191
เม่ือลงถงึ ที่พักท่านถามวา่ เป็นอยา่ ง ไรถำ�้ สวยงามนา่ อยู่ ไหม ผมเห็น ในนิมติ ภาวนารู้สึกวา่
ถำ้� นั้นท้งั กว้างขวางและสวยงามมาก จึงอยาก ใหห้ มูเ่ พ่อื นขึน้ ไปดู ใคร ๆ คงจะชอบกนั แน ่ ๆ แต่
ก่อนผมก ็ไม ่ได้สน ใจพิจารณาวา่ จะมสี งิ่ แปลก ๆ อย่ ูในเขาลูกน้ี แตพ่ อพจิ ารณาจึงทราบวา่ มขี อง
แปลกและอัศจรรยอ์ ยู่ทนี่ ี่มากมายหลายชนิด ในถำ�้ ทีพ่ วกทา่ นข้นึ ไปดนู ัน้ ยังมรี กุ ขเทพ ฯ อารักขา
อยู่เปน็ ประจ�ำตลอดมามิ ได้ขาด ใคร ไปท�ำอะ ไรที่ ไม่สมควร ในทีน่ น้ั ไม่ ได้ ตอ้ งเกดิ เปน็ ตา่ ง ๆ
ขนึ้ มาจน ได้ ขณะทสี่ งั่ ให้พวกทา่ นขึ้น ไปดผู มกล็ มื บอกว่าท่นี ้ันมีพวกเทพ ฯ อารกั ขาอยู่ ควรพากนั
สำ� รวมระวังมรรยาทและอาการทุกสว่ น อย่า ไปสง่ เสยี งอ้อื องึ ผิดวิสยั ของสมณะ เกรงว่าจะเกดิ
ความ ไม่สบายตา่ ง ๆ ขนึ้ มา เพราะความ ไมพ่ อ ใจของพวกเทพ ฯ ที่อารักขาอยู่ ในสถานที่น้นั อาจ
บนั ดาล ใหเ้ ป็นตา่ ง ๆ ไ ด้ พระทข่ี น้ึ ไป ได้กราบเรยี นท่านตามท ี่ไดป้ ระสบมาและแสดงความประสงค์
อยากอยถู่ ำ้� นัน้ เปน็ เวลานาน ๆ ท่านตอบว่าแมจ้ ะสวยงามและน่าอย่เู พียง ไรกอ็ ยู่ ไม่ ไดเ้ พราะ ไมม่ ี
ขา้ วจะกินดงั น้ี อาการทีท่ ่านพดู กับพระท่ี ไปดถู ้�ำกลบั ลงมาเปน็ ค�ำพดู ธรรมดา ๆ ประหนึ่งทา่ นเคย
เหน็ ถ้ำ� นนั้ ด้วยตามาแลว้ หลายครั้ง ท้งั ท ี่ไมเ่ คยข้ึน ไปเลยเพราะอยู่สงู และชันขน้ึ ลงลำ� บากมาก แต่
กลับถามวา่ น่าอยู่ ไหม ซงึ่ เปน็ คำ� พดู ออกมาจากความแน่ ใจจริง ๆ ม ิไดส้ งสยั วา่ ความรทู้ างด้าน
ภาวนาจะ โกหกหลอกลวงเลย
ท่ีทา่ นเตอื นพระ ใหพ้ ากนั สำ� รวมระวังเวลาพักอย ู่ในทีต่ า่ ง ๆ ไมเ่ ฉพาะเพยี งถ้�ำน้ันแหง่ เดียว
น้นั เกีย่ วกับพวกเทพ ฯ ทสี่ ถิต อยู่ ในที่นั้น ๆ ซึ่งชอบความเป็นระเบยี บงามตาและชอบสะอาดมาก
เวลาพวกรกุ ขเทพ ฯ มาเหน็ อากปั กริ ยิ าของพระทจ่ี ดั วางอะ ไร ไว ้ไมเ่ ปน็ ระเบยี บ เชน่ การหลบั นอน
ไม่มีมรรยาท นอนหงายเหมือนเปรตท้ิงเนื้อทิ้งตัว บ่นพึมพ�ำด้วยการละเมอเพ้อฝัน ไปต่าง ๆ
เหมือนคน ไมม่ สี ติ แม้จะเป็นสง่ิ ทส่ี ดุ วสิ ยั ของคนนอนหลบั จะรกั ษา ไดก้ ต็ าม แตพ่ วกเทวดากม็ คี วาม
อดิ หนาระอา ใจอยเู่ หมอื นกนั และเคยมาเล่า ให้ท่านอาจารยม์ ่นั ทราบเสมอ และเลา่ ว่า พระซ่ึง
เป็นเพศทนี่ ่าเล่อื ม ใสและเยน็ ตาเยน็ ใจแก่ โลกที ่ได้เหน็ ได้ยิน จึงควรสำ� รวมระวังกิริยามรรยาทท้ัง
การหลบั นอนและเวลาปรกติ พอเปน็ ความงามตาเยน็ ใจแกต่ นและทวยเทพตลอดมนษุ ยท์ ง้ั หลาย
บา้ ง ไมแ่ สลงตาแสลง ใจจนเกิน ไปเมือ่ ยังพอมที างรกั ษา ไดอ้ ยู่ ไม่อยาก ให้เปน็ ไปแบบฆราวาสซ่ึง
ไมม่ ขี อบเขตหรอื ปลอ่ ย ไปตามยถากรรมจนเกนิ ไป เพราะสงิ่ เหลา่ นย้ี อ่ มอย ู่ในวสิ ยั ของพระจะทำ� ได้
การมาเลา่ เรือ่ งท้งั น้มี ิ ไดม้ ่งุ มนั่ มาต�ำหนติ เิ ตยี นพระว่า ไม่ดี โดยถ่ายเดยี ว แตเ่ ทวดาทัง้ หลาย
กม็ สี ว่ นแห่งความดีและเจตนาหวังเทิดทูนพระศาสนา พรอ้ มทง้ั มีความพอ ใจกราบ ไหว้พระสงฆผ์ มู้ ี
มรรยาทอันดีประจ�ำนสิ ัยของพวกเทวดาเหมือนกัน จึง ใคร่ขอกราบท่านเพ่ือ ได้ตักเตือนพระสงฆ์
ท่ีเป็นลูกศิษย์ ได้ตั้งอยู่ ในท่าสำ� รวม พอเปน็ ท่งี ามตาแก่มนุษย์มนา ตลอดเทวดา อินทร์ พรหม
192
ทั้งหลายบ้าง เทวดาท้ังหลายก็จะพลอยมีส่วนเพ่ิมพูนความเคารพเลื่อม ใสขึ้นอีกมากมายจาก
ความดขี องพระท่ีนา่ เล่ือม ใส นเี้ ป็นคำ� ของพวกเทวดามาเลา่ ถวายท่าน
ดังนัน้ เวลาท่านกบั พระลกู ศิษยพ์ ักอย ู่ในปา่ ในเขาลกึ ซึง่ เป็นท่สี ถิตของพวกรุกขเทวดา
ทา่ นจึงคอยเตอื นพระอยเู่ สมอเกย่ี วกับการวางบรขิ ารเครอ่ื ง ใชส้ อยต่าง ๆ ให้เปน็ ระเบียบเรยี บร้อย
ตลอดผา้ เชด็ เทา้ ทา่ นกส็ ่ัง ให้พบั และเก็บ ไว้อยา่ งเป็นระเบยี บ ไม ่ใหท้ ้ิงระเกะระกะ การขับถา่ ย
ก็ ให้เป็นท่ีเป็นทางและก�ำหนดทิศทางว่า ควรจะท�ำส้วมส�ำหรับถ่าย ในท่ีเช่น ไร บางคร้ังท่านก็
สั่งพระตรง ๆ เลยว่า ไม่ ให้ ไปท�ำส้วมหนักส้วมเบาทางทิศน้ันหรือต้น ไม้นั้น เพราะพวกเทวดา
ท่ีสถติ อยูห่ รอื เทวดามาทางทศิ นนั้ จะรงั เกียจและยก โทษเอาดังน้ีก็มี
ถ้าเป็นพระท่ีรู้เร่ืองของพวกเทวดา ได้ดีอยู่แล้ว ก็ ไม่หนัก ใจท่านอาจารย์ต้องบอกกล่าว
เพราะท่านองค์นั้นย่อมทราบวิธีปฏิบัติต่อเทวดา โดยถูกต้อง และมีพระท่ีเป็นลูกศิษย์ท่านพระ
อาจารย์มั่นมคี วามสามารถ ในทางนีอ้ ย ู่ไม่นอ้ ย เป็นแต่ความร้ขู องท่านเปน็ ประเภทป่า ๆ จึง ไมอ่ าจ
แสดงตวั อยา่ งเปดิ เผย กลวั นักปราชญจ์ ะหัวเราะเยาะ เราพอทราบ ไดเ้ วลาท่านสนทนากันเรือ่ ง
เทวดาประเภทและภมู ิตา่ ง ๆ กนั มาเยยี่ มทา่ น เขามีเร่อื งอะ ไรบ้างมาสนทนาหรอื ถามปัญหาทา่ น
ท่านน�ำมาเล่าสกู่ ันฟงั เราก็พลอยทราบภมู จิ ิต ใจท่านท่ีเก่ยี วกบั ทางน้ี ไปด้วย
พญานาคมิจฉาทิฏฐิ
ในถ้�ำเชียงดาวซึ่งมิ ใช่ถ�้ำที่ยาวเข้า ไป ในกลางเขาที่ประชาชนชอบเข้า ไปเท่ียวกันเป็นประจ�ำ
แตเ่ ป็นถำ้� หน่ึงทีส่ ูงขึน้ ไปกว่าถ�ำ้ ท่ที ่านพักอยู่ ทา่ นวา่ ในถ้ำ� ที่ทา่ นพักมพี ญานาคตนหนึ่งรกั ษาถำ้� อยู่
เปน็ ประจ�ำมาเป็นเวลานาน แต่รสู้ กึ จะเป็นพญานาคมิจฉาทฏิ ฐิ จึงชอบยก โทษพระ ไม่มปี ระมาณ
แห่งความพอดี ขณะท่านพักอยู่ถ้�ำน้ันถูกพญานาคตนน้ันต�ำหนิติเตียนด้วยเร่ืองต่าง ๆ อยู่เป็น
ประจ�ำ เวลาแผเ่ มตตา ใหส้ ่วนกุศลก็รสู้ กึ ว่ารบั ไดย้ าก คงจะเคยมกี รรมกบั พระมานานยัง ไม่จบส้นิ
ลง ได้ ขณะทา่ นพกั อยทู่ น่ี นั้ จงึ ถกู ยก โทษอยเู่ ปน็ ประจำ� แทบทกุ อริ ยิ าบถแมข้ ณะหลบั ตอนกลางคนื
เวลาท่าน ใส่รองเท้าเดินจงกรมมีเสียงดังบ้าง ก็ว่าสมณะอะ ไรเดินจงกรมมีเสียงดังราวกับเสียง
ม้าแข่ง ไม่ส�ำรวมระวังบ้างเลย เสียงรองเท้ากระทบดินและหินกระเทือนทั่วภูเขา ไม่คิดว่า
ใครจะมีความล�ำบากร�ำคาญบ้างเลยดังนี้ ทั้งท่ีท่านก็เดิน ไป – มาอย่างเบา ๆ ในท่าส�ำรวมของ
ผู้บ�ำเพ็ญธรรม ไมผ่ ดิ ไปจากปรกตธิ รรมดาเลย
193
พอท่านทราบวา่ พญานาคยก โทษก็พยายามระวงั เดินเบา ๆ ก็ยังถูกวา่ อกี วา่ สมณะอะ ไร
เดินจงกรมราวกับเขาด้อมจะยิงนก บางครั้งเท้าท่าน ไปสะดุดหินทางจงกรมมีเสียงดังตุ๊บต๊ับบ้าง
เท่าน้ันก็ว่า สมณะอะ ไรเดินจงกรมราวกบั เขาเตน้ ร�ำระบ�ำ โป๊ โขยกเขยก ไมส่ ำ� รวมระวังเอาบา้ ง
เลย บางคราวท่านตกแต่งทางจงกรมพอเดิน ไดส้ ะดวก ไมข่ รุขระเกนิ ไป พอยกหินก้อนน้ันมาวาง
ยกก้อนน้ีมาวางเรียงรายตามทางจงกรม กว็ า่ สมณะอะ ไร ไมส่ �ำรวมจับ โนน้ โยนนอี้ ยู ่ไม่เป็นสขุ ไม่
คิดว่าศีรษะ ใครจะแตกเพราะความกระทบกระเทือนจากความอย ู่ไมเ่ ป็นสุขของตน ไมว่ า่ การ ไป
การมา การเข้าการออก ในบริเวณนนั้ ท่านตอ้ ง ไดท้ ำ� ความระมัดระวังเป็นพิเศษ แม้เช่นน้ันยงั ต้อง
ไดร้ ับความตำ� หนิจากพญานาคตัวมิจฉาทิฏฐจิ น ได้ ตอนกลางคืนท่านพกั จำ� วดั ขณะหลบั ไปอวยั วะ
สว่ นตา่ ง ๆ อาจ ไหวตงิ ไปบา้ ง พอตน่ื นอนขน้ึ มาความรสู้ กึ ทบี่ นั ทกึ ไว ้โดยตลอดก็บอกว่า พญานาค
ต�ำหนิว่าท่านนอนท�ำเสียงตุกติกบ้าง เสียงหาย ใจฟูดฟาดบ้าง เสียงกรนบา้ ง ร้อยแปด
ขณะท่านก�ำหนดจิตดูพญานาคตนขี้ โม โหและแสนยก โทษเก่งที ไร ปรากฏว่า โผล่ศีรษะ
ออกมาคอยจ้องมองท่านอยู่เป็นประจ�ำประหน่ึง ไม่ยอมพลิกสายตา ไปท่ีอ่ืนเลย ถ้าเป็นคนก็หน้า
เสือ ใจยกั ษ์ทา่ นว่า ไมย่ อมรบั สว่ นบญุ จาก ใครเลย ตัง้ หนา้ สรา้ งแต่ความ โม โห โท โสอันเปน็ ไฟเผา
ตัวอยู่ตลอดเวลา ท่านเองก็เมตตาสงสารกลัวพญานาคตนนั้นจะเป็นบาปเป็นกรรมหนักเข้าทุกที
แต่ก็สุดวิสัยที่จะอนเุ คราะห์ ได้ ในระยะน้ัน เพราะเธอ ไม่มาสน ใจ ในเหตุผลอรรถธรรมเอาเลย มีแต่
คอยยก โทษอยทู่ า่ เดียว
บางครง้ั ท่านกเ็ ตอื นเธอ ใหท้ ราบเรือ่ งของสมณะบ้าง เฉพาะอย่างย่งิ ทา่ นอธบิ ายเรื่องของ
องค์ท่านเอง ใหพ้ ญานาคทราบวา่ ท่านมิ ได้มาเพอ่ื กอ่ กรรมท�ำเขญ็ แกผ่ ู้หนง่ึ ผู ้ใด นอกจากมา
บำ� เพญ็ ประ โยชน์ตนและประ โยชน์ผู้อืน่ อย่างเต็มกำ� ลังความสามารถทีจ่ ะท�ำ ได้เท่านัน้ ท่าน ไม่ควร
ติด ใจ ใฝ่ต�่ำว่าอาตมาจะมาท�ำความเดือดร้อนเสียหาย แต่พยายามท�ำความดีทุกขณะที่ระลึก ได้
ผลบุญที่บ�ำเพ็ญมามากน้อยก็ ได้แผ่ ไปยังสัตว์ทั้งหลาย ไม่มีประมาณ ท่านก็เป็นผู้หน่ึง ในจ�ำนวน
สตั ว์ โลกทค่ี วรจะ ไดร้ ับสว่ นบญุ ทีอ่ าตมาแผ่อุทศิ ให้ จึง ไมค่ วรเดือดร้อนเสยี ใจว่าอาตมามารบกวน
ความสุขที่ควรจะ ได้
การเคลอื่ น ไหวต่าง ๆ กเ็ ป็นเรอื่ งธรรมดาของคนท่ียังเป็นอยู่ ซึง่ ทวั่ โลกจะตอ้ งมีการพลิก ไป
เปลีย่ นมา นอกจากคนตายและสตั วต์ ายแล้วเท่านัน้ จะ ไมม่ กี ระดกุ กระดิก อาตมาแม้เป็นสมณะ
ซึง่ เป็นเพศท่ีส�ำรวม แตก่ ม็ ิไดส้ �ำรวมแบบคนตาย เพราะลมหาย ใจยังมอี ยู่จึงจำ� ตอ้ งสูดเขา้ สูดออก
คอ่ ยบา้ งแรงบา้ ง ขณะหลบั ลมหาย ใจกย็ งั ท�ำงานและร่างกายทกุ ส่วนกย็ งั ทำ� งานเช่นกัน ซ่ึงจำ� ตอ้ ง
194
มีเสียงอยู่บ้างเป็นธรรมดา ขณะตื่นนอนออกเดินจงกรมและท�ำกิจธุระบางอย่างก็ย่อมทราบว่า
ท�ำงานและจำ� ตอ้ งมเี สียงเช่นกนั แต่ก็ม ิไดเ้ ลยขอบเขต ท่านเคยเห็นสมณะท่ี ไหนบ้างท่ี ไม่มีการ
กระดกุ กระดกิ ยนื แข็ง โดอ่ ยรู่ าวกับของตาย เข้า ใจว่าคง ไมม่ ีใน โลกมนุษย์เรา
การเดินจงกรมก็พยายามค่อยเดินค่อย ไปในท่าส�ำรวม แต่ก็อดถูกต�ำหนิจากท่าน ไม่ ได้
วา่ เดินราวกับมา้ แข่ง เปน็ ตน้ ความจริงแลว้ ม้าแขง่ ซ่งึ เป็นเพยี งสัตวเ์ ดยี รัจฉาน กับสมณะผูม้ ศี ลี
ส�ำรวมเดนิ จงกรมด้วยทา่ ระวังตงั้ สตนิ นั้ ผดิ กนั ราวฟ้ากบั ดิน ทา่ น ไม่ควรนำ� มาเปรียบเทียบกัน
ถ้า ไม่ ใช่ผู้อาภัพ ในความดีทั้งหลายหมายยึดเอานรกเป็นเรือนนอนเท่าน้ัน อาตมาก็สุดวิสัยท่ีจะ
ปฏบิ ตั ิใหถ้ กู ใจ ไปเสยี ทกุ อยา่ งทงั้ ท ี่ไมถ่ กู ทาง ถา้ ทา่ นยงั หวงั ความสขุ ความเจรญิ เหมอื น โลกทง้ั หลาย
ทา่ นก็ควรส�ำนึก ในความผดิ – ถกู – ช่ัว – ดีของตนบ้าง จะ ไมห่ าบแตน่ รกเข้า ไปเผา ใจตลอดเวลา
ยงั จะพอมที างออกบา้ ง
การต�ำหนติ เิ ตียนผู้อน่ื แม้เขาจะเปน็ ผู้ผิดจรงิ กย็ ังจัดวา่ เป็นการกอ่ กวนจิต ใจตน ให้ขนุ่ มวั
ไปด้วยอยนู่ ่ันเอง เฉพาะการเคล่อื น ไหวของอาตมาก็ยังมอง ไม่เห็นวา่ ไดผ้ ดิ พลาดจากหลกั ของ
สมณะ ไปทตี่ รง ไหนบ้าง แตก่ ็ได้รับความต�ำหนจิ ากท่านเร่ือยมา ท่านนะ่ ถา้ เป็นคนกน็ ่าจะอยกู่ ับ
โลกเขา ไม่ ได้ คงจะเห็น โลกเป็นมูลแห้งมูลสด ไปหมด แต่จะส�ำคัญตนว่าเป็นทองทั้งแท่งท่ีจะ
คละเคล้ากับ โลกทีเ่ ตม็ ไปด้วยมลู ไม่ ได้ เพราะความเดือดร้อนวนุ่ วายของ ใจท่คี ิดแต่เรอ่ื งยก โทษ
ผ้อู นื่ จนอยู่ ไม่เป็นสุข การยก โทษผู้อ่ืน โดย ไม่มีขอบเขต นักปราชญ์ถือว่าเป็นความผิดและเป็น
บาปกรรม ไมม่ ชี ิ้นดีเลย ส�ำหรบั ท่านท�ำ ไมจึงชอบแสวงยงิ่ นัก โดย ไม่สน ใจคิดวา่ สร้างบาปหาบทุกข ์
ใสต่ วั ดงั ทา่ นต�ำหนอิ าตมา แตอ่ าตมา ไมเ่ ปน็ ทุกขเ์ ลย สว่ นทา่ นรู้สึกกระวนกระวายสา่ ยแส่
อยู่ภาย ใน ไม่เป็นสุข เมื่อผลก็เห็น ๆ กันอยู่ประจักษ์ ใจ แต่ท�ำ ไมจึง ไม่ทราบว่าความคิดนั่นเปน็
ทางแหง่ ความผดิ
ทา่ นคดิ อะ ไรออกมาอาตมาทราบอยอู่ ย่างเตม็ ใจ พร้อมทงั้ ใหอ้ ภัยอยู่ตลอดมา แต่ทา่ น
ก็ยังต้งั หน้าตง้ั ตาสรา้ งเอา ๆ ในบรรดากรรมท้งั หลายทจี่ ะเผาผลาญตัว ให้ฉบิ หายยอ่ ยยับ ทา่ นชา่ ง
เป็นนิสยั ไม่เบ่อื ในบาปกรรมเอาเลย ถ้าเปน็ โรคกส็ ุดกำ� ลังยาจะตามแก ้ไข ให้หาย ได้ อาตมาเอง ได้
พยายามแก้ ไขอย่ภู าย ในและอนเุ คราะห์สตั ว์รว่ ม โลกมากมายหลายจ�ำพวกมาเปน็ เวลานาน มนษุ ย์
และเปรตผี เทวบุตรเทวดา อินทร์ พรหม ยมยักษ์ ตลอดพญานาคที่มีฤทธาศักดานภุ าพมากกว่า
ท่านเป็น ไหน ๆ ท่านเหล่าน้ันยังยอมรับความจริงจากธรรมของพระพุทธเจ้า ไม่มี ใครยก โทษ
โกรธเคืองวา่ ธรรม ไมด่ ี ยงั ยอมรบั นบั ถอื กนั ทวั่ โลกธาตุ
195
แต่มาประหลาดเฉพาะท่านเพียงผู้เดียวที่เป็นสัตว์ โลกที่แปลกและพิสดารอยู่ ไม่น้อย ไม่
ยอมรับความจริงจากอะ ไรเอาเลย ส่ิงที่ท่านยอมรับและชอบ ใจ ไม่มีวันอ่ิมพอนั้นคือการติเตียน
ยก โทษ โกรธกริ้วผู้อื่นท่ี ไม่มีความผิด ส่ิงนี้ท่านเข้า ใจว่าเป็นความรุ่งเรืองส�ำหรับท่านจึงพยายาม
ส่ังสม ไม่ยอมลดละปล่อยวาง ฉะนั้น คติของท่านจึง ไม่มีนักปราชญ์ท่าน ใดยืนยันรับรอง ได้ว่า
ปลอด โปร่ง โล่ง ใจ ในเวลาท่านถ่ายคราบจากภพที่ก�ำลังอาภัพอยู่ขณะนี้แล้วจะเป็นผู้ผ่อง ใสไร้ทุกข์
ไมม่ บี าปกรรมติดตวั อาตมาตอ้ งขออภยั ที ่ได้ตัดสิน ใจพดู กับทา่ นอย่างตรง ไปตรงมาตามหลักธรรม
ดว้ ยความหวงั ดี ม ิไดม้ สี ่ิงเปน็ พิษมาแอบแฝงเลย นอกจากทา่ นจะคิดเอาเองตามชอบ ใจเทา่ น้นั
กส็ ุดวสิ ัยจะทำ� ตาม ไดท้ ุกส่ิงซึ่งอาจ ไม่ควรก็มี
นบั แตข่ ณะแรกทอ่ี าตมามาพักอย่ทู ี่น่ี ได้พยายามท�ำความระวงั ส�ำรวมทัง้ กจิ ภายนอกการ
ภาย ใน ไมป่ ระมาท เพราะทราบดีวา่ ท่านมาประจ�ำอยู่สถานทนี่ ี่ เกรงวา่ จะ ไม ่ได้รบั ความสะดวก ใจ
และกท็ ราบด้วยดวี า่ ทา่ นเปน็ สตั ว์ โลกท่มี ีนิสัยหนัก ไป ในทางชอบแสวงหา โทษผู้อ่ืนมาเปน็ ความ
พงึ พอ ใจ แม้เช่นนัน้ ก็ ไม่พน้ จากการถกู มอง ไป ในแงผ่ ดิ ๆ ต้องมาเจอเอาจน ได้ สำ� หรบั อาตมา
มีความสขุ ใจ โดยสม�่ำเสมอ แมจ้ ะถูกต�ำหนิอยู่ทกุ ขณะที่เคลอ่ื น ไหว แตเ่ กรงท่านผู้ตำ� หนเิ สียเอง
จะเปน็ บาปหาบทกุ ข์ เพราะขวนขวายอยทู่ กุ ขณะจิตที่แสดงออก อาตมาม ิไดม้ าแสวงหาบาป
หาบกรรมอันเลวทราม จึงแน่ ใจว่าเปน็ ผบู้ ริสุทธ์ิทางการแสดงออกทุกประตแู ละ ไม่กลวั บาปกรรม
วา่ จะมีทางตดิ ตาม ได้
นกั ปราชญท์ ั้งหลายนับแต่เริม่ แรกแยกสมมตุ อิ อกมาเป็น โลกเปน็ ธรรม ทา่ นมคี วามยินดี
และชมเชย ในกุศลผลบุญท้ังหลาย ท้ังที่ท่านสร้างข้ึนเองและผู้อ่ืนสร้างข้ึนเพ่ือเป็นความร่มเย็น
แกต่ น และทำ� การอบรมสง่ั สอน โลก ให้มีความชนื่ บานหรรษา ในความดีตลอดมาจนถงึ สมัยปจั จบุ ัน
แต่ท่านเองท�ำ ไมจึงมีความเห็นผิดแปลกและแหกคอกลอกความดีออกจากตัว และกลับเมามัว
มั่วสุม ในส่ิงชั่วเกลียดกลัวความดีจนฝัง ใจ โดย ไม่สน ใจระลึกตนบ้างเลย อาตมาเองแม้ ไม่ ใช่ผู้
เสวยกรรมแทนท่าน แตก่ ็กลวั ความทุกขม์ หนั ต์แทนทา่ นผู้จะรบั เสวยผลทนทกุ ข์อยมู่ าก จงึ ไม่
อยาก ให้ท่านคิด ในสิ่งท่ีไม่เป็นมงคลแก่ตน เพราะความ ไม่ดีท่ีท�ำทุกประเภท ล้วนเป็นส่ิงมี
อ�ำนาจอาจบันดาลผู้ท�ำ ให้กลายเป็นผู้ ไร้สารคณุ โดยส้นิ เชงิ แตส่ ง่ิ ไม่พึงปรารถนาจะกลายมาเปน็
ส่ิงทรมานอยา่ ง ไม่คาดฝนั สิง่ นนั้ อาตมากลัวมากกว่าสง่ิ ใด ๆ ใน โลก ความแก่เจบ็ ตายท่ ีโลก
กลัวกนั แต่อาตมามิ ได้กลัวมากเทา่ กลวั บาปกลวั กรรม
196
การบวชเปน็ พระตามหลักธรรมวินัยของพระพุทธศาสนา นบั ว่าเปน็ การทรมาน ใจ ทรมาน
สนั ดานของคนมกี ิเลสท่ชี อบ ในส่ิงทีห่ ลกั ศาสนา ไม่ชอบ แตก่ ลับ ไม่ชอบ ในสงิ่ ที่หลักศาสนาสง่ั สอน
ให้ชอบ ได้เป็นอย่างดี ความล�ำบากเพราะการฝืนกิเลสอาตมาก็ทราบ แต่ก็จ�ำต้องเข้ามาบวช
เพ่ือทรมานหัว ใจตัวเอง การปฏิบัติตามพระธรรมวินัยก็ทราบว่า ล�ำบากทุกระยะท่ีฝืนทรมาน
แต่ก็จ�ำต้องทรมานเพราะอยากดีและอยากหลุดพ้นจากกรรมอันลามกคือกิเลสตัว ไม่ยอมลงรอย
เหตผุ ลและอรรถธรรมของพระพทุ ธเจา้
แม้การมาพักบ�ำเพ็ญประพฤติตัวเป็นคนเหลือเดน ไม่คิดคุณค่า ในชีวิตอยู่ ในถ�้ำเวลาน้ีก็
เพราะกลัวบาปกลัวกรรมน่ันแล มิ ใช่กลัวอะ ไรที่ ไหน และมิ ได้มาหวังท�ำลายหรือเบียดเบียน
ท่านผู ้ใด ให้ล�ำบาก แมส้ ตั วท์ กุ ประเภท ในแหล่งแหง่ ไตรภพ อาตมากเ็ คารพ ไมด่ ถู ูกเหยยี ดหยาม
โดยถือว่าเป็นเพ่ือนผู้ทรงชีพอยู่ด้วยกรรมของตน ๆ เช่นเดียวกันและมีคุณค่าความเป็นอยู่เท่าเทียม
กนั ไดบ้ �ำเพญ็ จติ แผ่ส่วนกุศล ใหค้ วามเสมอภาคและความอยูเ่ ปน็ สขุ โดยทั่วกันตลอดมา ไมเ่ ลือก
กาลสถานท่ี ม ิได้เย่อหยิง่ จองหองและล�ำพองตัว ว่าเปน็ มนษุ ยแ์ ละเป็นนักบวชที่มชี าติและเพศ
อันสงู กวา่ เพอื่ นสตั วผ์ เู้ กดิ – แก ่ – เจบ็ – ตายทงั้ หลาย ทา่ นกเ็ ปน็ สตั ว ์โลกผหู้ นง่ึ ทอ่ี ย ู่ในขา่ ยแหง่ กรรม
อนั เดยี วกนั จงึ ควรส�ำนกึ ในด ี – ช่วั – สุข – ทุกข์ทีม่ อี ยกู่ ับตัวตลอดมา การยก โทษผู้อ่ืน โดยขาด
ความ ไตร่ตรองนั้น ไม่มีอะ ไรดีข้ึนพอ ได้รับประ โยชน์บ้างเลย นอกจากเป็นการสั่งสม โทษและ
บาปกรรม ใสต่ น ให้ ได้รับความทุกข์ ไมม่ วี ันส้นิ สดุ เท่านัน้ จงึ ควรสลดสงั เวชตอ่ ความผิดของตน แลว้
งดความรคู้ วามเหน็ ชนิดเปน็ ภยั แกต่ นเสียกจ็ ะกลายเปน็ ผู้ดีมีหวงั สคุ ตเิ ปน็ ท ่ีไป ในเบ้ืองหน้า ใจท่ี
เคยเห้ยี ม โหด โกรธกรวิ้ กจ็ ะมีวันสงบเยน็ เวลาถา่ ยภพถา่ ยชาตเิ กิด ในภพ ใหมช่ าติ ใหมก่ ม็ หี วังผล
เปน็ ก�ำ ไรคือความสขุ เปน็ สมบตั ิไม่ล่มจมระงมทกุ ข ์ไปตลอดกาล
อนงึ่ ไมว่ ่า ใจคน ใจสัตว์ ใจเทวบตุ รเทวดา อนิ ทร์ พรหม ยมยักษ์ ในแหลง่ โลกธาตุ
ย่อมมคี วามรสู้ กึ รกั สขุ เกลียดทุกข์ และ ไมต่ ำ� หนิธรรมว่าเปน็ ขา้ ศึกตอ่ ตวั เองแม้ปฏบิ ตั ิ ไม ่ได้ เพราะ
ธรรมเป็นธรรมชาติล�้ำเลิศ ใน ไตรภพมาด้งั เดมิ ถา้ พอมีทางปฏิบัตหิ รือเก่ียวขอ้ ง ได้เทา่ ทีก่ ำ� เนิดและ
ฐานะอำ� นวยบา้ ง สัตว์ โลกยอ่ มพอ ใจ ในธรรมเช่นเดยี วกับสัตว์ผมู้ ีกำ� เนดิ ทีค่ วรแกธ่ รรมอยู่แลว้ เช่น
มนษุ ย์ เป็นตน้ ส่วนท่านกเ็ ปน็ ผหู้ นง่ึ ในจ�ำนวนสตั ว ์โลกผรู้ ู้ดีรชู้ ั่วอยา่ งเต็ม ใจ พอจะพิจารณา
เลอื กเฟน้ ถอื เอาประ โยชน ์ไดเ้ ทา่ ทค่ี วร แตแ่ ลว้ ทำ� ไมจงึ กลบั กลายเปน็ คนละคนและคนละ โลกไป ได้
อาตมาเองกแ็ ปลก ใจที่ทา่ น ไปพอ ใจและกอบ โกยเอาสิ่งท่นี กั ปราชญ์ทง้ั หลายเกลยี ดกลวั กัน และ
ชอบต�ำหนิสงิ่ ท่นี กั ปราชญท์ ่านชมเชย
197
ค�ำว่าความทุกข์ท่านเองทั้งทราบท้ังเกลียดกลัว แต่สาเหตุที่จะ ให้เกิดทุกข์ท่านท�ำ ไมจึง
พอ ใจสั่งสมเอานักเอาหนา คือการท�ำความพยายามยก โทษผู้อ่ืน นักปราชญ์ท่านว่าเป็นการ
สร้างเหตแุ ห่งความทุกข์นบั แต่น้อย ไปถงึ มากจนถึงขั้นมหนั ตทุกข์ นี้เป็นกจิ ประจ�ำตวั ทา่ นที่ทำ� อยู่
ทุกขณะอย่าง ไมน่ ึกละอายบาป และอาจ ไมส่ น ใจว่าอาตมาจะทราบ แตอ่ าตมาทราบทกุ ระยะท่ี
ทา่ นคดิ ไมด่ ี และ ใหอ้ ภยั ท่านตลอดมาม ิได้ถอื โกรธถือ โทษอะ ไรเลย นอกจากสงสารทา่ นทกี่ ำ� ลัง
เดนิ ทางผิดเท่านั้น จงึ ไดต้ ัดสิน ใจแสดงความจรงิ ให้ทราบ ไมป่ ิดบัง หากจะพอเกิดประ โยชน์แก่
ท่านบ้าง อาตมาก็พลอยยินดีอนุ โมทนาด้วย ส�ำหรับอาตมาเอง ไม่มี โทษทุกข์ ใด ๆ เกิดขึ้นแก่
ตัวเองจากความคิดด ี – ชว่ั ของท่านเป็นต้นเหตุ เพราะม ิไดเ้ ป็นผกู้ ่อข้ึนและเกบ็ สง่ั สม ไว้ ใน ใจ มีแต่
ความสงบสขุ และความสงสารทเี่ กดิ จากการบ�ำเพญ็ มาเปน็ เรอื นอยู่ของ ใจเทา่ นนั้
