The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วิทยาศาสตร์ ม.ต้น พว21001 กศน.

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

วิทยาศาสตร์ ม.ต้น พว21001 กศน.

วิทยาศาสตร์ ม.ต้น พว21001 กศน.

294

รปู ก.การสะทอ นแสงบนวตั ถผุ วิ เรยี บ รูป ข. การสะทอนแสงผิวขรุขระ
กฎการสะทอ นแสง

1. รงั สีตกกระทบ เสนปกตแิ ละรังสสี ะทอนยอ มอยูบ นพนื้ ระนาบเดียวกัน
2. มุมในการตกกระทบยอมโตเทากับมุมสะทอน
การหกั เหของแสง (Refraction)
การหกั เห หมายถงึ การที่แสงเคล่ือนท่ีผา นตัวกลางหนงึ่ ไปยังอกี ตัวกลางหน่ึงทําใหแ นวลาํ แสงเกดิ การ
เบย่ี งเบนไปจากแนวเดมิ เชน แสงผานจากอากาศไปยังน้ํา ดังแสดงในรูป

รปู แสดงลกั ษณะการเกดิ หักเหของแสง
สง่ิ ท่ีควรทราบเกีย่ วกบั การหกั เหของแสง

- ความถี่ของแสงยังคงเทาเดิม สวนความยาวคลื่น และความเร็วของแสงจะไมเทาเดิม
- ทิศทางการเคลื่อนที่ของแสงจะอยูในแนวเดิมถาแสงตกต้ังฉากกบั ผิวรอยตอของตวั กลางจะไมอยใู น
แนวเดมิ ถาแสงไมตกตั้งฉากกับผิวรอยตอของตัวกลาง
ตัวอยางการใชประโยชนของการหักเหของแสง เชน แผน ปด หนาโคมไฟ ซงึ่ เปนกระจกหรือพลาสติก
เพื่อบังคับทิศทางของแสงไฟที่ออกจากโคมไปในทิศทางที่ตองการ จะเหน็ วา แสงจากหลอดไฟจะกระจายไป

295
ยังทุกทิศทางรอบหลอดไฟแตเมื่อผานแผนปดหนาโคมไฟแลว แสงจะมีทิศทางเดียวกัน เชนไฟหนารถยนต
รถมอเตอรไซด ดังรปู

แสงที่ผานโคมไฟฟาหนารถยนตมีทิศทางเดียวกัน
การกระจายแสง (Diffusion)

การกระจายแสง หมายถึง แสงขาวซึ่งประกอบดวยแสงหลายความถี่ตกกระทบปริซึมแลวทําใหเกิด
การหักเหของแสง 2 คร้งั (ที่ผิวรอยตอของปริซึม ทั้งขาเขา และขาออก) ทําใหแ สงสีตา ง ๆ แยกออกจากกัน
อยางเปนระเบียบเรียงตามความยาวคลื่นและความถี่ ที่เราเรียกวา สเปกตรัม (Spectrum)

รุงกนิ น้าํ เปนการกระจายของแสง เกดิ จากแสงขาวหกั เหผา นผวิ ของละ อองนํา้ ทาํ ใหแ สงสีตาง ๆ
กระจายออกจากกนั แลว เกดิ การสะทอ นกลับหมดท่ผี วิ ดา นหลงั ของละอองน้าํ แลว หกั เหออกสูอ ากาศ ทําให
แสงขาวกระจายออกเปนแสงสีตาง ๆ กัน แสงจะกระจายตัวออกเมื่อกระทบถูกผิวของตัวกลาง เราใช
ประโยชนจากการกระจายตัวของลําแสง เมื่อกระทบตัวกลางนี้ เชน ใชแผน พลาสติกใสปดดวงโคมเพือ่ ลด
ความจาจากหลอดไฟหรือ โคมไฟชนิดปดแบบตาง ๆ

296

ภาพรงุ กนิ นาํ้
การทะลุผาน (Transmission)

การทะลผุ า น หมายถึงการทีแ่ สงพงุ ชนตวั กลางแลว ทะลุผา นมนั ออกไปอกี ดานหนึง่ โดยที่ความถี่ไม
เปล่ียนแปลงวัตถุท่ีมคี ุณสมบตั ิการทะลุผา นได เชน กระจก ผลกึ คริสตลั พลาสตกิ ใส น้ําและของเหลวตาง ๆ
การดดู กลืน (Absorption)

การดดู กลนื หมายถงึ การที่แสงถูกดูดกลืนหายเขาไปในตัวกลางทั่วไปเมื่อมีพลังงานแสงถูกดูดกลืน
หายเขาไปในวัตถุใด ๆเชน เตาอบพลังงานแสงอาทิตย เครื่องตมน้ําพลังงานแสง และยังนําคุณสมบัติของการ
ดดู กลืนแสงมาใชใ นชวี ติ ประจาํ วนั เชน การเลอื กสวมใสเ ส้ือผาสขี าวจะดูดแสงนอ ยกวาสดี าํ จะเห็นไดวาเวลา
ใสเ สือ้ ผา สีดํา อยูกลางแดดจะทําใหรอนมากกวาสีขาว

การแทรกสอด (Interference)
การแทรกสอด หมายถงึ การทแ่ี นวแสงจาํ นวน 2 เสน รวมตวั กนั ในทศิ ทางเดยี วกนั หรอื หกั ลา งกนั

หากเปนการรวมกัน ของแสงที่มีทิศทางเดียวกัน ก็จะทําใหแสงมีความสวางมากขึ้น แตในทางตรงกันขามถา
หกั ลางกัน แสงก็จะสวา งนอ ยลด การใชประโยชนจากการสอดแทรกของแสง เชน กลองถายรูปเครื่องฉายภาพ
ตาง ๆ และการลดแสงจากการสะทอน สวนในงานการสองสวาง จะใชใ นการสะทอ นจากแผน สะทอ นแสง

3.8 เลนส
การเกิดภาพจากกระจกเงาและเลนส
กระจกเงาราบ คือ กระจกแบนราบ ซงึ่ มีดา นหนง่ึ สะทอ นแสง ดงั นั้นภาพทเ่ี กดิ ขน้ึ จงึ เปนภาพเสมอื น
อยูหลงั กระจก มีระยะภาพเทากับระยะวัตถุ และขนาดภาพเทากับขนาดวัตถุ ภาพทไี่ ดจะกลบั ดานกันจากขวา
เปนซายของวตั ถจุ รงิ

297

รปู แสดงการเกิดภาพจากกระจกเงาราบ
การหาจํานวนภาพที่เกิดจากกระจกเงาราบ 2 บาน วางทํามุมกัน หาไดจ ากสตู ร

กาํ หนดให
n = จํานวนภาพที่มองเห็น
θ = มุมที่กระจกเงาราบ 2 บานวางทํามุมตอกัน

ถา ผลลัพธ n ทไี่ ดไ มล งตวั ใหปดเศษขน้ึ เปนหนึ่งได
ตัวอยา งที่ 1 กระจกเงาราบ 2 บาน วางนํามุม 60 องศาตอกนั จงหาจาํ นวนภาพทเี่ กดิ ข้ึน
วธิ ีคดิ จากสตู ร

=5
= 5 ภาพ
จํานวนภาพที่เกิดจากกระจกเงาราบ 2 บานวางทํามุมตอกันเทากับ 5 ภาพ ตอบ
กระจกเงาผิวโคงทรงกลม
กระจกเงาผิวโคงทรงกลม มอี ยู 2 ชนิด คือ กระจกเวาและกระจกนูน
1. กระจกเวา คอื กระจกทใ่ี ชผวิ โคงเวาเปน ผวิ สะทอนแสง หรือกระจกเงาที่รังสีตกกระทบและรังสี
สะทอนอยูดา นเดียวกับจดุ ศนู ยกลางความโคง ดงั รูป

298

รูปแสดงรงั สีตกกระทบและรงั สีสะทอนของกระจกเวา
2. กระจกนูน คือ กระจกทใี่ ชผวิ โคง นูนเปนผิวสะทอ นแสง และรังสีสะทอ นอยูคนละดานกับจดุ
ศูนยกลางความโคง ดังรูป

รูปแสดงรังสีตกกระทบและรงั สสี ะทอนของกระจกนนู
ภาพทีเ่ กิดจากการวางวตั ถุไวห นากระจกโคงน้ันตามปกติมีทัง้ ภาพจริงและภาพเสมือน โดยภาพจรงิ
จะอยูหนากระจก และภาพเสมือนจะอยูหลังกระจก โดยกระจกเวาจะใหท ง้ั ภาพจรงิ และภาพเสมือน สําหรบั
ขนาดของภาพมีทั้งขนาดใหญกวาวัตถุ ขนาดเทาวัตถุ และขนาดเล็กกวาวัตถุ ทั้งนข้ี นึ้ อยูกับระยะวัตถุ สว น
กระจกนนู จะใหภ าพเสมอื นท่ีมีขนาดเล็กกวา วตั ถุทง้ั ส้ิน
หมายเหตุ ภาพ (image) เกิดจากการตัดกันหรือเสมือนตัดกันของรังสีของแสงที่สะทอนมาจากกระจกหรือ
หกั เหผา นเลนส แบง ไดเ ปน 2 ประเภท คือ
1. ภาพจริง เกดิ จากรงั สขี องแสงตดั กนั จรงิ เกดิ ดา นหนา กระจกหรอื ดา นหลงั เลนส ตองมีฉากมารับจึง
จะมองเห็นภาพ ลักษณะภาพหัวกลบั กบั วตั ถุ มที งั้ ขนาดใหญกวา วตั ถุ เทา กบั วัตถุ และเล็กกวา วตั ถุ ซ่ึงขนาด
ภาพจะสมั พันธก บั ระยะวตั ถุ เชน ภาพท่ีปรากฏบนจอภาพยนตร เปน ตน
2. ภาพเสมอื น เกดิ จากรงั สขี องแสงเสมอื นตดั กนั ทาํ ใหเ กดิ ภาพดา นหลงั กระจกหรอื ดา นหนา เลนส
มองเห็นภาพไดโดยไมตอ งใชฉ ากรบั ภาพ ภาพมีลักษณะหวั ตัง้ เหมือนวัตถุ เชน ภาพเกิดจากแวน ขยาย เปน ตน

299

ตารางแสดงตัวอยางประโยชนข องกระจกเวาและกระจกนนู
กระจกเวา กระจกนนู

1. ทันตแพทยใ ชส องดูฟนผูปว ย เพ่อื ใหเ หน็ ภาพของ 1. ใชตดิ รถยนตห รือรถจกั รยานยนตเ พ่ือดรู ถที่ตามมา

ฟน มขี นาดใหญก วา ปกติ ขางหลัง และจะมองเห็นมุมที่กวางกวากระจกเงาราบ

2. ใชใ นกลอ งจลุ ทรรศนเพอื่ ชวยรวมแสงใหตกท่ีแผน 2. ใชตดิ ตงั้ บริเวณทางเลยี้ วเพือ่ ชว ยใหเ ห็นรถท่วี ่งิ

สไลด เพ่อื ทาํ ใหเราเห็นภาพชดั ขน้ึ สวนทางหรือออมมาก็ได

เลนส
เลนส (lens) คือ วตั ถโุ ปรง ใสที่มีผิวหนาโคง ทาํ จากแกว หรือพลาสติก เลนสแ บงออกเปน 2 ชนดิ ไดแ ก
เลนสน นู และเลนสเ วา
เลนสน นู
เลนสน นู (convex lens) คอื เลนสที่มีลักษณะหนาตรงกลางและบางที่ขอบ ดังรูป

รูปแสดงลักษณะเลนสน นู

รูปแสดงสว นสําคญั และรงั สบี างรังสขี องเลนส

300

เลนสน ูนทําหนาทร่ี วมแสงขนานไปตัดกันทจี่ ุดๆ หนงึ่ ซึ่งแนวหรือทิศทางของแสงที่เขามายังเลนส

สามารถเขียนแทนดวยรังสีของแสง ถาแสงมาจากระยะไกลมากเรียกระยะนี้วา " ระยะอนันต"เชน แสงจาก

ดวงอาทิตยหรือดวงดาวตางๆ แสงจะสองมาเปนรังสีขนาน เม่ือรังสขี องแสงผานเลนสจ ะมีการหกั เหและไป

