241
คน โง่บ้างเท่าที่ควร แต่มิ ได้เขียนเพ่ือชมเชยพระผู้แสน โง่ซ่ึงรับค�ำชี้แจงอนุ โลมและปลอบ โยน
จากท่าน ในเวลานั้น
พอออกพรรษาแล้วท่านกลับ ไปพักท่ีบ้านนามนท่ีท่านเคยพักอีก จากนั้นก็ ไปพักท่ีบ้าน
หว้ ยแคน ในปา่ และพักวัดรา้ งชายเขาบ้านนาสนี วลหลายเดือน และ ไปป่วยเปน็ ไขท้ ีบ่ า้ นนาสนี วล
อยูห่ ลายวนั จงึ หายดว้ ยอุบายแหง่ ธรรม โอสถทีท่ า่ นเคยบ�ำบัดองค์ท่านตลอดมา
ตกเดือนเมษายน พ.ศ. ๒๔๘๕ ท่านออกเดนิ ทาง ไปจังหวัดอบุ ลราชธานี ในงานฌาปนกิจ
ศพทา่ นพระอาจารย์เสาร์ทเ่ี ปน็ อาจารย์ทา่ น เสร็จงานศพแล้วทา่ นกลบั มาจำ� พรรษาท่บี ้านนามน
ปนี ก้ี ็เปน็ ปีทท่ี ่านกลนั่ กรองความเพยี รของคณะลูกศษิ ย ์โดยอุบายวธิ ตี า่ ง ๆ ท้ังเทศนอ์ บรม
ทั้ง ใช้อุบายขเู่ ข็ญ ไม ่ใหน้ อน ใจ ในความเพยี ร ในพรรษาท่านเวน้ ๔ คนื มีการประชมุ ครั้งหนงึ่ จน
ตลอดพรรษา ปีน้ันปรากฏวา่ มพี ระ ไดก้ �ำลังทางจิต ใจกนั หลายองคแ์ ละมคี วามร้คู วามเห็นแปลก ๆ
ไปเล่าถวายท่าน ผเู้ ขียนก็พลอย ไดฟ้ ังด้วยแม ้ไม่มีความร้คู วามสามารถเหมอื นท่านผู้อ่ืน ในพรรษา
นน้ั ก็พลอยมีอะ ไร ๆ เปน็ เครือ่ งระลึกอย่างฝงั ใจมาจนบดั นี้ คง ไมม่ วี ันหลงลมื ตลอดชีวิต เพราะ
เป็นส่งิ ท ่ีไมน่ า่ หลงลมื ในชวี ติ เปน็ ของหายากนี้
ท่านพระอาจารย์ม่ันเร่ิมดุด่าขู่เข็ญเรานับแต่พรรษาน้ันเป็นต้นมาจนกลายเป็นที่รองเช็ดเท้า
ทา่ นเร่ือยมา แต่ก่อนท่านมแี ต่ ใชอ้ ุบายอนุ โลมและเออออกับเรา ไปเรื่อย ๆ จากนนั้ ทา่ นคงคดิ ว่า
ควรจะเขกเสยี บ้าง ขืนอนุ โลม ไปนานกห็ นกั อกเปลา่ ๆ ผนู้ ้นั กจ็ ะมัวนอนหลบั แบบ ไม่มวี นั ตน่ื ขึ้น
มองดูดนิ ฟา้ อากาศเดอื นดาวตะวันบ้างเลย พรรษานี้พระทง้ั หลายรู้สกึ ตื่นเตน้ กนั มาก ทง้ั ทางความ
เพยี รและความรตู้ า่ ง ๆ ทเ่ี กดิ จากจติ ตภาวนา เวลาประชมุ ธรรมหรอื เวลาธรรมดามผี มู้ าเลา่ ธรรม ใน ใจ
ถวายท่านเสมอ เพ่ือขอความอนเุ คราะห์ช้แี จงจากทา่ นและน�ำ ไปส่งเสรมิ เตมิ ต่อตามจุดทีเ่ หน็ ว่ายงั
บกพรอ่ ง ทา่ นเองกอ็ นเุ คราะหเ์ มตตาอย่างเต็มทท่ี ่ีมีผ้มู าเรยี นถาม ท�ำ ใหเ้ กิดความเพลิดเพลิน ใน
ธรรมอยา่ งมากขณะทม่ี ที ่านผ้มู าเรียนถามและทา่ นเปน็ ผชู้ ี้แจง ซงึ่ มีเนอ้ื ธรรมตา่ ง ๆ กันเป็นราย ๆ
ไป ธรรมท่ที า่ นอธิบายแก้ ไขและเพมิ่ เตมิ แก่ผมู้ าเลา่ ถวายและมาเรยี นถามปญั หานัน้ ไม่แนน่ อนนัก
ตามแต่ผู้เล่าถวายจะออกมา ในรูป ใดและเรียนถามปัญหาท่าน ในรูป ใด ท่านก็อธิบายแก้ ไขและ
เพิ่มเตมิ ไป ในรปู นน้ั ตามขนั้ ของผมู้ าศกึ ษา ทรี่ ้สู ึกสนกุ มากกเ็ วลาท่ีมที า่ นผมู้ ีภมู ธิ รรมอันสงู มาเล่า
ถวายและเรยี นถามปญั หาท่าน นน่ั ยงิ่ ไดฟ้ ังอยา่ งถึง ใจจริง ๆ ไม่อยาก ให้จบลงอย่างงา่ ย ๆ และ
อยาก ให้มผี มู้ าถามทา่ นบอ่ ย ๆ เราผเู้ ปน็ กองฉวย โอกาสอย่ขู า้ งหลัง ได้สนกุ แอบด่มื ธรรมอยา่ งจุ ใจ
หายหวิ ไปหลายวัน
242
เวลา โอกาสด ี ๆ ทา่ นเลา่ อดตี ชาติของท่าน ใหฟ้ ังบ้าง เล่าการปฏิบัติบ�ำเพญ็ นบั แตข่ ้ันเร่มิ
แรก ให้ฟงั บา้ ง เล่าความรูค้ วามเห็นต่าง ๆ ทง้ั ภาย ในภายนอกทเ่ี กิดจากจติ ตภาวนา ให้ฟังบ้าง เล่า
วิถีจิตที่พยายามตะเกียกตะกายขึ้นจากตมจาก โคลนจนถึงขณะที่จะหลุดพ้นจาก โลกสมมุติตลอด
ขณะทจี่ ิตหลดุ พน้ ไปจรงิ ๆ ใ หฟ้ ังบา้ ง ตอนสดุ ทา้ ยนีท้ ำ� ใหเ้ ราผู้นั่งฟังอยดู่ ว้ ยความระหาย ในธรรม
ประเภทหลดุ พน้ น้ัน เกดิ ความกระวนกระวายอยาก ได้อยากถงึ เป็นกำ� ลงั จนเกดิ ความนอ้ ยเนอ้ื
ต�่ำ ใจ วา่ เราน้พี อมวี าสนาบารมคี วรจะบรรลุถงึ แดนแหง่ ธรรมที่ท่านรเู้ หน็ ได้ หรอื จะมัวนอน
จมดนิ จม โคลนอยทู่ �ำนองนีเ้ ร่ือย ไป ไมม่ ีวนั โผลข่ น้ึ จากหล่มลึก ไดบ้ า้ งเลยหรอื อยา่ ง ไร ทำ� ไมทา่ น
รู้ ได้เห็น ได้หลุดพ้น ได้ สว่ นเราท�ำ ไมจึงยงั นอน ไมต่ น่ื เมอ่ื ไรจะรู้จะเหน็ จะหลดุ พน้ ไดเ้ หมอื นอยา่ ง
ท่านบา้ ง ทค่ี ิดอยา่ งน้ีก็ดีอย่างหนึ่งทำ� ให้มีมานะความมุ่งมัน่ อดทน ความเพียรทกุ ดา้ น ไดม้ ี โอกาส
ด�ำเนนิ สะดวก มคี วามดดู ด่มื ในธรรมที่ทา่ นเมตตาอธิบาย ให้ฟงั เป็นกำ� ลัง ใจ ท�ำ ใหห้ ายความ
เหนด็ เหนอื่ ยเมือ่ ยลา้ มศี รทั ธากลา้ แขง็ มีเรย่ี วแรงทีจ่ ะลากเข็นภาระแม้หนกั ไป ได้อย่างพอ ใจ
ทท่ี า่ นสอนว่า ให้คบนกั ปราชญ์นนั้ เปน็ ความจริงหาท่ีแยง้ ไม ่ได้เลย ดังคณะลูกศิษย์เข้าอยู่
อาศัยสดบั ตรับฟงั ความดีงามจากครอู าจารยว์ ันละเลก็ ละน้อย ท�ำ ใหเ้ กดิ ก�ำลงั ใจและซมึ ซาบเข้า
ภาย ใน ไปทกุ ระยะจนกลายเปน็ คนดีตามท่าน ไป ได้ แม ้ไม่เหมือนท่านทุกกระเบียดกย็ งั อย ู่ในเกณฑ์
ของลกู ศิษยท์ ม่ี คี รูอาจารย์ส่งั สอน อนึ่ง การคบคนพาลก็ทำ� ให้มีส่วนเสยี ได้มากนอ้ ยตามส่วนแห่ง
ความสัมพันธ์กัน ทีท่ ่านสอน ไว้ท้งั สองภาคนี้มคี วามจรงิ เท่ากนั คือทำ� ใหค้ นเป็นคนดี ได้เพราะ
การคบกบั คนดี และทำ� ให้คนเสยี ได้เพราะการคบกับคน ไมด่ ี เราพอทราบ ไดร้ ะหวา่ งลกู ศษิ ย์กบั
อาจารยท์ คี่ บกนั นาน ๆ อยา่ งนอ้ ยลกู ศษิ ยน์ น้ั ๆ ยอ่ มพอมหี ลกั ยดึ ไดจ้ ากอาจารย์ และคนทห่ี ลวมตวั
เข้า ไปอยูก่ ับคนพาล อย่างนอ้ ยย่อมมีการแสดงออก ในลกั ษณะแหง่ คนพาลจน ได้ มากกวา่ นนั้
กด็ งั ทเ่ี ห็น ๆ กนั ไมม่ ที างสงสยั นีก่ ลา่ วถึงพาลภายนอก แตค่ วรทราบวา่ พาลภาย ในก็ยงั มแี ละ
ฝงั จมอยู่อย่างลึกลบั ในนิสัยของมนษุ ยเ์ ราแทบทุกราย แมส้ ุภาพชนท่วั ๆ ไ ปตลอดพระเณรเถรชี
ผู้ทรงเคร่อื งแบบของพระศาสนาอนั เป็นเคร่ืองประกาศตนว่าเป็นลกู ศษิ ย์พระตถาคตอยา่ งเปดิ เผย
คำ� ว่า พาล ในทนี่ ีห้ มายถงึ ความขลาดเขลายอ่ หย่อนต่อกลมารยาของ ใจท่ีเป็นฝ่ายตำ�่ ซึ่ง
คอยแสดงออก ในทางชัว่ และตำ�่ ทราม โดยเจ้าตวั ไม่รู้ หรอื แมร้ แู้ ต่ก็เข้า ใจวา่ เปน็ เพียงอยู่ภาย ใน
ไม่ ได้แสดงออกภายนอก ให้เปน็ สิง่ ทน่ี ่าเกลียด ความจรงิ ข้ึนชือ่ วา่ ของ ไม่ดีแลว้ แมจ้ ะมีอยู่ ณ ท่ี
แหง่ ใดกย็ ่อมเป็นของน่าเกลยี ดอย ู่ในตวั ของมนั เอง ไมถ่ งึ กบั ตอ้ งแสดงออกมา จงึ จะเปน็ ของ
นา่ เกลยี ด เพราะมนั เปน็ ของนา่ เกลยี ดน่ากลัวอยู่แล้ว พระพุทธเจา้ ผ้เู ป็นจอมปราชญฉ์ ลาดแหลมคม
จึงทรงสอน ให้ละและถอดถอน โดยล�ำดบั จนหมดสนิ้ ไป ไม่มคี ำ� ว่า “ส่ิง ไมด่ ี” เหลืออย่เู ลยนั่นแล
243
ดังพระองค์และพระสาวกอรหนั ต์เปน็ ตัวอย่าง จัดว่าเป็นผหู้ มดมลทินทั้งภายนอกภาย ใน อย่ทู ี่ ใด
ก็เย็นกายสบาย ใจ ไม่มีสิ่งเสียดแทงรบกวน ท่านอาจารย์มั่นก็เป็นผู้หน่ึง ในบรรดาท่านผู้หมด
มลทิน โดยสิ้นเชิง ในความรู้สึกของผู้เขียนที่ ได้สังเกตตามสติก�ำลังตลอดมา จึงกล้าเขียนลง
ดว้ ยความสนิท ใจ แม้จะถูกต�ำหนกิ ็ยอมรบั ความจรงิ ทีแ่ น่ ใจแลว้ นนั้ ไม ่ให้กระทบกระเทือนถึง
องค์ทา่ นผ้ ูไปดแี ลว้ ด้วยความหมดห่วงจากบว่ งแหง่ มาร
ออกพรรษาแล้วท่านยังพักบ�ำเพ็ญวิหารธรรมอยู่ท่ีนั้นเป็นเวลานาน พรรษาต่อมาจึงมา
จ�ำพรรษาท่ีบา้ น โคกอีก แต่มิ ได้จ�ำสำ� นกั เดิมทเ่ี คยจ�ำมาแล้ว ส�ำนัก ใหมแ่ หง่ นที้ า่ นอาจารย์กงมา
จิรปญุ โญ สร้างถวาย ท่านมาจำ� พรรษาทส่ี �ำนกั ปา่ แห่งนี้ด้วยความผาสกุ ท้ังทางกายและทาง ใจ
การประชุมอบรมพระเณรยอ่ มดำ� เนนิ ไปตามท่ีเคยปฏิบัตมิ า
สรุปความ ในตอนนีท้ ่านมาพักอย่แู ถบบา้ นหว้ ยแคน บ้านนาสนี วล บา้ น โคก บา้ นนามน
ตำ� บลตอง โขบ เขตอ�ำเภอเมือง* จงั หวดั สกลนคร ๓ พรรษาตดิ ๆ กัน ในระยะท่ีพักอยแู่ ถบนท้ี ั้ง
ในและนอกพรรษา การติดตอ่ ส่งั สอนพวกเทพ ฯ และชาวมนุษย์ท่านวา่ ทา่ นดำ� เนิน ไป โดยสมำ่� เสมอ
เฉพาะพวกเทพ ไมค่ อ่ ยมมี ากและ ไมม่ าบอ่ ยนกั เหมอื นอยทู่ จี่ งั หวดั เชยี ง ใหม่ ทง้ั นค้ี งเกยี่ วกบั สถานท่ี
มคี วามเงยี บสงัดตา่ งกนั จะมีบา้ งก็หน้าเทศกาล โดยมาก เช่น วันมาฆบชู า วันวิสาขบูชา วนั เข้า
พรรษา กลางพรรษา และวนั ปวารณาออกพรรษาเท่านน้ั วันนอกนัน้ ไม่ค่อยมีพวกเทพ ฯ มา
เกยี่ วข้องเหมอื นเวลาท่านพกั อยูท่ เี่ ชียง ใหม่ ในพรรษาพระเณรก ็ไมม่ ีมากเพราะเสนาสนะมจี ำ� กัด
พอดีกบั พระเณรท่อี าศัยอยกู่ บั ท่าน โดยเฉพาะเท่านนั้ ส่วนพระเณรจากทศิ ต่าง ๆ ที่ ไปรับการอบรม
กับท่านตอนนอกพรรษานั้นมี ไม่ขาด เขา้ ๆ ออก ๆ สบั เปลยี่ นกันเสมอมา ท่านกอ็ ุตสา่ หเ์ มตตา
สง่ั สอนดว้ ยความเอน็ ดสู งสารอยา่ งสม่�ำเสมอ
ในวัยชราท่านพักจ�ำพรรษาวัดหนองผือ
พอตกหน้าแลง้ ของพรรษาทส่ี ามก็มญี าต ิโยมจากบา้ นหนองผือ นา ใน ไปอาราธนาทา่ น
ให้มา โปรดทห่ี ม่บู ้านน้นั ทา่ นรับคำ� นิมนต์เขาแลว้ ไมน่ านญาติ โยมก็พร้อมกนั ไปรบั ท่านมาพกั
และจ�ำพรรษาที่บ้านหนองผอื ตำ� บลนา ใน อ�ำเภอพรรณนานิคม จังหวดั สกลนคร ทา่ นออก
เดนิ ทางจากบ้าน โคกมาบา้ นหนองผอื ด้วยเท้าเปลา่ และพกั แรมตามรายทาง ราว ๓ – ๔ คนื จงึ
ถงึ หม่บู ้านหนองผอื เพราะทางเต็ม ไปดว้ ยป่าดงพงลกึ ตอ้ งดน้ ดั้นซอกซอนมาตลอดสายจนถงึ
หมู่บ้านหนองผอื
* ปัจจุบันขึ้นกับอ�ำเภอโคกศรีสุพรรณ
244
เพียง ไมก่ วี่ ันท่มี าถงึ บา้ นหนองผอื ทา่ นกเ็ ร่ิมป่วยเปน็ ไข้มาลาเรยี แบบจบั สน่ั ชนดิ เปล่ียน
หนาวเป็นร้อนและเปล่ยี นรอ้ นเป็นหนาว ซ่งึ เป็นการทรมานอยา่ งยงิ่ อยูแ่ รมเดือน ไข้ประเภทน้ี
ใคร โดนเขา้ ร้สู กึ จะเขด็ หลาบ ไปตาม ๆ กัน เพราะเป็น ไข้ชนิดที่ ไม่ร้จู กั หาย ลง ได้เป็นเข้ากบั ราย ใด
แล้วตงั้ แรมปกี ็ ไมห่ าย คงแอบมาเยย่ี ม ๆ มอง ๆ อยทู่ �ำนองนนั้ คือหาย ไปต้ัง ๑๕ วนั หรือเดอื น
หน่ึง นกึ วา่ หายสนิทแล้วก็กลับมาเปน็ เขา้ อกี หรือต้ังเปน็ เดือน ๆ แลว้ ก็กลบั มาเป็นอกี ซง่ึ เคย
เขยี นเรือ่ ง ไข้ประเภทนีบ้ า้ งแลว้ วา่ ถา้ ลูกเขยเปน็ กท็ ำ� เอาจนพ่อตาแม่ยายเบอ่ื ถา้ พอ่ ตาหรอื
แม่ยายเปน็ ก็ทำ� เอาจนลกู เขยเบือ่ เพราะทำ� งานหนักหนาอะ ไร ไม ่ได้ แตร่ ับประทาน ได้มาก นอน
กห็ ลบั สนทิ ดชี นิด ไมร่ ้จู ักตน่ื และบน่ ได้เก่งชนดิ ไม่หยดุ ปากพอ ให้คนดีเบอื่ กนั ดีน่นั แล ผู้เปน็ ไข้
ชนดิ น ี้ใคร ไมเ่ บือ่ เปน็ ไม่มีเพราะเป็น ไขท้ น่ี า่ เบ่อื เอามากทีเดยี ว ทั้งนเี้ นื่องจากสมยั น้นั ไม่มียาแกก้ นั
ให้หายเด็ดขาด ไดเ้ หมอื นสมยั น้ี เม่อื เป็นเขา้ แล้วตอ้ งปลอ่ ย ให้หาย ไปเอง มิฉะน้ันก็กลายเปน็ โรค
เร้ือรงั ไปเปน็ ปี ๆ ถ้าเปน็ เด็ก โดยมากก็ลงพุงจนกลายเปน็ เด็กพงุ โตหรือพุง โร หน้า ไม่มสี ีสันวรรณะ
เลย ไข้ประเภทนี้ชอบเป็นกบั คนท่เี คยอยูบ่ า้ นทุ่ง ๆ แลว้ ย้ายภมู ิล�ำเนาเข้า ไปอย ู่ในปา่ ตาม ไร่นา
แมค้ นทเี่ คยอยู่ป่าเป็นประจ�ำมาแล้วก็ยังเป็น ได้ แต ่ไม่ค่อยรนุ แรงเหมือนคนมาจากทางทุง่ และ
ชอบเป็นกับพระธุดงคกรรมฐานท่ีชอบเท่ียวซอกแซก ไปตามป่าตามเขา โดยมาก ส�ำหรับผู้เขียน
แล้วถา้ เปน็ สง่ิ ทมี่ คี า่ ควรออกอวด โลก ไดเ้ กย่ี วกบั ไขช้ นดิ เขด็ หลาบตลอดวนั ตายน้ี กค็ ง ไดอ้ วดอยา่ ง
เต็มภูมิ ไม่ยอมแพ้ ใครอย่างง่าย ๆ ทีเดียว เพราะเคย โดนมามากมายหลายครั้งและรู้ฤทธิ์ของมัน
ชนดิ ไม่กลา้ สู้ตลอดวนั ตายเลย ขณะเขียนก็ยงั กลัวอย่เู ลย แมม้ าอยบู่ ้านหนองผือปแี รกก็ โดน ไข้
น้ีดัดสันดานจนตลอดพรรษา และเตลิดถึงหน้าแล้ง ไม่ยอมหายสนิท ได้เลย จะ ไม่ ให้เข็ดอย่าง ไร
เพราะพระก็คือคนที่มีหัว ใจและรู้จักสุข – ทุกข์ – ดี – ชั่วอย่างเต็ม ใจเช่นเดียวกับคนท่ัว ๆ ไปนั่นเอง
สงิ่ ทน่ี า่ เข็ดน่ากลวั จึงต้องเขด็ ต้องกลัวเช่นเดียวกบั คนทง้ั หลาย
ท่านพกั อยทู่ ่ีหนองผอื ปรากฏมพี ระเณรมากขึน้ โดยลำ� ดับ เฉพาะภาย ในวดั ในพรรษา
หนึ่ง ๆ กม็ ีถงึ ๒๐ – ๓๐ กว่าองคอ์ ยแู่ ลว้ นอกจากน้นั ยังมีพระเณรพักและจำ� พรรษาอยูต่ าม
หม่บู ้านเลก็ ๆ แถบ ใกลเ้ คยี งอีกหลายแห่ง แหง่ ละ ๒ องค์บ้าง ๓ องค์บา้ ง ๔ – ๕ องคบ์ ้าง
แหง่ ละ ๙ – ๑๐ องค์บ้าง วันประชุมท�ำอ ุโบสถปรากฏมพี ระมารวมท�ำอ ุโบสถถึง ๓๐ – ๔๐ องค์
กม็ ี รวมท้งั ในวัดและบรเิ วณ ใกลเ้ คยี งแลว้ มีพระเณร ไม่ต่�ำกว่า ๕๐ – ๖๐ องค์ นอกพรรษายังมี
มากกวา่ นัน้ ในบางครง้ั และมมี ากตลอดมานับแต่ท่าน ไปจ�ำพรรษาท่ีนน้ั เวลากลางวันพระเณร
ต่างปลกี ตัวเขา้ ไปอย ู่ในป่าลึกนอกบรเิ วณวดั เพือ่ ประกอบความเพียร เพราะปา่ ดงทีต่ ั้งสำ� นักรู้สกึ
กว้างขวางมากเปน็ สิบ ๆ กิ โลเมตร ยิ่งดา้ นยาวด้วยแล้วแทบจะหาทสี่ ดุ ป่า ไมเ่ จอเพราะยาว ไปตาม
245
ภูเขาที่มีติดต่อกัน ไปอย่างสลบั ซับซ้อนจน ไม่อาจพรรณนา ได้
อ�ำเภอพรรณนานิคมทางด้านทิศ ใต้ โดยมากมีแต่ป่าแต่เขาทั้งน้ันจน ไปจรดจังหวัดกาฬสินธุ์
ฉะนั้น เวลาท่านพระอาจารย์มนั่ ไปพกั อยู่วดั หนองผอื จึงเปน็ จดุ ศนู ยก์ ลางแห่งพระธุดงคกรรมฐาน
ดมี าก ที่ทา่ นตอ้ งมารวมฟงั ปาฏิ โมกข์และฟงั โอวาทตาม โอกาสตลอดเวลา เกดิ ข้อขอ้ ง ใจทางดา้ น
ภาวนาข้นึ มากม็ าศกึ ษา ไดส้ ะดวก พอออกพรรษาหนา้ แลง้ ทา่ นผปู้ ระสงค์จะขึน้ ไปพกั อยูบ่ นเขา
ก ็ได้ ในถ�้ำหรือเงื้อมผาก ็ได้ จะพักอยู่ตามปา่ ดงธรรมดาก็สะดวกเพราะหมบู่ า้ นมีประปรายอยู่
เปน็ แหง่ แห่งละ ๑๐ หลงั คาเรือนบ้าง ๒๐ – ๓๐ หลังคาเรอื นบา้ ง แมบ้ น ไหลเ่ ขาก็ยงั มีหมู่บ้าน
เล็ก ๆ น้อย ๆ ท่ีอาศัยทำ� ไร่ท�ำสวนอยู่แทบทว่ั ไปแหง่ ละ ๕ – ๖ หลังคา ซ่ึงปลูกเปน็ กระต๊อบเล็ก ๆ
พอ ไดอ้ าศยั เขา โคจรบิณฑบาต
บา้ นหนองผอื ตงั้ อย ู่ในหุบเขาซ่ึงทง้ั สดี่ ้านหรอื ส่ีทิศมปี ่าและภเู ขาลอ้ มรอบ แตเ่ ป็นหบุ เขา
ท่กี ว้างขวางพอสมควร ประชาชนท�ำนากัน ไดส้ ะดวกเป็นแห่ง ๆ ไ ป ปา่ มีมาก ภูเขาก็มมี าก สนกุ
เลอื กหาทว่ี เิ วกเพอื่ อธั ยาศยั ไดอ้ ยา่ งสะดวกเปน็ ท ่ี ๆ ไ ป ฉะนนั้ พระธดุ งคจ์ งึ มมี าก ในแถบนนั้ และ
มีมากท้ังหน้าแล้งหน้าฝน สมัยที่ท่านอาจารย์มั่นพักอยู่พระธุดงค์ทยอยกันเข้าออกวัดหนองผือ
ไม่ค่อยขาดแตล่ ะวัน ท้ังมาจากป่าท้งั ลงมาจากภเู ขาท่ีบำ� เพ็ญมาฟังการอบรม ทง้ั ออก ไปปา่ และ
ข้ึนภูเขาเพ่ือสมณธรรม ท้ังมาจากอ�ำเภอจังหวัดและภาคต่าง ๆ มารับการอบรมกับท่านมิ ได้ขาด
ยิ่งหน้าแล้งพระยิ่งหล่ัง ไหลมาจากท่ีต่าง ๆ ตลอดประชาชนจากอ�ำเภอและจังหวัดต่าง ๆ ทั้ง ใกล้
และ ไกลพากันมากราบเยี่ยมและฟัง โอวาทท่านมิ ได้ขาด แต่ล้วนเดินด้วยเท้าเปล่ากันท้ังน้ัน
นอกจากผู้หญิงที่ ไม่เคยเดินทาง ไกลและคนแก่เท่าน้ันที่ว่าจ้างล้อเกวียนเขา ไปส่งถึงวัดหนองผือ
ทางจากอ�ำเภอพรรณนานิคมเข้า ไปถึงหมู่บ้านหนองผือถ้า ไปทางตรงแต่ต้องเดินตัดข้ึนหลังเขา ไป
ราว ๕๐๐ เสน้ ถา้ ไปทางออ้ ม โดย ไมต่ ้องขึ้นเขากร็ าว ๖๐๐ เสน้ ผู้ ไม่เคยเดนิ ทาง ไป ไมต่ ลอด
เพราะทางตรง ไม่มีหมู่บ้าน ในระหว่างพอ ได้อาศัยหรือพักแรม ส่วนทางอ้อมยังพอมีหมู่บ้านบ้าง
ห่าง ๆ ซ่ึง ไม่ค่อยสะดวกนัก พระที่ ไปหาท่านต้องเดินด้วยเท้ากันทั้งนั้น เพราะ ไม่มีทางท่ีรถยนต์
พอเขา้ ไป ได้ แม้รถกม็ ีเฉพาะที่วิง่ ตามทาง ใหญ่จากจงั หวัดถึงตวั จงั หวัดเทา่ น้นั ท้ัง ไม่คอ่ ยมมี าก
เหมือนสมยั น้ี ไปผิดเวลาบา้ งกม็ ีหวงั ตกรถและเสยี เวลา ไปอีกหนงึ่ วนั
พระธุดงค์ปรกตทิ ่านชอบเดนิ ด้วยเทา้ กัน ไมช่ อบขึน้ รถข้ึนรา เพราะ ไมส่ ะดวกเก่ยี วกบั
คนมาก เวลาท่านเดินธดุ งค์ทา่ นถอื เปน็ ความเพียร ไปพรอ้ ม ในเวลานน้ั ด้วย ไม่ว่าจะ ไปป่า ใดหรอื
ภูเขาลกู ใดเพยี งตัง้ ความม่งุ หมาย ไวแ้ ล้วท่านก็เดินจงกรม ไปกบั การเดินทางนนั่ แล โดย ไม่คิดวา่ จะ
246
ถึงหมบู่ า้ นวนั หรือคำ�่ เพยี ง ไร ทา่ นถือเสยี ว่าคำ�่ ท ี่ไหนก็พกั นอนทีน่ ั้น ต่นื เช้าคอ่ ยเดนิ ทางต่อ ไปถงึ
หมบู่ า้ น แล้วเขา้ โคจรบณิ ฑบาตมาฉนั ตามมีตามเกดิ ไม่กระวนกระวาย ในอาหารวา่ ดหี รือเลว
ประการ ใด เพียงยังอตั ภาพ ใหเ้ ป็น ไป ในวนั หนึ่ง ๆ เทา่ นั้น ทา่ นถอื เปน็ ความสบายสำ� หรับธาตขุ นั ธ์
แลว้ จากนนั้ กเ็ ดินทางตอ่ ไปอยา่ งเยน็ ใจจนถงึ ท่ีหมาย อนั ดบั ตอ่ ไปท่านก็เดินเท่ียวหาทำ� เลที่
เหมาะกบั อธั ยาศยั จนกวา่ จะพบทมี่ งุ่ หมาย ไว้ แตน่ ำ้� เปน็ สำ� คญั ในการพกั บำ� เพญ็ เมอื่ ไดท้ ำ� เลทเ่ี หมาะ
แล้ว จากนนั้ ก็เรง่ ความพากเพียรเดนิ จงกรมนั่งสมาธภิ าวนาท้งั กลางวันกลางคืน มีสติประคอง ใจ
มปี ญั ญาเปน็ เครอื่ งรำ� พงึ ในธรรมทัง้ หลายทม่ี าสมั ผสั กบั อายตนะ พยายามเกล้ยี กล่อม ใจด้วยธรรม
ทถี่ กู กับจรติ ให้มีความสงบเยน็ เปน็ สมาธิ เม่ือจิตถอนข้นึ มาจากสมาธิแลว้ พิจารณาธรรมทง้ั หลาย
โดยทางปญั ญา ทงั้ ขา้ งนอกคอื ทศั นยี ภาพทส่ี มั ผสั กันอยูต่ ลอดเวลา ทัง้ ข้าง ในคอื ธาต ุ – ขนั ธ์ –
อายตนะที่แสดงอาการกระเพ่ือมตัวอยูท่ ุกขณะ ไมม่ เี วลาสงบนงิ่ อยู่ ได้ วา่ เปน็ วิปรณิ ามธรรม มี
ความแปรปรวนอยเู่ สมอมาและเสมอ ไป ใจ ไม่น่ิงนอนอยูก่ บั อะ ไรซง่ึ จะเป็นเหตุ ใหต้ ดิ ข้องพัวพัน
ก�ำหนดคลี่คลายดูร่างกายและจิต ใจ ให้เห็นชัดด้วยปัญญาจนรู้เท่าและปล่อยวาง ไปเป็น
ระยะ ๆ ปญั ญาท�ำการขุดค้นทงั้ รากแกว้ รากฝอยและต้นตอของกเิ ลสทุกประเภท ไม่ลดละ มีความ
เพลิดเพลินอยู่กับความเพียรสืบเนื่องกับธรรมทั้งหลาย สิ่งที่มาสัมพันธ์เกี่ยวข้องกับ ใจพิจารณา
ลง ในธรรม คอื ไตรลักษณ์ เพอื่ ความรแู้ จ้งและถอดถอน ไป โดยลำ� ดับ เม่อื มขี อ้ ข้อง ใจเกิดข้ึนท ี่
ไม่แน่ ใจว่าถูกหรือผิดก็รีบมาเรียนถามท่าน พอ ได้รับค�ำชี้แจงเป็นท่ีแน่ ใจแล้วก็กลับ ไปบ�ำเพ็ญ
เพื่อความก้าวหน้าของจิตต่อ ไป พระธุดงคกรรมฐานจ�ำนวนมากที่อาศัยอยู่กับท่านอาจารย์ม่ัน
เพ่ือการศึกษาอบรม เมอ่ื ท่ีพกั ในส�ำนักทา่ นมี ไม่เพียงพอ ทา่ นก็แยกย้ายกัน ไปอยู่ ในทต่ี า่ ง ๆ
โดยปลีกออก ไปอยู่ท่ีละองค์บ้าง ๒ องคบ์ า้ ง ตา่ งองคต์ ่าง ไปเท่ยี วหาท่ีวิเวกสงัดของตน และ
ตา่ งองค์ตา่ งอยูต่ ามหมบู่ า้ นต่าง ๆ ที่มีอยู่ ในป่าและ ในภเู ขาซึง่ ไมห่ ่างจากส�ำนกั ทา่ นนกั พอ ไปมา
หาสูก่ ัน ได้สะดวกราว ๖ – ๗ ก ิโลเมตรบ้าง ๘ – ๙ ก ิโลบา้ ง ๑๑ – ๑๒ ก ิโลบา้ ง ๑๕ – ๑๖ กิ โล
บ้าง หรอื ราว ๒๐ – ๓๐ กิ โลบ้าง ตามแตท่ �ำเลเหมาะกับอธั ยาศัย ทอ่ี ยู่ ไกลราว ๒๐ ก ิโลข้ึน ไป
เวลามากราบเย่ียมท่าน ก็พกั คา้ งคนื ฟงั การอบรมพอสมควรก่อน แลว้ คอ่ ยกลับ ไปท่พี กั ของตน
บางท่านอาจ ไม่เข้า ใจว่ากิ โลเมตรหนง่ึ มีประมาณกี่เสน้ จึงขอช้แี จง ไว้พรอ้ มนีค้ อื ก ิโลเมตรหนึ่ง
มี ๒๕ เส้น ๔ ก ิโลเมตรกเ็ ทา่ กบั ๑๐๐ เส้น โปรดเทียบตามหลักเกณฑ์ท ่ีให ้ไว้นี้
หนทางตามบ้านป่าบ้านเขา ไม่เหมือนทางถนนจากอ�ำเภอ ไปสู่อ�ำเภอ จากจังหวัด ไปสู่
จังหวดั ดังทีเ่ ห็น ๆ กัน แต่เปน็ ทางของชาวบ้านป่าบา้ นเขา เขาเดนิ ท่องเทยี่ วหากนั อยา่ งน้ันมา
ด้งั เดมิ และเป็นความเคยชินของเขาอยา่ งนน้ั นานวันจงึ จะ ไปหากนั ครัง้ หนึ่ง ทางจึงเต็ม ไปดว้ ย
247
ป่าดงพงลกึ และขวากหนาม บางแหง่ ถ้า ไมส่ งั เกต ให้มากอาจเดนิ ผดิ ทางและหลงเขา้ ปา่ เขา้ เขา
ซึง่ ไมม่ หี มบู่ ้านเลยก ็ได้ ระหว่างทางบางตอน ไมม่ หี มู่บ้านคนเลยมีแต่ป่าแตเ่ ขาทั้งน้นั และยาว
ตัง้ ๒๐ – ๓๐ ก ิโลเมตรถงึ จะพบหมู่บ้านชาวป่าชาวเขาก็มี ระหวา่ งทางน้นั ส�ำคัญมาก ถ้าเกิด
ไปหลงทางเขา้ แล้วมีหวงั นอนค้างปา่ ค้างเขาและอดอาหารแนน่ อน ทงั้ อาจ ไมถ่ กู หม่บู า้ นเลยก ็ได้
นอกจากจะพบพวกนายพรานท่ีเที่ยวล่าสัตว์และอาศัยเขาบอกทางหรือเขาน�ำออก ไปหาทาง ไปยัง
หมู่บ้านจงึ จะพน้ ภัย
ท่านสอนอุบายวิธีฝึกทรมานจิต
พระธดุ งคกรรมฐานผูห้ วัง ในธรรมอย่างยง่ิ ทา่ นรู้สึกล�ำบากอยู่ ไม่นอ้ ย ในการอยกู่ ารบ�ำเพญ็
การเดินทางและการแสวงหาครอู าจารยผ์ อู้ บรม โดยถกู ต้องและราบร่นื ชน่ื ใจ เชน่ ทา่ นอาจารยม์ ัน่
มาพบเหน็ ทา่ นแล้วดอี กด ีใจเหมือนลูกเล็ก ๆ เห็นพ่อ – แม่เราด ี ๆ นเ่ี อง ทง้ั รกั ท้งั เคารพท้ังเลอ่ื ม ใส