ขณะท่ีท่านอธิบายธรรม ในแง่ต่าง ๆ ให้พญานาคฟัง เธอมิ ได้ตอบรับค�ำท่านแม้ประ โยค
หนง่ึ เลย แต่มีความคิดแทรกขน้ึ มา ในระหวา่ งซงึ่ พอเปน็ ประ โยชนแ์ กเ่ ธอบ้าง วา่ สมณะนีพ้ ูดมี
เหตุผลนา่ ฟงั แตเ่ รายัง ไม่สามารถปฏิบัตติ ามท่าน ได ้ในระยะนเี้ พราะยงั มีความยินดี ในวิสัยของตน
อยู่ จนกว่าผ่านพน้ จากภพน ี้ไปแล้วจึงจะสน ใจปฏบิ ัติ สมณะนมี้ สี ่งิ ทน่ี ่าเกรงขามอยู่มาก สิ่งท่ ีไม่
น่ารูน้ า่ เห็นก็รู้เห็น ได้ ความคดิ ที่เราคิดขนึ้ โดยล�ำพงั ทำ� ไมสมณะนที้ ราบ ได้ เราอยู ่ในสถานทล่ี ึกลบั
ท�ำ ไมสมณะน้ีเห็น ได้ เราคิดอะ ไรสมณะนี้ทราบ ได้ โดยตลอด พระที่เคยมาพักอยู่ ในถ้�ำนี้เป็น
จำ� นวนมากมายแต ่ไม่เหน็ วา่ องค์ ใดทราบวา่ เราคดิ อย่าง ไรบา้ ง เราอยู่อยา่ ง ไรบ้าง ซง่ึ นับแตเ่ รามา
อยู่ทน่ี ี่กน็ านแสนนาน พระบางองค์ถึงตอ้ งหน ีไปเพราะเราขับ ไล่ด้วยอุบายตา่ ง ๆ ใหท้ ่านอยู่ ไม่ ได้
(ตอนน้ีท่านพระอาจารย์ม่ันว่าพญานาคพ่นพิษ ให้พระที่มาพักอยู่มีอันเป็น ไปต่าง ๆ จนทนอยู่ ไม่ ได้
จ�ำต้องหน ีไป) แต่สมณะน้ที �ำ ไมร้เู ห็นเอาเสยี ทกุ อยา่ งกระทงั่ ความคดิ นกึ และยงั รู้ ไปตลอดทีเ่ รา
คิดต่าง ๆ แม้ขณะกำ� ลงั หลับสนทิ อยู่ยังสามารถรู้และน�ำมาเลา่ ได ้โดยถกู ต้องประหนึง่ ไม่หลบั เลย
แตเ่ ราทำ� ไมจึงมที ฏิ ฐมิ านะ ไมม่ แี ก่ ใจทีจ่ ะยอมรบั นับถือและปฏบิ ตั ิตามที่สมณะนีส้ ง่ั สอนบ้าง เรา
คงมีกรรมหนามากดังท่านว่า ไม่ผิดแน่ เวลาฟังสมณะอธิบายกิจวัตรที่ท่านท�ำประจ�ำวันก็มิ ได้มี
เจตนาเพอื่ ความกระทบกระทงั่ เรา ทั้ง ๆ ท่ที ่านเหน็ และทราบความคดิ ชั่วลามกของเราอย่ตู ลอดมา
เราเกิดมาชาตกิ อ็ าภพั แม้ ใจกย็ งั อาภัพอกี ท้งั ทีร่ ้ดู ี – ช่ัวอย่อู ยา่ งเต็ม ใจดังสมณะว่า ไมม่ ีผดิ เวลา
เกดิ ชาตหิ นา้ กค็ งจะเปน็ ผอู้ าภัพอยทู่ ำ� นองน้ี ไมม่ วี ันสิน้ กรรม ได้เลย
อีกพักหน่ึงท่านก็ถามพญานาคว่า เป็นอย่าง ไรบ้างท่ีอาตมาอธิบายธรรม ให้ฟังพอเข้า ใจ
บ้างหรือเปลา่ เธอตอบทา่ นว่า เขา้ ใจ ได้ดีทกุ ประ โยคทท่ี ่านเมตตา โปรดสัตวผ์ ูอ้ าภพั แต่ตัวผมเอง
มีกรรมหนามาก คงยงั ไม่เบ่อื หนา่ ยความอาภัพของตนจึงก�ำลงั ถกเถยี งกับตวั เองอยเู่ วลานี้ ยัง ไม่
198
ลงรอยกัน ได้เลย ใจคอยแตจ่ ะ ไหลลงทางต่�ำท่เี คยเปน็ มาอยู่เรือ่ ย ๆ ไมย่ อมฟังเสยี งอรรถธรรมท่ี
น�ำมาพร�ำ่ สอนบา้ งเลย ทา่ นถามว่า ใจชอบ ไหลลงทางต�ำ่ นัน้ ไหลลงอยา่ ง ไร เธอตอบว่าก ็ใจชอบแต่
จะยก โทษท่านอยู่ทุกขณะที่เผลอตัวทั้งที่ท่าน ไม่มีความผิดอะ ไรเลย แต่ ใจมันก็ชอบคิดของมัน
อยา่ งนั้น ไม่ทราบจะปฏิบตั ิอย่าง ไรถึงจะพอดแี ละเห็น โทษ ในความผิดเสยี บา้ ง พอมที างเดินเพอ่ื
ความดีต่อ ไป ได้ ทา่ นตอบวา่ ทุกส่ิงท่ีเห็นว่าเปน็ โทษจริง ๆ ด้วยความสน ใจคิดอา่ น ไตรต่ รอง ใจก็
ยอ่ มจะเพกิ ถอนเสอ่ื มคลาย ในส่งิ นน้ั ไม่กำ� เริบลำ� พองต่อ ไป แต่ถา้ ใจยังฝกั ใฝ ่ใยด ีโดยเข้า ใจวา่
สง่ิ นนั้ ยังเป็นคณุ ก็ยอ่ มจะสน ใจ ใครค่ ดิ ผลติ โทษขนึ้ เผาผลาญตนอยเู่ ร่อื ย ๆ ไม่มีทางลดหย่อนผอ่ น
คลายลง ไดแ้ นน่ อน และนบั วนั ท ่ีใจจะทำ� ความลามก โสมมแกต่ นอยา่ ง ไมม่ ที างชว่ ย ไดถ้ า้ ไมร่ บี แก ้ไข
เสยี แต่บัดน้เี ป็นต้น ไป อาตมากเ็ ป็นเพยี งผแู้ นะแนวทาง ใหบ้ ้างเลก็ นอ้ ยเทา่ นัน้ ไมอ่ าจทำ� หนา้ ท่ี
แก ้ไขหรอื ถอดถอนแทนทา่ น ได้ การแก้ ไขดดั แปลง จงึ เป็นหนา้ ท่ขี องทา่ นผูร้ บั ผิดชอบตวั เองจะ
ทำ� ความพยายามเตม็ ก�ำลงั ความสามารถ ไม่ลดละทอ้ ถอย ส่งิ ท่ีเคยเปน็ ภยั กจ็ ะค่อยลดตัวลง สง่ิ ท่ี
เป็นคุณจะมีทางเจริญ ได้และลบล้างกัน ไปจนกลายเป็นความดีล้วน ๆ ไม่มีสิ่งชั่วเข้ามาแอบแฝง
แทง ใจต่อ ไป ถ้าทา่ นเชือ่ ธรรมของพระพทุ ธเจา้ ที่เคยชว่ ย โลก ใหพ้ น้ จากทกุ ข์ภัยตลอดมา ทา่ นก็
จะเปน็ ผมู้ ธี รรมคมุ้ ครอง ใจ ใจท่ีมีธรรมคมุ้ ครองหลบั และตื่นยอ่ มเปน็ สุข ไมก่ ระวนกระวายส่ายแส่
มตี นเสมอภาคต่อสง่ิ ทง้ั ปวง ไม่ชมสง่ิ น้ันวา่ ดี ไม่ตำ� หนสิ ิ่งนีว้ า่ ช่วั จนตวั เองต้องเปน็ ทกุ ข์ ไปตาม
ซึง่ ไม ่ใชท่ างนกั ปราชญท์ า่ นด�ำเนนิ กนั
พอจบการสนทนาเธอรับค�ำทา่ น ว่าจะพยายามท�ำตามท่ที า่ นแนะนำ� หลังจากนนั้ ทา่ นเอง
ก็ท�ำความเพียร ไปและสังเกตเธอ ไป ผลปรากฏว่าดีข้ึนบ้างตอนที่ขณะจิตเธอซึ่งคอยจะยก โทษ
ทา่ นบอ่ ย ๆ ปรากฏข้ึนมาตามนิสัยเธอคอยท�ำความกวดขันตัวเองอย่เู รอ่ื ย ๆ ไม่ปลอ่ ยตัวดังท่เี คย
เปน็ มานัก แต่กร็ สู้ ึกวา่ เปน็ ความลำ� บาก ไม่น้อย เมอื่ ท่านเห็นความลำ� บาก ในการรักษาจติ ของ
พญานาคทีค่ อยจะคิด ไมด่ ีอยเู่ ร่ือย ๆ ท่านเลยหาอบุ ายลาเธอ ไปเทย่ี วที่อน่ื ซ่ึงเธอกย็ นิ ด ีให้ท่าน ไป
เรอ่ื งของพญานาคกับท่านจงึ เป็นอนั ยตุ ิลงเพยี งแคน่ ี้
หลังจากน้ัน ท่านเลยถือเอาเรื่องพญานาคเป็นเหตุอธิบายธรรมเก่ียวกับนิสัยของคนและ
สัตว์ต่อ ไปอกี เพือ่ เป็นประ โยชนแ์ กผ่ ้นู งั่ ฟงั บา้ ง ไม่เสยี เวลา ไปเปลา่ อันนบั วา่ เป็นคต ิไดด้ ี จงึ ได้
นำ� มาลงเพอ่ื ท่านผอู้ ่านน�ำ ไปพิจารณาถือเอาเปน็ คติเท่าทีค่ วรแก่จริตนิสัยของตน
ท่านว่าด ี – ช่วั มิ ไดเ้ กดิ ขน้ึ มาเอง แตอ่ าศัยการท�ำบอ่ ยก็ชิน ไปเอง เมื่อชนิ แลว้ ก็กลายเปน็
นิสยั ถ้าเปน็ ฝ่ายชวั่ ก็แก้ ไขยาก คอยแต่จะ ไหลลง ไปตามนสิ ัยทเี่ คยท�ำอย่เู สมอ ถ้าเปน็ ฝ่ายดีก็
199
นบั วนั คลอ่ งแคลว่ แกลว้ กลา้ ขนึ้ เปน็ ลำ� ดบั ฉะนน้ั เดก็ ๆ ทแี่ รกเกดิ พอ่ แมท่ ฉี่ ลาดจงึ ตอ้ งพยายามอบรม
ในทางทีด่ กี อ่ นจะสายเกนิ ไป และหาพเี่ ลย้ี งทเี่ หมาะสมมาบ�ำรงุ รักษา ไม่ ให้ปล่อย ไว้ตามยถากรรม
เพราะเด็กเร่ิมศึกษาวิชาหลักธรรมชาติมาแต่อ้อนแต่ออก ไม่ขาดวรรคขาดตอนเหมือน ไปเรียนท่ี
โรงเรยี น หลกั วิชาธรรมชาตนิ ีแ่ ลเป็นวิชาท่ฝี ังนิสัยเด็ก ได้ดกี ว่าวชิ าแขนงอ่นื ๆ เพราะมีอย่ทู ว่ั ไป
ท้ัง ในบา้ นนอกบ้าน ในสถานทเี่ รยี นและนอกสถานทเี่ รียน
เด็กสามารถเรียนและจดจ�ำ ได้ทุกกาลสถานท่ีท่ีสิ่งน้ัน ๆ มาสัมผัสทางทวาร อายตนะ
ภายนอก คือ รูป เสียง เป็นต้น น่ันแลเป็นเหมือนแผ่นกระดานและตัวหนังสือที่เต็ม ไปด้วย
ความหมายด ี – ชวั่ ตา่ ง ๆ ทง้ั จากเดก็ ดว้ ยกนั ทง้ั จากผ ู้ใหญช่ าย – หญงิ ไมเ่ ลอื กหนา้ ทง้ั จาก โรงหนงั
โรงละครและ โรงอะ ไรตา่ ง ๆ ทม่ี ีอย่ทู ว่ั ไป ไมม่ วี ันเวลาบกพร่อง หลักธรรมชาตเิ หล่านแ้ี ลเป็นครู
เครอื่ งพร่�ำสอนเดก็ ๆ ทพ่ี รอ้ มอยู่แลว้ ในการสำ� เหนียกศึกษา ไดเ้ ป็นอย่างดี และมกี ารรับถ่ายทอด
ไปตลอดสาย ถา้ เปน็ ฝ่ายช่ัวกพ็ า ให้เดก็ ชวั่ ไดจ้ ริง ถ้าเปน็ ฝา่ ยดีก็พา ให้เด็กดี ได้จรงิ การเห็น
การ ไดย้ นิ อย่บู ่อย ๆ เดก็ ย่อมถือเอาเป็นเย่ียงอย่าง ไปวนั ละเล็กละน้อย นาน ไปกก็ ลายเป็นนสิ ยั
ไปเอง
ถ้าลง ไดเ้ ปน็ นสิ ยั แลว้ ไมว่ า่ ทางช่ัวทางดียอ่ มมีทางระบายออก ได้ทาง ไตรทวาร ไม่ยากเย็น
อะ ไร ทค่ี นชั่วทำ� ชว่ั ไดง้ ่ายและตดิ ใจ ไมย่ อมลดละแก้ ไขกด็ ี คนดีท�ำด ีไดง้ า่ ยและติด ใจกลายเป็น
คนรักศลี รกั ธรรม ไปตลอดชีวิตก็ดกี ็เพราะหลักนิสัยเปน็ ส�ำคญั ลำ� พังการฝนื ทำ� ทงั้ ทน่ี สิ ยั ไมอ่ �ำนวย
มาก่อนย่อมลดละปล่อยวาง ไดง้ า่ ย จนกวา่ จะปรากฏผลเป็นนำ้� เชอื่ มท่ีมีรสดมื่ ดำ่� แก ่ใจแล้วนัน่ แล
จึงจะเกิดความพอ ใจ ในงานนั้น ๆ ทั้งชั่วและดี ไม่ยอมปลอ่ ยวางอยา่ งงา่ ยดาย ฉะนน้ั หลกั นิสัย
จึงเป็นสิง่ สำ� คัญมาก ในตวั บคุ คลและสตั ว์ การท�ำอะ ไรจนกลายเป็นนสิ ยั แลว้ เปน็ สงิ่ แก้ ไข ไดย้ าก
จงึ ไมค่ วรท�ำแบบสุม่ เดา โดยมิ ได้ ใครค่ รวญ ใหร้ อบคอบก่อน
เราพอทราบ ได้จากการฝกึ ฝนตน ในทางทีด่ ีจนเคยชนิ ตอ่ นสิ ยั เช่น การเที่ยวท่มี ีเหตผุ ล
ควรเทีย่ ว การจา่ ยทรัพย์เพือ่ ประ โยชนแ์ ก่ตนและครอบครัวอย่างมเี หตุผล การรับประทานเปน็
เวล�ำ่ เวลา ไม่พร่ำ� เพรอื่ การหลับและการต่ืนนอนตามเวลา การฝกึ มรรยาทและความประพฤติ
ในทางดี พยายามฝึกฝนดว้ ยความสน ใจ ไมล่ ดละจนเป็นนสิ ัยเคยชินแลว้ ยอ่ มสะดวกราบรนื่ ต่อ
ตัวเอง ในวาระตอ่ ไป ไปเอง ไม่ต้องฝืนกนั อยเู่ รื่อย ไปเหมอื นขน้ั เริ่มแรก เพยี งเท่านี้กพ็ อทราบ ได้
วา่ นิสัยเปน็ สิ่งท่ฝี ึก ได ้ไมเ่ หลือบา่ กว่าแรง เป็นแต่ควร ใช้ความเพียรพยายามบา้ ง ในเบ้ืองตน้ การ
ฝึกเด็กหรอื เราซ่งึ เปน็ ผู ้ใหญ่กฝ็ ึก ในทำ� นองเดยี วกัน เราตอ้ งการของดีคนดกี ็จำ� ต้องฝกึ ฝึกจนดี
200
จะพ้นการฝกึ ไป ไม ่ได้ งานอะ ไร ๆ ย่อมมกี ารฝกึ กันทงั้ นนั้ โลกถึง ไดเ้ รยี กกันว่า ฝึกงาน ฝกึ สัตว์
ฝึกคน ฝึกตน ฝึก ใจตลอดมา นอกจากตายเสยี เทา่ นน้ั จึงหมดการฝกึ กัน สิ่ง ใดทีท่ �ำยัง ไมเ่ ปน็
เม่อื ต้องการเปน็ ในสงิ่ นนั้ ก็จำ� ตอ้ งฝกึ และฝกึ จนเปน็ การเป็นงาน เป็นคนดสี ัตว์ดี รวมลง ในค�ำวา่
ฝึกน้ที ้ังสิ้น จงึ ควรพจิ ารณา ให้ถึง ใจ ปฏิบัต ิใหเ้ กิดผล ค�ำว่าดจี ะเป็นสมบัตขิ องผู้ฝกึ ดแี ลว้ แน่นอน
ได้น�ำเรื่องนิสัยท่ีท่านพระอาจารย์มั่นอธิบาย ให้ฟังมาลงบ้างเล็กน้อย พอเป็นคติแก่พวกเราที่
กำ� ลังอยู่ ในขา่ ยแหง่ ธรรมน้ี จงึ ขอยตุ ิ ไว้เพอ่ื ดำ� เนินเรอื่ ง ใหมต่ ่อ ไป
พระอรหันต์มานิพพานท่ีถ้�ำเชียงดาว ๓ องค์
ขณะที่ท่านพักอย ู่ในถำ้� เชียงดาวปรากฏนิมิตต่าง ๆ ท่ีประทับ ใจมากมายหลายนมิ ิต แตจ่ ะ
น�ำมาลงเทา่ ท่คี วร คอื ตอนกลางคนื ยามดกึ สงดั แทบทกุ คนื มีเทวดามาจากเบื้องบนชน้ั ตา่ ง ๆ บา้ ง
มาจากเบ้ืองล่างที่ตา่ ง ๆ บา้ ง มาฟังเทศนท์ า่ นคืนละ ๓ พวกบ้าง ๒ พวกบ้าง ๑ พวกบ้าง ตาม
เวลาที่ทา่ นนัด ให้มา และมพี ระอรหนั ตม์ าสมั โมทนยี กถาธรรมเครื่องรืน่ เรงิ กบั ท่านเสมอม ิไดข้ าด
บ้าง พระอรหันตท์ ี่มาน้นั ต่างองคต์ า่ งแสดงวิธนี ิพพานของตนทา่ ต่าง ๆ ให้ทา่ นดบู ้าง ทง้ั องคท์ ี่มา
นิพพาน ในถำ้� นั้นและนิพพาน ในทอ่ี น่ื ๆ ก็มาแสดง ในท่นี นั้ บ้าง พรอ้ มคำ� อธบิ ายประกอบด้วยขณะท่ี
แตล่ ะทา่ นแสดงวิธนี พิ พานท่าต่าง ๆ ใหท้ า่ นดแู ละฟังอย่างถึง ใจ ขณะท่ีฟังท่านเลา่ ก็เกดิ ความสลด
สังเวชตนและนอ้ ย ใจวา่ ตนมีวาสนานอ้ ย ตาห ูใจกม็ ีอย่อู ยา่ งท่านแต่ก็ ไมส่ ามารถเปน็ อยา่ งท่าน ได้
ทัง้ เกดิ ความปีติ ทัง้ เกดิ ความนอ้ ย ใจเสีย ใจ ท้ังหวั เราะ ท้ังรอ้ ง ไห้ กเ็ ป็น ไป ในเวลาเดียวกนั
แตก่ ารรอ้ ง ไห ้ได้พยายามเกบ็ ไว ้ในส่วนลึก ไมก่ ล้าแสดงออกอยา่ งเปิดเผย กลัวหมูเ่ พ่อื นจะว่าบา้
เพราะขณะนน้ั ก็เป็นบ้าอยา่ งลึก ๆ อยแู่ ล้ว
ค�ำสัม โมทนียกถาธรรมท่ีพระอรหันต์แต่ละองค์แสดงแก่ท่านพระอาจารย์มั่นนั้น เป็นค�ำ
จับ ใจ ไพเราะมาก ยากทจ่ี ะหาคำ� พดู ใน โลกมาเทยี บ ให้เสมอเหมอื น ได้ แม้ผ้เู ขียนเองก็ ไมแ่ น ่ใจวา่
จะนำ� มาลงตามแบบฉบับของท่านแท้ ได้ จงึ ขออภัยทา่ นผ้อู า่ น ไว้ด้วยความจน ใจ ท่พี อจบั ใจความ
ได้จากท่านมีดังนี้ พระอรหันตท์ กุ ประเภทเป็นบคุ คลประเสรฐิ อัศจรรย์ทง้ั แก่ตนและแก ่โลกทัง้ สาม
มมี นุษย์ เทวดา เป็นต้น จะปรากฏข้ึน ใน โลกแตล่ ะองคเ์ ป็นของยากล�ำบากมาก รองพระพทุ ธเจ้า
ตรัสรู้ลงมา เหมือนขุมทองค�ำธรรมชาติจะผุดข้ึนท่ามกลางพระนครหลวงของพระเจ้าจักรพรรดิ
ไม่เป็นส่ิงจะผุดข้ึน ได้อย่างง่ายดายเลย ความเป็นอยู่แห่งชีวิตของพระอรหันต์ทั้งหลายก็ผิดจาก
ความเป็นอยู่ของ โลก เพราะมีชีวิตอันสดช่ืนด้วยธรรม แม้ร่างกายจะเป็นสมมุติเหมือน โลก
ทั่ว ๆ ไ ป แต่ ใจผคู้ รองรา่ งเปน็ ของบรสิ ทุ ธ์ิ จงึ ท�ำ ใหท้ กุ ส่วน ในร่างกายสดช่นื ไปตาม
201
ท่านก็เป็นผู้หน่ึง ในจ�ำนวนพระอรหันต์ท้ังหลายที่ ได้ท�ำความพยายามกล่ันกรองเชื้อแห่งภพ
ออกจาก ใจจนหมดสน้ิ ไป ได้กลายเปน็ บคุ คล ไม่มภี พ – ชาตขิ น้ึ มาท่ ีใจ ให ้โลก ได้กราบ ไหว้บชู าเป็น
ขวญั ตาขวญั ใจอกี องคห์ นง่ึ พวกเราจึง ได้มาเย่ียมแสดงความยินดี เพราะ ไม่มีบอ่ ยคร้งั นกั ท่ีบคุ คล
ประเภทน้จี ะอุบตั ิเนอื่ งจากเปน็ ความอบุ ตั ิยาก ทง้ั ๆ ท่ี ใครกอ็ ยากเปน็ แต่ความอยากท�ำ ไม่อำ� นวย
ดงั นน้ั โลกแม้จะเกดิ มา ในท่ามกลางท่ีพ่ึง มีพ่อแมญ่ าตวิ งศ์ เปน็ ต้น กต็ าม แต่ทีพ่ ง่ึ เพื่อเกาะ
เพื่อยดึ ทาง ใจอันเปน็ ทพี่ ง่ึ ส�ำคญั นัน้ โลกยงั ไมค่ อ่ ยมีกันเลย สัตว ์โลกเกิดมาอยา่ งเคว้งควา้ งถว่ งตน
อยู่เปล่า ๆ มีจำ� นวนมากต่อมากเหลอื หูเหลือตาจะพรรณนานบั อ่าน ได้ พระอรหันต์อบุ ัตติ รัสร้ขู ้นึ
แต่ละองค์ จึงเป็นของอัศจรรย์และท�ำประ โยชน์แก่ โลกทั้งสาม ได้มาก ท่านเองก็ปรากฏว่าท�ำ
ประ โยชน์แกม่ นษุ ย์ เทวดา อินทร์ พรหม ไดอ้ ยา่ งกวา้ งขวางมากมาย เพราะท่านบรรลุถงึ ความ
บรสิ ทุ ธิ์และแตกฉานทางภาษา ใจ ซงึ่ เปน็ ภาษาสำ� คัญกว่าภาษา ใด ๆ ใ น โลกทั้งสาม พระพทุ ธเจ้า
ทุกพระองค์และพระอรหนั ต์บางประเภทตอ้ ง ใช้ภาษา ใจชว่ ยท�ำประ โยชน์แก ่โลก เพราะภาษา ใจ
เป็นภาษากลางของสัตว์ โลกผู้มีวิญญาณรับรู้ การส่ังสอนสัตว์ โลกประเภทกายทิพย์ (กายที่
ไม่ปรากฏด้วยตาเนื้อ) ต้อง ใช้ภาษา ใจล้วน ๆ ติดต่อและแสดงอรรถธรรม ผู้รู้ภาษา ใจด้วยกัน
ย่อมเขา้ ใจ ได้งา่ ยและ ไดร้ บั ประ โยชนร์ วดเรว็ กวา่ ธรรมดาอยู่มากดงั นี้
พอจบสัม โมทนยี กถาธรรมแลว้ กแ็ สดงวิธีนิพพานทา่ ต่าง ๆ ใ ห้ทา่ นดู แทบทุกองค ์ในบรรดา
พระอรหันต์ซึ่งมาเย่ียมท่านท่ีแสดงธรรมเครื่องรื่นเริงและแสดงท่านิพพาน ให้ดู บางองค์ก็แสดง
ท่าน่งั ขดั สมาธนิ ิพพาน บางองคก์ แ็ สดงทา่ สีห ไสยาสน์คือนอนตะแคงข้างขวานิพพาน บางองค์
ก็แสดงท่ายืนอยู่กลางทางจงกรมนิพพาน บางองค์ก็แสดงท่าเดินจงกรมนิพพาน ในท่าต่าง ๆ กัน
ที่แสดงท่าน่ังกับท่านอนสีห ไสยาสน์นิพพานมากกว่าท่าอ่ืน ๆ ที่แสดงท่ายืนนิพพานและท่าเดิน
จงกรมนิพพานมีน้อยมาก
องค์ที่แสดงท่าน่ังและท่านอนนิพพานก็แสดง ให้เห็นชัด ไปตลอดสายจนถึงอวสานสุดท้าย
พอสิ้นวาระของการแสดงท่าแล้ว องค์นั่งนิพพานก็ล้มผ็อยลง ไปราวกับปุยนุ่น ร่างกายทุกส่วน
ก็หยุดท�ำงานและนิ่งแน่ว ไปเลย องค์ท่ีแสดงท่านอนสีห ไสยาสน์นิพพาน ท่านว่าสังเกต ได้ยาก
มองเหน็ ลมหาย ใจเพียงขณะเรม่ิ แรกแสดงทา่ เทา่ นนั้ จากนนั้ ไปลมก็ละเอียด อวัยวะทกุ สว่ น ไม่
กระดกุ กระดิกเลย มแี ต่ทา่ อนั สงบเหมือนคนนอนหลับ จากน้นั ก็เงียบ ไปเลย องคแ์ สดงท่ายนื
นพิ พานกย็ นื ในลักษณะร�ำพึง เอามอื ขวาทับมือซา้ ย ต้ังกายตรง ตาทอดลงพอประมาณ ตา
ท้งั สองหลับสนทิ มอี าการรำ� พึงอยคู่ รู่หน่ึง แล้วกค็ อ่ ย ๆ ล้มแบบย่อตวั ลงน่ังกองอยู่กบั พ้นื แลว้
คอ่ ย ๆ ล้มจากทา่ นง่ั ลง ไปนอนกบั พ้นื อย่างเบา ๆ ราวกบั สำ� ลี สว่ นองค์ท่ีแสดงทา่ เดินจงกรมนิพพาน
202
กเ็ ดินกลับ ไปกลับมาราว ๖ – ๗ รอบ แล้วกค็ อ่ ย ๆ ล้มผ็อยลง ไปนอนอยกู่ ับพ้นื อยา่ งเบา ๆ แลว้ ก็
นิ่งแนว่ ไปเลยเช่นเดยี วกัน
ทกุ ๆ องค์ทแ่ี สดงวธิ ีนพิ พาน ในทา่ ต่าง ๆ กนั นน้ั มาแสดงตอ่ หนา้ ท่านโดยหา่ งกันประมาณ
วาหรอื วาเศษเท่านนั้ ท�ำ ใหม้ องเหน็ ไดอ้ ยา่ งชัดเจนและประจักษ ์ใจตลอดมา ฟังแลว้ อดนำ�้ ตารว่ ง
ไม่ ได้ ต้องหนั หนา้ เข้าฝาทันทที ีร่ ู้สึกมอี าการแปลกเกิดขึ้น ในขณะน้ัน มฉิ ะน้นั กจ็ ะปลอ่ ยอะ ไร
ออกมา ท�ำ ให้เกดิ เรอ่ื ง ใหญ่และอาจเป็นประวตั ิต่อท้ายทา่ น ไปอีกก ็ได้ บรรดาพระอรหนั ตท์ ม่ี า
แสดงวิธีนิพพานท่าต่าง ๆ ให้ท่านดูน้ัน แสดงด้วยท่าอันสงบเสง่ียมงามตามาก ไม่มีอาการ
กระวนกระวายส่ายแส่เหมือน โลกท่ัว ๆ ไปเลย ฟังท่า ไหนก็ล้วนเป็นท่าท่ี ให้เกิดความสลดสังเวช
เหลือจะอดกลั้นน้�ำตา ไว้ ได้ทุกท่า ไป เพราะบุคคลอัศจรรย์นิพพานลา โลกสมมุติท่ีเต็ม ไปด้วย
ความวุ่นวายยุ่งเหยิงนานาประการจะ ไม่ ให้อัศจรรย์อย่าง ไร ใครก ็ใครเถดิ ถา้ ลง ได้ประสบอย่างน้ัน
เข้าบ้าง เขา้ ใจวา่ ตอ้ งมคี วามรูส้ ึกอย่างเดียวกัน จะทนเป็น ใจ ไม้ ไส้ระก�ำอย ู่ไม่ ไดแ้ น่นอน
ทีถ่ ำ�้ เชยี งดาวมพี ระอรหันต์มานิพพาน ๓ องค์ สององคน์ อนนิพพาน แตอ่ กี องคห์ น่ึงเดิน
จงกรมนิพพานและแสดงท่านิพพาน ให้ท่านดูต่อหน้าต่อตาเลย ทุกองค์ท่ีนิพพาน ในท่าต่าง ๆ ได้
อธบิ ายเหตผุ ลประกอบ ใหท้ า่ นทราบอยา่ งละเอยี ดก่อนจะท�ำพธิ นี ิพพาน ท่แี สดงทา่ ยืนนพิ พานและ
ทา่ เดินจงกรมนิพพานม ีไมก่ ี่รูป ส่วนทา่ นั่งกบั ท่านอนมีมากและท่านอนมีมากกว่าทา่ อื่น ๆ ทา่ น
พจิ ารณาทราบวา่ พระอรหันตม์ านิพพานทเี่ มอื ง ไทยเราหลายองค์ เท่าทีจ่ �ำ ไดม้ ดี งั น้ี นิพพานท่ถี �้ำ
เชยี งดาว ๓ องคท์ ีจ่ งั หวดั เชียง ใหม่ นพิ พานทีห่ ลงั เขาวงพระจันทร์ ๑ องค์ นพิ พานทถี่ �ำ้ ตะ โก
๑ องค์ท่ีจังหวัดลพบุรี นิพพานที่เขา ใหญ่จังหวัดนครนายก ๑ องค์ นิพพานท่ีวัดธาตุหลวง
อำ� เภอเกาะคา จงั หวดั ลำ� ปาง ๑ องค์ ทจ่ี ำ� ไม ่ได้กย็ งั มีจึงขออภยั ไว้ด้วย
คำ� วา่ ‘นพิ พาน’ เปน็ ศพั ท์ ใชเ้ ฉพาะพระพทุ ธเจา้ พระปจั เจกพุทธเจา้ และพระอรหันต์
ท้ังหลายท่ีส้ินกิเลสและภพ – ชาติภาย ใน ใจแล้ว โดยเฉพาะ มิ ได้ ใช้ทั่ว ไป ในสัตว์ โลกผู้ยังมีกิเลส
ทั้งหลาย เพราะพวกหลังน้ียังเป็นผู้ส่ังสมภพชาติอยู่ภาย ในอย่างสมบูรณ์ จึง ไม่มีอะ ไรจะควร
เรยี กวา่ นิพพาน ได้ ในทางสมมุติ พอตายจากน้กี ็ ไปเกิดท่นี ัน้ ตายจากที่น้นั ก ็ไปเกดิ ท ่ีโน้น ตายจาก
คน ไปเกิดเป็นสัตว์ถ้าประมาท ในชาติเป็นมนุษย์ ไม่พยายามสร้างความดี ไว้ส่งเสริมเติมต่อ ใน
ภพ – ชาติตอ่ ไป การเปน็ สัตว์กม็ ีหลายชนดิ ไม่แน่นอน เพราะทางท่ีจะ ให้เกดิ เปน็ สตั ว์มีมากกวา่
ทางจะ ให้เกดิ เปน็ มนุษย์ เทวดา อนิ ทร์ พรหม อันเป็นภูมิสูงเป็น ไหน ๆ เนื่องจากจิต ใจชอบ
ท�ำกรรมช่ัวอันเป็นทาง ให้ ไปเกิดเป็นสัตว์ชนิดต่าง ๆ ไว้มากกว่าทางดี ดงั น้ัน สัตวช์ นิดตา่ ง ๆ จงึ
203
มีมากกว่ามนุษย์และเทพพรหม
แตจ่ ะเปน็ สตั ว์ชนดิ ใดและมนษุ ย์ เทพ พรหม ประเภท ใด กล็ ้วนมสี ิ่งเกาะเกี่ยวเหนยี่ วร้งั
พา ใหต้ อ่ ตน้ ตอ่ แขนงเป็นภพ – ชาตสิ ืบต่อ ไป ไมม่ ที างดบั สนทิ ได้ จึง ไมเ่ รยี กวา่ นพิ พาน ส่วนทา่ น
ที่สิ้นกิเลสภาย ใน ใจ โดยสน้ิ เชงิ แล้วเป็นความดบั สนทิ อยูต่ ลอดเวลาทัง้ ท่ีขนั ธย์ ังครองตวั อยู่ ท่าน
เหล่านแ้ี ลเปน็ ผู้ควร ไดร้ ับค�ำว่านิพพาน โดยเฉพาะ ไมม่ ีทางเป็นอย่างอน่ื เพราะหมดทางเกยี่ วเกาะ
วกเวียน ขณะจะนิพพานก็มิ ได้มคี วามกงั วลห่วง ใยกับส่ิง ใด ๆ กระทั่งขันธท์ ีก่ �ำลังจะแตกทลาย
ในขณะนน้ั อย่แู ล้ว ท้ังนเ้ี พราะ ใจท่านหมดคำ� วา่ หว่ งวา่ หวง ทง้ั ภายนอกภาย ใน ทั้ง ใกล้ทง้ั ไกล
โดยตลอดท่วั ถึง
ขณะจะลา โลกแหง่ ขันธก์ ล็ ากนั แบบดับสนทิ ไมม่ ีความสะทกสะท้านหวน่ั ไหว ทั้งม ิได้คดิ ว่า
จะ ไปอย่ ูโลกน้ัน จะมาอย ู่โลกนี้ จะ ไปเสวยผลดีอยา่ งน้ัน จะมาเสวยผลชัว่ อยา่ งน้ี อนั เปน็ การ