รวมกนั ทจ่ี ุดๆ หนงึ่ เรยี กวา "จดุ โฟกัส (F)" ระยะจากจดุ โฟกสั ถงึ กงึ่ กลางเลนส เรยี กวา "ความยาวโฟกัส ( f)"

และเสนตรงที่ลากผานจุดศูนยกลางความโคงของผิวทั้งสองของเลนสเรียกวา " แกนมุขสําคัญ ( principal

axis)"

ภาพทเ่ี กิดจากเลนสนูน หนึง่ ซึง่ มีทัง้ ภาพจริงและภาพเสมอื น
ภาพจากเลนสน ูนเปนภาพท่เี กดิ จากรังสหี ักเหไปพบกันทีจ่ ุดๆ
ข้นึ อยกู ับตาํ แหนง วัตถุท่วี างหนาเลนส ดังรปู

รปู แสดงตัวอยางภาพจรงิ และภาพเสมอื นทเี่ กดิ จากเลนสน ูน
(ก) การเกดิ ภาพเมอื่ วัตถอุ ยหู างเลนสนูนระยะไกลกวาความยาวโฟกัส

(ข) การเกดิ ภาพเมอ่ื วัตถอุ ยหู างจากเลนสน นู ท่รี ะยะใกลกวา ความยาวโฟกัส
รูปแสดงตวั อยา งการเกดิ ภาพท่ีตาํ แหนง ตางๆ ของเลนสน นู

301

เลนสเ วา
เลนสเ วา (concave lens) คือ เลนสที่มีลักษณะบางตรงกลางและหนาที่ขอบ ดังรูป

รูปแสดงลักษณะเลนสเ วาภาพทเี่ กดิ จากเลนสเวา
เม่ือแสงสอ งผานเลนสเ วา รงั สหี กั เหของแสงจะกระจายออก ดังรูป

รูปแสดงภาพทเี่ กิดจากเลนสเวา เมื่อวางวตั ถทุ ี่ระยะตางๆ
การหาชนิดและตาํ แหนง ของภาพจากวธิ กี ารคํานวณ
การหาตําแหนงภาพที่ผานมาใชวิธีเขียนแผนภาพของรังสี ยังมีอีกวิธที ีใ่ ชหาตาํ แหนง ภาพคอื วธิ คี าํ นวณ ซ่ึง
สตู รท่ใี ชใ นการคาํ นวณมดี งั ตอไปน้ี

สตู ร =

302

เม่อื m คือ กําลังขยายของเลนส
I คือ ขนาดหรือความสูงของภาพ
O คือ ขนาดหรือความสูงของวัตถุ

ในการคํานวณหาตําแหนงและชนิดของภาพจะตองมีการกําหนดเครื่องหมาย 1 และ 2 สําหรับปริมาณ
ตางๆ ในสมการดังนี้

1. s มีเครื่องหมาย + ถา วัตถุอยหู นาเลนส และ s มีเครื่องหมาย - ถาวตั ถุอยูห ลังเลนส
2. s' มีเครื่องหมาย + ถา วตั ถอุ ยหู ลงั เลนส และ s' มีเครื่องหมาย - ถาวตั ถุอยูหนาเลนส
3. f ของเลนสนูนมีเครื่องหมาย + และ f ของเลนสเวามีเครื่องหมาย –
ตวั อยา งที่ 2 วางวตั ถหุ า งจากเลนสน นู เปน ระยะ 12 เซนติเมตร ถา เลนสนูนมีความยาวโฟกัส 5 เซนตเิ มตร จะ
เกดิ ภาพชนดิ ใด และทต่ี าํ แหนง ใด

303

3.9 ประโยชน และโทษของแสง

ประโยชนข องแสง
แสงเปนพลังงานรปู หนงึ่ ซ่งึ ไมต องการท่ีอยู ไมม ีนํ้าหนัก แตสามารถทํางานได ในแสงอาทิตย มคี ลืน่

รงั สหี ลายชนดิ ตามทไ่ี ดก ลา วมาแลว ในตอนตน ประโยชนที่เราไดรับจากแสงอาทิตยมีอยู 2 สวนคอื ความ

รอ น และแสงสวา ง ในชีวิตประจําวัน เราไดรับประโยชนจากความรอน และแสงสวางของดวงอาทิตย
ตลอดเวลา แสงอาทิตยทําใหโลกสวาง เราสามารถทํากิจกรรมตางๆ ไดอยางสะดวก อาชีพหลายอาชีพตองใช
ความรอนของแสงอาทิตยโดยตรง แมตอนท่ดี วงอาทิตยตกดิน เราก็ยังไดร บั ความอบอนุ จากแสงอาทิตยที่พ้ืน
โลกดดู ซบั ไว ทําใหเราไมหนาวตาย ประโยชนของแสงสามารถแบงไดเปน 2 ทาง คือ ประโยชนทางตรง
และประโยชนทางออม

แสงแดดชว ยทําใหผา ท่ตี ากแหง เร็ว การทาํ นาเกลือ

1. ประโยชนจากแสงทางตรง เชน การทํานาเกลือ การทําอาหารตากแหง การตากผา การฆา เช้ือ
โรคในนาํ้ ด่ืม ตองอาศัยความรอนจากแสงอาทิตย การแสดงหนังตะลุง และภาพยนตร ตอ งใชแ สงเพอ่ื ทํา
ใหเ กดิ เงาบนจอ การมองเห็นก็ถือเปนการใชประโยชนจากแสงทางตรง

2. ประโยชนจากแสงทางออม เชน ทาํ ใหเ กิดวฏั จกั รของน้ํา (การเกดิ ฝน) พชื และสตั วที่เรา
รับประทาน ก็ไดรับการถายทอดพลังงานมาจากแสงอาทิตย
โทษของ แสง

1. ถาเรามองดูแสงที่มีความเขมมากเกินไปอาจเกิดอันตรายกับดวงตาได
2. เมอ่ื แสงทีม่ ีความเขม สงู โดนผวิ หนงั เปนเวลานาน ๆจะทําใหผิวหนังไหมแ ละอาจเปนม ะเรง็

ผวิ หนงั ได
3. เมื่อแสงจากดวงอาทิตยสองลงมาบนโลกมากเกินไป ทําใหเกิดภาวะโลกรอน และเปน อนั ตราย

แกสิง่ มีชวี ิตได

304

เรื่องท่ี 5 พลงั งานความรอ นและแหลงกาํ เนิด

กิจกรรมการทดลอง เรอ่ื ง เมอื่ แสงผานเลนส

จดุ ประสงค เมอ่ื จบการทดลองนี้แลว ผูเรียนสามารถ
1. บอกไดวาเมือ่ แสงผานเลนสนูน รงั สีหกั เหจะเบนเขา หากัน
2. บอกไดว าเมอ่ื แสงผา นเลนสเวา รังสีหักเหจะเบนออกจากกัน
3. บอกไดว า แวน ขยายทาํ หนา ทร่ี วมแสง
4. ใชแ วนขยายสอ งดสู ่งิ ตางๆ ได

แนวความคิดหลกั
1. เลนสน นู มสี มบตั ริ วมแสง
2. เลนสเ วา มสี มบัตกิ ระจายแสง
3. แวนขยายมเี ลนสน ูนเปนสว นประกอบที่สําคญั ทําหนาที่รวมแสง และใชส อ งดวู ตั ถขุ นาดเลก็ ให
มองเห็นภาพขนาดขยายได

อุปกรณการทดลอง

1. กระดาษขาว 2. เลนสน นู
3. เลนสเ วา 4. กลองแสง
5. หมอแปลงไฟฟา โวลตตา่ํ 6. สายไฟพรอ มขั้วเสียบ

305

7. แผนชอ งแสงที่ใหลาํ แสง 1 ลํา 8. แผน ชอ งแสงทีใ่ หลําแสง 5 ลาํ
9. แวน ขยาย

ขน้ั ตอนการทดลอง

1. วางเลนสน นู บนกระดาษขาวซง่ึ อยบู นโตะ โดยวางดานราบลงบนกระดาษ แลวลากเสนรอบเลนสบน
กระดาษ

2. นาํ แผนชองแสงทใ่ี หลําแสง 5 ลาํ เสยี บทช่ี องของกลอ งแสง แลวตอกลองแสงกับหมอแปลงไฟโวลตต ํ่า
ขนาด 12 โวลต จากนน้ั วางกลอ งแสงหา งเลนสน นู พอสมควร

3. ใชด นิ สอจดุ บนแนวลาํ แสง แลว ขดี เสน แสดงแนวรงั สตี กกระทบ และรงั สหี กั เห
4. ทําซ้ําโดยเปลี่ยนมุมของแนวรังสีตกกระทบ เขียนแนวรงั สตี กกระทบ และรังสหี ักเห

5. จดั ลาํ แสง 5 ลาํ จากกลองแสงใหผา นเลนสนูน สังเกตแนวลําแสงที่ผานเลนสน ูน เขียนรังสีตกกระทบ
และรังสีหักเหแทนลําแสงทั้งสาม
6. ทาํ ซํ้าขอ 5 แตเ ปลย่ี นเลนสน นู เปน เลนสเ วา และเปลย่ี นกระดาษขาวเปน แผน ใหม

7. เปรียบเทียบแนวลําแสงทั้งหาทผี่ า นเลนสน นู และเลนสเวา

8. เม่ือสองแสงผา นเลนสน นู หรือเลนสเวา แลว จากนั้นลองทดสอบโดยใชแวนขยายรับแสงอาทิตยโดยเริ่ม

306

จากใหแ วน ขยายอยหู า งพนื้ 2 เซนติเมตร เพม่ิ ระยะหา งมากขึน้ เร่ือยๆ สังเกตความสวางบนพื้น

9. ปรับความสูงของแวนขยายจนไดความสวางบนพื้นสวางมากที่สุด ทําเชนนซ้ี ้าํ อกี คร้งั แตเ ปลย่ี นเปน เลนส
เวา

10. ใชแ วน ขยายสอ งดตู วั หนงั สอื ปรับระยะหางระหวาง แวนขยายกับตัวหนังสือ สังเกตการณ
เปลี่ยนแปลงของภาพตัวหนังสือที่มองผานแวนขยาย

ผลการทดลอง เลนสเ วา

1. จงวาดรปู รังสแี สงเมื่อผานเลนสน นู และเลนสเวา
เลนสน นู

2. เมื่อนําแวนขยายไปรับแสงอาทิตย จะปรากฏภาพอยางไร
…………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………….
สรุปผลการทดลอง
…………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………….

307

การทดลอง เร่อื งแยกสีของแสงดวงอาทิตย

จุดประสงคการทดลอง
เมอ่ื จบการทดลองนแี้ ลว ผูเรยี นสามารถทดลอง และสรุปถึงแสงสีที่ประกอบเปนแสงอาทิตยได
แนวความคดิ หลัก
แสงอาทิตยประกอบดวยแสงสีตางๆ
อปุ กรณการทดลอง

1. ปริซมึ สามเหลย่ี ม

2. ฉากขาว
3. อางนํา้
4. กระจกเงา

308
ขนั้ ตอนการทดลอง
1. นําปริซึมสามเหลี่ยมมารับแสงอาทิตย จัดมุมรับแสงใหเหมาะสมจนเกิดแสงสีตางๆ บนฉาก สังเกตแสงที่

ผานปริซมึ ออกมา บันทึกผล

2. มองผานปริซึมโดยวางปริซึมใหชิดตา และมองดานขางของแทงปริซึม โดยหันไปทางที่สวาง หามมองไปที่
ดวงอาทิตย บนั ทกึ ผลสง่ิ ทีส่ ังเกตได

3. เทนาํ้ ใสลงในอา งจนเกอื บเต็ม แลวนํากระจกเงาราบจุมลงในน้ําทั้งแผน โดยกระจกพิงกับขอบอาง

4. นําอางน้ําไปวางรับแสงแดด ขยับกระจกไปมา เพ่อื ใหอ ยูในตําแหนง ที่เหมาะสม ทีจ่ ะใหแสงอาทติ ยตก
กระทบ แลวสะทอนกลับขึ้นมาปรากฏเปนแถบสีตางๆ บนแผนกระดาษขาวท่ีรับแสงอยเู หนอื อา ง

309

ผลการทดลอง สิง่ ท่สี ังเกตได

การทดลอง
1. เมื่อนําปริซึมรับแสงจากดวงอาทิตย

2. เม่อื มองผา นปรซิ มึ

3. เมื่อมองที่ฉากขาว

สรุปผลการทดลอง
…………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………….

