The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วิทยาศาสตร์ ม.ต้น พว21001 กศน.

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

วิทยาศาสตร์ ม.ต้น พว21001 กศน.

วิทยาศาสตร์ ม.ต้น พว21001 กศน.

44

เฉลยแบบทดสอบบทท่ี 2 เร่ือง ทักษะวทิ ยาศาสตร
1. ค 2. ข 3. ง 4. จ 5 .ข

6. ง 7. ก 8. จ 9. ข,ก 10. ง

45

บทท่ี 3
เซลล

สาระสําคัญ
ลักษณะรูปรางของเซลลพืช และเซลลสัตว องคประกอบโครงสรางและหนาที่ของเซลลพืชและ

เซลลสตั ว กระบวนการทส่ี ารผา นเซลล
ผลการเรียนรูทีค่ าดหวงั

1. อธิบายลักษณะโครงสราง องคประกอบและหนาที่ของเซลลได
2. เปรียบเทียบความแตกตางระหวางเซลลพืชและเซลลสัตวได
ขอบขา ยเนือ้ หา
เรือ่ งที่ 1ลักษณะรูปรางของเซลลพืชและเซลลสัตว
เรื่องท่ี 2 องคประกอบโครงสรางและหนาที่ของเซลลพืชและเซลลสัตว
เรื่องที่ 3 กระบวนการท่สี ารผานเซลล

46

เรือ่ งที่ 1 ลกั ษณะรปู รา งของเซลลพ ชื และเซลลส ตั ว

เซลล (Cell) คือ หนวยที่เล็กทส่ี ุดของสิ่งมชี วี ิต เปนหนวยเริม่ ตนหรอื หนวยพน้ื ฐานของทกุ ชวี ติ

ประวัติการศกึ ษาเซลล

ป ค.ศ. 1665 รอเบริ ต ฮุก นักวิทยาศาสตรช าวองั กฤษ ไดประดิษฐกลองจลุ ทรรศนทีม่ ีคุณภาพดี

และไดส องดูไมคอรกทเี่ ฉอื นบาง ๆ และไดพบชอ งเล็กๆ จาํ นวนมาก จึงเรยี กชอ งเล็กๆ นี้วา เซลล (cell)
เซลลทีฮ่ กุ พบน้ันเปนเซลลท ต่ี ายแลว การท่คี งเปน ชอ งอยูไดก เ็ น่อื งจากการมีผนังเซลลนน่ั เอง

ป ค.ศ. 1824 ดวิ โทเชท ไดศกึ ษาเนอ้ื เย่ือพืชและเนอื้ เยื่อสัตว พบวา ประกอบดวยเซลลเชนกัน
แตมลี ักษณะทแี่ ตกตา งกันอยบู าง

ป ค.ศ. 1831 รอเบิรต บราวน นกั พฤษศาสตรช าวองั กฤษ ไดศ ึกษาเซลลขนและเซลลอ ่ืนๆ ของพชื
พบวามกี อ นกลมขนาดเลก็ อยูตรงกลาง จึงใหชอ่ื กอ นกลมนว้ี า นวิ เคลยี ส (Nucleus)

ป ค.ศ. 1838 มตั ทิอัส ยาคบ ชไลเดน นักพฤกษศาสตรชาวเยอรมันไดศึกษาเนื้อเยื่อพืชตางๆ
และสรปุ วา เน้ือเยือ่ ทกุ ชนิดประกอบดวยเซลล

ป ค.ศ. 1839 เทโอดอร ชวันน นกั สตั ววทิ ยาชาวเยอรมนั ไดศ กึ ษาเนอื้ เย่ือสตั วต างๆ แลวสรปุ วา

เนื้อเยื่อสัตวท กุ ชนิดประกอบข้ึนดวยเซลล ดังนั้น ในปเดียวกันน้ี ชวันนและชไลเดน จึงไดร วมกนั ตั้ง
ทฤษฎเี ซลล (Cell Theory) ซึ่งมีใจความสําคัญวา สิง่ มชี วี ติ ทัง้ หลายประกอบข้นึ ดวยเซลล และเซลลคือ
หนวยพ้นื ฐานของสิง่ มีชวี ิตทกุ ชนิด

ทฤษฎเี ซลลในปจ จบุ นั ครอบคลมุ ถงึ ใจความสาํ คัญ 3 ประการ คือ
1. สิง่ มีชีวติ ทั้งหลายอาจมีเพยี งเซลลเ ดยี ว หรือหลายเซลล ซง่ึ ภายในมสี ารพนั ธกุ รรม และ
มีกระบวนการเมแทบอลซิ ึม ทาํ ใหสง่ิ มชี ีวติ ดํารงชวี ติ อยไู ด
2. เซลลเ ปน หนว ยพื้นฐานทเ่ี ลก็ ท่ีสุดของสิง่ มชี วี ติ ที่มีการจดั ระบบการทาํ งานภายในโครงสรา ง

ของเซลล
3. เซลลมกี าํ เนิดมาจากเซลลแรกเรมิ่ เซลลเ กิดจากการแบง ตวั ของเซลลเดมิ แมว าชีวิตแรกเรมิ่ จะ

มีวิวัฒนาการมาจากสิ่งไมมีชีวิต แตน ักชวี วทิ ยายังคงถือวา การเพิ่มขึ้นของจํานวนเซลลเ ปน ผลสืบเน่อื งมา
จากเซลลร ุนกอน

ป ค.ศ. 1839 พูรค ินเย นกั สัตววิทยา ชาวเชโกสโลวาเกยี ไดศึกษาไขและตัวออ นของสตั วตางๆ
ไดพ บวา ภายในมขี องเหลวใส เหนยี ว และออ นนจมุ ึงไดเรยี กของเหลวใสนวี้ า โพรโทพลามซึ(Protoplasm)

ป ค.ศ. 1868 ทอมัส เฮนรี ฮกั ซลีย แพทยชาวองั กฤษศึกษาโพรโทพลาซมึ และพบวา

โพรโทพลาซึมเปนรากฐานของชีวิตเนื่องจากปฏิกิริยาตางๆ ของเซลลเกิดข้ึนท่ีโพรโทพลาซมึ

ป ค.ศ.1880 วลั เทอร เฟลมมิง นักชีววิทยาชาวเยอรมันไดคนพบวาภายในนิวเคลียสของเซลลตางๆ

มโี ครโมโซม

47

ขนาดและรปู รา งของเซลล

เซลลส ว นใหญม ขี นาดเลก็ และไมสามารถมองเห็นไดดวยตาเปลา ตอ งใชกลอ งจลุ ทรรศนส อง
แตก็มีเซลลบางชนิดที่มีขนาดใหญ สามารถมองเห็นไดอยางชัดเจน เชน เซลลไข

รูปรางของเซลลแตละชนิดจะแตกตางกันไปตามชนิด หนาที่ และตาํ แหนงทอ่ี ยขู องเซลล

48

เร่อื งที่ 2 องคป ระกอบโครงสรา งและหนา ทข่ี องเซลลพ ชื และเซลลส ตั ว

โครงสรา งพน้ื ฐานของเซลล
โครงสรางพื้นฐานของเซลลแบงออกไดเปน 3 สว นใหญๆ คอื
1. สว นทห่ี อหุมเซลล
2. นวิ เคลียส
3. ไซโทพลาซึม

1. สวนท่ีหอหมุ เซลล
สวนของเซลลท่ที ําหนา ที่หอหมุ องคป ระกอบภายในเซลลใหคงรูปอยไู ด มดี งั น้ี
1.1 เย่อื หุมเซลล ( Cell Membrane) เปนเยื่อที่บางมากประมาณ 10 นาโนเมตร ประกอบดว ย
โปรตนี และไขมนั โดยมีโปรตนี แทรกอยใู นชัน้ ไขมนั เยือ่ หุมเซลลจ ะมีรูเลก็ ๆ ชวยใหจํากดั

ขนาดของโมเลกุลของสารที่จะผานเยื่อหุมเซลลได จึงทําหนาที่ควบคุมปริมาณและชนิดของสาร

ทผี่ า นเขาออกจากเซลลดวย โมเลกุลของสารบางชนิด เชน น้ํา ออกซิเจน และคารบอนไดออกไซด

สามารถผานเย่ือน้ีได แตสารทม่ี โี มเลกลุ ใหญๆ เชน โปรตนี ไมสามารถผา นได เยือ่ หุม เซลล จึงมีสมบัติ

เปน เย่ือเลือกผาน (Differentially Permeable Membrane)
1.2 ผนงั เซลล ( Cell Wall) พบไดในเซลลพชื ทุกชนิด และในเซลลข องสง่ิ มชี วี ติ เซลลเ ดยี ว
ราและแบคทีเรียบางชนิด โดยจะหอหมุ เย่อื หมุ เซลลไวอกี ชั้นหน่งึ ทําหนาที่เพิ่มความแข็งแรงและ

ปอ งกันอันตรายใหแกเซลล ซง่ึ แมว า ผนงั เซลลจ ะหนาและมคี วามยดื หยนุ ดี แตผนังเซลลก ็ยอมให

สารเกอื บทุกชนดิ ผานเขาออกได ทงั้ นี้ ผนังเซลลข องสิง่ มชี วี ิตตา งชนิดกันจะมอี งคประกอบไมเ หมือนกัน

สาํ หรับองคประกอบหลักของผนงั เซลลพชื ไดแ ก เซลลูโลส เซลลข องสตั วไ มม ีผนงั เซลล

แตมีสารเคลือบผิวเซลลที่เปนสารประกอบของโปรตีนและคารโบไฮเดรต สารเคลอื บผิวเซลลเ หลาน้ี

มีประโยชนต อส่ิงมีชวี ติ เพราะเปนโครงสรางที่มีความเหนียว แข็งแรง ไมละลายน้ํา จึงทําใหเซลลคง

รปู รา ง และชว ยลดการสญู เสียน้าํ ใหกับเซลล นอกจากน้ียงั ชว ยใหเ ซลลเ กาะกลมุ รวมกนั อยูไดเป น

เนอ้ื เยอ่ื และอวยั วะ

2. นิวเคลียส (Nucleus)

นิวเคลียสเปนศูนยกลางควบคุมการทํางานของเซลล โดยทํางานรวมกับไซโทพลาซึม
มีความสําคัญตอกระบวนการแบงเซลลและการสืบพันธุของเซลลเปนอยางมาก ในเซลลของสิ่งมีชีวิต
ทัว่ ไปจะมเี พยี งหนง่ึ นวิ เคลยี ส แตเ ซลลบ างชนดิ เชน เซลลเมด็ เลอื ดแดง เมื่อเจริญเต็มทแ่ี ลวจะไมม ี
นวิ เคลยี ส

49

โครงสรา งของนวิ เคลียสแบง ออกเปน 3 สว นคอื
2.1 เยอ่ื หมุ นิวเคลียส ( Nuclear Membrane) เปนเยื่อบางๆ 2 ช้ันอยรู อบนิวเคลียส มี คุณสมบัติ
เปนเยอ่ื เลือกผา นเชนเดียวกบั เยอื่ หุมเซลล มีรเู ลก็ ๆ กระจายอยูท่วั ไปเพ่อื เปนชองทางแลกเปลย่ี น
ของสารระหวางนิวเคลียสกับไซโทพลาซึม โดยบริเวณเยื่อชั้นนอกจะมีไรโบโซมเกาะติดอยู
2.2 นวิ คลโี อลัส ( Nucleolus) เปนโครงสรา งที่ปรากฏเปนกอนเล็ก ๆ อยูในนิวเคลียส ทําหนาท่ี
สังเคราะหก รดนวิ คลอี กิ ชนดิ หนึง่ ชื่อ ไรโบนวิ คลีอิก ( Ribonucleic acid หรอื RNA) กับสารอน่ื
ท่เี ปนองคป ระกอบของไรโบโซม โดยสารเหลาน้จี ะถูกสง ผา นรขู องเยอื่ หมุ นิวเคลยี สออกไปยัง
ไซโทพลาซึม
2.3 โครมาทนิ ( Chromatin) เปน เสน ใยของโปรตนี หลายชนดิ กบั กรดดอี อกซไี รโบนวิ คลอี กิ
(Deoxyribonucleic acid หรอื DNA) ซ่งึ เปน สารพันธุกรรม ในขณะที่มีการแบง เซลลจะพบ
โครมาทินลักษณะเปนแทงๆ เรียกวา โครโมโซม (Chromosome)
3. ไซโทพลาซึม ( Cytoplasm) สิง่ ทอี่ ยภู ายในเย่ือหุม เซลลท ง้ั หมดยกเวนนิวเคลยี ส เรียกวา ไซ
โทพลาซึม ซงึ่ เปนของเหลวที่มโี ครงสรางเล็ก ๆ คอื ออรแกเนลล ( Organelle) กระจายอยูท่ัวไป โดยออร
แกเนลลสว นใหญจะมีเยื่อหุม ทําใหองคประกอบภายในออรแกเนลลแยกออกจากองคประกอบอื่น ๆ ใน
ไซโทพลาซึม

ตารางเปรยี บเทยี บความแตกตา งของเซลลพ ชื และเซลลส ตั ว

เซลลพ ชื เซลลส ตั ว

1. เซลลพชื มีรปู รางเปน เหล่ียม 1. เซลลส ัตวม ีรปู รางกลม หรอื รี
2. มผี นังเซลลอ ยดู านนอก 2. ไมม ผี นงั เซลล แตมีสารเคลือบเซลลอยดู านนอก
3. มีคลอโรพลาสตภายในเซลล 3. ไมมีคลอโรพลาสต

4. ไมมเี ซนทรโิ อล 4. มีเซนทริโอลใชในการแบงเซลล
5. แวคควิ โอลมขี นาดใหญ มองเหน็ ไดช ดั เจน 5. แวคควิ โอลมขี นาดเลก็ มองเหน็ ไดไ มช ดั เจน
6. ไมมีไลโซโซม 6. มีไลโซโซม