ทำ� ใจ ให้กระเพ่ือมขนุ่ มวั แต่เป็นความคงทแี่ ละพอตัว โดยสมบูรณ์ของจิตดวงวิมุตติหลุดพ้นแล้ว
มิ ได้คอยรับส่วน ได้ – ส่วนเสียของสมมุติ มีขันธ์เป็นต้นแต่อย่าง ใด เป็นผู้ปราศจากกาลสถานท่ี
ไม่มีสมมุติแม้ปรมาณูเข้า ไปเก่ียวข้องกับ ใจดวงบรสิ ุทธล์ิ ้วน ๆ แลว้ นี่แลทา่ นเรยี กว่านิพพานของ
ท่านผสู้ ้นิ ความกงั วลหม่นหมอง ขณะครองขนั ธ์อยู่กม็ ิไดเ้ ศร้า โศก ขณะว ิโยคพลัดพรากจาก ไป
กม็ ิไดเ้ สีย ใจ เคยเปน็ อย่อู ย่าง ไรก็เปน็ ไปอยา่ งนนั้ ฉะน้ัน ค�ำว่านิพพาน จึงเป็นค�ำพิเศษส�ำหรบั
ท่านผเู้ ป็นบคุ คลพเิ ศษจะครอง โดยเฉพาะ ไมม่ ผี ู้ใดจะกลา้ เขา้ ยดึ ครอง ไดถ้ า้ ไมท่ ำ� ใจ ใหบ้ รสิ ทุ ธ ์ิโดย
สน้ิ เชงิ กอ่ น ไมเ่ หมือนสมบัติอืน่ ซ่ึงอาจมเี จ้าอ�ำนาจเข้ายึดครอง ได้ทงั้ ที่เจ้าของ ไมย่ ินยอม เชน่
เรอื กสวน ไรน่ า เป็นต้น ใครอยากเปน็ เจา้ ของเข้ายดึ ครองก็พยายามสรา้ งเอาเอง รอน่งั เซ็น
นอนเซ็นเอาเฉย ๆ คง ไมม่ หี วงั ตลอดกาล
ท่านอาจารย์มั่นซ่ึงเป็นเจ้าของประวัติที่ ได้รับค�ำยกย่องชมเชยและเลื่อม ใสจากหมู่ชนแทบ
ทัว่ ประเทศเขตแดน และ ได้รับธรรมเครือ่ งร่ืนเริงจากพระอรหนั ตท์ ้ังหลายกเ็ พราะทา่ นเช่ือธรรม
ท�ำจริง จึง ได้พบเหน็ แต่ของจรงิ ของปลอม ไม่ม ีใน ใจท่าน แมช้ ีวติ รา่ งกายจะเปน็ ของจอมปลอม
หลอกลวงตามธรรมชาตขิ องมัน ท่านกป็ ลดปล่อย ไวต้ ามเรอ่ื ง ม ิไดย้ ดึ ถอื แบกหาม ไปดว้ ย สิ่งท่ี
เป็นท่านอยา่ งแท้จริง ไม่แปรผนั กค็ อื ธรรมของจรงิ ทเ่ี หน็ แล้ว ธรรมน้ันจริงอย่ตู ลอดเวลา ไม่มอี ดตี
อนาคตเข้า ไปทำ� ลาย ได้เหมอื นสงิ่ ทงั้ ปวงที่ถูกทำ� ลายดว้ ยกาลของมันเองตลอดมา
204
ธรรมโอสถ
ทา่ นพกั อยู่ ในป่า ในเขาลึก จังหวัดเชียง ใหม่ ทราบว่ามีการเจบ็ ป่วยหลายครัง้ บางคราว
แทบเอาตัว ไมร่ อดจนหมอ ไมร่ ับรอง ถา้ เปน็ คนธรรมดามีชีวิตลมหาย ใจอยกู่ ับยากับหมอแบบ ไมม่ ี
จมูกของตนเองเป็นที่หาย ใจก็คงจะผ่าน ไปนานแล้ว แต่ท่านเองยังพอรอดตัวมา ได้ด้วยอ�ำนาจ
ธรรม โอสถเยียวยารักษา ไว้ ได้ ทุกครั้งที่ป่วย ไข้ ได้ทุกข์ต่าง ๆ ท่านว่า ธรรม โอสถ ต้องเกิดมา
พรอ้ มกนั และปฏบิ ัตหิ น้าที่ต่อกนั ในทันทที ัน ใด ไมร่ อชักช้า ทา่ นอาจารยม์ ่นั มีนสิ ยั อย่างนน้ั ปรกติ
ท่าน ไม่ค่อยชอบเก่ียวข้องกับหยูกยาเท่า ไรนัก แม้ตกมาวัยชราก�ำลังวังชาลดราร่วง โรยลงเป็น
ล�ำดบั ทา่ นก็ยังหนกั ในธรรม โอสถเป็นเคร่ืองประสานธาตขุ ันธอ์ ยเู่ สมอมา ครั้งหน่ึงทา่ นพกั อยู่
ในเขากับพระ ๓ องค์ดว้ ยกนั ซึง่ ท่ีนนั้ ชกุ ชุม ไปดว้ ย ไขป้ ่า เผอญิ พระองคห์ นึ่งเกดิ เปน็ ไขจ้ ับสั่น
ขนึ้ มา แมย้ าเมด็ หนึ่งก็ ไม่มรี ักษากัน เวลาจับ ไขแ้ ล้วต้ังวนั ก ็ไมส่ รา่ ง ตอนเชา้ ตอนเยน็ ทา่ น
อาจารย์ ไปเย่ยี ม ไข้และ ให้อบุ ายตา่ ง ๆ เป็นเครอ่ื งพจิ ารณาเพอ่ื ระงับ ไข้ ดังท่ที า่ นเคย ได้ผลมาแล้ว
เสมอ แตพ่ ระองค์นนั้ ไมส่ ามารถพจิ ารณาตามทา่ น ได้ เพราะภมู จิ ติ ภมู ธิ รรมตา่ งกนั มาก เวลา
จบั ไขท้ ีไรตอ้ งปลอ่ ย ใหส้ รา่ งเอง ไมม่ อี บุ ายพจิ ารณาแก ้ไขพอ ไข้ลดลงบา้ งเลย
ท่านอาจารย์เองคงนึกร�ำคาญ เลยท�ำเป็นดุเอาเสียบ้างว่า ท่านนี้มีแต่ช่ือว่ามหา ๆ แต่
ความร้ทู ่เี รียนมา ไม่เหน็ เปน็ ประ โยชน์อะ ไรเลย ชว่ ยแก ้ไขบรรเทาตวั เอง ในเวลาจำ� เป็นบา้ งก็ ไม ่ได้
ทา่ น ไปเรียน ให้เสียกระดาษเปล่า ๆ และเอาแตช่ ่ือมหาเปลา่ ๆ มาท�ำ ไม การเรยี นความร้ทู กุ แขนง
ต้องเรียนมาเพื่อช่วยตัวเอง แต่ความรู้ท่านมหาเป็นความรู้ประเภท ใดก็ ไม่รู้ จึง ไม่เห็นเกิด
ประ โยชนอ์ ะ ไรเลย เจา้ ของเป็น ไข้แทบตายอยูแ่ ลว้ ความรูท้ เี่ รยี นมา ไม่เหน็ มาช่วยบรรเทา ให้เบาลง
บ้างเลย ทา่ นเรียนมาเพ่ืออะ ไรกนั แน่ผมยงั แปล ไมอ่ อก ผม ไม่เห็น ได้เรยี นเป็นมหาเปรยี ญอะ ไร
แม้ประ โยคเดียวก็ ไม่ ได้กบั เขา มแี ตก่ รรมฐานหา้ ทีอ่ ปุ ัชฌายะมอบ ใหแ้ ตว่ ันอุปสมบทเทา่ นัน้ ตดิ ตวั
อยทู่ ุกวนั นี้ ก็ยังพอรักษาตวั ได้ ไม่เหน็ ออ่ นแอเหมอื นทา่ นท่เี รยี นมากแตก่ อ็ ่อนแอมาก ทา่ นน่ี
อ่อนแอยิ่งกว่าผู้หญิงท่ี ไม่ ได้รับการศึกษาเลย ผู้ชายทั้งคน มหาทั้งองค์ ท�ำ ไมจึงอ่อนแอนัก
เวลาเป็น ไข้ ไม่เห็นมีลักษณะผู้ชายและการเรียนรู้ธรรมแฝงอยู่บ้างเลย ควรเอาเคร่ืองของผู้ชาย
ทั้งหมด ไปมอบ ให้ผู้หญงิ เสยี แล้ว ไปขอเอาเครื่องของผหู้ ญิงมาสวม ใส่เขา้ ไป จะ ไดเ้ ปน็ ผ้หู ญิง ไป
เสียทัง้ คน ไข้กอ็ าจจะลดลงบา้ งเพราะมนั เหน็ วา่ เป็นผหู้ ญงิ คงไม่กลา้ ทรมานอยา่ งรุนแรง มาเยี่ยม
ที ไรแทนทจี่ ะเห็นท่าทางองอาจกลา้ หาญพอ ให้เบา ใจด้วยบา้ ง แต่กลับเหน็ แตค่ วาม ใจนอ้ ยอ่อนแอ
เป็นประจำ� เรื่อยมา กรรมฐานและมหาน้ันเรียนมาท�ำ ไมไม่พจิ ารณาบา้ ง ท่านว่าทุกขังอรยิ สัจจัง
205
นั้นหมายความว่าอย่าง ไร หมายความว่า ให้อ่อนแอและเวลาเป็น ไข้ข้ึนมาคอยแต่จะร้อง ไห้คิดถึง
พ่อถึงแม่อย่างน้ันหรือ ถ้าเช่นน้ันก็เป็นกรรมฐานปลอมล่ะซิ เพียงทุกขเวทนาเกิดจาก ไข้เท่านี้
ก็จะทน ไม่ ไหว บทถึงเวลาจวนตัวเข้าจริง ๆ จะ ไม่ล้มละลาย ไปแบบ ไม่เป็นท่าล่ะหรือ เราเร่ิม
ไมเ่ ป็นทา่ แตบ่ ดั น้แี ลว้ จะเหน็ สจั จธรรม มที ุกขสจั จ์ เปน็ ต้น เปน็ ของจริง ได้อยา่ ง ไร ผจู้ ะพน้ จาก
โลกสมมุติต้องเห็นสัจจธรรมเป็นของจริงเต็มส่วน แต่นี้เพียงทุกขสัจจ์เริ่มต่ืนนอนออกล้างหน้า
ล้างตากระตุกกระตกิ นิดหนอ่ ยเทา่ นัน้ ก็เรมิ่ ยอมอยา่ งหมอบราบ แล้วจะ ไปท ี่ไหนกนั ไดเ้ ลา่
พอท่าน ให้อุบายเผด็ รอ้ นบ้างเป็นการหย่ังเสยี งดูจบลงน่งิ อยูค่ รหู่ น่งึ มอง ไปเหน็ ท่านมหา
องค์นั้นกำ� ลังรอ้ ง ไห้น�้ำตา ไหลออกมาเปยี กหน้า ท่านเลยหาอบุ ายหนี ไป ในขณะน้ันและกอ่ นจะ ไป
ท�ำทา่ ปลอบ โยนวา่ ไม่เป็น ไรเดย๋ี วหาย ผมก็แกลง้ วา่ ใหท้ า่ นมหา ไปอยา่ งนน้ั เอง แล้วก็ ไปท่ีพกั
พอตอนกลางคืนท่านคงพิจารณาหายาขนาน ใหม่ ขนานท่ี ให้ ไปแล้วอาจจะแรง ไปบ้าง
สำ� หรบั คน ไขร้ ายนท้ี ่ีใจ ไมเ่ ขม้ แขง็ พอ เชา้ วนั หลงั และคราวตอ่ ไปทา่ นเปลยี่ นยาขนาน ใหม ่โดยสน้ิ เชงิ
คอื ม ิไดน้ ำ� กริ ยิ านน้ั มา ใชอ้ กี ตอ่ ไปเลย คราวนมี้ แี ตแ่ สดงอาการปลอบ โยนเอาอกเอา ใจ ใหญค่ ลา้ ยกบั
ไม่ ใช่ท่านอาจารย์มั่นคนเก่าเลย พูดจาด้วยถ้อยค�ำ ไพเราะอ่อนหวานเหมือนน้�ำอ้อยน้�ำตาลเป็น
กระสอบ ๆ ทมุ่ เทลงทกุ เช้าทุกเย็นจนหวานหอม ไปทัว่ บรเิ วณเหมาะแก ่โรคอ่อนแออยา่ งบอก ไมถ่ กู
ทง้ั สงั เกตคน ไข้อาการดขี ้ึนหรือทรุดลง ท้งั วางยาเคลอื บน้ำ� ตาลทุกเชา้ – เย็นจนเห็นผลประจกั ษ ์ใจ
ทงั้ คน ไขค้ นดมี ีความสุข โดยทวั่ กนั คน ไขก้ ็ค่อยหายวันหายคนื ไปเป็นล�ำดบั จนหายสนิท แต่กิน
เวลาหลายเดือนกว่าจะหายขาด ได้ นับว่ายาขนานสุดท้าย ได้ผลดีเกินคาด นี่คืออุบายท่านที่
เปรียบกับหมอผู้ฉลาดท้ังภายนอกภาย ใน พลิก ได้ทุกท่าทุกทาง ไม่จนสติปัญญาน�ำมา ใช้ ได้
ทุกกรณี จงึ ควรถอื แบบฉบับของชาวเราผ้กู �ำลังแสวงหาความฉลาด ใส่ตน ที่น�ำมาลงก็เพ่ือท่านที่
สน ใจ ไดอ้ า่ นบา้ ง อาจเกดิ ประ โยชนเ์ ทา่ ทคี่ วรเพราะเปน็ อบุ ายวธิ ขี องทา่ นผฉู้ ลาดมปี ญั ญาหลกั แหลม
ไม่จนแต้มจนมุมตอ่ เหตุการณท์ เี่ กดิ ข้ึนเฉพาะหน้า
ตามปรกตินสิ ัยทา่ นพระอาจารย์มัน่ เวลาเข้าทค่ี ับขนั จนมุมทา่ นชอบคดิ ค้นด้วยสติปญั ญา
ไม่อย่เู ฉย ๆ เช่น เวลาเจบ็ ไขห้ รือเวลาพจิ ารณา ไปเจอเอากเิ ลสตัวสำ� คัญเขา้ จนหาทางออก ไม่ ได้
น่ันแลคอื เวลาคับขัน จิตจะน่ิงนอน ใจอย ู่ไม ่ได้ ต้องหมนุ ติ้วท้งั วันทง้ั คนื จนเกิดอุบายปญั ญานำ� มา
แก ้ไขทันเหตุการณ์และผ่าน ไป ไดเ้ ป็นพกั ๆ ไม่จนมุม ทา่ นเคยเห็นผลทำ� นองนี้ตลอดมาแตเ่ ริม่ ออก
ปฏบิ ตั ิจนอวสาน เวลามีพระ ไปอาศัยอยู่กับท่านและเกิดเจบ็ ไข้ ได้ป่วยขึน้ มา ทา่ นมักจะเตอื น
ดว้ ยอุบายต่าง ๆ เพื่อระงับอาการ ไม่ ใหห้ นัก ไป ในทางหยูกยาจนเกิน ไป และเพอ่ื เกิดอบุ ายตา่ ง ๆ
206
อันเป็นวธิ ีพิจารณาธรรม ไปดว้ ย ในขณะเดยี วกัน ทา่ นถอื ว่าทกุ ขเวทนาทีเ่ กิดขึน้ ในกาย ใน ใจเปน็
เรอ่ื งของสจั จธรรม โดยตรง ต้องพิจารณา ให้ร ู้ในสงิ่ ที่ควรจะรู้ ได้ ไมป่ ลอ่ ย ให้ทุกข์ย่�ำยีอยู่เปลา่ ๆ
เหมือนคน ไม่ ไดร้ บั การศึกษาอบรมธรรมมาเลย
เฉพาะท่านเองเคย ได้อุบายต่าง ๆ จากการป่วยมาเป็นล�ำดับ ไม่เคยปล่อย ให้ทุกขเวทนา
ท่ีเกิดขึน้ จากการเจ็บปว่ ยต่าง ๆ ย่ำ� ยีอย่เู ฉย ๆ โดยมิ ไดพ้ ิจารณา ให้รู้เร่อื งของมนั บา้ งเทา่ ทส่ี ามารถ
เวลาเช่นน้ันท่านถือเป็นความจ�ำเป็นที่ต้องพิจารณาจนสุดความสามารถ เพื่อเป็นการฝึกซ้อมสติ
ปัญญาว่าจะทันกับเหตุการณ์ที่เกิดข้ึนเฉพาะหน้าหรือมีความล้มเหลว ไปอย่าง ไรบ้าง แล้วแก้ ไข
ดัดแปลงกัน ใหม่จนเป็นที่พอ ใจ ว่าสติปัญญาท่ีเคยอบรมและฝึกซ้อมมาเป็นเวลานานขณะเข้าสู่
สงครามคือความทุกข์ทรมาน ใจ ไม่มีความหว่ันเกรงต่อความจริง คือ ทุกขสัจจ์ อันเป็น
สจั จธรรมของจรงิ ทกุ สว่ น สติปัญญาก็ทำ� หนา้ ท่ที ันกบั เหตุการณ์ ไม่มีความสะท้านหวนั่ ไหวกับ
พายุคอื ทกุ ข์ท ่ีโหมกันมาทกุ ทิศทุกทางเบ้ืองบนเบ้ืองลา่ ง ด้านขวางสถานกลาง สามารถพจิ ารณา
ตะลอ่ มเข้ามาสู่หลักความจริง ได ้โดยตลอด
ดังนั้นทา่ นจึงชอบ ใช้อุบายแก่บรรดาศิษยห์ นัก ไปทางพจิ ารณาทุกขเวทนา เพราะเป็นการ
ฝึกซอ้ มสติปญั ญาศรัทธาความเพยี ร ให้เขม้ แขง็ แกล้วกล้า เวลาเอาจรงิ เอาจังคอื ขณะขนั ธ์จะแตก
จะไม่ต้องกลัวมหันตทุกข์ที่แสดงตัวอย่างเต็มท่ี ในเวลาน้ัน ผู้พิจารณาจนรู้เท่าทันขันธ์ดังกล่าวนี้
อยกู่ ็สบาย ตายกม็ ชี ัยชนะ สมกับเป็นนกั ต่อสเู้ พอ่ื เอาตัวรอดเปน็ ยอดคน คือเราเองซงึ่ เป็น
คน ๆ หน่ึง ไมต่ อ้ งเป็นยอด ใครท ่ีไหน ได้เราและเป็นยอดเราแล้วเป็นพอตัว
ท่านมีทั้งหูทิพย์ ตาทิพย์ และปรจิตตวิชา
ท่านอาจารยม์ ่ันนับวา่ เป็นอาจารยต์ ัวอยา่ ง ได้ทัง้ ภายนอกภาย ใน ความเพียร ความอดทน
ความอาจหาญ ความฉลาดภายนอกภาย ใน ความสัน โดษและมกั น้อย นับว่าทา่ นเปน็ เยีย่ ม ใน
สมยั ปจั จบุ ัน ยากจะมีลกู ศษิ ย์คน ใดล�้ำหนา้ ท่าน ไป ได้ ท่านมที ั้งหทู ิพย์ ตาทพิ ย์ และปรจิตตวิชา
คือฟงั ไดท้ ้งั เสยี งสัตว์ เสียงมนุษย์ เสียงภตู ผี เทวบตุ รเทวดา อินทร์ พรหม ยม นาค เห็น ได้
ท้งั สตั ว์มนษุ ยท์ ่เี ป็นกายและวตั ถุหยาบ ทง้ั ทเ่ี ป็นกายทพิ ย์ เช่น เปรตผี เทวดา เปน็ ตน้ ร้ ูไดท้ ั้ง
จติ สตั วจ์ ติ มนษุ ยว์ ่ามคี วามเศรา้ หมองผอ่ ง ใสประการ ใด ตลอดความคิดปรุงต่าง ๆ ท่ีคดิ อยู่ภาย ใน
บางคร้ังแม้เจ้าตัวผู้คิดข้ึนเองก็ ไม่รู้ว่า ได้คิดอะ ไร ไปบ้าง เพราะเปิดทาง ให้ความคิดนึก ไหลออก
สู่อารมณ์ต่าง ๆ อยู่ตลอดเวลา โดย ไม่มีสติควบคุมรักษาบ้างเลย กระทั่ง ได้ยินปัญหาท่านเป็นเชิง
207
ทักขึน้ มาถึงระลึก ได้ บางรายก็ยงั มัวเซอ่ ไม่ทราบว่าท่านพดู อะ ไร ใหต้ ัวบ้างกย็ ังมี จึงน่าสลดสงั เวช
อยู่มากส�ำหรับรายเช่นนั้น เวลาอยู่กับท่าน ไม่จ�ำต้องอยู่ต่อหน้าท่านก็ ได้ เพียงอยู่ภาย ในวัด
หรอื ในสำ� นกั เดียวกับทา่ นกพ็ อแลว้ ขณะคดิ คะนอง ไปตา่ ง ๆ แบบปลอ่ ยตวั ไมม่ สี ติ เวลามาหาทา่ น
จะ ไดย้ นิ คำ� พดู แปลก ๆ ออกมา ในเวลา ใดเวลาหนึง่ จน ได้ ยิ่ง ไปหาญคดิ เร่ืองลึกลบั ในเวลาอยู่ตอ่
หน้าทา่ นด้วยแล้ว จะเป็นเวลาท่านกำ� ลงั แสดงธรรมอบรมอย่กู ต็ าม เวลาสนทนาธรรมกนั อยู่กต็ าม
หรอื เวลาอ่นื ใดกต็ าม ในเวลานน้ั จะ ได้ยนิ ค�ำพูดหรือค�ำตอบเป็นเชงิ ไม้เรยี วหรือเปน็ อุบายแปลก ๆ
อยา่ ง ใดอยา่ งหนง่ึ ออกมาจน ได้ นอกจากท่านข้ีเกยี จเท่านัน้ จึงปล่อย ไปตามกรรม ในบางคราว
ตามที่พระอาจารย์ท้ังหลายที่เป็นลูกศิษย์และเคยอยู่เชียง ใหม่กับท่านเล่า ให้ฟังถึงเร่ือง
หทู ิพย์ ตาทิพย์ และปรจติ ตวิชาของท่านว่าน่าอศั จรรยแ์ ละนา่ กลัวมาก เฉพาะปรจติ ตวชิ ารู้สกึ ว่า
ท่านรวดเร็วมาก ใครคดิ ไม่ดขี ึน้ ที่ ใดขณะ ใดเป็น ได้การทันทีแทบทกุ คร้ัง ฉะนั้น เวลาอยู่กบั ท่าน
ต่างองค์ตา่ งระวังส�ำรวมอินทรียอ์ ยา่ งเตม็ ท่ี ไม่เช่นนั้นตอ้ ง โดนแน่ ไมม่ ีทางปิดบงั หรอื หลกี เลยี่ ง
ได้ บางคร้งั มีพระบางองค์คดิ เร่อื งท่านดุอยู ่โดยลำ� พังตนเอง เหตทุ ีจ่ ะคิดกเ็ พราะกลัวท่านมาก
พอมาหาทา่ น ทา่ นกเ็ รม่ิ ตอบปญั หาทนั ทวี า่ แทบทกุ สงิ่ ไมว่ า่ อาหารหรอื ทอี่ ยเู่ ครอื่ ง ใชส้ อยนงุ่ หม่ ตา่ ง ๆ
กอ่ นจะส�ำเร็จรูปมา ใชป้ ระ โยชน์ ไดต้ ้องผ่านการจดั การทำ� การหงุ การตม้ การฟัน การถาก
การเลื่อย การ ไส การปกั การทอ มาอย่างเต็มทมี่ ิ ใช่หรอื อย่ ู ๆ ก็สำ� เรจ็ รปู ออกมา ใหอ้ ยู่กิน
ใชส้ อยอยา่ งสบาย ไปเลยอยา่ งนนั้ ไมเ่ คยมี เพราะ โลกน้ีเปน็ โลกสร้างอยสู่ รา้ งกิน มิ ใช ่โลกนอน
อยเู่ ฉย ๆ แล้วก็เกิดมาเอง เหน็ แตค่ นตายเทา่ น้ันเองที่นอนอยู่เฉย ๆ ไ ม่ต้องทำ� อย่ทู ำ� กิน ไมต่ ้อง
ดัดแปลงแต่งมรรยาทความประพฤติ ไม่ต้องมีครูอาจารย์ดุด่าสั่งสอน ก็เรายัง ไม่ตายและยัง
แสวงหาครูอาจารย์ ให้อบรมสั่งสอนอยู่ แต่แล้วก็กลัวอย่าง ไม่มีเหตุมีผลและคิดว่าท่านดุท่านด่า
ถา้ ท่าน ไมว่ า่ อะ ไรเลย กจ็ ะคดิ ไปวา่ ทา่ น ไม่ส่งั ไม่สอน ก็ย่งิ จะรอ้ นเขา้ ไปอีก เลย ไม่มีอะ ไรพอดี
มีแต่เรอ่ื งคิดแบบ โดดขน้ึ โดดลง ทำ� นองวานรตวั โดดอยู่บนก่งิ ไม้ โดด ไป โดดมาถกู กงิ่ ไมผ้ ุก็ลง
นอนกบั พืน้ เทา่ นั้นเอง เราจะเอาแบบ ไหน จะเอาแบบ โดดก่ิง ไม้ผุ หรือจะเอาแบบพระผมู้ ีครู
อาจารยค์ อยบอกกลา่ วสั่งสอน บางทกี ถ็ ามเจา้ ของต้นเหตุเสียเอง เผือ่ ได้สตริ ะลกึ รตู้ วั วา่ ไดค้ ิด
อยา่ ง ไร ไปบ้าง บางครงั้ กอ็ ธิบายเปรียบเปรย ไปธรรมดา แต่รวมแลว้ กเ็ พ่ือเจ้าตวั ได้ระลกึ ร้ ูใน
สงิ่ ทค่ี ิด ไปแลว้ นนั้ ว่า ไม่สญู หาย ไป ไหน ยงั กลบั มา ใหเ้ จา้ ของ ได้ฟังอีก ทั้งยงั ไดร้ ูค้ วามผิด – ถูก
ของตวั คราวต่อ ไปจะ ไดร้ ะวงั ส�ำรวม ไม่คดิ แบบเปิด โปง ไปถา่ ยเดยี ว
208
บางครั้งท่านเทศน์อย่างเผ็ดร้อน และ ในบางขณะยัง ได้ยกเอาองค์ท่านออกเป็นหลักฐาน
ในทางความเพยี รเกี่ยวกบั ความเด็ดเดี่ยวอาจหาญ ไม่กลัวตายกม็ ี เพอ่ื ปลุก ใจบรรดาศษิ ย ์ใหม้ แี ก ่ใจ
โดยเทศน์เป็นเชิงว่าถ้า ใครกลัวตายเพราะความเด็ดเดี่ยวทางความเพียร ผู้น้ันจะต้องกลับมาตาย
อีกหลายภพหลายชาติไมอ่ าจนับ ได้ ส่วนผ ู้ใด ไม่กลวั ตายผูน้ ้ันจะตดั ภพ – ชาติ ใหน้ ้อยลงถงึ กบั ไมม่ ี
ภพ – ชาตเิ หลอื อย่แู ละผนู้ ั้นแลจะเป็นผ้ ูไป ไมก่ ลับหลงั มาหาบทกุ ข์อีก ตัวผมเองสลบ ไปถงึ ๓ หน
เพราะความเพียรกล้าเวทนาทับ โถม ยงั ไม่เห็นตายและยงั รอดมาเป็นอาจารย์สอนหมคู่ ณะอยู่ ได้
หมู่เพื่อนท�ำความเพียรยัง ไม่ถึงข้ันสลบ ไสลเลย ท�ำ ไมจึงกลัวตายกันนักหนาเล่า ถ้า ไม่ตาย ไป
พักหน่ึงก่อนก็น่ากลัวไม่เห็นธรรมอัศจรรย์ ใครจะเช่ือหรือ ไม่ผมก็ ได้ท�ำมาอย่างน้ี รู้เห็นธรรม
มาบา้ งตามก�ำลังก็ดว้ ยวธิ ีนี้ แลว้ จะ ให้สอนหมู่คณะว่าคอ่ ยเปน็ ค่อย ไปนะ ฉัน ให้มาก นอน ใหม้ าก
ขี้เกียจ ให้มาก กเิ ลสจะ ไดก้ ลัว อยา่ งนี้ผมสอน ไม่ ได้ เพราะ ไม ่ใชท่ างกเิ ลสจะกลวั นอกจากมนั จะ
หวั เราะเยาะเอาวนั ยังคำ�่ ว่านึกวา่ พากนั มาทำ� ความพากเพียร แต่แล้วทำ� ไมจงึ พากันมานอนตาย
อยู่อย่างนี้ ทั้ง ๆ ที่ยังหาย ใจอยู่ หรือพระพวกนี้พร้อมกันตายด้วยท้ังยังมีลมหาย ใจอยู่อย่างน้ี
เท่านั้น ไม่มอี ะ ไรจะน่าชมเชย
พอเทศน์จบลงก็มีพระองค์หนึ่งคิดขึน้ มาด้วยทฏิ ฐิ ในเวลานน้ั ว่า โอ โฮท้ ำ� ความเพียรขนาด
ถึงกบั สลบ ไปเช่นน้นั มันเกิน ไป ถา้ จะเป็นถึงขนาดนน้ั แล้วเรากย็ ัง ไม ่ไปนิพพาน แม้จะทุกขอ์ ยู่ ใน
โลกก็ยอมทุกข์มัน ไป โลกเขาก็ทุกข์เหมือนกันมิ ได้ทุกข์เฉพาะเราคนเดียว ลงถึงสลบ ไสลแล้ว
จึงจะ ได้ ไปนิพพานเช่นนี้ ใครจะ ไปสักก่ีร้อยก่ีพันองค์ก็เชิญ ไปเถิด ส�ำหรับเราแล้วเป็น ไม่ ไปแน่ ๆ
เราอยู่ ใน โลกก็ ไม่เห็นทุกข์ถึงกับสลบ ก็ทุกข์ธรรมดาเหมือน โลก ๆ เขาทุกข์กัน แต่ถ้าจะ ไป
นิพพานต้องสลบเสียก่อนค่อย ไปกัน ได้อย่างนี้ ก็เท่ากับนิพพานคือยาสลบเราดี ๆ นี่เอง ใครจะ
อยาก ไป เรานะ่ ไมอ่ ยาก ไปแนเ่ พราะ ไมอ่ ยากสลบ เพียงเหน็ เขาสลบก็กลัวจะตายอยู่แลว้ ยงั จะ
ถูกเราเขา้ ไปอีกคนกแ็ ย่
อีกพักหน่ึงธรรมเทศนาก็เร่ิมข้ึนอย่างเผ็ดร้อนมากราวกับจะฉีกดิบ ๆ สด ๆ เอาทีเดียวว่า
ท่าน.... ไม่เช่ือผมหรอื ? ท่านเขา้ ใจวา่ ผมมา โกหกเล่น ๆ อยา่ งนัน้ หรอื ? ถ้า ไมเ่ ชอ่ื ก็นมิ นต์ ไปซะซิ
จะมาอยู่ ให้หนกั สำ� นกั ทำ� ไม ทา่ นมาเอง ผมม ิได้นมิ นตท์ า่ นมา เม่อื ไมเ่ ช่ือก็ตอ้ ง ไปเอง อยา่ ให้
ทนั ได้ขับ ไล่ แม้จะอยู่ก ็ไม่เป็นประ โยชน์ เพราะธรรมของพระพทุ ธเจ้ามิ ได้ประกาศ ไว้เพ่ือสอน
โมฆบรุ ุษเช่นท่าน ความคิดแบบทา่ น ไม่ควรน�ำมาคดิ ในเพศของพระทก่ี ำ� ลังอาศยั ผา้ เหลอื งเปน็ อยู่
เพราะผ้ทู รงเพศน้ีเป็นเพศที่เช่ือธรรม แตท่ า่ นม ิได้เชือ่ ผมและเชอ่ื ธรรม จึงคิดคา้ นความพน้ ทุกข์
ท่ีเป็น ไปตามแบบของพระพุทธเจ้า ท่ี ใดสนุกกินสนุกนอน ไม่ต้องท�ำความพากเพียร ให้ล�ำบากก็
209
นิมนต์ท่าน ไปท่ีนั้น ถ้ารู้ธรรมเห็นธรรมของจริงด้วยวิธีนั้น ในสถานที่นั้นก็ขอนิมนต์กลับมา โปรด
ผมคนกิเลสหนาปัญญาทึบบ้าง จะยกมือสาธุสุดศอกสุดแขนและขอบบุญขอบคุณล้นเกล้า
ล้นกระหมอ่ มนนั่ แล การสอนผมก็สอนด้วยความจริง วา่ ผ้หู วังพ้นทกุ ข์ต้องเป็นผอู้ าจหาญ ไม่กลวั
ตาย แต่ทา่ น ไมเ่ ชือ่ วา่ เป็นความจรงิ จึงขอเกดิ – ตายเพอ่ื แบกหามทกุ ข์อย ู่ใน โลก ท่านอยาก
อยู ่ใน โลกกองทกุ ขก์ เ็ ชญิ ทา่ นอย ู่ไป แตอ่ ยา่ มาคดั คา้ นทางเดนิ ของธรรมทเ่ี ปน็ ศาสดาสอน โลกแทน
พระพทุ ธเจ้า จะเปน็ ขวากหนามทิม่ แทงพระศาสนาอันบรสิ ุทธิ์ และก้นั ทางเดินของหมู่ชนผมู้ งุ่
ตามเสด็จอยู่อย่างเต็ม ใจ
ความคดิ เหน็ แบบท่านนอกจากจะเป็นความผิดเฉพาะตนแล้ว ถา้ ได้ระบายออกทางวาจา
ยังจะเป็นข้าศึกแก่พระศาสนาและประชาชนอยา่ งมากมาย ผมเข้า ใจว่าท่านมาบ�ำเพ็ญเพ่อื ส่งเสรมิ
ตนและพระศาสนา มิ ได้คิดว่าท่านจะมาคิดทำ� ลายตนและพระศาสนาตลอดหมชู่ นทีเ่ ลอ่ื ม ใสธรรม
ของพระพุทธเจ้า เพ่ิงทราบวา่ ทา่ นคอื เพชฌฆาตสงั หารตนและพระศาสนาอย่างย่อยยบั ถ้า ไม่คิด
แก ้ไขเสียแตข่ ณะน้ที า่ นจะเสยี คน และยงั จะทำ� ใหผ้ อู้ ่ืนเสยี ตามทา่ นอกี มากมาย ซึ่งน่าสลดและ
เสียดายอย่างย่ิง ในพระประวัติมีว่าก่อนตรสั รู้พระพทุ ธเจ้าทรงบำ� เพ็ญพระองคส์ ลบ ไปสามครง้ั นนั้
ท่านเชื่อว่าเป็นความจริงหรือหาว่าพระองค์ โกหก ท่านเป็นคนท้ังคนและมาบวชเป็นพระธุดงค์
ทั้งองค์ ไม่เช่ือธรรมและเจ้าของพระประวัติแล้วก็หมดคุณค่าทั้งมวล ในตัวคน เพียงอยู่กับ