และอะ ไร ๆ รวมเป็นความ ไว้วาง ใจหมดทุกอย่าง หรือจะเรียกว่าหมดชีวิตจิต ใจรวมลง ในท่าน
องคเ์ ดยี วกถ็ กู เพราะนสิ ยั พระธดุ งคกรรมฐานมคี วามเชอ่ื ถอื และเคารพรกั อาจารยม์ าก ขนาดสละชวี ติ
แทน ได ้โดย ไม่อาลยั เสยี ดายเลย แมจ้ ะแยกยา้ ยกนั ไปอยู่ ในที่ตา่ ง ๆ กต็ าม แตท่ า่ นมคี วามผกู พนั
ในอาจารยม์ ากผดิ ธรรมดา การอยกู่ ารบำ� เพญ็ หรอื การ ไป – มาแมจ้ ะลำ� บากทา่ นกพ็ อ ใจทจ่ี ะพยายาม
ขอแตม่ ีครูอาจารย์คอย ใหค้ วามอบอุน่ กพ็ อ ความเปน็ อยู่หลบั นอน การขบฉนั ทา่ นทน ได้ อดบา้ ง
อ่มิ บ้างทา่ นทน ได้เพราะ ใจทา่ นมุ่งตอ่ ธรรมเป็นส�ำคัญกว่าสง่ิ อื่น ใด บางคนื ทา่ นนอนตากฝนท้ังคืน
ทนหนาวจนตวั สน่ั เหมอื นลูกนกท่านกย็ อมทนเพราะความเห็นแก่ธรรม เวลาทา่ นสนทนาธรรมกนั
เกี่ยวกับการบ�ำเพ็ญการพักอยู่ ในท่ีต่าง ๆ กัน และการ ไป – มาตามป่าตามเขารู้สึกว่าน่าฟังมาก
ท้ังน่าสงสารท่านเหมือนสัตว์อยู่ ในป่าตัวหน่ึง ไม่มีราคาอะ ไรเลยเพราะความล�ำบากจนมุม ท่ีอยู่
หลับนอน ในบางครัง้ เหมือนของสัตว์เพราะความจำ� เป็นบงั คับท่จี ำ� ต้องอดทน
การบำ� เพญ็ ทา่ นมีอุบายวธิ ีต่าง ๆ กนั ไปตามจริตนสิ ัยชอบ คืออดนอนบ้าง ผ่อนอาหารบา้ ง
อดอาหารบา้ ง กค่ี นื หรือกว่ี นั ตามแต่ความเหมาะสมกบั จริตและธาตขุ ันธจ์ ะพอทน ได้ เดนิ จงกรม
แต่หวั ค�่ำตลอดสว่างบ้าง น่งั สมาธหิ ลาย ๆ ชว่ั โมงบ้าง นงั่ สมาธแิ ต่หวั คำ่� จนสว่างบา้ ง ไปนง่ั สมาธิ
อย่ทู างเสอื เข้าถำ้� ของมนั บ้าง ไปนง่ั สมาธิอยทู่ ดี่ ่านอันเป็นทางมาของเสือบา้ ง ไปนั่งสมาธอิ ย่ ูใน
ป่าช้าท่ีก�ำลังเผาผอี ย ู่ในวนั นนั้ บา้ ง ไปนง่ั อย่รู ิมเหวลึก ๆ บ้าง กลางคนื ดกึ ๆ เดินเทย่ี วบนภเู ขา
พอ ไปเจอท�ำเลที่เหมาะ ๆ คอื ทนี่ า่ กลัวมากกน็ ่ังสมาธิอยเู่ สยี ที่น้ันบ้าง ไปน่ังสมาธ ิใตร้ ่ม ไม้กลาง
ภูเขาดกึ ๆ คอย ให้เสือมาทนี่ น้ั จิตจะ ไดส้ งบ ในขณะนนั้ บา้ ง วิธเี หล่าน้ีทา่ นมคี วามมุง่ หมายลง ใน
248
จุดเดยี วกนั คอื เพื่อทรมานจติ ให้หายพยศ ซงึ่ กเ็ ปน็ ไปตามความมุ่งหมายจริง ๆ โดยมากทา่ น
ได้อุบายจากวิธีเหล่านี้ แต่ละวิธีของแต่ละนิสัยท�ำ ให้ท่านมีก�ำลัง ใจ ได้ตามวิธีท่ีถูกกับจริตนิสัย
ของตน ฉะนน้ั ท่านจงึ ชอบอบุ ายวธิ ีทรมานต่าง ๆ กนั แม้ท่านอาจารยม์ ่ันเองกเ็ คยทำ� มาและ
ส่งเสรมิ พระทีฝ่ กึ และทรมาน โดยวธิ ตี ่าง ๆ วา่ เปน็ ผฉู้ ลาดฝึกอบรมตน วิธเี หล่านี้พระธุดงค์ท่าน
ยังท�ำของท่านอยู่มิ ไดล้ ดละตลอดมา
การฝกึ ตัว ให้เปน็ คนมคี ุณคา่ ท�ำ ใจ ใหม้ ีราคายอ่ มเปน็ สิง่ ทฝ่ี ืนอย่บู ้าง ความยากล�ำบากนน้ั
ไม่สำ� คัญเท่าผลทีจ่ ะท�ำ ให้เปน็ คนดีมีความสขุ และมขี ่ือมีแปมีธรรมเปน็ เครอื่ งกำ� กับรักษา ไม่ว่า โลก
หรอื ธรรมเคยถอื กันมาอย่างน้ัน นอกจากสงิ่ ของท่ ีใชก้ ารอะ ไร ไม ่ไดห้ มดความหมาย ไร้คา่ และ
คนตายแลว้ เท่าน้ันจึง ไม่มกี ารรกั ษากนั คนเรายังมีคณุ ค่าควรจะ ได้รบั จากการปรับปรงุ รกั ษาอย่จู ึง
ควรสงวนรกั ษาตวั อย่างยง่ิ ผลแห่งการรกั ษาจะยังผ้นู นั้ ใหเ้ ปน็ คนดีมคี วามสุขความเจรญิ ทงั้ ปัจจุบัน
และอนาคต ไมม่ ีส้ินสุด ดังนน้ั ทพ่ี ระธุดงคท์ ่านปฏิบัตบิ �ำเพ็ญ โดย ไม่เหน็ แก่ความยากล�ำบากมา
เปน็ อุปสรรค จึงเป็นการเบิกทางเพ่ือความกา้ วหนา้ แห่งธรรมภาย ใน ใจอนั เป็นท่นี ่ากราบ ไหว้บชู า
อย่างย่ิง
ตราบ ใดทย่ี งั มีผสู้ น ใจและปฏบิ ัตธิ รรมสมควรแกธ่ รรมอยู่ พระศาสนากย็ งั ดำ� รงคงอยู่กบั
โลกตลอด ไปและแสดงผล ให ้โลกท ่ีใครต่ อ่ ธรรมเหน็ อยตู่ ามลำ� ดบั ทป่ี ฏบิ ตั ิได้ ตรงกบั หลกั พทุ ธศาสนา
ทพ่ี ระพุทธเจ้าทรงเป็นผทู้ ำ� จรงิ รู้จรงิ และสอน โลกดว้ ยธรรมจริง ผเู้ ชอ่ื ถอื ศาสนาก็เป็นผู้ท�ำจรงิ
เพือ่ ความรู้จรงิ เห็นจรงิ ไม่เหลาะแหละย่อหยอ่ นออ่ นความสามารถ อันเป็นการกดถว่ งและลด
คณุ ค่าของพระศาสนาลง ใหพ้ าหริชนเขาดูถูกเหยียดหยามดังที่ทราบกนั อยู่ เพราะศาสนาทแี่ ทจ้ ริง
เป็นคุณธรรมที่ควรนำ� ออกแสดง ไดอ้ ยา่ งเปิดเผยทั่ว ไตร โลกธาตุ โดย ไม่มีความสะทา้ นหวัน่ ไหว
ว่า “ ไมจ่ รงิ ” เพราะเป็นธรรมทีจ่ รงิ ตามหลักธรรมชาตดิ ว้ ย ศาสดาท่สี อนกเ็ ป็นผบู้ ริสุทธิ์และ
ทรงสอนตามความจริงแหง่ ธรรมด้วย นอกจากจะ ไมส่ น ใจหรือ ไมส่ ามารถค้น ใหถ้ งึ ความจรงิ ตามท่ี
ศาสนาสอน ไว้เท่าน้ัน จึงอาจเป็น ไปตามความรู้ความเห็นท่ี ไม่มีประมาณของแต่ละหัว ใจท่ีมี
ธรรมชาตหิ นึ่งปิดบังอยา่ งลึกลบั และฝังลึกอย ู่ใน ใจ ทงั้ ปกปิดดวง ใจ ไวต้ ลอดกาล ซงึ่ ศาสนาแทง
ทะลุปร ุโปร่ง ไปหมดแล้ว
ขออภยั ท่ีเขยี นเลยเถิด ไปบ้างตามนิสัยของคน ไม่มีหลกั ยดึ ที่แน่นอน ขอยอ้ นอธบิ ายวิธีฝึก
ทรมานตา่ ง ๆ ทพ่ี ระธุดงคท์ ่านชอบท�ำเปน็ ประจ�ำนสิ ัยตลอดมาอกี เล็กน้อย พอทราบความมุ่งหมาย
และผลทเ่ี กิดจากวธิ นี น้ั ๆ บ้าง
249
การฝกึ แต่ละวิธีทา่ นเห็นผลประจกั ษ์ ใจเปน็ ล�ำดบั คือทำ� ใหจ้ ติ ทีม่ คี วามพยศล�ำพองเพราะ
ร่างกายมีก�ำลังมาก ใหล้ ดลงดว้ ยวธิ ผี อ่ นอาหาร อดอาหารหรอื อดนอน ตลอดการหกั โหมดว้ ยวธิ ี
ตา่ ง ๆ คอื เดนิ จงกรมนาน ๆ บ้าง นง่ั สมาธภิ าวนานาน ๆ บา้ ง เพ่อื ใจจะ ได้มีกำ� ลังก้าวหน้า ไปตาม
แถวแหง่ ธรรมด้วยความสะดวก เพ่อื ใจทหี่ วาดกลวั ตอ่ อันตรายมีเสือหรือผี เปน็ ต้น แลว้ ยอ้ นเขา้
มาส่ภู าย ในอันเป็นที่สถติ อยู่ของ ใจอย่างแทจ้ ริง จนเกิดความสงบและกล้าหาญขน้ึ มา ซงึ่ เปน็ การ
บรรเทาหรือก�ำจดั ความหวาดกลวั ต่าง ๆ เสยี ได้ เพือ่ จติ ได้รู้ก�ำลังความสามารถของตน ในเวลา
เข้าที่คับขันคอื ความจนตรอกจนมุมหรอื คราวเกิดทกุ ขเวทนากล้าจนถึงเป็นถึงตายจรงิ ๆ จะมีทาง
ต่อสู้เพ่ือชัยชนะเอาตัวรอด ได้
ตามปรกติถา้ ไม่เข้าที่คับขันสตปิ ัญญา ไมค่ ่อยเกดิ และ ไม่อาจรูค้ วามสามารถของตน การ
หาวธิ ที รมานต่าง ๆ ตามจรติ นิสยั และความแยบคายของแตล่ ะรายนน้ั เป็นวธิ ฝี กึ ซ้อมสตปิ ัญญา ให้
มีความสามารถอาจหาญและทราบก�ำลังของตน ได้ดี ไม่สะทกสะท้านต่อเหตุการณ์ต่าง ๆ ท่ีอาจ
เกิดข้นึ ได้ ไมเ่ ลือกกาลสถานท่ี ผลทีป่ รากฏแกผ่ ชู้ อบฝึกทรมานตนดว้ ยวธิ ตี ่าง ๆ คอื ผู้ที่เคยกลวั ผี
มาดงั้ เดมิ กห็ ายกลวั ผ ีได้ดว้ ยวิธฝี ืน ใจเขา้ ไปเย่ยี มป่าชา้ ผู้เคยกลัวสัตว์รา้ ยตา่ ง ๆ มเี สอื เป็นตน้
ก็หายกลัว ได้ดว้ ยวิธฝี นื ใจเขา้ ไปอย ู่ในทเ่ี ปลี่ยวอนั เปน็ ทีน่ า่ กลวั ผมู้ ักเห็นแกป่ ากแกท่ อ้ งชอบ โลเล
ในอาหารปัจจัย กบ็ รรเทาหรือหายเสยี ไดด้ ้วยการผ่อนอาหารหรอื อดอาหาร ตามปรกตินสิ ยั ของ
คนเรา โดยมากยอ่ มชอบอาหารด ี ๆ รบั ประทาน ได้มาก ๆ ถอื ว่าเปน็ ความสขุ เพราะถูกกับ ใจ
ผมู้ กั โลภ ไม่เคยมคี วามพอดแี อบซ่อนอยดู่ ว้ ย ได้เลย แม ้ใจจะทุกข์เพยี ง ไรก็ ไมค่ อ่ ยสน ใจคดิ วา่ มี
สาเหตเุ ปน็ มาจากอะ ไร แต่ผ้ปู ฏิบัติธรรมเพอื่ ความรู้สง่ิ เก่ยี วข้องกับตนอนั มมี ากมายและต่าง ๆ กนั
จำ� ต้องพจิ ารณาและทรมานกนั บา้ งเพื่อรู้ฤทธิข์ องกนั และกัน
ดังนั้น พระธุดงคบ์ างองคท์ า่ นจึงทรมานทา่ นจนเปน็ ทน่ี า่ สงสารอย่างจบั ใจกม็ ี คอื อาหาร
ดี ๆ ตามสมมุตินิยมท่ีท่าน ได้มาหรือมีผู้น�ำมาถวาย พอเห็นจิตแสดงอาการอยาก ได้จนเป็นที่
น่าเกลียดอยภู่ าย ใน ท่านกลับทรมาน ใจเสีย ไม่ยอมเอาอาหารชนดิ นั้น แตก่ ลับ ไปเอาชนดิ ทจี่ ติ
ไมต่ ้องการ ไปเสยี อยา่ งนั้น ถา้ จติ ตอ้ งการมากทา่ นกเ็ อาแตเ่ พยี งเลก็ นอ้ ยหรอื บางคราวทา่ นบงั คบั ให้
ฉนั ขา้ วเปลา่ ๆ ทง้ั ทอี่ าหารมีอยู่ อย่างน้กี ม็ ี อาหารบางชนิดเป็นคุณแก่ร่างกายแตก่ ลับเป็นภยั
แก่ ใจคือทับถมจิต ใจ ภาวนายากหรือ ไม่ก้าวหน้าเท่าที่ควรทั้งท่ีท�ำความเพียรดังท่ีเคยท�ำมาเป็น
ประจ�ำ เม่อื ทราบวา่ เป็นเพราะเหตุ ใดจติ จึง ไม่ก้าวหน้า ทา่ นกพ็ ยายามตดั ต้นเหตุนัน้ ออก ไป โดย
ไม่ยอมเสยี ดายและตาม ใจทเ่ี ปน็ เจา้ กเิ ลสตัว โล โภ สมกับท่านมาฝึกทรมาน ใจกับครูอาจารย์จริง ๆ
มิ ได้ปล่อยตาม ใจท่ีเคยเอาแต่ ใจตัวมาจนเป็นนิสัย การฉันท่านก็ฝึก ให้มีประมาณและขอบเขต
250
จำ� กดั การหลบั นอนทา่ นก็ฝึก ใหน้ อนและต่นื ตามเวลาทก่ี �ำหนด ไว้ ไมป่ ลอ่ ย ใหน้ อนตาม ใจชอบ
หรอื ตามยถากรรม การ ไป – มา ในทิศทาง ใดควรหรือ ไมค่ วรท่านกฝ็ ึก แม ้ไม่ผดิ พระวินัยแต่ผดิ
ธรรมท่านก็บงั คบั ไม่ ใหฝ้ ่าฝนื ในสิง่ ท่เี ห็นวา่ ไมค่ วรนนั้ ๆ การพยายามปลูกธรรม ใหเ้ จริญรุ่งเรืองขนึ้
โดยลำ� ดับภาย ใน ใจ ไม ่ให้เสื่อมทรามลงจึงแสนปลูกยากอยา่ งยงิ่ แทบพดู ได้วา่ ไมม่ อี ะ ไรจะล�ำบาก
ยากเย็นเสมอเหมอื นเลย
ส่วนการปลูก โลกผู้เขียนอยากจะพูดว่ามันคอยแต่จะแย่งเกิดและเจริญขึ้นเพื่อท�ำลายจิต ใจ
เราอยู่ทุกขณะท่ีเผลอ จน ไมช่ นะทจี่ ะปราบปรามมัน เพยี งนาทีหนึ่งมนั กแ็ อบเข้ามาเกิดและเจริญ
ใน ใจเสยี แล้ว ไม่ร้วู า่ กี่ประเภท โดยมากก็เป็นประเภทสังหารท�ำลายตัวเราน่นั แล มันเกดิ และ
เจรญิ เรว็ ทส่ี ุด ชวั่ พรบิ ตาเดยี วเท่านัน้ ก็มอง ไม่ท่วั ตามแก้ ไมท่ นั สิง่ ท่ีเกดิ ง่ายแตท่ �ำลายยากก็คือ
ตน้ ราคะตณั หาตวั ท�ำความพินาศบาดหัว ใจ น่แี ลเปน็ สิง่ ทเ่ี กง่ กลา้ สามารถกว่าอะ ไร ใน โลก ไม่ว่า
ท่านว่าเราต่างก็ชอบมันเสียด้วย มันจึง ได้ ใจและก่อความพินาศ ให้ โลกอย่าง ไม่มีประมาณและ
ไม่เกรงขาม ใครเลย ท่ีมีกลัวอยู่บ้างก็ผู้มีธรรม ใน ใจ และท่ีกลัวจริง ๆ ก็คือพระพุทธเจ้าและ
พระอรหนั ตท์ า่ นเทา่ นนั้ มนั ไมก่ ลา้ เขา้ ไปแอบ ได้ เพราะทา่ นทำ� ลาย โรงลเิ กละครและ โรงอะ ไร ๆ
ของมันพงั พินาศ ไปหมดแลว้ มันจึงกลบั มาเลน่ งานกับพวกเราผ้ยู ังอยู่ ใตอ้ ำ� นาจของมนั
พระธุดงค์ท่ีท่านแทบเป็นแทบตาย ในการฝึกทรมานตน ก็เพราะกิเลสสองสามตัวน่ีแล
เป็นเหตุและท�ำการกีดขวางถ่วง ใจท่าน ให้ ได้รับความล�ำบาก แม้เปลี่ยนเพศเป็นพระมีผ้าเหลือง
ซึ่งเป็นเคร่ืองหมายของท่านผู้ชนะมารมาแล้วมาครองประกาศตัว แต่กิเลสประเภทนี้ มันยัง
ไมย่ อมเกรงกลัวทา่ นบา้ งเลย แถมมันยังพยายามตามฉดุ ลากทา่ น ให้เปลอ้ื งผ้าเหลอื งอยู่ตลอด ไป
ไมย่ อมปล่อยตวั เอาง่าย ๆ ทั้ง ไม่เลือกวยั เสียด้วย ทา่ นจงึ จำ� ตอ้ งตะเกียกตะกายด้วยการฝึกทรมาน
โดยวิธตี ่าง ๆ ทเี่ ห็นวา่ เปน็ วธิ ีก�ำจดั มนั ออกจาก ใจ ได้ ยากกท็ น ล�ำบากกท็ ำ� ทุกขก์ ต็ อ้ งต่อสู้
ไมย่ อมถอยหลงั เดี๋ยวมันจะหัวเราะเยาะเขา้ อีกกย็ ่งิ ขายทงั้ หน้า ขายท้งั ผ้าเหลอื ง ขายท้งั เพศ
นักบวชที่เป็นเพศแห่งนักต่อสู้ ไม่ยอมจนมุม และขายทั้งศาสนาซ่ึงเป็นหลัก ใหญ่ของมวลมนุษย์
ยิ่งเป็นความเสยี หายอยา่ ง ใหญ่หลวง เมอ่ื เปน็ เชน่ นีก้ จ็ �ำตอ้ งพลชี ีพเพื่อกู้หนา้ กผู้ ้าเหลืองก็เพศ
แหง่ นกั บวช และกูพ้ ระศาสนาและองค์พระศาสดา ไว้ ดีกว่าจะตายแบบล่มจมปน่ ปี้ เหลา่ น้ี
เปน็ อบุ ายที่พระธุดงค์ท่านนำ� มาพร�่ำสอนตวั เพือ่ ความกลา้ หาญชาญชัย เทิด ไว้ซึ่งธรรมดวงเลิศ
อนั จักนำ� ให้ถึงแดนประเสริฐพ้นทุกข ์ไปไดใ้ นวนั หนง่ึ โดย ไมส่ งสยั เพราะทางพ้นทกุ ขถ์ ึงความเป็น
ผู้ประเสริฐ มีอยู่กับศาสนธรรมท่ีประทานไว้น้ีเท่าน้ัน ท่ีเป็นทางตรงแน่วต่อความพ้นทุกข์
โดยประการท้งั ปวง ไม่สงสยั ไมม่ อี ยู ่ในทีอ่ ่ืน ใดที่จะพอหลบหลกี ปลีกตัวและผอ่ นคลาย ไป ได ้โดย
251
ไมต่ อ้ งล�ำบาก ในการขวนขวาย นอกนนั้ เตม็ ไปดว้ ยขวากหนามทจ่ี ะคอยทมิ่ แทงรา่ งกายจติ ใจ ใหเ้ ปน็
ทกุ ขจ์ นหาทป่ี ลงวาง ไม ่ไดต้ ลอดกัปกัลป์ ไม่มีประมาณว่าจะผ่านพ้น ไป ได้
แม้ท่านอาจารย์ม่ันก่อนหน้าท่านจะปรากฏองค์ข้ึนมา ให้พวกเรา ได้กราบ ไหว้เป็นขวัญ ใจ
และเปน็ อาจารย์ส่ังสอนบรรดาศิษย์ ท่านกเ็ คยเปน็ มาแล้วชนดิ ตาย ไมม่ ปี ่าชา้ คือสน้ิ ลมท ี่ไหนก็
ปล่อยรา่ งกันท่ีนนั่ ไมอ่ าลยั เสียดายชวี ติ ย่งิ กวา่ ธรรม ดังทเี่ ขยี นผ่านมาบา้ งแลว้ เวลามาเป็น
อาจารย์สง่ั สอนศษิ ย์ ท่านกส็ ัง่ สอนอย่างเด็ด ๆ เผด็ ๆ ร้อน ๆด้วยอบุ ายอนั แหลมคมตามแนวทางที่
ทา่ นเคยด�ำเนนิ และเห็นผลมาแล้วนัน่ แล ทา่ นส่ังสอนแบบปลกุ จติ ปลกุ ใจและฟ้นื ฟูความฉลาด ให้
ทนั กบั กลมารยาของกิเลสท่ีเคยเป็นนายบนหัว ใจคนมานาน เพ่ือการถอดถอนท�ำลายกิเลสออก
ให้หมด จะ ได้หมด โทษหมดภัยอยู่สบาย ไปอย่างผู้ส้ินทุกข์ ไม่ต้องมีการวกเวียนเปล่ียนภพ
เปลย่ี นชาติแต่ความทุกขท์ ีฝ่ ังอย่ ูใน ใจ ไม่ยอมเปล่ยี น แม้จะเปลี่ยนภพก�ำเนิด ไปสักเท่า ไรก็เท่ากับ
เปล่ียนเคร่ืองมือสังหารตนอยู่น่ันเอง จึง ไม่ควรยินดี ในการเกิดเป็นน่ันเป็นนี่อันเป็นลักษณะ
นัก โทษยา้ ยท่ีอยู่หลับนอน ในเรือนจำ� ซ่งึ ไม่มอี ะ ไรดขี น้ึ เลย การเกดิ – ตาย นักปราชญ์ท่านถือ
เป็นภัย โดยจริง ใจ เหมือนย้ายท่ีท่ีถูก ไฟ ไหม้ แม้จะย้ายที่อยู่ ไป ไหนก็ ไม่พ้นจากการระวังภัย
อยู่น่ันเอง เหล่าน้ีน�ำมาลงเพียงเล็กน้อย ส�ำหรับ โอวาทที่ท่านอาจารย์ม่ันส่ังสอนพระธุดงค์
ตลอดมา ท่ีนำ� มาลงบา้ งน้ีพอเป็นคติแก่ทา่ นทีช่ อบ ในอุบายท่านบ้าง
การ ให้ โอวาทวนั ท�ำอุ โบสถและวันประชุมฟังธรรม โดยเฉพาะ มีน�้ำหนักแห่งธรรมต่างกัน
อยู่มาก วนั อ ุโบสถมีพระมามากจากส�ำนกั ตา่ ง ๆ ราว ๔๐ – ๕๐ องค์ การสงั่ สอนแม้จะเด็ดเดย่ี ว
และลึกซึ้งก็ ไม่เหมือนวันประชุมธรรม ในส�ำนักท่าน โดยเฉพาะ วันประชุมรู้สึกเด็ดและซ้ึงจริง ๆ
อ�ำนาจแห่งธรรมที่แสดงออกแต่ละคร้ังขณะท่าน ให้ โอวาท ในความรู้สึกของผู้ฟังท่ัว ๆ ไป
ประหน่ึง โลกธาตุดับสนิท ไปตามกิเลสท่ีท่านเทศน์ขับ ไล่ออกจากดวง ใจพระธุดงค์ ปรากฏเฉพาะ
ธรรมกับ ใจท่ีเข้าสัมผัสกันอยู่ขณะน้ันเท่าน้ันเป็นความซาบซึ้งตรึง ใจและอัศจรรย์อย่างบอก ไม่ถูก
แม้หลังจากน้ันก็ยังปรากฏเหมือน ไม่มีอะ ไรเหลืออยู่ ใน ใจ จิตหมอบอยู่เป็นเวลาหลายวันเพราะ
อ�ำนาจธรรมที่ท่านแสดงอยา่ งเผด็ ร้อน ประหนึง่ ท่านท้าทายกิเลสทงั้ หลาย พอผา่ น ไปหลายวนั
กเิ ลสค่อย ๆ โผลห่ นา้ ออกมาทลี ะนอ้ ย ๆ นาน ไปกพ็ องตัวขึน้ อกี พอดีถึงวนั ประชมุ ท่านก็ปราบ
ให้อีก พอบรรเทาเบาบาง ใหส้ บาย ใจ ไป ไดเ้ ป็นระยะ ๆ
ด้วยเหตุดังกล่าวมาพระธุดงค์ท้ังหลายผู้ ใคร่ต่อธรรมแดนพ้นทุกข์จึงมี ใจผูกพัน ในอาจารย์
มากผิดธรรมดา เพราะการถอดถอนกิเลสนน้ั ทัง้ ทำ� โดยลำ� พังตนเอง ทัง้ มสี ว่ นเก่ียวข้องกบั อาจารย์
252
ผูค้ อย ใหอ้ บุ ายดว้ ยอยา่ งแยก ไมอ่ อก บางครง้ั พระ ไปบำ� เพญ็ เพียรอย่ ูโดยลำ� พงั พอเกิดขอ้ ข้อง ใจ
ซ่ึงเป็นเรือ่ งของกเิ ลสข้ึนมา ไมส่ ามารถแก ้ไข โดยล�ำพงั ไดต้ ้องรบี มาเลา่ ถวายอาจารยเ์ พื่อทา่ น ได้
ชแ้ี จง ใหฟ้ งั พอมาเลา่ ถวายทา่ นก็อธิบาย ให้ฟงั ตามสาเหตนุ ัน้ ๆ ยอ่ ม ได้สตแิ ละหายสงสัย ไป ใน
ขณะนน้ั น่ันเอง บางครั้งก�ำลังเกิดความสงสัยวนุ่ วายอยกู่ บั จดุ ใดจุดหนงึ่ ท่สี ลับซบั ซ้อนเหลอื ท่ีจะแก้
ให้ตก ได้ โดยล�ำพังสติปัญญาของตน พอท่านอธิบายธรรม ไปถึงจุดนั้นปรากฏเหมือนท่านเข้า ไป
ทำ� ลายความสงสยั ของตนเสีย ได้ และผา่ น ไป ได้ ในขณะนั้นเป็นพกั ๆ
ในวงพระปฏิบตั ริ ะหว่างเพื่อนนักปฏบิ ตั ิดว้ ยกันและระหว่างลูกศิษย์กบั อาจารย์จะทราบภมู ิ
ของกนั และกนั ได้ และท�ำ ให้เกดิ ความเคารพเลอื่ ม ใสตอ่ กันมาก ยอ่ มทราบจากการสนทนาธรรม
กันทางภาคปฏิบตั ิ เม่ือเล่าความจริงทีจ่ ิตประสบและผ่าน ไปสกู่ ันฟงั ย่อมทราบถึงภมู ิจิตภูมิธรรม
ของผ้นู ั้นทันทวี ่าอย่ ูในภูมิ ใด บรรดาศิษยท์ ่ีทราบภูมิของอาจารย์ ไดย้ อ่ มทราบ ในขณะที่เลา่ ธรรม
ภาย ในจิตของตนถวายท่าน หรือเล่าตอนท่ีจิตติดขัดอยู่กับอารมณ์ท่ียังแยกจากกัน ไม่ออกว่าจะ
ควรปฏิบตั ติ อ่ กนั อยา่ ง ไร ถา้ อาจารยเ์ ป็นผรู้ ู้หรือผา่ น ไปแลว้ ท่านจะตอ้ งอธิบายเพ่มิ เตมิ ต่อจาก
ที่ตนเล่าถวายท่านแล้วนั้น หรือช้ีแจงตอนท่ีตนก�ำลังติดขัดอยู่ ให้ทะลุปรุ โปร่งอย่าง ไม่มีที่ขัดข้อง
ตอ้ งต ิใด ๆ เลย
อีกประการหนง่ึ ลกู ศิษยเ์ กดิ ความส�ำคญั ตนผิดคดิ วา่ ตนผ่านพน้ ไป โดยส้นิ เชงิ แลว้ แตท่ า่ น
ทราบว่าเป็นความเห็นที่ยัง ไม่ตรงตามความจริงท่ีท่านรู้เห็นมา โดยถูกต้อง ท่านจ�ำต้องอธิบาย
เหตุผลและชี้แจง ให้ฟังตามจุดที่ผู้น้ันส�ำคัญผิด จนยอมรับเหตุผลอันถูกต้องจากท่านเป็นตอน ๆ
ไปจนถึงที่ปลอดภัย
เมื่อต่าง ได้สนทนากันตามจุดต่าง ๆ แห่งธรรมจนเป็นท่ีทราบและลงกัน ได้ก็ย่อมยอมรับ
ความจริงจากกนั โดย ไมม่ ีอะ ไรมาประกาศยนื ยนั เพราะหลักความจรงิ เป็นเคร่อื งยืนยันกนั พร้อม
มลู แลว้ นแี่ ลเป็นหลกั พิสจู นภ์ ูมิของนักปฏบิ ัตธิ รรมด้วยกนั ว่าทา่ นผ ู้ใดอยู ่ในภมู จิ ติ ภูมิธรรมขัน้ ใด
นับแต่ขน้ั อาจารยล์ งมาหาพระปฏบิ ัตทิ ่ัว ๆ ไ ป ท่านทราบกนั ไดด้ ้วยหลกั ฐานดังกลา่ วมา สว่ นการ
ทราบดว้ ยญาณวถิ นี ั้นเป็นเรอ่ื งภาย ในอีกขน้ั หนง่ึ ผเู้ ขยี น ไม่อาจนำ� มายืนยนั จึงขอมอบ ไวก้ บั ท่าน
ผมู้ ีความชำ� นาญ ในทางน้เี ปน็ กรณพี ิเศษจะพึงปฏิบัติเองเป็นราย ๆ ไป
ทบ่ี รรดาศิษยม์ คี วามเคารพเลื่อม ใสทา่ นอาจารย์มัน่ อยา่ งถงึ ใจ ฝากเปน็ ฝากตายถวายชีวติ
จริง ๆ ก็เพราะความ ใกล้ชิดสนิทท้ังภายนอกภาย ในเก่ียวกับการสนทนากับท่านอยู่เสมอน่ันแล
ทำ� ให้จิตยอมรบั ความจรงิ จากทา่ นอย่างสนิทและตาย ใจ มิ ได้เปน็ แบบสกั แต่วา่ เห็น ได้ยินค�ำเลา่ ลือ
253
จากท ี่ใกล้ท ี่ไกลแล้วก็เชอ่ื สุม่ ๆ ไปอย่างนั้น เฉพาะผเู้ ขยี นซึ่งเป็นพระท่ีมีทิฏฐิจดั ไม่ยอมลง ใครเอา
งา่ ย ๆ แล้ว ยอมรับว่าเปน็ ตวั เกง่ ท่ีน่ารำ� คาญและนา่ เกลยี ดอยู่ ไม่น้อยผูห้ นึ่ง ในการ โต้เถยี งกบั ท่าน
อาจารยม์ น่ั เป็นนกั โต้เถียงจนลมื ส�ำนกึ ตัวว่า เวลาน้ีเรามา ในนามลูกศษิ ย์เพอ่ื ศึกษาธรรมกับทา่ น
หรอื มา ในนามอาจารยเ์ พ่อื สอนธรรมแก่ทา่ นเล่า อย่างน้กี ็ม ีในบางครงั้ แตก่ ย็ ังภมู ิใจ ในทิฏฐขิ อง
ตนที่ ไม่ยอมเห็น โทษและกลัวท่านแม้ถูกท่านสับเขกลงจนกะ โหลกศีรษะจะ ไม่มีชิ้นต่อกันเวลาน้ัน
หลัก ใหญ่ก็เพ่ือทราบความจริงว่าจะมีอยู่กับทิฏฐิเราหรือจะมีอยู่กับความรู้ความฉลาดของท่าน
ผู้เป็นอาจารย์ขณะทีก่ �ำลงั โต้แย้งกันอยอู่ ยา่ งชุลมลุ วนุ่ วาย แตท่ กุ ครง้ั ท่ ีโตก้ ันอยา่ งหนัก ความจริง
เป็นฝ่ายทา่ นเกบ็ กวาด ไว้หมด แต่ความเหลว ไหล ไรค้ วามจรงิ มากองอยู่กับเราผู้ ไม่เปน็ ทา่ ท่เี หลอื
แต ่ใจสจู้ น ไมร่ จู้ กั ตาย พอ โตเ้ ถยี งกบั ทา่ นยตุ ลิ งเราเปน็ ฝา่ ยนำ� ไปขบคดิ เลอื กเฟน้ และยอมรบั ความจรงิ
ของท่าน ไปเป็นตอน ๆ ส่วน ใดที่เราเหลวก็ก�ำหนด โทษของตน ไว้และยอมรับความจริงจากท่าน
ด้วยการเทิดทูนบนเศียรเกล้า ตอน ใดที่ ไม่เข้า ใจซึ่งยังลงกัน ไม่ ได้ วันหลังมี โอกาสขึ้น ไป โต้กับ
ทา่ นใหม่ แตท่ ุกครง้ั ต้องศรี ษะแตกลงมาด้วยเหตผุ ลของทา่ นมัดตัวเอา แลว้ อมความย้มิ ในธรรม
ของทา่ นลงมา
องค์ท่านเองทั้งที่ทราบเร่ืองพระบ้าทิฏฐิจัด ได้ดีแทนท่ีจะดุด่าหรือหาอุบายทรมาน ให้หาย
บ้าเสียบ้าง แต่ขณะท่ีท่านมองหน้าเราที ไรอดย้ิม ไม่ ได้ ท่านคงนึกหม่ัน ไส้หรือนึกสงสารคนที่
แสน โง่แต่ชอบต่อสู้แบบ ไม่รู้จักตาย ผู้เขียนจึงมิ ใช่คนดีมาแต่เดิมแม้กระท่ังปัจจุบันน้ี ขนาด
อาจารยย์ ังกลา้ ตอ่ สู้ ไมล่ ะอายตวั เองบา้ งเลย แต่ดีอยา่ งหนง่ึ ที่ ไดค้ วามร้แู ปลก ๆ จากวิธนี ้นั มาเป็น
คติสอนตนเร่ือยมาจนทุกวันน้ี ท่านเองก็ ไม่เคยถือสาอะ ไรเลย นอกจากนึกขัน ไปด้วยเท่าน้ัน
เพราะนาน ๆ จะมพี ระหวั ดอื้ มากวน ใจเสยี ครงั้ หนงึ่ ปรกต ิไมค่ อ่ ยมที า่ นผ ู้ใดมาสนทนาและถกเถยี ง
ทา่ น พอ ให้พระเณร ในวดั ตนื่ ตก ใจและงง ไปตาม ๆ กนั บา้ งเลย
หลังจากท่ีท่านผ่านดงหนาป่าทึบคือวัฏฏะวนที่เชียง ใหม่ตามที่เขียนผ่านมาแล้วท่าน ไปพัก
อยู่ ในสถานท่ี ใดนานหน่อย สถานที่นั้นรู้สึกจะมีความหมายอยู่อย่างลึบลับส�ำหรับท่าน โดยมิ ได้
