรงิ เทา่  ไรนกั ในธรรมทา่ นวา่ มนษุ ยแ์ ละสตั วเ์ กดิ จาก อวชิ ชฺ าปจจฺ ยา สงขฺ ารา ฯลฯ  สมทุ  โย
โหติ และดบั ภพชาตอิ นั เป็นความดับทุกขท์ ัง้ มวลจาก อวิชชฺ ายเตฺวว อเสสวิราคนิ โรธา สงขฺ าร
น ิโร โธ ฯลฯ นิ โร โธ โหติ เหลา่ น้ีกม็ ีอยู่กบั จิตของทกุ คนทมี่ กี ิเลสบนหวั  ใจ ถ้ายอมรับความจริง
แล้วก็นแี่ ลพา ให้เกดิ เป็นมนุษย์และสัตว์อยเู่ ต็ม โลกจนจะหาท่อี ยู่กินกัน ไม่ ไดอ้ ยูแ่ ลว้ เพราะอวิชชา
ตัณหาความหิว โหย ไมม่ เี วลาลดตัวเป็นตน้ เหตุ ทงั้ ทย่ี งั  ไม่ตายก็เตรียมหาทเี่ กิดและทอ่ี ยกู่ ินอย่แู ลว้
น่ีแลตัวท่ีพา ให้มนุษย์และสัตว์เกิดและเป็นทุกข์อยู่เต็ม โลก ถ้าอยากทราบก็จงดูจิตดวงที่เต็ม ไป
ด้วยกเิ ลสประเภทที่พา ใหร้ อ้ นรนกระวนกระวายส่ายแสห่ าที่เกิดท่ีอย่ทู ุก ๆ ขณะนี้ จะ ไดพ้ บสง่ิ ที่
ม่งุ หวังอยา่ งสม ใจและหายสงสัย ในตวั เอง ไม่ตอ้ ง ไปถาม ใครอนั เป็นการแสดงความงมงายของตัว 
ให้คนอื่นเห็นวา่ ตวั ยงั บกพร่องเรอ่ื งของตวั อยูม่ าก เพราะจิตเปน็ ตัวคะนองและจองหอง ไม่มอี ะ ไร
จะเปรียบเทยี บ ได ้ใน โลก หากแต่ขาดความสน ใจเหลียวแลเทา่ นัน้ จงึ  ไมร่ คู้ วามดอื้ ดึงของตัว และ
ท�ำ ใหค้ วา้ นำ�้ เหลว โดย ไมม่ ีอะ ไรติดมือพอเปน็ ความสมหวงั บ้าง

ท่ีว่าอะ ไรท่ีท�ำ ให้มนุษย์หญิง – ชายและสัตว์ชนิดเดียวกันเกิดความรักชอบกัน โดย 
ไม่มี โรงร�่ำ โรงเรียนสอน ใหร้ กั ชอบกัน ? ท่านตอบวา่ เพราะราคะตณั หาความรกั ชอบ ไม ่ได้อยู่
ในหนังสอื ไม ่ไดอ้ ยู่ ใน โรงร่ำ�  โรงเรียนและครทู ี่ควรจะ ไปเรยี นกบั ส่ิงดังกลา่ วนั้น แตร่ าคะตัณหา
ความหน้าดา้ น ไมม่ ยี างอาย มนั เกิดและอยกู่ บั  ใจของมนุษยห์ ญิง – ชายและสตั ว์ตา่ งหาก จึงท�ำ ให้
ผู้มีส่ิงลามกน้ีกลายเป็นหญิง – ชายและสัตว์ผู้ลามก ไปตามอ�ำนาจของมัน โดย ไม่รู้สึกตัวและ ไม่เลือก
ชาติชนั้ วรรณะและวยั อะ ไรท้งั ส้ิน ถา้ มมี ากกย็ ง่ิ ท�ำ ให ้โลกกลายเปน็  โลกวินาศ ไป ได้อย่าง ไมม่ ปี ญั หา

58

หาก ไม่มีสติปัญญาสกัดก้ันมัน ไว้บ้างพอ ให้น่าดูก็จะกลายเป็นน้�ำล้นฝั่งท่วมทับหัว ใจและท่วม
บ้านเมือง ให้ฉิบหายป่นปี้ ไป ได้ โดย ไม่มีอะ ไรยังเหลือพอ ให้เป็นท่ีน่าดูบ้างเลย สิ่งที่เกิดอยู่ที่
จิต ใจของสัตว์ โลกและเจริญอยู่ท่ีจิต ใจของสัตว์ โลกตลอดมา ก็เพราะมัน ได้รับการบ�ำรุงส่งเสริม
อย่างเหลือเฟือเสมอมา จึงมีก�ำลังเขย่าก่อกวนและท�ำลายสัตว์ โลก ให้ ได้รับความทุกข์เดือดร้อน
เสมอมา ไม่มีวันเวลาผ่อนตัวพอ ให้หาย ใจบ้างเลย โดยมากเคย ได้ยินแต่น�้ำท่วมบ้านท่วมเมือง
ผ้คู นและสัตว์ตลอดทรัพย์สินสมบตั ติ ่าง ๆ ใ ห้พินาศฉบิ หาย แต ่ไม่เคยสน ใจสงั เกตดนู ำ้� ราคะตัณหา 
ไม่มีเมืองพอดี ท่วมหัว ใจสัตว์ โลกตลอดสมบัติท่ีพึงพอ ใจ ให้ฉิบหายวายป่วง ไปทุกระยะเวลา
 โดย ไมน่ ยิ มวา่ หนา้ แลง้ หนา้ ฝนเลย จงึ  ไมเ่ หน็ ความเสอ่ื ม โทรมของ โลกทก่ี ำ� ลงั เปน็ อยแู่ ละจะเปน็  ไปวา่
มีสาเหตเุ ปน็ มาอย่าง ไร เพราะต่างคนต่างผลติ ต่างคนตา่ งส่งเสริม โดย ไม่สน ใจดูความเสือ่ ม โทรม
เพราะนำ�้ นีเ้ ป็นตน้ เหตุ การมองหาความสงบสุขของ โลกจึงเปน็ สิ่งทีอ่ อกจะสุดวสิ ัย ไป ได้ถา้  ไม่มอง
ดูตวั ทกี่ �ำลงั กอ่ เหตุ

ผถู้ ามถามเฉพาะความรกั ชอบระหวา่ งหญงิ  – ชายและสตั วเ์ ทา่ นนั้ ไมถ่ ามถงึ ความเกลยี ดชงั
กร้วิ  โกรธและทำ� ลายเพราะราคะตณั หาเป็นต้นเหตุบา้ งเลย แตท่ ่านกอ็ ธบิ ายเกี่ยว โยง ไปถงึ ความ 
ไม่ดีทั้งหลายที่ราคะตัณหา ไปเที่ยวก่อกรรมท�ำลาย ไว้อย่าง ไม่มีประมาณบ้างแล้ว ท่านว่าราคะ
ตณั หาน่ีแล เป็นสอ่ื มวลพา ให้หญิง – ชายและสตั ว์รักชอบกนั และเป็นผ้อู ำ� นวยการ ใหห้ ญิง – ชาย
และสัตว์ยินดีซึ่งกันและกันตามหลักธรรมชาติ นอกนี้ ไม่มีอะ ไรท�ำ ให้เกิดความรักชอบเกลียดชัง
ซง่ึ กนั และกนั  ได้ เวลาราคะตัณหา ใชเ้ ลห่ ์เหลีย่ ม ไปทางรกั คนและสัตว์กร็ กั เวลามนั  ใช้เล่ห์เหลีย่ ม
ไป ในทางเกลียดทาง โกรธหรือทางท�ำลาย คนและสัตว์ก็ต้องเกลียดต้อง โกรธและท�ำลายกัน ได้
มันต้องการเลี้ยงมนุษย์และสัตว์ ไว้ด้วยวิธี ให้รักชอบกัน มนุษย์และสัตว์ก็รักชอบกันประหน่ึงจะ 
ไม่มีวันเหินห่างจดื จางจากกันเลย เวลามนั ต้องการ ใหม้ นุษยแ์ ละสตั ว์ทอ่ี ยู่ ใตอ้ ำ� นาจของมนั เกลียด 
โกรธกนั กจ็ �ำตอ้ งเป็น ไปตามมันจน ได้ ไม่มีทางขดั ขนื

พวก โยม ไม่เคยทะเลาะกันบ้างหรือระหว่างสามี – ภรรยาซึ่งแสนรักกันมาก่อนแต่วัน
แตง่ งานจึงตอ้ งมาถามอาตมา อาตมาคดิ วา่  โยมรเู้ รอื่ งน้ีดกี วา่ พระเป็น ไหน ๆ  ท่านย้อนถามเขา
ตอนจบประ โยค เขาตอบท่านวา่ เคยทะเลาะกันเสียจนเบื่อ ไม่อยากทะเลาะกนั เลยท่าน แตก่ จ็ ำ�
ต้องทะเลาะกนั จน ได้ เรอ่ื งของ โลกมนั เป็นอยา่ งน่ีแล เดย๋ี วรกั กัน เดีย๋ วชังกัน เด๋ียว โกรธกัน
เด๋ยี วเกลยี ดกัน ทงั้ ท่ีรู้อยวู่ า่  ไม่ดีแต่กแ็ ก้ ไม่ตกสกั ที ทา่ นถามเขาวา่ โยมพยายามแก้มนั จรงิ  ๆ หรอื
ม ิใช่มา โกหกอาตมาเล่นเปลา่  ๆ หรอกหรอื ถา้ ตา่ งพยายามแก้กันอยู่บ้างแม้ ไม่ ได้มาก เข้า ใจว่า
จะ ไม่เป็น ไปอยู่บ่อย ๆ ท�ำนองผักชีจ้ิมน�้ำพริกกับอาหารเช้า – เย็น คอื เช้าก็ทะเลาะกัน เยน็ ก็

59

ทะเลาะกนั ทะเลาะกนั  ไม่หยุด จน ไดห้ ย่ารา้ งกัน ไปกม็ ีในบางราย ผ้ทู พี่ ลอยเปน็ เชอื้ เพลิง ไปด้วย
คือลูก ๆ ที่ ไมร่ ้เู ร่อื งอะ ไรด้วยเลย ก็จ�ำตอ้ งหาบบาปหาบกรรม ไปด้วย ต่างกร็ อ้ นเป็น ไฟ ไปตาม ๆ
กนั เข้ากับ ใคร ไม่ตดิ เพราะความอิดหนาระอา ใจละอายเพอื่ นฝงู

ถ้าต่างฝ่ายต่างสน ใจอยู่บ้าง เพียงแต่เร่ิมจะทะเลาะกันก็ทราบอยู่ด้วยกันว่าเป็นเรื่อง
 ไมด่ ี ตา่ งก็พยายามระงับและแก ้ไขตัว ใหถ้ ูกตอ้ งเสยี  ในขณะนัน้ เรอ่ื งกร็ ะงบั  ไปเอง ตอ่  ไปก ็ไม่มี
เรื่องทำ� นองนัน้ เกิดขึน้ อีก ประการหนงึ่ เวลาจะ โกรธจะเกลยี ดกค็ วรคิดถงึ ความหลังบ้าง คิดถึง
อนาคตท่ีจะอยู่อาศยั กัน ไปตลอดชวี ิตบ้าง มาบวกลบกันกับความ ไม่ดที ่เี กดิ ข้นึ เวลานนั้ จะพอ
มีทางระงับ ได้ โดยมากคนเราที่เป็น ไป ในทาง ไม่ดีก็เพราะความอยาก ให้ ได้ตาม ใจหวังของตัว
อยา่ งเดยี ว และอยาก ให ้ใจคน ในครอบครัวมาอย ู่ใตอ้ ำ� นาจของตัวคนเดียว โดย ไม่ค�ำนงึ ถึงความ
ผิดถกู ซ่งึ เป็นส่ิงสดุ วิสัยทจ่ี ะเปน็  ไป ได้ เรือ่ งจงึ ระบาดออกมาและลกุ ลาม ไป ไหมค้ นอน่ื  ใหเ้ ดอื ดรอ้ น
ไปดว้ ย

นอกจากนนั้ ยังอยาก ให ้ใจของคนทัง้  โลกมารวมอยู ่ในอุง้ มอื ของตัวคนเดียว ซง่ึ เป็นลกั ษณะ
ความคดิ เพอ่ื กนั้ นำ�้ มหาสมทุ รดว้ ยฝา่ มอื อนั เปน็ ความคดิ ทผ่ี ดิ วสิ ยั จงึ เปน็ เรอื่ ง ไมค่ วรคดิ  ไมค่ วรทำ�
อย่างยิ่งถ้าฝืนคิด ไปก็อกแตกตายเปล่า ๆ  การอยู่ด้วยกันต้องมีหลักท่ีถูกต้องดีงามเป็นเคร่ืองยึด
เครอ่ื งดำ� เนนิ ทง้ั ฝา่ ยสามีและภรรยาตลอดลูก ๆ และคนงาน ในบา้ น แม้กบั คนอืน่ หรือคน ในวงงาน
กค็ วรปฏบิ ัตอิ ย่างมเี หตุมีผลทเ่ี ปน็ ทางลงรอยกนั  ได้ หากคนอน่ื  ไม่ยอมรับความจริงก็เป็นความผดิ
ของเขาผ ู้ไม่มีขอบเขตเหตผุ ลส�ำหรบั ตัวเขา และเป็นความเสียหายอยกู่ บั เขาเอง ตน ไมม่ สี ่วนผิด
และยงั พอมีหลกั ยึดเพอ่ื การครองตวั ตอ่  ไป

ท่านสนใจส่ังสอนพระ – เณรมากเป็นพิเศษ

การอบรมสั่งสอนประชาชนและพระ – เณร ถา้ มีคนมาเกี่ยวขอ้ งมาก ทา่ นก็แบ่งเป็นเวลา 
ไม่ ใหต้ รงกัน คอื บา่ ยราว ๔ – ๕ โมงเยน็ อบรมคณะญาติ โยม แต่ ๑ ทมุ่ ข้ึน ไปอบรมพระ – เณร
พอเลิกจากประชมุ ตา่ งองคต์ ่าง ไปทีพ่ ักของตน ๆ และประกอบความเพียร เวลาพกั อยตู่ ามจังหวดั
ตา่ ง ๆ ทางภาคอสี านทา่ นปฏิบัติตอ่ ประชาชนพระ – เณรอยา่ งหนึง่  ในเที่ยวแรกกบั เที่ยวที่ ๒ เวลา
ท่าน ไปพักอยู่ท่ีจังหวัดเชียง ใหม่และกลับ ไปอุดร ฯ เที่ยวที่ ๓ คือเท่ียวสุดท้าย ท่านปฏิบัติกับ
ประชาชนพระ – เณรอีกอย่าง ซึ่งผิดกับแต่ก่อนอยู่มาก แต่ท้ังสองตอนหลังน้ีจะรอ ไว้เขียน
ขา้ งหน้าเพื่อ ให้เรือ่ งตดิ ต่อกนั  ไมข่ าดความ ทา่ นสน ใจส่ังสอนพระ – เณรมากเป็นพิเศษ ถ้าปรากฏ
วา่ ราย ใดภาวนาจิตเปน็  ไปและรู้เหน็ สิ่งต่าง ๆ เกีย่ วกบั ภายนอกหรือภาย ใน ท่านจะพยายามสน ใจ

60

และเรยี กมาสอบอารมณเ์ ปน็ พเิ ศษ เพราะตามธรรมดาของผู้ปฏบิ ัติภาวนาท่วั  ๆ ไ ปย่อมมจี รติ นิสัย
แปลกต่างกัน

การปฏิบัติและความรู้ท่ีเกิดข้ึนจากการภาวนาก็มีความแปลกต่างกันเป็นราย ๆ แต่ผลคือ
ความสงบสุขเย็น ใจน้ันเหมือนกัน ที่แปลกต่างกันก็คืออุบายวิธีและความรู้ความเห็นท่ีปรากฏข้ึน
 ในขณะภาวนา บางรายก็รู้เก่ียวกับส่ิงภาย ในด้วย เก่ียวกับสิ่งภายนอกด้วย เช่น เห็นภูติผี
เข้ามาเกี่ยวข้องบ้าง เหน็ เทวบตุ รเทวดา เปน็ ตน้ เขา้ มาเกย่ี วข้องบา้ ง เห็นคนหรอื สตั ว์มาตาย
อยตู่ อ่ หน้าบ้าง เหน็ เขาหามผีมาทงิ้  ไวต้ ่อหน้าบ้าง เหน็ ร่างของตวั ออก ไปนอนตายอยูต่ ่อหน้าบา้ ง
เป็นต้น ซ่ึงเป็นสิ่งท่ีสุดวิสัยของผู้เพ่ิงรู้เพิ่งเห็น ในขณะเร่ิมต้นภาวนาและจิตเริ่มสงบซึ่งล้วนเป็น
สง่ิ ทส่ี ดุ วสิ ยั ทจี่ ะปฏบิ ตั  ิใหถ้ กู ตอ้ งแมน่ ยำ�  ไดท้ กุ  ๆ กรณ ีไป ทงั้  ไมแ่ น ่ใจวา่ ทป่ี รากฏขนึ้ มาแตล่ ะอยา่ งนนั้
จะมคี วามผิด – ถกู แฝงอยู่ประการ ใดบา้ ง บางรายท่ีเป็นนสิ ยั  ไม่ชอบ ใครค่ รวญก็อาจเหน็ ผดิ  ไปตาม
และยึดถอื เอาว่าเป็นความจริง กย็ ง่ิ เปน็ ทางล่อแหลมตอ่ ความเสียหาย ในอนาคตมากขน้ึ

แต่นสิ ยั ที่จิตออกรูส้ ่งิ ตา่ ง ๆ ดังกลา่ วมาขณะที่จิตสงบลงมจี �ำนวนน้อยมาก รอ้ ยละห้าคน
ก็ท้ังยาก แตก่ ็ตอ้ งมรี ายหนง่ึ จน ไดท้ ี่จะปรากฏเช่นนั้นขนึ้ มา จึงเปน็ ความจำ� เป็นท่ีจะต้อง ได้รบั
การแนะนำ� จากทา่ นผมู้ ีความรเู้ ชี่ยวชาญ ในทางน้มี าก่อน เวลาพระธดุ งค์ทา่ นเลา่ ผลของการภาวนา
ท่ีปรากฏ ในลักษณะต่าง ๆ กันถวายครูอาจารย์และเวลาอาจารย์ช้ีแจงวิธีปฏิบัติต่อสิ่งท่ีรู้ที่เห็น ให้
ผ้มู าศึกษา ไตถ่ ามฟงั รู้สกึ วา่ ซาบซึ้งจับ ใจเพลิดเพลิน ในการฟงั ไม่อยาก ให้จบลงอย่างง่าย ๆ เวลา
ท่านอธิบายท่านแยกประเภทแห่งนิมิตออกเป็นตอน ๆ และอธิบายวิธีปฏิบัติต่อนิมิตนั้น ๆ อย่าง
ละเอียดลออมาก จนผู้ฟังหายสงสัยและรา่ เริง ในธรรมท่ที ่านแสดง ใหฟ้ ัง พรอ้ มท้ังความมแี ก่ ใจ
ทจี่ ะบำ� เพญ็ ตน ใหย้ งิ่  ๆ ขึ้น ไป แมร้ ายท่ ีไมป่ รากฏเห็นนิมติ เกีย่ วกบั สิง่ ภายนอก แต่ก็นา่ ฟงั  ไปอกี
ทางหนงึ่

เวลาท่านเล่าความสงบสุขของ ใจที่รวมลงสู่ความสงบตลอดอุบายวิธีที่ท่านท�ำถวายอาจารย์
ผู้ที่ยัง ไม่สามารถถึงข้ันท่ี ได้ยิน ได้ฟัง ในขณะน้ันก็เกิดศรัทธาความเชื่อม่ันข้ึนมาท่ีจะพยายามท�ำ
 ให ้ไดอ้ ยา่ งนัน้ บา้ ง หรอื ยิ่งกว่านัน้ บ้าง ทง้ั ผูท้ มี่ จี ติ เปน็  ไปและผ้ทู ก่ี ำ� ลังตะเกียกตะกายตา่ งก็ ไดร้ ับ
ความปลาบปล้ืมปีติ ในขณะฟัง บางรายเวลาจิตสงบลงปรากฏว่า ได้ ไปเที่ยวบนสวรรค์ชมวิมาน
ชั้นตา่ ง ๆ จนจวนสวา่ ง ใจถงึ กลับสูร่ า่ งและรู้สึกตวั ข้นึ มาก็มี บางรายลง ไปเทย่ี วปลงธรรมสังเวช
กับพวกเสวยกรรมตา่ ง ๆ กนั  ในนรกก็มี บางรายท้ังข้นึ  ไปเทีย่ วบนสวรรค์ ทง้ั ลง ไปเทีย่ ว ในนรก ดู
สภาพทั้งสองแหง่ ซึง่ มคี วามแตกต่างกันมาก คอื พวกหนงึ่ รนื่ เรงิ บันเทิง แตอ่ กี พวกหนงึ่ คร�่ำครวญ

61

ด้วยความทุกข์ทรมานซ่ึง ไม่มีก�ำหนดว่าจะพ้น โทษ ไป ได้เมื่อ ไรก็มี บางรายก็ต้อนรับแขกคือพวก
ภูตผิ ีและเทวดาทมี่ าจากท่ีต่าง ๆ คือช้ันบนบา้ ง รุกขเทพ ฯ  บา้ ง

ขณะทจี่ ติ สงบลง บางรายกเ็ สวยความสงบสขุ ทเ่ี กดิ จากสมาธปิ ระเภทตา่ ง ๆ กันตามกำ� ลัง
ของตัวบ้าง บางรายก็พิจารณาทางปัญญาแยกธาตุแยกขันธ์ออกเป็นแผนก และแยก ให้สลาย
จากกันจนเป็นคนละชิ้นละส่วนและท�ำ ให้สลายลงสู่คติเดิมของตนบ้าง บางรายก็ก�ำลังเริ่มฝึกหัด
และก�ำลงั ลม้ ลุกคลุกคลานเหมือนเดก็ กำ� ลังฝกึ หัดน่ังบา้ งเดนิ บ้างตา่ ง ๆ กัน บางรายภาวนาบังคับ
จิต ให้ลงอย่าง ใจหวัง ไม่ ได้เกิดความน้อยเนื้อต่�ำ ใจร้อง ไห้บ้าง บางราย ได้ยินท่านสนทนาธรรม
ประเภทต่าง ๆ ตามภูมิที่ตนรู้เห็นกับอาจารย์เกิดความปีติและอัศจรรย์ ในธรรมน้ัน ๆ แล้วร้อง ไห้
บ้าง บางรายก็ ไปเป็นทัพพีนอนแช่อยู่กับแกง ไม่รู้รสของแกงว่าเป็นอย่าง ไร และท�ำตัวขวาง
หม้อต้มหม้อแกงอยู่ ซึ่งเป็นธรรมดาของหลายอย่างอยู่ด้วยกัน ย่อมมีท้ังดีท้ังช่ัวปะปนกัน ไป
แต่ ไหนแต่ ไรมา ผมู้ สี ติปญั ญากเ็ ลือกเก็บเอาเฉพาะที่เหน็ วา่ ดีและเป็นประ โยชน์ ก็เป็นสาระแก่
ผู้รอบคอบนัน้ รายเช่นน้แี ม้ผ้เู ขยี นเองก ็ไม่รับรองตวั คงต้องมีส่วนอยดู่ ้วยจน ได้ ท่านผูอ้ า่ นกรุณา
ผ่าน ไป อยา่  ได้สน ใจ เพราะเรอื่ งเชน่ นี้ แม ้ในบา้ นและ ในตวั เราเองก็อาจม ีในบางครงั้ บางคราว
และอาจมอี ย่ทู วั่  ไป