ลมหาย ใจ ไปวนั หนึ่งเทา่ นัน้ ซึง่ ไมผ่ ดิ อะ ไรกบั คนทต่ี ายแลว้ เพราะทิฏฐพิ า ใหต้ ายท้งั เปน็ เหม็น
ท้ังท่ียังมีลมเดินอยู่ว่าอย่าง ไรล่ะท่าน....จะเลือกทาง ไหนเดินเพื่อความสะดวกราบรื่นปลอดภัย
แก่ตัวเอง เฉพาะผมแล้ว ไมม่ ที าง ใหท้ า่ นเดนิ ย่ิงกว่าน้ี นอกจากท่ีแสดงมานเ้ี ท่านัน้ พระพทุ ธเจ้า
และพระสาวกอรหนั ต์ท่านทกุ ๆ องค์กเ็ ดินทางนี้ ไมม่ ที างพเิ ศษ ไปกวา่ นี้ ผมก็เดินตามทางสายน้ี
นับแต่วันบวชและปฏบิ ตั มิ า แม้ธรรมทีน่ ำ� มาสงั่ สอนหม่เู พือ่ นก็ ได้มาจากทางสายน้ี
ทา่ นแสดงอย่างเผ็ดร้อนยง่ิ กวา่ คร้ัง ใด ๆ พรอ้ มดว้ ยเหตผุ ลประหนง่ึ น�ำ้ ไหล ไฟสวา่ ง ไปทว่ั
โลกธาตุ แตน่ �ำมาลงพอประมาณ ไมเ่ ตม็ ตามความจรงิ ทท่ี า่ นแสดง ในเวลาน้นั บรรดาผู้ฟงั แทบตวั
จมลงพนื้ ใจสนั่ ขวญั หาย ไปตาม ๆ กัน สต ิไม่อยูก่ ับตวั ตา่ งคนตา่ งกลวั เพราะ ไม่เคย ไดย้ ิน ได้ฟงั มา
ในชีวิต ขณะทที่ า่ นเทศนท์ ีเ่ ตม็ ไปดว้ ยเหตผุ ลและเผ็ดรอ้ นอย่างถงึ ใจเชน่ นัน้ ทำ� ใหผ้ ู้ฟงั เห็นจรงิ
ยอมจ�ำนนและกลวั ท่านมาก เฉพาะผู้เป็นตน้ เหตุก็เหน็ จริงตามและยอมตนลง โดยล�ำดบั จนยอม
อย่างหมอบราบ ไมม่ ีทาง โต้แยง้ การแสดงก็คอ่ ย ๆ ลดความเผ็ดรอ้ นลงตาม ๆ กนั จนเลยลงมาถึง
ขน้ั ปลอบ โยนเมอื่ เห็นผนู้ น้ั ยอมตนแล้ว พอจบการแสดงธรรมและเลิกประชุมแล้วออกมา ตา่ งถาม
กันวนุ่ วายว่า ใครนะ่ หาญ ไปคดิ เรื่องพสิ ดารเกนิ โลก ทำ� ใหท้ ่านเทศน ์ใหญ่จนเสยี ง ไม่เป็นเสียง
210
จนกลายเปน็ เสยี งฟา้ รอ้ งฟา้ ผา่ ไป ได้ ใคร ไปคดิ คดั คา้ นอะ ไรจงั ๆ กบั ทา่ น ทา่ นถงึ ไดเ้ ทศนข์ นาดนี้
ต้องมี ถ้า ไม่มีท่าน ไม่เคยเทศน์ถึงขนาดนี้ ความคิดนั้นคง ไปกระทบท่านอย่างแรงจนรั้ง ไม่อยู่
ท่านถงึ ได้เปดิ เต็มท่ี พระองคน์ ั้นก็เปดิ เผย ให้ฟงั ดงั ทีเ่ ขียนผา่ นมา
ตามธรรมดาพระธดุ งคท์ า่ นมิ ได้ปดิ บังความคิดความเหน็ ของตัว องค ์ใดคิดอย่าง ไรเวลาถกู
ท่านเทศนผ์ ่าน ไปแล้วออกมาจากท่นี น้ั ขณะถามกันทา่ นก็เล่า ให้ฟังตามจริง ท่านเปน็ ทำ� นองน้ี
แทบทุกองค์ ท่านถือเป็นเรื่องขบขันและ ได้สติ ไปด้วยจากการเทศน์ดุด่าผู้คิดผิด ยิ่งเวลา ไป
บิณฑบาตหรือ ไปกิจธรุ ะต่าง ๆ ไปเจอเอาอะ ไรเข้า ในทตี่ า่ ง ๆ กลบั มา อารมณน์ นั้ คา้ งมาและคอย
กระซบิ เขยา่ ใหค้ ดิ อยเู่ สมอ นนั่ แลยงิ่ สำ� คญั และลงเครอ่ื งดดั สันดาน ถงึ ขนาดจนผฟู้ งั ดว้ ยกนั ตอ้ ง
ตก ใจกลวั และหันหน้ามององคน์ นั้ องค์นี ้ไปรอบ ๆ ไ ม่อยสู่ งบสุข ได้ เฉพาะตัวการเองมือ ไม้และ
อวยั วะส่ัน ไปท้ังร่าง ทั้งกลวั ทา่ น ทั้งละอายหมเู่ พอ่ื น ตวั แทบหมอบติดพื้นเงยศีรษะ ไมข่ นึ้ พอ
ออกมาก็รุมถามกนั อีกและ ไดค้ วามว่า มผี ูก้ อ่ เหตุ ให้ท่านตอ้ งเทศน์จน ได้อย่างนเี้ สมอ คิดแลว้ ก็
น่าสงสาร เพราะ ไม่มเี จตนา แต่กป็ ถุ ุชนคนธรรมดาเรา ไม ่ใช ่ไม้แหง้ ถูกแดดถูกฝนกย็ อ่ มแสดง
อาการร้อน อาการหนาว ไปบ้าง ขณะทคี่ ดิ นน้ั เน่อื งจากสติตาม ไมท่ ัน เพราะ ใจเปน็ ส่ิงทร่ี วดเรว็
ยง่ิ กวา่ สายฟ้าแลบจงึ ต้องถกู ท่านเข่นบอ่ ย ๆ เรอื่ งปรจิตตวิชาคือการกำ� หนดรู้ ใจผอู้ น่ื นั้น ทา่ น
รู้สกึ รวดเร็วมากเทา่ ทเี่ คยเหน็ มาแลว้ บรรดาพระทเี่ คยอยกู่ บั ทา่ นมาแลว้ ไมม่ ที างสงสยั ทา่ นเกยี่ วกบั
ความรปู้ ระเภทน้ี ทา่ นรู้ ไดอ้ ยา่ งรวดเร็วและทกั จิตของผ้คู ิดผดิ ได ้โดยถูกต้อง ไมม่ ผี ดิ นอกจากทา่ น
ข้เี กยี จทกั บอ่ ยกป็ ลอ่ ย ไปบา้ ง พอเรา ได้มเี วลาหาย ใจ มิฉะน้นั คงอดั อ้นั ตนั ใจตายเปน็ แน่ ขอ้ น้ี
ผเู้ ขียนเคย โดนบอ่ ยกวา่ เพ่อื น เพราะความ ไมอ่ ยู่เปน็ สุขน่นั แลเปน็ สาเหตุ
ผทู้ นอยกู่ บั ทา่ นไดน้ าน ๆ ยอ่ ม ไดก้ ำ� ลงั ทางจติ ตภาวนามหี ลกั ใจมน่ั คง เพราะถกู ชบุ ถกู เขน่
ถูกตบตีอยู่เสมอ ความที่เคยระวังส�ำรวม ใจอยู่เป็นนิตย์ ก็ย่อมกลายเป็นผู้มีสติปัญญาขึ้นมา
และสามารถต้านทานต่อเหตุการณ์ ได้ ถ้าเป็นวิชาทาง โลกก็เรียกว่าเรียนและทดลองกับครูจน
อย่ยู งคงกระพันชาตรี คืออยู่ปืนยืนดาบ ไม่สะทกสะท้าน เพราะฟัน ไมเ่ ข้ายงิ ไมอ่ อก ถา้ เปน็ ธรรม
กเ็ รียกวา่ ยนื ยงคงที่ต่ออารมณ์ดี – ชั่ว ไม่กลัววา่ จิตจะหวนั่ ไหวพร่นั พรึง เพราะส่งิ ยัว่ ยวนกวน ใจ
อยูอ่ ย่างสุค โต ในอริ ยิ าบถตา่ ง ๆ แต ่ใจปุถุชนเราพูดถึงนิพพานรู้สึกหดหเู่ หีย่ วแหง้ พิกล ไมห่ า้ วหาญ
ร่าเริงเหมือนพูดเร่ืองงานอ่ืน ๆ ที่นั่นท่ีนี่ ทั้งนี้คงคิดว่า ไม่สนุกสนานรื่นเริง เพราะ ไม่เคยไป
ไมเ่ คย ได้เคยถึงเหมือนสิ่งจ�ำเจทั้งหลาย ไม่จ�ำต้องพูดถึงพวกเราท่ีเป็นลูก ๆ หลาน ๆ ว่าไม่อยาก
ไปนิพพานกัน แม้แต่พอ่ – แม่ ปูย่ ่าตายายของพวกเราท่านยงั ไมค่ อ่ ยคิดอยาก ไปกัน ทั้ง ไม่คอ่ ย
เห็นท่านชักชวนบ้างเลย อย่างน้อยก็ชักชวนเข้าวัดฟังธรรมจ�ำศีลอบรมธรรม ใส่ ใจ พอเป็น
211
ผู้สงบงามตาบ้างไม่ประพฤติแสลงแทง ใจจนเกิน ไป เรื่องอนื่ ๆ ท่านยงั ชักชวนบ้างท้งั ทางตรงและ
ทางอ้อมจนเบื่อจะฟังและปฏิบตั ติ าม
ฉะนนั้ คำ� ว่านิพพานคงคดิ เดาลว่ งหนา้ กัน ไดอ้ ย่าง ไม่สงสยั ว่าจะผิด ว่านพิ พานก็คือเมอื ง
เงยี บนน่ั เอง เพราะ ไม่มปี ม่ี ีขล่ยุ เครื่องขบั กลอ่ มบำ� รงุ บ�ำเรอและผูค้ อยทะนุถนอมเอาอกเอา ใจ เปน็
เมือง ไร้ชาตขิ าดรสท่ ีโลกตอ้ งการเสยี ทุกอยา่ ง จงึ ไม่ค่อยมีใครคิดอยาก ไปกนั กลัวจะ ไปตกนรก
เมอื งงบเงยี บ ไม่มองเห็นหนา้ ใคร พี่ ป้า น้า อา สตั ว์สาราสิงห์ เสยี งนกเสียงกา เสียงรถเสยี งรา
เสียงหัวเราะและร้อง ไห้ก็ ไม่มี เป็นเมืองท่ีหมดความคาดหมายคลายความทะเยอทะยานอยาก
เสียทุกอย่าง ผยู้ งั มีความหวังอยู่จึง ไม่อยาก ไปกนั แม้จะ ไปก็คง ไป ไม ่ได้ เพราะยงั มีความหวัง
อนั เป็นเคร่อื งเหนยี่ วรงั้ ย้งั ใจ ไว้ว่าต้องรอ ทา่ นผู้ ไปนิพพาน ได้คอื ท่านผหู้ มดความหวังทาง โลกามสิ
โดยสน้ิ เชงิ ไม่ตดิ ตอ่ ก่อเรื่องราว ใจ ไม่หนาว ไมร่ อ้ น ไมห่ ย่อน ไมต่ ึง มีความพอดคี ือมัชฌมิ า
โดยหลกั ธรรมชาตเิ ป็นที่สถติ ไม่มคี วามอยาก ความหวงั ความหวิ โหยอดิ โรย ความรืน่ เริงบันเทงิ
ทั้งหลายอันเป็นเครื่องเขยา่ กอ่ กวนจติ ใจ ใหข้ ุ่นมวั มัว่ สมุ มีแตค่ วามสงบสขุ อันละเอียดสขุ ุม ไมม่ ี
ส่งิ ใด ๆ มาเขยา่ เย้ายวนเหมอื นจติ ท่เี จอื ดว้ ย โลกามิส ซง่ึ เป็นความสขุ เพยี งสมุ่ ๆ เดา ๆ ลมุ่ ๆ ดอน ๆ
สุขเพียง โยก ๆ คลอน ๆ คอยแต่จะหกจะล้มจะจมหาย ไป ไมจ่ ิรงั ถาวรพอหาย ใจ ได้ ถ้าเปน็ น้ำ�
ก็ท้ังขุ่นทั้ง โคลน ถ้าเป็นอาหารก็ทั้งเผ็ด ท้ังเปร้ียว ท้ังจืด ทั้งเค็ม ไม่มีรสอร่อยเหมาะสม
รบั เขา้ ไปคอยแตจ่ ะเปน็ ลม ท�ำ ใหง้ ่วงเหงาหาวนอนอย ู่ไมเ่ ปน็ สุข
ดังนัน้ สงิ่ ท่ีเคยสมั ผสั มาแล้วพอรรู้ สของมัน จึงควร ใคร่ครวญทดสอบความหนกั เบา ได้เสีย
ของส่ิงนั้น ๆ บ้าง พอมีทางระบายถ่ายเทพอประมาณ ส่วน ไม่ดีจะ ไม่นอนจมอยู่ ในจิตจน ไม่มี
ท่ีเก็บ เพราะมีมากเหลือประมาณ มอง ไปมาทาง ใดเห็นแต่กองทุกข์ที่ ใจเที่ยวเก็บมาสั่งสม ไว้
นักปราชญท์ ่านฉลาดกวา่ พวกเรามาก ในการปฏิบตั ิตอ่ ตัวเอง ทำ� อะ ไร พูดอะ ไร คิดอะ ไร ถกู ต้อง
จุดท่มี ุง่ หมาย ทา่ นไม่แย้ง ไมฝ่ ืน ไม่ขดั ขืนความจริง ทัง้ ไมเ่ ย่อหย่งิ จองหอง ไม่ลำ� พองตนว่าเกง่
วา่ ดี มผี เู้ ตือนสติ ทา่ นรีบยึดมาเป็นธรรมสอนตน ผิดกับพวกเราอยมู่ าก ราวฟา้ กับดิน จงึ ควร
ยึดถอื เปน็ หลักเป็นเกณฑ์ จะเป็นคนมขี อบเขต มีเหตมุ ผี ล ไมย่ อมท�ำตามความอยากทเ่ี คยมี
อำ� นาจบนหวั ใจมานาน
เมื่อพยายามฝ่าฝืนดัดแปลง ใจ ให้เป็น ไปตามทางของนักปราชญ์ ต้องประสบผล คือ
ความสุข ในปจั จบุ นั ทนั ตา แม้จะม ิได้เปน็ เจา้ ของเงินล้าน แต่ก็พอมที าง ได้รับความสุขจากสมบัติ
และความประพฤติดีของตนเท่าที่ควร เพราะคนฉลาดปกครองตน ให้มีความสุขและปลอดภัย
212
ไมจ่ ำ� ต้องเที่ยวแสวงหาทรัพยต์ ้งั มากมาย หรือเทย่ี วกอบ โกยเงนิ เปน็ ล้าน ๆ มาเป็นเครื่องบำ� รงุ
โดยถ่ายเดยี วถงึ จะมคี วามสขุ แมผ้ มู้ ีสมบัติพอประมาณ ในทางท่ชี อบ กพ็ อมคี วามสุข ได้และอาจ
มีความสุขมากกว่าผู้ ได้มา ในทางมิชอบเสียอีก เพราะน้ันมิ ใช่สมบัติของตนอย่างแท้จริงท้ัง ๆ ท่ี
อย่ ูในกรรมสิทธ์ิทตี่ นรับรอง แตก่ ฎความจรงิ คอื กรรมสาปแช่ง ไมเ่ ห็นด้วยและอ�ำนวยผลเปน็ ทกุ ข ์
ในล�ำดับตอ่ ไป ไม่มสี ิ้นสดุ นักปราชญ์ทา่ นจงึ กลัวกนั นกั หนา แต่คน โงอ่ ย่างพวกเราผู้ชอบสุกเอา
เผากินและชอบเห็นแก่ตัว จึงชอบท�ำกนั อตุ ลุดชนิด ไมม่ ีวนั อิม่ พอ ทั้งท ี่ไม่ประสบผลคือความสขุ
ดัง ใจหมาย แม้พยายาม ไปอยา่ ง ไมล่ ดละเพยี ง ไร
รับอาราธนานิมนต์กลับจังหวัดอุดรธานี
ทา่ นพระอาจารย์มัน่ คราวพักอยู่จังหวัดเชียง ใหม่ พระทีต่ งั้ ใจปฏิบตั ธิ ุดงคกรรมฐาน ไปอยู่
กบั ทา่ น ไมค่ ่อยมากนัก เพราะทา่ น ไมช่ อบออกมาเมืองมานาแถวนอก ๆ อยู่แต่ ในปา่ ในเขาตลอด
มา ขณะทท่ี า่ นอยเู่ ชยี ง ใหมก่ ็ไดร้ บั จดหมายทา่ นเจา้ คณุ ธรรมเจดยี ์ วดั โพธสิ มภรณ์ อดุ รธานี ซงึ่ เคย
เป็นลกู ศิษยท์ า่ นมาแต่เล็ก ๆ อาราธนานิมนต์ ใหท้ ่านกลบั ไปอยูจ่ งั หวดั อดุ รธานีหลายฉบับ แตท่ า่ น
ทงั้ ไม่ตอบจดหมาย ท้ัง ไมร่ ับนิมนตต์ ลอดมา จนราว พ.ศ. ๒๔๘๒ – ๘๓ ท่านเจา้ คุณธรรมเจดีย์
อุดรธานี มาอาราธนานมิ นต์ดว้ ยตนเอง และเขา้ ไปจนถงึ ทีท่ า่ นอาจารย์พักอยู่ ท่านจงึ ตอบ
จดหมายท่านเจ้าคณุ ทกุ ฉบับ ในเวลาเดียวกันว่า จดหมายทา่ นเจา้ คณุ สง่ มาผม ได้รบั ทกุ ฉบับ แต่
เป็นจดหมายเลก็ เห็นวา่ ไม่ส�ำคัญจึงม ิได้ตอบ แต่คราวนีจ้ ดหมาย ใหญม่ าคือทา่ นเจา้ คุณมาเอง
ผมจงึ ตอบ ว่าแล้วท่านหัวเราะ ทา่ นเจา้ คณุ กห็ วั เราะเชน่ กนั พอ ได้ โอกาสทา่ นเจา้ คณุ กอ็ าราธนา
นิมนต์ทา่ นอาจารย์ ใหก้ ลับ ไป โปรดทีอ่ ุดร ฯ ซ่งึ ทา่ น ไดจ้ ากมาเป็นเวลาหลายปแี ลว้ บรรดาสานุศิษย์
ทางอดุ ร ฯ คดิ ถงึ ท่านมาก ขอ ใหท้ ่านเจา้ คุณมาอาราธนา ในนามของชาวอุดร ฯ คราวนี้ท่านขดั
ไม ่ไดจ้ �ำต้องรบั ค�ำนิมนต์ จากนั้นทา่ นเจ้าคณุ กก็ ราบเรยี นกำ� หนดการมารับทา่ น ตกลงกนั ตน้ เดอื น
พฤษภาคม ๒๔๘๒ เปน็ ระยะเวลามารับท่าน ก่อนท่านอาจารย์จะจากที่พกั ออกมาวดั เจดียห์ ลวง
เชียง ใหม่ พวกรกุ ขเทวดาจ�ำนวนมากพากนั มาอาราธนาวงิ วอนขอ ให้ทา่ นพกั อย่ทู ี่นนั้ ต่อ ไป ยงั ไม่
อยาก ให้ท่านหนี ไป ไหน เขาบอกว่าเวลาท่านอยู่ท่ีน้ันพวกเทวดาทุกช้ันทุกภูมิ ได้รับความร่มเย็น
เป็นสุข โดยท่ัวกัน เพราะอ�ำนาจเมตตาธรรมท่านแผ่ครอบทั่วทุกทิศทุกทางทั้งกลางวันกลางคืน
เทวดาท้ังหลายมีความสุขมากและเคารพรักทา่ นมากมาย ไม่อยาก ใหท้ ่านจาก ไป เมื่อทา่ นจาก
ไปแล้วความสขุ ทพี่ วกเขาเคย ได้รบั จากทา่ นจะลดลง แม้การปกครองกนั ก็ ไม่สะดวกเหมอื นท่ที ่าน
ยังอยู่ ท่าน ได้บอกกับเทวดาทั้งหลายวา่ เป็นความจ�ำเปน็ ทีจ่ ะตอ้ งจาก ไป เพราะ ได้รบั คำ� นมิ นต์
213
แลว้ วา่ ไป จำ� ตอ้ ง ไปตามความสัตย์ความจริงจะเปลยี่ นแปลงเป็นอย่างอ่ืน ไม ่ได้ ค�ำพูดของพระ
ไมเ่ หมอื นค�ำพดู ของ โลกทัว่ ๆ ไป พระเปน็ ผู้มศี ีลต้องมีสัตย์ ถา้ ขาดคำ� สตั ย์ ศลี กก็ ลายเปน็ สญู
ไปทันที ไม่มีอะ ไรเหลอื อยู ่ในองคพ์ ระ ฉะนัน้ พระต้องรกั ษาสตั ย ์ – ศลี
พอตกเดอื นพฤษภาคม ท่านกับคณะลูกศษิ ย์ทีจ่ ะติดตาม ไปอุดร ฯ ด้วยก็เร่ิมออกเดนิ ทาง
จากท่ีพกั ออกมาวดั เจดยี ์หลวงและพกั ท่ีนั่น ฝา่ ยพระอาจารย์อุ่น วัดทิพยรตั น์นิมิตกับคณะ
ญาติ โยมชาวอดุ ร ฯ ท่ีมารบั ท่านก็มาถึง ในระยะเดยี วกนั ท่านพกั อยู่วัดเจดีย์หลวงราว ๖ – ๗ คืน
ขณะพักอยู่ที่น้ันก็มีคณะศรัทธาชาวเชียง ใหม่ที่มีความเลื่อม ใส ในท่าน ได้พร้อมกันมาอาราธนา
นิมนต์ ให้ท่านพักอยู่ท่ีน้ันนาน ๆ เพื่อ โปรดเมตตาชาวเชียง ใหม่ต่อ ไป แต่ท่านก็รับนิมนต์ ไม่ ได้
ทำ� นองเดียวกบั เทวดาอาราธนา เพราะ ไดร้ ับนมิ นต์เสียแลว้ ก่อนจะจากเชยี ง ใหม่ ทา่ นเจา้ คณุ
ราชกวแี ละคณะศรทั ธาเชยี ง ใหม่อาราธนาทา่ นขึ้นแสดงธรรม ในวนั วิสาขะ เปน็ กัณฑต์ ้น เพือ่ ไว้
อาลัยสำ� หรบั ศรทั ธาทัง้ หลาย ซง่ึ ผูเ้ ขยี นก็ ไปถงึ เชียง ใหม ่ในระยะเดียวกนั ได้ฟังเทศนท์ ่านดว้ ย
ความสน ใจอยา่ งยง่ิ ท่านแสดงธรรม ๓ ชว่ั โมงพอดถี ึงจบกัณฑ์ ท่านเทศน์เปน็ ทจ่ี บั ใจอย่างฝงั ลกึ
ยงั ไมม่ ีเวลาลบเลือนตลอดมาถงึ ปจั จุบนั
ใจความส�ำคัญของธรรมที่ท่านแสดง ในวันน้ันมีว่า วันน้ีตรงกับวันพระพุทธเจ้าประสูติ
ตรสั รแู้ ละดับขนั ธปรินพิ พาน เราเรียกว่าวันวสิ าขบูชา พระพทุ ธเจ้าเกดิ กบั สัตว ์โลกเกิด ต่างกัน
มากตรงที่ท่านเกิดแล้ว ไม่หลง โลกท่ีเกิดที่อยู่และที่ตาย มิหน�ำยังกลับรู้แจ้งท่ีเกิดท่ีอยู่และท่ีตาย
ของพระองค์ด้วยพระปัญญาญาณ โดยตลอดทั่วถึง ที่เรียกว่าตรัสรู้นั่นเอง เม่ือถึงกาลอันควร
จาก ไปกท็ รงลาขันธ์ทเ่ี คยอาศยั เปน็ เครอ่ื งมอื บำ� เพญ็ ความดมี าจนถงึ ข้นั สมบูรณเ์ ตม็ ท่ี แล้วจาก ไป
แบบสุค โต สมเป็นศาสดาของ โลกทัง้ สาม ไม่มที ีน่ ่าต�ำหนแิ มน้ ดิ เดียว ก่อนเสดจ็ จาก ไป โดย
พระกายท่ีหมดหนทางเยียวยาก็ ได้ประทานพระธรรม ไว้เป็นองค์แทนศาสดาซึ่งเป็นที่น่ากราบ ไหว้
บชู าคพู่ งึ่ เปน็ พ่ึงตายถวายชวี ติ จริง ๆ
เราทัง้ หลายต่างก็เกดิ มาด้วยวาสนา มบี ุญพอเปน็ มนุษย ์ได้อย่างเต็มภมู ิดังท่ที ราบอยูแ่ ก่ ใจ
แต่อย่าลืมตัวลืมวาสนาของตัว โดยลืมสร้างคุณงามความดีเสริมต่อ ภพ – ชาติของเราที่เคยเป็น
มนุษย์จะเปลี่ยนแปลงและกลับกลายหาย ไป ชาติต่�ำทรามที่ ไม่ปรารถนาจะกลายมาเป็นตัวเรา
เขา้ แลว้ แก้ ไม่ตก ความสงู ศักด์ิ ความต่ำ� ทราม ความสขุ ทุกขัน้ จนถงึ บรมสุข และความทกุ ข์
ทุกข้ันจนเข้าขน้ั มหนั ตทกุ ข์เหลา่ น้ีมี ไดก้ บั ทุกคนตลอดสัตว์ถ้าตนเองท�ำ ให้มี อยา่ เข้า ใจวา่ จะมี ได้
เฉพาะผู้ก�ำลังเสวยอยู่เทา่ น้นั โดยผ้อู ่ืนม ีไม่ ได้ เพราะส่งิ เหลา่ นี้เป็นสมบตั ิกลางแตก่ ลบั กลายมา
214
เป็นสมบัติจ�ำเพาะของผู้ผลิตผู้ท�ำก็ ได้ ฉะนั้น ท่านจึงสอน ไม่ ให้ดูถูกเหยียดหยามกันเมื่อเห็นเขา
ตกทุกข์หรือก�ำลังจน จนน่าทุเรศ เราอาจมีเวลาเป็นเช่นนั้นหรือย่ิงกว่านั้นก็ ได้ เม่ือถึงวาระ
เขา้ จริง ๆ ไมม่ ีใครมอี �ำนาจหลีกเล่ียง ได้ เพราะกรรมด ี – ช่วั เรามีทางสรา้ ง ได้เชน่ เดยี วกบั ผู้อื่น จงึ
มที างเป็น ได้เช่นเดยี วกับผูอ้ นื่ และผ้อู นื่ กม็ ที างเปน็ ได้เช่นท่ีเราเปน็ และเคยเปน็
ศาสนาเปน็ หลกั วชิ าตรวจตราดตู วั เองและผอู้ นื่ ไดอ้ ยา่ งแมน่ ยำ� และเปน็ วชิ าเครอื่ งเลอื กเฟน้
ได้อยา่ งดเี ย่ยี ม ไมม่ วี ิชา ใด ใน โลกเสมอเหมอื น นับแตบ่ วชและปฏิบตั มิ าอย่างเตม็ ก�ำลังจนถึงวนั นี้
ม ิได้ลดละการตรวจตราเลือกเฟ้นสงิ่ ดี – ช่ัวทีม่ แี ละเกิดอย่กู ับตนทกุ ระยะ ม ีใจเป็นตัวการพาสร้าง
กรรมประเภทต่าง ๆ จนเหน็ ไดช้ ดั วา่ กรรมมีอยู่กบั ผูท้ �ำ มี ใจเป็นตน้ เหตขุ องกรรมทง้ั มวล ไมม่ ี
ทางสงสยั ผสู้ งสยั กรรมหรอื ไมเ่ ชอื่ กรรมวา่ มผี ล คอื คนลมื ตนจนกลายเป็นผู้มืดบอดอยา่ งชว่ ย
อะ ไรไม่ ได้ คนประเภทนั้นแม้เขาจะเกิดและ ได้รับการเล้ียงดูจากพ่อ – แม่มาเป็นอย่างดีเหมือน
โลกทัง้ หลายกต็ าม เขาก็มอง ไมเ่ หน็ คณุ ของพ่อ – แม่วา่ ได ้ใหก้ �ำเนดิ และเลยี้ งดูตนมาอยา่ ง ไรบ้าง
แตเ่ ขาจะมองเหน็ เฉพาะรา่ งกายเขาที่เปน็ คนซงึ่ ก�ำลงั รก โลกอยู่ โดยเจา้ ตวั ไมร่ ูเ้ ท่านน้ั ไม่สน ใจ
คดิ ว่าเขาเกิดและเติบ โตมาจากทา่ นทง้ั สอง ซง่ึ เป็นแรงหนุนร่างกายชีวติ จิต ใจเขา ให้เจริญเติบ โต
มาจนถึงปจั จบุ นั
การด่ืม และ การรับประทานอาหารทุกประเภท ล้วนเป็นการเสริมสร้างสุขภาพและ
ความเจริญเตบิ โตแกร่ ่างกาย ให้เปน็ อยู่ตามกาลของมัน การท�ำเพือ่ รา่ งกาย ถ้า ไมจ่ ดั ว่าเปน็ กรรม
คือการทำ� จะควรจัดว่าอะ ไร ส่งิ ที่รา่ งกาย ได้รบั มาเปน็ ประจ�ำ ถา้ ไม่เรียกวา่ ผล จะเรียกว่าอะ ไร
จึงจะถูกตามความจรงิ ดี – ชวั่ – สุข – ทุกขท์ ่ีสตั วท์ ัว่ โลก ไดร้ ับกนั มาตลอดสาย ถา้ ไมม่ แี รงหนุน
เป็นต้นเหตุอยแู่ ลว้ จะเป็นมา ได้ด้วยอะ ไร ใจอยู่เฉย ๆ ไมค่ ะนองคิด ในลกั ษณะตา่ ง ๆ อันเป็น
ทางมาแห่งดีและชวั่ คนเราจะกนิ ยาตายหรอื ฆ่าตวั ตาย ได้ดว้ ยอะ ไร สาเหตแุ สดงอยูอ่ ย่างเตม็ ใจ
ทเ่ี รียกวา่ ตวั กรรมและท�ำคนจนถึงตาย ยัง ไมท่ ราบวา่ ตนทำ� กรรมแลว้ ถ้าจะ ไม่เรียกว่ามดื บอด
จะควรเรียกวา่ อะ ไร กรรมอยกู่ ับตวั และตัวก็ท�ำกรรมอย่ทู ุกขณะ ผลก็เกิดอยทู่ กุ เวลา ยังสงสัย
หรือ ไม่เช่ือกรรมว่ามีและ ให้ผลแล้วกส็ ดุ หนทาง ถา้ กรรมวงิ่ ตามคนเหมือนสุนขั วงิ่ ตามเจา้ ของเขา
ก็เรียกวา่ สนุ ัขเทา่ นนั้ เอง ไมเ่ รยี กวา่ กรรม นี่กรรมมิ ใช่สนุ ขั แต่คือการกระท�ำด ี – ชั่วทางกาย
วาจา ใจตา่ งหาก ผลจึงคือความสุข – ทุกขท์ ่ี ไดร้ บั กนั อยทู่ ่วั โลก กระท่ังสตั ว์ผู้ ไมร่ ู้จกั กรรม รู้แต่
กระท�ำคือหาอยู่หากิน ที่ทางศาสนาเรียกว่ากรรมของสัตว์ของบุคคล และผลกรรมของสัตว์
ของบคุ คล กณั ฑน์ ผ้ี เู้ ขยี น ไดฟ้ งั ดว้ ยตวั เองอยา่ งถงึ ใจจากความสน ใจ ใฝฝ่ นั ในองคท์ า่ นมานาน จงึ ได้
น�ำมาลงเพ่อื ท่านผู้ ไม ่ไดฟ้ ังจะ ไดอ้ ่านกรรมตัวเองบา้ ง บางทอี าจเหมือนกรรมของผูอ้ ่ืนซง่ึ ตา่ งเปน็
215
นักสรา้ งกรรมเหมอื นกนั
พอเทศนาจบลงจากธรรมาสน์เดินมากราบพระประธาน ท่านเจ้าคุณราชกวีเรียนข้ึนว่า
วนั นีท้ ่านอาจารย์เทศน ์ใหญ่ สนกุ ฟังกันเตม็ ทส่ี ำ� หรบั กัณฑ์น้ี ทา่ นตอบวา่ เทศนซ์ ้�ำทา้ ยความแก่
อาจม ีใหญบ่ า้ ง ต่อ ไปจะ ไม ่ได้มาเทศน์อีก เวลาน้ีก็แก่มากแล้ว ท่านพดู นเี้ หมือนเปน็ อุบายบอกว่า
จะ ไม ่ไดก้ ลบั มาเชยี ง ใหมอ่ กี แลว้ ในชวี ติ น้ี เลยกลายเปน็ ความจรงิ ขนึ้ มาคอื ทา่ น ไม ่ไดก้ ลบั ไปอกี จรงิ ๆ
สมกับค�ำวา่ เทศนซ์ ำ�้ ทา้ ยความแก่ ผู้เขียนรูส้ ึกปีตซิ าบซ้ึง ในองค์ทา่ นและธรรมท่านแทบตัวลอยและ
มองดทู า่ น ไมม่ ีเวลาอ่มิ พอ ดัง ได้เขียนความ ไม่เป็นทา่ ของตนลง ในหนังสือทางร่มเย็นบ้างแล้ว
ทา่ นพกั อยวู่ ดั เจดยี ห์ ลวงพอควรแกก่ าลแลว้ กอ็ อกเดนิ ทางลงมากรงุ เทพ ฯ ขณะออกจากวดั
มีสมเด็จพระมหาวีรวงศ์* ซ่ึงเวลานั้นเป็นพระราชกวีและพระผู้ ใหญ่ตลอดศรัทธาญาติ โยม
ตามสง่ ทา่ นมากมาย และมีเทวดาเปน็ จ�ำนวนมากตามสง่ ทา่ น ไปสถานรี ถ ไฟ ทา่ นวา่ บนอากาศทั้ง
ขา้ งหนา้ ขา้ งหลัง ข้างซ้ายขา้ งขวาเต็ม ไปดว้ ยเทวดาท่ีเหาะลอยตามส่งทา่ น แม ้ไปจนถงึ สถานแี ล้ว
ก็ยัง ไมพ่ ากนั กลบั ไปภูมฐิ านของตน ยังคงยบั ย้งั รอคอยตามส่งทา่ นอยบู่ นอากาศ จนถึงเวลารถ ไฟ
จะเคลอื่ นออกจากสถานี ทา่ นวา่ ชุลมุนวุ่นวายพอดู ทงั้ จะแสดงอาการต้อนรบั ประชาชนพระเณร