การทดลองเรอ่ื ง การเกิดรงุ กินนาํ้

จดุ ประสงคก ารทดลอง เมอ่ื จบการทดลองนี้แลวผูเรียนสามารถ
1. ทดลองและสรปุ เกยี่ วกบั การเกิดรุงได
2. บอกไดว า เราจะเหน็ รงุ ได ตอ งหนั หลงั ใหด วงอาทติ ยเ สมอ

แนวความคิดหลัก

รงุ กนิ นํ้าเกดิ ไดเ มื่อมีแสงอาทติ ยผานละอองน้ําจาํ นวนมาก และเกดิ กอ นหรอื หลงั ฝนตก
อปุ กรณการทดลอง
กระบอกฉีดน้ําบรรจุน้ําประมาณครึ่งกระบอก

310
ข้ันตอนการทดลอง
1. ออกไปกลางแจง ยนื หนั หนา ใหด วงอาทติ ย แลว ฉีดน้าํ จากกระบอกนํ้า(บรรจุน้ําประมาณครึ่งกระบอก) ให
เปน ละอองฝอย สงั เกตและบันทึกผล

2. หลงั จากนน้ั ยนื หนั หลงั ใหด วงอาทติ ยแ ลว ฉดี นาํ้ สังเกตละอองนํา้ ทฉ่ี ดี แลวบนั ทึกผล

ผลการทดลอง
……………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………….
สรปุ ผลการทดลอง
…………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………….

311

การทดลอง เรอ่ื งการเกดิ เงา
จดุ ประสงคการทดลอง เม่อื จบการทดลองนแ้ี ลว ผเู รียนสามารถ

1. อธิบายการเกิดเงาจากการทดลองได
2. บอกความสัมพันธระหวางวัตถุกับเงาจากการทดลองได
3. นําความรูเรื่องเงาไปใชประโยชนได
แนวความคิดหลัก
1. เมื่อมีวัตถุมากั้นทางเดินของแสง แลวแสงไมส ามารถผานวตั ถไุ ปอกี ดานหนงึ่ ทําใหเ กดิ บรเิ วณมืดบน
ฉาก ซึ่งเรียกวา เงา
2. รูปรางของเงาขึ้นอยูกับรูปรางของวัตถุที่ทําใหเกิดเงา
3. เงาเปลย่ี นขนาดและตาํ แหนง ได
4. ถาเงามีแสงตกกระทบบางเรียกวา เงามัว
5. ถาเงาไมมีแสงตกกระทบเลยเรียกวา เงามืด
อุปกรณก ารทดลอง

1. วัตถุรูปทรงตางๆ (พลาสติกทรงส่ีเหลยี่ ม, กระจกฝา, ดินนาํ้ มัน, แทงพลาสติก, ถานไฟฉาย,
ลกู บอล)

2. ฉากรับแสง
3. กลองแสง
4. หมอ แปลงไฟฟาโวลตต ํา่
5. สายไฟพรอ มขัว้ เสียบทัง้ 2 ปลาย

312
ขั้นตอนการทดลอง.

1. วางกลองแสงและฉากบนโตะใหหางกันประมาณ 15-20 เซนตเิ มตร ดงั รปู เมอื่ กลอ งแสงทํางาน สงั เกต
ความสวางบนฉาก

2. นําลูกบอลมาวางระหวางกลองแสงกับฉาก โดยใหอ ยใู นแนวเดยี วกบั หลอดไฟในกลอ งแสงและฉาก
สังเกตความสวางบนฉาก

3. คอ ยๆ เลื่อนลูกบอลจากกลองแสงเขาหาฉาก สังเกตความสวางบนฉาก
4. จัดลูกบอลใหหางจากฉากประมาณ 10 เซนตเิ มตร แลวคอยเลื่อนฉากเขาหาลูกบอล

สังเกตความสวางบนฉาก

5. ทําซ้าํ ขอ 2 ถงึ ขอ 4 แตเ ปลีย่ นลูกบอลเปนทรง
ส่ีเหลยี่ มผนื ผา

313

ผลการทดลอง
………………………………………………………………………………………………………….………
………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………….……
………………………………………………………………………………………………………………….

สรปุ ผลการทดลอง
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………..…….
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………..…….

314

การทดลอง เรอื่ งตากับการมองเห็น

จุดประสงคการทดลอง เมอ่ื จบการทดลองน้ีแลว ผเู รยี นสามารถ
1. บอกสวนประกอบของตาที่เกี่ยวของกับการมองเห็นได
2. ระบุหนาที่ของสวนประกอบของตาที่เกี่ยวของกับการมองเห็นได
3. สรุปจากการทดลองไดวา การมองดวยตา 2 ขาง ทําใหกะระยะไดดีกวาการมองดวยตาขางเดียว
4. บอกความสําคัญ และวธิ รี ะวงั รกั ษาตาได

แนวความคิดหลกั
1. สวนประกอบทีส่ าํ คัญของตาที่เกยี่ วกับการมองเห็นไดแ ก กระจกตา มา นตา รมู า นตา เรตนิ า
2. ดวงตามีความสําคัญตอการมองเห็น จึงตอ งระวงั รกั ษา

อุปกรณก ารทดลอง
1. ภาพประกอบเรื่อง สวนประกอบของตา
2. ดนิ สอ 2 แทง

ขั้นตอนการทดลอง
1. จับคูเพ่อื สังเกตนัยนตาของเพ่ือน
2. จากนั้นเปรียบเทียบกับภาพสวนประกอบของนัยนตา
3. ครงั้ ที่ 1 ใหผ เู รียนปด ตาซา ย แลว พยายามเคลอ่ื นดนิ สอ 2 แทง ท่อี ยูหางกนั ประมาณ 10
เซนติเมตร มาชนกัน โดยพยายามใหปลายดินสอชนกันบนั ทึกผล

4. คร้งั ที่ 2 ปดตาขวา และทําซ้ําเชนเดียวกับขอที่ 3 บันทกึ ผล
5. และครงั้ ท่ี 3 เปดตาทั้งสองขาง และทดลองซ้ําเชนเดียวกับขอ 3 และขอ 4 สงั เกตและบนั ทึกผล

315

ผลการทดลอง
………………………………………………………………………………………………………….………
………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………….……
………………………………………………………………………………………………………………….

สรปุ ผลการทดลอง
…………………………………………………………………………………………………………..………
………………………………………………………………………………………………………….……….
…………………………………………………………………………………………………………..………

316

แบบฝก หดั บทท่ี 12

คําชแ้ี จง ใหนักเรยี นเลอื กคําตอบ ก. ข. ค. หรอื ง. ทถ่ี กู ทส่ี ุดเพยี งคาํ ตอบเดยี ว เสรจ็ แลวใหค ลกิ ท่ปี ุม ตรวจ
แบบทดสอบ ที่อยูดานลาง
1. พลังงานในขอใด จดั เปน พลังงานสะอาด
ก. พลังงานจากถานหิน ข. พลังงานแสงอาทิตย
ค. พลังงานจากน้าํ มันเชื้อเพลิง ง. พลังงานชีวภาพ
2. ขอใด คอื องคประกอบของแสงอาทิตย
ก. ความรอ น ข. แสง
ค. ฝุน ละออง ง. ขอ ก. และขอ ข. ถกู
3. เซลลส ุรยิ ะ ทําหนาท่อี ยางไร
ก. เปลี่ยนพลงั งานไฟฟา เปน พลงั งานกล ข. เปลี่ยนพลังงานแสงอาทิตย เปนพลังงานกล
ค. เปลี่ยนพลังงานแสงอาทิตย เปนพลังงานไฟฟา ง. เปลี่ยนพลังงานกล เปนพลังงานไฟฟา
4. อาชพี ใด ใชประโยชนจ ากแสงโดยตรง
ก. ทํานาเกลอื ข. คาขาย
ค. ทาํ ประมง ง. เลี้ยงสัตว
5. ถา หองเรยี นมืด นกั เรียนควรทําส่งิ ใดเปนอันดับแรก
ก. เปดไฟฟา ข. เปดประตู หนา ตา ง
ค. กอไฟ ง. ออกไปเรยี นนอกหอ ง
6. การแสดงในขอ ใด เกยี่ วของกบั แสงมากท่สี ุด
ก. ลาํ ตดั ข. ฟอนราํ
ค. เพลงบอก ง. หนงั ตะลงุ
7. พชื ใชแ สงแดดปรงุ อาหาร -> สตั วก นิ พชื -> มนษุ ยก ินสตั ว ขอความนี้แสดงถึงเรื่องใด
ก. กฎธรรมชาติ ข. การแกแ คน
ค. ความสมดลุ ง. การถายทอดพลังงาน

317

8. ขอใด ไม ควรปฏบิ ัติ
ก. เอานวิ้ ชีร้ ุงกนิ นํา้ ข. เลน เงาจากตะเกยี ง หรอื หลอดไฟ
ค. จองมองดวงอาทติ ยน าน ๆ ง. ทาครีมกันแดด เมื่อไปเที่ยวชายทะเล
9. พลังงานแสง สามารถเปล่ยี นเปน พลงั งานรปู ใดได
ก. พลังงานกล ข. พลังงานไฟฟา
ค. พลงั งานเสียง ง. พลังงานลม
10. ขอ ใด กลา วถกู ตอ ง
ก. พลังงานแสงอาทิตย ไมสรางมลภาวะ ข. ดวงอาทิตยสงแสงเฉพาะกลางวันเทานั้น
ค. โลกเปนดาวดวงเดยี ว ท่แี สงอาทติ ยสองมาถึง ง. แสงอาทิตยฆาเชื้อโรคไมได

เฉลยแบบทดสอบบทท่ี 12 เรื่องงานและพลงั งาน

1. ข 2. ข 3. ค 4. ก 5. ข 6. ง 7. ง 8. ค 9. ข 10. ก

318

บทที่ 13
ดวงดาวกบั ชีวิต

สาระสําคัญ
กลุมดาวจักราศีตาง ๆ การสังเกตตําแหนงดาวฤกษ และหาดาวจากแผนที่ ตลอดจนการใชประโยชน

จากกลุมดาวฤกษ
ผลการเรียนรูท ค่ี าดหวัง

1. ระบุชื่อของกลุมดาวจักรราศีได
2. อธบิ ายวธิ กี ารหาดาวเหนอื ได
3. อธิบายการใชแผนที่ดาวได
4. อธิบายประโยชนจากกลุมดาวฤกษตอการดํารงชีวิตประจําวันได
ขอบขายเนื้อหา
เรอ่ื งที่ 1 กลุมดาวจักรราศี
เร่อื งที่ 2 การสังเกตตําแหนงของดาวฤกษ
เรอื่ งที่ 3 วธิ กี ารหาดาวเหนอื
เรื่องที่ 4 แผนทด่ี าว
เร่ืองท่ี 5 การใชประโยชนจากกลุมดาวฤกษ

319

เร่อื งที่ 1 กลุมดาวจักรราศี

ความหมายของ ดาวฤกษ
ดาวฤกษ (Star) หมายถึง ดาวซ่งึ มีแสงสวางในตัวเอง ผลิตพลังงานไดเองโดยการเปลี่ยนมวลสาร