บอก ใคร ให้ทราบ พอสงั เกต ไดต้ อนมาจากเชียง ใหม่มาแวะพกั ที่นครราชสีมากม็ ีพระและฆราวาส
ทีม่ ีนิสยั ใคร่ธรรมเปน็ หลกั ใจและภาวนาดีอย่หู ลายทา่ น เขา้ มาศกึ ษาธรรมกบั ทา่ น ในขณะมาพกั ท่ี
นนั้ หลังจากนนั้ ก ็ไดต้ ิดตาม ไปอบรมศกึ ษากับท่านทีจ่ ังหวัดอดุ รธานีบ้าง ทีส่ กลนครบา้ ง เสมอมา
จนวาระสุดท้าย ท้ังพระและฆราวาสท่ีกล่าวถึงน้ีก็ ได้เป็นผู้ม่ันคงทางด้านจิตตภาวนาตลอดมา
ฝ่ายพระก็ ได้กลายเป็นอาจารย์ที่มีหลักธรรมม่ันคง ใน ใจ กลายเป็นผู้มีช่ือเสียงและเป็นอาจารย์
ส่งั สอนบรรดาศิษยท์ ง้ั พระและฆราวาสหญงิ – ชายตลอดมาถงึ ปจั จบุ ันนี้ ฝา่ ยฆราวาสก็เป็นผมู้ นั่ คง
254
ทางจติ ตภาวนาและศรทั ธาอยา่ งอนื่ ๆ เรือ่ ยมาจนทุกวนั นี้ และเป็นผนู้ �ำฝา่ ยอุบาสก – สกิ าท้ัง
ดา้ นจิต ใจและการเสียสละต่าง ๆ เป็นท่ีนา่ ชมเชย ในแถบนัน้ ตลอดมา
เวลาทา่ นมาพกั จำ� พรรษาทอี่ ุดร ฯ ก็เชน่ กนั มีท่านเจ้าคุณธรรมเจดยี ์ ซึง่ เป็นพระส�ำคญั
และเปน็ เจ้าอาวาสวัด โพธสิ มภรณ์ อุดร ฯ เปน็ ผู้นำ� ทัง้ ฝ่ายพระและประชาชน ให้รจู้ ักคุ้นเคย
กับท่านอาจารย์ ซ่ึงเป็นพระส�ำคัญ ตลอดการท�ำบุญ ให้ทานและรับการอบรมส่ังสอนจากท่าน
ประกอบกับท่านเจ้าคุณท่านก็เคยเป็นลูกศิษย์ท่านอาจารย์มั่นมาดั้งเดิมที่ท่านรักและเมตตามาก
เสมอมา จงึ ได้มาอนเุ คราะหเ์ ปน็ วาระสุดทา้ ย
เวลา ไปพกั ท่ีบ้านนามน จังหวัดสกลนคร กม็ ีอบุ าสกิ าน่งุ ขาวแก ่ ๆ คนหนง่ึ เปน็ หัวหน้า
สำ� นกั อย ู่ในหมบู่ า้ นนัน้ เปน็ สาเหตุ ทา่ น ได้เมตตาสงั่ สอนอุบาสกิ าแกค่ นนน้ั โดยสม�ำ่ เสมอ อุบาสกิ า
คนน้นั ภาวนาดี มีหลัก ใจทางด้านจิตตภาวนา ท่านเองก็ชมเชยวา่ แกภาวนาดี ซ่งึ นาน ๆ จะ
ได้พบสักรายหนึง่
อุบาสิกาแก่นักภาวนาบ้านหนองผือ
ท่านมาพักบ้านหนองผือ นา ใน ก็ทราบว่ามีสถานที่และผู้เก่ียวข้องเป็นสาเหตุส�ำคัญ
ไม่ด้อยกวา่ ที่อ่ืน ๆ สถานทีท่ บ่ี ้านหนองผอื ตัง้ อยนู่ ัน้ เป็นศนู ย์กลางมีภเู ขาลอ้ มรอบ แตเ่ นื้อท ี่ใน
หุบเขานั้นกวา้ งขวางมากและเป็นทำ� เลบำ� เพ็ญสมณธรรมของพระธุดงคท์ ้ังหลาย ได้ดี ในหมู่บา้ น
หนองผอื นน้ั มีอุบาสกิ าแกน่ ุ่งหม่ ขาวคนหน่ึงอายรุ าว ๘๐ ปเี ช่นเดยี วกบั อุบาสิกาบ้านนามน เป็น
นักภาวนาส�ำคัญคนหนึ่งที่ท่านเมตตาแกเป็นพิเศษเสมอมา แกพยายามตะเกียกตะกายออก ไป
ศึกษาธรรมกบั ทา่ นเสมอ แกพยายามเดินด้วยเท้ากบั ไม้เท้าเป็นเคร่อื งพยงุ ออก ไปหาทา่ นอาจารย์
กว่าจะถงึ วดั ต้องพักเหนือ่ ยระหว่างทางถึงสาม – สี่คร้งั ท้ังเหนอื่ ยทั้งหอบนา่ สงสารมาก
บางทีทา่ นอาจารยก์ ็ทำ� ทา่ ดุเอาบา้ งว่า โยมจะออกมาทำ� ไม มันเหน่อื ย ไม่รู้หรอื แม้แต่
เดก็ ๆ เขายงั รจู้ ักเหน่อื ย แต่ โยมแกจ่ นอายุ ๘๐ – ๙๐ ปีแล้วทำ� ไม ไมร่ จู้ กั เหน่ือยเมือ่ ยลา้ มา ให้
ล�ำบากทำ� ไม แกเรียนตอบท่านอย่างอาจหาญตามนสิ ยั ทีต่ รง ไปตรงมาของแก จากนั้นทา่ นกถ็ าม
เกีย่ วกับจิตตภาวนาและอธิบายธรรม ให้ฟัง อุบาสิกาแกค่ นนน้ี อกจากแกภาวนาดมี หี ลักเกณฑท์ าง
จติ แล้ว แกยงั มปี รจติ ตวิชาคือสามารถรู้พืน้ เพด ี – ชั่วแห่งจติ ของผอู้ ื่น ได้ด้วย และมีนิสยั ชอบรู้
ส่งิ แปลก ๆ ภายนอกดว้ ย เวลาแกมารับการอบรมกับท่านอาจารยแ์ กเล่าความรู้แปลก ๆ ถวายทา่ น
ด้วยความอาจหาญมาก ท่านทั้งขบขันทั้งหวั เราะทั้งเมตตาวา่ ยายแก่น้อี าจหาญจริง ไม่กลวั ใคร
255
แมพ้ ระเณรจะนัง่ ฟงั อยู่เวลานนั้ ร่วมครง่ึ รอ้ ยแกกพ็ ดู ของแกอยา่ งสบาย ไมส่ น ใจวา่ ใครจะคดิ อะ ไร
ทน่ี ่าฟงั มากกต็ อนท่ีแกทาย ใจท่านอาจารยอ์ ยา่ งอาจหาญมาก ไม่กลวั ท่านจะวา่ จะดอุ ะ ไรบา้ งเลย
แกทายวา่ จติ หลวงพอ่ พ้น ไปนานแล้ว ฉันทราบจิตหลวงพอ่ มานานแลว้ จติ หลวงพอ่ ไม่ม ีใครเสมอ
ท้ัง ในวัดน้ีหรือทอ่ี น่ื ๆ จติ หลวงพ่อประเสริฐเลศิ โลก แล้วหลวงพ่อจะภาวนา ไปเพ่อื อะ ไรอีก ทา่ น
ตอบแกทั้งหัวเราะว่า ภาวนา ไปจนวันตาย ไมม่ ีถอย ใครถอยผู้นนั้ มิ ใช่ศษิ ย์ตถาคตดงั น้ี ซึ่งเปน็
อุบายส่งั สอน ไป ในตวั แกเรยี นท่านวา่ ถ้า ไป ได้ก็พอ ไป แต่นีจ่ ิตหลวงพ่อหมดทาง ไปทางมาแล้ว
มีแต่ความสวา่ ง ไสวและความประเสริฐเต็มดวงจิตอย่แู ล้ว หลวงพอ่ จะภาวนา ไป ไหนอกี เล่า ฉนั ดู
จติ หลวงพอ่ สว่าง ไสวครอบ โลก ไปหมดแล้ว อะ ไรมาผา่ นหลวงพ่อกท็ ราบหมด ไมม่ อี ะ ไรปิดบัง
จติ หลวงพ่อ ไดเ้ ลย แต่จติ ฉนั มันยงั ไมป่ ระเสริฐอยา่ งจิตหลวงพ่อ จึงต้องออกมาเรียนถาม เพอ่ื
หลวงพ่อ ไดช้ ้ีแจงทางเดิน ให้ถงึ ความประเสรฐิ อย่างหลวงพอ่ ดว้ ยดังน้ี
ขณะท่ีฟังแกสนทนากับท่านอาจารย์รู้สึกว่าแกภาวนาดีจริง ๆ เวลาภาวนาติดขัดแกต้อง
พยายามเดินคืบคลานออกมาด้วย ไม้เท้าเป็นเพ่ือนร่วมทาง ท่านอาจารย์ก็เมตตาแกเป็นพิเศษ
ด้วย ทกุ คร้งั ทแ่ี กมาจะ ได้รับค�ำชีแ้ จงจากทา่ นทางด้านจติ ตภาวนาดว้ ยดี ขณะทแ่ี กมาหาทา่ น
อาจารย์พระเณรต่างองค์ต่างมาแอบอยู่แถวบริเวณข้าง ๆ ศาลาฉันซ่ึงเป็นท่ีที่ยายแก่มาสนทนา
ธรรมกบั ท่าน เพ่อื ฟังปัญหาธรรมทางจติ ตภาวนาระหวา่ งท่านอาจารย์กบั ยายแกส่ นทนากัน เท่า
ท่ีฟงั ดูแลว้ รูส้ กึ น่าฟังอยา่ งเพลนิ ใจ เพราะเป็นปัญหาท่รี ู้เห็นขน้ึ จากการภาวนาลว้ น ๆ เกีย่ วกับ
อรยิ สจั จ์ทางภาย ในบา้ ง เก่ียวกับพวกเทพพวกพรหมภายนอกบ้างทง้ั ภาย ในและภายนอก เมอ่ื
ยายแกเ่ ล่าถวายจบลง ถ้าท่านเหน็ ดว้ ยท่านกส็ ่งเสรมิ เพ่อื เปน็ กำ� ลัง ใจ ในการพจิ ารณาธรรมส่วนนัน้
ใหม้ ากย่ิงข้นึ ถา้ ตอน ใดที่ทา่ น ไม่เห็นดว้ ยกอ็ ธบิ ายวิธแี ก ้ไขและสง่ั สอน ให้ละวธิ นี ัน้ ไม ่ให้ท�ำต่อ ไป
ยายแกม่ าเลา่ ถวายทา่ นถึงการรูจ้ ิตท่านและรู้จิตพระเณร ในวัด รูส้ กึ น่าฟงั มากพระเณรท้งั
แสดงอาการหวาด ๆ บา้ ง แสดงอาการอยากฟงั แกเล่าบ้าง แกว่านับแตจ่ ิตทา่ นอาจารยล์ งมาถึงจติ
พระเณร ความสวา่ ง ไสวลดหลนั่ กนั ลงมาเปน็ ล�ำดบั ล�ำดา เหมอื นดาว ใหญก่ ับดาวเลก็ ๆ ทง้ั หลายท่ี
อยดู่ ้วยกันฉะน้นั ร้สู ึกนา่ ดแู ละนา่ ชมเชยมากทมี่ องดจู ิตพระจิตเณรมคี วามสวา่ ง ไสวและสง่าผ่าเผย
ไมเ่ ป็นจิตทอี่ ับเฉาเฝา้ ทุกขท์ ก่ี ลมุ้ รุมดวง ใจ แมเ้ ปน็ จิตพระหนุ่มและสามเณรน้อย ๆ กย็ ังน่าปตี ยิ ินดี
และน่าเคารพนับถอื ตามภมู ขิ องแต่ละองค์ที่อตุ สา่ หพ์ ยายามช�ำระขดั เกลา ไดต้ ามฐานะของตน ๆ
บางครั้งแกมาเล่าถวายท่านเร่ืองแกข้ึน ไปพรหม โลก ว่าเห็นแต่พระจ�ำนวนมากมาย ใน
พรหม โลก ไมเ่ ห็นมฆี ราวาสสับปนอย่บู ้างเลย ท�ำ ไมจงึ เป็นเชน่ น้นั ทา่ นตอบว่า เพราะที่พรหม –
256
โลก โดยมากมแี ต่พระทท่ี า่ นบำ� เพญ็ จิต ไดส้ ำ� เรจ็ ธรรมขัน้ อนาคามีผลแล้ว เวลาทา่ นตายก็ ไปเกดิ ใน
พรหม โลก ส่วนฆราวาสมีจ�ำนวนนอ้ ยมากที่บำ� เพญ็ ตนจน ไดส้ �ำเรจ็ ธรรมขัน้ อนาคามผี ลแล้ว ไปเกิด
และอย่ ูในพรหม โลกช้นั ใดชน้ั หน่ึง ฉะนั้น โยมจึงเหน็ แต่พระ ไมเ่ ห็นฆราวาสสบั ปนอยู่เลย อกี
ประการหนึ่ง ถา้ โยมสงสยั ทำ� ไมจงึ ไมถ่ ามพระทา่ นบา้ ง มาถามอาตมาทำ� ไม แกหวั เราะแลว้ เรียน
ทา่ นว่าลมื เรยี นถามพระทา่ นเสียเวลาข้ึน ไปถงึ แลว้ เวลาลงมาแลว้ จงึ ระลึก ได้กม็ าเรียนถามท่าน
ตอ่ ไปถา้ ไมล่ ืมเวลาขึน้ ไปอีกจงึ จะเรียนถามพระทา่ น ท่านอาจารยต์ อบปัญหายายแก่มคี วามหมาย
เป็นสองนัย นัยหน่ึงตอบตามความจริง นัยสองตอบเป็นเชิงแก้ความสงสัยของยายแก่ที่ถาม
ต่อมาท่านหา้ ม ไม่ ใหแ้ กออกรสู้ ิง่ ภายนอกมาก ไป เสยี เวลาพิจารณาธรรมภาย ในซ่ึงเปน็ ทางมรรค
ทางผล โดยตรง ยายแก่ก็ปฏิบัติตามท่าน ท่านอาจารย์เองก็ชมเชยยายแก่คนน้ัน ให้พระฟัง
เหมือนกนั ว่า แกมภี ูมิธรรมสูงท่ีนา่ อนุ โมทนา พวกพระเรามหี ลายองค์ท ่ีไม่อาจร้ ูไดเ้ หมอื นยายแก่
คงเป็นด้วยเหตุเหล่านี้ท่ีท�ำ ให้ท่านพักอยู่วัดหนองผือนานกว่าที่อื่น ๆ บ้าง คือวัดหนองผือเป็น
ศูนย์กลางของคณะปฏิบัตทิ ้งั หลาย ทง้ั ที่เทีย่ วอยู่ ในท่ีต่าง ๆ แถบนน้ั ทั้งที่พกั อยูต่ ามสำ� นักตา่ ง ๆ
ก ็ไปมาหาสู่ทา่ น ไดอ้ ย่างสะดวกสบาย ท้ังทำ� เลบำ� เพญ็ สมณธรรมกม็ มี ากหาเลอื ก ไดต้ ามชอบ ใจ
เพราะมีทงั้ ปา่ ธรรมดา มที ั้งภเู ขา มที ัง้ ถำ้� ซ่งึ เหมาะแกผ่ ู้แสวงหาท่ีบำ� เพญ็ อยมู่ าก
ท่านเป็นร่มเงาเมตตาอนุเคราะห์แก่บรรดาศิษย์
ทา่ นอาจารยม์ ั่นพักอยวู่ ดั หนองผือ ๕ พรรษา เฉพาะองคท์ า่ นเองพักอยกู่ บั ท่ี ไม่คอ่ ย
ได้ ไปเท่ียววิเวกทาง ไหนเหมอื นเมือ่ กอ่ น เพราะอายุทา่ นก็ราว ๗๕ ปเี ข้า ไปแลว้ สขุ ภาพกน็ ับวนั
ทรุดลง เพยี งพกั อยู่เป็นร่มเงาของบรรดาศษิ ยท์ ีก่ �ำลังแสวงหาธรรม ได้อาศยั ความรม่ เยน็ กเ็ ป็นที่
ภาคภมู ิ ใจพอแล้ว ท่านพักอยู่ทน่ี เ่ี หตกุ ารณต์ า่ ง ๆ เกี่ยวกบั ภูตผเี ทวดา ไมค่ ่อยมีมาก มีมาหาทา่ นก็
เปน็ บางสมัย ไมค่ ่อยมบี ่อยนกั เหมือนทา่ นพกั อยู่ท่ีเชียง ใหม่ แตท่ า่ นทำ� ประ โยชนแ์ กพ่ ระเณรและ
ประชาชน ได้มากกว่าท่ีอื่น ๆ ในเขตจังหวัดสกลนคร ท่ีวัดหนองผือ โดยมากเป็นป่าดงพงลึก ไข้ป่า
ชกุ ชมุ มาก พระเณร ไปกราบเยี่ยมท่าน ท่านต้องสง่ั ใหร้ บี ออกถ้าจวนเข้าหน้าฝน ถา้ หน้าแลง้ กอ็ ยู่
ไดน้ านหนอ่ ย ผปู้ ่วยตอ้ ง ใช้ความอดทนเพราะยาแก ้ไข ้ไม่มี ใช้กันเลย ในวัดนนั้ เนอื่ งจากยาหายาก
ไมเ่ หมอื นสมยั ทกุ วนั นี้ ถา้ เปน็ ไขจ้ ำ� ตอ้ ง ใชธ้ รรม โอสถแทนยา คอื ตอ้ งพจิ ารณาทกุ ขเวทนาทเ่ี กดิ ขน้ึ
ในขณะนนั้ ด้วยสตปิ ญั ญาอยา่ งเข้มแข็งและแหลมคม ไม่เชน่ นั้นกแ็ กท้ กุ ขเวทนา ไม่ ได้ ไข้ก็ ไม่สร่าง
ไม่หาย ได้เรว็ กว่าธรรมดาที่ควรเปน็ ได้
257
ผู้ท่ีใช้สติปัญญาผ่านทุกขเวทนา ในเวลาเป็น ไข้ ไป ได้อย่างอาจหาญย่อม ได้หลักยึดทั้งเวลา
ปรกติและเวลาเจบ็ ไข ้ได้ทุกข์ ตลอดเวลาจวนตวั จริง ๆ ไ ม่ท้อแทอ้ ่อนแอและเสยี ที ในวาระสุดทา้ ย
เปน็ ผูก้ ำ� ชยั ชนะ ในทุกขสัจจ ์ไว ้ไดอ้ ยา่ งประจักษ ์ใจและอาจหาญต่อคตธิ รรมดาคือความตาย การรู้
ทกุ ขสัจจด์ ้วยสติปัญญาจริง ๆ ไ มม่ ีการอาลัย ในเวลาตอ่ ไป จติ ยึดความจริงท่ีเคยพิจารณารู้แลว้ เปน็
หลัก ใจตลอด ไป เม่ือถึงคราวจวนตวั เข้ามาสติปัญญาประเภทนัน้ จะเข้ามาเทียมแอกเพ่อื ลากเขน็
ทกุ ขด์ ้วยการพิจารณา ให้ถงึ ความปลอดภัยทนั ที ไมย่ อมทอดธุระนอนจมทุกข์อยู่ดังแต่ก่อนท่ยี ัง
ไม่เคยกำ� หนดรูท้ กุ ขเ์ ลย แตส่ ติปัญญาประเภทนี้จะเข้าประชิดขา้ ศึกทันที
กริ ิยาท่าทางภายนอกกเ็ ป็นเหมอื นคน ไขท้ ัว่ ๆ ไ ป คอื มกี ารอดิ โหย โรยแรงเป็นธรรมดา แต่
กิรยิ าภาย ในคอื ใจกบั สติปญั ญาจะเป็นลกั ษณะทหารเตรยี มออกแนวรบ ไมม่ ีการสะท้านหวั่น ไหว
ต่อทุกขเวทนาที่เกิดขึ้นมากนอ้ ย ในขณะน้นั มีแต่การคน้ หามูลความจริงของกาย เวทนา จิต
ธรรม ซ่งึ เปน็ ทีร่ วมแห่งทุกข์ ในขณะน้ันอยา่ งเอาจริงเอาจงั ไม่กลัววา่ ตนส้หู รอื ทนทุกข์ ไม ่ไหว
กลัวแต่สตปิ ญั ญาจะ ไม่ร้รู อบทันกับเวลาท่ีตอ้ งการเท่าน้นั การพจิ ารณาธรรมของจริงมีทกุ ขสัจจ์
เป็นตน้ กับผ้ตู อ้ งการร้คู วามจรงิ อยูอ่ ย่างเต็ม ใจที่เคยรเู้ ห็นมาแล้วน้ัน ท่าน ไมถ่ อื เอาความล�ำบาก
มาเป็นเครื่องกีดขวางทางเดนิ ใหเ้ สยี เวลา และท�ำความอ่อนแอแกต่ นอย่าง ไรป้ ระ โยชน์ทีค่ วรจะ ได้
เลย มีแต่คดิ ว่าทำ� อยา่ ง ไรจึงจะรู้ ท�ำอยา่ ง ไรจงึ จะเห็นความจริงดงั ทีเ่ คยเหน็ ประจกั ษม์ าแล้ว ก็
ต้องทำ� อย่างนั้นจนรูป้ ระจักษ์ข้นึ มา ในปัจจบุ นั ไม่พ้นมอื สตปิ ัญญาศรัทธาความเพยี ร ไป ได้ เม่ือรู้
ความจรงิ แลว้ ทกุ ข์กจ็ ริง กายก็จรงิ ใจก็จรงิ ตา่ งอนั ตา่ งจรงิ ไม่มอี ะ ไรรงั ควานรงั แกบีบคั้นกัน
สมุทัยทีก่ ่อเหตุ ใหเ้ กิดทกุ ข์ก็สงบตัวลง ไม่คิดปรุงว่ากลวั ทุกข์กลัวตายหรอื กลัว ไข้ ไม่หาย อนั เปน็
อารมณเ์ ขยา่ ใจ ใหว้ ้าวนุ่ ขุ่นมัว ไปเปล่า ๆ เม่อื สตปิ ญั ญาร้รู อบแล้ว ไข้ก็สงบลง ในขณะน้ัน หรอื แม้ ไข้
ยงั ไม่สงบลง ในขณะน้ันแตก่ ็ ไมก่ ำ� เริบรนุ แรงตอ่ ไปและ ไม่ทบั ใจ ให้เกิดทกุ ขเวทนา ไปดว้ ย ท่ีเรยี กว่า
ปว่ ยกายป่วย ใจกลายเป็น ไขส้ องซ้อน
การพิจารณาทุกขเวทนา ในเวลาเจบ็ ไข้ ได้ทุกข์ พระธุดงค์ทา่ นชอบพิจารณาเปน็ ขอ้ วัตร
ของการฝึกซ้อมสตปิ ญั ญา ให้ทันกบั เรื่องของตวั โดยมากก็เรื่องทกุ ขท์ ั้งทุกข์กาย ทัง้ ทกุ ข ์ใจ ราย ใด
ขณะที่ก�ำลังเป็น ไข้แสดงอาการระส�่ำระสายกระวนกระวาย ในวงพระปฏิบัติท่านถือว่ารายนั้น
ไม่เปน็ ทา่ ทางจิต ใจเกี่ยวกบั สมาธแิ ละปัญญา ไมส่ ามารถประคองตัว ได ้ในเวลาจำ� เปน็ เชน่ น้นั
ไม่สมกับสร้างสติปัญญาเครื่องปราบปรามและป้องกันตัว ไว้เพื่อสงครามคือทุกขเวทนาท่ีเกิดข้ึน
จากเหตุต่าง ๆ แต่แล้วกลับเหลว ไหล ไร้มรรยาทขาดสติปัญญา แต่ราย ใดส�ำรวมสติอารมณ์ ได้
258
ดว้ ยสตปิ ญั ญา ไมแ่ สดงอาการทุรนทรุ าย ในเวลาเช่นนนั้ ทา่ นชมและถือว่ารายนน้ั ดีจริง สมเกียรติ
พระปฏิบัติท่ีเป็นนักต่อสู้ สมกับปฏิบัติมาเพ่ือต่อสู้จริง ๆ เห็นผล ในการปฏิบัติของตนและ
ประกาศตน ใหห้ มคู่ ณะเหน็ ประจกั ษ ์โดยทว่ั กนั อกี ดว้ ย วงพระธดุ งคท์ า่ นถอื กนั ตรงนเ้ี ปน็ สำ� คญั แมอ้ งค์
ทถ่ี กู ภยั คกุ คามนนั้ ทา่ นกถ็ อื ทา่ นเหมอื นกนั วา่ จะ ไมย่ อมแพแ้ มจ้ นตาย ไป ในเวลานน้ั คอื ไมย่ อมแพ้
ทางสติปญั ญา อันเป็นเครือ่ งพิจารณาเพอ่ื หาทางออกอย่างปลอดภยั ไร้กังวล เม่อื สดุ วสิ ยั จะอยู่
ต่อ ไป ไม่ ได้แลว้
ดงั นั้น ผปู้ ฏบิ ัติธรรมจนเข้าถงึ ความจรงิ ดังท่ีทา่ นส่ังสอน ไวแ้ ลว้ จึงเปน็ ผเู้ ชอ่ื ต่อความจรงิ
ไมย่ อมถอยทัพกลับแพข้ ้าศึกท่ีเผชญิ หนา้ อยขู่ ณะนัน้ ตอ้ งต่อสู้จนตาย รา่ งกายทน ไม่ ไหวกป็ ล่อย ให้
ตาย ไป แต่ ใจกบั สติปญั ญาเครือ่ งรักษาและป้องกันตัวท่าน ไม่ยอมปลอ่ ยวาง พยายามฉดุ ลากกนั
ไปจน ได้ ไม ่ให้ ไร้ผล ในส่วนทีต่ นม่งุ หมาย สมกบั เป็นนักรบหวังชยั ชนะเพอื่ เอาตวั รอดพา ไปจอด
ในทเี่ หมาะสมและปลอดภยั จรงิ ๆ ธรรมบทวา่ ธม ฺโม หเว รกขฺ ติ ธมมฺ จารํิ นนั้ เหน็ ประจกั ษอ์ ยกู่ บั
ใจของผูป้ ฏบิ ตั ิตามหลักความจริง ไม่เปล่ียนแปลง ไปเป็นอน่ื แน่นอน นอกจากปฏบิ ัติแบบสะเทินน้ำ�
สะเทินบก ไมจ่ รงิ ไมจ่ งั เท่าน้ัน ผลก็ ไมท่ ราบว่าจะ ใหเ้ ปน็ ความจรงิ มา ไดอ้ ยา่ ง ไร นอกจากจะมา
ขดั กับความจรงิ เทา่ นั้น ไม่มอี ยา่ งอ่ืนทจี่ ะพอสนั นษิ ฐาน ได้ เพราะคำ� วา่ ธรรมแล้วตอ้ งเหตุกบั ผล
ลงกัน ได้ จงึ จะเรียกวา่ สวากขาตธรรมตามทป่ี ระทาน ไว้
พระธุดงค์ท่านมุ่งปฏิบัติเพื่อเห็นผล ในปัจจุบันทันตาจากศาสนธรรมมากกว่าอ่ืน ในบรรดา
ผลทจ่ี ะควรปรากฏ ในปจั จบุ นั เชน่ สมาธคิ วามสงบเยน็ ใจ ปญั ญาการถอดถอนลกู ศร คอื กิเลส
ประเภทตา่ ง ๆ ออกจาก ใจ ซง่ึ ท้งั สองประเภทน้ีเปน็ ความสุขเยน็ ใจขึน้ ไปเป็นข้นั ๆ ทคี่ วรจะเห็น
ได้ประจกั ษ์ ใจ ในทิฏฐธรรมปัจจุบนั ท่านจงึ หมายม่นั หมัน่ เพยี รเพอ่ื รู้เห็น ในปัจจบุ นั อันเปน็ การ
ตัดปัญหาข้อขดั ขอ้ งและกดถว่ ง ใจ ไปเป็นพัก ๆ ถ้าควรพน้ ไป ได้ ในวนั น้ี เดือนน้ี ปีน้ี หรือชาตนิ ้ี
ก็ขอ ให้พน้ ไปดว้ ยความเพียรทีก่ ำ� ลังตะเกียกตะกายอยอู่ ย่างสุดก�ำลงั ตลอดมา
แม้ท่านอาจารย์เองก็อบรมพระเณรด้วยอุบายการปลุกจิตปลุก ใจ ไม่ ให้ท้อแท้อ่อนแอต่อ
หน้าทขี่ องตนทัง้ ในยามปรกติและเวลาเจบ็ ไข ้ได้ทุกข์ ท่านเทศนป์ ลกุ ใจ ใหเ้ ปน็ นักต่อสูเ้ พือ่ กู้ตวั เอง
ใหพ้ น้ ภัย ไปทกุ ระยะ ยิ่งเวลาป่วย ไขด้ ้วยแลว้ ราย ใดแสดงอาการอ่อนแอและกระวนกระวาย ไม่
ส�ำรวมมรรยาทและสตอิ ารมณ์ดว้ ยแล้ว รายนัน้ ต้องถูกเทศน์อยา่ งหนกั ดี ไมด่ ีไม ่ใหพ้ ระเณร ไป
พยาบาลรกั ษาเสียดว้ ย โดยเห็นวา่ ความออ่ นแอความกระวนกระวายและรอ้ งครางต่าง ๆ ไ ม ่ใช่ทาง
ระงับ โรคและบรรเทาทุกขแ์ ตอ่ ยา่ ง ใด คนดี ๆ เราท�ำเอาก ็ได ้ไม่เหน็ ยากเยน็ อะ ไร ทั้ง ไม ่ใชท่ างของ
259
พระผ้มู ีเพศอนั อดทนและ ใคร่ครวญเลย ไมค่ วรนำ� มา ใช้ ในวงปฏบิ ตั ิ จะกลายเป็น โรคระบาดตดิ ต่อ
ก่อแขนงออก ไปเปน็ ตัวอยา่ ง ไม่ดแี กผ่ ู้อื่นยึดเอาอย่าง กลายเปน็ โรคเลอะเทอะ ไปด้วยการร้องคราง
ท้ิงเน้ือทิ้งตวั เหมือนสัตว์จะตายดนิ้ รนกระเสือกกระสนฉะนั้น
เราเป็นพระและเป็นนกั ปฏิบตั ิอย่ายดึ เอาลทั ธิสัตวม์ า ใช้ จะกลายเป็นพระลทั ธิสัตว์ ศาสนา
ของสัตว ์ไปทว่ั ทกุ หนทุกแหง่ จนกลายเปน็ พระ โลกแตก ศาสนา โลกแตก ไป ซง่ึ มิ ใช่ลทั ธิของ
พุทธศาสนาเลย อาการหนกั หรือเบาแมจ้ ะ ไม่แสดงออกมา คนดีมีสติก็พอรู้เร่ืองและดูกันออก
ดูกันรู้ เพราะการเจ็บ ไข้ ได้ทุกข์ ใครก็เคยมีเคยเป็นมาดว้ ยกนั ถา้ หาย ไดด้ ว้ ยการกระวนกระวาย
รอ้ งคราง ก ็ไมต่ อ้ งรกั ษากันด้วยหยูกยา ใครเป็นขึ้นผู้น้ันก็ร้องครางข้ึนเสีย ไข้ก็หาย ไปเอง ย่ิง
ง่ายนิดเดียว ไม่ต้องรักษา ให้ล�ำบากและเสียเวลาเปลา่ ๆ นเ่ี วลาเป็น ไข้ เรารอ้ งคราง ไขม้ ันหาย
ไหมล่ะ ถา้ ไมห่ ายก็จะรอ้ งครางประกาศความ โง่ความ ไม่เป็นท่าของตัว ให้คนอื่นเบื่อกันท�ำ ไม นี่
คือกัณฑ์เทศน์ที่ราย ไม่เป็นท่าต้อง ได้รับจากทา่ น และท�ำ ให้ทา่ นผูอ้ น่ื ร�ำคาญดว้ ยความ ไม่เปน็ ทา่
ของเธอองคน์ ั้น
แต่ถา้ รายทเ่ี ข้มแขง็ และสงบสตอิ ารมณด์ ้วยด ี ไม่แสดงอาการทุรนทุราย เวลาทา่ น ไป
เย่ยี ม ไข้ ทา่ นตอ้ งแสดงความยนิ ดีด้วย แสดงความชมเชยและเทศน์ ให้ฟังอย่างจับ ใจและเพลิน
ไป ในขณะนั้น แม้ ไข้หาย ไปแล้วก็แสดงความชมเชย ในล�ำดับต่อ ไปอยู่เสมอ และแสดงความ
พอ ใจความ ไว ้ใจดว้ ยว่า ตอ้ งอย่างนน้ั จงึ สมกับเป็นนักรบ ในสงครามกองทกุ ข์ ไมต่ ้องบน่ ให้
ขา้ ศกึ วา่ มามากหรอื มานอ้ ย มาเทา่ ไรกร็ บมนั เทา่ นนั้ จนสดุ กำ� ลงั อาวธุ และความสามารถขาดดน้ิ
ไม่ถอยทัพกลับยอมแพ้ ให้ข้าศึกเหยียบย่�ำซ้�ำเติม เราเป็นนักรบ ในวงปฏิบัติ ไม่ต้องบ่น ให้การ
เจบ็ ไข้ ได้ทกุ ข์ ว่าทกุ ข์มากหรอื ทุกขน์ อ้ ย ทกุ ข์มีเทา่ ไรก�ำหนดร้ ูให้หมด เพราะทุกข์มากหรอื น้อย
ก็ลว้ นเปน็ สัจจธรรมของจรงิ ดว้ ยกนั ผปู้ ระสงค์อยากร้ขู องจรงิ แตก่ ลัวทกุ ข์ ไม่ยอมพจิ ารณา จะรู้
ของจรงิ ไดอ้ ย่าง ไร พระพุทธเจ้าทรงร้ขู องจรงิ กเ็ พราะการพจิ ารณา ม ิใช่เพราะการร้องครางต่าง ๆ
ดงั พระ ไมเ่ ปน็ ทา่ ประกาศขายตัวอยเู่ วลาน้ี พระองค์ ไดต้ รสั ไว้หรอื เปลา่ วา่ ถา้ ตอ้ งการรคู้ วามจริง
ต้องร้องต้องครวญคราง ผมเรียนน้อยจึง ไม่เจอธรรมบทนี้ การร้องครางมันอยู่ ในคัมภีร์ ไหนก็
ไม่ทราบ ใครเรียนมากถ้าพบเห็นพระองค์ตรัส ไว้ดังท่ีว่านั้นนิมนต์น�ำมาบอกผมบ้าง เผ่ือจะ
ไม่ต้องสงั่ สอน ใคร ใหพ้ ิจารณาและอดทนกนั ใหล้ ำ� บาก ต่างคนตา่ งรอ้ งเอาครางเอา ใหเ้ ปน็ ของจรงิ
ขนึ้ มาเตม็ โลกธาต ุโน้น จะ ได้เหน็ นักปราชญ์ท่สี �ำเรจ็ มรรคผลด้วยการครวญครางขนึ้ ใน โลก แขง่
ธรรมของพระพทุ ธเจา้ ที่ตรัส ไว้ไดส้ องพันกวา่ ปแี ลว้ ว่า ไม่เปน็ ของจรงิ ล้าสมยั ไปแลว้
260
ธรรมของนักปราชญ์รนุ่ หลงั น้เี ปน็ ธรรม ใหมแ่ ละจรงิ ทนั สมยั ไม่ตอ้ งพิจารณา ใหล้ ำ� บาก
เพยี งแตค่ รางเอาครางเอาเทา่ นนั้ กส็ �ำเรจ็ มรรคผลรวดเร็วทัน ใจ สมกบั สมัยท่คี นชอบผลดีมี
ความสุขด้วยการท�ำเหตุชว่ั ๆ ซ่ึงก�ำลังจะเกลือ่ น โลกอยู่แลว้ ต่อ ไปนา่ กลัว โลกจะคับแคบ ไมม่ ที ี่
ให้นักปราชญส์ มัย ใหมอ่ ยู่ ผมมันหัว โบราณ พระพทุ ธเจ้าวา่ อย่าง ไรกเ็ ชื่อตามอย่างนน้ั ไมก่ ลา้
ลดั ควิ กลวั เวลาเทา้ พน้ จากพนื้ แลว้ จะกลบั เอาศรี ษะและปากลงฟาดกบั พน้ื ตายแบบ ไมเ่ ปน็ ทา่ นา่
อนาถ ใจเหลือประมาณ ธรรมเหล่าน้ีจะ ได้ฟังเวลาท่านเทศน์สอนพระท่ีอ่อนแอ ไม่อดทนและ
เข้มแข็งต่อทกุ ขเวทนาท่เี กดิ ข้นึ ในเวลาป่วย หรือเวลาฝกึ ทรมานตนด้วยตปธรรมอยา่ ง ใดอย่างหนงึ่
แลว้ เกิดความออ่ นแอท้อถอยขึน้ มา ในระหวา่ งการบำ� เพ็ญ ไม่สามารถพิจารณาดว้ ยอบุ ายตา่ ง ๆ