50

ภาพแสดงโครงสรา งพนื้ ฐานของเซลล

51

เรอื่ งท่ี 3 กระบวนการท่สี ารผานเซลล

นักชวี วทิ ยาไดศกึ ษาการลําเลยี งสารเขาสเู ซลล พบวามี 2 รูปแบบดว ยกนั คือ
1. การแพร (Diffusion) เปนการเคลื่อนที่ของโมเลกุลจากจุดที่มีความเขมขนสูงกวา ไปยังจุดที่มี

ความเขมขนต่ํากวา การเคลื่อนที่นี้เปนไปในลักษณะทุกทิศทุกทาง โดยไมมีทิศทางที่แนนอน

2. ออสโมซิส (Osmosis) เปนการแพรของของเหลวผานเยื่อบางๆ ซึ่งตามปกติจะหมายถึงการแพร
ของนํ้าผานเย่อื หมุ เซลล เน่อื งจากเยือ่ หุม เซลลม ีคณุ สมบตั ใิ นการยอมใหสารบางชนดิ เทานน้ั ผา นได
การแพรข องนาํ้ จะแพรจากบรเิ วณทเี่ จอื จางกวา (มีน้ํามาก) ผานเย่อื หุมเซลลเขา สบู ริเวณที่มคี วามเขม ขน
กวา (มีนาํ้ นอ ย) ตามปกติการแพรของน้ํานี้จะเกิดทั้งสองทิศทางคือทั้งบริเวณเจือจาง และบริเวณเขมขน
จึงมกั กลาวกันสั้นๆ วา ออสโมซสิ เปน การแพรของน้าํ จากบรเิ วณท่ีมีน้ํามาก เขาไปสบู ริเวณทม่ี ีนํา้ นอย
กวาโดยผานเยอ่ื หมุ เซลล แรงดันออสโมติกเกดิ จากการแพรข องนาํ้ จากบรเิ วณทม่ี ีน้ํามาก (เจอื จาง) เขาสู
บริเวณท่ีมีนา้ํ นอ ย (เขมขน) สารละลายที่มีความเขมขนตางกันจะมีผลตอเซลลแตกตางกันดวย

52

แบบฝก หดั
เรอ่ื ง เซลล

จงเตมิ คาํ ตอบทถี่ ูกตอง

1. เซลล คอื ..................................................................................................................................

2. ผนังเซลล มหี นาที่ ....................................................................................................................

3.สวนประกอบของเซลลที่ทําหนาที่ควบคุมปริมาณ และชนิดของสารที่ผานเขาออกจากเซลล
คอื ……….........................................................................................................................................

4. เซลลช นิดใดเม่อื เจริญเติบโตเต็มท่จี ะไมม ีนวิ เคลียส ........................................................................

5. ผนังเซลลของพืชประกอบไปดวยสารที่เรียกวา ................................................................................

6. สวนประกอบชนิดใดบา ง ทพ่ี บในเซลลพืช แตไ มพบในเซลลส ัตว …………………………………...

7. เซลลสัตวไมสามารถสรางอาหารเองได เพราะ ………………………………………………………..

8. ภายในคลอโรพลาสตม สี ารสีเขยี ว เรยี กวา …………………………………………………………….

9. สวนประกอบของเซลลมีหนาที่ควบคุมการเจริญเติบโต และการถายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
คือ…..………………………………………………………………………………………………………

10. เพราะเหตใุ ดเมอ่ื พชื และสัตวตายลง เซลลพ ชื จึงมลี กั ษณะคงรูปอยูได แตเ ซลลสตั วจะสลายไป
……………………………………………………………………………………………………………...

53

จงทําเครื่องหมาย หนา คําตอบท่ถี ูกเพยี งขอเดยี ว
1. นักวิทยาศาสตรทานใดเรียกเซลลเปนคนแรก

ก. นวิ ตนั ข. อรสิ โตเตลิ

ค. โรเบริ ต ฮคุ ง. กาลิเลโอ

2. นักวทิ ยาศาสตรท ร่ี วมกนั กอตั้งทฤษฏีเซลลค อื

ก. ชไลเดน และชารล ดารว นิ ข. เมนเดล และชารล ดารว นิ

ค. ชวนั และชไลเดน ง. ชวนั น และเมนเดล

3. เซลลพ ชื และเซลลสัตวมลี ักษณะแตกตางกันอยา งไร

ก. เซลลพชื มลี ักษณะกลมรี สว นเซลลสตั วม ลี กั ษณะเปน เหลยี่ ม

ข. เซลลพ ืชมลี ักษณะเปนสีเ่ หลีย่ ม สว นเซลลส ัตวเปน ทรงกลม

ค. เซลลพืชและเซลลสตั วม ลี กั ษณะเหมอื นกนั มาก

ง. เซลลพ ืชและเซลลสัตวม ีลักษณะรปู รางนิวเคลยี สที่แตกตา งกนั

4. โครงสรางของเซลลใดทําหนาที่ควบคุมการผานเขาออกของสาร

ก. ผนังเซลล ข . เยือ่ หมุ เซลล

ค. เซลลคุม ง. ไลโซโซม

5. โครงสรางของเซลลที่ทําหนาที่สังเคราะหโปรตีนคือ

ก. กอลจคิ อมเพลก็ ซ ข. ไรโบโซม

ค. ไลโซโซม ง. แวควิ โอล

6. โครงสรา งใดของเซลลท ีท่ ําใหเ ซลลพ ืชคงรปู รางอยูไดแ มว า เซลลนน้ั จะไดร บั น้ํามากเกินไป

ก. ผนังเซลล ข. เยอื่ หมุ เซลล

ค. นวิ เคลียส ง. ไซโทรพลาซึม

7. โครงสรางที่ทําหนาที่เปรียบไดกับสมองของเซลลไดแกขอใด

ก. นิวเคลียส ข. คลอโรพลาสต

ค. เซนทรโิ อล ง . ไรโบโซม

8. โครงสรางใดของเซลลมีเฉพาะในเซลลของพืชเทานั้น

ก. ผนังเซลล ข. เยอื่ หุม เซลล

ค. นวิ เคลยี ส ง. ไซโทรพลาซึม

54

9. เพราะเหตุใดเมื่อนําเซลลพืชไปแชในสารละลายที่มีความเขมขนนอยกวาภายในเซลล เซลลพชื จงึ ไม
แตก

ก. เซลลพืชมีความสามารถยืดหยุนไดดี
ข. เซลลพืชมีเยื่อหุม เซลล สง ผา นสารท่ไี มตอ งการออกนอกเซลล
ค. เซลลพืชมีผนังเซลลเสริมสรางความแข็งแรง
ง. ถูกทุกขอ

10. เม่ือนําเซลลสตั วไปใสในสารละลายชนิดใด จะทําใหเซลลเ ห่ยี ว
ก. สารละลายเขมขนที่มีความเขมขนมากกวาภายในเซลลสัตว
ข. สารละลายเขมขนที่มีความเขมขนนอยกวาภายในเซลลสัตว
ค. สารละลายเขมขนที่มีความเขมขนเทากับเซลลสัตว
ง. น้าํ กล่นั

*******************************************

55

เฉลยแบบทดสอบบทที่ 3 เรื่อง การทําโครงงานวิทยาศาสตร
1.ข 2.ก 3.ค 4.ค 5.ค 6.ข 7.ข 8.ก 9ค 10.ก

56

บทท่ี 4
กระบวนการดาํ รงชีวติ ของพืชและสตั ว

สาระสําคัญ
การดํารงชีวิตของพืชประกอบดวย การลําเลียง น้ํา อาหารและแรธาตุ กระบวนการสังเคราะหแสง

และระบบสืบพันธใุ นพชื
การดํารงชีวิตของสัตว ประกอบดวยโครงสรางและการทํางานของระบบการหายใจ
การยอยอาหาร การขับถายและระบบสืบพันธุ
ผลการเรียนรูทค่ี าดหวัง

1. อธบิ ายกระบวนการแพรแ ละออสโพซสิ ได
2. อธิบายโครงสรางและการทํางานของระบบลําเลียงในพืชได
3. อธิบายความสําคัญและปจจัยที่จําเปนสําหรับกระบวนการการสังเคราะหดวยแสงได
4. อธิบายโครงสรางและการทํางานของระบบสืบพันธุในพืชในทองถิ่นได
5. อธิบายการทํางานของระบบตาง ๆ ในสัตวได
ขอบขา ยเนอื้ หา
เร่ืองที่ 1 การดํารงชีวิตของพืช
เร่อื งท่ี 2 การดํารงชีวิตของสัตว

57

เร่ืองท่ี 1 การดาํ รงชีวิตของพชื
1.1 ระบบการลําเลียงน้ําอาหารและแรธาตุของพืช

การทํางานของระบบลําเลียงของพืชประกอบดวยระบบเนื้อเยื่อทอลําเลียง (vascular tissue system)
ซ่ึงเน้ือเยอ่ื ในระบบนีจ้ ะเชื่อมตอ กันตลอดท้งั ลาํ ตนพืช โดยทาํ หนาที่ลําเลยี งนํ้า สารอนนิ ท รยี  สารอนิ ทรีย
และสารละลายที่พืชตองการนําไปใชในการดําเนินกิจกรรมตางๆ ภายในเซลลร ะบบเน้ือเยอ่ื ทอ ลําเลยี ง
ประกอบดวย 2 สว นใหญๆ คอื ทอ ลาํ เลยี งนาํ้ และแรธาตุ (xylem) กับทอลําเลียงอาหาร (phloem)

รปู แสดงภาคตดั ขวางของลําตน พชื ใบเลยี้ งคูและใบเล้ยี งเดยี่ ว

58

รูปแสดงภาคตดั ขวางของรากพืชใบเลีย้ งคูและใบเล้ียงเดีย่ ว

ทอ ลําเลยี งนาํ้ และแรธ าตุ
ทอลาํ เลียงน้ําและแรธ าตุ (xylem) เปนเนื้อเยื่อท่ที ําหนา ทลี่ าํ เลียงน้าํ และแรธ าตตุ า งๆ ทง้ั สารอินทรียและ
สารอนนิ ทรยี  โดยทอลําเลยี งนํ้าและแรธาตุประกอบดวยเซลล 4 ชนดิ ดงั น้ี

1. เทรคดี (tracheid) เปน เซลลเด่ียว มีรูปรางเปนทรงกระบอกยาว บริเวณปลายเซลลแหลม เท
รคดี ทาํ หนาทีเ่ ปนทอ ลําเลยี งนา้ํ และแรธาตุตางๆ โดยจะลําเลียงน้ําและแรธาตุไปทางดานขางของลําตน
ผา นรูเล็กๆ (pit) เทรคดี มผี นงั เซลลท ่แี ขง็ แรงจงึ ทาํ หนา ทีเ่ ปนโครงสรา งคํ้าจนุ ลาํ ตน พชื และผนังเซลลมี
ลกิ นนิ (lignin) สะสมอยแู ละมีรเู ล็กๆ ( pit) เพ่อื ทําใหต ิดตอ กับเซลลข า งเคียงได เม่ือเซลลเ จริญเต็มท่ี
จนกระทั่งตายไป สวนของไซโทพลาซึมและนิวเคลียสจะสลายไปดวย ทําใหสวนตรงกลางของเซลลเปน
ชองวาง สวนของเทรคีดนี้พบมากในพืชชั้นต่ํา (vascular plant) เชน เฟน สนเกยี๊ ะ เปนตน

2. เวสเซล (vessel) เปนเซลลที่มีขนาดคอนขางใหญ แตส้ันกวา เทรคีด เปนเซลลเ ด่ียวๆ ที่ปลายทง้ั
สองขางของเซลลมีลักษณะคลายคมของสิ่ว ที่บริเวณดานขางและปลายของเซลลมีรูพรุน สว นของเวสเซล
นพ้ี บมากในพชื ชน้ั สูงหรือพชื มีดอก ทําหนา ทีเ่ ปน ทอลําเลยี งนาํ้ และแรธาตตุ างๆ จากรากขึ้นไปยังลําตน
และใบ เทรคดี และเวสเซลเปนเซลลท ี่มีสารลกิ นนิ มาเกาะที่ผนังเซลลเปน จดุ ๆ โดยมีความหนาตางกัน ทํา
ใหเซลลมีลวดลายแตกตาง กันออกไปหลายแบบ ตัวอยางเชน
- annular thickening มีความหนาเปนวงๆ คลายวงแหวน
- spiral thickening มีความหนาเปนเกลียวคลายบันไดเวียน
- reticulate thickening มีความหนาเปนจุดๆ ประสานกันไปมาไมเปนระเบียบคลายตาขายเล็กๆ
- scalariform thickening มีความหนาเปนชั้นคลายขั้นบันได
- pitted thickening เปน รทู ีผ่ นังและเรียงซอนกนั เปน ช้นั ๆ คลา ยขัน้ บันได

59
3. ไซเล็มพาเรนไคมา (xylem parenchyma) มีรูปรางเปนทรงกระบอกหนาตัดกลมรีหรือหนาตัด
หลายเหลย่ี ม มีผนังเซลลบ างๆ เรียงตัวกนั ตามแนวลาํ ตน พืช เมอ่ื มอี ายุมากขน้ึ ผนังเซลลจ ะหนาข้นึ ดว ย
เนื่องจากมสี ารลกิ นนิ ( lignin) สะสมอยู และมรี ูเลก็ ๆ ( pit) เกดิ ขน้ึ ดว ย ไซเล็มพาเรนไคมาบางสวน
จะเรียงตวั กนั ตามแนวรัศมขี องลาํ ตน พืช เพอื่ ทําหนา ทล่ี ําเลยี งนา้ํ และแรธ าตตุ างๆ ไปยงั บริเวณดา นขาง
ของลาํ ตนพืช พาเรนไคมาทําหนาที่สะสมอาหารประเภทแปง น้ํามัน และสารอินทรียอื่นๆ รวมท้งั
ทําหนา ทล่ี าํ เลียงน้ําและแรธ าตตุ า งๆ ไปยังลําตน และใบของพืช
4. ไซเลม็ ไฟเบอร (xylem fiber) เปนเซลลท ี่มรี ูปรา งยาว แตส้ันกวา ไฟเบอรทว่ั ๆ ไป ตามปกติ
เซลลมีลักษณะปลายแหลม มีผนังเซลลห นากวา ไฟเบอรท่วั ๆ ไป มีผนงั ก้ันเปนหอ งๆ ภายในเซลล ไซเล็ม
ไฟเบอรทําหนาที่เปนโครงสรางค้ําจุนและใหความแข็งแรงแกลําตนพืช