สว นหนง่ึ (m) ณ แกนกลางของดาวใหเปนพลังงาน (E) ตามสมการ E = mc2 ของไอนส ไตน เมื่อ c เปน อตั ร
เรว็ ของ แสงซงึ่ สงู เกือบ 300,000 กิโลเมตรตอวินาที การเปลี่ยนมวลเปนพลังงานของดาวฤกษเกิดขึ้นภายใต
อุณหภูมิท่ีสงู มากเปน 15 ลานเคลวนิ ในการหลอมไฮโดรเจนเปน ฮเี ลยี่ ม จงึ เรยี กวา ปฏกิ ิรยิ าเทอรโม
นวิ เคลยี รดาวที่ผลิตพลังงานเชนนี้ไดตองมีมวลมากมหาศาล ดาวฤกษจึงมีมวลสารมาก เชนดวงอาทิตยที่มี
มวลประมาณ 2,000 ลานลา นลานลา นตัน ซงึ่ คิดเปน มวลกวา98% ของมวลของวัตถุในระบบสุริยะ ดาวฤกษ
ดวงอน่ื ๆ อยไู กลมาก แมจะสองมองดวยกลองโทรทรรศนขนาดใหญก็มองเห็นเปนเพียงจุดแสง ดาวฤกษ
เพื่อนบานของเรามีชื่อวา “แอลฟา เซนทอรี” (Alpha Centauri) เปนระบบดาวฤกษสามดวง โคจรรอบกัน
และกนั อยูในกลุมดาวคนครึง่ มา ดวงท่อี ยูใ กลกับดวงอาทติ ยม ากทส่ี ุดชอ่ื “พรอ กซมิ า เซนทอรี ”
(Proxima Centauri) อยหู า งออกไป 40 ลา นลานกโิ ลเมตร หรือ 4.2 ปแสง (1 ปแสง = ระยะทางซึ่งแสงใช
เวลา เดนิ ทาง นาน 1 ป หรอื 9.5 ลา นลานกิโลเมตร) ดาวฤกษบางดวงมีดาวเคราะหโคจรลอมรอบ
เชน เดียวกบั ดวงอาทิตยของเรา เราเรียกระบบสุริยะเชน นี้วา “ระบบสรุ ยิ ะอน่ื ” (Extra solar system)
ความสมั พนั ธร ะหวางโลก และดวงอาทิตย

ดวงอาทติ ย (The Sun) เปน ดาวฤกษใกลโ ลกท่ีสุดอยูตรงกลางระบบสุริยะ มีดาวเคราะหเปนบริวาร
โคจรลอมรอบ อุณหภมู ิท่ีแกนกลางของดวงอาทิตยสูงถึง 15 ลา นเควิน สูงพอท่นี ิวเคลียสของไฮโดรเจน 4
นวิ เคลยี สจะหลอมรวมกนั เปน นวิ เคลยี สฮเี ลยี ม 1 นวิ เคลียส อุณหภมู พิ น้ื ผวิ ลดลงเปน 5,800 เคลวนิ ดวง
อาทิตยมีขนาดเสนผานศูนยกลาง 1.4 ลา นกโิ ลเมตร (ประมาณ 109 เทาของโลก)

โลกเปนดาวเคราะหดวงหนึ่งในระบบสุริยะและโคจรรอบดวงอาทิตยเปนวงรี โดยมีระยะทางเฉลี่ย
หางจากดวงอาทิตย 149,597,870 กิโลเมตร และใชเวลาในการโคจรรอบดวงอาทิตย 1 ป เมอ่ื สงั เกตจาก
พื้นโลกจะเห็นดวงอาทิตยขึ้นทางดานทิศตะวันออกและตกทาง ดา นทิศตะวันตกทุกวนั ทงั้ น้ีเนือ่ งจากโลกมี
การหมนุ รอบตวั เอง รอบละ 1 วนั อยางไรก็ตามหากติดตามเฝาสังเกตการขึ้น – ตก ของดวงอาทิตยเปน
ประจําจะพบวา ในรอบ 1 ป ดวงอาทติ ยจ ะปรากฏข้ึน ณ จดุ ทศิ ตะวนั ออก และตก ณ จุดทศิ ตะวันตกพอดี
เพยี ง 2 วันเทา นั้น คอื วันท่ี 21 มีนาคม และวันท่ี 23 กันยายน สว นวนั อน่ื ๆ การข้ึน – ตกของดวงอาทิตย
จะเฉียงคอนไปทางทิศเหนือหรือทางทิศใตบาง โดยในวันที่ 21 มิถุนายน ดวงอาทิตยจะขึ้นทางทิศ
ตะวันออกคอนไปทางทิศเหนือมากทสี่ ดุ และตกทางทิศตะวันตกคอนไปทางทิศเหนือมากที่สุด และในวันที่
22 ธันวาคม ดวงอาทิตยจะขึ้นทางทิศตะวันออกคอนไปทางทิศใตมากทส่ี ดุ และตกทางทิศตะวันตกคอนไป
ทางทิศใตมากที่สุด ดงั แสดงในภาพท่ี 1

320

ภาพท่ี 1 ตาํ แหนง การขน้ึ – ตกของดวงอาทิตยเปลี่ยนแปลงไปทุกวันในรอบป
การท่ีตาํ แหนงการขึ้น – ตกของดวงอาทิตยเปลี่ยนแปลงไปทุกวันในรอบป เนื่องจากการที่โลก
โคจรรอบดวงอาทิตยใน 1 ปน นั่ เอง โดยเม่ือสงั เกตจากโลกจะสังเกตเห็นดวงอาทติ ยเ คลื่อนยายตําแหนงไป
ในทิศทางเดียวกับทิศทางที่โลกโคจรรอบดวงอาทิตย นั้นคือเคลื่อนยายไปทางทิศตะวันออก ตามกลุมดาว
12 กลมุ ท่เี รียกวา กลมุ ดาวจัก รราศี (Zodiac) ตามภาพที่ 2 ไดแก กลมุ ดาว แกะหรอื เมษ (Aries) ววั หรอื
พฤษภ (Taurus) คนคูห รือมถิ ุน (Gemini) ปหู รอื กรกฏ (Cancer) สงิ โตหรอื สิงห (Leo) ผหู ญิงสาวหรอื กนั ย
(Virgo) คนั ชัง่ หรือตลุ (Libra) แมงปองหรือพฤศจกิ (Scorpius) คนยงิ ธนหู รอื ธนู (Sagittarius) แพะทะเล
หรอื มกร (Capricornus) คนแบกหมอ นาํ้ หรอื กุมภ (Aquarius) และปลาหรือมนี (Pisces) ดวงอาทิตยจะ
ปรากฎยายตําแหนงไปทางตะวันออก ผา นกลุมดาวเหลา นี้ ทาํ ใหผ ูสังเกตเห็นดาวตาง ๆ บนทองฟาขน้ึ เรว็
กวา วนั กอ นเปน เวลา 4 นาทีทุกวัน ซึ่งหมายความวาใน 1 วนั ดวงอาทติ ยจ ะมกี ารเลื่อนตําแหนง ไป 1
องศาหรือรอบละ 1 ปนนั่ เอง

321

ภาพท่ี 2 กลุมดาว 12 กลุม ในจกั รราศีและการโคจรของโลกรอบดวงอาทิตยทําใหผูสังเกต
เห็นดวงอาทิตยยายตําแหนงไปตามกลุมดาว จกั รรราศี

ทางเดินปรากฏของดวงอาทิตยผ านกลุม ดาวจกั รราศี เรยี กวา “สรุ ยิ วถิ ี (Ecliptic)” ตาํ แหนง ของดวง
อาทิตยบนเสนสุรยิ วถิ ี ณ วันที่ 21 มีนาคม เรยี กวา จดุ “วสนั ตวษิ วุ ตั (Vernal Equinox)” สว นตาํ แหนง ณ
วนั ที่ 23 กนั ยายน เรียกวาจุด “ศารทวษิ ุวัต (Autumnal Equinox)” เมอ่ื ดวงอาทติ ยอยู ณ ตําแหนง ท้ังสอง
ดังกลาวนี้ ดวงอาทิตยจะขึ้นทางทิศตะวันออกและตกทางทิศตะวันตกพอดี และชวงเวลากลางวันจะเทากับ
กลางคืนเสนทางขน้ึ -ตกของดวงอาทิตยใ นวนั วษิ วุ ัต เรียกวา “เสนศูนยส ูตรทองฟา C(elestial Eguator)”

ตําแหนง ของดวงอาทติ ยบนเสน สรุ ยิ วถิ ี ณ วันท่ี 21 มถิ ุนายน เรียกวาจุด “คริษมายัน (Summer
Solstice)” ตําแหนง ดงั กลา ว ดวงอาทิตยจ ะข้นึ และตกคอ นไปทางเหนอื มากทสี่ ุด ในซีกโลกเหนอื ชวงเวลา
กลางวนั จะยาวกวา กลางคนื และจะเปน ชว งฤดรู อ น(Summer) ตําแหนงของดวงอาทิตยบนเสนสุริยวิถี ณ วนั ที่
22 ธนั วาคมเรียกวา จุด “เหมายนั (Winter Solstice)” ตําแหนงดังกลาว ดวงอาทิตยจะขึ้นและตกคอนไปทาง
ใตม ากทส่ี ดุ ในซกี โลกเหนอื ชว งเวลากลางคนื จะยาวกวา กลางวนั และจะเปน ชว งฤดหู น(าWว inter)

ฤดูกาลเกิดขึ้นเนื่องจากแกนของโลกเอียงทํามุม23.5 องศากับเสน ตั้งฉากของระนาบวงโคจรของโลก
รอบดวงอาทิตย และขณะทโ่ี ลกโคจรรอบดวงอาทิตย ณ วันท2ี่ 1 มถิ ุนายน ซีกโลกเหนือจึงเปนฤดรู อนและ
ซีกโลกใตจงึ เปน ฤดหู นาว ในทางกลับกัน ณ วนั ท่ี 22 ธนั วาคม ซกี โลกใตก ลบั เปน ฤดูรอ น ในขณะทซ่ี กี
โลกเหนอื เปน ฤดหู นาวดงั แสดงในภาพท่ี 3 การเกิดฤดูกาลเปนผลเนื่องมาจากแตละสวนบนพ้ืนโลกรบั
พลังงานความรอนจากดวงอาทิตยไมเทากันในรอบป

ภาพที่ 3 : แกนของโลกเอียงทํามุม 23.5 องศากับเสน ตั้งฉากของระนาบวงโคจรของโลกรอบดวงอาทิตย
จงึ ทําใหเกิดฤดูกาลบนพนื้ โลก

322
แสงอาทิตยเ มอ่ื สอ งมากระทบวตั ถจุ ะทาํ ใหเ กดิ“เงา(Shadow) ” ถาเอาแทงไมยาว ปกตั้งฉากบนพรื้นาบ
เมื่อแสงอาทิตยสองตกกระทบ จะปรากฏเงาของแทงไมดังกลาวทอดลงบนพื้น และหากสังเกตเงาเปน
เวลานาน จะเห็นเงามีการเปลี่ยนแปลงทั้งความยาวและทิศทางของเงาที่ทอดลงบนพื้น
พิจารณาภาพท่ี 4 เมื่อดวงอาทิตยขึ้นในตอนเชาดานทิศตะวันออก เงาของแทงไมจะทอดยาวไป
ทางดานทิศตะวันตก ขณะที่ดวงอาทิตยเคลื่อนที่สูงขึ้นจากขอบฟาเงาของแทงไมจะหดสั้นลงและเงาเริ่มเบน
เขา สทู ศิ เหนอื จนเมอ่ื ดวงอาทติ ยป รากฏอยูบนแนวเมริเดยี น (ตําแหนงสูงสุดของดวงอาทิตยบนทองฟาในแต
ละวนั ) เงาของแทงไมจะปรากฏส้นั ท่สี ุด และชใ้ี นแนวทศิ เหนอื – ใตพ อดี ในชว งบายดวงอาทติ ยเ คลอ่ื นท่ี
ไปทางทิศตะวันตก เงาของแทงไมจะปรากฏยาวขึ้นและเริ่มเบนออกจากทิศเหนือสูแนวทิศตะวันออก

ก. ข.