ทา่ นมาอยูอ่ บรมสง่ั สอนภาคอีสานเท่ียวท่ีสองน้ปี รากฏว่าหลายปี แตก่ ารจ�ำพรรษา ไม่ค่อย
ซ้ำ� ท่เี ก่า ในปีหลงั พอออกพรรษาแล้วกอ็ อกเที่ยวธดุ งคต์ ามปา่ ตามเขา ไปแบบสุค โต เหมือนนก
ที่มีเฉพาะปีกกับหางบิน ไปเท่ียวหากิน ในที่ต่าง ๆ ตามความสบาย บิน ไปจับต้น ไม้และหากิน ใน
ต้น ไม้ ใด บงึ หรือหนอง ใด พออิ่มแลว้ กบ็ นิ  ไปอยา่ งสบายหายห่วง ไม่คดิ วา่  ไม้ตน้ นน้ั ผล ไม้นน้ั
เปือกตมนัน้ บึงน้นั หนองนัน้ เปน็ ของมัน ผ้ปู ฏิบตั ิธรรม ไดแ้ บบนกกเ็ ปน็ สุข ไปทางหนง่ึ ซึง่ ยาก
จะท�ำ ได้ เพราะมนุษย์เราเป็นสัตว์หมู่สัตว์พวก ชอบอยู่กันเป็นหมู่เป็นพวกและชอบติดถิ่นฐาน
บ้านเรือน ผู้จะออก ไป โดดเด่ียวดังท่านพระอาจารย์ม่ันปฏิบัติมา ในบ้ันต้นและจวบบ้ันปลายคือ
เวลาท่านอยู่เชียง ใหม่ จึงรู้สึกฝืน ใจ ไม่น้อยเลย ขออภัยถ้าเทียบก็ราวกับจูงสัตว์บก ใส่น้�ำ ใส่ฝน
ฉะนัน้ แต่ถา้  ใจคนุ้ กับธรรมแลว้ กลบั ตรงข้ามคอื ชอบ ไปคนเดียว อยูค่ นเดียว อิริยาบถทง้ั สีเ่ ปน็
เร่ืองของคน ๆ เดียว ใจดวงเดียว ไม่มีอารมณ์เครื่องก่อกวนยุ่งเหยิง นอกจากธรรมเป็นอารมณ์
อนั พา ใหแ้ สนสบายเทา่ นนั้

ฉะนนั้ ทา่ นผมู้  ีใจเปน็ เอการมณ์ คอื มธี รรมเปน็ อารมณเ์ พยี งอยา่ งเดยี วจึงเปน็  ใจที่แสนสบาย
และสว่าง ไสว ไม่มีอะ ไรมาปกปิดก�ำบัง ให้อับเฉาเมามัว เป็นผู้อยู่ตัวเปล่า ใจเปล่าจากอารมณ์

62

ชมสันติสุขด้วยธรรมชาติท่ีมีอยู่กับตัวอย่างสมบูรณ์ ไม่เกรงกลัวว่าจะมีการเปลี่ยนแปลงและ
ส้ิน ไปหมด ไป เพราะเป็นอกาลิกธรรมคือธรรมที่ปราศจากกาลสถานที่ มีอยู่กับ ใจท่ีปราศจาก
สมมุติเครือ่ งหลอกลวง พระอาจารยม์ ่นั ทา่ นด�ำเนนิ แบบสคุ  โต ไปเปน็ สุข อยูเ่ ป็นสขุ นง่ั เป็นสุข
ยนื เป็นสุข เดนิ เปน็ สขุ นอนเปน็ สขุ นำ� หม่คู ณะ โดยสคุ  โต แตบ่ รรดาลูกศิษย์ท่ีพยายามตาม
 ให้เป็น ไปตามความประสงค์ท่านรู้สึกว่ามีน้อย ในธรรมข้ันสูง แต่ก็ยังนับว่าเป็นประ โยชน์แก่
ประชาชนอย่มู าก

เวลาท่านพาออกบิณฑบาตเฉพาะองค์ท่านเองจะมีเรื่องสัตว์ชนิดต่าง ๆ มาเป็นอารมณ์
คูเ่ คยี งกบั ธรรมภาย ใน ใจ ให้แสดงออกทางวาจาพอผู้เดินตามหลงั ถัดท่าน ไดย้ ินชดั ถอ้ ยชดั คำ� อัน
เป็นเชิงสอนเรา ให้รู้วิบากกรรมว่า แม้สัตว์เดียรัจฉานก็ยังมีและเสวยกรรม ไปตามวิบากของมัน
โดยน�ำเรื่องของสัตว์นั้น ๆ ที่เดินผ่าน ไปพบเห็นเขาเท่ียวหากินอยู่ตามรายทางมาแสดง เพ่ือมิ ให้
ประมาทเขาว่าเป็นสัตว์ที่เกิด ในก�ำเนิดท่ีต�่ำทราม ความจริงเขาเพียงเสวยกรรมตามวาระที่เวียน
มาถึงเทา่ นั้น เชน่ เดยี วกบั มนษุ ย์เราเกิดเสวยชาติเปน็ คน ซงึ่ มีความสุขบา้ งทุกขบ์ ้างตามวาระของ
กรรมที่อำ� นวย ในเวลาตา่ ง ๆ กนั ฉะนนั้ ที่ทา่ นพร�่ำเรอื่ งของสตั วช์ นิดตา่ ง ๆ ม ีไก่ สนุ ขั ววั ควาย
เปน็ ตน้ เพราะความสงสารทเ่ี ขาตอ้ งมาเปน็ อยา่ งนนั้ หนง่ึ เพราะความตระหนกั ในกรรมของสตั ว์ว่า
มีต่าง ๆ กันหนึ่ง เพราะท่านและพวกเราที่ก�ำลังเป็นมนุษย์ก็มีกรรมชนิดหน่ึงที่พา ให้มาเป็นเช่นนี้
ซึ่งล้วนเคยผ่านก�ำเนิดต่าง ๆ มาจนนับ ไม่ถ้วนหนึ่ง เพราะความวิตกร�ำพึงกับส่ิงที่พา ให้เป็นภพ
เปน็ ชาตปิ ระจ�ำมวลสัตว์วา่ เปน็ สิ่งลึกลับมาก ยากที่จะรู้เหน็  ไดแ้ มม้ อี ยู่กบั ตัวทัว่ กนั ถา้  ไมฉ่ ลาดแก้
หรือถอดถอนออก ไดก้ ต็ อ้ งเปน็ ภัยอยรู่ �่ำ ไป ไมม่ ีจุดหมายปลายทางว่าจะหลดุ พน้  ไป ได ้ในกาลและ
สถานท ่ีใด ๆ หน่ึง

แทบทุกคร้ังท่ีออกบิณฑบาต ท่านจะน�ำเรื่องสัตว์หรือเร่ืองคนมาพร�่ำ ไปตามสายทาง 
ในลักษณะที่กล่าวมา ผู้สน ใจพิจารณาตามก็เกิดสติปัญญา ได้อุบายต่าง ๆ จากท่าน ผู้ ไม่สน ใจ
พิจารณาตามก ็ไมเ่ กิดประ โยชนแ์ ละยงั อาจคดิ  ไปวา่ ท่านพูดอะ ไรกบั สัตวก์ ับมนุษย์ซง่ึ เขาเหล่าน้นั  
ไม่มีทางทราบ ได้ เพราะทา่ นม ิไดพ้ ูดอยู่เฉพาะหน้าเขา ดงั นี้ก็อาจม ีได้

เทศน์สอนเทวดา

เวลาท่านพกั อยู่ภาคอสี านบางจังหวัด ขณะทา่ นแสดงธรรมอบรมพระตอนดึก ๆ หนอ่ ย ใน
บางคนื ซง่ึ เปน็ กรณีพเิ ศษ ทา่ นยงั สามารถทราบและมองเหน็ พวกรกุ ขเทวดาทพ่ี ากันมาแอบฟงั
ธรรมทา่ นอยู่ห่าง ๆ  เพราะพวกเทพ ฯ ทง้ั เบื้องบนเบือ้ งลา่ งมคี วามเคารพพระมาก ทา่ นเลา่ ว่า

63

เวลาพวกเทพ ฯ ชั้นบนลงมาจากช้ันต่าง ๆ มาฟังธรรมท่าน ในยามดึกสงัดจะ ไม่มาทางที่มีพระ
พกั อยู่ แต่จะมาตามทางท่ีวา่ งจากพระ และพร้อมกันทำ� ประทกั ษณิ สามรอบขณะท่ีมาถงึ แลว้
นัง่ อย่างเป็นระเบยี บเรยี บร้อย เสรจ็ แลว้ หัวหน้ากลา่ วค�ำรายงานตัวทีพ่ าพวกเทพ ฯ มาจากทีน่ ้นั  ๆ
ประสงค์อยากฟงั ธรรมน้ัน ๆ ทา่ นก็เรมิ่ ทักทายพอสมควรแล้วเร่ิมก�ำหนดจิต เพื่อธรรมท่สี มควร
จะแสดงแกช่ าวเทพ ฯ  จะผดุ ขน้ึ มา จากน้ันกเ็ รมิ่ แสดง ให้ชาวเทพ ฯ  ฟังจนเปน็ ทเ่ี ขา้  ใจจบแลว้
ชาวเทพ ฯ  พรอ้ มกนั สาธกุ ารสามครงั้ เสยี งลนั่  โลกธาตุ สำ� หรบั ผมู้ หี ทู พิ ย ์ไดย้ นิ ทวั่ กนั สว่ นหกู ระทะ
หหู ม้อตม้ หม้อแกงไม่มีทางทราบ ได้ตลอด ไป

พอจบการแสดงธรรมแล้ว ชาวเทพ ฯ พร้อมกันท�ำประทักษิณสามรอบแล้วลาท่านกลับ
อยา่ งมรี ะเบียบสวยงาม ผดิ กบั ชาวมนุษยเ์ ราอยมู่ าก แมผ้ ูเ้ ปน็ พระและเปน็ อาจารย์พวกชาวเทพ ฯ
ก็ ไมส่ ามารถทำ�  ได้อย่างสวยงามเหมือนเขา เพราะความหยาบความละเอยี ดแหง่ เคร่ืองมอื คอื กาย
ตา่ งกนั กบั เขามาก พอออก ไปพน้ เขตวดั หรือที่พักแล้วชาวเทพ ฯ  เหล่านน้ั พากันเหาะลอยขึ้นสู่
อากาศเหมือนปยุ นุน่ หรือสำ� ลเี หาะปลิวขน้ึ บนอากาศฉะน้ัน เวลาทีช่ าวเทพ ฯ มากเ็ ช่นกัน พากนั
เหาะลอยมาลงนอกบรเิ วณทพ่ี ักแลว้ เดนิ เขา้ มาดว้ ยความเคารพ อย่างมีระเบยี บสวยงามมาก และ
มิ ได้พูดคุยกันอึกทึกครึก โครมเหมือนชาวมนุษย์เราเข้า ไปหาอาจารย์ที่ถือว่าเป็นที่เคารพนับถือ
ทัง้ น้ี อาจเป็นเพราะพวกเทพ ฯ เปน็ กายทิพย์จะพูดอย่างมนษุ ย์จึงขดั ขอ้ ง ขอ้ นีพ้ วกเทพ ฯ ต้อง
ยอมแพ้มนุษยท์ พ่ี ดู เสยี งดงั กวา่ มนษุ ยจ์ ึง ได้เปรียบพวกเทพ ฯ ตรงน้ีเอง

พวกเทพ ฯ ขณะฟังเทศนม์ คี วามสำ� รวมดีมาก ไมส่ ่าย โนน้ ส่ายนี้ ไม่แสดงทิฏฐิมานะออก
มา ใหก้ ระทบจติ  ใจของผ้จู ะ ให้อรรถ ให้ธรรม ตามปรกติ ก่อนหน้าพวกเทพ ฯ จะมาฟังเทศน์ทา่ น
เคยทราบ ไว้กอ่ นเสมอ เช่น เขาจะมา ในราวทีส่ ดุ ของสองยามคอื ๖ ทุ่ม พอตกตอนเยน็ ทา่ นทราบ 
ไว้ก่อนแล้ว บางวันท่านคดิ วา่ จะมีการประชมุ พระตอนเย็นก็ต้องสง่ั งด ในคนื วันนั้น พอข้ึนจากทาง
จงกรมแล้วท่านเรม่ิ เข้าทีท่ ำ� สมาธิภาวนา พอจวนเวลาพวกเทพ ฯ จะมาถึงท่านเริม่ ถอยจิตออกมา
รออยขู่ ้นั อุปจารสมาธแิ ละส่งกระแสจติ ออก ไปดู ถา้ ยัง ไมเ่ หน็ มาท่านกเ็ ขา้ สมาธิอกี พักอย่พู อสมควร
แลว้ ถอยจติ ออกมาอีก บางครั้งพวกเทพ ฯ มาถึงก่อนแลว้ บางคร้งั กำ� ลงั หลง่ั  ไหลเขา้ มา ในบริเวณ
ทพ่ี ัก บางคร้ังท่านก็รอคอยอยูข่ นั้ อปุ จารสมาธนิ านพอสมควรจงึ เหน็ พวกเทพ ฯ มา

วัน ไหนทท่ี ราบว่าเขาจะมาดึก ๆ หน่อย ราวตี ๑ ตี ๒ หรอื ตี ๓ ก็มหี า่ ง ๆ วันเชน่ นน้ั
พอท�ำความเพยี รจนถึงเวลาพอสมควรแล้วท่านก็พักผอ่ นจำ� วดั ไปตื่นเอาตอนนั้นทเี ดียวแล้วเตรียม
ต้อนรบั แขกตามเวลาทีก่ ำ� หนด ไว้ พวกเทพ ฯ ทม่ี าฟงั เทศน์ทา่ นเวลาพกั อยทู่ างภาคอีสาน ไม่ค่อย

64

มมี าบอ่ ย ๆ และ ไม่มีมากนัก สว่ นรายทีม่ าแอบฟงั เทศนท์ า่ นอย่หู ่าง ๆ ขณะท่ีท่านกำ� ลังอบรมพระ
นัน้ พอทราบทา่ นกห็ ยุดการอบรม ในเวลาน้นั และสง่ั พระ ใหเ้ ลกิ ประชุม ส�ำหรับองค์ทา่ นกร็ บี เขา้
ที่ทำ� สมาธิภาวนาเพอื่ แสดงธรรม ให้ชาวเทพ ฯ ฟงั  ในลำ� ดบั ต่อ ไปจนจบ พอพวกเทพ ฯ กลับ ไปแล้ว
ท่านก็พักจ�ำวัดจนกว่าถึงเวลาอันควรก็ตื่นท�ำความเพียรต่อ ไปตามปรกติท่ีเคยท�ำมาเป็นประจ�ำ
การตอ้ นรับชาวเทพ ฯ เปน็ กิจของท่าน โดยเฉพาะ ไม่ ใหค้ ลาดเคลอื่ นเวลา ได้เลย เพราะเขามาตาม
กำ� หนดเวลา ค�ำสัตยเ์ ขาถอื เป็นสำ� คัญมาก แม้พระท�ำ ใหเ้ คลอ่ื น โดย ไม่มีความจ�ำเป็นเขาก็ตำ� หนิ
ตเิ ตยี น พวกเทพ ฯ เคารพหัวหน้ามาก คอยฟงั ค�ำสั่งและปฏบิ ัตติ ามดว้ ยความสน ใจ

พวกน้ี ไม่ว่าจะมาจากชน้ั บน หรือที่เป็นรุกขเทพ ฯ มาจากท่ีต่าง ๆ ต้องมีหัวหน้าเป็นผู้น�ำ
เสมอ การสนทนาระหว่างพวกเทพ ฯ กับพระ ใช้ภาษา ใจภาษาเดียวเท่านั้น ไม่มีหลายภาษา
เหมอื นมนษุ ยแ์ ละสตั วช์ นดิ ตา่ ง ๆ กนั เน้ือหาของ ใจทีค่ ิดขน้ึ เพอื่ ผู้ตอบนั้นเป็นค�ำถามของภาษา ใจท่ี
แสดงออกอย่างเตม็ เม็ดเต็มหนว่ ยแล้ว ผู้ตอบเข้า ใจ ไดช้ ัดเชน่ เดยี วกบั เราถามกันเปน็ ประ โยคดว้ ย
ค�ำพูดทางวาจา ประ โยคที่ผู้ตอบคิดข้ึนแต่ละประ โยคแต่ละค�ำเป็นเนื้อหาของภาษา ใจอย่างเต็ม
ที่แล้ว ผูถ้ ามเข้า ใจ ได้ชดั เจนเช่นเดยี วกนั ภาษาของ ใจยิงตรงตามความร้สู ึกทร่ี ะบายออกทเี ดียว
ไม่ต้องแยกแยะหรือขยายเน้ือความ ให้เด่นชัดเหมือน ใช้ค�ำพูดทางวาจาเป็นเครื่องมือของ ใจอีก
วาระหน่ึง ซ่งึ บางประ โยคความรู้สกึ ทาง ใจกบั คำ� พดู ทจี่ ะ ใช ้ให้เหมาะสม ไมค่ ่อยตรงกนั จึงท�ำ ให้
เสยี ความมงุ่ หมายอยูบ่ ่อย ๆ

ตราบ ใดท่ี ใช้วาจาเป็นส่ือแทน ใจอยู่ ความ ไม่สะดวกย่อมมีอยู่ตราบน้ัน แต่ก็เป็นเร่ือง
จ�ำเป็นท่ีคนเรา ไม่รู้ภาษา ใจของกนั และกัน จำ� ต้อง ใชว้ าจาเปน็ เครอ่ื งมอื ของ ใจอยู่ตลอด ไปอยา่ ง
แยก ไมอ่ อก ท้ัง ๆ ที ่ไมส่ ู้จะตรงกับความมงุ่ หมายของ ใจเท่า ไรนัก เพราะ โลกหากพานยิ ม ใช้กันมา
อย่างน้ี ไม่มที างแก้ ไข ให้เปน็ อยา่ งอน่ื ซึ่งดยี ่ิงกวา่ น ้ีได้ นอกจากจะรูภ้ าษา ใจกนั เท่านั้นสง่ิ ลีล้ ับ
ก็กลับเปิดเผยและยุติกัน ไปเอง ท่านพระอาจารย์ม่ันท่านเชี่ยวชาญทางนี้มาก เครื่องมือท่าน
ก็มีพร้อม ในการฝึกฝนอบรมคน ให้เป็นคนดี ส่วนพวกเราแม้แต่จะคิดขึ้นมา ใช้เฉพาะตัวยังต้อง
เท่ียวหาหยบิ ยืมจากผอู้ ่นื คือเท่ยี วศกึ ษาอบรมจากครอู าจารย ์ในท่ตี า่ ง ๆ อยเู่ ปน็ ประจำ� แมเ้ ชน่ น้นั
กย็ ังหลดุ  ไมห้ ลดุ มอื  ไป ได้ รกั ษา ไว ้ไม่อยู่ คือฟังจากทา่ นแล้วก็หลงลมื  ไปแทบ ไม่มีอะ ไรเหลอื ตดิ ตวั
แต่สิ่งท่ี ไม่ดีอันมีอยู่ดั้งเดิมคือความผิดพลาดขาดสติปัญญาความระลึกรู้ ไตร่ตรอง ไม่ยอมหลงลืม
และตก ไปคงยงั สมบูรณอ์ ยูต่ ลอด ไป ฉะน้ัน จงึ มแี ตค่ วามผิดหวัง คือนงั่ อยูก่ ผ็ ดิ หวัง เดนิ  ไปก็
ผดิ หวัง ยืนอย่กู ็ผิดหวัง นอนอยูก่ ผ็ ดิ หวัง อะ ไร ๆ มแี ตค่ วามผิดหวังเพราะขาดคุณธรรมดงั กลา่ ว
ทจ่ี ะท�ำ ให้มหี วงั  ในสิ่งท่พี ึง ใจทง้ั หลาย

65

ท่านเมตตาช่วยชาวบ้านหายจากโรคฝีดาษ

ปฏปิ ทาเครือ่ งดำ� เนนิ และการอบรมสัง่ สอน ทา่ นพระอาจารย์มนั่ รสู้ กึ ว่าราบรน่ื สม่�ำเสมอ
ไม่ค่อยมเี รอื่ งกระเทือนฝงั่ ดังทเี่ คยปรากฏมา ทา่ น ไปที่ ไหนชมุ่ เย็นราบเรยี บ ในท่นี นั้ พระ – เณร
มีความเคารพเล่ือม ใสศรัทธา ญาติ โยมพอทราบข่าวว่าท่าน ไปที่ ไหนต่างมีความยิ้มแย้มแจ่ม ใส
พากันหลั่ง ไหล ไปกราบ ไหว้บูชาด้วยความเคารพเลื่อม ใสอย่างฝังจิตฝัง ใจ ไม่มีเวลาจืดจางตลอดมา
ดังชาวบ้านถ�้ำ ท่ีท่าแขก ฝั่งแม่น�้ำ โขงแห่งประเทศลาว ซึ่งเป็นหมู่บ้านที่ท่านพระอาจารย์มั่น
พระอาจารย์เสาร์เคย ไปพัก ก่อนหนา้ ทีท่ ่าน ไปเล็กน้อยชาวบา้ นน้นั เกดิ  โรคฝีดาษกันเกือบท้งั บ้าน
พอเหน็ ท่าน ไปเขาดีอกด ีใจกันมากแทบตัวลอย พรอ้ มกันวง่ิ ออกมาตอ้ นรบั และวงิ วอนขอ ใหท้ า่ น
เปน็ ทีพ่ ่งึ ทา่ นก ็ให้เขาพากันมารบั พระ ไตรสรณาคมน์ คอื ถอื พระพทุ ธ พระธรรม พระสงฆ์
เปน็ สรณะแทนถอื ผี เพราะแตก่ อ่ นเขาพากันนับถือผีกนั ทั้งบา้ น ท่านแนะนำ� วิธปี ฏบิ ัต ิให้เขา เชน่
ตอนเชา้ ตอนเย็นเวลาจะหลับนอน ใหพ้ ากนั  ไหวพ้ ระสวดมนตก์ อ่ น และ ใหพ้ ากนั ท�ำวัตรสวดมนต์
ทุก ๆ เช้า – เย็น เขากท็ �ำตาม ส่วนทา่ นเองก็ทำ� พธิ ีอะ ไร ๆ อนั เป็นการภาย ในชว่ ยเขา

เป็นที่น่าประหลาดและอัศจรรย์ทันตาเห็น คนที่ล้มตายกันวันละหลาย ๆ ศพเรื่อยมา
เพราะ โรคนั้น กลบั  ไม่ม ีใครตายอกี เลยนับแตว่ ันนัน้ เปน็ ตน้ มา แม้ท่ีก�ำลงั เป็นกนั อยูก่ ก็ ลบั หาย ไป
อย่างรวดเร็ว และ ไม่มีการก�ำเริบอีกต่อ ไปราวกับปาฏิหาริย์ ชาวบ้านเกิดความอัศจรรย์ ไม่เคย
เหน็ และ ไมค่ าดฝนั ว่าจะเปน็  ได้ถงึ เพียงนนั้ ยงิ่ เกดิ ความเชอ่ื เลอ่ื ม ใสกนั ทงั้ บา้ นตลอดลกู หลานตดิ ตอ่
สืบเนื่องกันมากระทั่งทุกวันน้ี แม้พระท่ีเป็นสมภารองค์ปัจจุบันประจ�ำหมู่บ้านน้ันก็เกิดศรัทธา
เคารพเลื่อม ใสท่านพระอาจารย์ท้ังสองมากมาจนบัดนี้ พูดถึงท่านพระอาจารย์ท้ังสองที ไรต้อง
ยกมือ ไหว้ก่อนแลว้ คอ่ ยพูดเรอ่ื งของท่านพระอาจารยท์ ั้งสองต่อ ไป ท่ีเปน็ ทั้งนี้กเ็ พราะอำ� นาจธรรม 
ใน ใจท่านแผ่กระจายออก ไป ให้เปน็ ความสุขเย็น ใจแก่ โลก

ทา่ นเล่าว่า ท่านแผเ่ มตตา ใหญ ่ในรอบ ๒๔ ช่ัว โมงตอ่ ๓ ครง้ั คอื เวลากลางวนั ตอนบา่ ย
ขณะน่งั ภาวนาหนึง่ ครัง้ ตอนกอ่ นนอนหน่งึ ครั้ง ตอนตื่นนอนหน่งึ ครั้ง สว่ นการแผเ่ มตตาปลีกย่อย
ประจ�ำนิสัยนั้นมิ ได้นับอ่านว่าวันหน่ึงก่ีสิบครั้ง ท่านแผ่เมตตา ใหญ่ท่านว่าก�ำหนดจิต ให้ด�ำรงตัว
อยูเ่ ฉพาะแล้วกำ� หนดกระแส ใจ ใหแ้ ผ่ซ่านออก ไปทั่ว โลกธาตุเบ้ืองบน เบ้อื งลา่ ง ทั่วทุกทศิ ทกุ ทาง
ไมม่ วี า่ งเวน้ ปรากฏว่าจติ  ในขณะน้ันมอี ำ� นาจแผ่รศั มแี ละแสงสวา่ งออก ไปท่วั พิภพ ไมม่ ีที่ส้ินสุด
และ ไม่มีอะ ไรมาปิดบัง ได้เลย ยิ่งกว่าแสงพระอาทิตย์กี่ร้อยกี่พันดวงเป็น ไหน ๆ และ ไม่มีอะ ไร
จะทรงแสงสว่างเสมอด้วย ใจที่ ได้ช�ำระอย่างเต็มภูมิแล้ว คุณสมบัติซึ่งแสดงออกจากจิตท่ีบริสุทธ์ิ