รูปแสดงเน้อื เยอ่ื ที่เปน สวนประกอบ
ของทอ ลาํ เลียงนํ้าและแรธาตุ

ทอลาํ เลียงอาหาร
ทอลําเลียงอาหาร ( phloem) เปน เนือ้ เยอ่ื ทีท่ าํ หนา ทล่ี าํ เลียงอาหารและสรา งความแขง็ แรงใหแกลาํ ตน พืช
โดยทอลําเลียงอาหารประกอบดวยเซลล 4 ชนดิ ดงั น้ี

1. ซพี ทิวบเ มมเบอร (sieve tube member) เปนเซลลที่มีรูปรางเปนทรงกระบอกยาว เปนเซลลท ่ี
มชี วี ิต ประกอบดว ย ชองวางภายในเซลล ( vacuole) ขนาดใหญมาก เมอ่ื เซลลเจรญิ เติบโตเตม็ ทแี่ ลว สวน
ของนิวเคลียสจะสลายไปโดยทีเ่ ซลลย งั มชี ีวิตอยู ผนังเซลลของซพี ทิวบเ มมเบอรมเี ซลลูโลส ( cellulose)
สะสมอยูเ ลก็ นอ ย ซีพทิวบเมมเบอรทําหนาที่เปนทางสงผานของอาหารที่ไดจากกระบวนการสังเคราะห
ดว ยแสงของพชื โดยสงผานอาหารไปยังสวนตางๆ ของลําตนพืช

60
2. คอมพาเนยี นเซลล (companion cell) เปนเซลลพ ิเศษที่มตี นกาํ เนดิ มาจากเซลลแ มเซลล
เดียวกันกับซีพทวิ บ-เมมเบอร โดยเซลลต น กาํ เนดิ 1 เซลลจะแบงตัวตามยาวไดเซลล 2 เซลล โดยเซลล
หนง่ึ มขี นาดใหญ อกี เซลลห นง่ึ มขี นาดเลก็ เซลลข นาดใหญจ ะเจริญเตบิ โตไปเปน ซีพทิวบเ มมเบอร สว น
เซลลข นาดเลก็ จะเจรญิ เตบิ โตไปเปน คอมพาเนยี นเซลล คอมพาเนยี นเซลลเปน เซลลขนาดเลก็ ที่มรี ูปราง
ผอมยาว มีลักษณะเปน เหล่ียม สวนปลายแหลม เปนเซลลที่มีชีวิต มีไซโทพลาซึมที่มีองคประกอบของ
สารเขมขนมาก มีเซลลโู ลสสะสมอยูที่ผนังเซลลเ ล็กนอ ย และมรี เู ล็กๆ เพื่อใชเ ช่ือมตอ กบั ซีพทิวบเ มม
เบอรคอมพาเนียนเซลลท าํ หนา ท่ชี ว ยเหลอื ซีพทิวบเมมเบอรใหท าํ งานไดดีขน้ึ เมอื่ เซลลม ีอายมุ ากขน้ึ
เนื่องจากเมื่อซีพทิวบเมมเบอรมีอายุมากขึ้นนิวเคลียสจะสลายตัวไปทําใหทํางานไดนอยลง
3. โฟลเอ็มพาเรนไคมา (phloem parenchyma) เปนเซลลทมี่ ชี ีวติ มผี นังเซลลบ าง มีรูเลก็ ๆ ทผ่ี นงั
เซลล โฟลเอ็มพาเรนไคมาทําหนาที่สะสมอาหารที่ไดจากกระบวนการสังเคราะหดวยแสงของพืช ลําเลยี ง
อาหารไปยังสวนตางๆ ของพืช และเสริมความแข็งแรงใหกับทอลําเลียงอาหาร
4. โฟลเอม็ ไฟเบอร (phloem fiber) มีลกั ษณะคลายกับไซเล็มไฟเบอร มรี ปู รางลักษณะยาว มหี นา
ตดั กลมหรอื รี โฟลเอ็มไฟเบอรทําหนาที่ชวยเสริมความแข็งแรงใหกับทอลําเลียงอาหาร และทําหนาที่
สะสมอาหารใหแ กพ ชื

รูปแสดงเนือ้ เยื่อที่เปน สวนประกอบของทอลาํ เลียงอาหาร

61
การทํางานของระบบการลาํ เลียงสารของพืช
ระบบลําเลียงของพืชมีหลักการทํางานอยู 2 ประการ คือ

1. ลําเลียงน้ําและแรธ าตผุ า นทางทอ ลาํ เลียงนํา้ และแรธาตุ (xylem) โดยลําเลยี งจากรากขน้ึ ไปสใู บ
เพอ่ื นาํ นาํ้ และแรธ าตไุ ปใชใ นกระบวนการสงั เคราะหด ว ยแสง

2. ลาํ เลยี งอาหาร (นา้ํ ตาลกลูโคส) ผานทางทอลําเลียงอาหาร ( phloem) โดยลําเลียงจากใบไปสู
สวนตา งๆ ของพชื เพื่อใชในการสรางพลังงานของพืช การลําเลียงสารของพืชมีความเกี่ยวของกับ
กระบวนตางๆ อีกหลายกระบวนการ ซึ่งตองทํางานประสานกันเพื่อใหการลําเลียงสารของพืชเปนไปตาม
เปาหมาย ระบบลําเลียงของพืชเริ่มตนที่ราก บริเวณขนราก (root hair) ซึ่งมีขนรากมากถึง 400 เสนตอ
พื้นที่ 1 ตารางมิลลิเมตร โดยขนรากจะดดู ซึมนาํ้ โดยวิธกี ารที่เรียกวา การออสโมซิส (osmosis) และวธิ กี าร
แพรแ บบอนื่ ๆ อีกหลายวธิ ี น้ําทีแ่ พรเ ขา มาในพชื จะเคล่อื นทไ่ี ปตามทอลําเลียงน้าํ และแรธาตุ ( xylem) เพ่ือ
ลาํ เลียงตอ ไปยงั สวนตางๆ ของพชื เมอ่ื น้ําและแรธ าตตุ า งๆ เคล่ือนที่ไปตามทอ ลําเลยี งนา้ํ และแรธ าตแุ ละ
ลําเลียงไปจนถึงใบ ใบกจ็ ะนาํ นาํ้ และแรธ าตนุ ไ้ี ปใชใ นกระบวนการสงั เคราะหด ว ยแสง เมื่อกระบวนการ
สังเคราะหดว ยแสงดาํ เนนิ ไปเรือ่ ยๆ จนไดผลิตภณั ฑเปน นาํ้ ตาล น้ําตาลจะถูกลําเลยี งผา นทางทอ ลําเลียง
อาหาร (phloem) ไปตามสวนตางๆ เพื่อเปนอาหารของพืช และลําเลียงน้ําตาลบางสวนไปเก็บสะสมไวที่
ใบ ราก และลําตน

รูปแสดงระบบการลาํ เลียงสารของพชื

62

การแพร (diffusion) เปนการเคลื่อนที่ของสารจากบริเวณที่มีความเขมขนมากกวาไปสูบริเวณที่มีความ
เขมขนนอ ยกวา
การออสโมซิส (osmosis) เปนการแพรของน้ําจากบริเวณที่มีน้ํามากกวา (สารละลายเจือจาง) ไปสูบรเิ วณที่
มีน้ํานอ ยกวา (สารละลายเขมขน) การทํางานของระบบลําเลียงสารของพืชตองใชวิธีการแพรหลายชนิด
โดยมีทอ ลําเลยี งน้ําและแรธ าตุ (xylem) และทอลําเลียงอาหาร (phloem) เปนเสนทางในการลําเลียงสารไป
ยงั ลาํ ตน ใบ กงิ่ และกานของพืช

1.2 โครงสรางและการทํางานของระบบลําเลียงน้ําในพืช

พชื ทีไ่ มมีทอลําเลยี ง เชน มอส มกั จะมขี นาดเล็กและเจรญิ ในบรเิ วณที่มีความชนื้ สงู มี
รม เงาเพยี งพอ เซลลท กุ เซลลไดรบั น้ําอยา งทวั่ ถึงโดยการแพรจากเซลลห น่งึ ไปยงั อีกเซลลหน่ึง
สว นพชื ทีม่ ขี นาดใหญจ ะใชว ิธกี ารเชนเดยี วกับมอสไมไ ด จําเปนตองมีทอลําเลียงจากรากขึ้นไปเลี้ยงเซลล
ที่อยูปลายยอดโดยปกติแลวสารละลายภายในเซลลขนรากมีความเขมขนสูงกวาภายนอก
ดังนนั้ น้าํ ในดินก็จะแพรผ า นเยื่อหุมเซลลเ ขาสเู ซลลท ผ่ี ิวของราก การเคลือ่ นทขี่ องนาํ้ ในดินเขา สูรากผาน
ชัน้ คอรเ ทกซข องรากไปจนถงึ ช้ันเอนโดเดอรมสิ ไดโ ดยน้ําจะผา นจากเซลลห น่ึงไปยังอีกเซลลห นึง่ ทาง
ผนังเซลลหรือผานทางชองวางระหวางเซลลเรียกเสนทางของการเคลื่อนที่แบบนี้วา อโพพลาส (apoplast)
สว นการเคล่อื นที่ของน้าํ ผานเซลลห น่ึงสูเ ซลลหนึ่งทางไซโทพลาซึม ที่เรียกวาพลาสโมเดสมาเขาไปใน
เซลลเ อนโดเดอรม สิ กอนเขาสไู ซเลมเรยี กการเคลอ่ื นที่แบบนว้ี า ซิมพลาส (symplast) เมื่อนา้ํ เคลอ่ื นที่
มาถงึ ผนังเซลลเ อนโดเดอรมสิ ท่มี ีแคสพาเรยี นสตริพ กน้ั อยู แคสพาเรยี นสติพปองกันไมใหน้าํ ผา นผนงั
เซลลเขาไปในไซเลม ดังนั้นน้ําจึงตองผานทางไซโทพลาซึมจึงจะเขาไปในไซเลมได

ถาลองตัดลําตนของพืชบางชนิด เชน มะเขอื เทศ พทุ ธรักษา หรอื กลว ยทีป่ ลูกในที่มีน้ําชมุ ให
เหลอื ลําตนสูงจากพน้ื ดินประมาณ 4-5 เซนตเิ มตร แลวสังเกตตรงบริเวณรอยตัดของลําตน สวนท่ตี ิดกั บ
รากจะเหน็ ของเหลวซมึ ออกมา เนื่องจากในไซเลมของรากมีแรงดัน เรยี กวา แรงดันราก (root pressure)
การเคลื่อนที่ของนํา้ เขา สูไซเลมของรากทําใหเ กดิ แรงดันข้ึนในไซเลม ในพืชท่ไี ดร ับนํา้ อยา งพอเพยี งและ
อยูในสภาพอากาศที่มีความชื้นสูง เชนเวลากลางคืนหรือเชาตรู แรงดันรากมีประโยชนในการชวยละลาย
ฟองอากาศในไซเลมที่อาจเกิดขึ้นในชวงเวลากลางวัน แตใ นสภาพอากาศรอ นและแหง ในเวลากลางวนั
พืชมีการคายน้ํามากขึ้นจะเกิดแรงดึงของน้ําในทอไซเลมทําใหไมพบแรงดันราก การสูญเสียนาํ้ จากใบ
โดยการคายน้ําเกิดขึ้นเนื่องจากความแตกตางระหวางปริมาณไอน้ําในบรรยากาศ และไอนาํ้ ในชอ งวา ง
ภายในใบ การลําเลยี งนาํ้ ในทอไซเลมนนั้ เกดิ ขน้ึ เนอ่ื งจากมีแรงดึงนาํ้ ที่อยูใ นทอไซเลมใหข ึ้นมาทดแทน
น้ําที่พืชคายออกสูบรรยากาศ แรงดึงนี้จะถูกถายทอดไปยังรากทําใหรากดึงน้ําจากดินเขามาในทอไซเลม
ไดเน่ืองจากนํา้ มีแรงยึดเหนยี่ วระหวางโมเลกุลของนํา้ ดว ยกนั เอง เรียกวา โคฮชี นั (cohetion) สามารถที่จะ

63

ดึงน้ําเขามาในทอไซเลมไดโดยไมขาดตอน นอกจากนีย้ ังมีแรงยึดเหนี่ยวระหวา งโมเลกลุ ของน้าํ กับผนงั
ของทอ ไซเลม เรยี กวา แอดฮีชนั (adhesion) เมื่อพืชคายน้ํามากจะทําใหน้ําระเหยออกไปมากดวย ดงั นน้ั นาํ้
ในไซเลมจึงสามารถเคลื่อนที่และสงตอไปยังสวนตางๆของพืชได ไมวา จะเปนลาํ ตน ใบ หรือยอดรากก็
จะเกิดแรงดึงนา้ํ จากดนิ เขา สูทอ ไซเลมได แรงดงึ เนื่องจากการสูญเสยี น้าํ น้ีเรียกวา แรงดงึ จากการคายนํ้า
(transpiration pull)