ทต่ี ามสง่ เปน็ จ�ำนวนมาก ทงั้ จะแสดงกริ ิยาทาง ใจเพ่อื อวยชยั ให้พรแกเ่ ทวดาทง้ั หลายทเ่ี หาะลอย
และยบั ย้งั อยู ่ในอากาศเพอื่ รบั พรจากทา่ นเป็นวาระสดุ ท้าย พอปฏสิ ันถารกบั ประชาชนเสรจ็ และ
รถ ไฟเร่ิมเคล่ือนออกจากสถานีแล้ว จึง ได้ปฏิสันถารและอวยพร ให้แก่เทวดาทั้งหลายบนรถ ไฟ
ท่านวา่ น่าสงสารเทวดาบางรายที่เกิดความเล่ือม ใส ในท่านมาก ไม่อยาก ให้ท่านจาก ไป แสดง
ความกระวนกระวายระส�่ำระสาย และเสียอกเสีย ใจเช่นเดียวกับมนุษย์เราดี ๆ น่ีเอง เทวดา
บางพวกอตุ ส่าห์เหาะลอยตามสง่ ท่าน ไป ไกลตามขบวนรถ ไฟที่ก�ำลงั วง่ิ ตามราง ไปอยา่ งเต็มท่ี จน
ท่านต้องกำ� หนดจติ บอก ให้พากันกลบั ไปถิน่ ฐานของตน จึง ได้พากนั กลบั ดว้ ยความอาลัยอาวรณ์
อย่าง ไมม่ จี ุดหมาย วา่ ท่านจะ ได้กลับมาเมตตา โปรดอกี เมื่อ ไรหรอื ไม่ สุดทา้ ยก็พากนั หมดหวัง
เพราะท่านม ิไดก้ ลบั ไปอกี และท่านก็ม ิไดพ้ ูดดว้ ยวา่ รุกขเทวดาทางเชยี ง ใหม ่ได้พากนั ไปฟงั เทศน์
เวลาท่าน ไปอยู่อุดร ฯ และสกลนครแลว้
พอรถ ไฟถึงกรุงเทพ ฯ ก็เข้าพักวัดบรมนิวาสตามค�ำส่ังทาง โทรเลขของสมเด็จมหาวีรวงศ์**
ท่บี อก ไปว่า ให้ทา่ น ไปพกั วัดบรม ฯ กอ่ นเดินทาง ไปอดุ ร ฯ ในระยะที่พกั อยู่ท่นี นั้ ปรากฏวา่ มคี นมา
ถามปัญหากับท่านมาก มปี ัญหาของบางรายที่แปลกกว่าปัญหาท้ังหลายจงึ ไดน้ �ำมาลง มี ใจความ
*** สสมมเเดด็็จจพพรระะมมหหาาววีีรรววงงศศ์์ ((อพ้วิมนพ์ ตธิสมฺโฺมสธ)โรว)ัดบวัดรมพนริะวาศสรีมหกราุงธเาทตพุ มบหาางนเขคนร กรุงเทพมหานคร
216
วา่ ไดท้ ราบวา่ ท่านรกั ษาศลี องคเ์ ดียว ม ิไดร้ กั ษาถึง ๒๒๗ องค์ เหมือนพระทัง้ หลายทร่ี กั ษากนั
ใช่ ไหม ? ท่านตอบว่า ใช่ อาตมารักษาเพียงอนั เดียว
เขาถามว่าที่ทา่ นรักษาเพียงอันเดยี วนน้ั คืออะ ไร ท่านตอบว่าคือ ใจ
เขาถามว่าสว่ น ๒๒๗ นัน้ ท่าน ไม ่ได้รกั ษาหรอื ทา่ นตอบว่าอาตมารกั ษา ใจ ไม่ ให้คิด – พดู
– ท�ำ ในทางผิดอันเปน็ การลว่ งเกินขอ้ ห้ามที่พระองค์ทรงบัญญัติ ไว้ จะเปน็ ๒๒๗ หรือมากกว่า
นน้ั ก็ตามบรรดาที่เปน็ ขอ้ ทรงบญั ญตั หิ ้าม อาตมากเ็ ย็น ใจว่าตนมิ ได้ท�ำผิดต่อพทุ ธบัญญัติ สว่ น
ทา่ นผู้ ใดจะวา่ อาตมารักษาศีล ๒๒๗ หรอื ไม่นน้ั สดุ แต่ผู้น้ันจะคิดจะพดู เอาตามความคิดของตน
เฉพาะอาตมา ได้รักษา ใจอันเป็นประธานของกายวาจาอย่างเข้มงวดกวดขันตลอดมานับแต่เร่ิม
อปุ สมบท
ถามว่าการรักษาศลี ต้องรักษา ใจดว้ ยหรือ ? ทา่ นตอบวา่ ถ้า ไม่รักษา ใจจะรกั ษาอะ ไรถงึ จะ
เป็นศีลเป็นธรรมท่ีดีงาม ได้ นอกจากคนที่ตายแล้วเท่านั้นจะ ไม่ต้องรักษา ใจ แม้กายวาจาก็
ไมจ่ ำ� ตอ้ งรักษา แตค่ วามเปน็ เช่นนนั้ ของคนตาย นักปราชญ์ท่าน ไม่ ไดเ้ รยี กวา่ เขามีศลี เพราะ
ไม่มีเจตนาเป็นเครื่องส่อแสดงออก ถ้าเป็นศีล ได้ก็ควรเรียก ได้เพียงว่าศีลคนตาย ซ่ึง ไม่ส�ำเร็จ
ประ โยชนต์ ามคำ� เรียกแตอ่ ยา่ ง ใด ส่วนอาตมาม ิใช่คนตายจะรักษาศีลแบบคนตายนัน้ ไม ่ได้ ตอ้ ง
รกั ษา ใจ ใหเ้ ปน็ ศลี เป็นธรรม สมกับ ใจเปน็ ผ้ทู รง ไว้ทง้ั บุญทงั้ บาปอย่างตายตวั
เขาถามวา่ ก็ ได้ยิน ในต�ำราว่า ไวว้ า่ รักษากายวาจา ให้เรยี บรอ้ ยเรยี กวา่ ศลี จึงเขา้ ใจว่าการ
รักษาศีล ไม่จ�ำต้องรักษา ใจก็ ได้ จึง ได้เรียนถามอย่างนั้น ท่านตอบว่าที่ว่ารักษากายวาจา ให้
เรียบรอ้ ยเปน็ ศลี น้นั ก็ถูก แต่ก่อนกายวาจาจะเรียบรอ้ ยเปน็ ศลี ไดน้ ั้น ต้นเหตเุ ปน็ มาจากอะ ไร
ถา้ ไมเ่ ปน็ มาจาก ใจผ้เู ป็นนายคอยบังคับกายวาจา ใหเ้ ป็น ไป ในทางทีถ่ กู เมอ่ื เป็นมาจาก ใจ ใจจะ
ควรปฏิบัตอิ ย่าง ไรตอ่ ตวั เองบ้าง จงึ จะควรเป็นผคู้ วบคมุ กายวาจา ให้เปน็ ศีลเปน็ ธรรมทนี่ า่ อบอุ่น
แกต่ นเอง และนา่ เคารพเลอ่ื ม ใสแก่ผู้อ่ืน ได้ ไม่เพียงแต่ศลี – ธรรมท่ีจำ� ตอ้ งอาศัย ใจเปน็ ผู้คอย
ควบคุมรักษาเลย แมก้ จิ การอื่น ๆ กจ็ ำ� ตอ้ งอาศัย ใจเป็นผู้ควบคุมดูแลอย ู่โดยดี การงานนนั้ ๆ
จึงจะเป็นท่ีเรียบร้อย ไม่ผิดพลาดและทรงคุณภาพ โดยสมบูรณ์ตามชนิดของมัน การรักษาโรค
เขายังค้นหาสมุฏฐานของมัน จะควรรักษาอย่าง ไร จึงจะหาย ได้เท่าที่ควร ไม่เป็น โรคเร้ือรัง
ตอ่ ไป การรักษาศลี ธรรม ไมม่ ีใจเปน็ ตวั ประธานพา ใหเ้ ป็น ไป ผลก็คอื ความเป็นผ้มู ศี ีลดา่ งพร้อย
ศีลขาด ศลี ทะลุ ความเป็นผู้มธี รรมท่ีนา่ สลดสังเวช ธรรมพาอยู่ ธรรมพา ไปอย่าง ไม่มีจดุ หมาย
ธรรมบอ ธรรมบ้า ธรรมแตก ซ่ึงล้วนเปน็ จดุ ท่ีศาสนาจะพลอย ได้รบั เคราะห์กรรม ไปด้วยอยา่ ง
217
แยก ไมอ่ อก ไม่เปน็ ศลี – ธรรมที่นา่ อบอุ่นแก่ผู้รักษา และ ไมน่ ่าเล่ือม ใสแก่ผู้อ่นื ท่มี ีส่วนเกย่ี วขอ้ ง
บ้างเลย อาตมา ไม่ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาก บวชแล้วอาจารย์ก็พาเที่ยวและอยู่ตามป่าตามเขา
เรยี นธรรมกเ็ รยี น ไปกบั ตน้ ไม ้ใบหญ้า แม่น้�ำลำ� ธาร หนิ ผาหนา้ ถ�้ำ เรียน ไปกบั เสียงนกเสียงกา
เสยี งสัตว์ป่าชนดิ ตา่ ง ๆ ตามทศั นยี ภาพทมี่ ีอยู่ตามธรรมชาตขิ องมันอยา่ งนน้ั เอง ไม่ค่อย ได้เรียน
ในคัมภีร์ ใบลานพอจะมีความรู้แตกฉานทางศีล – ธรรม การตอบปัญหาจึงเป็น ไปตามนิสัยของ
ผ้ศู ึกษาธรรมเถ่อื น ๆ รู้สึกจนปญั ญาท่ ีไม่สามารถค้นหาธรรมท่ี ไพเราะเหมาะสมมาอธบิ าย ใหท้ ่าน
ผูส้ น ใจฟังอย่างภูมิ ใจ ได้
เขาถามท่านว่า คำ� ว่าศีล ไดแ้ กส่ ภาพเช่น ไร และอะ ไรเป็นศีลอย่างแท้จริง ? ท่านตอบวา่
ความคดิ ในแง่ต่าง ๆ อนั เปน็ ไปดว้ ยความมีสติ รู้สิ่งทค่ี วรคิดหรอื ไมค่ วร ระวังการระบายออก
ทางทวารท้งั สาม คอยบงั คับกาย วาจา ใจ ให้เป็น ไป ในขอบเขตของศีลทเ่ี ป็นสภาพปรกติ ศลี ท่ี
เกดิ จากการรักษา ในลกั ษณะดงั กลา่ วมาชื่อวา่ มีสภาพปรกติ ไม่คะนองทางกาย วาจา ใจ ใหเ้ ป็น
กิริยาท่ีนา่ เกลยี ด นอกจากความปรกติดีงามทางกาย วาจา ใจของผมู้ ศี ีลว่าเป็นศีลเป็นธรรมแลว้
ก็ยากจะเรียก ให้ถูก ได้ว่า อะ ไรเป็นศีลเป็นธรรมที่แท้จริง เพราะศีลกับผู้รักษาศีลแยกกัน
ไดย้ าก ไม่เหมอื นตัวบา้ นเรอื นกบั เจา้ ของบ้านเรือนซงึ่ เปน็ คนละอย่าง ทพี่ อจะแยกกนั ออก ได้
ไม่ยากนกั วา่ น่ันคือตัวบา้ นเรอื น และนั่นคือเจ้าของบา้ น
ส่วนศลี กบั คนจะแยกจากกนั อย่างน้นั เป็นการล�ำบาก เฉพาะอาตมาแล้วแยก ไม่ ได้ แม้แต่
ผลคือความเย็น ใจท่ีเกิดจากการรักษาศีลก็แยกกัน ไม่ออก ถ้าแยกออก ได้ ศีลก็อาจกลายเป็น
สินค้า มีเกล่อื นตลาด ไปนานแลว้ และอาจจะมี โจรมาแอบข โมยศลี ธรรม ไปขายจนหมดเกลี้ยง
จากตัว ไปหลายรายแล้ว เมื่อเป็นเช่นนี้ศีลธรรม ก็จะกลายเป็นสาเหตุก่อความเดือดร้อนแก่
เจา้ ของเชน่ เดยี วกบั สมบตั อิ นื่ ๆ ทำ� ใหพ้ ทุ ธศาสนกิ ชนเกดิ ความเออื มระอาทจ่ี ะแสวงหาศลี ธรรมกนั
เพราะ ได้มาแลว้ ก็ ไมป่ ลอดภยั ดงั น้นั ความ ไมร่ วู้ ่า “อะ ไรเป็นศลี อยา่ งแท้จรงิ ” จึงเปน็ อบุ ายวธิ ี
หลีกภัยอนั อาจเกิดแกศ่ ลี และผู้มศี ีล ไดท้ างหนง่ึ อย่างแยบยลและเย็น ใจ อาตมาจงึ ไมค่ ดิ อยากแยก
ศลี ออกจากตัวแม้แยก ได้ เพราะระวังภัยยาก แยก ไม ่ได้อยา่ งนี้รสู้ ึกอยสู่ บาย ไป ไหนมา ไหนและ
อยู่ที่ ใด ไม่ต้องเปน็ หว่ งว่าศลี จะหาย ตัวจะตายจากศลี แล้วกลับมาเป็นผเี ฝา้ กองศีลเชน่ เดียวกับ
คนเปน็ ห่วงสมบตั ิ ตายแล้วกลับมาเปน็ ผเี ฝา้ ทรัพย์ ไมม่ วี นั ไปผุด ไปเกดิ ไดฉ้ ะน้นั
218
พระมหาเถระถามปัญหาท่านพระอาจารย์มั่น
โอกาสวา่ ง ๆ พระมหาเถระสง่ั พระมาอาราธนานมิ นตท์ า่ นอาจารยม์ นั่ ไปหาเพอ่ื สมั โมทนยี –
กถาเฉพาะ โดยปราศจากผู้คนพระเณรเขา้ ไปเก่ียวขอ้ ง
พระมหาเถระถามประ โยคแรกว่า ทา่ นชอบอยู่แต่ผู้เดียว ในปา่ ในเขา ไม่ชอบเกี่ยวขอ้ ง
กังวลกับพระเณรตลอดฆราวาส เม่ือเกิดปัญหาข้ึนมาท่าน ไปศึกษากับ ใครจึงจะผ่านปัญหาน้ัน ๆ
ไป ได้ แมผ้ มเองอย ู่ในพระนครทีเ่ ตม็ ไปด้วยนกั ปราชญ์เจา้ ต�ำรบั ต�ำราพอชว่ ยปดั เปา่ ขอ้ ข้อง ใจ ได้
บางคราวยังเกิดความงงงันอั้นตู้ ไป ได้ ไม่มี ใครสามารถช่วยแก้ ให้ตก ไป ได้ ยิ่งท่านอยู่เฉพาะ
องค์เดียวเป็นส่วนมากตามท่ีทราบเร่ืองตลอดมา เวลาเกิดปัญหาข้ึนมาท่านศึกษาปรารภกับ ใคร
หรือทา่ นจดั การกับปัญหานั้น ๆ ดว้ ยวิธี ใด นิมนตอ์ ธบิ าย ให้ผมฟังดว้ ย
ทา่ นเล่าว่าทา่ นกราบเรยี นดว้ ยความอาจหาญเตม็ ท ี่ไม่มสี ะทกสะทา้ นเลย เพราะ ไดศ้ กึ ษา
จากหลักธรรมชาติมาอยา่ งนั้น จงึ กราบเรยี นท่านว่า ขอประทาน โอกาส เกลา้ ฯ ฟงั ธรรมและ
ศึกษาธรรมอยู่ทง้ั กลางวนั กลางคนื ไมม่ อี ิรยิ าบถวา่ ง นอกจากหลับ ไปเสียเท่าน้นั พอตน่ื ขนึ้ มา
ใจกับธรรมก็เข้าสมั ผัสกนั ทนั ที ขึน้ ชือ่ ว่าปญั หาแล้วกระผม ไม่มีเวลาท่ีหัว ใจจะวา่ งอย่เู ปล่า ๆ เลย
มแี ต่การถกเถียง โต้ตอบกนั อย่ทู ำ� นองนนั้ ปัญหาเก่าตก ไป ปญั หา ใหม่เกดิ ขน้ึ มา การถอดถอน
กิเลสก็เป็น ไป ในระยะเดียวกันกับปัญหาแต่ละข้อตก ไป ปัญหา ใหม่เกิดขึ้นมาก็เท่ากับรบกันกับ
กเิ ลสหนา้ ใหม่ ปญั หาท้งั ใกลท้ ั้ง ไกล ทัง้ วงกวา้ งวงแคบ ทัง้ วง ในวงนอก ทัง้ ลกึ ทั้งต้ืน ทงั้ หยาบ
ท้ังละเอยี ด ลว้ นเกดิ ขึ้นและปะทะกันทห่ี ัว ใจ ใจเป็นสถานทรี่ บข้าศกึ ทงั้ มวลและเปน็ ที่ปลดเปล้อื ง
กิเลสท้ังปวง ในขณะท่ีปัญหาแต่ละข้อตก ไป ท่ีจะมีเวลา ไปคิดว่าเมื่อปัญหาเกิดข้ึนเฉพาะหน้า
เราจะ ไปศึกษาปรารภกบั ใครนน้ั เกล้า ฯ ม ิได้สน ใจคดิ ให้เสยี เวลาย่ิง ไปกว่าจะตงั้ ท่าฆ่าฟันห�้ำหั่น
กันกับปัญหา ซ่ึงเป็นฉากของกิเลสแฝงมาพร้อม ให้สะบั้นหั่นแหลกกันลง ไปเป็นทอด ๆ และ
ถอดถอนกเิ ลสออก ไดเ้ ปน็ พกั ๆ เทา่ นน้ั จึง ไมว่ ิตกกงั วลกบั หม่คู ณะวา่ จะมาชว่ ยแก้ ไขปลดเปลอ้ื ง
กิเลสออกจาก ใจ ไดร้ วดเร็วย่ิงกวา่ สตปิ ญั ญาทผี่ ลิตและฝกึ ซ้อมอยกู่ บั ตนตลอดเวลา คำ� วา่ อตฺตา
หิ อตฺต โน นา โถ ตนเปน็ ท่พี ่ึงของตน นั้น เกลา้ ฯ ไ ด้ประจักษ์ ใจตัวเองขณะปัญหาแต่ละข้อ
เกิดขึ้น และสามารถแก้ ไขกันลง ได้ทันท่วงทีด้วยอุบายวิธีของสติปัญญาที่เกิดกับตน โดยเฉพาะ
มิ ได้ ไปเที่ยวคว้ามาจากต�ำราหรือคัมภีร์ ใด ในขณะนั้น แต่ธรรมคือสติปัญญา ในหลักธรรมชาติ
หากผุดออกรับออกรบและแก้ ไขกัน ไป ในตัว และผ่านพ้น ไป ได้ โดยล�ำดับ ไม่อับจน แม้จะมี
อยู่บ้างท่ีเป็นปัญหาลึกลับและสลับซับซ้อน ที่จ�ำต้องพิจารณากันอย่างละเอียดลออและกินเวลา
219
นานหนอ่ ย แต่ก ็ไมพ่ น้ กำ� ลงั ของสติปญั ญาทเ่ี คย ใช ้ได้ผลมาแล้ว ไป ได้ จ�ำต้องทลายลง ในเวลาหน่ึง
จน ได้ ด้วยเหตุดังที่กราบเรียนมา เกล้า ฯ จึงมิ ได้สน ใจ ใฝ่ฝัน ในการอยู่กับหมู่คณะเพ่ืออาศัย
เวลาเกิดปัญหาจะ ไดช้ ่วยแก ้ไข แต่สน ใจไยดตี อ่ การอยู่คนเดียว ความเป็นผู ้ ๆ เดียวเปลยี่ วกาย
เปลี่ยว ใจเป็นส่ิงท่ีพอ ใจแล้วส�ำหรับเกล้า ฯ ผู้มีวาสนาน้อย แม้ถึงคราวเป็นคราวตายก็อยู่ง่าย
ตายสะดวก ไม่พะรุงพะรังห่วงหน้าห่วงหลัง ส้ินลมแล้วก็ส้ินเรื่อง ไปพร้อม ๆ กัน ต้องขอ
ประทาน โทษที่เรียนตามความ โง่ของตนจนเกิน ไป ไม่มีความแยบคายแสดงออกพอเป็นที่น่าฟัง
บ้างเลย
ท่านว่าพระมหาเถระฟังท่านกราบเรียนอย่างสน ใจและเล่ือม ใส ในธรรมที่เล่าถวายเป็น
อย่างย่ิง พรอ้ มกบั อน ุโมทนาวา่ เปน็ ผู้สามารถสมกบั ชอบอยู ่ในป่า ในเขาคนเดยี วจรงิ ๆ ธรรมท่ี
แสดงออกทา่ นว่าจะ ไปเทยี่ วคน้ ด ูในคมั ภีร ์ไม่มีวนั เจอ เพราะธรรม ในคมั ภีรก์ บั ธรรมท่ีเกิดจาก ใจ
อันเป็นธรรม ในหลักธรรมชาติต่างกันอยู่มาก แม้ธรรม ในคัมภีร์ท่ีจารึกมาจากพระ โอษฐ์ของ
พระพทุ ธเจา้ วา่ เปน็ ธรรมบรสิ ุทธ์ิ เพราะผู้จารกึ เป็นคนจริงคือเปน็ ผบู้ ริสทุ ธเิ์ หมือนพระองค์ แต่
พอตกมานาน ๆ ผูจ้ ารกึ ต่อ ๆ มาอาจ ไมเ่ ป็นผบู้ ริสุทธอิ์ ย่างแท้จรงิ เหมอื นร่นุ แรก ธรรมจงึ อาจมที าง
ลดคุณภาพลงตามสว่ นของผจู้ ารกึ พา ใหเ้ ปน็ ไป ฉะนัน้ ธรรม ในคมั ภีรก์ ับธรรมท่ีเกิดขน้ึ จาก ใจ
อย่างสด ๆ ร้อน ๆ จึงนา่ จะตา่ งกนั แม้เป็นธรรมด้วยกนั ผมหายสงสยั ในข้อที่ถามทา่ นดว้ ยความ โง่
ของตนแลว้ แต่ความ โง่ชนิดนีก้ ็ท�ำ ให้เกิดประ โยชน์ ไดด้ ี เพราะถา้ ไม่ถามแบบ โง่ ๆ ก็จะ ไม ่ได้
ฟงั อบุ ายแบบฉลาดแหลมคมจากท่าน วันนผ้ี มจงึ เปน็ ท้งั ฝา่ ยขายทง้ั ความ โง่และซือ้ ทั้งความฉลาด
หรอื จะเรยี กว่าถ่ายความ โงเ่ ขลาออก ไป ไล่ความฉลาดเข้ามาก็ ไม่ผดิ ผมยงั สงสยั อยู่อกี เป็นบางข้อ
คือท่ีว่าพระสาวกท่านทูลลาพระศาสดาออก ไปบ�ำเพ็ญอยู่ ในท่ีต่าง ๆ เวลาเกิดปัญหาข้ึนมาก็กลับ
มาเฝ้าทูลถามเพ่ือทรงช่วยชี้แจงปัญหานั้น ๆ จนเป็นที่เข้า ใจ แล้วทูลลาออกบ�ำเพ็ญตามอัธยาศัย
น้นั เปน็ ปญั หาประเภท ใด พระสาวกจึง ไม่สามารถแก้ ไข ได้ดว้ ยตนเอง ต้องมาทูลถาม ให้พระองค์
ทรงช่วยชแี้ จงแก ้ไข
ทา่ นกราบเรยี นว่า เมอ่ื มีผ้ชู ่วย ใหเ้ กิดผลรวดเรว็ โดย ไมต่ อ้ งเสยี เวลานาน นสิ ยั คนเราทีช่ อบ
หวังพึ่งผู้อ่ืนก็ย่อมจะต้องด�ำเนินตามทางลัด ด้วยความแน่ ใจว่าต้องดีกว่าตัวเองพยายาม ไป โดย
ลำ� พงั นอกจากทาง ไกล ไป – มาลำ� บากจรงิ ๆ กจ็ ำ� ตอ้ งตะเกยี กตะกาย ไปดว้ ยกำ� ลงั สตปิ ญั ญาของตน
แมจ้ ะชา้ บา้ งกท็ นเอา เพราะพระพทุ ธเจา้ ผทู้ รงรเู้ หน็ โดยตลอดทว่ั ถงึ ทรงแกป้ ญั หาขอ้ ขอ้ ง ใจ ย่อม
ทำ� ใหเ้ กดิ ความกระจา่ งแจง้ ชดั และ ไดผ้ ลรวดเรว็ ผดิ กบั ทแี่ ก ้ไข โดยลำ� พงั เปน็ ไหน ๆ ดงั นนั้ บรรดา
สาวกที่มีปัญหาข้อง ใจจึงต้องมาทูลถาม ให้ทรงพระเมตตาแก้ ไข เพื่อผ่าน ไป ได้อย่างรวดเร็วสม
220
ปรารถนา แม้กระผมเองถ้าพระองค์ยังทรงพระชนม์อยู่และอยู่ ในฐานะจะพอ ไปเฝ้า ได้ก็ต้อง ไป
และทูลถามปัญหา ให้สม ใจที่หิวระหายมานาน ไม่ต้องมาถู ไถคืบคลาน ให้ล�ำบากและเสียเวลา
ดังทเ่ี ป็นมา เพราะการวนิ ิจฉัย โดยลำ� พังตวั เองเปน็ การล�ำบากมาก แต่ตอ้ งทำ� เพราะ ไม่มีทีพ่ ึ่ง
นอกจากตัวต้องเป็นทพ่ี ึ่งของตัวดังที่เรยี นแล้ว ความมีครอู าจารย์ที่สงั่ สอน โดยถูกต้องแมน่ ย�ำคอย
ให้อุบาย ท�ำ ให้ผู้ปฏิบัติตามด�ำเนิน ไป โดยสะดวกราบร่ืนและถึงเร็ว ผิดกับการด�ำเนิน ไปแบบ
สุ่มเดา โดยลำ� พังตนเองอยู่มาก ท้งั นี้เกลา้ ฯ เหน็ โทษ ในตวั เกลา้ ฯ เอง แต่กจ็ �ำเป็น เพราะ ไม่มี
อาจารย์คอย ให้อุบายส่ังสอน ในสมัยนั้น ทำ� ไปแบบด้นเดาและลม้ ลกุ คลกุ คลานผิด ๆ มากกวา่ ถูก
แตส่ ำ� คัญทค่ี วามหมายมั่นปน้ั มอื เปน็ เจตนาทีเ่ ด็ดเดี่ยวอาจหาญมาก ไม่ยอมลดละลา่ ถอย จงึ พอ
มที างท�ำ ใหส้ ง่ิ ทีเ่ คยขรุขระมา โดยล�ำดับ ค่อย ๆ กลบั กลายคลายตวั ออกทลี ะเล็กละน้อย พอ ให้
ความราบรื่นช่ืน ใจ ได้มี โอกาสคืบคลานและเดิน ได้เป็นล�ำดับมา พอ ได้ลืมตาดู โลกดูธรรม ได้
เต็มตาเตม็ ใจ ดงั ทเี่ รยี น ใหท้ ราบตลอดมา ปญั หาระหวา่ งพระมหาเถระยังมอี ยอู่ กี แต่ทเ่ี หน็ วา่
สำ� คญั ไดน้ �ำมาลงบ้างแลว้ จงึ ขอผา่ น
ขณะทา่ นพักอยกู่ รงุ เทพ ฯ มผี ู้มาอาราธนานมิ นต์ ไปฉัน ในบ้านเสมอ แต่ท่านขอผ่าน
เพราะ ไมส่ ะดวกแก่การปฏบิ ตั ติ อ่ สรรี กจิ ประจำ� วนั หลังจากฉนั เสร็จแลว้
ตอบปัญหาธรรมแก่ฆราวาส
พอควรแก่กาลแล้วท่านเร่ิมออกเดินทางมาพัก โคราช ตามค�ำอาราธนาของคณะศรัทธา
ชาวนครราชสีมา พักท่วี ดั ป่าสาลวนั ขณะพักอยทู่ ่ีนนั้ ก็มที ่านผู้สน ใจมาถามปัญหาหลายราย มี
ปญั หาทน่ี า่ คดิ อยูข่ อ้ หนงึ่ ผเู้ ขยี นฟงั จากทา่ นแลว้ ยังจำ� ได ้ไม่หลงลืม ชะรอยปญั หาน้นั จะกลบั มา
เป็นประวัติท่านอีกก็อาจเป็น ได้ จึงบันดาล ไม่ ให้หลงลืม ทั้งท่ีผู้เขียนเป็นคนชอบหลงลืมเก่ง
ปัญหานั้นเป็นเชิงหย่ังหาความจริง ในท่าน ว่าจะมีความจริงมากน้อยเพียง ไร สมค�ำเล่าลือของ
ประชาชนหรือหา ไม่ เจ้าของปัญหาก็เปน็ ลกู ศิษย์กรรมฐานซึ่งมุ่งหาความจริงอยู่อย่างเต็ม ใจจริง ๆ
เรม่ิ ตน้ ปัญหาวา่ เทา่ ทท่ี า่ นอาจารยม์ า โคราชคราวน้เี ปน็ การมาเพื่ออนเุ คราะหป์ ระชาชน
ตามค�ำนิมนต์เพียงอย่างเดียว หรือยังมีหวังเพ่ือมรรคผลนิพพานอยู่ด้วย ในการรับนิมนต์คราวน้ี
ท่านตอบว่า อาตมา ไม่หิว อาตมา ไม่หลง จึง ไม่หาอะ ไร ให้ยุ่ง ไป อันเป็นการก่อทุกข์ ใส่ตัว
คนหิวอยเู่ ปน็ ปรกติสขุ ไม่ ได้ จึงวง่ิ หา โนน่ หานี่ เจออะ ไรกค็ วา้ ตดิ มือมา โดย ไม่ค�ำนึงว่าผดิ หรือถกู
ครนั้ แลว้ สงิ่ ทีค่ วา้ มาก็มาเผาตัวเอง ให้ร้อนย่ิงกว่า ไฟ อาตมา ไมห่ ลงจงึ ไม่แสวงหาอะ ไร คนทีห่ ลง
221
จึงต้องแสวงหา ถา้ ไมห่ ลงก ็ไม่ตอ้ งหา จะหา ไป ให้ล�ำบากทำ� ไม อะ ไร ๆ ก็มีอยู่กับตัวเองอยา่ ง
สมบูรณอ์ ย่แู ลว้ จะตน่ื เงาและตะครุบเงา ไปทำ� ไม เพราะรู้แล้วว่าเงา ไม ่ใช่ตัวจริง ตวั จรงิ คือ
สัจจะทง้ั สกี่ ม็ อี ย่ ูในกาย ใน ใจอย่างสมบรู ณแ์ ล้ว และก็รู้จนหมดสิ้นแล้ว จะหาอะ ไรกนั อีกถา้ ไม่หลง
ชวี ติ ลมหาย ใจยังมแี ละผูม้ งุ่ ประ โยชนก์ บั เรายงั มี ก็สงเคราะหก์ นั ไปอยา่ งนนั้ เอง
หาคนดมี ธี รรมใน ใจนห้ี ายากยง่ิ กวา่ หาเพชรนลิ จนิ ดาเปน็ ไหน ๆ ไดค้ นเปน็ คนเพยี งคนเดยี ว
ย่อมมีคุณคา่ มากกว่าไดเ้ งนิ เป็นลา้ น ๆ เพราะเงินล้าน ๆ ไ มส่ ามารถทำ� ความร่มเยน็ ใหแ้ ก ่โลก ได้
อย่างถึง ใจเหมือน ไดค้ นดีมาทำ� ประ โยชน์ คนดีแมเ้ พียงคนเดยี วยังสามารถท�ำความเย็น ใจ ใหแ้ ก ่
โลก ไดม้ ากมายและยง่ั ยนื เชน่ พระพทุ ธเจา้ และพระสาวกท้ังหลายเปน็ ตัวอยา่ ง คนดแี ต่ละคน
มคี ณุ คา่ มากกวา่ เงินเป็นก่ายกอง และเหน็ คณุ คา่ แห่งความดขี องตนทจี่ ะท�ำตอ่ ไปมากกว่าเงิน แม้
จะจนก็ยอมจน ขอแต่ ใหต้ ัวดแี ละ โลกมีความสุข แต่คน โง่ชอบเงนิ มากกวา่ คนดีและความดี
ขอแต ่ไดเ้ งิน แมต้ ัวจะเป็นอย่าง ไร ไมส่ น ใจคิด ถึงจะชว่ั ช้าลามกหรือแสน โสมมเพียง ไรก็ตาม
ขนาดนายยมบาลเกลียดกลวั ไมอ่ ยากนับเขา้ ในบญั ชีผู้ต้องหา กลัวจะ ไปทำ� ลายสัตวน์ รกด้วยกัน ให้
เดือดรอ้ นฉบิ หายก ็ไม่ว่า ขอแต่ ได้เงินก็เป็นทพ่ี อ ใจ ส่วนจะผิดถูกประการ ใด ถา้ บาปมีคอ่ ยคิด
บัญชีกันเอง โดยเขา ไม ่ไปยงุ่ เก่ียว
คนดกี ับคนช่วั และสมบัติเงนิ ทองกับธรรมคือคุณงามความดีผดิ กันอย่างน้แี ล ใครมีหูมีตา
ก็รบี คิดเสียแตบ่ ดั นี้อยา่ ทัน ให้สายเกิน ไป จะหมดหนทางเลือกเฟน้ การ ให้ผลก็ต่างกนั สุดแตก่ รรม
ของตนจะอ�ำนวย จะทักทว้ งหรือคัดคา้ น ไม ่ได้ กรรมอำ� นวย ให้อย่าง ใดต้องยอมรับเอาอย่างนน้ั
ฉะน้ัน สตั ว์ โลกจงึ ต่างกัน ท้งั ภพก�ำเนิด รปู รา่ ง ลักษณะ จรติ นสิ ยั สุข – ทกุ ขอ์ นั เป็นสมบตั ิ
ประจำ� ตัวของแตล่ ะราย แบง่ หนกั แบง่ เบากนั ไม่ ได้ ใครมอี ย่าง ไรก็หอบหว้ิ ไปเอง ดี – ช่ัว
สุข – ทกุ ขก์ ย็ อมรับ ไม่มีอ�ำนาจปฏิเสธ ได้เพราะ ไม่ ใชแ่ งก่ ฎหมาย แตเ่ ป็นกฎของกรรมหรือกฎของ
ตัวเองที่ท�ำข้นึ ม ิใชก่ ฎของ ใคร ไปท�ำ ให้ ตวั ท�ำเอาเอง ถามอาตมาเพื่ออะ ไรอย่างนน้ั
การตอบปญั หาทา่ นคราวน้ี รสู้ กึ เข้มข้นพอดู นี้ทราบจากท่านเองและพระท่ตี ิดตามเล่า