66

สิน้ เชงิ แล้ว ย่อมทำ�  ให ้โลกสว่างและมคี วามร่มเยน็ อยา่ งอัศจรรยท์ ี่บอก ไมถ่ ูก เพราะ ไมม่ ีพิษสง
แม้นอ้ ยเจอื ปนอยู่ มีแตค่ ุณธรรมคือความเยน็ ล้วน ๆ ดำ� รงอย่ ูในดวง ใจ ท่านผมู้ เี มตตาจติ และมี ใจ
บรสิ ทุ ธ์สิ ะอาด ไปอยู่ ณ ที ่ใด มนุษยเ์ ทวดาอารักษย์ อ่ มเคารพเลอ่ื ม ใส ตลอดสัตว์เดียรจั ฉานก ็ไม่
ระเวียงระวังว่าจะเป็นภัยต่อเขา เพราะจิตท่านอ่อนน่ิม ไปทั้งดวงด้วยเมตตาที่มีอยู่ประจ�ำตลอด
เวลา ไมน่ ยิ มกาลสถานที่บคุ คลและกำ� เนดิ สูงตำ่� เหมือนฝนตกลงสพู่ ื้นพภิ พ ไมน่ ิยมว่าสถานทส่ี งู ตำ่�
ประการ ใดฉะนนั้

คราวท่านกลบั มาจากอบุ ล ฯ  ทแี รกทา่ นมาจำ� พรรษาที่บา้ นหนองลาด อ�ำเภอวารชิ ภูมิ
จังหวดั สกลนคร มพี ระเณรตดิ ตามมาศกึ ษาปฏบิ ัตดิ ้วยเปน็ จำ� นวนมากมาย ประชาชนหญิง – ชาย
พากันตน่ื เตน้ มากประหนง่ึ ทา่ นผู้มบี ุญมาเกิด แตม่ ิ ไดต้ ่นื เตน้ แบบมงคลต่นื ข่าว หากแตต่ ื่นเต้น
เพือ่ ละชว่ั ท�ำดี ละการนบั ถอื ผ ีไหว้เจ้า กราบพระพุทธเจ้า พระธรรม พระสงฆ์แทนเทา่ นั้น พอ
ออกพรรษาแล้วท่านออกเทย่ี วธุดงค ์ไปเรือ่ ย ๆ มาทางจังหวดั อดุ รธานี ไปอ�ำเภอหนองบัวลำ� ภบู า้ ง
อ�ำเภอบ้านผอื และจำ� พรรษาท่ีบา้ นค้อบ้าง ไปอ�ำเภอท่าบอ่ จ�ำพรรษาท่ีนน้ั  ในเขตจงั หวัดหนองคาย
บ้าง พักอย่สู องจังหวดั นน้ี านพอควร สถานทท่ี ี่ท่านพักบำ� เพญ็  โดยมากมีแตป่ ่าแตเ่ ขาดงั กลา่ วแล้ว
หม่บู ้านกม็ ีอยูห่ า่ ง ๆ กัน ในสมยั  โนน้  ไม่แออดั ด้วยผู้คนและบ้านเรอื นเหมอื นสมัยน้ี การอบรม
สั่งสอนก็ง่าย ป่ากเ็ ป็นป่าจรงิ  ๆ เต็ม ไปด้วยหม ู่ไม้ ใหญ่ ๆ สูง ไม่มี ใครท�ำลาย สัตว์ป่าก็ชกุ ชุม

พอตกกลางคืน ได้ยินแต่เสียงสัตว์ชนิดต่าง ๆ ร้อง ไปตามภาษาของเขา ฟังแล้วท�ำ ให้
เพลดิ เพลนิ  ไปตามดว้ ยความเมตตาและสนิทสนม เพราะเสยี งสัตว ์ไมค่ ่อยเปน็ ขา้ ศกึ ต่อการบ�ำเพ็ญ
สมณธรรมผดิ กับเสียงมนุษย์อยู่มาก ท่านวา่ ทัง้ นอี้ าจเปน็ เพราะเรา ไม่เข้า ใจความหมายของเสยี ง
ก็เป็น ได้ ส่วนเสียงมนุษย์ ไม่ว่าจะพูดสนทนากันธรรมดา ไม่ว่าจะขับร�ำท�ำเพลงกัน ไม่ว่า
จะทะเลาะวิวาทกัน ไม่ว่าจะแสดงความสนุกร่ืนเริงกัน เพียงแต่เร่ิมแสดงออก ก็เร่ิมเข้า ใจ
ความหมาย ไปตามทุก ๆ ค�ำและทกุ  ๆ ระยะ จงึ ท�ำ ให้ ไม่คอ่ ยสะดวกนกั  ในเวลามเี สยี งคนมากระทบ
ขณะท�ำสมาธิภาวนา ย่ิงเป็นเสียงอิตฺถีสทฺ โทด้วยแล้วก็ยิ่งเพ่ิมความทิ่มแทงมากข้ึน ถ้าสมาธิ
 ไม่ดีพอมีหวงั ลม้ ละลาย ได้อยา่ งงา่ ยดาย

แตต่ อ้ งขออภยั จากทา่ นเจา้ ของเสยี งนม้ี าก ๆ ทเ่ี ขยี นนมี้  ิไดม้ งุ่ เพอื่ จะตำ� หนทิ า่ นผเู้ ปน็ เจา้ ของ
เสียงแต่อย่าง ใด แต่เขียน ไปตามความ ไม่เป็นท่าของนักภาวนาต่างหาก เพ่ือจะ ได้สติฮึดสู้บ้าง
พอมีทางเอาตัวรอด ได้ ไม่หมอบยอมแพ้ราบอยู่ท่าเดียว ที่ท่านชอบพักอยู่ ในป่า ในเขา อาจมี
ส่วนเก่ียวข้องกบั เรอ่ื งท�ำนองนีอ้ ยบู่ า้ ง เพอ่ื หลบภัยและเพื่อบ�ำเพญ็ คุณงามความด ีให้ยิ่ง ๆ ขึน้  ไป

67

ไม่ล่าถอย จนถึงท่ีสุดอันเป็นจุดหมายปลายทางของผู้ประพฤติพรหมจรรย์เพ่ือธรรมข้ันน้ัน ท่าน
พระอาจารย์มั่นท่านชอบอยู่ ในป่า ในเขาตลอดมาจนถึงวันมรณภาพ จึง ได้ธรรมอันเป็นขวัญ ใจ
มาฝากพวกเราอย่างภูมิ ใจ

อุบายวิธีภาวนา

ทา่ นเลา่ วา่ เวลาท่านก�ำลงั บำ� เพ็ญ ถ้าเป็น โรคก็เปน็ ประเภทชวี ติ  ไม่ยังเหลือค้าง โลก ให้
 ใคร ๆ ไ ดเ้ หน็ ตอ่  ไป เพราะมแี ตก่ ารฝึกการทรมานทงั้ กายท้ัง ใจตลอด ไป ไมม่ วี นั จะ ได้ลืมตาอ้าปาก
พูดอย่างสนุกรน่ื เริงเหมือนท่านผู้อื่นบ้างเลย เพราะกเิ ลสกับ ใจมัน ไวตอ่ การตดิ พันกันจนมอง ไมท่ ัน
เผลอตัวบ้าง ไม่ ได้เลยเป็น ได้เร่ืองทันที แต่พอมันติดพัน ใจ ได้แล้วแก้หรือถอน ไม่ยอมออกอย่าง
งา่ ย ๆ มแี ต่จะพัน ใหแ้ นน่ เข้าทกุ ที อนั น้ีแลทีท่ �ำ ใหเ้ ผลอตวั  ไม่ ได้ ต้องจ้องตอ้ งมองตอ้ งคอยจองจ�ำ
ท�ำ โทษมันอยเู่ สมอ ไมย่ อม ใหม้ ีกำ� ลังข้ึนมา ได้ เดย๋ี วมนั มัดเราเข้าอกี มีหวงั จอดจมแน่ ทำ� ถงึ
ขนาดน้ันจึงพอมีความสุขและลืมตา ได้บ้างเท่านั้น พอมีก�ำลัง ใจบ้างและ ได้รับความสะดวกกาย
สบาย ใจก็ ได้วกมาส่ังสอนหมู่เพื่อน ต่อจากน้ันหมู่เพ่ือนทั้งพระ ทั้งเณร ท้ังฆราวาส ไม่ทราบมา
จาก ไหน ทางน้ันกม็ า ทางนก้ี ม็ า มา ไมห่ ยุดและมาทุกทศิ ทกุ ทาง บางครัง้ จน ไมม่ ีที่พกั เพียงพอกัน
เพราะมามากต่อมาก ท้งั นา่ สงสารท้ังน่าเหน็  ใจทา่ นว่า

บางครั้งก็ท�ำ ให้วิตกกับผู้อ่ืนเก่ียวกับความปลอดภัยซึ่งมีผู้หญิงและชีนุ่งขาว ไปเย่ียม เชน่
คราวพักอย ู่ในถ้�ำบา้ นนาหมนี ายูง* อ�ำเภอบ้านผอื จงั หวดั อุดรธานี สมัยน้ันคนมีน้อยและสตั ว์
เสอื ก็ชุกชมุ มาก ถ�้ำและบริเวณท่ที ่านพักอยู่ เสอื  โครง่  ใหญซ่ ่งึ มอี ยหู่ ลายตัว ในแถวน้ันเคยเขา้ มา
บริเวณนั้นเสมอ ไมเ่ ป็นท ี่ไว ้ใจ ในชีวิตของผู้ ไปเยยี่ มท่านและคา้ งคืนท่นี ั้น เวลาเขา ไปเยี่ยมท่าน
ต้องส่ัง ให้ชาวบ้านหา ไม้มาท�ำห้างสูง ๆ จนพ้นจากปากเสือที่จะ โดดข้ึน ไปถึงคนที่หลับนอนอยู่
บนห้างน้ัน เวลาค่�ำคืนท่านห้าม ไม่ ให้ลงมาพ้ืนดินกลัวเสือจะ โดดคาบเอา ไปกิน แม้ปวดหนัก
ปวดเบาก็ ใหเ้ ตรยี มหาภาชนะข้นึ  ไป ไวข้ า้ งบนด้วยเพอื่ สะดวกแกก่ ารขับถ่าย ในเวลาคำ�่ คนื เพราะ
แถวน้นั เสือชมุ มากและดรุ า้ ยด้วย ผู้ท ี่ไปเยย่ี มท่าน ไม ่ใหพ้ กั อย่หู ลายวนั ต้องรีบพากนั กลบั เสอื
แถบน้ัน ไม่ค่อยกลัวคนนัก ยิ่งเป็นผู้หญิงด้วยแล้วมันยิ่ง ไม่กลัวเอาเลย หากพอท�ำอันตราย ได้
มันอาจท�ำ แม้ชาวบ้านก็พูดเหมือนกันว่าเสือพวกน้ี ไม่ค่อยจะกลัวคนนัก บางคร้ังเวลากลางคืน
ท่านกำ� ลงั เดนิ จงกรมอยู่ โดยจุดเทยี น ไข ใส่ โคม ไฟแขวน ไว้ทีท่ างจงกรม ยังเหน็ เสือ โครง่  ใหญ่เดิน
ตามหลงั ฝงู ควายท่ีพากันเดนิ ผ่านมาที่พักทา่ นอยา่ งองอาจ ไม่กลัวท่านซ่งึ กำ� ลงั เดนิ จงกรมอยูบ่ ้าง
เลย ฝงู ควายท่ถี กู เสือรบกวนมากตอ้ งพากนั กลับเข้าบ้าน เสอื ยงั กล้าเดินตามหลงั ฝูงควายมา ได้

* ปัจจุบันข้ึนกับอ�ำเภอนายูง จังหวัดอุดรธานี

68

ต่อหน้าต่อตาพระซึ่งก็เป็นคนผู้หน่ึงอยู่ที่นั้น พระที่ ไปศึกษาอบรมกับท่านต้องเป็นพระท่ีเตรียม
พร้อมทุกอย่างแล้ว ทั้งความสละเป็นสละตายต่อการประกอบความพากเพียร ในสถานท่ีต่าง ๆ
ซง่ึ  ไมเ่ ปน็ ท่ีแน่ ใจ และอาจมีภัยรอบดา้ น ท้ังสละทฏิ ฐิมานะความถือตวั วา่ มีราคาค่างวดซง่ึ อวดรู้
อวดฉลาดอยู่ภาย ใน และสละทิฏฐิมานะต่อหม่ตู อ่ คณะประหนง่ึ เป็นอวัยวะอันเดยี วกัน จติ  ใจถึง
จะมคี วามสงบสขุ การประกอบความเพียรก็มเี กิดสมาธิ ไดเ้ ร็ว ไมม่ นี วิ รณ์มาขัดขวางถ่วง ใจ

ใจที่ถูกบังคับ ให้อยู่ ในวงจ�ำกัด เช่น สถานที่กลัว ๆ อาหารมีน้อย ฝืดเคืองด้วยปัจจัย
สตกิ �ำกับ ใจไม่ลดละ คิดอา่ นเรอ่ื งอะ ไรมีสติคอยสะกิดบังคับอยู่เสมอ ย่อมเขา้ สู่ความสงบ ไดเ้ ร็ว
กว่าเท่าที่ควรจะเป็น เพราะข้างนอกก็มีภัย ข้าง ในก็มีสติคอยบังคับขู่เข็ญ จิตซ่ึงเปรียบเหมือน
นกั  โทษกย็ อมตวั  ไมค่ กึ คะนอง นอกจากนนั้ ยงั มอี าจารยค์ อย ใสป่ ญั หาเวลาจติ คดิ ออกนอกลนู่ อกทาง
อีกดว้ ย จติ ซงึ่ ถูกบังคบั ดว้ ยเครื่องทรมานอยู่ตลอดเวลาทั้งข้างนอกขา้ ง ในย่อมกลายเปน็ จิตทด่ี ีขน้ึ  
ไดอ้ ย่างไม่คาดฝัน คือกลางคืนซ่ึงเป็นเวลากลัว ๆ เจ้าของก็บังคับ ให้ออกเดินจงกรมแข่งกับความ
กลัว ทาง ไหนจะแพจ้ ะชนะ ถ้าความกลวั แพ้ ใจกเ็ กดิ ความอาจหาญขนึ้ มาและรวมสงบลง ได้ ถา้  
ใจแพ้ส่ิงท่ีแสดงข้ึนมา ในเวลานั้นก็คือความกลัวอย่างหนักน่ันเอง ฤทธิ์ของความกลัวคือทั้งหนาว
ทัง้ ร้อนทง้ั จะปวดหนักปวดเบา ทง้ั เหมือนจะเป็น ไขห้ าย ใจ ไมส่ ะดวกแบบคนจะตายเราด ี ๆ นีเ่ อง

เคร่อื งสง่ เสรมิ ความกลัวคือเสยี งเสอื กระหึม่  ๆ อยู่ตามชายเขาบา้ ง ไหล่เขาบา้ ง หลังเขา
บา้ ง พน้ื ราบบา้ ง จะกระหึม่ อยู่ท่ ีไหนทิศ ใดก็ตาม ใจจะ ไม่คำ� นึงทศิ ทางเลย แต่จะค�ำนงึ
อย่างเดียวว่าเสือจะมากินพระองค์เดียวท่ีก�ำลังเดินจงกรมด้วยความกลัวตัวสั่น ไม่เป็นท่าอยู่น้ี
เท่านน้ั แผ่นดินกว้าง ใหญข่ นาด ไหน ไม่ ไดน้ ึกว่าเสือเป็นสตั วม์ ีเทา้ จะเทีย่ ว ไปทีอ่ ่ืน ๆ แตค่ ิดอยา่ ง
เดียวว่าเสือจะตรงมาที่ที่มีบริเวณแคบ ๆ เล็ก ๆ นิดเดียว ซึ่งพระขี้ขลาดก�ำลังเดินวุ่นวายอยู่ด้วย
ความกลัวนี้แหง่ เดียว การภาวนาไมท่ ราบว่า ไปถึง ไหน มิ ได้คิดค�ำนงึ เพราะลมื  ไปหมด ที่จดจอ่
ทีส่ ดุ ก็คือคำ� บริกรรม โดย ไม่รู้สึกตวั ว่า ไดบ้ ริกรรมวา่ เสอื จะมาทน่ี ี่ เสือจะมาที่น่ี อยา่ งเดียวเท่าน้ัน
จิตก็ย่ิงก�ำเริบด้วยความกลัวเพราะการส่งเสริมด้วยค�ำบริกรรมแบบ โลกแตก ธรรมก็เตรียมจะ
แตกหากบังเอิญเสือเกิดหลงป่าเดินเปะปะมาท่ีน้ันจริง ๆ ลักษณะน้ีอย่างน้อยก็ยืนตัวแข็ง ไม่มีสติ
มากกว่านัน้ เปน็ อะ ไร ไปเลย ไมม่ ที างแก้ ไข

น่ีคือการตั้งจิต ไว้ผิดธรรม ผลจะแสดงความเสียหายขึ้นมาตามขนาดท่ีผู้นั้นพา ให้เป็น ไป
ทางที่ถูกท่านสอน ให้ตั้งหลัก ใจ ไว้กับธรรมจะเป็นมรณานุสสติหรือธรรมบท ใดบทหน่ึง ในขณะน้ัน
 ไม่ ให้ส่งจิตปรุงออก ไปน�ำเอาอารมณ์ที่เป็นภัยเข้ามาหลอกตัวเอง เป็นกับตายก็ต้ังจิต ไว้กับธรรม

69

ทีเ่ คยบริกรรมอยเู่ ท่านัน้ จติ เม่ือมีธรรมเปน็ เครอ่ื งยึดจะ ไมเ่ สียหลกั และจะต้ังตวั  ได้ ในขณะที่
ทง้ั กลวั  ๆ น่นั แล จะกลายเปน็ จิตทอ่ี าจหาญขน้ึ มา ในขณะน้นั อยา่ งอศั จรรย์ทบี่ อก ไม่ถูก

ท่านพระอาจารย์ม่ันท่านสอน ให้ตั้งหลักด้วยความเสียสละทุกสิ่งบรรดามีอยู่กับตัวคือ
ร่างกายจติ  ใจ แตม่ ิ ใหส้ ละธรรมทตี่ นปฏิบัติหรือบริกรรมอย ู่ในขณะน้นั จะเป็นอะ ไรกป็ ล่อย ให้เปน็  
ไปตามคติธรรมดา เกิดแล้วต้องตาย จะเปน็ คนขวาง โลก ไม่ยอมตาย ไม ่ได้ ผิดคติธรรมดา ไมม่ ี
ความจรงิ  ใด ๆ มาชมเชยคนผู้มคี วามคิดขวาง โลกเชน่ นั้น ทา่ นสอน ให้เดด็ เดย่ี วอาจหาญ ไม่ ให้
สะทกสะท้านตอ่ ความตาย เกย่ี วกบั สถานทท่ี ่ีจะ ไปบำ� เพ็ญเพอื่ หาความด ีใสต่ ัว ดงหนาป่ารกชฏั มี
สตั วเ์ สอื ชมุ เทา่  ไรยงิ่ สอน ให ้ไปอยู่ โดย ใหเ้ หตผุ ลวา่ ทน่ี น้ั แลจะ ไดก้ ำ� ลงั  ใจทางสมาธปิ ญั ญา เสอื จะ ได้
ช่วย ให้ธรรมเกิด ใน ใจ ได้บา้ ง เพราะคนเราเมือ่  ไม่กลวั พระพทุ ธเจา้ ไม่เชอื่ พระพทุ ธเจา้ แต่กลัว
เสือและเชื่อเสือว่าเป็นสัตว์ดุร้ายจะมาคาบเอา ไปเป็นอาหารและช่วย ไล่ตะล่อมจิตเข้าสู่ธรรม ให้
กย็ งั ดี จะ ไดก้ ลวั และตงั้  ใจภาวนาจนเหน็ ธรรม เม่อื เห็นธรรมแลว้ ก็เชือ่ พระพุทธเจา้ และเชือ่
พระธรรม ไปเอง เมอ่ื เขา้ สูท่ ่คี บั ขันแล้วจิต ไม่เคยเป็นสมาธกิ ็จะเป็น ไมเ่ คยเป็นปัญญากจ็ ะเป็น
ในทีเ่ ช่นน้นั แล

ใจไม่มีอะ ไรบังคับบ้างมันข้ีเกียจและต้ังหน้าสั่งสมแต่กิเลสพอกพูน ใจแทบจะหาบหาม ไป
 ไม ่ไหว ไปใหเ้ สอื ชว่ ยหาบขนกิเลสตวั ข้ีเกียจตัวเพลดิ เพลนิ จนลืมตวั ลืมตายออกเสียบ้างจะ ไดห้ าย
เมาและเบาลง ยืนเดินน่งั นอนจะ ไมพ่ ะรุงพะรงั  ไปดว้ ยกเิ ลสประเภท ไม่เคยลงจากบนบ่าคอื หัว ใจ
คน ที่ ใดกิเลสกลวั ท่านสอน ให้ ไปท่นี ั้น แตท่ ่ีทก่ี เิ ลส ไมก่ ลัวอยา่  ไป เดย๋ี วเกิดเรอื่ ง ไม ่ไดค้ วามแปลก
และอศั จรรยอ์ ะ ไรเลย นอกจากกิเลสจะพาสรา้ งความฉบิ หาย ใสต่ วั จนมอง ไม่เหน็ บญุ บาปเท่าน้นั
ไมม่ ีอะ ไรนา่ ชมเชย ท่าน ให้ความมั่น ใจแกน่ ักปฏิบัติว่า สถานที่ท่ ีไมม่ ีส่งิ บังคบั บา้ งทำ� ความเพียร
 ไม่ดี จิตลงสคู่ วามสงบ ได้ยาก แตส่ ถานทท่ี ่ีเต็ม ไปด้วยความระเวยี งระวังภยั ทำ� ความเพียร ได้
ผลดี ใจก ็ไม่ค่อยปราศจากสติซึง่ เป็นทางเดินของความเพยี รอยู ่ในตัวอยแู่ ลว้ ผูห้ วงั ความพน้ ทกุ ข์
โดยชอบจึง ไมค่ วรกลวั ความตาย ในที่ทีน่ า่ กลวั ม ีในปา่  ในเขาท่ีเขา้  ใจวา่ เป็นสถานท่ีนา่ กลวั เปน็ ต้น

เวลาเข้าสู่ท่ีคับขันจริง ๆ ขอ ให้ ใจอยู่กับธรรม ไม่ส่งออกนอกกายนอก ใจซึ่งเป็นที่สถิตอยู่
ของธรรม ความปลอดภยั และก�ำลัง ใจทกุ ด้านท่จี ะพึง ได ้ในเวลานั้นจะเป็นสิ่งท่ียอมรบั กนั  ไป ในตวั
อย่าง ไรก็ ไม่ตายถา้  ไมถ่ ึงกาลตามกรรมนยิ ม แทนทจ่ี ะตายดงั ความคาดหมายทด่ี ้นเดา ไว้ท่านเคย
ว่าท่าน ไดก้ ำ� ลงั  ใจ ในที่เช่นนัน้ แทบทั้งนนั้ จงึ ชอบสง่ั สอนหมูเ่ พือ่ น ให้มี ใจมุง่ มัน่ ต่อธรรม ในทีค่ บั ขัน
จะสมหวัง ใน ไมช่ า้ เลย แทนท่จี ะทำ�  ไปแบบเสย่ี งวาสนาบารมอี ันเป็นเร่ืองเหลว ไหลหลอกลวงตน