ภาพท่ี 4 (ก) การเปลีย่ นแปลงของเงาของแทงไม เม่อื ดวงอาทติ ยอยู ณ ตําแหนงตา ง ๆ
บนทอ งฟา (ข) เรขาคณิตของการทอดเงาของแทงไมบนพื้น

เนอ่ื งจากตาํ แหนงการขึ้น – ตกของดาวอาทติ ยแ ตล ะวัน แตกตา งกนั ไปในรอบป ดงั นนั้ การทอดเงา
ของแทงไมในแตละวันจึงไมซอนทับแนวเดิม และมีความยาวของการทอดเงาไมเทากัน อยางไรก็ตาม ชวงที่
ดวงอาทติ ยอ ยบู นแนวเมรเิ คยี นในแตละวนั เงาของแทง ไมย ังคงสั้นทีส่ ดุ และทอดอยใู นแนวทิศเหนอื – ใต
เสมอ นอกจากน้ยี งั พบวา มีบางวนั ในรอบปท ดี่ วงอาทติ ยมีตาํ แหนงอยเู หนอื ศรี ษะพอดี เมอื่ ดวงอาทติ ยปรากฏอยู
ในแนวเมรเิ คียน อาทิ เชน ที่จงั หวดั เชยี งใหม ดวงอาทิตยมีตําแหนงเหนือศีรษะพอดี ในว15นั ทพ่ี ฤษภาคม และ
วนั ที่ 30 กรกฎาคม ณ เวลาประมาณเท่ยี งวนั และในวนั และเวลาดังกลา วนีว้ ัตถุจะไมปรากฏเงาทอดลงบนพืน้ เลย
ท่ีกรงุ เทพฯ ดวงอาทติ ยอยูเหนือศีรษะเวลาเทีย่ งวนั ของวัน28ทเี่มษายน และ16 สิงหาคม

การเปลี่ยนแปลงของเงาของแทงไมในรอบวัน มีลักษณะคลายการเดินข“อเขง็มชั่วโมง” ของนาฬิกา ซง่ึ
เมื่อกําหนดสเกลที่เหมาะสมของตําแหนงเงา ณ เวลาตาง ๆ ในรอบวัน เราจะสามารถ“สนราาฬงกิ าแดด(Sundial)”
อยางงายได

323

เราอาจหาตําแหนงการขึ้น– ตกของดาวอาทิตย โดยวัดคามทุมิศ (อาชิมุท) เมอื่ มมุ เงยของดวงอาทิตย เปน
0 องศา (ขณะที่ดวงอาทติ ยป รากฏอยูท่ขี อบฟา พอดี ทางดานตะวนั ออกหรอื ดานตะวัน)ตกณ วนั – เดอื นตา ง ๆ
ในรอบป และเนอ่ื งจากดวงอาทติ ยมกี ารเคลอ่ื นท่ีไปตาม เสน สรุ ิยวถิ ี ถา เรามเี คร่อื งมือทีว่ ดั ไดอ ยางแมน ยาํ จะวัด
ตาํ แหนง การขน้ึ – ตกของดวงอาทติ ย ไดตางกนั ทุกวนั วนั ละประมา1ณ5 ลปิ ดา

หลังจากดวงอาทิตยขน้ึ แลว จะเหน็ วามมุ เงยของดวงอาทิตยจ ะเพมิ่ ขนึ้ เรือ่ ย ๆ จนมคี าสูงสดุ แลว คอย ๆ
ลดตํ่าลงมา สว นมมุ ทิศจะเปลี่ยนคา ทุกตําแหนงที่วดั มุมเงย แสดงวาดวงอาทติ ยมีการเปลย่ี นตําแหนงตลอดเวลา
ตารางตอไปนี้แสดงคมาุมทิศ และมุมเงยของดวงอาทิตยในเดือนตาง ๆ ในรอบป

ตารางที่ 1 มมุ ทิศ ขณะขนึ้ –ตกและมุมเงยสูงสุดของดวงอาทิตย วัดที่กรุงเทพมหานคร ณ วนั – เดอื นตาง ๆ

ในรอบป

วนั – เดอื น มมุ ทศิ (องศา) มุมเงยสูงสุด ฤดกู าล

ขณะข้นึ ขณะตก (องศา)

21 มีนาคม 90 270 76

27 เมษายน 76 284 90 ฤดูรอน

20 พฤษภาคม 70 290 84

22 มถิ ุนายน 67 293 81

20 กรกฎาคม 69 291 83

16 สิงหาคม 76 284 90 ฤดูฝน

23 กันยายน 90 270 76

20 ตุลาคม 100 260 66

20 พฤศจิกายน 110 250 56

22 ธนั วาคม 113 247 52 ฤดหู นาว

20 มกราคม 110 250 56

20 กมุ ภาพนั ธ 101 259 67

324

จากขอมูลในตารางที่ 1-1 จึงเขียนแบบจําลองทรงกลมทองฟา พรอมกําหนดทิศเหนือ – ใต
ตะวนั ออก – ตะวันตก แลวเขยี นทางเดินของดวงอาทติ ย จากคามุมอาซมิ ุท ขณะข้นึ – ตกและมุมเงยสูงสุด
ของดวงอาทติ ยใ นแตล ะวนั

เหนอื ศรี ษะ

มุมเงย ตะวนั ตก
ใต
เหนอื

ตะวนั ออก มุมทิศ

ใตเทา

ภาพท่ี 5 แบบจําลองทรงกลมทองฟาที่มีเสนขอบฟาเปนเสนแบงครึ่งทรงกลม บอกตําแหนงดาว
เทียบกับขอบฟาเปน มุมทิศ,มุมเงย

กลมุ ดาวและฤดูกาล
มนุษยในยุคโบราณสามารถสังเกตตําแหนงการขึ้น – ตกของดวงอาทิตยและการปรากฏของกลุม

ดาว สมั พันธก บั การเปล่ียนแปลงของฤดกู าล ทําใหม นษุ ยสามารถดํารงชีวติ อยไู ดเปนปกตสิ ขุ โดยการ
สงั เกตดวงอาทิตยและกลุม ดาวทปี่ รากฏบนทองฟา หลังดวงอาทิตยตก มนษุ ยสามารถรูว า เมือ่ ใดควรเร่มิ
เพาะปลูก เม่ือใดควรเรม่ิ เก็บเก่ยี ว เมอื่ ใดควรสะสมอาหารแหงเตรยี มไวเพื่อบรโิ ภคในฤดหู นาว มนษุ ยเรมิ่
รูจักใชว ัตถุทอ งฟา เปน สิ่งกาํ หนดเวลาได โดยเฉพาะอยางย่ิงเม่ือมนษุ ยเ รมิ่ เปลย่ี นสภาพการดาํ รงชวี ติ แบบ
ปา เถอ่ื นมาอยใู นระดบั ทเี่ จรญิ ขนึ้ ซ่ึงการดาํ รงชีวิตเนนทางดา นกสิกรรมหรอื เกษตรกรรม มนุษยย ิง่ ตอ งมี
ความเขาใจอยางลึกซึ้งตอความเปลี่ยนแปลงอยางเปนจังหวะของธรรมชาติเหลานั้นมากขึ้น

325
เราอาจทําการสังเกตการณ หรือทําการทดลอง เพื่อศึกษาการขึ้น – ตกและตําแหนงของดาวอาทิตย
และการปรากฏของกลมุ ดาว ณ วนั ใด ๆ ในรอบปได เม่อื โลกโคจรรอบดวงอาทติ ยค รบ 1 รอบ คนบน
โลกจะเห็นดวงอาทิตยเ คลอ่ื นทีป่ รากฏผา นกลมุ ดาวฤกษในจักรราศี ทั้ง 12 กลุมดังไดกลา วมาแลว ซง่ึ โดย
เฉลี่ยดวงอาทิตยจะใชเวลาประมาณ 1 เดือนปรากฏเคลื่อนทใี่ นกลุมดาวแตละราศี

ภาพที่ 6 กลุมดาวจกั รราศี 12 กลมุ และตําแหนงโลกขณะที่ดวงอาทิตยปรากฏผานกลุมดาวเหลานี้
ราศมี ชี อื่ เก่ยี วกับกลมุ ดาวที่ดวงอาทิตยปรากฏผา นเชนในยุคปจ จุบนั ดวงอาทติ ยป รากฏผา นกลุมดาว

มนี หรือกลมุ ดาวปลา ระหวา งวันท่ี 21 มีนาคม-20 เมษายน เดือนมีนาคมซึ่งแปลวา มาถึง (อาคม) กลุม ดาว
ปลา (มีน) แลว จงึ เปน ชวงเวลาท่ีดวงอาทิตยอยใู นกลุมดาวปลา เปน ตน นัน่ คือคนไทยตงั้ ซือ่ เดือนตามกลุม
ดาวจักรราศี

326

ภาพท่ี 7 กลมุ ดาวฤกษในจักรราศีและตําแหนงปรากฏของดวงอาทิตยในกลุมดาว เมื่อมองจากโลก
ตําแหนงปรากฏของดวงอาทิตย ในกลมุ ดาวในจกั รราศี จะสอดคลองกับชื่อเดือนทั้ง 12 เดอื นท่ี
คนไทยไดก าํ หนดขน้ึ ตง้ั แตรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว พระปยะมหาราช เชน ดวง
อาทิตยปรากฏอยใู นกลมุ ดาวราศีตุลในชว งราวเดอื นตลุ าคม และในชว งเดือนดงั กลาวนี้ กลุม ดาวจกั รราศีที่
ปรากฏบนทองฟาหลังดวงอาทิตยตกลับขอบฟาในตอนหัวค่ํา ก็จะเปนกลุมดาว แมงปอ ง คนยงิ ธนู แพะ
ทะเล คนแบกหมอน้ํา ปลา และ แกะ ตามลําดับจากทิศตะวั นตกตอเนื่องไปทางทิศตะวนั ออก ดงั นนั้
ตาํ แหนง การขน้ึ – ตกของดวงอาทิตยในรอบป ฤดูกาลและกลุมดาวที่ปรากฏบนทองฟาจึงมีความสัมพันธ
กันอยางใกลชดิ

327

เรือ่ งที่ 2 การสังเกตตําแหนง ของดาวฤกษ
คนในสมัยโบราณเชื่อวา ดวงดาวทั้งหมดบนทองฟาอยูหางจากโลกเปนระยะทางเทา ๆ กัน โดย

ดวงดาวเหลา นน้ั ถกู ตรงึ อยบู นผวิ ของทรงกลมขนาดใหญเ รยี กวา “ทรงกลมทองฟา” (Celestial sphere) โดย

มโี ลกอยูท่ีศนู ยกลางของทรงกลม ทรงกลมทองฟา หมุนรอบโลกจากทศิ ตะวันออกไปยงั ทิศตะวันตก

โดยที่โลกหยดุ น่ิงอยูก ับที่ ไมเคลื่อนไหว

นักปราชญในยุคตอมาทําการศึกษาดาราศาสตรกันมากขึ้น จึงพบวา ดวงดาวบนทองฟาอยูหางจาก

โลกเปนระยะทางที่แตกตางกัน กลางวันและกลางคืนเกิดจากการหมุนรอบตัวเองของโลก มิใชการหมุนของ

ทรงกลมทองฟา ดังที่เคยเชื่อกันในอดีต อยางไรก็ตามในปจจุบันนักดาราศาสตรยังคงใชทรงกลมทองฟา

เปนเครื่องมือในการระบุตําแหนงทางดาราศาสตร ทั้งนี้เปนเพราะ หากเราจินตนาการใหโลกเปนศูนยกลาง

โดยมีทรงกลมทองฟาเคลื่อนที่หมุนรอบ จะทําใหงายตอการระบุพิกัด หรือเปรียบเทียบตําแหนงของวัตถุบน

ทองฟา และสงั เกตการเคลอ่ื นทีข่ องวัตถเุ หลา นน้ั ไดงายขนึ้

จินตนาการจากอวกาศ

• หากตอแกนหมุนของโลกออกไปบนทองฟาทั้งสองดาน

เราจะไดจุดสมมตเิ รียกวา “ข้ัวฟา เหนือ” (North celestial

pole) และ “ขัว้ ฟา ใต” (South celestial pole) โดยขว้ั ฟา ทั้ง

สองจะมแี กนเดยี วกนั กบั แกนการหมนุ รอบตวั เองของ

โลก และขั้วฟาเหนือจะชี้ไปประมาณตําแหนงของดาว

เหนอื ทําใหเรามองเห็นวา ดาวเหนือไมม กี ารเคลอ่ื นท่ี

• หากขยายเสนศูนยสูตรโลกออกไปบนทองฟาโดยรอบ

เราจะไดเสนสมมติเรียกวา “เสน ศูนยสูตรฟา ” (Celestial

equator) เสนศูนยส ตู รฟาแบงทอ งฟาออกเปน “ซีกฟา

ภาพท่ี 8 ทรงกลมทองฟา เหนอื ” (Northern hemisphere) และ “ซกี ฟาใต”

(Southern hemisphere) เชน เดยี วกับทเ่ี สนศนู ยสตู รโลก

แบง โลก ออกเปนซกี โลกเหนือ และซีกโลกใต

328

จินตนาการจากพ้ืนโลก

• ในความเปนจริง เราไมสามารถมองเห็นทรงกลมทองฟาได
ท้ังหมด เนื่องจากเราอยูบนพนื้ ผิวโลก จึงมองเหน็ ทรงกลม
ทองฟา ไดเ พียงครึ่งเดยี ว และเรยี กแนวที่ทอ งฟาสมั ผัสกบั พืน้
โลกรอบตวั เราวา “เสน ขอบฟา ” (Horizon) ซ่งึ เปน เสมือน
เสนรอบวงบนพ้นื ราบ ทม่ี ตี ัวเราเปน จดุ ศูนยกลาง