ใหฟ้ งั รูส้ ึกวา่ ถึง ใจและจ�ำ ไม่ลืม
เขาตอบท่านวา่ ขอประทาน โทษ พวกกระผมเคย ได้ยนิ กติ ติศัพท์กิตติคณุ ทา่ นอาจารย์
โดง่ ดงั มานานแล้ว ไมว่ ่าครอู าจารย์หรือพระเณรองค์ ใดตลอดฆราวาส ใครพดู ถงึ อาจารย์ลว้ น
พูดเปน็ เสียงเดยี วกันว่า อาจารย์ม ิใช่พระธรรมดาดงั นี้ จงึ กระหายอยากฟังเมตตาธรรมท่าน
แล้ว ได้เรยี นถาม ไปตามความอยากความหิว แต่ ไม่มีความฉลาดรอบคอบ ในการถามซ่ึงอาจจะ
222
ทำ� ความกระเทือนแกท่ ่านอย่บู า้ ง กระผมก็สน ใจปฏบิ ตั มิ านานพอสมควร จติ ใจนบั ว่า ไดร้ ับ
ความเย็นประจกั ษ์เร่อื ยมา ไม่เสยี ชาตทิ ่เี กิดมาพบพระศาสนา และยัง ไดก้ ราบ ไหว้ครอู าจารย์
ผศู้ ักดสิ์ ิทธิว์ ิเศษด้วยการปฏิบัติและคุณธรรม แม้ปัญหาธรรมท่ีเรียนถามวันนี้ ก็ ได้รับความ
แจ้งชัดเกินคาดหมาย วนั นีเ้ ป็นวนั หายสงสัยเด็ดขาดตามภมู ิของคนยังมีกิเลส ทีย่ ังอยูก่ ต็ วั เอง
เทา่ นัน้ จะสามารถปฏบิ ตั ิให้ ได ้ใหถ้ งึ มากนอ้ ยเพียง ใด
ทา่ นตอบซ�้ำอกี วา่ โยมถามมาอย่างน้ัน อาตมากต็ ้องตอบ ไปอยา่ งน้นั เพราะอาตมา
ไม่หิว ไมห่ ลงจะ ให้อาตมา ไปหาอะ ไรอีก อาตมาเคยหวิ เคยหลงมาพอแล้วครั้งปฏบิ ัติท่ยี ัง ไม่รูเ้ รอ่ื ง
รู้ราวอะ ไร โนน้ อาตมาแทบตายอยู ่ในป่า ในเขาคนเดยี ว ไมม่ ีใคร ไปเห็น จนพอลมื หูลืมตา ไดบ้ ้าง
จงึ มคี นนน้ั ไปหา คนนี ้ไปหา แลว้ ก็ร่ำ� ลอื กันว่าวิเศษอย่างนัน้ อย่างน้ี ขณะอาตมาสลบสามหน
รอดตายครงั้ นน้ั ไมเ่ หน็ ใครทราบและรำ่� ลอื บา้ ง จนเลยขนั้ สลบและขน้ั ตายมาแลว้ จงึ มาเลา่ ลอื กนั หา
ประ โยชนอ์ ะ ไร อยาก ไดข้ องดที ่ีมอี ยู่กับตวั เราทกุ คนก็พากนั ปฏิบัติเอาท�ำเอา เมือ่ เวลาตายแล้ว
จึงพากนั วุ่นวายหานิมนต์พระมา ใหบ้ ญุ กุสลามาตกิ า นน่ั ไม ่ใช่เกาถูกทคี่ นั นะ จะว่า ไม่บอก
ต้องรบี เกา ให้ถูกที่คนั เสียแตบ่ ัดนี ้โรคคนั จะ ไดห้ าย คือเร่งท�ำความดีเสียแต่บัดนี้ จะ ไดห้ ายห่วง
หายหวงกบั อะ ไร ๆ ทเ่ี ป็นสมบตั ิของ โลก มิ ใชส่ มบัติอนั แท้จรงิ ของเรา แตพ่ ากนั จับจองเอาแตช่ ือ่
ของมันเปลา่ ๆ ตัวจริงเลย ไม่มี ใครเหลียวแล
สมบัติ ใน โลกเราแสวงหามาเป็นความสุขแก่ตัวก็พอหา ได้ จะแสวงหามาเป็น ไฟเผาตัวก็
ทำ� ใหฉ้ บิ หาย ไดจ้ ริง ๆ ข้อนข้ี ้นึ อยูก่ บั ความฉลาดและความ โงเ่ ขลาของผู้แสวงหาแต่ละราย ทา่ นผู้
พ้นทุกข์ ไป ได้ดว้ ยความอุตส่าหส์ รา้ งความดี ใส่ตนจนกลายเปน็ สรณะของพวกเรา จะเขา้ ใจว่าท่าน
ไม่เคยมสี มบัตเิ งินทองเครือ่ งหวงแหนอย่างนน้ั หรอื เข้า ใจว่าเป็นคนร�่ำรวยสวยงามเฉพาะสมัยของ
พวกเราเท่านน้ั หรือ จึงพากันรกั พากนั หวง พากนั หว่ งจน ไม่รู้จักเป็นจกั ตาย บ้านเมอื งเราสมยั น้ ี
ไมม่ ปี ่าชา้ สำ� หรบั ฝงั หรือเผาคนตายอย่างนัน้ หรอื จึงสำ� คญั วา่ ตนจะ ไมต่ ายและพากันประมาทจน
ลืมเน้อื ลืมตวั กลวั แตจ่ ะ ไม ่ได้กนิ ได้นอน กลวั แต่จะ ไม่ ได้เพลดิ ได้เพลนิ ประหน่ึง โลกจะดับสญู
จาก ไป ในเดีย๋ วน้ี จึงพากนั รบี ตักตวงเอาแต่ความไม่เป็นท่า ใสต่ นแทบหาบ ไม่ ไหว อันสงิ่ เหล่านี้
แมแ้ ต่สัตวเ์ ขากม็ ิไดเ้ หมือนมนุษย์เรา อย่าสำ� คัญตนวา่ เก่งกาจสามารถฉลาดรู้ยิ่งกว่าเขาเลย ถึง
กับสร้างความมืดมิดปิดตาทับถมตัวเองจน ไม่มีวันสร่างซา เม่ือถึงเวลาจนตรอกอาจจนย่ิงกว่า
สตั ว์ ใครจะ ไปทราบ ได้ ถา้ ไม่เตรียมทราบ ไว้เสียแต่บดั น้ี ซึ่งอยู ่ในฐานะท่ีควร อาตมาต้อง
ขออภัยด้วยถ้าพดู หยาบคาย ไป แต่คำ� พูดทีส่ ง่ั สอนคน ให้ละช่ัวท�ำดียังจัดเป็นค�ำหยาบคายอยู่แล้ว
โลกเราก็จะถึงคราวหมดสิ้นศาสนา เพราะ ไม่มีผยู้ อมรับความจรงิ การทำ� บาปหยาบคายมีมา
223
ประจำ� ตนแทบทกุ คน ทัง้ ใหผ้ ลเปน็ ทกุ ข์ ตนยงั ไม่อาจรู้ ได้และต�ำหนิมันบ้างพอมีทางคิดแก้ ไข
แต่กลับต�ำหนิค�ำส่ังสอนว่าหยาบคายก็นับว่าเป็น โรคที่หมดหวัง ตอนน้ีต้องขออภัยท่านสุภาพชน
ทั้งหลายที่ ได้บังอาจเขียนแบบคน ไม่มีสติอยู่กับตัวเอาเลย ท้ังนี้ความมุ่งหมายเพื่อสงวนธรรมท่ี
ทา่ นเมตตาแสดง ในบางครง้ั ใหค้ งเสน้ คงวา ไวบ้ า้ ง เพอ่ื บางทา่ น ไดพ้ จิ ารณาถอื เอาความจรงิ ในธรรมนี้
ไม่อยาก ให้ลดลงจากระดับเดิมของทา่ น จงึ พยายามหลับหหู ลบั ตาเขียน ไปตามเน้ือหา
ส�ำหรับปัญหาธรรมนั้น ไม่ว่าท่าน ไปพักท่ี ไหน มีคนมาเรียนถามมิ ได้ขาด แต่ ไม่
สามารถจดจ�ำ ได้ทุกบททุกบาท ท้ังอาจารย์ท้ังหลายที่กรุณา ให้ต้นฉบับมาแต่ละองค์และผู้เขียน
จ�ำมาเอง ประ โยค ใดทส่ี ะดดุ ใจ ประ โยคน้นั กจ็ �ำ ไว้ ได้และบันทึก ไว้ ประ โยคท่ ีไมส่ ะดุด ใจ ก็
หลงลมื จ�ำต้องปล่อย ใหผ้ ่าน ไป
ท่านพักนครราชสีมาพอสมควรแล้วออกเดินทางต่อ ไปจังหวัดอุดรธานี มาถึงขอนแก่น
ทราบว่าพี่น้องชาวขอนแก่น ไปรอรับท่านที่สถานีคับคั่งและพร้อมกันอาราธนาท่าน ให้ลงแวะพัก
เมตตาที่ขอนแก่นก่อน แลว้ คอ่ ยเดนิ ทางต่อ ไปอดุ ร ฯ แต่ทา่ น ไมอ่ าจแวะตามคำ� นมิ นต ์ไดจ้ งึ พากนั
พลาดหวงั ไปบา้ ง ใน โอกาสท่ีควรจะ ไดน้ น้ั
เมื่อทา่ นถึงอุดร ฯ ทราบว่าท่านตรง ไปพักวัด โพธสิ มภรณก์ ับทา่ นเจา้ คณุ ธรรมเจดยี ์ก่อน มี
ประชาชนจากจังหวัดหนองคายบ้าง สกลนครบา้ ง อ�ำเภอตา่ ง ๆ ของจังหวัดอุดร ฯ บ้างมารอกราบ
นมสั การท่าน
จากวัด โพธิสมภรณ์ ก ็ไปพกั ท่วี ดั โนนนิเวศนแ์ ละจ�ำพรรษาท่นี ัน่ เวลาทา่ นจำ� พรรษาท่ี
วดั โนนนเิ วศน์ ทราบวา่ ทา่ นเจา้ คณุ ธรรมเจดยี ์ วดั โพธ ิ ฯ ไดพ้ าคณะศรทั ธาทง้ั ขา้ ราชการและพอ่ คา้
ประชาชน ไปรบั โอวาทท่านทุกวนั พระตอนเยน็ ๆ ม ิไดข้ าด เพราะทา่ นเจ้าคุณธรรม ฯ เองอตุ สา่ ห์
เดินทาง ไปอาราธนานมิ นตท์ ่านอาจารย์มั่นทจี่ งั หวัดเชยี ง ใหม่ ซึง่ ไกลแสน ไกลและยงั อุตส่าห์ด้นดนั้
เขา้ ไปจนถึงที่อยู่ของทา่ นด้วย จึง ไดอ้ งคท์ ่านมา โปรดชาวอดุ ร ฯ เปน็ ตน้ สมความปรารถนา ทา่ น
เจ้าคุณธรรม ฯ จึงเป็นผู้มีพระคุณมากแก่พวกเราที่ ได้เห็น ได้ยินธรรมท่านเวลามาถึงอุดร ฯ แล้ว
ปรกติท่านเจา้ คุณเปน็ ผสู้ น ใจ ในธรรมปฏิบัตเิ ปน็ ประจำ� นสิ ยั มาด้ังเดมิ ถ้าพดู คยุ ธรรมกับทา่ นนาน
เท่า ไร ทา่ น ไมแ่ สดงอาการเหนด็ เหนอ่ื ย ใหป้ รากฏเลย ยง่ิ เปน็ ธรรมฝ่ายปฏิบัติด้วยแลว้ ทา่ นยง่ิ
ชอบเป็นพิเศษ ทา่ นรักและเลือ่ ม ใสทา่ นอาจารยม์ น่ั มาก เวลาท่านพระอาจารย์อยู่อดุ ร ฯ ทา่ นเปน็
ผู้เอา ใจ ใส่เป็นพิเศษ และคอยสอบถามความสุข – ทุกข์ท่านอาจารย์จาก ใครต่อ ใครอยู่เสมอ
นอกจากนนั้ ยังพยายามชักชวน ใหป้ ระชาชน ไปร้จู ักและสนทิ สนมกับท่านอาจารย์อยูเ่ สมอ ถา้ เขา
224
ไม่กล้า ไป ท่านเป็นผู้พา ไปเอง โดย ไม่เห็นแก่ความเหน็ดเหน่ือย คุณธรรมท่าน ในข้อนี้รู้สึกว่า
เด่นมากเป็นพเิ ศษและนา่ เลื่อม ใสมาก
ออกพรรษาแลว้ อากาศแหง้ แลง้ ทา่ นอาจารยช์ อบออก ไปวเิ วกอยตู่ ามบา้ นนอก เพอ่ื บำ� เพญ็
สมณธรรมตามนสิ ยั บา้ นหนองนำ�้ เคม็ ทอี่ ยหู่ า่ งตวั เมอื งราว ๓๐๐ เสน้ เปน็ หมบู่ า้ นทที่ า่ นชอบ ไปพกั
เปน็ เวลานาน ๆ หมบู่ ้านน้มี ปี า่ ไม้ร่มรืน่ ดเี หมาะกับการบำ� เพญ็ ธรรม
ท่านพกั จำ� พรรษาอย่จู งั หวัดอดุ ร ฯ นบั ว่า ไดท้ ำ� ประ โยชน์แกป่ ระชาชน พระ เณรอยา่ ง
มากมาย แถบจังหวัดและอ�ำเภอ ใกล้เคียงกับจังหวัดอุดร ฯ ที่ท่านพักอยู่ มีประชาชนและ
พระสงฆ์ทยอยกันมาบ�ำเพ็ญกุศลและสดับธรรมท่านมิ ได้ขาด เพราะท่านเหล่าน้ี โดยมากก็เคย
เป็นลูกศิษย์เก่าแก่ สมัยที่ท่านมาบ�ำเพ็ญอยู่ก่อนเดินทาง ไปจังหวัดเชียง ใหม่แล้ว ดังน้ันเมื่อ
ทราบว่าท่านมา จึงต่างมีความดี ใจกระหย่ิมย้ิมแย้ม อยากมาพบมาเห็นและท�ำบุญ ให้ทาน
สดับตรับฟัง โอวาทกับท่าน ในระยะน้ันอายุท่านก็ยัง ไม่แก่นัก ราว ๗๐ ปี การ ไปมา ใน
ทางทิศทาง ใดก็พอสะดวกอยู่บ้าง ประกอบกับท่านมีนิสัยคลอ่ งแคลว่ ว่อง ไวลกุ ง่าย ไปเรว็ อยู่ดว้ ย
และ ไม่ชอบอยู่ ในท่ีแห่งเดียวเป็นประจ�ำ ชอบเที่ยวซอกแซกตามป่าตามเขาที่เห็นว่าสงบสงัด
ปราศจากส่งิ ก่อกวน
ที่อุดร ฯ ก็ปรากฏว่ามีผู้มาเรียนถามปัญหาธรรมกับท่านบ่อย ๆ เช่นที่อื่น ๆ เหมือนกัน
ปัญหาที่เขาถามท่านมีคล้ายคลึงกับปัญหาท่ีผ่านมาแล้วก็มี ท่ีแปลกต่างกันออก ไปตามความ
คิดเห็นของผถู้ ามกม็ ี ท่ีคล้ายคลึงกัน ได้แก่ ปญั หาทเ่ี กี่ยวกบั บุพเพสนั นิวาสของสัตวท์ ่ีเคยสร้าง
ความดมี าเป็นลำ� ดับ ไม่ละนิสัยวาสนาของตนหนึง่ บพุ เพสนั นวิ าสของสามภี รยิ าทเี่ คยครองรัก
อยรู่ ว่ มกนั มาหน่งึ ทัง้ สองข้อนที้ ่านวา่ มผี ู้สงสยั ถามมากกว่าข้ออืน่ ๆ
ในขอ้ แรกท่านมิ ไดร้ ะบปุ ญั หาทเี่ ขาถามลงอย่างชดั เจนวา่ เขาถามอยา่ งนนั้ ๆ เปน็ แตท่ า่ น
ปรารภแลว้ กอ็ ธบิ าย ไปเองทีเดียววา่ ส่ิงเหลา่ นี้ต้องมีการรเิ รมิ่ ก่อต้งั เจตนาข้นึ มา ใหเ้ ป็นทางเดนิ
แห่งภพ – ชาติของผู้จะเก่ียวข้องกบั ตน และตนจะเก่ียวขอ้ งกบั ผ้นู น้ั
สว่ นขอ้ ต่อมาท่านระบปุ ญั หาที่เขาถามว่า ค�ำว่าบุพเพสันนิวาสนี้ เราจะร ู้ได้อย่าง ไรวา่
หญิง – ชายรักกนั อยา่ งนี้เป็นบุพเพสันนวิ าส รกั กนั อยา่ งน้นั ไม ่ใชบ่ พุ เพสนั นวิ าส และอยู่ร่วมกัน
กับคนน้เี ปน็ บุพเพสันนวิ าส อยูร่ ว่ มกนั กบั คนนนั้ มิ ใชบ่ พุ เพสนั นิวาส ทา่ นตอบวา่ สำ� หรับพวกเรา
ยากจะมที างทราบ ไดว้ ่า รกั อย่างน้ันและรกั คนน้ันเปน็ บุพเพสันนวิ าส รกั อย่างน้นั และรักคนนัน้
225
มิ ใชบ่ ุพเพสันนิวาส ก็รกั และอยรู่ ่วมกนั ไปแบบคนตาบอด เกดิ ความหวิ จัดคว้าหาอาหารมา
รบั ประทานนั่นแล อะ ไรถกู มอื กร็ ับ ไปพอประทงั ชีวิต ไปวนั หน่งึ ๆ บพุ เพสนั นิวาสก็เชน่ เดยี วกนั
ท้งั ที่มีอยู่กบั สัตวบ์ คุ คลทัว่ ไป แตจ่ ะควา้ ถูกจดุ ของบุพเพสนั นวิ าส คือรักและอยรู่ ่วมกับผเู้ คยเป็น
บพุ เพสนั นิวาสกันนน้ั เปน็ ส่งิ ท่หี าเจอ ไดย้ ากมาก เนื่องจากกิเลสตัวรัก ๆ นม้ี นั ม ิได้ ไว้หน้า ใคร
และมิ ได้รอคอย ให้บพุ เพสนั นิวาสมาวินิจฉยั หรือตัดสินกอ่ นมนั ขอแตว่ ่าเป็นหญิงหรือเปน็ ชายที่
ต้องกับเพศและนิสัยของมันแล้ว เป็นต้องรักและคว้าดะ ไปเลย กิเลสตัวรักนี่แลพา ให้คนเป็น
นกั ต่อส้แู บบ ไม่รู้จักเปน็ จักตาย ไมร่ ูจ้ ักสงู จักต�ำ่ ไม่รู้จกั ใกล้จัก ไกล ไม่รู้จักเลอื กสรรปันแบ่งวา่
มาก ไปหรอื นอ้ ย ไป ควรหรือ ไม่ควรเพียง ใด มีแตจ่ ะสู้ตายเอาทา่ เดยี ว ไม่ยอมแพแ้ ม้จะพลาดทา่
หรือตาย ไปกย็ งั ไมย่ อมทงิ้ ลวดลายที่เคยเป็นนกั ตอ่ สเู้ อาเลย นี่แลเรือ่ งของกิเลสตวั รกั มนั แสดงตวั
เด่นอยู่ ในหัว ใจของสัตว์ โลกอย่างเปิดเผย ไม่ยอมอยู่ ใต้อ�ำนาจของ ใครเอาง่าย ๆ ผู้ต้องการมี
หลักฐานและความมปี ระมาณเป็นเครอื่ งทรงตัว ไวบ้ า้ ง จึง ไม่ควรปลอ่ ย ใหม้ นั วิ่งแซงหนา้ ไปตาม
นิสยั โดยถา่ ยเดียว ควรมีการหกั ห้ามกนั บา้ งพอมีทางตง้ั ตัว แมจ้ ะ ไมท่ ราบบพุ เพสันนิวาสของตัว
ก็ยงั พอมีทางยบั ย้ัง ใจ ได้บ้าง ไม่ถูกมนั จบั ถู ไถเขา้ ถ�ำ้ เขา้ รูลงเหวตกบอ่ ไปทา่ เดยี ว ความรู้บพุ เพ –
สันนิวาสของตนน้ี ถา้ ไม่ ใชน่ ักปฏิบัตจิ ติ ตภาวนาซง่ึ มีนิสยั ในทางรู้เหตุการณต์ ่าง ๆ ก็ยากทีจ่ ะ
ทราบ ได้ แตอ่ ย่าง ไรกต็ าม เราควรมีสตหิ ักหา้ มมันอยู่เสมอ อย่าปลอ่ ย ใหม้ ันพา ไหลลงส่ทู ี่
โสมมแบบนำ้� ล้นฝง่ั ไมม่ ีอะ ไรกน้ั กแ็ ลว้ กนั ยงั พอจะมหี วงั ครองตวั ไป ได ้ ไมจ่ อดจมหลม่ ลกึ ลง ใน
กลางทะเลแหง่ ความรกั อนั ไมม่ ปี ระมาณ โดยถา่ ยเดยี ว
เขาถามทา่ นอกี ปญั หาหนง่ึ วา่ ระหวา่ งสามภี รยิ าทอ่ี ยรู่ ว่ มกนั ดว้ ยความผาสกุ เยน็ ใจตลอดมา
ไม่ประสงค์จะ ให้พลัดพรากจากกัน ในภพต่อ ไป เกิด ในชาติ ใดภพ ใดขอ ให้ ได้เป็นสามีภริยากัน
ตลอด ไป จะปฏิบัติอย่าง ไรจึงจะสมหวัง ถ้าต่างคนต่างตั้งความปรารถนา ให้ ได้พบกันทุกภพ
ทุกชาติจะเปน็ ไป ได ้ไหม ทา่ นตอบว่าความปรารถนานัน้ เปน็ เพยี งเส้นทางเดินของจิต ใจผ้มู งุ่ หมาย
เท่านน้ั ถา้ ไม่ดำ� เนินตามความปรารถนาก็ ไมเ่ กดิ ประ โยชนต์ ามความม่งุ หมาย เชน่ คนตอ้ งการเป็น
คนร�่ำรวย แตเ่ กียจคร้าน ในการแสวงหาทรัพย์ ความร�่ำรวยกเ็ ปน็ ไป ไม่ ได้ ตอ้ งอาศัยความ
ขวนขวายตามเจตจำ� นงท่ตี ้งั ไวด้ ้วยจงึ จะสมหวงั น่ีกเ็ หมอื นกัน ถา้ ต้องการเปน็ สามภี ริยาครองรกั
กนั อยา่ งมีความสุขทกุ ภพทุกชาต ิไป ไมอ่ ยากพลัดพรากจากกนั ต้องมจี ิต ใจคือทรรศนะตรงกัน
ต่างคนตา่ งอย ู่ในขอบเขตของกันและกนั ไม่ชอบแสวงหาเศษหาเลยอนั เปน็ การท�ำลายจิต ใจและ
ความสุขความ ไวว้ าง ใจกัน ต่างคนเป็นผูร้ กั ศีลรักธรรมมคี วามประพฤติด ีไว้วาง ใจกนั ได้ ความรู้
ความเหน็ ลงรอยกนั ตา่ งพยายามรักษาความปรารถนาด้วยการท�ำดี ย่อมมีทางสมหวัง ได ้ไมเ่ หนือ
226
ความพยายามของผู้ปรารถนา ไป ไดเ้ ลย แตถ่ ้าความประพฤตทิ ุกด้านแบบตรงกนั ข้าม หรอื สามดี ี
แต่ภริยาช่วั หรอื ภรยิ าดีแต่สามชี ั่ว ต่างคนต่างท�ำตามความชอบ ใจ ไมล่ งรอยกัน แมต้ า่ งจะ
ปรารถนาสักกี่ร้อยกีพ่ ันครั้งก ็ไมม่ ที างสำ� เรจ็ เพราะเป็นการทำ� ลายความปรารถนาของตน
ท่านยอ้ นถามว่า โยมปรารถนาเพยี งอยากอยู่ร่วมกันเทา่ น้ัน ไม่ปรารถนาอะ ไรอ่นื บ้างหรือ
เขาตอบทา่ นวา่ นอกนน้ั ก็ ไมท่ ราบวา่ จะปรารถนาอะ ไรอกี เพราะความปรารถนาอยาก ไดเ้ งนิ
ได้ทอง อยาก ได้บริษัทบรวิ าร อยาก ไดย้ ศถาบรรดาศักด์ิ อยากเปน็ พระยามหากษตั รยิ ์ อยาก
ไปสวรรค์นิพพาน ก็ยังอดลืมภริยาซึ่งเป็นที่รัก ไม่ ได้อยู่นั่นเอง เพราะนี้เป็นจุด ใหญ่แห่งความ
ปรารถนาของ โลก เลยต้องปรารถนาส่ิงนี้ซ่ึงเป็นเรื่อง ใหญ่ส�ำหรับปุถุชนก่อน จากนั้นถ้าพอ
เปน็ ไป ได้ค่อยพิจารณากนั ไป กระผมจึงเรยี นถามเร่อื งน้ีก่อน แม้กลัวทา่ นดุและอายทา่ นกท็ นเอา
เพราะความจรงิ ของ โลก โดยมากเปน็ กนั อย่างนีท้ ัง้ น้นั เป็นแตจ่ ะกลา้ พดู หรือ ไมเ่ ทา่ นั้น
ทา่ นหวั เราะแล้วถามเขาว่า ถา้ เปน็ ดังทีว่ า่ น ้ีโยม ไป ไหนกจ็ ะตอ้ งเอาแมเ่ ดก็ ไปดว้ ย ใช่ ไหม
เขาหัวเราะบ้างแล้วเรียนท่านว่า กระผมอายจะเรียนท่านตามความหยาบของปุถุชนท่ีเป็นอยู่
ภาย ใน แต่ความจริงแล้วเท่าทก่ี ระผมยงั บวช ไม่ ได้จนบดั น้กี ็เพราะเป็นหว่ งแม่เด็ก กลวั เขาจะ
วา้ เหวเ่ ปน็ ทกุ ข ์ไมม่ ผี ปู้ รกึ ษาปรารภและ ใหค้ วามอบอนุ่ แกเ่ ขาเทา่ ทค่ี วร ลกู ๆ นอกจากจะมารบกวน
ขอเงนิ ไปซอื้ นน่ั ซื้อนีแ่ ละเรื่องอนื่ ๆ ซงึ่ เปน็ เรอื่ งกวน ใจ ใหย้ งุ่ แลว้ กย็ ังมอง ไม่เห็นว่าเขาจะมีความ
สามารถท�ำ ใหแ้ ม่มคี วามอบอ่นุ และสบาย ใจ ได้ ในทาง ใดบ้าง ผมจงึ อดเปน็ หว่ งเขามิ ได้
อีกประการหนึ่งสวรรคช์ ้นั นนั้ ๆ ตามธรรมท่านบอก ไว้วา่ มที ้งั เทวบตุ รเทวธดิ า ซงึ่ แสดงว่ามี
ทัง้ หญิงทั้งชายเหมือนแดนมนุษยเ์ รา และมีความสขุ ความส�ำราญด้วยเคร่ืองบำ� รงุ บ�ำเรอนานาชนิด
ซง่ึ เปน็ สถานที่น่า ไปและน่าอยู่มาก แต่พรหม โลก ไม่ปรากฏว่ามีเทวบุตรเทวธิดาเหมือนมนุษย์
และสวรรค์เลย เม่ือเป็นเช่นน้ันจะ ไม่ว้าเหว่ ไปหรือ เพราะ ไม่มีผู้คอยปลอบ โยนเอาอกเอา ใจ ใน
เวลาเกิดความหงุดหงิด ใจข้ึนมา ยง่ิ นพิ พานดว้ ยแล้วยิ่ง ไมม่ ีอะ ไร ไปเก่ยี วขอ้ งสมั ผสั เอาเลย เป็น
ตวั ของตัว โดยสมบรู ณท์ ุกอย่าง ไมต่ ้องอาศัยสิ่งอ่นื ผอู้ ืน่ ใดเขา้ ไปช่วยเหลือหรอื เก่ยี วข้องบ้างเลย
เป็นตัวของตวั แท้ ๆ แลว้ จะมอี ะ ไรเป็นท่ีภาคภมู ิใจและเทิดเกียรติวา่ ผูถ้ งึ นพิ พานแลว้ เปน็ ผ ู้ไดร้ บั
ความภาคภมู ิใจ ทง้ั เกยี รติยศ ชื่อเสยี งเรืองนาม และความสุขความสบายจากบรรดาท่านผถู้ ึง
นิพพานด้วยกัน อย่างมนุษย์ผูม้ ฐี านะดี มีสมบัติมาก มเี กียรตยิ ศสงู ไดร้ บั ความยกย่องสรรเสริญ
จากเพ่อื นมนุษย์หญงิ – ชายดว้ ยกัน
227
ท่านท่ ีไปนพิ พานแล้วเหน็ เงยี บ ไปเลย ไมม่ ีพวกเดยี วกันยกย่องสรรเสริญทา่ น จงึ ท�ำ ให้
สงสยั ว่าการเงียบ ไปเลยเช่นน้นั จะเปน็ ความสขุ ได้อยา่ ง ไร กระผมต้องขอประทาน โทษที่มาถาม
แบบบ้า ๆ บอ ๆ ไม่เข้าเร่ืองเข้าราวเหมือนคนท่ีมีสติทั่ว ๆ ไป แต่ก็เปน็ ความสงสยั ท่ที �ำ ให้ลำ� บาก
ใจอยู ่ไมห่ าย ถ้า ไม ่ไดเ้ รยี นถามท่านผรู้ ู้ ให้หายสงสยั เสยี ก่อน
ท่านตอบวา่ สวรรค์ พรหม โลก และนพิ พานม ิไดม้ ี ไวเ้ ฉพาะคนข้ีสงสัยแบบ โยม แต่ม ีไว้
สำ� หรับผู้มองเห็นคณุ ค่าของตวั และคณุ ค่าของสวรรค์ พรหม โลก และนพิ พาน วา่ เป็นของดีมี
คุณคา่ ต่างกันขึน้ ไปตามลำ� ดับช้ัน และความดขี องผ้ทู ่คี วรจะ ได้จะถงึ ตามล�ำดับ คนแบบ โยมสวรรค์
พรหม โลก และนพิ พานคงม ิไดฝ้ นั ถงึ เลย แม้ โยมจะ ไปก็ยัง ไป ไม่ ได้ถา้ แมเ่ ด็กยังอยู่ หรอื แมแ้ มเ่ ดก็
ตาย ไป โยมกจ็ ะอดคดิ ถงึ ไม ่ได้ แลว้ จะม ีโอกาสคดิ ถงึ สวรรค ์ – นพิ พาน พอจะหาเวลาคดิ เพอ่ื
จะ ไป ไดอ้ ยา่ ง ไร แม้พรหม โลกและนิพพานก็มิ ได้ดีกว่าแม่เด็กส�ำหรับความรู้สึกของ โยม เพราะ
พรหม โลกและนิพพานบำ� รงุ บ�ำเรอ โยม ไม่เป็นเหมอื นแมเ่ ด็ก โยมจงึ สงสัยและ ไม่อยาก ไป กลวั จะ
ขาดผูบ้ �ำเรอ (ตอนน้ีทา่ นว่าทง้ั ทา่ นท้งั เขาหัวเราะถกู ใจ)
อันความสุขที่เกิดจากสิ่งต่าง ๆ น้ัน แม้ใน โลกมนุษย์เราก็ยังต่างกันตามชนิดของสิ่งนั้น ๆ
ท่มี รี สตา่ งกัน แมป้ ระสาทเคร่ืองรับสง่ิ เหลา่ น้นั ที่มอี ย ู่ในร่างกายอนั เดยี วกนั ก็ยงั นยิ มรับสมั ผัส
ต่าง ๆ กนั เช่น ตาชอบสัมผัสทางรูป หชู อบสมั ผัสทางเสียง จมกู ชอบสมั ผัสทางกล่ิน ลนิ้ ชอบสมั ผสั
ทางรส กายชอบสัมผสั ทางเย็นร้อนอ่อนแขง็ ใจชอบสัมผสั ทางอารมณ์ต่าง ๆ ตามหน้าทแ่ี ละความ
นยิ มของตน จะ ใหร้ สนยิ มเหมือนกนั ย่อม ไม ่ได้ การรับประทานเปน็ ความสขุ ทางหน่ึง การพกั ผ่อน
นอนหลบั เป็นความสขุ ทางหน่งึ การครองรักตามประเพณขี อง โลกเปน็ ความสขุ ทางหนง่ึ แตอ่ ยา่
ลมื วา่ การทะเลาะกนั เพราะความเหน็ ขดั แยง้ กนั ดว้ ยเร่อื งตา่ ง ๆ ก็เปน็ ความทกุ ข์ทางหนง่ึ ฉะนน้ั โลก
จึง ไม่ขาดจากการสัมพันธ์ติดต่อกันกับส่ิงท่ีตนเห็นว่าเป็นความสุขตลอดมา และจ�ำต้องแสวงกัน
ท่วั โลกจะขาดมิ ได้
ความสุข ในมนุษย์และสัตว์ท่ี ได้รับตามภูมิของตนเป็นความสุขประเภทหนึ่ง ความสุข ใน
สวรรค์และพรหม โลกเป็นความสุขประเภทหนึ่ง ๆ ความสุข ในพระนิพพานของท่านผู้สิ้นกิเลส
เครอ่ื งกงั วล ใจ โดยประการทงั้ ปวงเปน็ ความสขุ ประเภทหนง่ึ ตา่ งจากความสขุ ท ่ีโลกมกี เิ ลสทง้ั หลาย
ได้รับกัน จะ ให้เป็นความสุขเหมือนแม่เด็กเสียทุกอย่างแล้ว โยมก็ ไม่จ�ำเป็นต้องดูรูปฟังเสียง
รบั ประทานอาหาร พกั ผอ่ นหลบั นอน และแสวงหาคณุ งามความดี มกี าร ใหท้ าน รกั ษาศลี ภาวนา
เปน็ ต้น ให้ล�ำบาก เพียงอยกู่ บั แม่เด็กเทา่ นัน้ ความสขุ จากส่ิงต่าง ๆ ก็ ไหลมารวม ในท่ีน้ันหมด ซ่ึง
228
เป็นการตัดปัญหาความยงุ่ ยากลง ไดเ้ ยอะแยะ แตค่ ุณจะ ใหเ้ ปน็ ดงั ทวี่ า่ น้ี ได ้ไหม ?