1.3 โครงสรางและการทํางานของระบบลําเลียงอาหารในพชื

น้ําที่พชื ลาํ เลียงผา นชั้นคอรเ ทกซข องรากเขาสูไ ซเลม มธี าตุอาหารตาง ๆ ท่ีรากดดู จากดนิ ละลาย
อยูดวยการลําเลียงธาตุอาหารตาง ๆ มีความซับซอนมากกวาการลําเลียงน้ํา เพราะเซลลมักไมยอมใหธาตุ
อาหารเคลื่อนทผ่ี า นเขาออกไดโดยอสิ ระ

กระบวนการเคลื่อนที่ของธาตุอาหารตางๆ เขาสูราก ทําได 2 วิธี คอื ลาํ เลียงแบบไมใ ช
พลงั งาน (passive transport) โดยธาตุอาหารจะแพรจากภายนอกเซลลที่มีความเขมขนสูงกวา
ไปยังภายในเซลลที่มีความเขมขนต่ํากวา และ การลําเลยี งแบบใชพลังงาน (active transport) ซึ่งเปน การ
เคลื่อนที่ของธาตุอาหารแบบอาศัยพลังงานทําใหพืชสามารถลําเลียงธาตุอาหารจากภายนอกเซลลที่มีความ

เขมขนต่ํากวาเขามาภายในเซลลได จึงทําใหพืชสะสมธาตุอาหารบางชนิดไวได

ธาตุอาหารที่จะเขาไปในไซเลมสามารถเคลื่อนผานชั้นคอรเทกซของรากไดโดยเสนทาง

อโพพลาสหรือซิมพลาส และเขาสูเซลลเอนโดเดอรมิสกอนเขาสูไซเลม ธาตุอาหารทพี่ ืชลาํ เลยี ง

เขาไปในไซเลมน้ันเปน สารอนนิ ทรียตางๆ ทจ่ี าํ เปน ตอ การดาํ รงชีวติ และการเจริญเติบโตของพชื

64

ตารางแสดงธาตอุ าหารทจ่ี าํ เปน ตอ การดาํ รงชวี ติ ของพชื และปรมิ าณของธาตอุ าหารแตล ะชนดิ ทพ่ี บในพชื

คารอยละของธาตทุ พี่ บ
ธาตุ สัญลักษณทางเคมี รปู ที่เปนประโยชนต อ ในเน้ือเยอื่ พืช
พืช (นาํ้ หนักแหง )

โมลบิ ดีนมั Mo MoO42- 0.00001
ทองแดง
Cu Cu+, Cu2+ 0.0006

แมงกานีส Mn Mn2+ 0.005

นิกเกิล Ni Ni2+ 0.003

สังกะสี Zn Zn2+ 0.002

โบรอน B H2BO3- 0.002
เหลก็
Fe Fe2+ 0.01

คลอรนี Cl Cl- 0.01

กาํ มะถนั S So42- 0.1
ฟอสฟอรสั
แมกนเี ซยี ม P H2PO4- , HPO42- 0.2

Mg Mg2+ 0.2

แคลเซียม Ca Ca2+ 0.5

โพแทสเซียม K K+ 1.0

ไนโตรเจน N NO3- , NH4+ 1.5
ไฮโดรเจน
ออกซเิ จน H H2O 6
คารบอน
O O2 , H2O , CO2 45

C CO2 45

จากตาราง จะเห็นวาพืชตองการธาตุอาหารแตละชนิดในปริมาณไมเทากัน การใหปยุ เปน การ
เพิ่มธาตุอาหารแกพืชถาใหมากเกินความตองการของพืชจะเปนการสิ้นเปลืองและอาจทําใหพืชตายไดซึ่ง
สามารถปองกันไดโดยการตรวจสอบธาตุอาหารที่อยูในดิน และวิเคราะหอาการของพืชวาขาดธาตุใด

จากตารางพบวา ธาตทุ ่พี ชื ตองการเปนปริมาณมาก ( macronutrients) มี 9 ธาตุ ไดแก
C H O N P K Ca Mg และ S สว นธาตทุ ่ีพืชตองการปรมิ าณเพียงเล็กนอ ย (micronutrients)
ไดแ ก B Fe Cu Zn Mn Mo Cl และ Ni ธาตุอาหาร 2 กลุมนม้ี คี วามสําคัญตอการเจริญเติบโตของ
พชื เทา เทยี มกนั แตป รมิ าณทพ่ี ชื ตอ งการแตกตา งกัน องคประกอบของพืชประมาณรอยละ 96 ของนาํ้ หนกั
แหงของพืช ประกอบดวย C H O ซึ่งธาตุทั้งสามนี้พืชไดรับจากน้ําและอากาศอยางเพียงพอ

65

นักวิทยาศาสตรใ ชหลกั 3 ประการที่จัดวาธาตุใดเปนธาตุอาหารที่จําเปนตอการเจริญเติบโตของพืช
คือ

1. ถาขาดธาตุนั้นพืชจะไมสารถดํารงชีพ ทําใหการเจริญเติบโตและการสืบพันธุไมครบวงจร
2. ความตองการชนิดของธาตุอาหารในการเจริญเติบโตของพืชมีความจําเพาะจะใชธาตุอื่น
ทดแทนไมได

นอกจากนี้ยังอาจจัดแบงธาตุอาหารออกไดเปน 3 กลุมตามหนาที่ทางสรีรวิทยาและชีวเคมี ดังนี้

กลมุ ท่ี 1 เปน องคประกอบของธาตอุ นิ ทรียภายในพืช ไดแก
1.1) เปนองคประกอบของสารประกอบอินทรียหลัก ไดแก C H O N
1.2) เปนองคประกอบของสารประกอบอินทรียที่ทําหนาที่เกี่ยวกับเมแทบอลิซึม เชน P ในสาร
ATP และ Mg ที่เปนองคประกอบของคลอโรฟลล

กลุม ท่ี 2 แบงตามการกระตุนการทํางานของเอนไซม เชน Fe Cu Zn Mn Cl

กลุมท่ี 3 แบงตามการควบคุมแรงดันออสโมติก เชน K ชวยรักษาความเตงของเซลลคุม

66

กจิ กรรมเรอ่ื ง โครงสรางลําเลียงน้ําและอาหารของพืช

จดุ ประสงคการทดลอง

1.ระบุสวนของพืชที่ใชในการลําเลียงน้ําและอาหารได

2. อธิบายกระบวนการการลําเลียงน้ําและอาหารในพืชได

วัสดุอปุ กรณ 1 ตน
15 ซม.3
1. ตนเทียนสูงประมาณ 20 เซนตเิ มตร 1 ลติ ร
2. นํ้าหมึกสีแดง
3. น้ํา 1 ใบ
1 ใบ
4. ขวดปากกวางสูงประมาณ 10-15 ซม. 1 ชุด
5. ใบมีดโกน 1 กลอ ง
6. สไลดและกระจกปดสไลด 1 อนั
7. กลองจุลทรรศน
8. หลอดหยด

วิธดี ําเนินการทดลอง
1. ใสหมึกแดงประมาณ 15 ลูกบาศกเซนติเมตร ลงในขวดปากกวางที่มีน้ํา
2. นําตน เทียนท่ลี างน้ําสะอาดแลว แชลงในขวดทม่ี ีนํ้าหมึกสีแดง แลวนําไปไวกลางแดด

ประมาณ 20-30 นาที สงั เกตการเปลี่ยนแปลง บันทึกผล
3. นําตนเทียนออกมาลางนาํ้ ใชใบมดี โกนตดั ลาํ ตนตามขวางตรงสว นท่ีมีลําตน อวบ ไมมกี ิ่งให

ยาวประมาณ 3 เซนตเิ มตร
4. นําสวนที่ตัดออกมาตัดตามขวางใหบางที่สุด แลวนําไปวางบนสไลด หยดน้ํา 1-2 หยด ปด

ดวยกระจกปด สไลด นาํ ไปสอ งดดู วยกลอ งจลุ ทรรศน สงั เกตวาดรปู ตําแหนงท่ีเปนสแี ดง
และบันทกึ ผล
5. นําสวนที่ไดออกมาตัดตามยาวบางๆยาวประมาณ 0.5 เซนตเิ มตร แลว ดําเนนิ ตามข้ันตอน
เหมอื นขอ 4

67

หมายเหตุ
1. การถอนตน เทียน ตองคอ ยๆถอนตน เทียนทงั้ ตน พยายามใหร ากตดิ มามากทีส่ ุด แลว ลา งดนิ

ออกทันทีโดยการจับสายไปมาเบาๆ ในนํา้ กอนท่จี ะจมุ ลงในนํา้ หมึกสแี ดง
2. ผูเรยี นตอ งสังเกตการณเ ปลีย่ นแปลงภายในราก ลาํ ตนและใบอยา งละเอียด

ตารางบนั ทึกผล

สิง่ ทีท่ ดลอง ภาพ ลักษณะท่ีสังเกตได

1.จมุ ตน เทยี นลงในน้ําหมกึ สแี ดง

2. เมอ่ื สอ ง ลาํ ตน ตดั ขวาง
ดว ยกลอ ง ลาํ ตน ตดั ยาว
จลุ ทรรศน

68

1.4 กระบวนการสงั เคราะหด ว ยแสง

1.4.1 ความสาํ คญั ของกระบวนการสงั เคราะหดว ยแสง คือ พืชมีความสามารถในการนําพลังงาน
แสงมาตรึงคารบอนไดออกไซดและสรางเปนอาหารเก็บไวในรูปสารอินทรีย โดยกระบวนการสังเคราะห

ดว ยแสง นอกจากนี้ยังทราบอีกวาในใบพืชมีคลอโรฟลล ซง่ึ จําเปน ตอการสงั เคราะหด วยแสง และ

ผลผลิตทไ่ี ดคือ คารโบไฮเดรต น้ํา และออกซิเจนและยังไดทราบวาพืชมีโครงสรางที่เหมาะสมตอการ
ทํางานไดอยางไร

กระบวนการสงั เคราะหด ว ยแสง ปฏิกิรยิ าแสงและปฏกิ ิรยิ าตรงึ
กระบวนการสังเคราะหดวยแสงของพืช แบงเปน 2 ขั้นตอนใหญ คือ
คารบ อนไดออกไซด

โครงสรา งของคลอโรพลาสต

จากการที่ศึกษาดวยการใชกลองจุลทรรศนอิเล็กตอนและเทคนิคตางๆ ทําใหเราทราบ

รายละเอียดเกี่ยวกับโครงสรางและหนาที่ของคลอโรพลาสตมากขึ้น คลอโรพลาสตสวนใหญ

ของพืชจะมีรูปรางกลมรี มีความยาวประมาณ5 ไมโครเมตร กวาง 2ไมโครเมตร หนา1-2

ไมโครเมตร ในเซลลของแตละใบจะมีคลอโรพลาสตมากนอยแตกตางกันไปขึ้นอยูกับชนิดของเซลล

และชนดิ ของพชื คลอโรพลาสต ประกอบดว ยเย่อื หุม 2 ชนั้ ภายในมีของเหลวเรียกวา สโตรมา

มีเอนไซมที่จําเปนสําหรับกระบวนการตรึงคารบอนไดออกไซดในการสังเคราะหดวยแสงนอกจากนี้ดาน

ในของคลอโรพลาสต ยังมีเยื่อไทลาคอยด สว นทพ่ี ับทับซอนไปมาเรียกวา กรานมุ และสวนท่ีไมท บั

ซอ นกนั อยเู รยี กวาสโตรมาลาเมลลา สารสีทัง้ หมดและคลอโรฟล ลจ ะอยูบนเยือ่ ไทลาคอยด มีชอ งเรยี ก

ลเู มน ซ่งึ มีของเหลวอยูภายใน

นอกจากนี้ภายในคลอโรพลาสตยงั มี DNA RNA และไรโบโซมอยดู ว ย ทําใหคลอโรพลาสต
สามารถจําลองตัวเองขึ้นมาใหมและผลิตเอนไซมไวใชในคลอโรพลาสต ในคลอโรพลาสตเองมีลกั ษณ
คลายกับไมโทคอนเดรีย

1.4.2 ปจ จยั ทจ่ี ําเปน สาํ หรบั กระบวนการสงั เคราะหด ว ยแสง
ปจจัยที่ควบคุมการสังเคราะห ดว ย แสงสามารถแบงไดเปนปจจัยภายใน และปจจัย ภายนอก
ซ่งึ ปจจยั ภายในจะเกี่ยวของกับผลของพนั ธุกรรมของพชื และปจจยั ภายนอกเปน ปจจัยท่เี ก่ยี วของกับ
สภาพแวดลอ ม

69

1. ปจจัยภายใน
1.1 โครงสรางของใบ

การเขาสูใบของคารบอนไดออกไซดจะยากงายไมเทากัน ท้ังนี้ขึ้นอยกู บั ขนาด

และจาํ นวน ตลอดจนตาํ แหนง ของปากใบ ซึ่งอยูแตกตางกันในพืชแตล ะชนดิ นอกจากนนั้ ปริมาณของ

ชอ งวางระหวา งเซลลซ ึ่งเกิดจากการเรยี งตัวของเนือ้ เย่อื เมโซฟลล (Mesophyll) ของใบยังมีผลตอการ
แลกเปลี่ยนคารบอนไดออกไซดดวย ความหนาของชั้นคิวติเคิล เซลลผ ิว (Epidermis) และขนของใบจะ
มีผลในการทําใหคารบอนไดออกไซดกระจายเขาสูใบไดไมเทากันเพราะถาหนาเกินไปแสงจะตกกระทบ
กับคลอโรพลาสตไดนอ ยลง