จนผ่านพ้น ไป ได้ด้วยความพากเพียรของนักต่อสู้ จึงมัก ได้ฟังธรรมประเภทเผ็ดร้อนจากท่าน
เสมอ แตผ่ ู้สน ใจจรงิ ๆ ธรรมดังกลา่ วกลับเปน็ ธรรม โอสถเครือ่ งปลุกประสาท ใหเ้ กดิ ความ
อาจหาญร่าเรงิ ในการบ�ำเพ็ญ ไม่ลดหยอ่ นอ่อนกำ� ลงั ลงงา่ ย ๆ มที างก�ำชัยชนะ ได้เปน็ พัก ๆ จน
ถึงแดนแหง่ ความเกษม ได้ด้วยธรรมเหล่าน้ี เพราะเป็นธรรมปลุก ให้ต่ืนตัวต่ืน ใจ ไม่นอนจม
อยู่กับความเกยี จครา้ นอ่อนแอ อนั เป็นทางเดินของวัฏฏทกุ ข์ประจำ� วฏั ฏะวน
ระยะท่ีท่านอาจารย์พักอยู่วัดหนองผอื มีพระตาย ในวัด ๒ องค์ ตายบา้ นนา ในอกี หนึ่งองค์
องค์แรกอายุราวกลางคน ทา่ นองคน์ บ้ี วชเพื่อปฏบิ ัต ิโดยเฉพาะ และปฏบิ ัติอย่กู บั ทา่ นอาจารย์
แบบเข้า ๆ ออก ๆ เร่ือยมา แต่สมัยท่านอยู่เชียง ใหม่ และติดตามท่านจากเชียง ใหม่มาอุดร ฯ
สกลนคร แลว้ มามรณภาพที่วัดหนองผือ ทางด้านจิตตภาวนาทา่ นดีมากทางสมาธิ สว่ นทาง
ปญั ญาก�ำลงั เร่งรัด โดยมที า่ นอาจารย์เป็นผู้คอย ใหน้ ยั เสมอมา ทา่ นมีนิสัยเครง่ ครดั เด็ดเดี่ยวมาก
เทศน์กเ็ ก่งและจับ ใจ ไพเราะมาก ทัง้ ท่ ีไม ่ได้หนังสือสักตวั เทศนม์ ีปฏภิ าณ ไหวพรบิ ปญั ญาฉลาด
สามารถยกขอ้ เปรยี บเทียบมาสาธก ใหผ้ ู้ฟงั เขา้ ใจ ได้อยา่ งงา่ ย ๆ
แต่น่าเสียดายท่านป่วยเปน็ วัณ โรคกระเสาะกระแสะมานาน มาหนักมากและมรณะทวี่ ดั
หนองผอื ตอนเชา้ เวลาประมาณ ๗ น. ดว้ ยท่าทางอันสงบ สมเปน็ นกั ปฏิบัตทิ างจติ มานานพอ
สมควรจรงิ ๆ เหน็ อาการท่าน ในขณะจวนตวั และสนิ้ ลมแลว้ เกดิ ความเชอ่ื เลอ่ื ม ใส ในทา่ นและ ใน
อบุ ายวธิ ขี องจติ ท ่ีไดร้ บั การฝกึ อบรมมาเทา่ ทค่ี วร ก่อนจะมาถึงวาระสุดท้ายซึ่งเป็นขณะที่ต้องช่วย
ตัวเอง โดยเฉพาะ ไม่มี ใครแม้รักสนิทอย่างแยก ไมอ่ อกจะเข้า ไปเก่ยี วขอ้ ง ได้ จติ จะมีทางต้านทาน
ต่อสูก้ บั ส่งิ เปน็ ภยั แกต่ น ไดอ้ ย่างเตม็ ก�ำลังฝีมอื ท่ีมีอยู่และแยกตัวออก ได้ โดยปลอดภัย เพราะวาระ
สุดท้ายเป็นข้าศึกศัตรูต่อตัวเองอย่างส�ำคัญ ใครมีอุบายฉลาดหรือขลาดเขลาเมามัวเพียง ไร ก็
ต้องมาเผชิญกับเหตุการณ์อันนี้จน ได้ ผู้ช่วยตวั เอง ได้ก็ดี ไป ผู้ชว่ ยตัวเอง ไม ่ได้กจ็ ม ไป และจม
261
อยู่ ในความ ไมเ่ ปน็ ทา่ ของตน โดย ไม่ม ีใครช่วย ได้ ฉะนั้น ที่พระพุทธเจ้าตรสั ไวว้ า่ โก นุ หา โส
กมิ านนฺ โท เป็นต้น ซ่งึ แปลเอาความว่า กเ็ มอื่ โลกอนั ความมืดด้วยราคะ โทสะ โมหะ เหมือน
ไฟกอง ใหญ่ ไหมล้ ุก โพลงอยู่ทง้ั วันทั้งคนื เช่นน้ยี งั พากนั หวั เราะเฮฮาหน้ายมิ้ อย่ ูได้ ท�ำ ไม ไมพ่ ากัน
แสวงหาทพ่ี ง่ึ เสียแตบ่ ัดนเ้ี ล่า ? อย่าพากนั อยู่แบบน้เี ดี๋ยวจะพากนั ไปแบบน้ี ตายแบบน้ี แลว้ ก็
เสวยผลทนทกุ ข์แบบนีก้ ันอกี ไม่มีสน้ิ สุด ไดด้ ังน้ี ท้ังนก้ี ็เพอื่ เตือนหมชู่ น ไม่ ใหล้ มื ตัวจนเกิน ไป
พระคาถาท่ีทรงเตือน ไว้น้ันฟังแล้วน่าอับอายแทบมุดหน้าลง ในดิน กลัวพระองค์จะทรง
มองหนา้ ตนทเ่ี พลิดเพลนิ ไมร่ ้จู ักตาย อายก็อาย อยากกอ็ ยาก รกั ก็รัก เกลียดกเ็ กลยี ด เพราะ
นิสยั ของปถุ ชุ นมันหากดอ้ื ด้านอยา่ งนี้แต ่ไหนแต่ ไรมา ไมท่ ราบจะท�ำอยา่ ง ไรจงึ จะละ ได้ นีเ้ หมือน
เป็นค�ำทท่ี ูลตอบพระองค์ดว้ ยความละอายท่ีตนละ ไม่ ได้ตามค�ำท่ที รงต�ำหนิ
ทีเ่ ขียนเรอื่ งพระองคท์ ี่มรณภาพ ในวดั หนองผอื แทรกลง ในประวตั ิท่านบ้าง เนอ่ื งจากเหน็
ว่าเปน็ คติแกพ่ วกเราอยู่บ้าง ซง่ึ กำ� ลงั เดินทาง ไปสู่จุดน้ันด้วยกนั ได้พิจารณาเพอื่ ตัวเอง ในวาระ
ตอ่ ไป ขณะท่านองค์นั้นจะส้ินลม ทา่ นอาจารยม์ น่ั และพระสงฆ์ซ่ึงกำ� ลงั จะออกบิณฑบาตก ็ได้
พากนั แวะเขา้ ไปปลงธรรมสงั เวชที่กำ� ลังแสดงอยอู่ ยา่ งเตม็ ตา พอท่านส้นิ ลมแล้วชว่ั ขณะหนึ่งซึง่
เป็นขณะที่ทา่ นอาจารย์กำ� ลงั ยนื ร�ำพึงอยอู่ ยา่ งสงบ ไดพ้ ูดออกมาดว้ ยทา่ ทางเครง่ ขรมึ ว่า “ ไมน่ ่า
วติ กกบั เธอหรอก เธอข้นึ ไปอบุ ัตทิ ี่อาภสั ราพรหม โลกชัน้ ๖ เรียบร้อยแลว้ ” นับว่าหมดปัญหา ไป
สำ� หรับท่าน ในครั้งน้ี แตเ่ สียดายอยูห่ นอ่ ยหนึ่งถ้าท่านมีชวี ิตยืดเวลาเร่งวิปัสสนา ให้มากย่ิงกว่าน้ี
บ้างก็มีหวัง ไดข้ ้ึนพรหม โลก ๕ ชัน้ ชน้ั ใดช้นั หน่งึ แลว้ เตลดิ ถึงทีส่ ุดเลย ไมต่ อ้ งกลับมาวกเวียน
ในวฏั ฏะวนนอี้ กี ทเ่ี ปน็ ปญั หาอยมู่ ากเวลานกี้ ค็ อื พวกเรา ไมท่ ราบวา่ ใครจะเตรยี ม ไปชน้ั ไหนกนั แนบ่ า้ ง
จะ ไปชัน้ เดียรจั ฉาน เปรต ผี นรก อเวจี หรอื ชนั้ มนุษย์ เทวบุตร เทวธิดา อินทร์ พรหม หรือ
นิพพานช้ัน ใดกันแน่ ฉะนั้น เพื่อความแน่ ใจจงดูเข็มทิศคือ ใจของตน ๆ ให้ดี ว่าเบนหน้า ไป
ทาง ใดมากเป็นทางดหี รอื ชัว่ ควรพิจารณาด้วยดแี ตบ่ ัดน้ี ตายแล้ว ไมม่ ีทางแก ้ไข ไดอ้ กี ใคร ๆ
กท็ ราบกันทั่ว โลกวา่ ความตายคือแดนสดุ วิสัย ทำ� อะ ไรต่อ ไปอีก ไม ่ไดด้ งั นี้
องค์ทีส่ องเป็น ไขป้ ่า ทา่ นเปน็ พระชาวอบุ ล ฯ นบั แต่เริ่มป่วยรวมเวลาประมาณหนึง่ เดือน
ก่อนท่านจะมรณภาพมีพระองค์หน่ึงท่านพิจารณาเห็นเหตุการณ์ของท่านผู้ป่วยอย่าง ไร ไม่ทราบ
วันนัน้ ตอนเย็นท่านขึ้น ไปกราบท่านอาจารยแ์ ละสนทนาธรรมกนั ในแง่ต่าง ๆ จนเรือ่ งวกเวยี นมาถงึ
ทา่ นผูป้ ว่ ย พระองค์นน้ั ได้ โอกาสจึงกราบเรยี นเหตุการณ์ที่ตนปรากฏถวายท่านวา่ คนื นี้ ไม่ทราบ
ว่าจติ เปน็ อะ ไร ไป ก�ำลังพิจารณาธรรมอยดู่ ี ๆ พอสงบลง ไปปรากฏว่า เหน็ ทา่ นอาจารย ์ไปยนื อยู่
262
หน้ากองฟืนท่ี ใครก ็ไม่ทราบเตรียมขนมากอง ไว้ว่า “ ใหเ้ ผาท่าน...... ตรงนเ้ี อง ตรงน้เี หมาะกวา่
ทีอ่ น่ื ๆ ดงั น้ี” ท�ำ ไมจึงปรากฏอยา่ งน้นั ก็ ไมท่ ราบ หรือผปู้ ่วยจะ ไป ไมร่ อดจริงหรือ แต่ดูอาการ
ก ็ไม่เห็นรนุ แรงนกั ทค่ี วรจะเปน็ ได้อยา่ งทีป่ รากฏนัน้
พอพระองคน์ ั้นกราบเรยี นจบลงท่านกพ็ ดู ขึ้นทันทวี า่ ผมพจิ ารณาทราบมานานแล้วอย่าง ไร
ก ็ไป ไม่รอด แต่เธอ ไม่เสียทีแม้จะ ไป ไมร่ อดสำ� หรบั ความตาย เหตกุ ารณ์แสดงบอกเกีย่ วกับจติ ใจ
เธอสวยงามมาก สคุ ตเิ ปน็ ท ี่ไปของเธอแน่ แต่ ใคร ๆ อย่า ไปพดู เรอ่ื งน้ ีใหเ้ ธอฟงั เด็ดขาด เมื่อเธอ
ทราบเรอ่ื งน้ีจะเสยี ใจ แลว้ จะทรุดท้งั กายและเสียท้ัง ใจ สุคติทเ่ี ธอควรจะ ไดอ้ ยูแ่ ล้วจะพลาด ไป ได้
เพราะความเสยี ใจเป็นเครอ่ื งทำ� ลาย
พออยตู่ ่อมา ไมก่ ่ีวนั พระท่ีปว่ ยก็เกดิ ปบุ ปบั ขึ้น ในทันทีทัน ใดตอนคอ่ นคืน พอ ๓ นาฬิกา
กว่า ๆ กส็ ิ้นลม ไปด้วยความสงบ จงึ ทำ� ใหค้ ดิ เรือ่ งทา่ นอาจารยเ์ กย่ี วกับเหตกุ ารณ์ต่าง ๆ วา่ พอ
อะ ไรมาผา่ น ทา่ นคงพิจารณา ไปเรื่อย ๆ ใ นทุกเรอ่ื ง เมอื่ ทราบเหตุการณ์ชดั เจนแล้วก็ปล่อย ไว้
ตามสภาพของส่งิ น้ัน ๆ
กลางวนั วันหน่งึ มีพระเปน็ ไข้มาลาเรยี ในวดั นั้น วันนั้นปรากฏว่า ไข้เรมิ่ หนักแตเ่ ชา้ เจ้าตัว
ก็ ไม ่ไปบิณฑบาตและ ไมฉ่ ันจงั หันดว้ ย พระทปี่ ่วยต่อสู้กับทกุ ขเวทนาด้วยการพิจารณาแต่เชา้ จน
บา่ ย ๓ โมง ไข้จึงสรา่ ง ตอนกลางวนั ท่ที ่านก�ำลงั พจิ ารณาอยู่ปรากฏว่ากำ� ลงั เรีย่ วแรงอ่อนเพลียมาก
ทา่ นเลยเพง่ จติ ให้อยูก่ ับจุด ใดจุดหน่ึงของทุกขเวทนาทก่ี ำ� ลังก�ำเริบหนกั โดย ไมค่ ิดทดสอบแยกแยะ
เวทนาด้วยปัญญาแตอ่ ยา่ ง ใด พอดเี วลานัน้ เปน็ เวลาท่ที ่านอาจารย์ท่านพจิ ารณาดพู ระองคน์ ัน้
กำ� ลงั ปฏบิ ตั อิ ยู่อย่างชัดเจน แล้วย้อนจติ กลับมาตามเดมิ
พอบ่าย ๔ โมง ทา่ นที่ป่วยกม็ าหาทา่ นอาจารย์พอดี ทา่ นกต็ ้งั ปัญหาถามข้นึ ทันท ีโดย
พระนั้น ไม่ทราบสาเหตบุ า้ งเลยวา่ ท�ำ ไมท่านจึงพจิ ารณาอยา่ งน้นั เล่า ? การเพง่ จติ จอ้ งอยู ่ไม่ ใช้
ปัญญาพจิ ารณาแยกแยะกาย เวทนา จติ ใหร้ เู้ รอ่ื งของกันและกนั ทา่ นจะทราบความจรงิ ของกาย
ของเวทนา ของจติ ได้อย่าง ไร แบบท่านเพ่งจอ้ งอย่นู นั้ มันเปน็ แบบฤๅษี แบบหมากดั กัน ไม่ ใช่
แบบพระผู้ต้องการทราบความจรงิ ในธรรมทง้ั หลาย มเี วทนา เป็นต้น ตอ่ ไปอยา่ ท�ำอยา่ งนน้ั
มนั ผดิ ทางทจี่ ะ ใหร้ ู้ให้เห็นความจรงิ ทั้งหลายทีม่ อี ย ู่ในกาย ในเวทนา ในจิต ตอนกลางวันผม ได้
พิจารณาดูท่านแล้ว ว่าท่านจะปฏิบัติอย่าง ไรบ้างกับทุกขเวทนาที่ก�ำลังแสดงอยู่ ในเวลาเป็น ไข้
กพ็ อด ีไปเหน็ ทา่ นก�ำลงั เพ่งจิตจอ่ อยกู่ บั เวทนาเฉย ๆ ไม่ ใชส้ ตปิ ัญญาคลคี่ ลายดูกาย ดเู วทนา ดูจิต
บา้ งเลย พอเปน็ ทางสงบและถอดถอนทกุ ขเวทนา ในเวลาน้ัน เพ่ือ ไข้จะ ได้สงบลงดงั นี้
263
การอนุเคราะห์เมตตาแกบ่ รรดาศษิ ย์ ท่านมิ ได้เลอื กกาลสถานที่ แตอ่ นุเคราะหด์ ้วยวธิ ี
ตา่ ง ๆ ตามทเ่ี หน็ สมควรจะทำ� ได้เมอื่ ไรและแก่ผ้ ูใด ท่านเมตตาอนเุ คราะหอ์ ย่างนั้นเสมอมา บางที
ทา่ นก็บอกตรง ๆ วา่ ทา่ นองค์น้ ีไปภาวนาอยู่ท่ีถ้�ำ โน้นดีกวา่ มาอยู่กบั หมู่คณะอยา่ งน้ี นิสยั ทา่ น
ชอบถูกดัดสันดานอยเู่ ป็นนติ ย์ น่กี ็ไป ให้เสือช่วยดัดเสียบ้าง จิตจะ ไดก้ ลัวและหมอบสงบลง ได้
พอเห็นอรรถเหน็ ธรรมและอยสู่ บายบ้าง อยู่อย่างน้ ีไม่ดี คนหวั ดอ้ื ตอ้ งมีส่งิ แขง็ ๆ คอยดัดบ้าง
ถงึ จะออ่ น เชน่ เสอื เปน็ ตน้ พอเปน็ คทู่ รมานกนั ได้ คนกลวั เสอื กต็ อ้ งเอาเสอื เปน็ ครดู กี วา่ อาจารย์
ทตี่ น ไม่กลัวเป็นครู กลวั ผีกค็ วรเอาผเี ป็นครูคทู่ รมาน จิตกลัวอะ ไรก็เอาสง่ิ น้ันเปน็ ครคู ูท่ รมาน
จดั วา่ เป็นผฉู้ ลาด ในการฝกึ ทรมานตน
พระองค์นั้นแต่ก่อนที่ยัง ไม่บวชเธอเคยเป็นนักเลงมาแล้ว จึงมีนิสัยกล้าหาญและตรง ไป
ตรงมา วา่ จะอยตู่ อ้ งอยู่ วา่ จะ ไปตอ้ ง ไป และมนี สิ ยั หวั ดอ้ื อยบู่ า้ ง แตด่ อ้ื แบบพระ พอ ไดร้ บั โอวาท
อย่างเด็ด ๆ เชน่ นัน้ แลว้ เธอกต็ ดั สนิ ใจจะ ไปตามคำ� ท่ีท่านบอก โดย ใหเ้ หตผุ ลแกต่ วั เองวา่ พระ
ขนาดทา่ นอาจารย์มนั่ นจ้ี ะบอกเรา ไป ให้เสือกนิ นัน้ เปน็ ไป ไม ่ไดแ้ น ่ ๆ เราตอ้ ง ไปอยู่ถำ้� นน้ั ตามค�ำท่ี
ทา่ นบอก ตายก็ยอมตาย ไมต่ ้องเสียดายชีวิต เพ่อื ได้เหน็ เหตเุ หน็ ผล ในค�ำทท่ี า่ นบอก ว่ามี
ความจริงมากนอ้ ยเพยี ง ไร เราเคย ไดย้ ินแตค่ นอ่ืนบอกเล่าว่า ท่านพดู อะ ไรตอ้ งมีเหตุผลแฝงอยู่
ในค�ำพูดนัน้ อยา่ งสมบรู ณ์เสมอ ไป คือทา่ นพจิ ารณาด้วยความละเอียดถถ่ี ้วนแล้วถงึ ได้พดู ออกมา
ผทู้ ่ีทราบความหมายของทา่ นพยายามปฏบิ ัติตามยอ่ ม ได้ผลทกุ ราย ไป กค็ �ำทท่ี า่ นพดู กับเราคราวน้ี
เป็นคำ� พูดทหี่ นักแนน่ มาก ซึ่งประกอบดว้ ยเมตตาพรอ้ มทง้ั ความเหน็ แจง้ ภาย ใน ประหนึ่งท่าน
ควักเอาหวั ใจเรา ไปขย้ขี ย�ำดูจนทราบเร่อื งทกุ อย่างแลว้ ถา้ เรา ไม่เชอื่ และปฏิบตั ติ ามท่านเมตตา
บอกอย่างตรง ไปตรงมา ในคราวน้ี เราก ็ไม่ ใชพ่ ระ เราก็คือนาย.....ด ี ๆ นนั้ เอง อยา่ ง ไรก็ตาม
เราต้อง ไปอยู่ ในถ�ำ้ นั้นแน่นอน ในครั้งนี้ จะตายก็ตาย ไป เมอ่ื ไม่ตายขอ ให้รธู้ รรมแปลกประหลาด
ในทน่ี น้ั จน ได้ ค�ำพดู ท่านบ่งบอกช่อื เราอยา่ งชดั เจน ไม่มีเงอื่ นงำ� แฝงอยูเ่ ลย แม้คำ� ที่ท่านว่า “เรา
หัวดอ้ื ไม่ยอมลงใครง่าย ๆ” นน้ั กเ็ ป็นเครื่องวัดความถกู ตอ้ ง ไดอ้ ย่างสมบรู ณ์แลว้ เรายงั ไมส่ ามารถ
รู้เร่ืองเรา ได้เท่าท่านเลย เท่าที่ทราบบ้างก็เป็นดังท่านว่าจริง ๆ เราจึงเป็นคนชนิดที่ท่านว่า
๑๐๐ เปอรเ์ ซ็นต์ ฉะนัน้ อบุ ายทีท่ า่ นบอกเครือ่ งทรมานคอื เสอื ใหเ้ รา จงึ เปน็ ค�ำท่ ีไมค่ วรขดั แยง้
อย่างยง่ิ นอกจากจะปฏบิ ัติตามท่านเท่านน้ั
ความจรงิ ท่านองคน์ ้มี นี ิสยั หัวด้ือ ไม่ลง ใครง่าย ๆ ดงั ทา่ นอาจารย์ว่าจรงิ ๆ พอเธอนำ� ค�ำพดู
ของทา่ น ไปคิดเป็นทลี่ ง ใจแลว้ วันหลงั กม็ ากราบลาทา่ น ไปถ�ำ้ นั้น พอขึ้น ไปกราบท่านก็ถามทนั ที
ว่า ทา่ น....จะ ไป ไหน เห็นครองผา้ เต็มยศมาหาท�ำนองจะออกแนวรบอย่างเอาจรงิ เอาจัง เธอ
264
ตอบท่านตามนสิ ัยวา่ กระผมจะ ไปตาย ในถ�้ำทท่ี ่านอาจารย์บอก ให้ ไป ทา่ นอาจารยพ์ ดู สวนข้นึ
ทนั ทีวา่ ผมบอกท่าน ให้ ไปตาย ในถ�้ำน้ันจริง ๆ ดงั ท่านว่าหรอื ผมบอก ให้ท่าน ไปภาวนาต่างหาก
เลา่ ? เธอตอบทา่ นว่าความจรงิ ท่านอาจารย์บอกกระผม ให้ ไปภาวนาตา่ งหากม ิได้บอก ให ้ไปตาย
แต่กระผมทราบจากพระท่านเลา่ วา่ ถ�้ำน้ันมเี สือ โคร่ง ใหญอ่ ย ู่ในถำ้� ข้างบนของถ�้ำทกี่ ระผมจะ ไปอยู่
น้นั เป็นประจำ� ซ่ึงถ�้ำนัน้ อยู่ ไม่หา่ งจากถ้�ำทก่ี ระผมจะ ไปอยู่นกั เลย และทราบวา่ มนั เคยเข้า ๆ
ออก ๆ ขึ้น ๆ ลง ๆ ถ้�ำน้ันเสมอ เวลามันจะ ไปเที่ยวหากินที่ ไหนก็ลงมาผ่านหน้าถ้�ำที่กระผมจะ ไป
พกั เสมอ จงึ ไมแ่ น ่ใจ ในชวี ติ เวลา ไปพกั อยทู่ น่ี นั้ ฉะนนั้ เวลาทา่ นอาจารยถ์ าม กระผมจงึ เรยี นตอบ
ตามความรู้สกึ ท่หี วาดตอ่ มนั อยู่เสมอมา ท่านถามว่าก็ถำ�้ น้ันเคยมีพระ ไปอยูม่ าแลว้ หลายองค์และ
หลายครัง้ ก็ ไมป่ รากฏว่าเสอื มาเอาทา่ น ไปกนิ แต่เวลาทา่ น ไปอยทู่ ีน่ ้นั ท�ำ ไมเสือจึงจะมาควา้ เอา
ไปกนิ เลา่ ? เน้อื ทา่ นกับเนอ้ื พระเหล่านั้นตา่ งกนั อย่าง ไร จึงท�ำ ใหเ้ สือกลวั และกล้าและหวิ โหย
อยากกินตา่ งกนั นกั เล่า ? ทา่ น ไป ไดเ้ นื้อหอม – หวานมาจาก ไหนเสอื ถึง ไดช้ อบนกั ถงึ กบั ตอ้ ง
จดจอ้ งมองดแู ละคอยจะกนิ เฉพาะทา่ นเพียงองคเ์ ดียวเท่าน้ัน
จากนั้นท่านก็อบรมส่ังสอนเก่ียวกับมายาของ ใจที่หลอกลวงคน ได้ร้อยแปดพันนัยยากท่ีจะ
ตามทนั ได้ง่าย ๆ ถ้า ไม ่ใช่นักทดสอบและวพิ ากษว์ ิจารณ์จริง ๆ จะทรมาน ใจดวงแสนปลน้ิ ปลอ้ น ให้
หายพยศ ได้ยาก น่ยี งั ไม่ถงึ ไหนกย็ อมเช่อื กิเลสกระซิบ ใจยิง่ กว่าเชื่ออาจารย์เสียแล้ว จะ ไปรอด
หรอื ท่าน ? ความตายนน้ั พวกเรายัง ไมเ่ คยตายกัน แต ่โลกกลวั กันมาก ส่วนความเกิดอันเปน็ เหยื่อ
ล่อปลาทำ� ให้ความตายปรากฏตัวข้ึนมา ไมค่ อ่ ยมี ใครกลวั กนั ใคร ๆ ก็อยากเกดิ กนั ทง้ั โลก ไม่ทราบ
อยากเกิดกันอะ ไรนกั หนา เทา่ ทีเ่ กดิ มาเพียงรา่ งเดยี วก็แสนทุกขแ์ สนกังวลพออยแู่ ลว้ ถ้ามนุษย์
เราแยกแขนงเกิด ไดเ้ หมือนแขนง ไม ้ไผแ่ ล้ว กย็ ่ิงอยากเกิดกันมาก เพยี งคนเดยี วกอ็ ยากแตกแขนง
ออก ไปเป็นร้อยคนพนั คน โดย ไม่คิดถึงเวลาจะตายเลย วา่ จะพร้อมกันกลวั ความตายทลี ะตง้ั
รอ้ ยคนพันคน โลกนตี้ ้องเปน็ ไฟแหง่ ความกลวั ตายกันจน ไมม่ ที ี่อย่แู น ่ ๆ เลย เราเปน็ นักปฏิบัติ
ท�ำ ไมจึงกลัวตายนกั ยิง่ กว่าฆราวาสที ่ไม่เคย ได้รบั การอบรมมาเลย และทำ� ไมจึงปลอ่ ย ใจ ใหก้ เิ ลส
ย�ำ่ ยีหลอกหลอนจนกลายเป็นสน้ิ คิด ไป ได้ ทง้ั ท่ีความคิดและสติปัญญามีอยู่ ท�ำ ไมจึง ไมน่ �ำออก
มา ใช้เพ่ือขับ ไล่กิเลสกองต้มตุ๋นท่ีซ่องสุมอยู่ ในหัว ใจ ให้แตกกระจายออก ไปบ้าง จะ ได้เห็นความ
โงเ่ ขลาของตวั ท่ีเคยมวั เมาเฝา้ กเิ ลสมานาน ไม่เคยเหน็ ฤทธข์ิ องมัน
สนามชัยของนกั รบ ก็คอื ความกล้าตาย ในสงครามน่นั เอง ถา้ ไมก่ ล้าตายก็ ไมต่ ้องเขา้ สู่
แนวรบ ความกล้าตายนน่ั แลเปน็ ทางมาแหง่ ชยั ชนะขา้ ศึกศตั รู ถา้ ท่านมุ่งตอ่ แดนพน้ ทุกข์ด้วย
ความเห็นทุกข์จรงิ ๆ ท่านกต็ ้องเห็นความกลัวตายนั้นว่าเป็นกิเลสพอกพูนทุกข์บนหัว ใจ แล้วตาม
265
แก้ ไขกันที่สนามชัยอันเป็นท่ีเหมาะสมดงั ทีผ่ มชีบ้ อก ท่านก็จะเหน็ โทษแหง่ ความกลัว วา่ เปน็
ตวั เขยา่ กอ่ กวน ใจ ให้กระเพอ่ื มขุ่นมัวและเป็นทุกข์ ในวนั ใดหรือเวลาหน่ึงแน่นอน ดีกว่าทา่ นจะ
นั่งกอดนอนกอดความกลัวตายนน้ั ไวเ้ ผาลนหัวอก ให้เกิดความทุกข์ร้อนนอนครางอยู่ ใน ใจ ไม่มี
วันปลดปลอ่ ย ได้ ดงั ทเ่ี ป็นอยเู่ วลานี้ ทา่ นจะเชือ่ ธรรม เช่อื ครูอาจารย์ว่าเป็นความเลศิ ประเสรฐิ
ศักดส์ิ ทิ ธิ์ หรอื ทา่ นจะเชือ่ ความกลัวท่กี เิ ลสปลอ่ ยมายวั่ หวั อก ใหม้ คี วามสะทกสะทา้ นหวนั่ ไหว
จน ไรส้ ตปิ ญั ญาเครอื่ งปลดเปลอ้ื งแก ้ไขตน มอง ไปทาง ไหนมแี ตเ่ สอื จะมากดั มาฉีก ไปกินเปน็ อาหาร
อย่ทู �ำนองนน้ั นมิ นตน์ ำ� ไปคิด ให้ถึง ใจ ธรรมที่ผมเคยปฏบิ ตั ิดดั สนั ดานตนและเคย ไดผ้ ลมาแล้วกม็ ี
ดังที่พดู ใหท้ า่ นฟังนี้แล นอกนนั้ ผมยังมอง ไมเ่ ห็น ขอจงคิด ให้ดี ตดั สนิ ใจ ใหถ้ กู
นับแต่ขณะท่ีท่านเทศน์กัณฑ์หนัก ๆ ให้ฟังแล้ว เธอว่าขณะนั้น ใจเหมือนจะออกแสง
แพรวพราวขนึ้ ดว้ ยความกลา้ หาญเพราะความปีติ ในธรรม พอท่านเทศนจ์ บลงกก็ ราบลาทา่ นลงมา
และเตรยี มตวั ออกเดินทาง ไปถำ้� ในขณะน้นั
เมื่อ ไปถงึ ถ�ำ้ ด้วยความกล้าหาญและเอิบอมิ่ ดว้ ยปีตยิ ัง ไมห่ าย กป็ ลงบริขารลงจากบนบ่า
เทยี่ วดทู ำ� เลท่พี ักตามบริเวณน้ัน แตต่ าเจ้ากรรม ใจเจา้ เวร ท�ำ ให้ระลกึ ถงึ เสือขึน้ มา ได้ว่า “ถ�ำ้ น้มี ี
เสือ” พรอ้ มกบั สายตาท่ีมองลง ไปพ้ืนบรเิ วณหน้าถ้ำ� ก็ ไปเจอเอารอยเท้าเสือท่เี หยียบไวแ้ ต่เมื่อ ไร
ไม่ทราบอยา่ งถนดั ตา ใจรู้สกึ สะท้านกลัวขึ้นมา ในขณะนน้ั แทบเปน็ บา้ ไป ได้ ลมื โอวาททา่ น
อาจารย์ท่ีสอน ไว้และลืมความกล้าหาญที่เคยออกแสงแพรวพราวขณะท่ีนั่งฟังเทศน์อยู่วัดหนองผือ
เสีย โดยส้ินเชงิ มีแตค่ วามกลัวเต็มหวั ใจ พยายามแก้ความกลัวดว้ ยวิธตี ่าง ๆ ก ็ไม่หาย ต้องเดิน ไป
กลบรอยเสอื ด้วยฝา่ เท้าออกจนหมด กย็ งั ไม่หายกลวั แต่มีเบาลงเล็กนอ้ ยทม่ี อง ไป ไมเ่ หน็ รอยมันอีก
นบั แต่ขณะทีเ่ หลอื บมองลง ไปเจอรอยเสือจนกระทงั่ กลางคนื ตลอดรุ่งก็ยังแกก้ ัน ไม่ตก แม้
กลางวันก็ยังกลัว ย่งิ ตกกลางคนื กย็ ่งิ เพิ่มความกลัวหนักเข้าราวกับบริเวณท่ีพักนน้ั เตม็ ไปดว้ ยเสือ
ทั้งสิน้ จากนัน้ ไขม้ าลาเรยี ชนิดจบั สนั่ ก็เร่มิ กำ� เริบขึ้นอกี เท่ากบั ตกนรกทัง้ เป็นอย ู่ในถำ�้ นนั้ ไมม่ ี
ความสบายกายสบาย ใจเอาเลย แตน่ า่ ชมเชยทา่ นท ี่ใจแขง็ แกรง่ ไมย่ อมลดละความพยายามทรมาน
ตน ใหห้ ายกลัวด้วยอบุ ายวิธตี า่ ง ๆ ตลอด ไป ไขก้ ็กำ� เริบรนุ แรงข้นึ ตาม ๆ กนั หรือจะเปน็ เพราะ
ธรรมบนั ดาลกส็ ุดจะคาดถงึ ทง้ั ทุกข์เพราะกลวั เสอื ท้งั ทกุ ข์เพราะ ไข้ก�ำเริบ จน ไม่เปน็ ตวั ของตวั
แทบเป็นบ้า ไป ได้ ในเวลานั้น นาน ๆ ระลึกถึง โอวาทและพระคุณของท่านอาจารย์ม่ัน ได้ทีหนึ่ง
หวั ใจท่ีเต็ม ไปด้วย ไฟคือความทุกข์ทรมานก็สงบลง ได้พักหน่ึง ตอน ไข้ก�ำเริบรุนแรงเป็นเหตุ ให้
ท่านระลกึ สละตายข้ึนมา ได้กร็ ีบถามตัวเอง ในขณะนั้นว่า ก่อนจะมาอยู่ท่ีนก่ี ็ ได้คิดอยา่ งเตม็ ใจแล้ว
266
ว่าจะมาสละตาย เวลาท่านอาจารย์ถามวา่ จะ ไป ไหนก็ ไดต้ อบทา่ นวา่ จะ ไปตาย ในถ้�ำนัน้ แล้วกม็ า
ด้วยความอาจหาญต่อความตายราวกบั จะเหาะเหินเดนิ ฟ้า ได้ แต่เม่ือมาถึงถ�ำ้ อันเป็นทตี่ ายจริง ๆ
แลว้ ทำ� ไมจงึ กลบั ไมอ่ ยากตาย และมคี วามกลัวตายจนต้ังตัว ไมต่ ิด ใจเราคนเดียวกันมิ ได ้ไปเที่ยว
หาเอาหัว ใจคนข้ีขลาดหวาดกลัวของผู้ ใดและของสัตว์ตัว ใดมาสวม ใส่เข้าพอจะกลายเป็นผู้ ใหม่
และสัตว์ตัว ใหมท่ ข่ี ข้ี ลาดข้ีกลัวข้ึนมา ในเราคนเดียวกัน แล้วท�ำ ไมเวลาอย ู่โน้นเปน็ อย่างหน่งึ บท
มาอย่ทู ี่นี้กลับเปน็ อีกอย่างหน่งึ เราจะเอาอย่าง ไรกันแน่ รบี ตัดสนิ ใจเด๋ียวนี้ อยา่ ชักช้า เอา
อยา่ งน้ดี ีไหม เราจะตดั สนิ ให้คอื ๑. ออก ไปน่ังภาวนาอยู่ริมเหว ถา้ เผลอสติก ็ให้มันตกลง ไปตาย
อย ู่ในเหว ใหแ้ ร้งกาแมลงวนั มาจัดการศพ ใหเ้ ลย ไมต่ อ้ ง ให้ยุ่งยากกับชาวบา้ น เพราะเราเป็น
พระ ไมเ่ ปน็ ทา่ อย่า ให้ ใครมาแตะตอ้ งกายของพระ ไมเ่ ปน็ ท่า ใหแ้ ปดเปอ้ื นเขา แล้วกลายเปน็ คน
ไมเ่ ปน็ ท่า ไปหลายคนเลย ๒. ออก ไปนั่งภาวนาอยู่ทางข้นึ ถำ้� เสอื เวลาเสือออก ไปเทยี่ วหากิน
อยา่ ใหม้ นั ต้องลำ� บาก จะ ได้ โดดคาบคอพระ ไมเ่ ป็นท่าองคน์ ้ี ไปเปน็ อาหารวา่ งของมนั ในคนื นี้ จะ
เอาขอ้ ไหน ให้เลอื กเอาเด๋ยี วนอี้ ย่าเนนิ่ นาน เราจะพาจดั การเดี๋ยวนี้ ว่าแล้วก็ออกจากม้งุ มายนื
อยู่หนา้ ถำ้� ขณะหน่ึง รอการตัดสนิ ใจ
สุดท้ายก็ตกลงเอาตามข้อทห่ี นึ่ง คือออก ไปนั่งภาวนาอยรู่ มิ เหวอย่างหมนิ่ เหม่ที่สดุ ถา้