• หากลากเสนโยงจากทิศเหนือมายังทิศใต โดยผานจุดเหนือ
ภาพท่ี 9 เสนสมมติบนทรงกลมทองฟา ศีรษะ จะไดเสน สมมตซิ ่งึ เรียกวา “เสน เมรเิ ดยี น” (Meridian)

• หากลากเสนเชื่อมทิศตะวันออก-ทศิ ตะวนั ตก โดยใหระนาบ
ของเสนสมมตินนั้ ตั้งฉากกบั แกนหมนุ ของโลกตลอดเวลา จะ
ได “เสน ศนู ยสตู รฟา ” ซ่งึ แบงทองฟา ออกเปนซกี ฟา เหนอื
และซกี ฟา ใต หากทาํ การสังเกตการณจ ากประเทศไทย ซ่งึ อยู
บนซกี โลกเหนือ จะมองเหน็ ซีกฟาเหนอื มีอาณาบริเวณ
มากกวาซีกฟาใตเสมอ

การเคลื่อนทีข่ องทรงกลมทองฟา
เมื่อมองจากพื้นโลกเราจะเห็นทรงกลมทองฟาเคลื่อนที่จากทิศตะวันออกไปยังทิศตะวันตก อยางไร
ก็ตามเนื่องจากโลกของเราเปนทรงกลม ดังนั้นมุมมองของการเคลื่อนที่ของทรงกลมทองฟา ยอมขึ้นอยูกับ
ตาํ แหนง ละตจิ ดู (เสน รุง ) ของผสู ังเกตการณ เปนตน วา

• ถา ผสู ังเกตการณอ ยบู นเสน ศูนยส ูตร หรือละติจดู 0 ° ขัว้ ฟา เหนอื กจ็ ะอยทู ีข่ อบฟาดา นทศิ เหนือ
พอดี (ภาพท่ี 10)

• ถา ผสู งั เกตการณอ ยทู ่ลี ะตจิ ดู สูงขน้ึ ไป เชน ละตจิ ูด 13° ข้ัวฟา เหนอื กจ็ ะอยูส งู จากขอบฟาทศิ เหนอื
13° (ภาพที่ 11)

• ถา ผูส งั เกตการณอ ยทู ่ีขวั้ โลกเหนอื หรอื ละตจิ ดู 90 ° ขัว้ ฟาเหนือก็จะอยสู ูงจากขอบฟา 90 ° (ภาพท่ี
12)

เราสามารถสรปุ ไดวา ถาผูสงั เกตการณอยทู ล่ี ะติจูดเทาใด ขัว้ ฟา เหนอื ก็จะอยูส ูงจากขอบฟา เทา กับละติจดู น้นั

329
ภาพที่ 10 ละตจิ ดู 0° N
ผสู งั เกตการณอ ยทู ่ีเสน ศนู ยสตู ร (ละตจิ ดู 0°)
ดาวเหนอื จะอยบู นเสน ขอบฟา พอดี
ดาวขน้ึ – ตก ในแนวในตง้ั ฉากกบั ขอบฟา

ภาพท่ี 11 ละตจิ ดู 13° N
ผสู งั เกตการณอยทู ่ี กรุงเทพ ฯ (ละตจิ ดู 13° N)
ดาวเหนอื จะอยสู งู เหนอื เสน ขอบฟา ทศิ เหนอื 13°
ดาวขน้ึ – ตก ในแนวเฉียงไปทางใต 13°

ภาพท่ี 12 ละตจิ ดู 90° N
ผูสงั เกตการณอ ยูทข่ี ั้วโลกเหนือ (ละตจิ ดู 90° N)
ดาวเหนอื จะอยสู งู เหนอื เสน ขอบฟา 90°
ดาวเคลอ่ื นทใ่ี นแนวขนานกบั พน้ื โลก

330

ระยะเชิงมุม
ในการวดั ระยะหา งระหวา งดวงดาวบนทรงกลมทองฟานั้น เราไมสามารถวัดระยะหางออกมาเปน

หนว ยเมตร หรอื กโิ ลเมตรไดโ ดยตรง เพราะระยะระหวางดาวเปนทางโคงจงึ ตอ งวดั ออกมาเปน “ระยะ
เชิงมุม” (Angular distance) ตัวอยางเชน เราบอกวา ดาว A อยูหางจาก ดาว B เปนระยะทาง 5 องศา หรือ
บอกวาดวงจันทรมีขนาดครึ่งองศา ซึ่งเปนการบอกระยะหางและขนาดเปนเชิงมุมทั้งสิ้น

ภาพที่ 13 แสดงการวัดระยะเชงิ มมุ ระหวา วดาว A กับดาว B เทากับมมุ

ระหวางเสนสองเสนที่ลากจากตาไปยังดาว A และดาว B

ระยะเชิงมุมที่วัดไดนั้น เปนระยะหางท่ปี รากฏใหเหน็ เทา นัน้ ทวาในความเปน จรงิ ดาว A และดาว

B อาจอยหู างจากเราไมเ ทา กัน หรืออาจจะอยหู า งจากเราเปน ระยะทเี่ ทากันจรงิ ๆ ก็ได เนอ่ื งจากดาวท่เี ราเหน็

ในทองฟา นัน้ เราเห็นเพียง 2 มติ ิ สวนมติ คิ วามลึกนัน้ เราไมสามารถสงั เกตได
การวัดระยะเชงิ มุมอยา งงา ย
ในการวัดระยะเชิงมุมถาตองการคาที่ละเอียดและมีความแมนยํา จะตองใชอุปกรณที่มีความซับซอน

มากในการวัด แตถาตองการเพียงคาโดยประมาณ เราสามารถวัดระยะเชิงมุมไดโดยใชเพียงมือและนิ้วของ

เราเองเทานน้ั เชน ถา เรากางมอื ชูนว้ิ โปง และนวิ้ กอ ยโดยเหยยี ดแขนใหสดุ ความกวางของนว้ิ ท้ังสองเทียบ

กับมุมบนทองฟาจะไดมุมประมาณ 18 องศา ถาดาวสองดวงอยูหางกันดวยความกวางนี้แสดงวา ดาวทั้งสอง

อยูหางกนั 18 องศาดวย

ภาพท่ี 14 การใชม ือวดั มมุ

331
ในคนื ที่มดี วงจันทรเตม็ ดวง ใหเราลองกาํ มือชูน้วิ กอ ยและเหยียดแขนออกไปใหส ุด ทาบน้วิ กอ ยกับ
ดวงจันทร เราจะพบวา น้วิ กอ ยของเราจะบังดวงจันทรไ ดพอดี เราจงึ บอกไดวาดวงจันทรมี “ขนาดเชิงมุม”
(Angular Diameter) เทากบั ½ องศา โดยขนาดเชิงมุมก็คือ ระยะเชิงมุมที่วัดระหวางขอบของดวงจันทร
นนั้ เอง ขนาดเชิงมมุ ของวตั ถุขึน้ อยกู บั ระยะหางของวัตถุกับผูสงั เกต และขนาดเสน ผานศูนยก ลางจริงของ
วัตถุนัน้

ภาพท่ี 15 ขนาดเชิงมุม
ยกตัวอยาง: ลองจินตนาการภาพลูกบอลวางอยูหางจากเรา 1 เมตร ใหเราลองวัดขนาดเชิงมุมของลูก
บอล จากนน้ั เลื่อนลูกบอลใหไกลออกไปเปนระยะทาง 3 เทา ขนาดเชิงมุมจะลดลงเปน 1 ใน 3 ของขนาดที่
วดั ไดก อ นหนา น้ี
ดงั นน้ั “คาขนาดเชิงมุม” คือ อัตราสวนของ ขนาดจรงิ ตอ ระยะหางของวัตถุ
กลุมดาว
แมว า จะมีกลุม ดาวบนทองฟาอยถู งึ 88 กลมุ แตในทางปฏิบัตมิ กี ลุมดาว กลุม ดาวจักรราศี 12 กลมุ
และกลมุ ดาวเดน อน่ื อีกประมาณเทา กนั ที่เหมาะสมสําหรับการเริ่มตน กลมุ ดาวเหลา นก้ี ม็ ิไดมีใหเ ห็น
ตลอดเวลาเหตุเพราะโลกหมนุ รอบตวั เอง และ โคจรรอบดวงอาทิตย กลมุ ดาวสวา งแตละกลุม จะ ไมปรากฏ
ใหเ หน็ เฉพาะเมื่อกลุมดาวนั้นขน้ึ และตกพรอ มกับดวงอาทิตย

332

ดาวฤกษส วางรอบกลมุ ดาวหมีใหญ

ภาพท่ี 16 ดาวฤกษส วา งรอบกลมุ ดาวหมใี หญ

ในการเริ่มตนดูดาวนนั้ เราตองจับจดุ จากดาวฤกษท่สี วา งเสยี กอ น แลวจึงคอ ยมองหารปู ทรงของ
กลุมดาว สง่ิ แรกท่ีตองทาํ ความเขาใจคอื การเคล่อื นท่ขี องทองฟา เราจะตอ งหาทิศเหนือใหพ บ แลว สงั เกต
การเคลอื่ นทีข่ องกลมุ ดาว จากซกี ฟา ตะวันออกไปยงั ซกี ฟา ตะวันตก เนอ่ื งจากการหมนุ ตัวเองของโลก

“กลมุ ดาวหมใี หญ” (Ursa Major) ประกอบดว ยดาวสวา งเจด็ ดวง เรยี งตวั เปน รปู กระบวยขนาด
ใหญ ดาวสองดวงแรกชาวยโุ รปเรยี กวา “ดาวช้ี” ( The Pointer) หมายถึง ลูกศรซ่งึ ชี้เขาหา “ดาวเหนอื ”
(Polaris) อยตู ลอดเวลา โดยดาวเหนอื จะอยหู า งจากดาวสองดวงแรกนน้ั นบั เปน ระยะเชงิ มมุ หา เทา ของ
ระยะเชงิ มมุ ระหวา งดาวสองดวงนน้ั ดาวเหนอื อยใู นสว นปลายหางของ ”กลุมดาวหมีเลก็ ” (Ursa Minor)
ซึ่งประกอบดวยดาวไมสวาง เรยี งตวั เปน รปู กระบวยเลก็ แมวา ดาวเหนอื จะมีความสวา งไมมากนกั แตใน
บรเิ วณขว้ั ฟา เหนอื กไ็ มม ดี าวใดสวา งไปกวา ดาวเหนอื ดงั นน้ั ดาวเหนอื จงึ มคี วามโดดเดน พอสมควร

เมื่อเราทราบตําแหนงของดาวเหนือ เราก็จะทราบทิศทางการหมุนของทรงกลมทองฟา หากเราหัน
หนาเขาหาดาวเหนือ ทางขวามือจะเปนทิศตะวันออก และทางซายมือจะเปนทิศตะวันตก กลุมดาวทั้งหลาย
จะเคลื่อนที่จากทางขวามือขึ้นไปสูงสุดทางทิศเหนือและไปตกทางซายมือ ในขัน้ ตอนตอ ไปเราจะต้งั หลกั ท่ี
กลุม ดาวหมีใหญ วาดเสน โคง ตาม “หางหมี” หรอื “ดามกระบวย” ตอ ออกไปยงั “ดาวดวงแกว ” (Arcturus)
หรอื ท่มี ีชอ่ื เรยี กอกี ชอ่ื หนึง่ วา “ดาวยอดมหาจุฬามณี” เปนดาวสีสมสวางมากใน “กลมุ ดาวคนเลี้ยงสัตว”
(Bootes) และหากลากเสนโคงตอ ไปอีกเทาตวั ก็จะเหน็ ดาวสวางสขี าวชอ่ื วา “ดาวรวงขาว” (Spica) อยูใ น
กลมุ ดาวหญงิ สาว (Virgo) หรือราศีกันย กลมุ ดาวน้จี ะมดี าวสวา งประมาณ 7 ดวงเรยี งตวั เปนรูปตวั Y อยูบ น
เสน สรุ ิยวถิ ี