1.2 อายุของใบ
เมื่อพิจารณาถึงใบแตละใบของพืช จะพบวาใบออนสามารถสังเคราะหแสงได

สงู จนถงึ จดุ ท่ีใบแก แตห ลังจากนน้ั การสังเคราะหแสงจะลดลงเมอ่ื ใบแกและเสอ่ื มสภาพ ใบเหลืองจะไม
สามารถสังเคราะหแสงได เพราะไมมีคลอโรฟลล

1.3 การเคลื่อนยายคารโบไฮเดรต
โดยท่วั ไปนํา้ ตาลซูโครสจะเคลอ่ื นยา ยจาก Source ไปสู Sink ดังนน้ั มักพบ

เสมอวา เมอ่ื เอาสว นหวั เมลด็ หรอื ผลท่กี าํ ลงั เจรญิ เติบโตออกไปจากตนจะทาํ ใหก ารสงั เคราะหแ สงลดลง

ไป 2-3 วนั เพราะวาน้ําตาลจากใบไมสามารถเคลื่อนยายได พืชที่มีอัตราการสังเคราะหแสงสูง จะมี
การเคลื่อนยายน้ําตาลไดสูงดวย การที่ใบเปนโรคจะทําใหพืชสังเคราะหแสงไดลดลง เพราะวาใบกลาย
สภาพเปน Sink มากกวา Source แตใบทีอ่ ยใู กลก นั แตไ มเ ปน โรคจะมีอตั ราการสังเคราะหแสงเพ่ิมขนึ้
อยางไรก็ตามการเพิ่ม Sink ใหกับตน เชนเพิ่มจาํ นวนฝกของขาวโพด เพิ่มจาํ นวนผลทตี่ ิด เพ่ิมจาํ นวนหัว
จะทําใหการสังเคราะหแสงเพิ่มขึ้น

1.4 โปรโตพลาสต
อัตราการสังเคราะหแสงจะมีความสัมพันธกับการทํางานของโปรโต

พลาสตมาก เมื่อพืชขาดน้ําสภาพคอลลอยดของโปรโตพลาสตจะอยูในสภาพขาดน้ําดวยทําใหเอนไซมที่
เกี่ยวของกับการสังเคราะหแสงทํางานไดไมเต็มที่ แตพืชแตละชนิดโปรโตพลาสตจะปรับตัวใหทํางานได

ดไี มเทากนั ทําใหอัตราการสังเคราะหแสงเปลี่ยนไปไมเทากัน

70

2. ปจ จยั ภายนอก
2.1. ปริมาณของ CO2 ปกติจะมีเทากับ 0.03 เปอรเซ็นต การสงั เคราะหแ สงจะเพม่ิ ขนึ้
เมื่อปริมาณของ CO2 ในบรรยากาศเพิ่มขึ้น ยกเวนเมื่อปากใบปดเพราะการขาดน้ํา ความแตกตางระหวาง
พืช C3 และ C4 ในแงของ CO2 คือ ถาปริมาณของ CO2 ลดลงต่ํากวาสภาพบรรยากาศปกติแตแสงยังอยู
ในระดบั ความเขม เหนอื จดุ Light Compensation พบวา พชื C3 จะมีการสังเคราะหแสง เปน 0 ถามี
ความเขมขนของ CO2 50-100 สว นตอ ลา น แตพชื C4 จะยังคงสังเคราะหแสงไดตอไป แม CO2 จะตาํ่
เพยี ง 0-5 สวนตอลานก็ตาม ความเขมขนของ CO2 ที่จุดซึ่งอัตราการสังเคราะหแสงเทากับอัตราการ
หายใจเรียกวา CO2 Compensation Point ขาวโพดมี CO2 Compensation Point อยทู ี่ 0 สว นตอ
ลาน ในขณะที่ทานตะวนั มคี าถึง 50 สว นตอ ลาน
การเพิ่มความเขมขนของคารบอนไดออกไซดใหสูงขึ้นไปเรื่อย ๆ จะมีผลทําใหเกดิ การ

สังเคราะหแสงไดมากขึ้น แตเ มอ่ื เพมิ่ ข้ึนสงู ถงึ 0.5 เปอรเ ซน็ ต พืชจะมีการสังเคราะหแสงไดมากขึ้น แต
พืชจะทนไดร ะยะหนึ่ง คือประมาณ 10-15 วนั หลงั จากน้ันพืชจะชะงักการเจรญิ เติบโต โดยทั่วไปพืช
C4 จะทนตอความเขมขนของคารบอนไดออกไซดไดดีกวาพืช C3

2.2. ความเขมของแสง ใบของพืช C4 ตอบสนองตอความเขมของแสงเปนเสนตรงคือเมื่อ
เพิ่มความเขมของแสง อัตราการสังเคราะหแสงจะเพิ่มขึ้น โดยทั่วไปยอดของพืช C4 จะไดร บั แสง
มากกวาใบลาง ดังนนั้ ใบยอดอาจจะไดร บั แสงจนถงึ จุดอม่ิ ตวั ได ในขณะท่ีใบลา งจะไมไ ดรับแสงจนถึง

จุดอมิ่ ตวั เพราะถกู ใบยอดบงั แสงไว แตเ มอ่ื พิจารณาพืชทั้งตนหรอื ท้งั ปา จะพบวา พืชไมไดรับแสงถึงจุดที่
จะทําใหการสังเคราะหแสงสูงสุดเพราะมีการบังแสงกันภายในทรงพุม สวนคุณภาพของแสงนั้นแสงที่มี
ความยาวคลื่นชวง 400-700 nm เหมาะสมที่สุด

ความเขมของแสง หรือปริมาณพลังงานแสงตอหนึ่งหนวยพื้นที่ ซึง่ มหี นวยเปน ลักซ
(Lux) (10.76 lux = 1 ft-c) ในแตละทองที่จะมีความเขมของแสงไมเทากัน ซึ่งทําใหพืชมีการปรับตัวทาง
พันธกุ รรมตา งกัน การสังเคราะหแสงของพืชโดยทั่วไปจะดีขึ้นเมื่อพืชไดรับความเขมของแสงมาก
ขน้ึ เมื่อพืชไดรับความเขมของแสงต่ํากวาที่พืชตองการพืชจะมีอัตราการสังเคราะหแสงต่ําลง แตอัตราการ

หายใจของพืชจะเทาเดิม เมื่ออัตราการสังเคราะหแสงลดต่ําลง จนทําใหอัตราการสรางอาหารเทากับอัตรา
การใชอาหารจากการหายใจ ในกรณนี จี้ ํานวนคารบ อนไดออกไซดท่ีตรึงไวจ ะเทากบั จาํ นวน

คารบ อนไดออกไซดท ีป่ ลอยออกมา ทีจ่ ดุ น้กี ารแลกเปลี่ยนกาซมคี าเปนศูนย เปนจุดซึ่งเรยี กวา Light หรอื
CO2 Compensation point ซึง่ พืชจะไมเจรญิ เตบิ โตแตส ามารถมชี วี ติ อยูได ถาความเขมของแสงต่ําลง
กวานี้อีกพืชจะขาดอาหารทําให

71

ตายไปในท่ีสุด แตการเพิ่มความเขมของแสงมากขึ้นไมไดทําใหอัตราการสังเคราะหแสงสูงเสมอไป

เพราะพชื มีจดุ อ่ิมตวั แสง ซึ่งถาหากความเขมของแสงเพิ่มไปอีกจะทําใหพืชใบไหม ซึ่งปกติพืช C4 จะมี
ประสิทธิภาพในการใชแสงดีกวาพืช C3

ความยาวของชวงที่ไดรับแสง (Light Duration) เมื่อชวงเวลาที่ไดรับแสงยาว
นานข้นึ อัตราการสงั เคราะหแสงจะเพม่ิ ข้นึ ดว ย โดยเปน สดั สว นโดยตรงกบั ความยาวของวนั ดงั นน้ั การ

เรงการเจรญิ เติบโตของพืชในเขตหนาวซงึ่ ในชว งฤดูหนาวจะมีวนั ทส่ี นั้ จึงจาํ เปน ตองใหแ สงเพมิ่ กบั พชื ที่
ปลูกในเรือนกระจก

คุณภาพของแสง (Light quality) แสงแตละสจี ะมีคุณภาพหรือขนาดของโฟตอนหรือ
พลงั งานที่ไมเทา กนั จึงทําใหเ กดิ จากเคลอ่ื นยายอเี ลคตรอนไดไมเ ทา กัน ขนาดของโฟตอนจะตองพอดีกับ
โครงสรางของโมเลกุลของคลอโรฟลล ถาหากไมพอดีกันจะตองมี Accessory pigment มาชวยรับ
แสง โดยมลี กั ษณะเปนแผงรบั พลงั งาน (Antenna system) แลว สง พลงั งานตอ ไปใหคลอโรฟล ลเ อ
ดังกลาวมาแลว ในสภาพธรรมชาติ เชน ในปาหรือทองทะเลลึก แสงที่พืชสามารถใชประโยชนในการ

สังเคราะหแสงไดมักจะถูกกรองเอาไวโดยตนไมที่สูงกวาหรือแสงดังกลาวไมสามารถสองลงไปถึง พชื

เหลานม้ี ักจะไดร ับแสงสเี ขยี วเทา นน้ั พืชเหลานี้หลายชนิดจะพัฒนาระบบใหมีรงควัตถุซึ่งสามารถนําเอา
พลังงานจากแสงสีเขียวมาใชประโยชนได

2.3. อณุ หภูมิ ชวงอุณหภมู ทิ พี่ ชื สังเคราะหแ สงไดคอ นขา งกวา ง เชน แบคทีเรยี และ

สาหรา ยสีนาํ้ เงินแกมเขียว สามารถสงั เคราะหแสงไดท อ่ี ุณหภมู ิ 70 องศาเซลเซยี ส ในขณะที่พชื ตระกูลสน

สามารถสังเคราะหแสงไดอยางชามากที่อุณหภูมิ –6 องศาเซลเซยี ส พืชในเขตแอนตารคติก บาง
ชนดิ สามารถสงั เคราะหแ สงไดท ่อี ณุ หภมู ิ –18 องศาเซลเซียส และอุณหภูมิเหมาะสมในการสังเคราะห

แสงเทากับ 0 องศาเซลเซียส ใบของพืชชั้นสูงทั่ว ๆ ไป อาจจะมีอณุ หภมู สิ ูงถงึ 35 องศาเซลเซียส ในขณะ
ไดร บั แสง แตก ารสังเคราะหแ สงก็ยังดาํ เนินตอไปได ผลของอณุ หภมู ติ อ การสังเคราะหแสงจงึ ข้นึ กับ

ชนิดของพืชและสภาพแวดลอมที่พืชเจริญเติบโต เชน พืชทะเลทราย จะมีอณุ หภูมิเหมาะสมสงู

กวาพืชในเขตอารคตกิ พืชทีเ่ จรญิ ไดด ใี นเขตอุณหภูมสิ งู เชน ขาวโพด ขาวฟา ง ฝา ย และถว่ั เหลอื งจะมี

อุณหภมู ิท่ีเหมาะสมสงู กวาพชื ที่เจรญิ ไดดใี นเขตอณุ หภมู ิตํา่ เชน มนั ฝรั่ง ขา วสาลี และขา วโอต โดยทั่วไป

อณุ หภมู ิเหมาะสมในการสงั เคราะหแสงของพชื แตละชนิดจะใกลเ คยี งกับอณุ หภูมิของสภาพแวดลอ ม

ตอนกลางวนั ในเขตนน้ั ๆ ตามปกติพืช C4 จะมีอุณหภูมิเหมาะสมตอการสังเคราะหแสงสูงกวาพืช C3 คา
Q10 ของการสังเคราะหแสงประมาณ 2-3 และอุณหภูมจิ ะมีผลกระทบตอ Light Reaction นอยมาก
เมอื่ เทยี บกับ Enzymatic Reaction

72

2.4. นาํ้ จะเกี่ยวของกับการปดเปดของปากใบ และเก่ียวของกบั การใหอีเลคตรอน
เมอ่ื เกดิ สภาวะขาดแคลนนาํ้ พชื จะคายนํ้าไดเร็ววาการดูดน้ําและลาํ เลยี งน้ําของราก ทําใหตนไมสูญเสยี น้าํ
อยา งรวดเรว็ ทําใหการทํางานของเอนไซมตาง ๆ ผดิ ปกติ และตอมาปากใบจะปด การขาดแคลนนาํ้ ท่ีตา่ํ กวา
15 เปอรเ ซน็ ต อาจจะยังไมมีผลกระทบกระเทือนตออัตราการสังเคราะหแสงมากนัก แตถ า เกดิ สภาวะขาด
แคลนถงึ 15 เปอรเซ็นตแลวจะทําใหปากใบปดจึงรับคารบอนไดออกไซดไ มไ ด

2.5. ธาตุอาหาร
เน่ืองจากคลอโรฟลลมแี มกนีเซียมและไนโตรเจนเปนธาตทุ ีอ่ ยใู นโมเลกุลดวย

ดังนั้นหากมีการขาดธาตุทั้งสองจะทําใหการสังเคราะหแสงลดลง

73

กจิ กรรมเรอ่ื ง คลอโรฟล กบั การสรา งอาหารของพชื ( สังเคราะหแสง )

จุดประสงคก ารทดลอง
สรุปความสําคัญของคลอโรฟลตอกาสังเคราะหดวยแสงของพืชได
วัสดอุ ุปการณ
1. ใบชบาดาง ( เปนใบที่เด็ดมาในวันทําการทดลอง ) 1 ใบ