เผลอก็ตอ้ งมอบศพ ให้สัตว์จำ� พวกท่พี ูดฝาก ไว้แลว้ เหล่านั้นแน่นอน แลว้ กเ็ ตรียมน่ังภาวนาหันหน้า
ไปทางเหวลึก หันหลังออกมาทางที่เสอื เดินขน้ึ ถ�้ำ บริกรรมภาวนาด้วยพทุ โธกบั คำ� ว่า ถา้ ประมาท
ตอ้ งตาย ในบดั เดย๋ี ว ใจ ไมช่ กั ชา้ ขณะทน่ี ง่ั บรกิ รรมภาวนา ไดท้ ำ� ความสงั เกตด ูใจวา่ จะกลวั ตกเหวตาย
หรือจะกลวั เสอื กินตาย ปรากฏว่ากลัวตกเหวตายเปน็ กำ� ลังและต้ังสตมิ ิได้พล้งั เผลอจากคำ� บริกรรม
ด้วยธรรมสองบทนัน้ ตามแต่จติ จะระลึก ได้บท ใดเวลา ใด พอภาวนาตัง้ ท่าตายอยรู่ มิ เหวลกึ ไม่นาน
เลย จิตก็รวมสงบตวั ลงอย่างรวดเรว็ และลงถึงฐานของอปั ปนาสมาธเิ ลย รวดเดียวดับเงยี บ ไปเลย
ในขณะน้ัน หมดความกงั วลวุ่นวายทเ่ี ปน็ ไฟเผา ใจ เหลอื แตเ่ จ้าของของผู้กลัวตายคือจติ ดวงเดียว
เทา่ นน้ั ทรงตวั อย่อู ย่างอัศจรรย์ ความกลัวตาย ได้หาย ไป โดยส้ินเชิง
นับแตเ่ วลา ๔ ทุ่มจนถงึ ๔ โมงเช้าของวนั รงุ่ ข้นึ จติ จงึ ไดถ้ อนขน้ึ มา มองดตู ะวันขึ้นครงึ่ ฟ้า
แลว้ วนั น้นั เลย ไมต่ ้องลง ไปบณิ ฑบาตและ ไม่ฉันจังหนั ด้วย พอจติ ถอนข้นึ มาความกลวั ไม่ทราบ
หายหนา้ ไป ไหนหมด ปรากฏแตค่ วามอาจหาญกับความอศั จรรย์ท่ ีไมเ่ คยปรากฏมาเท่าน้นั ไขก้ ็
ถอนและหายขาด ในคนื วันนัน้ ไมม่ ีอีกต่อ ไปเลย ท่านวา่ ธรรม โอสถรกั ษา ได้ทัง้ โรคมาลาเรีย
ทั้ง โรคขี้กลัวเสอื นับแต่วันน้ันท้งั ไขท้ งั้ ความกลวั ไมม่ ีมารบกวนร่างกายและจิต ใจอกี เลย อยู่ที่ ไหน
ก็อยู่ ได้ ไปท ่ีไหนก็ ไป ได้อยา่ งสบายหายห่วง เสือจะมาหรือ ไม่มาเลย ไมส่ น ใจคิด นอกจากคดิ
267
อยาก ให้เสือมาบ้างจะ ไดท้ ดลองจิตด้วยวิธีเดนิ เข้า ไปหาเสือ โดย ไม่มีความสะทกสะท้านแมแ้ ต่นอ้ ย
เลยเท่านัน้ ทัง้ ได้ระลึกถึงพระคุณท่านอาจารยอ์ ย่างเทดิ ทนู บนศีรษะอยตู่ ลอดเวลา ว่าเรา ได้เหน็
ฤทธ์ิของกิเลสตัวกลวั ๆ เพราะทา่ นสอน พอทา่ นจบั เคล็ดของจิต ไดแ้ ล้ว ทา่ นฝกึ ทรมานจติ ดว้ ย
วิธีนั้นตลอดมาคอื ชอบเท่ียวแสวงหาทีน่ ่ากลัวมากเปน็ ทีน่ ่งั สมาธภิ าวนา
แมท้ ่านพกั อย ู่ในถ้�ำนน้ั นับแต่วนั น้ันมาแล้วก็ฝกึ แบบนนั้ ตลอด ไป โดยเที่ยวหานัง่ ภาวนาอยู่
ในที่ต่าง ๆ เช่น ทางเสือขน้ึ ถำ�้ บา้ ง ทางเสอื เคยเดินผา่ น ไปมาบ้าง ขณะท่นี ง่ั ภาวนา ในทพี่ กั ทา่ น
ก็ ไม่ลดมุ้งลง โดยความหมายว่า ถ้าลดมุง้ ลงจติ จะ ไม่นกึ กลวั เสือแลว้ จะ ไม่รวมสงบลง ได้อยา่ ง
ใจหมาย หรอื นง่ั ภาวนาอยู่หนา้ ถ้�ำบา้ ง นอกมุ้งบ้าง ตามแตว่ ธิ ที เ่ี หน็ วา่ จติ จะรวมลง ได้เรว็ และ
สนิทเต็มฐานของสมาธิ
คนื หนง่ึ จติ ไมย่ อมรวมสงบลง ไดแ้ ม้จะน่งั ภาวนานานเพยี ง ไร ท่านเลยนึกถึงเสอื โคร่งตัวที่
เคยข้นึ ๆ ลง ๆ และ ไปมาอยเู่ สมอ ในแถบบริเวณนนั้ วา่ วนั น้เี สอื ตวั น้ี ไป ไหนกันนะมาช่วย ใหจ้ ิตเรา
ภาวนารวมสงบลงบา้ งเป็น ไร ถ้าเสอื มามนั ไม ่ไดภ้ าวนายากเยน็ อะ ไรเลย จติ คอยแตจ่ ะรวมลง
ท่าเดยี ว หลงั จากทา่ นคิดรำ� พึงถงึ เสือ โครง่ คมู่ ติ ร ไม่นานนกั ราวครึ่งช่วั โมงก ็ได้ยนิ บาทยา่ งเท้า
ของเสอื ตัวน้ันเดนิ ขน้ึ มาบนถ้�ำอยา่ งเป็นจงั หวะจะ โคนจรงิ ๆ เวลานั้นราว ๒ นาฬิกา พอ ไดย้ ินเสียง
เสือเดินขน้ึ มา ทา่ นก็เตอื นจิตว่าบดั น้เี สือขน้ึ มาแลว้ นะ จะมัวเพลินอยนู่ ี้ไม่กลวั เสือคาบคอ ไปกนิ
หรือ จะลงหาที่ซอ่ นตัวเพอื่ หลบภัยกร็ บี ลงซถิ า้ ไม่อยากเปน็ อาหารเสอื พอคิดเท่าน้ันก็กำ� หนดจิต
สมมุตเิ อาเสือตวั ก�ำลังเดินมานน้ั โดดมาคาบทีค่ อของตน ปรากฏว่าพอก�ำหนดเอาเสอื โดดมา
คาบคอเท่านน้ั จติ กร็ วมลงสู่สมาธิอย่างรวดเร็วและถึงฐานอปั ปนาสมาธิ ในขณะนนั้ หายเงยี บ
ไปเลย ท้งั เสอื ทั้งคน ในความหมาย ยงั เหลอื แต่ความสงบอนั ราบคาบเปน็ เอกจิตเอกธรรมทเี่ ตม็
ไปด้วยความอศั จรรย์สุดจะคาด ในเวลานัน้ นบั แตเ่ วลาจติ รวมสงบลงเวลา ๒ นาฬิกา จนถึง
๑๐ โมงเชา้ (๔ โมงเช้า) จงึ ถอนข้ึนมารวมเปน็ เวลา ๘ ชั่ว โมงเต็ม ตอนออกจากสมาธิมองดู
ตะวนั ครึ่งฟ้า เลยต้องงด ไม ่ไปบณิ ฑบาตและ ไมฉ่ ัน ในวนั นนั้
ขณะที่จิตรวมลงอย่างเต็มท่ีถึงฐานของอัปปนาสมาธิตามจริตนิสัยของจิตท่ีรวมลงอย่าง
รวดเร็วเหมอื นคนตกเหวตกบ่อน้ัน ต้องดบั อายตนะภาย ใน ไมร่ ับทราบกับอายตนะภายนอก โดย
ประการทง้ั ปวง ในเวลาน้ัน จิตของทา่ นองคน์ ้ีกม็ ีนสิ ัยเช่นนน้ั ฉะนนั้ เวลารวมสงบลงเตม็ ทีแ่ ล้ว
จงึ หมดความรู้สึกกบั สิง่ ภายนอก ตอนออกจากสมาธแิ ลว้ จงึ เดนิ ไปดูตรงท ่ีได้ยนิ เสียงเสือมา เปน็
เสือมาจริง ๆ หรือหูมันหลอกต่างหาก เวลา ไปดูก็เห็นรอยเสือ โคร่ง ใหญ่คู่มิตรตัวนั้นเดินผ่านมา
268
ดา้ นหลังทา่ นจรงิ ๆ หา่ งกนั ประมาณ ๒ วา มันเดนิ ขนึ้ ไปถ�้ำท่อี ยู่ประจ�ำของมัน โดยมิ ไดส้ น ใจ
เดินวกเวียนดคู ่มู ิตรของมันเลย จงึ น่าแปลกและอัศจรรย์อยมู่ าก
ทา่ นว่าพอจิตรวมลงเทา่ นัน้ เร่ืองท้ังหลายกด็ ับ ไปหมด ในขณะน้นั จนกว่าจติ จะถอนข้ึนมา
ถึงจะมีส่ิงมาเก่ียวข้อง การฝึกจิต โดยล�ำพัง โดย ไม่มีเหตุมาบังคับรวมสงบ ได้ยาก ไม่เหมือนมีเหตุ
อันตรายมาเก่ียวข้อง ในเวลานั้นซ่ึงรวม ได้เร็วท่ีสุด ช่ัววินาทีเดียวเท่าน้ันก็ลงถึงที่เลย ไม่ชักช้า
ฉะน้นั ผมจึงชอบ ไปเท่ียวแสวงหาอย่ ูในที่กลวั ๆ สะดวกแกก่ ารฝึกจิตดีมาก ไมอ่ ยากอย่ ูในที่
ท่เี ปน็ ปา่ เป็นเขาหรือถำ�้ ธรรมดา แตต่ อ้ งเปน็ ปา่ เสือ เขาที่มเี สอื หรือถ�้ำท่ีมเี สือ อยา่ งนน้ั ถกู กบั
จรติ ของผม ซึ่งเปน็ คนหยาบดังที่เป็นมานแี่ ล ผมจงึ จ�ำต้องชอบอย ู่ในทีเ่ ช่นน้นั
มีแปลกอยตู่ อนหนึง่ ทผี่ มพักอยถู่ ำ�้ น้ัน นอกจากจิต ได้รบั ความสงบตามความมุง่ หมายแลว้
ยงั มคี วามรสู้ กึ แปลก ๆ เกยี่ วกับพวกรุกขเทพและคนตาย ไดอ้ ีก บางคนื มรี กุ ขเทพเข้ามาหา (ตอนนี้
ขอเรียนเพียงเท่านี้ – ผู้เขียน) และเวลาคนตาย ในบ้านต้องทราบจน ได้ ไม่ทราบว่ามีอะ ไรมาบอก
แตท่ ราบขึ้นภาย ใน ใจเองและแนท่ ุกครง้ั เสยี ด้วย ถ้าจะวา่ ความรู้ โกหกก ็ไม่กล้าต�ำหนิ เราพักอยู่ ใน
ถ้ำ� นน้ั กอ็ ยูห่ า่ ง ไกลจากหมู่บ้านต้ังหลายก ิโลเมตรทางร่วมสองร้อยเส้น เขายงั มานิมนต์ ไปมาติกา
บงั สกุ ุลคนตายจน ได้ ซึง่ เป็นการลำ� บากแก่เรามาก พอคน ในบา้ นตายตอ้ งทราบแล้ววา่ พรุง่ นต้ี อ้ ง
เดินบุกป่าฝา่ ดง ไปปา่ ชา้ อกี แล้วและเขากม็ ารบกวนจรงิ ๆ ดว้ ย บอกเขา เขาก็ ไม่ฟงั โดย ใหเ้ หตุผล
วา่ พระหายากจึงตอ้ งมารบกวนท่าน นกึ วา่ โปรดสัตวเ์ อาบญุ เถดิ ดังนี้ เราก็จ�ำต้อง ไปเพราะความ
เห็น ใจและสงสาร ถ้าเวลาอดอาหารซงึ่ เปน็ เวลาทต่ี ้องเรง่ ความเพียรอย่างยิ่ง ไม่อยาก ให้เรอื่ ง ใด ๆ
มากวน ใจ แตก่ ็ตอ้ งมีจน ได้
เธอวา่ พกั อยทู่ ี่ถ้ำ� นนั้ ไดก้ �ำลงั ใจดมี าก โดยอาศยั เสอื ค่มู ิตรตวั นัน้ ชว่ ยพยุงจิต ให้เสมอมา ซึ่ง
เว้นเพียงคืนหน่ึงหรือสองคืนมันก็ข้ึนหรือลงมาเพ่ือเท่ียวหากินตามภาษาสตั ว์ท่ีมีปากมีท้อง โดย
ไม่สน ใจกับเราเลยท้ัง ๆ ท่ีมันเดินผ่านหลังเรา ไป – มาทุกครั้งท่ีออกหากิน เพราะทางออกก็มี
เพยี งเทา่ นน้ั ไมท่ ราบจะ ใหม้ นั ไปท ี่ไหน นสิ ยั เธอองคน์ แี้ ปลกอยบู่ า้ งทเี่ วลากลางคนื ดึก ๆ ก็ออกจาก
ถ�ำ้ ไปเทีย่ วนัง่ ภาวนาอยูต่ ามหินดานบนภูเขาอยา่ ง ไม่สน ใจกบั สัตวเ์ สอื อะ ไรเลย และชอบเที่ยว ไป
องคเ์ ดยี วเป็นนิสัย ท่เี ขียนเรือ่ งเธอองคน์ ้ีแทรกลงบ้างก็ โดยเห็นว่าพอเปน็ คติอยบู่ า้ งเปน็ บางตอน ท่ี
เปน็ คนเอาจรงิ เอาจงั จนเหน็ ขอ้ เทจ็ จรงิ จาก ใจดวงพยศและสามารถดดั กนั ลง ได้ สิง่ ทเี่ คยเห็นว่าเปน็
ภัยกก็ ลบั ถือมาเปน็ มติ ร ในทางความเพียร ได้ เชน่ เสอื เป็นตน้ ซ่ึงเปน็ สตั ว์ท ่ีไม่น่า ไว ้ใจ ได้เลย
ยังยึดเอามาเป็นเคร่อื งปลกุ ใจทางความเพียร ได้ จนเหน็ ผลประจกั ษ์ ใจ
269
ทา่ นอาจารยม์ น่ั พกั อยทู่ ว่ี ดั หนองผอื ดว้ ยความผาสกุ พระธดุ งคท์ ่ีไปอาศยั รม่ เงาทา่ นกป็ รากฏ
ว่า ได้ก�ำลังจิต ใจกันมาก แม้จะมีจ�ำนวน ๒๐ – ๓๐ องค์ ในพรรษาต่างก็ต้ัง ใจปฏิบัติต่อหน้าที่
ของตน ๆ ไมม่ เี รือ่ งราวท่ีน่า ใหท้ า่ นหนกั ใจ มคี วามสามัคคกี ลมกลนื กนั ดีมากราวกับอวยั วะ
อันเดียวกนั ตอนออกบิณฑบาตรสู้ ึกนา่ ดูมาก เดินกันเปน็ แถวยาวเหยยี ด ไปตลอดสายทาง
ชาวบ้านจัดที่น่ังเป็นม้ายาว ไว้ส�ำหรับพระสงฆ์ท่านน่ังอนุ โมทนาทานหลังจาก ใส่บาตรเสร็จแล้ว
ทา่ นฉนั รวมท ่ีโรงฉนั แหง่ เดยี วกนั โดยนงั่ เรยี งแถวกนั ตามลำ� ดบั พรรษา เมอ่ื เสรจ็ แลว้ ตา่ งองคต์ า่ งลา้ ง
และเชด็ บาตรใสถ่ ลกนำ� ไปเกบ็ ไว้เรียบรอ้ ยแลว้ ต่างองค์เข้าหาทางจงกรม ในปา่ กวา้ ง ๆ ตดิ กบั วดั
ท�ำความเพียรเดนิ จงกรมน่ังสมาธิตามอธั ยาศัย จวนบา่ ย ๔ โมงเยน็ ถงึ เวลาปดั กวาดลานวัดตา่ งก็
ทยอยกันออกมาจากท่ีทำ� ความเพียรของตน ๆ พรอ้ มกันปดั กวาดลานวดั เสร็จแลว้ ขนน้�ำข้ึน ใสต่ ุ่ม
ใส ่ไหนำ�้ ฉัน น้�ำล้างเทา้ ลา้ งบาตรและสรงน�้ำ หลังจากนัน้ ตา่ งก็เขา้ หาทางจงกรมทำ� ความเพียร
ตามเคย ถ้า ไมม่ ีการประชุมอบรมกท็ �ำความเพียรตอ่ ไปตามอธั ยาศยั จนกวา่ จะถึงเวลาพกั ผอ่ น
ปรกติ ๗ วนั ทา่ นจดั ให้มีการประชมุ ครั้งหนง่ึ แตผ่ ้ปู ระสงค์จะ ไปศกึ ษาธรรมเปน็ พิเศษกบั ทา่ น
ก็ ได้ โดย ไมต่ อ้ งรอจนถงึ วนั ประชุม หรือผมู้ ีความขัดขอ้ งจะเรยี นถามปญั หาธรรมกบั ท่านก ็ได้ตาม
โอกาสที่ทา่ นว่าง เชน่ ตอนหลงั จงั หนั ตอนบา่ ย ๆ ตอนราว ๕ โมงเย็น และตอน ๒ ทุ่มกลางคนื
เวลาทา่ นสนทนาหรอื แกป้ ญั หาธรรมกนั ตอนกลางคนื เงยี บ ๆ รสู้ กึ นา่ ฟงั มาก เพราะมปี ญั หา
แปลก ๆ จากบรรดาศิษย์ซ่ึงมาจากทีต่ า่ ง ๆ ทีต่ นพกั บำ� เพ็ญ เปน็ ปญั หาเก่ยี วกับธรรมภาย ในบ้าง
เกยี่ วกับส่งิ ภายนอก เชน่ พวกกายทพิ ย์บ้าง ฟงั แล้วท�ำ ให้เพลิดเพลินอย่ภู าย ใน ไม่อยาก ให้จบสนิ้
ลงงา่ ย ๆ ทงั้ เปน็ คติ ทงั้ เปน็ อบุ าย แก ้ใจ ในขณะนนั้ เพราะผมู้ าศกึ ษากบั ทา่ นมภี มู ธิ รรมทางภาย ใน
เหลื่อมลำ�้ ต�่ำสูงต่างกนั เปน็ ราย ๆ ไ ป และมคี วามรู้แปลก ๆ ตามจรติ นสิ ยั มาเล่าถวายทา่ น จึง
ทำ� ใหเ้ กดิ ความรืน่ เรงิ ใจ ไปกับปญั หาธรรมน้ัน ๆ ไม่มสี ิน้ สดุ
เวลามี โอกาสทา่ นก็เลา่ นิทานทเ่ี ป็นคติ ให้ฟงั บา้ ง เลา่ เรอ่ื งความเป็นมาของท่าน ในชาติ
ปัจจบุ นั แต่สมัยเปน็ ฆราวาสจน ไดบ้ วชเป็นเณรเป็นพระ ให้ฟังบา้ ง บางเรือ่ งก็น่าขบขนั น่าหวั เราะ
บางเรอื่ งกน็ า่ สงสารทา่ นและนา่ อศั จรรยเ์ รอื่ งของทา่ น ซงึ่ มมี ากมายหลายเรอ่ื ง ฉะนน้ั การอยู่
กับครูบาอาจารย์นาน ๆ จึงท�ำ ให้จริตนิสัยของผู้ ไปศึกษามีการเปลี่ยนแปลง ไป ในทางดีตามท่าน
วันละเลก็ ละนอ้ ย ทงั้ ภายนอกภาย ในจนกลมกลนื กับนสิ ัยทา่ นตามควรแก่ฐานะของตน ท้งั มีความ
ปลอดภัยมาก มที างเจริญมากกว่าทางเสือ่ มเสยี ธรรมคอ่ ยซึมซาบเข้าสู่ ใจ โดยล�ำดบั เพราะ
การเห็นการ ไดย้ ิน ได้ฟงั อยู่เสมอ ความสำ� รวมระวงั อนั เปน็ ทางส่งเสริมสติปัญญา ให้มกี ำ� ลังก็มาก
กวา่ ปรกติ เพราะความเกรงกลวั ท่านเป็นสาเหต ุไม ่ให้นอน ใจ ตอ้ งระวงั กายระวงั ใจอยูร่ อบด้าน
270
แม้เชน่ น้นั ท่านยังจบั เอา ไปเทศน์ ให้เราและหมู่คณะฟงั จน ได้ ซง่ึ บางเร่ืองกน็ ่าอับอายหมู่คณะ แต่
กย็ อมทนเอาเพราะเรา โง ่ไมร่ อบคอบตอ่ เร่อื งของตัว
เวลาอยูก่ ับท่านมคี วามเย็นกายเย็น ใจเจอื ดว้ ยความปีติอยา่ งบอก ไมถ่ กู แต่ถ้า ใจ ไมเ่ ปน็
ธรรมก ็ให้ผลตรงขา้ ม คือเกิดความรมุ่ รอ้ น ไปทุกอิรยิ าบถเพราะความคิดผดิ ของตวั ในความรู้สกึ
ของตนเป็นอย่างน้ี ส�ำหรบั ทา่ นผอู้ ่ืนก ็ไม่อาจทราบ ได้ เรามนั เป็นคนหยาบต้องอาศยั ทา่ นคอยสับ
คอยเขก ใหอ้ ยู่เสมอจึงพอมลี มหาย ใจสบื ต่อกัน ไป ได้ กเิ ลสตณั หา ไม่แย่งเอา ไปกินเสยี หมด ยงิ่ เวลา
ท่านเลา่ เรือ่ งจติ ท่าน ในเวลาบำ� เพ็ญ ให้ฟงั เป็นระยะ ๆ กย็ ่งิ เพม่ิ ก�ำลัง ใจมากขึ้น ราวกบั จะเหาะเหิน
เดินเมฆบนอากาศ ได้ ปรากฏว่ากายเบา ใจเบาย่งิ กว่าสำ� ลี แต่เวลา ไปทำ� ความเพียรเข้าจรงิ ๆ
ให้สมกบั ใจทจี่ ะเหาะลอยอย่ขู ณะนน้ั แต่กลับกลายเปน็ เหมอื นลากภูเขาท้ังลกู ทง้ั หนักท้งั ฝดื ซ่ึง
นา่ โม โหแทบมดุ ดนิ ลง ไปอย่ ูใต้พภิ พ ไม่อยาก ให้ ใครเห็นหน้าเลย พอดีกับจิตที่หยาบคายร้ายเลว
เอาเสยี จริง ๆ ไมย่ อมฟงั อะ ไรกบั ใครเอางา่ ย ๆ
นี้เขียนตามความหยาบความหนาของตวั ใหท้ ่าน ได้อา่ นบ้าง เพือ่ ทราบความจมดง่ิ ของ ใจที่
ถกู บรรจุเครื่องทำ� ลายและกดถว่ ง ไว้อย่างอัดแน่น ว่าเปน็ จิตที่แสนจะฉดุ ลากและฝึกทรมานยาก
ถ้า ไม่เอาจริง ๆ กับมันต้องนับวันจะพาเจ้าของจมด่ิงลงสู่ความต่�ำทราม ได้อย่าง ไม่เลือกกาลสถานที่
และเพศวัยเลย ท่านผูพ้ ยายามฝกึ จติ ดวงแสนพยศมาประจำ� กำ� เนดิ ภพ – ชาต ิใหห้ ายพยศดำ� รงตน
อยู่ โดยอิสระเสีย ได้ จึงเป็นบุคคลท่นี ่ากราบ ไหว้บูชาอยา่ งย่งิ ดังพระพทุ ธเจา้ และพระสาวกเปน็
ตวั อยา่ ง สมยั ปจั จบุ นั พดู ตามความสนทิ ใจของผเู้ ขียน ก็คอื พระอาจารยม์ ่ันท่พี วกเรากำ� ลังอา่ น
ประวัติทา่ นอยูเ่ วลาน้ี ทีเ่ ป็นผ้หู นึง่ ในบรรดาปจั ฉมิ สาวกของพระพทุ ธองค์ ทา่ นเป็นผอู้ าจหาญ
ชาญชยั ทางขอ้ วัตรปฏบิ ตั ิเครื่องดำ� เนิน ไม่ยอมลดหย่อนผ่อนคลาย ไปตามอำ� นาจฝา่ ยต�่ำตลอดมา
แมก้ ้าวเข้าวยั ชราควรจะอยู่สบายตามวิบากขันธ์ ไม่ต้องขวนขวายกบั กจิ การภาย ในคือสมณธรรม
ทางสมาธิภาวนา แตก่ ารเดินจงกรมภาวนาตามเวลาทเ่ี คยท�ำมาน้นั พระหน่มุ ๆ ยงั ส ู้ไม่ ได้ และ
กิจภายนอกเกี่ยวกับการอบรมสั่งสอนบรรดาศิษย์ท่านก็อนุเคราะห์ด้วยจิตเมตตาเสมอมา ไม่เคย
ทอดอาลัย การเทศน์อบรม โดยมากทา่ นมกั เทศน ์ไปตามนิสัยทเ่ี คยเดด็ เดี่ยวมาแลว้ ไม่ค่อยท้งิ
ลวดลายของนกั ตอ่ สตู้ ลอดมา คอื เทศนเ์ ปน็ เชิงปลุก ใจผูฟ้ ัง ใหม้ คี วามอาจหาญรา่ เรงิ ในปฏิปทาเพ่ือ
แดนพน้ ทุกขเ์ ป็นส่วนมากกวา่ จะเทศน์อนุ โลม อันเป็นการกลอ่ ม ใจของคนท่มี ีนิสัยออ่ นแอประจ�ำ
สนั ดานอยแู่ ลว้ ให้เคลมิ้ หลบั ไป ในขณะทฟ่ี งั และวาระต่อ ไป
271
พระอาจารยม์ ่นั ท่านเปน็ ผเู้ ทดิ ทนู ศาสนธรรม ไว ้ได้ทัง้ ทางปริยัติ ปฏิบัติ และปฏเิ วธธรรม
เต็มภูมิที่สมัยสาวกหายาก เฉพาะอย่างยิ่งธุดงควัตร ๑๓ ข้อท่ีแทบจะขาดความสน ใจ ในวง
พุทธบรษิ ัทอยู่เสมอมา ไม่ค่อยมีผฟู้ น้ื ฟขู ้นึ มาปฏบิ ตั ิกัน ใหเ้ ปน็ เนอื้ เปน็ หนงั บา้ งเหมอื นธรรมอ่ืน ๆ
ที่ธุดงค์เหล่านี้ปรากฏเด่น ในสายตาและเกิดความสน ใจปฏิบัติกัน ในวงพระธุดงค์ท้ังหลายสมัย
ปัจจบุ ันกเ็ พราะทา่ นอาจารยเ์ สาร์ ท่านอาจารย์มั่น เปน็ ผู้พาด�ำเนินอยา่ งเอาจริงตลอดมา ในภาค
อสี าน ธุดงค์ทั้ง ๑๓ ขอ้ นที้ ่านอาจารยท์ ้งั สองเคยปฏิบัตมิ าแทบทุกขอ้ ตามสถานท่แี ละ โอกาส
เป็นแต่เพียง ไม่ ได้ปฏิบัติเป็นประจ�ำเหมือนธุดงค์ข้อที่ระบุ ไว้ ในประวัติท่านซ่ึงเขียนผ่านมาแล้ว
เทา่ น้ัน คือป่าชา้ ท่านก็เคยอยูม่ าจนจ�ำเจ อพั โภกาสท่านกเ็ คยอยมู่ า โคน ไม้ทา่ นกเ็ คยอย่มู าจน
เคยชิน ที่ ไดเ้ หน็ พระธุดงค์ทางภาคอีสานซ่ึงเป็นสายของท่านอาจารยท์ ั้งสองปฏบิ ัติกนั มาก็ลว้ น
ด�ำเนินตามท่ที ่านพาด�ำเนนิ ให้เหน็ รอ่ งรอยมาแลว้ ทั้งนั้น
ทา่ นอาจารย์เสาร์ ทา่ นอาจารย์มัน่ ทา่ นฉลาดแหลมคมมาก รู้ความส�ำคัญของธดุ งค์ท้งั
๑๓ ขอ้ วา่ เปน็ เครอื่ งมอื ปดิ ชอ่ งทางออกแหง่ กเิ ลสของพระธดุ งค ์ไดด้ มี าก เพราะถา้ ไมม่ ธี ดุ งคเ์ หลา่ นี้
ชว่ ยปดิ ชอ่ ง ไว้บ้าง กเิ ลสของพระธดุ งค์ท่ีสกั แต่ชื่อกร็ ู้สกึ จะเพน่ พ่านเอามาก และอาจจะทำ� ความ
ร�ำคาญแกป่ ระสาทของผู้อน่ื พอดู แตพ่ ระธดุ งคท์ มี่ ธี รรมเหล่านช้ี ว่ ยบ้างกพ็ อท�ำ ใหเ้ บา ใจแกต่ ัวเอง
และผู้อ่ืนจะทนดู ได้ ไม่แสลงตาแสลง ใจจนเกิน ไป ธุดงค์แต่ละข้อรู้สึกเป็นธรรมกระซิบ ใจ ได้ดี
ไม่เผลอตัว ไปมากและ ไมเ่ ผลอตัว พอจิตคิด ไป ในทางผิด ซงึ่ เป็นข้าศกึ กับธุดงค์ข้อ ใด ใจกลบั
รูส้ ึกได ้ในธดุ งคข์ ้อน้ันทนั ทีแลว้ ทำ� ความระวังและแก้ ไขตนต่อ ไป ธดุ งค์เป็นธรรมละเอียดลออมาก
และมีความหมายอย่างเต็มตัวทุกข้อ ไป ทั้งสามารถแก้กิเลส ในหัว ใจของสัตว์ ได้ โดยส้ินเชิงด้วย
ธุดงค์ข้อนน้ั ๆ อยา่ ง ไม่มีปญั หา ขอแต่ผ้ปู ฏบิ ตั คิ ดิ ให้ถึงความจริงของธุดงคข์ อ้ นั้น ๆ แล้วน�ำมา
ปฏบิ ัติต่อตนเองด้วยดเี ท่านนั้ จะเหน็ วา่ กิเลสทุกประเภทอยู่ ในข่ายของธดุ งค์เหลา่ น้นั จะเป็นธรรม
ปราบปราม ใหส้ นิ้ ซาก ไปทง้ั สิ้น ไม่มกี ิเลสตัว ใดจะเหนืออำ� นาจธดุ งค ์ไป ได้ เทา่ ทกี่ เิ ลส ไม่ค่อยกลวั
เรานักก็เพราะเรากลัวธดุ งคจ์ ะทำ� ความล�ำบาก ให้แก่ตนท่ีปฏบิ ัติตาม สว่ นกิเลสจะทำ� ความล�ำบาก
แก่เราเพียง ไร เมอ่ื ไมม่ ธี ดุ งคธรรมเป็นเคร่อื งปราบปรามน้ันรู้สกึ จะเปน็ ช่อง โหว่ของคน จงึ เป็น
ช่องทาง ใหเ้ ผลอตวั ไปต�ำหนิธุดงคว์ า่ ปฏบิ ตั ิยากเสยี บ้าง หรอื บางหวั ใจอาจคิด ไปว่าธดุ งคล์ ้าสมยั
เสียบา้ งก็ ไม่อาจทราบ ได้
ในขณะท่ีความคดิ กลับเป็นขา้ ศึกแกต่ น กิเลสจงึ ได้รับความนิยมนับถอื อยู่อยา่ งลกึ ลบั โดย
ผู้ชมเชยก็ ไม่อาจทราบ ได้ แตผ่ ลของมันทีเ่ กดิ จากการส่งเสริมชมเชยผลิตออกมา ให ้โลก ได้รบั เสวย
นนั้ เป็นสิ่งเปดิ เผยอย่ตู ลอดเวลาแทบพูด ได้ว่าเป็นอกาล ิโก การปฏบิ ัติตามธดุ งค ์ไมว่ ่าข้อ ใดย่อม
272
เปน็ ความสงา่ งามนา่ ดู ทง้ั เป็นผู้เลยี้ งง่าย กนิ ง่าย นอนงา่ ย เครือ่ ง ใชส้ อยของผมู้ ีธดุ งค์อยู ่ใน ใจ
บา้ ง ย่อมถอื เป็นความสบาย ไปตลอดสาย เปน็ ผ้เู บากายเบา ใจ ไม่พะรงุ พะรังทง้ั ทางอารมณ์และ
เครอื่ งเปน็ อยู่ตา่ ง ๆ ธดุ งค์เหลา่ น้แี มฆ้ ราวาสจะเลอื กน�ำ ไป ใช ้ในบางขอ้ เพอ่ื เปน็ ประ โยชนแ์ ก่ตน
ก็ย่อม ได้เช่นเดียวกับพระ เพราะกิเลสของฆราวาสกับกิเลสของพระมันเป็นประเภทเดียวกัน
ธดุ งคเ์ ปน็ ธรรมแก้กเิ ลสจึงควรน�ำ ไปปฏบิ ตั เิ พ่ือแกก้ เิ ลส ไดเ้ ชน่ เดียวกัน ตามฐานะและเพศของตน
จะอ�ำนวย ธุดงค์เป็นคุณธรรมท่ีสูงอย่างลึกลับ ยากที่เราจะทราบ ได้ตามความจริงของธดุ งค์
แต่ละข้อ ผเู้ ขียนเองก็ตะเกียกตะกายเขียน ไปแบบปา่ ๆ ตามนสิ ยั อยา่ งนน่ั แล ไม่ ไดม้ ีความรู้
ความเข้า ใจ ในธดุ งค์เท่าทีค่ วรอะ ไรเลย แต่หัว ใจมกี ็เขียนสมุ่ ๆ ไ ปอย่างน้นั เอง จึงขออภยั ด้วย
คณุ สมบัติของธดุ งคท์ ง้ั หลาย ไมอ่ าจพรรณนา ให้จบส้นิ ลง ได้ เพราะเป็นธรรมทีล่ ะเอียด
สขุ มุ มาก ท้งั สามารถทำ� ให้ผ้รู ัก ใคร ่ใฝ ่ใจปฏิบัต ิในธุดงค์ สำ� เร็จ ไดค้ ุณธรรมต้ังแต่ขนั้ ตำ่� จนถึงขั้น
อริยชน ได้ ไม่นอก ไปจากธดุ งคเ์ หล่านีเ้ ลย ท่านอาจารยม์ นั่ เป็นอาจารยผ์ นู้ �ำบรรดาศิษยพ์ าด�ำเนิน
มาตลอดสายจนถึงวาระสุดท้าย หมดก�ำลังแล้วจงึ ปลอ่ ยวางพรอ้ มกบั สังขารทต่ี ดิ แนบกบั องคท์ ่าน
ฉะน้ัน ธุดงควตั ร จึงเป็นธรรมจ�ำเป็นส�ำหรบั ผมู้ ุ่งชำ� ระกเิ ลสทกุ ประเภทภาย ใน ใจ ให้ส้ิน ไป จะ
ทอดธุระวา่ ธดุ งค์ ไม่ ใช่ธรรมจำ� เป็นเสยี ม ิได้ แตจ่ ะ ไมข่ ออธิบายคุณสมบัติของธุดงค์แตล่ ะขอ้ ว่ามี
คุณคา่ และความจำ� เปน็ แก่เราอย่าง ไรบ้าง กรุณาทา่ นผสู้ น ใจพจิ ารณาตีแผ่เอาเอง อาจ ได้ความ
ละเอียดและเกิดประ โยชนแ์ กต่ วั ท่านเองมากกว่าผู้อ่ืนอธบิ าย ใหฟ้ ังเสียอีก ผูเ้ ขยี นเคยพจิ ารณา
และเหน็ ผลมาบา้ งตามภาษา นบั แตเ่ รม่ิ ออกปฏบิ ตั จิ นทกุ วนั นเี้ ทา่ ทส่ี ามารถ เพราะเหน็ วา่ เปน็ ธรรม
จำเป็นประจ�ำตัวตลอดมาและตลอด ไป ท่านผู้มุ่งต่อความส้ินกิเลสท้ังประเภทที่หยาบ โลนและ
ประเภทท่ลี ะเอยี ดสดุ จงึ ไม่ควรมองข้ามธุดงค์ ไป โดยเห็นวา่ ไม่สามารถถอดถอนกเิ ลส ได้
ท่านพระอาจารย์มั่นเร่ิมป่วยและเร่ิมลาวัฏฏะวนเป็นครั้งสุดท้าย
พอทา่ นจ�ำพรรษาวัดหนองผอื ปีที่ ๕ ผา่ น ไปแล้ว ตกหนา้ แลง้ ราวเดือนมีนาคม พ.ศ.