333
กลับมาทก่ี ลุม ดาวหมีใหญอ ีกครั้ง ดาวดวงที่ 4 และ 3 ตรงสวนของกระบวย จะชี้ไปยัง “ดาวหวั ใจ
สงิ ห” (Regulus) ใน”กลมุ ดาวสิงโต” (Leo) หรอื สิงห พึงระลึกไววา กลมุ ดาวจัก รราศีจะอยูบ นเสน สรุ ยิ วิถี
เสมอ ถาเราพบกลมุ ดาวราศีหนึง่ เราก็สามารถไลหากลุม ดาวราศีของเดือนอน่ื ซ่งึ เรยี งถดั ไปได เชน ในภาพ
ที่ 16 เราเหน็ กลมุ ดาวสิงห และกลุมดา วกันย เราก็สามารถประมาณไดวา กลุมดาวกรกฏ และตลุ จะอยทู าง
ไหน
สามเหลี่ยมฤดูหนาว

ภาพท่ี 17 สามเหลย่ี มฤดหู นาว
ในชวงของหัวค่ําของฤดูหนาว จะมีกลุมดาวสวางอยูทางทิศตะวันออก คือ กลุมดาวนายพราน กลุม
ดาวสนุ ขั ใหญ และกลมุ ดาวสุนขั เลก็ หากลากเสนเชอ่ื ม ดาวบีเทลจุส ( Betelgeuse) - ดาวสวา งสแี ดงตรง
หัวไหลของนายพรานไปยัง ดาวซริ อิ ุส (Sirius) – ดาวฤกษส วางทีส่ ดุ สีขาว ตรงหวั สุนัขใหญ และ ดาวโปรซี
ออน ( Procyon) - ดาวสวา งสขี าวตรงหวั สุนขั เลก็ จะไดรปู สามเหล่ียมดา นเทา เรยี กวา “สามเหลี่ยมฤดู
หนาว” (Winter Triangle) ซงึ่ จะขนึ้ ในเวลาหวั ค่าํ ของฤดหู นาว
กลุมดาวนายพรานเปนกลุมดาวที่เหมาะสมกับการเริ่มตนหัดดูดาวมากที่สุด เนื่องจากประกอบดวย
ดาวสวางที่มีรูปแบบการเรียงตัว ( pattern) ทโี่ ดดเดน จาํ งาย และขน้ึ ตอนหวั ค่าํ ของฤดหู นาว จึงเรียกวา เปน
กลมุ ดาวหนา หนาว ซึ่งมักมีสภาพอากาศดี ทองฟาใสไมมีเมฆปกคลุม เอกลักษณของกลุมดาวนายพรานก็
คือ ดาวสวา งสามดวงเรยี งกนั เปนเสนตรง ซึ่งเรียกวา “เข็มขัดนายพราน” (Orion’s belt) อยภู ายในกรอบดาว
4 ดวง ทางทิศใตของเข็มขัดนายพราน มีดาวเล็ก ๆ สามดวงเรียงกัน คนไทยเราเห็นเปนรูป “ดามไถ” แตช าว
ยโุ รปเรยี กวา “ดาบนายพราน” (Orion’s sword) ที่ตรงกลางของบริเวณดาบนายพรานนี้ ถานํากลองสองดูจะ
พบ “เนบวิ ลา M42” เปนกลุมกาซในอวกาศ กําลังรวมตัวเปนดาวเกิดใหม ซึ่งอยูตรงใจกลางและสองแสงมา
กระทบเนบิวลา ทําใหเรามองเห็น

334
ดาวสวา งสองดวงทบ่ี รเิ วณหวั ไหลด า นทศิ ตะวนั ออก และหวั เขา ดา นทศิ ตะวนั ตกของกลมุ ดาว
นายพราน มสี แี ตกตางกนั มาก ดาวบเี ทลจุส มีสีออกแดง แตดาวไรเจล ( Rigel) มสี ีออกนํ้าเงนิ สีของดาว
บอกถึงอายุและอณุ หภมู ิ ผิวของดาว ดาวสีน้าํ เงนิ เปน ดาวทมี่ อี ายุนอ ย และมอี ุณหภูมสิ ูง 1 – 2 หม่ืนเคลวนิ
ดาวสแี ดงเปน ดาวทม่ี ีอายุมาก และมอี ุณหภมู ติ ํา่ ประมาณ 3,000 เคลวนิ สวนดวงอาทิตยของเรามีสีเหลือง
เปน ดาวฤกษซ่งึ มีอายุปานกลาง และมีอณุ หภมู ทิ พี่ ืน้ ผวิ ประมาณ 5,800 เคลวนิ
ในกลมุ ดาวสนุ ขั ใหญ ( Canis Major) มดี าวฤกษท ส่ี วา งที่สดุ บนทอ งฟามีชือ่ วา ดาวซริ อิ สุ ( Sirius)
คนไทยเราเรียกวา “ดาวโจร” (เนื่องจากสวางจนทําใหโจรมองเห็นทางเขามาปลน) ดาวซริ อิ สุ มไิ ดมีขนาด
ใหญ แตว า อยูหางจากโลกเพยี ง 8.6 ปแสง ถาเทียบกับดาวไรเจลในกลุมดาวนายพรานแลว ดาวไรเจลมี
ขนาดใหญและมีความสวางกวาดาวซิริอุสนับพันเทา หากแตวาอยูหางไกลถึง 777 ปแสง เมื่อมองดจู ากโลก
ดาวไรเจลจึงมีความสวางนอยกวาดาวซิริอุส
สามเหลี่ยมฤดรู อน

ภาพท่ี 18 สามเหล่ยี มฤดูรอน
ในชวงหวั คาํ่ ของตน ฤดหู นาว จะมกี ลุมดาวสวางทางดานทิศตะวันตก คอื กลมุ ดาวพณิ กลุมดาวหงส
และกลมุ ดาวนกอนิ ทรี หากลากเสนเช่ือม ดาววีกา (Vega) - ดาวสวางสีขาวในกลุมดาวพิณไปยัง ดาวหางหงส
(Deneb) – ดาวสวา งสขี าวในกลมุ ดาวหงส และ ดาวตานกอินทรี ( Altair) – ดาวสวางสีขาวในกลุมดาว
นกอินทรี จะไดร ูปสามเหล่ียมดานไมเทาเรียกวา “สามเหล่ียมฤดูรอน” (Summer Triangle) ซ่งึ อยูใ นทศิ
ตรงขา มกบั สามเหลย่ี มฤดหู นาว ขณะทส่ี ามเหลีย่ มฤดูรอนกําลงั จะตก สามเหลี่ยมฤดูหนาวกก็ ําลงั จะข้นึ
สามเหลี่ยมฤดู รอ นขึ้นตอนหัวค่ําของฤดูรอนของยุโรปและอเมริกา ซึ่งเปนชวงฤดูฝนของประเทศไทย
ในคืนที่เปนขางแรมไรแสงจันทรรบกวน หากสังเกตใหดีจะเห็นวามีแถบฝาสวางคลายเมฆขาวพาดขาม

335
ทองฟา ผา นบรเิ วณกลมุ ดาวนกอนิ ทรี กลุม ดาวหงส ไปยังกลุมดาวแคสสโิ อเปย (คางคาว) แถบฝาสวางที่
เหน็ น้ันแทท ีจ่ ริงคอื “ทางชางเผือก” (The Milky Way)

เรือ่ งท่ี 3 วธิ กี ารหาดาวเหนือ

การหาจากกลุมดาวหมใี หญ

ภาพที่ 19 การหาดาวเหนอื จากกลมุ ดาวหมใี หญ
ในบางครั้งเรามองหาดาวเหนือไดจากการดู “กลมุ ดาวหมใี หญ” (Ursa major) หรอื ท่คี นไทยเรา
เรยี กวา “กลุมดาวจระเข” กลมุ ดาวนม้ี ดี าวสวา งเจด็ ดวง เรยี งตวั เปน รปู กระบวยตกั นาํ้ ดาวสองดวงแรกของ
กระบวยตักน้ํา จะชี้ไปยังดาวเหนือเสมอ ไมวาทรงกลมทองฟาจะหมุนไปอยางไรก็ตาม ดาวเหนือจะอยูหาง
ออกไป 5 เทาของระยะทางระหวางดาวสองดวงแรกเสมอ ดังที่แสดงในภาพที่ 19
การหาจากกลุมดาวคางคาว

ภาพท่ี 20 การขน้ึ - ตก ของกลมุ ดาวรอบขัว้ ฟา เหนอื

336
ในบางคืนกลุมดาวหมีใหญเพิ่งตกไป หรือยังไมขึ้นมา เราก็สามารถมองหาทิศเหนืออยางคราว ๆ
ไดโ ดยอาศยั “กลุมดาวคางคาว” (Cassiopeia) กลุมดาวคางคาวประกอบดวย ดาวสวาง 5 ดวง เรียงเปน รปู ตัว
“M” หรือ “W” คว่ํา กลมุ ดาวคางคาวจะอยูในทิศตรงขามกบั กลุมดาวหมใี หญเ สมอ ดังนน้ั ขณะกลุม ดาว
หมใี หญกําลังตก กลุมดาวคา งคาวก็กาํ ลังข้ึน และเมอื่ กลมุ ดาวหมใี หญกําลังจะขึ้น กลุมดาวคางคาวกก็ าํ ลังจะ
ตก ดังทแี่ สดงในภาพท่ี 20
การหาจากกลุมดาวนายพราน

ภาพท่ี 21 กลมุ ดาวนายพรานหนั หวั เขา หาดาวเหนอื เสมอ
แตในบางครั้งเมฆเขามาบังทองฟาทางดานทิศเหนือ เราก็ไมสามารถมองเห็นกลุมดาวหมีใหญ หรือ
กลมุ ดาวคา งคาวไดเ ลย ในกรณีนี้เราอาจใช “กลุมดาวนายพราน ” (Orion) ในการนําทางได เปน อยา งดี
เพราะกลมุ ดาวนายพรานจะหนั หวั เขา หาดาวเหนอื เสมอ นอกจากนน้ั กลมุ ดาวนายพรานยงั ตง้ั อยบู นเสน ศนู ย
สูตรฟา นั่นหมายความวา กลุมดาวนายพรานจะขึ้น-ตก ในแนวทศิ ตะวนั ออก-ตะวนั ตก เสมอ

337

เรือ่ งท่ี 4 แผนท่ีดาว

การอา นแผนทด่ี าวเปน จะทําใหเราดูดาวหรือกลุมดาวที่ปรากฏบนทองฟา ณ วนั – เวลาใดไดอ ยา ง
ถกู ตอ ง กอนอานแผนที่ดาวเพื่อเปรียบเทียบกับดาวที่ปรากฏบนทองฟา ผสู ังเกตตองรทู ศิ เหนือ – ใต
ตะวนั ออก – ตะวนั ตก ของทนี่ ั้น ๆ กอ น

• ใหล องคะเน มุมเงยและมุมทิศของดาวเหนอื
• เราทราบหรือไม อยางไรวา อาจหาดาวเหนอื ไดโ ดยอาศยั กลมุ ดาวหมใี หญ (Ursa Major)

หรือกลุมดาวคางคาว (Cassiopeia)
แผนทดี่ าวทนี่ ยิ มใชก นั ในปจจุบัน จะเปน แผนทด่ี าวแบบหมนุ โดยเปน กระดาษแขง็ 2 แผน ตรึง
ตดิ กนั ตรงกลาง โดยแผน หนง่ึ จะเปน ภาพของกลมุ ดาวและดาวสวา ง เขยี นอยใู นวงกลม โดยที่ขอบของ
วงกลมจะระบุ “วนั – เดอื น” ไวโ ดยรอบ สา ยแผน ติดอยูดานบน จะระบุ “เวลา” ไวโ ดยรอบ การใชแผน
ทด่ี าวก็เพยี งแตหมนุ วนั – เดอื นของแผน ลา งใหต รงกบั เวลา ท่ีตอ งการสงั เกตการณข องแผน บน กลุมดาวท่ี
ปรากฏบนแผนที่ดาวจะเปนกลุมดาวจริงที่ปรากฏจริงบนทองฟา ณ ขณะนัน้ ดงั แสดงในภาพท่ี 22