เขาตอบวา่ โอ้ โฮจะ ได้อย่าง ไรท่านอาจารย์ แมแ้ ตก่ บั แมเ่ ดก็ บางครัง้ ยังมกี ารทะเลาะกัน ได้
จะสามารถนำ� ความสขุ จากสง่ิ ตา่ ง ๆ มารวมกับเขาคนเดียว ได้อยา่ ง ไร ก็ยิ่งจะทำ� ใหย้ ุ่ง ใหญ่
ท่านเลา่ วา่ เขาเป็นคนมนี สิ ยั อาจหาญและตรง ไปตรงมา ทัง้ รกั ศีลรกั ธรรมดมี าก ส�ำหรับ
ฆราวาสท่ีมคี วาม ใฝ ่ใจ ในธรรม และมีความจงรักภักดตี อ่ ครูอาจารย์มากมาย ทา่ นจงึ ไดส้ ละเวลา
พูดคยุ ธรรมกนั แบบพิเศษ เป็นกนั เองแทบทกุ ครั้งท่เี ขามาเยี่ยมท่านเวลาปลอดจากแขก ปรกติ
ก็ ไม่คอ่ ยม ีใครสามารถมาถามทา่ นแบบเขา ไดเ้ ลย เขาเป็นคนมนี ิสัยรกั ลกู รักเมยี มาก เคยมากราบ
เยี่ยมท่านบ่อยด้วยความรักเล่ือม ใสท่านมาก เวลามีแขกอยู่กับท่าน เขาเพียงมากราบแล้วก็
หลกี หน ีไปทำ� งานอะ ไร ช่วยพระเณร ไปตามนสิ ยั ของคนสนทิ กับวดั ถา้ ไมม่ ีคนน่ันแลเปน็ โอกาส
ที่เขาจะกราบเรียนถามเร่ืองอะ ไรต่าง ๆ ตามแต่เขาถนัด ท่านก็ชอบเมตตาเขาด้วยแทบทุกครั้งที่
เขามาสบ โอกาสเหมาะ ๆ
สำ� หรบั ท่านพระอาจารยม์ ั่นแลว้ ทา่ นฉลาดและรู้นิสยั ของคน ไดด้ มี าก หาทตี่ ำ� หนิม ิได้
คนทกุ ชน้ั ทกุ เพศทุกวัยมาหาทา่ น การปฏิสันถารทางกิรยิ าจะ ไม่เหมือนกันเลย ท้งั การพูดธรรมดา
และอรรถธรรมต้องตา่ งกัน ไปเปน็ ราย ๆ ของผ้มู าเกี่ยวขอ้ ง ดังที่เขยี นผา่ นมาบ้างแล้ว ท่านพกั
อย่วู ัด โนนนิเวศน์ อดุ ร ฯ พระมาจ�ำพรรษากับท่านมาก และท่ีมาอบรมศึกษาก็มมี ากตลอดมา
วัด โนนนเิ วศนแ์ ตส่ มัยกอ่ นท่ีทา่ นพักอยู่มคี วามสงบมากกว่าทกุ วันน้ี รถราผูค้ นก ็ไมม่ าก ผู้เข้า ไป
เกีย่ วขอ้ งกบั วัด โดยมากเป็นผหู้ วงั บุญกศุ ลจรงิ ๆ มิ ไดเ้ ข้า ไปแบบท�ำลาย ทั้งท่ีมีเจตนาและ ไม่มี
เจตนา การบำ� เพ็ญเพยี รของพระเณรกเ็ ตม็ เม็ดเต็มหน่วยตามเวลาท่ตี ้องการ ฉะนัน้ พระทท่ี รง
คณุ ธรรมทาง ใจ จงึ มมี ากพอเปน็ เครอื่ งอบอนุ่ แกต่ วั เองและประชาชนผหู้ วงั พง่ึ ความรม่ เยน็ ของพระ
ตอนกลางคนื ท่านอบรมพระเณร การแสดงธรรม โดยมากท่านเริ่มแต่ ศีล สมาธิ ปญั ญา
ข้นึ ไปเปน็ ขน้ั ๆ อยา่ ง ไม่มจี ดุ มงุ่ หมายวา่ ทา่ นจะ ไปจบ ในธรรมขนั้ ใด แสดงจนถงึ วมิ ุตตหิ ลดุ พ้น
อันเป็นจุดสำ� คญั ของธรรม แลว้ ย้อนกลับมาแสดงเกย่ี วแกผ่ ้ปู ฏิบตั ิวา่ จะควรปฏิบัตติ นอยา่ ง ไร จงึ
จะสามารถบรรลจุ ดุ ประสงคต์ ามธรรมท่ที า่ นอบรมสั่งสอน การสอนพระ ในวงปฏบิ ัติท่านสอนเน้น
ลง ในความเปน็ ผูม้ ีศลี สังวร โดยถือศีลเปน็ ส�ำคญั ในองคพ์ ระ พระจะสมบรู ณต์ ามเพศของตน ได้
ต้องเป็นผหู้ นักแน่น ในศลี เคารพ ในสกิ ขาบทนอ้ ย ใหญ่ ไมล่ ่วงเกนิ โดยเหน็ ว่าเป็นสกิ ขาบทเลก็ นอ้ ย
ไม่ส�ำคัญ อันเป็นลักษณะของความ ไม่ละอายบาปและอาจล่วงเกิน ได้ ในสิกขาบททั่ว ไป เป็น
ผู้รักษาวินัยเคร่งครัด ไม่ยอม ให้ศีลของตนด่างพร้อยขาดทะลุ ได้ อันเป็นเคร่ืองเสริม ให้เป็น
229
ผู้มีความอบอุ่นกล้าหาญ ในสังคม ไม่กลัวครูอาจารย์หรือเพื่อนพรหมจรรย์จะรังเกียจหรือต�ำหนิ
พระ ใน ใจจะสมบรู ณเ์ ปน็ ขน้ั ๆ นบั แตพ่ ระ โสดา ฯลฯ ถงึ พระอรหตั ต ์ได้ ตอ้ งเปน็ ผหู้ นกั ในความเพยี ร
เพ่ือสมาธิและปัญญาทุกช้ันจะมีทางเกิดขึ้น และเจริญก้าวหน้าสามารถช�ำระล้างส่ิงสกปรกรุงรัง
ภาย ใน ใจออก ได ้โดยสน้ิ เชงิ อนง่ึ คำ� วา่ พระควรเปน็ ผเู้ ยย่ี มดว้ ยความสะอาดแหง่ ความประพฤตทิ าง
กายวาจา และเย่ยี มดว้ ยจติ ที่ทรง ไว้ซ่งึ คณุ ธรรม คอื สมาธิ ปัญญา วิมตุ ติ และวิมตุ ติญาณทสั สนะ
ตามลำ� ดับ ไม่ควรเปน็ พระท่อี ับเฉาเศรา้ ใจ ไม่สงา่ ผา่ เผย หลบ ๆ ซอ่ น ๆ เพราะปมด้อยคอย
กระซบิ อยภู่ าย ใน มอี ะ ไรลกึ ลบั ทำ� ใหร้ อ้ นสมุ อย ู่ใน ใจ นนั้ ม ิใชพ่ ระลกู ศษิ ยพ์ ระตถาคตผงู้ ดงามดว้ ย
ความประพฤติภาย ในภายนอก ไม่มีที่ต้องติ แต่ควรเป็นพระท่ีองอาจกล้าหาญต่อการละชั่วท�ำดี
ด�ำเนินตามวิถีรอยพระบาทที่ศาสดาพาด�ำเนิน เป็นผู้ซื่อตรงต่อตนเองและพระธรรมวินัยตลอด
เพ่ือนฝูง อยู่ที่ ใด ไปที่ ใดมีสุค โตเป็นท่ีรองรับ มี โอชารสแห่งธรรมเป็นที่ซึมซาบ มีความ
สว่าง ไสวอยูด่ ้วยสติปญั ญาเปน็ เครอ่ื งสอ่ งทาง ไมอ่ ยูอ่ ย่างจนตรอกหลอกตัวเอง ให้จนมมุ นนั่ คือ
พระลูกศิษย์พระตถาคตแท้ ควรส�ำเหนียกศึกษาอย่างถึง ใจ ยึด ไว้เป็นหลักอนาคตอันแจ่ม ใส
ไร้กังวลจะเป็นสมบัติที่พึงพอ ใจของผู้น้นั แน่นอน น่ีเปน็ ปรกตนิ ิสัยท่ที ่านอบรมพระปฏบิ ตั ิ
หลงั จากการประชมุ แล้ว ท่านผู้ ใดมขี ้อข้อง ใจก็ ไปศกึ ษากบั ท่านเปน็ ราย ๆ ไ ปตาม โอกาส
ที่ท่านวา่ ง กจิ ประจ�ำวนั ซง่ึ มีติดตอ่ กันท่ีทา่ นตอ้ งปฏิบตั ิไม่ลดละ ไมว่ า่ จะอยู่ ในที่ ใด คือตอนเช้าออก
จากท่ภี าวนาแล้วลงเดนิ จงกรมก่อนบิณฑบาต พอ ได้เวลาแล้วก็ออกบณิ ฑบาต จากน้นั เขา้ ทาง
จงกรมเดินจงกรมจนถงึ เทีย่ งเขา้ ท่ีพัก พกั จ�ำวดั บ้างเลก็ นอ้ ย ลกุ ขน้ึ ภาวนา แล้วลงเดินจงกรม
บ่าย ๔ โมงเยน็ ปดั กวาดลานวดั หรอื ทพี่ กั อยขู่ ณะน้นั สรงนำ้� แล้วเขา้ ทางจงกรมอีกเป็นเวลาหลาย
ชว่ั โมง ออกจากที่จงกรมก็เขา้ ท่ ีไหว้พระสวดมนต์ การสวดมนต์ท่านสวดมากและสวดนานเป็น
ช่วั โมง ๆ เสร็จแลว้ นง่ั สมาธิภาวนาตอ่ ไปต้งั หลายชว่ั โมง คืนหนงึ่ ๆ ท่านพกั จ�ำวดั ราว ๔ ช่วั โมง
เป็นอย่างมาก ในเวลาปรกติ ถ้าเป็นเวลาพิเศษก็นั่งสมาธิภาวนาตลอดรุ่ง ไม่พักจ�ำวัดเลย ใน
วัยหนุ่มท่านท�ำความเพียรเก่งมากยากจะมีผู้เสมอ ได้ แม้ ในวัยแก่ก็ยัง ไม่ท้ิงลวดลาย เป็นแต่
ผ่อนลงบ้าง ตามวบิ ากทีท่ รดุ โทรมลงทุกวันเวลา ทผ่ี ิดกับพวกเราอยมู่ ากกค็ ือจิต ใจทา่ น ไม่แสดง
อาการออ่ นแอ ไปตามวบิ ากธาตุขันธเ์ ทา่ นนั้
น่ีคือวิธีการของท่านผู้ดีเป็นคติแก่ โลกด�ำเนินมา มิ ได้ทอดทิ้งปล่อยวางหน้าท่ีของตนนับ
แต่ตน้ เปน็ ลำ� ดับมา ไม่ลดละความเพยี รซึ่งเป็นแรงหนนุ อนั สำ� คัญ แดนแหง่ ชยั ชนะท่ีท่าน ไดร้ บั
อยา่ งพอ ใจน้ัน ได้ทเี่ ขาลึก ในจังหวัดเชยี ง ใหม่ท่เี ขียนผา่ นมาแล้ว เราทีเ่ กดิ มา ในชาติมนษุ ยซ์ ่ึงเปน็
ชาตทิ พ่ี รอ้ มดว้ ยคณุ สมบตั ทิ ค่ี วรจะ ไดจ้ ะถงึ อยแู่ ลว้ แตล่ ะทา่ นทจี่ ะ ไดป้ ระสบความสำ� เรจ็ ดงั ใจหมาย
230
เชน่ ท่านที่ ไดป้ ระสบมาแล้วจน ได้กลายมาเป็นประวตั นิ น้ั แม้จะมคี นมากแทบลน้ โลกสมัยปจั จบุ นั
แต่ผู้จะ ได้ประสบกับแดนสมหวังดังที่กล่าวมาน้ีมีจ�ำนวนน้อยมากเหลือเกิน แทบจะ ไม่มี ใน โลก
สมยั ปัจจบุ ัน ที่แตกตา่ งกนั มากทั้งนี้กเ็ พราะความรู้ ความเหน็ ความขะมกั เขมน้ และอทิ ธิบาท ๔
คือ ฉนั ทะ วิริยะ จติ ตะ วมิ งั สา ในทางจะ ให้เกิดผลดังมงุ่ หมายมีมากน้อยตา่ งกนั มาก ผลท่ี
เกดิ ข้นึ จงึ ทำ� ให้ตา่ งกนั มากจนแทบ ไม่น่าเช่ือ ท้ังฝา่ ยดีฝ่ายชัว่ แต่กเ็ ป็นสงิ่ ท ่ีโลก ได้ประจกั ษ์ตา
ประจักษ ์ใจกนั มานานแล้วจนหาทางปฏิเสธ ไม่ ได้ นอกจากต้องยอมรบั โดยทวั่ กนั ตามส่ิงที่ปรากฏ
ทง้ั ดีทง้ั ชวั่ ทง้ั สขุ ทัง้ ทกุ ข์ ซึ่งเกิดขึ้นกบั ตนแต่ละราย ไม่มที างสลัดปัดท้ิง ไดเ้ ท่านน้ั
ทา่ นพระอาจารยม์ ่ัน เปน็ ผ้มู ีประวัติอนั งดงามมาก ในบรรดาครูอาจารยส์ มยั ปัจจบุ ัน เปน็
ประวตั ิท่ีทรงดอกทรงผลตลอดต้นชนปลาย สวยงามมาทกุ ระยะ น่าเคารพเลื่อม ใสของคนทุกชัน้
ทกุ เพศทุกวยั กิตตศิ พั ทก์ ติ ตคิ ณุ ฟงุ้ ขจร ไปถงึ ไหนเกดิ ความหอมหวนชวน ใหเ้ คารพเล่ือม ใส ในทนี่ ัน้
แต่เป็นท่ีน่าเสียดายอยา่ งยิ่ง เวลาท่านยังมชี ีวติ อยู่ ท่านพทุ ธศาสนิกชนทมี่ ีความรกั ใคร่ ใฝธ่ รรม
ไม่คอ่ ยมี โอกาส ได้ทราบและ ไดเ้ ขา้ ใกล้ชดิ สนิทกบั ท่านซึ่งมีอยมู่ ากมาย ทัง้ ทป่ี ระสงค์อยากพบทา่ น
ผู้ดีมีคุณธรรมสูงอยู่ตลอดมา แต่เนื่องจากท่าน ไม่ค่อยชอบออกมาตามบ้านเมืองที่มีผู้คนชุกชุม
ทา่ นเหน็ เปน็ ความสะดวกกายสบาย ใจ ในการอย ู่ในปา่ ในเขาตลอดมาแตต่ น้ จนอวสาน แมพ้ ระสงฆ์
ผู้มีความมุ่งม่ันต่ออรรถธรรมซ่ึงมีอยู่มากก็ ไม่ค่อยมี โอกาส ได้เข้า ไปถึงองค์ท่าน ได้ง่าย ๆ เพราะ
ทางลำ� บากกันดาร รถราก็ ไม่มี การเข้า ไปหาจนถงึ ท่ีอยู่ทา่ นตอ้ งเดินทางเปน็ วัน ๆ ผ้ ูไม่เคยเดนิ
ก ็ไป ไม่ ไหว ทัง้ ความ ไมก่ ลา้ หาญพอท่ีจะรบั ธรรมอันแทจ้ รงิ จากทา่ น กลัวทา่ นจะ ไมร่ ับ ใหอ้ ยู่ดว้ ย
บา้ ง กลวั ทา่ นจะดบุ า้ ง กลวั ตวั จะปฏบิ ตั ิไม ่ไดอ้ ยา่ งทา่ นบา้ ง กลวั อาหารการเปน็ อยจู่ ะขาดแคลน
กันดารบา้ ง กลัวจะฉันมื้อเดยี วอยา่ งท่าน ไม่ ไดบ้ า้ ง
เร่อื งท่จี ะเปน็ อปุ สรรคตอ่ การ ไปนั้นรูส้ ึกวา่ สร้าง ไว้อยา่ งมากมายจน ไม่อาจจะฝา่ ฝืนเล็ดลอด
ไป ได้ ทัง้ ทีม่ คี วามมงุ่ หวงั อยู่อย่างเต็ม ใจ ส่ิงเหลา่ น้แี ลที่เป็นอุปสรรคตอ่ ตัวเอง จึงปล่อย โอกาส
ใหผ้ ่าน ไป โดย ไม ่ได้รบั ประ โยชนอ์ ะ ไรจากความคดิ ชนดิ ต่าง ๆ เหล่าน้ีเลย กระท่ัง ไดย้ นิ แต่ประวัติ
ท่านท่ี ไมม่ ีรปู ร่างเหลอื อยูแ่ ล้ว จึง ไดท้ ราบว่าทา่ นเปน็ พระเช่น ไร ในวงพระศาสนา ซึ่งเป็นศาสนาท่ี
ทรงมรรคทรงผลตลอดมา นบั แตพ่ ระพุทธเจา้ เปน็ พระองค์แรก ลำ� ดับลำ� ดากนั ลงมาถึงพระสาวก
ผูท้ รงมรรคทรงผล นบั จำ� นวน ไม่ ได้ ถ่ายทอดกันเรือ่ ยมาดว้ ย สุปฏบิ ตั ิ อชุ ุ ญายะ สามจี ปิ ฏิบัติ
อันเป็นเหมือนท�ำนบ ใหญ่ที่ ไหลออกแห่งน้�ำอมตมหานิพพานจากจิตสันดานของทุกท่านผู้ทรง ไว้ซ่ึง
ปฏปิ ทา ตามทางศาสดาท่ีประทาน ไว้
231
ท่านพระอาจารย์มั่นก็เป็นองค์หน่ึง ในจ�ำนวนพระสาวกอันดับปัจจุบันซึ่งเพิ่งมรณภาพผ่าน
ไปเมอื่ วนั ท่ี ๑๐ พฤศจกิ ายน ๒๔๙๒ ถา้ รวมเวลาทท่ี ่านผ่าน ไปกร็ าว ๒๐ ปกี ว่าเท่าน้ัน แต่การ
มรณภาพทา่ นจะรอลงขา้ งหนา้ เวลาเรอื่ งทา่ นดำ� เนนิ ไปถงึ แตอ่ ยา่ ง ไรกต็ ามการผา่ น ไปแหง่ รปู ธรรม
น้ันเปน็ ของมมี าดง้ั เดิม ทัง้ ยังจะมีตอ่ ไปตลอดกาลเมอ่ื ความเกดิ ของสิ่งสมมุติตา่ ง ๆ ยังเปน็ ไปอยู่
ความอัศจรรย์ส�ำคัญท่ียังคงอยู่ก็คือ พระเมตตาคุณ พระปัญญาคุณ และพระวิสุทธิคุณของ
พระพทุ ธเจ้าที่สถิตอย่กู ับพระศาสนา ไม่ ไดผ้ า่ น ไปด้วย แม้เมตตาคณุ ปญั ญาคุณ และวิสทุ ธคิ ณุ
ของท่านพระอาจารย์มั่นก็คงยังอยู่เช่นเดียวกับของพระศาสดา เพราะเป็นคุณสมบัติลักษณะ
เดยี วกนั สำ� คัญอยู่ทผ่ี ู้จะปฏิบัติ ให้เป็น ไปตามพระ โอวาทท่ีทา่ นประทาน ไว้ จะสามารถตักตวง ได้
มากนอ้ ยเพยี ง ไร ในกาลอันควรท่กี �ำลังเป็น ไปอย่กู บั พวกเราเวลาน้ี นเี้ ป็นสง่ิ ที่ยงั ควรและนา่ สน ใจ
อยมู่ าก สำ� หรบั ผยู้ งั มีชีวิตครองตัวอยู่ ถา้ หา ไมแ่ ลว้ หมดหนทาง ไมม่ ีสิง่ ใดมาแก ้ไข ใหก้ ลบั คืน ได้
ตอนทา่ นแก้ปญั หาพนี่ อ้ งชาวนครราชสมี านัน้ มีเนือ้ ความทีส่ ะดดุ ใจผู้เขียนตลอดมา จงึ ขอ
ถอื เอาความย่อ ๆ มาลงอกี เล็กนอ้ ยว่า อย่าทำ� ความร้คู วามเห็นและความประพฤติทกุ ด้านเหมอื น
เรา ไม่มปี า่ ชา้ อย่กู ับตวั อยู่กบั บา้ นเมืองเรา อยู่กบั ญาติมติ รของเรา บทถึงคราวเป็นอยา่ ง โลกที่มี
ปา่ ช้าทว่ั ๆ ไ ปข้ึนมาจะแก้ตัว ไม่ทัน แล้วจะจมลง ในที่ตนและ โลก ไม่ประสงค์อยากลงกนั จะคิด
จะพูด จะท�ำอะ ไร ควรระลึกถงึ ปา่ ช้าคอื ความตายบา้ ง เพราะกรรมกบั ป่าช้าอยูด่ ้วยกนั ถ้าระลึก
ถงึ ป่าชา้ ในขณะเดยี วกันก ็ไดร้ ะลกึ ถึงกรรมดว้ ย พอทำ� ใหร้ ู้สึกตวั ขน้ึ บา้ ง อยา่ อวดตัวว่าเก่งทง้ั ๆ ที่
ไมเ่ หนืออ�ำนาจของกรรม แมอ้ วด ไปก็เปน็ การทำ� ลายตวั ให้ลม่ จม ไปเปล่า ๆ ไมค่ วรอวดเก่งกวา่
ศาสดาผรู้ ดู้ รี ้ชู อบทุก ๆ อย่าง ไมล่ บู ๆ คล�ำ ๆ เหมอื นคนมีกเิ ลสท่ีอวดตวั ว่าเก่ง สุดท้ายก็จนมุมของ
กรรมคอื ความเก่งของตวั (ผลรา้ ยที่เกิดจากการทำ� ดว้ ยความอวดเกง่ ของตัวเอง) น้ีฟังแล้วใจสะดุง้
และหมอบยอมจำ� นนต่อกรรมจริง ๆ ไม่ผยองพองตวั จนลืมตนว่าม ิใชค่ นเดนิ ดนิ เหมือน โลก ๆ เขา
จงึ ไดน้ ำ� มาลงซ้ำ� อกี ทีล่ งมาแล้วบางตอนก็มีบกพร่องบ้าง ไม่สมบูรณ์ตามทที่ า่ นอธิบาย มาระลกึ
ไดท้ หี ลังก็มี อยา่ งนเี้ องความรูค้ วามจำ� ของปถุ ุชนคนหนา มนั หลอก ๆ ลวง ๆ ขวางธรรมของจรงิ
อยอู่ ยา่ งนี้เอง จึงขออภัยทา่ นผอู้ ่าน ไว้ด้วยท่เี ขยี นซ้ำ� บ้างเป็นบางตอน
ท่านพระอาจารย์ม่ันปลูกต้นโพธ์ิธรรม
ท่านพระอาจารย์มั่นท่านมีความรู้ความสามารถประสาทธรรม ให้แก่คณะลูกศิษย์ฝ่ายพระ
เป็นตน้ โพธติ์ ้น ไทรขึ้นมาหลายองค์ ซึง่ เป็นประเภทที่ปลูก ใหเ้ จริญเติบ โตข้ึนยากอย่างยิง่ เพราะ
เป็นประเภทที่ชอบมอี นั ตรายรอบด้าน ครอู าจารยท์ ่ีเป็นลูกศษิ ย์ผู้ ใหญ่ทา่ นยงั มีอยู่หลายองค์ ท่ี
232
ระบุนามมาบา้ งแลว้ ตอนตน้ ก็มี คือท่านอาจารยส์ งิ ห์ ทา่ นอาจารย์มหาป่ิน อบุ ล ฯ ท่านอาจารย์
เทสก์ ทา่ บ่อ หนองคาย ทา่ นอาจารยฝ์ น้ั สกลนคร ทา่ นอาจารยข์ าว วดั ถ�ำ้ กลองเพล อดุ ร ฯ
ทา่ นอาจารยพ์ รหม บ้านดงเย็น อ.หนองหาน* อุดร ฯ แตท่ า่ นมรณภาพ ไปเม่อื เร็ว ๆ นี้ ศพท่าน
ยงั ไมเ่ ผา ทา่ นอาจารย์ลี วดั อ โศการาม สมุทรปราการ ท่านอาจารย์ชอบ ท่านอาจารย์หลุย
จังหวัดเลย ทา่ นอาจารย์ออ่ น หนองบัวบาน ท่านอาจารยส์ ิม เชยี ง ใหม่ ทา่ นอาจารย์ต้ือ
เชียง ใหม่ ทา่ นอาจารย์กงมา สกลนคร ที่หลงลมื จ�ำ ไม ่ได้กย็ งั มีอย่มู าก ท่านอาจารย์เหลา่ นี้
ล้วนเปน็ ผมู้ คี ุณธรรม ในลกั ษณะต่าง ๆ กนั องค์หนึง่ เด่น ไปทางหนง่ึ อกี องคห์ น่งึ เดน่ ไปทางหนง่ึ
รวมแลว้ ทา่ นเปน็ ผนู้ า่ กราบ ไหวบ้ ชู าอยา่ งสนทิ ใจแทบทกุ องค์ บางทา่ นกม็ ชี อ่ื เสยี ง โดง่ ดงั มปี ระชาชน
พระเณรรู้จักมาก บางท่านกช็ อบเก็บตวั และชอบอยู ่ในที่สงัดตามอัธยาศัย บรรดาลกู ศิษยท์ ่าน
พระอาจารยม์ นั่ บางท่านมีสมบตั มิ าก (คุณธรรม) แต ่ไมม่ ีคนคอ่ ยทราบกนั กม็ อี ยหู่ ลายองค์
เพราะทา่ นชอบอยอู่ ยา่ งเงยี บ ๆ ตามนสิ ยั นบั วา่ ทา่ นสามารถปลกู พระ ใหเ้ ปน็ ตน้ โพธธ์ิ รรม ไดม้ ากกวา่
ทุกอาจารย์ ในภาคอสี าน โพธคิ์ ือความรูค้ วามฉลาด ถา้ เปน็ โพธ์ขิ องพระพทุ ธเจ้าก็เรยี กวา่ ตรัสรู้
แต่เป็นอาจารย์ก็ควรเรียกตามฐานะหรือตามวิสัยป่าของผู้เขียนว่า ‘โพธ์ิธรรม’ ซึ่งรู้สึกถนัด ใจ
การปลกู พระกเ็ หมอื นท ่ีโลกเลย้ี งลกู ปลกู โพธน์ิ นั่ เอง การแนะนำ� สงั่ สอนเพอื่ ปลกู ฝงั หลกั ฐาน
ทางมรรยาท ความประพฤติ ตลอดความรู้ ความฉลาดทางภาย ในถึงขั้นปกครองตน ได ้ไม่มีภัย
เข้า ไปอาจเอือ้ มทำ� ลาย ได้ เพยี งแต่ละองคน์ บั วา่ เปน็ สง่ิ ทีท่ ำ� ให้เจริญ ไดย้ ากมาก เพราะการปลกู
คุณธรรมให้ฝังลึกลง ในหัว ใจของคนมีกิเลสท่ีแสนแง่แสนงอนนั้นเป็นภาระท่ีหนักหน่วงถ่วง ใจผู้เป็น
อาจารย์แทบ ไมม่ เี วลาปลงวาง ได้ และต้องเปน็ ผู้มอี ำ� นาจเหนอื กเิ ลส โดยประการทั้งปวงแล้ว จึงจะ
พอมีทางท�ำ ให้ผู้มารับการอบรม ได้รับความซาบซ้ึงถึง ใจและพอ ใจปฏิบัติตามด้วยความเต็ม ใจ
นสิ ัยกบั ธรรมจะพอมีทางกลมกลนื กัน ได้กลายเป็นผมู้ ีความม่นั คงทาง ใจ ไป โดยลำ� ดบั ลำ� พังเรา
ก็มกี ิเลส ผูม้ ารับการอบรมต่างก็มีกเิ ลสเต็มตวั ด้วยกนั กย็ ากทีจ่ ะมีกำ� ลงั ฉุดลากกนั ไป ให้ถงึ ที่
ปลอดภยั ได้ จึงอยากจะพูดวา่ สง่ิ ที่ทำ� ได้ยาก ใน โลกมนุษย์เรากค็ อื การสรา้ งพระธรรมดา ใหเ้ ปน็
พระทีน่ ่ากราบ ไหว้บชู า และเสกสรรหรือสง่ เสริม ให้เลือ่ นจากฐานะเดมิ ของจติ ขึ้นสู่พระ โลกตุ ระ
คอื พระ โสดา พระสกทิ าคา พระอนาคา และพระอรหนั ตน์ นั้ ยิง่ ยากแสนยากขึ้นเปน็ ข้ัน ๆ
ด ีไม่ดยี ัง ไม่แตกก่งิ แตกแขนง กถ็ กู ตวั แมลงมากดั มา ไช มา โคน่ รากแก้วรากฝอย ให ้โค่นลม้ จมดิน
อยา่ ง ไม่เปน็ ท่า เสยี มากกวา่ จะเจริญเป็นต้นเปน็ ลำ� ข้นึ มาพอทำ� ประ โยชน ์ได้ โดยมากเราเคยเห็น
กนั มาอยา่ งน้นั แทบทง้ั นนั้ ไมค่ ่อยมรี ากฝังลกึ พอจะทนลม ทนฝน ทนตวั แมลงกดั ไช ได้
* ปัจจุบันข้ึนกับอ�ำเภอบ้านดุง
233
เราปลูกต้น ไม้ชนิดต่าง ๆ ไว้ท�ำประ โยชน์ ไม่กี่ปีก็ ได้รับผล แต่ปลูกพระน้ีกี่ปีก็คอยแต่จะ
โค่นล้มอยู่นนั่ เอง แม้ ไมม่ ีอะ ไรมาตอม แตต่ ัวเองกค็ อยส่ายแส่หาตัวแมลงมาตอมเพื่อทำ� ลายและ
ตวั กค็ อยท�ำลายตวั เองอยแู่ ลว้ จงึ เป็นความเจรญิ ไดย้ าก ในการปลกู พระ ถา้ ไม่เชื่อว่าเปน็ ความจริง
กเ็ ชิญเข้ามาลองบวชบ�ำรุงตนด้วยสิกขาบทกฎบัญญัติที่ประทาน ไว้ดู น่ากลัวว่าข้าวเย็นก็จะหิว
ก่อนเวลาท้ังที่ตะวันยัง ไม่ตก เทีย่ วกอ็ ยากเที่ยวตลอดเวลาทงั้ ท่ีศรี ษะก็ ไมเ่ หมือน โลกเขา ตา หู
เป็นต้น ต่างกอ็ ยากดู อยากฟัง อยากดมกลิ่นลม้ิ รส สัมผสั สิง่ อ่อนนมุ่ ภมู ิใจ ไมม่ ีเวลาอม่ิ พอ
ตลอดเวลา โดย ไม่เลือกว่าเช้า สาย บ่าย เย็น อะ ไรเลย จนลืมวา่ ตวั เป็นอะ ไรขณะนี้ สว่ นจะ
สน ใจบำ� รุงตน้ โพธ์ิคอื ใจ ใหม้ เี หตมุ ผี ล รู้จกั อดทนต่อค�ำส่งั สอน นอ้ มเข้ามาฝกึ ฝนอบรมตน ใหม้ ี
ความสงบเย็น ใจน้ัน น่ากลัวจะ ไม่สน ใจน�ำพาเสียแล้ว ต้น โพธิ์ คือ ใจ เมื่อขาดการบ�ำรุง
ก็มีแต่จะเห่ียวแห้งยุบยอบลง โดยล�ำดบั ส่ิงคอยท�ำลายก็นับวันเวลามี โอกาสหักราน ไปทุกระยะ
ต้น โพธ์ิต้น ไหนบ้างจะทนต้ัง โด่อยู่ ได้ เพราะ โพธ์ิของพระเป็น โพธิ์ท่ีมีหัว ใจ จะต้อง โอน ไป
เอนมาตามสิ่งร้าวราน ทน ไม่ ไหวก็ โค่นล้มลง จมดนิ จมน้�ำอย่าง ไม่เปน็ ทา่ เทา่ นน้ั เอง
ฉะนั้น การปลูก โพธ์ิ จึงเป็นของปลูกยากอย่างน้ี ใคร ไม่เคยปลูกก็ ไม่รู้ฤทธิ์ของมัน
ซึ่ง ไมค่ อ่ ยชอบปยุ๋ ธรรมดาเหมอื นตน้ ไมท้ ง้ั หลาย แตแ่ หวก ไปชอบปยุ๋ ประเภทสงั หารทำ� ลายเสยี มาก
ฉะน้นั โพธต์ิ ้นน้ีจึงมกั อบั เฉาและตาย ไดง้ ่ายกวา่ ตน้ ไม้ชนิดอนื่ ๆ คือตายจากศลี ธรรมความดงี าม
นัน่ เอง ผูเ้ ขยี นเคยปลูกและบำ� รงุ มาบ้าง และเคยท�ำลายมาบา้ งด้วยความรู้เท่า ไม่ถึงการณ์ จงึ
พอทราบฤทธ์ิของมันว่า เป็นธรรมชาติที่ปลูกยากบ�ำรุงยาก คอยแต่จะอับเฉาเหี่ยวแห้งและ
ฉิบหายอยู่ตลอดมา แม้ปัจจุบันน้ีก็ยัง ไม่อาจรับรอง ได้ว่า โพธิ์ต้นนี้จะเจริญข้ึนหรือเส่ือมลง ไป
ถึง ไหนเพียง ไร เพราะปรกติก็คอยแต่จะเสื่อมลงท่าเดียว ท้ัง ๆ ที่มองเห็นว่ามีอะ ไรเจริญข้ึน
พอ ให้เส่ือมลงอันเป็นของคู่กัน แต่ก็ยังอุตส่าห์เส่ือมลง ได้อยู่นั่นเอง
ปยุ๋ ประเภทท�ำลายนี้ โพธ์ิชนดิ น้ีรสู้ กึ ชอบและแสวงหามาท�ำลายตวั เองเปน็ ประจ�ำแทบมอง
ไม่ทนั โดย ไมม่ ีใครมาเกย่ี วขอ้ งและชว่ ยทำ� ลาย ดงั นน้ั ทา่ นทอ่ี ตุ สา่ หฝ์ า่ ฝนื และทรมาน ใจ ใหอ้ ย ู่ใน
อำ� นาจ ได้ จนกลายเป็น โพธิข์ ้ึนมาอยา่ งสมบรู ณ์ จงึ เปน็ ผทู้ ีน่ า่ กราบ ไหว้สกั การะอย่างถึง ใจ สมัย
ปัจจบุ นั ก็มที า่ นอาจารย์ม่ัน เป็นต้น ซ่ึงเปน็ ทอี่ บอุน่ แก่บรรดาศษิ ย์ โดยทั่วกนั ทัง้ นี้เพราะทา่ น
สามารถบ�ำรุงรกั ษาต้น โพธท์ิ ่าน ไว้ ไดจ้ นทรงดอกทรงผล ทรงต้น ทรงกงิ่ และทรง ใบ ไว ้ได้อยา่ ง
สมบรู ณ์ และรม่ เย็นแก่ผู้เขา้ อาศยั ตลอดมา แมท้ า่ นมรณภาพผา่ น ไปแล้ว เพียง ไดอ้ ่านประวัติ
ก็ยงั สามารถท�ำความดึงดูดจิต ใจ ใหเ้ กดิ ความเลอื่ ม ใส ในท่านและ ในธรรมขึ้นอกี มาก ประหนงึ่ ท่าน
ยงั มีชีวติ อยกู่ บั พวกเรา มิ ไดพ้ ลดั พรากจาก ไป ไหนเลยฉะน้ัน
234
ท่านพักจ�ำพรรษาทีว่ ดั โนนนิเวศน์ จังหวดั อดุ รธานเี ป็นเวลา ๒ พรรษานบั แตจ่ ากจงั หวดั
เชียง ใหมม่ า พอออกพรรษาปีที่สองแลว้ คณะศรทั ธาทางจังหวัดสกลนคร มคี ุณแมน่ ุ่ม ชุวานนท์
เปน็ ตน้ ซ่งึ เคยเปน็ ลูกศิษย์เกา่ แกข่ องท่าน พร้อมกนั มาอาราธนานิมนตท์ า่ น ให ้ไป โปรดทางจงั หวดั
สกลนครซ่ึงท่านเคยอยูม่ าก่อน ทา่ นยินดรี ับอาราธนา คณะศรทั ธาทง้ั หลายตา่ งมคี วามยนิ ดี
พรอ้ มกันเอารถมารับท่าน ไปทีจ่ งั หวดั สกลนคร ในปลายปี พ.ศ. ๒๔๘๔ ทา่ น ไปพกั วดั สทุ ธาวาส
สกลนคร ขณะทท่ี ่านพกั อย่มู ปี ระชาชนพระเณรพากันมากราบเยย่ี มและฟงั โอวาททา่ นมิ ได้ขาด
ทา่ นพกั วดั สทุ ธาวาสครั้งนนั้ มผี ู้มาขอถ่ายภาพท่าน ไวก้ ราบ ไหว้บูชา ทา่ นอนญุ าต ใหถ้ ่ายภาพท่าน
คราวมาพักนครราชสมี าครง้ั หน่งึ คราวมาพกั ทสี่ กลนครครง้ั หนึ่ง ที่บ้านฝัง่ แดง อำ� เภอ
พระธาตุพนม จงั หวัดนครพนม คราวกลบั จากงานฌาปนกิจศพท่านพระอาจารย์เสารค์ รงั้ หนึง่
ทีท่ ่านผู้เคารพเล่ือม ใสในทา่ น ไดร้ บั แจก ไว้สักการบูชาทกุ วันน้ี กเ็ นื่องมาจากท่ที า่ นอนุญาต ให้ถา่ ย
สามวาระน่นั แล ไม่เชน่ น้นั กค็ ง ไม่มอี ะ ไรปรากฏเปน็ พยานแหง่ ความเลือ่ ม ใส ในทางรูปกายทา่ น
บ้างเลย เพราะปรกตทิ ่าน ไม่ชอบ ใหถ้ ่ายอยา่ งงา่ ย ๆ กว่าจะอนญุ าต ให้ ใครแตล่ ะครั้ง ผนู้ ้นั
ตอ้ งร้สู กึ อดึ อดั ใจอยู่ ไม่น้อย ตอ้ งน่ังถอยเข้าถอยออกและเปล่ียนท่าเปล่ียนทีอยู่หลายคร้ัง จน
เหง่ือแตก โชก ไปท้ังตัว โดย ไม่รู้สึก เพราะเคยทราบมาแล้วว่า ท่าน ไม่ค่อยอนุญาต ให้ ใคร
ถ่ายเลย ดี ไม่ดีถ้าเข้า ไม่สบโอกาสอาจ โดนดุก็ ได้ จึงต้องกลวั กนั ทกุ ราย ไป
ทา่ นพักวัดสุทธาวาสพอควรแล้วกอ็ อกเดินทาง ไปพกั ทสี่ �ำนกั ปา่ บ้านนามน ซึ่งเป็นที่สงดั