๒๔๙๒ ทางจนั ทรคตจิ ำ� ไดว้ า่ เปน็ วันข้ึน ๑๔ เดอื น ๔ เป็นวันสังขารท่านเรมิ่ แสดงอาการ ไม่สนิท
ทจี่ ะครองขนั ธต์ ่อ ไปดังทีเ่ คยเปน็ มาแลว้ ๗๙ ปี วันน้นั เปน็ วันทีท่ ่านเรม่ิ ป่วยอันเปน็ สาเหตุลุกลาม
ไปถึงจุดสุดท้ายของสังขารท่ีครองตัวมาเป็นเวลานาน วันนั้น ได้แสดงความสั่นสะเทือนขึ้นมาแก่
ขนั ธปญั จกทา่ นและพระสงฆ ์ในวง ใกลช้ ดิ โดยเร่มิ แรกม ีไข้และ ไอผสมกัน ไม่นานนัก มีแตอ่ าการ
สมุ ๆ ไปแทบท้ังวนั ทง้ั คนื ไม่ค่อยมเี วลาสรา่ ง นบั แตว่ นั แรกเป็นท่านแสดงออกเปน็ อาการผดิ ปรกติ
ที่น่าวิตกด้วยแล้ว ท�ำ ให้คนดี ไม่น่า ไว้ ใจเลย องค์ท่านทราบอย่างประจักษ์ ไม่มีทางสงสัยว่า
273
ไขค้ ราวนเ้ี ปน็ ไขค้ รงั้ สดุ ทา้ ย ไมม่ ที างหาย ไดด้ ว้ ยวธิ แี ละยาขนาน ใด ๆ ทง้ั สนิ้ ฉะนน้ั ทา่ นจงึ เผดยี ง
ใหบ้ รรดาศิษย์ทราบตงั้ แต่เริม่ แรกเป็น และ ไมส่ น ใจกับหยูกยาอะ ไรเลยนอกจากแสดงอาการเปน็
ความร�ำคาญเวลามผี นู้ ำ� ยาเขา้ ไปถวาย ใหฉ้ นั เทา่ นนั้ โดยบอกวา่ ไขน้ ม้ี นั เปน็ ไขข้ องคนแกซ่ งึ่ หมดความ
สบื ตอ่ ใด ๆ อกี แลว้ ไมว่ ่ายาขนาน ใดมา ใส่จะ ไมม่ ีวนั หาย มีเพยี งลมหาย ใจทีร่ อวนั ตายอยูเ่ ท่านนั้
เช่นเดียวกับ ไม้ท่ีตายยืนต้น แม้จะรดน้�ำพรวนดิน ให้ฟื้นเพื่อผลิดอกออก ใบก็ ไม่มีทางเป็น ไป ได้
รออยู่พอถึงวัน โค่นล้มลงจมดินของมันเท่าน้ัน ไข้ที่เริ่มเป็นอยู่เวลานี้ก็เป็น ไข้ประเภทนั้นน่ันแล
จะผดิ กนั อะ ไรเลา่ ผม ได้พจิ ารณาประจกั ษ ์ใจแลว้ แต ่ไขย้ งั ไมเ่ ร่มิ ปรากฏ โนน้ ฉะนั้น จึง ไดเ้ ตอื น
หมูเ่ พ่อื นเสมอว่าอยา่ พากนั นอน ใจ รีบเรง่ ทางความเพียรขณะทีผ่ มยงั มชี วี ติ อยู่ ตดิ ขัดอะ ไรจะ ได้
ชว่ ยแก ้ไข ใหท้ นั กับเหตกุ ารณ์ อยา่ ให้ผดิ พลาดและเสียเวลานาน ผมจะอยู่กับหม่เู พอื่ น ไปอกี
ไม่นานกจ็ ะจาก ไปตามกฎของอนิจจฺ ทํ ่เี ดินตามสังขารอยู่ทุกเวลา ไม่ลดละ อย่าง ไรก็ ไม่เลย ๓ ปี
น่เี ปน็ ค�ำทเี่ คยเตือนล่วงหนา้ มา ได้ ๓ ปีเขา้ น้แี ลว้ จะ ใหผ้ มเตือนอยา่ ง ไรอีก จะพดู ให้เคล่ือนจาก
ทแี่ น ่ใจอยแู่ ล้วนี ้ไป ไม่ ได้ งานของวฏั ฏจกั รท่ที ำ� บนรา่ งกายจติ ใจของคนและสตั วเ์ ขากท็ �ำของเขา
อยทู่ กุ เวลานาที นกี้ เ็ ปน็ งานครง้ั สดุ ทา้ ยของเขาทท่ี ำ� อยบู่ นรา่ งกายผม ซงึ่ จะเสรจ็ สนิ้ ไปภาย ใน ไมก่ ่ี
เดอื นน้ี จะ ใหเ้ ขาเปลย่ี นแปลงงานเขาอยา่ ง ไร ได้ดงั น้ี
อาการทา่ นนับแตว่ ันเริม่ เปน็ มีแต่ทรงกบั ทรดุ ไปวนั ละเลก็ ละนอ้ ย คอ่ ย ๆ ขยับ ไป โดย ไม่
สน ใจกบั หยูกยาอะ ไรท้ังสิ้น เวลาถกู อาราธนา ใหท้ า่ นฉันยารสู้ กึ ทา่ นแสดงความรำ� คาญอยา่ งเหน็
ได้ชดั ทกุ ๆ ครง้ั ท่ีขอรบกวน แต่กท็ นคนหมู่มาก ไม่ ไหว เพราะคนน้ันก็วา่ ยานั้นดี คนนีก้ ว็ ่ายานี้ดี
ฉันแลว้ หาย ใครฉันแลว้ มีแต่หายกนั จึงอยากขออาราธนาทา่ นอาจารย ์ได้ โปรดเมตตาบา้ ง จะ ได้
หายและ โปรดบรรดาลกู ศษิ ยล์ กู หา ไปนาน ๆ ทา่ นเตอื นเสมอวา่ ยา ไมเ่ ปน็ ประ โยชนก์ บั ไขข้ องผม ใน
ครง้ั นี้ มแี ตฟ่ ืนเท่าน้ันจะเขา้ กัน ได้สนทิ ทา่ นพดู ห้ามเท่า ไรกข็ อวงิ วอน จงึ ได้ฉัน ใหเ้ สียบา้ งทลี ะนดิ
ทลี ะหนอ่ ยตามค�ำขอรอ้ งของคนหมูม่ าก พอ ไม่ ใหเ้ สยี ใจนกั วา่ ท่านทอดอาลยั ในสงั ขารเกนิ ไป
เมอื่ ขา่ วว่าทา่ นปว่ ย ไปถงึ ไหน ใครทราบก็มาถงึ นั้น ทั้งพระท้ังฆราวาสพากันหลง่ั ไหลมา
แทบทกุ ทศิ ทุกทาง มิ ได้คำ� นึงวา่ ทาง ไกลหรอื ใกล้ หน้าแลง้ หรือหนา้ ฝน ผ้คู นหลง่ั ไหลเข้า ไปเยย่ี ม
ท่านยิง่ กว่าฝนทีท่ ง้ั ตกทงั้ พร�ำเสยี อกี บ้านหนองผืออย่ ูในปา่ และหบุ เขา ทง้ั หา่ ง ไกลจากถนน ใหญ่
สายอุดร – สกล ฯ ราว ๕๐๐ – ๖๐๐ เสน้ มิ ไดส้ น ใจวา่ ไกลและล�ำบาก ซึ่ง โดยมากเดนิ กัน ด้วย
เทา้ เปลา่ เขา้ ไปหาทา่ น นอกจากคนแก ่ ๆ เดนิ ไม ่ไหวกว็ า่ จา้ งลอ้ เกวยี นเขาเขา้ ไป เฉพาะทา่ นเอง
ชอบอยอู่ งคเ์ ดยี วเงียบ ๆ ตามอธั ยาศัย แมพ้ ระเณรก็ ไมอ่ ยาก ให้เขา้ ไปเก่ยี วขอ้ งถ้า ไม่จำ� เป็นจรงิ ๆ
ดังน้ัน เมื่อมีผู้คนพระเณรเข้า ไปเก่ียวข้องมาก ๆ รู้สึกขัดกับอัธยาศัยที่ท่าน ไม่เคยด�ำเนินมา จึง
274
ไม่อยากเกี่ยวข้องกับเรื่อง ใด ๆ ทั้งสิ้น เพียงพระเณรซ่ึงเป็นลูกศิษย์ ใกล้ชิดภาย ในวัดท่านยัง ไม่
ประสงค ์ใหเ้ ขา้ ไปเกี่ยวข้องเลย แตค่ วามจ�ำเปน็ มกี จ็ �ำต้องอน ุโลมผอ่ นผนั เปน็ บางกาล แมเ้ ช่นนั้นก็
จำ� ต้องระมดั ระวังกันอยา่ งมาก
ขณะเขา้ ไปเก่ยี วข้องท่านด้วยกิจธุระจำ� เป็น ไม่ ให้เข้า ไปแบบสุม่ ส่สี ุ่มห้าตลอดข้อวตั รทคี่ วร
ท�ำถวายท่าน ในเวลาจ�ำเป็น ก็ต้องจัดพระเณรองค์ท่ีเห็นสมควร ไว้ ใจ ได้เป็นผู้จัดท�ำถวายเป็น
คราว ๆ ไ ป สิ่งท่เี กี่ยวกบั ทา่ นตอ้ งมีพระผู้มอี าวุ โสและฉลาดพอควรเป็นผู้คอยควบคุมดูแล ให้เห็น
สมควรก่อนค่อยท�ำลง ไปทุกกรณี เพราะท่านอาจารย์เป็นผู้รอบคอบและละเอียดมากตามปรกติ
นิสัย ผเู้ ข้า ไปเกี่ยวขอ้ งจงึ ควร ได้รับการพจิ ารณากันพอสมควร เพ่อื ไม่ ให้ขดั กบั อัธยาศัยท่านซ่ึง
เป็นเวลาทีจ่ �ำเป็นอย่างย่งิ เมื่อมปี ระชาชนพระเณรมาจากที่ตา่ ง ๆ ประสงค์จะเข้ากราบเยยี่ มท่าน
ทางวัดต้องขอ ให้รออยู่ท่ีสมควรก่อน แล้วมีพระผู้เคยปฏิบัติทางนี้เห็นเป็นกาลอันควรแล้วเข้า ไป
กราบเรียน ให้ทา่ นทราบ เม่อื ท่านอนุญาตแล้วค่อยมาบอก ให้เขา้ ไป โดยมพี ระ ในวัดองค์สมควร
น�ำเข้า ไปกราบท่าน มีอะ ไรท่านก็แสดง โปรดท่านเหล่าน้ันตามอัธยาศัย พอสมควรแลว้ ก็พา
กราบลาทา่ นออกมา การพาแขกเข้ากราบเยี่ยมท่าน ทางวัด ได้ปฏบิ ัตอิ ย่างนี้ตลอดมา และพาเข้า
กราบเย่ยี มเปน็ คราว ๆ ไป ตามแตแ่ ขกมีมากน้อยซง่ึ มา ในเวลาตา่ งกัน เฉพาะพระอาจารยท์ ่ีเคย
เปน็ ลกู ศิษย์ทา่ นมาแลว้ และมคี วามสนิทกับท่านเปน็ พิเศษ กเ็ ปน็ เพียง ไปกราบเรียน ให้ท่านทราบ
ว่าท่านอาจารยน์ น้ั จะมากราบเยีย่ ม เมือ่ ทา่ นอนญุ าตแลว้ ก็เข้ากราบเยี่ยมและสนทนาธรรมกนั ตาม
อธั ยาศัยทง้ั สองฝ่าย
อาการป่วยทา่ นคอ่ ยเปน็ ไปเร่อื ย ๆ ไ ม่ผาด โผนรุนแรง แต่ ไม่คอ่ ยเป็นปรกตสิ ุข ได้ ถา้ เปน็
สงครามก็แบบสงคราม ใต้ดินค่อยขยับเข้าทีละเล็กละน้อย จนกลายเป็นสงคราม ไปทั่วดินแดน
และกลายเป็นแดนยึดครอง ไปทวั่ พภิ พ ไม่มสี ่วนเหลือเลย พอท่านซึง่ เป็นจุดหวั ใจของส่วนรวม
เริม่ ป่วยลงเท่านน้ั มองดูพระเณร ในวดั รู้สกึ เศรา้ หมองทางอาการ ไมค่ ่อยแช่มช่นื เบิกบานเหมอื น
แต่ก่อน มองดหู นา้ ตากนั ก็มองแบบเศรา้ ๆ ไ ม่ผอ่ ง ใสทางอาการ ตลอดการสนทนากนั กต็ ้องยก
เร่อื งป่วยทา่ นอาจารย์ขนึ้ สนทนาก่อนจะกระจาย ไปเร่ืองอนื่ ๆ แล้วกต็ ้องมายตุ ิกันทเี่ รือ่ งของทา่ น
อกี แต่การ ให ้โอวาทสั่งสอนพระเณร ท่านยังคงมเี มตตาอนุเคราะห์อยู่อย่างสม่�ำเสมอมิ ไดท้ อด
ธุระ เปน็ แต ่ไม ่ได้ชีแ้ จงขอ้ อรรถขอ้ ธรรม ให้ละเอยี ดลออ ได้เต็มความเมตตาเหมอื นแตก่ ่อนเท่านน้ั
พออธบิ ายธรรมจบลงและชแี้ จงจดุ สงสัยของผเู้ รยี นถามเสร็จสน้ิ ลงแลว้ ก็ส่งั ให้เลิกกนั ไปประกอบ
ความเพียร องค์ทา่ นเองก็เขา้ พักผ่อน ขณะทีท่ ่านแสดงธรรมปรากฏวา่ ไม่มีความ ไมส่ บายแฝง
อยเู่ ลย แสดงอยา่ งฉะฉานร่าเริง เสยี งกด็ งั และกงั วาน ลกั ษณะอาการอาจหาญ เหมือนคน
275
ไม่ป่วยเปน็ อะ ไรเลย การเร่งและเนน้ หนัก ในธรรมเพอ่ื ผู้ฟังกเ็ น้นลงอย่างถึง ใจจรงิ ๆ ไม่มีความ
สะทกสะทา้ นใด ๆ ปรากฏ ในเวลานั้น ทุกอาการที่แสดงออกเหมือนท่าน ไม่ ไดเ้ ปน็ อะ ไรเลย พอ
จบการแสดงแลว้ ถึงจะทราบว่าอาการทา่ นอ่อนเพลียและต้องการพักผอ่ น พอทราบอาการเชน่ น้ัน
ต่างก็รบี ให ้โอกาสทา่ น ได้พกั ผ่อนตามอธั ยาศัย
ท่านเทศน์อัศจรรย์ครั้งสุดท้าย
วันมาฆบชู า เดือนสามเพ็ญ พ.ศ. ๒๔๙๒ กอ่ นท่านจะเริ่มป่วยเล็กนอ้ ย วันนั้นท่านเร่มิ
เทศนแ์ ต่เวลา ๒ ทุ่มจนถึงเวลา ๖ ทุ่มเทยี่ งคนื รวมเป็นเวลา ๔ ช่วั โมง อ�ำนาจธรรมท่ีท่าน
แสดง ในวันน้ันเป็นความอัศจรรย์ประจักษ์ ใจของพระธุดงค์ที่มารวมกันอยู่เป็นจ�ำนวนมาก โดยทั่ว
กนั ประหนง่ึ โลกธาตดุ บั สนทิ ไมม่ อี ะ ไรเหลอื อยู่เลย ปรากฏแตก่ ระแสธรรมท่านแผค่ รอบ ไปหมด
ทว่ั ไตร โลกธาตแุ ทน โลกทัง้ สาม โดยยกพระอรหนั ต์ ๑,๒๕๐ องค์ท่ีตา่ งมาเองสู่ที่ประชมุ ณ
พุทธสถาน โดย ไม่มี ใครอาราธนานิมนต์หรือนัดแนะข้ึนแสดงว่าท่านเป็นวิสุทธิบุคคลล้วน ๆ ไม่มีคน
มีกิเลสเข้าสบั ปนเลยแม้คนเดียว การแสดง โอวาทปาฏ ิโมกขพ์ ระพทุ ธเจ้าทรงแสดงเองเปน็ วิสุทธิ
อุ โบสถ คืออ ุโบสถ ในทา่ มกลางแห่งบุคคลผู้บริสทุ ธ์ลิ ้วน ๆ ไมเ่ หมือนพวกเราซง่ึ แสดงปาฏ ิโมกข์
ในท่ามกลางแห่งบุคคลผู้มีกิเลสลว้ น ๆ ไมม่ บี คุ คลผู้สนิ้ กเิ ลสสบั ปนอยเู่ ลยแม้คนเดียว ฟงั แล้ว
น่าสลดสังเวชอย่างย่ิงที่พวกเราก็เป็นคนผู้หน่ึงหรือเป็นพระองค์หน่ึง ในความเป็นศากยบุตรของ
พระองคอ์ งคเ์ ดยี วกัน แตม่ ันเปน็ เพียงช่อื ไมม่ คี วามจริงแฝงอยู่บา้ งเลย เหมอื นคนท่ีช่อื วา่ พระบุญ
เณรบญุ และนายบุญ นางบญุ แต่เขาเป็นคนข้ีบาปหาบแต ่โทษและอาบัติ ใส่ตัวแทบก้าวเดนิ ไป
ไม่ ได้
สมยั โน้นท่านทำ� จริงจึงพบแตข่ องจรงิ พระจรงิ ธรรมจริง ไม่ปลอมแปลง ตกมาสมยั
พวกเรากลายเปน็ มีแตช่ ่ือเสยี งเรืองนามสงู ส่งจรดพระอาทิตย์ พระจันทร์ แตค่ วามทำ� ต�่ำยิ่งกว่า
ขุมนรกอเวจี แล้วจะหาความดี ความจรงิ ความบรสิ ุทธม์ิ าจาก ไหน เพราะส่งิ ทีท่ �ำมนั กลายเปน็
งานพอกพนู กเิ ลสและบาปกรรม ไปเสยี มาก มิ ไดเ้ ป็นงานถอดถอนกเิ ลส ให้สนิ้ ไปจาก ใจ แลว้ จะ
เปน็ วสิ ุทธิอุ โบสถขน้ึ มา ได้อย่าง ไรกัน บวชมาเอาแตช่ ่ือเสยี งเพยี งว่าตนเป็นพระเปน็ เณรแลว้ ก็
ลืมตวั มัวแตย่ ศวา่ ตนเปน็ ผูม้ ศี ลี มีธรรม แตศ่ ีลธรรมอันแทจ้ รงิ ของพระของเณรตามพระ โอวาทของ
พระองคแ์ ท้ ๆ นน้ั คืออะ ไร กย็ ัง ไม่เข้า ใจกนั เลย ถ้าเขา้ ใจ ใน โอวาทปาฏ ิโมกขท์ า่ นสอนว่าอย่าง ไร
น่ันแลคือองค์ศีลองค์ธรรมแท้ ทา่ นแสดงย่อเอาแต่ ใจความวา่ การ ไม่ท�ำบาปทัง้ ปวงหนึง่ การยัง
กศุ ลคอื ความฉลาด ให้ถึงพร้อมหน่งึ การช�ำระจติ ของตน ใหผ้ อ่ งแผว้ หนึ่ง นีแ่ ลเปน็ ค�ำส่ังสอนของ
276
พระพทุ ธเจา้ ท้ังหลาย
การ ไม่ท�ำบาป ถ้าทางกาย ไม่ทำ� แตท่ างวาจาก็ทำ� อยู่ ถ้าทางวาจา ไมท่ ำ� แตท่ าง ใจกท็ ำ�
และสงั่ สมบาปวันยงั คำ่� จนถึงเวลาหลับ พอตื่นจากนอนก็เร่มิ สัง่ สมบาปต่อ ไปจนถงึ ขณะหลบั อกี
เป็นอยู่ทำ� นองน้ี โดยม ิได้สน ใจคิดว่าตัวท�ำบาปหรอื สัง่ สมบาปเลย แม้เช่นนั้นยงั หวงั ใจอยวู่ ่าตน
มศี ลี มธี รรมและคอยเอาแตค่ วามบรสิ ทุ ธจ์ิ ากความมศี ลี มธี รรมทยี่ งั เหลอื แตช่ อ่ื นนั้ ฉะนนั้ จงึ ไมเ่ จอ
ความบริสุทธิ์ กลับเจอแตค่ วามเศร้าหมองวุ่นวายภาย ใน ใจอย่ตู ลอดเวลา ท้ังนี้กเ็ พราะตนแสวงหา
สิง่ นัน้ ก็ตอ้ งเจอสง่ิ น้ัน ถ้า ไมเ่ จอสิง่ นัน้ จะ ให้เจออะ ไรเลา่ คนเราแสวงหาสิ่ง ใดกต็ ้องเจอส่งิ นั้น
เป็นธรรมดา เพราะเปน็ ของมอี ยู่ ใน โลกสมมุติอยา่ งสมบรู ณ์ ท่ีทา่ นแสดงอยา่ งนแี้ สดง โดยหลัก
ธรรมชาตขิ องศีลธรรมทางด้านปฏบิ ตั เิ พอ่ื นกั ปฏิบตั ิได้ทราบอยา่ งถงึ ใจ
ล�ำดบั ต่อ ไปท่านแสดง สมาธิ ปญั ญา ตลอดวมิ ตุ ตหิ ลดุ พ้นอยา่ งเตม็ ภมู ิและเปดิ เผย
ไม่ปดิ บงั ลล้ี บั อะ ไรเลย ในวนั นน้ั แตจ่ ะ ไมข่ ออธบิ ายเพราะเคยอธบิ ายและเขยี นลงบา้ งแลว้ ขณะนน้ั
ผฟู้ งั ทัง้ หลายนั่งเงียบเหมือนหัวตอ ตลอดกณั ฑ์ ไม่มีเสียงอะ ไรรบกวนธรรมที่ท่านก�ำลังแสดงอย่าง
เตม็ ที่เลย
ตอนสดุ ท้ายแหง่ การแสดงธรรม ท่านพูดทำ� นองพูดท่วี ดั เจดยี ห์ ลวง จังหวดั เชียง ใหม่วา่
กณั ฑ์นเ้ี ทศนซ์ �ำ้ เฒา่ ตอ่ ไปจะ ไม่ ไดเ้ ทศนท์ ำ� นองนี้อกี แล้วก็จบลง ค�ำนัน้ ไดก้ ลายเปน็ ความจรงิ
ขึน้ มาดงั ท่านพูด ไว้ นบั แตว่ นั นน้ั แลว้ ทา่ นม ิได้เทศน์ทำ� นองน้นั อีกเลย ทง้ั เนอ้ื ธรรมและการแสดง
นาน ๆ ผิดกบั ครงั้ นนั้ อยมู่ าก หลงั จากน้นั อกี หน่งึ เดือนทา่ นก็เร่ิมปว่ ยกระเสาะกระแสะเร่ือยมา
จนถงึ วาระสดุ ท้ายแห่งขนั ธเ์ สยี จน ได้
แม้ท่านจะ ได้รับความล�ำบากทางขันธ์เพราะ โรคภัยเบียดเบียนจนสุขภาพทรุดลงเป็นล�ำดับ
กต็ าม แตก่ ารบณิ ฑบาต ฉนั ในบาตร และฉันมอื้ เดยี วท่ีเคยดำ� เนนิ มา ทา่ นกย็ ังอตุ สา่ หป์ ระคอง
ของทา่ น ไป ไม่ยอมลดละปล่อยวาง เมื่อ ไมส่ ามารถ ไปสดุ สายบณิ ฑบาต ได้ท่านก็พยายาม ไปเพยี ง
ครง่ึ หม่บู ้านแล้วกลับวัด ต่อมาญาติ โยมและพระอาจารยท์ ้งั หลายเห็นท่านลำ� บากมากกป็ รึกษากนั
ตกลงขออาราธนานิมนต์ทา่ น ไปแค่ประตูวัดแลว้ กลับ ถา้ จะขออาราธนาท่าน ไว ้ไม ่ให้ ไปเลยทา่ น
ไมย่ อม โดย ใหเ้ หตผุ ลวา่ เมอื่ ยงั พอ ไป ไดอ้ ยตู่ อ้ ง ไป ฉะนน้ั จำ� ตอ้ งอน ุโลมตามทา่ น ไม ่ใหข้ ดั อธั ยาศยั
ท่านเองก็พยายาม ไป ไม่ยอมลดละความเพยี รเอาเลย จน ไป ไม ่ไหวจริง ๆ ท่านยังขอบณิ ฑบาตบน
ศาลา โรงฉัน พยายามจนลุกเดนิ ไม ่ได้จงึ ยอมหยดุ บิณฑบาต แม้เชน่ นัน้ ยังขอฉัน ในบาตร และ
ฉันมื้อเดียวตามเดิม เราคนดีต้องอนุ โลมตามความประสงค์ท่านทุกระยะ ไปด้วยความอัศจรรย์
277
ความอดทนของนกั ปราชญ์ชาติอาชา ไนย ไมย่ อมท้ิงลวดลายทเ่ี คยเปน็ นกั ตอ่ ส ู้ไว้ ให้กิเลสย้ือแย่ง
แข่งด ีไดเ้ ลย ถา้ เปน็ พวกเรากน็ า่ กลัวจะถูกหามลงมาฉนั จงั หันนับแต่วนั เรม่ิ รูส้ กึ ว่า ไม่สบาย ซ่ึงเป็น
ทน่ี า่ อบั อายกิเลสท่คี อยหวั เราะเยาะคน ไมเ่ ป็นทา่ อยู่ตลอดเวลา ท่มี านอนคอยเขยี ง ให้กิเลสสับฟนั
หนั่ แหลกอยา่ ง ไม่มีชน้ิ ดี อนั เปน็ ทีน่ ่าสงั เวชเอานกั หนา ถา้ ยงั รู้สกึ เสียดาย เราซ่งึ เปน็ คนทง้ั คนที่
คอยจะเป็นเขียง ใหก้ เิ ลสสับฟนั ก็ควรระลึกถึงปฏปิ ทาของทา่ นอาจารย์ม่ันตอนน ้ีไว้บา้ ง เผ่ือ ไดย้ ดึ
มาเป็นเคร่ืองมือป้องกันตัว ในการต่อสู้กับกิเลส จะ ไม่กลายเป็นเขียง ให้มันหมดท้ังตัวยังพอมี
เคร่ืองหมายสัตตบรุ ษุ พทุ ธบรษิ ัทติดตัวอย่บู า้ ง
อาการทา่ นร้สู ึกหนักเขา้ โดยล�ำดับ จนคนดีที่เกย่ี วขอ้ ง ไมพ่ ากนั นิง่ นอน ใจ ได้ ตอนกลางคนื
ตอ้ งจดั วาระกันคอยรักษาท่านอยา่ งลบั ๆ คราวละ ๓ – ๔ องค์เสมอ แตม่ ิได้เรียน ให้ท่านทราบ
นอกจากท่านจะทราบทางภาย ใน โดยเฉพาะเทา่ นนั้ ทั้งนีเ้ กรงว่าท่านจะห้าม ไม ่ให้ทำ� โดยเหน็ วา่
เป็นภาระกังวลวุ่นวายเกนิ ไป พระเณรทีอ่ ยู่รักษาทา่ นตามวาระก ็ให้อยู ่ใต้ถุนกุฎีท่านอยา่ งเงยี บ ๆ
วาระละ ๒ – ๓ ชวั่ โมง ตลอดรุ่งทุกคนื ซงึ่ เรม่ิ แตย่ งั ไมเ่ ข้าพรรษา พอเหน็ อาการทา่ นหนักมาก
ก็ปรึกษากันแล้วกราบเรียนขอถวายความปลอดภัย ให้ท่าน โดยขอมานั่งสมาธิภาวนาที่เฉลียง
ขา้ งนอกกุฎที า่ นคราวละ ๒ องค์ ทา่ นกอ็ นญุ าต จึง ได้จัด ให้พระอยูบ่ นกุฎที ่านครั้งละ ๒ องค์
อยู่ ใตถ้ นุ ๒ องค์ ตลอด ไป ไม่ ใหข้ าด ได้ นอกจากพระท่จี ดั เปน็ วาระ ไว้ประจ�ำแลว้ ยังมีพระ ในวดั
มาลอบ ๆ มอง ๆ คอยสังเกตการณ์อยูเ่ สมอม ิไดข้ าดตลอดคืน
ท่านดับขันธ์นิพพาน ณ วัดสุทธาวาส
พอออกพรรษาแล้ว พระและครูบาอาจารย์ท่ีจ�ำพรรษาอยู่ ในท่ีต่าง ๆ ก็ทยอยกันมา
กราบเยี่ยมและปฏิบัติทา่ นมากขน้ึ เป็นลำ� ดับ อาการทา่ นรสู้ ึกหนักเข้าทุกวัน ไม่นา่ ไว้ ใจ ทา่ นจึง ได้
ประชุมเตือนบรรดาศิษย์ ให้ทราบ ในการท่ีจะปฏิบัติต่อท่านด้วยความเหมาะสมว่าการป่วยของผม
จวนถงึ วาระเขา้ ทกุ วัน จะพากันคดิ อย่าง ไรก็ควรคิดเสียแตบ่ ดั น้ี จะ ได้ทนั กบั เหตุการณ์ ผมนะ่ ต้อง
ตายแน่นอน ในคราวนดี้ งั ท่ีเคยพดู ไวแ้ ล้วหลายครั้ง แตก่ ารตายของผมเป็นเรอื่ ง ใหญ่ของสตั วแ์ ละ
ประชาชนทว่ั ๆ ไ ปอยู่มาก ดว้ ยเหตนุ ี้ผมจึงเผดียงทา่ นทงั้ หลาย ให้ทราบ ว่าผม ไม่อยากตายอยู่ทีน่ ่ี
ถา้ ตายท่ีน่ีจะเปน็ การกระเทือนและท�ำลายชีวติ สตั ว ์ไมน่ อ้ ยเลย สำ� หรบั ผมตายเพียงคนเดียว แต่
สตั ว์ท่จี ะพลอยตายเพราะผมเป็นเหตนุ นั้ มจี ำ� นวนมากมาย เพราะคนจะมามาก ทั้งท่นี ้ ีไม่มี
ตลาดแลกเปลย่ี นซอื้ ขายกนั นบั แตผ่ มบวชมา ไม่เคยคิด ใหส้ ตั ว์ ได้รับความลำ� บากเดือดรอ้ น โดย
ไม่ตอ้ งพดู ถึงการฆา่ เขาเลย มีแต่ความเมตตาสงสารเป็นพืน้ ฐานของ ใจตลอดมา ทุกเวลา ไดแ้ ผ่
278
เมตตาจิตอทุ ศิ ส่วนกศุ ลแกส่ ตั ว์ ไม่เลอื กหน้า โดย ไม่มปี ระมาณตลอดมา เวลาตายแลว้ จะกลายเป็น
ศัตรูคู่เวรแก่สัตว์ ให้เขาล้มตายลงจากชีวิตที่แสนรักสงวนของแต่ละตัวเพราะผมเป็นต้นเหตุเพียง
คนเดียวนัน้ ผมทำ� ไม่ลง อยา่ ง ไรกข็ อ ให้น�ำผมออก ไปตายที่สกลนคร เพราะทน่ี ั้นเขามตี ลาดอยแู่ ลว้
คง ไม่กระเทือนชีวิตของสัตว์มากเหมือนที่น่ี เพียงผมป่วยยัง ไม่ถึงตายเลยผู้คนพระเณรก็พากัน
หลั่ง ไหลมา ไมห่ ยดุ หยอ่ น และนบั วนั มากข้นึ โดยลำ� ดับ ซึ่งพอเป็นพยานอยา่ งประจักษ์แลว้ ย่งิ ผม
ตายลง ไปผคู้ นพระเณรจะพากันมามากเพยี ง ไรขอ ไดพ้ ากันคิดเอาเอง เพยี งผมคนเดียว ไม่คิดค�ำนงึ
ถงึ ความทุกข์เดอื ดรอ้ นของผ้อู ่ืนเลยนั้น ผมตาย ได้ทกุ กาลสถานที่ ไมอ่ าลยั เสยี ดายรา่ งกายอนั นเี้ ลย
เพราะผม ได้พิจารณาทราบเรื่องของมันตลอดทั่วถึงแล้วว่าเป็นเพียงส่วนผสมแห่งธาตุรวมกันอยู่
ชว่ั ระยะกาลแลว้ กแ็ ตกท�ำลายลง ไปสธู่ าตุเดมิ ของมนั เท่านัน้ จะมาอาลยั เสียดายหาประ โยชนอ์ ะ ไร
เทา่ ทพ่ี ดู นก้ี เ็ พอ่ื ความอนเุ คราะหส์ ตั ว์ อยา่ ใหเ้ ขาตอ้ งมาพรอ้ มกนั ตายเปน็ ปา่ ชา้ ผดี บิ วางขายเกลอ่ื น
อยูต่ ามริมถนนหนทางอนั เปน็ ที่น่าสมเพชเวทนาเอานักหนาเลย ซึง่ ยัง ไมส่ ุดวิสยั ที่จะควรพจิ ารณา
แก ้ไข ได ้ในเวลาน้ี ฉะนนั้ จงึ ขอ ใหร้ บี จดั การ ใหผ้ ม ไดอ้ อก ไปทนั กบั เวลาทย่ี งั ควรอย ู่ในระยะนี้ เพอื่
อนเุ คราะหส์ ตั ว์ทรี่ อตายตามผมอยเู่ ป็นจ�ำนวนมาก ให้เขา ได้มีความปลอดภัย ในชีวติ ของเขา โดย
ทวั่ กนั หรอื ใครมีความเห็นอย่าง ไรกพ็ ูด ได ้ในเวลานี้
ท้ังพระและญาต ิโยมรวมฟังกันอยู่เป็นจ�ำนวนมาก ไมม่ ี ใครพดู ข้นึ มีแตค่ วามสงบเงียบแหง่
บรรยากาศทเ่ี ตม็ ไปดว้ ยความผดิ หวงั ดงั บทธรรมทา่ นวา่ ยมปฺ จิ ฉฺ ํ น ลภติ ตมปฺ ิ ทุกฺขํ ปรารถนา
ไม่สมหวงั ยอ่ มเป็นทุกข์ คือท่านจะอยู่วดั หนองผอื กต็ ้องตาย จะออก ไปสกลนครก็ต้องตาย
ไม่มหี วงั ทัง้ นน้ั ที่ประชุมจึงต่างคนต่างเงียบ หมดทางแก้ ไขทุกประตู จึงเป็นอันพรอ้ มกันยนิ ดี
และตกลงตามความเห็นและความประสงค์ทา่ น ทีแรกญาต ิโยมบา้ นหนองผอื ท้ังบา้ นแสดงความ
ประสงคว์ ่า ขอ ให้ท่านตายทีน่ ่ี เขาจะเปน็ ผจู้ ัดการศพทา่ นเอง แม้จะทกุ ขจ์ นขน้ แคน้ แสนเข็ญ
เพยี ง ไรกต็ าม แตศ่ รทั ธาความเช่ือเลอ่ื ม ใส ในครอู าจารย์ม ิได้จน ยังมเี ตม็ เปย่ี ม ในสันดาน จงึ ขอ
จดั การศพทา่ นจนสดุ ความสามารถขาดดนิ้ ไม่ยอม ให้ ใครดูหมน่ิ เหยียดหยาม ว่าชาวบา้ นหนองผือ
ไมม่ ีความสามารถเผาศพท่านอาจารย์เพียงองค์เดียวก็ ไม่ ไหม้ ปล่อย ให้เขาเอาท่าน ไปเสียที่อ่ืน