70

มากกว่าจะเป็นความจริง เพราะความคิดเช่นนั้นส่วนมากมักจะออกมาจากความอ่อนแอท้อถอย
จึงมักเป็นความคิดที่กดถ่วงลวง ใจมากกว่าจะช่วยเสริม ให้ดีและเพิ่มพูนก�ำลังสติปัญญา ให้ย่ิง ๆ ข้ึน
ธรรมที่ ให้ความม่ันใจแก่นักปฏิบัติเพ่ือถือเป็นหลักประกันชีวิตและความเพียร คือพึงหวังพึ่งเป็น
และพงึ่ ตายต่อธรรมจริง ๆ อยา่ ฟัน่ เฟือนหว่นั  ไหว โดยประการทงั้ ปวงหนึ่ง พึงเปน็ ผ้กู ลา้ ตายด้วย
ความเพียร ในท่ีท่ตี นเหน็ ว่าน่ากลวั นัน้  ๆ หนงึ่

เม่ือเข้าสู่ที่จ�ำเป็นและคับขันเท่า ไร พึงเป็นผู้มีสติก�ำกับ ใจ ให้ม่ัน ในธรรม มีค�ำบริกรรม
เป็นตน้ ใหก้ ลมกลนื กันทุกระยะ อย่าปล่อยวาง แม้ช้าง เสอื งู เป็นต้น จะมาท�ำลาย ถา้ จติ สละ
เพื่อธรรมจริงอยู่แล้วสิ่งเหล่าน้ันจะ ไม่กล้าเข้าถึงตัว มิหน�ำเรายังจะกล้าเดินเข้า ไปหามัน ด้วย
ความองอาจกล้าหาญ ไม่กลัวตาย แทนที่มันจะท�ำอันตรายเรา แต่ ใจเรากลับจะเป็นมิตรอย่าง
ลึกลบั อย่ภู าย ในกบั มันอีกด้วย โดย ไมเ่ ปน็ อนั ตรายหน่ึง ใจเรามธี รรมประจ�ำ แต่ ใจสัตว ์ไมม่ ธี รรม
ใจเราต้องมีอ�ำนาจเหนือกว่าสัตว์เป็น ไหน ๆ แม้สัตว์จะ ไม่ทราบ ได้ว่ามีธรรม แต่สิ่งท่ีท�ำ ให้สัตว์ ไม่
กล้าอาจเอื้อมมีอย่กู บั  ใจเราอย่างลึกลบั น่นั แลคือธรรมเครอื่ งป้องกันหรือธรรมเคร่ืองทรงอำ� นาจ 
ให้สัตว ์ใจอ่อน ไมก่ ลา้ ทำ� อะ ไร ไดห้ นง่ึ อ�ำนาจของจติ เป็นอ�ำนาจท่ีลึกลับและรู้อยู่เฉพาะตวั แต่ผูอ้ น่ื
ทราบ ได้ยากหาก ไม่มญี าณภาย ในหน่ึง

ฉะนัน้ ธรรมแมจ้ ะเรียนและประกาศสอนกนั ท่ัว โลกกย็ งั เปน็ ธรรมชาตทิ ี่ลกึ ลับอยูน่ ่นั เอง
ถ้า ใจยังเข้า ไม่ถึงธรรมชาติเป็นขั้น ๆ ท่ีควรจะเปิดเผยกับ ใจเป็นระยะ ๆ ไป เมื่อเข้าถึงกันจริง ๆ
แล้วปัญหาระหว่าง ใจกบั ธรรมกส็ ้ินสุดลงเอง เพราะ ใจกับธรรมมีความละเอียดสขุ ุมและลลี้ ับพอ ๆ
กัน เม่ือถึงข้ันน้ีแล้วแม้จะพูดว่า ใจคือธรรมและธรรมคือ ใจก็ ไม่ผิด และ ไม่มีอะ ไรมาขัดแย้งถ้า
กิเลสตัวเคยขัดแย้งส้ิน ไป ไม่มีเหลือแล้ว เท่าท่ี ใจกลายเป็นเครื่องมือของกิเลสตัณหาจนมองหา
คุณค่า ไม่เจอน้ันก็เพราะ ใจถูกสิ่งดังกล่าวคละเคล้ากลุ้มรุมจนเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน จึงดูเหมือน 
ไม่มีคุณค่าอะ ไรแฝงอยู่เลย ในระยะนน้ั ถา้ ปลอ่ ย ให้เป็นทำ� นองนั้นเร่ือย ไป ไมส่ น ใจรักษาและชำ� ระ
แก้ ไข ใจก็ ไม่มีคุณค่า ธรรมก็ ไม่มีราคาส�ำหรับตน แม้จะตายแล้วเกิดและเกิดแล้วตายสักก่ีร้อย
กี่พันคร้ังก็เป็นท�ำนองเขาเปลี่ยนชุดเสื้อผ้าซึ่งล้วนเป็นชุดท่ีสกปรกด้วยกัน จะเปลี่ยนวันละก่ีคร้ัง
ก็คือผูส้ กปรกน่าเกลยี ดอยู่น่นั เอง

ผิดกับผู้เปลี่ยนชุดเส้ือผ้าท่ีสกปรกออกแล้วสวม ใส่เสื้อผ้าท่ีสะอาดแทนเป็น ไหน ๆ
ฉะน้ัน การเปล่ียนชุดด ี – ชัว่ ส�ำหรบั  ใจจึงเปน็ ปัญหาส�ำคญั ของแต่ละคนจะพิจารณาและรบั ผิดชอบ
ตวั เอง ในทาง ใด ไม่ม ีใครจะมารับภาระแทน ได ้ไมต่ ้องเปน็ กังวลอกี ตอ่  ไป แต่เร่อื งตวั เองน้ีเปน็ เรอ่ื ง 

71

ใหญ่ โตของแต่ละคนซึ่งร้อู ยูก่ ับตวั ทัง้ ปจั จบุ นั และอนาคต ว่าต้องเป็นผู้รับผิดชอบตัวเองตลอด ไป
 ไม่มีก�ำหนดกาล นอกจากผู้ ให้การบ�ำรุงรักษาจนถึงท่ีปลอดภัย โดยสมบูรณ์แล้วเท่าน้ัน ดัง
พระพุทธเจ้าและพระสาวกท่านเป็นตัวอย่าง นั้นชื่อว่าเป็นผู้หมดภาระ โดยประการทั้งปวงอย่าง
สมบรู ณ์ ผเู้ ชน่ นน้ั แลท ี่โลกกลา่ วอา้ งเปน็ สรณะเพอ่ื หวงั ฝากเปน็ ฝากตาย ในชีวติ ตลอดมา แม้ผตู้ ก
อยู่ ในลักษณะแห่งความ ไม่ดีแต่ยังพอรู้บุญรู้บาปอยู่บ้างก็ยังกล่าวอ้าง พระพุทธเจ้า พระธรรม
พระสงฆ์ว่าเป็นสรณะอย่าง ไม่หยุดปากกระดาก ใจ ยังระลึกถึงพอ ให้พระองค์ทรงเป็นห่วงและ
ร�ำคาญ ในความ ไม่ดีของเขาอยู่น่ันเอง เช่นเดียวกับลูก ๆ ทั้งที่เป็นลูกท่ีดีและลูกที่เลวบ่นถึง
ผู้บงั เกิดเกลา้ วา่ เป็นพอ่ เปน็ แมข่ องตน ฉะน้นั

ปฏิปทาอดอยาก

ท่านพระอาจารย์ม่ันท่านฝึกอบรมพระ – เณรเพื่อเห็นผลประจักษ์ ใจ ในการบ�ำเพ็ญ ท่าน
มีอุบายปลุกปลอบด้วยวิธีต่าง ๆ ดังกล่าวมา ผู้ตั้ง ใจปฏิบัติตามท่านด้วยความเคารพเทิดทูนจริง ๆ
ย่อม ได้รับคุณธรรมเป็นการถ่ายทอดข้อวัตรวิธีด�ำเนินจากท่านมาอย่างพอ ใจ ตลอดความรู้ความ
ฉลาดภาย ใน ใจเปน็ ท่นี า่ เล่อื ม ใสและน�ำมาส่งั สอนลูกศิษย์สบื ทอดกนั มาพอเหน็ เปน็ สกั ขพี ยาน ว่า
ศาสนายงั ทรงมรรคทรงผลประจักษ ์ใจของผปู้ ฏบิ ัติตลอดมา ไม่ขาดสญู ถา้ พดู ตามความเป็นมาและ
การอบรมสัง่ สอนของทา่ นพระอาจารย์ม่ันแลว้ ควรเรยี ก ไดอ้ ยา่ งถนดั  ใจว่า “ปฏิปทาอดอยาก” คอื
ท่อี ยูก่ ็อดอยาก ทอ่ี าศัยก็ฝืดเคอื ง ปจั จยั เครอ่ื งอาศยั  โดยมากด�ำเนิน ไปแบบขาด ๆ เขนิ  ๆ ทงั้ ที่
สง่ิ เหล่าน้ันมีอยู่ ความเป็นอยหู่ ลับนอนที่ลว้ นอยู ่ในสภาพอนิจจงั นัน้

ถา้ ผเู้ คยอยู่ดว้ ยความสนุกรืน่ เริงและสมบรู ณ์ ไปเจอเขา้ อาจเกดิ ความสลดสังเวช ใจ ในความ
เปน็ อย่ขู องท่านเหลา่ นั้นอย่างยากจะปลงตก ได้ เพราะ ไม่มีอะ ไรจะเป็นที่เจรญิ ตาเจรญิ  ใจสำ� หรับ 
โลกผู้ ไม่เคยตอ่ สภาพเช่นน้ัน จงึ เป็นที่นา่ ทุเรศเอานกั หนา แตท่ ่านเองแมจ้ ะเปน็ อยู่ ในลักษณะของ
นัก โทษ ในเรือนจำ� แตก่ ็เป็นความสมคั ร ใจและอยู่ ไดด้ ว้ ยธรรม เปน็ อยูห่ ลบั นอนด้วยธรรม ล�ำบาก
ลำ� บนทนทกุ ข์ดว้ ยธรรม ทรมานตนเพอื่ ธรรม อะ ไร ๆ ใ นสายตาทเ่ี หน็ วา่ เป็นการทรมานของผู้ 
ไม่เคยพบเคยเห็นจงึ เปน็ เร่ืองความสะดวกกายสบาย ใจส�ำหรับท่านผมู้ ปี ฏิปทา ในทางน้นั ดังน้นั จงึ
ควร ใหน้ ามวา่ “ปฏปิ ทาอดอยาก” เพราะอย่ดู ้วยความตั้ง ใจทรมานอดอยาก ฝนื กายฝนื  ใจจริง ๆ
คือ อยกู่ ็ฝืน ไปก็ฝนื น่งั กฝ็ ืน ยนื ก็ฝืน นอนกฝ็ ืน เดนิ จงกรมก็ฝืน น่ังสมาธิกฝ็ นื ในอิรยิ าบถ
ทงั้ สเ่ี ปน็ ท่าฝืนกายฝืน ใจทง้ั นน้ั ไมย่ อม ใหอ้ ยตู่ ามอธั ยาศัย ใจชอบเลย

72

บางครง้ั ยังตอ้ งทนอดทนหิว ไมฉ่ ันจังหนั  ไปหลายวันเพือ่ เรง่ ความเพียรทาง ใจ ขณะท่ี ไม่ฉัน
น้ันเป็นเวลาทำ� ความเพยี รตลอดสาย ไมม่ กี ารลดหย่อนผ่อนตัวว่าหิว โหย แมจ้ ะทกุ ขก์ ็ทราบวา่ ทุกข ์
ในเวลานนั้ แตก่ ็ทราบว่าตนทนอดทนหวิ เพือ่ ความเพียร เพราะผ้ปู ฏบิ ัตบิ างรายจรติ นสิ ัยชอบทาง
อดอาหาร ถ้าฉัน ไปทุกวนั ร่างกายสมบูรณค์ วามเพียรทาง ใจ ไม่กา้ วหนา้ ใจอบั เฉา ไม่สว่าง ไสว
ไมอ่ งอาจกล้าหาญ กจ็ �ำต้องหาทางแก ้ไข โดยมีการผ่อนและอดอาหารบ้าง อดระยะส้ันบ้าง
ระยะยาวบ้าง พร้อมกบั ความสังเกตตวั เองวา่ อย่าง ไหนมผี ลมากนอ้ ยตา่ งกันอยา่ ง ไรบ้าง เมือ่ ทราบ
นสิ ยั ของตนวา่ ถกู กับวิธ ีใดก็เร่งรีบ ในวิธนี ั้น รายท่ีถกู จริตกบั การอดหลายวนั กจ็ �ำตอ้ งยอมรับตาม
นสิ ยั ของตน และพยายามทำ� ตามแบบน้นั เรอ่ื ย ไป แม้จะลำ� บากบา้ งกย็ อมทนเอาเพราะอยากดี
อยากรู้ อยากฉลาด อยากหลุดพ้นจากทุกข์

ผู้ทีจ่ รติ นสิ ัยถกู กบั การอด ในระยะยาว ย่อมทราบ ได ้ในขณะท่กี ำ� ลังทำ� การอดอยู่ คอื อด
ไปหลายวันเทา่  ไร ใจย่งิ เด่นดวงและอาจหาญตอ่ อารมณ์ท่ีเคยเปน็ ขา้ ศกึ ใจมคี วามคลอ่ งแคล่ว
แกล้วกล้าต่อหน้าท่ีของตนมากขึ้น นั่งสมาธิภาวนาลืมมืดลืมสว่าง เพราะความเพลินกับธรรม
ขณะ ใจสัมผัสสัมพันธ์กับธรรมย่อม ไม่สน ใจตอ่ ความหวิ  โหยและกาลเวลา มแี ตค่ วามรน่ื เรงิ  ในธรรม
ทงั้ หลายอนั เปน็ สมบตั ทิ ค่ี วร ไดค้ วรถงึ  ในเวลานั้น จงึ รบี ตกั ตวง ให้ทนั กับเวลาท่กี ิเลสความเกียจคร้าน
ออ่ นแอ ความ ไม่อดทน เปน็ ตน้ ก�ำลงั นอนหลับอยู่ พอจะสามารถแอบปนี ขนึ้ บนหลงั หรือบนคอ
มนั บา้ งก ็ให้ ได้ขึ้น ในเวลานั้น หากรัง้  ๆ รอ ๆ หาฤกษ์งามยามดพี รุง่ น้มี ะรืนอยู่ เวลามนั ต่นื ข้นึ มา
แล้วจะล�ำบาก ดี ไม่ดีอาจส้มู นั  ไม่ ได้และกลายเป็นช้าง ให้มัน โดดขึ้นบนคอแล้วเอาขอสับลงบน
ศีรษะคือหัว ใจ แล้วต้องยอมแพ้มันอย่างราบ

เพราะ ใจเราเคยเปน็ ช้าง ให้กเิ ลสเปน็ นายควาญบงั คบั มานานแสนนานแลว้ ความรู้สึกกลวั ท่ี
เคยฝงั  ใจมานานน่ันแลพา ใหข้ ยะ ๆ ไ ม่กลา้ ตอ่ สู้กบั มันอยา่ งเตม็ ฝีมอื  ได้ ทางดา้ นธรรมทา่ นว่ากเิ ลส
กับธรรมเป็นคู่อริกัน แต่ทาง โลกเห็นว่ากิเลสกับ ใจเป็นคู่มิตร ในลักษณะบ๋อยกลางเรือนกันอย่าง
แยก ไม่ออก ฉะน้ัน ผู้มีความเห็น ไปตามธรรมจึงต้องพยายามต่อสู้กับส่ิงที่ตนเห็นว่าเป็นข้าศึก
เพอ่ื เอาตวั รอดและครองตัวอย่างอิสระ ไม่ตอ้ งขึน้ กับกิเลสเปน็ ผคู้ อยกระซิบสง่ั การ แต่ผเู้ ห็นตาม
กิเลสก็ต้องคอยพะเน้าพะนอเอาอกเอา ใจท่ีมันแนะน�ำหรือสั่งการออกมาอย่าง ไรต้องยอมปฏิบัติ
ตามทุกอย่าง ไมข่ ัดขนื มัน ได้

ส่วนผลท่ี ได้รับจากมันนั้นเจ้าตัวก็ทราบว่ามีความกระเทือนต่อจิต ใจเพียง ใด แม้ผู้อ่ืนก็
ย่อมทราบ ได้จากการระบายออกของผู้เป็นเจ้าทุกข์ เพราะความกระทบกระเทือนทางจิต ใจที่

73

ถูกกิเลสกลั่นแกล้งและทรมาน โดยวิธีต่าง ๆ ไม่มีประมาณ โทษท้ังน้ีแล ท�ำ ให้ผูม้ คี วามรกั ตวั
สงวน ใจตอ้ งมีมานะตอ่ สดู้ ว้ ยความเพยี รทกุ ด้านอย่าง ไม่อาลัยเสียดายชวี ิต ถงึ จะอดกย็ อมอด ทุกข์
ก็ยอมทุกข์ แม้ตายกย็ อมพลีชีพเพื่อยอมบชู าพระศาสนา ไปเลย ไมม่ กี ารแบ่งรบั แบ่งส้ ูไวเ้ พอ่ื กิเลส 
ได้หวงั มสี ว่ นดว้ ยจะ ได้ ใจ

ท่ีท่านพระอาจารย์ม่ันเทศน์ปลุก ใจพระ – เณร ให้มีความอาจหาญร่าเริงต่อความเพียรเพื่อ
ยกตน ให้พ้นทุกข์เครื่องกดถ่วงจิต ใจก็เพราะท่าน ได้พิจารณาทดสอบเร่ืองของกิเลสกับธรรมมา
อย่างละเอียดถี่ถ้วนจนเห็นผลประจักษ์ ใจแล้ว จึง ได้กลับมาภาคอีสานและท�ำการส่ังสอนอย่าง
เตม็ ภูมแิ หง่ ธรรมท่ีท่านรเู้ ห็นมาเปน็ คราว ๆ ใ นสมยั นน้ั

พลธรรม ๕

ธรรมที่ท่านส่ังสอนอย่างอาจหาญและออกหน้าออกตาแก่บรรดาศิษย์อยู่เสมอ
ได้แก่ พลธรรม ๕ คือ ศรัทธา วิรยิ ะ สติ สมาธิ ปญั ญา โดย ใหเ้ หตุผลว่าผ ู้ไม่เหินห่าง
จากธรรมเหลา่ น้ี ไปอย่ทู  ี่ไหนก็ ไมข่ าดทนุ และลม่ จม เปน็ ผู้มหี วงั ความเจริญก้าวหนา้  ไป โดยลำ� ดับ
ธรรมทงั้ ๕ ขอ้ นี้ ท่านแยกความหมายมา ใช้สำ� หรับทา่ นเองเปน็ ขอ้  ๆ ซึ่ง โดยมากเป็น ไป ในทาง
ปลกุ  ใจ ให้อาจหาญ มี ใจความวา่ ศรัทธา เชือ่ ศาสนธรรมทพ่ี ระองค์ประทาน ไวเ้ พอื่  โลก เราผ้หู นง่ึ  
ในจ�ำนวนของคน ใน โลกซึ่งอยู่ ในข่ายที่ควร ได้รับแสงสว่างแห่งธรรมจากข้อปฏิบัติที่ท�ำจริงแน่นอน 
ไม่เปน็ อน่ื และเชื่อวา่ เกิดแลว้ ตอ้ งตายแตจ่ ะช้าหรอื เรว็  ไม่ส�ำคัญ ทส่ี �ำคญั อยู่ตรงทีว่ า่ เราจะตาย
แบบผู้แพก้ ิเลสวฏั ฏ์ กรรมวฏั ฏ์ วปิ ากวฏั ฏ์ หรือจะเปน็ ผชู้ นะวัฏฏะวนสามนี้ก่อนจะตาย ค�ำวา่ แพ้ 
ไมเ่ ป็นส่ิงพงึ ปรารถนา แมแ้ ต่เดก็ เลน่ กีฬากนั ต่างฝา่ ยเขายังหวังชนะกัน เราจงึ ควรสะดุด ใจ และ 
ไมค่ วรทำ� ตัว ให้เปน็ ผู้แพ้ ถา้ เป็นผู้แพก้ ต็ ้องทนอยูอ่ ย่างผ้แู พ้

ทุก ๆ อาการของผู้แพ้ต้องเป็นการกระเทือน ใจอย่างมาก และระทมทุกข์จนหาทางออก 
ไม่ ได้ ขณะจิตท่ีจะคิดหาทางออกของผู้แพ้มีอยู่ทางเดียวคือ “ตายเสียดีกว่า” ซึ่งตาย ไปแบบที่
วา่ ดกี วา่ น้กี ต็ ้องเป็นการตายของผ้แู พ้ตอ่ ข้าศกึ อยู่นนั่ เอง อนั เปน็ ทางกอบ โกย โรยทุกข ์ใสต่ วั เองจน 
ไม่มีท่ปี ลงวาง จึง ไมม่ อี ะ ไรดเี ลยส�ำหรับผแู้ พท้ กุ ประตูแลว้ ถ้าจะตายแบบผู้ชนะดังพระพุทธเจ้า
และพระสาวกท่านก็ต้องเช่ือแบบท่าน ท�ำแบบท่าน เพียรและอดทนแบบท่าน มีสติรักษา ใจ
รักษาตัว รักษากิรยิ าท่แี สดงออกทุกอาการแบบท่าน ท�ำ ใจ ให้มัน่ คงตอ่ หน้าท่ีของตน อยา่  โยกเยก
คลอนแคลนแบบคนจวนตวั  ไมม่ ีสติเปน็ หลกั ยดึ แต่จงท�ำ ใจ ใหม้ น่ั คงต่อเหตุที่ท�ำเพอื่ ผลอันพงึ พอ ใจ
จะ ไดม้ ีทางเกดิ ขน้ึ  ได้อันเปน็ แบบท่ที า่ นพาดำ� เนนิ

74

ศาสนาคอื คำ� ส่ังสอนของทา่ นผู้ฉลาด ท่านสอนคนเพ่อื  ให้เกิดความฉลาดทุกแง่ทกุ มมุ ซง่ึ
พอจะพิจารณาตามท่าน ได้ แต่เราอย่าฟังเพื่อความ โง่ อยู่ด้วยความ โง่ กินด่ืมท�ำพูดคิดด้วย
ความ โง่ ค�ำว่า โง่ ไม่ ใช่ของดี คน โง่ก็ ไม่ดี สัตว์ โง่ก็ ไม่ดี เด็ก โง่ ผู้ ใหญ่ โง่ มิ ใช่ของดีท้ังนั้น
เรา โง่จะ ให้ ใครเขาชมว่าดี จึง ไม่ควรท�ำความสนิทติดจมอยู่กับความ โง่ โดย ไม่ ใช้ความพิจารณา 
ไตรต่ รอง ไม ่ใชท่ างพน้ ทุกข ์โดยประการทั้งปวง จึง ไม่ควรแก่สมณะซ่งึ เป็นเพศที ่ใครค่ รวญ ไตร่ตรอง
นค่ี ือความหมาย ในธรรม ๕ ข้อทที่ า่ นคดิ คน้ ขน้ึ มาพร�่ำสอนท่านเองและหมู่คณะท ่ีไปอบรมศกึ ษา
กับท่าน รู้สึกว่าเป็นคติ ได้ดีมาก เพราะเป็นอุบายปลุก ใจ ให้เกิดสติปัญญาและอาจหาญ ท้ัง
เหมาะสมกับสภาพการณ์และสถานที่ของพระธุดงค์ผู้เตรียมพร้อมแล้ว ในการรบพุ่งชิงชัยระหว่าง
กเิ ลสกบั ธรรม เพ่ือความชนะเลิศ คือวมิ ตุ ติพระนิพพานอนั เป็นหลักเขตแดนมหาชัยท่ปี รารถนา
มานาน