2. สารละลายไอโอดนี 1 ลูกบาศกเซนติเมตร

3. น้าํ แปง 5 ลูกบาศกเซนติเมตร

4. แอลกอฮอล 15 ลูกบาศกเซนติเมตร

5. น้าํ 100 ลูกบาศกเซนติเมตร

6. ไมข ีดไฟ 1 กลัก

7. บกี เกอรขนาด 250 ลบ.ซม. 1 ใบ

8. หลอดทดลองขนาดใหญ 1 หลอด

9. หลอดทดลองขนาดเลก็ 1 หลอด

10.หลอดหยด 1 อนั

11.ถว ยกระเบอ้ื ง 1 ใบ

12.ปากคบี 1 อัน

13.ตะเกียงแอลกอฮอลพรอ มทื่ก้นั ลมและตะแกรงลวด 1 ชุด
วธิ กี ารทดลอง
1. นําใบชบาที่ถูกแสงแดดประมาณ 3 ชั่วโมงมาวาดรปู เพ่อื แสดงสว นท่เี ปนสขี าวและสีเขยี ว

2. ใสนา้ํ ประมาณ 40 ลกู บาศกเ ซนตเิ มตร ลงในบีกเกอรต ม ใหเ ดือด ใสใบชบาดางในบีกเกอร

ที่มีนํา้ เดอื ด

3. ใชปากคีบคีบใบชบาดางที่ตมแลวใสในหลอดทดลองขนาดใหญที่มีแอลกอฮอลพอทวมใบ

แลวนําไปตมประมาณ 1 – 2 นาที จนกระท่งั สซี ีด สังเกตการณเ ปลยี่ นแปลง ( แอลกอฮอลเ ปน

สารไวไฟจึงตอ งตมใหความรอ นผา นน้าํ )

4. นําไบชบาดางในขอ 3 ไปลางดวยน้ําเย็น สังเกตการณเปลย่ี นแปลง

5. นําใบชบาดางที่ลางแลวมาวางในถวยกระเบื้อง แลวหยดดวยสารละลายไอโอดีนใหทั่วทั้งใบ

ทิ้งไวประมาณครึ่งนาที

6. นาํ ใบชบาดางไปลางนํ้า สงั เกตการณเปลย่ี นแปลงและวาดรปู เปรยี บเทียบกับกอน

การทดลอง พรอมบันทึกผล

7. ใสน้ําแปงประมาณ 5 ลูกบาศกเซนติเมตร ลงในหลอดทดลองขนาดเล็กหยดสารละลาย

ไอโอดนี 2 – 3 หยดลงในหลอดทดลอง สงั เกตการณเ ปลย่ี นแปลงและบนั ทกึ ผล

74

สง่ิ ท่ีนํามาทดสอบ ตารางบนั ทึกผล ผลการทดสอบทสี่ ังเกตได
สวนสีเขียวของใบชบาดาง

สวนสีขาวของใบชบาดาง

นาํ้ แปง

75

1.5 ระบบสบื พนั ธุในพืช

1.5.1 โครงสรา งการทาํ งานระบบสบื พนั ธุพืชไรดอก

การสืบพนั ธขุ องพชื ไมมีดอก
การสบื พนั ธขุ องพชื ไรดอก เปนการสืบพนั ธแุ บบไมอาศยั เพศ เพราะเปน พชื ชน้ั ตาํ่ ไมม ีดอก มอี วัยวะ
ตางๆ ไมครบ การสืบพันธุแ บบไมอาศัยเพศของพืชไรดอก มวี ิธกี ารตางๆ เชน การแตกหนอ การสรา ง
สปอร การแบงตวั ดังนี้

1. เฟร น สืบพนั ธโุ ดยการสรา งสปอร สปอรจ ะอยูภายในอับสปอรที่อยใู ตใบหรอื ท่กี านใบ เมอ่ื แก
เตม็ ท่อี ับสปอรซึ่งเปน ถุงเล็ก ๆ จะแตกออกและปลิวไปตามลเมอื่ ตกในท่ีเหมาะก็จะงอกเปน ตนใหม

2. สาหรา ย สาหรา ยเซลลเดียวสบื พนั ธโุ ดยการแบง ตวั สาหรายหลายเซลล สบื พันธโุ ดยการสรา ง
สปอรหรือผสมระหวางเซลลตวั ผูและเซลลตวั เมีย
3. เหด็ สืบพนั ธโุ ดยการสรา งสปอร สปอรจะอยภู ายในร้วิ หรอื ครีบใตส วนหัวทค่ี ลายหมวก สว น
ท่ีเราเรียกดอกเห็ดน้นั เปน สวนหนงึ่ ของตนเห็ด ทาํ หนา ท่ีสรา งสปอร ตน เหด็ จริง ๆ เปนเสนสายสขี าว

ๆ อยูในส่งิ ที่มนั อาศยั อยู สปอรเ มอื่ แกกจ็ ะปลวิ ไปยงั ที่ตางๆ เมอ่ื มคี วามชมุ ชนื้

อาหาร แสงแดดพอเหมาะกจ็ ะงอกเปน ตน เหด็
4. รา สบื พนั ธุโดยการสรางสปอร มีลาํ ตน เปนเสนใย รามหี ลายสี เชน สสี ม ,
สีดาํ , สเี หลอื ง, สเี ขียว

5. ยสี ต มกี ารสืบพนั ธุสองแบบ เมอื่ มอี าหารบรบิ รู ณจะแตกหนอเกดิ ตนใหม
เม่ือมอี าหารฝดเคืองจะสบื พันธโุ ดยการสรางสปอร

76
1.5.2 โครงสรางการทํางานระบบสืบพันธุพืชมีดอก
โครงสรา งและการทาํ งานของระบบสืบพนั ธุของพชื มดี อก

ดอกไมนานาชนิด จะเห็นวานอกจากจะมีสีตางกันแลวยังมีรูปราง ขนาด และโครงสรางขอก
ดอกแตกตางกัน ดอกบางชนิดมีกลีบดอกซอนกันหลายชั้น บางชนิดมีกลีบดอกไมมากนักและมีชั้นเดียว
ดอกบางชนิดมีขนาดใหญมาก บางชนิดเล็กเทาเข็มหมุด นอกจากนี้ดอกบางชนิดมีกลิ่นหอมนาชื่นใจ แต
บางชนิดมีกลิ่นฉุนหรือบางชนิดไมมีกลิ่น ความหลากหลายของดอกไมเหลานี้เกิดจากการที่พืชดอกมี
วิวัฒนาการมายาวนาน จึงมีความหลากหลายทั้งสี รูปราง โครงสราง กลิ่น ฯลฯ แตถึงแมจ ะมีความ
แตกตางกันดอกก็ทาํ หนาทเ่ี หมอื นกนั คือ เปน อวัยวะสืบพันธขุ องพชื

โครงสรา งของดอก

ดอกไมตางๆ ถึงแมจําทําหนาที่ในการสืบพันธุเหมือนกันแตก็มีโครงสรางแตกตางกันไปตามแต
ชนิดของพืช ดอกแตละชนิดมีโครงสรางของดอกแตกตางกันออกไป บางชนิดมีโครงสรางหลักครบทั้ง 4
สวน ซ่ึงไดแ ก กลีบเลี้ยง กลีบดอก เกสรตัวผู และเกสรตัวเมยี เรียกวา ดอกสมบรู ณ (complete flower) แต
ถา ขาดสว นใดสว นหนง่ึ ไปไมค รบ 4 สว นเรยี กวา ดอกไมสมบูรณ (incomplete flower) และดอกท่มี ีทง้ั

77

เกสรเพศผแู ละเกสรเพศเมียอยูภายในดอกเดยี วกัน เรยี กวา ดอกสมบรู ณเ พศ (perfect flower) ถามแี ต
เกสรเพศผูห รือเกสรเพศเมยี เพยี งอยา งเดียว เรยี กวา ดอกไมส มบรู ณเพศ (imperfect flower)จาก
โครงสรางของดอกยังสามารถจําแนกประเภทของดอกไดอีกโดยพิจารณาจากตําแหนงของรังไข เมื่อเทียบ
กบั ฐานรองดอกซ่งึ ไดแ ก ดอกประเภทท่ีมีรงั ไขอยูเหนือฐานรองดอก เชน ดอกมะเขือ จําป ย่ีหุบ บวั
บานบุรี พริก ถั่ว มะละกอ สมเปนตน และดอกประเภทท่มี ีรงั ไขอ ยูใ ตฐานรองดอก เชน ดอกฟก ทอง
แตงกวา บวบ ฝรง่ั ทบั ทิม กลว ย พลับพลึง เปนตน ดอกของพชื แตละชนดิ จะมีจาํ นวนดอกบนกานดอกไม
เทากัน จึงสามารถแบงดอกออกเปน 2 ประเภท คือ ดอกเดยี ว (solotary flower) และ ชอดอก
(inflorescences flower)

ดอกเดยี่ ว หมายถึง ดอกหนึ่งดอกทพ่ี ัฒนามาจากตาดอกหน่ึงตา ดังนนั้ ดอกเดีย่ วจงึ มีหน่งึ ดอก
บนกานดอกหนง่ึ กาน เชน ดอกมะเขือเปราะ จาํ ป บวั เปนตน

ชอดอก หมายถงึ ดอกหลายดอกท่ีอยบู นกานดอกหน่งึ กา น เชน เขม็ ผกั บุง มะลิ กะเพรา กลว ย
กลวยไม ขาวเปนตน แตการจัดเรียงตัว และการแตกกิ่งกานของชอดอกมีความหลากหลาย
นักวิทยาศาสตรใชลักษณะการจัดเรียงตัวและการแตกกิ่งกานของชอดอกจําแนกชอดอกออกเปนแบบ
ตางๆ

ชอดอกบางชนิดมีลักษณะคลา ยดอกเดี่ยว ดอกยอ ยเกดิ ตรงปลายกานชอ ดอกเดียวกัน ไมมีกา น
ดอกยอยดอกยอ ยเรยี งกนั อยูบนฐานรองดอกทีโ่ คงนนู คลายหัว เชน ทานตะวัน ดาวเรอื ง บานชน่ื
บานไมรูโ รย ดาวกระจาย เปน ตน ชอดอกแบบน้ปี ระกอบดว ยดอกยอยๆ 2 ชนดิ คือ ดอกวงนอกอยรู อบ
นอกของดอก และดอกวงในอยตู รงกลางดอกดอกวงนอกมี 1 ชน้ั หรือหลายชนั้ เปนดอกสมบรู ณเ พศ
หรอื ไมสมบรู ณเ พศก็ได สวนมากเปนดอกเพศเมยี สว นดอกวงในมกั เปน ดอกสมบรู ณเพศมีกลบี ดอกเชื่อม
กันเปนรปู ทรงกระบอกอยูเหนือรงั ไข

การสรางเซลลสบื พันธขุ องพชื ดอก
การสรา งเซลลสืบพนั ธเุ พศผูของพืชดอกจะเกิดขึ้นภายใน อบั เรณู (anther) โดยมีไมโครสปอร

มาเทอรเซลล (microspore mother cell) แบงเซลลแบบไมโอซิสได 4 ไมโครสปอร (microspore) แตล ะ
เซลลมีโครโมโซมเทากับ n หลังจากนั้นนิวเคลียสของไมโครสปอรจะแบงแบบไมโทซิส ได 2 นวิ เคลยี ส
คอื เจเนอเรทฟิ นวิ เคลยี ส (generative nucleus) และทิวบนวิ เคลียส (tube nucleus) เรียกเซลลในระยะนี้
วา ละอองเรณู(pollen grain) หรอื แกมีโทไฟตเ พศผู (male gametophyte) ละอองเรณูจะมผี นังหนา ผนงั
ชน้ั นอกอาจมีผวิ เรียบ หรือเปนหนามเล็กๆแตกตางกันออกไปตามแตละชนิดของพืช เมอ่ื ละอองเรณแู ก
เตม็ ท อ่ี ับเรณูจะแตกออกทําใหล ะอองเรณูกระจายออกไปพรอ มทีจ่ ะผสมพนั ธตุ อไปได

78

การสรา งเซลลส ืบพันธเุ พศเมียของพชื ดอกเกิดข้นึ ภายในรงั ไข ภายในรังไขอาจมหี นึ่ง ออวลุ
(ovule) หรือหลายออวลุ ภายในออวลุ มีหลายเซลล แตจะมเี ซลลหนง่ึ ทม่ี ีขนาดใหญ เรียกวา เมกะสปอรมา
เทอรเ ซลล (megaspore mother cell) มีจํานวนโครโมโซม 2 n ตอมาจะแบงเซลลแบบไมโอซิสได
4 เซลล สลายไป 3 เซลล เหลือ 1 เซลล เรียกวา เมกะสปอร (megaspore) หลังจากนั้นนิวเคลียสของเมกะ
สปอรจะแบงแบบไมโทซิส 3 ครงั้ ได 8 นวิ เคลยี ส และมีไซโทพลาซึมลอมรอบ เปน 7 เซลล 3 เซลล
อยตู รงขา มกับไมโครไพล (micropyle) เรียกวา แอนตแิ ดล (antipodals) ตรงกลาง 1 เซลลมี 2 นวิ เคลยี ส
เรียก เซลลโพลารนิวคลีไอ (polar nuclei cell) ดานไมโครไพลมี 3 เซลล ตรงกลางเปน เซลลไ ข
(egg cell) และ2 ขางเรียก ซนิ เนอรจ ิดส (synergids) ในระยะนี้ 1 เมกะสปอรไดพัฒนามาเปนแกมีโทไฟต
ทเี่ รยี กวา ถงุ เอ็มบริโอ (embryo sac) หรอื แกมโี ทไฟตเ พศเมยี (female gametophyte)

การถายละอองเรณู
พืชดอกแตละชนดิ มลี ะอองเรณูและรงั ไขท่มี ีรปู รางลกั ษณะ และจํานวนท่แี ตกตางกนั

เมอ่ื อบั เรณแู กเ ตม็ ทผ่ี นงั ของอบั เรณจู ะแตกออกละอองเรณจู ะกระจายออกไปตกบนยอดเกสรตวั เมยี
โดยอาศยั สือ่ ตา งๆพาไป เชน ลม นา้ํ แมลง สตั ว รวมท้งั มนุษย เปนตน ปรากฏการณท ่ลี ะอองเรณูตกลงสู
ยอดเกสรตวั เมยี เรยี กวา การถา ยละอองเรณู (pollination)