ดงั นี ้ไม่ ให้มี อย่าง ไรก็ขอพรอ้ มกันทง้ั บา้ นมอบกายถวายชีวติ ตอ่ ท่านอาจารย์องค์เป็นสรณะของ
ชาวบ้านหนองผือจนหมดลมหาย ใจ ไมย่ อม ให ้ใครเอาท่าน ไปท ี่ไหน จนกว่าชาวหนองผอื ไม่มี
ลมหาย ใจครองขันธ์แลว้ จึงจะยอม ให้เอาท่าน ไป แตพ่ อ ไดย้ ินคำ� ท่าน ใหเ้ หตุผล โดยธรรมแลว้
กพ็ ากนั แสดงความเสยี ดาย โดยพดู อะ ไร ไม ่ได้ จำ� ตอ้ งยอมทงั้ ท่ีมีความเลอื่ ม ใสและอาลัยเสยี ดาย
ท่าน แทบ ใจจะขาดปราศจากลมหาย ใจ ในขณะน้ัน จึงเป็นที่น่าเห็น ใจพี่น้องชาวหนองผือเป็น
279
อยา่ งยงิ่ และขอจารึกเหตกุ ารณ์คือความเสียสละอยา่ งถึงเปน็ ถงึ ตายเพ่อื ถวายบูชาท่านอาจารย์
ครง้ั นี้ ไว้ ในหทัยของผู้เขียน ในนามท่านผู้อ่านทั้งหลายด้วย ซ่ึงคงมีความรู้สึกต่อพี่น้องชาว
หนองผือเชน่ เดียวกนั
วนั ประชุมน้นั มคี รบู าอาจารยผ์ ู้ ใหญห่ ลายท่านทเ่ี ป็นลูกศษิ ย์ทา่ นมาร่วมด้วย ท่านอาจารย์
เองเป็นผชู้ แ้ี จงเร่อื งที ่ไมค่ วร ใหท้ ่านอย่วู ัดหนองผือต่อ ไป ดว้ ยเหตุผลดังที่เขียนผา่ นมาแล้ว เมือ่ ท้ัง
ฝ่ายพระสงฆ์และฝ่ายชาวบ้านต่างทราบค�ำชี้แจงจากท่าน ในที่ประชุมด้วยกันและ ไม่มี ใครคัดค้าน
แลว้ ก็ตกลงกันทำ� แคร่ส�ำหรับหามทา่ นออกจากวดั หนองผอื ไปสกลนคร วนั ทก่ี ลายเปน็ วันมหา
เศร้า โศก โลกหว่ัน ไหวเพราะความวิ โยคพลัดพรากจากสิ่งท่ีรักเลื่อม ใสสุดจิตสุด ใจก็ ได้ระเบิดข้ึนแก่
ชาวบ้านชาววดั อยา่ งสุดจะอดกลน้ั ไว ้ได้ น้ันคือวนั ที่ประชาชนญาติ โยมและพระสงฆจ์ �ำนวนมาก
เตรยี มแครม่ ารอรบั ทา่ นอาจารยท์ บี่ ัน ไดกุฎี
หลงั จากฉนั เสรจ็ แล้ว พร้อมกันเตรียมจะหามท่านออก ไปสกลนคร จดุ นี้เป็นจุดทเ่ี ริ่ม
ระเบิดหัว ใจพน่ี ้องชาวหนองผือทัง้ บา้ น ใกล้บ้าน ไกล ท่ตี า่ งมาแสดงความหมดหวงั ครัง้ สุดทา้ ย ใน
บริเวณนนั้ ตลอดพระสงฆ์สามเณรเปน็ จ�ำนวนมาก ท้งั สองฝา่ ยต่างเกิดความสลดสังเวชนำ�้ ตา ไหล
ซมึ เปน็ จุดแรก จุดท่ีสองขณะท่พี ระอาจารยท์ ัง้ หลายพยุงทา่ นอาจารยล์ งมาจากกฎุ ีเพอ่ื อาราธนา
ขึน้ ส่แู ครแ่ ละเตรยี มเคล่ือนที่ นี้เป็นตอนทีป่ ลอ่ ยความเลือ่ ม ใสอาลยั รักสดุ ประมาณท่อี ดั อัน้ ตนั ใจ
อยภู่ าย ในออกมาอย่างเต็มที่ทงั้ หญิงทัง้ ชาย ตลอดพระเณรกอ็ ดกลั้นน�้ำตา ไว ้ไม่ ได้ จ�ำตอ้ งปลอ่ ย
ให้เป็น ไปตามความ โศกาดรู ในขณะนนั้ แม้ผ้เู ขียนเองซึ่งยังจะตดิ ตามทา่ นออก ไปดว้ ยก็ยังอดแสดง
ความ ไม่เป็นทา่ ออกมา ไม ่ไดเ้ มือ่ เหน็ บรรยากาศเต็ม ไปดว้ ยความซบเซาเหงาหงอยอยู่รอบด้าน ทงั้
เสียงรอ้ ง ไหส้ ่ังเสีย ท้ังคำ� ขอร้องอาราธนาวิงวอนทา่ นอาจารยข์ อ ให้ออก ไปหาย โรคหายภัยอยา่ ได้
ออก ไปล้มหายตายจากท�ำลายซากจากพวกญาติ โยมที่ก�ำลังรอคอยอยู่ด้วยความ โศกศัลย์กันแสง
ที่สดุ จะอดกลน้ั ได้ แทบหัวอกจะแตกตายอยแู่ ล้วเวลาน้ี ขอทา่ น ได้เมตตาสงสารสัตว์มาก ๆ
เพราะเห็นแกค่ วามยากจนบา้ งเถดิ ทป่ี วงข้าพเจ้าทั้งหลายเกิดทกุ ขม์ ากแทบเหลือทนครั้งน้เี พราะ
สมบัติอันล้นค่าท่ีเคยอุปัฏฐากรักษามาเป็นเวลาหลายปี ได้หลุดมือพลัดพรากจาก ไปสุดวิสัยที่จะ
กนั้ กาง ไว้ ได้
เสียงร้อง ไห้ร�ำพันด้วยความระทมขมข่ืนราวกับคล่ืนทะเล ไหลซัดเข้ามาท่วมทับหัว ใจตาม
รายทางทีท่ า่ นผา่ น ไป คนทง้ั บา้ นทั้งหญงิ ท้งั ชาย ท้ังเดก็ และผ ู้ใหญ่เหมอื นจะถึงความมืดมดิ ปดิ ชพี
ไปตามทา่ นกนั ทัง้ บา้ น ตลอดตน้ ไม้ ใบหญา้ ท ่ีไมม่ วี ญิ ญาณรับร้อู ะ ไรเลย กเ็ ป็นประหนงึ่ ยบุ ยอบ
280
กรอบเกรยี ม ไปตาม ๆ กนั ขณะทท่ี ่านเร่ิมเคลอ่ื นจากรมณยี สถานอนั เปน็ ทีเ่ คย ใหค้ วามสขุ สำ� ราญ
แกท่ า่ นและพระสงฆ์พรอ้ มดว้ ยหมูช่ นจำ� นวนมากทม่ี าอาศยั พึง่ ร่มเงาตลอดมา สถานทนี่ ้ันจงึ เปน็
เหมือนวัดร้างขึ้น ในทันทีทนั ใดทัง้ ท่ีมพี ระอยู่จ�ำนวนมาก เพราะปราศจากตน้ ไม ้ใหญ่ ใบดกหนาที่
เต็ม ไปดว้ ยความร่มเย็นผาสุกแก่ผู้มาอาศัยตลอดมา เสียงท่ีก�ำลังแสดงความระบมปวดร้าวของ
ประชาชนผู้หวังมอบกายถวายชีวิต ไว้กับพระศาสนา มีท่านอาจารย์เป็นองค์พยานซึ่งก�ำลัง
พลัดพรากจาก ไปอยู่เวลาน้ีเป็นเสียงที่อดจะสังเวชสงสารเหลือประมาณมิ ได้ พอผ่านบ้านและ
เสยี งพ ิไรรำ� พันที่แสนจะอดกล้นั ความทกุ ขค์ วามสงสาร ไปแล้ว ต่างก็เดินระงมทกุ ข์ ไปตามหลังท่าน
แมม้ ีพระเณรและประชาชนนับเปน็ จำ� นวนร้อย ๆ กล็ ้วนมีหนา้ อันเครง่ ขรมึ ไม่มีทา่ นผู้ ใดจะแสดง
ความเบิกบานแจม่ ใส คงมแี ตค่ วามระทมขมขืน่ ทีจ่ �ำต้องกลำ�้ กลืนด้วยความฝนื อดฝนื ทน ไปตาม ๆ
กัน ตลอดทางเป็นความเงียบเหงาเศร้า โศกของหมู่ชนท่ีต่างเดิน ไปเหมือนคน ไร้ญาติขาดมิตร
ไม่มี ใครพูด ใครคุยเร่ืองต่าง ๆ แฝงข้ึนมาบ้างเลย ต่างคนต่างเงียบ แต่หัว ใจเต็ม ไปด้วยความ
ครุ่นคิด ไป ในความหมดหวัง ทั้งท่านและเรารู้สึกมีทางเดินแห่งวิถีของ ใจ ไป ในท�ำนองเดียวกันว่า
พวกเราเป็นพวกที่หมดหวัง ขออภัยเขียนตามความรู้สึกเท่ากับก�ำลังเอาท่านอาจารย์ ไปทิ้งทั้งที่
ทา่ นยังครองขันธ์อย่อู ย่าง ไมส่ งสัย การทีจ่ ะมีหวัง ได้ท่านกลบั มาอกี นัน้ คงเปน็ ไป ไม ่ไดแ้ ล้ว ยงิ่ คดิ
กย็ ิ่งเศรา้ แต่ก็เป็นเร่อื งทอี่ ดคดิ ไม ่ได้ ต่างคนตา่ งเดนิ ไปตามทางด้วยความเงียบเหงาเศร้า ใจและ
คดิ แตเ่ รอ่ื งของความหมดหวงั กนั ทงั้ นน้ั สำ� หรบั ผเู้ ขยี นเองขอสารภาพตวั วา่ ไมเ่ ปน็ ทา่ เอาอยา่ งมาก
ตลอดทางมีแตค่ วามร�ำพึงร�ำพนั ถึงความหมดหวังหมดทพ่ี งึ่ ไม่มีที่อาศยั ใด ๆ อกี แลว้ เมื่อเกดิ ปญั หา
ข้ึนมา ดงั ท่ีเคยเกิดอยู่เสมอ ไม่เว้นแตล่ ะวนั
ระหวา่ งทางจากหนองผอื ถงึ อำ� เภอพรรณนานคิ ม ตามสายทางท่ ีไปน้นั ราว ๖๐๐ เสน้
แม้เชน่ นน้ั กม็ ิ ไดส้ น ใจว่า ใกล้หรอื ไกล สิง่ ทีส่ น ใจอยา่ งฝังลกึ ก็คือความอาลยั อาวรณย์ งั ไมอ่ ยาก ให้
ทา่ นจาก ไป ในเวลานี้ เพราะเป็นเวลาทต่ี นก�ำลงั อาการหนกั มากเกีย่ วกับปัญหาทางภาย ใน คิด
วน ไปเวยี นมากม็ าลงเอยทค่ี วามหมดหวัง ไม่มีทางสบื ตอ่ กัน ได้เลย มแี ตค่ ดิ ว่าต้องหมดหวงั ทา่ เดียว
อาการของท่านรู้สึกสงบมากตลอดทางที่ ไกลแสน ไกล มิ ได้แสดงอาการ ใด ๆ เลย เหมือนคน
นอนหลับเราดี ๆ น่ีเองท้ังท่ีท่านมิ ได้หลับ พอ ไปถึงสถานที่มีป่า ไม้ร่มเย็นส�ำหรับคนหมู่มากก็ขอ
อาราธนาท่านพักช่วั คราว สง่ิ ท่ ีไมค่ าดฝัน ได้เกดิ ขึน้ อีกวาระหน่งึ จากความอดรนทน ไม่ ได้ คือ
ทั้งน่ารัก ทั้งน่าสงสาร ท้ังอาลัยอ้อยอง่ิ เวลาทา่ นถามออกมาวา่ “มาถึง ไหนแลว้ ” ดงั น้ี ทำ� ไม
จงึ ไพเราะซาบซึ้งจับ ใจเอานักหนาและเปน็ เหมอื นท่าน ไม ่ได้เปน็ อะ ไรเลย
281
“ทูนหัวทูลกระหม่อมจอม ไตรภพจะสลัดปัดท้ิงคนอนาถาที่ก�ำลังหาย ใจอยู่แต่หัว ใจจะขาด
ด้นิ อยู่ ขณะนี้ ไปเสยี แลว้ หรือ ดวงหทยั ที่บริสทุ ธิ์ซง่ึ เคยเตม็ ไปด้วยเมตตาอนเุ คราะห ์ให้พอหาย ใจ
ได้ตลอดมา ได้ถอดถอนกลบั คืนสคู่ วาม ไมม่ ีอะ ไรเหลอื อยหู่ มดแล้วหรือ” ขณะนนั้ ความรสู้ ึก ได้เกดิ
ข้นึ ทันทที นั ใด ใครจะว่าเป็นบา้ กย็ อมรบั วา่ เป็นจรงิ ในทา่ นอาจารย์องคน์ ี้ เปน็ บ้าขนาดตายแทน
ท่าน ได้เลย โดย ไม่มีอุทธรณ์ร้อน ใจ ในชีวิตของตัวเอาเลย ขอแต่ท่านแสดงความประสงค์จะเอา
อะ ไรดว้ ย ในตวั ของเรา จะ ไมม่ ีค�ำวา่ “เสียดายชวี ิต” เลย จะมแี ต่ค�ำวา่ “พรอ้ มอยูแ่ ลว้ ทจ่ี ะพลชี ีพ
ทกุ ขณะ” เทา่ นั้น ไม่มคี ำ� เป็นอปุ สรรคเขา้ มาแฝง ไดอ้ ยา่ งเด็ดขาด แต่สุดวสิ ยั แม้จะขอถวายอะ ไร
ท่านก็ ไม่อาจรับ ได้ เพราะ ใน โลกธาตุน้ีตอ้ งเดนิ ทางสายเดยี วกนั ไมม่ ที างปลีกและออกจากค�ำวา่
“เกิดแล้วตอ้ งตายจะเปน็ อืน่ ไป ไม่ ได้” ไดเ้ ลย
การออกเดนิ ทางจากวัดหนองผอื เริม่ แตเ่ วลาประมาณ ๙ นาฬิกา มงุ่ หนา้ ไปพักวัดบ้านภู่
อำ� เภอพรรณนานิคม จังหวดั สกลนคร ชั่วระยะก่อน พอท่านหายเหนื่อยบ้างแลว้ ค่อยเดนิ ทาง
ตอ่ ไปสกลนคร
ไปถงึ วดั บ้านภ่รู าว ๑๗ น. กว่า ๆ ยงั ไมม่ ดื การเดนิ ทางกนิ เวลาหลายช่ัว โมงเพราะเดิน
อ้อมเขาเพ่อื ความสะดวกสำ� หรบั องคท์ า่ น และคนแก่ท่ีพยายามตะเกยี กตะกายตามสง่ ท่านกม็ มี าก
ท้งั หญงิ ทง้ั ชาย พอ ไปถงึ วัดบา้ นภู่แลว้ กอ็ าราธนาทา่ นเข้าพกั ท่ศี าลาเตยี้ ๆ เพือ่ สะดวกแกก่ าร
ถวายการอุปัฎฐากรกั ษา ตลอดประชาชนพระเณรทีม่ ากราบเย่ียมอาการก็สะดวก
นับแต่วันอาราธนาท่าน ไปพักที่นั่นอาการมีแต่ทรุดลง โดยล�ำดับ ประชาชนพระเณรก็
หล่งั ไหลมามากเตม็ ไปหมด ท้ังเช้า ทัง้ บา่ ยและเย็น ตลอดกลางคืน เพราะ ใครกห็ วิ ระหาย
อยากมาเหน็ หน้าและกราบเยย่ี มทา่ น ซึง่ จ�ำนวนมาก ไมเ่ คยเหน็ หนา้ ท่านเลย ได้ยินแต่ช่อื เสียง
กิตตศิ พั ทก์ ิตติคณุ เล่าลือกนั วา่ ท่านเปน็ พระอรหันต์ทั้งองค ์ในสมัยปัจจบุ นั ไม่สงสัยและก�ำลงั จะ
นพิ พานอยูแ่ ล้ว ในเรว็ ๆ น้ี ใครมีวาสนาก็ ได้เหน็ ทา่ น ใคร ไมม่ วี าสนาก็เกิดมาตายเปล่า จงึ ต่าง
ก็อยากมากราบ ไหวบ้ ูชาพอเป็นขวัญตาขวัญ ใจที่ ได้เกิดมาเป็นมนุษย์กับ โลกเขาท้ังคน อย่า ให้
เสียชาติวาสนา ไปเปลา่ ๆ เลย
พอเช้าวันหลงั ทา่ นกถ็ ามว่าเม่ือ ไรจะพาผม ไปสกลนคร ผมมิ ไดต้ ง้ั ใจจะมาตายทน่ี ต้ี ้องพา
ผม ไปสกล ฯ ใ ห ้ได้ อยา่ รอ ไว้นาน พระอาจารยท์ เี่ ปน็ ลูกศษิ ยท์ า่ นก็เรยี นถวายวา่ รอ ใหท้ ่านอาจารย์
พอหายเหนื่อยบา้ งแลว้ ก็จะอาราธนา ไปสกล ฯ ตามความประสงค์ ท่านก็หยุด ไปบ้าง พอวนั หลงั ก็
เร่ิมถามอีก ทำ� นองท่ีเคยถามแล้ว พระอาจารยก์ เ็ รียนถวายท่าน ท่านก็หยดุ ไปเป็นระยะ วันหลัง
282
ก็ถามอีก จะพาผม ไปสกล ฯ เมอ่ื ไร อยา่ รอช้าจะ ไมท่ นั เวลา
ท่อี าราธนาทา่ นมาพกั วดั น้ันราว ๑๐ วนั นบั แตเ่ วลาลว่ ง ไป ๔ – ๕ วันแล้วทา่ นเรง่ ใหพ้ า
ทา่ น ไปสกล ฯ วนั หน่ึงหลายคร้ัง พระอาจารย์ทั้งหลายก็น่งิ บ้าง เรียนถวายท่านบา้ ง ท่านก็เร่ง
และดุเอาบ้าง ว่าจะ ให้ผมตายอย่ทู ่นี ี่เชียวหรอื ผมบอกแล้วแตต่ ้นทางก่อนจะมาวา่ ผมจะ ไปตายท่ี
สกลนคร นี้กจ็ วนเต็มท่แี ลว้ รบี พาผม ไปอย่ารอนาน ใน ๓ คืนสุดท้ายทา่ นเรง่ ใหญ่มีแตจ่ ะ ใหพ้ า ไป
สกล ฯ โดยถ่ายเดียว เฉพาะคนื สดุ ทา้ ยทา่ น ไมย่ อมพกั หลับเลยและเรยี กพระมาดว้ ยอาการรีบด่วน
เป็นเชงิ บง่ บอกอยา่ งชดั แจ้งวา่ ท่านจะ ไม่สามารถทรงขนั ธอ์ ยตู่ อ่ ไปอีก ได้ ใหร้ ีบพาทา่ น ไป ใน
คืนวันน้ันเพอ่ื ทนั กบั เวลา นอกจากน้ันยังบอก ให้พระพยุงทา่ นน่งั ขดั สมาธหิ ันหน้า ไปทางสกลนคร
พอออกจากสมาธกิ ็บอกพระวา่ ให้เตรียมพาทา่ น ไปสกล ฯ ใ นคืนวนั นน้ั
พวกเราต้อง ได้ ไปตามพระผู้ ใหญ่มาเรียนท่านว่า พรุ่งนี้เช้าจะอาราธนาท่าน ไปสกล ฯ
ตามความประสงค์ ทา่ นจึงสงบลงบ้าง แต่ ไม่ยอมนอนและบอกอย่าง ไมป่ ิดบงั ด้วยวา่ ผมจวนเตม็ ท่ี
แล้ว จะรอตอ่ ไป ไม ่ได้ ถ้า ได้ ไป ในคนื นยี้ ง่ิ เหมาะ จะ ได้ทันกบั เหตุการณ์ซงึ่ กำ� ลังเรง่ รดั อยอู่ ย่าง
เตม็ ที่ ผม ไม่อยากจะแบกขันธซ์ ึ่งเป็น ไฟทง้ั กองนี้อยู่นาน อยากจะปล่อยท้ิงเสีย ให้หายกังวล ในขันธ์
อันเปน็ กองแหง่ มหันตทุกขค์ วามกังวลอนั ใหญ่หลวงน้ี ผมจวนเต็มท่ีแล้ว พวกท่านยงั ไมท่ ราบหรือ
ว่าผมจะตาย ในเรว็ ๆ น้ี จะเอาผม ไว ้ใหท้ รมานขนั ธ์ โดย ไม่เกดิ ประ โยชน์อะ ไรอกี เหตุผลก ็ได้ช้แี จง
ใหฟ้ ังจนเป็นท่เี ข้า ใจกนั หมดแล้วถงึ ได้มาทนี่ ี่ แตแ่ ล้วทำ� ไมจงึ ยังขนื เอาผม ไวอ้ กี เลา่ ท่นี ีเ่ ปน็ สกล ฯ
หรือ ท�ำ ไม ไมร่ ีบพาผม ไป จงรีบพาผม ไปเดย๋ี วนี้ รอ ไวท้ �ำ ไมกนั อกี คนตายแลว้ ท�ำเปน็ ปลาร้า
หรือน�ำ้ ปลา ไดห้ รอื ผมบอกแล้วว่าเวลานีธ้ าตขุ นั ธ์ผมเตม็ ทนแล้ว จะทนอยตู่ ่อ ไปอีก ไม่ ได้ ยงั ไมม่ ี
ใครสน ใจฟงั และปฏบิ ัตติ ามทผ่ี มบอกอยหู่ รอื คำ� พูดขนาดนีย้ ัง ไมพ่ ากนั ฟังเสียงเลย แลว้ พวกท่าน
จะ ไปหาของจรงิ จากอะ ไรท่ ีไหนกัน ถ้ายงั พากันด้ือท้งั ทผ่ี มยงั มีชีวิตอยแู่ ละ ไมพ่ ากนั เช่อื ฟังต่อหนา้
ต่อตาเชน่ นี้ เวลาผมตาย ไปแล้วพวกท่านจะเปน็ คนดีมเี หตผุ ลจากอะ ไร ค�ำพดู ทง้ั หมดนผ้ี มพดู
ด้วยเหตุผลท่ีตรองทราบวา่ เป็นความจรงิ ลว้ น ๆ แลว้ แตพ่ วกท่านยังขนื ดือ้ ไม่ทำ� ตาม ผมรสู้ กึ จะ
หมดความหวังกับพวกท่าน ในอนาคต ว่าจะเป็นผู้สามารถทรงศาสนา ไป ได้ด้วยความมีเหตุผล
ไดอ้ ยา่ ง ไรกัน
ทา่ นเอาหนักมาก ในคนื สดุ ท้ายทัง้ ไม่ยอมหลับนอนอกี ด้วย ทที่ า่ น ไม่ยอมหลบั นน้ั อาจเปน็
เพราะเวลาหลับ ไปน่ากลวั จะเตลิดเลยก ็ได้ พวกเราทีอ่ ยดู่ ว้ ยกนั มากต่อมาก ไมม่ ีใครสามารถทราบ
ความมงุ่ หมายทา่ นตอนนี้ เลยตอ้ งเดาเอามาลง ถา้ ผิด ไปจากความจรงิ กก็ รุณาอภยั ดว้ ย
283
ตอนเชา้ ราว ๗ น. กว่า ๆ รถแขวงการทางสกลนครก็มารบั ทา่ นพอดี โดยมีคุณแม่นุม่
ชวุ านนท์เปน็ ผูน้ ำ� หนา้ มาอาราธนานิมนต์ทา่ น ให้ ไปสกลนคร ทา่ นก็รบั ค�ำทนั ที มีเพียงพูดวา่ รถมา
กค่ี ันจะพอกบั พระเณรทม่ี จี �ำนวนมากซ่ึงจะติดตาม ไปดว้ ยหรอื เปลา่ เทา่ นั้น เขาเรยี นท่านว่ามรี ถมา
๓ คัน แมพ้ ระทา่ น ไป ไมห่ มดก็จะขอมารับทา่ น ไปจนหมดทุกองคท์ ท่ี า่ นประสงค์จะ ไป ทา่ นทราบ
แลว้ กน็ งิ่ พอฉันเสร็จแลว้ หมอก็เตรียมฉีดยานอนหลบั ถวายท่านเพื่อกนั ความกระเทือนเวลารถว่ิง
เพราะทาง ไม่ดีเลยสมยั นน้ั ขรุขระเต็ม ไปด้วยหลุมด้วยบอ่ พอฉดี ยาถวายแล้วกอ็ าราธนาทา่ น
ข้นึ นอนบนแคร่ หามออก ไปขน้ึ รถซึ่งจอดรออย่ฟู ากทุ่งนาเข้ามารบั ไม่ ได้ หลงั จากฉดี ยาถวายแล้ว
ราว ๑๐ นาทที า่ นกเ็ ริม่ หลบั และเรม่ิ ออกเดนิ ทางตรง ไปจงั หวัดสกลนคร ถงึ โนน้ เทยี่ งวันพอดี
เม่ือถึงสกลนครเรียบรอ้ ยแล้วกอ็ าราธนาทา่ นลงจากรถและขึน้ พกั บนกฎุ วี ัดสทุ ธาวาส โดย
ท่ที า่ นก�ำลงั หลบั อยู่และหลับ ไปจนถึงเทีย่ งคืนคือ ๖ ทุม่ จึงเรมิ่ ตน่ื พอตน่ื จากหลบั ข้ึนมา ไม่นานนกั
ราวตี ๑ น. อาการที่ท่านเคยพดู ซ�้ำ ๆ ซาก ๆ ใ หบ้ รรดาลกู ศษิ ยท์ ช่ี กั หูตงึ และ ใจสบั สนว่นุ วายฟัง
กเ็ ร่มิ แสดง ให้เหน็ ชดั ข้ึนทุกระยะ เหมือนจะบอกวา่ นีน่ ะทา่ นทั้งหลายเห็นหรอื ยังที่ผมเคยบอก
ไม่หยดุ ปากว่า ใหร้ ีบพาผมมาสกลนคร จะ ไดร้ ีบปลดปลอ่ ยส่ิงรกรงุ รงั ทีเ่ ตม็ ไปดว้ ยมหนั ตทุกขอ์ อก
ใหห้ มด ในเรว็ ๆ ซ่งึ บัดน้ีเรมิ่ แสดงอาการขน้ึ มาแลว้ ถา้ ยัง ไมเ่ หน็ กจ็ งพากนั ดู และถา้ ไม่เชื่อคำ� ที่
ผมบอกตลอดมาก็จงพากนั ฟงั และดูเสีย ให้เต็มตาและคิด ให้เต็ม ใจ ท่ีผมพูดแลว้ กบั ส่งิ ท่ีกำ� ลังเหน็
ประจกั ษต์ าอย่เู วลานเ้ี ปน็ ความจริงดงั ท่ีเคยพดู ไวห้ รอื เปลา่ ตอ่ ไปจงอยา่ พากันเป็นพระหกู ระทะ
ตา ไม ้ไผ่ ใจ ไม่มคี วามรสู้ กึ นกึ คดิ ไตร่ตรองดังทีเ่ คยเป็นมาแล้ว จะเปน็ คน ใจจดื จางว่างเปล่าจาก
สตปิ ัญญาเครื่อง ไตร่ตรองแลว้ จะหาทางเอาตวั รอด ไป ไม ่ได้ เร่อื งทีก่ �ำลงั เกิดอยขู่ ณะนเ้ี ปน็ ตน้ เหตุ
จงพากนั คดิ อา่ นอยา่ นอน ใจดงั นี้
ขณะทท่ี า่ นเรมิ่ แสดงอาการลาขนั ธ์ คอื ภารา หเว ปจกขฺ นธฺ า อนั เปน็ กองมหนั ตทกุ ข ์
ใน โลกสมมตุ ทิ น่ี กั ปราชญท์ งั้ หลาย ไมพ่ งึ ปรารถนาอยากพบเหน็ อกี ตอ่ ไป เปน็ เวลาดกึ สงดั ปราศจาก
เสยี งและผูค้ นพลุกพล่าน แต่ ไม่นานนักกเ็ รมิ่ เหน็ ครบู าอาจารยม์ ที ่านเจา้ คุณธรรมเจดยี ์ วัด โพธิ –
สมภรณ์ อุดรธานี เป็นตน้ ทยอยกันมากฎุ ที ่าน ดว้ ยอาการรบี ร้อนนับแตข่ ณะทีพ่ ระ ไปเรยี นข่าว
ท่านอาจารย ์ใหท้ ราบ รบี พร้อมกนั น่งั อย่างทา่ นทเี่ คยเหน็ ภยั มาแลว้ ด้วยทา่ อันสงบ แต่ ใจตา่ งมี
ความรุ่มร้อนอ่อน ใจกระวนกระวาย ไปตามอาการที่ก�ำลังแสดงอยู่อย่างสะดุดตาสะดุด ใจ ไม่ลดละ
ในขณะนน้ั ราวกบั จะเตอื น ใหเ้ หน็ ชดั วา่ จะตอ้ งผา่ น ไปนาท ีใดนาทหี นง่ึ ในเรว็ ๆ นอ้ี ยา่ งแนน่ อน การ
นั่งดอู าการ ทา่ นนง่ั เป็นสามแถว แถวแรกเปน็ พระผู ้ใหญ่ มีท่านเจ้าคุณธรรม ฯ เปน็ ประธาน
และพระอาจารย์รองลำ� ดบั ออกมาจนถงึ สามเณร ตา่ งนง่ั ดว้ ยทา่ อนั สงบอยา่ งยง่ิ ตาจบั จอ้ งมองดู
284
อาการท่าน ราวกับว่าลืมแล้วหลับ ไม่ลง ริมตาล่างเย้ิม ไปด้วยน้�ำตาท่ีสุดจะอดกล้ันด้วยความ
อาลัยอาวรณอ์ ยา่ งบอก ไมถ่ กู ตา่ งตกอยู่ ในตรอกแหง่ ความสน้ิ หวัง ไม่มีทางแก ้ไข หวั ใจมีก็สูดลม
ไปพอถึงวันของเขาเทา่ นั้น
องค์ทา่ นเบ้ืองต้นนอนสีห ไสยาสน์คอื ตะแคงขา้ งขวา แตเ่ หน็ วา่ ทา่ นจะเหน่ือยเลยคอ่ ย ๆ ดงึ
หมอนที่หนนุ อยู่ขา้ งหลังท่านออกนดิ หน่ึงเลยกลายเป็นท่านนอนหงาย ไป พอทา่ นรสู้ กึ ก็พยายาม
ขยับตัวกลบั คืนท่าเดมิ แต ่ไม่สามารถทำ� ได้เพราะหมดกำ� ลงั พระอาจารย์ ใหญ่กช็ ่วยขยับหมอนท่ี
หนุนหลังทา่ นเข้า ไป แตด่ อู าการทา่ นรสู้ ึกเหน่อื ยมากเลยต้องหยุด กลวั จะกระเทอื นทา่ นมาก ไป
ดงั นั้น การนอนท่าน ในวาระสดุ ทา้ ย จงึ เป็นทา่ หงายก็ ไม่ ใช่ ทา่ ตะแคงขา้ งขวาก็ ไมเ่ ชิง เปน็ เพียง
ท่าเอยี ง ๆ อยเู่ ทา่ นั้น เพราะสุดวสิ ัยทีจ่ ะแก ้ไข ไดอ้ ีก อาการทา่ นก�ำลงั ด�ำเนนิ ไปอย่าง ไม่หยดุ ย้งั
บรรดาศิษย์ซึ่ง โดยมากมีแต่พระกับเณร ฆราวาสมีน้อยท่ีน่ังอาลัยอาวรณ์ด้วยความหมดหวังอยู่
ขณะน้นั ประหน่ึงลมื หาย ใจ ไปตาม ๆ กัน เพราะจิตพะว้าพะวงอยู่กบั อาการท่านซ่ึงกำ� ลังแสดง
อยา่ งเต็มทเี่ พอื่ ถงึ วาระสดุ ทา้ ยอยู่แลว้
ลมหาย ใจทา่ นปรากฏว่าค่อยอ่อนลงทกุ ทีและละเอยี ด ไปตาม ๆ กัน ผ้นู ัง่ ดูลมื กระพริบตา
เพราะอาการท่านเตม็ ไปดว้ ยความหมดหวงั อยู่แล้ว ลมคอ่ ยอ่อนและชา้ ลงทุกทีจนแทบ ไม่ปรากฏ
วนิ าทตี อ่ ไปลมก็คอ่ ย ๆ หายเงยี บ ไปอย่างละเอยี ดสุขุม จน ไมม่ ีใครสามารถร้ ูได้ว่าท่าน ได้สิน้ ไปแลว้
แต่วินาที ใด เพราะอวัยวะทุกส่วนมิ ได้แสดงอาการผิดปรกติเหมือนสามัญท่ัว ๆ ไปเคยเป็นกัน
ต่างคนตา่ งสังเกตจ้องมองจนตา ไมก่ ระพรบิ สดุ ทา้ ยก ็ไม ่ไดเ้ ร่ืองพอ ใหส้ ะดดุ ใจเลยวา่ “ขณะทา่ น
ลาขนั ธล์ า โลกทเ่ี ตม็ ไปดว้ ยความกงั วลหมน่ หมองคอื ขณะนนั้ ” ดงั นี้
พอเหน็ ท่า ไม่ ไดก้ ารทา่ นเจ้าคุณธรรม ฯ กพ็ ูดเป็นเชงิ ไมแ่ น ่ใจขึ้นมาว่า “ ไม่ ใช่ทา่ นสิน้ ไป
แลว้ หรอื ” พรอ้ มกับยกนาฬิกาขน้ึ ดเู วลา ขณะนน้ั เป็นเวลาตี ๒ นาฬกิ า ๒๓ นาที จึง ได้ถอื เวลา
น้นั เปน็ เวลามรณภาพท่าน พอทราบว่าท่านสิน้ ไปแล้วเทา่ นัน้ มองดพู ระเณรที่นั่งรมุ ลอ้ มทา่ นอยู่
เปน็ จำ� นวนมาก เหน็ แตค่ วาม โศกเศร้าเหงาหงอยและนำ�้ ตาบน ใบหน้าที่ ไหลซึมออกมา ท้งั ไอ
ท้ังจามทง้ั เสียงบ่นพมึ พ�ำ ไม ่ได้ถอ้ ย ไดค้ วาม ใครอยู่ท ่ีไหนก ็ไดย้ นิ เสียงอบุ อบิ พมึ พ�ำทวั่ บริเวณนน้ั
บรรยากาศเตม็ ไปดว้ ยความเงียบเหงาเศร้า ใจอยา่ งบอก ไม่ถูก เรากเ็ หลือทน ท่านผอู้ ืน่ กเ็ หลือทน
ปรากฏวา่ เหลอื แตร่ า่ งครองตัวอย่เู วลานัน้ ตา่ งองคต์ า่ งนง่ิ เงียบ ไปพกั หนึง่ ราวกับ โลกธาต ุไดด้ บั ลง
ในขณะเดยี วกบั ขณะทท่ี า่ นอาจารยล์ าสมมตุ คิ อื ขนั ธก์ า้ วเขา้ สแู่ ดนเกษม ไมม่ สี มมตุ คิ วามกงั วล ใด ๆ