พระอาจารย์ท่ีเป็นศษิ ย์ผ ู้ใหญข่ องทา่ นเลา่  ใหฟ้ ังวา่ เวลาอยู่กบั ทา่ น แมจ้ ะมพี ระ – เณร
จำ� นวนมากดว้ ยกนั แต่มองดูอากัปกริ ยิ าของแตล่ ะองคเ์ หมือนพระ – เณรท่ีส้ินกิเลสกนั แลว้ ทัง้ นน้ั
ไมม่ ีอาการแสดงความคกึ คะนอง ใด ๆ แม้แต่น้อย ให้ปรากฏบ้างเลย ต่างองคต์ า่ งสงบเสงย่ี มเจียมตวั
ทั้งทอ่ี ย ู่โดยล�ำพงั ตนเอง ทั้งเวลามารวมกนั ดว้ ยกิจธุระบางอย่าง และเวลารวมประชมุ ฟงั การอบรม
ตา่ งมมี ารยาทสวยงามมาก ถา้  ไม ่ไดฟ้ งั ธรรมเกยี่ วกบั ภมู จิ ติ เวลาทา่ นสนทนากนั กบั ทา่ นอาจารยบ์ า้ ง
กอ็ าจ ใหเ้ กิดความสงสยั หรอื เชือ่ แน่ว่า แตล่ ะองค์คงส�ำเรจ็ อรหัตต์กันแน่ ๆ แต่พอเดา ไดจ้ ากการ
แก้ปัญหาธรรมขณะที่ท่านสนทนากันว่า องค์ ไหนควรอยู่ ในภูมิธรรมข้ัน ใดนับแต่สมาธิและปัญหา
ข้นั ต้นข้ึน ไปถึงสมาธิและวิปัสสนาข้ันสูง การแก้ปัญหา ในเวลามีผู้ ไปศึกษาก็ดี การแสดงธรรม
อบรมพระ – เณร ในเวลาประชมุ กด็ ี ทา่ นแสดงด้วยความแน ่ใจและอาจหาญ พอ ให้ผูฟ้ งั ทราบ ได้
วา่ ธรรมท่แี สดงออกเปน็ ธรรมทีท่ า่ นรู้เหน็ ทางจติ  ใจจรงิ  ๆ ไมแ่ สดงด้วยความลูบคล�ำหรือสุ่มเดาว่า
เห็นจะเป็นอย่างนั้น เห็นจะเป็นอย่างน้ี จึงเป็นท่ีแน่ ใจ ได้ว่าเป็นธรรมท่ีส่อแสดงอยู่กับ ใจของ
ทุกคนแม้ยัง ไม่รู้ ไม่เห็น และคงมีวันหน่ึงท่ีผู้ปฏิบัติจะสามารถรู้ ได้จ�ำเพาะตนหาก ไม่ลดละความ
เพยี ร ไปเสีย วธิ  ีให้การอบรมแก่พระ – เณรและฆราวาสรสู้ ึกวา่ ท่านแสดง ให้พอเหมาะสมกบั ขนั้ ภูมิ
ความเปน็ อยูแ่ ละจรติ นิสัยของผูม้ าอบรมศกึ ษา ไดด้ ี และ ได้รับประ โยชนท์ ้งั สองฝา่ ยขณะทฟี่ งั อยู่
ด้วยกนั เพราะทา่ นอธบิ ายแยกแยะธรรมออกเปน็ ตอน ๆ ซ่งึ พอเหมาะกับภูมขิ องผมู้ าฟังจะเขา้  ใจ
และนำ�  ไปปฏิบัติ ให้เกิดผล ได้

75

เทศน์สอนฆราวาส ทาน ศีล ภาวนา

โดยมากเวลาท่านสอนฆราวาสญาติ โยม โดยเฉพาะ ทา่ นยกธรรมเก่ียวกบั ฆราวาสขึ้นแสดง
มที าน ศีล ภาวนาเปน็ พ้นื โดย ให้เหตผุ ลว่า ธรรมทัง้ สามนี้เปน็ รากแก้วของความเปน็ มนุษย์
และเป็นรากเหง้าของพระศาสนา ผเู้ กดิ มาเปน็ มนษุ ย์ต้องเป็นผเู้ คยผา่ นคอื เคยสง่ั สมธรรมเหล่านี้
มา อยา่ งนอ้ ยตอ้ งมอี ย่าง ใดอยา่ งหนึง่ ท่ีเป็นเช้ืออยู ่ในนิสยั ของผ้จู ะมาสวมร่างเปน็ มนุษยท์ ี่สมบูรณ์

ดว้ ยมนุษยส์ มบตั ิอยา่ งแทจ้ รงิ

ทาน คอื เครือ่ งแสดงน�้ำ ใจมนษุ ยผ์ ้มู ีจิต ใจสงู ผมู้ เี มตตาจิตตอ่ เพ่อื นมนษุ ยแ์ ละสัตวผ์ ูอ้ าภพั
ด้วยการ ให้การเสียสละแบ่งปันมากน้อยตามก�ำลังของวัตถุเครื่องสงเคราะห์ท่ีมีอยู่จะเป็นวัตถุทาน
ธรรมทาน หรือวิทยาทานแขนงต่าง ๆ กต็ ามที่ ให้เพอ่ื สงเคราะห์ผู้อืน่  โดยม ิได้หวังคา่ ตอบแทน ใด ๆ
นอกจากกุศลคือความดีที่เกิดจากทานน้ัน ซึ่งจะเป็นส่ิงตอบแทน ให้เจ้าของทาน ได้รับอยู่ โดยดี
เทา่ น้นั ตลอดอภยั ทานทค่ี วร ใหแ้ ก่กัน ในเวลาฝา่ ยหนึ่งผิดพลาดหรือลว่ งเกนิ คนมที านหรือคนท่ี
เดน่  ในการ ใหท้ าน ย่อมเปน็ ผ้สู ง่าผา่ เผยและเด่น ในปวงชน โดย ไม่นิยมรปู ร่างลกั ษณะ ผู้เช่นนี้
มนษุ ย์และสตั วต์ ลอดเทวดาที่มอง ไม่เห็นก็เคารพรกั จะตกทศิ  ใดแดน ใดย่อม ไมอ่ ดอยากขาดแคลน
หากมีสิง่ หรือผู้อปุ ถัมภจ์ น ได ้ไม่อบั จนทนทุกข์ แม้ ในแดนมนุษยเ์ ราน้กี ็พอเห็น ไดอ้ ยา่ งเต็มตารู ้ได้
อย่างเต็ม ใจว่า ผมู้ ที านเปน็ เครื่องประดบั ตวั ยอ่ มเป็นคน ไมล่ า้ สมยั  ในสังคม และบคุ คลทุกชน้ั
 ไมม่ ี ใครรังเกียจ แม้แตค่ นท่มี ่ังมแี ต่แสนตระหนถ่ี เ่ี หนียวกย็ งั หวังตอ่ การสงเคราะห์ช่วยเหลือจาก
ผู้อื่นเช่นเดียวกับมนุษย์ทั่ว ๆ  ไป ไม่ต้องพูดถึงคนท่ีช่วยตัวเอง ไม่ ได้แต่ ไม่หวัง ให้ผู้อ่ืนช่วยเหลือ
จะ ไม่มี ใน โลกเมือง ไทยเรา อ�ำนาจทานท�ำ ให้ผู้มี ใจชอบบริจาคเกิดความเคยชินต่อนิสัย จน
กลายเป็นผู้มีฤทธิ์บันดาล ไม่ ให้อดอยาก ในภพท่ีเกิดก�ำเนิดที่อยู่นั้น ๆ ฉะนั้น ทานและคนท่ีมี ใจ
เป็นนัก ให้ทาน การเสียสละจึงเป็นเคร่ืองและเป็นผู้ค�้ำจุนหนุนโลก ให้เฟื่องฟูตลอด ไป โลกท่ียังมี
การสงเคราะห์กันอยู่ ยังจัดเป็น โลกท่ีมีความหมายตลอด ไป ไม่เป็น โลกท่ี ไร้ชาติขาดกระเจิง
เหลอื แตซ่ ากคือแผน่ ดนิ แน่ ๆ ทานจงึ เป็นสาระส�ำคญั ส�ำหรับตัวและ โลกทัว่  ๆ ไ ป ผู้มที านยอ่ มเป็น
ผู้อบอุ่นและหนุน โลก ให้ชุ่มเยน็ ไม่เป็นบคุ คลและ โลกท่ีแห้งแล้งแขง่ กบั ทุกขต์ ลอด ไป

ศีล คอื ร้วั ก้นั ความเบียดเบียนและท�ำลายสมบตั ิร่างกายและจิต ใจของกนั ละกนั ศีลคอื พชื
แหง่ ความดอี ันยอดเยี่ยมทคี่ วรมปี ระจำ� ชาติมนุษย ์ไม่ปลอ่ ย ใหส้ ญู หาย ไปเสีย เพราะมนุษยท์  ่ีไมม่ ีศลี
เปน็ ร้ัวก้นั และเปน็ เครอื่ งประดับตัวเสียเลย ก็คอื กองเพลงิ แห่งมนษุ ย์เราด ี ๆ น่ีเอง การเบียดเบียน
และท�ำลายกันย่อมม ีไปทกุ หย่อมหญา้ และทัว่  โลกดินแดน ไม่มีเกาะมีดอนพอจะเอาศีรษะซุกนอน 

76

ใหห้ ลบั สนทิ  ได ้โดยปลอดภยั แม ้โลกจะเจริญดว้ ยวัตถุจนกองสงู กวา่ พระอาทติ ย์บนทอ้ งฟา้ แต่
ความรุ่มร้อนแผดเผาจะทวีคูณยิ่งกว่าพระอาทิตย์เป็น ไหน ๆ โลกจะ ไม่มีที่ปลง ใจ ได้เลยถ้ายังมัว
คดิ ว่าวตั ถมุ ีคณุ ค่าย่งิ กวา่ ศลี ธรรมอยู่ เพราะศีลธรรมเปน็ สมบัตขิ องจอมมนษุ ย์ คือพระพุทธเจา้
ผู้คน้ พบและน�ำมาประดับ โลกทกี่ ำ� ลงั มืดมัวกลัวทกุ ขพ์ อ ให้สวา่ ง ไสวร่มเยน็ ควรอาศัย ได้บ้างด้วย
อ�ำนาจศีลธรรมเป็นเคร่ืองปัดเป่าก�ำจัด

ล�ำพังความคิดของมนุษย์ที่มีกิเลสคิดผลิตอะ ไรออกมาทำ�  ให้ โลกร้อนจะบรรลยั อยูแ่ ลว้ ยงิ่
จะปล่อย ใหค้ ดิ ตามอ�ำนาจ โดย ไมม่ กี ลน่ิ แห่งศีลธรรมช่วยเปน็ ยาแกแ้ ละชโลม ไวบ้ ้าง ก็นา่ กลวั ความ
คิดน้ัน ๆ จะผลิตยักษ์ ใหญ่ตัว โหดร้ายที่ทรงพิษขึ้นมาก่ีแสนก่ีล้านตัวออกเที่ยวหากว้านกินมนุษย์ 
ใหฉ้ บิ หายกนั ท้งั  โลก ไม่มีอะ ไรเหลืออยู่บา้ งเลย ความคิดของคนสิน้ กิเลสทท่ี รงคณุ อยา่ งสูงสุด
คอื พระพทุ ธเจา้ มผี ล ให้ โลก ไดร้ ับความร่มเย็นซาบซ้ึง กบั ความคดิ ทเ่ี ปน็  ไปด้วยกิเลสที่มีผล ให้
ตัวเองและผู้อน่ื  ไดร้ ับความเดือดร้อนจนจะคาด ไมถ่ ึงน่ีแล เป็นความคิดที่ผิดกันอยู่มาก พอจะ
น�ำมาเทียบเคียงเพ่ือหาทางแก้ ไขผ่อนหนักผ่อนเบาลง ได้บ้าง ไม่จม ไปกบั ความคดิ ประเภทนัน้
จนหมดทางแก ้ไข ศีลจึงเป็นเหมอื นยาปราบ โรค ทง้ั  โรคระบาดและ โรคเรื้อรงั อยา่ งนอ้ ยกพ็ อ 
ใหค้ น ไขท้ ี่สมุ ดว้ ยกเิ ลสกินอยหู่ ลับนอน ไดบ้ ้าง ไม่ถูกบีบค้ันด้วยโรคที่เกิดแล้ว ไม่ยอมหายนี้ตลอด 
ไป มากกว่าน้ันก็หายขาดอยู่สบาย ท่านพระอาจารย์มั่นท่านเมตตาสัง่ สอนฆราวาส ใหร้ ูค้ ณุ ของ
ศีลและ ให้ร ู้โทษของความ ไม่มศี ลี อยา่ งถึง ใจจรงิ  ๆ ฟงั แล้วจับ ใจ ไพเราะ แม้ผู้เขียนเองพอ ได้
ทราบว่าท่านส่ังสอนประชาชน ให้เห็น โทษเห็นคุณ ในศีลอย่างซาบซึ้งจบั  ใจเชน่ นัน้ ยงั เผลอตัว ไป
ว่า “อยากมีศีล ๕ กับเขาบา้ ง” ทัง้  ๆ ท่ีขณะน้นั ตนก็มศี ลี อยูถ่ ึง ๒๒๗ ศีลอยู่แลว้ เพราะ
ความปตี ผิ าด โผน ไปบา้ งเวลานัน้ จึงขาดสติ ไปพกั หนึ่ง พอ ได้สติขนึ้ มาเลยนกึ อายตัวเองและ ไม่กล้า
บอก ใคร กลัวท่านเหล่าน้นั จะหาว่าเราบา้ ซ�้ำเขา้  ไปอีก เพราะขณะนนั้ เรากช็ ักบา้  ๆ อยบู่ ้างแลว้
ท่คี ดิ วา่ อยากมศี ลี ๕ กับฆราวาสเขา โดย ไมค่ ลำ� ดศู ีรษะบา้ งเลย อย่างน่ีแลคนเราเวลาคิด ไป
ทางช่ัว จนถึงกับท�ำชั่วตามความคิดจริง ๆ ก็คงเป็น ไป ในลักษณะดงั กลา่ วมา จงึ ควรสำ� เหนยี ก
ในความคดิ ของตน ไปทุกระยะ วา่ คิด ไป ในทางดหี รอื ชว่ั ถกู หรือผิด ตอ้ งคอยชักบงั เหียน ไวเ้ สมอ
ไม่เช่นนัน้ มีหวังเลยเถดิ  ไดแ้ นน่ อน

ภาวนา คือการอบรม ใจ ให้ฉลาดเทย่ี งตรงตอ่ เหตุผลอรรถธรรม รู้จักวิธีปฏบิ ัตติ ่อตวั เอง
และสง่ิ ทัง้ หลาย ไม่ ให้จติ ผาด โผน โลดเต้นแบบ ไม่มีฝ่ังมีฝา ยดึ การภาวนาเปน็ รวั้ กนั้ ความคิดฟุง้
ของ ใจ ใหอ้ ยู ่ในเหตุผลอันจะเปน็ ทางแห่งความสงบสุข ใจที่ยังมิ ไดร้ ับการอบรมจากภาวนาจึงยงั
เปน็ เหมือนสตั ว์ทยี่ ังมิ ไดร้ ับการฝึกหัด ใหท้ �ำหน้าท่ีของตนอยา่ งสมบรู ณ์ มจี ำ� นวนมากนอ้ ยก็ยงั ม ิได้

77

รบั ประ โยชนจ์ ากมนั เทา่ ทีค่ วร จ�ำตอ้ งฝึกหัด ใหท้ �ำประ โยชนต์ ามประเภทของมันก่อนถึงจะ ไดร้ บั
ประ โยชน์ตามควร ใจจึงควร ได้รับการอบรม ให้รู้เร่ืองของตัวเสียบ้าง จะเป็นผู้ควรแก่การงาน
ทั้งหลาย ทง้ั สว่ นหยาบส่วนละเอยี ด ทั้งส่วนเลก็ ส่วน ใหญ่ ท้ังภาย ในภายนอก ผมู้ ีภาวนาเป็น
หลัก ใจจะท�ำอะ ไรชอบ ใช้ความคิดอ่านเสมอ ไม่ค่อยเอาตัวเข้า ไปเส่ียงต่อการกระท�ำที่ ไม่แน่ ใจ
ซ่ึงอาจเกิดความเสียหายแก่ตนและผู้เก่ียวข้องตลอดส่วนรวมเม่ือผิดพลาดลง ไป การภาวนาจึง
เป็นงานเพอ่ื ผล ในปจั จุบนั และอนาคต ไมเ่ สียประ โยชนท์ ัง้ สองทาง ประ โยชน์สำ� คญั คือประ โยชน์
เฉพาะหน้าที่เรียกว่าทิฏฐธรรมมิกัตถประ โยชน์ การงานทุกชนิดท่ีท�ำด้วย ใจของผู้มีภาวนาจะ
ส�ำเรจ็ ลงด้วยความเรียบร้อย ขณะทีท่ ำ� ก็ ไมท่ ำ� แบบขอ ไปที แตท่ ำ� ด้วยความ ใคร่ครวญและเล็งถึง
ประ โยชน์ทจี่ ะ ได้รบั จากงานเม่อื ส�ำเร็จลง ไปแล้ว จะ ไปมา ในทศิ ทาง ใดจะทำ� อะ ไรย่อมเลง็ ถงึ ผล ได้
เสียเก่ยี วกับการนนั้  ๆ เสมอ การปกครองตนกส็ ะดวก ไม่ฝา่ ฝนื ตวั เองซ่ึงเป็นผมู้ ีหลกั เหตผุ ลอยู่แลว้
ถอื หลักความถูกต้องเปน็ เขม็ ทศิ ทางเดินของกายวาจา ใจประจ�ำตวั ไม่ยอมเปดิ ชอ่ ง ให้ความอยาก
อัน ไมม่ ขี อบเขตเข้ามาเก่ยี วข้อง เพราะความอยาก ไป อยากมา อยากท�ำ อยากพดู อยากคิด
ท่ีเคยเป็นมาดั้งเดิมเป็น ไปตามอ�ำนาจของกิเลสตัณหาซ่ึง ไม่เคยสน ใจต่อความผิด – ถูก – ดี – ชั่ว
เสยี มากตอ่ มาก และพาเราเสีย ไปจนนบั  ไมถ่ ว้ นประมาณ ไม่ถกู จะเอา โทษกับมนั ก็ ไม่ ได้ นอกจาก
ยอม ให้เสีย ไปอย่างน่าเสียดาย แลว้ พยายามแกต้ วั  ใหมเ่ ทา่ นน้ั เมอ่ื ยงั มีสติอย่บู า้ งพอจะหกั ล้าง
กนั  ได้ ถา้  ไมม่ สี ติพอระลึกบา้ งเลยแล้ว ทั้งของเก่ากเ็ สยี  ไป ทั้งของ ใหมก่ ็พลอยจม ไปด้วย ไมม่ ี
วันกลับฟน้ื ตวั  ไดเ้ ลย นแ่ี ลเรอ่ื งของกเิ ลสตอ้ งพา ใหเ้ สยี หายเรอ่ื ย ไป ฉะนน้ั การภาวนาจงึ เปน็ เครอ่ื ง
หักล้างความลามก ไม่มีเหตผุ ลของตน ได้ดี แตว่ ิธีภาวนานน้ั รสู้ ึกลำ� บากอยบู่ า้ ง เพราะเป็นการ
บงั คับ ใจ ซ่งึ เหมือนบังคับลงิ  ใหอ้ ยู่เชอ่ื ง ๆ พองามตาบา้ ง ยอ่ มเปน็ ของล�ำบากฉะนัน้

วิธีภาวนาก็คือวิธีสังเกตตัวเองน่ันแล คือสังเกตจิตท่ีมีนิสัยหลุกหลิกเหมือนถูก ไฟหรือน�้ำ
ร้อนลวก ไมอ่ ยูเ่ ป็นปรกตสิ ขุ ดว้ ยสตติ ามระลกึ รู้ความเคล่อื น ไหวของจติ โดยมีธรรมบท ใดบทหน่ึง
เปน็ ค�ำบรกิ รรมเพื่อเปน็ ยารกั ษาจติ  ให้ทรงตวั อย ู่ได้ดว้ ยความสงบสุข ในขณะภาวนา ตามทีน่ ยิ ม ใช้
กันมากและ ไดผ้ ลดีกม็ อี านาปานสั สตบิ ้าง พุท โธบ้าง ธมั  โมบา้ ง สัง โฆบ้าง มรณานสุ สตบิ า้ ง หรอื
เกศา โลมา นขา ทนั ตา ต โจ โดยอน ุโลมปฏ ิโลม หรอื  ใชบ้ รกิ รรมเฉพาะบท ใดบทหนง่ึ บา้ ง
พยายามบังคับ ใจ ให้อยู่กับอารมณ์แห่งธรรมบทท่ีน�ำมาบริกรรมขณะภาวนา ใจท่ีอาศัยบทธรรม
อนั เป็นอารมณท์  ี่ให้คณุ  ไมเ่ ป็นภยั แก่จติ  ใจ ย่อมจะเกิดความสงบสขุ ขน้ึ มา ในขณะนนั้ ท่เี รยี กว่า
จติ สงบหรือจติ รวมเปน็ สมาธิคือความมั่นคงตอ่ ตัวเอง  ไม่อาศยั ธรรมบท ใด ๆ เปน็ เครอื่ งยดึ เหนย่ี ว
 ในเวลานนั้ เพราะจติ มกี ำ� ลงั พอดำ� รงตนอย ู่โดยอสิ ระ ได้

78

ค�ำบริกรรมที่เคยน�ำมาก�ำกับ ใจก็ระงับกัน ไปช่ัวขณะท่ีจิตปล่อยอารมณ์เข้าพักสงบตัว
ตอ่ เม่ือถอนขึน้ มาถา้ มีเวลาทำ� ตอ่  ไปอีกก็น�ำค�ำบรกิ รรมท่เี คยก�ำกบั มาบรกิ รรมตอ่  ไป พยายามท�ำ
อยา่ งนี้เสมอด้วยความ ใฝ่ ใจ ไม่ลดละความเพยี ร จติ ทเี่ คยทำ� บาปหาบทกุ ข์อย่เู สมอกจ็ ะคอ่ ยร้สู กึ ตวั
และปลอ่ ยวาง ไปเป็นลำ� ดับ และมคี วามสน ใจหนกั แน่น ในหนา้ ทข่ี องตนเปน็ ประจำ� ไมถ่ กู บงั คับ
ถู ไถเหมือนขั้นเริ่มแรกซึ่งเป็นข้ันก�ำลังฝึกหัด จิตท่ีสงบตัวลงเป็นสมาธิเป็นจิตที่มีความสุขเย็น ใจ
มากและจ�ำ ไม่ลมื ถา้  ไดป้ รากฏขึ้นเพยี งครั้งเดยี วยอ่ มเป็นเครอื่ งปลุก ใจ ให้ตนื่ ตวั และต่ืน ใจ ได้อยา่ ง
นา่ ประหลาด หาก ไม่ปรากฏอีก ในวาระต่อ ไปท้ังทีภ่ าวนาอยู ่ ใจจะเกดิ ความเสยี ดายอย่างบอก
ไมถ่ ูก อารมณแ์ ห่งความติด ใจและความเสียดาย ในจติ ประเภทนน้ั จะฝัง ใจ ไปนาน นอกจากจิต
จะเจริญก้าวหนา้ ขึ้นส่คู วามสงบสุขอันละเอยี ด ไปเปน็ ล�ำดับเทา่ น้ัน จติ ถงึ จะลืมและเพลนิ  ในธรรม
ข้นั สูงเรอ่ื ย ไป ไมม่ าเกีย่ วข้องเสียดายจิตและความสงบที่เคยผา่ นมาแล้ว

แต่เม่ือพูดถึงการภาวนาแล้ว ท่านผู้อ่านอาจจะรู้สึกเหงาหงอยน้อย ใจและอ่อนเปียก ไป
ท้ังร่างกายและจิต ใจว่าตนมีวาสนาน้อยท�ำ ไม่ ไหว เพราะคิดว่ากิจการยุ่งยากทั้งภาย ในบ้านและ
นอกบา้ นตลอดงานสงั คมตา่ ง ๆ ลูกหลานกม็ ีหลายคนลว้ นแต่ตอ้ งเป็นธุระ ในการเลี้ยงดู จะมัว
มานั่งหลับตาภาวนาอยู่เห็นจะ ไม่ทันอยู่ทันกินกับ โลกเขาต้องอดตายแน่ ๆ แล้วท�ำ ให้เกิดความ
อิดหนาระอา ใจ ไม่อยากท�ำ ประ โยชนท์ คี่ วร ไดเ้ ลยผา่ น ไป ความคดิ เชน่ นน้ั เปน็ ความคดิ ทีเ่ คยฝงั
นิสัยมาด้ังเดิมและอาจเป็นความคิดที่คอยกีดกันทางเดินเพ่ือการระบายคลายทุกข์ทาง ใจ ไปเสีย
ถ้า ไมพ่ ยายามคิดแก ้ไขเสยี แตบ่ ดั นี้เปน็ ตน้  ไป