พืชบางชนดิ ทเ่ี ปน พืชเศรษฐกิจ หรือพชื ท่ีใชบ ริโภคเปนอาหาร ถาปลอยใหเ กดิ การถา ยละออง
เรณูตามธรรมชาติ ผลผลิตทไี่ ดจ ะไมม ากนัก เชน ทเุ รียนพันธชุ ะนีจะตดิ ผลเพยี งรอยละ 3 สว นพนั ธุ
กา นยาวติดผลรอ ยละ 10 พชื บางชนิด เชน สละ เกสรเพศผมู นี อ ยมาก จงึ ทาํ ใหการถายละอองเรณูเกิดได
นอย นอกจากนีย้ ังมปี จจัยหลายประการที่สงผลใหก ารถายละอองเรณูไดนอย เชน จํานวนของแมลงที่มา
ผสมเกสร ระยะเวลาของการเจรญิ เตบิ โตเต็มท่ีของเกสรเพศเมยี และเกสรเพศผไู มพ รอ มกนั ปจ จบุ ัน
มนษุ ยจ งึ เขา ไปชว ยทาํ ใหเกิดการถายละอองเรณไู ดม ากขึ้น เชน เล้ยี งผึง้ เพื่อชวยผสมเกสร ศกึ ษาการเจริญ
ของละอองเรณู และออวุล แลวนําความรูม าชวยผสมเกสร เชน ในทุเรียนการเจรญิ เติบโตของอับเรณูจะ
เจรญิ เตม็ ทใ่ี นเวลา 19.00 – 19.30 น. ชาวสวนก็จะตัดอบั เรณทู ่ีแตกเกบ็ ไว และเมือ่ เวลาทีเ่ กสรเพศเมียเจริญ
เตม็ ที่ คอื ประมาณเวลา 19.30 น. เปนตน ไป ก็จะนาํ พูก นั มาแตะละอองเรณทู ่ีตดั ไววางบนยอดเกสรเพศ
เมีย หรือเมื่อตดั อับเรณแู ลวก็ใสถ ุงพลาสตกิ แลวไปครอบทเ่ี กสรเพศเมยี เมอื่ เกสรเพศเมียเจริญเต็มท่แี ลว
การถา ยละอองเรณจู ะเกิดไดด ี และในผลไมอ่นื เชน สละก็ใชว ิธกี ารเดยี วกนั น้ี

การปฏิสนธซิ อน
เมอ่ื ละอองเรณตู กลงบนยอดเกสรเพศเมยี ทวิ บน วิ เคลยี สของละอองเรณแู ตล ะอนั จะสรา งหลอด

ละอองเรณูดวยการงอกหลอดลงไปตามกานเกสรเพศเมียผานทางรูไมโครไพลของออวุล ระยะนี้เจเนอ
เรทฟิ นวิ เคลยี สจะแบงนิวเคลียสแบบไมโทซิสได 2 สเปรมนิวเคลียส (sperm nucleus) สเปร ม นิวเคลยี ส

79
หนง่ึ จะผสมกับเซลลไขไดไ ซโกต สวนอีกสเปร ม นิวเคลียสจะเขาผสมกบั เซลลโพลารนวิ เคลยี สไอได เอน
โดสเปรม (endosperm) เรียกการผสม 2 ครงั้ ของสเปร ม นวิ เคลียสนี้วา การปฏสิ นธิซอ น (double
fertilization)
การเกิดผล

ภายหลงั การปฏสิ นธิ ออวุลแตล ะออวุลจะเจริญไปเปนเมลด็ สวนรงั ไขจ ะเจริญไปเปนผล
มผี ลบางชนดิ ทสี่ ามารถเจรญิ มาจากฐานรองดอก ไดแ ก ชมพู แอปเปล สาล่ี ฝร่ัง

ผลของพืชบางชนิดอาจเจริญเติบโตมาจากรังไขโดยไมมีการปฏิสนธิ หรือมีการปฏิสนธิ
ตามปกตแิ ตออวลุ ไมเ จรญิ เติบโตเปนเมล็ด สว นรงั ไขส ามารถเจรญิ เตบิ โตเปน ผลได เชน กลวยหอม องนุ
ไมมเี มลด็

นักพฤกษศาสตรไดแบงผลตามลักษณะของดอกและการเกิดผลออกเปน 3 ชนดิ ดงั น้ี

1. ผลเดย่ี ว (simple fruit) เปน ผลทเ่ี กิดจากดอกเดีย่ ว หรือ ชอ ดอกซงึ่ แตล ะดอกมรี งั ไขเ พยี งอัน
เดยี ว เชน ลิ้นจี่ เงาะ ลําไย ทเุ รียน ตะขบ เปนตน

2. ผลกลมุ (aggregate fruit) เปน ผลที่เกิดจากดอกหนึ่งดอกซง่ึ มหี ลายรงั ไขอยูแยกกนั หรือติดกัน
กไ็ ดอ ยบู นฐานรองดอกเดยี วกนั เชน นอ ยหนา กระดังงา สตรอเบอรี่ มณฑา เปนตน

3. ผลรวม (multiple fruit) เปน ผลเกดิ จากรงั ไขข องดอกยอ ยแตล ะดอกของชอ ดอกหลอ มรวมกนั
เปนผลใหญ เชน ยอ ขนนุ หมอ น สบั ปะรด เปน ตน

80

กจิ กรรม เร่ืองการสบื พนั ธุของพืช

ใหผ เู รยี นแบงกลมุ ทาํ กจิ กรรมเกย่ี วกบั การสืบพันธุของพืชโดยเตรยี มวสั ดอุ ปุ กรณด ังน้ี
วัสดอุ ปุ กรณ
1.น้าํ 10 ซม.3

2. ดอกผกั บงุ 1 ดอก

3. ดอกบวั หลวง 1 ดอก

4. ดอกกลว ยไม 1 ดอก

5. ดอกตาํ ลึง 1 ดอก

6. ใบมีดโกน 1 ใบ

7. กาวลาเทก็ ซ 1 ขวด

8. กระดาษวาดเขยี นขนาด 20 ซม. X 30 ซม. 1 แผน

9. แวน ขยาย 1 อนั

10.กลอ งจลุ ทรรศน 1 กลอ ง

11.สไลด และกระจกปด สไลด 1 ชดุ

12.เข็มหมดุ 1 อนั

13.แทงแกว 1 อนั

14.หลอดหยด 1 อนั
หมายเหตุ
การนําดอกไมในขอ 2 – 5 ผูเรียนควรใสดอกไมใ นถุงพลาสติก พรมน้าํ และรัดปากถุง เพอ่ื ให

ดอกไมส ดอยเู สมอ
วิธดี าํ เนินการทดลอง
1. นําดอกไมท ี่เตรียมมา ไดแก ดอกผักบุง ดอกบัวหลวง ดอกกลวยไมและดอกตาํ ลงึ ออกมา

แกะแตละช้นั ของดอก คอื กลบี เลีย้ ง กลีบดอก เกสรตวั ผู และเกสรตัวเมีย เพ่อื สงั เกตและ

เปรียบเทียบลกั ษณะ บันทกึ ผลการทดลอง

2. พิจารณาลกั ษณะของอับละอองเรณูของดอกไมแตละชนดิ จากนัน้ จึงใชป ลายเขม็ หมุดเข่ยี อบั

ละอองเรณขู องดอกไมข องดอกไมแ ตล ะชนดิ เพอ่ื ใหล ะอองเรณตู กลงไปในกระจกสไลดแ ละ

หยดนาํ้ ลงไป 1 หยด นําแทงแกว ขยี้ใหละอองเรณูแตกออก สอ งดดู ว ยกลองจุลทรรศน

3. นาํ เกสรตวั เมยี มาผาตามยาวดว ยมีด สงั เกตรงั ไขและออวุลท่ีอยภู ายใน โดยใชแ วน ขยาย

พรอมทง้ั วาดรูปสิง่ ทีส่ งั เกตพบ

81

หมายเหตุ

การแกะสว นประกอบของดอกแตล ะชน้ั พยายามใหห ลดุ ออกมาเปน วงอยา ใหแ ตล ะชน้ิ หลดุ ออก
จากกัน

ดอก ตารางบนั ทกึ ผล
ผกั บงุ
สวนประกอบของดอก ดอกบวั หลวง ดอกกลวยไม ดอกตาํ ลงึ

กลีบเล้ียง
กลบี ดอก
เกสรตวั ผู
- อบั ละอองเรณู
- ละอองเรณู
( จากกลองจุลทรรศน )

82
เรื่องท่ี 2 การดํารงชวี ิตของสัตว

2.1 โครงสรา งและการทาํ งานของระบบตา งๆของสตั ว
2.1.1. ระบบหายใจในสัตว
สัตวต า ง ๆ จะแลกเปลี่ยนกาซกับสิ่งแวดลอมโดยกระบวนการแพร (Diffusion) โดยสตั วแ ตละ
ชนิดจะมีโครงสรางที่ใชในการแลกเปลี่ยนกาซที่เหมาะสมกับการดํารงชีวิตและสิ่งแวดลอมตางกัน

รปู แสดงระบบหายใจของสตั วชนดิ ตา ง ๆ

83

ชนดิ ของสตั ว โครงสรา งท่ีใชในการแลกเปลีย่ นกา ซ
1. สัตวช้ันต่าํ เชน ไฮดรา - ไมมีอวัยวะในการหายใจโดยเฉพาะ การแลกเปลี่ยนกาซใช

แมงกะพรนุ ฟองน้าํ พลานาเรยี เยือ่ หมุ เซลลหรือผวิ หนังทช่ี มุ ชน้ื
2. สตั วน าํ้ ชนั้ สูง เชน ปลา กงุ ปู - มเี หงอื ก (Gill) ซึ่งมีความแตกตางกันในดานความซับซอน

หมกึ หอย ดาวทะเล แตท าํ หนา ทเี่ ชนเดยี วกนั (ยกเวนสัตวค ร่งึ บกครึ่งนา้ํ ในชวงที่
เปน ลกู ออ ดซึง่ อาศัยอยูในนํ้า จะหายใจดว ยเหงือก ตอ มาเม่อื
3. สตั วบ กชั้นตํา่ เชน ไสเดอื นดนิ โตเปนตัวเต็มวัยอยูบ นบก จึงจะหายใจดว ยปอด)
- มีผวิ หนงั ท่ีเปย กชื้น และมีระบบหมนุ เวียนเลอื ดเรง อัตราการ
4. สัตวบกชนั้ สูง มี 3 ประเภท คือ แลกเปลยี่ นกา ซ
4.1 แมงมุม
- มีแผงปอดหรือลังบก (Lung Book) มลี กั ษณะเปนเสนๆ
4.2 แมลงตาง ๆ ยื่นออกมานอกผวิ รา งกาย ทําใหส ูญเสยี ความชื้นไดง า ย

4.3 สตั วมกี ระดูกสันหลงั - มีทอลม (Trachea) เปนทอทีต่ ิดตอกับภายนอกรา งกายทาง
รูหายใจ และแตกแขนงแทรกไปยังทุกสวนของรางกาย

- มีปอด (Lung) มลี ักษณะเปน ถงุ และมีความสัมพนั ธกบั ระบบ
หมนุ เวยี นเลอื ด

84

2.1.2. ระบบยอยอาหาร
ระบบยอยอาหารของสัตว

1.1 การยอยอาหารในสตั วม กี ระดกู สันหลัง
สตั วมกี ระดกู สันหลังทกุ ชนดิ เชน ปลา กบ กิ้งกา แมว จะมรี ะบบทางเดินอาหารสมบูรณ

ซึ่งทางเดินอาหารของสัตวมีกระดูกสันหลังประกอบดวย
ปาก → หลอดอาหาร → กระเพาะอาหาร → ลาํ ไสเลก็ → ทวารหนกั

85

รปู แสดงทางเดนิ อาหารของววั

1.2 การยอยอาหารในสัตวไ มมีกระดูกสนั หลัง
1.2.1 การยอ ยอาหารในสัตวทไี่ มมีกระดกู สันหลังทม่ี ที างเดินอาหารไมส มบรู ณ

86

รปู แสดงระบบยอยอาหารของสตั วไมมีกระดกู สันหลงั ท่มี ที างเดนิ อาหารไมสมบรู ณ
ชนดิ ของสตั ว ลักษณะทางเดินอาหารและการยอยอาหาร

1. ฟองนาํ้ - ยงั ไมมที างเดินอาหาร แตม ีเซลลพ ิเศษอยผู นงั ดา นในของฟองนํ้า

เรยี กวา เซลลป ลอกคอ (Collar Cell) ทาํ หนา ทจี่ บั อาหาร แลว สรา ง

แวควิ โอลอาหาร (Food Vacuole) เพอ่ื ยอ ยอาหาร

2. ไฮดรา แมงกะพรนุ ซแี อนนี - มที างเดนิ อาหารไมสมบรู ณ มปี าก แตไ มมที วารหนัก อาหาร

โมนี จะผานบรเิ วณปากเขาไปในชอ งลําตัวที่เรยี กวา ชอ งแกสโตร

วาสคิวลาร (Gastro vascular Cavity) ซง่ึ จะยอ ยอาหารทบ่ี ริเวณ

ชองนี้ และกากอาหารจะถูกขับออกทางเดิมคือ ปาก

3. หนอนตวั แบน เชน พลานาเรยี - มีทางเดินอาหารไมสมบูรณ มีชองเปดทางเดียวคือปาก ซึ่งอาหาร