เข้า ไปเกย่ี วขอ้ งวุ่นวายอีก ผเู้ ขยี นแทบหัวอกจะแตกตาย ไปกับทา่ นจรงิ ๆ เวลานน้ั ท�ำ ใหร้ ำ� พึง
285
รำ� พนั และอดั อน้ั ตนั ใจ ไปเสยี ทกุ อยา่ ง ไมม่ ที างคดิ พอขยบั ขยายจติ ทก่ี ำ� ลงั วา้ วนุ่ ขนุ่ เปน็ ตมเปน็ โคลน
ไปกบั การจาก ไปของทา่ น พอ ใหเ้ บาลงบา้ งจากความแสนรกั แสนอาลยั อาวรณท์ ส่ี ดุ จะกลา่ ว ทที่ า่ น
วา่ ตายทง้ั เป็นกเ็ หน็ จะ ได้แกค่ น ไมเ่ ปน็ ท่าคนนนั้ นนั่ แล
พอความเงียบสร่างซาลงบา้ ง พระผ ู้ใหญ่กส็ ง่ั ใหจ้ ดั ทีน่ อน ให้เรียบร้อยและอาราธนาทา่ น
ให้นอนอยูก่ ับท่ีท่ีทา่ นมรณภาพ ไปกอ่ น พรงุ่ น้ีเชา้ ค่อยพจิ ารณาปรกึ ษาหารือกัน ใหม่ หลงั จากน้นั
ครบู าอาจารย์พระเณรกท็ ยอยกนั ออกจากห้องท่านลง ไปอยูข่ ้างล่างบ้าง ยงั อยเู่ ฉลยี งนอกห้องบา้ ง
มตี ะเกยี งเจ้าพายจุ ุดอยู่อยา่ งสว่าง ไสวทว่ั บริเวณ แตบ่ รรดาศิษย์กลบั มืดมนอนธการเหมอื นมืดมดิ
ปดิ ตา ไม่ร้ทู างออกทางเข้า ทาง ไปทางมา ราวกับถูกวางยาสลบ ให้ง่วงงุนวกเวยี นอย่ทู ่ีน้ันหนี
ไป ไหน ไม่ ได้ บางท่านเป็นลมราวกับจะสลบล้มลงสิ้น ใจ ไปพร้อมกับขณะท่านสิ้นลม เหมือน
อะ ไร ๆ ก็ส้ินสดุ ไปตามท่านเสยี สิน้ เวลานั้น เกิดความ โกลาหลอลหมา่ นแบบ ไมม่ ีใครช่วย ใคร ได้
อยา่ งลึกลับ ในสมาคมมหาว ิโยคพลัดพราก ในยามดกึ สงัด ต่างองค์ตา่ งงุ่มงา่ มลูบคลำ� ไปตามความ
เซอ่ ซ่า ลมื สติสตงั มิ ไดก้ ำ� หนดทศิ ทางมดื แจ้งอะ ไรเลย เพราะอำ� นาจความเสยี ใจ ไรช้ ิ้นดีท่เี กิด
จากความพลัดพรากแห่งดวงประทีปท่ีเคย ให้ความสว่าง ไสวมาประจ�ำชีวิตจิต ใจ ได้ดับวูบสิ้นสุดลง
ปราศจากความอบอุ่นชุ่มเยน็ เหมอื นกอ่ นมา ราวกับวา่ ทุกสง่ิ ได้ขาดสะบนั้ ห่นั แหลกเปน็ จุณวิจณุ
ไปเสียสิน้ ไมม่ สี งิ่ เป็นทีพ่ งึ่ พอเป็นที่หาย ใจ ไดเ้ ลย มันสดุ มนั มดุ มันดา้ น มันตีบตันอ้ันตู้
ไปเสียหมดภายใน ใจ ราวกับ โลกธาตุนี้ ไม่มีอะ ไรเป็นสาระ พอเป็นท่ีเกาะของจิตผู้ก�ำลังระหาย
ที่พ่ึง ได้อาศัยเกาะ พอ ไดห้ าย ใจแมเ้ พยี งวนิ าทหี นงึ่ เลย
ท้งั ที่สตั ว ์โลกทว่ั ไตรภพอาศยั กันประจำ� ภพก�ำเนิดตลอดมา แต่จิตเรามนั อาภพั อับวาสนา
เอาอย่าง ไรนักหนา จงึ เหน็ โลกธาตุเปน็ เหมอื นยาพิษเอาเสยี หมด ในเวลานน้ั ไม่อาจเป็นท่พี ึง่ ได้
ปรากฏแตท่ า่ นพระอาจารยม์ นั่ องคเ์ ดยี วเปน็ ชวี ติ จติ ใจเพอื่ ฝากอรรถฝากธรรมและฝากเปน็ ฝากตาย
ทุกขณะลมหาย ใจเอาเลย สว่ นพระพุทธเจ้า พระธรรม และพระสงฆส์ าวกท่าน ก ็ไม่ปรากฏว่า
จติ ประมาทท่าน หากแตท่ ่านอย่ลู กึ ตามความรสู้ ึก ในขณะนั้น ไม่สามารถอาจเออื้ มร้ือฟ้นื ข้ึนมา
เป็นท่พี ึง่ และเปน็ สกั ขีพยาน ไดอ้ ย่าง ใจหวัง เหมอื นท่านอาจารย์มนั่ ซงึ่ ทา่ นอยู่ต้นื ๆ ทัง้ เห็น ๆ และ
ซึมซาบถึงจิต ใจอยทู่ กุ ขณะทีฟ่ ังท่านอบรมช้ีแจงขอ้ อรรถข้อธรรม ในเวลาสงสัยเรียนถามท่าน ไม่วา่
จะเปน็ ปัญหาชนดิ ใดที่ตน ไมส่ ามารถแก ้ไข ได้ โดยล�ำพงั พอแบกมาเรยี นถวายทา่ นและทา่ นเมตตา
อนเุ คราะห์ชี้แจง ใหเ้ ทา่ น้นั เป็นตก ไป ในทนั ทีทัน ใด ม ิไดเ้ ผาลนหัว ใจอย่ตู ่อ ไปนานเลย
286
น้ีเป็นจดุ ทส่ี ลักลึกลง ในหวั ใจ ทำ� ใหเ้ กิดความกระเทอื น ใจมากเวลาท่านพลัดพรากจาก ไป
เพราะไม่สน ใจคิดว่าจะมี ใครแก้ ได้นอกจากท่านเท่าน้ัน แล้ว ใครจะมามีแก่ ใจเมตตาแก้เรา
และเราจะมแี ก ่ใจ ไปเรียนถาม ใครเลา่ นอกจากนบั วนั จะนัง่ กอดเขา่ เฝ้าความ โงแ่ ละกองทกุ ข์ของ
ตนอยู่เทา่ นน้ั ไม่มีทางออกอย่างง่าย ๆ เหมือนเวลาอย่กู ับทา่ น คดิ ไปเทา่ ไรกม็ ีแตค่ วามอดั อัน้
ตนั ใจทจี่ ะหาทางออก โดยลำ� พงั อยา่ งปลอดภยั ไรท้ กุ ข์ ซง่ึ ไมม่ ที างเอาเลย ในความ โงข่ องตนขณะนน้ั
มีแต่ความระบมงมทุกข์อยทู่ ่าเดียว นัง่ อยเู่ หมือนคนตายสนิ้ ทา่ แห่งความคิดเพือ่ เอาตัวรอด ไม่มี
ความคดิ ใดทจ่ี ะพา ไปสูค่ วามปลอด โปร่ง โลง่ ใจ ได้เลย ลืมเหน็ดลมื เหนือ่ ย ลมื เวล�่ำเวลา นัง่ ร�ำพงึ
แบบคนตายท้งั ทยี่ งั หาย ใจอยู่ ในชีวติ ของพระก็เพงิ่ มเี พียงคร้ังนเ้ี ป็นชวี ิตใจท่ีขุ่นมัวกลวั ทกุ ขแ์ ละ
ว้าวนุ่ เอานักหนาทีป่ ราศจากผเู้ มตตาช่วยเหลอื เปน็ ชวี ิตท่ีมืดมิดปดิ ตายหาทางออก ไม ่ไดเ้ อาเลย
ตาช�ำเลอื ง ไปเหน็ องคท์ า่ นท่ีนอนปราศจากลมหาย ใจและความรสู้ ึก ใด ๆ ดว้ ยความสงบท ีไร น้ำ� ตา
ร่วงพรู น�ำ้ ตาร่วงพรูอยา่ ง ไมเ่ ป็นท่าเอาทุกที ทางภาย ในลมสะอึกสะอื้น ในหวั อกหนุน ใหเ้ กิด
ความตีบตันข้ึนมาปิดคอหอยแทบจะ ไปเสยี ในขณะนน้ั มสี ติระลึกขน้ึ มาชวั่ ขณะวา่ เราจะ ไม่
ขาด ใจตาย ไปกบั ทา่ นเดยี๋ วน้เี สียหรือ
พยายามพร�่ำสอนตนวา่ ท่านตาย ไปดว้ ยความหมดห่วงหมดอาลยั อนั เปน็ เรอื่ งของกิเลส
โดยส้ินเชิง แตเ่ ราตาย ไปด้วยความห่วงความอาลยั จะเป็นข้าศกึ ต่อตวั เอง ความอาลัยเสียดาย
และความตายของเรา ไม่เกดิ ประ โยชน์อะ ไรแก่เราและแกท่ ่าน เวลาท่านมชี ีวติ อยกู่ ็ม ิได้สั่งสอน ให้
เราคิดถงึ ทา่ นและตายกบั ทา่ นแบบนี้ แบบน้ีเปน็ แบบทแี่ ฝงอยูก่ ับ โลกทเี่ ขา ใชก้ ันตลอดมา แมจ้ ะ
มีธรรม ใน ใจอันเปน็ สาเหตุ ให้คิดถงึ ทา่ น แต่ก็ยงั แฝงอยกู่ ับแบบของ โลกที่เคย ใชก้ ัน จึง ไมค่ อ่ ย
เป็นประ โยชนส์ �ำหรบั นักบวช เฉพาะอยา่ งยงิ่ คอื ตวั เราท่กี ำ� ลงั ม่งุ ธรรมขน้ั ....อย่อู ยา่ งเตม็ ใจ จงึ
ไมค่ วรคิดอย่างยิ่ง
พระพุทธเจ้าทา่ นตรสั ไวว้ า่ ผู้ ใดปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม ผ้นู ้ันชอื่ ว่าบูชาตถาคต ผ ู้ใด
เหน็ ธรรม ผู้นั้นเหน็ เราตถาคต ฉะน้ัน ความคดิ ถงึ แบบนจ้ี งึ ยัง ไม่เขา้ กบั ธรรมเหล่าน้ี ไดส้ นทิ
สิ่งท่ีจะเข้ากัน ได้สนิทคือการปฏิบัติตนตามค�ำสอนท่ีท่านอาจารย์สอน ไว้แล้วอย่าง ไรด้วยความ
ถูกต้องแม่นย�ำ นั่นเป็นความคิดถึงท่าน โดยถูกต้อง แม้จะตายเพราะการฝึกทรมานตนตาม
หลักธรรมก็ชือ่ วา่ ตายอยา่ งถกู ต้อง ควรคิดและปฏบิ ัติตนตามแบบนจ้ี ะสมกับว่าเรามาศกึ ษากับ
ท่านเพอ่ื เหตุเพอ่ื ผล อย่าท�ำความอาลยั เสียดายท่านแบบ โลกมาขวางธรรม จะเป็นเสยี้ นหนามแก่
ตัวเปลา่ ๆ จึงพอ ไดส้ ตสิ ตงั คิดน้อมเอาธรรมมายบั ย้ังชโลม ใจทีก่ ำ� ลังถูกมรสุมพัดผนั ทัง้ ดวง และ
พอมชี ีวติ รอดมา ได้ ไมจ่ มลงด้วยแบบ ไมเ่ ป็นทา่ เสยี แต่ครงั้ นน้ั
287
เหตุการณ์อัศจรรย์วันมรณภาพจนถึงวันถวายฌาปนกิจศพท่าน
พอรุ่งเช้าทั้งพระผู้ ใหญ่ทั้งข้าราชการทุกแผนก ในตัวจังหวัดทราบข่าวมรณภาพของท่าน
อาจารย์ ต่างกร็ บี ออกมากราบเยี่ยมศพทา่ นและปรึกษาหารือกิจการเกย่ี วกบั ศพทา่ นวา่ จะควร
ปฏิบัติอย่าง ไรเพื่อความเหมาะสมและเป็นการถวายเกียรติ โดยควรแก่ฐานะท่ีท่านเป็นพระอาจารย์
องค์สำ� คัญที่ประชาชนเคารพเลอ่ื ม ใสมากแทบท่ัวประเทศ ไทย พรอ้ มกับนำ� เร่ืองทา่ น ไปออกขา่ ว
ทางวทิ ยแุ ละหนังสอื พิมพ์ เพือ่ ประชาชนทีเ่ ป็นลูกศษิ ย์และท่านทเ่ี คารพเลือ่ ม ใส ในทา่ นซง่ึ อย่ ูในที่
ตา่ ง ๆ ทัง้ ใกล้และ ไกล ไดท้ ราบ โดยทว่ั กัน พอข่าวทา่ นมรณภาพกระจาย ไปถงึ ไหน ทงั้ ประชาชน
และพระเณรท้งั ใกลแ้ ละ ไกลต่างพากันหล่งั ไหลมากราบเยีย่ มศพทา่ นถงึ ท่ีนนั้ ม ิได้ขาดนับแตว่ นั
มรณภาพจนถึงวันถวายฌาปนกิจศพทา่ น ทง้ั ท่ีมากลบั และมาคา้ งคืน โดยมากทม่ี าจากทาง ไกล
กจ็ �ำต้องค้างคนื เพราะการคมนาคม ไม่คอ่ ยสะดวกเหมอื นทกุ วันนี้
วตั ถ ุไทยทานทตี่ ่างทา่ นตา่ งน�ำมาถวายบูชาทา่ นมีมากตอ่ มากจนเหลือหูเหลือตา ไม่อาจ
พรรณนานับ ได้นบั แต่วนั ท่านเริ่มออกมาพกั ที่วดั บา้ นภู่ อ�ำเภอพรรณนานคิ ม เครอ่ื ง ไทยทานท่มี ี
ผศู้ รทั ธา ในทา่ นนำ� มาถวายบูชาม ิได้ขาดเลย เหมือนนำ�้ เหมือนทา่ ที ่ไหลริน ในฤดูฝนฉะนั้น ตาม
ปรกตเิ มอ่ื ท่านยงั มชี วี ิตอยกู่ เ็ ปน็ ผู้มีอติเรกลาภมากอยแู่ ล้ว ไมว่ า่ ทา่ นจะพักอยู ่ในป่า ในเขาหรอื ในที่
เชน่ ไร ย่อมมีเทวบตุ รเทวธิดาผู้ ใจบญุ พยายามขวนขวายและดน้ ด้นั ซอกซอนเขา้ ไปถวายทา่ นจน ได้
ปรกตนิ สิ ัยทา่ นกเ็ ปน็ นักเสยี สละอย่แู ลว้ มมี า ไดม้ าเท่า ไรท่านก็บ�ำเพญ็ ทานสงเคราะห์ ไปเรื่อย ๆ
ไมม่ ีค�ำวา่ ตระหนี่ถเ่ี หนียวหรือเสยี ดาย ไม่วา่ วัตถุชนดิ ไรมรี าคาตำ�่ หรอื สูงทา่ น ใหท้ าน ได้เสมอกัน
หมด พูดถึงความจนของพระก็น่าจะ ไม่มีทา่ นผู้ ใดจน ไปกวา่ ท่าน การ ไดม้ าก็รสู้ กึ เดน่ อยูม่ าก แต่
ทางเข้าคือ ไดม้ ากับทางออกคอื การบรจิ าคทานรู้สกึ กวา้ งเทา่ กนั หรือทางออกอาจกวา้ งกว่าเสียอีก
เราพอทราบ ได้ เวลา ไดม้ าแล้ว ไมก่ ี่วนั ท่าน ให้ทาน ไปหมด เวลา ไม่มีมาแตบ่ าง โอกาสทา่ นอาจคดิ
อยากสงเคราะห์ผูอ้ ื่นอยูบ่ า้ งตามนสิ ัย เปน็ เพยี งท่าน ไมอ่ อกปากพูดเทา่ น้ัน ทา่ น ไปพกั ท่ ีใดวัดแถว
ใกลเ้ คยี งจะ ไดร้ บั การสงเคราะห ์โดยทวั่ ถงึ ฉะนนั้ แมท้ า่ นมรณภาพแลว้ ขา่ ว ไปถงึ ไหนศรทั ธาญาต ิ
โยมก็มกั จะมาถึงน้นั พร้อมท้งั เคร่ืองบริจาคติดตวั มาดว้ ย เวลาตั้งศพท่าน ไวศ้ าลาวดั สทุ ธาวาส
จึงมีท่านผู้ศรัทธามาบริจาคท�ำบญุ มิ ไดข้ าด
ศพท่านทั้งฝา่ ยพระผู้ ใหญ่และขา้ ราชการเหน็ ต้องกนั วา่ ควรเก็บ ไวจ้ นถึงเดอื นสาม ขา้ งขนึ้
คือตน้ ปี พ.ศ. ๒๔๙๓ ค่อยถวายฌาปนกจิ ศพท่าน ด้วยเหตนุ จ้ี ึง ได้พร้อมกันจัดหบี ถาวรเพอ่ื บรรจุ
ศพทา่ น
288
ในวันตอ่ มา เวลาบา่ ย ๔ โมง ประชาชนพระเณรจำ� นวนมากมายพรอ้ มกนั สรงน�้ำศพท่าน
เสรจ็ แล้ว ใช้ผา้ ขาวพับหอ่ พนั องค์ท่านหลายชัน้ ภายนอกจีวรท่คี รองถวาย เรยี บร้อยแล้วอาราธนา
เข้า ในหีบศพถาวร หลังจากน้ันคณะศรัทธามากท่าน มีท่านเจ้าคุณธรรมเจดีย์เป็นประธาน
ปรกึ ษากนั ตกลงจดั ใหม้ กี ารสวดมนต์ถวายท่านทกุ คืน และมกี ารแสดงธรรมด้วย ในวาระเดยี วกนั
ส่วนหีบศพทา่ นด้านหน้าปดิ ด้วยกระจก เพอื่ ท่านผมู้ าแต ่ไกลยงั ไมเ่ หน็ องคท์ ่านประสงคอ์ ยากดู
ยอ่ มเป็นความสะดวก ไมเ่ สยี ใจวา่ มาถึงแลว้ ไม่ ได้เห็นท่าน
การสวดมนตถ์ วายท่านมีประชาชนและพระเณรมาร่วมพิธีวันละมาก ๆ งานคราวน ี้ได้เหน็
นำ้� ใจพี่น้องชาวสกลนครเรา ทัง้ ทา่ นขา้ ราชการทุกแผนกตลอดพ่อค้าประชาชนทั่วหนา้ กัน ทม่ี ี
ศรทั ธาแขง็ แรงและหา้ วหาญ ในการบริจาคและเอาการเอางาน ในธุระหนา้ ที่ ไม่มีความยอ่ ท้อออ่ นแอ
เลย นับแต่วันท่านอาจารย์ ไปถึงและมรณภาพจนถึงวันงานถวายฌาปนกิจศพท่าน พ่นี อ้ งชาว
สกลนครเราต่างว่ิงเต้นขวนขวายที่จะ ให้พระเณร ได้รับความสะดวก ในปัจจัยสี่และกิจการ ใหญ่ โต
ท่ขี วางหนา้ อยู่ ให้สำ� เร็จ ไปดว้ ยดีและมเี กียรติ โดย ไม่เหน็ แก่ความเหน็ดเหน่อื ยและสิน้ เปลือง ใด ๆ
ทง้ั สนิ้ พระมากมายท่ีมากราบนมสั การเยี่ยมศพท่านอาจารย ์ในระหว่างก่อนจะถึงวนั งานเปน็ เวลา
สามเดอื น และพระเณรอยู่ประจ�ำเพื่อดแู ลกจิ การจำ� นวนเป็นร้อยขึ้น ไป พน่ี อ้ งทงั้ หลายม ิได้ย่อทอ้
ทง้ั ผ ู้ใหญผ่ นู้ อ้ ยตา่ งพรอ้ ม ใจกนั มศี รทั ธา ใสบ่ าตร จนกวา่ พระเณรจำ� นวนมากจะผา่ น ไปหมดทกุ องค์
แทบเป็นลม แม้เชน่ นน้ั ก ็ไม่ยอมลดละความเพียร คงพรอ้ มกันพยายาม โดยสมำ่� เสมอ อาหาร
บิณฑบาต ไม่เคยบกพรอ่ งเลย มีแตเ่ หลอื เฟอื ตลอดสาย ไม่วา่ พระเณรจะมาเพม่ิ มากเพียง ไร
ไมม่ วี ติ กวจิ ารณว์ า่ อาหารจะบกพร่องขาดเขิน ผู้เขียนเหน็ ด้วยตาตัวเองตลอดงานจงึ อดที่จะจารึก
ความดงี ามและความพรอ้ มเพรยี งสามคั คีของพ่นี อ้ งลงสู่จติ ใจอย่างลกึ ไม่มวี นั หลงลมื ได้ ผเู้ ขยี น
ไม่นึก ไม่ฝนั ว่าจะ ไดเ้ หน็ ความอด ความทนทาน ความเสียสละทกุ ด้านของพน่ี ้องดงั กล่าวขนาดน้ี
พอเห็นแล้วถึง ใจจ�ำติดตาติด ใจ ไม่ลืมเลย จึงขอชมเชยสรรเสริญพ่ีน้องชาวสกลนครเรา ไว้ ในท่ีนี้
ด้วยว่า เป็นศรัทธาแม่เหล็ก ไม่มีย่อหย่อนอ่อนก�ำลังต่อภาระหน้าที่ทุกด้าน ในการนี้ ผู้เขียน
มีความอบอุ่น ไว้วาง ใจอย่างฝังลึกตลอดมา นับแต่ ได้เห็นเหตุการณ์ส�ำคัญครั้งน้ันมาแล้วด้วยตา
ตัวเอง จึงขอจารึก ไว ้ใน ใจตลอด ไปจนอวสาน ไมม่ ีวันหลงลืมเลย
พระเณรที่มาช่วยดูแลงานท่ีควรท�ำเพื่อเตรียมรับท่านที่มา ในงาน โดยมีฆราวาสญาติ โยม
เป็นแรงงานกน็ า่ เห็น ใจทงั้ สองฝ่าย เพราะเพยี งระหวา่ งท่ียงั ไม่ถงึ วันงานกม็ พี ระเณรมากอยู่แล้ว
ย่ิงถึงวันงานเข้าจริง ๆ ได้กะการกัน ไว้ว่าทั้งพระเณรและฆราวาสท่ีจะมา ในงานนี้ต้องเป็นจ�ำนวน
หมนื่ ขนึ้ ไป ฉะนนั้ จำ� ตอ้ งพากนั เตรยี มจดั ทำ� ปะรำ� ตา่ ง ๆ ทง้ั ทพ่ี กั ทง้ั โรงครวั ไวม้ ากเทา่ ทจ่ี ะมาก ได้
289
เพื่อความสะดวก ในงานซึ่งเป็นงาน ใหญแ่ ละมีประชาชนจะมารว่ มเป็นจำ� นวนมาก โดยเรมิ่ งาน
ตง้ั แตท่ ่านเริม่ มรณภาพ ไปจนถงึ วนั งานก็พอดี
พอจวนวนั งานจะมาถงึ พระเณรและประชาชนนบั วนั หลงั่ ไหลมาทกุ ทศิ ทกุ ทางทง้ั ใกลท้ ง้ั ไกล
จนเจา้ หนา้ ทค่ี อยตอ้ นรบั แทบเปน็ ลม รบั ไมห่ วาด ไม ่ไหว จวนวนั เขา้ เทา่ ไร ยง่ิ ลน้ ไหลกนั มา จนหา
ทพี่ ัก ให้ ไม่ ได้พอกับจำ� นวนคนและพระเณรท่ีมา พอถงึ วนั งานเข้าจริง ๆ บริเวณวัดทั้งกุฎี ท้งั ป่า
กว้าง ๆ ในวดั เต็ม ไปดว้ ยพระเณรท่ีมาจากที่ต่าง ๆ มองดูกลดขาวเปร๊ียะ ไปทงั้ ป่า เฉพาะภาย ใน
วัดสุทธาวาสมีพระเณรทง้ั หมด ในวนั งาน ๘๐๐ กวา่ ท่ีพกั อยู่ตามวดั ตา่ ง ๆ พอ ไปมาหาสูง่ าน ได้
สะดวกก็มีจำ� นวนมากพอดู เม่อื รวมพระเณรท่ีมา ในงานทงั้ พกั ในวดั และนอกวดั มจี ำ� นวน ๑,๐๐๐
กว่ารูป ส่วนฆราวาสญาต ิโยมท่พี กั อยู ่ในวดั ก็นบั ไม่ ไหวเพราะเหลือหเู หลอื ตาทีจ่ ะนับอ่าน ได้ ทีพ่ กั
อยตู่ ามรม่ ไมท้ ุ่งนากม็ ีแยะ ท่ีพักอยู ่ในตัวเมืองกม็ าก ตาม โรงแรมต่าง ๆ เต็ม ไปหมด จน ไมม่ ี
โรงแรม ให้พักพอกับจ�ำนวนคน เวลามารวม ในงานแล้วนับ ไม่ ได้ เพียงคาดคะเนเอาประมาณ
หลายหมืน่ แตแ่ ปลกและนา่ อศั จรรยอ์ ยอู่ ย่างหน่งึ ท ่ีไม่มีเสยี งดังสมคนมากมายเหมือนงานทั้งหลาย
ท่ีเคยมกี ัน ไดย้ ินเฉพาะเสยี งเครื่องกระจายเสียงทท่ี �ำการ โฆษณาประจ�ำงาน ในเร่ืองตา่ ง ๆ ซึ่ง
เกี่ยวกับงานของวัดเท่าน้ัน งานนี้ ไม่มีมหรสพคบงัน ใด ๆ ท้ังสิ้นเพราะเป็นงานกรรมฐานล้วน ๆ
เครื่อง ไทยทานท่ีประชาชนต่างมีศรัทธาน�ำมาสม โภช โมทนาช่วยเหลือ ในงานน้ีก็อยากจะพูดว่า
“กองเท่าภูเขาลกู ย่อย ๆ เรานเี่ อง” ข้าวกรี่ อ้ ยกระสอบ อาหารกี่สบิ กรี่ ้อย รถยนต์ท่ตี ่างทา่ น
ตา่ งขนมา ๆ ด้วยก�ำลังศรัทธาอย่าง ไม่อัด ไม่อั้น ผ้าท่ีน�ำมาเพ่ือถวายบังสุกุลอุทิศส่วนกุศลถวาย
ท่านอาจารย์กอ็ ยากจะพูดว่า “กอง ใหญย่ ง่ิ กวา่ โรงงานทอผา้ เสยี อีก” ซงึ่ ผ้เู ขียนก็ ไมเ่ คย ไปเหน็
โรงงานทอผา้ เลย ไมท่ ราบวา่ ใหญ่ โตขนาด ไหน แต่กองผ้าของคณะศรัทธาท้งั แผน่ ดนิ ทีต่ ่างทา่ น
ตา่ งนำ� มานี้ รูส้ ึกมากกวา่ นน้ั จึงกล้าเดาด้วยความกลา้ หาญ ไมก่ ลัวผิด
ตอนน้ีขออภยั ท่านผู้อ่านมาก ๆ ดว้ ยผ้เู ขียนชกั เพ้อ ไปเพราะความภูม ิใจ ใน ไทยทานของ
ทา่ นนัก ใจบญุ ทัง้ หลาย ไม่นกึ ว่าคน ไทยเราจะเป็นนัก ใจบญุ ถงึ ขนาดนน้ั เหน็ เคร่อื งแสดงนำ�้ ใจ
ออกมาแลว้ จงึ อศั จรรย์ท่านศรทั ธาทั้งหลายมาจนบัดน้ี ว่าคน ไทยเราเปน็ นักเสยี สละนกั คหวตั ถคุ อื
นกั ให้ทานอย่าง ไม่อั้น ไม่เสียดาย ฉะนนั้ เมอื ง ไทยเราแมจ้ ะเป็นเมอื งเลก็ ในสายตาของเมือง ใหญ่
ท้ังหลาย แต่การเสียสละ ให้ทานด้วยศรัทธาและด้วยความเมตตานี้แม้แต่เมือง ใหญ่ ๆ ก็สู้ ไม่ ได้
สมกับเมอื ง ไทยเป็นเมอื งพุทธศาสนาที่ส่งั สอนคน ใหม้ คี วามเมตตาต่อกนั เมือง ไทยเราจึงเป็นเมอื ง
ของคนมอี ัธยาศัยกวา้ งขวาง ไม่คับแคบตบี ตันตลอดมาแตด่ ึกดำ� บรรพ์ งานนก้ี เ็ ชน่ กนั เปน็ งานที่
สมบูรณ์พูนผลเสียทุกอย่างจากบรรดาศรัทธาผู้เสียสละท้ังหลายต่างมาบริจาค ให้ทานอย่าง ไม่อ้ัน
290
หม้อขา้ วหม้อแกงอาหารคาวหวานตา่ ง ๆ เหน็ แล้วเลยน่ากลวั มากกว่าจะน่าฉันเพราะ ใหญ ่โตมาก
หว้ิ คนเดียว ไม ่ไหวตอ้ งชว่ ยกันหิ้วหรอื หามเข้ามาส่ปู ะร�ำที่พระทา่ นฉัน ทำ� เลท่ีฉันต้องจัดหลายแห่ง
แหง่ ละประมาณ ๓๐ – ๔๐ องค์บา้ ง ๕๐ – ๖๐ องค์บา้ ง ท่วั ไปหมด ตามกฎุ พี ระเถระบา้ งแห่งละ
๙ – ๑๐ องค์ แตส่ ะดวก ในการจัดแจกอาหารท่ ีไมต่ อ้ งจดั สำ� รบั ให้วนุ่ วายและส้ินเปลืองสำ� รับและ
ถ้วยชาม เพราะมแี ต่พระกรรมฐานเสยี มากราว ๙๐ เปอร์เซน็ ต์ ทีต่ อ้ งจัดส�ำรบั ถวายกม็ ีพระผู้ ใหญ่
ฝา่ ยปกครองและพระผู้ตดิ ตาม ไม่มากนัก เมือ่ ยกหมอ้ ขา้ วหมอ้ แกงถวายพระท่านแล้วท่านก็จัด ใส่
บาตรกันเอง คาว – หวานรวมลง ในบาตร ใบเดยี วเท่านั้น เพราะปรกตทิ า่ นเคยฉนั ส�ำรวมอยูแ่ ลว้
อาหารมีมากจนเหลือเฟือ ตลอดงานไม่มีอดอยากขาดแคลนเลย ด้วยอ�ำนาจศรัทธาของ
พุทธศาสนิกชนและอ�ำนาจบารมีท่านอาจารย์ม่ันท่านคุ้มครองรักษา ไม่เคยปรากฏว่ามีการดื่ม
เหล้าเมาสุราและทะเลาะวิวาทฆ่าตีและฉกลักข โมยปล้นจ้ีส่ิงของของกันและกันเลย เม่ือเก็บ
ส่ิงของท่ีมีผู้ท�ำตกหาย ได้ก็น�ำ ไปมอบ ให้กอง โฆษณา ให้ประกาศหาเจ้าของ ถ้าเป็นส่ิงของมีค่า
ผ ู้โฆษณาก ็ไม่บอกรปู ลักษณะ เปน็ เพยี งประกาศ ใหท้ ราบวา่ ของมีค่าของทา่ นผ ู้ใดตกหายเชิญมา
ตดิ ตอ่ แสดงหลักฐานทีก่ อง โฆษณา ถา้ รปู ลักษณะตรงกนั แลว้ กม็ อบ ใหเ้ จา้ ของ ไป ถ้าเป็นสิง่ ของ
ธรรมดาก็บอกช่ือสง่ิ ของหรือรูปลักษณะ ใหเ้ จ้าของมารบั เอา ไป ถา้ เป็นเงนิ ก็บอกแตเ่ พียงว่าเงิน
ตกหาย ไมบ่ อกจำ� นวนหรอื ส่งิ บรรจเุ งิน เช่น กระเป๋า เปน็ ตน้ ให้เจา้ ของมาบอกจำ� นวนและ
ส่งิ บรรจุเอาเอง เมื่อบอก ได้ถูกต้องกม็ อบ ให้เจา้ ของ ไปตามธรรมเนียม
งานน้มี ี ๓ คืนกับ ๔ วัน และงานนี้เป็นงานทแี่ ปลกและอศั จรรย์เปน็ พเิ ศษ คือคนมา
มากต่อมาก แต่ ไมม่ ีการสง่ เสียงหนึ่ง ไมท่ ะเลาะวิวาทฆ่าตีกันหน่ึง ไม่มีการข โมยของกนั
ล้วงกระเปา๋ กนั หนึง่ เก็บส่งิ ของมีค่า ได้ยังอตุ ส่าหน์ �ำ ไปมอบ ใหเ้ จ้าหนา้ ทกี่ อง โฆษณาหน่ึง ไม่มี
คนดมื่ เหลา้ เมาสุรามาอาละวาดเกะกะ ในบริเวณงานหน่ึง พระเณรก็สงบเสงี่ยมงามตาน่าเคารพ
เลอ่ื ม ใสหนึง่ แต่ละข้อยากจะมี ในงานหน่ึง ๆ จงึ อดจะเรียกว่าเป็นงานแปลกมิ ได้
ตอนกลางคืนราว ๒ ทุม่ มกี ารสวดมนต์และมาตกิ าบังสุกลุ ถวายท่านทกุ คนื และมีการ
แสดงธรรมทุกคืน ตอนเชา้ หลงั จากฉันเสร็จแล้วมีการมาตกิ าบังสกุ ุล ไปเร่อื ย ๆ ไม่คอ่ ยมีกำ� หนด
เวลาตายตวั นกั เพราะศรทั ธาและพระเณรมมี าก ถ้าจะรอท�ำตามเวลาคง ไมท่ ันกบั เหตกุ ารณ์
ดังน้ัน จึงเปิด โอกาส ให้ตามแต่ท่านผู้ ใดจะมีศรัทธานิมนต์พระมากน้อย ได้ตามก�ำลังและเวลาที่
ต้องการ การนิมนตพ์ ระจ�ำตอ้ งผา่ นทางกอง โฆษณา ให้ท�ำหน้าทีแ่ ทน ถา้ จะเท่ียวตามนมิ นตเ์ ปน็
ไม่เจอพระองคท์ ่ีต้องการ เพราะพระมากต่อมาก ทจี่ ำ� ตอ้ งนมิ นตท์ างการ โฆษณา โดยเห็นวา่ เป็น
ความสะดวกกวา่ ก็เพราะรายชอื่ ของพระเณรที่มา ในงาน ทางกองบัญชพี ระ ไดจ้ ดชือ่ และฉายาทา่ น