แท้จริงการภาวนาก็คือวิธีการแก้ความยุ่งยากและความลำ� บากทาง ใจทุกประเภทท่ีเคยรับ
ภาระอนั หนกั หนว่ งมานาน ใหเ้ บาลงและหมดสนิ้  ไป เหมอื นอบุ ายอน่ื  ๆ ทเ่ี ราเคยนำ� มาแก ้ไข ไลท่ กุ ข์
ออกจากตวั เหมอื นท ่ีโลกทำ� กนั มานน่ั เอง เชน่ เวลารอ้ นตอ้ งแกด้ ้วยวธิ ีอาบนำ�้ เวลาหนาวแกด้ ้วย
วธิ ีห่มผ้าหรือผงิ  ไฟหรอื ด้วยวธิ ีอืน่  ๆ เวลาหิวระหายแก้ดว้ ยวธิ รี ับประทานและดืม่ เวลาเปน็  ไขก้ ็
แก้ด้วยวิธีรับประทานหรือฉีดยาที่จะยัง โรค ให้สงบและหาย ไป ซ่ึงล้วนเป็นวิธีการที่ โลกเคยท�ำ
ตลอดมาถึงปัจจุบัน โดย ไม่มีการผัดเพี้ยนเลื่อนเวลาว่ายังยุ่งยากยังล�ำบากและขัดสนจน ใจ ใด ๆ
ทงั้ น้นั ทกุ ชาติชนั้ วรรณะจำ� ตอ้ งปฏบิ ัตกิ ันท่ัว โลก แมแ้ ต่สัตว์ก็ยงั ต้องอาศัยการเยียวยารักษาตัว
ดังที่เราเห็นเขาหากินเลี้ยงปากเลี้ยงท้อง เพื่อผ่อนคลายระบายทุกข์ ไปวันหนึ่ง ๆ พอยังชีวิต ให้
เป็น ไปตลอดกาลของเขา ล้วนเปน็ วธิ ีการแก ้ไขและรักษาตวั แต่ละอย่าง ๆ

79

การอบรม ใจด้วยภาวนาก็เป็นวิธีหนึ่งแห่งการรักษาตัว วิธีน้ียิ่งเป็นงานส�ำคัญที่ควรสน ใจ
เป็นพเิ ศษ เพราะเป็นวธิ ีที่เก่ยี วกับจติ  ใจผเู้ ปน็ หัวหน้างานทกุ ดา้ น โดยตรง งานอะ ไรเรือ่ งอะ ไรที่มี
สว่ นเกี่ยวข้องกบั ตวั จิตจำ� ต้องเป็นตัวการอยา่ งแยก ไม่ออกท่ีจะตอ้ งเขา้ รับภาระแบกหาม โดย ไม่
คำ� นงึ ถงึ ความหนกั เบาและชนดิ ของงานวา่ เปน็ งานชนดิ  ใดจะพอยก ไหว ไหม แตจ่ ติ ตอ้ งเขา้ รบั ภาระ
ทันที ดหี รือชั่ว ผดิ หรือถกู  ไม่ค่อยสน ใจคิด แม้งานหรือเร่อื งจะหนกั เบาเศรา้  โศกเพยี ง ใด ซ่งึ
บางเรอ่ื งแทบจะควา้ เอาชวี ติ  ไปดว้ ย ในขณะนนั้ แมเ้ ชน่ นนั้  ใจยงั กลา้ เอาตวั เขา้  ไปเสยี่ งและแบกหาม
จน ได้ โดย ไม่ค�ำนึงว่าจะเป็นจะตายเพราะเหลือบ่ากว่าแรง มิหน�ำยังหอบเอาเร่ืองมาคิดเป็น
การบา้ นอยอู่ กี จนแทบนอน ไมห่ ลับรบั ประทาน ไม ่ไดก้ ็ยังม ีในบางคร้ัง ค�ำวา่ หนักเกนิ  ไปยก ไม ่ไหว
เพราะเกินกว่าก�ำลัง ใจจะคิดและตา้ นทานนน้ั เป็น ไม่มี มแี ต่จะสเู้ อาท่าเดยี ว

งานทางกายยังมีเวลาพักผ่อนและยังรู้ประมาณว่าควรหรือ ไม่ควรแก่ก�ำลังของตนเพียง ใด
ส่วนงานทาง ใจ ไมม่ วี นั เวลา ไดพ้ กั ผอ่ นเอาเลย จะมพี กั อยู่บ้างเล็กนอ้ ยกข็ ณะหลับนอนเทา่ นนั้ แม้
เชน่ น้ันจิตยังอุตสา่ ห์ท�ำงานดว้ ยการละเมอเพอ้ ฝนั ต่อ ไปอีก และ ไม่รู้จกั ประมาณวา่ เรอื่ งต่าง ๆ น้ัน
ควรหรือ ไม่ควรแก่ก�ำลังของ ใจเพียง ใด เมื่อเกิดเป็นอะ ไรข้ึนมาก็ทราบแต่เพียงว่าทุกข์เหลือทน
แต ่ไมท่ ราบว่าทุกข์เพราะงานหนกั และเรอ่ื งเผด็ รอ้ นเหลอื กำ� ลงั ท ี่ใจจะส ู้ไหว จงึ ควร ใหน้ ามวา่ “ ใจ
คอื นกั ตอ่ ส”ู้ เพราะดกี ส็ ู้ ชวั่ กส็ ู้ สู้จน ไมร่ จู้ กั หยดุ ยั้ง ไตรต่ รอง อารมณ์ชนดิ  ใดผ่านมาตอ้ งสู้และ
สแู้ บบรบั เหมา ไม่ยอม ให้อะ ไรผา่ นหน้า ไป ได้ จติ เปน็ เช่นนี้แลจงึ สมนามว่านกั ตอ่ สู้ เพราะสูจ้ น 
ไม่รู้จักตาย ถ้ายังครองร่างอยู่และไม่ ได้รับการแก้ ไขก็ต้องเป็นนักต่อสู้เร่ือย ไป ชนิด ไม่มีวัน
ปลงวางภาระลง ได้ หากปลอ่ ย ให้เปน็  ไปตามชอบของ ใจท่ ีไมร่ ปู้ ระมาณ โดย ไมม่ ีธรรมเคร่ืองยับยงั้
บ้าง คง ไม่มีเวลา ไดร้ บั ความสุขแม้สมบัตจิ ะมีเป็นก่ายกอง เพราะนนั้ ม ิใชก่ องแหง่ ความสุข แต่
กลับเปน็ กองส่งเสริมทุกขส์ ำ� หรับ ใจท ่ีไม่มีเรอื นพกั คอื ธรรมภาย ใน ใจ

นักปราชญ์ท่านกล่าว ได้อย่างเต็มปากว่า ธรรมแลเป็นเคร่ืองปกครองทรัพย์สมบัติและ
ปกครอง ใจ ถา้  ใจมธี รรมมากนอ้ ย ผนู้ ั้นแมม้ ที รัพยส์ มบัตมิ ากน้อยยอ่ มจะมีความสขุ พอประมาณ
ถ้าขาดธรรมเพียงอย่างเดียวล�ำพังความอยากของ ใจจะพยายามหาทรัพย์ ให้ ได้กองเท่าภูเขาก็ยัง
หาความสขุ  ไม่เจอ เพราะนน้ั เปน็ เพียงเครอ่ื งอาศยั ของกายและ ใจผู้ฉลาดหาความสุข ใส่ตวั เท่านน้ั
ถ้า ใจ ไมฉ่ ลาดด้วยธรรม ไม่มีธรรม ใน ใจเพียงอย่างเดียว จะ ไปอยู ่ใน โลก ใดและกองสมบตั  ิใดก็เป็น
เพียง โลกเศษเดนและกองสมบัติเศษเดนอยู่เท่านั้น ไม่มีประ โยชน์อะ ไรแก่ ใจเลยแม้นิด ความ
ส�ำบุกส�ำบัน ความรับทุกข์ทรมาน ความอดทนและความทนทานต่อส่ิงกระทบกระทั่งต่าง ๆ
ไมม่ อี ะ ไรจะแข็งแกร่งเทา่  ใจ ถ้า ไดร้ ับความชว่ ยเหลือท่ถี กู ทาง ใจจะกลายเป็นของประเสรฐิ ขึน้ มา

80

ใหเ้ จ้าของ ได้ชมอย่างภูม ิใจและอม่ิ พอตอ่ เรือ่ งทัง้ หลายทนั ที

การ ใช้งานจิตนับแต่วันเกิดมาจนบัดนี้ รู้สึกว่า ใช้เอาอย่าง ไม่มีปรานีปราศรัย ถ้าเป็น
เครื่อง ใชช้ นดิ ต่าง ๆ มีรถรา เปน็ ต้น จะเปน็ อยา่ ง ไรบา้ ง ไม่ควรพูดถึงการนำ� เขา้ อู่ซอ่ ม แตค่ วรพูด
ถึงความแหลกยับเยินของรถจนกลายเป็นเศษเหล็ก ไปนานแล้วจะเหมาะสมกว่า น่ีแลทุกสิ่งเม่ือมี
การ ใช้ต้องมกี ารบูรณะซ่อมแซม มีการเกบ็ รกั ษา ถึงจะพอมีทางอำ� นวยประ โยชนต์ ่อ ไป จิตเป็น
สมบัติส�ำคัญมาก ในตัวเราที่ควร ได้รับการเหลียวแลด้วยวิธีเก็บรักษาเช่นเดียวกับสมบัติท่ัว ไป วิธี
ท่ีควรแก่จิต โดยเฉพาะก็คือภาวนาวิธีดังท่ีอธิบายมาบ้างแล้ว ผู้สน ใจ ในความรับผิดชอบต่อจิต
อนั เปน็ สมบัตทิ ีม่ คี ่ายิ่งของตน จงึ ควรปฏบิ ัติรักษาจติ ดว้ ยวิธีท่ีถกู ตอ้ งเหมาะสม คือฝึกหดั ภาวนา 
ใน โอกาสอนั ควร เพ่อื เป็นการตรวจตราดเู ครอ่ื งเคราของรถคือจติ ว่ามีอะ ไรบกพรอ่ งและเสีย ไปบ้าง
จะ ไดน้ �ำเข้า โรงซอ่ มสุขภาพทางจิต

คือนั่งพินิจพิจารณาดูสังขารภาย ใน คือความคิดปรุงของ ใจ ว่าคิดอะ ไรบ้าง ในวันและ
เวลาหน่ึง ๆ พอมีสารประ โยชน์บา้ ง ไหม หรือพยายามคิดแส่หาแตเ่ รื่อง หาแต่ โทษและขนทกุ ข์มา
เผาลนเจ้าของอยู่ท�ำนองนัน้ พอ ใหร้ คู้ วามผดิ  – ถกู ของตัวบา้ ง และพจิ ารณาสังขารภายนอก คอื
รา่ งกายของเรา ว่ามีความเจรญิ ขึน้ หรือเจริญลง ในวนั และเวลาหนึ่ง ๆ ทผี่ ่าน ไปจนกลายเป็นปเี ก่า
และปี ใหมผ่ ลดั เปลยี่ นกนั  ไป ไมม่ ที ส่ี นิ้ สดุ สังขารร่างกายเรามอี ะ ไร ใหม่ขน้ึ บ้าง ไหม หรือมแี ต่ความ
เกา่ แกแ่ ละคร�่ำคร่าชราหลดุ ลง ไปทกุ วนั ซึ่งพอจะนอน ใจกับเขาล่ะหรือ จึง ไม่พยายามเตรยี มตัว
เตรยี ม ใจเสยี แตเ่ วลาทพ่ี อทำ�  ได้ เวลาตายแลว้ จะเสยี การ นีค่ อื การภาวนา ภาวนาคือวธิ เี ตอื นตน
สงั่ สอนตน ตรวจตราดูความบกพรอ่ งของตนว่าควรจะแก้ ไขจุด ใดตรง ไหนบ้าง

ผู้ ใช้ความพิจารณาอยู่ท�ำนองนี้เร่ือย ๆ ด้วยวิธีสมาธิภาวนาบ้าง ด้วยการรำ� พึง ในอิริยาบถ
ตา่ ง ๆ บา้ ง ใจจะสงบเยอื กเย็น ไม่ล�ำพองผยองตัวและคว้าทุกขม์ าเผาลนตัวเอง เปน็ ผู้ร้จู กั ประมาณ
ท้ังหน้าทก่ี ารงานทพ่ี อเหมาะพอดแี กต่ วั ทงั้ ทางกายและทาง ใจ ไมล่ มื ตวั มัว่ สมุ  ในสงิ่ ทเี่ ป็นหายนะ
ต่าง ๆ คุณสมบัตขิ องผูภ้ าวนานี้มมี ากมาย ไม่อาจพรรณนาใหจ้ บสนิ้ ลง ได้ แตท่ ่านพระอาจารย์มั่น
ทา่ นมิ ไดอ้ ธบิ าย ใหล้ ึกซ้ึงมาก ไปกว่าฐานะของฆราวาสท่ีมารับการอบรม ผดิ กบั ทา่ นอธบิ าย ใหพ้ ระ – 
เณรฟงั อยมู่ าก เทา่ ทเ่ี ขยี นตามทา่ นอธบิ าย ไวพ้ อหอมปากหอมคอนก้ี ็ยังอาจมีบททรี่ ู้สกึ ว่าเปรีย้ วจัด
เค็มจดั แฝงอยู่บ้างตามทรรศนะของนานาจิตฺตํ จะ ใหเ้ ปน็ แบบเดียวกันย่อม ไม่ ได้ เท่าท่ี ได้พยายาม
ตะเกียกตะกายน�ำมาลงก็เพ่ือท่านผู้อ่าน ได้ช่วยติ – ชมพอเป็นยาอายวุ ฒั นะ ผิด – ถกู ประการ ใด 
โปรด ไดต้ ำ� หนิผ้นู �ำมาเขยี น กรณุ าอย่า ไดส้ น ใจกบั ทา่ นผ้เู ป็นเจา้ ของประวตั ิ เพราะท่านมิ ไดม้ ีส่วน

81

รู้เหน็ ด้วย เวลาแสดงธรรมข้นั สงู ทา่ นกแ็ สดงเป็นการภาย ในเฉพาะผูท้ ี่อย่ ูใกลช้ ิดเท่านัน้ แต่ผู้เขยี น
คะนอง ไปเอง ใจและมอื ไมอ่ ยู่เป็นสุข ไปเทยี่ วซอกแซกบนั ทกึ เอาจากปากค�ำของพระอาจารย์
ทงั้ หลายท่ีเปน็ ลกู ศิษย์ทา่ นพระอาจารย์มั่น ซึง่ เคยอยู่กับท่านมาเป็นคราว ๆ  ในสมัยนั้น ๆ แล้ว
น�ำมาลงเพ่ือท่านผู้อ่าน ได้ทราบปฏิปทาการด�ำเนินของท่านบ้างแม้ ไม่สมบูรณ์ เพราะปฏิปทา
ท่านปรากฏว่าเด็ดเด่ียวอาจหาญมาก แทบจะพูด ได้ว่า ไม่มีท่านผู้ ใดบรรดาลูกศิษย์ที่เคยพ่ึง
ร่มเงาแห่งบารมีท่านมาจะสามารถปฏิบัติเด็ดเด่ียวต่อธุดงควัตรและจริยธรรมท้ังหลายอย่าง
สม่ำ� เสมอเหมือนท่าน ส�ำหรบั องคท์ ่าน ทั้งขอ้ ปฏิบัติ ทั้งความรูภ้ าย ใน ใจ นบั วา่ เป็นเยี่ยม ในสมัย
ปจั จบุ นั ยากจะหาผู้เสมอเหมือน ได้

แถบจังหวัดอุดร ฯ และหนองคาย ตาม ในป่า ชายเขาและบนเขาท่ที า่ นพักอยู่ ท่านเล่าวา่
พวกเทพ ฯ ท้ังเบื้องบนเบ้อื งลา่ งมาเย่ียมฟังธรรมท่านเปน็ คราว ๆ คร่งึ เดอื นบ้าง หนึ่งเดอื นบ้าง มา
หนหน่ึง ไม่บอ่ ยนักเหมอื นจังหวัดเชยี ง ใหม่ แต่จะเขียนตอ่ เม่อื ประวัตทิ ่านด�ำเนิน ไปถงึ ระยะนี้
ขอดำ� เนินเรอ่ื ง ไปตามล�ำดบั เพื่อ ไม่ ให้กา้ วก่ายกนั ทา่ นเคย ไปพักบ�ำเพญ็ เพียรอยู่ชายเขาฝ่งั  ไทย
ตะวนั ตกเมืองหลวงพระบาง นานพอสมควร ทา่ นเลา่ ว่าที ่ใต้ชายเขาลกู นน้ั มเี มืองพญานาคตงั้ อยู่
ใหญ่ โตมาก หัวหน้าพญานาคพาบรวิ ารมาฟังธรรมทา่ นเสมอ และมากนั มากมาย ในบางครง้ั
พวกนาคไมค่ ่อยมปี ญั หามากเหมอื นพวกเทวดา พวกเทวดาทั้งเบือ้ งบนเบอื้ งล่างมกั มีปัญหามาก
พอ ๆ กัน ส่วนความเลือ่ ม ใส ในธรรมน้นั มพี อ ๆ กัน ท่านพักอยชู่ ายเขาลกู น้ันพญานาคมาเย่ียม
ท่านแทบทุกคืน และมีบริวารติดตามมา ไม่มากนัก นอกจากจะพามาเป็นพิเศษ ถ้าวัน ไหน
พญานาคจะพาบริวารมามาก ทา่ นกท็ ราบ ไวล้ ่วงหนา้ ก่อนทกุ ครั้ง

ท่านว่าท่านพักอยู่ท่ีนั้นเป็นประ โยชน์แก่พวกนาคและพวกเทวดา โดยเฉพาะ ไม่ค่อยเก่ียว
กับประชาชนนัก พวกนาคมาเย่ยี มท่าน ไมม่ าตอนดึกนกั ท่านว่าอาจจะเป็นเพราะทที่ ่ีพักสงัดและ
อยหู่ ่าง ไกลจากหมบู่ ้านก็ ได้ พวกนาคจงึ พากันมาเยย่ี มเฉพาะท่นี น้ั ราว ๒๒ – ๒๓ นาฬิกา คอื
๔ – ๕ ทุ่ม ส่วนทอ่ี ืน่  ๆ มาดึกกว่านนั้ ก็มี เวลาขนาดนั้นกม็ ี พญานาคอาราธนานมิ นตท์ า่ น ให้อยู่
ท่ีนน่ั นาน ๆ เพื่อ โปรดเขา เขาเคารพเลื่อม ใสทา่ นมากและจดั  ใหบ้ รวิ ารมารกั ษาทา่ นทง้ั กลางวัน
และกลางคนื โดยผลดั เปล่ียนวาระกนั มามิ ไดข้ าด แตเ่ ขาม ิได้มาอย่ ูใกล้นกั อยู่ห่าง ๆ พอทราบ
และรกั ษาเหตุการณ์เก่ียวกับทา่ น ได้สะดวก สว่ นพวกเทพ ฯ โ ดยมากมักมาดึกกวา่ พวกนาคคอื
๒๔ นาฬกิ า หรือตี ๑ ตี ๒ ถา้ อยู่ ในเขาหา่ ง ไกลจากหมบู่ า้ น พวกเทพ ฯ ก็มมี าแต่วนั ราว
๒๒ – ๒๓ นาฬิกาอยู่บ้าง จึงไมแ่ น่นัก แต่ โดยมากนบั แต่เทยี่ งคืนขึน้  ไปพวกเทพ ฯ ชอบมากันเปน็
นิสัย

82

ข้อวัตรประจ�ำองค์ท่าน โดยเฉพาะ ในมัชฌิมวัย

ข้อวตั รประจำ� องคท์ ่าน โดยเฉพาะ ในมัชฌมิ วยั หลงั จงั หนั เสร็จแล้วเขา้ ทางจงกรม จวน
เทยี่ งหรอื เทย่ี งวันเข้าทพ่ี ักกลางวันเล็กนอ้ ย หลังจากพกั ก็เข้าทีท่ �ำสมาธภิ าวนาราวชว่ั  โมงครึ่ง จาก
น้ันลงเดนิ จงกรม จนถึงเวลาบ่าย ๔ โมงปัดกวาดลานวัดหรือทพ่ี กั เสรจ็ แลว้ สรงนำ้� แลว้ เขา้ ทาง
จงกรมอีก จนถึงเวลา ๑ – ๒ ทุ่มเขา้ ทีพ่ ักท�ำสมาธภิ าวนาต่อ ไป ถ้าเป็นหนา้ ฝนหรือหน้าแล้ง คืน
ท่ีฝน ไม่ตกท่านยังลงเดินจงกรมอีกจนดึกด่ืนถึงจะข้ึนกุฏิหรือเข้าท่ีพักซึ่งเป็นร้านเล็ก ๆ ถ้าเห็นว่าดึก
มาก ไปทา่ นกเ็ ข้าพกั จ�ำวัด ปรกตทิ า่ นพกั จ�ำวัดราว ๒๓ นาฬกิ า คือ ๕ ทุม่ ไปตนื่ เอาตี ๓ คือ
๙ ทุม่ ถา้ วัน ใดจะมแี ขกเทพ ฯ มาเยยี่ มฟังธรรม ซงึ่ ปรกตทิ ่านตอ้ งทราบ ไวล้ ว่ งหนา้  ในตอนเยน็
ก่อนแล้วทกุ ครงั้ วันน้นั ถ้าเขาจะมาดึกท่านก็รบี พกั เสียก่อน ถา้ จะมาราว ๕ ทุม่ หรอื เท่ียงคนื กเ็ ข้า
ท่รี อรับพวกเทพ ฯ อย่างนป้ี ระจำ�

ท่าน ไปพักบ�ำเพ็ญ ในท่ีบางแห่ง บางคืนมีท้ังพวกเทพ ฯ เบื้องบนและเทพ ฯ เบื้องล่างจะ
มาเยย่ี มทา่ น ในเวลาเดียวกนั ก็มี ถ้าเปน็ อย่างน้ีทา่ นตอ้ งย่นเวลาคือรับแขกเทพ ฯ พวกมาถงึ ก่อน
แต่น้อย แสดงธรรม ให้ฟังและแก้ปัญหาเท่าที่จ�ำเป็นแล้วก็บอกชาวเทพ ฯ ที่มาก่อน ให้ทราบว่า
ถัดจากน ี้ไปจะมชี าวเทพ ฯ มาฟงั ธรรมและถามปัญหาอีก พวกทีม่ าก่อนก็รีบลาทา่ นกลบั  ไป พวก
มาทีหลงั ซง่ึ รออยหู่ ่าง ๆ พอ ไม ่ใหเ้ สยี มารยาทความเคารพก็พากันเขา้ มา ท่านกเ็ รมิ่ แสดงธรรม ให้
ฟังตามแต่บาทคาถาที่ท่านก�ำหนด ในขณะนั้นจะผุดขึ้นมา ซึ่งพอเหมาะกับจริตนิสัยและภูมิของ
เทพ ฯ พวกนั้น ๆ บางทหี วั หนา้ เทพ ฯ ก็แสดงความประสงคข์ ึน้ เสียเองว่าขอฟงั ธรรมนั้น ทา่ นก็
เร่มิ ก�ำหนดพอธรรมน้ันผุดข้ึนมากเ็ ริม่ แสดง ใหพ้ วกเทพ ฯ ฟงั

ในบางคร้ังหัวหน้าเทพ ฯ ขอฟังธรรมประเภทนั้น ท่านสงสัยต้องถามเขาก่อนว่าธรรมนั้น
ชื่ออะ ไร ในสมัยนี้ เพราะช่ือธรรมที่พวกเทพ ฯ เคยนับถือกันมาด้ังเดิมแต่สมัย โน้นกับชื่อธรรม ใน
สมยั นี้ตา่ งกัน ในบางสตู รบางคมั ภีร์ เขากบ็ อกว่าชอื่ ว่าอยา่ งนัน้  ในสมัยนี้ แตส่ มยั  โนน้ ซึ่งพวกเทพ ฯ
นบั ถือกันมาชอื่ วา่ อยา่ งน้นั บางครง้ั ถา้ สงสัยทา่ นก็ก�ำหนดเอง ยอมเสียเวลาเลก็ นอ้ ย บางคร้งั ก็
ถามเขาเลยทเี ดียว แตบ่ างครงั้ พอเขาขอฟังธรรมสตู รน้ันหรือคมั ภีรน์ นั้ ซ่ึงเปน็ สูตรหรือคมั ภีรท์ ่ที า่ น
เคยรอู้ ยูแ่ ล้ว นกึ ว่าเป็นความนิยม ในชอ่ื อนั เดียวกนั ท่านเลย ไมต่ อ้ งกำ� หนดพจิ ารณาตอ่  ไปเพราะ
เข้า ใจวา่ ตรงกันกบั ทเ่ี ขาขอ ทา่ นเรม่ิ แสดง ไปเลย พอแสดงขน้ึ เขารบี บอกทนั ทวี า่  ไม่ ใช่ ท่านยก
สูตรหรือคัมภรี ์ผิด ไป ตอ้ งขนึ้ คาถาวา่ อยา่ งนัน้ ถึงจะถูก อยา่ งน้กี ็เคยมีท่านวา่ พอ โดนเข้าครงั้ หน่งึ
สองคร้ังก็จำ�  ไดเ้ อง จากน้ันท่านต้องก�ำหนด ใหแ้ น ่ใจเสยี กอ่ นว่าตรงกบั ทม่ี นุษย์และเทวดานยิ ม ใช้