วเิ วกดที ้งั กลางวนั กลางคืน เหมาะกบั อัธยาศัยทา่ นท่ีชอบเช่นนน้ั มาประจำ� นสิ ยั พระเณรท ่ีไป
อาศัยอยู่กับท่านเห็นแล้วน่าเล่ือม ใสอย่างจับ ใจ มีแต่องค์พูดน้อยแต่ชอบต่อยมาก ๆ กันทั้งน้ัน
คือทา่ น ไม่ชอบพดู คยุ กัน ต่างองคป์ ระกอบความเพยี รตลอดเวลา ในทขี่ องตน ๆ อยู่ ในกระต๊อบเปน็
หลงั ๆ บ้าง อยู่ ในท่จี งกรม ในปา่ ริมท่ีพักบา้ ง ถงึ เวลาบา่ ย ๔ โมงเยน็ เวลาปัดกวาดลานวัดถึงจะ
เห็นทา่ นเดินออกมาจากท่ีต่าง ๆ แลว้ ปัดกวาดลานวดั โดยพรอ้ มเพรียงกัน จากนนั้ กพ็ ากันขนนำ้�
ข้ึน ใส่ตมุ่ ลา้ งเทา้ ตมุ่ ล้างบาตร และสรงน้ำ� อยา่ งสงบเสงีย่ มงามตา ต่างองค์ต่างมที า่ อนั ส�ำรวม
มสี ตปิ ัญญาพิจารณาธรรม ไปกับกิจวัตรท่ที �ำม ิไดเ้ ลินเล่อเผลอตัวคะนองปากพดู ไปต่าง ๆ
พอเสร็จกิจวัตรแล้วตา่ งองคต์ า่ งปลีกตวั หาท่ีบ�ำเพญ็ เพยี ร ในท่ีและท่าต่าง ๆ ประหนง่ึ ไม่มี
พระอย ู่ในสำ� นักเลยฉะน้นั เพราะ ไมม่ องเห็นพระยืนพดู นงั่ คุยกนั ในทีต่ ่าง ๆ เลย ถ้าก้าวเข้า ไป
ในป่าริมสำ� นักจะเหน็ แตท่ ่านเดินจงกรม ไป – มาอยู่บา้ ง น่งั สมาธภิ าวนาอยูบ่ ้าง นง่ั ท�ำความสงบ
อย ู่ในกระตอ๊ บเลก็ ๆ บ้าง อยา่ งนนั้ เปน็ ประจ�ำทุกวันเวลา นอกจากเวลาประชมุ บณิ ฑบาตและ
เวลามีกิจจ�ำเป็นอยา่ งอ่นื หรอื เวลาฉนั จังหันเทา่ นน้ั จงึ จะเหน็ ท่านอย่รู วมกัน แม้ขณะบิณฑบาต
235
กต็ ่างองค์ตา่ งส�ำรวมระวังตัง้ สตปิ ัญญา ใกลช้ ิดติดแนบอยู่กบั ความเพยี ร ไปตามสายทาง ม ิได้ ไป
แบบคน ไม่มสี ติอยูก่ บั ตวั ตาสง่ ไป ในสงิ่ โน้น ปากพดู พลา่ มกบั คนนี้อะ ไรเช่นนัน้ ในอริ ยิ าบถและ
ความเคล่อื น ไหว ไปมาของพระท่านเปน็ ทเ่ี ยน็ ตาเยน็ ใจนา่ เคารพเล่ือม ใส
ก่อนฉนั ตา่ งกพ็ จิ ารณาอาหารปจั จัยทีร่ วมอยู ่ในบาตรด้วยอบุ ายทเี่ หน็ ภัย ไม ่ใหต้ ดิ ใจ
ในอาหาร ไมแ่ สดงอาการเพลดิ เพลิน ในอาหารชนิดต่าง ๆ ขณะฉันกท็ �ำความร้สู ึกแบบคนมสี ติ
อยกู่ ับตัวและฉนั ด้วยทา่ ส�ำรวม ไมพ่ ดู คยุ กนั ในเวลาฉัน และ ไมม่ อง โน้นมองนี้ การขบเคี้ยวอาหาร
กม็ สี ติระวงั ไม่ ให้มเี สียงดงั เกนิ ความงามอันเป็นทร่ี ำ� คาญแก่ผู้อ่นื ท่ีฉันอยดู่ ว้ ยกัน หลังจากฉันเสร็จ
ต่างเก็บส่ิงของบริขารและปัดกวาดเช็ดถูท่ีฉัน ให้สะอาด แล้วล้างบาตรเชด็ บาตร ให้แหง้ ผึ่งแดด
คร่หู นึง่ แล้วเกบ็ ไว ้ในทค่ี วร หลงั จากนั้นต่างก็เข้าหาท่ีวเิ วกเพื่อความเพียร คอื การฝึกอบรม ใจ
ตามแตเ่ ห็นสมควรจะปฏิบัติตอ่ ใจอย่าง ไร หนักบา้ งเบาบ้าง โดยมิ ได้ค�ำนึงกบั เวล่ำ� เวลาว่าเช้า –
สาย – บ่าย – เย็น และความเพยี รว่าท�ำมาก ไปหรือน้อย ไป จดุ ทห่ี มายอยา่ งนอ้ ยก็หวงั ใหจ้ ติ อย ู่ใน
ค�ำบรกิ รรมภาวนาท่นี �ำมาบงั คับ หรือกำ� กับ ใหเ้ ป็นอารมณท์ ีพ่ ง่ึ พงิ เพ่ือความสงบเย็น ใจหน่งึ เพอ่ื
บังคบั ใจ ใหอ้ ยู่ ในเหตุผลทปี่ ญั ญาช้ีแจงหรืออบรม ในกรณีน้ัน ๆ หนึง่ เพ่ือภูมิจิตภมู ธิ รรมขั้นละเอียด
ขนึ้ ไป โดยล�ำดับจนถงึ จดุ ท่ีหมายหนงึ่ องค ์ใดอยู่ ในภมู ิ ใดกพ็ ยายามอบรมจิตของตน ใหด้ �ำเนิน ไป
ตามภมู ินั้น ไม่ลดละความเพยี ร
คำ� วา่ ‘สต’ิ ยอ่ มถอื เปน็ ธรรมสำ� คญั ของความเพยี รทกุ ๆ ประ โยค และคำ� วา่ ‘ปญั ญา’ กย็ อ่ ม
ถือเป็นส�ำคัญ ในเวลาท่ีควร ใช้ตามกาลของตน เพราะปัญญาเป็นธรรมจ�ำเป็น ไปตามภูมิของจิต
ของธรรม ส่วนสติเปน็ ธรรมจ�ำเปน็ ตลอด ไป ในอริ ยิ าบถตา่ ง ๆ กาล ใดท่ขี าดสติ กาลนนั้ เรียกว่า
ขาดความเพียร แม้ก�ำลังเดินจงกรมหรือน่ังสมาธิอยู่ก็สักแต่ว่าเท่าน้ัน แต่มิ ได้เรียกว่า
เป็นความเพียรชอบ ดังน้ันท่านจึงสอนเน้นลง ในความมีสติมากกว่าธรรมอื่น ๆ เพราะ
สติเป็นรากฐานส�ำคัญของความเพียรทุกประเภทและทุกประ โยคที่ท�ำ จนกลายเป็น
มหาสติข้ึนมาและผลิตปัญญา ให้เป็น ไปตาม ๆ กัน ภูมิต้นเพ่ือความสงบต้อง ใช้สติ
ให้มาก ภูมิต่อ ไปสติกับปัญญาควรเป็นธรรมควบคู่กันไปตลอดสาย
ทา่ นอาจารยม์ ัน่ ท่านสอนพระ ให้เดด็ เดีย่ วอาจหาญมาก ใคร ไมต่ งั้ ใจจริงจังอยกู่ บั ท่าน ไม่
ค่อย ได้ ราว ๖ – ๗ คนื มีการประชุมธรรมครงั้ หนึ่ง คืนนอกนน้ั ท่านเปดิ โอกาส ใหพ้ ระเณรเร่งความ
เพียร ผ้ ูใดมขี ้อข้อง ใจก็ ไปเรียนถามท่าน ได ้โดย ไมร่ อจนถึงวันประชุม ขณะอยู่กับท่านบรรยากาศ
รสู้ กึ อบอวล ไปด้วยอรรถดว้ ยธรรม ประหนึ่งมรรคผลนิพพานราวกับอยแู่ คเ่ อ้อื มมอื เพราะความ
236
อบอนุ่ และความมุ่งมัน่ มกี �ำลงั กล้า ต่างองคต์ ่างเป็นเคร่ืองพยุงจูง ใจกัน ในทางความเพียร ตลอด
มรรยาททแ่ี สดงออกราวกับต่างองค์ตา่ งเออ้ื มเพือ่ บรรลมุ รรคผลนพิ พานดว้ ยกัน จงึ ต่างองคต์ ่างมี
ความขยันหมั่นเพียรมาก กลางวนั กับกลางคนื เหมือนเป็นราตรีเดยี ว ในการประกอบความเพยี ร
ของพระท้งั หลาย ถา้ เดือนมดื กม็ องเหน็ ไฟ โคมที่จุดดว้ ยเทียน ไขสวา่ ง ไสวอยทู่ ่วั บรเิ วณ ถ้าเดอื น
หงายกย็ ังพอสังเกต ได้ ในการประกอบความเพียรของทา่ น ซ่งึ ตา่ งองคต์ ่างเรง่ ไมค่ อ่ ยหลบั นอนกัน
เฉพาะองคท์ า่ น (พระอาจารยม์ นั่ ) กส็ วดมนตภ์ าวนาเกง่ ไมแ่ พ ้ใครเลย สวดมนตเ์ ปน็ ชวั่ โมง ๆ
ถึงจะหยุด และสวดเป็นประจ�ำทกุ คืนมิ ได้ขาด สตู รยาว ๆ เชน่ ธรรมจักรและมหาสมัย เป็นตน้
ทา่ นสวดเป็นประจ�ำ นอกจากนั้นเวลามี โอกาสทา่ นยังแปล ใหเ้ ราฟังอีกดว้ ย แตก่ ารแปลสูตรต่าง ๆ
ทา่ นแปลองิ ภาคปฏบิ ตั ิ โดยมาก คอื แปลเอา ใจความเลยทเี ดียว ไมค่ อ่ ยเป็น ไปตามวิภัตติ ปัจจัย
ธาตุ อายตนิบาต เพ่ือรักษาศัพท์แสงเหมอื นพวกเราแปลกัน แต่กลับ ไดค้ วามชัดและเห็นจริง
ตามทา่ นอยา่ งหาทคี่ า้ น ไม่ ไดเ้ ลย จึงเกิดอัศจรรย์ ใจอยา่ งลึก ๆ วา่ การเรยี นศพั ทเ์ รยี นแปล ท่าน
ไมค่ อ่ ย ไดเ้ รยี นมากมายอะ ไรนัก แตเ่ วลาแปลทำ� ไมท่านแปลเก่งกว่ามหาเปรยี ญเสียอีก พอยก
ศพั ท์ป๊บุ กแ็ ปลปบ๊ั ในขณะน้ันอยา่ งคลอ่ งแคล่ววอ่ ง ไวแทบฟงั ไมท่ นั เชน่ ท่านยกศพั ทธ์ รรมจกั ร
หรือมหาสมัยสูตรข้ึนแปลเป็นบางตอนท่ีสัมผัสกับธรรมท่าน ในเวลาเทศน์น้ัน ๆ ท่านแปลอย่าง
รวดเรว็ ทัน ใจราวกับ ได้เปรยี ญ ๑๐ ประ โยคฉะนั้น ท ่ีไม่อยากว่า ๙ ประ โยคตามที่นิยมกนั ก็เพราะ
เคย ไดฟ้ งั ทา่ นทสี่ อบ ไดเ้ ปรยี ญ ๙ ประ โยคมาบา้ งแลว้ เวลาแปลยงั อกึ อกั ๆ และแปลเชอ่ื งชา้ มาก
กว่าจะ ได้แต่ละศัพท์ละแสงรู้สึกกินเวลานาน นอกจากน้ันยัง ไม่แน่ ใจ ในค�ำแปลของตนอีกด้วย
ก็มี ส่วนท่านทั้งแปลก็รวดเร็ว ทง้ั อาจหาญตอ่ ความจริงท่แี ปลออกมา ท้งั เคย ได้เหน็ ผลจาก
ความหมายแหง่ ธรรมนน้ั ๆ มาแลว้ อยา่ งประจักษ์ ใจ จึง ไม่มีความสะทกสะท้าน ในการแปล
แม้คาถาที่ผุดข้ึนจาก ใจท่านเป็นค�ำบาลีก็ยังมีแปลกจากบาลีอยู่บ้าง ไม่ตรงกันทีเดียว เช่น
วาตา รุกขฺ า น ปพพฺ โต เป็นต้น ท่านแปลวา่ ลมพดั ต้น ไมท้ ั้งหลาย ใหแ้ หลกวจิ ณุ ไป แต่
ไม่สามารถพดั ภูเขาหนิ ให้หวั่น ไหว ได้ดังนี้ ร้สู กึ จะเป็นเชงิ อรรถธรรมทผี่ ดุ ขนึ้ ทงั้ ความหมายท่ี
น�ำออกมาแปล ใหเ้ ราฟงั การกลา่ วเก่ยี วกบั เปรยี ญประ โยค ๙ ประ โยค ๑๐ น้ัน กล่าว ไปตาม
ภาษาปา่ ๆ ตามนิสัยอย่างน้ันเอง กรณุ า ให้อภัยอย่า ไดส้ สี าผเู้ ขียนซึ่งเป็นพระป่า เหมอื นวานร
ท่ีเคยชินกับป่ามาแต่วันเกิด แม้จะจับมาเลี้ยงอยู่กับมนุษย์จนเชื่องชินก็คงเป็นนิสัยของตัวอยู่
นน้ั แล ไมอ่ าจเปล่ยี นแปลงตัวเองและมรรยาท ใหเ้ ปน็ เหมือนมนษุ ย์ ได้ แมก้ ารแปลของท่านกบั
ของพวกเราท่ผี เู้ ขยี นบังอาจน�ำมาลงกก็ รณุ า ให้อภัยดว้ ย ซ่งึ อาจจะเหน็ ว่าสูง ไปหรือตำ่� ไปท่ ีไม่ควร
อาจเอือ้ มน�ำมาลง
237
ทา่ นพกั อยบู่ า้ นนามนพอควรแลว้ กม็ าพกั และจำ� พรรษาทบี่ า้ น โคก ซงึ่ หา่ งจากบา้ นนามนราว
๒ ก ิโลเมตร ทีบ่ า้ นนกี้ ม็ ีความสงดั พอสมควร แตอ่ ย่หู า่ งจากหมู่บา้ น ไม่ถงึ กิ โลเมตร เพราะหา
ท�ำเลยากบา้ ง ทงั้ สองแหง่ นมี้ ีพระเณรอย่กู ับทา่ น ไม่มากนักราว ๑๑ – ๑๒ องคเ์ ทา่ นัน้ พอดกี ับ
เสนาสนะ ตอนทท่ี า่ นมาพักบา้ น โคกผเู้ ขยี นก็ ไปถงึ ท่านพอดี ทา่ น ไดเ้ มตตารับ ไว้แบบขอนซงุ
ทง้ั ทอ่ น ไม่เปน็ ทา่ เป็นทางอะ ไรเลย อย่กู บั ทา่ นแบบทพั พอี ย่กู บั แกงเราด ี ๆ นี่เอง คิดแลว้
น่าอับอายขายหน้าท่ีพระซุงทั้งท่อน ไปอยู่กับท่านผู้ฉลาดปราดเปรื่องเล่ืองลือระบือท่ัวทั้งจักรวาล
เบ้อื งบนเบือ้ งล่าง แตพ่ อเบา ใจหน่อย ในการเขียนประวัตทิ ่าน ไมต่ บี ตันอ้นั ตนู้ ักเหมือนท่แี ลว้ ๆ มา
ซง่ึ ไปเทยี่ วจดและอดั เทปเอาจากพระอาจารยท์ ง้ั หลาย ในทต่ี า่ ง ๆ ซง่ึ เปน็ ลกู ศษิ ยท์ เี่ คยอยกู่ บั ทา่ นมา
ในยคุ น้นั ๆ นบั แตเ่ ทย่ี วจดบันทกึ อยูก่ ว่าจะ ได้มาลงเป็นอกั ษร ให้ทา่ น ไดอ้ ่านก็เสียเวลา ไปเปน็ ปี ๆ
แมเ้ ช่นนน้ั กย็ งั ต้องมาเรียงตามล�ำดับกาลสถานทเ่ี ทา่ ทีจ่ ดจ�ำ ได้ กว่าจะเข้ารปู รอยพออา่ น ได้ความ
ก็แย่ ไปเหมือนกัน ท่ีจะเขียนต่อ ไปนี้แม้เร่ืองราวของท่านจะ ไม่ประทับ ใจท่านผู้อ่านเท่าท่ีควร
แตก่ ย็ งั เบา ใจสำ� หรับผูเ้ รียบเรียงอยบู่ ้าง เพราะ ได้ร้เู ห็นทา่ นดว้ ยตาตนเองตลอดมาจนวาระสดุ ท้าย
ทา่ นพาหม่คู ณะจำ� พรรษาที่ส�ำนกั ปา่ บ้าน โคกดว้ ยความผาสุกทัง้ ทางกายและจิต ใจ ไม่มี
การเจบ็ ไข ้ไดท้ กุ ขต์ ลอดพรรษา ขณะทพี่ ักอยู่ ทงั้ ในและนอกพรรษามีการประชมุ ธรรมเป็นประจำ�
๖ – ๗ คนื ต่อครง้ั การแสดงธรรมแตล่ ะคร้งั นบั แต่ ๒ ชว่ั โมงขนึ้ ไปถงึ ๓ – ๔ ชัว่ โมง ผู้ฟัง
นง่ั ทำ� จิตตภาวนา ไปพร้อมอยา่ งเพลิดเพลินลืมเหน็ดเหน่อื ยเมอื่ ยล้า ในขณะฟงั ธรรมทา่ น แมอ้ งค์
ทา่ นเองก็รสู้ ึกเพลิดเพลนิ ไปด้วย ในการแสดงธรรมแกพ่ ระเณรแต่ละคร้ัง ทา่ นแสดงอยา่ งถงึ เหตุ
ถึงผลและถึง ใจผู้ฟงั ซึง่ มุง่ ตอ่ อรรถธรรมจริง ๆ ธรรมทที่ า่ นแสดงลว้ นถอดออกมาจาก ใจที่รู้เหน็ มา
อย่างประจักษ์แลว้ ท้งั น้นั จึง ไมม่ อี ะ ไรท่ีนา่ สงสัยวา่ ไมเ่ ปน็ ความจริง นอกจากจะสามารถปฏิบัติ ได้
อย่างท่านแสดงหรอื ไม่เทา่ นน้ั ขณะทฟ่ี งั ท่านแสดงทำ� ใหจ้ ติ ประหวดั ถึงครงั้ พุทธกาลทพี่ ระสัมมา –
สัมพทุ ธเจ้าทรงแสดงแก่ภกิ ษบุ ริษทั โดยเฉพาะ ในสมยั น้ัน แน่ ใจว่าพระองค์ทรงหยิบยกเอาแต่
ธรรมมหาสมบัติ คอื มรรคผลนิพพานออกแสดงล้วน ๆ ไม่มีธรรมอนื่ แฝงอย่ ูในขณะน้ันเลย จงึ
สามารถทำ� ใหผ้ ฟู้ งั บรรลมุ รรคผลนพิ พาน ไปตาม ๆ กนั ไมข่ าดวรรคขาดตอนตลอดวนั เสดจ็ ดบั ขนั ธ –
ปรนิ พิ พาน เพราะพระพทุ ธเจา้ ผปู้ ระกาศธรรมกเ็ ปน็ ผทู้ รงความบรสิ ทุ ธส์ิ ดุ สว่ นแหง่ ธรรม ในพระทยั
พระธรรมทแี่ สดงออกกเ็ ปน็ ธรรมประเสรฐิ อศั จรรย์ ทรงมรรคทรงผลล้วน ๆ ผู้ฟงั จงึ กลายเป็น
ผทู้ รงมรรคทรงผล ไปตาม ๆ กนั ทา่ นอาจารยม์ น่ั แสดงธรรมกล็ ว้ นเปน็ ธรรมปจั จบุ นั กลน่ั กรองออกมา
จาก ใจล้วน ๆ มิ ได้แสดงแบบลูบ ๆ คล�ำ ๆ กำ� ด�ำก�ำขาวออกมา ให้ผู้ฟงั ซึ่งต่างมีความสงสยั อย่แู ล้ว
ให้เพม่ิ ความสงสยั ย่งิ ขน้ึ แตก่ ลับเปน็ ธรรมเพอื่ ท�ำลายความสงสัยน้ัน ๆ ใหท้ ลายหาย ไปทกุ ระยะ
238
ทแ่ี สดง ผ้ฟู ังธรรมประเภทอัศจรรย์จากทา่ น จึงมีทางบรรเทากเิ ลส ไป ไดม้ ากมาย ยงิ่ กวา่ นน้ั
ก็มีทาง ให้สิ้นความสงสัย โดยประการทัง้ ปวงเสยี ได้
วันท ่ีไมม่ กี ารประชมุ ธรรม พอขึ้นจากทางจงกรมราว ๒ ท่มุ จะ ไดย้ ินเสยี งท่านทำ� วัตร
สวดมนต์เบา ๆ ทุกคืน เปน็ เวลานาน ๆ กว่าจะจบและนั่งสมาธิภาวนาต่อ ไปจนถงึ เวลาทา่ นจำ� วดั
ถ้าวันที่มีการประชมุ จะ ไดย้ นิ ตอนหลงั จากเลิกประชมุ แลว้ ทกุ คนื เชน่ เดียวกัน และ ไดย้ ินท่านสวด
อยู่เป็นเวลานานเช่นเดียวกับคนื ทที่ า่ นสวดแต่หวั คำ่� วนั เชน่ นนั้ ท่านตอ้ งเลื่อนการจ�ำวดั ไปพักเอา
ตอนดึกราวเท่ียงคนื หรอื ตหี นึ่งนาฬกิ า บางครั้งผเู้ ขียนทนี่ กึ คะนองบา้ ขน้ึ มา พอ ได้ยนิ เสียงทา่ น
สวดมนต์ ก็แอบเข้า ไปฟงั บา้ ง เพื่อทราบวา่ ท่านสวดสูตร ใดบา้ ง ถงึ ได้นานนกั หนากว่าจะจบ
แต่ละคืน พอแอบเขา้ ไป ใกล ้ ๆ เพื่อจะฟงั ให้ชดั แตท่ ่านกลบั หยดุ นง่ิ ไปเสียเอาเฉย ๆ นี่เอง พอ
เห็นท่า ไม่ดี เรากร็ ีบออกมายืนรอฟงั อยหู่ ่าง ๆ หนอ่ ย พอเราถอยออกมา ทา่ นก็เร่ิมสวดขนึ้ อีก
เราก็แอบเขา้ ไปฟังอกี ท่านกห็ ยดุ นิ่ง ไปอกี เลย ไม่ทราบชดั ว่าท่านสวดสูตร ใดกันบา้ ง ถ้าจะขืนดอ้ื
แอบรอฟงั อยู่ท่นี น้ั นาน ๆ ก็กลวั ฟ้าจะผ่าลงที่น้ัน คือตะ โกนดอุ อกมา ในขณะนั้น แม้เชน่ นัน้ พอ
ตนื่ เช้าเวลาท่านออกจากที่พักมา เรามองดูท่านยงั ไมเ่ ตม็ ตาเลย ทา่ นเองก็มองดูเราด้วยสายตา
อนั คมกลา้ นา่ กลวั มาก เลยเขด็ แตว่ ันน้ัน ไมก่ ลา้ ไปแอบฟังทา่ นสวดมนตอ์ ีกต่อ ไป กลัวจะ โดน
อะ ไรอยา่ งหนัก ๆ เทา่ ทสี่ ังเกตดู ถา้ ขืน ไปแอบฟงั ทา่ นอกี มีหวงั โดนอะ ไรแน ่ ๆ ขอ้ นม้ี าทราบ
เรื่องทา่ น ได้ชดั เมื่อภายหลงั ว่า ท่านทราบเร่อื งตา่ ง ๆ ไ ดด้ ีจริง ๆ คดิ ดเู วลาเรา ไปยืนสง่ จติ จดจอ้ ง
มองทา่ นแบบ ไม่มสี ตเิ ช่นน้นั ทา่ นจะ ไมท่ ราบอย่าง ไรเลา่ ตอ้ งทราบอยา่ งเตม็ ใจทเี ดยี ว เป็นแต่
ท่านรอฟังดูเหตุการณ์กับพระท่ีด้ือ ไม่เข้าเรื่อง ไปก่อน หากยังขืนท�ำอย่างนั้นอีกต่อ ไป ท่านถึง
จะลงอย่างหนัก ท่ีแปลก ใจอยู่มากก็คือเวลาเราแอบเข้า ไปที ไร ท่านต้องหยุดสวดทุกคร้ังเลย
แสดงว่าทา่ นทราบ ได้อย่างชดั เจนทีเดียว
กลางวันวันหนึ่งซ่ึงผู้เขียน ไปถึง ใหม่ ๆ ก�ำลังกลัวท่านเป็นก�ำลัง เผอิญเอนกายลงเลย
เคลมิ้ หลบั ไป ขณะทเ่ี คลมิ้ หลบั ไปนน้ั ปรากฏวา่ ทา่ นมาด ุใหญว่ า่ ทา่ นมานอนเหมอื นหมอู ยทู่ ำ� ไมทน่ี ี่
เพราะทน่ี ่มี ิ ใช ่โรงเลีย้ งหมู ผมจงึ ไมส่ ง่ เสริมพระทม่ี าเรยี นวิชาหมู เดี๋ยววดั น้จี ะกลายเปน็ โรงเลยี้ ง
หมู ไป ดงั นี้ เสียงทา่ นเปน็ เสยี งตะ โกนดดุ า่ ขู่เข็ญ ใหเ้ รากลวั เสียด้วย จงึ สะดงุ้ ตืน่ ทัง้ หลับและ โผล่
หนา้ ออกมาประตูมองหาทา่ น ทง้ั ตัวสน่ั ใจสัน่ แทบเปน็ บ้า ไป ในขณะน้ัน เพราะปรกติกก็ ลัวทา่ น
แทบตั้งตัว ไม่ติดอยู่แล้ว แต่บังคับตนอยู่กับท่านด้วยเหตุผลที่เห็นว่าชอบธรรมเท่านั้น แถม
ท่านยังนำ� ยาปราบหมมู ากรอกเขา้ อกี นึกว่าสลบ ไป ในเวลาน้ัน พอ โผลห่ นา้ ออกมามอง โนน้ มองนี้
ไม่เหน็ ท่านมายนื อยู่ตามทปี่ รากฏ จงึ คอ่ ยมีลมหาย ใจขนึ้ มาบ้าง พอ ได้ โอกาสจึง ไปกราบเรียน
239
ความเป็น ไปถวายท่าน ทา่ นแกเ้ ปน็ อบุ ายปลอบ โยนดมี าก แตเ่ ราคดิ ว่า ไมค่ อ่ ยดนี ัก ในบางตอน
ซงึ่ อาจทำ� ใหค้ นนอน ใจประมาทเมือ่ ได้รบั คำ� ปลอบ โยนท่ีเคลือบดว้ ยนำ้� ตาลเช่นนัน้ ท่านอธบิ าย
นิมิต ให้ฟงั ว่า เรามาหาครูอาจารย ์ใหม่ ๆ ประกอบกบั มคี วามระวังตงั้ ใจมาก เวลาหลบั ไปทำ� ให้
คิดและฝัน ไปอย่างนั้นเอง ท่ีท่าน ไปดุว่าเราเหมือนหมูน้ันเป็นอุบายของพระธรรมท่าน ไปเตือน
ไม่ ใหเ้ รานำ� ลัทธินิสัยของหมูมา ใช ้ในวงของพระและพระศาสนา
โดยมากคนเรา ไม่ค่อยค�ำนึงถึงความเป็นมนุษย์ของตัวว่ามีคุณค่าเพียง ไร เวลาอยากท�ำ
อะ ไรก็ท�ำตาม ใจชอบ ไมค่ ำ� นึงถงึ ความผดิ – ถกู – ชวั่ – ดี จึงเป็นมนุษยเ์ ตม็ ภมู ิได้ยาก ท ี่โบราณ
ทา่ นว่ามนุษยข์ าดตาเตง็ ตาชัง่ ไมเ่ ต็มบาทน้นั คอื ไม่เตม็ ตามภูมิของมนุษยน์ ่นั เอง เพราะเหตแุ หง่
ความ ไม่รู้สกึ ตัววา่ เปน็ มนุษยท์ มี่ ีคณุ สมบัตสิ ูงกวา่ สตั ว์ จึงท�ำ ให้มนุษย์เราต�่ำลงทางความประพฤติ
จนกลายเป็นคนเสียหายที่ ไม่มีอะ ไรวัดระดบั ได้ เหลือแต่รา่ งความเปน็ มนษุ ย์ เจ้าตวั กย็ ัง ไมร่ ูว้ ่า
ตน ได้เสีย ไปแลว้ เพราะเหตนุ ั้น ๆ ผทู้ คี่ วรจะมสี ตปิ ัญญาพิจารณาตาม ไดบ้ า้ ง พระธรรมท่านกม็ า
สง่ั สอน ดงั ทท่ี า่ นปรากฏน้ันเป็นอบุ ายทช่ี อบธรรมดีแล้ว จงน�ำ ไปเป็นคติเตอื น ใจตวั เอง เวลา
เกดิ ความเกยี จคร้านขน้ึ มาจะ ไดน้ ำ� อุบายนน้ั มา ใชเ้ ตอื นสตกิ ำ� จดั มันออก ไป นิมติ เช่นน้ีเปน็ ของดี
หายาก ไม่คอ่ ยปรากฏแก ่ใครง่าย ๆ ผมชอบนมิ ิตท�ำนองน้มี ากเพราะจะพลอย ได้สติเตอื นตนม ิให้
ประมาทอยู่เนอื ง ๆ ความเพยี รจะ ไดเ้ ร่งรบี จิต ใจจะ ไดส้ งบอยา่ งรวดเรว็ ถา้ ท่านมหานำ� อบุ ายที่
พระธรรมท่านมาเทศน์ ให้ฟงั ไปปฏิบตั ิอยเู่ สมอ ใจทา่ นจะสงบ ไดเ้ รว็ ดี ไมด่ ีอาจถึงธรรมก่อน
พวกทป่ี ฏิบัติมากอ่ นเหล่านีด้ ว้ ยซ้ำ� นมิ ิตท่ีเตอื นท่านมหานน้ั ดีมาก ม ิใช่นิมิตที่สาปแชง่ แบง่ เวร
ในทาง ไมด่ ี เรามาอยกู่ บั ครูอาจารยอ์ ย่ากลัวท่านเกิน ไป ใจจะเดือดร้อนนัง่ นอน ไมเ่ ปน็ สขุ ผิดถกู
ประการ ใด ทา่ นจะสง่ั สอนเรา ไปตามจารตี แห่งธรรม การกลวั ทา่ นอยา่ ง ไม่มีเหตุผลนั้น ไมเ่ กดิ
ประ โยชนอ์ ะ ไรเลย จงกลัวบาปกลัวกรรมทจ่ี ะน�ำทกุ ขม์ าเผาลนตน ให้มากกวา่ กลวั อาจารย์
ผมเองกม็ ิได้เตรยี มรบั หมู่คณะ ไวเ้ พ่อื ดดุ า่ เฆี่ยนตี โดยไม่มีเหตุผลทค่ี วร การฝึกทรมานตัวก็
ทำ� ไปตามคลองธรรมที่ท่านแสดง ไว้ การอบรมสัง่ สอนหม่คู ณะก็จำ� ตอ้ งดำ� เนิน ไปตามหลกั ธรรม
คือเหตผุ ล ถ้าปลกี แวะจากทางนัน้ ยอ่ มเปน็ ความผิด ไมเ่ กิดประ โยชนท์ งั้ สองฝ่าย ฉะน้ัน นิมนต์
อยู่เย็น ใจและประกอบความเพียร ให้เป็นช้ินเป็นอัน อย่าลดละท้อถอยความเพียร ธรรมเป็น
สมบัติกลาง และเป็นสมบตั ิของทกุ คนท ี่ใครต่ ่อธรรม พระพทุ ธเจ้าม ิไดผ้ กู ขาด ไวแ้ กผ่ หู้ นง่ึ ผ ู้ใด โดย
เฉพาะ ต่างมสี ทิ ธิครอบครองเป็นเจ้าของ ได้ด้วยการปฏบิ ตั ิดีของตนดว้ ยกนั อยา่ ลืมนมิ ิตอันดีงาม
ซึ่งเป็นมงคลอย่างย่ิงน้ี ไปเสีย จงระลึกถึงอยู่เสมอ ลัทธินิสัยหมูจะ ได้ห่าง ไกลจากพระเรา
มรรคผลนิพพานจะนับวัน ใกล้เข้ามาทุกเวลานาที แดนแห่งความพ้นทุกข์จะปรากฏเฉพาะหน้า
240
ในวันหรอื เวลาหนึ่งแน่นอน หน ีไม่พน้ ผมยนิ ดีและอนุ โมทนาด้วยนมิ ิตท่านมหาอยา่ งจริง ใจ แม้
ผมสั่งสอนตัวผมเองก็สัง่ สอนแบบเผด็ ร้อนทำ� นองนีเ้ หมอื นกัน และชอบ ได้อุบายต่าง ๆ จากอบุ าย
เช่นนี้เสมอมา จงึ จ�ำตอ้ ง ใชว้ ิธแี บบนบ้ี งั คบั ตวั ตลอดมา แม้บางครงั้ ยังต้องสง่ั สอนหมคู่ ณะ โดยวธิ ีน้ี
เหมอื นกัน นเ้ี ป็นคำ� อธบิ ายแก้นิมติ ทีท่ ่าน ใช้ปลอบ โยนเด็กทีเ่ รมิ่ ฝึกหดั ใหม ่ ๆ กลวั จะเสีย ใจและ
ท้อถอยปล่อยวางความเพียรเวียน ไปเป็นมิตรกับหมู ท่านจึงหาอุบายสอนแบบน้ี นับว่าท่าน
แยบคาย ในเชงิ การสอนมาก ยากจะหาผเู้ สมอ ได้
แม้ขณะที่ ไปหาทา่ น ซึ่งเปน็ ขณะทจี่ ิตกำ� ลงั เจริญแลว้ เสอื่ ม เสือ่ มแล้วกลับเจริญ และ
เป็นขณะที่ก�ำลัง ได้รับความทุกข์ร้อนและกระวนกระวายมาก ท่านก็มีอุบายสั่งสอนแบบอนุ โลม
ไปตามทำ� นองนเ้ี หมอื นกนั คือเวลา ไปกราบทา่ น ท่านถามว่าจิตเปน็ อยา่ ง ไร ถ้าเปน็ ขณะทจ่ี ติ
กำ� ลังเจริญก็เรยี นท่านว่าระยะน้ีกำ� ลงั เจรญิ ทา่ นก็ ใหอ้ บุ ายว่า น่ันดีแลว้ จงพยายามให้เจรญิ
มาก ๆ จะ ไดพ้ ้นทุกขเ์ ร็ว ๆ ถ้าเวลาจิตก�ำลังเสอื่ ม ไปหาท่าน ท่านถามวา่ จิตเปน็ อยา่ ง ไรเวลานี้
เราก็เรยี นทา่ นตามตรงวา่ วนั นจ้ี ิตเสอ่ื ม ไปเสียแลว้ . ไมม่ รี อ่ งรอยแหง่ ความสุขเหลอื อยู่เลย ทา่ นก็
แสดงเป็นเชิงเสีย ใจ ไปดว้ ย วา่ นา่ เสยี ดายมนั เสอ่ื ม ไปที่ ไหนกันนา เอาเถอะ ท่านอย่าเสีย ใจ
จงพยายามท�ำความเพียรเขา้ มาก ๆ เดย๋ี วมันจะกลับมาอีกแน่ ๆ มนั ไปเทีย่ วเฉย ๆ พอเราเร่ง
ความเพียรเข้ามันกก็ ลบั มาเอง หนีจากเรา ไป ไม่พ้น
เพราะจติ ก็เป็นเหมอื นสนุ ัขนั่นแล เจ้าของไป ไหนมันต้องตดิ ตามเจ้าของ ไปจน ได้ นี่ถา้ เรา
เร่งความเพียรเข้า ใหม้ าก จิตกจ็ ะตอ้ งกลบั มาเอง ไม่ตอ้ งตดิ ตามมนั ใหเ้ สยี เวลา มันหนี ไป ไหน
ไมพ่ น้ เราแน่ ๆ จงพยายามความเพียรเข้า ให้มากเชยี ว มนั จะกลบั มา ในเร็ว ๆ นี่แล ไมต่ อ้ งเสีย ใจ
ให้มัน ได้ ใจ เดี๋ยวมนั วา่ เราคิดถงึ มันมาก มนั จะ ไม่กลบั มา จงปล่อยความคิดถึงมันเสีย แลว้ ให้
คิดถงึ พทุ โธตดิ ๆ กันอยา่ ลดละ พอบริกรรมพุท โธถีย่ บิ ติด ๆ กนั เข้ามันวิ่งกลบั มาเอง คราวนี้แม้
มันกลับมากอ็ ย่าปล่อยพุท โธ มัน ไมม่ ีอาหารกินเด๋ียวมนั จะวง่ิ กลบั มาหาเรา จงนึกพุท โธเพ่ือเปน็
อาหารของมัน ไว้มาก ๆ เมื่อมันกินอ่ิมแล้วต้องพักนอน เราก็สบายขณะท่ีมันพักสงบตัว ไม่วิ่งวุ่น
ข่นุ เคืองเท่ียวหา ไฟมาเผาเรา ท�ำจน ไล่มัน ไม่ยอมหนี ไปจากเรานัน่ แลพอดกี ับ ใจตัวหิว โหยอาหาร
ไม่มวี ันอม่ิ พอ ถา้ อาหารพอกบั มนั แลว้ แม ้ไล่หนี ไป ไหนมนั ก ็ไมย่ อม ไป ทำ� อยา่ งนนั้ แลจิตเราจะ
ไมย่ อมเสือ่ มตอ่ ไปอีก คอื ไม่เส่อื มเม่อื อาหารคอื พุท โธพอกับมัน จงท�ำตามแบบท่สี อนนี้ ทา่ นจะ
ได้ไมเ่ สยี ใจเพราะจิตเส่อื มแลว้ เสือ่ มเล่าอีกต่อ ไป นก่ี ็เปน็ อกี อบุ ายหนงึ่ ทที่ า่ นสอนคนทแี่ สน โง่ แต่
กด็ ีไปอยา่ งหนงึ่ ทเ่ี ชอ่ื ทา่ นตามแบบ โงข่ องตน ไมเ่ ชน่ นนั้ กค็ งจะวิ่งตามหา ใจดวงเสื่อมแล้วเสื่อมเล่า
ไม่มีวันเจอและหยุด ได้ ที่เขียนนี้เพ่ือท่านผู้อ่านที่อาจได้ข้อคิด ในแง่ต่าง ๆ ของคนฉลาดสั่งสอน