พยาธิใบไม จะเขาทางปาก และยอยในทางเดินอาหาร แลวขับกากอาหารออก

ทางเดิมคือ ทางปาก

1.2.2 การยอยอาหารในสตั วไ มมกี ระดูกสันหลังทีม่ ที างเดินอาหารสมบูรณ

ชนดิ ของสตั ว ลักษณะทางเดินอาหารและการยอยอาหาร
1. หนอนตวั กลม เชน พยาธิ - เปนพวกแรกที่มีทางเดินอาหารสมบูรณ คือ มีชองปากและ

ไสเ ดือน พยาธเิ สนดา ย ชองทวารหนักแยกออกจากกัน

2. หนอนตัวกลมมปี ลอ ง เชน - มีทางเดินอาหารสมบูรณ และมีโครงสรางทางเดินอาหารที่มี
ไสเ ดือนดิน ปลิงนา้ํ จดื และ ลกั ษณะเฉพาะแตล ะสว นมากขึน้
แมลง

87
ระบบขับถายในสัตว

ในเซลลห รอื ในรา งกายของสัตวตา ง ๆ จะมปี ฏิกิรยิ าเคมจี าํ นวนมากเกิดข้ึนตลอดเวลา และผลจากการ
เกดิ ปฏิกิรยิ าเคมีเหลาน้ี จะทําใหเ กดิ ผลติ ภัณฑท ี่มีประโยชนตอ สง่ิ มชี วี ติ และของเสียที่ตองกําจัดออกดวย
การขับถาย สัตวแตละชนิดจะมีอวัยวะและกระบวนการกําจัดของเสียออกนอกรางกายแตกตางกันออกไป
สตั วชั้นตํ่าที่มีโครงสรา งงา ย ๆ เซลลท ี่ทําหนา ท่ีกําจดั ของเสียจะสมั ผัสกบั ส่ิงแวดลอ มโดยตรง สวนสตั ว
ชน้ั สูงทมี่ โี ครงสรางซบั ซอ น การกําจัดของเสียจะมีอวยั วะทท่ี าํ หนาท่เี ฉพาะ

ระบบขับถายของสัตวชนิดตาง ๆ มีดังตอไปนี้

รปู แสดงระบบขับถา ยของสัตวช นดิ ตาง ๆ

ชนดิ ของสตั ว 88
1. ฟองนา้ํ
2. ไฮดรา แมงกะพรุน โครงสรางหรอื อวยั วะขบั ถาย
- เยอื่ หุมเซลลเ ปนบรเิ วณทีม่ ีการแพรข องเสียออกจากเซลล
3. พวกหนอนตวั แบน เชน - ใชปาก โดยของเสียจะแพรไปสะสมในชองลําตัวแลวขับออกทาง
พลานาเรีย พยาธิใบไม
ปากและของเสียบางชนิดจะแพรทางผนังลําตัว
4. พวกหนอนตวั กลมมปี ลอ ง - ใชเฟลมเซลล (Flame Cell) ซึ่งกระจายอยูทั้งสองขางตลอดความ
เชน ไสเดือนดนิ
ยาวของลําตัว เปนตัวกรองของเสียออกทางทอซึ่งมีรูเปดออกขาง
5. แมลง ลาํ ตัว
- ใชเนฟรเิ ดยี ม (Nephridium) รับของเสียมาตามทอ และเปดออกมา
6. สัตวมกี ระดกู สันหลงั ทางทอซึ่งมีรูเปดออกขางลําตัว
- ใชทอ มัลพเิ กียน (Mulphigian Tubule) ซ่งึ เปน ทอ เลก็ ๆ จํานวนมาก
อยรู ะหวางกระเพาะกับลําไส ทาํ หนา ทด่ี ูดซึมของเสียจากเลือด
และสงตอไปทางเดินอาหาร และขับออกนอกลําตัวทางทวารหนัก
รวมกับกากอาหาร
- ใชไต 2 ขางพรอมดวยทอไตและกระเพาะปสสาวะเปนอวัยวะ
ขับถาย

ระบบสืบพนั ธใุ นสตั ว

6.1 ประเภทของการสืบพันธุของสัตว แบง ออกเปน 2 ประเภท ดงั น้ี
1. การสบื พนั ธแุ บบไมอาศัยเพศ (Asexual Reproduction) เปนการสบื พนั ธโุ ดยการผลติ หนว ย
สิ่งมชี วี ิตจากหนวยสางมชี วี ิตเดิมดว ยวิธกี ารตา ง ๆ ท่ีไมใ ชจ ากการใชเซลลส ืบพันธุ ไดแก การแตกหนอ
การงอกใหม การขาดออกเปนทอน และพารธีโนเจเนซิส
2. การสืบพันธแุ บบอาศัยเพศ (Sexual Reproduction) เปนการสืบพนั ธุทเี่ กดิ จากการผสมพันธุ
ระหวา งเซลลส บื พนั ธเุ พศผูและเซลลส บื พนั ธุเพศเมยี เกดิ เปนสง่ิ มชี ีวติ ใหม ไดแ ก การสบื พันธุของสตั ว
ชน้ั ตาํ่ บางพวก และสตั วช นั้ สงู ทุกชนิด
สัตวบางชนิดสามารถสืบพันธุทั้งแบบอาศัยเพศและแบบไมอาศัยเพศ เชน ไฮดรา การสืบพันธุ

แบบไมอาศัยเพศของไฮดราจะใชวิธีการแตกหนอ

89
6.2 ชนิดของการสืบพนั ธแุ บบไมอาศัยเพศ มหี ลายชนดิ ดงั น้ี
1. การแตกหนอ (Budding) เปน การสืบพนั ธทุ ่หี นวยสิง่ มีชวี ิตใหมเ จริญออกมาภายนอกของตวั
เดิมเรยี กวา หนอ (Bud) หนอทเ่ี กดิ ขนึ้ นี้จะเจรญิ จนกระท่งั ไดเปนสิ่งมชี วี ิตใหม ซ่งึ มีลักษณะเหมือนเดมิ
แตมีขนาดเล็กวา ซง่ึ ตอ มาจะหลุดออกจากตวั เดิมและเตบิ โตตอ ไป หรืออาจจะติดอยกู บั ตวั เดมิ กไ็ ด สัตวท ี่
มกี ารสบื พันธุลักษณะน้ีไดแก ไฮดรา ฟองนํา้ ปะการัง

รูปแสดงการแตกหนอของไฮดรา

2. การงอกใหม (Regeneration) เปน การสบื พันธุทม่ี ีการสรา งสว นของรางกายทห่ี ลดุ ออกหรือ
สญู เสียไปใหเปน สงิ่ มีชีวิตตวั ใหม ทําใหมจี าํ นวนสิ่งมชี ีวิตเพ่มิ มากข้นึ สตั วท ีม่ กี ารสบื พันธลุ กั ษณะนี้
ไดแก พลานาเรยี ดาวทะเล ซแี อนนโี มนี ไสเดือนดนิ ปลิงน้ําจืด

รูปแสดงการงอกใหมของพลานาเรียและดาวทะเล

3. การขาดออกเปน ทอ น (Fragmentation) เปน การสืบพนั ธโุ ดยการขาดออกเปน ทอน ๆ จากตัว
เดมิ แลว แตล ะทอ นจะเจรญิ เตบิ โตเปน ตวั ใหมไ ด พบในพวกหนอนตวั แบน

90
4. พารธ โี นเจเนซสี (Parthenogenesis) เปนการสืบพันธุของแมลงบางชนิดซึ่งตัวเมียสามารถผลิต
ไขท ี่ฟกเปน ตัวไดโ ดยไมต อ งมกี ารปฏิสนธิ ในสภาวะปรกติ ไขจ ะฟกออกมาเปน ตวั เมียเสมอ แตในสภาพ
ที่ไมเหมาะสมกับการดํารงชีวิต เชน เกิดความแหงแลง หนาวเย็น หรือขาดแคลนอาหาร ตัวเมียจะผลิตไข
ท่ฟี กออกมาเปน ทงั้ ตัวผูและตัวเมยี จากนน้ั ตวั ผูและตัวเมียเหลา น้จี ะผสมพันธกุ ัน แลวตัวเมยี จะออกไขที่มี
ความคงทนตอ สภาวะท่ไี มเหมาะสมดงั กลา ว แมลงท่มี กี ารสบื พันธลุ กั ษณะนี้ ไดแ ก ต๊กั แตนกงิ่ ไม เพล้ีย
ไรน้าํ ในพวกแมลงสงั คม เชน ผ้ึง มด ตอ แตน กพ็ บวา มีการสืบพนั ธใุ นลักษณะนเ้ี หมอื นกนั แตในสภาวะ
ปรกตไิ ขท ฟี่ กออกมาจะไดต วั ผูเสมอ
6.3 ชนดิ ของการสบื พนั ธแุ บบอาศยั เพศของสตั ว มี 2 ชนดิ ดงั น้ี
1. การสืบพนั ธขุ องสัตวท่ีมี 2 เพศในตวั เดยี วกนั (Monoecious) โดยทั่วไปไมสามารถผสมกัน
ภายในตวั ตอ งผสมขามตัว เนื่องจากไขและอสจุ ิจะเจรญิ ไมพ รอ มกนั เชน ไฮดรา พลานาเรีย ไสเ ดอื นดิน

รปู แสดงการสืบพนั ธแุ บบอาศยั เพศของไฮดราตัวออ นหลุดจากรงั ไข แลว เจรญิ เตบิ โตตอ ไป

2. การสืบพันธขุ องสตั วท ี่มเี พศผูและเพศเมยี แยกกนั อยูตา งตวั กัน (Dioeciously) ในการสบื พนั ธุ
ของสัตวชนดิ นมี้ ีการปฏิสนธิ 2 แบบ คือ

2.1 การปฏิสนธิภายใน (Internal Fertilization) คือ การผสมระหวา งตัวอสจุ กิ บั ไขท ี่อยูภายใน
รา งกายของเพศเมีย สตั วทีม่ กี ารปฏสิ นธแิ บบนี้ ไดแก สัตวทว่ี างไขบนบกทุกชนิด สตั วท่เี ล้ียงลูกดว ย
น้ํานม และปลาที่ออกลูกเปนตัว เชน ปลาเข็ม ปลาหางนกยูง ปลาฉลาม

2.2 การปฏสิ นธิภายนอก (External fertilization) คอื การผสมระหวางตวั อสุจิกับไขท อ่ี ยู
ภายนอกรา งกายของสตั วเ พศเมีย การปฏสิ นธแิ บบน้ีตอ งอาศัยน้าํ เปนตัวกลางใหตวั อสจุ เิ คลื่อนที่
เขาไปผสมไขไ ด สตั วที่มีการปฏิสนธแิ บบนี้ ไดแก ปลาตาง ๆ สัตวค รึง่ บกครงึ่ นาํ้ และสัตวท่ีวางไขในนาํ้
ทกุ ชนิด

91

กจิ กรรมการทดลอง โครงสรางลําเลียงน้ําและอาหารของพืช

จุดประสงคการทดลอง
1.ระบุสวนของพืชที่ใชในการลําเลียงน้ําและอาหารได

2. อธิบายกระบวนการการลําเลียงน้ําและอาหารในพืชได
วัสดอุ ปุ กรณ
1. ตนเทียนสูงประมาณ 20 เซนตเิ มตร 1 ตน
15 ซม.3
2. นํา้ หมึกสแี ดง

3. นา้ํ 1 ลติ ร

4. ขวดปากกวางสูงประมาณ 10-15 ซม. 1 ใบ

5. ใบมีดโกน 1 ใบ

6. สไลดและกระจกปดสไลด 1 ชุด

7. กลองจุลทรรศน 1 กลอ ง

8. หลอดหยด 1 อนั
วิธีดําเนนิ การทดลอง
1. ใสหมึกแดงประมาณ 15 ลูกบาศกเซนติเมตร ลงในขวดปากกวางที่มีน้ํา

2. นําตน เทียนที่ลางนาํ้ สะอาดแลว แชล งในขวดท่มี นี ํา้ หมึกสีแดง แลวนําไปไวกลางแดด

ประมาณ 20-30 นาที สังเกตการเปลี่ยนแปลง บันทกึ ผล

3. นําตนเทียนออกมาลางนาํ้ ใชใบมีดโกนตัดลําตนตามขวางตรงสว นทมี่ ลี ําตนอวบ ไมม กี ง่ิ ให

ยาวประมาณ 3 เซนตเิ มตร

4. นําสวนที่ตัดออกมาตัดตามขวางใหบางที่สุด แลวนําไปวางบนสไลด หยดน้ํา 1-2 หยด ปด ดว ย

กระจกปดสไลด นําไปสอ งดดู ว ยกลอ งจลุ ทรรศน สงั เกตวาดรปู ตาํ แหนง ทเ่ี ปนสีแดง และ

บนั ทึกผล

5. นําสวนที่ไดออกมาตัดตามยาวบางๆยาวประมาณ 0.5 เซนติเมตร แลว ดําเนนิ ตามขั้นตอน

เหมอื นขอ 4

92

หมายเหตุ
1. การถอนตนเทยี น ตอ งคอยๆถอนตนเทยี นท้งั ตน พยายามใหร ากตดิ มามากทส่ี ดุ แลว ลา งดิน

ออกทนั ทโี ดยการจับสายไปมาเบาๆ ในน้ํากอ นทีจ่ ะจุมลงในนํ้าหมึกสแี ดง
2. ผเู รยี นตองสงั เกตการณเ ปล่ียนแปลงภายในราก ลาํ ตนและใบอยา งละเอยี ด

ตารางบันทึกผล

ส่ิงท่ที ดลอง ภาพ ลกั ษณะท่สี ังเกตได

1.จมุ ตน เทียนลงในนาํ้ หมกึ

สแี ดง

2. เมอ่ื สอ ง ลาํ ตน ตดั ขวาง
ดว ยกลอ ง

จลุ ทรรศน ลาํ ตนตดั ยาว

93

……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………….…………………………...
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………


Click to View FlipBook Version