83

ตรงกันหรือเปลา่ ค่อยเร่ิมแสดงตอ่  ไป บางวันพวกเทพ ฯ เบ้ืองบนบา้ ง เบ้อื งล่างบ้าง พวก ใด
พวกหน่ึงจะมาเยี่ยมฟังธรรมกับท่าน ในเวลาเดียวกันกับพวกพญานาคจะมาก็มี เช่นเดียวกับ
แขกมนุษย์เรามาเย่ียมครูอาจารย์ ในเวลาเดียวกันฉะน้ัน แต่นาน ๆ มีครั้ง ในกรณีเช่นน้ีเมื่อเขา
มา ในเวลาตรงกันบอ่ ย ๆ เขา้ ทา่ นจำ� ต้องตกลงกบั พวกเทพ ฯ ทัง้ เบือ้ งบนเบือ้ งล่างว่า พวกนั้น 
ใหม้ า ในเวลาเทา่ น้นั พวกน้นั  ใหม้ า ในเวลาเท่านั้น และพวกนาค ใหม้ า ในเวลาเท่านน้ั เพ่ือความ
สะดวกทั้งฝ่ายพระ ฝ่ายเทพ ฯ และฝา่ ยนาคทัง้ หลาย

ตามท่านเล่าวา่ ทา่ น ไมค่ ่อยมเี วลาว่างเท่า ไรนัก แมจ้ ะ ไปอย ู่ในปา่  ในเขาลกึ  ๆ ก็จำ� ต้อง
ปฏบิ ตั ิตอ่ พวกเทพ ฯ ซ่งึ มาจากเบอ้ื งบนช้นั ต่าง ๆ และมาจากเบื้องล่าง ในทีต่ ่าง ๆ กนั อยนู่ น่ั เอง ใน
คนื หนงึ่ พวกหนง่ึ  ไมม่ าชน้ั หนงึ่  ไมม่ า กต็ อ้ งมอี กี พวกหนง่ึ อกี ชนั้ หนงึ่ และพวกรกุ ขเทพ ฯ ท ี่ใดทีห่ นง่ึ มา
กันจน ได้ จงึ  ไม่คอ่ ยมเี วลาว่าง ในเวลากลางคนื แตท่ ่เี ช่นนน้ั มนษุ ย์ ไม่คอ่ ยมี ถา้ ลงมาพัก ใกล้บ้าน 
ใกล้เมอื งกเ็ ปน็ ชาวมนุษยจ์ ากทตี่ า่ ง ๆ มาเยย่ี ม แต่ต้องต้อนรบั เวลากลางวนั ตอนบา่ ยหรือเย็น
จากน้นั กอ็ บรมพระเณรต่อ ไป ขณะทจ่ี ะเขยี นประวัติของชาวมนุษย์เรา ในอันดบั ต่อจากชาวเทพ ฯ
ทีม่ าเกีย่ วข้องกบั ท่านซ่ึงผูเ้ ขียนมีสว่ น ได ้ – เสยี รวมอยดู่ ้วยเพราะความเปน็ มนษุ ยป์ ถุ ชุ นด้วยกนั จึง
ต้องขออภัยทา่ นผู้อ่านมาก ๆ หากเปน็ การ ไม่งามและ ไมส่ มควรประการ ใด ในเนอื้ หาตอ่  ไปนี้ เพราะ
เปน็ ความจำ� เปน็ ทจ่ี ำ� ตอ้ งเขยี นตามความจรงิ ทที่ า่ นเลา่  ใหฟ้ งั เปน็ การภาย ใน โดยเฉพาะ แตผ่ ้เู ขียนมี
นสิ ยั  ไมด่ ีประจำ� ตวั ทแี่ ก้ ไม่ตก ในบางกรณีดังเร่ืองทีจ่ ะเขียนต่อ ไปน้ี ทงั้ นเ้ี พอ่ื จะ ได้น�ำมาเทยี บเคียง
กันระหว่างชาวมนุษยก์ ับชาวเทพ ฯ และถอื เอาประ โยชน์เทา่ ท่คี วร จงึ ขออภัยอกี ครั้ง

ทา่ นเล่าวา่ การติดต่อและแสดงธรรมระหว่างมนษุ ย์กับเทวดาร้สู กึ ต่างกนั อยมู่ าก คอื เวลา
แสดงธรรม ให้เทวดาฟงั  ไมว่ า่ เบอ้ื งบน เบอ้ื งลา่ ง หรือรุกขเทวดา พวกนฟี้ ังเข้า ใจง่ายกวา่ มนุษยเ์ รา
หลายเท่า พอแสดงธรรมจบลง เสยี งสาธกุ าร ๓ ครงั้ กระเทอื น โลกธาตุ ขณะท่พี วกเทพ ฯ
ทุกช้นั ทุกภูมมิ าเย่ยี มก็มคี วามเคารพพระอยา่ งยง่ิ ไม่เคยเห็นพวกเทพ ฯ แมร้ ายหน่ึงแสดงอาการ 
ไมด่ ไี ม่งามภาย ใน ใจ ทุกอาการของพวกเทพ ฯ ออ่ นนม่ิ เหมอื นผ้าพบั  ไว้เสมอกนั  ในขณะนนั้ ขณะ
ทมี่ ากด็ ี ขณะนงั่ ฟงั ธรรมกด็ ี ขณะจะจาก ไปกด็ ี เปน็ ความสงบเรยี บรอ้ ยและสวยงาม ไปตลอดสาย
แต่เวลาแสดงธรรม ให้ชาวมนษุ ย์ฟังกลบั  ไม่เขา้  ใจกนั แม้อธิบายซำ้� แลว้ ซำ�้ เล่ากย็ งั  ไม่ค่อยจะเขา้  ใจ
นอกจาก ไม่เข้า ใจแล้ว ยังคิดต�ำหนิผู้แสดงอยู่ภาย ในอีกด้วยว่า เทศน์อะ ไรฟัง ไม่รู้เร่ืองเลย
ส้อู งค์น้นั  ไม่ ได้ ส้อู งค์น ้ีไม ่ได้ บางรายยังอดจะเอากิเลสหยาบ ๆ อยภู่ าย ในของตวั ออกอวด ไม ่ไดว้ ่า
สมยั เราบวชยงั เทศน์เกง่ กว่านีเ้ ปน็  ไหน ๆ คนฟังฮากนั ตงึ  ๆ ด้วยความเพลดิ เพลิน ไมม่ กี ารง่วงเหงา
หาวนอนเลย ยง่ิ เทศน ์โจทกส์ องธรรมาสนด์ ว้ ยแลว้ คนฟงั หวั เราะกนั  ไม ่ไดห้ บุ ปากตลอดกณั ฑ์ บางราย

84

ก็คดิ  ใน ใจวา่ คนเลา่ ลอื กนั วา่ ท่านเกง่ มากทางรู้วาระน�้ำจติ คน ใครคิดอะ ไรขึ้นมาท่านรู้ ไดท้ นั ที
แต่เวลาเราคิดอะ ไร ๆ ทา่ น ไม่เห็นรูบ้ า้ งเลย ถา้ รกู้ ต็ ้องแสดงออกบา้ ง ถ้า ไมแ่ สดงออกตรง ๆ ตอ่ หนา้
ผู้ก�ำลงั คิด กค็ วรพูดเปน็ อุบายเปรยี บเปรยว่า นาย ก. นาย ข. ไม่ควรคิดเช่นนน้ั  ๆ มันผดิ ควร
เปลี่ยนความคดิ เสยี  ใหม่ดงั น้ี พอจะจบั เงอ่ื น ไดว้ า่ ผูร้ หู้ ัว ใจคนจรงิ สมค�ำเล่าลือ บางรายเตรยี มจะ
มาจบั ผดิ จบั พลาดดว้ ยความอวดตัวว่าฉลาดอยา่ งพอตัว ผ้เู ชน่ น้นั  ไม่มคี วามสน ใจต่อธรรมเอาเลย
แม้จะแสดงธรรม ให้ผู้อื่นฟงั ดว้ ยวธิ  ีใด ๆ ท่เี ขานงั่ ฟงั อยูด่ ้วย ในขณะนั้น กเ็ ปน็ เหมือนเทน้ำ�  ใสห่ ลัง
หมานั่นเอง มนั สลดั ทิ้งหมดทันที ไมม่ ีน้ำ� เหลอื อยบู่ นหลังแม้หยดเดียว วา่ แลว้ ท่านก็หัวเราะ
อาจจะขบขนั  ใน ใจอยู่บา้ งที่นาน ๆ ท่านจะ ได้พบมนุษย์ท่ฉี ลาดสกั คร้งั หนึง่ แลว้ ก็เลา่ ตอ่  ไป

เวลามาต่างก็แบกทิฏฐิมานะมาจนจะเดินแทบ ไม่ ไหวเพราะหนักมากเกินกว่าแรงมนุษย์
ทง้ั คนจะแบกหาม ได้ ในตวั ท้งั หมดปรากฏวา่ มีแต่ทิฏฐิมานะตัวเป้ง ๆ ท้งั นัน้  ไม ่ใชข่ องเล่น มองดู
แลว้ น่ากลัวย่งิ กวา่ ทจี่ ะนา่ สงสารและคิดแสดงธรรม ใหฟ้ งั แตก่ จ็ ำ� ตอ้ งแสดงเพอื่ สงั คม ถู ไถกัน ไป
อย่างนน้ั แล ธรรมก ็ไมท่ ราบว่าหาย ไป ไหนหมด คดิ หาแต่ละบทละบาทก็ ไมเ่ ห็นมแี สดงขนึ้ มาบ้าง
เลย เขา้  ใจวา่ ธรรมจะสู้ตวั เปง้  ๆ ไ ม ่ไหวเลยวิ่งหนีหมด ยงั เหลือแตต่ ัวเปลา่ ทเ่ี ปน็ เหมอื นตกุ๊ ตา
ซ่ึงก�ำลังถูกเหล็กแหลมทมิ่ แทงอยู่อย่าง ไมม่  ีใครสน ใจวา่ จะมคี วามรสู้ กึ อยา่ ง ไรเวลาน้ัน ทเี่ ขาตำ� หนิ
กถ็ กู ของเขา เพราะบางครงั้ เราก ็ไม่มธี รรม โผลห่ น้าข้ึนมาเพือ่  ใหแ้ สดงบา้ งเลยจรงิ  ๆ มแี ต่น่ังอยู่
เหมอื นหวั ตอ จะ ได้อรรถ ไดธ้ รรมมาจาก ไหน แลว้ ท่านก็หวั เราะ ไปพลางเลา่  ไปพลาง ผูน้ ง่ั ฟังอยู่
ดว้ ยกันหลายคน ในขณะนัน้ บางรายก็เกดิ ตวั สน่ั ขึ้นมาเอาเฉย ๆ แตห่ า ไข ้ไม่เจอ หาหนาว ไมเ่ จอ
เพราะ ไม ่ใชห่ นา้ หนาว เลยพากนั เดาเอาเองว่าคงเป็นเพราะความกลัวนั่นเอง

ทา่ นว่าถา้  ไมจ่ �ำเป็นจริง ๆ ก็ ไมเ่ ทศน์ เพราะการเทศนเ์ ป็นเหมอื น โปรยยาพษิ ท�ำลายคน
ผู้ ไม่มคี วามเคารพอยภู่ าย ใน สว่ นธรรมน้ันยก ไว้ว่าเปน็ ธรรมทเี่ ย่ยี มยอดจรงิ  ๆ มคี ุณค่ามหาศาล
สำ� หรบั ผตู้ ัง้  ใจและมีเจตนาเป็นธรรม ไม่อวดรูอ้ วดฉลาดเหนอื ธรรม ตรงนีแ่ ลท่ีสำ� คญั มาก และ
ท�ำ ให้เปน็ ยาพษิ เผาลนเจา้ ของผูก้ อ่ เหตุ โดย ไมร่ ู้สกึ ตัว ผ ู้ไมก่ อ่ เหตุ ผลจะเกดิ ขน้ึ  ไดอ้ ยา่ ง ไร ขณะ
นงั่ ฟังอยูด่ ว้ ยกันหลายคนผรู้ ้อนรอ้ นจนจะละลายตาย ไปก็มี ผู้เยน็ เยน็ จนตวั จะเหาะลอยขึน้ บน
อากาศกม็ ี มันผิดกนั ที่ ใจดวงเดยี วนเี้ ทา่ นัน้ นอกนน้ั  ไมส่ �ำคญั เราจะพยายามอนุเคราะห์เขาเพอ่ื
ผ่อนหนัก ให้เปน็ เบาบ้างก็ ไมม่ ีทาง เมอ่ื  ใจ ไมย่ อมรบั แล้ว แมจ้ ะพยายามคิดวา่ ถา้  ไม่เกิดประ โยชน์
ก ็ไม่อยาก ให้เกดิ  โทษ แตก่ ็ปดิ  ไมอ่ ยู่เพราะผคู้ อยจะสร้างบาปสรา้ งกรรมน้นั เขาสรา้ งอยตู่ ลอดเวลา
แบบ ไม่สน ใจกับ ใครและอะ ไรท้ังน้นั

85

การเทศน์สงั่ สอนมนุษยน์ บั ว่ายากอย ู่ไม่นอ้ ย เวลาเขามาหาเราซง่ึ  ไม่กคี่ นแต ่โดยมากตอ้ ง
มียาพิษแอบติดตัวมาจน ได้ ไมม่ ากก็พอ ให้รำ� คาญ ใจ ได้ ถา้ เราจะสน ใจร�ำคาญอย่าง โลก ๆ กต็ ้อง
 ได้ร�ำคาญจรงิ  ๆ แตน่ ี้ปล่อยตามบญุ ตามกรรม เม่อื หมดทางแก ้ไขแล้วถอื ว่าเปน็ กรรมของสัตว์
ท่านว่าแลว้ กห็ วั เราะ ผูต้ งั้  ใจมาเพื่อแสวงหาอรรถหาธรรมหาบุญกุศลด้วยความเช่ือบุญเชื่อกรรม
จริง ๆ ก็มี นั่นน่าเห็น ใจและสงสารมาก แตม่ จี ำ� นวนนอ้ ย ผมู้ าแสวงหาสง่ิ  ไมเ่ ปน็ ทา่ และ ไมม่ ี
ขอบเขตนน้ั รสู้ กึ มากเหลอื หเู หลอื ตาพรรณนา ไมจ่ บ ฉะนัน้ จงึ ชอบอยู่แต่ ในป่า ในเขาอนั เป็นที่
สบายกายสบาย ใจ ท�ำความพากเพียรกเ็ ตม็ เมด็ เต็มหนว่ ย ไมม่ สี ่งิ รบกวน ให้ลำ� บากตาล�ำบาก ใจ
มอง ไปทาง ไหน คดิ เรอื่ งอะ ไรเกี่ยวกบั อรรถธรรมกป็ ลอด โปร่ง โลง่  ใจ

มองดูและฟงั เสยี งสตั วส์ าราสงิ ห์พวก ลงิ คา่ ง บา่ ง ชะนี ที่หยอกเล่นกันทงั้ หอ้ ย โหน โยนตวั
และกู่ร้อง โหยหวนหากันอยตู่ ามก่งิ  ไม้ชายเขาลำ� เนาปา่ ยังทำ�  ให้เย็นตาเย็น ใจ ไปตาม โดยมิ ได้คิดว่า
เขาจะมีความรู้สึกอะ ไรต่อเรา ต่างตัวต่างหากินและปีนข้ึน โดดลง ไปตามภาษาของสัตว์ ทำ�  ให้
รูส้ ึก ในอริ ยิ าบถและความเป็นอยูท่ กุ ด้านสดชน่ื ผ่อง ใสและวเิ วกวังเวง หากจะมอี นั เปน็ อนั ตายขน้ึ มา
 ในเวลานน้ั กเ็ ปน็  ไปด้วยความสงบสุขทง้ั ทางกายและจิต ใจ ไม่เกลอื่ นกล่นวนุ่ วาย ตายแบบธรรมชาติ
คือมาคนเดยี ว ไปคนเดียวแท้ โดยมากพระสาวกอรหนั ต์ทา่ นนพิ พานแบบน้ีกันทั้งนั้น เพราะ
กายและจิตของท่าน ไม่มีความเกล่ือนกล่นวุ่นวายมาแอบแฝง มีกายอนั เดียว จติ ดวงเดียวและ
มีอารมณ์เดียว ไม ่ไหลบา่ แส่หาความทกุ ข์ ไม่ส่ังสมอารมณ ์ใด ๆ มาเพ่ิมเตมิ  ใหเ้ ปน็ การหนักหน่วง
ถว่ งตน ทา่ นอยูแ่ บบอริยะ ไปแบบอรยิ ะ ไม่ระคนคละเคลา้ กบั สิ่งทจ่ี ะทำ�  ใหก้ ังวลเศรา้ หมอง ใน
ทฏิ ฐธรรมปจั จุบัน สะอาดเท่า ไรยงิ่ รกั ษา บริสุทธเ์ิ ทา่  ไรย่งิ  ไม่ค้นุ กับอารมณ์ ตรงกนั ข้ามกับทีว่ ่า
หนักเทา่  ไรยิง่ ขนมาเพม่ิ เข้า แต่ทา่ นเบาเทา่  ไรย่งิ ขนออกจน ไมม่ ีอะ ไรจะขนแลว้ กอ็ ยกู่ บั ความ ไมม่ ี
ทงั้  ๆ ทผี่ วู้ า่  ไมม่ คี อื  ใจกม็ อี ยกู่ บั ตวั คอื  ไมม่ งี านจะขนออกและขนเขา้ อกี ตอ่  ไป เรยี กว่าบรรลุถึงข้นั
คนว่างงาน ใจวา่ งงาน ทางศาสนาถอื การวา่ งงานแบบน้ีเป็นความสุขอนั ยงิ่  ใหญ่ ผดิ กบั  โลกท่ี
ผวู้ า่ งงานกลายเปน็ คนมที กุ ขม์ ากขน้ึ เพราะ ไมม่ ที าง ไหลมาแหง่  โภคทรพั ย์

ท่านเลา่ ความแปลกตา่ งระหวา่ งมนษุ ย์กับเทวดา ให้ฟงั มากมาย แต่น�ำมาเขียนเทา่ ทีจ่ ำ�  ได้
และท่ีเห็นว่าควรจะยึดเป็นสารประ โยชน์ ได้บ้างตามสติปัญญาท่ีจะคัดเลือกหาแง่ท่ีเป็นประ โยชน์
ทม่ี ขี าดตอน ไปบา้ ง ในเรื่องเดยี วกนั เชน่ เรอ่ื งเทวดา เปน็ ต้น ซงึ่ ควรจะน�ำมาเชอ่ื ม โยงติดต่อกนั  ไป
จนจบ แต่ ไม่สามารถทำ�  ได ้ในระยะนนี้ ้ัน เกย่ี วกบั ประสบการณข์ องทา่ นผู้เปน็ เจา้ ของ มปี ระสบ
หลายครั้งทัง้  ในท่ีและสมยั ตา่ ง ๆ กนั จำ� ตอ้ งเขียน ไปตามประวัตทิ ที่ า่ นประสบเพอื่  ให้เรยี งล�ำดับกนั  
ไป แม้เร่อื งเทวดาก็ยงั จะมีอยู่อกี  ในวาระตอ่  ไปตามประวตั ิทผี่ เู้ ขียนดำ� เนิน ไปถงึ ตามประสบการณ์

86

นน้ั  ๆ ไม่กลา้ นำ� มาลง ใหค้ ละเคลา้ กนั จงึ ขออภยั ดว้ ยหาก ไม่สะดวก ในการอ่าน ซง่ึ ม่งุ ประสงค์
จะ ให้จบสิน้  ในเรื่องท�ำนองเดียวกนั  ในตอนเดียวกัน

ที่ท่านเล่าระหว่างมนุษย์กับเทวดา น้ันเป็นเร่ืองราวของมนุษย์และเทวดา ในสมัย โน้น
ตา่ งหาก ซง่ึ องคท์ ่านผู้ประสบและเลา่  ใหฟ้ งั ก็มรณภาพผา่ น ไปราว ๒๐ ปีนี้แลว้ คดิ ว่ามนษุ ยแ์ ละ
เทวดาสมัยน้ันคงจะแปรสภาพเป็นอนิจฺจํ ไปตามกฎอันมีมาดั้งเดิม อาจจะยังเหลือเฉพาะมนุษย์
และเทวดาสมัย ใหม่ซ่ึงต่างก็ ได้รับการอบรมพัฒนาทางจิต ใจและความประพฤติกันมาพอสมควร
เรื่องมนุษย์ท�ำนองท่ีมี ในประสบการณ์ของท่านจนกลายเป็นประวัติมานั้นคงจะ ไม่มีท่านผู้สน ใจ
สบื ต่อ ใหร้ กรงุ รังแก่ตนและประเทศชาติ ศาสนา พระมหากษตั ริยอ์ กี ตอ่  ไป เพราะการศกึ ษา
นบั วนั เจรญิ ผ ู้ไดร้ บั การศกึ ษามากคง ไมม่ ที า่ นผมู้ จี ติ  ใจ ใฝต่ ำ�่ ขนาดนน้ั จงึ เปน็ ทเ่ี บา ใจกบั ชาวมนษุ ย ์
ในสมัยนี้

ทา่ นพกั บำ� เพญ็ และอบรมพระ – เณรและประชาชนชาวจงั หวดั อดุ ร ฯ หนองคาย พอสมควร
แล้วก็ยอ้ นกลับ ไปทางจังหวัดสกลนคร เทย่ี ว ไปตามหมูบ่ ้านทม่ี อี ยู่ ในป่า ในเขาตา่ ง ๆ มีอำ� เภอ
วารชิ ภูมิ พัง โคน สว่างแดนดนิ วานรนวิ าส อากาศอ�ำนวย แล้วก็เลยเข้าเขตจงั หวดั นครพนม
เทยี่ ว ไปตามแถบอำ� เภอศรสี งคราม มีหมบู่ า้ นสามผง โนนแดง ดงนอ้ ย คำ� นกกก เป็นตน้ ซ่ึง
เป็นหมู่บ้านที่เต็ม ไปด้วยดงหนาป่าทึบและชุกชุม ไปด้วย ไข้ป่า ไข้มาลาเรีย ซ่ึงราย ใดเจอเข้าแล้ว
กย็ ากจะหาย ได้ง่าย ๆ อย่างนอ้ ยเป็นแรมปกี ็ยัง ไม่หายขาด หาก ไม่ตายก็พอทรมานดงั ท่เี คยเขยี น
ผา่ นมาบา้ งแลว้ วา่ “ ไขท้ พ่ี อ่ ตาแมย่ ายเบอื่ หนา่ ยและเกลยี ดชงั ” เพราะผเู้ ปน็  ไขป้ ระเภทนนี้ าน ๆ ไ ป
แมย้ งั  ไมห่ ายขาด แตก่ พ็ อ ไปมา ไดแ้ ละรบั ประทาน ไดแ้ ตท่ ำ� งาน ไม ่ได้ บางรายกท็ ำ�  ใหเ้ ปน็ คนวกิ ลวกิ าร 
ไปเลยกม็ ี ชาวบา้ นแถบนนั้ เจอกนั บอ่ ยและมดี าษดน่ื สว่ นพระ – เณรจำ� ตอ้ งอย ู่ในขา่ ยอนั เดยี วกนั
มากกว่านัน้ ก็ถึงตาย ท่านจ�ำพรรษาแถบหมูบ่ ้านสามผง ๓ ปี มีพระตายเพราะ ไขป้ า่  ไปหลายรปู
ทีเ่ ปน็ พระชาวทุ่ง ไม่เคยชนิ กบั ปา่ กบั เขา เชน่ พระชาวอุบล ฯ รอ้ ยเอ็ด สารคาม* ไปอยกู่ ับทา่ น
ในปา่ แถบน้ัน ไม่ค่อย ได้เพราะทนตอ่  ไข้ปา่  ไม ่ไหว ต้องหลกี ออก ไปจำ� พรรษาตามหมู่บา้ นแถวทุง่  ๆ