ภาพที่ 22 แผนทด่ี าวแบบหมนุ

การใชแผนท่ดี าว ณ สถานทส่ี งั เกตการณจริง ใหเราหันหนาไปทางทิศเหนือ แลว ยกแผนทด่ี าวขน้ึ
เหนอื ศรี ษะ โดยใหท ศิ ในแผนทด่ี าว ตรงกับทิศจริง โดยทแ่ี ผนทด่ี าวดงั กลา วหมนุ วนั – เดอื น ใหต รงกับ
เวลา ณ ขณะนั้น

• ในแผนทด่ี าวมกี ารบอกตาํ แหนง ดวงจนั ทรแ ละดาวเคราะหห รอื ไม เพราะเหตใุ ด
• ใหส งั เกตกลุมดาวตาง ๆ ที่ปรากฏบนทองฟา โดยใชแ ผนทด่ี าว แลว ระบวุ า เหน็ กลมุ ดาว

อะไรบางอยูทางซีกฟาดานตะวันออก ตะวนั ตก กลางศีรษะและมีกลุมดาวในจักรราศกี ลุม
ใดบางปรากฏบนทองฟา ณ ขณะน้ัน

338

เร่ืองที่ 5 การใชป ระโยชนจ ากกลมุ ดาวฤกษ

มนุษยใชประโยชนจากการดูดาวมาตั้งแตครั้งอดีตกาลโดยสืบทอดกันมาจนถึงปจจุบัน
ถึงแมวาปจจุบันจะมีการนําเทคโนโลยีเขามาทดแทนจนเราอาจมองไมเห็นความสําคัญของดวงดาวอีกตอไป
แตแทจริงแลวดวงดาวยังมีความลึกลับใหศึกษาคนควาอีกมากมายโดยเฉพาะเทคโนโลยีที่สูงขึ้นชวยให
มนุษยเราศึกษาเรื่องราวของดวงดาวอยางไมหยุดยั้ง ดังนั้นดวงดาวยังคงยังประโยชนแกมนุษยชาติไปอีก
นานเทานาน เพราะดวงดาวในอวกาศคือหองปฏิบัติการในธรรมชาติซึ่งไมอาจสรางขึ้นไดในโลก การศึกษา
ดวงดาวเทานั้นจึงจะชวยใหเราเขาใจโลกและตัวเราไดมากขึ้น

แมปจจุบันคนทั่วไปจะใชประโยชนจากดวงดาวนอยลงไป แตก็ยังมีคนอีกหลายกลุม
พยายามใชประโยชนจากเครื่องมือที่ธรรมชาติมอบใหเราโดยไมตองเสียเงินซื้อมาในราคาแพงๆ เพื่อใหเห็น
ถึงแนวทางการใชประโยชนจึงขอยกตัวอยางพอเปนสังเขป ดังนี้

• ดา นการดํารงชวี ิต
ยังมีคนอีกหลายกลุมที่อาศัยการดูดาวเพื่อประกอบอาชีพ เชนเกษตรกร เขาใชดวงดาวใน

การบงบอกถึงฤดูเพาะปลูก หรือแมแตการเลือกปลูกพืชที่เหมาะสม ในอดีตคนไทยใชการดูดาวเพื่อทํานาย
ปรมิ าณฝนหรอื เหตกุ ารณตางๆ อีกมาก แมถ ึงปจจุบันกย็ งั มี เกษตรกร ชาวประมง และนกั เดินปา ก็ย่งั ใชการ
สังเกตดวงดาวในการนําทาง หรือประมาณเวลาในยามค่ําคืน รวมทั้งตําแหนงของตนบนโลก

• ดา นการศึกษา
ในอดตี ผูคนมกั ตน่ื ตกใจกลัวเวลาทีเ่ กดิ ปรากฏการณทางดาราศาสตรต า งๆ เชน

ปรากฏการณ สุริยุปราคา จันทรุปราคา ดาวหางปรากฏบนฟา ทั้งนี้เพราะความไมเขาใจสาเหตุการเกิดที่
แทจริงปจจุบันเราไมตองตื่นตกใจอีกตอไป อันเปนผลมาจากการศึกษาดาราศาสตรทั้งสิ้น การศึกษาคนควา
ทางดานดาราศาสตรสามารถใหความรู ความเขาใจธรรมชาติแกเรามากขึ้นเสมอ ยิ่งมีความรูมากขึ้นก็ยิ่งมี
ความสงสัยมากขึ้น ดาราศาสตรจึงเปนวิชาที่ตอบปญหาเหลานี้ เทคโนโลยีหลายอยางที่ใชเพื่อศึกษาดวงดาว
ถูกนํามาพัฒนาในการดํารงชีวิต เชนรีโมทเซนซิง การถายภาพระบบซีซีดี ดาราศาสตรไมเพียงชวยใหเรา
เขาใจธรรมซาติ แตชวยใหเราอยูกับธรรมชาติไดอยางมีความสุข

339

แบบฝก หัด
คาํ สง่ั ใหนกั เรียนทาํ เคร่ืองหมาย X หนาคําตอบท่เี หน็ วา ถกู ท่ีสดุ เพยี งขอ เดยี ว

1. กลุมดาวจักรราศี แตละกลุมมีความยาวของเสนทางที่ดวงอาทิตยผานบนทองฟาประมาณ กี่องศา
ก. 10 องศา
ข. 20 องศา
ค. 30 องศา
ง. 40 องศา

2. เพระเหตใุ ดเราจงึ เห็นดวงอาทิตยเ คลื่อนทผี่ านกลมุ ดาวจกั รราศี
ก. ดวงอาทิตยโคจรรอบโลก
ข. โลกโจจรรอบดวงอาทติ ย
ค. โลกหมนุ รอบตวั เอง
ง. กลุมดาวจักรราศีโคจรผานดวงอาทิตย

3. กลุมดาวจักรราศีที่มีแนวขึ้นและตกคอนไปทางทิศใตมากที่สุดคือกลุมดาวใด
ก. กลมุ ดาวคนยงิ ธนู
ข. กลุมดาวปลา
ค. กลมุ ดาวผูหญงิ สาว
ง. กลุมดาวคนคู

4. กลุมดาวจักรราศีที่มีแนวขึ้นและตกคอนไปทางทิศเหนือมากที่สุดคือกลุมดาวใด
ก. กลมุ ดาวคนยงิ ธนู
ข. กลุมดาวปลา
ค. กลุมดาวผูห ญิงสาว
ง. กลุมดาวคนคู

5. กลุมดาวจกั รราศที ีป่ รากฏขึ้นและตก ณ ทศิ ตะวันออกและทศิ ตะวันตกคือกลุมใด
ก. กลมุ ดาวปลาและกลุมดาวผูหญิงสาว
ข. กลมุ ดาวคนคแู ละกลมุ ดาวคนยงิ ธนู
ค. กลุมดาวปูและกลุมดาวมกร
ง. กลมุ ดาวสงิ โตและกลมุ ดาวคนแบกหมอ นาํ้

340

6. ดวงอาทิตยจะเปลี่ยนตําแหนงบนทองฟาเทียบกับดาวฤกษวันละกี่องศา
ก. 1 องศา
ข. 10 องศา
ค. 20 องศา
ง. 30 องศา

7. เพราะเหตใุ ดเราจงึ เหน็ ดาวขน้ึ และตก
ก. ดวงอาทิตยโคจรรอบโลก
ข. โลกโจจรรอบดวงอาทติ ย

ค. โลกหมนุ รอบตวั เอง
ง. ดาวโคจรรอบโลก
8. เวลา 21.00 น. ของวันที่ 3 กันยายน เราจะเห็นกลุมดาวจักรราศีใดทางขอบฟาดานตะวันออก
ก. กลมุ ดาวคนยงิ ธนู
ข. กลุมดาวมกร
ค. กลมุ ดาวคนแบกหมอ นาํ้
ง. กลุมดาวปลา
9. กลุม ดาวใดตอไปน้ีทเี่ ราจะเห็นตลอดท้งั คืนในฤดูรอ น
ก. กลุมดาวนายพราน

ข. กลมุ ดาวสนุ ขั ใหญ
ค. กลมุ ดาวสนุ ขั เลก็
ง. กลมุ ดาวหงส
10. กลุมดาวใดตอไปนี้ที่ไมใชสมาชิกของสามเหลี่ยมฤดูหนาว
ก. กลุมดาวนายพราน
ข. กลมุ ดาวสนุ ขั ใหญ
ค. กลุม ดาวสุนขั เลก็
ง. กลมุ ดาวหงส
11. กลุมดาวใดตอไปนที้ ขี่ ึน้ ทางทิศตะวนั ออกตอนหวั คํา่ ในฤดูหนาว

ก. กลุมดาวนายพราน
ข. กลมุ ดาวพณิ
ค. กลมุ ดาวนกอนิ ทรี
ง. กลมุ ดาวหงส

341

12. ดาวดวงใดตอ ไปนท้ี ไ่ี มป รากฏในแผนทด่ี าว
ก. ดาวนกอนิ ทรี
ข. ดาวพธุ
ค. ดาวรวงขาว
ง. ดาวดวงแกว

13. เสนทึบที่ลากจากทิศตะวันออกขึ้นไปบนทองฟาถึงทิศตะวันตกในแผนที่ดาวหมายถึงเสนอะไร
ก. เสนสุรยวถิ ี
ข. เสน ขอบฟา
ค. เสน ศูนยสตู รทองฟา
ง. เสน เมรเิ ดยี น

14. เสนประที่ลากจากทิศตะวันออกขึ้นไปบนทองฟาถึงทิศตะวันตกในแผนที่ดาวหมายถึงเสนอะไร
ก. เสน สรุ ยิ วิถี
ข. เสน ขอบฟา
ค. เสน ศูนยส ูตรทองฟา
ง. เสน เมรเิ ดยี น

15. ถาเราลากเสนตรงตามแนวเข็มขัดนายพรานไปทางทิศใต (ซายมือของนายพราน) เราจะพบดาว
สวา งดวงใด
ก. ดาวตานกอนิ ทรี
ข. ดาวตาววั
ค. ดาวคาสเตอร
ง. ดาวสนุ ขั นอน (ดาวซีรีอัส)

16. ถาเราเห็นดาวนายพรายอยูกลางฟาแสดงวาทิศเหนืออยูทางสวนใดของนายพราน
ก. เข็มขัดนายพราน
ข. ขาของนายพราน
ค. หวั ไหลข องนายพราน
ง. ศีรษะของนายพราน

17. กลุม ดาวท่ีชวยใหเราหาดาวเหนือไดง า ยขน้ึ คือกลุมดาวใด
ก. กลุมดาวนายพราน
ข. กลมุ ดาวหมใี หญ
ค. กลุมดาวคางคาว
ง. ถูกทง้ั ขอ ข. และ ขอ ค.

342

18. ถาเราดูดาวที่กรุงเทพฯเราจะเห็นดาวเหนืออยูสูงจากขอบฟาประมาณกี่องศา
ก. 12 องศา
ข. 13 องศา
ค. 14 องศา
ง. 15 องศา

19. ถาเราดูดาวที่เชียงใหมเราจะเห็นดาวเหนืออยูสูงจากขอบฟากี่องศา
ก. 16 องศา
ข. 17 องศา
ค. 18 องศา
ง. 19 องศา

20. หากนักศึกษากําลังเดินทางอยูกลางทะเลแลวเห็นดาวเหนืออยูสูงจากขอบฟาประมาณ 15 องศา ขอ
ใดกลา วไดถ ูกตอง
ก. นกั ศกึ ษากําลังอยูท ี่ละตจิ ูด ที่ 15 องศาเหนือ
ข. นักศึกษากาํ ลังอยทู ีล่ ะติจดู ท่ี 15 องศาใต
ค. นักศึกษากาํ ลังอยูท่ลี องจิจูด ที่ 15 องศาตะวนั ออก
ง. นักศกึ ษากาํ ลงั อยทู ีล่ องจิจูด ท่ี 15 องศาตะวันตก

343

เฉลยแบบฝก หัด

1. ค.
2. ข.
3. ก.
4. ง.
5. ก.
6. ก.
7. ค.
8. ง.
9. ง.
10. ง.

11. ก.
12. ข.
13. ค.
14. ก.
15. ง.
16. ง.
17. ง.
18. ข.
19. ค.

20. ก.


Click to View FlipBook Version