ทา่ นเล่าว่า ขณะท่านกำ� ลงั แสดงธรรมอบรมพระ – เณรตอนกลางคืนท่หี มบู่ า้ นสามผง มี
พญานาคที่อยู่แถบล�ำแม่น้�ำสงคราม ได้แอบมาฟังเทศน์ท่านแทบทุกคืน เฉพาะวันพระมาทุกคืน
ถ้า ไม่มาตอนท่านอบรมพระ – เณร ก็ต้องมาตอนดึกขณะท่านเข้าที่ภาวนา ส่วนพวกเทวดาท้ัง
เบ้ืองบนเบ้ืองล่างมีมาห่าง ๆ ไม่เหมือนอยู่ที่อุดร ฯ หนองคาย เฉพาะวันเข้าพรรษา วันกลาง
พรรษา และวันปวารณาออกพรรษาแล้ว ไม่ว่าท่านจะพักจ�ำอยู่ท่ี ไหน แม้แต่ ในตัวเมืองก็

* จังหวัดมหาสารคาม

87

ยงั มพี วกเทวดาทัง้ เบ้ืองบนเบอื้ งล่าง ชน้ั  ใดชั้นหนึ่งและที่ ใดท่ีหนง่ึ มาฟังธรรมท่านม ิได้ขาด เช่น
วดั เจดีย์หลวงที่จังหวดั เชียง ใหม่ เปน็ ต้น

พระธุดงค์หัวดื้อ

ขณะที่ท่านพักอยู่บา้ นสามผงมเี รือ่ งท่แี ปลกอยูเ่ รื่องหนง่ึ เวลาน้นั เป็นหน้าแล้งพระ – เณร
อบรมกับทา่ นมากราว ๖๐ – ๗๐ รูป น�ำ้ ท่าม ีไม่พอ ใชแ้ ละขนุ่ ข้น ไปหมด พระและเณรพากนั
ปรึกษากันกับชาวบ้านว่าควรจะขุดบ่อ ให้ลึกลง ไปอีก เผื่อจะ ได้น้�ำที่สะอาดและพอกินพอ ใช้
ไม่ขาดแคลนดังที่เป็นอยู่บ้าง เม่ือตกลงกันแล้ว พระผู้ ใหญ่ก็เข้า ไปกราบเรียนท่านเพื่ออนุญาต
พอกราบเรียนความประสงค์ ให้ท่านทราบ ท่านนิ่งอยู่พักหนึ่งแล้วแสดงอาการเคร่งขรึม และ
ห้ามออกมาอย่างเสยี งแขง็ วา่ “อย่า ๆ ดี ไมด่ ีเป็นอันตราย” พดู เทา่ นนั้ กห็ ยุด ไมพ่ ดู อะ ไรต่อ ไปอกี
พระอาจารยร์ ูปน้ันกง็ งงัน ในคำ� พดู ทา่ นทวี่ า่ “ดี ไม่ดเี ป็นอนั ตราย” พอกราบทา่ นออกมาแลว้ ก็น�ำ
เรือ่ งมาเล่า ใหพ้ ระ – เณรและญาติ โยมฟงั ตามทตี่ น ไดย้ นิ มา แทนท่ีจะมีผคู้ ิดและเหน็ ตามท่ที ่านพูด
ห้าม แตก่ ลับปรึกษากันเปน็ ความลับว่าพวกเรา ไมต่ อ้ ง ให้ท่านทราบ พากันข โมยทำ� กย็ งั  ได้เพราะ
นำ้� บอ่ กอ็ ยูห่ า่ ง ไกลจากวัด พอจะข โมยท�ำ ได้

พอเทยี่ งวนั กะวา่ ทา่ นพกั จำ� วดั กพ็ ากนั เตรยี มออก ไปขดุ บอ่ พอขดุ กนั ยงั  ไมถ่ งึ  ไหนดนิ รอบ ๆ
ปากบ่อก็พังลง ใหญ่จนเต็มข้ึนมาเสมอพ้ืนท่ีท่ีเป็นอยู่ดั้งเดิม ปากบ่อเบิกกว้างและเสียหาย ไป
เกือบหมด พระ – เณร – ญาติ โยมพากันกลัวจน ใจหาย ใจคว�่ำ ไปตาม ๆ กัน และตั้งตัว ไม่ติด
เพราะดินพังลงเกือบทับตนตายหน่ึง เพราะพากันล่วงเกินค�ำที่ท่านห้ามโดย ไม่มี ใครระลึกรู้พอ
ยับยั้งกัน ไว้บ้างหนึ่ง และกลัวท่านจะทราบว่าพวกตนพากันข โมยท�ำ โดยการฝ่าฝืนท่านหน่ึง
พระ – เณรทั้งวัดและญาติ โยมท้ังบ้านพากันร้อนเป็น ไฟ ไปตาม ๆ กันและรีบพากันหา ไม้มาก้ันดิน
ปากบ่อท่พี งั ลงด้วยความเห็น โทษ และขออาราธนาวงิ วอนถงึ พระคุณทา่ น ใหช้ ว่ ยคุ้มครองพอเอา
ดนิ ทพ่ี งั ลง ในบอ่ ขน้ึ  ไดอ้ าศยั นำ�้ ตอ่  ไป เดชะบญุ พออธษิ ฐานถงึ พระคณุ ทา่ นแลว้ ทกุ อยา่ งเลยเรยี บรอ้ ย 
ไปอย่างนา่ อัศจรรย์คาด ไมถ่ งึ จงึ พอมีหน้ายมิ้ ต่อกนั  ไดบ้ า้ ง

พอเสร็จงานพระ – เณรและญาต ิโยมต่างกร็ ีบหนีเอาตวั รอดกลัวทา่ นจะมาท่ีนนั้ ส่วนพระ
 – เณรท้ังวัดต่างก็มีความร้อน ใจสุมอยู่ตลอดเวลา เพราะความผิดที่พากันก่อ ไว้แต่กลางวัน ย่ิง
จวนถึงเวลาประชุมอบรมซึ่งเคยมีเป็นประจ�ำทุกคืนก็ยิ่งเพิ่มความ ไม่สบาย ใจมากขึ้น ใคร ๆ ก็
เคยรู้เคยเห็นและเคยถูกดุเร่ืองท�ำนองน้ีมาแล้วจนฝัง ใจ บางเร่ืองแม้ตนเคยคิดและท�ำจนลืม ไป

88

แลว้ ท่านยงั สามารถร้แู ละน�ำมาเทศน์สอนจน ได้ เพียงเรือ่ งนำ�้ บ่อ ซ่งึ เป็นเร่ืองหยาบ ๆ ท่ีพากัน
ข โมยทา่ นทำ� ทงั้ วดั จะเอาอะ ไร ไปปดิ  ไม ่ให้ท่านทราบ ท่านต้องทราบและเทศนอ์ ยา่ งหนกั แนน่ อน
ในคนื วนั นี้ หรอื อยา่ งชา้ กต็ อนเชา้ วนั รงุ่ ขนึ้ อารมณเ์ หลา่ นแ้ี ลทท่ี ำ�  ใหพ้ ระ – เณร ไมส่ บาย ใจกนั ทง้ั วดั
พอถึงเวลาประชุมและแทนที่จะถูก โดนอย่างหนักดังที่คาดกัน ไว้ ท่านกลับ ไม่ประชุมและ ไม่ดุด่า
อะ ไรแก่ ใคร ๆ เลย สมเป็นอาจารย์ท่ีฉลาดส่ังสอนคนจ�ำนวนมาก ทั้งท่ีทราบเร่ืองน้ัน ได้ดีและ
ยังทราบความ ไม่ดีของพระทัง้ วดั ท่ลี ่วงเกินฝ่าฝืนท่านแลว้ กำ� ลัง ไดร้ บั ความเร่าร้อนกนั อยู่ หากจะ
ว่าอะ ไรลง ไปเวลานั้น ก็เท่ากับการซ�้ำเติมผู้ท�ำผิดที่รู้เท่า ไม่ถึงการณ์ ขณะนั้นผู้ท�ำผิดต่างก�ำลัง
เห็น โทษของตนอย่างเต็มทอ่ี ยู่แล้ว

พอร่งุ เชา้ วนั  ใหม่เวลาท่านออกจากทภ่ี าวนา ปรกติทา่ นลงเดินจงกรมจน ได้เวลาบิณฑบาต
แลว้ ค่อยขึ้นบนศาลา ครองผา้ ออกบณิ ฑบาต อยา่ งน้นั เปน็ ประจ�ำม ิไดข้ าด เชา้ วนั นั้นพอทา่ น
จากทางจงกรมขนึ้ ศาลา พระทงั้ วัดต่างรอ้ นอยภู่ าย ในและคอยฟงั ปญั หาว่าทา่ นจะออกแง่ ไหนบา้ ง
วนั นี้ แต่แทนท่ีจะเปน็  ไปตามความคดิ ของพระทง้ั วดั ซง่ึ กำ� ลงั กระวนกระวายอยากฟงั แตเ่ รอื่ งกลบั
เปน็  ไปคนละ โลกคอื ทา่ นกลบั พดู นมิ่ นวลออ่ นหวานแสดงเปน็ เชงิ ปลอบ ใจพระ – เณรทก่ี ำ� ลงั เรา่ รอ้ น 
ให้กลับสบาย ใจว่า เรามาศึกษาหาอรรถหาธรรม ไม่ควรกล้าจนเกินตัวและกลัวจนเกิน ไป
เพราะความผิดพลาดอาจมี ได้ด้วยกันทุกคน ความเห็น โทษความผิดน่ันแลเป็นความดี
พระพทุ ธเจ้าทา่ นก็เคยผิดมาก่อนพวกเรา ตรง ไหนท่เี ห็นว่าผิด ทา่ นกเ็ ห็น โทษ ในจุดน้ัน
และพยายามแก้ ไข ไปทกุ ระยะท่เี ห็นว่าผิด เจตนานั้นดีอยูแ่ ต่ความรเู้ ทา่  ไม่ถงึ การณน์ ั้นอาจ
ม ีได้ ควรสำ� รวมระวงั ตอ่  ไป ในทุกกรณี เพราะความมีสติระวังตัวทกุ  โอกาสเปน็ ทางของ
นกั ปราชญ์ เพียงเท่านีก้ ็หยุดและแสดงอาการยิ้มแย้มตอ่ พระ – เณรตอ่  ไป ไม่มี ใครจับพิรุธทา่ น 
ไดเ้ ลย แล้วกพ็ าออกบณิ ฑบาตตามปรกติคนื วันหลังก็ ไม่ประชมุ อีก เป็นแตส่ ง่ั  ให้พากนั ประกอบ
ความเพยี ร รวมเปน็ เวลาสามคืนท่ ีไมม่ ีการประชมุ อบรมธรรม พอดีกับระยะน้นั พระ – เณรกำ� ลงั
กลวั ท่านจะเทศน์เร่ืองน�ำ้ บ่ออยูแ่ ล้วกพ็ อเหมาะกับทีท่ ่าน ไม่ส่ัง ใหป้ ระชมุ จนคนื ทส่ี ถ่ี งึ มีการประชุม
เวลาประชมุ ก็ม ิไดเ้ อย่ ถงึ เร่อื งน�ำ้ บอ่ ท�ำเปน็  ไม่รู ้ไมช่ ี ้ให้เรอ่ื งหายเงียบ ไปเลย ตั้งนานจนปรากฏ
วา่ พระทั้งวัดลมื กนั  ไปหมดแล้วเรือ่ งถึง ได้ โผล่ข้นึ มาอยา่ ง ไม่นึก ไมฝ่ ัน และก็ ไมม่ ี ใครกลา้ เล่าถวาย 
ให้ทา่ นทราบเลยเพราะต่างคนตา่ งปิดเงียบ ท่านเองก็มิ ได้เคย ไปท่บี ่อซึง่ อยู่ห่างจากวดั นั้นเลย

เริ่มแรกก็แสดงธรรมอบรมทางภาคปฏิบัติ ไปเรื่อย ๆ อย่างธรรมดา พอแสดง ไปถึงเหตุผล
และความเคารพ ในธรรม ในครูอาจารย์ ธรรมก็เร่ิมกระจาย ไปถึงผู้มารับการศึกษาอบรม ว่า
ควรเป็นผู้หนัก ในเหตุผลซึ่งเป็นเรื่องของธรรมแท้ ไม่ควรปล่อย ให้ความอยากที่คอยผลักดันอยู่

89

ตลอดเวลาออกมาเพน่ พา่ น ในวงปฏบิ ตั ิ จะมาทำ� ลายธรรมอันเป็นแนวทางทถี่ กู และเปน็ แบบฉบบั
แห่งการด�ำเนินเพือ่ ความพ้นทกุ ข์ จะทำ�  ให้ทุกส่ิงท่ีมุ่งปรารถนาเสีย ไป โดยลำ� ดับ ธรรมวนิ ัยหนงึ่
คำ� พดู ของครอู าจารยห์ นงึ่ ทเ่ี ราถอื เปน็ ทเี่ คารพ ไมค่ วรฝา่ ฝนื การฝา่ ฝนื พระธรรมวนิ ยั และการฝา่ ฝนื
ค�ำครูอาจารย์เป็นการท�ำลายตัวเอง และเป็นการส่งเสริมนิสัย ไม่ดี ให้มีก�ำลังเพ่ือท�ำลายตนและ
ผอู้ ืน่ ต่อ ไป ไม่มที างสน้ิ สดุ น�้ำบ่อนีม้  ิใช่มแี ต่ดินเหนียวลว้ น ๆ แตม่ ดี นิ ทรายอยขู่ า้ งลา่ งด้วย หาก
ขดุ ลึกลง ไปมากดนิ ทรายจะพังลง ไปกน้ บอ่ และจะทำ�  ใหด้ นิ เหนียวขาดตกลง ไปด้วย ด ีไมด่ ีทับหวั
คนตายก ็ไดจ้ ึง ไดห้ า้ มมิ ให้พากันท�ำ

การห้ามมิ ให้ท�ำหรือการส่ัง ให้ท�ำ ในกิจ ใด ๆ ก็ตาม ได้พิจารณาก่อนแล้วทุกอย่างถึง ได้สั่ง
ลง ไป ผูม้ ารับการอบรมก็ควรพจิ ารณาตามบ้าง บางอย่างกเ็ ป็นเรอ่ื งภาย ใน โดยเฉพาะ ไมจ่ ำ� ตอ้ ง
แสดงออกต่อผู้อน่ื เสียจนทกุ แงท่ กุ มมุ เทา่ ท่ีแสดงออกเพอื่ ผ้อู ่ืนกพ็ อเข้า ใจความมงุ่ หมายดพี อ แต่
ทำ�  ไมจึง ไมเ่ ข้า ใจ เช่น อยา่ ทำ� สิง่ นน้ั แต่กลบั ทำ�  ในสิ่งนนั้ ใหท้ ำ� สง่ิ น้ัน แต่กลับ ไม่ทำ�  ในส่งิ นน้ั ดังนี้
เร่อื งท้ังนี้ม ิใช ่ไม่เข้า ใจ ตอ้ งเขา้  ใจกันแนน่ อน แตท่ ีท่ �ำ ไปอีกอยา่ งหน่ึงน้นั เปน็ ความดอ้ื ดึงตามนสิ ัย
ที่เคยดื้อดึงต่อพ่อแม่มาแต่เป็นเด็กเพราะท่านเอา ใจ นิสัยนั้นเลยติดตัวและฝัง ใจมาจนถึงขั้นพระ
ขนั้ เณรซ่ึงเปน็ ขน้ั ผู้ ใหญ่เตม็ ที่แลว้ แล้วก็มาดือ้ ดึงต่อครูอาจารย์ ต่อพระธรรมวนิ ัย อันเป็นทาง
เสยี หายเขา้ อกี ความดอื้ ดงึ ในวยั และเพศน ้ีไม ่ใชค่ วามดอ้ื ดงึ ทคี่ วร ไดร้ บั อภยั และเอา ใจเหมอื นคราว
เปน็ เดก็ แตค่ วรต�ำหนอิ ยา่ งยง่ิ ถ้าขนื ดอ้ื ดึงตอ่  ไปอีกกจ็ ะเปน็ การส่งเสริมนสิ ัย ไมด่ นี ัน้  ใหย้ ิง่ ข้ึนและ
ควร ได้รับสมัญญาว่า “พระธุดงค์หัวดื้อ” บริขาร ใช้สอยทุกช้ินที่เกี่ยวกับตัวก็ควรเรียกว่าบริขาร
ของพระหวั ด้อื  ไปด้วย

องคน์ ้ีก็ดือ้ องคน์ ้นั ก็ด้าน องค์ โนน้ กม็ ึน และด้อื ดา้ นกนั ทัง้ วัด อาจารย์ก็ ได้ลกู ศษิ ยห์ ัวด้ือ
อะ ไรก็กลายเปน็ เรอื่ งดือ้ ดา้ น ไปเสียหมด โลกน้ีเหน็ จะแตก ศาสนาก็จะล่มจมแน่นอน แล้วก็แสดง
เป็นเชงิ ถามว่า ใครบา้ งท่ีต้องการเปน็ พระหัวดื้อและตอ้ งการ ให้อาจารยเ์ ปน็ อาจารย์ของพระหัวดือ้
มี ไหม ในที่น่ี ถ้ามีพรุ่งนี้ ให้พากัน ไปรื้อ ไปขุดน้�ำบ่ออีก ให้ดินพังลงทับตายจะ ได้ ไปเกิดบนสวรรค์
วมิ านหัวดอ้ื เผอ่ื ชาวเทพทงั้ หลายชน้ั ตา่ ง ๆ จะ ไดม้ าชมบารมบี า้ งวา่ เกง่ จรงิ ไมม่ ชี าวเทพพวก ไหน
แมช้ นั้ พรหม โลกท่ีเคยเหน็ และเคย ไดอ้ ย่วู ิมานประหลาดเช่นนีม้ าก่อน

จากน้ันก็แสดงอ่อนลงทั้งเสยี งและเน้อื ธรรม ทำ�  ใหผ้ ฟู้ งั เหน็  โทษแหง่ ความดื้อดึงฝา่ ฝนื ของ
ตนอยา่ งถงึ  ใจ ผนู้ ่ังฟังอย ู่ในขณะนัน้ คลา้ ยกับลืมหาย ใจ ไปตาม ๆ กัน พอจบการแสดงธรรมและ
เลกิ ประชุมแลว้ ต่างก็ออกมาถามและยก โทษกนั วุ่นวาย ไปวา่ ม ีใคร ไปกราบเรยี นท่าน ถึง ไดเ้ ทศน์

90

ขนาดหนกั ทำ� เอาผ้ฟู งั แทบสลบ ไปตาม ๆ กนั  ในขณะน้นั ทุกองคต์ ่างกป็ ฏเิ สธเปน็ เสยี งเดียวกนั ว่า 
ไม่มี ใครกล้า ไปกราบเรียน เพราะตา่ งกก็ ลวั ว่าท่านจะทราบและถูก โดนเทศนห์ นกั อยู่แล้ว เร่อื งก็
เป็นอันผ่าน ไป โดยมิ ไดต้ ้นสายปลายเหตุ

ตามปรกติ ทา่ นพระอาจารยม์ นั่ ทา่ นมคี วามรเู้ ชี่ยวชาญเก่ียวกับเหตุการณต์ ่าง ๆ มาแต่สมัย
ทา่ นจำ� พรรษาอยูถ่ ้ำ� สารกิ าจังหวดั นครนายกตลอดมา และมีความชำ� นาญกวา้ งขวางขน้ึ เป็นล�ำดับ
จนแทบจะพดู  ไดว้ า่  ไม่มีประมาณ เวลาปรกติกด็ ี ขณะเขา้ ประชมุ ฟังการอบรมก็ดี พระทีอ่ ยู่กบั
ทา่ นซึง่ รู้เรอื่ งของท่าน ไดด้ ตี ้องมีความระวงั สำ� รวมจิตอยา่ งเขม้ งวดกวดขนั อยู่ตลอด ไป จะเผลอตัว
คิด ไปต่าง ๆ นานา ไม่ ได้ เวลาเข้าประชมุ ความคดิ นน้ั ตอ้ งกลับมาเปน็ กณั ฑ์เทศน์ ให้เจา้ ของฟังอกี
จน ได้ ย่ิงขณะทท่ี า่ นกำ� ลัง ให้การอบรมอยดู่ ว้ ยแลว้ ยง่ิ เป็นเวลาท่สี �ำคญั มากกวา่ เวลาอน่ื  ใด ท้งั  ๆ
ทีแ่ สดงธรรมอยู่ แต่ขณะท่หี ยุดหาย ใจหรอื หยดุ เพอ่ื สังเกตการณอ์ ะ ไรก็สุดจะเดาเพียงขณะเดียว
เท่านั้น ถ้ามีราย ใดคิดเปะปะออกนอกลู่นอกทาง ไปบ้าง ขณะนั้นแลเป็นต้อง ได้เรื่อง และ 
ได้ยินเสียงเทศน์แปลก ๆ ออกมาทันที ซ่ึงตรงกับความคิดที่ ไม่มีสติรายนั้น ๆ เป็นแต่ท่าน ไม่ระบุ
ชื่อออกมาอย่างเปิดเผยเท่านั้น แม้เช่นนั้นก็ท�ำ ให้ผู้คิดสะดุด ใจ ในความคิดของตนทันทีและกลัว
ท่านมาก ไม่กลา้ คิดแบบน้ันต่อ ไปอกี

กับเวลาออกบณิ ฑบาตตามหลังท่านนน้ั หนึ่งจะตอ้ งระวงั ไม่เช่นนัน้ จะ ไดย้ นิ เสยี งเทศน์
เรื่องความคดิ  ไม่ดขี องตน ในเวลาเข้าประชุมแน่นอน บางทีกน็ า่ อับอายหม่เู พ่อื นที่นั่งฟังอยู่ด้วยกัน
หลายทา่ นซง่ึ  ไดย้ นิ แตเ่ สยี งทา่ นเทศนร์ ะบเุ รอื่ งความคดิ แตม่  ิไดร้ ะบตุ วั ผคู้ ดิ ผถู้ กู เทศนแ์ ทบมดุ ดนิ
ให้จมหายหน้า ไปเลยก็มี เพราะบางครั้งเวลา ได้ยินท่านเทศน์แบบนั้น ท�ำ ให้ผู้นั่งฟังอยู่ด้วยกัน
หลายท่านต่างหันหน้ามององค์น้ันช�ำเลืองดูองค์น้ี เพราะ ไม่แน่ ใจว่าเป็นองค์ ไหนแน่ที่ถูกเทศน์
เรื่องน้ันอยู่ขณะน้ัน บรรดาพระ – เณรจ�ำนวนมากรู้สึกจะมีนิสัยคล้ายคลึงกัน พอ โดนเจ็บ ๆ
ออกมาแล้วแทนท่ีจะเสีย ใจหรือ โกรธ พอพ้นเขตดัดสันดานออกมาต่างแสดงความย้ิมแย้มขบขัน
พอ ใจและ ไต่ถามซึ่งกนั และกันว่า วันน ี้โดน ใคร ? วนั นี้ โดน ใคร ?

แต่น่าชมเชยอยู่อย่างหนึ่งที่พระท่านมีความสัตย์ซ่ือต่อความคิดผิดของตัวและต่อเพื่อนฝูง
ไม่ปกปดิ  ไว้เฉพาะตวั พอมผี ถู้ ามจะเปน็ องค์ ใดกต็ ามทคี่ ิดผดิ ท�ำนองท่านเทศน์นัน้ องค์นน้ั ต้อง
สารภาพตนทนั ทีว่าวันนี้ โดนผมเอง เพราะผมมันด้อื  ไม่เขา้ เรือ่ ง ไปหาญคดิ เรอ่ื ง.... ท้ังทต่ี ามปรกติก็
รู้อยูว่ ่าจะ โดนเทศน์ถา้ ขนื คดิ อยา่ งน้นั แต่พอ ไปเจอเข้ามันลมื เรื่องทีเ่ คยกลัวเสยี สิ้น มีแต่เรือ่ งกล้า
แบบบา้  ๆ บอ ๆ ออกมาทา่ เดียว ที่ท่านเทศนน์ ้นั สมควรอยา่ งย่ิงแลว้ จะ ได้ดดั สนั ดานเราทคี่ ิด ไม่ดี


Click to View FlipBook Version